SCG: รายงานประจำปี 2551

Page 1


สารบัญ ขอมูลพื้นฐานสำหรับนักลงทุน ขอมูลสำคัญทางการเงิน ผังการบริหาร สารจากคณะกรรมการ สรุปผลการดำเนินงาน

หนา 1 2 4 6 8

ผลการดำเนินงาน • เอสซีจี เคมิคอลส • เอสซีจี เปเปอร • เอสซีจี ซิเมนต • เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง • เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น

9 10 12 14 16 18

งบการเงิน • รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน • รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ • งบการเงินรวมบริษัทปูนซิเมนต ไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย • งบการเงินบริษัทปูนซิเมนต ไทย จำกัด (มหาชน)

20 21 22 24 72

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ขอมูลอื่นๆ

102 111

เอสซีจี กลุม บริษทั ชัน้ นำทีม่ งุ สูค วามเปนผูน ำในอาเซียน และเตรียมพรอมสำหรับการแขงขันในระดับโลก ดำเนินธุรกิจตาม หลักบรรษัทภิบาลและแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยืน พัฒนาตนเองอยางไมหยุดยัง้ โดยสรางสรรคนวัตกรรม ทัง้ ดานสินคา บริการ กระบวนการทำงาน และรูปแบบธุรกิจ เพือ่ สรางมูลคาเพิม่ และตอบสนองความตองการของผูบ ริโภค นอกจากนัน้ ยังมุง สรางความเจริญกาวหนาอยางยั่งยืนใหกับทุกชุมชนที่เขาไปดำเนินงาน เอสซีจี เริม่ ตนจากพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ 6 เมือ่ พ.ศ. 2456 เพือ่ ผลิตปูนซีเมนต วัสดุกอ สรางทีส่ ำคัญในการพัฒนาประเทศ ตอมาไดขยายกิจการอยางตอเนือ่ ง และเจริญกาวหนา มาโดยลำดับ ปจจุบันประกอบดวย 5 ธุรกิจหลัก ไดแก เอสซีจี เคมิคอลส เอสซีจี เปเปอร เอสซีจี ซิเมนต เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง และเอสซีจี ดิสทริบิวชั่น


ขอมูลพื้นฐานสำหรับนักลงทุน บริษัทปูนซิเมนต ไทย จำกัด (มหาชน)

SCC (จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย) เลขทะเบียนบริษัท 0107537000114 ประเภทธุรกิจ Holding Company เว็บไซต www.scg.co.th ปที่กอตั้ง 2456 วันแรกที่ซื้อขายหุน ในตลาดหลักทรัพยฯ 30 เมษายน 2518 ที่ตั้ง 1 ถนนปูนซิเมนตไทย แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 ทุนจดทะเบียน 1,600 ลานบาท ทุนชำระแลว 1,200 ลานบาท ประกอบดวยหุนสามัญ 1,200 ลานหุน มูลคาหุน หุนสามัญ หุนละ 1 บาท รอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 31 ธันวาคม ผูถือหุน ปจจุบันผูถือหุนรายใหญของบริษัทไดแก กลุมสำนักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ถือหุนรอยละ 31.93 สวนที่เหลือเปนการถือหุน โดยสถาบันและนักลงทุนทั่วไป

ชื่อยอ

ติดตอ

• สำนักงานใหญ โทรศัพท 0-2586-3333, 0-2586-4444 โทรสาร 0-2586-2974 e-mail: info@scg.co.th • สำนักงานเลขานุการบริษัท โทรศัพท 0-2586-3012 โทรสาร 0-2586-3007 e-mail: corporate@scg.co.th • นักลงทุนสัมพันธ โทรศัพท 0-2586-3309 โทรสาร 0-2586-3307 e-mail: invest@scg.co.th • สำนักงานสื่อสารองคกร โทรศัพท 0-2586-3770 โทรสาร 0-2586-2974 e-mail: corpcomm@scg.co.th • กรรมการอิสระที่ทำหนาที่ดูแลผูถือหุนรายยอย โทรสาร 0-2586-3007 e-mail: ind_dir@scg.co.th

ราคาหุนสามัญยอนหลัง 5 ป (2547-2551) เทียบกับดัชนีตลาดหลักทรัพยฯ ดัชนีตลาดหลักทรัพยฯ

ราคาหุนของบริษัท (บาท) 320

950 280 850 240 750 200

650

160

450

120

350

80

250

40

5/1 / 26/ 47 2/ 27/ 47 4/ 23/ 47 6/ 19/ 47 8 12/ /47 10/ 7/1 47 2/4 2/2 7 / 29/ 48 3/4 31/ 8 5/ 26/ 48 7/ 19/ 48 9 11/ /48 11/ 4 9/1 8 /49 3/3 /4 3/5 9 / 30/ 49 6/4 25/ 9 8 18/ /49 10/ 14/ 49 12/ 4 8/2 9 /5 4/4 0 /5 5/6 0 / 27/ 50 7/5 21/ 0 9 15/ /50 11/ 15/ 50 1/5 10/ 1 3/ 8/5 51 /5 3/7 1 / 28/ 51 8 21/ /51 10/ 30/ 51 12/ 51

550

SET

SCC local

SCC foreign

1


ขอมูลสำคัญทางการเงิน บริษัทปูนซิเมนต ไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย

งบกำไรขาดทุน (ลานบาท) • ขายสุทธิ • ตนทุนและคาใชจาย • กำไรกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย รวมเงินปนผลรับจาก บริษัทรวม (EBITDA) • กำไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจำ * • กำไรสุทธิ งบดุล ** (ลานบาท) • สินทรัพย • หนี้สิน • สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัท และสวนของผูถือหุนสวนนอย • สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัท อัตราสวนทางการเงิน • จำนวนหุนที่ออก (ลานหุน) • มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท) • กำไรสุทธิตอหุน (บาท) • เงินปนผลจายตอหุน (บาท) • อัตราการจายเงินปนผลตอกำไรสุทธิ (%) • อัตรากำไรสุทธิตอขายสุทธิ (%) • อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (%) • อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม (%) • อัตรากระแสเงินสดที่ไดจากการดำเนินการ (EBITDA) ตอสินทรัพยรวม (%) • อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) *** • อัตราสวนราคาตลาดตอหุนตอกำไรสุทธิตอหุน (เทา) **** • อัตราสวนหนี้สินสุทธิตอกระแสเงินสดที่ไดจาก การดำเนินงาน (EBITDA) (เทา)

2551

2550

2549

2548

2547

293,230 281,457

267,737 247,719

258,175 231,337

218,265 191,793

192,395 160,422

38,783 16,479 16,771

50,008 25,841 30,352

57,151 30,157 29,451

53,507 30,713 32,236

54,626 33,707 36,483

285,776 174,428

248,256 139,717

226,264 132,699

199,370 128,677

191,081 126,188

111,348 87,220

108,539 86,131

93,565 75,023

70,693 63,947

64,893 57,095

1,200 72.7 14.0 7.5 53.6 5.7 19.3 6.3

1,200 71.8 25.3 15.0 59.3 11.3 37.7 12.8

1,200 62.5 24.5 15.0 61.2 11.4 42.4 13.8

1,200 53.3 26.9 15.0 55.8 14.8 53.3 16.5

1,200 47.6 30.4 15.0 49.3 19.0 79.1 19.8

14.5 1.6 7.4

21.1 1.3 9.2

26.7 1.4 9.9

27.4 1.8 9.1

29.7 1.9 8.0

3.1

2.0

1.8

1.9

1.8

* กำไรกอนกำไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนและอื่นๆ - สุทธิจากภาษีเงินได ** 1) ป 2547 ปรับงบดุลโดยไมรวมสินทรัพยที่ตีราคาเพิ่ม 2) ป 2549 ปรับปรุงใหมเพื่อแสดงเปรียบเทียบกับป 2550 ซึ่งปรับปรุงคำนิยามสวนไดเสียในผูถือหุนสวนนอยตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 *** อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน = หนี้สินรวมหารสวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัทและสวนของผูถือหุนสวนนอย **** ราคาตลาด หมายถึง ราคาปดของหุนของบริษัท ณ วันสิ้นป ในกระดานซื้อขายหลักทรัพยในประเทศ

2


ผลประกอบการ บริษัทปูนซิเมนต ไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย สัดสวนยอดขาย ป 2551

สัดสวนกำไรสุทธิ กอนรายการที่ ไมเกิดขึ้นเปนประจำ ป 2551

12%

17% 8%

32% 6% 47%

4%

17%

9% 16%

เอสซีจี เคมิคอลส

32%

เอสซีจี เปเปอร

เอสซีจี ซิเมนต

เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง

เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น

ขายสุทธิ

สินทรัพย

หนี้สิน

พันลานบาท

พันลานบาท

พันลานบาท

400 300 293.2 258.2 267.7 218.3 200 192.4 100 0 2547 2548 2549 2550 2551

400 300 285.8 226.3 248.3 200 191.1 199.4 100 0 2547 2548 2549 2550 2551

200 174.4 150 139.7 126.2 128.7 132.7 100 50 0 2547 2548 2549 2550 2551

กำไรสุทธิกอนรายการ ที่ ไมเกิดขึ้นเปนประจำ

กำไรสุทธิ

กำไรสุทธิตอหุน

พันลานบาท

พันลานบาท

บาท/หุน

40 30 33.7 30.7 30.2 25.8 20 16.5 10 0 2547 2548 2549 2550 2551

40 36.5 32.2 29.5 30.4 30 20 16.8 10 0 2547 2548 2549 2550 2551

เอสซีจี การลงทุน

40 30 30.4 26.9 24.5 25.3 20 14.0 10 0 2547 2548 2549 2550 2551

EBITDA

เงินปนผลจายตอหุน

อัตราการจายเงินปนผลตอกำไรสุทธิ

พันลานบาท

บาท/หุน

รอยละ

80 60 54.6 53.5 57.2 50.0 40 38.8 20 0 2547 2548 2549 2550 2551

20 15 10 5 0

15

15

15

15 7.5

2547 2548 2549 2550 2551

80 61.2 59.3 60 53.6 49.3 55.8 40 20 0 2547 2548 2549 2550 2551

3


ผังการบริหาร คณะกรรมการ บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บรรษัทภิบาลและสรรหา สำนักงานตรวจสอบ คณะกรรมการ พิจารณาผลตอบแทน

กรรมการผูจัดการใหญ

หนวยงานสวนกลาง

เอสซีจี เคมิคอลส

เอสซีจี เปเปอร

เอสซีจี ซิเมนต

เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง

คณะกรรมการ บริษัทปูนซิเมนต ไทย จำกัด (มหาชน) จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา กำธน สินธวานนท เสนาะ อูนากูล ศิววงศ จังคศิริ สุเมธ ตันติเวชกุล ปรีชา อรรถวิภัชน พนัส สิมะเสถียร ยศ เอื้อชูเกียรติ อาสา สารสิน ชุมพล ณ ลำเลียง ธารินทร นิมมานเหมินท กานต ตระกูลฮุน วรพล เจนนภา

4

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ และกรรมการผูจัดการใหญ เลขานุการคณะกรรมการ

เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น

เอสซีจี การลงทุน


ผูบริหารระดับสูง เอสซีจี

4.

5.

6.

7.

3.

2.

8.

1.

1. กานต ตระกูลฮุน 2. รุงโรจน รังสิโยภาส 3. ชลณัฐ ญาณารณพ 4. เชาวลิต เอกบุตร 5. ปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล 6. พิ ชิต ไมพุม 7. ขจรเดช แสงสุพรรณ 8. ดำริ ตันชีวะวงศ

กรรมการผูจัดการใหญ ผูชวยผูจัดการใหญ กรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจัดการใหญ

เอสซีจี เอสซีจี เอสซีจี เคมิคอลส เอสซีจี เปเปอร เอสซีจี ซิเมนต เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น เอสซีจี การลงทุน

5


สารจากคณะกรรมการ “เอสซีจีจึงไดปรับกลยุทธการดำเนินงาน โดยมุงเนนการรักษา เสถียรภาพทางการเงินและความมั่นคงขององคกร มากกวาการเติบโตระยะสั้น เพื่อฝาฟนวิกฤตเศรษฐกิจครั้งนี้ และกลับสูการเติบโตอยางยั่งยืนตอไปในระยะยาว” ป 2551 เศรษฐกิจโลกเขาสูภาวะชะลอตัวลงมากจากหลายปจจัย ทั้งวิกฤตทางการเงินในประเทศสหรัฐอเมริกาที่สงผลกระทบไปยัง ภูมิภาคอื่นทั่วโลก และตนทุนพลังงานที่ผันผวน ขณะที่เศรษฐกิจไทย ประสบปญหาเพิ่มเติมจากความตึงเครียดทางการเมือง สงผลตอการ สงออก และความเชื่อมั่นของนักลงทุนและผูบริโภค อยางไรก็ตาม ดวยการปรับตัวและการปรับปรุงประสิทธิภาพการ ดำเนินงานในทุกธุรกิจ สงผลใหเอสซีจมี รี ายไดรวม 293,230 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2550 รอยละ 10 โดยมีกำไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้น เปนประจำ 16,479 ลานบาท และกำไรสุทธิ 16,771 ลานบาท โดยในไตรมาส ที่ 4 ป 2551 เอสซีจรี บั รูผ ลกระทบจากการขาดทุนจากมูลคาสินคาคงเหลือ ประมาณ 5,000 ลานบาท (สงผลใหไตรมาสที่ 4 ป 2551 เอสซีจมี ผี ลขาดทุน สุทธิ 3,480 ลานบาท) ทัง้ นี้ เมือ่ พิจารณาจากผลการดำเนินงาน ฐานะทาง การเงิน และสภาวะเศรษฐกิจโลก คณะกรรมการบริษัทจึงมีมติเห็นควร เสนอที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2551 ในวันที่ 25 มีนาคม 2552 เพื่ออนุมัติการจายเงินปนผลทั้งปในอัตราหุนละ 7.5 บาท ซึ่งคิดเปน รอยละ 54 ของกำไรสุทธิของงบการเงินรวม โดยจายเงินปนผลงวด ระหวางกาลในอัตราหุน ละ 5.5 บาท ไปเมือ่ วันที่ 21 สิงหาคม 2551 และจะจาย เงินปนผลงวดสุดทายในอัตราหุนละ 2 บาท ในวันที่ 22 เมษายน 2552 ป 2552 เศรษฐกิจโลกตลอดจนเศรษฐกิจไทยยังมีแนวโนมชะลอตัวลง ตอเนือ่ ง จากผลกระทบดังกลาวทำใหการใชจา ยและการลงทุนในประเทศลดลง ดังนัน้ เอสซีจจี งึ ไดปรับกลยุทธการดำเนินงาน โดยมุง เนนการรักษาเสถียรภาพ ทางการเงินและความมัน่ คงขององคกร มากกวาการเติบโตในระยะสัน้ เพือ่ ฝาฟนวิกฤตเศรษฐกิจครั้งนี้ และกลับสูการเติบโตอยางยั่งยืนตอไปใน ระยะยาว โดยมีแนวทางดังนี้ บริหารสภาพคลองและเงินทุนหมุนเวียน เอสซีจไี ดใชกลยุทธการบริหารการเงินและสภาพคลองใหมปี ระสิทธิภาพ ยิง่ ขึน้ โดยบริหารเงินทุนหมุนเวียน (Working Capital) ใหอยูใ นระดับที่ เหมาะสม ตลอดจนลดความเสีย่ งดวยการใชแหลงเงินกูภ ายในประเทศ ในรูปแบบของหุนกูตั้งแตวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 รวมทั้งไดจัดเตรียม เงินลงทุนสำหรับขยายธุรกิจตามแผนงานไวแลว นอกจากนี้ ยังมุง ลดสินคาคงคลัง และติดตามการใหสินเชื่อการคาอยางใกลชิด

6


ชะลอการลงทุนโครงการใหม เพื่ อ รั ก ษาเสถี ย รภาพทางการเงิ น เอสซีจีไ ด ย กเลิ ก และชะลอ การลงทุนสำหรับโครงการใหมทตี่ ลาดไมขยายตัวตามทีค่ าด สำหรับโครงการ ทีอ่ ยรู ะหวางดำเนินการ และตลาดมีแนวโนมฟนตัวในอนาคต ก็เรงให สำเร็จตามแผนและอยูในงบประมาณที่เตรียมการไว เสริมสรางความแข็งแกรงของฐานตลาดในประเทศ และ ขยายฐานลูกคาตางประเทศ เอสซีจีเรงเสริมสรางความเขมแข็งของฐานการตลาดในประเทศ โดยอาศัยความแข็งแกรงของชองทางการจัดจำหนาย และความสัมพันธทดี่ ี กับคูค า ในขณะเดียวกันพยายามหาโอกาสขยายฐานสงออกไปสูต ลาดใหมๆ ที่ยังคงมีโอกาสขยายตัว อาทิ ตะวันออกกลางและแอฟริกา โดยเนน ลูกคาคุณภาพ เพือ่ ขยายโอกาสทางธุรกิจและกระจายความเสีย่ ง โดยอาศัย จุดแข็งการผลิตที่มีตนทุนต่ำ และสินคาคุณภาพมาตรฐานโลก พัฒนาสินคาและบริการที่มีมูลคาเพิ่มอยางตอเนื่อง เพื่อหลีกเลี่ยงการแขงขันดานราคา และตอบสนองความตองการ ของผูบริโภคทั้งในปจจุบันและอนาคต เอสซีจียังคงนโยบายมุงมั่น สรางสรรคนวัตกรรมดานสินคาและบริการ และพัฒนาเทคโนโลยีของตัวเอง อยางตอเนื่อง รวมทั้งใหความสำคัญกับการจัดการทรัพยสินทางปญญา เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน ทัง้ นี้ เพราะเชือ่ มัน่ วาในระยะยาว เอสซีจจี ะไดรบั ประโยชนจากนโยบายนี้ เมือ่ เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย ฟนตัวแลว ควบคุมและลดตนทุนดานตางๆ ใหต่ำที่สุด เอสซีจีพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อลดตนทุนและประหยัดพลังงาน และ ลดของเสียจากการดำเนินงานอยางไมหยุดยั้ง โดยดำเนินการตามหลัก 3R (Reduce, Reuse/Recycle และ Replenish) การสรรหาเชื้อเพลิง ทดแทนประเภทชีวมวล การพัฒนาระบบการจัดหาพลังงานรวมกัน การแลกเปลี่ ย นแนวปฏิ บั ติ ร ะหว า งกลุ ม ธุ ร กิ จ ในเอสซี จี ตลอดจน รณรงคสรางจิตสำนึกประหยัดพลังงานและคาใชจายในหมูพนักงาน มาตรการเหลานี้โดยการรวมมือกันทั้งเครือ จะสงผลใหเอสซีจีมีความ ไดเปรียบคูแขงรายอื่นๆ ทั้งในปจจุบันและในระยะยาว

เตรียมความพรอมใหกับพนักงานเพื่อรองรับความ ทาทายทั้งในปจจุบันและอนาคต เอสซีจีเชื่อมั่นคุณคาของพนักงานในทุกประเทศ แมในภาวะวิกฤต ก็ยังคงใหความสำคัญกับการพัฒนาพนักงานเพื่อเพิ่มศักยภาพในการ ปฏิบัติงาน และเตรียมความพรอมรับความทาทายและโอกาสตางๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต ในสภาวะทีเ่ ศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยมีปญ หา เอสซีจีมุงมั่นที่จะใหมีผลกระทบตอพนักงานนอยที่สุด ใส ใจดานสังคมและสิ่งแวดลอมในทุกประเทศที่ดำเนินงาน เอสซีจีจัดกิจกรรมเพื่อสังคมในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน ต อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ด า นการพั ฒ นาศัก ยภาพของเยาวชน ดวยหวังวาเยาวชนจะเปนกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ รวมทั้งมุง ดูแลรักษาสิง่ แวดลอม โดยการอนุรกั ษนำ้ เพือ่ อยูร ว มกับชุมชนอยางยัง่ ยืน

แนวทางดำเนินงานดังกลาวเปนผลจากการบริหารความเสี่ยง ขององคกรอยางรัดกุมทุกดาน โดยเฉพาะดานการเงิน การแขงขัน ความตองการสินคา การปรับตัวของตนทุน อัตราแลกเปลีย่ น อัตราดอกเบีย้ และสิง่ แวดลอม จึงเชือ่ มัน่ ไดวา เอสซีจจี ะสามารถฝาฟนวิกฤตเศรษฐกิจ มีความมั่นคงและจะเจริญเติบโตอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต คณะกรรมการบริษัท ขอขอบคุณทานผูถือหุน ผูถือหุนกู ผูรวมทุน ลูกคา พนักงาน ผูเกี่ยวของอื่นๆ รวมถึงสถาบันการเงินทั้งในประเทศ และตางประเทศ ที่สนับสนุนการดำเนินงานของเอสซีจีดวยดีตลอดมา และขอใหทุกทานเชื่อมั่นวา เอสซีจีจะดำเนินธุรกิจอยางรอบคอบ ระมัดระวังดวยหลักจรรยาบรรณและบรรษัทภิบาลเพื่อใหเกิดประโยชน สู ง สุ ด ตอผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝาย และเปนองคกรที่เจริญกาวหนา อยางยั่งยืนควบคูไปกับประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน กรุงเทพมหานคร วันที่ 28 มกราคม 2552

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานกรรมการ

กานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ

7


สรุปผลการดำเนินงาน พันลานบาท 293.2

300 267.7 200 100

50.0 30.4

38.8 16.8

0

2550 2551 ยอดขายสุทธิ EBITDA* กำไรสุทธิ

ภาพรวมธุรกิจของเอสซีจี มียอดขายสุทธิ 293,230 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 10 จากปกอ น และมีกำไรสุทธิ 16,771 ลานบาท ลดลงจากปกอ น เนือ่ งจาก Margin ทีล่ ดลง และขาดทุนจากมูลคาสินคาคงเหลือ ประกอบกับรายไดรบั จากเงินปนผลลดลง ในขณะทีป่  2550 เอสซีจมี กี ำไรสุทธิภาษีจากการขายเงินลงทุนจำนวน 4,500 ลานบาท ทัง้ นี้ ในป 2551 เอสซีจมี ี EBITDA 38,783 ลานบาท

พันลานบาท 150 130.2

136.5

100 50

22.6

17.0

12.6 6.1 2550 2551 * ยอดขายสุทธิ EBITDA กำไรสุทธิ

0

พันลานบาท 45 43.9

47.1

30 15

7.9

6.7

2.4

1.7 2550 2551 ยอดขายสุทธิ EBITDA* กำไรสุทธิ

0

พันลานบาท 45 44.1

50.0

30 15

10.2

11.3 6.0

5.5

0

2550 2551 ยอดขายสุทธิ EBITDA* กำไรสุทธิ

20

พันลานบาท 21.3

23.4

15 10 5

3.9

4.1

1.0

0.8

0

2550 2551 * ยอดขายสุทธิ EBITDA กำไรสุทธิ พันลานบาท

100

102.7

86.4

75 50 25

1.7 1.2 1.6 0.9 2550 2551 ยอดขายสุทธิ EBITDA* กำไรสุทธิ

0

* รวมเงินปนผลจากบริษัทรวม

8

ธุรกิจเคมีภัณฑ (SCG Chemicals) มียอดขายสุทธิ 136,527 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 5 จากปกอ น และมี EBITDA 12,598 ลานบาท ลดลงจากปกอ น จากผลกระทบของการขาดทุนจากมูลคาสินคาคงเหลือ ประกอบกับเงินปนผลรับ จากบริษทั รวมลดลง ทัง้ นี้ ธุรกิจมีกำไรสุทธิ 6,136 ลานบาท โดยธุรกิจมีแผนขยายตลาดไปยังกวา 100 ประเทศ และผลักดันยอดขายของสินคาทีม่ มี ลู คาเพิม่ สูงใหเติบโตยิง่ ขึน้ ในอนาคต

ธุรกิจกระดาษ (SCG Paper) มียอดขายสุทธิ 47,110 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 7 จากปกอ น และมี EBITDA 6,660 ลานบาท ลดลงจากปกอน จากตนทุนวัตถุดิบที่สูงขึ้น ทั้งนี้ ธุรกิจมีกำไรสุทธิ 1,658 ลานบาท โดยธุรกิจได พัฒนากิจกรรมการตลาดถึงผูบริโภคในวงกวาง ขณะที่โรงงานผลิตกระดาษอุตสาหกรรมใน เวียดนามจะเริ่มผลิตไดกลางป 2552

ธุรกิจซิเมนต (SCG Cement) มียอดขายสุทธิ 49,999 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 13 จากปกอ น และมี EBITDA 11,272 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากปกอ น จากการประหยัดตนทุนพลังงานจากโครงการลงทุนติดตัง้ ระบบผลิตกระแสไฟฟาจาก ลมรอนเหลือใชของกระบวนการผลิตปูนซีเมนต (Waste-Heat Power Generation) ซึง่ เมือ่ ติดตัง้ ครบ ทุกสายการผลิตจะชวยลดตนทุนคาไฟฟาจากภายนอกประมาณรอยละ 25 ทั้งนี้ ธุรกิจมีกำไรสุทธิ 6,006 ลานบาท ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง (SCG Building Materials) มียอดขายสุทธิ 23,351 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 10 จากปกอ น และมี EBITDA 4,085 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากปกอ น ทัง้ นี้ ธุรกิจมีกำไรสุทธิ 778 ลานบาท ลดลงจากปกอ น เนือ่ งจากตนทุนพลังงาน ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในชวง 9 เดือนแรกของป 2551 โดยธุรกิจยังเนนพัฒนานวัตกรรมสินคาและบริการอยาง ตอเนือ่ ง เพือ่ เปน Home Solution ทีต่ อบสนองคุณภาพการอยูอ าศัยของผูบ ริโภคใหดยี งิ่ ขึน้

ธุรกิจจัดจำหนาย (SCG Distribution) มียอดขายสุทธิ 102,672 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 19 จากปกอ น และมี EBITDA 1,739 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากปกอ น ซึง่ เปนผลมาจากกิจกรรมการคาทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ในชวง 9 เดือนแรกของป 2551 ทัง้ นี้ ธุรกิจมีกำไรสุทธิ 1,211 ลานบาท โดยธุรกิจจะขยายสาขารานคาปลีกในประเทศ และสำนักงานขาย ในตางประเทศเพิม่ เติม รวมทัง้ พัฒนาบริการทีเ่ หมาะสมกับความตองการของลูกคามากขึน้


เพิ ่ ม สั ด ส ว นการขาย สิ น ค า มู ล ค า เพิ ่ ม สู ง

100 ประเทศ >>>ไปยังกวา

เคมี ภ ั ณ ฑ

ขยายตลาด

ขยายสาขา Roofing Center เปน

32

สาขาทั่วประเทศ ในรูปแบบ

One - Stop Shop, One - Stop Service

ลดการซื้อไฟฟา

ปละ

1,600 ลานบาท

และลดการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซด มากกวาปละ

300,000ตัน

SUSTAINABLE

GROWTH เสริมสรางความแข็งแกรงของฐานการตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศ ควบคูกับการนำเสนอสินคาและบริการใหมๆ พรอมพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อลดตนทุน ประหยัดพลังงาน และลดของเสียจากการดำเนินงาน เพื่อเสริมสรางความมั่นใจในการเติบโตอยางมั่นคงและยั่งยืน

ผลการดำเนินงาน 10 12 14 16 18

เอสซีจี เคมิคอลส เอสซีจี เปเปอร เอสซีจี ซิเมนต เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น


เอสซีจี เคมิคอลส ผลการดำเนินงาน ป 2551 ธุรกิจเคมีภณั ฑไดรบั ผลกระทบจากความผันผวนของราคาวัตถุดบิ หลัก (แนฟทา) ทีเ่ พิม่ ขึน้ สูงสุดที่ 1,217 ดอลลารสหรัฐตอตันในเดือนกรกฎาคม 2551 และปรับตัวลดลงอยางรวดเร็วมาอยูท ี่ 380 ดอลลารสหรัฐตอตันในชวงไตรมาส 4 ของป 2551 ตามสภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ราคาแนฟทาในป 2551 เพิม่ ขึน้ 134 ดอลลารสหรัฐตอตันจากปกอ น เปนเฉลีย่ 827 ดอลลารสหรัฐตอตัน ขณะทีร่ าคาเม็ดพลาสติก HDPE เพิม่ ขึน้ 124 ดอลลารสหรัฐตอตัน เมือ่ เทียบกับ ปกอ น สงผลใหสว นตางราคาระหวางเม็ดพลาสติกกับวัตถุดิบหลักใกลเคียงกับปกอน เอสซีจี เคมิคอลส มียอดขายรวม 136,527 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 5 จากปกอน ซึ่งเปนผลจากราคาขายผลิตภัณฑที่เพิ่มสูงขึ้น EBITDA เทากับ 12,598 ลานบาท ลดลงรอยละ 44 จากปกอน ทั้งนี้ เปนผลกระทบของการขาดทุนจากมูลคาสินคาคงเหลือในไตรมาสที่ 4 ป 2551 และเงินปนผลรับ จากบริษัทรวมที่ลดลง โดยธุรกิจมีกำไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจำ 5,869 ลานบาท ลดลงรอยละ 57 เมื่อเทียบกับปกอน เนื่องจากการ ขาดทุนมูลคาสินคาคงเหลือและสวนไดเสียในกำไรของบริษัทรวมลดลง การพัฒนาองคกร

ดานธุรกิจ • ขยายตลาดไปยังกวา 100 ประเทศ ดวยสินคาหลากหลาย ครอบคลุมทั้งสินคาคงทน (Durable Goods) สินคาอุปโภค บริโภค (Consumer Goods) รวมถึงสินคาโครงสรางพื้นฐาน (Infrastructure Goods) โดยยอดขายของสินคาที่มีมูลคาเพิ่ม สูงในป 2551 คิดเปนกวารอยละ 20 ของยอดขายทั้งหมด ซึ่ ง เติ บ โตจนถึงระดับที่สามารถแยกมาตั้งเปนบริษัทเอสซีจี เพอรฟอรมานซ เคมิคอลส จำกัด โดยมีเปาหมายเพือ่ ผลักดัน ยอดขายของสินคากลุมนี้ใหเติบโตยิ่งขึ้นในอนาคต • บริษทั เอ็มทีพี เอชพีพโี อ แมนูแฟคเจอริง่ จำกัด เปนบริษทั ยอย ของบริษัทสยามสไตรีนโมโนเมอร จำกัด (SSMC) ลงทุนใน โรงงานผลิตโพรไพลีนออกไซด กำลังผลิตปละ 390,000 ตัน โดย ใชเงินลงทุนจาก SSMC ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนของเอสซีจี กับ The Dow Chemical Company ในสัดสวนการลงทุนรอยละ 50 เทากัน คาดวาจะเริม่ ผลิตไดในครึง่ ปแรกของป 2554 ทัง้ นี้ โพรไพลีน ออกไซดเปนวัตถุดบิ ในการผลิตสินคาทีม่ มี ลู คาเพิม่ สูง คือ โพลีออล และโพลิยูริเทน เพื่อใชในอุตสาหกรรมยานยนต กอสราง และ เครื่องเรือน

ขอมูลทางการเงินของธุรกิจเคมีภณ ั ฑ (SCG Chemicals)

• ลงทุนในโครงการรวมทุนสรางโรงงานผลิต Specialty Elastomers ทีม่ คี ุณสมบัติคลายยาง กับ The Dow Chemical Company ในสัดสวนการลงทุนรอยละ 50 เทากัน โดยจะตัง้ โรงงานในนิคม อุตสาหกรรมเอเชีย จ.ระยอง กำลังผลิตปละ 220,000 ตัน และ คาดวาจะสามารถเริม่ ผลิตเชิงพาณิชยไดในไตรมาสแรกของป 2554 ทัง้ นี้ Specialty Elastomers เปนผลิตภัณฑทมี่ คี ณุ สมบัตพิ ิเศษ สำหรับใชเปน Sealant Layer ในอุตสาหกรรมบรรจุภณั ฑ และเปน สารเพิม่ ความตานแรงกระแทก (Impact Modification) ใน อุตสาหกรรมยานยนต • ขยายกำลังผลิต PP Compound ของบริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จำกัด จากปละ 86,000 ตัน เปนปละ 95,000 ตัน ในเดือนตุลาคม 2551 และจะเพิม่ เปนปละ 113,000 ตัน ในป 2552 • ขยายกำลังผลิต PP Compound ของบริษัท Mitsui Advance Composites (Zhongshan) จากปละ 25,000 ตัน เปนปละ 34,000 ตัน ในป 2551 และจะเพิม่ เปนปละ 45,000 ตัน ในป 2552

(ลานบาท)

2551

2550

2549

2548

2547

28,039 138,504 78,355 60,149

36,009 123,205 59,824 63,381

29,849 109,391 52,775 56,616

19,408 78,656 38,788 39,868

20,360 75,186 36,622 38,564

136,527 133,694 5,869 6,136 12,598

130,223 118,533 13,741 16,982 22,611

122,645 107,801 17,545 17,574 26,199

86,084 74,477 16,263 16,656 19,653

75,185 58,199 17,973 20,523 23,642

ขอมูลจากงบดุล *

• สินทรัพยหมุนเวียน • สินทรัพย • หนี้สิน • สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัทและสวนของผูถือหุนสวนนอย ขอมูลจากงบกำไรขาดทุน

• ขายสุทธิ • ตนทุนและคาใชจาย • กำไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจำ ** • กำไรสุทธิ EBITDA ***

* 1) ป 2547 ปรับงบดุลโดยไมรวมสินทรัพยที่ตีราคาเพิ่ม 2) ป 2549 ปรับปรุงใหมเพื่อแสดงเปรียบเทียบกับป 2550 ซึ่งปรับปรุงคำนิยามสวนไดเสียในผูถือหุนสวนนอยตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 ** กำไรกอนกำไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนและอื่นๆ - สุทธิจากภาษีเงินได *** กำไรกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย รวมเงินปนผลรับจากบริษัทรวม

10


ดานทรัพยากรบุคคล • พัฒนานักวิจยั ใหสามารถสรางสรรคผลงานไดเพิม่ มากขึน้ โดย อบรมและแลกเปลีย่ นความรูก บั ผูเ ชีย่ วชาญและสถาบันวิจัยสาขา ตางๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ • พัฒนาพนักงานปฏิบัติการใหมีความรูดานเครื่องจักร อุปกรณ และปโตรเคมี กอนปฏิบัติงานจริง โดยจัดโครงการ Mini Constructionism-Chemical Engineering Practice School เปนปที่สอง • พัฒนาทักษะความเปนผูน ำใหกบั พนักงานระดับจัดการ โดยจัด โครงการ Leadership Coaching for Better Performance เสริมสรางความสัมพันธในการทำงานเพือ่ มุง สูค วามสำเร็จรวมกัน

ดานนวัตกรรม • ออกแบบระบบดักเก็บ Hexane ประสิทธิภาพสูงเพื่อนำกลับมา ใชใหมโดยใชเทคโนโลยีที่คิดคนขึ้นเองและใชงานจริงแหงแรก ในประเทศไทย เพือ่ ลดตนทุนการผลิตและลดมลภาวะทางอากาศ • คิดคนชุดอุปกรณเพือ่ ลดเวลาการซอมบำรุง Cracking Furnace และลดการเสียโอกาสในการผลิตโอเลฟนส • พัฒนารูปแบบบริการทางการเงินเพือ่ ใหลกู คาสามารถเลือกใชได ตามความเหมาะสม อาทิ Flexi-Customer Financing Program, Capital Asset Management Program, e-Bill Presentment และ e-Payment

• คิดคนเทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียขัน้ ตน (Pre-treatment) สำหรับการ บำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิต Purified Terephthalic Acid (PTA) • พั ฒ นาคุ ณ สมบั ติ ข องโพลิ เ อทที ลี น โฟมและวิ ธี ก ารขึ้ น รู ป ที่ เหมาะสมเพื่อใหลูกคาสามารถนำไปพัฒนาและขึ้นรูปชิ้นงาน ดวยแมพิมพแบบหมุนเหวี่ยงดวยตนเองได • พั ฒ นาการใช ส ารเคลื อ บผิ ว เพื่ อ ลดการใช พ ลั ง งานที่ เ ตา Cracking Furnace และ Boiler สามารถประหยั ด พลั ง งานได ร อ ยละ 2-4 กลยุทธการดำเนินธุรกิจ • พัฒนาสินคามูลคาเพิม่ สูงและสรางความหลากหลาย รวมทัง้ คิดคนนวัตกรรมดานการบริการ เพื่อตอบสนองความตองการ ของลูกคาและเตรียมรับมือกับการแขงขันที่สูงขึ้น • ขยายตลาดไปยังหลายภูมิภาคทั่วโลก เพื่อลดความเสี่ยงจาก ความผันผวนของตลาด • พัฒนากระบวนการผลิตและจัดจำหนายใหมีประสิทธิภาพดี ยิ่งขึ้น ดวยระบบการจัดการผลผลิตทั่วทั้งองคกร (TPM) และ ระบบการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองคกร (TQM) เพื่อลดตนทุน และควบคุ ภาพของกระบวนการผลิต และใหความสำคญ และใหความสำคัญ ละควบคุมคุณภาพของกระบวนการผลต กับการจั บการจัดการสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง

“จากภาวะเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในปจจุบัน เราจะตองดูแลการกอสราง โรงงานตางๆ ในโครงการโรงงานโอเลฟนสแหงที่ 2 ใหเสร็จสิ้นตาม ระยะเวลาที่กำหนด รวมทั้งตองดูแลการออกแบบและกอสรางให ได คุณภาพสูง และอยู ในงบประมาณที่วางไว เพื่อใหโรงงานสามารถดำเนิน การผลิตไดทันทีเมื่อกอสรางแลวเสร็จ ซึ่งจะสงผลดีตอความเจริญ กาวหนาของเอสซีจีโดยรวมในอนาคต ดวยประสบการณการดำเนิน ธุรกิจของเอสซีจี และทีมเวิรกที่ทุมเทในการทำงาน ผมมั่นใจวาเรา สามารถประสบความสำเร็จไดอยางแนนอน”

สมชาย หวังวัฒนาพาณิช กรรมการผูจัดการ บริษัทมาบตาพุดโอเลฟนส จำกัด

11


เอสซีจี เปเปอร ผลการดำเนินงาน ป 2551 ธุรกิจกระดาษไดรับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจโลกตกต่ำ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงไตรมาส 4 ที่ความตองการกระดาษทั้งในประเทศ และภูมิภาคอาเซียนลดลง ซึ่งสงผลใหราคาวัตถุดิบปรับตัวลดลงอยางมาก เมื่อเทียบกับชวงครึ่งปแรกที่เยื่อและเศษกระดาษ รวมถึงตนทุนพลังงาน มีราคาสูงตามราคาตลาดโลก ในขณะที่ตลาดสงออกแขงขันสูง เนื่องจากกำลังผลิตกระดาษของโลกสูงกวาความตองการใชกระดาษโดยรวม เอสซีจี เปเปอร มียอดขายรวม 47,110 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 7 จากราคาขายที่สูงขึ้นในชวงครึ่งปแรก มี EBITDA 6,660 ลานบาท ลดลง รอยละ 16 จากตนทุนวัตถุดิบที่สูงขึ้น สงผลใหธุรกิจมีกำไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจำ 1,658 ลานบาท ลดลงรอยละ 30 เมื่อเทียบกับ ปกอน • เยื่อกระดาษและกระดาษพิมพเขียน: ปริมาณขายเพิ่มขึ้นรอยละ 10 จากปกอน จากโครงการขยายกำลังผลิตของโรงงานขอนแกน สงออก รอยละ 22 ตลาดสำคัญไดแก ภูมิภาคอาเซียน อาทิ เวียดนาม มาเลเซีย และภูมิภาคตะวันออกกลาง ราคาผลิตภัณฑเฉลี่ยเพิ่มขึ้นรอยละ 15 จากปกอน จากตนทุนการผลิตที่สูงขึ้น • กระดาษอุตสาหกรรมและบรรจุภัณฑ: ปริมาณขายลดลงรอยละ 7 จากปกอน จากเศรษฐกิจโลกที่ถดถอย ทำใหการสงออกลดลง ประกอบกับ ปญหาความไมมั่นคงทางการเมืองในประเทศทำใหผูบริโภคลดการใชจาย สงผลใหปริมาณการใชบรรจุภัณฑลดลง ราคาผลิตภัณฑเฉลี่ย เพิ่มขึ้นรอยละ 13 จากปกอน จากตนทุนการผลิตที่สูงขึ้น การพัฒนาองคกร

ดานธุรกิจ • ตั้ ง ศู น ย บ ริ ก ารแปรรู ป กระดาษที่ โ รงงานกระดาษสหไทย จ.สมุทรปราการ ยกระดับการใหบริการจำหนายกระดาษ ขนาดพิเศษใหกับลูกคาทั่วไป • เปดดำเนินการโรงงานกระดาษพิมพเขียน ชนิดไมเคลือบผิว ที่ จ.ขอนแกน ในเดือนมิถนุ ายน 2551 กำลังผลิตปละ 200,000 ตัน • เปดดำเนินการโรงงานผลิตกลองกระดาษลูกฟูก ในนามบริษัท ไทยคอนเทนเนอรร ะยอง จำกั ด ในเดื อ นธั น วาคม 2551 กำลังผลิตแผนกระดาษลูกฟูกปละ 62,000 ตัน • สรางโรงงานผลิตกลองกระดาษลูกฟูก ในนามบริษัทไทย คอนเทนเนอรขอนแกน จำกัด กำลังผลิตแผนกระดาษลูกฟูก ปละ 55,000 ตัน และเริ่มดำเนินการผลิตบางสวนในเดือน ธันวาคม 2551 • ตั้งโรงงานผลิตกระดาษอุตสาหกรรมที่ประเทศเวียดนามในนาม Vina Kraft Paper Co., Ltd. คาดวาจะเริม่ ผลิตไดกลางป 2552 กำลังผลิตปละ 220,000 ตัน ขอมูลทางการเงินของธุรกิจกระดาษ (SCG Paper)

ดานทรัพยากรบุคคล • พัฒนาบุคลากรใหมีความรูและทักษะตามกลยุทธการเติบโต ของธุรกิจ เพื่อเปนปจจัยหนึ่งในการเพิ่มขีดความสามารถ การดำเนินธุรกิจขององคกร และสรางความเจริญกาวหนา ในหนาที่การงานใหกับพนักงาน • เสริมสรางใหเกิดวัฒนธรรมการเรียนรูรวมกันอยางตอเนื่อง และสรางสรรค รวมทั้งใหความสำคัญกับการสรางบรรยากาศ ในการทำงานทีด่ ี เพือ่ ใหพนักงานมีสขุ ภาพกายและใจทีแ่ ข็งแรง ซึ่งจะนำไปสูการสรางสรรคงานที่มีคุณภาพ

ดานนวัตกรรม • พัฒนากระดาษ Idea Green คุณภาพพรีเมียม ผลิตจากเยื่อ EcoFiber 30% เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม • พัฒนากระดาษ Green Offset และกระดาษ Green Card ผลิตจากเศษวัสดุใชแลว มีสวนผสมของเยื่อ EcoFiber 100% เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

(ลานบาท)

2551

2550

2549

2548

2547

14,010 51,089 23,683 27,406

14,334 46,454 20,372 26,082

13,162 40,734 16,868 23,866

12,393 38,575 14,025 24,550

13,668 39,128 18,295 20,833

47,110 44,909 1,658 1,658 6,660

43,890 40,514 2,353 2,353 7,943

42,645 37,649 3,574 3,574 9,634

40,306 35,265 3,689 3,689 9,496

38,265 32,470 4,125 4,122 9,840

ขอมูลจากงบดุล *

• สินทรัพยหมุนเวียน • สินทรัพย • หนี้สิน • สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัทและสวนของผูถือหุนสวนนอย ขอมูลจากงบกำไรขาดทุน

• ขายสุทธิ • ตนทุนและคาใชจาย • กำไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจำ ** • กำไรสุทธิ EBITDA ***

* ป 2547 ปรับงบดุลโดยไมรวมสินทรัพยที่ตีราคาเพิ่ม ** กำไรกอนกำไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนและอื่นๆ - สุทธิจากภาษีเงินได *** กำไรกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย รวมเงินปนผลรับจากบริษัทรวม

12


• พัฒนากระดาษชนิดบาง น้ำหนักเพียง 17 แกรม สำหรับเปน แผนหอหุม สินคาเพือ่ ปองกันความเสียหาย หรือใชในกระบวนการ ผลิตแผนวงจรอิเล็กทรอนิกส และทออะลูมิเนียม เปนตน • พัฒนากระดาษการดขาวลายผา เพื่อใชเปนปกสมุดตางๆ อาทิ ปกสมุดคูฝากของธนาคาร • พัฒนากระดาษ Offset Pro New ที่เพิ่มความขาวและทึบแสง เพื่องานพิมพที่เนนความสวยงาม • พัฒนากระดาษลูกฟูกลอนขนาดเล็ก สำหรับบรรจุภณั ฑทตี่ อ งการ ความสวยงาม • พัฒนากลองกระดาษลูกฟูกที่มีกลิ่นหอม (Scented Carton) สรางมูลคาเพิ่มใหกับบรรจุภัณฑ • พัฒนากระดาษแกรมบางสำหรับทำหลอดพันดายและแกน กระดาษชำระ • ติดตั้งระบบ Mobility Convergence เพื่อใหผูแทนขายทำงาน ในทุกสถานที่ไดเสมือนสำนักงาน • ติดตั้งระบบ Supply Chain Management เชื่อมตอระบบการ สั่งซื้อกับระบบวางแผนการผลิตและบริการ ทำใหสงมอบสินคา ไดถูกตองรวดเร็ว และติดตามสถานะการสั่งซื้อไดตลอดเวลา

กลยุทธการดำเนินธุรกิจ • เนนการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต เพือ่ รักษาความเปนผูน ำ ตลาดในภูมิภาคอาเซียน ทั้งดานคุณภาพตามมาตรฐานโลก และการลดต น ทุ น การผลิ ต อย า งต อ เนื่ อ ง รวมถึ ง การสราง นวัตกรรมเพือ่ เพิม่ มูลคาของสินคา • เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินทรัพย อาทิ สินคาคงคลัง และ วางกลยุทธในการลงทุนอยางระมัดระวัง รวมถึงแสวงหาโอกาส ลงทุนในภูมิภาคอาเซียนเพื่อรองรับการเติบโตในอนาคต • มุ ง สร า งความสั ม พั น ธ ที่ ดี แ ละเข า ถึ ง ความต อ งการลู ก ค า เพื่ อ พัฒนาสินคาใหตอบสนองตอความตองการมากขึ้น

“เรามองหาโอกาสทางการตลาดใหมๆ เพื่อรับมือกับสภาวะเศรษฐกิจ ในปจจุบัน โดยอาศัยทีมงานที่แข็งแกรง เพื่อตอบสนองความตองการ ของลูกคาใหดีที่สุด ตัวอยางที่สำคัญคือ การพัฒนาและออกแบบ กระดาษไอเดีย กรีน ที่เราพบวาลูกคามีความตองการกระดาษที่เปน มิตรตอสิ่งแวดลอม แตยังไมมี ใครเสนอให ได โดยผลการตอบรับที่ดี จากผูบริโภคชวยใหแคมเปญการตลาดของไอเดีย กรีน ไดรับรางวัล สุดยอดแคมเปญการตลาดประจำป 2551 จากสมาคมการตลาด แหงประเทศไทยอีกดวย”

พุทธพร แสงรัตนเดช ผูจัดการธุรกิจ Home & Office Solutions บริษัทเอสซีจี เปเปอร จำกัด (มหาชน)

13


เอสซีจี ซิเมนต ผลการดำเนินงาน ป 2551 อุตสาหกรรมปูนซีเมนตในประเทศมีกำลังผลิตรวม 56 ลานตัน ขณะทีม่ คี วามตองการ 24 ลานตัน ลดลงรอยละ 6 จากปกอ น จากความผันผวน ทางการเมืองและการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ ดานตลาดตางประเทศแมจะมีความตองการลดลงในประเทศสหรัฐอเมริกา แตยังมีการขยายตัวใน ประเทศอื่นๆ ทำใหความตองการปูนซีเมนตในตลาดโลกเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 2 เอสซีจี ซิเมนต มียอดขายรวม 49,999 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 13 ขณะที่ EBITDA 11,272 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 11 และมีกำไรสุทธิ กอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจำ 6,004 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 10 จากราคาขายที่เพิ่มขึ้นทั้งในประเทศและตางประเทศ • ปูนซีเมนตเทา: ยอดขายรวมเพิม่ ขึน้ รอยละ 11 จากปริมาณขายในประเทศทีล่ ดลงรอยละ 6 ขณะทีป่ ริมาณสงออกเพิม่ ขึน้ รอยละ 1 และปริมาณ ขายที่เพิ่มขึ้นจากการผลิตเต็มกำลังการผลิตที่โรงงาน Kampot ประเทศกัมพูชา • คอนกรีตผสมเสร็จ: ยอดขายรวมเพิ่มขึ้นรอยละ 1 จากปริมาณขายในประเทศที่ใกลเคียงกับปกอน โดยป 2551 ธุรกิจไดแตงตั้งแฟรนไชส เพิ่มขึ้นอีก 14 ราย • ปูนซีเมนตขาว: ยอดขายรวมลดลงรอยละ 19 จากปริมาณขายในประเทศและสงออกที่ลดลงรอยละ 17 และ 27 ตามลำดับ • ปูนสำเร็จรูป: ยอดขายรวมเพิ่มขึ้นรอยละ 32 จากปริมาณขายในประเทศที่เพิ่มขึ้นรอยละ 32 • วัสดุทนไฟ: ยอดขายรวมเพิ่มขึ้นรอยละ 12 จากปริมาณขายในประเทศและสงออกที่เพิ่มขึ้นรอยละ 7 และ 18 ตามลำดับ การพัฒนาองคกร

ดานธุรกิจ • ติ ด ตั้ ง ระบบผลิ ต กระแสไฟฟ า จากลมร อ นเหลื อ ใช ใน กระบวนการผลิต (Waste-Heat Power Generation) ทีโ่ รงงานทาหลวงและโรงงานแกงคอย จ.สระบุรี และโรงงาน ทุงสง จ.นครศรีธรรมราช รวม 34 เมกะวัตต โดยจะติดตั้ง ครบทุกสายการผลิตของทุกโรงงาน ทั้งในประเทศไทยและ ประเทศกัมพูชา รวมทั้งสิ้น 100 เมกะวัตต ในไตรมาสที่ 4 ป 2552 มูลคาการลงทุน 5,850 ลานบาท ซึ่งจะสามารถผลิต ไฟฟาใชเองไดประมาณรอยละ 25 โครงการนี้จะสามารถลด การซื้อไฟฟาจากภายนอกไดประมาณปละ 1,600 ลานบาท รวมทั้งชวยลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมาก กวาปละ 300,000 ตัน เมื่อเดินเครื่องจักรเต็มกำลังการผลิต • ปรับปรุงระบบปอนเชื้อเพลิงแข็งที่โรงงานทุงสง เพื่อรองรับ การใชเชื้อเพลิงแข็งความรอนต่ำ และสามารถลดตนทุน พลังงานเชื้อเพลิง มูลคาการลงทุน 71.5 ลานบาท

ขอมูลทางการเงินของธุรกิจซิเมนต (SCG Cement)

ดานทรัพยากรบุคคล • พัฒนาพนักงานใหสอดคลองกับกลยุทธการเติบโตของ ธุรกิจ โดยเสริมสรางวัฒนธรรมองคกรที่เปดโอกาสใหพนักงาน แสดงความคิดสรางสรรค มุงเนนการเรียนรูอยางตอเนื่อง และเอาใจใสลูกคา เพื่อนำมาพัฒนาสินคาและบริการให ตอบสนองความตองการของลูกคา รวมทั้งจัดการองคความรู ใหคงอยูคูกับองคกร และตอยอดการเรียนรู • เตรียมความพรอมบุคลากรเพื่อรองรับการขยายธุรกิจสูภูมิภาค เริ่มตั้งแตการคัดเลือก พัฒนาทักษะและความรูที่จำเปนตอการ ทำธุรกิจในตางประเทศ ตลอดจนปรับปรุงสวัสดิการและ ผลตอบแทนใหเหมาะสม

(ลานบาท)

2551

2550

2549

2548

2547

9,886 60,770 11,932 48,838

10,075 60,132 14,846 45,286

9,866 57,791 15,958 41,833

9,199 55,953 17,877 38,076

7,606 54,801 22,044 32,757

49,999 42,124 6,004 6,006 11,272

44,087 36,943 5,467 5,463 10,198

44,123 35,451 6,649 6,652 12,200

41,630 31,756 7,920 7,916 13,235

36,658 27,716 6,810 6,582 13,175

ขอมูลจากงบดุล *

• สินทรัพยหมุนเวียน • สินทรัพย • หนี้สิน • สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัทและสวนของผูถือหุนสวนนอย ขอมูลจากงบกำไรขาดทุน

• ขายสุทธิ • ตนทุนและคาใชจาย • กำไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจำ ** • กำไรสุทธิ EBITDA ***

* ป 2547 ปรับงบดุลโดยไมรวมสินทรัพยที่ตีราคาเพิ่ม ** กำไรกอนกำไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนและอื่นๆ - สุทธิจากภาษีเงินได *** กำไรกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย รวมเงินปนผลรับจากบริษัทรวม

14


ดานนวัตกรรม • พัฒนาปูนซีเมนตสำหรับงานเฉพาะ อาทิ ปูนตราชางที่ชวยลด ระยะเวลาการถอดแบบคอนกรีต และปูนซีเมนตผสมสูตรเขมขน ตราซูเปอรซีเมนต • พัฒนาระบบไซโลและเครือ่ งพนฉาบ (Silo & Spraying System) เพือ่ ใหบริการพนฉาบผนังดวยปูนสำเร็จรูปแบบครบวงจร ณ พืน้ ที่ ใชงานของลูกคา • พัฒนาเครือขายการจัดสงคอนกรีตผสมเสร็จ (Hub & Spoke) ใหครอบคลุมและเหมาะสมกับพื้นที่การใหบริการ เพื่อความ รวดเร็วในการจัดสงสินคา และพัฒนาการใหบริการลูกคา ในเมืองใหญที่การจราจรหนาแนน

กลยุทธการดำเนินธุรกิจ • ใหความสำคัญกับการคิดคนนวัตกรรม สรางมูลคาเพิ่มใหกับ สินคาและบริการ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา แตละกลุม • ใหความสำคัญอยางตอเนื่องกับการลงทุนดานวิจัยและพัฒนา ตลอดจนการพัฒนาพนักงานเพื่อเตรียมองคกรใหพรอม รองรับการเติบโตในอนาคต • รักษาสภาพคลองทางการเงิน ลดตนทุนและคาใชจายเพื่อให เกิดประสิทธิภาพสูงสุด • ผลักดันการสงออกสินคาเพือ่ รักษาระดับการผลิตใหมเี สถียรภาพ ทามกลางความไมแนนอนของสภาวะเศรษฐกิจโลก

“ เรามุง มัน่ ใชพลังงานอยางคุม คาทีส่ ดุ และปรับปรุงกระบวนการผลิต เพือ่ ชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกตามแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน นอกจากนี้ ยังมุงสรางคุณคาสูงสุดจากการใชพลังงาน ไมเพียงแคประหยัดรายจาย หรือสรรหาพลังงานทดแทน แตยังสราง รายไดและสรางโอกาสทางธุรกิจใหมๆ ได ในอนาคต เชื่อวาเอสซีจีจะ สามารถพลิกวิกฤตใหเปนโอกาส และเปนแบบอยางใหกับองคกรอื่นๆ ทั้งในประเทศไทยและในระดับภูมิภาค”

ชาญวุฒิ ลิ้มพิชัย วิศวกรอาวุโสการพลังงาน ฝายวิศวกรรม บริษัทเอสซีจี ซิเมนต จำกัด

15


เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง ผลการดำเนินงาน ป 2551 ธุรกิจผลิตภัณฑกอ สรางไดรบั ผลกระทบจากหลายปจจัย ไมวา จะเปนราคาน้ำมันทีส่ งู ขึน้ เศรษฐกิจโลกชะลอตัว ความผันผวนทางการเมือง ในประเทศ และปญหาน้ำทวมหลายจังหวัดในประเทศไทย แตการที่ภาครัฐไดออกมาตรการกระตุนเศรษฐกิจ อาทิ มาตรการภาษี มาตรการลดหยอน คาธรรมเนียมจดทะเบียนโอนและจำนอง รวมถึงเรงรัดการเบิกจายงบประมาณและโครงการลงทุนขนาดใหญของรัฐ สงผลใหตลาดอสังหาริมทรัพย ขยายตัวจากปกอนเล็กนอย ผลการดำเนินงานของเอสซีจี ผลิตภัณฑกอ สราง มียอดขายรวม 23,351 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 10 จากปกอ น มี EBITDA 4,085 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 4 และมีกำไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจำ 754 ลานบาท ลดลงจากปกอนรอยละ 21 การพัฒนาองคกร

ดานธุรกิจ • กิจการกระเบื้องเซรามิก มีกำลังผลิตเพิ่มขึ้นอีกปละ 25 ลาน ตารางเมตร จากการลงทุนในกิจการของบริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน) ปจจุบันมีกำลังผลิต รวมปละ 120 ลานตารางเมตร • ขยายสาขา Roofing Center เปน 32 สาขาทัว่ ประเทศ ในรูป แบบ One-Stop Shop, One-Stop Service เพื่ อ ให ลู ก ค า สอบถามขอมูลสินคา รับคำปรึกษาและบริการถอดแบบ รวมถึง ซื้อสินคาและบริการไดครบถวนยิ่งขึ้น

ดานทรัพยากรบุคคล • พัฒนาบุคลากรโดยใชแนวคิด C-Leader และ C-Building เพื่อสรางการบริการที่เปนเลิศ (Service Excellence) พัฒนา มาตรฐานงานบริการ รวมถึงพัฒนาความรูและทักษะของผูให บริการที่ปฏิบัติงานอยูในศูนยบริการที่กระจายอยูทั่วประเทศ • พั ฒ นาทั ก ษะการสื่ อ สารภาษาอั ง กฤษของพนั ก งานอย า ง ตอเนือ่ งโดยมีทปี่ รึกษาคอยดูแลและพัฒนาโปรแกรมการฝกฝน เพื่อสนับสนุนการเติบโตของธุรกิจในภูมิภาค

ขอมูลทางการเงินของธุรกิจผลิตภัณฑกอ สราง (SCG Building Materials)

ดานนวัตกรรม • พัฒนาระบบฝาและผนังที่สามารถตอบสนองตอความตองการ ของเจาของบานและผูออกแบบ อาทิ ระบบผนังกันความรอน และระบบผนังกันเสียง • พัฒนา “COTTO Speed Bathroom” บริการปรับปรุง หองน้ำแบบครบวงจร ที่ทั้งสะดวกรวดเร็ว และลดปญหาฝุน และเสียงรบกวนระหวางการติดตัง้ ดวยการผสานสองแนวคิด ของสุขภัณฑและก็อกน้ำ Easy Concept ที่ชวยประหยัดเวลา ในการติดตั้ง และชุดเฟอรนิเจอรตกแตง Modular Concept • พัฒนาบล็อกเย็น CPAC Dsign ดวยคุณสมบัติที่เหนือกวา บล็ อ กปู พื้ น ทั่ ว ไป สามารถเก็ บ สะสมน้ ำ ไว ใ นก อ นบล็ อ ก โดยระบายความรอนผานการระเหยของน้ำ ทำใหอากาศ โดยรอบเย็นสบาย • พัฒนานวัตกรรมระบบหลังคาแบบใหมติดตั้งซอนทับชั้นเดียว (Single Lap System) โดยไมตองติดตั้งแผนรองใตหลังคา ซึ่งสามารถตอบสนองความตองการบานในแบบ Natural Modern ไดดียิ่งขึ้น เมื่อใชรวมกับหลังคา Ceramic Slate รุน CeraFino • พัฒนา Roof Garden ระบบสวนบนหลังคาที่ทำใหบาน เย็นสบาย เนื่องจากเปนฉนวนกันความรอน และชวยเพิ่ม ออกซิเจน นอกจากนี้ ยังสะดวกสบายในการติดตัง้ และดูแลรักษา

(ลานบาท)

2551

2550

2549

2548

2547

8,326 22,654 15,435 7,219

7,576 19,863 13,540 6,323

7,745 20,595 14,180 6,415

7,640 20,259 8,925 11,334

6,946 18,068 9,366 8,702

23,351 22,739 754 778 4,085

21,281 20,536 950 950 3,928

22,745 20,379 1,799 1,939 4,856

22,227 18,997 2,749 3,071 5,387

20,542 17,028 2,700 2,700 5,307

ขอมูลจากงบดุล *

• สินทรัพยหมุนเวียน • สินทรัพย • หนี้สิน • สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัทและสวนของผูถือหุนสวนนอย ขอมูลจากงบกำไรขาดทุน

• ขายสุทธิ • ตนทุนและคาใชจาย • กำไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจำ ** • กำไรสุทธิ EBITDA ***

* ป 2547 ปรับงบดุลโดยไมรวมสินทรัพยที่ตีราคาเพิ่ม ** กำไรกอนกำไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนและอื่นๆ - สุทธิจากภาษีเงินได *** กำไรกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย รวมเงินปนผลรับจากบริษัทรวม

16


กลยุทธการดำเนินธุรกิจ • มุงเสนอบริการครบวงจรใหลูกคา ทั้งบานสรางใหมหรือตอเติม ตกแตง สรางความสะดวกสบายสำหรับลูกคาในทุกขั้นตอน ตั้งแตการออกแบบและเลือกใชผลิตภัณฑ อาทิ การเปด Roofing Center และ COTTO Speed Bathroom • วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสินคาอยางตอเนื่อง รวมทั้งพัฒนา ชองทางจัดจำหนาย โดยคำนึงถึงรูปแบบการดำเนินชีวิต ของผูบริโภค • ปรับปรุงกระบวนการผลิต และคนควาวิจัยหาพลังงานทดแทน เพื่อลดตนทุนการผลิตอยางตอเนื่อง • สงเสริมภาพลักษณสินคาคุณภาพภายใตแบรนด “เอสซีจี” ใหเปนที่รูจักของผูบริโภคในประเทศเวียดนาม ผานทาง กิจกรรมการตลาด อาทิ งานแสดงสินคา Vietbuild โฆษณา และโชวรูมตามเมืองใหญ ควบคูไปกับการพัฒนาชองทางการ จัดจำหนายใหครอบคลุมกลุมเปาหมาย

“ เรามุ ง เพิ่มมูลคาสินคาของเอสซีจี ที่มีจุดขายดานคุณภาพ ใหมีมูลคาเพิ่มดานความสวยงามและประโยชน ใชสอย สามารถชีน้ ำ Trend และ Lifestyle สรางความแตกตางที่ ต รงใจผู บ ริ โ ภค ที่ผานมาเราสรางสรรคนวัตกรรม อาทิ กระเบื้ อ งพิ ม าย ซึ่ ง โดดเด น ทั้ ง เทคโนโลยี ก ารผลิ ต และการออกแบบ และ Roof Garden ที่เพิ่มพื้นที่ป ลู ก ต น ไมบนหลังคา ชวยใหบานเย็นสบาย เราจะพัฒนา นวัตกรรมตอไปเพือ่ กาวไปสูก ารเปน Home Solution ทีต่ อบสนอง คุณภาพการอยูอาศัยของผูบริโภคใหดียิ่งขึ้น”

เทวินทร วรรณะบำรุง ผูชำนาญการพิเศษ-ออกแบบผลิตภัณฑ สำนักงานเทคโนโลยีและนวัตกรรม บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง จำกัด

17


เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น ผลการดำเนินงาน ป 2551 ธุรกิจจัดจำหนายแขงขันสูงขึน้ จากความตองการสินคาและราคาในตลาดโลกผันผวน และการกอสรางในประเทศชะลอตัว กิจการโลจิสติกส ไดรบั ผลกระทบจากราคาน้ำมันทีผ่ นั ผวน ขณะทีก่ จิ การการคาระหวางประเทศ ยังแขงขันสูงทัง้ ดานราคาและบริการ เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น มียอดขายรวม 102,672 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 19 มี EBITDA 1,739 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 10 และมีกำไรสุทธิ กอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจำ 1,211 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 29 • บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จำกัด: ยอดขายเพิ่มขึ้นรอยละ 12 จากราคาขายสินคาเพิ่มขึ้นตามตนทุนที่เปลี่ยนแปลงไป • บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส แมเนจเมนท จำกัด: ยอดขายเพิ่ ม ขึ้ น ร อ ยละ 35 จากราคาที่ สู ง ขึ้ น รายได ส ว นใหญ ม าจากบริ ก ารขนส ง สิ นค า เทกอง และการขนสงสินคาแบบเต็มเที่ยว • บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จำกัด: ยอดขายเพิม่ ขึน้ รอยละ 36 จากการขึน้ ราคาสินคาประเภทวัตถุดบิ อาทิ เหล็กสำหรับการกอสราง เศษเหล็ก อะลูมิเนียม และถานหิน ซึ่งเปนผลจากราคาน้ำมันที่สูงขึ้น รวมทั้งความตองการที่เพิ่มขึ้นจากการเก็งราคาและกักตุนสินคาในชวงครึ่งปแรก การพัฒนาองคกร

