SCG: รายงานประจำปี 2552

Page 1


Adding Value, Growing Opportunities เอสซีจี กลุ่มบริษัทชั้นนำาที่มุ่งสู่ความเปนผู้นำาในอาเซียน และพร้อมสำาหรับการแข่งขันในระดับโลก ดำาเนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาลและแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน พัฒนาตนเองอย่างไม่หยุดยั้ง โดยสร้างสรรค์นวัตกรรมทั้งสินค้า บริการ กระบวนการทำางาน และรูปแบบธุรกิจ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม และตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค นอกจากนั้น ยังมุ่งสร้างความเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืน ให้กับทุกชุมชนที่เข้าไปดำาเนินงาน เอสซีจี เริ่มต้นจากพระบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เมื่อป 2456 เพื่อผลิตปูนซีเมนต์ วัสดุก่อสร้างที่สำาคัญในการพัฒนาประเทศ ต่อมาได้ขยายกิจการ อย่างต่อเนือ่ ง และเจริญก้าวหน้ามาโดยลำาดับ ปจจุบนั ประกอบด้วย 5 ธุรกิจหลัก ได้แก่ เอสซีจี เคมิคอลส์ เอสซีจี เปเปอร์ เอสซีจี ซิเมนต์ เอสซีจี ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง และเอสซีจี ดิสทริบิวชั่น ป 2552 เอสซีจี ได้รับรางวัลที่น่าภาคภูมิ ใจหลายด้าน ที่สำาคัญได้แก่ รางวัล Overall in Thailand Most-admired Company จากหนังสือพิมพ์ Asian Wall Street Journal รางวัล Best Managed Company จากนิตยสาร Asiamoney รางวัล Asia's Best Company ด้านบรรษัทภิบาล และ ความรับผิดชอบต่อสังคม จากนิตยสาร FinanceAsia รางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี Thailand Corporate Excellence Awards ประเภทองค์กรที่มีความเปนเลิศ ด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล ติดต่อกันเปนปที่ 8 และประเภทองค์กรที่มีความเปนเลิศด้านนวัตกรรม และการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ติดต่อกันเปนปที่ 4 จากสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทยและศศินทร์ รางวัลนวัตกรรมยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย จากบริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป จำากัด (มหาชน) และคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รางวัลดีเด่นด้าน CSR ของ SET Awards จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และได้รับการประเมินให้เปนบริษัทชั้นนำาด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระดับ Gold Class ในกลุ่มวัสดุและสิ่งก่อสร้างของดัชนีวัดความมั่นคงดาวโจนส์ (DJSI) รวมทั้ง ได้รับการจัดอันดับการเปดเผยข้อมูลด้าน CSR จาก CSR Asia Business Barometer 2009 เปนอันดับ 1 ของไทย 2 ปซ้อน และอันดับ 14 ของเอเชีย

สารบัญ ข้อมูลพื้นฐานสำาหรับนักลงทุน ข้อมูลสำาคัญทางการเงิน สารจากคณะกรรมการ ผังการบริหาร ผลการดำาเนินงาน เอสซีจี เคมิคอลส์ เอสซีจี เปเปอร์ เอสซีจี ซิเมนต์ เอสซีจี ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น รายงานการปฏิบัติตามหลักการกำากับดูแลกิจการที่ดี ข้อมูลอื่นๆ งบการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ งบการเงินรวมบริษัทปูนซิเมนต์ ไทย จำากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบการเงินบริษัทปูนซิเมนต์ ไทย จำากัด (มหาชน)

1 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 31 69 70 71 73 125


ขอมูลพื้นฐานสําหรับนักลงทุน ติดตอ SCC (จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย) เลขทะเบียนบริษัท 0107537000114 ประเภทธุรกิจ Holding Company เว็บไซต www.scg.co.th ปที่กอตั้ง 2456 วันแรกที่ซื้อขายหุน 30 เมษายน 2518 ในตลาดหลักทรัพยฯ ที่ตั้ง 1 ถนนปูนซิเมนตไทย แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 ทุนจดทะเบียน 1,600 ลานบาท ทุนชําระแลว 1,200 ลานบาท ประกอบดวยหุน สามัญ 1,200 ลานหุน มูลคาหุนที่ตราไว หุนสามัญ หุนละ 1 บาท รอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 31 ธันวาคม ผูถือหุน ปจจบันผูถือหุนรายใหญของบริษัท ไดแก กลุมสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ถือหุนรอยละ 31.935 สวนที่เหลือเปนการถือหุน โดยสถาบันและนักลงทุนทั่วไป ชื่อยอ

ราคาหุนสามัญยอนหลัง 5 ป (2548-2552) เทียบกับดัชนีตลาดหลักทรัพยฯ

ดัชนีตลาดหลักทรัพยฯ 950

สํานักงานใหญ โทรศัพท 0-2586-3333, 0-2586-4444 โทรสาร 0-2586-2974 e-mail: info@scg.co.th สํานักงานเลขานุการบริษัท โทรศัพท 0-2586-3012 โทรสาร 0-2586-3007 e-mail: corporate@scg.co.th นักลงทุนสัมพันธ โทรศัพท 0-2586-3309 โทรสาร 0-2586-3307 e-mail: invest@scg.co.th สํานักงานสื่อสารองคกร โทรศัพท 0-2586-3770 โทรสาร 0-2586-2974