ดานธุรกิจ บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จำกัด: • เพิ่มความเขมแข็งใหกับเครือขายผูแทนจำหนาย โดยแตงตั้ง รานผูแทนจำหนายใหมจำนวน 6 รานที่ จ.ภูเก็ต จ.นครปฐม จ.นครราชสีมา จ.นครศรีธรรมราช จ.นราธิวาส และ จ.หนองบัวลำภู • รวมกับผูแทนจำหนายพัฒนารานคาชวงวัสดุกอสรางทองถิ่น ใหเปนรานคาวัสดุกอสราง Home Express 31 สาขา เพื่อรักษา ความสัมพันธทดี่ ใี นระยะยาว รวมทัง้ สรางโอกาสการขายสินคาใหมๆ บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส แมเนจเมนท จำกัด: • เพิม่ ความสามารถในการใหบริการสงออก โดยกอสรางคลังสินคา และลานตูค อนเทนเนอร ทีท่ า เรือแหลมฉบัง จ.ชลบุรี ซึง่ สามารถ รองรับสินคาไดประมาณ 15,000 ตัน • จัดตัง้ สถานีกา ซ NGV ที่ อ.แกงคอย จ.สระบุรี รองรับการจายกาซ ไดสูงสุดวันละ 60 ตัน เพื่อจำหนายใหกับรถของผูรับเหมา เอสซีจี โลจิสติกส และบริษทั ผลิตภัณฑและวัตถุกอ สราง จำกัด บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จำกัด: • จัดตั้งกองถานหิน (Coal Stockpile) ณ เขตทาเรือ Long Binh ประเทศเวียดนาม เพือ่ ใชในการผลิตของโรงงาน Vina Kraft Paper รองรับปริมาณถานหินไดสูงสุดประมาณ 25,000 ตัน ขอมูลทางการเงินของธุรกิจจัดจำหนาย (SCG Distribution)

• จัดตัง้ สำนักงานสาขาเพิม่ เติมในประเทศแทนซาเนีย ทวีปแอฟริกา ปจจุบนั มี 31 สาขาทั่วโลก • จัดตั้งโรงอัดกระดาษ (Baling Station) ในประเทศฟลิปปนส เพิ่มเติม 2 แหง ที่เมือง San Pedro และเมือง Pangasinan

ดานทรัพยากรบุคคล • พัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการขยายงานในประเทศและ ตางประเทศ ทัง้ ดานภาษาและทักษะการปฏิบัติงาน • ปรับปรุงกระบวนการสรรหาและคัดเลือกพนักงานตางประเทศ รวมทัง้ นำหลักการพัฒนาความรูค วามสามารถตามตำแหนงงาน มาพัฒนาศักยภาพพนักงานในสำนักงานสาขาทั่วโลก

ดานนวัตกรรม • พัฒนาระบบแผนที่ Online เพื่อใหผูแทนจำหนาย ศูนยบริการ หนวยงานจัดสง ผูร บั เหมาขนสง สามารถยกระดับการใหบริการ ใหสอดคลองกับความตองการของลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ • ปรับปรุงกระบวนการขนสงวัตถุดิบจากประเทศตนทางมายัง ประเทศกัมพูชา เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของโรงงาน Kampot Cement

(ลานบาท)

2551

2550

2549

2548

2547

7,807 10,903 7,557 3,346

8,528 11,143 8,834 2,309

8,214 10,610 8,576 2,034

6,406 8,560 7,337 1,223

5,357 7,765 6,906 859

102,672 101,582 1,211 1,211 1,739

86,440 85,415 939 939 1,576

81,519 80,495 944 1,021 1,498

76,070 74,932 1,079 1,079 1,546

68,558 67,659 968 968 1,541

ขอมูลจากงบดุล *

• สินทรัพยหมุนเวียน • สินทรัพย • หนี้สิน • สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัทและสวนของผูถือหุนสวนนอย ขอมูลจากงบกำไรขาดทุน

• ขายสุทธิ • ตนทุนและคาใชจาย • กำไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจำ ** • กำไรสุทธิ EBITDA ***

* ป 2547 ปรับงบดุลโดยไมรวมสินทรัพยที่ตีราคาเพิ่ม ** กำไรกอนกำไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนและอื่นๆ - สุทธิจากภาษีเงินได *** กำไรกอนภาษีเงินได ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย รวมเงินปนผลรับจากบริษัทรวม

18


กลยุทธการดำเนินธุรกิจ บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จำกัด: • จัดโครงการ Dealer Integration และ Collaboration รวมกับ ผูแ ทนจำหนาย เพิม่ ประสิทธิภาพการขายและกิจกรรมการตลาด พรอมปรับปรุงรูปแบบการบริการตามแนวคิด “Total Home Solution” • รวมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี จัดทำ หลักสูตรการบริหารจัดการกอสรางสำหรับผูร บั เหมาขนาดกลาง และขนาดยอม และรวมกับสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (NIDA) พัฒนาความสามารถและศักยภาพการแขงขันของ ธุรกิจรานโฮมมารท • พัฒนาชองทางจัดจำหนาย ในประเทศอินโดนีเซีย เวียดนาม และกัมพูชา เพือ่ บรรลุวสิ ยั ทัศนในการเปนผูน ำดานการจัดการ ชองทางจัดจำหนายสินคาวัสดุกอสรางในภูมิภาคอาเซียน

บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส แมเนจเมนท จำกัด: • มุ ง บริ ห ารงานโลจิ ส ติ ก ส โดยใช สิ น ทรั พ ย ที่ มี อ ยู ใ ห เ ต็ ม ประสิทธิภาพ เพือ่ ลดตนทุนคาขนสง อาทิ การขนสงสินคาเทีย่ วกลับ (Backhauling) ในกลุมธุรกิจบรรจุภัณฑ • เพิ่มการขนสงหลายรูปแบบ (Multimodal) ในภาคใตของไทย โดยมีทงั้ การขนสงทางบกโดยรถบรรทุก และการขนสงทางน้ำ โดยใชเรือ Motor Barge เพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขัน บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จำกัด: • ขยายสำนักงานสาขาในประเทศที่มีศักยภาพในการเติบโต เพื่อแสวงหาแหลงผลิตสินคาและวัตถุดิบที่มีคุณภาพ รวมทั้ง เสริมฐานลูกคาเดิมและขยายตลาดใหม • เพิม่ ความมัน่ ใจและยกระดับการบริการ อาทิ เปนศูนยกลางนำเขา สินคาพลังงานและสินคาประเภทวัตถุดิบ พัฒนาการจัดการ ระวางเรือ (Freight Management) รวมทั้งใหบริการดาน การเงินกับลูกคา

“ เรานำหลัก Total Quality Management (TQM) มาปรับปรุง แผนการดำเนินธุรกิจอยางสม่ำเสมอ เพื่อการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ และลดความเสี่ยงทางธุรกิจ นอกจากนี้ ยังใหความสำคัญกับการวางแผน จัดหาพลังงานร ว มกั น ระหว า งเอสซี จี ดิ ส ทริ บิ ว ชั่ น เอสซี จี เปเปอร และเอสซีจี ซิเมนต เพื่อลดคาใชจายดานพลังงาน และลดตนทุนการดำเนินงาน เพือ่ ประโยชนสูงสุดตอลูกคา ดวยแผนงานตางๆ เหลานี้ เชื่อเปนอยางยิ่งวา เอสซีจีจะสามารถเติบโตตอไปไดอยางยัง่ ยืนในอนาคต”

ธนาพล เบญจวงศเสถียร Coal Supply Chain Manager ฝายพลังงานและสินคาอุตสาหกรรม บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จำกัด

19


บริหารการเงินใหมีสถานะมั่นคง ดูแลเงินทุนหมุนเวียนใหอยู ในระดับที่เหมาะสม ลดความเสี่ยงดวยการใช แหลงเงินกูภายในประเทศในรูปแบบของหุนกู และจัดเตรียมเงินทุนใหพรอมรับแผนการขยายธุรกิจที่วางไว

งบการเงิน

21 22 24 72

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ งบการเงินรวมบริษัทปูนซิเมนต ไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินบริษัทปูนซิเมนต ไทย จำกัด (มหาชน)

เทา

= 1.3 - 1.9

ลดระดับสินคาคงคลังในไตรมาส 4/51

เทียบกับ 4,146 ลานบาท ในป 2550

= 14,164 ลานบาท >>>

= 26,714 ลานบาท

เฉลี่ยรอยละ

15 จากป 2547 - 2551

ยอดขายสุทธิเติบโตอยางตอเนื่อง >>>

หรือ 32% จากไตรมาส 3/51

เทา

30,000 - 40,000 ลานบาท >>>

เงินสดคงเหลือ ณ สิ้นป 2551

ป 2547 - 2551 ประมาณ

กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน

ตอสวนของผูถือหุนอยู ในระดับต่ำ

อัตราสวนหนี้สิน

1.0 - 13 .3

อัตราสวนสภาพคลองออยู ในระดับสูง


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินของบริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย ซึ่งจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชี ทีร่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย และตามขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย วาดวยการจัดทำและนำเสนอรายงานทางการเงิน ภายใตพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 โดยไดมกี ารพิจารณาเลือกใชนโยบายการบัญชีทเี่ หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ยางสม่ำเสมอ รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสำคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษทั ไดแตงตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบดวย กรรมการทีเ่ ปนอิสระกำกับดูแลงบการเงิน ประเมินระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในใหมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล เพือ่ ใหมคี วามมัน่ ใจไดวา มีการบันทึกขอมูลทางบัญชีถกู ตอง ครบถวนอยางเพียงพอ ทันเวลา และปองกันไมใหเกิดการทุจริตหรือการดำเนินการทีผ่ ดิ ปกติ โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบซึง่ ได แสดงไวในรายงานประจำปนี้แลว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นวาระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในของบริษัท สามารถสรางความเชื่อมั่นไดวางบการเงินของ บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย แสดงฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดถูกตองในสาระสำคัญแลว

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานกรรมการ

กานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ

21


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ในป 2551 คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบตั หิ นาทีต่ ามขอบเขตทีค่ ณะกรรมการบริษทั ไดมอบหมายใหกำกับดูแลตามขอบังคับวาดวยคณะกรรมการ ตรวจสอบที่สำคัญไดแก การสอบทานงบการเงิน การสอบทานการกำกับดูแลกิจการที่ดีตามหลักการบรรษัทภิบาลและจรรยาบรรณเอสซีจี การกำกับ ดูแลการบริหารความเสี่ยง การกำกับดูแลและพัฒนาระบบการควบคุมภายใน การกำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน และการเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชี ประจำป 2552 โดยในป 2551 มีการประชุมทัง้ สิน้ 6 ครัง้ และคณะกรรมการตรวจสอบเขาประชุมรอยละ 96 สรุปสาระสำคัญในการปฏิบตั หิ นาทีไ่ ดดงั นี้ 1. การสอบทานงบการเงิน: คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและประจำป 2551 ของบริษทั ปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย รวมกับฝายจัดการ ผูอำนวยการสำนักงานตรวจสอบ และผูสอบ บัญชีซึ่งไดเขารวมประชุมทุกครั้ง โดยไดสอบถามและชี้แจงขอมูลที่เกี่ยวกับการจัดทำงบการเงินตามขอกำหนดของกฎหมายและมาตรฐาน บัญชี รวมทั้งสวนที่มีการเปลี่ยนแปลงในระหวางป และการเปดเผยหมายเหตุในงบการเงินอยางเพียงพอ และสอดคลองกับมาตรฐาน บัญชีที่กำหนดไวจนไดผลเปนที่นาพอใจ กอนที่จะใหค วามเห็ น ชอบในงบการเงินดังกลาว นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังได ประชุมรวมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการของบริษัทเขารวมประชุมหนึ่งครั้งเพื่อปรึกษาหารือกันอยางอิสระถึงประเด็นสำคัญ ๆ ในการ จัดทำงบการเงินและการเปดเผยขอมูลที่เปนประโยชนแกผูใชงบการเงินเพิม่ ขึน้ จากปกอ น ตามทีแ่ สดงไวในรายงานประจำปแลว สงผลใหการ จัดทำงบการเงินของบริษัทและงบการเงินรวมมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีเพิ่มขึ้น มีความโปรงใส และตรวจสอบได จนสามารถเสนอ งบการเงินกอนสอบทานหรือกอนตรวจสอบไดเร็วกวากำหนดเวลาของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) อยางตอเนื่องมาตั้งแตป 2541 โดยไมมีการปรับปรุงรายการที่เปนสาระสำคัญจากผูสอบบัญชีเมื่อมีการสอบทานหรือตรวจสอบแลว 2. การสอบทานการกำกับดูแลกิจการที่ดี: ในปลายป 2550 ไดมีการปรับปรุงจรรยาบรรณใหทันสมัยและงายตอการเขาใจ รวมทั้งประกาศ ใชแนวปฏิบัติ Whistleblower Policy เพื่อสงเสริมใหมีการประกอบธุรกิจอยางมีคุณธรรม และใหพนักงานมีสวนรวมในการกำกับดูแลธุรกิจ ดวยตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งในปนี้ไดผลดี คือมีผูเขามาขอคำปรึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติใหถูกตองในกรณีตาง ๆ เปนจำนวน มาก สงผลใหไมเกิดกรณีปฏิบตั ผิ ดิ จรรยาบรรณอยางเปนสาระสำคัญ สวนการรับขอรองเรียนมีทงั้ หมดเพียง 12 เรือ่ ง สรุปผลการตรวจสอบ ขอรองเรียนมีการทำผิดจริง แตไมมีผลกระทบที่เปนสาระสำคัญ 8 เรื่อง และเปนความเขาใจผิดของผูรอ งเรียน 4 เรื่อง การสอบทานการปฏิบตั ติ ามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ที กี่ ำหนดในบรรษัทภิบาลเอสซีจี กฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท.) และกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจ ก็ยงั มีการปฏิบตั อิ ยางถูกตองมีประสิทธิภาพและตอเนือ่ ง สงผลใหเอสซีจเี ปนทีย่ อมรับขององคกรภายนอกทัง้ ในและตางประเทศ จนไดรบั รางวัลจำนวนมาก ในเรือ่ งรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ไดสอบทานใหมกี ารปฏิบตั ติ ามกฎหมายและขอกำหนดของ ก.ล.ต. และ ตลท. อยาง สม่ำเสมอ โดยจัดใหมีการรายงานของกรรมการที่เกี่ยวของ การเปดเผยให ตลท. ทราบตามกฎหมายและขอกำหนดอยางทันเวลา และยังได เปดเผยรายการระหวางกันและรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันเพิม่ เติมในรายงานประจำปดว ย นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบโดยรวมทั้งคณะ (As a Whole) และประเมินตนเอง (Self Assessment) เปนประจำทุกป ซึ่งผลการประเมินในปนเี้ ฉลีย่ เปนรอยละ 97 ซึง่ เปนเกณฑทนี่ า พึงพอใจมากตอเนือ่ ง จากปกอ น หัวขอทีป่ ระเมิน ไดแก ความพรอมของกรรมการ การบริหารความเสีย่ ง รายงานทางการเงิน การประชุมคณะกรรมการ การปฏิบัติ หนาที่ของเลขานุการและสำนักงานตรวจสอบ ในชวงปลายปไดรบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ใหแกไขขอบเขตหนาทีใ่ นขอบังคับคณะกรรมการตรวจสอบตามประกาศของ ก.ล.ต. และ ตลท. พรอมทัง้ ไดเสนอชือ่ กรรมการตรวจสอบผูม คี วามรูแ ละประสบการณในการสอบทานความนาเชือ่ ถือของงบการเงินบริษทั คือ นายธารินทร นิมมานเหมินท เพื่อใหสอดคลองกับขอกำหนดของ ก.ล.ต. เมื่อเดือนตุลาคม 2551 3. การกำกับดูแลการบริหารความเสี่ยง: คณะกรรมการตรวจสอบไดกำกับดูแลการบริหารความเสี่ยงตามคูมือที่กำหนดไวเปนรายไตรมาส ซึ่งปจจัยความเสี่ยงสำคัญ ๆ ของกลุมธุรกิจไดแสดงไวในรายงานประจำปแลว ในปนี้ไดกำหนดใหมีแนวปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยง ตามแนวทางการพัฒนาสูความยั่งยืน โดยมีแนวทางการประเมินการบริหารความเสี่ยงอยางตอเนื่องทั้งในดานธุรกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม อยางนอยปละครั้ง รวมทั้งมีการทบทวนหลักเกณฑการพิจารณาสัญญาณเตือนภัยใหเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจมากขึ้น 4. การกำกับดูแลและพัฒนาระบบการควบคุมภายใน: คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ซึง่ สำนักงาน ตรวจสอบและผูสอบบัญชี ไดมีความเห็นสอดคลองกันวาระบบการควบคุมภายในที่ใชอยูของเอสซีจี มีความเหมาะสมเพียงพอโดยไมพบ จุดออนที่เปนสาระสำคัญ ซึ่งจะกระทบตอผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของเอสซีจี นอกจากนี้ ระบบการควบคุมภายในที่ใช เทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยในการเพิ่มประสิทธิภาพจุดควบคุมตาง ๆ ก็ยังมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง ไดแก การพัฒนาหลักการประเมิน การควบคุมภายในดวยตนเอง (Control Self Assessment) ระบบการใหคำปรึกษา ระบบการมอบอำนาจดำเนินการ ระบบการประเมิน การบริหารความเสีย่ ง ระบบการสอบทานรายการระหวางกัน และรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน เปนผลใหไดขอ มูลทีถ่ กู ตองและทันเวลาในการพิจารณา บริหารงานของหนวยงานตาง ๆ

22


5. การกำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน: คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานการปฏิบตั งิ านของสำนักงานตรวจสอบใหเปนไปตามแผนงานประจำป และระยะปานกลางที่ไดรับอนุมัติแลวในเรื่องดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPI) การสรุปผลการตรวจสอบเปนรายไตรมาส และสอบทาน ผังการบริหารงาน กำลังพล และงบประมาณลงทุนและบริหารเปนประจำป และทบทวนทุกครึ่งป ซึ่งเปนผลใหงานตรวจสอบมีการพัฒนา การตรวจสอบในเชิงปองกันอยางตอเนือ่ งและเปนประโยชนแกหนวยงานตางๆ ใหปฏิบตั งิ านไดอยางมีประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ นอกจากนี้ ยังกำหนด ใหหนวยงานตางๆ มีอิสระที่จะประเมินผลการปฏิบัติงานของผูตรวจสอบในทุกแผนงาน รวมทั้งใหเสนอความเห็นในการปรับปรุงคุณภาพ งานตรวจสอบไดเต็มที่ จนเกิดผลดีในการเพิ่มศักยภาพการตรวจสอบตอเนื่องกันทุกป รวมทั้งกำหนดใหมีการประสานงานกับผูสอบบัญชี เพื่อวางแผนรวมกันในการสงเสริมใหงานตรวจสอบมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 6. การพิจารณาแตงตั้งผูสอบบัญชีประจำป 2552: ในปนี้ผูเกี่ยวของกับงานสอบบัญชีไดประเมินผลการปฏิบัติงานบัญชีในเรื่องความพรอมของทีม ผูส อบบัญชี คุณภาพงาน มารยาท และจรรยาบรรณ ซึง่ ผลการประเมินอยูใ นระดับนาพึงพอใจใกลเคียงกับปกอ น รวมทัง้ ไดสอบทานคุณสมบัติ ของผูสอบบัญชีใหถูกตองตามประกาศของ ก.ล.ต. และ ตลท. นอกจากนี้ ไดเชิญสำนักงานสอบบัญชีชั้นนำ 5 ราย มาเสนอขอบเขตและ คาธรรมเนียมการสอบบัญชี ผลการพิจารณาไดเลือก บริษัทเคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด อีกวาระหนึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบ จึงมีมติใหเสนอแนะตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนแตงตั้ง นายสุพจน สิงหเสนห ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2826 และ/หรือ นายพิศิษฐ ชีวะเรืองโรจน ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2803 และ/หรือ นายเจริญ ผูสัมฤทธิ์เลิศ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4068 แหงบริษัทเคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด เปนผูสอบบัญชีของบริษัทประจำป 2552 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

พลอากาศเอก (กำธน สินธวานนท) ประธานกรรมการตรวจสอบ

23


งบการเงินรวม บริษัทปูนซิเมนต ไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผูถือหุนบริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบกำไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวมและ งบกระแสเงินสดรวมสำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย ซึ่งผูบริหารของกิจการเปน ผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาว จากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อใหไดความเชื่อมั่น อยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวธิ กี ารทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เปนจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการ ทางการเงินที่เปนสาระสำคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ผลการดำเนินงานรวมและกระแสเงินสดรวม สำหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกันของแตละปของบริษทั ปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) และบริษทั ยอย โดยถูกตองตามทีค่ วรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป ตามทีไ่ ดอธิบายไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 32 กำไรสะสมทีย่ งั ไมไดจดั สรร ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ในงบการเงินรวมไดรบั การปรับปรุงใหม อันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับคาความนิยม

(วินิจ ศิลามงคล) ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3378 บริษัทเคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด กรุงเทพมหานคร 25 กุมภาพันธ 2552

24


งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หนวย: พันบาท

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคา • กิจการที่เกี่ยวของกัน • บริษัททั่วไป ลูกหนี้และเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่นสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

หมายเหตุ

2551

2550

6

26,713,731

4,145,872

5, 7 7 5 5 8

1,259,077 18,054,022 1,108,765 30,106,621 6,583,465 83,825,681

2,906,713 23,389,608 4,573,885 399,520 37,089,871 5,920,333 78,425,802

9 10 5 5 11 12 13 14

49,598,115 3,228,915 444,439 1,371,061 137,260,770 3,150,557 3,159,746 3,736,788 201,950,391 285,776,072

46,135,183 3,184,846 495,042 1,077,133 108,988,032 3,505,185 3,407,983 3,036,820 169,830,224 248,256,026

รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

หนวย: พันบาท

หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา • กิจการที่เกี่ยวของกัน • บริษัททั่วไป หนี้สินระยะยาวสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หุนกูสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป เจาหนี้และเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน คาใชจายคางจาย ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

หมายเหตุ

2551

2550

15

9,007,180

2,819,369

5

1,195,965 10,841,569 4,097,966 24,664,819 928,312 4,808,432 1,634,539 6,887,334 64,066,116

3,002,166 20,669,890 3,037,185 24,812,385 298,616 3,705,746 1,891,754 4,841,259 65,078,370

401,172 28,751,711 79,785,170 188,188 1,235,356 110,361,597 174,427,713

368,642 8,473,313 64,619,016 94,285 1,083,152 74,638,408 139,716,778

16 17 5

รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงาน หนี้สินระยะยาว หุนกู หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น

รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

26 16 17 13 18

25


งบดุลรวม (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หนวย: พันบาท

หนี้สินและสวนของผูถือหุน สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชำระแลว สวนเกินทุน การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม การแปลงคางบการเงิน สวนไดเสียในบริษัทรวม สิทธิแปลงสภาพของหุนกูดอยสิทธิของบริษัทยอย สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย กำไรสะสม จัดสรรแลว • สำรองตามกฎหมาย • สำรองทั่วไป ยังไมไดจัดสรร • จากการดำเนินงานของบริษัท บริษัทยอยและบริษัทรวม

รวมสวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัท สวนของผูถือหุนสวนนอย จากทุน ผลการดำเนินงานและอื่นๆ

รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

หมายเหตุ

2551

2550

19 19

1,600,000 1,200,000

1,600,000 1,200,000

20

(1,059) (648,846) (270,823)

(754) (697,674) 200,344

17

3,946

-

20

120,000 10,516,000

120,000 10,516,000

76,300,529 87,219,747

74,793,182 86,131,098

24,128,612 111,348,359 285,776,072

22,408,150 108,539,248 248,256,026

ในนามคณะกรรมการ

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานกรรมการ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 26

กานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ


งบกำไรขาดทุนรวม สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หนวย: พันบาท

• ขายสุทธิ • ตนทุนขาย

หมายเหตุ 5 5

กำไรขั้นตน • คาใชจายในการขาย • คาใชจายในการบริหาร • คาตอบแทนกรรมการ

23 24

กำไรจากการขาย • กำไรจากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน และอื่นๆ • รายไดอื่น

4 25

กำไรจากการดำเนินงาน • สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีสวนไดเสีย

กำไรกอนดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงินและภาษีเงินได • ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน • ภาษีเงินได

27 28

กำไรสุทธิ สวนของกำไร (ขาดทุน) สำหรับปที่เปนของ ผูถือหุนบริษัทใหญ ผูถือหุนสวนนอย

2551 293,230,345 248,095,557 45,134,788 14,304,066 12,893,871 74,660 17,862,191

2550 267,736,718 217,274,274 50,462,444 12,632,323 12,455,652 83,020 25,291,449

369,381 4,156,097 22,387,669 4,668,536 27,056,205 6,088,646 4,561,582 16,405,977

6,623,903 5,344,688 37,260,040 8,243,084 45,503,124 5,273,273 5,897,578 34,332,273

16,770,606 (364,629) 16,405,977

30,351,900 3,980,373 34,332,273

13.98

25.29

กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) สวนของผูถือหุนบริษัทใหญ

29

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

27


งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวม สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 สวนเกินทุน หมายเหตุ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสำหรับป การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม กำไร (ขาดทุน) จากการแปลงคางบการเงินของ หนวยงานในตางประเทศ รายได (คาใชจาย) สุทธิของรายการที่รับรูโดยตรง ในสวนของผูถือหุน กำไรสุทธิ รวมสวนของรายไดและคาใชจายที่รับรู เงินปนผล สวนของผูถือหุนสวนนอยเพิ่มขึ้น

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 28

การแปลงคา งบการเงิน

สวนไดเสีย ในบริษัทรวม

1,200,000

1,748,606

(888,282)

17,108

-

(1,749,360)

-

201,325

-

-

190,608

(18,089)

1,200,000 1,200,000 1,200,000

(1,749,360) (1,749,360) (754) (754) (754)

190,608 190,608 (697,674) (697,674) (697,674)

183,236 183,236 200,344 200,344 200,344

-

(305)

-

(476,194)

-

-

48,828

5,027

17

-

-

-

-

31

1,200,000

(305) (305) (1,059)

48,828 48,828 (648,846)

(471,167) (471,167) (270,823)

31

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแลว การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสำหรับป การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม กำไรจากการแปลงคางบการเงินของ หนวยงานในตางประเทศ สิทธิแปลงสภาพของหุนกูดอยสิทธิของบริษัทยอย สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย รายได (คาใชจาย) สุทธิของรายการที่รับรูโดยตรง ในสวนของผูถือหุน กำไร (ขาดทุน) สุทธิ รวมสวนของรายไดและคาใชจายที่รับรู เงินปนผล สวนของผูถือหุนสวนนอยเพิ่มขึ้น

ทุนเรือนหุน ที่ออก การเปลี่ยนแปลง และชำระแลว ในมูลคายุติธรรม

32


หนวย: พันบาท

กำไรสะสม

สิทธิแปลงสภาพ ของหุนกูดอยสิทธิ ของบริษัทยอย สวนที่เปนของ ผูถือหุนสวนนอย

สำรอง ตามกฎหมาย

-

120,000

-

-

-

-

-

-

จัดสรรแลว

ยังไมไดจัดสรร จากการดำเนินงาน สำรอง ของบริ ษัท บริษัทยอย ทั่วไป และบริษัทรวม 10,516,000 62,309,519

รวมสวนของ ผูถือหุน เฉพาะบริษัท

สวนของผูถือหุน สวนนอย

รวมสวนของ ผูถือหุน

75,022,951

18,542,417

93,565,368

-

(1,548,035)

-

(1,548,035)

-

-

172,519

(123,160)

49,359

120,000 120,000 120,000

10,516,000 10,516,000 10,516,000

30,351,900 30,351,900 (17,868,237) 74,793,182 74,793,182 240,161 75,033,343

(1,375,516) 30,351,900 28,976,384 (17,868,237) 86,131,098 86,131,098 240,161 86,371,259

(123,160) 3,980,373 3,857,213 (3,441,187) 3,449,707 22,408,150 22,408,150 59,659 22,467,809

(1,498,676) 34,332,273 32,833,597 (21,309,424) 3,449,707 108,539,248 108,539,248 299,820 108,839,068

-

-

-

-

(476,499)

-

(476,499)

-

-

-

-

53,855

128,360

182,215

3,946

-

-

-

3,946

-

3,946

3,946 3,946 3,946

120,000

10,516,000

16,770,606 16,770,606 (15,503,420) 76,300,529

(418,698) 16,770,606 16,351,908 (15,503,420) 87,219,747

128,360 (364,629) (236,269) (1,265,502) 3,162,574 24,128,612

(290,338) 16,405,977 16,115,639 (16,768,922) 3,162,574 111,348,359

29


งบกระแสเงินสดรวม สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หนวย: พันบาท

2551

2550

16,405,977

34,332,273

12,188,057 (393,107) 5,984,790 518,201 28,028 473,762 (369,381) (87,431) 3,426 (1,442,529) (4,668,536) 4,561,582 33,202,839

12,609,588 (489,484) 5,396,831 (78,120) 4,494 62,609 (6,623,903) (498,560) (2,482,364) (8,243,084) 5,897,578 39,887,858

7,090,258 (267,628) 7,368,387 436,845 (867,767) 13,760,095

(2,841,817) (75,885) (1,321,617) (924,751) (572,098) (5,736,168)

(11,993,646) 8,952 685,359 32,530 (11,266,805) 35,696,129 (5,040,648) 30,655,481

6,356,533 (42,870) 316,191 20,052 6,649,906 40,801,596 (4,930,848) 35,870,748

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสุทธิ รายการปรับปรุง • คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย • ดอกเบี้ยรับ • ดอกเบี้ยจาย • ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่ยังไมเกิดขึ้น • คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ • คาเผื่อมูลคาสินคาลดลง สินคาลาสมัยและเคลื่อนไหวชา • กำไรจากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ • คาความนิยมติดลบ • ขาดทุน (กำไร) จากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ • รายไดเงินปนผล • สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีสวนไดเสีย • ภาษีเงินได กำไรจากการดำเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพยดำเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) • ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคา • ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน • สินคาคงเหลือ • สินทรัพยหมุนเวียนอื่น • สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น สินทรัพยดำเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) - สุทธิ หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) • เจาหนี้การคา • เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน • คาใชจายคางจายและหนี้สินหมุนเวียนอื่น • เงินทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงาน หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ เงินสดรับจากการดำเนินงาน จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดำเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 30


งบกระแสเงินสดรวม (ตอ) สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หนวย: พันบาท

หมายเหตุ

2551

2550

356,222 7,568,814 (3,630,899)

437,359 8,539,829 (474,950)

(774,665) (9,282) (101,361) (885,308) 640,002 (35,509,546) 695,341 (188,076) 2,265,197 477,715 (28,210,538)

(219,462) (32,882) (676,628) (928,972) 9,873,558 (25,683,813) 854,311 (488,492) (2,452,229) (69,316) (10,392,715)

(5,905,604) 5,773,848 (5,979,991) 24,805,554 580,465 (294,583) 39,977,593 (24,762,385) (192,900) 34,001,997

(5,273,368) (6,541,746) (4,610,860) 1,035,611 (521,495) (231,745) 24,978,334 (15,770,793) 263,500 (6,672,562)

(15,503,420) (1,299,270) (16,802,690) 2,771,900 151,709 20,122,916 22,567,859 4,145,872 26,713,731

(17,868,237) (3,408,317) (21,276,554) 4,075,921 106,483 (23,766,712) 1,711,321 2,434,551 4,145,872

4,437,222

2,301,921

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปนผล เงินลงทุนในบริษัทรวม กิจการที่ควบคุมรวมกันและบริษัทอื่น เงินลงทุนในบริษัทยอย • เงินสดจายสุทธิจากการไดมาซึ่งบริษัทยอย • สวนเกินกวามูลคาสุทธิของบริษัทยอย • ผลประโยชนของผูถือหุนสวนนอย เงินลงทุนในบริษัทยอยเพิ่มขึ้น - สุทธิ เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน รับชำระจากเงินใหกูยืม (เงินใหกูยืม) แกกิจการที่เกี่ยวของกัน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน

4

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูยืม • จายดอกเบี้ย • เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน • เงินสดจายชำระหนี้สินระยะยาว • เงินสดรับจากหนี้สินระยะยาว • เงินสดรับ (จาย) จากเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน • เงินสดจายชำระหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน • เงินสดรับจากการออกหุนกู • เงินสดจายจากการไถถอนหุนกู • เงินสดรับ (จาย) จากการถือหุนกูโดยบริษัทยอย เงินกูยืมเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ จายเงินปนผล • เงินปนผลจายของบริษัทใหญ • เงินปนผลจายของบริษัทยอยใหแกผูถือหุนสวนนอย รวมจายเงินปนผล สวนของผูถือหุนสวนนอยเพิ่มขึ้นจากการเพิ่มทุน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น - สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป

ขอมูลงบกระแสเงินสดเปดเผยเพิ่มเติม รายการที่ไมใชเงินสด • เจาหนี้การซื้อสินทรัพยคงคาง หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

31


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37

32

สารบัญ ขอมูลทั่วไป เกณฑการจัดทำงบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สำคัญ การซื้อธุรกิจและขายเงินลงทุน รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคา สินคาคงเหลือ เงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี) สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน หนี้สินระยะยาว หุนกู หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น ทุนเรือนหุน สำรอง ขอมูลทางการเงินจำแนกตามสวนงาน ผลการดำเนินงานของกลุมธุรกิจ คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนกรรมการ รายไดอื่น คาใชจายพนักงาน ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน ภาษีเงินได กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน สัญญา เงินปนผลจาย การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น เหตุการณภายหลังวันที่ในงบดุล มาตรฐานการบัญชีไทยที่ยังไมไดใช การจัดประเภทรายการใหม

หนา 33 36 37 44 46 50 50 51 51 54 55 56 56 57 57 57 59 59 60 60 60 62 64 64 64 64 65 65 65 65 66 66 66 69 70 71 71


หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการตรวจสอบตามการมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2552 1 ขอมูลทั่วไป

บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) “บริษัท” เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และที่อยูจดทะเบียนตั้งอยูเลขที่ 1 ถนนปูนซิเมนตไทย บางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 ประเทศไทย บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2518 บริษทั และบริษทั ยอย “กลุม บริษทั ” เปนกลุม อุตสาหกรรมทีใ่ หญทสี่ ดุ ของประเทศไทย และเปนผูน ำตลาดในแตละธุรกิจทีป่ ระกอบการ ธุรกิจหลัก ที่ดำเนินงาน ไดแก ธุรกิจเคมีภัณฑ ธุรกิจกระดาษ ธุรกิจซิเมนต การดำเนินงานอื่นรวมถึง ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง ธุรกิจจัดจำหนาย และธุรกิจ การลงทุน รายละเอียดบริษัทยอยที่มีผลการดำเนินงานเปนสาระสำคัญที่นำมาจัดทำงบการเงินรวมมีดังตอไปนี้ สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ)

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ) ธุรกิจเคมีภัณฑ • บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จำกัด • บริษัทไทยโพลิเอททีลีน จำกัด • บริษัทไทยโพลิเอททีลีน (1993) จำกัด • บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน จำกัด • บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน (1994) จำกัด • บริษัทเอสซีจี พลาสติกส จำกัด • บริษัทเอสซีจี เพอรฟอรมานซ เคมิคอลส จำกัด • บริษัทเอสซีจี โพลิโอเลฟนส จำกัด • บริษัทระยองวิศวกรรมและซอมบำรุง จำกัด • บริษัทโปรเทค เอาทซอสซิ่ง จำกัด • บริษัทอาร ไอ แอล 1996 จำกัด • บริษัทวีนา เอสซีจี เคมิคอลส จำกัด • SCG Chemicals (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • Tuban Petrochemicals Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • บริษัทระยอง เทอรมินัล จำกัด • บริษัทระยองไปปไลน จำกัด • บริษัทมาบตาพุด แทงค เทอรมินัล จำกัด • PT. TPC Indo Plastic & Chemicals (จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย) • บริษัทมาบตาพุดโอเลฟนส จำกัด ธุรกิจกระดาษ • บริษัทเอสซีจี เปเปอร จำกัด (มหาชน) • บริษัทผลิตภัณฑกระดาษไทย จำกัด • บริษัทกระดาษสหไทย จำกัด (มหาชน) • บริษัทสยามคราฟทอุตสาหกรรม จำกัด • บริษัทอุตสาหกรรมกระดาษคราฟทไทย จำกัด

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 91 81 78 67

98 98 98 98 98

ธุรกิจเคมีภัณฑ • Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • บริษัทระยองโอเลฟนส จำกัด • Rayong Olefins (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • บริษัทโฟลวแล็บ แอนด เซอรวสิ จำกัด • บริษัทไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จำกัด (มหาชน) • บริษัททีพีซี เพสตเรซิน จำกัด • บริษัทนวพลาสติกอุตสาหกรรม (สระบุรี) จำกัด • บริษัทนวพลาสติกอุตสาหกรรม จำกัด • บริษัทนวอินเตอรเทค จำกัด • Chemtech Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) • บริษัทโทเทิลแพลนทเซอรวิส จำกัด • Minh Thai House Component Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) • Viet-Thai Plastchem Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) • TPC Vina Plastic and Chemicals Corporation Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) • บริษัทสยามสเตบิไลเซอรส แอนด เคมิคอลส จำกัด

ธุรกิจกระดาษ • บริษัทกระดาษสหไทยอุตสาหกรรม จำกัด • United Pulp and Paper Co., Inc. (จดทะเบียนในประเทศฟลิปปนส) • บริษัทสยามเซลลูโลส จำกัด • บริษัทอินโฟเซฟ จำกัด

67 63 63 51 45 45 45 45 45 45 45 36 32 31 27

98 98 98 98

33


สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ)

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ) ธุรกิจกระดาษ • บริษัทเยื่อกระดาษสยามโฮลดิ้ง จำกัด • บริษัทสยามฟอเรสทรี จำกัด • บริษัทพนัสนิมิต จำกัด • บริษัทไทยพนาสณฑ จำกัด • บริษัทไทยพนาดร จำกัด • บริษัทไทยพนาราม จำกัด • บริษัทสวนปารังสฤษฎ จำกัด • บริษัทสยามพนาเวศ จำกัด • บริษัทไทยพนาบูรณ จำกัด • บริษัทไทยวนภูมิ จำกัด • บริษัทฟนิคซ พัลพ แอนด เพเพอร จำกัด (มหาชน) • บริษัทไทยเคนเปเปอร จำกัด (มหาชน) • บริษัทกลุมสยามบรรจุภัณฑ จำกัด • บริษัทสยามบรรจุภัณฑสงขลา (1994) จำกัด ธุรกิจซิเมนต • บริษัทเอสซีจี ซิเมนต จำกัด • บริษัทผลิตภัณฑและวัตถุกอสราง จำกัด • บริษัทปูนซิเมนตไทย (แกงคอย) จำกัด • บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทาหลวง) จำกัด • บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทุงสง) จำกัด • บริษัทปูนซิเมนตไทย (ลำปาง) จำกัด • บริษัทสยามมอรตาร จำกัด • บริษัทสยามปูนซิเมนตขาว จำกัด • บริษัทสยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จำกัด • บริษัทอนุรักษพลังงานซิเมนตไทย จำกัด • บริษัทเอสซีไอ แพลนท เซอรวิสเซส จำกัด • บริษัทสยามวิจัยและนวัตกรรม จำกัด (เดิมชื่อ“บริษัทเอสซีไอ วิจัยและนวัตกรรม จำกัด”) • บริษัทเอสซีไอ อีโค เซอรวิสเซส จำกัด • CPAC Concrete Products (Cambodia) Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศกัมพูชา) ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง • บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง จำกัด • บริษัทกระเบื้องกระดาษไทย จำกัด • บริษัทผลิตภัณฑกระเบื้อง (ลำปาง) จำกัด • บริษัทกระเบื้องทิพย จำกัด • บริษัทสยามซีแพคบล็อค จำกัด • บริษัทอุตสาหกรรมซีแพคบล็อค จำกัด • บริษัทอุตสาหกรรมคอนกรีตซีแพค จำกัด • บริษัทผลิตภัณฑคอนกรีตซีแพค จำกัด • บริษัทสยามไฟเบอรกลาส จำกัด • บริษัทยิปซัมซิเมนตไทย จำกัด • บริษัทเซรามิคซิเมนตไทย จำกัด

34

98 98 98 98 98 98 98 98 98 98 97 85 69 69

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

ธุรกิจกระดาษ • บริษัทไทยคอนเทนเนอรขอนแกน จำกัด • บริษัทไทยคอนเทนเนอรระยอง จำกัด • บริษัทไทยคอนเทนเนอรสระบุรี จำกัด (เดิมชื่อ“บริษัทซิตี้แพค จำกัด”) • บริษัทไทยคอนเทนเนอร (ทีซีซี) จำกัด • Vina Kraft Paper Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) • TCG Rengo Subang (M) Sdn. Bhd. (จดทะเบียนในประเทศมาเลเซีย) • TCG Rengo (S) Limited (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • บริษัทไทยบริติชซีเคียวริตี้ พริ้นติ้ง จำกัด (มหาชน) • บริษัทไทยบริติช ดีโพสต จำกัด

ธุรกิจซิเมนต • Cementhai Building Materials (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • PT. Semen Jawa (จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย) • Kampot Cement Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศกัมพูชา) • CPAC Lao Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศลาว) • Myanmar CPAC Service Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศพมา) • CPAC Cambodia Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศกัมพูชา) • Kampot Land Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศกัมพูชา)

69 69 69 69 69 69 69 49 25

100 95 93 70 70 69 45

100

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง • บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จำกัด • บริษัทเดอะ สยาม เซรามิค กรุป อินดัสทรี่ส จำกัด • บริษัทซิเมนตไทยโฮมเซอรวิส จำกัด • บริษัทไทยเซรามิคพาวเวอร จำกัด • Cementhai Gypsum (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • Cementhai Concrete Products (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • Cementhai Roof Holdings Philippines, Inc. (จดทะเบียนในประเทศฟลิปปนส)

100 100 100 100 100 100 100


สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ)

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ) ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง • Cementhai Ceramic (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • Cementhai Ceramics Philippines Holdings, Inc. (จดทะเบียนในประเทศฟลิปปนส) • Cementhai Paper (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • บริษัทสระบุรีรัชต จำกัด • PT. Surya Siam Keramik (จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย) • บริษทั กระเบื้องหลังคาซีแพค จำกัด • บริษัทกระเบื้องหลังคาเซรามิคไทย จำกัด • บริษัทไทยเซรามิคโฮลดิ้ง จำกัด ธุรกิจจัดจำหนาย • บริษัทเอสซีจี ดิสทริบิวชั่น จำกัด • บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จำกัด • บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จำกัด • บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส แมเนจเมนท จำกัด • บริษัทเอสซีที เซอรวิสเซส จำกัด • บริษัทโฮมมารทโฮมโซลูชั่น จำกัด • บริษัทเอสซีจี รีเทล จำกัด • บริษัทเอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ จำกัด • Cementhai SCT (Australia) Pty. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศออสเตรเลีย) • Cementhai SCT (Guangzhou) Ltd. (จดทะเบียนในประเทศจีน) • Cementhai SCT (Hong Kong) Ltd. (จดทะเบียนในประเทศจีน) • Cementhai SCT (Jordan) L.L.C. (จดทะเบียนในประเทศจอรแดน) • Cementhai SCT (Middle East) FZE. (จดทะเบียนในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรท) • Cementhai SCT (Philippines) Inc. (จดทะเบียนในประเทศฟลิปปนส) ธุรกิจการลงทุนและอื่นๆ • บริษัทซิเมนตไทยโฮลดิ้ง จำกัด • บริษัทซิเมนตไทยพร็อพเพอรตี้ (2001) จำกัด (มหาชน) • บริษัทพร็อพเพอรตี้ แวลู พลัส จำกัด • บริษัทเอสซีจี แอคเคานติ้ง เซอรวิสเซส จำกัด • บริษัทกฎหมายเอสซีจี จำกัด

100 100 100 83 80 75 75 75

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง • CPAC Monier (Cambodia) Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศกัมพูชา) • CPAC Monier Vietnam Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) • บริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน) • CPAC Monier Philippines, Inc. (จดทะเบียนในประเทศฟลิปปนส) • PT. Siam-Indo Gypsum Industry (จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย) • PT. Siam-Indo Concrete Products (จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย)

ธุรกิจจัดจำหนาย • Cementhai SCT (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • Cementhai SCT (U.S.A.), Inc. (จดทะเบียนในประเทศสหรัฐอเมริกา) • SCG Trading (M) Sdn. Bhd. (จดทะเบียนในประเทศมาเลเซีย) • PT. Cementhai SCT Indonesia (จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย) • SCT Logistics (Vietnam) Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) • Cementhai SCT (Cambodia) Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศกัมพูชา) • Cementhai SCT (Malaysia) Sdn. Bhd. (จดทะเบียนในประเทศมาเลเซีย) • Siam Cement Myanmar Trading Ltd. (จดทะเบียนในประเทศพมา) • Cementhai SCT Emirates (L.L.C.) (จดทะเบียนในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรท)

75 75 62 50 50 50

100 100 100 100 100 75 70 60 49

100

100 100 100 100 100

ธุรกิจการลงทุนและอื่นๆ • บริษัทบางซื่อการจัดการ จำกัด • Cementhai Captive Insurance Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • บริษัทเอสไอแอล ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด • บริษัทระยองที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด

100 100 75 75

35


รายละเอียดบริษัทยอยที่ไมมีการประกอบธุรกิจที่เปนสาระสำคัญ หรือรอปดบริษัท ที่นำมาจัดทำงบการเงินรวมมีดังตอไปนี้

• บริษัทคอนกรีตผสมเสร็จซีแพค (ภาคใต) จำกัด • บริษัทผลิตภัณฑทอสยาม จำกัด • บริษัทเหล็กซิเมนตไทย จำกัด • บริษัทเอสซีจี โฮลดิ้ง จำกัด • บริษัทนวโลหะบางปะกง จำกัด • บริษัทบางซื่ออุตสาหกรรม จำกัด • บริษัทเหล็กสยาม จำกัด • บริษัททอธารา จำกัด • บริษัทไทยวนภัณฑ จำกัด • บริษัทซีเอ็มที บริการ จำกัด • บริษัทซิเมนตไทยแมเนจเมนท เซอรวิสเซส จำกัด • บริษัทสยามนวภัณฑ จำกัด • บริษัทสยามพาราฟนส จำกัด • SCG Corporation S.A. (จดทะเบียนในประเทศปานามา) • Cementhai Resources, Inc. (จดทะเบียนในประเทศฟลิปปนส) • Tuban LDPE Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร)

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ) 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ) • Cementhai Roof Products (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • Cementhai Ceramics Singapore Holdings Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • Cementhai Sanitary Ware (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • Cementhai (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • บริษัทสยาม ทีพีซี จำกัด • Siam TPC (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) • บริษัทกระเบื้องหลังคาซีแพคอุตสาหกรรม จำกัด • Myanmar CPAC Trading Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศพมา) • บริษัทไทยคอนเทนเนอรเทรดดิ้ง จำกัด (เดิมชื่อ“บริษัทไฮ-แพค เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด”) • บริษัทอารโอซี โฮลดิ้ง จำกัด • บริษัทเฮาส คอมโพเนนท จำกัด

100 100 100 100 78 78 75 70 69 63 45

100

บริษทั ยอยดังกลาวขางตนสวนใหญตงั้ อยูใ นประเทศไทย ยกเวนทีร่ ะบุไวเปนอยางอืน่ และสัดสวนการถือหุน ในบริษทั ยอยดังกลาวไมมกี ารเปลีย่ นแปลง จากป 2550 อยางมีสาระสำคัญ ทัง้ นี้ ในไตรมาสที่ 2 ป 2551 กลุม บริษทั ไดซอื้ หุน สามัญในบริษทั ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน) และไดนำงบการเงินของบริษัทดังกลาว มาจัดทำงบการเงินรวมของกลุมบริษัท ตั้งแตไตรมาสที่ 3 ป 2551 ตามที่ไดกลาวไวในหมายเหตุ 4 2 เกณฑการจัดทำงบการเงิน

งบการเงินรวมนี้นำเสนอเพื่อวัตถุประสงคของการรายงานเพื่อใชในประเทศ และจัดทำเปนภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษไดจัดทำขึ้น เพื่อความสะดวกของผูอานงบการเงินที่ไมคุนเคยกับภาษาไทย งบการเงินรวมนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทย (“มาตรฐานการบัญชี”) รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใชโดย สภาวิชาชีพบัญชี (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย กลุมบริษัทไดใชมาตรฐานการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหมโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหวางป 2550 ตอไปนี้ ซึ่งมีผลบังคับสำหรับงบการเงินที่มี รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป

36

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง งบกระแสเงินสด

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง สัญญาเชา

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง สินคาคงเหลือ

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง ตนทุนการกูยืม

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง การนำเสนองบการเงิน


มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และขอผิดพลาด

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง งบการเงินระหวางกาล

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง การรวมธุรกิจ

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 49 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง สัญญากอสราง

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 51

เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน

การใชมาตรฐานการบัญชีฉบับใหมและฉบับปรับปรุงเหลานี้ ไมมผี ลกระทบทีเ่ ปนสาระสำคัญกับงบการเงินรวม ยกเวนทีเ่ ปดเผยขอมูลในหมายเหตุ 32 ในระหวางป 2551 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหมหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับสำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลา บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 และไมไดมีการนำมาใชสำหรับการจัดทำงบการเงินนี้ มาตรฐานการบัญชีที่ไดปรับปรุงใหมเหลานี้ ไดเปดเผยในหมายเหตุ 36 งบการเงินนีแ้ สดงหนวยเงินตราเปนเงินบาท ยกเวนทีร่ ะบุไวเปนอยางอืน่ งบการเงินนีไ้ ดจดั ทำขึน้ โดยถือหลักเกณฑการบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเวนตามที่ระบุในนโยบายการบัญชี ในการจัดทำงบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชี ผูบ ริหารตองใชการประมาณและขอสมมติฐานหลายประการ ซึง่ มีผลกระทบตอการกำหนด นโยบายและการรายงานจำนวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจาย การประมาณและขอสมมติฐานมาจากประสบการณในอดีต และปจจัยตางๆ รวมถึงการประเมินผลกระทบทีส่ ำคัญตอผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของกลุม บริษทั อันเนือ่ งมาจากวิกฤตการณเศรษฐกิจโลก ผลทีเ่ กิดขึน้ จริงจึงอาจแตกตางจากที่ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติฐานทีใ่ ชในการจัดทำงบการเงินจะไดรบั การทบทวนอยางตอเนือ่ ง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชี ที่ประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวนหากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะงวดนั้นๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับและงวดในอนาคต หากการปรับประมาณการกระทบทั้งในงวดปจจุบันและอนาคต ขอมูลเกี่ยวกับการประมาณความไมแนนอนและขอสมมติฐานที่สำคัญในการกำหนดนโยบายการบัญชี มีผลกระทบสำคัญตอการรับรูจำนวนเงิน ในงบการเงิน และรวมอยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินตอไปนี้ หมายเหตุ 4 หมายเหตุ 7, 8, 9, 10, 11 และ 12 หมายเหตุ 13 หมายเหตุ 34

การซื้อธุรกิจ การวัดมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยแตละรายการและหนวยสินทรัพย ที่กอใหเกิดเงินสดซึ่งรวมคาความนิยม การใชประโยชนของขาดทุนทางภาษีเงินได ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

3 นโยบายการบัญชีที่สำคัญ

(ก) เกณฑในการทำงบการเงินรวม งบการเงินรวมของบริษัท ประกอบดวย งบการเงินของกลุมบริษัท และสวนไดเสียของกลุมบริษัทในบริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน รายการที่มีนัยสำคัญระหวางบริษัทกับบริษัทยอย ไดถูกตัดรายการในการทำงบการเงินรวม บริษัทยอย บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อบริษัทมีอำนาจควบคุมทั้งทางตรงหรือทางออมในการกำหนด นโยบายทางการเงินและการดำเนินงานของบริษทั นัน้ เพือ่ ไดมาซึง่ ประโยชนจากกิจกรรมของบริษทั ยอย งบการเงินของบริษทั ยอยไดรวมอยูใ น งบการเงินรวม นับแตวันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง

37


บริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัทรวมเปนกิจการที่กลุมบริษัทมีอิทธิพลอยางเปนสาระสำคัญโดยมีอำนาจเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายทางการเงินและ การดำเนินงาน แตไมถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกลาว กิจการที่ควบคุมรวมกันเปนกิจการที่กลุมบริษัทมีสวนรวมในการควบคุมกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจตามที่ตกลงไวในสัญญา งบการเงินรวมของกลุมบริษัทไดรวมสวนแบงกำไรหรือขาดทุนของบริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกันตามวิธีสวนไดเสีย นับจากวันที่มี อิทธิพลอยางเปนสาระสำคัญ หรือมีสว นรวมในการควบคุม จนถึงวันทีก่ ารมีอทิ ธิพลอยางเปนสาระสำคัญ หรือมีสว นรวมในการควบคุมสิน้ สุดลง เมื่อสวนแบงผลขาดทุนของบริษัทรวมหรือกิจการที่ควบคุมรวมกัน มีจำนวนเกินกวาเงินลงทุนในบริษัทรวม หรือกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงินลงทุนจะถูกทอนลงจนเปนศูนยและหยุดรับรูสวนผลขาดทุน เวนแตกรณีที่กลุมบริษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรืออนุมานหรือยินยอมที่ จะชำระภาระผูกพันของบริษัทรวมหรือกิจการที่ควบคุมรวมกัน การรวมธุรกิจ การรวมธุรกิจของกลุมบริษัทใชวิธีซื้อธุรกิจ ตนทุนการซื้อธุรกิจบันทึกดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินที่ผูซื้อมอบให ณ วันที่มี การแลกเปลี่ยน รวมถึงรายจายอื่นๆ ที่เกี่ยวของโดยตรงกับการซื้อธุรกิจ (ข) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดในงบกระแสเงินสด ประกอบดวย เงินสด เงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และเงินลงทุนระยะสั้นที่มี สภาพคลองสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะตองชำระคืนเมื่อทวงถามถือเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด (ค) ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น แสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักดวยคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชำระหนี้ และการคาดการณเกี่ยวกับการชำระหนี้ในอนาคตของลูกคา ลูกหนี้จะถูกตัดจำหนายบัญชีเมื่อทราบวาเปนหนี้สูญ (ง) สินคาคงเหลือ กลุมบริษัทตีราคาสินคาคงเหลือในราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ำกวา ตนทุนของสินคาคำนวณโดยใชวิธีดังตอไปนี้ สินคาสำเร็จรูป สินคาซื้อมาเพื่อขาย สินคาระหวางผลิต

- ตีราคาตามตนทุนมาตรฐาน (ซึ่งใกลเคียงกับตนทุนการผลิตในปจจุบัน) - ตีราคาตามตนทุนถัวเฉลี่ย - ตีราคาตามตนทุนมาตรฐาน ซึ่งประกอบดวย ตนทุนวัตถุดิบ แรงงาน และคาใชจายในการผลิตผันแปร วัตถุดิบ อะไหล วัสดุ ของใชสิ้นเปลืองและอื่นๆ - ตีราคาตามตนทุนถัวเฉลี่ย

ตนทุนของสินคา ประกอบดวย ตนทุนทีซ่ อื้ ตนทุนในการดัดแปลงหรือตนทุนอืน่ เพือ่ ใหสนิ คาอยูใ นสถานทีแ่ ละสภาพปจจุบนั ในกรณีของสินคา สำเร็จรูปและสินคาระหวางผลิตที่ผลิตเอง ตนทุนสินคารวมการปนสวนของคาโสหุยการผลิตอยางเหมาะสม โดยคำนึงถึงระดับกำลังการผลิต ตามปกติ มูลคาสุทธิที่จะไดรับเปนการประมาณราคาที่จะขายไดจากการดำเนินธุรกิจปกติหักดวยคาใชจายที่จำเปนในการขาย (จ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน บันทึกบัญชีโดยวิธีสวนไดเสีย

38


เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเปนหลักทรัพยในความตองการของตลาดซึ่งถือไวเพื่อคา จัดประเภทเปนสินทรัพยหมุนเวียนและแสดงในราคา ยุติธรรม กำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพยไดบันทึกในงบกำไรขาดทุน ตราสารหนี้ซึ่งกลุมบริษัทตั้งใจและสามารถถือจนครบกำหนด แสดงในราคาทุนตัดจำหนายหักดวยขาดทุนจากการดอยคา ผลตางระหวาง ราคาทุนที่ซื้อมากับมูลคาไถถอนของตราสารหนี้จะถูกตัดจายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเปนหลักทรัพยในความตองการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไวเพื่อคาหรือตั้งใจถือไวจนครบกำหนด จัดประเภทเปนหลักทรัพยเผื่อขายและแสดงในราคายุติธรรม กำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพยไดบันทึกในสวนของผูถือหุนโดยตรง ยกเวนขาดทุนจากการดอยคาจะรับรูในงบกำไรขาดทุน เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไมใชหลักทรัพยในความตองการของตลาดแสดงในราคาทุนหักดวยขาดทุนจากการดอยคา มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินสำหรับหลักทรัพยเพื่อคาและหลักทรัพยเผื่อขายจะใชราคาเสนอซื้อ ณ วันที่ในงบดุล การจำหนายเงินลงทุน เมื่อมีการจำหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางจำนวนเงินสุทธิที่ไดรับและมูลคาตามบัญชี รวมถึงกำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพย ที่เกี่ยวของที่เคยบันทึกในสวนของผูถือหุนจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน ในกรณีที่กลุมบริษัทจำหนายเงินลงทุนที่ถืออยูเพียงบางสวน การคำนวณตนทุนสำหรับเงินลงทุนที่จำหนายไปและเงินลงทุนที่ยังถืออยูใชวิธี ถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนัก (ฉ) สัญญาเชาทางการเงิน กลุม บริษทั ไดทำสัญญาขายเครือ่ งจักรและอุปกรณและเชากลับคืนซึง่ เขาลักษณะเปนสัญญาเชาทางการเงิน สวนเกินของรายรับที่ไดจากการขาย ที่สูงกวาราคาตามบัญชีของสินทรัพยไมไดถูกรับรูเปนรายไดโดยทันที แตกลุมบริษัทบันทึกรับรูเปนรายการรอตัดบัญชีและทยอยตัดตลอดอายุ ของสัญญาเชา กลุม บริษัทบันทึกสัญญาเชาทางการเงินเปนสินทรัพยและหนี้สินในงบดุลรวมดวยจำนวนเทากับมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา ณ วันเริ่มตน ของสัญญาเชา คาเชาที่จายชำระจะปนสวนเปนสวนของคาใชจายทางการเงินและสวนที่ไปลดเงินตน คาใชจายทางการเงินจะปนสวน ไปสูงวดตางๆ ตลอดอายุสัญญาเชา เพื่อใหอัตราดอกเบี้ยเมื่อเทียบกับยอดหนี้ที่คงเหลืออยูในแตละงวดมีอัตราคงที่ (ช) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยที่เปนกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักดวยคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา สินทรัพยที่เชา การเชาซึง่ กลุม บริษทั ไดรบั ความเสีย่ งและผลตอบแทนสวนใหญจากการครอบครองสินทรัพยทเี่ ชานัน้ ๆ ใหจดั ประเภทเปนสัญญาเชาทางการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณที่ไดมาโดยทำสัญญาเชาทางการเงินบันทึกเปนสินทรัพยดวยมูลคายุติธรรมหรือมูลคาปจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำ ที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตจำนวนใดจะต่ำกวาหักดวยคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา คาเชาที่ชำระจะแยกเปนสวนที่ เปนคาใชจายทางการเงิน และสวนที่จะหักจากหนี้ตามสัญญา เพื่อทำใหอัตราดอกเบี้ยเมื่อเทียบกับยอดหนี้ที่คงเหลืออยูในแตละงวดมีอัตรา คงที่ คาใชจายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบกำไรขาดทุน

39


คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาบันทึกเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธีเสนตรงตามระยะเวลาดังตอไปนี้ สวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสราง • ธุรกิจเคมีภัณฑ • ธุรกิจกระดาษ • ธุรกิจซิเมนต เครื่องจักรและอุปกรณ • ธุรกิจเคมีภัณฑ • ธุรกิจกระดาษ • ธุรกิจซิเมนต ยานพาหนะและอุปกรณ เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสำนักงาน

5 - 33 ป 5 - 25 ป 20 - 30 ป 5 - 20 ป 5 - 20 ป 3 - 20 ป 5 - 20 ป 3 - 20 ป 3 - 20 ป

เฉพาะบริษัทยอย 2 แหง ซึ่งไดแก บริษัทฟนิคซ พัลพ แอนด เพเพอร จำกัด (มหาชน) และบริษัทไทยเคนเปเปอร จำกัด (มหาชน) ตัดคาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ โดยใชวิธีและระยะเวลาดังตอไปนี้ บริษัทฟนิคซ พัลพ แอนด เพเพอร จำกัด (มหาชน) สวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสราง • ไดมากอนวันที่ 1 มกราคม 2545 • ไดมาหลังวันที่ 1 มกราคม 2545 เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องจักรและอุปกรณบางสวน เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสำนักงาน ยานพาหนะ บริษัทไทยเคนเปเปอร จำกัด (มหาชน) สวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร เครื่องจักรที่ใชในการผลิต • โรงงานกาญจนบุรี • โรงงานปราจีนบุรี เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องตกแตงและติดตั้ง ยานพาหนะ

5 - 30 ป

วิธีคิดคาเสื่อมราคา วิธีเสนตรง

30 ป 20, 30 ป 15 ป 5 - 25 ป 3, 5 ป 5 ป

วิธีกองทุนจม วิธีเสนตรง วิธีกองทุนจม วิธีเสนตรง วิธีเสนตรง วิธีเสนตรง

5 - 20 ป 20 ป

วิธีคิดคาเสื่อมราคา วิธีเสนตรง วิธีเสนตรง

ตามประมาณการกำลังการผลิต 1.92 ลานตัน ตามประมาณการกำลังการผลิต 5.25 ลานตัน 5 - 10 ป วิธีเสนตรง 5 ป วิธีเสนตรง 5 ป วิธีเสนตรง

อยางไรก็ตาม ผลกระทบจากการใชนโยบายการคิดคาเสื่อมราคาที่ตางกันดังกลาวไมเปนสาระสำคัญตองบการเงินรวม คาเสื่อมราคาของสินทรัพยที่เชาตามสัญญาเชาทางการเงินบันทึกเปนรายจายในแตละงวดบัญชี นโยบายการคิดคาเสื่อมราคาของสินทรัพย ที่เชาจะเปนนโยบายเดียวกันกับการคิดคาเสื่อมราคาของสินทรัพยที่เปนกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัท กลุมบริษัทไมคิดคาเสื่อมราคาสำหรับที่ดิน และสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสราง

40


(ซ) สินทรัพยไมมีตัวตน คาความนิยม คาความนิยมจากการรวมธุรกิจ ไดแก ตนทุนการไดมาของสินทรัพยสทุ ธิทรี่ ะบุไดสว นทีเ่ กินกวามูลคายุตธิ รรมของสินทรัพยสทุ ธินนั้ คาความนิยม ติดลบจากการรวมธุรกิจ ไดแก มูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ระบุไดสวนที่เกินกวาตนทุนการไดมาของสินทรัพยสุทธินั้น กลุมบริษัทไดมี การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีสำหรับคาความนิยม ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 ตามที่ไดกลาวไวในหมายเหตุ 32 คาความนิยมที่ไดมากอนวันที่ 1 มกราคม 2551 คาความนิยมและคาความนิยมติดลบที่ไดรับรูไวกอนหนา แสดงในราคาทุนหักดวยคาตัดจำหนายสะสมและขาดทุนจากการดอยคา คาความนิยมติดลบในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 รับรูทั้งจำนวนในกำไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 คาความนิยมที่ไดมาในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 คาความนิยมแสดงในราคาทุน คาความนิยมติดลบรับรูทันทีในงบกำไรขาดทุน การวัดมูลคาหลังการรับรูเริ่มแรก คาความนิยมวัดมูลคาดวยราคาทุนหักขาดทุนจากการดอยคา ในกรณีเงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีสวนไดเสีย คาความนิยมไดถูกรวมในมูลคา ตามบัญชีของเงินลงทุน สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ สินทรัพยไมมตี วั ตนอืน่ ๆ ทีก่ ลุม บริษทั ซือ้ มาและมีอายุการใชงานจำกัด แสดงในราคาทุนหักดวยคาตัดจำหนายสะสมและขาดทุนจากการดอยคา คาตัดจำหนาย คาตัดจำหนายบันทึกเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจ ของสินทรัพยไมมีตัวตนแตละประเภท ยกเวนคาความนิยม ระยะเวลาที่กลุมบริษัทคาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจแสดงไดดังนี้ คาธรรมเนียมการใชสิทธิ คาลิขสิทธิ์ซอฟทแวร อื่นๆ

ตามอายุสัญญา 3 - 10 ป 2 - 20 ป

(ฌ) การดอยคา มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยของกลุมบริษัทไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบดุลวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ในกรณีที่มีขอบงชี้ จะทำการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน คาความนิยมและสินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ ที่มีอายุการใชงานไมจำกัดและสินทรัพยไมมีตัวตนซึ่งยังไมไดใช จะมีการทดสอบการดอยคาทุกป หรือเมื่อมีขอบงชี้เรื่องการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคารับรูเ มือ่ มูลคาตามบัญชีของสินทรัพย หรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยทกี่ อ ใหเกิดเงินสดสูงกวามูลคาทีจ่ ะไดรบั คืน ขาดทุนจากการดอยคาจะบันทึกในงบกำไรขาดทุน เวนแตเมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลคาของสินทรัพยเพิ่มขึ้นของสินทรัพย ชิ้นเดียวกันกับที่เคยรับรูในสวนของผูถือหุนและมีการดอยคาในเวลาตอมา ในกรณีนี้ใหรับรูในสวนของผูถือหุน เมื่อมีการลดลงในมูลคายุติธรรมของสินทรัพยทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งไดบันทึกในสวนของผูถือหุน และมีความชัดเจนวาสินทรัพยดังกลาว มีการดอยคา ขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในสวนของผูถือหุนจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยไมตองปรับกับสินทรัพยทางการเงินดังกลาว ขาดทุนที่บันทึกในงบกำไรขาดทุนเปนผลตางระหวางราคาทุนที่ซื้อกับมูลคายุติธรรมในปจจุบันของสินทรัพยหักดวยขาดทุนจากการดอยคา ของสินทรัพยทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรูแลวในงบกำไรขาดทุน

41


การคำนวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของกลุมหลักทรัพยที่ถือไวจนกวาจะครบกำหนดและลูกหนี้ที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจำหนาย คำนวณโดยการหา มูลคาปจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคต คิดลดดวยอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง สำหรับลูกหนี้ระยะสั้นไมมีการคิดลด มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงิน หมายถึง ราคาขายสุทธิของสินทรัพย หรือมูลคาจากการใชของสินทรัพย แลวแตมลู คาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชของสินทรัพยประมาณจากกระแสเงินสดทีจ่ ะไดรบั ในอนาคตคิดลดเปนมูลคาปจจุบนั โดยใชอตั ราคิดลดกอนคำนึงถึงภาษีเงินไดเพือ่ ใหสะทอนมูลคาทีอ่ าจประเมินไดในตลาดปจจุบนั ซึง่ แปรไปตามเวลาและความเสีย่ งทีม่ ตี อ สินทรัพย การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมือ่ มูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนเพิม่ ขึน้ ในภายหลัง และการเพิม่ ขึน้ นัน้ สัมพันธ โดยตรงกับขาดทุนจากการดอยคาที่เคยรับรู ขาดทุนจากการดอยคาของคาความนิยม จะไมมีการปรับปรุงกลับรายการ ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงิน อื่นๆ ที่เคยรับรูในงวดกอนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ในงบดุลวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใชในการคำนวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการเพียงเทาที่มูลคา ตามบัญชีของสินทรัพยไมเกินกวามูลคาตามบัญชีภายหลังหักดวยคาเสื่อมราคาสะสมหรือคาตัดจำหนายสะสม เสมือนหนึ่งไมเคยมีการบันทึก ขาดทุนจากการดอยคามากอน (ญ) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น แสดงในราคาทุน (ฎ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนีส้ นิ จะรับรูใ นงบดุลก็ตอ เมือ่ กลุม บริษทั มีภาระหนีส้ นิ ตามกฎหมายทีเ่ กิดขึน้ ในปจจุบนั หรือทีก่ อ ตัวขึน้ อันเปนผลมาจากเหตุการณ ในอดีต และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจจะตองถูกจายไปเพื่อชำระภาระหนี้สินดังกลาว และสามารถประมาณ จำนวนภาระหนีส้ นิ ไดอยางนาเชือ่ ถือ ถาผลกระทบดังกลาวมีจำนวนทีเ่ ปนสาระสำคัญ ประมาณการหนีส้ นิ พิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสด ที่จะจายในอนาคตโดยใชอัตราคิดลดในตลาดปจจุบันกอนคำนึงถึงภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนจำนวนที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปร ไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอหนี้สิน (ฏ) รายได รายไดที่รับรูไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม และแสดงสุทธิจากสวนลดการคา การขายสินคาและใหบริการ รายไดจะรับรูในงบกำไรขาดทุนเมื่อไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสินคาที่มีนัยสำคัญไปใหกับผูซื้อแลว และจะไมรับรู รายไดถาฝายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินคาที่ขายไปแลวนั้น หรือมีความไมแนนอนที่มีนัยสำคัญในการไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจ จากการขายสินคาหรือใหบริการนั้น ไมอาจวัดมูลคาของจำนวนรายไดและตนทุนที่เกิดขึ้นไดอยางนาเชื่อถือ หรือมีความเปนไปไดคอนขาง แนนอนที่จะตองรับคืนสินคา รายไดจากการใหบริการรับรูเมื่อมีการใหบริการ ดอกเบี้ยรับและเงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนตามเกณฑคงคาง เงินปนผลรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนในวันที่กลุมบริษัทมีสิทธิไดรับเงินปนผล ในกรณีเงินปนผลที่จะไดรับจากหลักทรัพยในความตองการของตลาดจะพิจารณาจากวันที่มีการประกาศสิทธิการรับเงินปนผล รายไดคาธรรมเนียม รายไดคาธรรมเนียมการใหบริการรับรูเปนรายไดตามเกณฑคงคางตามที่กำหนดในสัญญา

42


(ฐ) คาใชจาย สัญญาเชาดำเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดำเนินงานบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา ประโยชนที่ไดรับตามสัญญาเชาจะรับรู ในงบกำไรขาดทุนเปนสวนหนึ่งของคาเชาทั้งสิ้นตามสัญญา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นจะบันทึกในงบกำไรขาดทุนในรอบบัญชีที่มีรายการดังกลาว รายจายทางการเงิน ดอกเบี้ยจายและคาใชจายในทำนองเดียวกันบันทึกในงบกำไรขาดทุนในงวดที่คาใชจายดังกลาวเกิดขึ้น ยกเวนในกรณีที่มีการบันทึกเปนตนทุน สวนหนึ่งของสินทรัพย อันเปนผลมาจากการใชเวลายาวนานในการจัดหา กอสราง หรือการผลิตสินทรัพยดังกลาวกอนที่จะนำมาใชเองหรือ เพื่อขาย ดอกเบี้ยซึ่งเปนสวนหนึ่งของคางวดตามสัญญาเชาการเงินบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง คาใชจายสำหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน กลุมบริษัทไดเสนอสิทธิใหพนักงานจำนวนหนึ่งที่เขาหลักเกณฑเพื่อการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน พนักงานที่เห็นชอบกับขอเสนอ จะไดรบั เงินจำนวนหนึง่ โดยคำนวณผันแปรตามเงินเดือนลาสุด จำนวนปทที่ ำงาน หรือจำนวนเดือนคงเหลือกอนการเกษียณตามปกติ กลุม บริษทั บันทึกเปนคาใชจายสำหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน (ฑ) ภาษีเงินได ภาษีเงินไดจากกำไรหรือขาดทุนสำหรับปประกอบดวย ภาษีเงินไดปจจุบัน และภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดรับรูในงบกำไรขาดทุน ภาษีเงินไดปจจุบัน ภาษีเงินไดปจ จุบนั ไดแก ภาษีทคี่ าดวาจะจายชำระโดยคำนวณจากกำไรประจำปทตี่ อ งเสียภาษี โดยใชอตั ราภาษีทปี่ ระกาศใช ณ วันทีใ่ นงบดุล ซึ่งเกี่ยวกับรอบบัญชีที่คำนวณภาษีเงินได ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปกอนๆ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี กลุม บริษทั บันทึกบัญชีโดยวิธหี นีส้ นิ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี คำนวณจากผลแตกตางชัว่ คราวทีเ่ กิดขึน้ ระหวางมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและ หนี้สินและจำนวนที่ใชเพื่อความมุงหมายทางภาษี โดยผลตางชั่วคราวตอไปนี้ที่ไมไดถูกนำมารวมพิจารณา ไดแก คาความนิยมซึ่งไมสามารถ ถือเปนคาใชจายทางภาษี และการรับรูสินทรัพยและหนี้สินในครั้งแรกซึ่งไมกระทบตอทั้งกำไรทางบัญชีหรือกำไรทางภาษี หากเปนไปไดวา จะไมมีการกลับรายการในระยะเวลาอันใกล จำนวนภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีพิจารณาจากรายการที่คาดวาจะเกิดขึ้นจริง หรือมูลคาหรือ ประโยชนของสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับและหนี้สินที่คาดวาจะตองชำระ โดยใชอัตราภาษีที่มีการประกาศใช ณ วันที่ในงบดุล สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะบันทึกตอเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากำไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตจะมีจำนวนเพียงพอ กับการใชประโยชนจากการบันทึกสินทรัพยดงั กลาว สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะถูกปรับลดลงเทาทีป่ ระโยชนทางภาษีจะมีโอกาสถูกใชจริง (ฒ) เงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ในงบดุล แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กำไร หรือขาดทุนจากการแปลงคาจะบันทึกในงบกำไรขาดทุน สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศและบันทึกตามเกณฑราคาทุนเดิม แปลงคาเปนเงินบาท โดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศซึ่งแสดง ในมูลคายุติธรรม แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่มีการพิจารณามูลคายุติธรรม

43


กิจการในตางประเทศ สินทรัพยและหนี้สินของกิจการในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล คาความนิยมและรายการปรับปรุงมูลคายุตธิ รรมทีเ่ กิดจากการซือ้ กิจการในตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิดรายการ รายไดและคาใชจายของกิจการในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนสำหรับปถัวเฉลี่ยของอัตราซื้อและอัตราขาย ผลตางจากอัตราแลกเปลีย่ นทีเ่ กิดจากการแปลงคา บันทึกไวเปนรายการแยกตางหากในสวนของผูถ อื หุน จนกวามีการจำหนายเงินลงทุนนัน้ ออกไป ในกรณีของการลงทุนสุทธิในกิจการในตางประเทศของกลุม บริษทั โดยในสาระสำคัญแลวการลงทุนดังกลาวมีลกั ษณะเปนรายการทีเ่ ปนตัวเงิน ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งเกิดจากรายการที่เปนตัวเงินและรายการปองกันความเสี่ยงที่เกี่ยวของ ใหบันทึกไวตางหากในสวนของผูถือหุน จนกวามีการจำหนายเงินลงทุนนั้นออกไป (ท) เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ สินทรัพยทางการเงินและหนีส้ นิ ทางการเงินทีป่ รากฏในงบดุลรวมถึง เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนีก้ ารคา ลูกหนีอ้ นื่ เจาหนีก้ ารคา เจาหนี้อื่น ลูกหนี้ระยะยาว เงินใหกูยืม เงินลงทุน เงินกูยืม และหุนกู กลุมบริษัทดำเนินธุรกิจกับตางประเทศและมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน กลุมบริษัทไดใชเครื่องมือ ทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงดังกลาว กำไรหรือขาดทุนจากการทำประกันความเสี่ยงรับรูในงบกำไรขาดทุนในงวดบัญชีเดียวกันกับงวดที่เกิด ผลแตกตางจากอัตราแลกเปลี่ยนของสินทรัพยทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่ทำประกันความเสี่ยงไว 4 การซื้อธุรกิจและขายเงินลงทุน

การซื้อธุรกิจ ในไตรมาสที่ 2 ป 2551 กลุมบริษัทไดซื้อหุนสามัญในบริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน) (TGCI) รอยละ 39.9 เปน เงินประมาณ 515 ลานบาท โดยบริษัทดังกลาวดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตและจำหนายกระเบื้องเซรามิคปูพื้น กระเบื้องบุผนัง และการพัฒนา อสังหาริมทรัพย ระหวางวันที่ 22 พฤษภาคม 2551 ถึงวันที่ 25 มิถุนายน 2551 กลุมบริษัทไดทำคำเสนอซื้อหุน TGCI เปนการทั่วไป และซื้อหุนเพิ่มอีกรอยละ 22 ทำใหมีสัดสวนการถือหุนทั้งหมดคิดเปนรอยละ 61.9 เปนเงินประมาณ 830 ลานบาท ทั้งนี้ ตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2551 กลุมบริษัทมีอำนาจ ควบคุมใน TGCI ดังนั้น กลุมบริษัทจึงไดนำสินทรัพย หนี้สินและผลการดำเนินงานของ TGCI มาจัดทำงบการเงินรวม ณ วันที่และสำหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551

44


สินทรัพยและหนี้สินสุทธิของ TGCI ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2551 ประกอบดวยรายการตอไปนี้

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ ที่ดินพัฒนาเพื่อขาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เงินกูยืมที่มีดอกเบี้ย เจาหนี้การคา หนี้สินอื่น มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินสุทธิที่ระบุได บวก ปรับปรุงมูลคายุติธรรม หัก สวนของผูถือหุนสวนนอย บวก สวนไดเสียในกำไรสุทธิของบริษัทรวมกอนเปนบริษัทยอย สินทรัพยสุทธิจากการไดมา คาความนิยมติดลบจากการซื้อธุรกิจ สิ่งตอบแทนในการซื้อที่ไดจายไป เงินสดที่ไดรับ กระแสเงินสดจาย - สุทธิ

ลานบาท 55 208 589 381 149 47 2,809 785 (3,334) (288) (203) 1,198 150 (457) 19 910 (80) 830 (55) 775

กลุมบริษัทใชมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การรวมธุรกิจ เปนเกณฑในการรับรูมูลคายุติธรรมของสินทรัพย หนี้สิน และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่ระบุไดของ TGCI ณ วันที่ซ้อื ธุรกิจ โดยมูลคายุติธรรมที่รับรูสวนใหญเกิดจากกำไรจากการปรับโครงสรางหนี้ และไมได รับรูสินทรัพยไมมีตัวตนที่ไดรับมาจากการรวมธุรกิจแยกตางหาก ณ วันซื้อ เนื่องจากมูลคาไมมีนัยสำคัญ ซึ่งกลุมบริษัทไดปนสวนมูลคายุติธรรม ดังกลาวไปยังสินทรัพยสุทธิที่ไดรับมาที่ระบุไดตามสวนของกลุมบริษัท และรับรูคาความนิยมติดลบที่เกิดจากการซื้อธุรกิจจำนวน 80 ลานบาท เปนรายได ซึ่งแสดงภายใตรายการ “รายไดอื่น” ในงบกำไรขาดทุนรวมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 การขายเงินลงทุน กลุมบริษัทมีรายการสำคัญที่แสดงภายใตรายการ “กำไรจากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคา ของเงินลงทุน และอื่นๆ” ในงบกำไรขาดทุนรวมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ดังนี้ ป 2551 กลุม บริษทั ไดขายเงินลงทุนในหุน ทุนทัง้ หมดรอยละ 48 ของบริษทั แปซิฟค พลาสติคส (ประเทศไทย) จำกัด ใหแก The Dow Chemical Company สงผลใหกลุมบริษัทมีกำไรกอนภาษีจากการขายเงินลงทุนดังกลาวประมาณ 295 ลานบาท ป 2550 จากนโยบายที่จะลดบทบาทในธุรกิจที่ไมใชธุรกิจหลัก กลุมบริษัทไดขายเงินลงทุนในหุนทุนรอยละ 35 ของบริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด ใหแกผูรวมทุนปจจุบัน ทำใหสัดสวนการถือหุนคงเหลือรอยละ 10 และขายเงินลงทุนในหุนทุนรอยละ 24 ของบริษัทสยามฟูรูกาวา จำกัด ใหแกบริษัท Furukawa Battery ประเทศญี่ปุน ทำใหสัดสวนการถือหุนคงเหลือรอยละ 5 นอกจากนี้ กลุมบริษัทไดขายเงินลงทุนรอยละ 9 ในหุนทุนของบริษัทอะโรเมติกส (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) (ซึ่งปจจุบันควบรวมเปนบริษัทปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน)) ซึง่ เปนหลักทรัพยในความตองการของตลาดประเภทเผือ่ ขาย สงผลใหกลุม บริษทั มีกำไรสุทธิกอ นภาษีจากการขายเงินลงทุนดังกลาว ประมาณ 6,624 ลานบาท

45


5 รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ไดแก บุคคลหรือกิจการตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกับกลุมบริษัท โดยการมีผูถือหุนรวมกันหรือมีกรรมการรวมกัน รายการที่เกิดขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันไดกำหนดขึ้นโดยใชราคาตลาดหรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไมมีราคาตลาดรองรับ รายการที่สำคัญกับกิจการที่เกี่ยวของกันสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม และนโยบายการกำหนดราคาสรุปไดดังนี้ หนวย: ลานบาท

บริษัทรวม ซื้อ คาบริการ รายไดจากการขายสินคา รายไดคาบริการและอื่นๆ รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหารและอื่นๆ รายไดเงินปนผล บริษัทอื่น ซื้อ รายไดจากการขายสินคา รายไดคาบริการและอื่นๆ รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหารและอื่นๆ รายไดเงินปนผล

46

2551

2550

นโยบายการกำหนดราคา

21,776 2,023 30,014 699 546 4,577

21,197 1,501 28,241 583 418 6,762

ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด สวนใหญคิดตามอัตรารอยละของยอดขายสุทธิ ตามจำนวนที่ประกาศจาย

1,420 345 1,723 346 1,443

1,112 298 158 365 2,482

ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด สวนใหญคิดตามอัตรารอยละของยอดขายสุทธิ ตามจำนวนที่ประกาศจาย


ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม กับกิจการที่เกี่ยวของกันมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

ลูกหนี้การคา บริษัทรวม บริษัทโสสุโก เซรามิค จำกัด บริษัทสยามโพลิเอททีลีน จำกัด บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จำกัด บริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จำกัด บริษัทสยามสไตรีนโมโนเมอร จำกัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สระบุรี) จำกัด SCG Plastics (China) Co., Ltd. บริษัทไทย เอ็มเอ็มเอ จำกัด บริษัทสยามทบพันแพคเกจจิ้ง จำกัด บริษัทสยาม มิตซุย พีทีเอ จำกัด บริษัทริเกน (ไทยแลนด) จำกัด บริษัทอื่นๆ บริษัทอื่น บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด บริษัทสยามมิชลิน จำกัด บริษัทอื่นๆ รวม

2551

2550

216 200 199 153 135 73 68 34 21 21 16 64 1,200

256 975 485 319 478 29 49 86 34 17 19 60 2,807

27 20 12 59 1,259

46 42 12 100 2,907 หนวย: ลานบาท

ลูกหนี้และเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บัญชีเดินสะพัด บริษัทรวม บริษัทสยามคูโบตาอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทสยามเลมเมอรซ จำกัด Mariwasa Siam Ceramic, Inc. Mehr Petrochemical Company (Private Joint Stock) บริษัทไทย เอ็มเอ็มเอ จำกัด บริษัทสยาม มิตซุย พีทีเอ จำกัด บริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จำกัด บริษัทไทย เพ็ท เรซิน จำกัด บริษัทสยามซานิทารีแวรอินดัสทรี จำกัด บริษัทไทย เอ็มเอฟซี จำกัด P&S Holdings Corporation บริษัทอื่นๆ

2551

2550

211 175 77 44 40 34 22 17 16 15 12 62 725

114 1 52 29 528 30 20 19 11 13 48 45 910

47


หนวย: ลานบาท

บริษัทอื่น บริษัทสยามมิชลินกรุป จำกัด บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด บริษัทอื่นๆ

เงินใหกูยืมระยะสั้นและตั๋วเงินรับ บริษัทรวม PT. M Class Industry บริษัทสยาม มิตซุย พีทีเอ จำกัด บริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จำกัด บริษัทสยามซานิทารีแวรอินดัสทรี (หนองแค) จำกัด บริษัทสยามซานิทารีแวรอินดัสทรี จำกัด บริษัทอื่นๆ รวม

2551

2550

205 16 33 254 979

1,414 30 35 1,479 2,389

119 11 130 1,109

1,800 290 45 44 6 2,185 4,574 หนวย: ลานบาท

เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทรวม Mariwasa Siam Ceramic, Inc. รวม

2551

2550

444 444

495 495

รายการเคลื่อนไหวระหวางปสำหรับเงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

ระยะสั้น ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม ระยะยาว ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง จัดประเภทเปนเงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม

48

2551

2550

2,185 1,869 (3,924) 130

228 3,961 (2,004) 2,185

495 10 (61) 444

1,414 558 (1,477) 495


หนวย: ลานบาท

เจาหนี้การคา บริษัทรวม บริษัทปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) บริษัทสยามโพลิเอททีลีน จำกัด บริษัทจัมโบบาจส แอนด ทักส จำกัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สระบุรี) จำกัด บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จำกัด บริษัทไอทีวัน จำกัด บริษัทสยามคูโบตาอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทสยามทบพันแพคเกจจิ้ง จำกัด บริษัทไทย เพ็ท เรซิน จำกัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สงขลา) จำกัด บริษัทอื่นๆ บริษัทอื่น บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด บริษัทอื่นๆ รวม

2551

2550

413 339 131 68 64 50 45 16 10 9 23 1,168

1,948 528 118 190 41 35 5 7 16 17 2,905

27 1 28 1,196

93 4 97 3,002 หนวย: ลานบาท

เจาหนี้และเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน บัญชีเดินสะพัด บริษัทรวม บริษัทโสสุโก เซรามิค จำกัด บริษัทไอทีวัน จำกัด บริษัทปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) บริษัทอื่นๆ ตั๋วเงินจาย บริษัทอื่น มูลนิธิซิเมนตไทย PT. Trans-Pacific Polyethylene Indonesia บริษัทอื่นๆ รวม

2551

2550

102 12 9 21 144

104 8 10 15 137

657 82 45 784 928

79 83 162 299

รายการเคลื่อนไหวระหวางปสำหรับเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกันมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2551 162 710 (88) 784

2550 683 265 (786) 162

49


6 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หนวย: ลานบาท

เงินฝากธนาคารและเงินสด เงินฝากประจำและตั๋วสัญญาใชเงินไมเกิน 3 เดือน รวม

2551 19,698 7,016 26,714

2550 3,728 418 4,146

7 ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคา หนวย: ลานบาท

กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัททั่วไป ตั๋วเงินรับการคา หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม หนี้สงสัยจะสูญสำหรับป

2551 1,259 18,047 1,016 19,063 1,009 18,054 19,313

2550 2,907 23,244 1,080 24,324 934 23,390 26,297

28

4 หนวย: ลานบาท

กิจการที่เกี่ยวของกัน ภายในวันที่ครบกำหนดชำระ เกินวันครบกำหนดชำระ: นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน รวม บริษัททั่วไป ภายในวันที่ครบกำหนดชำระ เกินวันครบกำหนดชำระ: นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม

50

2551

2550

1,180

2,890

58 2 1 18 1,259

17 2,907

15,212

20,735

2,455 248 148 1,000 19,063 1,009 18,054 19,313

2,382 163 94 950 24,324 934 23,390 26,297


โดยปกติระยะเวลาการใหสินเชื่อแกลูกคาของกลุมบริษัท คือ 30 - 90 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ลูกหนี้การคาที่คางชำระเกินวันครบกำหนดชำระของกลุมบริษัทมีการค้ำประกันโดยสถาบันการเงินในวงเงินจำนวน 408 ลานบาท (2550: 356 ลานบาท) 8 สินคาคงเหลือ หนวย: ลานบาท

สินคาสำเร็จรูป สินคาระหวางผลิต วัตถุดิบ อะไหล วัสดุ ของใชสิ้นเปลืองและอื่นๆ วัตถุดิบและอะไหลระหวางทาง รวม หัก คาเผื่อมูลคาสินคาลดลง สินคาลาสมัยและเคลื่อนไหวชา สุทธิ

2551 13,191 1,588 5,906 5,565 2,657 2,053 30,960 853 30,107

2550 16,161 1,839 8,427 5,568 2,720 2,587 37,302 212 37,090

ตนทุนของสินคาคงเหลือที่บันทึกเปนคาใชจายและไดรวมในบัญชีตนทุนขายสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจำนวน 245,028 ลานบาท (2550: 216,043 ลานบาท) 9 เงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน

รายการเคลื่อนไหวสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สำหรับเงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกันซึ่งบันทึกโดยวิธีสวนไดเสียมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี มูลคาตามบัญชีสุทธิที่ปรับปรุงใหมแลว สวนแบงกำไรสุทธิจากเงินลงทุน - วิธีสวนไดเสีย ซื้อ รายไดเงินปนผล จำหนาย การเปลี่ยนแปลงสถานะเปนบริษัทยอย อื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2551 46,135 82 46,217 4,669 4,740 (4,577) (247) (811) (393) 49,598

2550 46,360 46,360 8,243 610 (6,762) (1,851) (14) (451) 46,135

51


เงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม และเงินปนผลรับจากเงินลงทุนระหวางปสิ้นสุด ณ วันเดียวกัน มีดังนี้ หนวย: ลานบาท

สัดสวน ความเปนเจาของ (รอยละ) 2551 2550

ทุนชำระแลว

วิธีราคาทุน

วิธีสวนไดเสีย

เงินปนผล

2551

2551

2551

2550

2551

2550

21 50 22 47 50 50 50 46 35 50

21 14,968 14,966 13,452 13,362 21,264 20,928 50 4,455 4,455 2,183 2,183 7,069 7,185 22 1,173 1,173 954 954 3,043 2,984 46 5,590 1,300 2,571 585 2,995 658 50 3,430 3,500 1,712 1,712 1,904 1,948 50 2,331 325 1,059 53 1,175 175 50 2,800 2,800 1,372 1,372 783 2,146 46 64 64 167 167 704 741 35 120 120 42 42 468 496 50 995 1,015 493 493 464 462

2,187 761 14 405 84 -

1,497 1,266 1,387 172 318 42 -

40

40

803

297

482

178

458

153

-

-

20 20 45 50 50

20 20 45 50 50

596 900 200 327 78

380 900 200 327 156

119 180 87 163 38

76 180 87 163 38

177 162 154 85 78

108 150 166 87 80

38 23 6 -

23 2 24

-

48

- 539 - 336 - 218 80 73 47 44 78 72 38,910 32,590 25,121 22,025 41,061 38,757

2 3,520

389 5 5,125

48 39

48 39

500 263 5 768

500 263 763

245 105 1 351

245 105 350

347 1 348

337 337

9 9

6 6

36 54 29 45 40 20 28

36 45 29 45 40 20 28

60 800 150 200 125 87 222

60 800 150 200 125 87 222

50 625 46 66 23 22 106

50 469 46 66 23 22 106

517 439 405 192 74 40 30

535 431 272 194 70 41 44

136 36 62 65 -

173 36 189 75 2 -

46 40

46 1,093 40 267 300 3,304

1,093 267 310 3,314

590 94 85 1,707

590 94 89 1,555

20 1,717

21 1,608

1 300

475

2550

2550

บริษัทรวม ธุรกิจเคมีภัณฑ บริษัทปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) บริษัทสยามโพลิเอททีลีน จำกัด บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จำกัด บริษัทไทย เอ็มเอ็มเอ จำกัด บริษัทสยามสไตรีนโมโนเมอร จำกัด บริษัทสยามเลเทกซสังเคราะห จำกัด บริษัทสยาม มิตซุย พีทีเอ จำกัด บริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จำกัด บริษัทริเกน (ไทยแลนด) จำกัด บริษัทสยามโพลีสไตรีน จำกัด Mehr Petrochemical Company (Private joint stock) Mitsui Advanced Composites (Zhongshan) Co., Ltd. บริษัทไทย เพ็ท เรซิน จำกัด บริษัทไทย เอ็มเอ็ฟซี จำกัด PT. Siam Maspion Terminal บริษัทเอสดีกรุปเซอรวิซ จำกัด บริษทั แปซิฟค พลาสติคส (ประเทศไทย) จำกัด บริษัทอื่นๆ ธุรกิจกระดาษ บริษัทสยามทบพันแพคเกจจิ้ง จำกัด P&S Holdings Corporation บริษัทอื่นๆ ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง บริษัทสยามซานิทารีแวร จำกัด บริษัทโสสุโก เซรามิค จำกัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม จำกัด บริษัทสยามซานิทารีฟตติ้งส จำกัด บริษัทสยามโมลดิ้งพลาสเตอร จำกัด CMPI Holding, Inc. PT. M Class Industry Mariwasa Siam Holdings, Inc. (เดิมชือ่ “Mariwasa Manufacturing, Inc.”) Mariwasa Holdings, Inc. บริษัทอื่นๆ

52


หนวย: ลานบาท

สัดสวน ความเปนเจาของ (รอยละ) 2551 2550 ธุรกิจจัดจำหนาย บริษัทจัมโบบาจส แอนด ทักส จำกัด บริษัทไทยพรอสเพอริตี เทอมินอล จำกัด Green Siam Resources Corporation บริษัทสยามพูลสวัสดิ์ไลเตอร จำกัด บริษัทเซอรเวย มารีน เซอรวิส จำกัด บริษัทอื่นๆ ธุรกิจการลงทุน บริษัทสยามคูโบตาอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทผลิตภัณฑวิศวไทย จำกัด บริษัทมูซาชิออโตพารท จำกัด บริษัทสยามเอทีอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทสยาม คูโบตา แทรกเตอร จำกัด บริษัทนวโลหะอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทนวโลหะไทย จำกัด บริษัทไอซิน ทาคาโอกา ฟาวนดริ บางปะกง จำกัด บริษัทสยามเลมเมอรซ จำกัด บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด บริษัทอื่นๆ บริษัทนว 84 จำกัด บริษัทไอทีวัน จำกัด

ทุนชำระแลว

วิธีราคาทุน

วิธีสวนไดเสีย

เงินปนผล

2551

2550

2551

2550

2551

2550

2551

2550

27 50 40 29 48

27 50 40 29 48

365 63 95 34 37 22 616

365 63 95 34 37 22 616

108 31 38 10 18 6 211

108 31 38 10 18 6 211

130 60 42 31 17 8 288

117 45 43 28 17 7 257

5 1 6

15 3 18

40 30 21 30 40 30 25

40 208 30 85 21 200 30 240 40 1,100 30 300 25 308

208 85 200 240 880 300 308

108 76 42 72 440 90 74

108 76 42 72 220 90 74

2,124 968 773 457 369 321 274

1,354 938 774 359 220 299 244

83 74 128 55 27 26

208 77 128 32 27 25

30 30 -

30 30 -

25 39

25 39

475 107 24 2,827 1,203 80 1,283

142 293 7 1,344 301 31 332

142 293 7 1,124 301 31 332

253 149 5,688 294 107 401

213 349 4,750 294 132 426

19 239 651 91 91

3 104 515 1,119 19 19

71

-

133 95 95 48,061 41,393 29,161 25,597 49,598 46,135

4,577

6,762

475 107 24 3,047 1,203 80 1,283

กิจการที่ควบคุมรวมกัน ธุรกิจเคมีภัณฑ Long Son Petrochemicals Co., Ltd. รวม

ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของกิจการที่ควบคุมรวมกันที่กลุมบริษัทไดนำไปจัดทำงบการเงินรวมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ดังนี้ หนวย: ลานบาท

สัดสวน ความเปน สินทรัพย สินทรัพย สินทรัพย หนี้สิน หนี้สิน สวนของ เจาของ หมุนเวียน ไมหมุนเวียน รวม หมุนเวียน ไมหมุนเวียน ผูถ ือหุน (รอยละ) Long Son Petrochemicals Co., Ltd.

71

85

71

156

41

-

115

รายได คาใชจาย รวม รวม

-

(20)

ขาดทุน สุทธิ

(20)

53


10 เงินลงทุนระยะยาวอื่น หนวย: ลานบาท

สัดสวนความเปนเจาของ (รอยละ) 2551 2550 ก) วิธีราคาทุน ธุรกิจเคมีภัณฑ PT. Trans-Pacific Petrochemical Indotama PT. Trans-Pacific Polyethylene Indonesia * PT. Trans-Pacific Polyethylindo * PT. Trans-Pacific Styrene Indonesia PT. Trans-Pacific Polypropylene Indonesia บริษัทอื่นๆ * ไมมีอิทธิพลอยางเปนสาระสำคัญ ธุรกิจกระดาษ ธุรกิจซิเมนต บริษัทปูนซีเมนตเอเซีย จำกัด (มหาชน) Holcim (Bangladesh) Co., Ltd. ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง ธุรกิจจัดจำหนาย ธุรกิจการลงทุน บริษัทโตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จำกัด บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด บริษัทสยามมิชลินกรุป จำกัด - หุนบุริมสิทธิชนิดสะสม บริษัทสยามโตโยตาอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทสยามฟูรูกาวา จำกัด

20 39 39 10 10

20 39 39 10 10

เงินปนผล

2551

2550

2551

2550

2,002 184 131 31 22 33 2,403

2,002 184 131 31 22 33 2,403

2 2

-

31

31

-

-

10 10

10 10

942 361 1,303 396 5

942 361 1,303 349 5

55 55 7 -

63 63 11 -

10 10

10 10

881 484

881 484

481 -

556 -

10 4 5

10 4 5

267 98 12 1,742 15 5,895 2,666 3,229

267 98 12 1,742 16 5,849 2,664 3,185

832 66 1,379 1,443 1,443

1,631 32 2,219 2,293 2,293

-

-

3,229

3,185

1,443

189 2,482

อื่นๆ รวม หัก คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน สุทธิ ข) วิธีมูลคายุติธรรม (หลักทรัพยเผื่อขาย) หลักทรัพยในความตองการของตลาด บริษัทปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน) รวม

เงินลงทุน

ในระหวางป 2550 กลุมบริษัทไดขายเงินลงทุนในหุนทุนของบริษัทปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน) ตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 4

54


11 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ หนวย: ลานบาท

เงินชำระ เครื่องตกแตง สินทรัพย า ที่ดินและ อาคารและ เครื่องจักร ยานพาหนะ ติดตั้งและ ถาวรอื่น งานระหวาง คาลซืว้องหน ที ด ่ น ิ สวนปรับปรุง สิ่งปลูกสราง และอุปกรณ และอุปกรณ เครื่องใช ที่คิด กอสราง เครื่องจักร สำนักงาน คาเสื่อมราคา และอุปกรณ

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิม่ ขึน้ จากการรวมบริษทั ยอย ซื้อ จำหนาย / ตัดจำหนาย โอนเขา / (ออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิม่ ขึน้ จากการรวมบริษทั ยอย ซื้อ จำหนาย / ตัดจำหนาย โอนเขา / (ออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

14,835 231 (180) 418 15,304 235 150 (224) 714 16,179

30,820 221 89 (973) 1,976 32,133 1,033 294 (82) 1,394 34,772

193,682 459 734 (9,718) 9,303 194,460 3,791 2,114 (1,572) 11,774 210,567

3,752 4 20 (96) 150 3,830 50 205 (146) 71 4,010

4,203 23 92 (189) 144 4,273 86 130 (160) 154 4,483

399 13,442 2 22,335 (3) 2 (12,426) 403 23,348 - 34,280 (4) (3) (8,846) 400 48,778

คาเสื่อมราคาสะสมและ ขาดทุนจากการดอยคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้นจากการรวมบริษัทยอย คาเสื่อมราคาสำหรับป จำหนาย / ตัดจำหนาย โอนเขา / (ออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิ่มขึ้นจากการรวมบริษัทยอย คาเสื่อมราคาสำหรับป จำหนาย / ตัดจำหนาย โอนเขา / (ออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

4,736 262 (81) 16 4,933 2 341 (104) 7 5,179

16,765 95 1,281 (697) 2 17,446 179 1,407 (41) (4) 18,987

140,284 410 9,530 (9,542) (22) 140,660 1,953 9,875 (983) (7) 151,498

3,376 2 115 (79) (6) 3,408 38 162 (126) (3) 3,479

3,611 21 220 (183) (16) 3,653 94 236 (157) (3) 3,823

399 399 1 400

86 86 86

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

10,371 11,000

14,687 15,785

53,800 59,069

422 531

620 660

4 -

23,262 48,692

รวม

1,129 262,262 707 4,774 28,277 - (11,159) (81) (514) 5,822 279,573 5,195 1,220 38,393 - (2,188) (5,518) (260) 1,524 320,713

- 169,257 528 - 11,408 - (10,582) (26) - 170,585 2,266 - 12,022 - (1,411) (10) - 183,452 5,822 1,524

108,988 137,261

ราคาตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณกอนหักคาเสื่อมราคาสะสม ซึ่งไดรับการคิดคาเสื่อมราคาเต็มมูลคาแลว แตยังคงใชงานอยูมีจำนวน 94,367 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 (2550: 88,442 ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ที่ดินและสวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร เครื่องจักรและอุปกรณของบริษัทยอยมูลคาสุทธิจำนวน 4,593 ลานบาท (2550: 3,477 ลานบาท) ไดนำไปเปนหลักประกันเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 16 กลุมบริษทั ไดบันทึกดอกเบี้ยและคาใชจายทางการเงินอื่นๆ ที่เกี่ยวของสวนหนึ่งสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 188 ลานบาท (2550: 118 ลานบาท) ไวเปนสวนหนึ่งของตนทุนโครงการกอสรางเพื่อขยายโรงงาน ราคาทุนของเครือ่ งจักรและอุปกรณภายใตสญั ญาเชาการเงินมีจำนวน 866 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 (2550: 954 ลานบาท) และมูลคา ตามบัญชีมีจำนวน 712 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 (2550: 863 ลานบาท)

55


12 สินทรัพย ไมมีตัวตน หนวย: ลานบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น ตัดจำหนายสำหรับป โอน - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เพิ่มขึ้น ตัดจำหนายสำหรับป โอน - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

คาลิขสิทธิซ์ อฟทแวร คาความนิยม และคาธรรมเนียม การใชสิทธิ 1,824 1,672 (206) 186 (1,017) (251) 177 601 1,784 218 82 (285) (10) 244 809 1,825

รายจายคาวิจัย และพัฒนา (ระหวางพัฒนา) 111 170 (143) 138 100 (113) 125

อื่นๆ

รวม

795 384 (58) (139) 982 6 (16) (580) 392

4,402 534 (1,326) (105) 3,505 218 188 (301) (459) 3,151

13 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี) สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีภายหลังจากการนำมาหักกลบกันตามความเหมาะสมไดแสดงรวมไวในงบดุลโดยมีรายละเอียดดังนี้ หนวย: ลานบาท

2551 3,160 (188) 2,972

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สุทธิ

2550 3,408 (94) 3,314

รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหวางปมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

บันทึก บันทึก ณ วันที่ เปนรายได เพิ่มขึ้นจาก ผลตาง ณ วันที่ เปนรายได ผลตาง ณ วันที่ 1 มกราคม (คาใชจา ย) ใน การรวม จากอัตรา 31 ธันวาคม (คาใชจาย) ใน จากอัตรา 31 ธันวาคม 2551 2550 งบกำไรขาดทุน บริษัทยอย แลกเปลี่ยน 2550 งบกำไรขาดทุน แลกเปลี่ยน (หมายเหตุ 28) (หมายเหตุ 28)

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี เงินลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ขาดทุนสะสมทางภาษี อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สุทธิ

2,746 1,239 893 335 5,213 (9) 5,204

(1,808) (155) 144 17 (1,802) (60) (1,862)

(27) (27)

(3) (3) 2 (1)

938 1,084 1,034 352 3,408 (94) 3,314

(36) (203) (144) 135 (248) (80) (328)

(1) 1 (14) (14)

902 880 890 488 3,160 (188) 2,972

กลุมบริษัทไมไดบันทึกหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชีสำหรับผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดจากเงินลงทุนในบริษัทยอยสองแหง จำนวน 205 ลานบาท อันเนื่องมาจากกลุมบริษัทสามารถควบคุมจังหวะเวลาในการกลับรายการผลแตกตางชั่วคราวไดและมีความเปนไปไดแนนอนที่ผลแตกตางชั่วคราว จะไมไดกลับรายการภายในระยะเวลาที่คาดการณไดในอนาคต

56


14 สินทรัพย ไมหมุนเวียนอื่น หนวย: ลานบาท

คาเชาที่ดินจายลวงหนา ที่ดินและสินทรัพยที่ไมไดใชในการดำเนินงาน ภาษีเงินไดรอขอคืน เงินฝากธนาคารสำหรับโครงการ Mehr Petrochemical ในประเทศอิหราน อื่นๆ รวม

2551 850 630 395 384 1,478 3,737

2550 29 672 379 870 1,087 3,037

กลุมบริษัทไดมีการแสดงคาเชาที่ดินจายลวงหนาไวในสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น จากเดิมที่เคยแสดงไวในสินทรัพยไมมีตัวตน ซึ่งการแสดงรายการ ดังกลาวเปนไปตามแนวปฏิบัติสำหรับการบันทึกบัญชีคาเชาที่ดินจายลวงหนาที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชี 15 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน หนวย: ลานบาท

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูยืม ตั๋วสัญญาใชเงิน รวม

2551 119 877 8,011 9,007

2550 109 1,077 1,633 2,819

กลุมบริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารหลายแหงจำนวนประมาณ 4,800 ลานบาท ในป 2551 (2550: 4,500 ลานบาท) 16 หนี้สินระยะยาว หนวย: ลานบาท

2551

2550

สวนที่หมุนเวียน • สวนที่มีหลักประกัน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป

401

386

• สวนที่ไมมีหลักประกัน หนี้สินคาเครื่องจักรผอนชำระสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป

104 3,251

272 2,089

342 4,098

290 3,037

สวนที่ไมหมุนเวียน • สวนที่มีหลักประกัน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

1,693

579

• สวนที่ไมมีหลักประกัน หนี้สนิ คาเครื่องจักรผอนชำระ เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

27,056

113 7,409

3 28,752 32,850

372 8,473 11,510

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน รวม

57


หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจำแนกตามประเภทสกุลเงินดังนี้ หนวย: ลานบาท

2551 17,495 14,379 623 338 15 32,850

บาท เหรียญสหรัฐ ยูโร เปโซ เยน รวม

2550 6,523 3,985 339 651 12 11,510

ระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุมบริษัทไดลงนามในสัญญาเงินกูยืมหลายสกุลเงินกับสถาบันการเงินหลายแหงทั้งในและตางประเทศ และไดเบิกถอนเงินกูยืมบางสวนหรือทั้งจำนวนตามสัญญาเงินกูยืมที่ไดลงนามไวรวมเทียบเทาเงินบาทจำนวน 24,806 ลานบาท ซึ่งสวนใหญจะนำ ไปใชในโครงการลงทุนของบริษทั ยอย โดยเงินกูย มื นีม้ อี ตั ราดอกเบีย้ เฉลีย่ ประมาณรอยละ 3.08 ถึง 5.75 ตอป และมีกำหนดชำระคืนเงินตนทุกงวด 6 เดือน โดยเริ่มชำระงวดแรกในเดือนมิถุนายน 2553 ทั้งนี้ เงินกูยืมระยะยาวดังกลาว สวนใหญค้ำประกันโดยบริษัท หนี้สินระยะยาวที่เปนเงินตราตางประเทศมีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยประมาณรอยละ 4.96 ตอป ในป 2551 (2550: รอยละ 6.26 ตอป) โดยสวนใหญ กลุมบริษัทไดมีการปองกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยไวแลว ตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 33 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่งไมรวมหนี้สินตามสัญญาเชาการเงินแยกแสดงตามระยะเวลาครบกำหนดการจายชำระไดดังนี้ หนวย: ลานบาท

2551 3,756 18,904 9,845 32,505

ครบกำหนดภายใน 1 ป ครบกำหนดหลังจาก 1 ป แตไมเกิน 5 ป ครบกำหนดหลังจาก 5 ป รวม

2550 2,747 7,066 1,035 10,848

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสวนที่มีหลักประกันมีรายละเอียดของหลักประกันซึ่งเปนสินทรัพยดังนี้ หนวย: ลานบาท

2551 144 350 4,099 4,593

ที่ดินและสวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร เครื่องจักรและอุปกรณ รวม

2550 143 352 2,961 3,456

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน บริษัทยอยหลายแหงไดทำสัญญาเชาการเงินเครื่องจักรและอุปกรณ โดยสัญญาเชามีระยะเวลา 3 - 7 ป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ หนวย: ลานบาท

ป 2551 ครบกำหนดภายใน 1 ป ครบกำหนดหลังจาก 1 ป แตไมเกิน 5 ป รวม ป 2550 ครบกำหนดภายใน 1 ป ครบกำหนดหลังจาก 1 ป แตไมเกิน 5 ป รวม

58

เงินตน

ดอกเบี้ย

ยอดชำระ

342 3 345

12 12

354 3 357

290 372 662

42 14 56

332 386 718


17 หุนกู

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทไดออกหุนกูประเภทไมดอยสิทธิและไมมีหลักประกัน และบริษัทยอยไดออกหุนกูแปลงสภาพประเภทดอยสิทธิ และไมมีหลักประกัน มูลคารวม 105,911 ลานบาท (2550: 90,000 ลานบาท) ดังนี้ ลานบาท อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป) 2551 2550 หุนกู – บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) 1/2547 - 10,000 4.25 2/2547 - 10,000 4.50 1/2548 10,000 10,000 4.75 2/2548 10,000 10,000 5.25 1/2549 5,000 5.50 2/2549 5,000 5,000 5.75 3/2549 10,000 10,000 6.00 4/2549 5,000 5,000 6.25 1/2550 15,000 15,000 5.75 2/2550 10,000 10,000 4.50 1/2551 20,000 4.25 2/2551 20,000 5.35 รวม 105,000 90,000 หุนกูแปลงสภาพ – บริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน) ** 1/2551 911 - ปที่ 1-2 MLR ลบ 3.50 ปที่ 3-5 MLR ลบ 3.00 รวม 105,911 90,000 หัก หุนกูที่ถือโดย บริษัทยอย 1,461 569 สุทธิ 104,450 89,431 หัก สวนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป 24,665 24,812 สุทธิ 79,785 64,619

หุนกูครั้งที่

มูลคายุติธรรม * 2551 2550

อายุหุนกู

ครบกำหนด

4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 2 ป 3 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป

1 เมษายน 2551 1 พฤศจิกายน 2551 1 เมษายน 2552 1 ตุลาคม 2552 1 เมษายน 2551 1 เมษายน 2552 1 เมษายน 2553 1 ตุลาคม 2553 1 เมษายน 2554 1 พฤศจิกายน 2554 1 เมษายน 2555 1 พฤศจิกายน 2555

1,004 1,014 1,013 1,033 1,041 1,024 1,013 975 1,054

1,003 1,009 1,005 1,034 1,010 1,043 1,041 1,055 1,033 1,004 -

5 ป

1 สิงหาคม 2556

943

-

* ราคาซื้อขายสุดทาย (บาทตอหนวย: มูลคาตอหนวยเทากับ 1,000 บาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ** สิทธิแปลงสภาพหุนกูเปนหุนสามัญในอัตรา 1.45 บาทตอ 1 หุนสามัญ เวนแตจะมีการเปลี่ยนแปลงราคาแปลงสภาพตามที่กำหนด ในขอกำหนดสิทธิ โดยสามารถใชสิทธิแปลงสภาพไดตั้งแตครบกำหนดปที่ 2 นับจากวันที่ออกหุนกูแปลงสภาพ 18 หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น หนวย: ลานบาท

รายไดรับลวงหนา เจาหนี้กรมทรัพยากรคาประทานบัตร เงินประกันผลงานจากเจาหนี้ เงินปนผลคางจาย กำไรจากการรอรับรูจากการขายและเชากลับคืน อื่นๆ รวม

2551 509 178 140 77 331 1,235

2550 435 178 13 70 118 269 1,083

59


19 ทุนเรือนหุน หนวย: ลานหุน / ลานบาท

2551 ราคาตาม มูลคาหุน จำนวนหุน (บาท) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม • หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม • หุนสามัญ ทุนที่ออกและชำระแลว ณ วันที่ 1 มกราคม • หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม • หุนสามัญ

2550 มูลคา จำนวนหุน มูลคา

1

1,600

1,600

1,600

1,600

1

1,600

1,600

1,600

1,600

1

1,200

1,200

1,200

1,200

1

1,200

1,200

1,200

1,200

20 สำรอง

การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมที่บันทึกไปยังสวนของผูถือหุน รวมผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงสุทธิในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุน ในหลักทรัพยเผื่อขายจนกระทั่งมีการจำหนายเงินลงทุนนั้น สำรองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสำรอง (“สำรองตามกฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสำรองดังกลาวมีจำนวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสำรองนี้จะนำไปจายเปนเงินปนผลไมได 21 ขอมูลทางการเงินจำแนกตามสวนงาน

กลุมบริษัทนำเสนอขอมูลทางการเงินจำแนกตามสวนงานโดยแสดงสวนงานธุรกิจเปนรูปแบบหลักในการรายงาน โดยพิจารณาจากระบบ การบริหารการจัดการ และโครงสรางการรายงานทางการเงินภายในของกลุมบริษัทเปนเกณฑในการกำหนดสวนงาน สินทรัพย รายไดและผลการดำเนินงานจากสวนงานเปนรายการที่เกี่ยวของโดยตรงกับสวนงานหรือที่สามารถปนสวนใหกับสวนงานไดอยาง สมเหตุสมผล สวนงานธุรกิจ กลุมบริษัทเสนอสวนงานธุรกิจที่สำคัญ ดังนี้ ผลิตและจำหนายโอเลฟนส โพลีโอเลฟนส และสินคาเคมีภัณฑอื่นๆ ผลิตและจำหนายกระดาษพิมพเขียน กระดาษแผนยิปซัม กระดาษอุตสาหกรรมบรรจุภณั ฑ และเอกสารปลอดการทำเทียม ธุรกิจซิเมนต ผลิตและจำหนายปูนซีเมนตเทา คอนกรีตผสมเสร็จ ปูนซีเมนตขาว และปูนสำเร็จรูป ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง ผลิตและจำหนายกระเบื้องหลังคา อิฐบล็อกปูพื้น กระเบื้องเซรามิค สุขภัณฑ และกอกน้ำตางๆ ธุรกิจจัดจำหนาย จำหนายสินคาซีเมนต วัสดุกอสรางและสินคาอื่นๆ ผานชองทางการจำหนายของผูแทนจำหนายสินคาในกลุมบริษัท เปนผูสงออกผลิตภัณฑตางๆ ไดแก ซีเมนต เหล็ก วัสดุกอสราง และวัสดุตกแตง รวมทั้งเปนผูนำเขาเชื้อเพลิง เศษกระดาษ และเศษเหล็ก ธุรกิจการลงทุน ธุรกิจอื่นๆ ซึ่งสวนใหญไดแก ที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม ชิ้นสวนและอุปกรณยานยนต เหล็ก และยาง ธุรกิจเคมีภัณฑ ธุรกิจกระดาษ

60


ขอมูลทางการเงินของกิจการจำแนกตามสวนงาน ใชสำหรับการประเมินผลการดำเนินงานและจัดสรรทรัพยากรสำหรับผูบริหาร กลุมบริษัท ประเมินความสามารถในการดำเนินงานตาม EBITDA ขอมูลทางการเงินจำแนกตามกลุมธุรกิจสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ หนวย: ลานบาท

งบการเงินรวม

สินทรัพยรวม 2551 2550 285,776 248,256

ขายสุทธิ 2551 2550 293,230 267,737

EBITDA (1) 2551 2550 38,783 50,008

138,504 51,089 60,770 22,654 10,903 10,663

136,527 47,110 49,999 23,351 102,672 401

12,598 6,660 11,272 4,085 1,739 2,717

กลุมธุรกิจ เคมีภัณฑ กระดาษ ซิเมนต ผลิตภัณฑกอสราง จัดจำหนาย การลงทุน

123,205 46,454 60,132 19,863 11,143 9,539

130,223 43,890 44,087 21,281 86,440 164

22,611 7,943 10,198 3,928 1,576 4,393 หนวย: ลานบาท

กำไรสุทธิ (2) งบการเงินรวม

2551 16,771

2550 30,352

6,136 1,658 6,006 778 1,211 3,109

16,982 2,353 5,463 950 939 5,933

คาเสื่อมราคา และคาตัดจำหนาย 2551 2550 12,188 12,609

กลุมธุรกิจ เคมีภัณฑ กระดาษ ซิเมนต ผลิตภัณฑกอสราง จัดจำหนาย การลงทุน

3,800 3,339 2,716 2,022 189 31

4,080 3,642 2,393 1,862 113 34

(1) หมายถึง กำไรกอนกำไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุน สินทรัพยและอื่นๆ ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน ภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย รวมเงินปนผลรับจากบริษัทรวม (2) หมายถึง สวนของกำไรสำหรับปที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ

61


22 ผลการดำเนินงานของกลุมธุรกิจ หนวย: ลานบาท

กลุมธุรกิจ เคมีภัณฑ 2551 2550 ขอมูลจากงบดุล สินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุนในหุนทุนและ เงินใหกูยืมระยะยาว ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย เงินกูยืมระยะสั้น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัท และสวนของผูถือหุนสวนนอย รวมหนี้สินและสวนของผูถอื หุน

กระดาษ 2551 2550

ซิเมนต 2551 2550

ผลิตภัณฑกอสราง 2551 2550

28,039

36,009

14,010

14,334

9,886

10,075

8,326

7,576

41,305 66,377 2,783 138,504 24,468 11,563 41,550 774 78,355

38,913 45,301 2,982 123,205 16,770 18,838 23,642 574 59,824

366 35,330 1,383 51,089 18,780 2,907 1,949 47 23,683

354 30,948 818 46,454 15,355 3,890 951 176 20,372

972 47,773 2,139 60,770 4,070 5,585 1,992 285 11,932

969 46,840 2,248 60,132 6,760 5,701 2,122 263 14,846

2,063 11,077 1,188 22,654 11,411 2,101 1,528 395 15,435

1,907 9,607 773 19,863 10,928 2,337 275 13,540

60,149 138,504

63,381 123,205

27,406 51,089

26,082 46,454

48,838 60,770

45,286 60,132

7,219 22,654

6,323 19,863 หนวย: ลานบาท

ขอมูลจากงบดุล สินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุนในหุนทุนและ เงินใหกูยืมระยะยาว ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย เงินกูยืมระยะสั้น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัท และสวนของผูถือหุนสวนนอย รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

62

จัดจำหนาย 2551 2550

กลุมธุรกิจ การลงทุน 2551 2550

งบการเงินรวม 2551 2550

7,807

8,528

2,290

1,995

83,826

78,426

293 1,938 865 10,903 1,165 6,327 65 7,557

263 1,517 835 11,143 1,362 7,392 80 8,834

7,432 922 19 10,663 1,867 302 12 2,181

6,493 952 99 9,539 1,885 295 14 2,194

54,642 137,261 10,047 285,776 38,554 25,512 108,537 1,825 174,428

50,892 108,988 9,950 248,256 30,830 34,248 73,093 1,546 139,717

3,346 10,903

2,309 11,143

8,482 10,663

7,345 9,539

111,348 285,776

108,539 248,256


หนวย: ลานบาท

กลุมธุรกิจ เคมีภัณฑ 2551 2550 ขอมูลจากงบกำไรขาดทุน ขายสุทธิ ตนทุนขาย กำไรขั้นตน คาใชจายในการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน ดอกเบี้ยจาย และคาใชจาย ทางการเงิน กำไร (ขาดทุน) จากการขาย เงินลงทุน สินทรัพยและอื่นๆ รายไดอื่น กำไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กำไรหลังภาษีเงินได สวนแบงกำไรจากเงินลงทุน ซึ่งบันทึกโดยวิธีสวนไดเสีย กำไรสุทธิ สวนของกำไร (ขาดทุน) สำหรับปท่เี ปนของ ผูถือหุนบริษัทใหญ ผูถือหุนสวนนอย

136,527 130,223 (126,618) (112,336) 9,909 17,887 (5,162) (5,211) 4,747 12,676

กระดาษ 2551 2550

ซิเมนต 2551 2550

ผลิตภัณฑกอสราง 2551 2550

47,110 (39,560) 7,550 (4,479) 3,071

43,890 (35,516) 8,374 (4,270) 4,104

49,999 (37,784) 12,215 (4,079) 8,136

44,087 (32,758) 11,329 (3,852) 7,477

23,351 (17,951) 5,400 (4,002) 1,398

21,281 (16,337) 4,944 (3,545) 1,399

(1,914)

(986)

(870)

(728)

(261)

(333)

(786)

(654)

372 531 3,736 (1,140) 2,596

4,715 730 17,135 (2,546) 14,589

241 2,442 (676) 1,766

191 3,567 (1,001) 2,566

3 420 8,298 (2,307) 5,991

(6) 328 7,466 (2,000) 5,466

(5) 365 972 (347) 625

192 937 (297) 640

2,963 5,559

5,980 20,569

19 1,785

15 2,581

5,991

5,466

212 837

423 1,063

6,136 (577) 5,559

16,982 3,587 20,569

1,658 127 1,785

2,353 228 2,581

6,006 (15) 5,991

5,463 3 5,466

778 59 837

950 113 1,063 หนวย: ลานบาท

จัดจำหนาย 2551 2550 ขอมูลจากงบกำไรขาดทุน ขายสุทธิ ตนทุนขาย กำไรขั้นตน คาใชจายในการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน ดอกเบี้ยจาย และคาใชจายทางการเงิน กำไรจากการขายเงินลงทุน สินทรัพยและอื่นๆ รายไดอื่น กำไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กำไรหลังภาษีเงินได สวนแบงกำไรจากเงินลงทุน ซึ่งบันทึกโดยวิธีสวนไดเสีย กำไรสุทธิ สวนของกำไร (ขาดทุน) สำหรับปที่เปนของ ผูถือหุนบริษัทใหญ ผูถือหุนสวนนอย

กลุมธุรกิจ การลงทุน 2551 2550

งบการเงินรวม 2551 2550

102,672 (93,002) 9,670 (8,613) 1,057 33 487 1,577 (397) 1,180 39 1,219

86,440 (78,729) 7,711 (6,564) 1,147 (122) 298 1,323 (402) 921 25 946

401 (192) 209 (131) 78 (110) 1,957 1,925 (178) 1,747 1,369 3,116

164 293,230 267,737 (104) (248,095) (217,274) 60 45,135 50,463 (33) (27,273) (25,171) 27 17,862 25,292 (127) (6,089) (5,274) 1,915 369 6,624 3,213 4,156 5,345 5,028 16,298 31,987 (843) (4,561) (5,898) 4,185 11,737 26,089 1,754 4,669 8,243 5,939 16,406 34,332

1,211 8 1,219

939 7 946

3,109 7 3,116

5,933 6 5,939

16,771 (365) 16,406

30,352 3,980 34,332

63


23 คาใชจายในการบริหาร หนวย: ลานบาท

เงินเดือน คาจางและเงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คาธรรมเนียมวิชาชีพ เบี้ยเลี้ยงและพาหนะเดินทาง คาอบรมและพัฒนาพนักงาน คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี คาประชาสัมพันธ สวัสดิการ คาซอมแซม ตกแตงและบำรุงรักษา คาภาษีใบอนุญาตและคาธรรมเนียมอื่นๆ คาจางแรงงานภายนอก คาสื่อสารและขนสง คาใชจายสำหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน คาความนิยมตัดจาย อื่นๆ รวม

2551 6,246 1,299 763 584 541 498 470 470 373 361 280 204 805 12,894

2550 5,940 982 720 579 490 491 414 403 341 333 251 396 1,017 99 12,456

24 คาตอบแทนกรรมการ

คาตอบแทนกรรมการเปนคาตอบแทนที่จายใหแกคณะกรรมการบริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ตามขอบังคับของบริษัท 25 รายไดอื่น หนวย: ลานบาท

เงินปนผลรับจากบริษัทอื่น รายไดคาธรรมเนียมการจัดการ กำไรจากการขายเศษวัตถุดิบและอื่นๆ ดอกเบี้ยรับจากสถาบันการเงิน รายไดจากการขอคืนคาไฟฟา คาความนิยมติดลบ รายไดคาเชา รายไดคาปรับ / คาชำระเงินลาชา กำไรจากการขายสินทรัพย อื่นๆ รวม

2551 1,443 877 389 296 150 87 78 63 19 754 4,156

2550 2,482 722 518 439 118 54 516 496 5,345

26 คาใชจายพนักงาน หนวย: ลานบาท

เงินเดือนและอื่นๆ เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คาใชจายสำหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน รวม

2551 16,029 777 204 17,010

2550 14,727 710 396 15,833

กลุมบริษัทไดจัดใหมีเงินทุนเลี้ยงชีพเพื่อจายใหพนักงานเมื่อออกจากงาน โดยกลุมบริษัทจายในอัตรารอยละ 5 ถึง 10 ของคาจางพนักงาน ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับอายุงานของพนักงาน และตั้งแตเดือนเมษายน 2538 กลุมบริษัทไดจัดใหมีเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพซึ่งไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคล กับกระทรวงการคลังตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 อีกประเภทหนึ่งสำหรับพนักงานของกลุมบริษัท พนักงานที่จะสมัคร เปนสมาชิกกองทุนใหมนตี้ อ งจายสมทบเปนรายเดือนเขากองทุนในอัตรารอยละ 2 ถึง 10 ของเงินเดือน และกลุม บริษทั จะจายสมทบเปนรายเดือน เขากองทุนนี้ในอัตรารอยละ 5 ถึง 10 ของเงินเดือนสมาชิก ทั้งนี้ขึ้นอยูกับอายุงานของสมาชิก

64


27 ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน หนวย: ลานบาท

2551 5,833 303 41 (88) 6,089

ดอกเบี้ยเงินกูในประเทศ ดอกเบี้ยเงินกูตางประเทศ ดอกเบี้ยเงินทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงาน กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน รวม

2550 5,145 295 39 (206) 5,273

28 ภาษีเงินได หนวย: ลานบาท

หมายเหตุ ภาษีเงินไดปจจุบัน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี รวม

13

2551 4,234 328 4,562

2550 4,036 1,862 5,898

การลดภาษีเงินไดนิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตรารัษฎากร ฉบับที่ 387 พ.ศ. 2544 ลงวันที่ 5 กันยายน 2544 ใหสิทธิ ทางภาษีแกบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลจากอัตรารอยละ 30 เปนรอยละ 25 สำหรับ กำไรสุทธิทางภาษีเฉพาะสวนที่ไมเกิน 300 ลานบาท เปนเวลาหารอบระยะเวลาบัญชีตอเนื่องกันนับแตรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เริ่มในหรือ หลังวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใชบังคับ และยังไดรับสิทธิในการลดภาษีเงินไดนิติบุคคลตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ฉบับที่ 475 แตไมเกินรอบระยะเวลาบัญชี 2553 ที่สิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2553 29 กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน

กำไรตอหุนขั้นพื้นฐานสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม คำนวณจากกำไรสุทธิสวนของผูถือหุนสามัญของบริษัทใหญ และจำนวนหุนสามัญที่ออก จำหนายแลวระหวางป โดยแสดงการคำนวณดังนี้ หนวย: ลานบาท / ลานหุน

กำไรสุทธิที่เปนสวนของผูถือหุนบริษัทใหญ จำนวนหุนสามัญที่ออกจำหนายแลว กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)

2551 16,771 1,200 13.98

2550 30,352 1,200 25.29

30 สัญญา

ก) บริษัทยอยหลายแหงไดทำสัญญากับบริษัทตางประเทศหลายแหง โดยบริษัทตางประเทศดังกลาวจะใหความชวยเหลือเกี่ยวกับขอมูลและ ความรูทางวิชาการและความชวยเหลือดานเทคนิคในการผลิตสินคาตามสิทธิการผลิต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทยอยผูกพันที่จะจาย คาธรรมเนียมวิชาการจำนวนหนึ่ง และคาธรรมเนียมการใชสิทธิในอัตรารอยละของยอดขายสุทธิของสินคาดังกลาวตามที่กำหนดไวในสัญญา ข) บริษัทยอยหลายแหงไดทำสัญญาระยะยาวจำนวนหลายฉบับกับบริษัทอื่นๆ ทั้งในและตางประเทศเพื่อซื้อวัตถุดิบ รับบริการ เชาสินทรัพย ซื้อสินทรัพย กอสรางโรงงานและสินทรัพยตางๆ นอกจากนี้ บริษัทยอยสองแหงไดประทานบัตรจำนวนสองบัตรสำหรับการทำเหมืองหินปูน จากกรมทรัพยากรธรณี ดังนั้น บริษัทยอยดังกลาวขางตนจะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไวในสัญญา ค) บริษัทมีสัญญาสนับสนุนทางการเงินแกบริษัทในประเทศแหงหนึ่ง ซึ่งตามสัญญาสนับสนุนทางการเงินผูถือหุนหลักทุกรายตองปฏิบัติตาม เงือ่ นไขและขอตกลงตางๆ ทีก่ ำหนดในสัญญาตามสัดสวนการถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษทั ไดปฏิบตั ติ ามขอตกลงโดยให การสนับสนุนทางการเงินแกบริษัทดังกลาวแลวเปนจำนวนเงินรวม 31.5 ลานเหรียญสหรัฐ เงินใหกูยืมดังกลาวแสดงภายใตรายการ “เงินให กูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น” ในงบการเงินรวม และการจัดประเภทเงินใหกูยืมเปนสินทรัพยหมุนเวียนหรือสินทรัพยไมหมุนเวียน ขึ้นอยูกับการ พิจารณาของฝายบริหาร ณ วันที่ในงบดุล โดยพิจารณาจากสถานะการเงินของผูกูและกำหนดการชำระเงิน 65


31 เงินปนผลจาย

ทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ของบริษทั เมือ่ วันที่ 28 มีนาคม 2550 มีมติอนุมตั กิ ารจายเงินปนผลประจำป 2549 ในอัตราหุน ละ 15 บาท เปนเงินประมาณ 18,000 ลานบาท โดยไดทำการแบงจายเงินปนผลดังกลาวออกเปน 2 งวด คือ เงินปนผลงวดระหวางกาล ในอัตราหุนละ 7.50 บาท เปนเงิน ประมาณ 9,000 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2549 และเงินปนผลงวดสุดทายในอัตราหุนละ 7.50 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูท มี่ ี สิทธิรับเงินปนผลคิดเปนเงิน 8,941 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2550 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ของบริษทั เมือ่ วันที่ 26 มีนาคม 2551 มีมติอนุมตั กิ ารจายเงินปนผลประจำป 2550 ในอัตราหุน ละ 15 บาท เปนเงินประมาณ 18,000 ลานบาท โดยไดทำการแบงจายเงินปนผลดังกลาวออกเปน 2 งวด คือ เงินปนผลงวดระหวางกาล ในอัตราหุนละ 7.50 บาท ใหแกผูถือหุน เฉพาะผูท มี่ สี ทิ ธิรบั เงินปนผลคิดเปนเงิน 8,927 ลานบาท ซึง่ จายแลวเมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม 2550 และเงินปนผลงวดสุดทายในอัตราหุน ละ 7.50 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผลคิดเปนเงิน 8,946 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2551 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 23 กรกฎาคม 2551 มีมติอนุมตั กิ ารจายเงินปนผลระหวางกาลป 2551 ในอัตราหุน ละ 5.50 บาท ใหแกผถู อื หุน เฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผลคิดเปนเงิน 6,557 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2551 32 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การรวมกิจการ ไดกำหนดใหกิจการวัดมูลคาคาความนิยมจากการรวมธุรกิจหลังจากรับรู คาความนิยมเริ่มแรกดวยราคาทุนหักดวยขาดทุนจากการดอยคา และหากสวนไดเสียในมูลคายุติธรรมสุทธิสูงกวาราคาทุนที่ซื้อ สวนเกินดังกลาว ใหรับรูในงบกำไรขาดทุนทันที การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับคาความนิยมดังกลาว สงผลใหกลุมบริษัทตองปรับปรุงกำไรสะสมยกมา ของกลุมบริษัท ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น 240 ลานบาท 33 เครื่องมือทางการเงิน

ความเสี่ยงดานสภาพคลอง กลุมบริษัทควบคุมความเสี่ยงดานสภาพคลอง และรักษาระดับเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดใหเพียงพอ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของ กลุมบริษัท และลดความเสี่ยงที่อาจเกิดจากผลกระทบของความผันผวนในกระแสเงินสด ความเสี่ยงดานสินเชื่อ ความเสี่ยงดานสินเชื่อเกิดจากการที่ลูกคาไมปฏิบัติตามสัญญาทำใหเกิดความสูญเสียทางการเงิน กลุมบริษัทไดมีนโยบายปองกันความเสี่ยงนี้ โดยการพิจารณาการใหสินเชื่อกับลูกคา กำหนดวงเงินสินเชื่อ วงเงินค้ำประกันจากธนาคาร และ/หรือวงเงินค้ำประกันบุคคล กำหนดระยะเวลา การใหสินเชื่อ มีระบบงานในการควบคุมการใหสินเชื่อ และมีการติดตามลูกหนี้ที่มีการคางชำระ มูลคายุติธรรมของลูกหนี้ซึ่งแสดงไวในงบดุล คือ ยอดสุทธิของลูกหนี้หลังจากหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด อันจะมีผลตอดอกเบี้ยสุทธิ ซึ่งกลุมบริษัทบริหารหนี้สินโดยการ กูยืมที่มีทั้งอัตราดอกเบี้ยคงที่ และอัตราดอกเบี้ยลอยตัวตามความเหมาะสมของสภาพตลาด

66


อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของเงินใหกูยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะเวลาที่ครบกำหนดชำระมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

เงินใหกูยืม ป 2551 หมุนเวียน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ไมหมุนเวียน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น รวม ป 2550 หมุนเวียน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น ไมหมุนเวียน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น รวม

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

1 ป ภายใน 1 ป แตหลัไมงจาก เกิน 5 ป หลังจาก 5 ป

รวม

5.00 - 10.00

130

-

-

130

2.00 - 5.00 MLR ลบ 2.00

130

43 1,371 1,414

401 401

444 1,371 1,945

3.26 - 5.00 MLR ลบ 2.00

2,185 400

-

-

2,185 400

2.00 - 5.00 MLR ลบ 2.00

2,585

39 1,077 1,116

456 456

495 1,077 4,157

อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะเวลาที่ครบกำหนดชำระมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

หนี้สินทางการเงิน ป 2551 หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินกูย มื ระยะสัน้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

หนี้สินคาเครื่องจักรผอนชำระ หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หุนกู ไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หุนกู รวม

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

1 ป ภายใน 1 ป แตหลัไมงจาก เกิน 5 ป หลังจาก 5 ป

รวม

3.48 - 9.99 / MOR

9,007

-

-

9,007

4.37 - 5.35 4.05 - 5.50 MLR ลบ (1.25 - 2.00) SIBOR บวก 0.375 TIBOR บวก 0.80 FDR บวก 0.20 6.03 7.75 - 9.70 4.75 - 5.75

784 3,652

-

-

784 3,652

104 342 24,665

-

-

104 342 24,665

-

18,904

9,845

28,749

-

3 79,785

-

3 79,785

38,554

98,692

9,845

147,091

3.75 - 5.00 THBFIX บวก (0.75 - 1.20) FDR บวก 2.25 MLR ลบ (0.50 - 2.00) LIBOR บวก (0.1775 - 3.95) SIBOR บวก (0.375 - 1.00) EURIBOR บวก (0.65 - 0.75) Cost of fund บวก 0.30 7.75 - 9.70 4.25 - 6.25 MLR ลบ (3.00 - 3.50)

67


หนวย: ลานบาท

หนี้สินทางการเงิน ป 2550 หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินคาเครื่องจักรผอนชำระ หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หุนกู ไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

หนี้สินคาเครื่องจักรผอนชำระ หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หุนกู รวม

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

1 ป ภายใน 1 ป แตหลัไมงจาก เกิน 5 ป หลังจาก 5 ป

รวม

3.00 - 9.50 / MOR

2,819

-

-

2,819

0.75 - 4.75 4.00 - 6.00 MLR ลบ 2.00 SIBOR บวก 0.375 6.03 - 6.54 7.75 - 9.70 4.25 - 5.50

162 2,475

-

-

162 2,475

272 290 24,812

-

-

272 290 24,812

-

6,953

1,035

7,988

30,830

113 372 64,619 72,057

1,035

113 372 64,619 103,922

4.35 - 6.00 FDR บวก (2.00 - 2.50) MLR ลบ (1.75 - 2.00) SIBOR บวก 0.375 6.03 - 6.54 7.75 - 9.70 4.50 - 6.25

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเกิดจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุมบริษัทมีเงินกูยืมสกุลตางประเทศ ดังนี้ หนวย: ลานบาท

เหรียญสหรัฐ เปโซ ยูโร เยน อื่นๆ รวม

68

เงินกูยืมระยะสั้น และเงินกูยืมระยะยาว สวนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป 2551 2550 1,383 1,699 640 349 104 226 15 12 24 5 2,166 2,291

เงินกูยืมระยะยาว 2551 13,683 519 14,202

2550 2,839 365 113 3,317

รวม 2551 15,066 640 623 15 24 16,368

2550 4,538 714 339 12 5 5,608


กลุม บริษทั ไดทำธุรกรรมอนุพนั ธทางการเงินเปนสวนหนึง่ ในการบริหารและจัดการความเสีย่ งอันเกิดจากหนีส้ นิ ของกลุม บริษทั การจัดการความเสีย่ ง โดยใชตราสารทางการเงินนี้ เปนไปตามนโยบายและแนวทางที่คณะกรรมการบริษัทใหความเห็นชอบแลวและมีการควบคุมขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใหเปนตามนโยบาย อนุพนั ธทางการเงินทีก่ ลุม บริษทั จัดทำ ไดแก สัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา (Forward Exchange Contract) สัญญาแลกเปลีย่ นเงินตรา ตางประเทศ (Cross Currency Swap) และสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) โดยสัญญาที่ทำนั้นเปนการปองกันความเสี่ยง จากอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนของเงินกูยืมระยะสั้นและเงินกูยืมระยะยาว ตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 34 นอกจากนัน้ กลุม บริษทั มีรายได จากการสงออกและรายไดอนื่ ๆ เปนเงินตราตางประเทศอีกจำนวนหนึง่ ซึง่ เพียงพอทีจ่ ะชวยลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศได มูลคายุติธรรม เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญจัดอยูในประเภทระยะสั้น และเงินกูยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด ฝายบริหารของกลุม บริษทั เชือ่ วา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ราคาตามบัญชีของเครือ่ งมือทางการเงินของกลุม บริษทั ไมแตกตางไปจาก มูลคายุติธรรมอยางมีสาระสำคัญ (มูลคายุติธรรมของหุนกูไดเปดเผยไวในหมายเหตุ 17) 34 ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุมบริษัทมี หนวย: ลานบาท

2551

2550

ก) หนังสือค้ำประกันที่ออกโดยกลุมบริษัทเพื่อค้ำประกันการจายชำระ เงินกูยืมของกิจการที่เกี่ยวของกันที่ไมไดรวมอยูในงบการเงินรวม 2,089 1,871 ข) หนังสือค้ำประกันที่ออกโดยธนาคารแกหนวยงานรัฐบาล 1,642 1,584 ค) เลตเตอรออฟเครดิตที่เปดแลวแตยังไมเขาเงื่อนไขการเปนหนี้สิน 950 2,154 ง) ภาระผูกพัน • ตามสัญญาซื้อวัตถุดิบ 35,733 38,619 • ตามสัญญาเชาและบริการ 1,683 1,472 • ตามสัญญากอสรางโรงงานโอเลฟนสแหงที่ 2 และโครงการ Downstream 11,672 27,508 • ตามสัญญากอสรางและติดตั้งเครื่องจักร 5,553 3,501 จ) หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการถูกสรรพากรประเมินภาษี ซึ่งอยูระหวางการพิจารณาของศาลภาษีอากรกลาง 113 ฉ) หนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการถูกสรรพากรตางประเทศประเมินภาษีกบั บริษทั ยอยในตางประเทศแหงหนึง่ ซึง่ ยังคงมีความไมแนนอนในจำนวนเงินทีจ่ ะ ถูกประเมิน อยางไรก็ตามบริษทั ไดบนั ทึกหนีส้ นิ ทีค่ าดวาจะเกิดขึน้ แลวบางสวนเปนเงิน 0.1 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทาเงินบาทจำนวน 3 ลานบาท ช) กลุมบริษัทไดทำสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาและสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินกับธนาคารหลายแหงทั้งในและตางประเทศ โดยมี วัตถุประสงคเพื่อปองกันความเสี่ยงจากการจายชำระเงินกูยืม จายชำระคาสินคา เครื่องจักรและอุปกรณและรับชำระเงินคาสินคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดดังนี้ มูลคาตามสัญญา เงินกูยืม Forward เงินกูยืม Swap สกุลตางประเทศ เทียบเทาเงินบาท สกุลตางประเทศ เทียบเทาเงินบาท (ลาน)

เหรียยญสหรั ญสหรัฐฐ เหรี ยูยูโโรร รวม รวม

2551 4 2

(ลานบาท)

2550 12 7

2551 132 104 236

(ลาน)

2550 409 339 748

2551 14 -

(ลานบาท)

2550 25 -

2551 561 561

2550 1,070 1,070

69


มูลคาตามสัญญา ลูกหนี้การคา Forward เทียบเทาเงินบาท สกุลตางประเทศ (ลาน)

เหรียญสหรัฐ เยน ยูโร อื่นๆ รวม

2551 104 194 6 7

เจาหนี้การคา Forward สกุลตางประเทศ เทียบเทาเงินบาท

(ลานบาท)

2550 192 187 11 19

2551 3,675 73 274 201 4,223

(ลาน)

2550 6,485 53 515 199 7,252

2551 311 3,010 12 -

(ลานบาท)

2550 175 501 17 -

2551 10,641 1,005 577 10 12,233

2550 5,985 149 814 7 6,955

สัญญาดังกลาวจะทยอยครบกำหนดภายในเดือนธันวาคม 2552 (2550: เมษายน 2552) ซ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุม บริษทั ไดทำสัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ กับธนาคารตางประเทศหลายแหง เพือ่ ปองกันความเสีย่ งจากอัตรา ดอกเบี้ยของวงเงินกูยืมสกุลตางประเทศ จำนวน 236 ลานเหรียญสหรัฐ โดยการแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยลอยตัว LIBOR เปนอัตราดอกเบี้ย คงที่เฉลี่ยรอยละ 4 ถึง 5 ตอป ฌ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 กลุมบริษัทไดทำสัญญาเพื่อบริหารความเสี่ยงทางดานราคาพลังงาน (Commodity Swap) กับธนาคารในประเทศ แหงหนึ่งและธนาคารตางประเทศหลายแหง จำนวน 11 ลานเหรียญสหรัฐหรือเทียบเทาเงินบาทจำนวน 393 ลานบาท 35 เหตุการณภายหลังวันที่ ในงบดุล

1) เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทไดมีมติอนุมัติเรื่องตางๆ ที่สำคัญ ดังนี้ ก) ใหเสนอที่ประชุมสามัญผูถือหุนเพื่ออนุมัติจายเงินปนผลสำหรับป 2551 ในอัตราหุนละ 7.50 บาท ซึ่งบริษัทไดจายเงินปนผลระหวางกาล ไปแลวในอัตราหุนละ 5.50 บาท เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2551 ตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 31 และจะจายเงินปนผลงวดสุดทายในอัตรา หุนละ 2.00 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรบั เงินปนผลคิดเปนเงินประมาณ 2,400 ลานบาท โดยกำหนดจายในวันที่ 22 เมษายน 2552 การจายเงินปนผลดังกลาวขึ้นอยูกับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุนในวันที่ 25 มีนาคม 2552 ข) ในวันที่ 1 เมษายน 2552 ใหบริษัทออกหุนกู ครั้งที่ 1/2552 มูลคารวมไมเกิน 20,000 ลานบาท ประเภทระบุชื่อผูถือ ไมมีหลักประกัน และไมดอยสิทธิ อายุ 4 ป อัตราดอกเบี้ยตามราคาตลาดในขณะที่ออก กำหนดจายดอกเบี้ยทุกๆ 3 เดือน ซึ่งจะครบกำหนดไถถอนวันที่ 1 เมษายน 2556 โดยเงินที่ไดรับจากการออกหุนกูจะนำไปไถถอนหุนกูครั้งที่ 1/2548 และหุนกูครั้งที่ 2/2549 มูลคารวม 15,000 ลานบาท ที่จะครบกำหนดไถถอนในวันที่ 1 เมษายน 2552 2) ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2552 กลุมบริษัทเริ่มมีอำนาจควบคุมในการกำหนดนโยบายและการดำเนินงานของบริษัทโสสุโก เซรามิค จำกัด ซึ่งปจจุบันเปนบริษัทรวมในธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง โดยกลุมบริษัทจะนำสินทรัพย หนี้สิน และผลการดำเนินงานของบริษัทดังกลาวมาจัดทำ งบการเงินรวมตั้งแตไตรมาสที่ 1 ป 2552 ทั้งนี้ กลุมบริษัทไดซื้อหุนสามัญของบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นรอยละ 9 (จำนวนเงิน 156 ลานบาท) ในปลายไตรมาสที่ 4 ป 2551 ทำใหมีสัดสวนการถือหุนคิดเปนรอยละ 54 3) เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบบริษัทไดมีมติใหแจงตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรณีมีพนักงาน ปลอมแปลงใบหุนสามัญของบริษัท จำนวนหุน 672,000 หุน ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการดำเนินการทางกฎหมาย

70


36 มาตรฐานการบัญชี ไทยที่ยังไม ได ใช

กลุมบริษัทยังไมไดใชมาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหมดังตอไปนี้ ณ วันที่ในงบดุล เนื่องจากยังไมมีการบังคับใชมาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหม ดังตอไปนี้ซึ่งกำหนดใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เปนตนไป มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 54 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนถือไวเพื่อขายและการดำเนินงานที่ยกเลิก

บริษทั คาดวาการกำหนดใหใชมาตรฐานการบัญชีทปี่ รับปรุงใหมดงั กลาวขางตนจะไมมผี ลกระทบตองบการเงินรวมของกลุม บริษทั อยางมีสาระสำคัญ 37 การจัดประเภทรายการใหม

รายการในงบการเงินรวมของป 2550 บางรายการไดจัดประเภทรายการใหมใหสอดคลองกับรายการในงบการเงินรวมของป 2551

71


งบการเงิน บริษัทปูนซิเมนต ไทย จำกัด (มหาชน)

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผูถือหุนบริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบกำไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนและงบกระแสเงินสด สำหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวน ของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อใหไดความเชื่อมั่น อยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวธิ กี ารทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เปนจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการ ทางการเงินที่เปนสาระสำคัญซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ผลการดำเนินงานและกระแสเงินสดสำหรับปสิ้นสุด วันเดียวกันของแตละปของบริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

(วินิจ ศิลามงคล) ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3378 บริษัทเคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด กรุงเทพมหานคร 25 กุมภาพันธ 2552

72


งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หนวย: พันบาท

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา ลูกหนี้และเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่นสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

หมายเหตุ

5 4 4, 23

รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

6 7 4 4, 23 8 9, 29 10 29

รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

2551

2550

17,450,194 58,929,534 758,632 77,138,360

1,199,667 57,282,435 399,520 649,959 59,531,581

63,338,220 3,512,880 444,439 1,371,061 2,199,059 77,073 258,563 48,888 71,250,183 148,388,543

63,438,860 3,512,969 495,042 1,077,133 2,198,733 164,111 502,957 45,637 71,435,442 130,967,023 หนวย: พันบาท

หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา หนี้สินระยะยาวสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หุนกูสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป เจาหนี้และเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ดอกเบี้ยคางจาย คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

หมายเหตุ

2551

2550

11

4,500,000 68,648 103,553 25,000,000 3,367,527 1,232,851 62,833 114,162 34,449,574

97,567 272,498 25,000,000 3,599,978 1,093,085 127,844 329,408 30,520,380

80,000,000 146,306 80,146,306 114,595,880

113,016 65,000,000 160,580 65,273,596 95,793,976

12 13 4

29

รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินระยะยาว หุนกู หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น

รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

12 13 29

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

73


งบดุล (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หนวย: พันบาท

หนี้สินและสวนของผูถือหุน สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชำระแลว สวนเกินทุน การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม กำไรสะสม จัดสรรแลว • สำรองตามกฎหมาย • สำรองทั่วไป ยังไมไดจัดสรร

รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

หมายเหตุ

2551

2550

14 14

1,600,000 1,200,000

1,600,000 1,200,000

15

(39)

23

15

120,000 10,516,000 21,956,702 33,792,663 148,388,543

120,000 10,516,000 23,337,024 35,173,047 130,967,023

ในนามคณะกรรมการ

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานกรรมการ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 74

กานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ


งบกำไรขาดทุน สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หนวย: พันบาท

• รายไดเงินปนผล • รายไดคาทรัพยสินทางปญญา • รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหาร

หมายเหตุ 4 4 4

รวมรายได • คาใชจายในการบริหาร • คาตอบแทนกรรมการ

16 17

กำไรจากการดำเนินงาน • กำไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน และอื่นๆ • รายไดอื่น

6, 7 18

กำไรกอนดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงินและภาษีเงินได • ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน • ภาษีเงินได

กำไรสุทธิ กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)

4, 20 21 22

2551 13,656,926 1,926,408 1,626,408 17,209,742 791,719 74,660 16,343,363

2550 16,674,911 1,676,265 1,519,671 19,870,847 1,160,472 83,020 18,627,355

(1,631) 288,880 16,630,612 2,263,093 244,421 14,123,098 11.77

2,045,413 422,019 21,094,787 2,323,072 821,615 17,950,100 14.96

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

75


งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

หมายเหตุ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสำหรับป การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม กำไรสุทธิ รวมสวนของรายไดที่รับรู เงินปนผล

24

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสำหรับป การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม กำไรสุทธิ รวมสวนของรายไดและคาใชจายที่รับรู เงินปนผล

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 76

24

ทุนเรือนหุน ที่ออก และชำระแลว

การเปลี่ยนแปลง ในมูลคายุติธรรม

1,200,000

(298,989)

1,200,000 1,200,000

299,012 299,012 23 23

1,200,000

(62) (62) (39)


หนวย: พันบาท

กำไรสะสม จัดสรรแลว สำรอง ตามกฎหมาย 120,000

ยังไมไดจัดสรร

รวมสวนของ ผูถือหุน

สำรองทั่วไป 10,516,000

23,255,161

34,792,172

120,000 120,000

10,516,000 10,516,000

17,950,100 17,950,100 (17,868,237) 23,337,024 23,337,024

299,012 17,950,100 18,249,112 (17,868,237) 35,173,047 35,173,047

120,000

10,516,000

14,123,098 14,123,098 (15,503,420) 21,956,702

(62) 14,123,098 14,123,036 (15,503,420) 33,792,663

77


งบกระแสเงินสด สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หนวย: พันบาท

2551

2550

14,123,098

17,950,100

96,400 (3,139,410) 5,042,039 69,163 1,631 (996) (8,550) (13,656,926) 244,421 2,770,870

102,063 (2,561,590) 4,608,417 (115,025) (2,045,413) (11,444) (60) (16,674,911) 821,615 2,073,752

235,226 43,681 (3,251) 275,656

(82,032) 21,984 13,217 (46,831)

(28,919) (88,915) (280,045) (397,879) 2,648,647 (175,408) 2,473,239

6,422 27,343 226,195 259,960 2,286,881 (490,508) 1,796,373

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสุทธิ รายการปรับปรุง • คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย • ดอกเบี้ยรับ • ดอกเบี้ยจาย • ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่ยังไมเกิดขึ้น • ขาดทุน (กำไร) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ • กำไรจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ • กำไรจากการขายสินทรัพยไมมีตัวตน • รายไดเงินปนผล • ภาษีเงินได กำไรจากการดำเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพยดำเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) • ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน • สินทรัพยหมุนเวียนอื่น • สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น สินทรัพยดำเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) - สุทธิ หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) • เจาหนี้การคา • เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน • คาใชจายคางจายและหนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ เงินสดรับจากการดำเนินงาน จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดำเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 78


งบกระแสเงินสด (ตอ) สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 หนวย: พันบาท

2551

2550

3,115,457 14,865,236 (936,290) 1,035,300 (102,815) 391 (24,277) 79,494 (3,046,182) 159,807 15,146,121

2,483,200 16,049,401 (88,301) 12,700,991 (101,915) 7,642 (130,642) 300 (12,787,145) 18,133,531

(4,898,320) 4,500,000 (273,908) (178,911) 40,000,000 (25,000,000) 14,148,861 (15,503,420) (14,274) (1,368,833) 16,250,527 1,199,667 17,450,194

(4,447,163) (3,697,350) (678,057) (1,255,346) 25,000,000 (16,000,000) (1,077,916) (17,868,237) (7,994) (18,954,147) 975,757 223,910 1,199,667

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปนผล ซื้อเงินลงทุนและลงทุนเพิ่มในบริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทอื่น เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนและรับคืนทุน ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับจากการขายสินทรัพยไมมีตัวตน เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน รับชำระจากเงินใหกูยืมแกบริษัทอื่น เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมลงทุน

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูยืม • จายดอกเบี้ย • เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน • เงินสดจายชำระหนี้สินระยะยาว • เงินสดจายชำระคืนเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน • เงินสดรับจากการออกหุนกู • เงินสดจายจากการไถถอนหุนกู เงินกูยืมเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ เงินปนผลจาย หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น - สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

79


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

80

สารบัญ

หนา

ขอมูลทั่วไป เกณฑการจัดทำงบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สำคัญ รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคา เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน หนี้สินระยะยาว หุนกู ทุนเรือนหุน สำรอง คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนกรรมการ รายไดอื่น คาใชจายพนักงาน ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน ภาษีเงินได กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน สัญญาใหการสนับสนุนทางการเงิน เงินปนผลจาย เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น เหตุการณภายหลังวันที่ในงบดุล มาตรฐานการบัญชีไทยที่ยังไมไดใช การจัดประเภทรายการใหม

81 81 82 87 90 91 92 92 93 93 94 94 95 95 96 96 96 96 97 97 97 98 98 98 98 100 101 101 101


หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการตรวจสอบตามการมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ 2552 1 ขอมูลทั่วไป

บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) “บริษัท” เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และที่อยูจดทะเบียนตั้งอยูเลขที่ 1 ถนนปูนซิเมนตไทย บางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 ประเทศไทย บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2518 บริษัทเปนผูลงทุนในกลุมธุรกิจหลัก ไดแก ธุรกิจเคมีภัณฑ ธุรกิจกระดาษ ธุรกิจซิเมนต ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง ธุรกิจจัดจำหนาย และธุรกิจการลงทุน 2 เกณฑการจัดทำงบการเงิน

งบการเงินนี้นำเสนอเพื่อวัตถุประสงคของการรายงานเพื่อใชในประเทศ และจัดทำเปนภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษไดจัดทำขึ้นเพื่อ ความสะดวกของผูอานงบการเงินที่ไมคุนเคยกับภาษาไทย งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทย (“มาตรฐานการบัญชี”) รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใชโดย สภาวิชาชีพบัญชี (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย บริษัทไดใชมาตรฐานการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหมโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหวางป 2550 ตอไปนี้ ซึ่งมีผลบังคับสำหรับงบการเงินที่มี รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญาเชา มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง ตนทุนการกูยืม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 39 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และขอผิดพลาด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินระหวางกาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การรวมธุรกิจ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 51

เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน

การใชมาตรฐานการบัญชีฉบับใหมและฉบับปรับปรุงเหลานี้ ไมมีผลกระทบที่เปนสาระสำคัญกับงบการเงินของบริษัท ในระหวางป 2551 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหมหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับสำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 และไมไดมีการนำมาใชสำหรับการจัดทำงบการเงินนี้ มาตรฐานการบัญชีที่ไดปรับปรุงใหมเหลานี้ได เปดเผยในหมายเหตุ 28 งบการเงินนี้แสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาท ยกเวนที่ระบุไวเปนอยางอื่น งบการเงินนี้ไดจัดทำขึ้นโดยถือหลักเกณฑการบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเวนตามที่ระบุในนโยบายการบัญชี

81


ในการจัดทำงบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชี ผูบริหารตองใชการประมาณและขอสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอการ กำหนดนโยบายและการรายงานจำนวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจาย การประมาณและขอสมมติฐานมาจากประสบการณ ในอดีต และปจจัยตางๆ รวมถึงการประเมินผลกระทบที่สำคัญตอผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของบริษัทอันเนื่องมาจากวิกฤตการณ เศรษฐกิจโลก ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกตางจากที่ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทำงบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางตอเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชี ที่ประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวนหากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะงวดนั้นๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับและงวดในอนาคตหากการ ปรับประมาณการกระทบทั้งในงวดปจจุบันและอนาคต ขอมูลเกี่ยวกับการประมาณความไมแนนอนและขอสมมติฐานที่สำคัญในการกำหนดนโยบายการบัญชีมีผลกระทบสำคัญตอการรับรูจำนวนเงินใน งบการเงิน และรวมอยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินตอไปนี้ หมายเหตุ 5, 6, 7, 8 และ 9 การวัดมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยแตละรายการและหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด หมายเหตุ 10 การใชประโยชนของขาดทุนทางภาษีเงินได หมายเหตุ 26 ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 3 นโยบายการบัญชีที่สำคัญ

(ก) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดในงบกระแสเงินสด ประกอบดวย เงินสด เงินฝากธนาคารประเภทเผือ่ เรียก และเงินลงทุนระยะสัน้ ทีม่ สี ภาพคลองสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึง่ จะตองชำระคืนเมือ่ ทวงถามถือเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด (ข) ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น แสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักดวยคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชำระหนี้ และการคาดการณเกี่ยวกับการชำระหนี้ในอนาคตของลูกคา ลูกหนี้จะถูกตัดจำหนายบัญชีเมื่อทราบวาเปนหนี้สูญ (ค) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทยอย และบริษัทรวม เงินลงทุนในบริษัทยอย และบริษัทรวม บันทึกบัญชีโดยใชวิธีราคาทุน เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเปนหลักทรัพยในความตองการของตลาดซึ่งถือไวเพื่อคาจัดประเภทเปนสินทรัพยหมุนเวียนและแสดงในราคา ยุติธรรม กำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพยไดบันทึกในงบกำไรขาดทุน ตราสารหนี้ซึ่งบริษัทตั้งใจและสามารถถือจนครบกำหนด แสดงในราคาทุนตัดจำหนายหักดวยขาดทุนจากการดอยคา ผลตางระหวางราคาทุน ที่ซื้อมากับมูลคาไถถอนของตราสารหนี้จะถูกตัดจายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเปนหลักทรัพยในความตองการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไวเพื่อคาหรือตั้งใจถือไวจนครบกำหนด จัดประเภทเปนหลักทรัพยเผื่อขายและแสดงในราคายุติธรรม กำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพยไดบันทึกในสวนของผูถือหุนโดยตรง ยกเวนขาดทุนจากการดอยคาจะรับรูในงบกำไรขาดทุน เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไมใชหลักทรัพยในความตองการของตลาดแสดงในราคาทุนหักดวยขาดทุนจากการดอยคา มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินสำหรับหลักทรัพยเพื่อคาและหลักทรัพยเผื่อขายจะใชราคาเสนอซื้อ ณ วันที่ในงบดุล

82


การจำหนายเงินลงทุน เมื่อมีการจำหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางจำนวนเงินสุทธิที่ไดรับและมูลคาตามบัญชี รวมถึงกำไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพยที่ เกี่ยวของที่เคยบันทึกในสวนของผูถือหุนจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุน ในกรณีที่บริษัทจำหนายเงินลงทุนที่ถืออยูเพียงบางสวน การคำนวณตนทุนสำหรับเงินลงทุนที่จำหนายไปและเงินลงทุนที่ยังถืออยูใชวิธีถัวเฉลี่ย ถวงน้ำหนัก (ง) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยที่เปนกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักดวยคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา สินทรัพยที่เชา การเชาซึ่งบริษัทไดรับความเสี่ยงและผลตอบแทนสวนใหญจากการครอบครองสินทรัพยที่เชานั้นๆ ใหจัดประเภทเปนสัญญาเชาทางการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณที่ไดมาโดยทำสัญญาเชาทางการเงินบันทึกเปนสินทรัพยดวยมูลคายุติธรรมหรือมูลคาปจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำ ที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตจำนวนใดจะต่ำกวาหักดวยคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา คาเชาที่ชำระจะแยกเปนสวน ที่เปนคาใชจายทางการเงิน และสวนที่จะหักจากหนี้ตามสัญญา เพื่อทำใหอัตราดอกเบี้ยเมื่อเทียบกับยอดหนี้ที่คงเหลืออยูในแตละงวดมีอัตรา คงที่ คาใชจายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบกำไรขาดทุน คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาบันทึกเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธีเสนตรงตามระยะเวลาดังนี้ สวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสราง เครื่องจักรและอุปกรณ ยานพาหนะและอุปกรณ เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสำนักงาน

5 - 20 5, 20 5, 20 5 5

ป ป ป ป ป

บริษัทไมคิดคาเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสราง (จ) สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ ที่บริษัทซื้อมาและมีอายุการใชงานจำกัด แสดงในราคาทุนหักดวยคาตัดจำหนายสะสมและขาดทุนจากการดอยคา คาตัดจำหนาย คาตัดจำหนายบันทึกเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุน คำนวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจของ สินทรัพยไมมีตัวตนแตละประเภท ระยะเวลาที่บริษัทคาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจแสดงไดดังนี้ คาลิขสิทธิ์ซอฟทแวร อื่นๆ

3 - 10 ป 5 - 20 ป

(ฉ) การดอยคา มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยของบริษัทไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบดุลวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ในกรณีที่มีขอบงชี้จะทำการ ประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน 83


สินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใชงานไมจำกัดและสินทรัพยที่ไมมีตัวตนซึ่งยังไมไดใช จะมีการทดสอบการดอยคาทุกปหรือเมื่อมีขอบงชี้เรื่อง การดอยคา ขาดทุนจากการดอยคารับรูเมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย หรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดสูงกวามูลคาที่จะได รับคืน ขาดทุนจากการดอยคาบันทึกในงบกำไรขาดทุน เวนแตเมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลคาของสินทรัพยเพิ่มขึ้นของสินทรัพย ชิ้นเดียวกันกับที่เคยรับรูในสวนของผูถือหุนและมีการดอยคาในเวลาตอมา ในกรณีนี้ใหรับรูในสวนของผูถือหุน เมื่อมีการลดลงในมูลคายุติธรรมของสินทรัพยทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งไดบันทึกในสวนของผูถือหุน และมีความชัดเจนวาสินทรัพยดังกลาวมี การดอยคา ขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในสวนของผูถือหุนจะถูกบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยไมตองปรับกับสินทรัพยทางการเงินดังกลาว ขาดทุน ที่บันทึกในงบกำไรขาดทุนเปนผลตางระหวางราคาทุนที่ซื้อกับมูลคายุติธรรมในปจจุบันของสินทรัพยหักดวยขาดทุนจากการดอยคาของ สินทรัพยทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรูแลวในงบกำไรขาดทุน การคำนวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของกลุมหลักทรัพยที่ถือไวจนกวาจะครบกำหนดและลูกหนี้ที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจำหนาย คำนวณโดยการหา มูลคาปจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคต คิดลดดวยอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง สำหรับลูกหนี้ระยะสั้นไมมีการคิดลด มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงิน หมายถึง ราคาขายสุทธิของสินทรัพย หรือมูลคาจากการใชของสินทรัพย แลวแตมูลคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชของสินทรัพยประมาณจากกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคตคิดลดเปนมูลคา ปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนคำนึงถึงภาษีเงินไดเพื่อใหสะทอนมูลคาที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มี ตอสินทรัพย การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้น สัมพันธโดยตรงกับขาดทุนจากการดอยคาที่เคยรับรู ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรูในงวดกอนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่ในงบดุลวามีขอบงชี้เรื่อง การดอยคาหรือไม ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการ หากมีการเปลีย่ นแปลงประมาณการทีใ่ ชในการคำนวณมูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืน ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการเพียงเทาทีม่ ลู คาตามบัญชีของสินทรัพยไมเกินกวามูลคาตามบัญชีภายหลังหักดวยคาเสือ่ มราคาสะสม หรือคาตัดจำหนายสะสม เสมือนหนึ่งไมเคยมีการบันทึกขาดทุนจากการดอยคามากอน (ช) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น แสดงในราคาทุน (ซ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรูในงบดุลก็ตอเมื่อบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปจจุบัน หรือที่กอตัวขึ้นอันเปนผลมาจากเหตุการณ ในอดีต และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจจะตองถูกจายไปเพื่อชำระภาระหนี้สินดังกลาว และสามารถประมาณ จำนวนภาระหนี้สินไดอยางนาเชื่อถือ ถาผลกระทบดังกลาวมีจำนวนที่เปนสาระสำคัญ ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแส เงินสดที่จะจายในอนาคตโดยใชอัตราคิดลดในตลาดปจจุบันกอนคำนึงถึงภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนจำนวนที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอหนี้สิน (ฌ) รายได รายไดที่รับรูไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม รายไดคาธรรมเนียม รายไดคาทรัพยสินทางปญญา รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหารและการบริการรับรูเปนรายไดตามเกณฑคงคางตามที่กำหนดในสัญญา

84


รายไดคาเชา รายไดคาเชารับรูในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา คาใชจายเริ่มแรกที่เกิดเปนการเฉพาะเพื่อกอใหเกิดรายไดตาม สัญญาเชาจะรับรูเปนคาใชจายในงวดที่เกิดคาใชจายนั้น ดอกเบี้ยรับและเงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนตามเกณฑคงคาง เงินปนผลรับบันทึกในงบกำไรขาดทุนในวันที่บริษัทมีสิทธิไดรับเงินปนผล ในกรณี เงินปนผลที่จะไดรับจากหลักทรัพยในความตองการของตลาดจะพิจารณาจากวันที่มีการประกาศสิทธิการรับเงินปนผล (ญ) คาใชจาย สัญญาเชาดำเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดำเนินงานบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา ประโยชนที่ไดรับตามสัญญาเชาจะรับรูใน งบกำไรขาดทุนเปนสวนหนึ่งของคาเชาทั้งสิ้นตามสัญญา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นจะบันทึกในงบกำไรขาดทุนในรอบบัญชีที่มีรายการดังกลาว รายจายทางการเงิน ดอกเบี้ยจายและคาใชจายในทำนองเดียวกันบันทึกในงบกำไรขาดทุนในงวดที่คาใชจายดังกลาวเกิดขึ้น ยกเวนในกรณีที่มีการบันทึกเปนตนทุน สวนหนึ่งของสินทรัพย อันเปนผลมาจากการใชเวลายาวนานในการจัดหา กอสราง หรือการผลิตสินทรัพยดังกลาวกอนที่จะนำมาใชเองหรือ เพื่อขาย ดอกเบี้ยซึ่งเปนสวนหนึ่งของคางวดตามสัญญาเชาการเงินบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง คาใชจายสำหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน บริษัทไดเสนอสิทธิใหพนักงานจำนวนหนึ่งที่เขาหลักเกณฑเพื่อการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน พนักงานที่เห็นชอบกับขอเสนอจะได รับเงินจำนวนหนึ่งโดยคำนวณผันแปรตามเงินเดือนลาสุด จำนวนปที่ทำงาน หรือจำนวนเดือนคงเหลือกอนการเกษียณตามปกติ บริษัทบันทึก เปนคาใชจายสำหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน (ฎ) ภาษีเงินได ภาษีเงินไดจากกำไรหรือขาดทุนสำหรับปประกอบดวยภาษีเงินไดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดรับรูในงบกำไรขาดทุน ภาษีเงินไดปจจุบัน ภาษีเงินไดปจจุบัน ไดแก ภาษีที่คาดวาจะจายชำระโดยคำนวณจากกำไรประจำปที่ตองเสียภาษี โดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใช ณ วันที่ใน งบดุล ซึ่งเกี่ยวกับรอบบัญชีที่คำนวณภาษีเงินได ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปกอนๆ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี บริษัทบันทึกบัญชีโดยวิธีหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี โดยคำนวณจากผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย และหนี้สินและจำนวนที่ใชเพื่อความมุงหมายทางภาษี โดยผลตางชั่วคราวตอไปนี้ไมไดถูกนำมารวมพิจารณา ไดแก การรับรูสินทรัพยและ หนี้สินในครั้งแรกซึ่งไมกระทบตอทั้งกำไรทางบัญชีหรือกำไรทางภาษี และผลตางที่เกี่ยวกับเงินลงทุนในบริษัทยอย หากเปนไปไดวาจะไมมีการ กลับรายการในระยะเวลาอันใกล จำนวนภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีพิจารณาจากรายการที่คาดวาจะเกิดขึ้นจริง หรือมูลคาหรือประโยชนของ สินทรัพยที่คาดวาจะไดรับและหนี้สินที่คาดวาจะตองชำระ โดยใชอัตราภาษีที่มีการประกาศใช ณ วันที่ในงบดุล สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะบันทึกตอเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากำไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตจะมีจำนวนเพียงพอกับการ ใชประโยชนจากการบันทึกสินทรัพยดังกลาว สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะถูกปรับลดลงเทาที่ประโยชนทางภาษีจะมีโอกาสถูกใชจริง

85


(ฏ) เงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ในงบดุล แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กำไรหรือขาดทุนจากการแปลงคาจะบันทึกในงบกำไรขาดทุน สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศและบันทึกตามเกณฑราคาทุนเดิม แปลงคาเปนเงินบาท โดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศซึ่งแสดงใน มูลคายุติธรรม แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่มีการพิจารณามูลคายุติธรรม (ฐ) เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ สินทรัพยทางการเงินและหนีส้ นิ ทางการเงินทีป่ รากฏในงบดุลรวมถึง เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนีก้ ารคา ลูกหนีอ้ นื่ เจาหนีก้ ารคา เจาหนี้อื่น ลูกหนี้ระยะยาว เงินใหกูยืม เงินลงทุน เงินกูยมื และหุนกู บริษัทดำเนินธุรกิจกับตางประเทศและมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทไดใชเครื่องมือทาง การเงินเพื่อลดความเสี่ยงดังกลาว กำไรหรือขาดทุนจากการทำประกันความเสี่ยงรับรูในงบกำไรขาดทุนในงวดบัญชีเดียวกันกับงวดที่เกิด ผลแตกตางจากอัตราแลกเปลี่ยนของสินทรัพยทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่ทำประกันความเสี่ยงไว

86


4 รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน

บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ไดแก บุคคลหรือกิจการตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกับบริษัท โดยการมีผูถือหุนรวมกันหรือมีกรรมการรวมกัน รายการที่เกิดขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันไดกำหนดขึ้นโดยใชราคาตลาดหรือในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหากไมมีราคาตลาดรองรับ รายการที่สำคัญกับกิจการที่เกี่ยวของกันสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม และนโยบายการกำหนดราคาสรุปไดดังนี้ หนวย: ลานบาท

2551

2550

นโยบายการกำหนดราคา

บริษัทยอย รายไดคาทรัพยสินทางปญญา รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหาร รายไดคาบริการและอื่นๆ

3,273

2,934

รายไดเงินปนผล กำไรจากการขายสินทรัพย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย

9,629 1 2,876 39

11,741 4 2,182 19

สวนใหญคิดตามอัตรารอยละ ของยอดขายสุทธิ ตามจำนวนที่ประกาศจาย ราคาตลาด อัตราตามสัญญา อัตราตามสัญญา

35

35

2,588 52

2,452 46

299

274

1,440 35

2,482 29

บริษัทรวม รายไดคาทรัพยสินทางปญญา รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหาร รายไดคาบริการและอื่นๆ รายไดเงินปนผล ดอกเบี้ยรับ บริษัทอื่น รายไดคาทรัพยสินทางปญญา รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหาร รายไดคาบริการและอื่นๆ รายไดเงินปนผล ดอกเบี้ยจาย

สวนใหญคิดตามอัตรารอยละ ของยอดขายสุทธิ ตามจำนวนที่ประกาศจาย อัตราตามสัญญา

สวนใหญคิดตามอัตรารอยละ ของยอดขายสุทธิ ตามจำนวนที่ประกาศจาย อัตราตามสัญญา

บริษัทแสดงดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงินจำนวน 5,191 ลานบาท (2550: 4,551 ลานบาท) สุทธิจากดอกเบี้ยรับจากกิจการที่เกี่ยวของกัน จำนวน 2,928 ลานบาท (2550: 2,228 ลานบาท) ในงบกำไรขาดทุนสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม กับกิจการที่เกี่ยวของกันมีดังนี้

87


หนวย: ลานบาท

ลูกหนี้และเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บัญชีเดินสะพัด บริษัทยอย บริษัทไทยโพลิเอททีลีน จำกัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (แกงคอย) จำกัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทุงสง) จำกัด บริษัทผลิตภัณฑและวัตถุกอสราง จำกัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทาหลวง) จำกัด บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จำกัด บริษัทกระเบื้องกระดาษไทย จำกัด บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จำกัด บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จำกัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (ลำปาง) จำกัด บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน (1994) จำกัด บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส แมเนจเมนท จำกัด บริษัทเอสซีจี เปเปอร จำกัด (มหาชน) บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน จำกัด บริษัทมาบตาพุดโอเลฟนส จำกัด บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จำกัด บริษัทไทยโพลิเอททีลีน (1993) จำกัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จำกัด บริษัทเอสซีจี ซิเมนต จำกัด บริษัทอื่นๆ บริษัทรวม Mariwasa Siam Ceramic, Inc. บริษัทอื่นๆ บริษัทอื่น บริษัทสยามมิชลินกรุป จำกัด บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด บริษัทอื่นๆ

ตั๋วเงินรับ บริษัทยอย บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จำกัด บริษัทเอสซีจี เปเปอร จำกัด (มหาชน) บริษัทซิเมนตไทยโฮลดิ้ง จำกัด บริษัทกระเบื้องกระดาษไทย จำกัด บริษัทเซรามิคซิเมนตไทย จำกัด บริษัทผลิตภัณฑและวัตถุกอสราง จำกัด บริษัทเอสซีจี ดิสทริบิวชั่น จำกัด บริษัทบางซื่อการจัดการ จำกัด บริษัทเอสซีจี แอคเคานติ้ง เซอรวสิ เซส จำกัด บริษัทระยองโอเลฟนส จำกัด บริษัทมาบตาพุด แทงค เทอรมินัล จำกัด บริษัทพร็อพเพอรตี้ แวลู พลัส จำกัด

88

2551

2550

138 98 83 72 69 51 41 37 34 31 30 28 26 26 25 20 18 18 13 90 948

186 85 110 73 87 43 43 35 22 89 54 49 29 37 1 19 31 16 18 134 1,161

10 38 48

3 19 22

205 13 18 236 1,232

1,414 24 14 1,452 2,635

18,379 17,216 8,262 7,002 3,743 1,688 1,087 280 36 57,693

9,915 14,149 8,460 7,480 2,750 4,705 1,282 65 2,179 955 522 52,462


หนวย: ลานบาท

บริษัทรวม บริษัทสยาม มิตซุย พีทีเอ จำกัด บริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จำกัด บริษัทสยามซานิทารีแวรอินดัสทรี (หนองแค) จำกัด บริษัทสยามซานิทารีแวรอินดัสทรี จำกัด

เงินใหกูยืมระยะสั้น บริษัทรวม Mariwasa Siam Ceramic, Inc. รวม

2551

2550

57,693

1,800 290 45 44 2,179 54,641

5 58,930

6 57,282 หนวย: ลานบาท

เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน

2551

2550

บริษัทรวม Mariwasa Siam Ceramic, Inc. รวม

444 444

495 495

รายการเคลื่อนไหวระหวางปสำหรับเงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

ระยะสั้น ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม ระยะยาว ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง จัดประเภทเปนเงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2551

2550

54,647 12,810 (9,759) 57,698

42,374 17,648 (5,375) 54,647

495 35 (86) 444

1,414 558 (1,477) 495

89


หนวย: ลานบาท

เจาหนี้และเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน บัญชีเดินสะพัด ตั๋วเงินจาย บริษัทยอย บริษัทเหล็กสยาม จำกัด Cementhai Ceramic (Singapore) Pte. Ltd. Cementhai Gypsum (Singapore) Pte. Ltd. Cementhai Roof Products (Singapore) Pte. Ltd. Cementhai Concrete Products (Singapore) Pte. Ltd. บริษัทบางซื่อการจัดการ จำกัด บริษัทไทยวนภัณฑ จำกัด บริษัทอื่นๆ บริษัทอื่น มูลนิธิซิเมนตไทย เงินกูยืมระยะสั้น บริษัทยอย Tuban Petrochemicals Pte. Ltd. Cementhai Gypsum (Singapore) Pte. Ltd. รวม

2551 103

2550 188

1,369 423 81 63 40 71 2,047

1,353 409 286 89 579 70 50 2,836

657 2,704

2,836

526 35 561 3,368

508 68 576 3,600

รายการเคลื่อนไหวระหวางปสำหรับเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกันมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2551 3,412 793 (940) 3,265

2550 4,752 430 (1,770) 3,412

5 ลูกหนี้การคา

ณ วันที่ 31 ธันวาคม บริษัทมีลูกหนี้ที่มียอดคางชำระนานแยกตามอายุหนี้ที่คางชำระไดดังนี้ หนวย: ลานบาท

มากกวา 1 ป ขึ้นไป หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

90

2551 65 65 -

2550 65 65 -


6 เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม

รายการเคลื่อนไหวสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สำหรับเงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุนมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

2551 63,439 936 (986) (51) 63,338

ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อและลงทุนเพิ่ม จำหนายและรับคืนจากการลดทุน อื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2550 71,402 88 (5,873) (2,178) 63,439

เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และเงินปนผลรับจากเงินลงทุนระหวางปสิ้นสุด ณ วันเดียวกัน มีดังนี้ หนวย: ลานบาท

สัดสวน ความเปนเจาของ (รอยละ) 2551 2550 บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จำกัด และบริษัทยอย และบริษัทรวม บริษัทเอสซีจี เปเปอร จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษัทเอสซีจี ซิเมนต จำกัด และบริษัทยอย บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง จำกัด และบริษัทยอย และบริษัทรวม บริษัทเอสซีจี ดิสทริบิวชั่น จำกัด และบริษัทยอย บริษัทในกลุมธุรกิจการลงทุน รวม

วิธีราคาทุน 2551

คาเผื่อการดอยคา 2550

สุทธิ 2551

เงินปนผล

2550

2551

2550

100

100 36,471 36,586

-

98

98

7,431

7,425

-

-

7,431

7,425

100

100

9,518

9,518

-

-

9,518

9,518

100

100

5,106

5,106

346

346

4,760

4,760

100 100

100 100

2,800 2,800 2,435 2,589 63,761 64,024

77 423

- 2,800 2,800 - 448 77 2,358 2,512 469 1,108 585 63,338 63,439 12,217 14,193

162 36,471 36,424

2551

2550

9,285 10,229 572

208

1,828 1,371 63

829

ในป 2550 บริษัทไดขายเงินลงทุนในหุนทุนของบริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด รอยละ 35 ใหแกผูรวมทุนปจจุบัน ทำใหสัดสวนการถือหุน คงเหลือรอยละ 10 และขายเงินลงทุนทั้งหมดในหุนทุนของบริษัทยอยบางแหงใหแกกิจการที่เกี่ยวของกันแหงหนึ่ง และไดรับแบงคืนทรัพยสินจาก บริษัทไทยซีอารที จำกัด เปนจำนวนเงิน 495 ลานบาท ตามอัตราสวนการถือหุน สงผลใหบริษัทมีขาดทุนจากการขายเงินลงทุนทั้งหมดดังกลาว สุทธิจากคาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนประมาณ 349 ลานบาท ซึ่งไดแสดงภายใตรายการ “กำไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและ สินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน และอื่นๆ” ในงบกำไรขาดทุน

91


7 เงินลงทุนระยะยาวอื่น หนวย: ลานบาท

สัดสวน ความเปนเจาของ (รอยละ) 2551 2550 วิธีราคาทุน บริษัทปูนซีเมนตเอเซีย จำกัด (มหาชน) บริษัทโตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จำกัด บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด Finfloor S.P.A. บริษัทสยามมิชลินกรุป จำกัด - หุนบุริมสิทธิชนิดสะสม บริษัทสยามยูไนเต็ดสตีล (1995) จำกัด บริษัทสยามโตโยตาอุตสาหกรรม จำกัด อื่นๆ รวม หัก คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน สุทธิ

10 10 10 10 10 5 4 -

10 10 10 10 10 5 4 -

เงินลงทุน 2551

2550

1,119 1,119 881 881 401 401 299 299 267 267 296 296 249 249 10 10 3,522 3,522 9 9 3,513 3,513

ในป 2550 บริษัทไดขายเงินลงทุนในหุนทุนของบริษัทอะโรเมติกส (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) (ซึ่งปจจุบันควบรวมกับบริษัทอื่นเปน บริษัทปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จำกัด (มหาชน)) ซึ่งเปนหลักทรัพยในความตองการของตลาดประเภทเผื่อขาย สงผลใหบริษัทมีกำไรสุทธิ กอนภาษีจากการขายเงินลงทุนทั้งหมดดังกลาวประมาณ 2,394 ลานบาท ซึ่งไดแสดงภายใตรายการ “กำไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุน และสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน และอื่นๆ” ในงบกำไรขาดทุน 8 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ หนวย: ลานบาท

ที่ดินและ อาคารและ เครื่องจักร ยานพาหนะ สวนปรับปรุง สิ่งปลูกสราง และอุปกรณ และอุปกรณ ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น จำหนาย / ตัดจำหนาย โอนเขา / (ออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิ่มขึ้น จำหนาย / ตัดจำหนาย โอนเขา / (ออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 คาเสื่อมราคาสำหรับป จำหนาย / ตัดจำหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คาเสื่อมราคาสำหรับป จำหนาย / ตัดจำหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

92

เครื่องตกแตง ติดตั้งและ งานระหวาง เครื่องใช กอสราง สำนักงาน

รวม

1,869 (53) 1,816 (11) 1 1,806

1,326 37 1,363 21 1,384

1,060 4 1,064 17 1,081

37 37 12 11 60

305 3 (9) 4 303 14 (4) 5 318

143 99 (45) 197 76 (55) 218

4,740 102 (62) 4,780 102 (15) 4,867

161 7 168 6 174

944 59 1,003 55 1,058

1,029 6 1,035 9 1,044

35 35 2 37

243 19 (8) 254 19 (4) 269

86 86 86

2,498 91 (8) 2,581 91 (4) 2,668


หนวย: ลานบาท

ที่ดินและ อาคารและ เครื่องจักร ยานพาหนะ สวนปรับปรุง สิ่งปลูกสราง และอุปกรณ และอุปกรณ มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

1,648 1,632

360 326

29 37

เครื่องตกแตง ติดตั้งและ งานระหวาง เครื่องใช กอสราง สำนักงาน

2 23

49 49

111 132

รวม

2,199 2,199

ราคาตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณกอนหักคาเสื่อมราคาสะสม ซึ่งไดรับการคิดคาเสื่อมราคาเต็มมูลคาแลว แตยังคงใชงานอยูมีจำนวน 2,066 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 (2550: 2,060 ลานบาท) 9 สินทรัพย ไมมีตัวตน หนวย: ลานบาท

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 เพิ่มขึ้น จำหนาย / ตัดจำหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 เพิ่มขึ้น จำหนาย / ตัดจำหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คาตัดจำหนายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 คาตัดจำหนายสำหรับป จำหนาย / ตัดจำหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 คาตัดจำหนายสำหรับป จำหนาย / ตัดจำหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

คาลิขสิทธิ์ ซอฟทแวร

อื่นๆ

รวม

23 131 (1) 153 25 (114) 64

32 32 32

55 131 (1) 185 25 (114) 96

11 11 (1) 21 6 (8) 19

-

11 11 (1) 21 6 (8) 19

132 45

32 32

164 77

10 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีภายหลังจากการนำมาหักกลบกันตามความเหมาะสม ไดแสดงรวมไวในงบดุลโดยมีรายละเอียดดังนี้ หนวย: ลานบาท

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สุทธิ

2551 260 (1) 259

2550 505 (2) 503

93


รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหวางปมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

ณ วันที่ บัน(คทึากใชเปจนารายได ย) ใน 1 มกราคม งบกำไรขาดทุ 2550 (หมายเหตุ 21)น สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม ขาดทุนสะสมทางภาษี อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สุทธิ

1,307 25 1,332 (5) 1,327

(1,233) 408 (2) (827) 3 (824)

ณ วันที่ บัน(คทึากใชเปจนารายได ย) ใน 31 ธันวาคม งบกำไรขาดทุ 2550 (หมายเหตุ 21)น 74 408 23 505 (2) 503

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

(48) (196) (1) (245) 1 (244)

26 212 22 260 (1) 259

11 เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (สกุลบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 3.85 ถึง รอยละ 3.88 ตอป ในป 2551 บริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารในประเทศหลายแหงจำนวนเงินประมาณ 585 ลานบาท ซึ่งมีดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยขั้นต่ำ ของเงินเบิกเกินบัญชี (2550: 394 ลานบาท) 12 หนี้สินระยะยาว หนวย: ลานบาท

2551

2550

สวนที่หมุนเวียน • สวนที่ไมมีหลักประกัน หนี้สินคาเครื่องจักรผอนชำระสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป

104

272

สวนที่ไมหมุนเวียน • สวนที่ไมมีหลักประกัน หนี้สินคาเครื่องจักรผอนชำระ รวม

104

113 385

หนี้สินระยะยาวแยกแสดงตามระยะเวลาครบกำหนดการจายชำระมีรายละเอียดดังนี้ หนวย: ลานบาท

ครบกำหนดภายในหนึ่งป ครบกำหนดหลังจาก 1 ป แตไมเกิน 5 ป รวม

2551 104 104

2550 272 113 385

หนี้สินระยะยาวที่เปนเงินตราตางประเทศไดมีการทำธุรกรรมอนุพันธทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน มีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย ประมาณรอยละ 6.03 ตอป ในป 2551 (2550: รอยละ 6.09 ตอป) บริษัทไดทำสัญญาแลกเปลี่ยนหนี้ตางสกุลเงินกับธนาคารตางประเทศสำหรับหนี้สินระยะยาวที่เปนเงินตราตางประเทศทั้งหมด โดยบริษัทจะจาย ชำระคืนหนี้เงินกูเปนเงินตราอีกสกุลหนึ่งตามที่ตกลงไวในสัญญา

94


13 หุนกู

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทไดออกหุนกูประเภทไมดอยสิทธิและไมมีหลักประกันมูลคารวม 105,000 ลานบาท (2550: 90,000 ลานบาท) ดังนี้ หุนกูครั้งที่ 1/2547 2/2547 1/2548 2/2548 1/2549 2/2549 3/2549 4/2549 1/2550 2/2550 1/2551 2/2551 รวม หัก สวนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป สุทธิ

ลานบาท 2551 2550 - 10,000 - 10,000 10,000 10,000 10,000 10,000 5,000 5,000 5,000 10,000 10,000 5,000 5,000 15,000 15,000 10,000 10,000 20,000 20,000 105,000 90,000 25,000 80,000

อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป) 4.25 4.50 4.75 5.25 5.50 5.75 6.00 6.25 5.75 4.50 4.25 5.35

อายุหุนกู

ครบกำหนด

4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 2 ป 3 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป

1 เมษายน 2551 1 พฤศจิกายน 2551 1 เมษายน 2552 1 ตุลาคม 2552 1 เมษายน 2551 1 เมษายน 2552 1 เมษายน 2553 1 ตุลาคม 2553 1 เมษายน 2554 1 พฤศจิกายน 2554 1 เมษายน 2555 1 พฤศจิกายน 2555

มูลคายุติธรรม * 2551 2550 - 1,003 - 1,009 1,004 1,005 1,014 1,034 - 1,010 1,013 1,043 1,033 1,041 1,041 1,055 1,024 1,033 1,013 1,004 975 1,054 -

25,000 65,000

* ราคาซื้อขายสุดทาย (บาทตอหนวย: มูลคาตอหนวยเทากับ 1,000 บาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 14 ทุนเรือนหุน หนวย: ลานหุน / ลานบาท

ราคาตาม 2551 2550 มูลคาหุน มูลคา จำนวนหุน มูลคา (บาท) จำนวนหุน ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม • หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม • หุนสามัญ ทุนที่ออกและชำระแลว ณ วันที่ 1 มกราคม • หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม • หุนสามัญ

1

1,600

1,600

1,600

1,600

1

1,600

1,600

1,600

1,600

1

1,200

1,200

1,200

1,200

1

1,200

1,200

1,200

1,200

95


15 สำรอง

การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมที่บันทึกไปยังสวนของผูถือหุน รวมผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงสุทธิในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุน ในหลักทรัพยเผื่อขายจนกระทั่งมีการจำหนายเงินลงทุนนั้น สำรองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสำรอง (“สำรองตามกฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสำรองดังกลาวมีจำนวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสำรองนี้จะนำไปจายเปนเงินปนผลไมได 16 คาใชจายในการบริหาร หนวย: ลานบาท

เงินเดือน คาจางและเงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คาประชาสัมพันธ คาพัฒนาพนักงาน คาธรรมเนียมวิชาชีพ คาเชา คาเสื่อมราคา คาสาธารณูปโภค คาจางแรงงานภายนอก คาซอมแซม ตกแตงและบำรุงรักษา เบี้ยเลี้ยงและพาหนะเดินทาง สวัสดิการ คาภาษีใบอนุญาตและคาธรรมเนียมอื่นๆ คาสื่อสารและขนสง คาใชจายสำหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน คาใชจายเรียกเก็บ อื่นๆ รวม

2551 525 258 219 121 112 79 63 58 54 52 35 28 24 7 (920) 77 792

2550 560 303 244 104 114 84 66 57 69 53 42 28 34 260 (942) 84 1,160

17 คาตอบแทนกรรมการ

คาตอบแทนกรรมการเปนคาตอบแทนที่จายใหแกคณะกรรมการบริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ตามขอบังคับของบริษัท 18 รายไดอื่น หนวย: ลานบาท

ดอกเบี้ยรับจากธนาคารและสถาบันการเงิน ดอกเบี้ยรับจากบริษัทอื่น กำไรจากการขายหินแรและอื่นๆ กำไรจากการขายสินทรัพย อื่นๆ รวม

96

2551 158 54 50 1 26 289

2550 271 63 49 11 28 422


19 คาใชจายพนักงาน หนวย: ลานบาท

2551 491 34 7 98 630

เงินเดือนและอื่นๆ เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คาใชจายสำหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน อื่นๆ รวม

2550 524 36 260 116 936

บริษัทไดจัดใหมีเงินทุนเลี้ยงชีพเพื่อจายใหพนักงานเมื่อออกจากงาน โดยบริษัทจายในอัตรารอยละ 5 ถึง 10 ของคาจางพนักงาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ อายุงานของพนักงาน และตั้งแตเดือนเมษายน 2538 บริษัทไดจัดใหมีเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพซึ่งไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลกับกระทรวง การคลังตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 อีกประเภทหนึ่งสำหรับพนักงานของบริษัท พนักงานที่จะสมัครเปนสมาชิก กองทุนใหมนี้ตองจายสมทบเปนรายเดือนเขากองทุนในอัตรารอยละ 2 ถึง 10 ของเงินเดือนและบริษัทจะจายสมทบเปนรายเดือนเขากองทุนนี้ ในอัตรารอยละ 5 ถึง 10 ของเงินเดือนสมาชิก ทั้งนี้ขึ้นอยูกับอายุงานของสมาชิก 20 ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงิน หนวย: ลานบาท

ดอกเบี้ยจายเงินกูตางประเทศ ดอกเบี้ยจายเงินกูในประเทศ ดอกเบี้ยจาย - ภายนอก ดอกเบี้ยจาย - บริษัทในเครือ ดอกเบี้ยรับ - บริษัทในเครือ ดอกเบี้ยจายเงินทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงาน ขาดทุน (กำไร) จากอัตราแลกเปลี่ยน รวม

2551 18

2550 42

5,013 74 (2,928) 5 81 2,263

4,577 47 (2,228) 5 (120) 2,323

21 ภาษีเงินได หนวย: ลานบาท

หมายเหตุ ภาษีเงินไดปจจุบัน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี รวม

10

2551 244 244

2550 (2) 824 822

การลดภาษีเงินไดนิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตรารัษฎากร ฉบับที่ 387 พ.ศ. 2544 ลงวันที่ 5 กันยายน 2544 ใหสิทธิ ทางภาษีแกบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลจากอัตรารอยละ 30 เปนรอยละ 25 สำหรับ กำไรสุทธิทางภาษีเฉพาะสวนที่ไมเกิน 300 ลานบาท เปนเวลาหารอบระยะเวลาบัญชีตอเนื่องกันนับแตรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เริ่มในหรือหลัง วันทีพ่ ระราชกฤษฎีกานีใ้ ชบงั คับ และยังไดรบั สิทธิในการลดภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ฉบับที่ 475 แตไมเกินรอบระยะเวลาบัญชี 2553 ที่สิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2553

97


22 กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน

กำไรตอหุนขั้นพื้นฐานสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม คำนวณจากกำไรสุทธิสวนของผูถือหุนสามัญ และจำนวนหุนสามัญที่ออกจำหนายแลว ระหวางป โดยแสดงการคำนวณดังนี้ หนวย: ลานบาท / ลานหุน

กำไรสุทธิที่เปนสวนของผูถือหุน จำนวนหุนสามัญที่ออกจำหนายแลว กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)

2551 14,123 1,200 11.77

2550 17,950 1,200 14.96

23 สัญญาใหการสนับสนุนทางการเงิน

บริษัทมีสัญญาสนับสนุนทางการเงินแกบริษัทในประเทศแหงหนึ่ง ซึ่งตามสัญญาสนับสนุนทางการเงิน ผูถือหุนหลักทุกรายตองปฏิบัติตามเงื่อนไข และขอตกลงตางๆ ที่กำหนดในสัญญาตามสัดสวนการถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทไดปฏิบัติตามขอตกลงโดยใหการ สนับสนุนทางการเงินแกบริษทั ดังกลาวแลวเปนจำนวนเงินรวม 31.5 ลานเหรียญสหรัฐ เงินใหกยู มื ดังกลาวแสดงภายใตรายการ “เงินใหกยู มื ระยะยาว แกบริษทั อืน่ ” ในงบการเงิน และการจัดประเภทของเงินใหกยู มื เปนสินทรัพยหมุนเวียนหรือสินทรัพยไมหมุนเวียน ขึน้ อยูก บั การพิจารณาของฝายบริหาร ณ วันที่ในงบดุล โดยพิจารณาจากสถานะการเงินของผูกูและกำหนดการชำระเงิน 24 เงินปนผลจาย

ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2550 มีมติอนุมัติการจายเงินปนผลประจำป 2549 ในอัตราหุนละ 15 บาท เปนเงิน ประมาณ 18,000 ลานบาท โดยไดทำการแบงจายเงินปนผลดังกลาวออกเปน 2 งวด คือ เงินปนผลงวดระหวางกาล ในอัตราหุนละ 7.50 บาท เปนเงินประมาณ 9,000 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2549 และเงินปนผลงวดสุดทาย ในอัตราหุนละ 7.50 บาท ใหแกผูถือหุน เฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผลคิดเปนเงิน 8,941 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2550 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2551 มีมติอนุมัติการจายเงินปนผลประจำป 2550 ในอัตราหุนละ 15 บาท เปนเงิน ประมาณ 18,000 ลานบาท โดยไดทำการแบงจายเงินปนผลดังกลาวออกเปน 2 งวด คือ เงินปนผลงวดระหวางกาล ในอัตราหุนละ 7.50 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผล คิดเปนเงิน 8,927 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2550 และเงินปนผลงวดสุดทาย ในอัตราหุนละ 7.50 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูท่ีมีสิทธิรับเงินปนผลคิดเปนเงิน 8,946 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2551 มีมติอนุมัติการจายเงินปนผลระหวางกาลป 2551 ในอัตราหุนละ 5.50 บาท ใหแก ผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผลคิดเปนเงิน 6,557 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2551 25 เครื่องมือทางการเงิน

ความเสี่ยงดานสภาพคลอง บริษทั ควบคุมความเสีย่ งดานสภาพคลอง และรักษาระดับเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดใหเพียงพอ เพือ่ สนับสนุนการดำเนินงานของบริษัท และลดความเสี่ยงที่อาจเกิดจากผลกระทบของความผันผวนในกระแสเงินสด ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด อันจะมีผลตอดอกเบี้ยสุทธิ ซึ่งบริษัทบริหารหนี้สินโดยการกูยืม ที่มีท้งั อัตราดอกเบี้ยคงที่ และอัตราดอกเบี้ยลอยตัวตามความเหมาะสมของสภาพตลาด

98


อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของเงินใหกูยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะเวลาที่ครบกำหนดชำระมีดังนี้ เงินใหกูยืม หนวย: ลานบาท

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป) ป 2551 หมุนเวียน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ไมหมุนเวียน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น รวม ป 2550 หมุนเวียน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น ไมหมุนเวียน เงินใหกยู ืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น รวม

1 ป ภายใน 1 ป แตหลัไมงจาก เกิน 5 ป หลังจาก 5 ป

รวม

5.35

57,698

-

-

57,698

2.00 - 5.00 MLR ลบ 2.00

57,698

43 1,371 1,414

401 401

444 1,371 59,513

3.26 - 5.25 MLR ลบ 2.00

54,647 400

-

-

54,647 400

2.00 - 5.00 MLR ลบ 2.00

55,047

39 1,077 1,116

456 456

495 1,077 56,619

อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะเวลาที่ครบกำหนดชำระมีดังนี้ หนี้สินทางการเงิน หนวย: ลานบาท

อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป) ป 2551 หมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินระยะยาว หุนกู ไมหมุนเวียน หุนกู รวม ป 2550 หมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินระยะยาว หุนกู ไมหมุนเวียน หนี้สินระยะยาว หุนกู รวม

1 ป ภายใน 1 ป แตหลัไมงจาก เกิน 5 ป หลังจาก 5 ป

รวม

3.85 - 3.88 1.68 6.03 4.75 - 5.75

4,500 3,265 104 25,000

-

-

4,500 3,265 104 25,000

4.25 - 6.25

32,869

80,000 80,000

-

80,000 112,869

0.75 6.03 - 6.54 4.25 - 5.50

3,412 272 25,000

-

-

3,412 272 25,000

6.03 - 6.54 4.50 - 6.25

28,684

113 65,000 65,113

-

113 65,000 93,797

99


ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเกิดจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม บริษัทมีเงินกูยืมสกุลตางประเทศ ดังนี้ หนวย: ลานบาท

เหรียญสหรัฐ ยูโร รวม

เงินกูยืมระยะสั้น 2551 2550 1,267 1,029 226 104 1,493 1,133

เงินกูยืมระยะยาว 2551 2550 113 113

รวม 2551 2550 1,029 1,267 104 339 1,133 1,606

บริษัทไดทำธุรกรรมอนุพันธทางการเงินเปนสวนหนึ่งในการบริหารและจัดการความเสี่ยงอันเกิดจากหนี้สินของบริษัท การจัดการความเสี่ยงโดยใช ตราสารทางการเงินนี้เปนไปตามนโยบายและแนวทางที่คณะกรรมการบริษัทใหความเห็นชอบแลวและมีการควบคุมขั้นตอนการปฏิบัติงานให เปนไปตามนโยบาย อนุพันธทางการเงินที่บริษัทจัดทำไดแก สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา (Forward Exchange Contract) และสัญญาแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) มูลคายุติธรรม เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญจัดอยูในประเภทระยะสั้น และเงินกูยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด ฝายบริหารของบริษัทเชื่อวา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ราคาตามบัญชีของเครื่องมือทางการเงินของบริษัท ไมแตกตางไปจากมูลคา ยุติธรรมอยางมีสาระสำคัญ (มูลคายุติธรรมของหุนกูไดเปดเผยไวในหมายเหตุ 13) 26 ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม บริษัทมี หนวย: ลานบาท

2551

2550

17,382

6,488

84

91

สกุลตางประเทศ (ลาน) 2551 2550 2 7 1

เทียบเทาเงินบาท (ลานบาท) 2551 2550 104 339 46 104 385

ก) หนังสือค้ำประกันที่ออกโดยบริษัทเพื่อค้ำประกันการจายชำระ เงินกูยืมของกิจการที่เกี่ยวของกัน ข) หนังสือค้ำประกันที่ออกโดยธนาคารแกหนวยงานรัฐบาล ค) บริษัทไดทำสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนากับธนาคารในประเทศหลายแหงโดยมีวัตถุประสงค เพื่อปองกันความเสี่ยงจากการชำระเงินกูยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีรายละเอียดดังนี้

ยูโร เหรียญสหรัฐ รวม สัญญาดังกลาวจะครบกำหนดภายในเดือนมิถุนายน 2552 (2550: กุมภาพันธ 2551)

100


27 เหตุการณภายหลังวันที่ ในงบดุล

1) เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทไดมีมติอนุมัติเรื่องตางๆ ที่สำคัญ ดังนี้ ก) ใหเสนอที่ประชุมสามัญผูถือหุนเพื่ออนุมัติจายเงินปนผลสำหรับป 2551 ในอัตราหุนละ 7.50 บาท ซึ่งบริษัทไดจายเงินปนผลระหวางกาล ไปแลวในอัตราหุน ละ 5.50 บาท เมือ่ วันที่ 21 สิงหาคม 2551 ตามทีก่ ลาวไวในหมายเหตุ 24 และจะจายเงินปนผลงวดสุดทายในอัตราหุน ละ 2.00 บาท ใหแกผถู อื หุน เฉพาะผูท ม่ี สี ทิ ธิรบั เงินปนผลคิดเปนจำนวนเงินประมาณ 2,400 ลานบาท โดยกำหนดจายในวันที่ 22 เมษายน 2552 การจายเงินปนผลดังกลาวขึ้นอยูกับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุนในวันที่ 25 มีนาคม 2552 ข) ในวันที่ 1 เมษายน 2552 ใหบริษัทออกหุนกู ครั้งที่ 1/2552 มูลคารวมไมเกิน 20,000 ลานบาท ประเภทระบุชื่อผูถือ ไมมีหลักประกัน และไมดอ ยสิทธิ อายุ 4 ป อัตราดอกเบีย้ ตามราคาตลาดในขณะทีอ่ อก กำหนดจายดอกเบีย้ ทุกๆ 3 เดือน ซึง่ จะครบกำหนดไถถอนวันที่ 1 เมษายน 2556 โดยเงินทีไ่ ดรบั จากการออกหุน กูจ ะนำไปไถถอนหุน กูค รัง้ ที่ 1/2548 และหุน กูค รัง้ ที่ 2/2549 มูลคารวม 15,000 ลานบาท ทีจ่ ะครบกำหนดไถถอนในวันที่ 1 เมษายน 2552 2) เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบบริษัทไดมีมติใหแจงตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรณีมีพนักงาน ปลอมแปลงใบหุนสามัญของบริษัท จำนวนหุน 672,000 หุน ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการดำเนินการทางกฎหมาย 28 มาตรฐานการบัญชี ไทยที่ยังไม ได ใช

บริษัทยังไมไดใชมาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหมดังตอไปนี้ ณ วันที่ในงบดุล เนื่องจากยังไมมีการบังคับใช มาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุง ใหมดังตอไปนี้กำหนดใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เปนตนไป มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 54 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนถือไวเพื่อขายและการดำเนินงานที่ยกเลิก บริษัทคาดวาการกำหนดใหใชมาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหมดังกลาวขางตนจะไมมีผลกระทบตองบการเงินของบริษัทอยางมีสาระสำคัญ 29 การจัดประเภทรายการใหม

รายการในงบการเงินของป 2550 บางรายการไดจัดประเภทรายการใหมใหสอดคลองกับรายการในงบการเงินของป 2551

101


รายงานการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี นโยบายการกำกับดูแลกิจการ เอสซีจีดำเนินธุรกิจดวยความรับผิดชอบและเปนธรรม โดยยึดมั่น ในอุดมการณซึ่งไดถือปฏิบัติสืบเนื่องกันมาเปนเวลานาน ภายใตกรอบ ของจรรยาบรรณที่ไดมีการพัฒนาใหเหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจและสังคมบนพื้นฐานแหงประโยชนสุขอยางสมดุลและยั่งยืน เอสซีจีถือวานโยบายดานบรรษัทภิบาลของเอสซีจีเปนสวนหนึ่ง ของนโยบายการดำเนินธุรกิจ โดยคณะกรรมการบริษัทไดกำหนดใหมี การติดตามและประเมินผลเปนประจำทุกป และมีการปรับปรุงแกไข ใหมีความทันสมัย เหมาะสม สอดคลองกับสภาวการณทางเศรษฐกิจ และสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทได มอบหมายใหคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา ทำหนาทีก่ ำกับดูแล ดานบรรษัทภิบาลของเอสซีจี ตลอดจนพิจารณาแนวโนมและความเคลือ่ นไหว ในระดับสากล อาทิ หลักปฏิบตั ขิ องบริษทั ชัน้ นำของโลกทีไ่ ดรบั การยอมรับ ในดานบรรษัทภิบาล กฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยชั้นนำของโลก เพื่อ เปรียบเทียบกับสิง่ ทีป่ ฏิบตั อิ ยู และใหขอ เสนอแนะในการปรับปรุง อีกทัง้ คณะกรรมการบริษัทยังไดมีการกำหนดใหเรื่องบรรษัทภิบาลเปนวาระ หลักวาระหนึ่งในการประชุมคณะกรรมการบริษัท นอกจากนี้ เอสซีจีได จัดทำคูม อื บรรษัทภิบาลเอสซีจี และจรรยาบรรณเอสซีจี แจกใหกบั พนักงาน ควบคูไปกับการใหความรูความเขาใจที่ถูกตองเพื่อใหพนักงานทุกคน สามารถนำไปใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน และไดเปดเผยเนื้อหา รายละเอียด พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูสนใจสามารถศึกษาไดในเว็บไซต ของเอสซีจี ที่ www.scg.co.th ในป 2550 เอสซีจีไดมีการปรับปรุงจรรยาบรรณเอสซีจี โดยไดเพิ่ม แนวปฏิบัติของแตละธุรกิจ เสริมดวยตัวอยาง และกำหนดแนวปฏิบัติที่ ชัดเจน รวมถึงการกำหนด Whistleblower Policy ซึง่ เปนมาตรการในการ คุมครองพนักงานที่รองเรียน หรือใหขอมูลเกี่ยวกับการไมปฏิบัติตาม กฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับบริษัท และจรรยาบรรณเอสซีจี โดยมี คณะทำงานกำหนดนโยบายและใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม จรรยาบรรณเอสซีจี ซึ่งมีผูชวยผูจัดการใหญของเอสซีจี เปนหัวหนา คณะทำงาน และมีสมาชิกประกอบดวยผูบ ริหารระดับสูงในหนวยงานทีม่ ี หนาทีด่ แู ลในเรือ่ งตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณเอสซีจี และตัวแทนทีเ่ ปนผูบ ริหารระดับสูงในแตละกลุม ธุรกิจ โดยทำหนาทีต่ ดิ ตาม ผลการดำเนินงาน ตลอดจนใหคำปรึกษาในเรือ่ งตางๆ ทีเ่ กีย่ วของ รวมทัง้ ยังมีสำนักงานตรวจสอบเปนหนวยงานรับผิดชอบในภาคปฏิบัตเิ กี่ยวกับ ชองทางในการรับขอรองเรียนและ Whistleblower Policy สำหรับในป 2551 คณะทำงานกำหนดนโยบายและใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการปฏิบตั ิ ตามจรรยาบรรณเอสซีจี ไดมกี ารติดตามผลการดำเนินงาน ตลอดจนให คำปรึกษาในเรือ่ งตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับจรรยาบรรณเอสซีจี และไดรายงาน ตอคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหาอยางสม่ำเสมอ ทัง้ นี้ เพือ่ ใหการ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณเอสซีจีดำเนินไปอยางถูกตอง และสอดคลองกัน เอสซีจีเห็นวาหลักบรรษัทภิบาลเอสซีจีและจรรยาบรรณเอสซีจี เปน แนวทางบริหารองคกรทีม่ ปี ระโยชนอยางยิง่ จึงใหความสำคัญในหลักการ และแนวทางปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วกับความรับผิดชอบและเปนธรรมตอผูม สี ว นเกีย่ วของ ทุกฝาย เชน การกำหนดอยางชัดเจนเกี่ยวกับโครงสราง องคประกอบ หนาทีค่ วามรับผิดชอบ ความเปนอิสระและการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ บริษทั การเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส มีระบบการตรวจสอบและการบริหาร ความเสีย่ งทีร่ อบคอบ รัดกุม เพือ่ ความเชือ่ ถือและเพิม่ มูลคาใหแกผถู อื หุน

102

ทั้งนี้ ไดเปดเผยขอมูลในเรื่องดังกลาวผานชองทางตางๆ เชน รายงานประจำป แบบ 56-1 เว็บไซตของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท.) เว็บไซตของเอสซีจี เพือ่ อำนวยความสะดวกใหผมู สี ว นไดเสียตางๆ สามารถเขาถึงขอมูลไดงาย และหลากหลายชองทางมากขึ้น นอกจากนี้ ยังเปดโอกาสใหผูมีสวนไดเสียตางๆ มีสวนรวมในการเสริมสรางผลการ ดำเนินงาน โดยสามารถเสนอแนะความคิดเห็นตางๆ ผานทางอีเมลไปยัง นักลงทุนสัมพันธ (Investor Relations) ของเอสซีจี ที่ invest@scg.co.th โดยขอเสนอแนะตางๆ จะไดรับการรวบรวมกลั่นกรองเพื่อรายงานตอ ฝายจัดการเอสซีจี และคณะกรรมการบริษัทตอไป การปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการในดานตางๆ ของเอสซีจี

สิทธิของผูถือหุน เอสซีจอี ำนวยความสะดวกใหผถู อื หุน ทุกรายไดรบั สิทธิพนื้ ฐานตางๆ ทัง้ ในฐานะนักลงทุนในหลักทรัพย และในฐานะเจาของบริษทั ดวยวิธกี าร และมาตรฐานทีเ่ ปนทีย่ อมรับและเชือ่ ถือได โดยใหสทิ ธิในการซือ้ ขาย โอน หลักทรัพยทตี่ นถืออยูอ ยางเปนอิสระ การไดรบั สวนแบงผลกำไรจากบริษทั การเขารวมประชุมผูถ อื หุน การเสนอวาระการประชุมลวงหนา การเสนอชือ่ บุคคลเพื่อพิจารณาเขารับการเลือกตั้งเปนกรรมการบริษัท การแสดง ความคิดเห็นในที่ประชุมอยางเปนอิสระ การรวมตัดสินใจในเรือ่ งสำคัญ ของบริษัท เชน การเลือกตั้งกรรมการ การอนุมัติธุรกรรมทีส่ ำคัญและมี ผลตอทิศทางในการดำเนินธุรกิจของบริษทั การแกไขหนังสือบริคณหสนธิ ขอบังคับของบริษัท ทั้งนี้ ผูถือหุนทุกคนมีสิทธิออกเสียงตามจำนวนหุน ที่ถืออยู โดยหุนแตละหุนมีสิทธิออกเสียงหนึ่งเสียง และไมมีหุนใดมี สิทธิพิเศษที่เปนการจำกัดสิทธิของผูถือหุนรายอื่น นอกเหนือจากสิทธิพนื้ ฐานตางๆ ขางตนแลว เอสซีจยี งั ไดดำเนินการ ในเรื่องตางๆ ที่เปนการสงเสริมและอำนวยความสะดวกในการใชสิทธิ ของผูถือหุน ดังนี้ 1. ใหขอ มูลทีส่ ำคัญและจำเปนสำหรับผูถ อื หุน เกีย่ วกับการดำเนินธุรกิจ อยางชัดเจน และทันตอเหตุการณ โดยบางเรือ่ งแมวา ตามเงือ่ นไข ของกฎหมายจะไมไดบังคับใหตองเปดเผย แตหากเอสซีจี เห็นวาเรือ่ งใดมีความจำเปนทีผ่ ถู อื หุน ตองรับรู ก็จะแจงใหผถู อื หุน ทราบผานทางเว็บไซตของเอสซีจี และผานทาง ตลท. 2. ผูถ อื หุน ทุกรายไดรบั ขอมูลทีจ่ ำเปนและเพียงพอเกีย่ วกับวันประชุม และวาระการประชุมเปนการลวงหนา โดยบริษทั ไดเผยแพรขอ มูล ประกอบวาระการประชุมผูถือหุนลวงหนาประมาณ 2 เดือน ไวในเว็บไซตกอนจัดสงเอกสาร นอกจากนี้ ยังไดชี้แจงสิทธิ ของผูถ อื หุน ในการเขาประชุม และสิทธิออกเสียงลงมติของผูถ อื หุน ไวอยางชัดเจนตามที่บริษัทไดจัดสงไปกับหนังสือนัดประชุม 3. ในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเอง เอสซีจี เปดโอกาสใหผูถือหุนสามารถมอบฉันทะใหกรรมการอิสระหรือ บุคคลใดๆ เขารวมประชุมแทนตนไดโดยใชหนังสือมอบฉันทะ แบบหนึง่ แบบใดทีไ่ ดจดั สงไปพรอมกับหนังสือนัดประชุม โดยได จัดทำหนังสือมอบฉันทะในรูปแบบที่ผูถือหุนสามารถกำหนด ทิศทางการลงคะแนนไดตามแบบที่กระทรวงพาณิชยกำหนด


และผูถือหุนยังสามารถดาวนโหลดหนังสือมอบฉันทะผาน ทางเว็บไซตของเอสซีจีไดอีกดวย นอกจากนี้ ยังไดใหสิทธิแก ผูถือหุนที่เขาประชุมภายหลังจากไดเริ่มประชุมแลว มีสิทธิออก เสียงลงคะแนนสำหรับวาระที่อยูในระหวางการพิจารณาและยัง ไมไดมกี ารลงมติ และนับเปนองคประชุมตัง้ แตวาระทีไ่ ดเขาประชุม และออกเสียงเปนตนไป เวนแตที่ประชุมผูถือหุนจะมีความเห็น เปนอยางอื่น 4. กอนวันประชุมผูถือหุน บริษัทเปดโอกาสใหผูถือหุนรายเดียว หรือหลายรายที่ถือหุนนับรวมกันไดไมนอยกวารอยละ 5 ของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท มีสิทธิที่จะ เสนอวาระในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป โดยสำหรับ การประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2552 บริษัทไดเปดโอกาส ใหผูถือหุนเสนอตั้งแตวันที่ 5 พฤศจิกายน 2551 จนถึงวันที่ 4 ธันวาคม 2551 เพื่อใหคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา เปนผูกลั่นกรองกอนเสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา อีกครั้งหนึ่ง โดยในกรณีที่บรรจุเปนวาระการประชุม บริษัท จะแจงในหนังสือนัดประชุมวาเปนวาระที่กำหนดโดยผูถือหุน ทั้งนี้ ในกรณีที่คณะกรรมการบริษัทปฏิเสธไมรับเรื่องที่ผูถือหุน เสนอเพื่อใหบรรจุเปนวาระ บริษัทจะชี้แจงเหตุผลใหที่ประชุม ผูถือหุนสามัญประจำปทราบ นอกจากนี้ ในชวงเวลาเดียวกัน บริษัทไดเปดโอกาสใหผูถือหุนทุกรายมีสิทธิเสนอชื่อบุคคลเพื่อ พิจารณาเขารับการเลือกตั้งเปนกรรมการบริษัทลวงหนา โดย ในกรณีนี้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหาจะเปนผูพ จิ ารณา เพื่อสรรหารวมกับบุคคลอื่นตามหลักเกณฑการสรรหาบุคคล เขาเปนกรรมการบริษัท หลังจากนั้นจะไดเสนอคณะกรรมการ บริษัทเพื่อพิจารณาอีกครั้งหนึ่งกอนเสนอรายชื่อบุคคลที่เห็นวา เหมาะสมตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติตอไป 5. ในวันประชุมผูถ อื หุน ไดจดั ใหมกี ารลงทะเบียนโดยใชระบบบารโคด ที่แสดงถึงเลขทะเบียนของผูถือหุนแตละรายที่ไดจัดพิมพไวบน หนังสือมอบฉันทะเพื่อใหผูถือหุนไดรับความสะดวกสบาย ในการประชุม และทำใหขั้นตอนการลงทะเบียนเปนไปอยาง รวดเร็ว นอกจากนี้ ในการใชสิทธิออกเสียงแตละวาระไดใชวิธี เก็บบัตรลงคะแนนของผูถือหุนเพื่อนำมาคำนวณผลการลง คะแนนเสียงในแตละวาระ โดยเมือ่ จบการประชุมผูถ อื หุน สามารถ ขอตรวจสอบรายละเอียดได 6. ในการประชุมผูถ อื หุน แตละปจะมีกรรมการทีค่ รบรอบออกตามวาระ จำนวน 1 ใน 3 ของจำนวนคณะกรรมการทั้งหมด ซึ่งจะมี การเลือกตั้งในวันประชุมสามัญผูถือหุนประจำป โดยในวาระ เลือกตัง้ กรรมการไดมกี ารชีแ้ จงใหผถู อื หุน ทราบวาตามขอบังคับ ของบริษัทในกรณีที่บุคคลผูไดรับการเสนอชื่อเปนกรรมการ มีจำนวนไมเกินกวาจำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีไดในการเลือกตั้ง ครั้งนั้น ใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการทั้งชุด และกรณี ที่มีบุคคลไดรับการเสนอชื่อเปนกรรมการมีจำนวนเกินกวา จำนวนกรรมการทีพ่ งึ มี ใหผถู อื หุน เลือกตัง้ กรรมการเปนรายบุคคล ทัง้ นี้ ในทีป่ ระชุมไดเปดโอกาสใหผถู อื หุน สามารถเสนอชือ่ บุคคล ใหเขารับการเลือกตั้งไดอยางเปนอิสระ 7. ในการประชุมไดเปดโอกาสใหผูถือหุนแสดงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ หรือตั้งคำถามในวาระตางๆ อยางอิสระกอน การลงมติในวาระใดๆ ในการประชุมผูถือหุน เพื่อใหผูถือหุน ไดรับทราบขอมูลรายละเอียดในเรื่องดังกลาวอยางเพียงพอ

ทั้งนี้ ในวาระที่ผูถือหุนมีขอสงสัย ขอซักถาม ก็ไดจัดเตรียม บุคลากรที่เกี่ยวของเปนผูใหคำตอบภายใตความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริษัท 8. ในแตละวาระการประชุมผูถือหุน ผูถือหุนสามารถขอใหมีการ ลงคะแนนเสียงดวยวิธีลับได หากมีผูถือหุนหนึ่งคนรองขอ และ มีผถู อื หุน รายอืน่ อีก 5 คนรับรอง เพือ่ ใหทปี่ ระชุมผูถ อื หุน มีมติ อนุมัติดวยคะแนนเสียงขางมากใหลงคะแนนดวยวิธีลับ 9. กำหนดใหมีวาระเกี่ยวกับคาตอบแทนของกรรมการเพื่อ ชี้แจงใหผูถือหุนไดทราบจำนวนและประเภทของคาตอบแทน ที่กรรมการแตละคนไดรับ โดยแบงเปนเบี้ยประชุม และโบนัส กรรมการบริษทั ซึง่ ไดมกี ารชีแ้ จงอยางละเอียดไวในหนา 134-135

การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน การสรางความเทาเทียมกันใหเกิดขึน้ กับผูถ อื หุน ทุกรายทุกกลุม ไมวา จะเปนผูถ อื หุน รายใหญ ผูถ อื หุน สวนนอย นักลงทุนสถาบัน หรือผูถ อื หุน ตางชาติ เปนเรือ่ งทาทายทีเ่ อสซีจคี ำนึงถึงและพยายามสรางเครือ่ งมือทีช่ ว ย ใหเกิดความเทาเทียมกันอยางแทจริงโดยเฉพาะกับผูถ อื หุน สวนนอย ดังนี้ การกำหนดใหกรรมการอิสระ (Independent Directors) เปนผูม หี นาที่ ดูแลผูถือหุนสวนนอย ผูถือหุนสวนนอยสามารถเสนอแนะ แสดงความคิดเห็นหรือรองเรียน ไปยั ง กรรมการอิ ส ระผ า นอี เ มล ind_dir@scg.co.th ซึ่ ง กรรมการ อิสระจะเปนผูพิจารณาดำเนินการใหเหมาะสมในแตละเรื่อง เชน หากเปนขอรองเรียน กรรมการอิสระจะดำเนินการตรวจสอบขอเท็จจริง และหาวิธีการเยียวยาที่เหมาะสม หรือกรณีเปนขอเสนอแนะที่กรรมการ อิสระพิจารณาแลวมีความเห็นวาเปนเรือ่ งสำคัญทีม่ ผี ลตอผูมีสวนไดเสีย โดยรวมหรือมีผลตอการประกอบธุรกิจของเอสซี จี กรรมการอิสระจะ เสนอเรือ่ งดังกลาวตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เพื่อพิจารณากำหนด เปนวาระการประชุมในการประชุมผูถือหุน การดูแลการใชขอมูลภายใน คณะกรรมการบริษทั ไดกำหนดมาตรการปองกันการใชขอ มูลภายใน โดยมิ ช อบ (Insider Trading) ของบุ ค คลที่เ กี่ย วข อ งซึ่งหมายถึง คณะกรรมการบริษทั ฝ า ยจั ด การเอสซี จี และพนั ก งานในหน ว ยงานที่ เกี่ยวของกั บ ข อ มู ล (รวมทั้งคูส มรสและบุตรทีย่ งั ไมบรรลุนติ ภิ าวะของ บุคคลดังกลาว) ดังนี้ • หามบุคคลทีเ่ กีย่ วของซือ้ ขายหลักทรัพยของบริษทั ภายใน 2 สัปดาห กอนมีการเปดเผยงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำป และภายใน 24 ชั่วโมง หลังการเปดเผยงบการเงินดังกลาว (Blackout Period) • ในกรณีทที่ ราบขอมูลใดๆ ทีย่ งั ไมเปดเผยซึง่ อาจมีผลกระทบตอ ราคาหลั ก ทรั พ ย ข องบริ ษั ท ต อ งไม ซื้อ ขายหลั ก ทรั พ ยของ บริษัทจนกวาจะพนระยะเวลา 24 ชัว่ โมง นับแตไดมกี ารเปดเผย ขอมูลนัน้ สูสาธารณะทั้งหมดแลว การปองกันความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการบริษทั ไดกำหนดนโยบายและการดำเนินการตางๆ ดังนี้ • เอสซีจีมีโครงสรางการถือหุนที่ชัดเจน โปรงใส ไมมีการถือหุน ไขวกับผูถือหุนรายใหญ จึงไมทำใหเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชน หรือถายเทผลประโยชนใหแกฝายใดฝายหนึ่ง โดยไดเปดเผยโครงสรางการถือหุนของบริษัท และบริษทั ยอย ไวในรายงานประจำปอยางละเอียด รวมถึงการเป ด เผยการ ถือหลักทรัพยของคณะกรรมการบริษัทอยางครบถวน

103


• มีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบอยางชัดเจนระหวาง คณะกรรมการบริษทั ฝายบริหาร และผูถ อื หุน จึงทำใหปราศจาก การกาวกายหนาที่ความรับผิดชอบ ในกรณีที่กรรมการบริษทั หรือผูบ ริหารคนใดคนหนึง่ มีสว นไดเสียกับผลประโยชนในเรือ่ งที่ กำลังพิจารณา ผูที่มีสวนไดเสียนั้นก็จะไมเขารวมประชุม หรือ งดออกเสียง เพือ่ ใหการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัท และ ผูบ ริหารเปนไปอยางยุตธิ รรมเพือ่ ประโยชนของผูถ อื หุน อยางแทจริง • การกำหนดนโยบายการกำกับดูแลและการใชขอมูลภายในไว ในอำนาจดำเนินการ และขอบังคับพนักงานอยางเปนลายลักษณ อักษร โดยมีบทกำหนดโทษชัดเจน กรณีทผี่ บู ริหารหรือพนักงาน นำขอมูลภายในไปเปดเผยตอสาธารณะหรือนำไปใชประโยชน สวนตน

บทบาทของผูมีสวนไดเสีย เอสซีจดี ำเนินธุรกิจโดยยึดมัน่ ในความรับผิดชอบตอผูม สี ว นเกีย่ วของ ทุกฝายเพื่อประโยชนรวมกันอยางยั่งยืน โดยคณะกรรมการบริษัท ได กำกับดูแลใหมีระบบการบริหารจัดการที่เชื่อมั่นไดวาสามารถรับรู สิทธิของผูมีสวนไดเสียตางๆ ทั้งที่ไดกำหนดไวในกฎหมาย และที่ได กำหนดแนวทางไวเปนลายลักษณอกั ษรอยางชัดเจนในหลักบรรษัทภิบาล และจรรยาบรรณเอสซีจี รวมทัง้ รับผิดชอบดูแลใหมนั่ ใจไดวา สิทธิดงั กลาว ไดรบั การคุม ครองและปฏิบตั ดิ ว ยความเสมอภาคอยางเครงครัด ทัง้ ผูถ อื หุน พนักงาน ผูใชสินคาและบริการ และผูมีความสัมพันธทางธุรกิจ ดังนี้ ผูถ อื หุน นอกจากสิทธิขนั้ พืน้ ฐาน สิทธิทกี่ ำหนดไวในกฎหมาย ขอบังคับ บริษัท เชน สิทธิในการขอตรวจสอบจำนวนหุน สิทธิในการไดรับใบหุน สิทธิในการเขาประชุมผูถือหุนและออกเสียงลงคะแนน สิทธิในการ แสดงความคิดเห็นอยางอิสระในทีป่ ระชุมผูถ อื หุน รวมถึงสิทธิทจี่ ะไดรบั ผลตอบแทนอยางเปนธรรมแลว ยังไดใหสิทธิผูถือหุนในการเสนอแนะ ขอคิดเห็นตางๆ เกีย่ วกับการดำเนินธุรกิจของบริษทั ในฐานะเจาของบริษทั ผานกรรมการอิสระ โดยทุกๆ ขอคิดเห็นจะไดรับการกลั่นกรองเพื่อเสนอ ตอคณะกรรมการบริษัทตอไป พนักงาน เอสซีจีใหความสำคัญกับพนักงานโดยถือวาเปนทรัพยากร ที่มีคา และมุงมั่นที่จะใหพนักงานทุกคนมีความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นใน องคกร ในปที่ผานมาเอสซีจีไดจัดทำโครงการตางๆ เพื่อสนับสนุน และ เสริมสรางบรรยากาศการทำงานรวมกันเพือ่ สรางสรรคสงิ่ ใหมๆ เสริมศักยภาพ ของพนักงานใหพรอมสำหรับการปฏิบตั งิ านในตางประเทศ และรับมือกับ สภาวะเศรษฐกิจทีผ่ นั ผวน นอกจากนี้ ยังใหความสำคัญกับการรักษาสุขภาพ ความปลอดภัยและสภาพแวดลอมในการทำงาน รวมถึงคาตอบแทน ของพนักงาน ลูกคา เอสซีจมี คี วามมุง มัน่ ทีจ่ ะใหผใู ชสนิ คาและบริการไดรบั ประโยชน สูงสุดทัง้ ดานคุณภาพและราคา และมุง หมายทีจ่ ะพัฒนาและรักษาสัมพันธภาพ ทีย่ งั่ ยืน รวมทัง้ จัดใหมหี นวยงานรับผิดชอบในการใหขอ เสนอแนะในสินคา คำปรึกษา วิธกี ารแกปญ หา และรับขอรองเรียน เพือ่ ใหลกู คาไดรบั ความพึงพอใจ สูงสุดในสินคาและบริการ คูค า เอสซีจปี ฏิบตั ติ ามกรอบการแขงขันทางการคาทีส่ จุ ริตโดยยึดถือ การปฏิบัติตามสัญญา จรรยาบรรณเอสซีจี และคำมั่นที่ใหไวกับคูคา อยางเครงครัด และมีนโยบายในการสงมอบสินคาตามคุณภาพและ ตรงตามกำหนดเวลา คูแ ขงทางการคา เอสซีจปี ฏิบตั ติ ามกรอบการแขงขันทางการคาทีส่ จุ ริต โดยยึดมัน่ ในการดำเนินธุรกิจดวยความเปนธรรม ภายใตกรอบของกฎหมาย และจรรยาบรรณเอสซีจี โดยในปทผี่ า นมาบริษทั ไมมขี อ พิพาทใดๆ ในเรือ่ ง ที่เกี่ยวกับคูแขงทางการคา

104

เจาหนี้ เอสซีจีไดปฏิบัติตามเงื่อนไขการกูยืมเงินตามขอตกลง และ หนาที่ที่พงึ มีตอเจาหนี้ เชน เจาหนี้ทางธุรกิจ และผูฝากเงิน นอกจากนี้ บริษัทยังจัดใหมีโครงการตางๆ เพื่อสรางความสัมพันธกับเจาหนี้ เชน กิจกรรมหุนกูสัมพันธ ดานสังคม มุง สนับสนุนกิจกรรมเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ และเสริมสราง ประโยชนสุขของชุมชนและสังคมที่เอสซีจีเขาไปดำเนินธุรกิจทั้งใน ประเทศไทยและอาเซียน ดวยการสรางสรรคกจิ กรรมเพือ่ สังคมในดานตางๆ อยางตอเนื่องตลอดมา โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนาศักยภาพของ เยาวชน ทั้งดานการศึกษา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี กีฬา และศิลปะ รวมทั้งมอบเงินสนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชนอยางสม่ำเสมอ เอสซีจเี ชือ่ มัน่ วาความสำเร็จอยางยัง่ ยืนของบริษทั ขึน้ อยูก บั ความรับผิดชอบ ตอผลการดำเนินงาน รวมทั้งการใหความสำคัญตอความตองการของ ชุมชนทั้งในเรื่องที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และวัฒนธรรมประเพณี นอกจากนี้ ยังสงเสริมใหพนักงาน และผูเกี่ยวของมีสวนรวมในการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีทที่ ำประโยชน ใหกบั ชุมชนและสังคม เพือ่ ใหเติบโตเคียงคูก นั ไปอยางยั่งยืน ดานสิ่งแวดลอม เอสซีจีมุงมั่นที่จะดูแลรักษาสภาพแวดลอมและ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติเพื่อใหเกิดความสมดุลของระบบนิเวศอยาง ยัง่ ยืน โดยออกแบบและปรับปรุงกระบวนการผลิต เครือ่ งจักร เทคโนโลยี รวมทั้งพัฒนาสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ตลอดจนใสใจ อนุรักษสิ่งแวดลอมอยางจริงจังตามแนวทาง 3R (Reuse, Reduce/ Recycle, Replenish) มีการจัดทำแผนการอนุรักษสิ่งแวดลอมที่ชัดเจน และมีระบบติดตามประเมินผลอยางสม่ำเสมอ นอกจากนี้ ยังมุงดูแล รักษาสิ่งแวดลอม เพื่ออยูรว มกับชุมชนอยางยั่งยืน โครงการที่สำคัญคือ “เอสซีจี รักษนำ้ เพือ่ อนาคต” ทีม่ วี ตั ถุประสงคเพือ่ ชวยแกปญ หาน้ำขาด น้ำเกิน และน้ำเสีย รวมทั้งบรรเทาภาวะโลกรอน จนถึงปจจุบัน เอสซีจี สามารถสรางฝายชะลอน้ำไดมากกวา 10,000 ฝาย ทั้งนี้ สามารถติดตามขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมของเอสซีจี ดานสังคม สิ่งแวดลอม และความปลอดภัย ไดจากรายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน ที่เอสซีจีจัดทำเพื่อเผยแพรต้งั แตป 2544 ไดที่ www.scg.co.th

การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส เอสซีจีใหความสำคัญกับเรื่องการเปดเผยสารสนเทศเนื่องจากเปน เรือ่ งที่มีผลกระทบตอการตัดสินใจของผูลงทุนและผูมีสวนไดเสีย จึงมี ความจำเปนที่ตองมีการควบคุม และกำหนดมาตรการในการเปดเผย สารสนเทศ ทัง้ ทีเ่ ปนสารสนเทศทางการเงินและทีไ่ มใชทางการเงินใหถกู ตอง ตามที่กฎหมายกำหนด โดยมีสาระสำคัญครบถวน เพียงพอ เชื่อถือได และทั น เวลา ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ โดยเป ด เผยข อ มู ล สารสนเทศผานระบบ SET Community Portal ของ ตลท. และเว็บไซต ของเอสซีจี เอสซีจียึดถือปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ ขอบังคับตางๆ ที่ กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ตลท. และหนวยงานอื่นของรัฐอยางเครงครัด และติดตามการแกไข เปลี่ยนแปลงอยูอยางสม่ำเสมอ เพื่อใหมนั่ ใจไดวา กฎหมาย กฎเกณฑ ขอบังคับทีเ่ อสซีจถี อื ปฏิบตั นิ นั้ มีความถูกตอง และเปนหลักประกันใหผถู อื หุน เชือ่ มัน่ ในการดำเนินธุรกิจทีโ่ ปรงใส ถูกตอง ตรงไปตรงมา เชน 1. เปดเผยขอมูลการเงินและขอมูลทีม่ ใิ ชขอ มูลการเงินอยางถูกตอง ครบถวน ทันเวลา 2. จัดทำรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน และแสดงไวคูกับรายงานผูสอบบัญชีในรายงานประจำป


3. กำหนดใหกรรมการและผูบ ริหารตองเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับสวนไดเสีย ของตนและผูเกี่ยวของในกรณีที่มีสวนไดเสียเกี่ยวของกับบริษัท 4. เปดเผยวิธกี ารสรรหากรรมการ และวิธกี ารประเมินการปฏิบตั งิ าน ของคณะกรรมการ 5. เปดเผยขอมูลการปฏิบตั หิ นาทีใ่ นคณะกรรมการชุดยอย จำนวนครัง้ การเขาประชุมเปนรายบุคคล 6. เปดเผยโครงสรางการดำเนินงานและการลงทุนในบริษัทยอย และบริษัทรวม อยางชัดเจน 7. เปดเผยขอมูลคาตอบแทนที่กรรมการแตละคนไดรับจากการ เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดยอยเปนรายบุคคล 8. เปดเผยนโยบายการจายคาตอบแทนแกกรรมการและผูบ ริหารระดับสูง รวมทัง้ รูปแบบ ลักษณะ และจำนวนคาตอบแทนทีก่ รรมการแตละคน ไดรับจากการเปนกรรมการในคณะอนุกรรมการชุดตางๆ 9. เปดเผยนโยบายการดูแลสิง่ แวดลอมและสังคมและผลการปฏิบตั ิ ตามนโยบาย 10. รายงานนโยบายการกำกับดูแลกิจการและผลการปฏิบัติงาน ตามนโยบาย นอกจากนี้ ในป 2551 คณะกรรมการบริษทั ไดจดั ทำแนวปฏิบตั เิ รือ่ ง การเปดเผยขอมูลทีเ่ กีย่ วของกับเอสซีจเี พือ่ เปนการจัดระเบียบการเปดเผย ขอมูลของเอสซีจีใหเปนระบบ และปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น จากการเปดเผยขอมูลอยางไมถูกตอง รวมทั้งเพื่อใหผูถือหุน นักลงทุน สาธารณชน หรือผูมีสวนไดเสียตางๆ มั่นใจไดวาการเปดเผยขอมูลของ เอสซีจีมีความถูกตองชัดเจน สอดคลองกับกฎหมาย และเปนไปอยาง เทาเทียมกัน โดยไดรวบรวมแนวปฏิบตั ขิ องเอสซีจที มี่ อี ยูเ ดิมมาเรียบเรียง เปนลายลักษณอกั ษร และจัดทำเปนนโยบายการเปดเผยขอมูล (Disclosure Policy) โดยไดกำหนดใหมีบุคคลที่มีสิทธิเปดเผยขอมูลสำคัญที่ยังไมได เปดเผยสูส าธารณชน กำหนดแนวปฏิบตั ใิ นการเปดเผยขอมูลประเภทตางๆ สูสาธารณชน และกำหนดชวงเวลาที่ตองใชความระมัดระวังเปนพิเศษ กอนกำหนดเวลาทีจ่ ะเปดเผยขอมูลสำคัญออกสูส าธารณชน ซึง่ รายละเอียด ของแนวปฏิบัติไดเผยแพรใหผูมีสวนไดเสีย และบุคคลทั่วไปทราบใน เว็บไซตของเอสซีจี เอสซีจีไดจัดตั้งหนวยงานนักลงทุนสัมพันธทำหนาที่ติดตอสื่อสาร กับนักลงทุนสถาบัน ผูถือหุน รวมทั้งนักวิเคราะหและหนวยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวของ อยางเทาเทียมและเปนธรรม โดยหากผูถือหุนตองการขอมูล เพิ่มเติม สามารถติดตอโดยตรงที่หนวยงานนักลงทุนสัมพันธ

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสราง และ คณะอนุกรรมการชุดตางๆ โครงสรางคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ประกอบดวยบุคคลซึง่ มีความรูค วามสามารถเปนที่ ยอมรับในระดับประเทศ โดยเปนผูม บี ทบาทสำคัญในการกำหนดนโยบาย ของบริษทั โดยรวมกับผูบ ริหารระดับสูงวางแผนการดำเนินงานทั้งระยะสั้น ระยะยาว ตลอดจนกำหนดนโยบายการเงิน การบริหารความเสีย่ ง และ ภาพรวมขององคกร มีบทบาทสำคัญในการกำกับดูแล ตรวจสอบ และ ประเมินผลการดำเนินงานของเอสซีจี และผลการปฏิบตั งิ านของผูบริหาร ระดับสูงใหเปนไปตามแผนที่วางไวอยางเปนอิสระ ปจจุบันคณะกรรมการบริษัทมีจำนวน 12 คน ประกอบดวย กรรมการบริษัทที่ไมเปนผูบริหารจำนวน 11 คน และกรรมการบริษัท ที่เปนผูบ ริหารจำนวน 1 คน คือ กรรมการผูจ ดั การใหญ และมีกรรมการที่ มี คุณสมบัติเปนอิสระตามหลักเกณฑของ ก.ล.ต. และหลักเกณฑที่บริษัท

กำหนด จำนวน 5 คน นอกจากนี้ กรรมการผูจัดการใหญและกรรมการ อิสระทั้ง 5 คน ไมมีสว นเกีย่ วของกับผูถ อื หุน รายใหญรายใดรายหนึ่ง นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทยังไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการ ชุดตางๆ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและ สรรหา และคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน เพือ่ ปฏิบตั หิ นาทีเ่ ฉพาะ เรื่องและเสนอเรื่องใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาหรือรับทราบ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการบริษัทที่เปน กรรมการอิสระ จำนวน 4 คน โดยกรรมการตรวจสอบทุกคนมีความรู ความเข า ใจ และมี ประสบการณก ารทำงานด า นบั ญ ชี หรือการเงิน ซึ่งเปนที่ยอมรับ โดยมีกรรมการอยางนอยหนึ่งคนเปนผูที่มีความรู และประสบการณเพียงพอที่จะทำหนาที่ในการสอบทานความนาเชือ่ ถือ ของงบการเงินได โดยทำหนาที่สอบทานการดำเนินงานใหถูกตอง ตามนโยบายและระเบียบขอบังคับ ตลอดจนกฎหมาย ระเบียบปฏิบตั ิ และขอกำหนดของหนวยงานกำกับดูแล สงเสริมใหพัฒนาระบบรายงาน ทางการเงินและบัญชีใหเปนไปตามมาตรฐานสากล รวมทั้งสอบทาน ใหมีระบบการควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายใน และระบบบริหาร ความเสีย่ งทีร่ ดั กุม เหมาะสม ทันสมัย และมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบตั หิ นาทีแ่ ละแสดงความคิดเห็นไดอยาง อิสระ โดยมีหนวยงานตรวจสอบภายในรายงานตรงตอคณะกรรมการ ตรวจสอบเปนหนวยปฏิบัติ รวมทั้งมีการปรึกษาหารือกับผูส อบบัญ ชี ที่ปรึ ก ษา และผู เ ชี่ ย วชาญด า นกฎหมายและบัญชีเปนประจำ โดย คณะกรรมการตรวจสอบจะมีการประชุมรวมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝาย จัดการเข า ประชุ ม อย า งน อ ยป ละ 1 ครั้ง เพื่อขอความเห็นจากผูสอบ บัญชีในเรือ่ งตางๆ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยั ง มี ที่ ป รึ ก ษา ภายนอกที่ เ ป น อิ ส ระ โดยบริษัทเปนผูออกคาใชจายทั้งหมด คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา ประกอบดวยกรรมการบริษทั จำนวน 5 คน โดยกรรมการทุกคนไมเปนผูบ ริหาร และประธานกรรมการ บรรษัทภิบาลและสรรหาเปนกรรมการอิสระ ทำหนาทีเ่ สนอ ทบทวน กำกับ ดูแลงานดานบรรษัทภิบาล พิจารณาสรรหาผูที่สมควรไดรับแตงตั้งเปน กรรมการบริษัททดแทนกรรมการที่ครบรอบออกตามวาระหรือกรณีอนื่ ทบทวนระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท และคณะอนุกรรมการชุดตางๆ และทำแผนการสืบทอดตำแหนง กรรมการผูจัดการใหญ คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน ประกอบดวยกรรมการบริษัท จำนวน 3 คน ทำหนาที่ศึกษาพิจารณาติดตามความเปลีย่ นแปลงและ แนวโนมในเรื่องผลตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั รวมทัง้ ผูบริหาร เอสซีจี เพื่อเสนอเปนนโยบายคาตอบแทนที่สามารถจูงใจในการบริหาร กิจการของบริษัทใหเจริญกาวหนา ตลอดจนสามารถรักษาคนเกงและดี ใหคงอยูกับองคกร ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการแตละคณะนั้น มีสิทธิหนาที่ตามที่ได กำหนดไวในขอ บัง คั บของคณะกรรมการแต ล ะชุ ด และมีก าร ประเมินผลการปฏิบตั งิ านและทบทวนผลการปฏิบัติหนาที่ของคณะ อนุกรรมการเปนประจำทุกป อย า งนอ ยป ล ะ 1 ครั้ ง นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทอาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเฉพาะเรือ่ งชุดอืน่ ๆ ตามความเหมาะสมตามสถานการณ ที่เปลี่ยนแปลง

105


การแบงแยกบทบาทหนาที่ระหวางคณะกรรมการบริษัทกับ ฝายจัดการ เอสซีจไี ดแบงแยกบทบาทหนาทีค่ วามรับผิดชอบระหวางคณะกรรมการ บริษทั กับฝายจัดการของเอสซีจี อยางชัดเจน โดยกรรมการบริษทั ทำหนาที่ ในการกำหนดนโยบายและกำกับดูแลการดำเนินงานของฝายจัดการ ของเอสซีจีในระดับนโยบาย ขณะที่ฝายจัดการของเอสซีจีทำหนาที่ บริหารงานในดานตางๆ ใหเปนไปตามนโยบายทีก่ ำหนด ดังนัน้ ประธาน กรรมการบริษัท และกรรมการผูจัดการใหญจึงเปนบุคคลคนละคนกัน โดยทัง้ สองตำแหนงตองผานการคัดเลือกจากคณะกรรมการบริษัทเพื่อ ใหไดบุคคลทีม่ คี วามเหมาะสมทีส่ ดุ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั ยัง เปนผูก ำหนดแผนการสืบทอดตำแหนงของผูบริหารระดับสูงโดยจะมีการ ทบทวนแผนดังกลาวเปนประจำทุกป ประธานกรรมการ ไมไดเปนกรรมการที่เปนผูบริหาร และไมมี สวนรวมในการบริหารงานของเอสซีจี ตลอดจนไมไดมีอำนาจลงนาม ผูกพันบริษัท เพื่อใหแบงแยกหนาที่ระหวางการกำกับดูแลเชิงนโยบาย ในภาพรวมของบริษัทกับการบริหารงานไดอยางชัดเจน ผูบริหารระดับสูงของเอสซีจี มีจำนวน 8 คน ไดแก กรรมการ ผูจ ดั การใหญเอสซีจี ผูช ว ยผูจ ดั การใหญเอสซีจี และกรรมการผูจ ดั การใหญ ในกลุม ธุรกิจของเอสซีจี ไดแก เอสซีจี เคมิคอลส เอสซีจี เปเปอร เอสซีจี ซิเมนต เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น และเอสซีจี การลงทุน ซึง่ รายงานตรงตอกรรมการผูจ ดั การใหญเอสซีจี ทัง้ นี้ ผูบ ริหาร ระดับสูงทัง้ 8 คนนี้ จะไดรบั มอบหมายอำนาจหนาทีใ่ หดำเนินงานภายใต นโยบายตางๆ ทีก่ ำหนดไว รับผิดชอบผลการดำเนินงานโดยรวม ควบคุม คาใชจา ยและงบลงทุนตามขอบเขตที่คณะกรรมการอนุมัติในแผนงาน ประจำป ดำเนินการตามนโยบายดานบุคคล แกไขปญหาหรือความขัดแยง ทีม่ ผี ลกระทบตอองคกร และดำรงไวซึ่งการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพตอ ผูม สี ว นเกีย่ วของ

การประชุมของคณะกรรมการบริษัท กรรมการบริษทั ตองเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษทั อยางสม่ำเสมอ เพือ่ รับทราบและรวมกันตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจของบริษทั โดยมีการจัด ประชุมอยางนอยปละ 8 ครัง้ แตละครั้งจะมีการกำหนดวาระการประชุม ลวงหนาไวชัดเจนและอาจมีการประชุมครั้งพิเศษเพิ่มเติมเพื่อพิจารณา เรื่องที่มีความสำคัญเรงดวน ในการประชุม ประธานกรรมการบริษัทและกรรมการผูจัดการใหญ เปนผูร ว มกันกำหนดวาระการประชุมและพิจารณาเรือ่ งเขาวาระการประชุม คณะกรรมการบริษัท โดยเปดโอกาสใหกรรมการแตละคนสามารถเสนอ เรื่องตางๆ เพื่อเขารับการพิจารณาเปนวาระการประชุมได ในป 2551 ไดมีการประชุมคณะกรรมการจำนวน 10 ครั้ง โดย เปนการประชุมที่กำหนดไวลวงหนาทั้งป 8 ครั้ง และครั้งพิเศษ 2 ครั้ง ทัง้ นี้ ในการประชุมแตละครัง้ ไดมกี ารจัดสงเอกสารประกอบวาระการประชุม ในแตละวาระสงใหกับกรรมการบริษัทแตละคนลวงหนาเพื่อใหมีเวลา พอเพียงที่จะศึกษาขอมูล นอกจากนี้ ในการพิจารณาเรื่องตางๆ ประธานกรรมการบริษัท ซึ่งทำหนาที่ประธานในที่ประชุมไดเปดโอกาส ใหกรรมการแสดงความคิดเห็นไดอยางอิสระ และในการลงมติใน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษทั ใหถอื มติของเสียงขางมาก โดยใหกรรมการ คนหนึ่งมีหนึ่งเสียง และกรรมการที่มีสวนไดเสียจะไมเขารวมประชุม และ/หรือไมใชสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งนัน้ หากคะแนนเสียงเทากัน ประธานในที่ประชุมจะออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเปนเสียงชี้ขาด

106

ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฝายจัดการเอสซีจี ไดเขารวมประชุม ดวยเพื่อใหขอมูลที่เปนประโยชนและรับทราบนโยบายโดยตรงเพือ่ ให สามารถนำไปปฏิบตั อิ ยางมีประสิทธิภาพ เวนแตในบางวาระทีป่ ระชุมเฉพาะ คณะกรรมการบริษัท หรือเฉพาะคณะกรรมการบริษัทที่ไมเปนผูบ ริหาร ทั้งนี้ เพื่อความเปนอิสระในการพิจารณาเรื่องตางๆ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทใหความสำคัญในเรื่องการจัดการ เกี่ยวกับความขัดแยงในดานผลประโยชนของผูเกี่ยวของอยางรอบคอบ เปนธรรม และโปรงใส รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลในเรื่องดังกลาวอยาง ครบถวน ในกรณีทกี่ รรมการบริษทั คนหนึง่ คนใดมีสว นไดเสียกับผลประโยชน เกี่ยวกับเรื่องที่มีการพิจารณา กรรมการที่มีสวนไดเสียจะไมมีสวนรวม ในการตัดสินใจในเรื่องนั้น เมื่อสิ้นสุดการประชุม เลขานุการบริษัทเปนผูมีหนาที่จัดทำรายงาน การประชุมเสนอใหที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทรับรองในวาระแรกของ การประชุมครัง้ ถัดไป และใหประธานกรรมการบริษทั ลงลายมือชือ่ รับรอง ความถูกตอง ทัง้ นี้ กรรมการบริษทั สามารถแสดงความคิดเห็น ขอแกไข เพิ่มเติมรายงานการประชุมใหมีความละเอียดถูกตองมากที่สุดได รายงานการประชุมทีท่ ปี่ ระชุมรับรองแลวจะถูกจัดเก็บอยางเปนระบบ ในรูปแบบของเอกสารชัน้ ความลับของบริษทั ณ สำนักงานเลขานุการบริษทั และจัดเก็บในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกสพรอมกับเอกสารแนบ ประกอบวาระการประชุมตางๆ เพื่อสะดวกในการสืบคนอางอิง

เลขานุการคณะกรรมการและเลขานุการบริษัท เลขานุการคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทไดมีมติแตงตั้งนายวรพล เจนนภา เปน เลขานุการคณะกรรมการ เพื่อทำหนาที่เปนที่ปรึกษาใหคำแนะนำแก กรรมการในดานการปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับหนาที่ความรับผิดชอบ ตางๆ ของกรรมการ รวมทัง้ รวมจัดทำรายงานการประชุมคณะกรรมการ บริษัทและเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัททุกครั้ง โดยเลขานุ ก าร คณะกรรมการที่ ค ณะกรรมการแต ง ตั้ ง ขึ้ น เป น ผู ที่คณะกรรมการ เห็นวามีความเหมาะสมเนื่องจากเปนผูท่ีมีความรูความสามารถและ ประสบการณสูงที่จะชวยใหคำแนะนำแกกรรมการในการปฏิบัติตาม กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตางๆ ตลอดจนบรรษัทภิบาลเอสซีจีได อยางถูกตอง เลขานุการบริษัท คณะกรรมการไดมีมติแตงตั้งนายอำนวย อภิชัยนันท เปน เลขานุการบริษัท เพื่อทำหนาที่จัดการประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะอนุกรรมการชุดตางๆ และการประชุมผูถ อื หุน รวมทัง้ จัดทำรายงาน การประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมผูถือหุน รายงานประจำป ตลอดจนจัดเก็บเอกสารตามที่กฎหมายกำหนด โดยเลขานุการบริษัทที่ คณะกรรมการแตงตั้งขึ้นเปนผูที่คณะกรรมการเห็นวามีความเหมาะสม มีความรูความสามารถในการบริหารงานเลขานุการบริษัท และดำรง ตำแหนงเปนผูอำนวยการสำนักงานเลขานุการบริษัท ซึ่งเปนหนวยงานที่ สนับสนุนงานเลขานุการบริษทั ใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ตางๆ ตลอดจนรับผิดชอบดูแลงานดานบรรษัทภิบาลเอสซีจี


คาตอบแทนกรรมการบริษัทและผูบริหาร เอสซีจีกำหนดคาตอบแทนที่เหมาะสมแกคณะกรรมการบริษัทและ ผูบริหาร โดยจะพิจารณาเปรียบเทียบกับการจายคาตอบแทนกรรมการ ของบริษทั ชัน้ นำใน ตลท. และเปรียบเทียบกับในกลุม อุตสาหกรรมเดียวกัน ตลอดจนผลการดำเนินงานของเอสซีจี และมีการเสนอขออนุมตั ทิ ปี่ ระชุม ผูถ อื หุน เพือ่ จายคาตอบแทนใหแกคณะกรรมการบริษทั สวนคาตอบแทน ผูบ ริหาร คณะกรรมการบริษทั เปนผูพ จิ ารณาจากหนาทีค่ วามรับผิดชอบ ผลการปฏิบตั งิ านของแตละคนประกอบกับผลการดำเนินงานในแตละธุรกิจ นอกจากคาตอบแทนตามปกติแลว บริษัทยังจายคาตอบแทนพิเศษ ปลายปใหแกกรรมการบริษทั ตามแนวทางทีไ่ ดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน และจายใหกับผูบริหารโดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงาน และผลการ ดำเนินงานในแตละธุรกิจ ซึง่ วิธกี ารจายคาตอบแทนทีบ่ ริษทั ปฏิบตั ิอยูนี้ สอดคลองกับผลการปฏิบัติงานของพนักงาน และสะทอนถึงผลการ ดำเนินงานอยางแทจริง สำหรับรายละเอียดเกี่ยวกับคาตอบแทนกรรมการบริษัท ในสวนที่ เปนคาตอบแทนรายเดือนและโบนัสซึ่งไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุน รวมทั้งคาตอบแทนในฐานะอนุกรรมการเฉพาะเรื่องของป 2551 บริษัท ไดเปดเผยจำนวนเงินรวมเปนรายบุคคลในหนา 134-135

การประเมินผลการปฏิบัติงานและการพัฒนาความรู การประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุดตางๆ เอสซีจจี ดั ใหมกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการในแตละคณะ ปละ 1 ครัง้ โดยมีการประเมินเปน 2 แบบ คือ กรรมการแตละคนประเมิน ตนเอง และกรรมการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการชุดนัน้ ๆ โดยรวม ซึง่ ผลการประเมินนั้นคณะกรรมการบริษัทไดวิเคราะหและหา ขอสรุปเพื่อกำหนดมาตรการในการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของ คณะกรรมการตอไป เอสซีจีไดจัดทำคูมือกรรมการบริษัท โดยไดรวบรวมสรุปกฎหมาย กฎเกณฑ ขอบังคับทีเ่ กีย่ วของกับกรรมการบริษทั เพือ่ ใหกรรมการสามารถ รับทราบสรุปภาพรวม บทบาทหนาที่ หลักการ และแนวปฏิบตั ใิ นตำแหนง หนาทีก่ รรมการทัง้ หมด แจกใหกบั กรรมการบริษทั และกรรมการทีเ่ ขาใหม เพื่อเปนขอมูลเบื้องตน ในกรณีที่มีกรรมการเขาใหม เอสซีจีไดกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การเตรียมความพรอมในการปฏิบัติหนาที่กรรมการบริษัท (Director Induction Program) เพื่อใหกรรมการที่เขารับตำแหนงสามารถปฏิบัติ หนาทีไ่ ดอยางเร็วทีส่ ดุ โดยมีเลขานุการคณะกรรมการและเลขานุการบริษทั เปนผูประสานงานในเรื่องตางๆ 3 ดาน ดังนี้ 1. รวบรวมขอมูลที่จำเปนเกี่ยวกับกรรมการเพื่อประโยชนในการ ตรวจสอบดูแลใหมีการปฏิบัติตามกฎหมายในเรื่องที่เกี่ยวของ กับกรรมการ 2. จัดสงขอมูลที่สำคัญและจำเปนในการปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับ กรรมการบริษัท เพื่อใหกรรมการมีขอมูลอางอิงและสามารถ สืบคนไดในเบื้องตน 3. จัดใหมีการพบปะหารือกับประธานกรรมการ กรรมการ ฝายจัดการเอสซีจี หรือผูอำนวยการฝายตางๆ เพื่อรับทราบ และสอบถามขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของเอสซีจี นอกจากนี้ เอสซีจยี งั สนับสนุนใหคณะกรรมการบริษทั และผูบ ริหาร ระดับสูงเขารวมสัมมนาหลักสูตรที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติหนาที่ รวมทัง้ พบปะแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับคณะกรรมการบริษทั และผูบ ริหาร

ระดับสูงขององคกรตางๆ อยูเ สมอ ทัง้ หลักสูตรทีจ่ ดั โดยหนวยงานทีด่ แู ล การฝกอบรมของเอสซีจี และหลักสูตรทีจ่ ดั โดยหนวยงานกำกับดูแลของรัฐ หรือองคการอิสระ เชน หลักสูตรกรรมการบริษัทของสถาบันกรรมการ บริษทั ไทยที่ ก.ล.ต. กำหนดใหกรรมการของบริษทั จดทะเบียนตองผาน การอบรมอยางนอยหนึง่ หลักสูตร ซึง่ ไดแก Directors Certification Program (DCP), Directors Accreditation Program (DAP) และ Audit Committee Program (ACP) ทัง้ นี้ เพือ่ นำความรูแ ละประสบการณมา พัฒนาองคกรตอไป สำหรับดานการสนับสนุนการปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการบริษทั นัน้ เอสซีจมี เี ลขานุการคณะกรรมการและเลขานุการบริษทั ทำหนาทีป่ ระสานงาน ระหวางกรรมการบริษทั และฝายจัดการเอสซีจี และมีสำนักงานเลขานุการ บริษทั ทำหนาทีด่ แู ลประสานงานดานกฎหมาย กฎเกณฑตา งๆ ทีเ่ กีย่ วของ รวมทัง้ ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษทั การดำเนินการประสานงาน ใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการบริษัท การประเมินผลกรรมการผูจ ดั การใหญและผูบ ริหารระดับสูงของเอสซีจี คณะกรรมการบริษัทรวมกับคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน เปนผูประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผูจัดการใหญโดยพิจารณา จากผลการดำเนินงานทางธุรกิจของบริษัท การดำเนินงานตามนโยบาย ที่ไดรับจากคณะกรรมการบริษัท ประกอบกับสภาวการณเศรษฐกิจและ สังคมโดยรวม โดยคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนจะนำขอมูลที่ได ไปใชในการพิจารณาคาตอบแทนของกรรมการผูจัดการใหญเสนอตอ คณะกรรมการบริษัท โดยดูจากปจจัยตางๆ ดังนี้ 1. ผลประกอบการของธุรกิจ โดยพิจารณาจากรอยละของ EBITDA on Operating Assets (คามาตรฐานกำหนดไวเทากับหรือ ไมนอยกวารอยละ 15 ) ซึ่งจะมีการตั้งเปาหมายเพื่อกำหนดคา รอยละของ EBITDA ของแตละธุรกิจและเอสซีจีในทุกๆ ป เพื่อเปนเกณฑในการประเมินและเปรียบเทียบ 2. เปรียบเทียบผลประกอบการของธุรกิจกับอุตสาหกรรมเดียวกัน ทั้งตลาดภายในประเทศและระดับสากล 3. ความสามารถในการพัฒนาธุรกิจใหดีขึ้น นอกจากนัน้ ไดนำผลการสำรวจความคิดเห็นของพนักงานระดับจัดการ ที่มีตอกรรมการผูจัดการใหญ และผูบริหารระดับสูงของเอสซีจี มาใช ประกอบการพิจารณาในคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนดวย

การสรรหากรรมการบริษัท คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหามีหนาที่สรรหาบุคคลผูทรง คุณวุฒิเปนกรรมการแทนกรรมการที่ครบกำหนดออกตามวาระหรือใน กรณีอื่นๆ เสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาบุคคลที่จะไดรับ การเสนอชือ่ เขารับการเลือกตัง้ จากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ตอไป โดยคณะกรรมการ บรรษัทภิบาลและสรรหาคัดเลือกจากผูทรงคุณวุฒิและความเชี่ยวชาญ จากหลากหลายอาชีพ มีภาวะผูนำ วิสัยทัศนกวางไกล เปนผูมีคุณธรรม และจริยธรรม มีประวัติการทำงานโปรงใสไมดางพรอย นอกจากนี้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหาจะพิจารณาถึง คุณลักษณะเฉพาะบุคคลของผูที่จะคัดเลือกเพื่อเสนอชื่อเปนกรรมการใน ดานตางๆ คือ • ความมีคุณธรรมและความรับผิดชอบ (Integrity and Accountability) • การตัดสินใจดวยขอมูลและเหตุผล (Informed Judgment) • ความมีวุฒิภาวะและความมั่นคง เปนผูรับฟงที่ดีและกลาแสดง ความคิดเห็นที่แตกตางและเปนอิสระ

107


• ยึดมัน่ ในการทำงานอยางมีหลักการและมาตรฐานเยีย่ งมืออาชีพ รวมทั้งพิจารณาความรูความชำนาญเฉพาะดานที่จำเปนตองมีใน คณะกรรมการ เพื่อใหคณะกรรมการสามารถกำหนดกลยุทธ นโยบาย และกำกับดูแลใหมีการปฏิบัติตามกลยุทธไดอยางมีประสิทธิผล การควบคุมและตรวจสอบภายใน

การควบคุมภายใน เอสซีจใี หความสำคัญกับระบบการควบคุมภายในเปนอยางมาก ไดมี การกำหนดและพัฒนาระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานสากล อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอยางยั่งยืน ทั้งดานสภาพแวดลอม ภายใน การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมควบคุม ระบบสารสนเทศและ การสือ่ สาร และการติดตามประเมินผลอยางตอเนือ่ ง มีการจัดโครงสราง องคกรทีเ่ หมาะสมกับแผนธุรกิจ แบงแยกหนาทีค่ วามรับผิดชอบทีช่ ดั เจน มีระบบการกำกับดูแลทีด่ ี และการบริหารความเสีย่ งอยางเปนระบบ จัดทำ ระเบียบแนวปฏิบัติและคูมืออำนาจดำเนินการที่เหมาะสมกับธุรกิจ พัฒนาระบบคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพและทันสมัย ผลักดันใหมี การปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในอยางสม่ำเสมอ และปรับปรุง ใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมของธุรกิจทีเ่ ปลีย่ นไปอยางตอเนือ่ ง ในป 2551 สรุปสาระสำคัญไดดังนี้ 1. แนวปฏิบัติการพัฒนาสูความยั่งยืน เอสซีจีดำเนินธุรกิจโดยยึดมั่นในความรับผิดชอบและ เปนธรรมตอผูม สี ว นไดเสียทุกฝาย เพือ่ ประโยชนรวมกันอยาง ยั่งยืน ซึ่งไดถือปฏิบัติอยางสม่ำเสมอตลอดมาตั้งแตเริ่มกอตั้ง บริษัทในป 2456 นโยบายการดูแลสังคมและสิง่ แวดลอมถือเปน หนึง่ ในวัฒนธรรมขององคกรทีเ่ อสซีจไี ดยดึ ถือปฏิบัติมานาน โดยเมื่อป 2534 ไดประกาศนโยบายการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมเปน ลายลักษณอักษร และไดพัฒนาปรับปรุงเพื่อใหเหมาะสมกับ สภาพธุรกิจทีเ่ ปลีย่ นแปลง ซึง่ ลาสุดในป 2551 ไดจดั ทำ “แนวปฏิบัติ การพั ฒ นาสู ค วามยั่ ง ยื น เอสซี จี ” เปนกรอบของการพัฒนา อยางยัง่ ยืนครอบคลุมทัง้ ดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อใหเห็นภาพรวมและความเชื่อมโยงของแตละหนวยงาน รวมทั้งรวบรวมการดำเนินการตางๆ เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ที่มีการดำเนินการอยูกอนแลวแตกระจายอยูตามหนวยงาน ตางๆ ที่รับผิดชอบเขาไวในแนวปฏิบัตินี้ อันเปนการนำไป ปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น โดยไดรับการประเมินจาก Dow Jones Sustainability Indexes ในระดับทีเ่ พิม่ ขึน้ จากปกอ น คือ จากระดับ Silver เปนระดับ Gold 2. การกำกับดูแลกิจการที่ดี เอสซีจใี หความสำคัญกับการกำกับดูแลกิจการทีด่ เี ปนอยางมาก จึงกำหนดนโยบาย มาตรการ ขั้นตอนการทำงานตามนโยบาย การประเมินผล ดัชนีชวี้ ดั ผลการดำเนินงานทีเ่ หมาะสมสอดคลอง กับสภาพธุรกิจปจจุบัน รวมทั้งกำหนดโครงสรางการจัดการ ขอบเขตหนาทีข่ องคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการชุดตางๆ เพือ่ ใหเกิดการกำกับดูแลกิจการทีด่ อี ยางเปนรูปธรรม คณะกรรมการ บริษทั ซึ่งมีบทบาทสำคัญยิ่งในการบริหารงาน ไดมีการกำหนด ขอบังคับคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อกำหนดขอบเขต หนาที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา คณะกรรมการพิจารณา ผลตอบแทน และไดมกี ารปรับปรุงอยางสม่ำเสมอเพือ่ ใหเหมาะสม

108

และสอดคลองกับขอกำหนดของ ก.ล.ต. และ ตลท. โดยปรับปรุง ครั้งลาสุดในป 2551 เพื่อใหเปนสากลและมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานมากขึ้น 3. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เอสซีจมี รี ะบบคอมพิวเตอรทมี่ ปี ระสิทธิภาพ ทันสมัย มีความ ปลอดภัยของขอมูลอยางเพียงพอ และพัฒนาเปนเครือ่ งมือในการ เผยแพรและสื่อสารภายในของธุรกิจเอสซีจีไดอยางถูกตองและ ทันกาลอย า งสม่ ำ เสมอ โดยนำเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช ในกระบวนการตางๆ ตั้งแตการรวบรวมขอมูลสารสนเทศ การประมวลขอมูลสารสนเทศ การจัดเก็บขอมูลสารสนเทศ และการนำเสนอขอมูลสารสนเทศ โดยใชระบบคอมพิวเตอร ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจในปจจุบัน เพื่อให ผูบ ริหารใชขอ มูลสารสนเทศประกอบการพิจารณาในการวางแผน ควบคุมการปฏิบัติงาน การประเมิ น ผลอยางมีหลักเกณฑ เพื่ อ ใช ใ นการตั ด สิ น ใจ วิเคราะหสาเหตุ และติดตามผล อยางถูกตองครบถวน ทันเวลา 4. การมีสวนรวมกันทั้งองคกรเพื่อความโปรงใสและตรวจสอบได เอสซีจีเชื่อมั่นในคุณคาและศักยภาพของพนักงาน และ ระบบการควบคุมภายในที่กำหนดไวอยางชัดเจนและโปรงใส ซึ่งจะมีสว นรวมอยางสรางสรรคในการสรางบรรยากาศการทำงาน ที่เปดเผย โปรงใส มีการพัฒนาพนักงานใหเปนผูมีความรู ความสามารถทัง้ ในเรือ่ งงานและการปรับตัว การปรับปรุงระบบ การทำงานและการบริหารจัดการตางๆ เพือ่ เปนฐานอันแข็งแกรง ของการดำเนินงานและตอยอดใหเกิดนวัตกรรมในดานสินคา รวมทั้งใหมีประสิทธิภาพและสอดคลองไปในทางเดียวกันเพื่อ สนั บ สนุ น ให ก ารทำงานในด า นต า งๆ ได ผ ลตามที่ตองการ โดยมีการกำหนดภาพรวมและวิธกี ารทำงานทีม่ สี ว นรวมกันทั้งองคกร เพื่ อ ให ก ารทำงานมี ประสิ ทธิ ภาพและประสิทธิผลเพิ่มขึ้น และกอใหเกิดประโยชนแกธุรกิจของเอสซีจีโดยรวมมากขึ้น

การตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบเปนผูกำกับดูแลงานตรวจสอบภายในใหมี อิสระ ความเปนธรรม และมีจรรยาบรรณทีด่ ี โดยการประเมินความเพียงพอ และความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในและความเสี่ยง ของกิจกรรมตางๆ ภายในองคกร รวมทั้งระบบงานอื่นๆ ที่มีผลสำคัญ ตอการดำเนินงาน เพื่อใหมีการปฏิบัติที่สอดคลองกับนโยบายและสภาพ ธุรกิจทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยูต ลอดเวลา โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหผปู ฏิบตั งิ าน ทุกระดับขององคกรสามารถปฏิบตั ิหนาที่ของตนไดอยางมีประสิทธิภาพ ภายใตวสิ ยั ทัศนงานตรวจสอบทีว่ า ตรวจสอบเชิงปองกัน อยางสรางสรรค ทันเหตุการณ ยึดมั่นจรรยาบรรณและบรรษัทภิบาล มุงมั่นสูการพัฒนา อยางยั่งยืน โดยมีการพัฒนาและปรับปรุงระบบงานเชิงปองกันใหเปน ประโยชนกับหนวยงานอยางเปนรูปธรรม สรุปไดดังนี้ 1. ขอกำหนดระบบการควบคุมภายใน (Internal Control Instruction) จะกำหนดจุดควบคุมทีส่ ำคัญของการควบคุมภายใน ครอบคลุมการปฏิบัติงานทุกดานในการดำเนินธุรกิจ ไดแก วงจรรายได วงจรรายจาย การควบคุมบัญชีสินทรัพย หนี้สิน และสวนของผูถือหุน และวงจรการบริหารงานธุรกิจ เพื่อใหมี ระบบการควบคุ ม ภายในเป น มาตรฐานเดี ย วกันทั้ ง เอสซี จี อันจะเปนการเสริมสรางความมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ ซึ่งไดมีการขยายการลงทุนในธุรกิจตางๆ อยางตอเนื่อง โดย


ผูบ ริหารของเอสซีจใี ชเปนแนวทางในการควบคุมการบริหารงาน และใหผปู ฏิบตั งิ านเขาใจถึงจุดควบคุมภายในทีส่ ำคัญทีเ่ กีย่ วของ กับหนาที่และความรับผิดชอบของตนเอง โดยกำหนดเปนคูมือ และแนวปฏิบตั กิ ารทำงานตามขอกำหนดดังกลาว และนำไปใช ในการปฏิบตั งิ านใหบรรลุตามเปาหมายและแผนงานทีก่ ำหนดไว รวมทั้งเพื่อใหเอสซีจีมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได ซึง่ จะชวยสรางความเชือ่ มัน่ และความมัน่ ใจ ตอผูถือหุน ผูลงทุน ผูมีสวนไดเสีย และสอดคลองกับหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดี 2. การประเมินการควบคุมดวยตนเองบนเว็บไซต (ElectronicsControl Self Assessment: eCSA) ไดจัดทำระบบการควบคุม ดวยตนเองบนเว็บไซตเพิม่ ขึน้ จากป 2550 เชน การบริหารพัสดุ และสินคาสำเร็จรูป (eCSA-Inventory Management) การบริหารงานบัญชี (eCSA-Accounting Management) เปนการขยายผลการปฏิบัติงานในเรื่องการประเมินการควบคุม ดวยตนเองใหครอบคลุมทุกระบบงาน เพื่อใหผูบังคับบัญชาใช เปนเครือ่ งมือในการบริหารงานเพือ่ ใหบรรลุวตั ถุประสงค/เปาหมาย ไดอยางมีประสิทธิภาพทันเวลา สอดคลองกับนโยบายการจัดเก็บ พัสดุและสินคาสำเร็จรูปในระดับที่เหมาะสม ซึ่งเปนแนวทาง การดำเนินงานในสภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว 3. การกำหนดแผนงานระยะปานกลางและดัชนีชี้วัดความสำเร็จ ของการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ไดกำหนดดัชนีชี้วัดผล การดำเนินงาน (Key Performance Indicators - KPI) และ ปรับปรุงตัววัดผลการดำเนินงาน เพือ่ ใหการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ เพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลไดอยางตอเนือ่ งตามวิสยั ทัศน ที่กำหนดไว โดยมีกลยุทธและภารกิจที่สำคัญ คือ สงเสริมและ พัฒนากระบวนการตรวจสอบเชิงปองกันอยางสรางสรรคดวย เทคโนโลยีทที่ นั สมัย และสือ่ สารผลการตรวจสอบใหเปนกรณีศกึ ษา กับผูเกี่ยวของ การใหคำปรึกษาอยางเปนอิสระและเที่ยงธรรม ยึดถือจรรยาบรรณอยางเครงครัด พัฒนาองคความรู ทักษะ และเพิม่ คุณภาพการตรวจสอบอยางตอเนือ่ งตามสภาพแวดลอม และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง การสงเสริมพนักงานเขาสอบ วุฒบิ ตั รตามวิชาชีพตรวจสอบภายในตามมาตรฐานสากล รวมทัง้ กำหนดใหมีการประเมินคุณภาพงานตรวจสอบจากหนวยงาน ภายในและภายนอก 4. การพัฒนาระบบงานตรวจสอบดานคอมพิวเตอร ไดพัฒนา โปรแกรมทีใ่ ชในการตรวจสอบเพือ่ ชวยในการปรับปรุงระบบงาน คอมพิวเตอรใหมปี ระสิทธิภาพในเชิงปองกัน โดยจัดทำโปรแกรม ตรวจสอบตางๆ เชน โปรแกรมเพือ่ การตรวจสอบบัญชีคมุ เจาหนี้ ใหแสดงขอมูลที่ถูกตองอยางมีประสิทธิภาพ ใชโปรแกรม ACL Script เพื่อใชในการตรวจสอบลูกหนี้ใหสะดวกและรวดเร็ว โปรแกรมการตรวจสอบบัญชีภาษีซอื้ ตัง้ พักรอการโอน (Deferred Input Tax) เพื่อใหปฏิบัติตามมาตรฐานบัญชีอยางถูกตอง นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาโปรแกรมการตรวจสอบเพื่อสราง ระบบการควบคุมที่ดีใหสอดคลองตามธุรกิจของเอสซีจี เชน การพัฒนาโปรแกรมสำหรับใชควบคุมกระบวนการจัดสงสินคา เพือ่ ปองกันการเกิดความผิดพลาดและความเสียหายจากการสง สินคาไมสอดคลองกับเงื่อนไขที่ตกลงไวกับลูกคา เปนตน

5. การพัฒนาความรูของผูตรวจสอบแบบ Innovative Thinking ผลักดันใหเกิดกระบวนการเรียนรูด ว ยตนเองและการแลกเปลีย่ น ประสบการณระหวางผูตรวจสอบ โดยการเนนการจัดอบรม/ สัมมนาในรูปแบบ In-house Training เปนประจำ รวมทัง้ การทำ Work Shop และการแสดงความคิดเห็นสรางสรรคในการตรวจสอบ เพื่อแลกเปลี่ยนความรูและเปนสื่อในการถายทอดประสบการณ ตามแนวทางการเรียนการสอนดวยตนเอง (e-Learning) โดย เนนเรื่องการพัฒนาและปรับปรุงคูมือแนวปฏิบัติตรวจสอบให ทันสมัยและสอดคลองกับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง 6. ระบบการใหคำปรึกษา ไดจดั ทำระบบการใหคำปรึกษาผานทาง เว็บไซต ซึ่งไดผลดีจากระบบการใหคำปรึกษากับหนวยงาน ในการลดจุดออนจากการปฏิบัติงานดานตางๆ เชน การไมรู ไมเขาใจในระเบียบมีนอ ยลง ในป 2551 จึงไดจดั ทำระบบการให คำปรึกษาจรรยาบรรณเอสซีจี และแนวปฏิบตั ิ Whistleblower Policy เพิ่มขึ้น เพื่อเปนชองทางใหพนักงานในการติดตอ สอบถาม หรือทำความเขาใจและนำไปปฏิบัติไดอยางถูกตอง อันเปนการเสริมสรางแนวทางการตรวจสอบในเชิงปองกัน การบริหารความเสี่ยง เอสซีจใี ชแนวทางการบริหารความเสีย่ งอยางเปนระบบตามมาตรฐาน สากล โดยจัดทำเปน “คูมือการบริหารความเสี่ยงของเอสซีจี” เพื่อให ทุกบริษทั ทีบ่ ริหารงานโดยเอสซีจปี ฏิบตั เิ ปนมาตรฐานเดียวกัน การประเมิน ความเสีย่ งจะประเมินทัง้ สามดานทีส่ ำคัญ คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอม โดยมีหนวยงานที่เกี่ยวของในการบริหารความเสี่ยง ดังนี้ • คณะจัดการของเอสซีจี รับผิดชอบในการกำหนดนโยบาย การบริหารความเสี่ยงในภาพรวม • คณะจัดการของกลุมธุรกิจ แตงตั้งคณะทำงานบริหารความ เสี่ยงของกลุมธุรกิจ กำหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงของ กลุม ธุรกิจใหสอดคลองกับนโยบายการบริหารความเสีย่ งของเอสซีจี ติดตามผลการบริหารความเสีย่ ง และกำหนดกลยุทธการดำเนินธุรกิจ ใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป • คณะทำงานบริหารความเสี่ยงของกลุมธุรกิจ ทำหนาที่ในการ กำหนดความเสีย่ งทีม่ นี ยั สำคัญ กำหนดระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับ ได (Risk Appetite) มาตรการจัดการความเสีย่ ง รวมทัง้ ติดตาม ปรับปรุงและพัฒนาผลการบริหารความเสีย่ ง เสนอคณะจัดการของ กลุม ธุรกิจ และหนวยงานตรวจสอบภายในเปนรายไตรมาส • คณะกรรมการตรวจสอบ ประเมินประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงของกลุมธุรกิจผาน หนวยงานตรวจสอบภายในเปนรายไตรมาส กระบวนการบริหารความเสี่ยง เริ่มจากการกำหนดความเสี่ยงที่มี นัยสำคัญ ประเมินโอกาสทีจ่ ะเกิด (Likelihood) และผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ (Significant) นำมาจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง และวิเคราะห สถานะการจัดการความเสีย่ งดังกลาว โดยใช Risk Map และ Control Map เปนเครื่องมือ หากความเสี่ยงใดอยูนอกเหนือระดับที่ยอมรับไดจะตอง กำหนดมาตรการในการจัดการความเสี่ยงนั้น รวมทั้งติดตามปรับปรุง และพัฒนาผลการบริหารความเสีย่ งอยางสม่ำเสมอจนกวาความเสีย่ งนัน้ จะอยูในระดับที่ยอมรับได

109


นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะพิจารณาใหความเห็นชอบ เมือ่ หนวยงานตรวจสอบภายในเสนอหลักเกณฑสญั ญาณเตือนภัยในปจจัย ความเสีย่ งตางๆ เพือ่ เฝาระวังความเสีย่ งทีเ่ ปนสาระสำคัญอันจะกอความ เสียหายไดในอนาคตอันใกล โดยพิจารณาจากขอมูลทางการเงินและ ตัวชีว้ ดั ทางดานเศรษฐกิจ การดำเนินธุรกิจ สังคม และสิง่ แวดลอม เพือ่ ให เกิดการพัฒนาอยางยัง่ ยืน ดำเนินธุรกิจไดอยางมัน่ คง รักษาความเปนผูน ำ และเปนแบบอยางทีด่ ใี หกบั สังคม จึงไดนำแนวคิดการประเมินความเสีย่ ง เพือ่ กอใหเกิดการพัฒนาอยางยัง่ ยืน (Sustainable Development) มาใช โดยกลุม ธุรกิจตองประเมินความเสีย่ งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอม เปนประจำอยางนอยปละครั้ง ซึ่งการประเมินความเสี่ยงตามแนวคิดนี้ จะชวยใหการบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และเพิ่มมูลคา ใหกับผูมีสวนไดเสียทุกฝายไดเปนอยางดี

มาตรฐานควบคุมการทุจริต การทุจริตนับเปนความเสี่ยงสำคัญประการหนึ่งในการดำเนินธุรกิจ หากองคกรมีมาตรการควบคุมทีด่ เี พียงพอจะสามารถลดการรัว่ ไหลใหนอ ยลง เอสซีจตี ระหนักถึงความเสี่ยงที่เกิดจากการทุจริตจึงไดกำหนดมาตรการ ในการกำกับดูแลกิจการ ดังนี้ 1. มาตรการปองกัน เอสซีจยี ดึ หลักของการปองกันกอนทีป่ ญ หาจะ เกิดขึน้ ดังนัน้ จึงไดกำหนดมาตรการในการปองกันตางๆ ไดแก การจัดผังองคกรใหเหมาะสมกับการควบคุมและบริหารงานของ ธุรกิจ มีการกำหนดจรรยาบรรณและบรรษัทภิบาลเปนลายลักษณ อักษร กำหนดระบบการควบคุมภายในทีด่ แี ละมีการประเมินผล การควบคุมตนเองของหนวยงาน กำหนดระเบียบและแนวปฏิบตั ิ ในการทำงานอยางเหมาะสม มีการวัดผลอยางมีประสิทธิภาพ และควบคุมโดยระบบงบประมาณ ประเมินการบริหารความเสี่ยง อยางมีประสิทธิภาพ และมอบอำนาจดำเนินการใหเหมาะสม กับหนาทีค่ วามรับผิดชอบ นอกจากนี้ คณะจัดการยังไดนำระบบ รับ ข อ รอ งเรี ย นมาใช เ พื่ อ ให พ นั ก งานมีส ว นร ว มในการดู แ ล การดำเนินงานไมใหเกิดการทำผิดภายในองคกรได 2. การดำเนินการตรวจสอบ ผูบังคับบัญชาในแตละระดับมีความ รับผิดชอบในการปองกันและตรวจสอบการทุจริตและขอผิดพลาด ในการปฏิบตั งิ าน โดยมีเครือ่ งมือทีใ่ ชปอ งกันตามทีก่ ลาวขางตน นอกจากนี้ ยังมีหนวยงานตรวจสอบภายในทีม่ อี สิ ระจากผูบ ริหาร ระดับสูงชวยตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบตางๆ ประเมิน ประสิทธิภาพการควบคุมภายใน ประเมินความเสีย่ งดานการทุจริต ตรวจสอบสัญญาณเตือนภัยความเสีย่ งตางๆ ทีอ่ าจกอใหเกิดการ ทุจริต หากพบการทุจริตเกิดขึน้ จะแจงใหผบู ริหารระดับสูงทราบ เพื่อแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนหาขอเท็จจริงตอไป 3. การใหความเปนธรรม การสอบสวนการทุจริตมีระเบียบการ สอบสวนทีจ่ ะตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบขอเท็จจริง ซึง่ ประกอบ ดวยกรรมการจากหลายหนวยงาน ไดแก ผูบังคับบัญชาของ ผูถูกกลาวหา ตัวแทนจากหนวยงานการบุคคล กฎหมาย และ ตรวจสอบภายใน เพือ่ ใหความเปนธรรมแกผถู กู กลาวหา เมือ่ ผล การสอบสวนพบวามีการทุจริต คณะกรรมการสอบสวนจะเสนอ คณะกรรมการบุคคลพิจารณาโทษตามขอบังคับการบริหารงาน บุคคลของบริษทั นอกจากนี้ ยังใหความเปนธรรมกับผูแ จงเบาะแส หรือรองเรียนการทุจริต โดยกำหนดความคุม ครองอยางเหมาะสม

110

4. การนำกรณีศึกษามาเปนประโยชน ภายหลังจากการสรุปผล การสอบสวนแลว เพื่อใหเกิดการเรียนรูและปองกันขอผิดพลาด ที่เคยเกิดขึ้น จะมีการกำหนดมาตรการที่จะใชในการปองกัน จุดออนทีเ่ กิดจากการทุจริตนัน้ ๆ นอกจากนี้ หนวยงานตรวจสอบ ภายในจะนำกรณีศกึ ษาดังกลาวโดยไมเปดเผยชือ่ และหนวยงาน ของผูกระทำผิดมาใหความรูกับพนักงานระดับหัวหนางาน และพนักงานจัดการ เพื่อประโยชนในการลดการทุจริตซ้ำซอน จากมาตรการตางๆ ที่ เอสซีจไี ดกำหนดไว สงผลใหป 2551 ไมพบ การทุจริตเกิดขึ้นในองคกรที่เปนสาระสำคัญ ทั้งนี้ เนื่องจากหนวยงาน ที่เกีย่ วของสามารถตรวจพบโอกาสและแนวโนมที่จะเกิดการทุจริตกอนที่ จะสรางความเสียหายอยางรุนแรง รวมทั้งมีมาตรการที่ใชในการจัดการ การทุจริตอยางชัดเจนที่จะลดการทุจริตอยางไดผลดี


ขอมูลอื่นๆ การลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม กิจการที่ควบคุมรวมกันและบริษัทอื่น ซึ่งเปนบริษัทที่มีการประกอบธุรกิจที่เปนสาระสำคัญ ชื่อบริษัท

สถานที่ ดำเนิน ธุรกิจหลัก

โทรศัพท

สัดสวน สัดสวน การถื อหุน การถื ทุ น ธุรกิจ/ ชำระแลว โดยตรง/ออม โดยตรง/ออหุอนม ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) ของบริษัท ทั้งหมด * และบริษัทยอย (รอยละ) (รอยละ)

ธุรกิจเคมีภัณฑ (SCG Chemicals) บริษัทยอย 1 บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จำกัด 2 บริษัทไทยโพลิเอททีลีน จำกัด 3 บริษัทไทยโพลิเอททีลีน (1993) จำกัด 4 บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน จำกัด 5 บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน (1994) จำกัด 6 บริษัทเอสซีจี พลาสติกส จำกัด 7 บริษัทเอสซีจี เพอรฟอรมานซ เคมิคอลส จำกัด 8 บริษัทเอสซีจี โพลิโอเลฟนส จำกัด 9 บริษัทระยองวิศวกรรมและซอมบำรุง จำกัด 10 บริษัทโปรเทค เอาทซอสซิ่ง จำกัด 11 บริษัทอาร ไอ แอล 1996 จำกัด 12 บริษัทวีนา เอสซีจี เคมิคอลส จำกัด 13 SCG Chemicals (Singapore) Pte. Ltd. 14 Tuban Petrochemicals Pte. Ltd. 15 บริษัทระยอง เทอรมินัล จำกัด 16 บริษัทระยองไปปไลน จำกัด 17 บริษัทมาบตาพุด แทงค เทอรมินัล จำกัด 18 PT. TPC Indo Plastic & Chemicals 19 บริษัท มาบตาพุดโอเลฟนส จำกัด 20 Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Pte. Ltd. 21 บริษัทระยองโอเลฟนส จำกัด

กรุงเทพฯ ระยอง ระยอง ระยอง ระยอง กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ระยอง ระยอง ระยอง กรุงเทพฯ สิงคโปร สิงคโปร ระยอง ระยอง ระยอง

(02) 586-4762 กิจการลงทุน (038) 683-393-7 เม็ดพลาสติกโพลิเอททีลีน (038) 683-393-7 เม็ดพลาสติกโพลิเอททีลีน (038) 683-393-7 เม็ดพลาสติกโพลิโพรไพลีน (038) 683-393-7 เม็ดพลาสติกโพลิโพรไพลีน (02) 586-6161 คาขายเม็ดพลาสติก (02) 586-4115 คาขายเม็ดพลาสติก (02) 586-6161 คาขายเม็ดพลาสติก (038) 685-040-8 บริการซอมบำรุง (038) 608-657-8 บริการซอมบำรุง (038) 689-471-2 นิคมอุตสาหกรรม (02) 586-5435 กิจการลงทุน (65) 6297-9661 กิจการลงทุน (65) 6297-9661 กิจการลงทุน (038) 689-471-2 บริการทาเรือขนสง (038) 689-471-2 บริการใชสิทธิทางทอ (038) 689-471-2 บริการคลังเก็บสินคา และขนถายสินคา อินโดนีเซีย (6231) 3952-9458 พีวีซีเรซิน ระยอง (038) 937-000 วัตถุดิบสำหรับผลิต เม็ดพลาสติก สิงคโปร (65) 6221-5318 กิจการลงทุน ระยอง (038) 685-040-8

22 Rayong Olefins (Singapore) Pte. Ltd. 23 บริษัทโฟลวแล็บ แอนด เซอรวิส จำกัด 24 บริษัทไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จำกัด (มหาชน)

สิงคโปร (65) 6297-9661 ระยอง (038) 911-321-2 กรุงเทพฯ (02) 676-6000

25 26 27 28

กรุงเทพฯ (02) 676-6200 กรุงเทพฯ (02) 586-3930-5 กรุงเทพฯ (02) 586-3930-5 ระยอง (02) 586-3930-5

บริษัททีพีซี เพสต เรซิน จำกัด บริษัทนวพลาสติกอุตสาหกรรม (สระบุรี) จำกัด บริษัทนวพลาสติกอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทนวอินเตอรเทค จำกัด

29 Chemtech Co., Ltd. 30 บริษัทโทเทิลแพลนทเซอรวิส จำกัด

เวียดนาม สมุทรปราการ/ ระยอง 31 Minh Thai House Component Co., Ltd. เวียดนาม 32 Viet-Thai Plastchem Co., Ltd. เวียดนาม 33 TPC Vina Plastic and Chemicals Corporation Co., Ltd. เวียดนาม 34 บริษัทสยามสเตบิไลเซอรส แอนด เคมิคอลส จำกัด ระยอง บริษัทรวม กิจการที่ควบคุมรวมกันและอื่นๆ 35 Long Son Petrochemicals Co., Ltd. เวียดนาม

(84650) 784-992 (02) 385-9515-16 (038) 687-320-23 (848) 3754-2989 (84650) 710-993 (848) 3823-4730 (038) 683-451-3 (848) 3825-7226

7,108 1,850 450 1,556 1,333 5 3 0.3 2 0.3 1,100 73 804 2,828 0.3 200 700

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 91 81

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 91 81

1,020 17,779

78 55

78 67

1,754

63

67

วัตถุดิบสำหรับผลิต เม็ดพลาสติก จัดหาวัตถุดิบ บริการสอบเทียบมาตรฐาน พีวีซีเรซินและ พีวีซีคอมเปานด พีวีซี เพสต เรซิน ทอและขอตอพีวีซี ผลิตภัณฑพลาสติกพีวีซี แมพิมพสำหรับผลิตภัณฑ พลาสติกพีวซี ี ทอและขอตอพีวีซี ลงทุนและ บริการดานวิศวกรรม ประตู หนาตางพีวีซี พีวีซีคอมเปานด พีวีซีเรซิน สเตบิไลเซอรส

7,700

47

63

0.5 4 875

63 51 45

63 51 45

1,330 400 426 40

45 45 45 45

45 45 45 45

52 1,180

45 45

45 45

36 75 745 190

36 32 31 27

36 32 31 27

วัตถุดิบสำหรับผลิต เม็ดพลาสติก เม็ดพลาสติกโพลิเอททีลีน และโพลิโพรไพลีน

133

61

61

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น

111


ชื่อบริษัท

36 PT. Siam Maspion Terminal 37 บริษัทสยาม มิตซุย พีทีเอ จำกัด 38 บริษัทสยามสไตรีนโมโนเมอร จำกัด 39 40 41 42 43 44

บริษัทสยามเลเทกซสังเคราะห จำกัด บริษัทสยามโพลิเอททีลีน จำกัด บริษัทสยามโพลีสไตรีน จำกัด บริษัทเอสดีกรุปเซอรวิซ จำกัด SCG Plastics (China) Co., Ltd. บริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จำกัด

สถานที่ ดำเนิน ธุรกิจหลัก

โทรศัพท

อินโดนีเซีย (6231) 395-2945-8 ระยอง (038) 685-100 ระยอง (038) 683-215-6 ระยอง (038) 683-215-6 ระยอง (038) 683-215-6 ระยอง (038) 683-215-6 กรุงเทพฯ (02) 365-7000 ฮองกง (852) 2544-9991 ระยอง (038) 684-241

45 บริษัทไทย เอ็มเอ็มเอ จำกัด

ระยอง (038) 685-040-8

46 บริษัทไทย เอ็มเอฟซี จำกัด 47 Mehr Petrochemical Company (Private Joint Stock)

ระยอง (038) 684-241 อิหราน (9821) 8850-0641

48 PT. Trans-Pacific Polyethylene Indonesia

อินโดนีเซีย (6221) 574-5880

49 PT. Trans-Pacific Polyethylindo

อินโดนีเซีย (6221) 574-5880

50 บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จำกัด

กรุงเทพฯ

(02) 679-5120

51 บริษัทปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน)

กรุงเทพฯ

(02) 265-8400

52 PT. Trans-Pacific Petrochemical Indotama 53 บริษัทไทย เพ็ท เรซิน จำกัด 54 Mitsui Advanced Composites (Zhongshan) Co., Ltd. 55 56 57 58 59

Nawacam Co., Ltd. บริษัทริเกน (ไทยแลนด) จำกัด PT. Srithai Maspion Indonesia PT. Trans-Pacific Polypropylene Indonesia PT. Trans-Pacific Styrene Indonesia

อินโดนีเซีย (6221) 574-5880 ระยอง (038) 685-900 จีน (86) 760-533-2138 กัมพูชา กรุงเทพฯ อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย

(85523) 882-072 (02) 501-1054 (6231) 891-3630 (6221) 574-5880 (6221) 574-5880

สัดสวน สัดสวน การถื อหุน การถื อหุน ทุ น ธุรกิจ/ อม โดยตรง/ออม ว โดยตรง/อ ผลิตภัณฑหลัก (ลชำระแล ของบริ ษ ท ั านบาท) และบริษัทยอย ทั้งหมด * (รอยละ) (รอยละ)

บริการทาเรือขนสง วัตถุดิบสำหรับผลิต เพ็ทเรซิน วัตถุดิบสำหรับผลิต โพลิสไตรีน เลเทกซสังเคราะห เม็ดพลาสติกโพลิเอททีลีน เม็ดพลาสติกโพลิสไตรีน กิจการลงทุน คาขายเม็ดพลาสติก เม็ดพลาสติก โพลิโพรไพลีนคอมเปานด วัตถุดิบสำหรับผลิต กระจกเทียม ผงเมลามีน เม็ดพลาสติกโพลิเอททีลีน ชนิด HDPE เม็ดพลาสติกโพลิเอททีลีน ชนิด LDPE เม็ดพลาสติกโพลิเอททีลีน ชนิด HDPE วัตถุดิบสำหรับผลิต ยางสังเคราะห วัตถุดิบสำหรับผลิต เม็ดพลาสติก วัตถุดิบสำหรับผลิต อะโรเมติกส เพ็ทเรซิน เม็ดพลาสติก โพลิโพรไพลีนคอมเปานด ทอและขอตอพีวีซี พีวีซีคอมเปานด ผงเมลามีน เม็ดพลาติกโพลิโพรไพลีน วัตถุดิบสำหรับผลิต โพลิสไตรีน

327 2,800

50 49

50 50

3,430

50

50

319 4,455 995 78 4 64

50 49 50 50 49 46

50 50 50 50 49 46

5,590

46

47

200 803

45 40

45 40

472

39

39

337

39

39

1,173

22

22

14,968

21

21

9,815

20

20

900 380

20 20

20 20

7 120 118 220 314

18 16 10 10 10

18 16 10 10 10

1,563 1,200 430 250 1,000 4,328 1,200

98 98 98 98 98 98 98

98 98 98 98 98 98 98

300 45 180 20 2 2

98 98 98 98 98 98

98 98 98 98 98 98

ธุรกิจกระดาษ (SCG Paper) บริษัทยอย 60 บริษัทเอสซีจี เปเปอร จำกัด (มหาชน) 61 บริษัทผลิตภัณฑกระดาษไทย จำกัด 62 บริษัทกระดาษสหไทย จำกัด (มหาชน) 63 บริษัทสยามคราฟทอุตสาหกรรม จำกัด 64 บริษัทอุตสาหกรรมกระดาษคราฟทไทย จำกัด 65 United Pulp & Paper Co., Inc. 66 บริษัทกระดาษสหไทยอุตสาหกรรม จำกัด 67 68 69 70 71 72

บริษัทสยามเซลลูโลส จำกัด บริษัทอินโฟเซฟ จำกัด บริษัทเยื่อกระดาษสยามโฮลดิ้ง จำกัด บริษัทสยามฟอเรสทรี จำกัด บริษัทพนัสนิมิต จำกัด บริษัทไทยพนาสณฑ จำกัด

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น

112

กรุงเทพฯ (02) 586-3333 กรุงเทพฯ (02) 586-3333 สมุทรปราการ (02) 754-2100-10 กรุงเทพฯ (02) 586-3333 กรุงเทพฯ (02) 586-3333 ฟลิปปนส (632) 870-0100 กรุงเทพฯ (02) 586-3333 กรุงเทพฯ ปทุมธานี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ

(02) 586-3333 (02) 586-3333 (02) 586-3333 (02) 586-3333 (02) 586-3333 (02) 586-3333

กิจการลงทุน/เยื่อกระดาษ กระดาษพิมพเขียน กระดาษพิมพเขียน กระดาษคราฟท กระดาษคราฟท กระดาษคราฟท กระดาษยิปซัม/ กระดาษกลองขาวเคลือบ เยื่อกระดาษ ทำลายเอกสาร กิจการลงทุน สวนปา สวนปา สวนปา


73 74 75 76 77 78 79

ชื่อบริษัท

สถานที่ ดำเนิน ธุรกิจหลัก

โทรศัพท

บริษัทไทยพนาดร จำกัด บริษัทไทยพนาราม จำกัด บริษัทสวนปารังสฤษฎ จำกัด บริษัทสยามพนาเวศ จำกัด บริษัทไทยพนาบูรณ จำกัด บริษัทไทยวนภูมิ จำกัด บริษัทฟนิคซ พัลพ แอนด เพเพอร จำกัด (มหาชน)

กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ

(02) 586-3333 (02) 586-3333 (02) 586-3333 (02) 586-3333 (02) 586-3333 (02) 586-3333 (02) 586-3333

80 บริษัทไทยเคนเปเปอร จำกัด (มหาชน) 81 บริษัทกลุมสยามบรรจุภัณฑ จำกัด

82 83 84 85

บริษัทสยามบรรจุภัณฑสงขลา (1994) จำกัด บริษัทไทยคอนเทนเนอรขอนแกน จำกัด บริษัทไทยคอนเทนเนอรระยอง จำกัด บริษัทไทยคอนเทนเนอรสระบุรี จำกัด (เดิมชื่อ “บริษัทซิตี้แพค จำกัด”) 86 บริษัทไทยคอนเทนเนอร (ทีซีซี) จำกัด

กรุงเทพฯ (02) 440-0707 กรุงเทพฯ/ (02) 586-5991 ปทุมธานี/ สมุทรปราการ/ ราชบุรี สงขลา (02) 586-3333 ขอนแกน (02) 586-3333 ระยอง (02) 586-3333 สระบุรี (036) 251-724-8

สัดสวน สัดสวน การถื อหุน การถื ทุ น ธุรกิจ/ ชำระแลว โดยตรง/ออม โดยตรง/ออหุอนม ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) ของบริษัท ทั้งหมด * และบริษัทยอย (รอยละ) (รอยละ)

สวนปา สวนปา สวนปา สวนปา สวนปา สวนปา เยื่อกระดาษ/ กระดาษพิมพเขียน กระดาษคราฟท กลองกระดาษ

2 2 2 3 3 3 1,200

98 98 98 98 98 98 97

98 98 98 98 98 98 97

3,583 784

85 69

85 69

กลองกระดาษ กลองกระดาษ กลองกระดาษ กลองกระดาษ

280 150 250 450

69 69 69 69

69 69 69 69

กลองกระดาษ

1,100

69

69

กระดาษคราฟท กลองกระดาษ

3,778 146

69 69

69 69

กลองกระดาษ เอกสารปลอดการทำเทียม บริการงานพิมพ ระบบดิจิตอล

56 110 34

69 49 25

69 49 25

89 TCG Rengo (S) Limited 90 บริษทั ไทยบริติชซีเคียวริตี้ พริ้นติ้ง จำกัด (มหาชน) 91 บริษทั ไทยบริติช ดีโพสต จำกัด

ปราจีนบุรี/ (037) 208-568-70 ชลบุรี/ ปทุมธานี เวียดนาม (848) 268-0240-2 มาเลเซีย (603) 5636-3610 ตอ 220 สิงคโปร (65) 6661-7325 สมุทรปราการ (02) 754-2650-8 สมุทรปราการ (02) 754-2650-8

บริษัทรวมและอื่นๆ 92 บริษัทสยามทบพันแพคเกจจิ้ง จำกัด 93 P&S Holdings Corporation

สมุทรปราการ (02) 709-3110-7 ฟลิปปนส (632) 870-0100

กลองกระดาษอ็อพเซ็ท กิจการลงทุน

500 263

48 39

48 39

กรุงเทพฯ (02) 586-3060-1 กรุงเทพฯ (02) 555-5000

12,236 9,140

100 100

100 100

625 575 1,750 589 443 200 150 1,310

100 100 100 100 100 100 100 100

100 100 100 100 100 100 100 100

50

100

100

100

100

100

12 17

100 100

100 100

87 Vina Kraft Paper Co., Ltd. 88 TCG Rengo Subang (M) Sdn. Bhd.

ธุรกิจซิเมนต (SCG Cement) บริษัทยอย 94 บริษัทเอสซีจี ซิเมนต จำกัด 95 บริษัทผลิตภัณฑและวัตถุกอสราง จำกัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (แกงคอย) จำกัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทาหลวง) จำกัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทุงสง) จำกัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (ลำปาง) จำกัด บริษัทสยามมอรตาร จำกัด บริษัทสยามปูนซิเมนตขาว จำกัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จำกัด บริษัทอนุรักษพลังงานซิเมนตไทย จำกัด

สระบุรี สระบุรี นครศรีธรรมราช ลำปาง สระบุรี สระบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ

(036) 240-000-78 (036) 351-200-18 (075) 538-222 (054) 271-500 (036) 245-428-68 (036) 351-200-18 (02) 586-3242-52 (02) 586-2410

104 บริษัทเอสซีไอ แพลนท เซอรวิสเซส จำกัด

สระบุรี

(036) 289-131

105 บริษัทสยามวิจัยและนวัตกรรม จำกัด (เดิมชื่อ “บริษัทเอสซีไอ วิจัยและนวัตกรรม จำกัด”) 106 บริษัทเอสซีไอ อีโค เซอรวิสเซส จำกัด 107 CPAC Concrete Products (Cambodia) Co., Ltd.

สระบุรี (036) 273-152-63

กิจการลงทุน กิจการลงทุน/ คอนกรีตผสมเสร็จ ปูนซีเมนต ปูนซีเมนต ปูนซีเมนต ปูนซีเมนต ปูนฉาบและปูนกอ ปูนซีเมนตขาว วัสดุทนไฟ รับปรึกษา การอนุรักษพลังงาน และรับจางผลิตไฟฟา บริการดานเทคนิค และติดตั้งโรงงาน วิจัยและพัฒนา

นนทบุรี (02) 962-7295-7 กัมพูชา (85516) 745-999

กำจัดกากอุตสาหกรรม แผนพื้นสำเร็จรูป

96 97 98 99 100 101 102 103

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น

113


ชื่อบริษัท

108 Cementhai Building Materials (Singapore) Pte. Ltd. 109 PT. Semen Jawa 110 Kampot Cement Co., Ltd. 111 CPAC Lao Co., Ltd. 112 Myanmar CPAC Service Co., Ltd. 113 CPAC Cambodia Co., Ltd. 114 Kampot Land Co., Ltd. บริษัทรวมและอื่นๆ 115 บริษัทปูนซิเมนตเอเซีย จำกัด (มหาชน) 116 Holcim (Bangladesh) Co., Ltd.

สถานที่ ดำเนิน ธุรกิจหลัก

โทรศัพท

สัดสวน สัดสวน การถื อหุน การถื ทุ น ธุรกิจ/ ชำระแลว โดยตรง/ออม โดยตรง/ออหุอนม ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) ของบริษัท ทั้งหมด * และบริษัทยอย (รอยละ) (รอยละ)

สิงคโปร (65) 6297-9661 อินโดนีเซีย (6221) 350-9491 ตอ 103 กัมพูชา (85523) 996-839 ลาว (85620) 246-5553 พมา (959) 501-4702 กัมพูชา (85516) 282-930 กัมพูชา (85523) 996-839

กิจการลงทุน ปูนซีเมนต

14 301

100 95

100 95

ปูนซีเมนต คอนกรีตผสมเสร็จ คอนกรีตผสมเสร็จ คอนกรีตผสมเสร็จ กิจการลงทุนในที่ดิน

1,551 17 10 5 0.2

93 70 70 69 45

93 70 70 69 45

กรุงเทพฯ (02) 641-5600 บังคลาเทศ (8802) 988-1002-3

ปูนซีเมนต ปูนซีเมนต

4,671 62

10 10

10 10

กรุงเทพฯ (02) 586-3333 สระบุรี (02) 586-3838 ลำปาง (054) 337-301-5 กรุงเทพฯ (02) 255-6355 กรุงเทพฯ (02) 586-6801-50

กิจการลงทุน กระเบื้องไฟเบอรซิเมนต กระเบื้องไฟเบอรซิเมนต กระเบื้องไฟเบอรซิเมนต บล็อคปูถนน แผนปูพื้น บุผนัง และรั้วคอนกรีต บล็อคปูถนน แผนปูพื้น บุผนัง และรั้วคอนกรีต คอนกรีตมวลเบา คอนกรีตสำเร็จรูป ฉนวนใยแกวกันความรอน กิจการลงทุน กิจการลงทุน กระเบื้องเซรามิคปูพื้น และบุผนัง กระเบื้องเซรามิคปูพื้น และบุผนัง บริการติดตั้ง ตอเติม ซอมแซมวัสดุกอสราง กระเบื้องเซรามิคปูพื้น และบุผนัง กิจการลงทุน กิจการลงทุน กิจการลงทุน กิจการลงทุน กิจการลงทุน กิจการลงทุน แผนปูพื้นและบุผนังคอนกรีต กระเบื้องเซรามิคปูพื้น กระเบื้องหลังคาคอนกรีต

1,651 200 530 25 60

100 100 100 100 100

100 100 100 100 100

40

100

100

540 1,630 640 470 614 450

100 100 100 100 100 100

100 100 100 100 100 100

960

100

100

60

100

100

45

100

100

626 266 1,799 0.5 133 252 96 87 211

100 100 100 100 100 100 83 80 75

100 100 100 100 100 100 83 80 75

กระเบื้องหลังคาเซรามิค กิจการลงทุน กระเบื้องหลังคาคอนกรีต กระเบื้องหลังคาคอนกรีต กระเบื้องเซรามิคปูพื้น และบุผนัง

200 200 43 235 986

75 75 75 75 62

75 75 75 75 62

ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง (SCG Building Materials) บริษัทยอย 117 บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง จำกัด 118 บริษัทกระเบื้องกระดาษไทย จำกัด 119 บริษัทผลิตภัณฑกระเบื้อง (ลำปาง) จำกัด 120 บริษัทกระเบื้องทิพย จำกัด 121 บริษัทสยามซีแพคบล็อค จำกัด 122 บริษัทอุตสาหกรรมซีแพคบล็อค จำกัด 123 124 125 126 127 128

บริษัทอุตสาหกรรมคอนกรีตซีแพค จำกัด บริษัทผลิตภัณฑคอนกรีตซีแพค จำกัด บริษัทสยามไฟเบอรกลาส จำกัด บริษัทยิปซัมซิเมนตไทย จำกัด บริษัทเซรามิคซิเมนตไทย จำกัด บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จำกัด

129 บริษัทเดอะ สยาม เซรามิค กรุป อินดัสทรี่ส จำกัด 130 บริษัทซิเมนตไทยโฮมเซอรวิส จำกัด 131 บริษัทไทยเซรามิคพาวเวอร จำกัด 132 133 134 135 136 137 138 139 140

141 142 143 144 145

Cementhai Gypsum (Singapore) Pte. Ltd. Cementhai Concrete Products (Singapore) Pte. Ltd. Cementhai Ceramic (Singapore) Pte. Ltd. Cementhai Paper (Singapore) Pte. Ltd. Cementhai Roof Holdings Philippines, Inc. Cementhai Ceramics Philippines Holdings, Inc. บริษัทสระบุรีรัชต จำกัด PT. Surya Siam Keramik บริษัทกระเบื้องหลังคาซีแพค จำกัด

(02) 586-6801-50 (02) 586-6801-50 (02) 586-6801-50 (036) 373-441-4 (02) 586-3333 (02) 586-3333 (02) 586-4094-8

สระบุรี (036) 380-240-6 กรุงเทพฯ

(02) 586-4111

สระบุรี (02) 586-4094-8

สิงคโปร สิงคโปร สิงคโปร สิงคโปร ฟลิปปนส ฟลิปปนส สระบุรี อินโดนีเซีย สระบุรี/ ลำพูน/ นครศรีธรรมราช บริษัทกระเบื้องหลังคาเซรามิคไทย จำกัด สระบุรี บริษัทไทยเซรามิคโฮลดิ้ง จำกัด กรุงเทพฯ CPAC Monier (Cambodia) Co., Ltd. กัมพูชา CPAC Monier Vietnam Co., Ltd. เวียดนาม บริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน) สระบุรี

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น

114

ลำพูน/ ขอนแกน กรุงเทพฯ สระบุรี สระบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ

(65) 6297-9661 (65) 6297-9661 (65) 6297-9661 (65) 6297-9661 (632) 813-1666 (632) 813-1666 (02) 586-6801-50 (6221) 5696-2458 (02) 586-3333

(02) 586-3333 (02) 586-3333 (85523) 220-351-2 (8498) 558-3252 (036) 376-100


ชื่อบริษัท

146 CPAC Monier Philippines, Inc. 147 PT. Siam-Indo Gypsum Industry 148 PT. Siam-Indo Concrete Products บริษัทรวมและอื่นๆ 149 บริษัทโสสุโก เซรามิค จำกัด

สถานที่ ดำเนิน ธุรกิจหลัก

โทรศัพท

ฟลิปปนส (632) 813-1666 อินโดนีเซีย (6221) 8832-0028 อินโดนีเซีย (6226) 743-2140

กรุงเทพฯ

(02) 938-9833

150 Mariwasa Siam Holdings, Inc. (เดิมชื่อ “Mariwasa Manufacturing, Inc.”) 151 Mariwasa Siam Ceramic, Inc.

ฟลิปปนส (632) 628-1986-90

152 บริษัทสยามซานิทารีฟตติ้งส จำกัด

กรุงเทพฯ (02) 973-5101-7

153 154 155 156 157 158 159 160 161 162 163 164

บริษัทสยามโมลดิ้งพลาสเตอร จำกัด Mariwasa Holdings, Inc. CPAC Monier (Laos) Co., Ltd. บริษัทสยามซานิทารีแวร จำกัด บริษัทสยามซานิทารีแวรอินดัสทรี จำกัด บริษัทสยามซานิทารีแวรอินดัสทรี (หนองแค) จำกัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม จำกัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สระบุรี) จำกัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สงขลา) จำกัด PT. M Class Industry บริษัทลาฟารจสยาม รูฟฟง จำกัด CMPI Holding, Inc.

ฟลิปปนส (632) 628-1986-90

สระบุรี ฟลิปปนส ลาว กรุงเทพฯ สระบุรี สระบุรี กรุงเทพฯ สระบุรี สงขลา อินโดนีเซีย ระยอง ฟลิปปนส

(036) 373-578-82 (632) 628-1986-90 (85621) 243-440 (02) 973-5040-54 (02) 973-5040-54 (02) 973-5040-54 (02) 555-0055 (036) 373-500-9 (074) 206-000-5 (6202) 6743-6888 (02) 555-0055 (632) 628-1986-90

สัดสวน สัดสวน การถื อหุน การถื ทุ น ธุรกิจ/ ชำระแลว โดยตรง/ออม โดยตรง/ออหุอนม ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) ของบริษัท ทั้งหมด * และบริษัทยอย (รอยละ) (รอยละ)

กระเบื้องหลังคาคอนกรีต แผนยิปซัม กระเบื้องซีเมนต ใยธรรมชาติ

226 306 446

50 50 50

50 50 50

กระเบื้องเซรามิคปูพื้น และบุผนัง กระเบื้องเซรามิคปูพื้น และบุผนัง กระเบื้องเซรามิคปูพื้น และบุผนัง กอกน้ำและ อุปกรณประกอบสุขภัณฑ ตัวแบบสำหรับผลิตสุขภัณฑ กิจการลงทุน กระเบื้องหลังคาคอนกรีต เครื่องสุขภัณฑ เครื่องสุขภัณฑ เครื่องสุขภัณฑ แผนยิปซัม แผนยิปซัม แผนยิปซัม กระเบื้องหลังคาดินเผา กระเบื้องหลังคาดินเผา กิจการลงทุน

800

54

54

1,093

40

46

584

-

46

200

33

45

125 267 41 60 200 160 150 470 120 222 160 87

40 40 38 36 29 28 25 20

40 40 38 36 36 36 29 29 29 28 25 20

กิจการลงทุน คาขายระหวางประเทศ จัดจำหนายในประเทศ บริการดานโลจิสติกส คาขายระหวางประเทศ ขายปลีก ขายปลีก ศูนยแสดงสินคาเครือฯ และใหบริการ คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ

2,715 400 2,095 40 10 26 1 200

100 100 100 100 100 100 100 100

100 100 100 100 100 100 100 100

5 14 220 27

100 100 100 100

100 100 100 100

คาขายระหวางประเทศ

11

100

100

คาขายระหวางประเทศ

8

100

100

คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ

23 4

100 100

100 100

คาขายระหวางประเทศ

20

100

100

ธุรกิจจัดจำหนาย (SCG Distribution) บริษัทยอย 165 บริษัทเอสซีจี ดิสทริบิวชั่น จำกัด 166 บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จำกัด 167 บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จำกัด 168 บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส แมเนจเมนท จำกัด 169 บริษัทเอสซีที เซอรวิสเซส จำกัด 170 บริษัทโฮมมารทโฮมโซลูชั่น จำกัด 171 บริษัทเอสซีจี รีเทล จำกัด 172 บริษัทเอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ จำกัด 173 174 175 176

Cementhai SCT (Australia) Pty. Ltd. Cementhai SCT (Guangzhou) Ltd. Cementhai SCT (Hong Kong) Ltd. Cementhai SCT (Jordan) L.L.C.

177 Cementhai SCT (Middle East) FZE. 178 Cementhai SCT (Philippines) Inc.

179 Cementhai SCT (Singapore) Pte. Ltd. 180 Cementhai SCT (U.S.A.), Inc.

181 SCG Trading (M) Sdn. Bhd.

กรุงเทพฯ (02) 586-3333 กรุงเทพฯ (02) 586-4444 กรุงเทพฯ (02) 586-3333 กรุงเทพฯ (02) 586-4444 กรุงเทพฯ (02) 586-4444 กรุงเทพฯ (02) 729-6761-3 กรุงเทพฯ (02) 586-3333 กรุงเทพฯ (02) 586-3333 ออสเตรเลีย จีน ฮองกง จอรแดน

(612) 9438-1225 (86) 208-365-2559 (852) 2838-6456 (9626) 551-7776/ 552-6665 สหรัฐอาหรับ (9714) 8812-270 เอมิเรท ฟลิปปนส (632) 912-3521/ 912-3454/ 911-5429/ สิงคโปร (65) 6295-3455 สหรัฐอเมริกา (1310) 323-2194/ 323-2438/ 323-2528 ตอ 106 มาเลเซีย (603) 5632-0168

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น

115


ชื่อบริษัท

182 PT. Cementhai SCT Indonesia 183 SCT Logistics (Vietnam) Co., Ltd. 184 185 186 187

Cementhai SCT (Cambodia) Co., Ltd. Cementhai SCT (Malaysia) Sdn. Bhd. Siam Cement Myanmar Trading Ltd. Cementhai SCT Emirates (L.L.C)

บริษัทรวมและอื่นๆ 188 บริษัทไทยพรอสเพอริตีเทอมินอล จำกัด 189 บริษัทเซอรเวย มารีน เซอรวิส จำกัด 190 Green Siam Resources Corporation 191 บริษัทสยามพูลสวัสดิ์ไลเตอร จำกัด 192 บริษัทจัมโบบาจส แอนด ทักส จำกัด

สถานที่ ดำเนิน ธุรกิจหลัก

โทรศัพท

อินโดนีเซีย (6221) 351-8890 เวียดนาม (848) 6296-1282/ 6297-0492 กัมพูชา (85523) 990-401-9 มาเลเซีย (603) 5632-0168 พมา (951) 555-260 สหรัฐอาหรับ (9714) 321-7663 เอมิเรท

สัดสวน สัดสวน การถื อหุน การถื ทุ น ธุรกิจ/ ชำระแลว โดยตรง/ออม โดยตรง/ออหุอนม ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) ของบริษัท ทั้งหมด * และบริษัทยอย (รอยละ) (รอยละ)

คาขายระหวางประเทศ บริการดานโลจิสติกส

5 64

100 100

100 100

คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ

1 4 3 3

75 69 60 49

75 69 60 49

สมุทรปราการ (02) 754-4501-9 ทาเทียบเรือสินคา กรุงเทพฯ (02) 296-1490-2 ใหเชาที่ดิน ฟลิปปนส (632) 983-7825-7 ธุรกิจโรงอัดเศษกระดาษ กรุงเทพฯ (02) 427-2229/ บริการใหเชาเรือลำเลียง 872-3014-5 กรุงเทพฯ (02) 872-3014-5 บริการขนสงดวยเรือลำเลียง

63 37 95 34

50 48 40 29

50 48 40 29

365

27

27

1 72 820 5

100 100 100 100

100 100 100 100

15 300

100 100

100 100

34 500 1,000

100 75 75

100 75 75

208 1,100 750 80 107 240 85 300 475 308 1,203 200 7,520 3,000 2,667 1,292 240

40 40 39 30 30 29 30 30 20 25 21 10 10 10 5

40 40 40 39 30 30 30 30 30 25 25 21 10 10 10 10 5

9,000 850

5 4

5 4

ธุรกิจการลงทุนและอื่นๆ บริษัทยอย 193 บริษัทซิเมนตไทยโฮลดิ้ง จำกัด 194 บริษัทซิเมนตไทยพร็อพเพอรตี้ (2001) จำกัด (มหาชน) 195 บริษัทพร็อพเพอรตี้ แวลู พลัส จำกัด 196 บริษัทเอสซีจี แอคเคานติ้ง เซอรวิสเซส จำกัด

กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ

(02) 586-2104 (02) 586-2104 (02) 586-2104 (02) 586-3333

197 บริษัทกฎหมายเอสซีจี จำกัด 198 บริษัทบางซื่อการจัดการ จำกัด

กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ

(02) 586-5777 (02) 586-3333

199 Cementhai Captive Insurance Pte. Ltd. 200 บริษัทเอสไอแอล ที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด 201 บริษัทระยองที่ดินอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทรวมและอื่นๆ 202 บริษัทสยามคูโบตาอุตสาหกรรม จำกัด 203 บริษัทสยาม คูโบตา แทรกเตอร จำกัด 204 บริษัทสยามคูโบตา ลีสซิ่ง จำกัด 205 บริษัทไอทีวัน จำกัด 206 บริษัทสยามเลมเมอรซ จำกัด 207 บริษัทสยามเอทีอุตสาหกรรม จำกัด 208 บริษัทผลิตภัณฑวิศวไทย จำกัด 209 บริษัทนวโลหะอุตสาหกรรม จำกัด 210 บริษัทไอซิน ทาคาโอกา ฟาวนดริ บางปะกง จำกัด 211 บริษัทนวโลหะไทย จำกัด 212 บริษัทนว 84 จำกัด 213 บริษัทมูซาชิออโตพารท จำกัด 214 บริษัทโตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จำกัด 215 บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด 216 บริษัทสยามมิชลินกรุป จำกัด 217 บริษัทสยามมิชลิน จำกัด 218 บริษัทสยามฟูรูกาวา จำกัด 219 บริษัทสยามยูไนเต็ดสตีล (1995) จำกัด 220 บริษัทสยามโตโยตาอุตสาหกรรม จำกัด

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น

116

สิงคโปร (02) 586-3333 สระบุรี (036) 373-333-5 ระยอง (038) 892-222-3 ปทุมธานี ชลบุรี ปทุมธานี กรุงเทพฯ สระบุรี ชลบุรี ปทุมธานี สระบุรี ชลบุรี สระบุรี กรุงเทพฯ ปทุมธานี สมุทรปราการ ระยอง กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ สระบุรี

กิจการลงทุน กิจการลงทุน ที่ดินและบริการพื้นที่เชา บริการทางดานบัญชี การเงิน และภาษีอากร ที่ปรึกษาดานกฎหมาย กิจการลงทุนในตราสารหนี้ ในความตองการของตลาด ประกอบธุรกิจประกันภัย สวนอุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม

(02) 909-0300-1 เครื่องจักรกลการเกษตร (038) 185-130 รถแทรกเตอร (02) 909-0300 ลีสซิ่ง (02) 271-5191 บริการดานเทคโนโลยี (036) 373-309-21 กระทะลอรถยนต (038) 454-266-8 ชิ้นสวนยานยนต (02) 529-3518-22 ชิ้นสวนยานยนต (036) 336-531-4 เหล็กหลอรูปพรรณ (038) 454-671-7 เหล็กหลอรูปพรรณ (036) 288-300 เหล็กหลอรูปพรรณ (02) 625-7966-70 ปลูกสวนปา (02) 529-1753-6 ชิ้นสวนจักรยานยนต (02) 386-1000 รถยนต (038) 683-723-30 เหล็กโครงสรางรูปพรรณ (02) 619-3000-19 กิจการลงทุนในยางรถยนต (02) 619-3000-19 กิจการลงทุนในยางรถยนต (036) 373-570-3 แบตเตอรี่รถยนต และรถจักรยานยนต ระยอง (038) 685-152-59 เหล็กแผนรีดเย็น ชลบุรี (038) 213-451-5 เครื่องยนต และชิ้นสวนรถยนต


สรุปสารสนเทศสำคัญ 1. การวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน

1. ภาพรวมของผลการดำเนินงาน สำหรับป 2551 เอสซีจีมียอดขายสุทธิเทากับ 293,230 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 10 จากปกอ น และมีกำไรสุทธิ 16,771 ลานบาท ลดลง รอยละ 45 จากปกอน เนื่องจาก Margin ที่ลดลง และขาดทุนจาก มูลคาสินคาคงเหลือประมาณ 5,000 ลานบาท ในไตรมาสที่ 4 ป 2551 ประกอบกับในป 2550 เอสซีจีมีกำไรสุทธิภาษีจากการขาย เงินลงทุนประมาณ 4,500 ลานบาท ทั้งนี้ ในป 2551 เอสซีจีมี EBITDA เทากับ 38,783 ลานบาท ลดลงรอยละ 22 จากปกอน เอสซีจมี สี ว นไดเสียในกำไรของบริษทั รวม (Equity Income) เทากับ 4,669 ลานบาท ลดลงรอยละ 43 จากปกอ น โดยมีแหลงที่มา ของรายได ดังนี้ • จากบริษทั รวมในธุรกิจเคมีภณั ฑ (SCG Chemicals) เทากับ 2,963 ลานบาท ลดลงรอยละ 50 จากปกอน ซึ่งสวนใหญ ลดลงตามผลการดำเนินงานที่ลดลงของธุรกิจ PTA และ บริษทั ปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) • จากบริษทั รวมอืน่ ๆ เทากับ 1,706 ลานบาท ลดลงรอยละ 25 จากปกอ น ทัง้ นี้ เนือ่ งจากการขายเงินลงทุนบางสวนในหุน ทุน ของบริษทั เหล็กสยามยามาโตะ จำกัด

2. ผลการดำเนินงานของกลุมธุรกิจ ธุรกิจเคมีภัณฑ (SCG Chemicals) ในป 2551 ยอดขายสุทธิของธุรกิจเคมีภณั ฑ (SCG Chemicals) เทากับ 136,527 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 5 จากปกอน ซึ่งเปนผล มาจากราคาขายผลิตภัณฑทเี่ พิม่ สูงขึน้ ในขณะทีท่ งั้ ป ธุรกิจมี EBITDA เทากับ 12,598 ลานบาท ลดลงรอยละ 44 จากปกอ น ทัง้ นี้ เนือ่ งจาก เงินปนผลรับจากบริษทั รวมลดลง โดยธุรกิจมีกำไรสุทธิในปนี้ เทากับ 6,136 ลานบาท ลดลงรอยละ 64 จากปกอน เนื่องจาก Margin ที่ ลดลง ประกอบกับไดรบั ผลกระทบจากขาดทุนจากมูลคาสินคาคงเหลือ ในไตรมาสที่ 4 ป 2551 และสวนไดเสียในกำไรของบริษัทรวมลดลง อีกทั้งในป 2550 ที่ผานมา ธุรกิจมีกำไรสุทธิภาษีจากการขาย เงินลงทุนในบริษัทอะโรเมติกส (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) (ATC) ประมาณ 3,150 ลานบาท ธุรกิจกระดาษ (SCG Paper) ในป 2551 ยอดขายสุทธิของธุรกิจกระดาษ (SCG Paper) เทากับ 47,110 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 7 จากปกอ น จากราคาขาย ผลิตภัณฑที่เพิ่มสูงขึ้นในชวงครึ่งปแรก และปริมาณการขาย ของกระดาษพิมพเขียนทีเ่ พิม่ ขึน้ ในขณะทีท่ งั้ ป ธุรกิจมี EBITDA เทากับ 6,660 ลานบาท ลดลงรอยละ 16 จากปกอ น และมีกำไรสุทธิเทากับ 1,658 ลานบาท ลดลงรอยละ 30 จากปกอ น เนือ่ งจากตนทุนวัตถุดบิ ทีเ่ พิม่ ขึน้ และขาดทุนจากมูลคาสินคาคงเหลือ

มาจากราคาสงออกที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่ทั้งป ธุรกิจมี EBITDA เทากับ 11,272 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 11 จากปกอ น เนือ่ งจากสามารถ ประหยัดตนทุนพลังงานไดจากโครงการ Waste-Heat Power Generation ทั้งนี้ ธุรกิจมีกำไรสุทธิ เทากับ 6,006 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 10 จากปกอน ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง (SCG Building Materials) ในป 2551 ยอดขายสุทธิของธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง (SCG Building Materials) เทากับ 23,351 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 10 จากปกอน เนื่องจากการนำผลการดำเนินงานของบริษัทไทยเยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน) (TGCI) มาจัดทำ งบการเงินรวมตั้งแตไตรมาสที่ 3 ของป 2551 โดยในป 2551 ธุรกิจ มี EBITDA เทากับ 4,085 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 4 จากปกอน ในขณะที่ธุรกิจมีกำไรสุทธิ เทากับ 778 ลานบาท ลดลงรอยละ 18 จากปกอน เนื่องจากตนทุนพลังงานที่เพิ่มขึ้นในชวง 9 เดือนแรก ของป 2551 ธุรกิจจัดจำหนาย (SCG Distribution) ในป 2551 ยอดขายสุทธิของธุรกิจจัดจำหนาย (SCG Distribution) เทากับ 102,672 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 19 จากปกอ น เนือ่ งจาก กิจกรรมการคาทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ในชวง 9 เดือนแรกของป 2551 ในขณะที่ ทั้งป ธุรกิจมี EBITDA เทากับ 1,739 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 10 จากปกอ น และมีกำไรสุทธิ เทากับ 1,211 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 29 จากปกอน

3. ฐานะการเงิน สินทรัพย เอสซีจมี สี นิ ทรัพยรวม ณ 31 ธันวาคม 2551 เทากับ 285,776 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 15 จากปกอน โดยสินทรัพยสวนใหญเปน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และเงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีสวนไดเสีย ซึ่งคิดเปนรอยละ 48 และ 17 ของสินทรัพยทั้งหมดตามลำดับ ทั้งนี้ กลุมธุรกิจที่มีสินทรัพยรวมมากที่สุด ไดแก ธุรกิจเคมีภัณฑ (SCG Chemicals) ธุรกิจซิเมนต (SCG Cement) และธุรกิจกระดาษ (SCG Paper) ตามลำดับ สินทรัพยหมุนเวียน: ณ สิ้นป 2551 เทากับ 83,826 ลานบาท เพิ่ ม ขึ้ น ร อ ยละ 7 จากป ก อ น โดยส ว นใหญ เ ป น สิ น ค า คงเหลื อ รอยละ 36 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดรอยละ 32 หรือ เทากับ 26,714 ลานบาท และลูกหนีแ้ ละตัว๋ เงินรับการคารอยละ 23 ทั้งนี้ เอสซีจีไดตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำหรับลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ไวแลว จำนวน 1,009 ลานบาท ซึง่ เปน ไปตามนโยบายการบัญชีของการตัง้ คาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของกลุม บริษทั ซึ่งคาดวาเพียงพอแลว นอกจากนี้ ลูกหนี้การคาที่คางชำระเกิน วันครบกำหนดชำระของเอสซีจีไดมีการค้ำประกันโดยสถาบัน การเงินในวงเงินจำนวน 408 ลานบาท

ธุรกิจซิเมนต (SCG Cement) ในป 2551 ยอดขายสุทธิของธุรกิจซิเมนต (SCG Cement) เทากับ 49,999 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 13 จากปกอน ซึ่งเปนผล

117


ที่ดิน อาคารและอุปกรณ: ณ สิ้นป 2551 เทากับ 137,261 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 26 จากปกอ น ทัง้ นี้ เนือ่ งจากในระหวางป เอสซีจไี ดมกี ารซือ้ ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณเพิม่ ขึน้ 38,393 ลานบาท ซึง่ สวนใหญเปนโครงการลงทุนทีอ่ ยูร ะหวางการกอสราง ในขณะที่ คาเสือ่ มราคาของสินทรัพยสำหรับป 2551 เทากับ 11,955 ลานบาท เงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีสวนไดเสีย: ณ สิน้ ป 2551 เทากับ 49,598 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 3,463 ลานบาท หรือรอยละ 8 จากปกอ น เนือ่ งจากรายการสำคัญทีเ่ กิดขึน้ ในระหวางป ดังนี้ • การรับรูสวนแบงกำไรจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย จำนวน 4,669 ลานบาท แตเนื่องจากในระหวางป เอสซีจีมี เงินปนผลรับจากบริษทั รวม จำนวน 4,577 ลานบาท ทำให เงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียเพิ่มขึ้น เทากับ 92 ลานบาท • การลงทุนเพิ่มในหุนทุนตามสัดสวนการถือหุนเดิมใน บริษทั ไทย เอ็มเอ็มเอ จำกัด จำนวน 1,986 ลานบาท และบริษทั สยามเลเทกซสังเคราะห จำกัด จำนวน 1,006 ลานบาท หนี้สิน หนี้สินรวม ณ สิ้นป 2551 เทากับ 174,428 ลานบาท เพิ่มขึ้น รอยละ 25 จากปกอน สวนใหญจากหนี้สินไมหมุนเวียนที่เพิ่มขึ้น 35,723 ลานบาท โดยเพิ่มขึ้นจากหนี้สินระยะยาว 20,278 ลานบาท ซึ่งสาเหตุหลักมาจากการกูยืมเงินของบริษัทยอยเพื่อนำมาลงทุนใน โครงการตางๆ เชน โครงการ Naphtha Cracker แหงที่ 2 ของ ธุรกิจเคมีภัณฑ โครงการโรงงานกระดาษบรรจุภัณฑที่เวียดนาม ของธุรกิจกระดาษ ประกอบกับในระหวางป เอสซีจไี ดออกหุน กูช ดุ ใหม จำนวน 40,000 ลานบาท เพื่อทดแทนหุนกูชุดเดิมที่ครบกำหนด ไถถอนจำนวน 25,000 ลานบาท ทั้งนี้ สถานะหนี้สินสุทธิ (หนี้สิน ทีม่ ีภาระดอกเบี้ยหักดวยเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด) ของ เอสซีจี ณ สิ้นป 2551 เทากับ 120,521 ลานบาท เพิ่มขึ้น 20,607 ลานบาท เมือ่ เทียบกับ ณ สิน้ ป 2550 และมีดอกเบีย้ จายและคาใชจา ย ทางการเงิน เทากับ 6,089 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากปกอ น 815 ลานบาท ในป 2551 เอสซีจมี อี ตั ราสวนสภาพคลองอยูท รี่ ะดับ 1.3 เทา ใน ขณะทีม่ อี ตั ราสวนหนีส้ นิ สุทธิตอ กระแสเงินสดทีไ่ ดจากการดำเนินงาน (EBITDA) อยูท ี่ 3.1 และอัตราสวนหนีส้ นิ ตอสวนของผูถ อื หุน เทากับ 1.6 เทา เพิม่ ขึน้ จากปกอ นซึง่ อยูท ี่ 1.3 เทา สาเหตุหลักเกิดจากหนีส้ นิ ของโครงการลงทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ ทัง้ นี้ อัตราสวนดังกลาวยังคงอยูใ นระดับต่ำ สะทอนใหเห็นถึงโครงสรางทางการเงินที่ดีของเอสซีจี โดยหนี้สิน สุทธิของเอสซีจี จำนวน 120,521 ลานบาท ไดรวมหนี้สินของ โครงการลงทุนที่อยูในระหวางการกอสรางหลายโครงการประมาณ 29,100 ลานบาท ดังนั้น หากไมรวมหนีส้ นิ ของโครงการลงทุนทีอ่ ยู ในระหวางการกอสรางดังกลาว หนี้สินสุทธิของเอสซีจีจะลดลงอยูที่ ประมาณ 91,400 ลานบาท และอัตราสวนหนีส้ นิ สุทธิตอ EBITDA อยูท รี่ ะดับ 2.4 เทา จากฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงานในป 2551 คณะ กรรมการบริษัทมีมติใหเสนอที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนเพือ่ อนุมตั ิ การจายเงินปนผลสำหรับป 2551 ในอัตราหุน ละ 7.50 บาท ซึง่ คิด เปนอัตรารอยละ 54 ของกำไรสุทธิจากงบการเงินรวม ทั้งนี้ บริษัทได จายเปนเงินปนผลระหวางกาลไปแลว ในอัตราหุนละ 5.50 บาท

118

2. นโยบายการบริหารและจัดการความเสี่ยง และปจจัย ความเสี่ยง

นโยบายการประเมินการบริหารความเสี่ยง การดำเนินธุรกิจในป 2551 ตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง อยางรุนแรงทั้งปจจัยภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะภาวะ เศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาหลังจากการลมละลายและการขาดทุน ของสถาบันการเงิน สงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจโลกเปนวงกวาง ความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น การลดลงของราคาน้ำมัน เนือ่ งจาก ไมมีตลาดรองรับน้ำมันที่กลั่นออกมา ความตึงเครียดทางการเมือง และปญหาชายแดนภาคใตและกัมพูชา ยังเปนปญหาสำคัญทีก่ อ ใหเกิด ภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว เพื่อใหเอสซีจีดำเนินธุรกิจไดอยางมั่นคง รักษาความเปนผูน ำ และเปนแบบอยางทีด่ ใี หกบั สังคม ฝายจัดการจึงได นำแนวคิดการประเมินความเสี่ยงเพื่อกอใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainable Development) มาใช โดยกลุมธุรกิจตองประเมิน ความเสีย่ งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอม เปนประจำอยางนอย ปละครั้ง กำหนดมาตรการในการจัดการความเสีย่ งใหอยูใ นระดับที่ ยอมรับได ติดตามความมีประสิทธิผลของมาตรการจัดการความเสีย่ ง รวมทัง้ การสรางสัญญาณเตือนภัยทีเ่ หมาะสม และปรับปรุงใหเหมาะสม ตามสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป

ปจจัยความเสี่ยง เอสซีจมี กี ารบริหารความเสีย่ งอยางเปนระบบ โดยมีการรายงาน ใหฝายจัดการ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท ทราบทุกไตรมาส ซึง่ ฝายจัดการของแตละกลุม ธุรกิจจะติดตาม และ จัดการความเสีย่ งทีม่ นี ยั สำคัญอยางใกลชดิ เพือ่ ใหความเสีย่ งเหลานัน้ อยูในระดับที่ยอมรับได ปจจัยความเสี่ยงที่สำคัญในปนี้ ไดแก 1. ความเสี่ยงจากการแขงขัน เอสซีจี เคมิคอลส เอสซีจี ซิเมนต และเอสซีจี ผลิตภัณฑ กอสรางไดรับผลกระทบจากการชะลอตัวของภาวะเศรษฐกิจ การบริโภคที่ลดลง การแขงขันภายในอุตสาหกรรมที่รุนแรงขึ้น ทัง้ ในเรือ่ งของราคาขาย ตนทุน และการใหบริการ ทุกกลุม ธุรกิจ จึงตองปรับตัวเพือ่ ตอบสนองกับการแขงขันทีเ่ พิม่ ขึน้ ฝายจัดการ เตรียมมาตรการรองรับ ดังนี้ • เอสซีจี เคมิคอลส มุงพัฒนาสินคาที่มีมูลคาเพิ่มสูง (High Value-added Product) และเพิ่มประเภทสินคา ใหหลากหลายเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาได มากขึ้น รวมถึงไดคิดคนนวัตกรรมดานการบริการและ ขยายเครือขายการจัดจำหนายเพือ่ ตอบสนองความตองการ ของลูกคา อีกทั้งยังขยายตลาดไปยังภูมิภาคตางๆ ทั่วโลก เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของตลาด • เอสซีจี ซิเมนต ออกสินคาใหมในชือ่ ซูเปอรซเี มนต เพือ่ รองรับ การขยายตัวของตลาดระดับรอง และรักษาสวนแบง การตลาด อีกทั้งผลักดันการสงออกปูนซีเมนตเพื่อรักษา เสถียรภาพในการผลิต • เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง รักษาสวนแบงตลาดเดิม โดย ผลักดันการขายสินคาทีม่ มี ลู คาเพิม่ สูงและผลักดันการสงออก


2. การปรับตัวสูงขึ้นของราคาวัตถุดิบ น้ำมัน และเชื้อเพลิง • เอสซีจี เปเปอร เศษกระดาษซึ่งเปนวัตถุดิบหลักมีราคา ผันผวน ในชวงตนปราคาปรับสูงขึ้น และลดลงอยางมาก ในชวงปลายป เมื่อตนทุนสินคาลดลง ฝายจัดการจึงได ปรับราคาขายสินคาลง แตตองเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจ ถดถอย ความตองการของตลาดหดตัว และปริมาณ ขายลดลง สงผลใหปริมาณสินคาคงคลังเพิม่ ขึน้ มาก จึงได เพิม่ มาตรการในการบริหารสินคาคงคลัง โดยทำการจัดหา ในปริมาณทีเ่ หมาะสม และบริหารการผลิตทีส่ อดคลองกับ ความตองการของตลาด • เอสซีจี ซิเมนต เนื่องจากราคาถานหินมีการผันผวนอยาง รุนแรงซึ่งสงผลตอตนทุนการผลิต ฝายจัดการของเอสซีจี ซิเมนต จึงไดเตรียมมาตรการรองรับโดยการทำสัญญา ซื้อขายถานหินในชวงระยะเวลาที่เหมาะสม และลงทุน ในโครงการทีส่ ามารถลดตนทุนพลังงาน เชน โครงการติดตัง้ ระบบผลิตกระแสไฟฟาจากลมรอนเหลือใชในกระบวนการ ผลิตปูนซีเมนต (Waste-Heat Power Generation) • เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น ตองประสบปญหาความผันผวนของ ราคาน้ำมันและสินคาวัตถุดิบ จากเดิมที่เคยเพิ่มขึ้น อยางรวดเร็วและตอเนือ่ งในชวงตนปจนถึงกลางป แตกลับ ลดลงในชวงปลายป สงผลใหกลุมธุรกิจตองติดตาม สถานการณอยางใกลชดิ เพือ่ ปรับเปลีย่ นกลยุทธใหสอดคลอง กับสถานการณโลก 3. ความผันผวนของราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ ราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑของปโตรเคมีอางอิงตามราคา ตลาดโลก ซึง่ เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงดานอุปสงคและอุปทานจะสงผล ใหราคาวัตถุดบิ และผลิตภัณฑเปลีย่ นแปลงไปทำใหผลประกอบการ ลดลง ดังนัน้ เอสซีจี เคมิคอลสจงึ ไดมมี าตรการเพือ่ รองรับความ ผันผวนของราคาดังกลาว โดยในสวนของวัตถุดบิ สามารถเลือก ใชวัตถุดิบใหเหมาะสมกับสภาวการณ โดยทำใหมีตนทุนที่ สามารถแขงขันได (Feedstock Flexibility) สวนดานผลิตภัณฑ ไดเพิม่ สัดสวนการขายสินคาทีม่ มี ลู คาเพิม่ สูง ซึง่ มีกำไรทีส่ งู กวา ประกอบกับมีการขยายตลาดไปยังภูมิภาคตางๆ ทั่วโลก และ มุง เนนการขายสินคาไปยังกลุม ลูกคาทีใ่ หผลตอบแทนทีด่ กี วาได 4. ความตองการของสินคาลดลง • เอสซีจี เปเปอร ไดรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจใน ตลาดโลก สงผลใหความตองการสินคาลดลงเปนอยางมาก การผลักดันการขายทำไดยาก ฝายจัดการพยายามผลักดัน การขายสินคาทั้งในตลาดเดิมและขยายการสงออกสูตลาด ใหม บริหารการผลิตใหเหมาะสมกับความตองการสินคา ที่ผันผวน รักษาระดับสินคาคงคลังใหเหมาะสม และพยุง ราคาขายใหลดลงอยางคอยเปนคอยไป • เอสซีจี ซิเมนต ตองประสบกับปริมาณอุปสงคที่ลดลงอยาง มาก เนื่องจากภาวะการชะลอตัวของโครงการกอสราง ที่อยูอาศัยและโครงการของรัฐ การผลักดันการสงออก ปูนซีเมนต จึงเปนกลยุทธที่สำคัญประการหนึ่งในการรักษา ระดับการผลิตใหคงที่

• เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง จากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว สงผลใหตลาดวัสดุกอสรางหดตัว ความตองการสินคาของ ผูบ ริโภคลดลง ประกอบกับสินคาบางประเภทเปนสินคาแฟชัน่ ดังนั้น การพัฒนาผลิตภัณฑใหมจงึ เปนทางเลือกหนึง่ ซึง่ ชวยเพิม่ รายไดใหกับธุรกิจ ฝายจัดการไดนำแนวคิดเรื่องนวัตกรรม มาใชในการบริหาร ทัง้ นวัตกรรมเกีย่ วกับตัวสินคา การพัฒนา การผลิต และการใหบริการ นอกจากนี้ ยังมีการผลักดัน การขายสินคาผาน Modern Trade เพิ่มการใหบริการ แบบครบวงจรตั้งแตการออกแบบจนถึงการติดตั้ง และ บริ ห ารลูกคาโดยใชหลักการ Customer Relationship Management (CRM) 5. ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เอสซีจกี ำหนดมาตรการในการบริหารความเสีย่ งจากความ ผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นโดยใชแหลงเงินกูภ ายในประเทศ ในรูปหุน กู และใชเครือ่ งมือทางการเงินอืน่ ไดแก SWAP และ Forward ในการเปลีย่ นภาระหนีส้ กุลตางประเทศมาเปนภาระหนีส้ กุลบาท แทน มีผลทำใหยอดเงินกูสกุลตางประเทศของเอสซีจี ณ สิ้นป 2551 เทากับรอยละ 10 ของยอดเงินกูทั้งหมด สำหรับหนี้สกุล ตางประเทศคงเหลือนั้นเปนหนี้ระยะยาวและหนี้ของบริษัทใน ตางประเทศซึ่งเอสซีจีสามารถปดความเสี่ยงจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลี่ยนโดยการทำ Natural Hedge กับรายได สกุลตางประเทศ 6. ความเสี่ยงจากการบริหารสภาพคลอง ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกนอกจากจะทำใหอปุ สงค ลดลงอยางมากแลว ยังสงผลใหสถาบันการเงินเขมงวดในการ ใหสนิ เชือ่ ทำใหธรุ กิจในประเทศจะมีปญ หาสภาพคลองมากขึน้ เอสซีจีจึงมีความจำเปนจะตองบริหารเงินทุนหมุนเวียนใหอยูใน ระดับทีเ่ หมาะสม โดยการลดปริมาณสินคาคงคลัง การพิจารณา โครงการลงทุนอยางเขมงวด ชะลอโครงการใหมทไี่ มเรงดวน หรือใชระยะเวลายาวนานในการใหผลตอบแทน จัดเตรียมเงินกู ในโครงการที่อยูระหวางดำเนินการกับสถาบันการเงินที่มี ความมั่นคง ซึ่งสงผลใหเอสซีจีลดความเสี่ยงจากสภาพคลอง ลงอยูในระดับที่ยอมรับได

119


3. โครงสรางการถือหุน

ก. ผูถือหุน 10 รายแรก (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551)

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ผูถือหุน สำนักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย บริษัทไทยเอ็นวีดีอาร จำกัด* CHASE NOMINEES LIMITED 42 NORTRUST NOMINEES LTD. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY บริษัททุนลดาวัลย จำกัด** BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES, LUXEMBOUG สำนักงานประกันสังคม สำนักงานพระคลังขางที่ บริษัทแรนเดอรีเบอรามาการ จำกัด

จำนวนหุน 360,000,000 87,520,270 44,865,029 33,444,614 24,144,803 23,202,000 22,834,636 17,510,480 15,473,000 14,810,400

สัดสวน (รอยละ) 30.000 7.293 3.739 2.787 2.012 1.934 1.903 1.459 1.289 1.234

* บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร จำกัด เปนบริษทั ยอยของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทีป่ ระกอบธุรกิจโดยการออกตราสาร Non-Voting Depository Receipt (NVDR) ซึง่ เปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ เพื่อขายใหนักลงทุน และนำเงินที่ไดจากการขาย NVDR ไปลงทุนใน ตลาดหลักทรัพยฯ โดยนักลงทุนที่ถือ NVDR จะไดรับเงินปนผลเสมือนผูถือหุนในบริษัทจดทะเบียน แตไมมีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุน ** บริษัททุนลดาวัลย จำกัด เปนบริษัทที่สำนักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยถือหุน 100% ทั้งนี้ สามารถทราบขอมูลนักลงทุนในบริษัทไทยเอ็นวีดีอาร จำกัด ไดในเว็บไซต www.set.or.th โดย ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2551 มีผูถือ NVDR 10 รายแรกดังนี้

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ผูถือ NVDR STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY GERLACH & CO.-AGF FUNDS INC. AS MANAGER/TRUSTEE NORTRUST NOMINEES LTD. MELLON NOMINEES (UK) LIMITED MELLON BANK, N.A. HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD THE BANK OF NEW YORK (NOMINEES) LIMITED STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR AUSTRALIA CITIBANK NOMINEES SINGAPORE PTE LTD-UBS AG ZURICH SKANDINAVISKA ENSKILDA BANKEN A/S

จำนวนหุน 31,105,839 16,138,915 7,528,490 7,070,860 7,042,600 4,175,603 2,448,300 2,015,300 1,616,600 1,578,400

สัดสวน (รอยละ) 2.59 1.34 0.63 0.59 0.59 0.35 0.20 0.17 0.13 0.13

ข. กลุมผูถือหุนรายใหญที่โดยพฤติการณมีอิทธิพลตอการกำหนดนโยบาย การจัดการ หรือการดำเนินงานของบริษัทอยางมีนัยสำคัญ (ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551) ผูถือหุน 1. สำนักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย 2. บริษัททุนลดาวัลย จำกัด

จำนวนหุน 360,000,000 23,202,000

สัดสวน (รอยละ) 30.000 1.934

ขอจำกัดการถือหุนของบุคคลตางดาว บริษัทมีขอจำกัดการถือหุนของบุคคลตางดาว (Foreign Limit) ไวรอยละ 25 ของทุนชำระแลว โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีบุคคล ตางดาวถือหุนของบริษัทรอยละ 25 ของทุนชำระแลว

120


4. คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวย 1. นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา 2. พล.อ.อ.กำธน สินธวานนท 3. นายเสนาะ อูนากูล 4. นายศิววงศ จังคศิริ 5. นายสุเมธ ตันติเวชกุล 6. นายปรีชา อรรถวิภัชน 7. นายพนัส สิมะเสถียร 8. นายยศ เอื้อชูเกียรติ 9. นายอาสา สารสิน 10. นายชุมพล ณ ลำเลียง 11. นายธารินทร นิมมานเหมินท 12. นายกานต ตระกูลฮุน

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการผูจัดการใหญ

กรรมการที่มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท กรรมการบริษทั 2 คนในจำนวน 5 คน คือ นายเสนาะ อูนากูล หรือนายยศ เอือ้ ชูเกียรติ หรือนายพนัส สิมะเสถียร หรือนายศิววงศ จังคศิริ หรือนายกานต ตระกูลฮุน ลงลายมือชื่อรวมกัน

วาระการดำรงตำแหนงของกรรมการบริษัท ในการประชุมสามัญประจำป กรรมการบริษัทตองออกจาก ตำแหนงจำนวน 1 ใน 3 ถาจำนวนกรรมการบริษัทแบงออกใหตรง เปน 3 สวนไมได ก็ใหออกโดยจำนวนใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 กรรมการบริษัทที่จะตองออกจากตำแหนงนั้ น ให พิ จ ารณาจาก กรรมการบริษัทที่อยูในตำแหนงนานที่สุดเปนผูออกจากตำแหนง อยางไรก็ตาม กรรมการบริษัทที่ออกไปนั้นอาจไดรับเลือกตั้งให ดำรงตำแหนงตอไปอีกได

ขอบเขตหนาที่ของกรรมการบริษัท ใหกรรมการบริษัทมีหนาที่ดังตอไปนี้ 1. บริหารกิจการใหเปนไปเพื่อประโยชนที่ดีที่สุดแกผูถือหุน (Fiduciary Duty) โดยยึดถือแนวปฏิบัติสำคัญ 4 ประการคือ 1.1 การปฏิบัติหนาที่ดวยความรอบคอบระมัดระวัง (Duty of Care) 1.2 การปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความซือ่ สัตยสจุ ริต (Duty of Loyalty) 1.3 การปฏิบัติตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ และมติที่ประชุมผูถือหุน (Duty of Obedience) 1.4 การเปดเผยขอมูลตอผูถอื หุนอยางถูกตอง ครบถวน และโปรงใส (Duty of Disclosure) 2. กำหนดวิสัยทัศน พันธกิจ และนโยบายการดำเนินธุรกิจของ เอสซีจี เพื่อความมั่นคงและผลประโยชนที่สมดุลและยั่งยืน ของทุกฝายทีเ่ กีย่ วของ รวมทัง้ เพิม่ มูลคาของผูถ อื หุน อยางตอเนือ่ ง 3. พิจารณาแผนการดำเนินงาน และพัฒนาขีดความสามารถของ เอสซีจี ใหแขงขันไดในระดับสากล 4. ประเมินผลการดำเนินงานของเอสซีจี และผลการปฏิบัติงาน ของผูบริหารระดับสูง 5. กำกับดูแลและพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยง รวมทั้ง การกำกับดูแลและพัฒนาบรรษัทภิบาลของเอสซีจีเพื่อใหไปสู มาตรฐานที่ยอมรับในระดับสากล

6. อุทิศตนและเวลาโดยไมแสวงหาผลประโยชนแกตนเองหรือ ผูห นึง่ ผูใ ด และไมดำเนินการใดๆ ทีเ่ ปนการขัดแยงหรือแขงขัน กับผลประโยชนของบริษัทหรือเอสซีจี 7. จัดการองคกรใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ และมติ ข องที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น ด ว ยความซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต และ ระมัดระวังรักษาผลประโยชนขององคกร 8. ปฏิบตั ติ ามหลักบรรษัทภิบาลของเอสซีจี และขอพึงปฏิบตั ทิ ดี่ ี สำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน ตามแนวทางของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 9. เปนผูก ำกับดูแลและติดตามการวัดผลการดำเนินงานทัง้ ในระดับ กลุม ธุรกิจ และระดับเอสซีจี โดยกำหนดใหมกี ารรายงานผลการ ดำเนินงานอยางสม่ำเสมอ รวมทัง้ ใหนโยบายเพือ่ การพัฒนาและปรับปรุง การดำเนินงานของธุรกิจ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรของเอสซีจี 10. สงเสริมใหพนักงานทุกระดับมีจติ สำนึกในจริยธรรมและคุณธรรม โดยตระหนักในความสำคัญของระบบควบคุมและตรวจสอบภายใน เพือ่ ลดความเสีย่ งดานการทุจริตและการใชอำนาจอยางไมถกู ตอง รวมทั้งปองกันการกระทำผิดกฎหมาย 11. ดูแลผลประโยชนทั้งของผูถือหุนรายใหญและผูถือหุนสวนนอย ตามสิทธิอยางเปนธรรม นอกจากนี้ ผูถือหุนยังสามารถใชสิทธิ ในการดูแลรักษาผลประโยชนของตนและไดรับขาวสารอยาง ถูกตอง ครบถวน โปรงใส เปดเผย และสามารถตรวจสอบได 12. ตระหนักถึงบทบาทหนาทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั เคารพสิทธิของผูถอื หุน ปฏิบัติตอผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียอื่น อยางเปนธรรม มีความโปรงใสในการดำเนินงาน และมีการเปดเผย ขอมูลอยางถูกตองเพียงพอ 13. ประเมินผลการปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการบริษทั เปนประจำ ทุกป โดยใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานเปน 2 แบบ คือ ประเมินการปฏิบัติงานโดยรวมของคณะกรรมการบริษัท และคณะอนุกรรมการ (As a Whole) และการประเมินตนเอง เปนรายบุคคล (Self Assessment) เพื่อนำผลการประเมินมา พิจารณารวมกันในคณะกรรมการบริษัท 14. เขารวมประชุมคณะกรรมการบริษทั และการประชุมผูถือหุน เวนแตในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย โดยกรรมการบริษัทที่ไมสามารถ เขารวมประชุมจะตองแจงใหประธานกรรมการหรือเลขานุการ คณะกรรมการบริษัททราบลวงหนากอนการประชุม ในการปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการบริษัทอาจขอคำปรึกษา จากที่ ปรึ ก ษาอิ ส ระภายนอกหรื อ ผู เ ชี่ ย วชาญในวิ ช าชี พ อื่ นๆ หากเห็นวามีความจำเปนและเหมาะสม

นิยามกรรมการอิสระของบริษัท (ปรับปรุงนิยามกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2551) กรรมการอิสระตองเปนกรรมการทีเ่ ปนอิสระจากผูถ อื หุน รายใหญ ผูบริหาร และผูเกี่ยวของ โดยตองมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยใหนับรวมหุนที่ถือโดย ผูที่เกี่ยวของกับกรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย 2. ไมเปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจำ ผูมีอำนาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับเดียวกัน 121


(บริษทั พีน่ อ ง) หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแยง ทัง้ ในปจจุบนั และกอนเปนกรรมการอิสระไมนอยกวา 2 ป 3. ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลอื่นที่มีความขัดแยงในลักษณะที่อาจ เปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตนทั้งใน ปจจุบันและกอนเปนกรรมการอิสระไมนอยกวา 2 ป ดังนี้ 3.1 ไมเปนผูส อบบัญชี ทัง้ นี้ ใหรวมถึงการไมเปนผูถ อื หุน รายใหญ กรรมการทีไ่ มใชกรรมการอิสระ ผูบ ริหาร หรือ หุน สวนผูจ ดั การของสำนักงานสอบบัญชีตน สังกัด 3.2 ไมเปนผูใ หบริการทางวิชาชีพอืน่ ๆ เชน ทีป่ รึกษา กฎหมาย ทีป่ รึกษาทางการเงิน ผูป ระเมินราคาทรัพยสนิ เปนตน ทีม่ มี ลู คาการใหบริการทางวิชาชีพอืน่ เกินกวา 2 ลานบาทตอป กับบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแยง ทัง้ นี้ ใหรวมถึงการ ไมเปนผูถ อื หุน รายใหญ กรรมการทีไ่ มใชกรรมการอิสระ ผูบ ริหาร หรือหุน สวนผูจ ดั การของผูใ หบริการวิชาชีพอืน่ ๆ 3.3 ไมไดรบั ประโยชนทงั้ ทางตรงและทางออม หรือมีสว น ไดเสีย จากการทำธุรกรรมทางการคาหรือธุรกิจ ไดแก รายการทีเ่ ปนธุรกิจปกติ รายการเชาหรือใหเชาอสังหา ริมทรัพย รายการเกีย่ วกับสินทรัพยหรือบริการ หรือ รายการใหความชวยเหลือทางการเงิน กับบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ทีม่ มี ลู คาตัง้ แต 20 ลานบาท หรือ ตัง้ แตรอ ยละ 3 ของสินทรัพยทมี่ ตี วั ตนสุทธิของบริษทั แลวแตจำนวนใดจะต่ำกวา โดยใหนบั รวมมูลคารายการ ในระหวาง 1 ป กอนวันทีม่ คี วามสัมพันธทางธุรกิจ ทัง้ นี้ ใหรวมถึงการไมเปนผูถ อื หุน รายใหญ กรรมการทีไ่ มใช กรรมการอิสระ ผูบ ริหาร หรือหุน สวนผูจ ดั การของผูท มี่ ี ความสัมพันธทางธุรกิจดังกลาว 4. ไมมีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตาม กฎหมายในลักษณะที่เปนบิดามารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทัง้ คูส มรสของบุตรกับผูบ ริหาร ผูถ อื หุน รายใหญ ผูม อี ำนาจ ควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อเปนผูบริหาร หรือผูมี อำนาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทยอย 5. ไมเปนกรรมการที่ไดรับแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการ ของบริษัท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูเกี่ยวของกับ ผูถือหุนรายใหญของบริษัท 6. สามารถดูแลผลประโยชนของผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกัน 7. สามารถดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน 8. สามารถเขารวมการประชุมคณะกรรมการของบริษัทเพื่อ ตัดสินใจในเรื่องตางๆ ไดโดยอิสระ 9. ไมเปนบุคคลที่มีชื่ออยูในบัญชีรายชื่อบุคคลที่ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยเห็นวาไมสมควรเปนผูบริหารตามขอบังคับ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 10. ไมเคยตองคำพิพากษาวาไดกระทำความผิดตามกฎหมาย วาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย กฎหมายวาดวยธุรกิจ สถาบันการเงิน กฎหมายวาดวยการประกันชีวติ กฎหมายวาดวย การประกันวินาศภัย กฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปราม การฟอกเงิน หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับธุรกิจการเงินในทำนองเดียวกัน ไมวา จะเปนกฎหมายไทยหรือกฎหมายตางประเทศโดยหนวยงาน ทีม่ อี ำนาจตามกฎหมายนัน้ ทัง้ นี้ ในความผิดเกีย่ วกับการกระทำ อันไมเปนธรรมทีเ่ กีย่ วกับการซือ้ ขายหลักทรัพย หรือการบริหารงาน ที่มีลักษณะเปนการหลอกลวง ฉอฉล หรือทุจริต 122

11. ไมมลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระ เกี่ยวกับการดำเนินงานของบริษัท 12. หากมีคณุ สมบัตติ ามขอ 1-11 กรรมการอิสระอาจไดรบั มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการดำเนินกิจการของ บริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม บริษทั ยอยลำดับเดียวกัน (บริษทั พีน่ อ ง) หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแยง โดยมีการตัดสินใจ แบบองคคณะ (Collective Decision) ไดโดยไมถอื วากรรมการ อิสระเปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมในการบริหารงาน

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ จำนวน 4 คน ประกอบดวย 1. พล.อ.อ.กำธน สินธวานนท ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายสุเมธ ตันติเวชกุล กรรมการตรวจสอบ 3. นายปรีชา อรรถวิภัชน กรรมการตรวจสอบ 4. นายธารินทร นิมมานเหมินท กรรมการตรวจสอบ

วาระการดำรงตำแหนงของกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบมีวาระอยูในตำแหนงคราวละ 3 ป เมื่อครบกำหนดออกตามวาระก็อาจไดรับการพิจารณาแตงตั้งให ดำรงตำแหนงตอไปอีกได

ขอบเขตหนาที่ของกรรมการตรวจสอบ ใหกรรมการตรวจสอบมีหนาที่ดังตอไปนี้ 1. สอบทานใหมีระบบรายงานทางการเงินและการเปดเผยขอมูล ในงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดโดยกฎหมาย อยางโปรงใส ถูกตอง และเพียงพอ 2. สงเสริมใหมีการพัฒนาระบบรายงานทางการเงินใหทัดเทียม กับมาตรฐานบัญชีสากล 3. สอบทานใหบริษทั มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและ มีประสิทธิผลตามวิธีการและมาตรฐานสากลที่ยอมรับโดยทั่วไป 4. สอบทานใหมรี ะบบงานเชิงปองกันและเปนประโยชนกบั หนวยงาน เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบตั งิ านใหดยี งิ่ ขึน้ 5. สอบทานระบบการบริหารความเสี่ยงขององคกร 6. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพยและกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจของบริษทั 7. สอบทานสรุปผลตรวจสอบทุจริตและกำหนดมาตรการปองกัน ภายในองคกร 8. สอบทานความถูกตองและประสิทธิผลของระบบเทคโนโลยี สารสนเทศทีเ่ กีย่ วของกับการควบคุมภายใน รายงานทางการเงิน การบริหารความเสีย่ ง และเสนอแนะการปรับปรุงใหทนั สมัยอยูเ สมอ 9. พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมายและขอกำหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 10. สอบทานใหกรรมการตรวจสอบมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบโดยรวมและการประเมินผล การปฏิบัติงานของตนเองเปนประจำทุกป 11. สอบทานและใหความเห็นในการปฏิบัติงานของสำนักงาน ตรวจสอบและประสานงานกับผูสอบบัญชี 12. จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดเผยไว ในรายงานประจำปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตองลงนาม


โดยประธานกรรมการตรวจสอบ และมีความเห็นในเรื่อง ตางๆ ตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 13. พิจารณาคัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระ เพื่อทำหนาทีผ่ สู อบบัญชีของบริษทั รวมทัง้ เสนอคาตอบแทน ของผูส อบบัญชีของบริษทั และประเมินประสิทธิภาพการทำงาน ของผูสอบบัญชี 14. จัดใหมีการประชุมรวมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการ เขารวมประชุมอยางนอยปละ 1 ครั้ง 15. สอบทานใหมกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านตรวจสอบของ สำนักงานตรวจสอบตามมาตรฐานสากล 16. พิจารณาอนุมตั งิ บประมาณและกำลังพลของสำนักงานตรวจสอบ 17. ใหความเห็นชอบในการแตงตั้ง ถอดถอน โยกยาย หรือ เลิกจางผูอำนวยการสำนักงานตรวจสอบ 18. พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน โดยพิจารณา จากการปฏิบตั หิ นาทีแ่ ละรายงานตางๆ รวมทัง้ สายการบังคับบัญชา 19. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดหรือคณะกรรมการ บริษัทจะมอบหมาย ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอำนาจหนาที่ ใหคณะกรรมการ ตรวจสอบมีอำนาจเรียก สั่งการใหฝายจัดการ หัวหนาหนวยงาน หรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวของมาใหความเห็น รวมประชุมหรือ สงเอกสารตามที่เห็นวาเกี่ยวของจำเปน รวมทั้งแสวงหาความเห็น ที่เปนอิสระจากที่ปรึกษาทางวิชาชีพอื่นใดเมื่อเห็นวาจำเปนดวย คาใชจายของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบัติงานภายในขอบเขตอำนาจ หนาที่และความรับผิดชอบตามคำสั่งของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบการดำเนินงานของบริษัท โดยตรงตอผูถือหุน ผูมีสวนไดเสีย และบุคคลทั่วไป

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. หลังจากคณะกรรมการตรวจสอบไดรับทราบกรณีที่ผูสอบบัญชี พบพฤติการณอันควรสงสัยวากรรมการ ผูจัดการ หรือบุคคล ซึง่ รับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัทกระทำความผิดตาม พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย มาตรา 281/2 วรรคสอง มาตรา 305 มาตรา 306 มาตรา 308 มาตรา 309 มาตรา 310 มาตรา 311 มาตรา 312 หรือมาตรา 313 ใหคณะกรรมการตรวจสอบดำเนินการตรวจสอบและรายงาน ผลการตรวจสอบในเบือ้ งตน ใหสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยและผูสอบบัญชีทราบภายใน 30 วันนับแตวันที่ไดรับแจงจากผูสอบบัญชี 2. ในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบหากพบ หรือมีขอสงสัยวามีรายการหรือการกระทำดังตอไปนี้ ซึ่งอาจมี ผลกระทบอยางมีนยั สำคัญตอฐานะการเงินและผลการดำเนินงาน ของบริษทั ใหคณะกรรมการตรวจสอบรายงานตอคณะกรรมการ บริษทั เพือ่ ดำเนินการปรับปรุงแกไขภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นสมควร (1) รายการทีเ่ กิดความขัดแยงทางผลประโยชน (2) การทุจริตหรือมีสงิ่ ผิดปกติหรือมีความบกพรองทีส่ ำคัญ ในระบบควบคุมภายใน (3) การฝาฝนกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ หรือกฎหมายที่ เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท

หากคณะกรรมการบริษทั หรือคณะจัดการไมดำเนินการใหมกี าร แกไขปรับปรุงภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบกำหนด กรรมการ ตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานวามีรายการหรือการกระทำ ดั ง กล า วต อ สำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละ ตลาดหลักทรัพย หรือตลาดหลักทรัพยฯ

คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา จำนวน 5 คน ประกอบดวย 1. นายสุเมธ ตันติเวชกุล ประธานกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา 2. นายเสนาะ อูนากูล กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา 3. นายพนัส สิมะเสถียร กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา 4. นายอาสา สารสิน กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา 5. นายธารินทร นิมมานเหมินท กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา

วาระการดำรงตำแหนงของกรรมการบรรษัทภิบาล และสรรหา กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหามีวาระการดำรงตำแหนง คราวละ 3 ป เมื่อครบกำหนดออกตามวาระก็อาจไดรับแตงตั้งให ดำรงตำแหนงตอไปอีกได

ขอบเขตหนาที่ของกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา ใหกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหามีหนาที่ดังตอไปนี้ ดานบรรษัทภิบาล 1. กำหนดขอบเขตและนโยบายดานบรรษัทภิบาลของเอสซีจี เพื่อ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษัท 2. เสนอแนะแนวปฏิบตั ดิ า นบรรษัทภิบาลของเอสซีจี ตอคณะกรรมการ บริษทั พรอมทัง้ ใหคำแนะนำแกคณะกรรมการบริษทั ในเรือ่ ง เกีย่ วกับบรรษัทภิบาล 3. ติดตามดูแลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทและ คณะจัดการใหเปนไปตามนโยบายดานบรรษัทภิบาลของเอสซีจี 4. พิจารณาทบทวนแนวปฏิบัติดานบรรษัทภิบาลของเอสซีจี โดยเปรี ย บเที ย บกับบริษัทชั้นนำในระดับสากลและเสนอแนะ ตอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ใหมกี ารพิจารณาปรับปรุงใหทนั สมัย อยางตอเนื่อง 5. พิจารณาทบทวนความเปนอิสระของคณะกรรมการบริษัท รวมทัง้ การมีผลประโยชนขดั แยงทีอ่ าจเกิดขึน้ ในการปฏิบตั หิ นาที่ 6. พิจารณาทบทวนความเหมาะสมในการดำรงตำแหนงกรรมการ บริษทั ในกรณีที่มีเหตุการณการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวของกับ คุณสมบัติของกรรมการบริษัท 7. เสนอแนะวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ บริษัทและคณะอนุกรรมการชุดตางๆ รวมทัง้ ติดตามและสรุปผล การประเมินใหคณะกรรมการบริษัททราบ เพื่อนำขอมูลมา พิจารณาปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 8. พิจารณาทบทวนวิธกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการ บริษทั และคณะอนุกรรมการชุดตางๆ เปนประจำทุกป

123


9. รายงานความคืบหนาและผลการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการ บริษัททุกครั้งหลังมีการประชุมคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และสรรหาอยางสม่ำเสมอ 10. พิจารณาทบทวนและเสนอแนะตอคณะกรรมการบริษัทในเรื่อง โครงสราง หนาที่ และความรับผิดชอบ รวมทั้งแนวปฏิบัติ ของคณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการ พิจารณาทบทวน และเสนอแนะหากมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ เกี่ยวกับขอบังคับ (Charter) ของคณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการชุดตางๆ ใหเหมาะสมและมีความทันสมัยอยูเสมอ 11. ปฏิบตั หิ นาทีใ่ นเรือ่ งอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ดานการสรรหากรรมการและผูบริหารระดับสูง 1. กำหนดคุณสมบัติของบุคคลที่จะดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท และกำหนดกระบวนการสรรหากรรมการบริษทั เพือ่ แทนกรรมการ ทีค่ รบวาระ โดยพิจารณาสรรหากรรมการทีม่ คี ณุ สมบัตหิ ลากหลาย ทั้งในดานทักษะ ประสบการณ และความสามารถเฉพาะดาน 2. พิจารณาสรรหาบุคคลผูมีคุณสมบัติเหมาะสมมาดำรงตำแหนง กรรมการบริษัททดแทนกรรมการที่ครบวาระหรือกรณีอื่นๆ เพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษัทและ/หรือที่ประชุมผูถือหุน พิจารณาอนุมัติ 3. จัดทำแผนสืบทอดตำแหนงกรรมการผูจ ดั การใหญ และผูบ ริหาร ระดับสูงของบริษัท เพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณา 4. ปฏิบตั หิ นาทีใ่ นเรือ่ งอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอำนาจหนาที่ใหคณะกรรมการ บรรษัทภิบาลและสรรหามีอำนาจเรียก สั่งการใหฝายจัดการ หัวหนาหนวยงานหรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวของมาใหความเห็น รวมประชุมหรือสงเอกสารที่เห็นวาเกี่ยวของจำเปน นอกจากนั้น ในการปฏิบัติหนาที่ภายใตขอบเขตอำนาจหนาที่ของขอบังคับ คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าลและสรรหาอาจขอคำปรึ ก ษาจาก ที่ปรึกษาอิสระภายนอกหรือผูเ ชีย่ วชาญในวิชาชีพอืน่ ๆ หากเห็นวามี ความจำเปนและเหมาะสมโดยบริษัทจะเปนผูรับผิดชอบในเรื่อง คาใชจายทั้งหมด

คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน จำนวน 3 คน ประกอบดวย 1. นายศิววงศ จังคศิริ ประธานกรรมการพิจารณาผลตอบแทน 2. นายยศ เอื้อชูเกียรติ กรรมการพิจารณาผลตอบแทน 3. นายชุมพล ณ ลำเลียง กรรมการพิจารณาผลตอบแทน

วาระการดำรงตำแหนงของกรรมการ พิจารณาผลตอบแทน กรรมการพิจารณาผลตอบแทนมีวาระการดำรงตำแหนง คราวละ 3 ป เมือ่ ครบกำหนดออกตามวาระก็อาจไดรับแตงตั้งให ดำรงตำแหนงตอไปอีกได

ขอบเขตหนาที่ของกรรมการพิจารณาผลตอบแทน ใหกรรมการพิจารณาผลตอบแทนมีหนาที่ดังตอไปนี้ 1. เสนอแนวทางและวิธกี ารจายคาตอบแทนใหแกคณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการชุดตางๆ ทีค่ ณะกรรมการบริษัทแตงตั้ง ซึง่ รวมถึงโบนัสประจำป และเบี้ยประชุม

124

2. เสนอนโยบายการพิจารณาคาตอบแทนใหแกคณะจัดการเอสซีจี (Management Incentive) ซึง่ รวมถึงเงินเดือน โบนัสประจำป โดยใหสอดคลองกับผลการดำเนินงานของบริษทั และผลการปฏิบตั งิ าน ของคณะจัดการเปนรายบุคคล ในกรณีที่เห็นสมควรใหวาจาง บริษัทที่ปรึกษาเพื่อใหคำแนะนำการดำเนินโครงการ 3. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการผูจ ดั การใหญ เพือ่ กำหนด คาตอบแทนกอนนำเสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท เปนประจำทุกป 4. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะจัดการเอสซีจเี ปนรายบุคคล ตามขอเสนอของกรรมการผูจ ดั การใหญ เพือ่ กำหนดคาตอบแทน กอนนำเสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเปนประจำทุกป 5. พิจารณางบประมาณการขึ้นคาจาง การเปลี่ยนแปลงคาจาง และผลตอบแทน เงินรางวัลประจำปของคณะจัดการกอนเสนอ คณะกรรมการบริษัท 6. พิจารณาทบทวน ศึกษา ติดตามความเปลีย่ นแปลงและแนวโนม ในเรือ่ งผลตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั รวมทัง้ ฝายจัดการ อยางสม่ำเสมอ เพือ่ นำเสนอคณะกรรมการบริษทั อนุมตั ิ 7. พิจารณาการจายคาตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและ ฝายจัดการ เปรียบเทียบกับบริษทั จดทะเบียนชัน้ นำอืน่ ๆ ทีม่ กี าร ประกอบธุรกิจอยางเดียวกัน เพื่อใหเอสซีจีรักษาความเปนผูนำ ในตลาดธุรกิจอุตสาหกรรมนัน้ ๆ และเพือ่ เปนการสรางแรงจูงใจ ในการบริหารงานใหเจริญกาวหนา 8. รายงานความคืบหนาและผลการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการ บริษทั ทุกครัง้ หลังมีการประชุมคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน อยางสม่ำเสมอ 9. ประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการพิจารณา ผลตอบแทนและรายงานผลการประเมินใหคณะกรรมการ บริษัททราบ 10. พิจารณาทบทวนและเสนอแนะหากมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ เกี่ยวกับขอบังคับ (Charter) ของคณะกรรมการพิจารณา ผลตอบแทนตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติปรับปรุง ใหเหมาะสมและมีความทันสมัยอยูเสมอ 11. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอำนาจหนาที่ใหคณะกรรมการ พิจารณาผลตอบแทนมีอำนาจเรียก สั่งการใหฝายจัดการ หัวหนา หนวยงานหรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวของมาใหความเห็น รวมประชุมหรือสงเอกสารที่เห็นวาเกี่ยวของจำเปน นอกจากนั้น ในการปฏิบตั หิ นาทีภ่ ายใตขอบเขตอำนาจหนาทีข่ องขอบังคับฉบับนี้ คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนอาจขอคำปรึกษาจากที่ปรึกษา อิสระภายนอกหรือผูเ ชีย่ วชาญในวิชาชีพอืน่ ๆ หากเห็นวามีความจำเปน และเหมาะสมโดยบริษทั จะเปนผูร บั ผิดชอบในเรือ่ งคาใชจา ยทัง้ หมด คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ทั้ง 12 คน ไมมีคุณสมบัติตองหามดังนี้ 1. ไมมปี ระวัตกิ ารกระทำความผิดอาญาในความผิดทีเ่ กีย่ วกับทรัพย ซึ่งไดกระทำโดยทุจริต 2. ไมมปี ระวัตกิ ารทำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน กับเอสซีจีในรอบปที่ผานมา


นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา อายุ 66 ป ตำแหนงในบริษัท ประธานกรรมการ การศึกษา 2507 ปริญญาตรี เกียรตินิยม เศรษฐศาสตร University of London ประเทศอังกฤษ 2514 ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร Australian National University ประเทศออสเตรเลีย การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2544 Chairman 2000 Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2519-2522 คณบดี คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 2526-2528 รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงอุตสาหกรรม 2528 รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม 2529 รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 2541-2542 ประธานกรรมการ บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) 2541-2550 นายกกรรมการ ธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2530 ผูอ ำนวยการ สำนักงานทรัพยสนิ สวนพระมหากษัตริย ตั้งแต 2530 รองเลขาธิการพระราชวัง สำนักพระราชวัง ตั้งแต 2530 ประธานกรรมการ บริษัทเทเวศประกันภัย จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2541 นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ตั้งแต 2550 กรรมการธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน)

พลอากาศเอกกำธน สินธวานนท อายุ 82 ป เปนกรรมการที่มีคุณสมบัติเปนกรรมการอิสระ ตำแหนงในบริษัท กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ การศึกษา 2490 วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาไฟฟา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2531 วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 2531 วิศวกรรมไฟฟาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2532 วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2532 วิศวกรรมไฟฟาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2541 วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยสยาม 2543 รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 2550 ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ Southeast Bangkok College การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2544 Chairman 2000 Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

2547 2547 2549

Finance for Non-Finance Directors สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Directors Accreditation Program (DAP) 18/2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ประสบการณ 2516-2518 2524-2530 2528-2530 2528-2538 2533-2536

สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ สมาชิกวุฒิสภา ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ประธานกรรมการมูลนิธิสวนหลวง ร.๙ นายกวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2520 รองประธานมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ในพระบรมราชูปถัมถ ตั้งแต 2529 ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการอำนวยการ สถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย ตั้งแต 2530 รองประธานมูลนิธิสายใจไทยในพระบรมราชูปถัมภ ตั้งแต 2530 องคมนตรี ตั้งแต 2532 ประธานกรรมการมูลนิธิเพื่อสถาบันปโตรเลียม แหงประเทศไทย ตั้งแต 2537 รองประธานมูลนิธิโครงการหลวง ตั้งแต 2546 ประธานมูลนิธิพระดาบส ตั้งแต 2546 ประธานมูลนิธิประชาธิปก-รำไพพรรณี ตั้งแต 2547 ประธานกรรมการ โครงการทุนเลาเรียนหลวงสำหรับพระสงฆไทย ตั้งแต 2548 ประธานกรรมการมูลนิธิสวนหลวง ร.๙

นายเสนาะ อูนากูล อายุ 77 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา การศึกษา 2494 ประกาศนียบัตรการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2497 ปริญญาตรี สาขาการพาณิชย University of Melbourne ประเทศออสเตรเลีย 2500 ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร Columbia University ประเทศสหรัฐอเมริกา 2504 ปริญญาเอก สาขาเศรษฐศาสตร Columbia University ประเทศสหรัฐอเมริกา 2527 เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2528 พาณิชยศาสตรและการบัญชีดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2531 สังคมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2532 เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2534 เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยบูรพา 125


2534

เศรษฐศาสตรการพัฒนาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 2541 เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยขอนแกน การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Advanced Director Program “Board’s Failure and How to Fix It” สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2548 Directors Accreditation Program (DAP) 32/2005 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2515-2518, สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ 2520-2522 2516-2517 รองปลัดกระทรวงพาณิชย 2517-2518 เลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ 2518-2522 ผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย 2523-2532 เลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ 2524-2534 สมาชิกวุฒิสภา 2534-2535 ประธานสภามหาวิทยาลัยบูรพา 2534-2535 รองนายกรัฐมนตรี 2535-2538 ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร ธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2527 ประธานกรรมการ มูลนิธิสถาบันวิจัย เพื่อการพัฒนาประเทศไทย ตั้งแต 2535 กรรมการ บริษัทโดล (ไทยแลนด) จำกัด ตั้งแต 2536 กรรมการทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ตั้งแต 2549 กรรมการ บริษัททุนลดาวัลย จำกัด

2549 2550 ประสบการณ 2516-2518, 2534-2535 2532-2539 2533-2534 2537-2540 2538-2540, 2542-2544 2542-2544 2544-2550

Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย DCP Refresher Course 4/2007 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม วุฒสิ มาชิก ประธานกรรมการ การปโตรเลียมแหงประเทศไทย ประธานกรรมการ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

ประธานกรรมการ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบ บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2531 กรรมการ บริษัทไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2532 ประธานกรรมการ คณะกรรมการอำนวยการ สถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย ตั้งแต 2539 กรรมการ มูลนิธิศึกษาพัฒน ตั้งแต 2539 ประธานรวมฝายไทย องคกรรวมไทย-มาเลเซีย ตั้งแต 2546 ประธานกรรมการ บริษัทไทยพาณิชยสามัคคี ประกันภัย จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2547 ประธานกรรมการ บริษัทซียูอีแอล จำกัด ตั้งแต 2548 ประธานกรรมการ อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ ตั้งแต 2549 กรรมการ บริษัททุนลดาวัลย จำกัด ตั้งแต 2549 ประธานกรรมการ บริษัทกัลฟ อิเลคทริค จำกัด ตั้งแต 2549 รองประธานกรรมการ มูลนิธิเพื่อสถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย

นายศิววงศ จังคศิริ อายุ 72 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการ ประธานกรรมการพิจารณาผลตอบแทน การศึกษา 2501 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาเครื่องกล Massachusetts Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา 2503 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สาขาเครื่องกล Massachusetts Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา 2503 ปริญญาโท การจัดการอุตสาหกรรม Massachusetts Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา 2541 วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2544 บทบาทคณะกรรมการในการกำหนดนโยบายคาตอบแทน สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2545 Directors Certification Program (DCP) 18/2002 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 126

นายสุเมธ ตันติเวชกุล อายุ 69 ป เปนกรรมการที่มีคุณสมบัติเปนกรรมการอิสระ ตำแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา การศึกษา 2509 ปริญญาตรี รัฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกรอนอบ ประเทศฝรั่งเศส 2510 ปริญญาโท รัฐศาสตรและกฎหมายระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยมองเปลิเอ ประเทศฝรั่งเศส 2512 ปริญญาเอก รัฐศาสตร มหาวิทยาลัยมองเปลิเอ ประเทศฝรั่งเศส 2525 Diploma Economic Development EDI World Bank Washington D.C. ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2544 พ.ร.บ. ลมละลายและการฟนฟูกิจการ : กรรมการและผูบริหารตองรูอะไร สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย


2544 2546 2546 2549

คณะกรรมการตรวจสอบความคาดหวังที่เพิ่ม และความรับผิดชอบที่ขยาย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย Directors Certification Program (DCP) 30/2003 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Finance for Non-Finance Directors 5/2003 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Audit Committee Program (ACP) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ประสบการณ 2537-2539 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ 2537-2539 กรรมการ ธนาคารแหงประเทศไทย 2537-2544 กรรมการ บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) 2539-2540 กรรมการ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) 2540-2541 ประธานกรรมการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2540-2543 กรรมการ ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2531 กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิชัยพัฒนา ตั้งแต 2544 กรรมการ สภามหาวิทยาลัยบูรพา ตั้งแต 2546 ประธานคณะกรรมการ บริษัทหลักทรัพย จัดการกองทุนไทยพาณิชย จำกัด ตั้งแต 2547 ประธานมูลนิธิประเทศไทยใสสะอาด ตั้งแต 2548 นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2543-2546 ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ บริษัทปโตรเคมีแหงชาติ จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2536 กรรมการ H.C. Starck Co., Ltd. ตั้งแต 2542 กรรมการ อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ ตั้งแต 2543 ประธานกรรมการ บริษัทรวมกิจอางทองคลังสินคา จำกัด ตั้งแต 2543 ประธานกรรมการ บริษัทแพน-เปเปอร จำกัด ตั้งแต 2544 ผูชำนาญการพิเศษระดับวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ สภาวิศวกร ตั้งแต 2544 ประธานกรรมการ บริษัทชัยนันทบางพลีพารคแลนด จำกัด ตั้งแต 2545 กรรมการพิจารณารางกฎหมาย กระทรวงแรงงาน ตั้งแต 2546 ประธานกรรมการ บริษัทสยาม พี.พี. อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด ตั้งแต 2546 ประธานกรรมการ บริษัททุงคาฮาเบอร จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2547 ประธานคณะกรรมการ บริษทั เอกรัฐพัฒนา จำกัด ตั้งแต 2547 กรรมการวิชาการระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย สมาคมวิศวกรรมสถาน แหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ ตั้งแต 2547 กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัทไทยรุงยูเนียนคาร จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2551 ประธานกรรมการ บริษัทไทยชูการ เทอรมิเนิ้ล จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2551 ประธานกรรมการ บริษัทน้ำตาลเกษตรไทย จำกัด

นายปรีชา อรรถวิภัชน อายุ 70 ป เปนกรรมการที่มีคุณสมบัติเปนกรรมการอิสระ ตำแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการตรวจสอบ การศึกษา 2503 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาอุตสาหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2507 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร (Industrial Engineering & Management) Oklahoma State University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Directors Certification Program (DCP) 39/2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2547 Finance for Non-Finance Directors สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2549 Audit Committee Program (ACP) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2536-2544 กรรมการ บริษัทปตท. สำรวจและ ผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน) 2539-2542 ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม 2540-2541 ประธานคณะกรรมการ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 2540-2542 ประธานคณะกรรมการ การปโตรเลียมแหงประเทศไทย 2542-2543 ประธานกรรมการ บริษัทปโตรเคมีแหงชาติ จำกัด (มหาชน)

นายพนัส สิมะเสถียร อายุ 76 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา การศึกษา 2494 ประกาศนียบัตร วิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2497 B.A., Cum Laude สาขาบริหารธุรกิจ Claremont Men’s College, California ประเทศสหรัฐอเมริกา 2498 ปริญญาโท วิชาการบัญชี University of Illinois ประเทศสหรัฐอเมริกา 2501 ปริญญาเอก วิชาการบัญชี University of Illinois ประเทศสหรัฐอเมริกา 2527 พาณิชยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2543 Directors Certification Program (DCP) 2/2000 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2544 ธุรกิจครอบครัวกับการกำกับดูแลกิจการที่ดี: วิสัยทัศนสูความสำเร็จที่ยั่งยืน สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2545 Strengthening Corporate Governance Practices in Thailand สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 127


2547 2547 2547 2548

การประชุมผูถือหุน: จัดอยางไร... ใหโปรงใสและไดประโยชน สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Developing CG Policy Statement สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ความเปนอิสระของกรรมการและการจัดการ ความขัดแยงของผลประโยชน สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DCP Refresher Course 1/2005 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ประสบการณ 2525-2535 2525-2535 2535 2536-2538 2537-2549

ประธานกรรมการ ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ปลัดกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย กรรมการ คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย 2539-2549 ประธานกรรมการบริหาร บริษัทสหยูเนี่ยน จำกัด (มหาชน) 2540-2548 รองประธานกรรมการ คณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2535 รองประธานกรรมการและ ประธานกรรมการบริหาร บริษทั สยามพิวรรธน จำกัด ตั้งแต 2543 กรรมการทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ตั้งแต 2546 ประธานกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 12 ตั้งแต 2548 ประธานกรรมการ คณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตั้งแต 2549 รองประธานกรรมการ บริษัทยูเนี่ยนอุตสาหกรรมสิ่งทอ จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2550 รองประธานกรรมการ บริษทั สหยูเนีย่ น จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2550 ประธานกรรมการ บริษัทยูเนี่ยนเทคโนโลยี (2008) จำกัด (มหาชน)

นายยศ เอื้อชูเกียรติ อายุ 66 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการพิจารณาผลตอบแทน การศึกษา 2507 ปริญญาตรี วิศวกรรม สาขาโยธา University College London, London University ประเทศอังกฤษ การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2543 Chairman 2000 Program 1/2000 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2544 บทบาทคณะกรรมการในการกำหนดนโยบายคาตอบแทน สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2511-2517 กรรมการผูจัดการ บริษัทไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จำกัด 2537-2540 ที่ปรึกษาประจำสำนักงานทรัพยสิน สวนพระมหากษัตริย 128

2543-2545 ประธานกรรมการ บริษัทไทยอินดัสเตรียลแกส จำกัด (มหาชน) 2543-2548 กรรมการ บริษัทปโตรเคมีแหงชาติ จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2533 ประธานกรรมการ บริษัทไทยพลาสติก และเคมีภัณฑ จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2540 ที่ปรึกษาการเงินและการลงทุน สำนักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ตั้งแต 2544 ประธานกรรมการบริหาร บริษัททุนลดาวัลย จำกัด ตั้งแต 2544 ประธานกรรมการ บริษัทวังสินทรัพย จำกัด ตั้งแต 2549 กรรมการ บริษัทไมเนอร อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด (มหาชน)

นายอาสา สารสิน อายุ 72 ป เปนกรรมการที่มีคุณสมบัติเปนกรรมการอิสระ ตำแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา การศึกษา 2502 ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ Boston University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2546 Directors Accreditation Program (DAP) 5/2003 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2547 Finance for Non-Finance Directors สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2550 Audit Committee Program (ACP) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2520-2523 เอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศเบลเยี่ยม และหัวหนาคณะผูแทนไทยประจำประชาคม เศรษฐกิจยุโรป 2523-2525 อธิบดีกรมการเมือง กระทรวงการตางประเทศ 2525-2529 ปลัดกระทรวงการตางประเทศ 2529-2531 เอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศสหรัฐอเมริกา 2534-2535 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ 2537-2547 นายกสมาคมไทย-ลาว 2538-2542 รองประธานกรรมการ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 2540 ประธานการประชุม Asia-Europe Business Forum (AEBF) ครั้งที่ 2 ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2536 ประธานกรรมการ บริษัทไทยเอเชียแปซิฟคบริวเวอรี่ จำกัด ตั้งแต 2539 ประธานกรรมการ บริษัทอมตะ ซิตี้ จำกัด ตั้งแต 2541 ประธานกิตติมศักดิ์ มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษยระหวางประเทศ ตั้งแต 2541 ประธานกรรมการ บริษัทผาแดงอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2541 กรรมการ มูลนิธิสถาบันพัฒนา มันสำปะหลังแหงประเทศไทย ตั้งแต 2542 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัทเจริญโภคภัณฑอาหาร จำกัด (มหาชน)


ตั้งแต 2542 ประธานกรรมการ บริษัทสยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2543 ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2543 ราชเลขาธิการ สำนักราชเลขาธิการ ตั้งแต 2546 กรรมการ บริษัทไทยน้ำทิพย จำกัด ตั้งแต 2547 ประธานกรรมการ อมตะสปริง คันทรี่ คลับ

2540-2544 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง (พ.ย. 2540 - ก.พ. 2544) 2542-2543 ประธานกรรมการ คณะกรรมการพัฒนาธนาคารโลก ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2531 รองประธานมูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ตั้งแต 2535 กรรมการและเหรัญญิก มูลนิธิขาเทียม ตั้งแต 2546 ประธานกรรมการ บริษัทสยามพิวรรธน จำกัด

นายชุมพล ณ ลำเลียง

นายกานต ตระกูลฮุน

อายุ 61 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการพิจารณาผลตอบแทน การศึกษา 2507 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาเครื่องกล University of Washington ประเทศสหรัฐอเมริกา 2510 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2544 Chairman 2000 Program 2/2001 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2536-2548 กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2538 กรรมการ บริษัทโดล (ไทยแลนด) จำกัด ตั้งแต 2547 ประธานกรรมการ บริษัทสิงคโปร เทเลคอมมูนิเคชั่น จำกัด ประเทศสิงคโปร ตั้งแต 2548 กรรมการ British Airways Public Company Limited ตั้งแต 2550 กรรมการ ธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน)

อายุ 53 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ การศึกษา 2520 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา เกียรตินิยมอันดับ 1 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2529 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สาขาเซรามิค The Georgia Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา 2529 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ The Georgia Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา 2544 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2546 Directors Certification Program (DCP) 29/2003 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2542-2545 กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทเซรามิคซิเมนตไทย จำกัด 2546-2547 ผูชวยผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) 2547-2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบนั ดำรงตำแหนงประธานกรรมการและกรรมการ บริษัทในเอสซีจี นอกตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จำนวน 10 บริษัท ตั้งแต 2547 สมาชิก East Asia Council, Insead ตั้งแต 2549 สมาชิก World Business Council for Sustainable Development ตั้งแต 2549 สมาชิก School of Engineering and Technology, Asian Institute of Technology ตั้งแต 2550 สมาชิก Asia Business Council

นายธารินทร นิมมานเหมินท อายุ 63 ป เปนกรรมการที่มีคุณสมบัติเปนกรรมการอิสระ ตำแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา การศึกษา 2511 ปริญญาตรี รัฐพัฒนาศาสตร (เกียรตินิยม) Harvard College ประเทศสหรัฐอเมริกา 2513 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (การเงิน) The Stanford Gradutes School of Business ประเทศสหรัฐอเมริกา ประสบการณ 2527-2535 กรรมการและผูจัดการใหญ ธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) 2534-2535 ประธานสมาคมธนาคารไทย 2535-2538 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง (ก.ย. 2535 - พ.ค. 2538) 2539-2548 สมาชิกสภาผูแทนราษฎร

นายวรพล เจนนภา ตำแหนงในบริษัท เลขานุการคณะกรรมการ

นายอำนวย อภิชัยนันท ตำแหนงในบริษัท เลขานุการบริษัท

129


รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยของกรรมการบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551) บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) หุนสามัญ หุนกู (จำนวนหุน) (จำนวนหนวย)

รายชื่อกรรมการ

1. นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา 2. พล.อ.อ.กำธน สินธวานนท

บริษัทในเครือ หุนสามัญ (จำนวนหุน)

ของตนเอง

คูสมรสหรือ บุตรที่ยังไมบรรลุ นิติภาวะ

เพิ่ม (ลด) ระหวาง รอบปบัญชี

ของตนเอง

เพิ่ม (ลด) ระหวาง รอบปบัญชี

ของตนเอง

เพิ่ม (ลด) ระหวาง รอบปบัญชี

27,000

-

7,000

61,500

10,000

-

-

-

-

98,750*

-

12,000 15,000

1,000 -

-

-

-

-

20,017,780*

-

-

-

40,000*

40,000*

-

(50,000) -

1,000,000* -

-

-

(20,000)

247,300*

147,300*

เพิ่มของตนเอง

3. นายเสนาะ อูนากูล 4. นายศิววงศ จังคศิริ

30,000 104,000

-

5. นายสุเมธ ตันติเวชกุล 6. นายปรีชา อรรถวิภัชน 7. นายพนัส สิมะเสถียร

2,600 100,000

27,500 -

36,000 เพิ่มของตนเอง

-

20,000 เพิ่มของตนเอง

8. นายยศ เอื้อชูเกียรติ

284,000

-

157,000 เพิ่มของตนเอง

9. นายอาสา สารสิน

-

79,500

13,700 เพิ่มของคูสมรส

10. นายชุมพล ณ ลำเลียง 11. นายธารินทร นิมมานเหมินท

1,001,000 -

10,000

10,000 เพิ่มของคูสมรส

12. นายกานต ตระกูลฮุน

-

-

-

หมายเหตุ 1. บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) มีทุนจดทะเบียน 1,600,000,000 บาท ทุนชำระแลว 1,200,000,000 บาท (1,200,000,000 หุน) 2. ตาม พ.ร.บ.บริษัทมหาชนจำกัด คำวา “บริษัทในเครือ” หมายถึง บริษัทมหาชนจำกัดบริษัทหนึ่งซึ่งมีความสัมพันธกับบริษัทเอกชน หรือบริษัทมหาชนจำกัดบริษัทใดบริษัทหนึ่งหรือหลายบริษัทในลักษณะดังตอไปนี้ - บริษัทหนึ่งมีอำนาจควบคุมเกี่ยวกับการแตงตั้งและถอดถอนกรรมการ ซึ่งมีอำนาจจัดการทั้งหมดหรือโดยสวนใหญของอีกบริษัทหนึ่ง - บริษัทหนึ่งถือหุนในอีกบริษัทหนึ่งเกินกวารอยละ 50 ของหุนที่ออกจำหนายแลว 3. ตามหลักเกณฑของ ก.ล.ต. หุนสามัญของบริษัท ที่ถอื โดยกรรมการใหรวมถึงหุนสามัญที่ถือโดยคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะดวย 4. ตามหลักเกณฑ พ.ร.บ.บริษัทมหาชนจำกัด ใหแสดงหุนสามัญและหุนกูของบริษัท และบริษัทในเครือ ที่ถือโดยกรรมการเฉพาะการถือหุนของตนเอง 5. หุนกูบริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) มีมูลคาหนวยละ 1,000 บาท 6.* หุนสามัญบริษัทไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จำกัด (มหาชน)

การเขารวมประชุมของกรรมการบริษัทป 2551 (จำนวนครั้ง) รายชื่อกรรมการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา พล.อ.อ.กำธน สินธวานนท นายเสนาะ อูนากูล นายศิววงศ จังคศิริ นายสุเมธ ตันติเวชกุล นายปรีชา อรรถวิภัชน นายพนัส สิมะเสถียร นายยศ เอื้อชูเกียรติ นายอาสา สารสิน นายชุมพล ณ ลำเลียง นายธารินทร นิมมานเหมินท นายกานต ตระกูลฮุน

คณะกรรมการบริษัท (จำนวน 12 คน) จำนวนการประชุม ทั้งป 10 ครั้ง

10/10 9/10 10/10 9/10 9/10 10/10 10/10 10/10 9/10 10/10 9/10 10/10

หมายเหตุ 1. กรรมการอิสระ จำนวน 5 คน ไดแก ลำดับที่ 2, 5, 6, 9 และ 11 2. คณะกรรมการตรวจสอบ จำนวน 4 คน ไดแก ลำดับที่ 2, 5, 6 และ 11 3. คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา จำนวน 5 คน ไดแก ลำดับที่ 3, 5, 7, 9 และ 11 4. คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน จำนวน 3 คน ไดแก ลำดับที่ 4, 8 และ 10

130

คณะกรรมการตรวจสอบ (จำนวน 4 คน) จำนวนการประชุม ทั้งป 6 ครั้ง

คณะกรรมการ บรรษัทภิบาลและสรรหา (จำนวน 5 คน) จำนวนการประชุม ทั้งป 5 ครั้ง

คณะกรรมการ พิจารณาผลตอบแทน (จำนวน 3 คน) จำนวนการประชุม ทั้งป 7 ครั้ง

6/6 5/5 7/7 5/6 6/6

5/5 5/5 7/7 5/5 7/7

6/6

5/5

ประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2551 (จำนวน 12 คน) เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2551

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1


การเขารวมอบรมหลักสูตรของกรรมการอิสระหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งตามขอเสนอแนะของ ก.ล.ต. ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รายชื่อกรรมการอิสระของบริษัท 1. 2. 3. 4. 5.

พล.อ.อ.กำธน สินธวานนท นายสุเมธ ตันติเวชกุล นายปรีชา อรรถวิภัชน นายอาสา สารสิน นายธารินทร นิมมานเหมินท

หลักสูตรการอบรม Directors Certification Program Directors Accreditation Program Audit Committee Program (DAP) (DCP) (ACP) รุนที่ 18/2004 รุนที่ 30/2003 รุนที่ 11/2006 รุนที่ 39/2004 รุน ที่ 11/2006 รุนที่ 5/2003 รุน ที่ 11/2006 -

5. ผูบริหารระดับสูงของเอสซีจี ผูบริหารระดับสูงของเอสซีจี ประกอบดวย 1. นายกานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี 2. นายรุงโรจน รังสิโยภาส ผูชวยผูจัดการใหญ เอสซีจี 3. นายชลณัฐ ญาณารณพ กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี เคมิคอลส 4. นายเชาวลิต เอกบุตร กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี เปเปอร 5. นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ซิเมนต 6. นายพิชิต ไมพุม กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง 7. นายขจรเดช แสงสุพรรณ กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น 8. นายดำริ ตันชีวะวงศ กรรมการผูจดั การใหญ เอสซีจี การลงทุน

ผูบ ริหารระดับสูงของเอสซีจไี ดรบั มอบหมายอำนาจหนาทีใ่ หดำเนินงาน ภายใตนโยบาย กลยุทธ และเปาหมายที่คณะกรรมการบริษัทกำหนดไว ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ไดอนุมตั กิ ารจัดทำอำนาจดำเนินการในการกำหนด ขอบเขตหนาที่ที่ชัดเจน เพื่อความโปรงใสและมีความคลองตัวในการ ปฏิบัติงานอยางเหมาะสม ผูบริหารระดับสูงทั้ง 8 คน ไมมีคุณสมบัติตองหามดังนี้ 1. ไมมปี ระวัตกิ ารกระทำความผิดอาญาในความผิดทีเ่ กีย่ วกับทรัพย ซึ่งไดกระทำโดยทุจริต 2. ไมมปี ระวัตกิ ารทำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน กับเอสซีจีในรอบปที่ผานมา

นายกานต ตระกูลฮุน อายุ 53 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ การศึกษา 2520 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา เกียรตินิยมอันดับ 1 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2529 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สาขาเซรามิค The Georgia Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา

2529

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ The Georgia Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา 2544 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2546 Directors Certification Program (DCP) 29/2003 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2542-2545 กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทเซรามิคซิเมนตไทย จำกัด 2546-2547 ผูชวยผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) 2547-2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ดำรงตำแหนงประธานกรรมการและกรรมการ บริษัทในเอสซีจี นอกตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จำนวน 10 บริษัท ตั้งแต 2547 สมาชิก East Asia Council, Insead ตั้งแต 2549 สมาชิก World Business Council for Sustainable Development ตั้งแต 2549 สมาชิก School of Engineering and Technology, Asian Institute of Technology ตั้งแต 2550 สมาชิก Asia Business Council

นายรุงโรจน รังสิโยภาส อายุ 45 ป ตำแหนงในบริษัท ผูชวยผูจัดการใหญ การศึกษา 2528 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาเหมืองแร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2530 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สาขาอุตสาหการ University of Texas (Arlington) ประเทศสหรัฐอเมริกา 2536 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา

131


การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Directors Accreditation Program (DAP) 2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2539-2540 Vice President-Production, TileCera Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา 2540-2543 President, TileCera Inc ประเทศสหรัฐอเมริกา 2543-2548 ผูอำนวยการสำนักงานวางแผนกลาง บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2548 กรรมการ บริษัทปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2551 กรรมการ บริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน)

นายชลณัฐ ญาณารณพ อายุ 49 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี เคมิคอลส การศึกษา 2525 Bachelor of Environmental Chemical Engineering เกียรตินิยมอันดับ 2 Salford University, Manchester ประเทศอังกฤษ 2527 Master of Chemical Engineering Imperial College, London ประเทศอังกฤษ 2547 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Directors Accreditation Program (DAP) 2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2538-2548 กรรมการผูจัดการ บริษัทไทยโพลิเอททีลีน จำกัด 2538-2548 กรรมการผูจัดการ บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน จำกัด 2542-2545 กรรมการผูจัดการ บริษัทสยามโพลิโอเลฟนส จำกัด 2545-2547 กรรมการผูจัดการ บริษัทซีซีซี คาเคมีภัณฑ จำกัด 2545-2548 กรรมการผูจัดการ บริษัทซีซีซี โพลิโอเลฟนส จำกัด 2547-2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทเคมีภณั ฑซิเมนตไทย จำกัด 2550-2551 นายกสมาคมวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต แหงประเทศไทย ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ประธานกรรมการในกลุมบริษัท เอสซีจี เคมิคอลส จำนวน 6 บริษัท ตั้งแต 2542 กรรมการในกลุมบริษัท SCG-Dow Joint Ventures จำนวน 5 บริษัท ตั้งแต 2548 กรรมการ บริษัทปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2548 กรรมการ บริษัทไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2549 กรรมการ บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จำกัด ตั้งแต 2549 กรรมการ บริษัทบีเอสที อิลาสโตเมอรส จำกัด ตั้งแต 2549 กรรมการอำนวยการสถาบันปโตรเลียม แหงประเทศไทย ตั้งแต 2552 ที่ปรึกษาสมาคมวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต แหงประเทศไทย 132

นายเชาวลิต เอกบุตร อายุ 50 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี เปเปอร การศึกษา 2523 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาเครื่องกล เกียรตินิยมอันดับ 1 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2525 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สาขาอุตสาหการ และการจัดการ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย 2547 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Directors Accreditation Program (DAP) 2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2550 Directors Certification Program (DCP) 84/2007 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2540-2542 ผูอำนวยการสำนักงานพัฒนาธุรกิจและโครงการ บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) 2542-2545 กรรมการผูจัดการ บริษัทไทยซีอารที จำกัด 2545-2547 กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ผลิตภัณฑกระดาษไทย จำกัด 2547-2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทเยื่อกระดาษสยาม จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2548 ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษัทไทยเคนเปเปอร จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2548 ประธานกรรมการ บริษัทไทยบริติชซีเคียวริตี้ พริ้นติ้ง จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2551 นายกสมาคมอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษไทย

นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล อายุ 56 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ซิเมนต การศึกษา 2518 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาอุตสาหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2546 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา ประสบการณ 2539-2541 กรรมการผูจ ดั การ บริษทั เหล็กสยามยามาโตะ จำกัด 2542-2543 กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทผลิตภัณฑหลังคาซิเมนตไทย จำกัด 2544-2545 ผูชวยผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน)

นายพิชิต ไมพุม อายุ 52 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง การศึกษา 2524 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาเครื่องกล เกียรตินิยมอันดับ 2 สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ


2529 2548

ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สาขาอุตสาหการ และการจัดการ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา

ประสบการณ 2537-2539 หัวหนาสวนผลิต บริษัทสยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จำกัด 2539-2542 ผูจัดการโรงงาน บริษัทสยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จำกัด 2542-2544 ผูจัดการฝายผลิต บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จำกัด 2544-2548 กรรมการผูจัดการ บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จำกัด 2547-2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทผลิตภัณฑกอสรางซิเมนตไทย จำกัด ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2548 ประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการ บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จำกัด ตั้งแต 2551 ประธานกิตติมศักดิ์สภาอุตสาหกรรม กลุมเซรามิค สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ตั้งแต 2551 กรรมการบริษัทและกรรมการบริหาร บริษทั ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน)

นายขจรเดช แสงสุพรรณ อายุ 55 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น การศึกษา 2518 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาโยธา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2545 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2546 Finance for Non-Finance Directors Program 2003 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2547 Directors Accreditation Program (DAP) 2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2539-2544 กรรมการผูจัดการ บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม จำกัด 2542-2548 กรรมการผูจัดการ บริษัทยิปซัมซิเมนตไทย จำกัด 2544-2548 กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทผลิตภัณฑกอสรางซิเมนตไทย จำกัด 2546-2549 กรรมการ บริษัทมิลเลนเนียม สตีล จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2544 รองประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ตั้งแต 2545 กรรมการ บริษัทเซรามิคซิเมนตไทย จำกัด ตั้งแต 2551 ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำกัด (มหาชน)

นายดำริ ตันชีวะวงศ อายุ 55 ป ตำแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี การลงทุน การศึกษา 2519 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2547 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Directors Accreditation Program (DAP) 2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2551 Directors Certification Program (DCP) 106/2008 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2551 Audit Commitee Program (ACP) 24/2008 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2534-2537 หัวหนาสวนผลิต โรงงานทุงสง บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด 2538 หัวหนาสวนผลิต โรงงานแกงคอย บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) 2539-2541 ผูอำนวยการโรงงานทาหลวง บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) 2542-2548 กรรมการผูจัดการ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด 2547-2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทซิเมนตไทยโฮลดิ้ง จำกัด ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2542 กรรมการ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด ตั้งแต 2548 กรรมการ สถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหงประเทศไทย ตั้งแต 2548 กรรมการ บริษัทไทยเคนเปเปอร จำกัด (มหาชน) ตั้งแต 2548 กรรมการ บริษัทโตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จำกัด

ผูดำรงตำแหนงในสายงานบัญชีและการเงิน นายผดุงเดช อินทรลักษณ อายุ 54 ป ตำแหนงในบริษัท ผูอำนวยการสำนักงานการเงิน การศึกษา 2518 ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร การเงินและการคลัง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2521 ปริญญาโท (South-East Asian Studies) University of Kent, Canterbury ประเทศอังกฤษ ประสบการณ 2536-2538 หัวหนาสวนการเงิน บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2550 Indonesian Executive Director, SCG

133


นายอนุวัฒน จงยินดี อายุ 51 ป ตำแหนงในบริษัท ผูอำนวยการฝายบัญชีกลาง การศึกษา 2523 ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2529 ปริญญาโท บัญชีมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประสบการณ 2546 ผูจัดการสำนักงานบัญชี บริษัทเยื่อกระดาษสยาม จำกัด (มหาชน) 2547 ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การ Shared Services Function 2 บริษัทซิเมนตไทยการบัญชี จำกัด ตำแหนงอื่นในปจจุบัน ตั้งแต 2548 กรรมการและประธานอนุกรรมการดานการทำบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ ตั้งแต 2549 อุปนายก 5 และกรรมการฝายตรวจสอบ สมาคมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ตั้งแต 2551 กรรมการคณะกำหนดมาตรฐานการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ 6. การสรรหากรรมการและผูบริหาร

หลักเกณฑและวิธีการสรรหา หลักเกณฑและวิธกี ารคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะแตงตัง้ เปนกรรมการ 1. การเสนอชื่อบุคคลใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งเปนกรรมการ แทนกรรมการทีค่ รบรอบออกตามวาระ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และสรรหาจะเปนผูสรรหาเพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษัท พิจารณากอนเสนอที่ประชุมผูถือหุน และเปนสิทธิของผูถือหุน ทุกรายอยางเทาเทียมกันที่จะเสนอชื่อบุคคลอื่น สวนอำนาจ ในการพิจารณาเลือกผูใดเปนกรรมการเปนอำนาจของผูถือหุน 2. ในกรณีที่บุคคลผูไดรับการเสนอชื่อเปนกรรมการมีจำนวน ไมเกินกวาจำนวนกรรมการที่จะพึงมีไดในการเลือกตั้งครั้งนั้น ใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการทั้งชุด 3. ในกรณีทบี่ คุ คลผูไ ดรบั การเสนอชือ่ เปนกรรมการมีจำนวนเกินกวา จำนวนกรรมการที่จะพึงมีไดในการเลือกตั้งครั้งนั้น ใหใชวิธี การลงคะแนนเสียงของที่ประชุมผูถือหุน โดยผูถือหุนมีสิทธิ เลือกตัง้ บุคคลทีไ่ ดรบั การเสนอชือ่ เปนกรรมการได แตตอ งไมเกิน จำนวนกรรมการที่จะพึงมีไดในการเลือกตั้งครั้งนั้นและใหเลือก เปนรายบุคคล โดยผูถือหุนหรือผูร บั มอบฉันทะมีคะแนนเสียง เทากับหนึง่ เสียงตอหนึง่ หุน สำหรับการลงมติเลือกตั้งบุคคล ที่ไดรับการเสนอชื่อเปนกรรมการแตละคน ใหบุคคลซึ่งไดรับ คะแนนสูงสุดตามลำดับลงมาเปนผูไดรับเลือกตั้งเปนกรรมการ เทาจำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมี ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ไดรบั เลือกตัง้ ในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจำนวนกรรมการที่ จะพึงมี ใหประธานในที่ประชุมลงคะแนนเสียงอีกเสียงหนึ่ง เปนเสียงชี้ขาดเพื่อใหไดจำนวนกรรมการที่จะพึงมี ในการเลือกตัง้ กรรมการแทนกรรมการบริษทั ทีค่ รบกำหนดออก ตามวาระในการประชุมสามัญผูถ อื หุน ป 2551 มีกรรมการบริษทั ทีค่ รบ กำหนดออกตามวาระจำนวน 4 คน คือ 1) นายสุเมธ ตันติเวชกุล 2) นายยศ เอือ้ ชูเกียรติ 3) นายปรีชา อรรถวิภชั น และ 4) นายกานต ตระกูลฮุน ตามขอบังคับของบริษทั กำหนดใหกรรมการบริษทั ตองออก

134

จากตำแหนงจำนวนหนึ่งในสามโดยใหกรรมการบริษัทคนที่อยูใน ตำแหนงนานที่สุดเปนผูออกจากตำแหนง โดยในการสรรหา กรรมการบริษัทแตละคนไดเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ใหคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหาพิจารณา และในการ พิจารณาสรรหา นายอาสา สารสิน ทำหนาที่ประธานในที่ประชุม และไมรวมนายสุเมธ ตันติเวชกุล ที่ครบรอบออกตามวาระ ไดพิจารณารายชื่อบุคคลที่กรรมการบริษัทแตละคนเสนอ ซึ่งมีผูได รับการเสนอชื่อในครั้งนี้รวมทั้งสิ้น 5 คน เปนกรรมการรายเดิม 4 คน และเปนผูทรงคุณวุฒิภายนอกจำนวน 1 คน ซึ่งเปนบุคคลที่ ไดรับการเสนอชื่อโดยผูถือหุนตามแนวปฏิบัติเรื่องการใหสิทธิกับ ผูถือหุนเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการสรรหาเพื่อเขารับการเลือก ตั้งเปนกรรมการบริษทั ทัง้ นี้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา ไดมีมติใหเสนอชือ่ บุคคลทีม่ คี วามเหมาะสม 4 คน ไดแก 1) นายสุเมธ ตันติเวชกุล 2) นายยศ เอือ้ ชูเกียรติ 3) นายปรีชา อรรถวิภชั น และ 4) นายกานต ตระกูลฮุน เขารับการเลือกตัง้ เปน กรรมการบริษทั ซึ่งที่ประชุมผูถือหุนเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2551 มี มติดวยเสียงขางมากใหกรรมการรายเดิมทั้ง 4 คนเปนกรรมการ ของบริษัทตอไป การสรรหาผูบริหารระดับสูงของเอสซีจี กระบวนการสรรหาผูบริหารของเอสซีจี เริ่มจากการคัดเลือก ผูที่เปนคนเกงและดี เขามารวมงานโดยมุงเนนรับคนรุนใหมที่มี ความรูความสามารถ (Young Talent) และพัฒนาสรางความพรอม ใหทกุ คนมีโอกาสกาวขึน้ สูร ะดับผูบ ริหารในอนาคตได โดยผานขัน้ ตอน การประเมินพนักงานที่มีศักยภาพสูง (High Potential) ของเอสซีจี ทุกคนจะไดรบั การพัฒนาตามแผนทีว่ างไวเปนรายบุคคล (Individual Development Plan) มีการมอบหมายงานทีท่ า ทาย รวมทัง้ หมุนเวียน เพื่อเพิ่มทักษะใหรอบรูทุกดาน ซึ่งการเตรียมบุคลากรของเอสซีจี ดังกลาว ไดดำเนินการกับพนักงานทุกระดับใหมีความพรอมในการ ทดแทนกรณีที่มีตำแหนงวางลง โดยตำแหนงผูบริหารระดับสูง คณะกรรมการบริษทั จะเปนผูพ จิ ารณาคัดเลือกพนักงานทีม่ ศี กั ยภาพสูง และมีคุณสมบัติเหมาะสมกับตำแหนงงาน 7. คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหารระดับสูง

คาตอบแทนกรรมการ เนือ่ งจากทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ครัง้ ที่ 11 เมือ่ วันพุธที่ 24 มีนาคม 2547 มีมติอนุมัติคาตอบแทนและโบนัสกรรมการ โดยใหจายคาตอบแทน รายเดือนใหแกคณะกรรมการ เดือนละ 1,800,000 บาท และใหไป พิจารณาแบงจายกันเอง สำหรับโบนัสกรรมการมีมติอนุมัติการจาย โบนัสโดยใหคณะกรรมการเปนผูพ จิ ารณากำหนดจำนวนเงินทีเ่ หมาะสม ทั้งนี้ ไมเกินรอยละ 0.5 ของเงินปนผลที่มีการจายใหแกผูถือหุนและ ใหไปพิจารณาแบงจายกันเอง โดยใหมีผลตั้งแตวนั ที่ไดรับอนุมัติ จากที่ประชุมผูถือหุนเปนตนไป จนกวาที่ประชุมผูถือหุนจะมีมติ เปลี่ยนแปลงเปนอยางอื่น

การแบงจายคาตอบแทนรายเดือนและโบนัสคณะกรรมการ คาตอบแทนรายเดือน คณะกรรมการบริษัทมีมติใหแบงจายคาตอบแทนรวมใหแก ประธานกรรมการ 1.5 สวนหรือคิดเปนจำนวนเงิน 216,000 บาท ตอเดือน กรรมการทีเ่ หลืออีก 11 คน ไดรบั คนละ 1 สวนหรือคิดเปน จำนวนเงิน 144,000 บาทตอเดือน


โบนัสกรรมการ คณะกรรมการบริษทั มีมติใหแบงจายเงินโบนัสโดยประธานกรรมการ ไดรับ 1.5 สวน และกรรมการไดรับคนละ 1 สวนของเงินโบนัสตาม หลักเกณฑที่ที่ประชุมผูถือหุนมีมติไว

คณะกรรมการตรวจสอบ ประธาน กรรมการ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา ประธาน กรรมการ คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน ประธาน กรรมการ

คาตอบแทนคณะอนุกรรมการชุดตางๆ คณะกรรมการบริษทั มีมติใหจา ยคาตอบแทนสำหรับคณะอนุกรรมการ ชุดตางๆ โดยกำหนดคาตอบแทนประจำ (Fixed) และคาตอบแทน ตอครั้งที่เขาประชุม (Attendance) ดังนี้

คาตอบแทนประจำตอป (บาท)

คาตอบแทนตอครั้งที่เขาประชุม (บาท)

96,000 64,000

24,000 16,000

72,000 48,000

18,000 12,000

72,000 48,000

18,000 12,000

การคำนวณคาตอบแทนประธานคณะอนุกรรมการชุดตางๆ ไดรับ 1.5 สวน และกรรมการยอยไดรับคนละ 1 สวน

คาตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการชุดตางๆ ป 2551 รายชื่อกรรมการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา พล.อ.อ.กำธน สินธวานนท นายเสนาะ อูนากูล นายศิววงศ จังคศิริ นายสุเมธ ตันติเวชกุล นายปรีชา อรรถวิภัชน นายพนัส สิมะเสถียร นายยศ เอื้อชูเกียรติ นายอาสา สารสิน นายชุมพล ณ ลำเลียง นายธารินทร นิมมานเหมินท นายกานต ตระกูลฮุน รวม

คาตอบแทน (บาท) โบนัส รวม คณะกรรมการ กรรมการบริ ษัท (บาท) คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บรรษั ท ภิ บ าล พิ จ ารณา บริษัท ตรวจสอบ และสรรหา ผลตอบแทน ที่จายในป 2551 2,592,000 5,840,000 8,432,000 1,728,000 240,000 4,160,000 6,128,000 1,728,000 108,000 4,160,000 5,996,000 1,728,000 198,000 4,160,000 6,086,000 1,728,000 144,000 162,000 4,160,000 6,194,000 1,728,000 160,000 4,160,000 6,048,000 1,728,000 108,000 4,160,000 5,996,000 1,728,000 132,000 4,160,000 6,020,000 1,728,000 108,000 4,160,000 5,996,000 1,728,000 132,000 4,160,000 6,020,000 1,728,000 160,000 108,000 2,660,000 4,656,000 1,728,000 4,160,000 5,888,000 21,600,000 704,000 594,000 462,000 50,100,000 73,460,000

หมายเหตุ ลำดับการดำรงตำแหนงประธานในคณะกรรมการชุดตางๆ ดังนี้ 1. ประธานกรรมการบริษัท 2. ประธานกรรมการตรวจสอบ 4. ประธานกรรมการพิจารณาผลตอบแทน 5. ประธานกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา

คาตอบแทนผูบริหาร คาตอบแทนรวมของผูบริหารระดับสูง รวม 8 คน ที่ไดรับจาก บริษัท ในรูปเงินเดือน โบนัส และเงินตอบแทนพิเศษ (Variable Pay) รวมเปนเงินทัง้ สิน้ 102,722,000 บาท ทัง้ นี้ ในป 2551 บริษทั ไดจา ยเงินสมทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพทีส่ มทบใหผบู ริหารในฐานะ พนักงานของบริษัทจำนวน 6,461,300 บาท 1. คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหารของบริษัทยอยที่เปน ธุรกิจหลัก (สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551)

1.1 คาตอบแทนของกรรมการเปนรายบุคคลของบริษัทยอย ที่เปนธุรกิจหลัก กรรมการในธุรกิจหลักซึ่งประกอบดวย เอสซีจี เคมิคอลส เอสซีจี เปเปอร เอสซีจี ซิเมนต เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง และเอสซีจี ดิสทริบิวชั่น เปนผูบริหาร ซึง่ จะไมไดรบั คาตอบแทนสำหรับการดำรงตำแหนงกรรมการอีก ทัง้ นี้ ในแตละธุรกิจประกอบดวยผูด ำรงตำแหนงกรรมการดังนี้

135


บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จำกัด นายกานต ตระกูลฮุน* นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล นายรุงโรจน รังสิโยภาส นายชลณัฐ ญาณารณพ**

บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง จำกัด นายกานต ตระกูลฮุน* นายขจรเดช แสงสุพรรณ นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล นายรุงโรจน รังสิโยภาส นายพิชิต ไมพุม**

บริษัทเอสซีจี เปเปอร จำกัด (มหาชน) นายกานต ตระกูลฮุน* นายขจรเดช แสงสุพรรณ นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล นายดำริ ตันชีวะวงศ นายพิชิต ไมพุม นายชลณัฐ ญาณารณพ นายรุงโรจน รังสิโยภาส นายเชาวลิต เอกบุตร**

บริษัทเอสซีจี ดิสทริบิวชั่น จำกัด นายกานต ตระกูลฮุน* นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล นายดำริ ตันชีวะวงศ นายชลณัฐ ญาณารณพ นายพิชิต ไมพุม นายรุงโรจน รังสิโยภาส นายขจรเดช แสงสุพรรณ** หมายเหตุ * ประธานกรรมการ ** กรรมการผูจัดการใหญ

บริษัทเอสซีจี ซิเมนต จำกัด นายกานต ตระกูลฮุน* นายขจรเดช แสงสุพรรณ นายพิชิต ไมพุม นายดำริ ตันชีวะวงศ นายรุงโรจน รังสิโยภาส นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล**

1.2 คาตอบแทนรวมของผูบริหารบริษัทยอยที่เปนธุรกิจหลัก 1) คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ไดแก เงินเดือน โบนัส และเงินตอบแทนพิเศษ (Variable Pay) 2) คาตอบแทนอื่นๆ ไดแก เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดยคาตอบแทนตางๆ มีรายละเอียดดังนี้

1. 2. 3. 4. 5.

บริษัทยอยที่เปนธุรกิจหลัก บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จำกัด บริษัทเอสซีจี เปเปอร จำกัด (มหาชน) บริษัทเอสซีจี ซิเมนต จำกัด บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง จำกัด บริษัทเอสซีจี ดิสทริบิวชั่น จำกัด

จำนวนผูบริหาร (ราย) คาตอบแทนรวมที่เปนตัวเงิน (บาท) 4 14,344,250 4 12,334,500 4 20,276,400 4 12,434,850 4 11,844,400

คาตอบแทนอื่นๆ (บาท) 1,000,800 940,200 1,407,840 914,760 885,960

หมายเหตุ จำนวนผูบ ริ ห ารและค าตอบแทนของผู บ ริห ารข างต นไมรวมกรรมการผู จั ด การใหญ ใ นแต ล ะบริ ษั ทย อ ยที่ เ ป น ธุ ร กิ จ หลัก เนื่ อ งจากได ร วมอยู ในจำนวนและคาตอบแทนของผูบริหารของ บริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ตามที่ปรากฏในรายงานประจำป 2551 หนา 135

8. รายการระหวางกัน และรายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการบริษทั ใหความสำคัญตอการพิจารณาอนุมตั กิ ารทำ รายการระหวางกัน หรือรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชน โดยจรรยาบรรณเอสซีจไี ดกำหนดนโยบาย การทำธุรกรรมของเอสซีจี ดังนี้

เทคนิคหรือบุคลากร ฯลฯ ดังนั้นในการดำเนินธุรกิจหรือปฏิบตั งิ าน ทีเ่ กีย่ วของกับเรือ่ งดังกลาว พนักงานและผูเ กีย่ วของทุกคนตองคำนึงถึง กฎหมาย กฎระเบียบทีอ่ อกโดยหนวยงานของรัฐ กฎระเบียบของเอสซีจี หลักเกณฑและเงือ่ นไขตางๆ ในแตละทองถิน่ ที่ไดกำหนดไว

การทำธุรกรรมกับบุคคลภายนอก การทำธุรกรรมระหวางกันของบริษัทและบริษัทยอย การทีเ่ อสซีจปี ระกอบดวยบริษทั จำนวนมาก และบริษทั เหลานัน้ ดำเนินธุรกิจทีต่ อ งทำธุรกรรมระหวางกัน เชน การบริการ การซือ้ ขายวัตถุดบิ ผลิตภัณฑ การใหความชวยเหลือทางการเงิน การสนับสนุนทางดาน

136

การทำธุรกรรมกับบุคคลภายนอกหรือบริษัทอื่นนั้น จะตอง ดำเนินการดวยวิธกี ารอันชอบธรรม และปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขทีไ่ ดตกลงไว อยางตรงไปตรงมา หลีกเลี่ยงการทำธุรกรรมที่อาจกอใหเกิด ความเดือดรอนเสียหายกับบุคคลภายนอก


บริษทั ไดกำหนดแนวปฏิบตั แิ ละกระบวนการในการพิจารณา การทำรายการระหวางกัน รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมี ความขัดแยงทางผลประโยชนเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดของบริษทั ตามหลักเกณฑทกี่ ฎหมายกำหนด โดยกรรมการและผูบ ริหารจะแจงให บริษทั ทราบถึงการมีสว นไดเสียกอน ซึง่ เมือ่ บริษทั พิจารณารายการ ตางๆ แลว หากเปนรายการทีจ่ ะตองขออนุมตั ติ ามหลักเกณฑและ ขั้นตอนของกฎหมาย ฝ า ยจั ด การจะนำเรื่ อ งดั ง กล า วเสนอต อ คณะกรรมการบริษัท หรือที่ประชุมผูถือหุน รวมทั้งเปดเผย ขอมูลใหนักลงทุนทราบอยางโปรงใส โดยกรรมการหรือผูบริหาร ที่มีสวนไดเสียจะไมมีสวนรวมในการพิจารณาอนุมัติรายการ แตอยางใด อยางไรก็ตาม ภายใตจรรยาบรรณและบรรษัทภิบาลเอสซีจี บริษัทมีนโยบายในการทำรายการใหเปนไปตามกลไกราคาตลาด ซึง่ เปนเครือ่ งมือทีใ่ ชในการดำเนินธุรกิจปกติของบริษทั ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล

นโยบายหรือแนวโนมการทำรายการระหวางกันในอนาคต รายการระหวางกันของบริษทั ในอนาคตจะเปนรายการทีด่ ำเนินการ ตามปกติทางการคา โดยใชนโยบายซื้อขายตอรองกันตามกลไก ราคาตลาดของธุรกิจ ไมมีการถายเทผลประโยชนระหวางบริษัท กับกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวของ

รายการที่เกี่ยวโยงกันในรอบป 2551 แบงตามประเภท ของรายการไดดังนี้ 1. รายการใหความชวยเหลือทางการเงิน ไดแก 1.1 การกูยืมเงิน 1.1.1 บริษัททำรายการกับบริษัทยอย จำนวน 2 รายการ ไดแก • โครงการ Credit Approval and Collateral Management for SCT Group ของบริษัท คาสากลซิเมนตไทย จำกัด มูลคาธุรกรรมรวม 9.5 ลานบาท • โครงการขยายกำลังการผลิตสินคากลุมไม สังเคราะหของบริษทั กระเบือ้ งกระดาษไทย จำกัด (โรงงานทาหลวง) มูลคาธุรกรรมรวม 1,033 ลานบาท 1.1.2 บริษทั ยอยทำรายการกับบริษทั ยอย จำนวน 1 รายการ ไดแก • โครงการปรับปรุงระบบปอนเชื้อเพลิงหมอเผา 4, 5 และ 6 ของบริษทั ปูนซิเมนตไทย (ทุง สง) จำกัด มูลคาธุรกรรมรวม 71.50 ลานบาท

2.2 สินทรัพยอื่น 2.2.1 บริษัทยอยทำรายการกับบริษัทนิติบุคคลอื่น จำนวน 1 รายการ ไดแก • โครงการขายที่ดินของบริษัทไทยโพลิเอททิลีน จำกัด และบริษัทสยามพาราฟนส จำกัด ใหแก บริษัทไทย เอ็มเอ็มเอ จำกัด มูลคาธุรกรรมรวม 127.69 ลานบาท ในแตละรายการที่เกิดขึ้นป 2551 ทั้งหมด จำนวน 5 รายการ ขางตนนั้น แมวาจะเปนรายการที่เขาขายเปนรายการเกี่ยวโยงกัน แตไดรบั ยกเวนการปฏิบตั ติ ามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย (ตลท.) เรือ่ งการเปดเผยขอมูลและการปฏิบตั กิ ารของ บริษทั จดทะเบียนในรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันเนือ่ งจาก 1. เปนการเขาทำรายการเกี่ยวโยงกันระหวางบริษัทกับบริษัทยอย ที่มีบุคคลเกี่ยวโยงกันที่ไมใชบริษัทถือหุนในบริษัทยอยไมเกิน กวารอยละ 10 2. เปนการเขาทำรายการเกี่ยวโยงกันระหวางบริษัทยอยซึ่งบริษัท ถื อ หุ น และมี บุ ค คลที่ เ กี่ ย วโยงกั น ที่ ไ ม ใ ช บ ริ ษั ท ถื อ หุ น ใน บริ ษั ท ยอยไมเกินกวารอยละ 10 3. เปนการเขาทำรายการเกี่ยวโยงกันที่มีมูลคารายการไมเกินกวา รอยละ 0.03 ของสินทรัพยที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท 4. เปนการเขาทำรายการเกีย่ วโยงกันระหวางบริษทั หรือบริษทั ยอย กับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันที่เปนนิติบุคคลซึ่งเปนผูมีอำนาจควบคุม ที่บริษทั หรือบริษทั ยอยในฐานะเปนผูถ อื หุน ของนิตบิ คุ คลดังกลาว ไดมอบหมายใหเขาไปดูแลนิติบุคคลนั้นในฐานะที่บริษัทหรือ บริษัทยอยเปนผูถือหุน 5. เปนรายการที่เปนธรรมและไมกอใหเกิดการถายเทผลประโยชน ในป 2551 คณะกรรมการบริษทั ไดอนุมตั ใิ นหลักการการทำธุรกรรม เปนขอตกลงทางการคาซึ่งมีเงื่อนไขการคาทั่วไป (Arm’s Length) ระหวางบริษทั หรือบริษทั ยอยกับกรรมการ ผูบ ริหาร และผูท มี่ คี วาม เกี่ยวของตามหนังสือแนะนำของสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยใหฝา ยจัดการของบริษทั เปนผูม ี อำนาจอนุมตั กิ ารทำธุรกรรม ในกรณีทบี่ ริษทั หรือบริษทั ยอยมีการทำ ธุรกรรมกับกรรมการ ผูบ ริหาร หรือบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วของในอนาคต หากธุรกรรมเหลานัน้ มีขอ ตกลงทางการคาในลักษณะเดียวกับทีว่ ญิ ูชน พึงจะกระทำกับคูส ญั ญาทัว่ ไปในสถานการณเดียวกัน ดวยอำนาจตอรอง ทางการคาที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเปนกรรมการ ผูบ ริหาร หรือบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วของ ใหฝา ยจัดการสามารถกำหนด เงือ่ นไขทางการคาตามลักษณะขางตนไดตามความเหมาะสมของธุรกิจ

2. รายการเกี่ยวกับทรัพยสิน ไดแก 2.1 เงินลงทุน 2.1.1 บริษัททำรายการกับบริษัทยอย จำนวน 1 รายการ ไดแก • โครงการ Petrochemical Complex ในตอนใต ของประเทศเวียดนามของบริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จำกัด มูลคาธุรกรรมรวม 124,410 ลานบาท

137


รายการระหวางกันระหวางบริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) (บริษัท) และบริษัทยอยกับกิจการหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง

ลักษณะรายการ

บริษัท/ความสัมพันธ

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ ออม ทั้งหมด (รอยละ)

มูลคารายการระหวางกันกับกลุมธุรกิจ (ลานบาท) นโยบาย การคิดราคา บริษัท

เคมีภัณฑ กระดาษ

ซิเมนต

ผลิตภัณฑ จัดจำหนาย การลงทุน กอสราง และอื่นๆ

1. รายการกับบริษัทรวม (กิจการที่อยูภายใตอิทธิพลอยางเปนสาระสำคัญโดยการเขาไปถือหุนของบริษัทและบริษัทยอย) 1.1 บริษัทรวมในธุรกิจเคมีภัณฑ (SCG Chemicals) บริษัทรวมไดรับบริการ และอื่นๆ จากกลุมธุรกิจ บริษัทสยาม มิตซุย พีทีเอ จำกัด บริษัทสยามโพลิเอททีลีน จำกัด บริษัทไทย เอ็มเอ็มเอ จำกัด บริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จำกัด บริษัทไทย เอ็มเอฟซี จำกัด บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จำกัด บริษัทปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) บริษัทไทย เพ็ท เรซิน จำกัด บริษัทรวมขายสินคา ใหกลุมธุรกิจ บริษัทสยามโพลิเอททีลีน จำกัด บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จำกัด บริษัทปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) บริษัทไทย เพ็ท เรซิน จำกัด บริษัทรวมซื้อสินคา จากกลุมธุรกิจ บริษัทสยาม มิตซุย พีทีเอ จำกัด บริษัทสยามสไตรีนโมโนเมอร จำกัด บริษัทสยามโพลิเอททีลีน จำกัด SCG Plastics (China) Co., Ltd. บริษัทไทย เอ็มเอ็มเอ จำกัด บริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จำกัด บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จำกัด บริษัทปตท. เคมิคอล จำกัด (มหาชน) Nawacam Co., Ltd. บริษัทริเกน (ไทยแลนด) จำกัด Inter Plastics Co., Ltd. บริษัทรวมไดรับการ ค้ำประกันจากกลุมธุรกิจ บริษัทไทย เอ็มเอ็มเอ จำกัด Mehr Petrochemical Company (Private Joint Stock) บริษัทไทย เพ็ท เรซิน จำกัด 1.2 บริษัทรวมในธุรกิจกระดาษ (SCG Paper) บริษัทรวมซื้อสินคา จากกลุมธุรกิจ บริษัทสยามทบพันแพคเกจจิ้ง จำกัด บริษัทรวมไดรับการ ค้ำประกันจากกลุมธุรกิจ บริษัทสยามทบพันแพคเกจจิ้ง จำกัด 1.3 บริษัทรวมในธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง (SCG Building Materials) บริษัทรวมไดรับบริการ และอื่นๆ จากกลุมธุรกิจ Mariwasa Siam Ceramic, Inc. บริษัทสยามซานิทารีฟตติ้งส จำกัด บริษทั สยามซานิทารีแวรอนิ ดัสทรี จำกัด บริษัทสยามซานิทารีแวรอินดัสทรี (หนองแค) จำกัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สระบุรี) จำกัด

138

-

598

-

63

-

11

2 ราคาตลาด เทียบเทากับ ราคาที่ทำกับ บุคคลภายนอก

- 19,149

-

-

-

252

- ราคาตลาด เทียบเทากับ ราคาที่ทำกับ บุคคลภายนอก

- 27,092

2

-

-

56

- ราคาตลาด เทียบเทากับ ราคาที่ทำกับ บุคคลภายนอก

50 50 47 46 45 22 21 20 50 22 21 20 50 50 50 49 47 46 22 21 18 16 11 1,920

148

-

-

-

-

- คาธรรมเนียม ตามสัญญาที่ ตกลงกัน

-

-

133

-

-

-

-

-

21

-

-

-

- ราคาตลาด เทียบเทากับ ราคาที่ทำกับ บุคคลภายนอก - คาธรรมเนียม ตามสัญญาที่ ตกลงกัน

-

-

-

1

85

149

47 40 20

48 48

46 45 36 36 29

60 ราคาตลาด เทียบเทากับ ราคาที่ทำกับ บุคคลภายนอก


GS$K5RETD$TE

<EVKS9/'ITCLSC@S;:

<EVKS9LDTCOZ7LTM$EECDV=.SC (L*%GT) +U$S6

LS6L I; $TE8YOMZ ; a6D7E*/ O OC 9Sh*MC6 (E ODGR) 29

<EVKS9E IC%TDLV;' T bM $GZ C:ZE$V+ Mariwasa Siam Ceramic, Inc. <EVKS9LDTC.T;V9TEWA 77Vh*L +U$S6 <EVKS9LDTCaCG6Vh*@GTL_7OE +U$S6 <EVK9S LDTC.T;V9TEW`IE O;V 6SL9EW +U$S6 <EVKS9LDTC.T;V9TEW`IE OV;6SL9EW (M;O*`') +U$S6 <EVKS9LDTCOZ7LTM$EECDV=.SC +U$S6 <EVKS9LDTCOZ7LTM$EECDV=.SC (LER<ZEW) +U$S6 <EVKS9LDTCOZ7LTM$EECDV=.SC (L*%GT) +U$S6 <EVKS9GTATE +LDTC E[AA * +U$S6

<EVKS9

_'CWBS53 $ER6TK

.V_C;7

>GV7BS53 +S6+UM; TD $TEG*9Z; $ OLE T* `GROYg;e

-

1

-

-

7

2,056

- ET'T7GT6 _9WD<_9 T$S< ET'T9Wg9U$S< <Z''GBTD;O$

-

113

455

26

1,966

79

- ET'T7GT6 _9WD<_9 T$S< ET'T9Wg9U$S< <Z''GBTD;O$

449

-

-

-

119

-

- OS7ET6O$_<WhD 7TCLS‰‰T9Wg 7$G*$S;

-

-

-

-

-

1,338

-

-

-

-

-

49

50

137

131

82

49

189

-

-

-

6

-

-

-

-

-

-

-

311

29 29 29 25 54 46 45 40 36 36 36 29 29 29

<EVK9S E IC$[D CY _*V; +T$$GZC :ZE$V+ Mariwasa Siam Ceramic, Inc. PT. M Class Industry

;aD<TD $TE'V6ET'T

46 45 40 36 36

<EVKS9E IC.YhOLV;' T +T$$GZ C:ZE$V+ <EVKS9aLLZa$ _.ETCV' +U$S6 Mariwasa Siam Ceramic, Inc. <EVKS9LDTC.T;V9TEWA 77Vh*L +U$S6 <EVKS9LDTCaCG6Vh*@GTL_7OE +U$S6 <EVKS9LDTC.T;V9TEW`IE +U$S6 <EVK9S LDTC.T;V9TEW`IE O;V 6SL9EW +U$S6 <EVKS9LDTC.T;V9TEW`IE OV;6SL9EW (M;O*`') +U$S6 <EVKS9LDTCOZ7LTM$EECDV=.SC +U$S6 <EVKS9LDTCOZ7LTM$EECDV=.SC (LER<ZEW) +U$S6 <EVKS9LDTCOZ7LTM$EECDV=.SC (L*%GT) +U$S6

C[G' TETD$TEERMI T*$S;$S<$GZ C:ZE$V+ (G T;<T9)

46 28

1.4 <EVKS9E ICb;:ZE$V++S6+UM; TD (SCG Distribution) <EVKS9E ICbM <EV$TE `$ $GZ C:ZE$V+ <EVKS9+SCa< <T+L `O;6 9S$L +U$S6

27

<EVKS9E ICc6 ES<<EV$TE `GROYg;e +T$$GZ C:ZE$V+ <EVK9S c9D@EOL_@OEV7_W 9OCV;OG +U$S6 1.5 <EVKS9E ICb;:ZE$V+$TEG*9Z;`GROYg;e (SCG Investment and Others) <EVKS9E ICbM <EV$TE `$ $GZ C:ZE$V+ <EVKS9cO9WIS; +U$S6 <EVKS9E ICc6 ES<<EV$TE `GROYg;e +T$$GZ C:ZE$V+ <EVKS9LDTC'[a<7 TOZ7LTM$EEC +U$S6 <EVKS9>GV7BS53 IVJIc9D +U$S6 <EVKS9LDTC_GC_COE . +U$S6 <EVK9S ;IaGMRc9D +U$S6 <EVKS9E IC%TDLV;' T bM $GZ C:ZE$V+ <EVKS9LDTC'[a<7 TOZ7LTM$EEC +U$S6

50

39 40 30 30 25 40

- ET'T7GT6 _9WD<_9 T$S< ET'T9Wg9U$S< <Z''GBTD;O$ - ET'T7GT6 _9WD<_9 T$S< ET'T9Wg9U$S< <Z''GBTD;O$ 47 ET'T7GT6 _9WD<_9 T$S< ET'T9Wg9U$S< <Z''GBTD;O$ 222 ET'T7GT6 _9WD<_9 T$S< ET'T9Wg9U$S< <Z''GBTD;O$

- ET'T7GT6 _9WD<_9 T$S< ET'T9Wg9U$S< <Z''GBTD;O$

139


ลักษณะรายการ

บริษัท/ความสัมพันธ

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ ออม ทั้งหมด (รอยละ)

มูลคารายการระหวางกันกับกลุมธุรกิจ (ลานบาท) นโยบาย การคิดราคา บริษัท

บริษัทรวมซื้อสินคา จากกลุมธุรกิจ บริษัทสยามคูโบตาอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทนวโลหะอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทไอซิน ทาคาโอกา ฟาวนดริ บางปะกง จำกัด บริษัทสยามเลมเมอรซ จำกัด บริษัทนวโลหะไทย จำกัด

เคมีภัณฑ กระดาษ

ซิเมนต

ผลิตภัณฑ จัดจำหนาย การลงทุน กอสราง และอื่นๆ

-

-

21

9

-

62

- ราคาตลาด เทียบเทากับ ราคาที่ทำกับ บุคคลภายนอก

-

7

-

1,579

-

103

380 ราคาตลาด เทียบเทากับ ราคาที่ทำกับ บุคคลภายนอก

-

-

-

-

-

1,420

- ราคาตลาด เทียบเทากับ ราคาที่ทำกับ บุคคลภายนอก

-

3

17

109

-

217

- ราคาตลาด เทียบเทากับ ราคาที่ทำกับ บุคคลภายนอก

40 30 30 30 25

2. รายการกับบริษัทอื่นที่มีผูบริหารของบริษัทและบริษัทยอยเปนกรรมการ 2.1 บริษัทอื่นในธุรกิจการลงทุนและอื่นๆ (SCG Investment and ofhers) บริษัทอื่นไดรับบริการ และอื่นๆ จากกลุมธุรกิจ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด นายดำริ ตันชีวะวงศ เปนกรรมการ นายเชาวลิต เอกบุตร เปนกรรมการ บริษทั โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จำกัด นายดำริ ตันชีวะวงศ เปนกรรมการ บริษัทสยามมิชลิน จำกัด นายดำริ ตันชีวะวงศ เปนกรรมการ บริษัทสยามฟูรูกาวา จำกัด นายอธิธร จิตรานนท เปนกรรมการผูจัดการ นายดำริ ตันชีวะวงศ เปนกรรมการ บริษทั สยามยูไนเต็ดสตีล (1995) จำกัด นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล เปนกรรมการรองผูจัดการ บริษัทอื่นขายสินคา ใหกลุมธุรกิจ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด นายดำริ ตันชีวะวงศ เปนกรรมการ นายเชาวลิต เอกบุตร เปนกรรมการ บริษัทอื่นซื้อสินคา จากกลุมธุรกิจ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จำกัด นายดำริ ตันชีวะวงศ เปนกรรมการ นายเชาวลิต เอกบุตร เปนกรรมการ บริษัทสยามฟูรูกาวา จำกัด นายอธิธร จิตรานนท เปนกรรมการผูจัดการ นายดำริ ตันชีวะวงศ เปนกรรมการ บริษัทสยามยูไนเต็ดสตีล (1995) จำกัด นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล เปนกรรมการรองผูจัดการ บริษัทสยามโตโยตาอุตสาหกรรม จำกัด นายดำริ ตันชีวะวงศ เปนรองประธาน นายพิชาติ อังจันทรเพ็ญ เปนกรรมการรองผูจัดการ

140

10

10 10 5

5

10

10

5

5 4


ลักษณะรายการ

บริษัท/ความสัมพันธ

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ ออม ทั้งหมด (รอยละ)

บริษัทอื่นใหเงินกูยืม แกกลุมธุรกิจ

มูลคารายการระหวางกันกับกลุมธุรกิจ (ลานบาท) นโยบาย การคิดราคา บริษัท

657

เคมีภัณฑ กระดาษ

-

-

ซิเมนต

-

ผลิตภัณฑ จัดจำหนาย การลงทุน กอสราง และอื่นๆ

-

-

- อัตราดอกเบี้ย ตามสัญญาที่ ตกลงกัน

มูลนิธิซิเมนตไทย นายกานต ตระกูลฮุน เปนประธานกรรมการ นายขจรเดช แสงสุพรรณ เปนกรรมการ นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล เปนกรรมการ นายรุงโรจน รังสิโยภาส เปนกรรมการ นายอนุวัฒน จงยินดี เปนกรรมการ นายกิตติ ตั้งจิตรมณีศักดา เปนกรรมการ นายลักษณะนอย พึ่งรัศมี เปนกรรมการและเหรัญญิก นายวรพล เจนนภา เปนกรรมการและเลขานุการ

9. ชองทางการเผยแพรขอมูลสารสนเทศของบริษัท เอสซีจใี หความสำคัญตอการเปดเผยขอมูลทีม่ คี วามถูกตอง ครบถวน โปรงใส ทันเวลา ทัง้ ขอมูลทางการเงิน ผลการดำเนินงาน และขอมูลอืน่ ที่เกี่ยวของ นอกจากการเปดเผยขอมูลตามหนาที่ ภายใตขอบังคับของกฎหมายแลว เอสซีจยี งั ไดพฒั นาชองทาง ในการสือ่ สารขอมูลและขาวสารผานสื่อที่หลากหลาย เพื่อเปน ประโยชนตอผูมีสวนเกี่ยวของ อาทิ • จัดใหมีหนวยงานนักลงทุนสัมพันธ เพื่อเปนชองทางติดตอ โดยตรงกับนักลงทุนทั้งในประเทศและตางประเทศ • แถลงขาวผลการดำเนินงานประจำไตรมาส รวมทั้งแถลงขาว โครงการลงทุนและกิจกรรมที่สำคัญของเอสซีจีเปนประจำ • แถลงผลการดำเนินงานประจำไตรมาสแกนกั ลงทุนและนักวิเคราะห • จัดกิจกรรมพบพนักงาน เพื่อชี้แจงนโยบายและแนวทางการ ดำเนินธุรกิจ • จัดกิจกรรมพบนักลงทุน และผูมีสวนเกี่ยวของ ทั้งในประเทศ และตางประเทศ • บรรยายใหความรูในหัวขอตางๆ ในการสัมมนาระดับชาติ และระดับนานาชาติ • จัดโครงการเยีย่ มชมกิจการและโรงงาน ใหแกผถู อื หุน นักลงทุน นักวิเคราะห นักวิชาการ ชุมชน และสื่อมวลชน • เผยแพรขาวผานสื่อมวลชนในรูปแบบตางๆ อาทิ ขาวแจก ภาพขาว บทความ และสื่อโฆษณาตางๆ • จัดทำสิ่งพิมพและสื่ออื่นๆ เพื่อเผยแพรขอมูลของเอสซีจี อาทิ รายงานประจำป รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน วารสารผูถือ หุน กู วารสารลูกคา วารสารผูแ ทนจำหนาย และวารสารพนักงาน • เผยแพรขอมูลขาวสารถึงพนักงานผานสื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ อาทิ อินทราเน็ต เว็บบอรด และอีเมล • เปดเผยขอมูลผานเว็บไซต www.scg.co.th

10. รายงานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ป 2551 เอสซีจียังคงใหความสำคัญกับการนำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใชเพิ่มศักยภาพในการดำเนินธุรกิจ รวมทั้งการให บริการกับลูกคาใหดียิ่งขึ้น สรุปไดดังนี้ ดำเนินการตอสัญญาการใชบริการดานสารสนเทศ (IT Outsourcing) โดยไดมกี ารปรับระดับการใหบริการ (Service Level Agreement) ใหเขมขนยิ่งขึ้น ปรับกระบวนการใหเปนไปตาม มาตรฐานสากลและเพิ่มเครื่องมือที่ใชในการบริหารจัดการระบบ ทัง้ นี้ เพือ่ ใหระบบสารสนเทศสามารถตอบสนองธุรกิจไดอยางตอเนือ่ ง และไมเปนอุปสรรคตอการดำเนินธุรกิจ ปรับปรุงกระบวนการจัดหาใหมีประสิทธิภาพดวยการนำ เทคโนโลยีมาใชเพือ่ เพิม่ Visibility ในระบบงาน และใหขอ มูลในการ วิเคราะหและวางแผน Strategic Sourcing เพือ่ ใหสามารถจัดหาได เหมาะสมกับความตองการ ตลาด และตนทุนทีแ่ ขงขันได เอสซีจี ดิสทริบวิ ชัน่ ไดมกี ารปรับระบบเอกสารพิธกี ารขนสงให เปนระบบ Paperless โดยเชือ่ มตอระบบนำเขาและสงออกกับระบบของ กรมศุลกากร เพือ่ ลดขัน้ ตอนและเวลาในการดำเนินการคาพิธกี ารผาน ทาเรือและชายแดน ทำใหสามารถจัดสงสินคาใหกบั ลูกคาไดรวดเร็วยิง่ ขึน้ นอกจากนั้น เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารหวงโซ อุปทาน (Supply Chain Management) ของเอสซีจี เปเปอร จึงไดนำระบบวางแผนการผลิต (Production Planning and Scheduling) และระบบบริหารจัดการคำสัง่ ซือ้ (Order Management) มาใชเพื่อใหสามารถผลิตสินคาไดตรงตามเวลาที่ลูกคาตองการ ทำใหการบริหารสินคาคงคลังเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะ ชวยลดตนทุนในการดำเนินงานไดอีกดวย

141


11. คาตอบแทนของผูสอบบัญชี

คาตอบแทนการสอบบัญชี บริษัทและบริษัทยอยจายคาตอบแทนการสอบบัญชีใหกับ บริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จำกัด ซึง่ เปนสำนักงานสอบบัญชี ที่ผูสอบบัญชีประจำป 2551 สังกัด รวมทั้งบุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวของกับผูสอบบัญชีและสำนักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัด ในรอบปบญั ชีทผี่ า นมามีจำนวนเงินรวม 29.04 ลานบาท ซึง่ ไมรวม คาตอบแทนที่จายโดยบริษัทรวม ทั้งนี้ บริษัทที่เปนสำนักงานสอบบัญชีและผูสอบบัญชีไมมี ความสัมพันธ หรือสวนไดเสียใดๆ กับบริษทั /บริษทั ยอย/ผูบ ริหาร/ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว

คาตอบแทนการสอบบัญชี ประจำป 2551 1. คาสอบบัญชีงบการเงินเฉพาะบริษัท 180,000 บาท 2. คาสอบบัญชีประจำปและรายไตรมาส ของบริษัทยอยจำนวน 131 บริษัท และงบการเงินรวม 28.86 ลานบาท รวมคาสอบบัญชีบริษัทปูนซิเมนตไทย จำกัด 29.04 ลานบาท (มหาชน) และบริษัทยอยทั้งหมด คาบริการอื่นนอกเหนือจากคาสอบบัญชี บริษัทยอยจายคาตอบแทนการตรวจสอบการปฏิบัติตาม เงื่อนไขของบัตรการสงเสริมการลงทุนในรอบปที่ผานมาใหแก สำนักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัด บุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวของกับผูสอบบัญชี และสำนักงานสอบบัญชีดังกลาว จำนวนเงินรวม 940,000 บาท

บุคคลอางอิง นายทะเบียนหุน ที่ตั้ง โทรศัพท โทรสาร อีเมล เว็บไซต ผูสอบบัญชี

บริษัทศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด ชั้น 1 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 0-2229-2800 0-2359-1259 contact.tsd@set.or.th www.tsd.co.th

ที่ตั้ง โทรศัพท โทรสาร เว็บไซต

บริษัทเคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด โดย นายวินิจ ศิลามงคล (ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3378) และ/หรือ นายพิศิษฐ ชีวะเรืองโรจน (ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2803) และ/หรือ นายสุพจน สิงหเสนห (ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2826) และ/หรือ นายเจริญ ผูสัมฤทธิ์เลิศ (ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4068) ชั้น 50-51 เอ็มไพรทาวเวอร 195 ถนนสาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 0-2677-2000 0-2677-2222 www.kpmg.co.th

ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ตั้ง โทรศัพท โทรสาร

บริษัทกฎหมายเอสซีจี จำกัด เลขที่ 1 ถนนปูนซิเมนตไทย แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 0-2586-5777 หรือ 0-2586-5888 0-2586-2976

ผูแทนผูถือหุนกู ที่ตั้ง

ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) เลขที่ 900 อาคารตนสนทาวเวอร ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 0-2655-9000 0-2655-9171 www.thanachartbank.com

โทรศัพท โทรสาร เว็บไซต

142


เอสซีจีมุงหวังใหรายงานฉบับนี้เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จึงจัดพิมพบนกระดาษที่ผลิตจาก EcoFiber 100% จากเอสซีจี เปเปอร พิมพดว ยหมึกถัว่ เหลือง และไมผา นกระบวนการอาบสารเคมีหรือใชเทคนิคการพิมพพเิ ศษใด ๆ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.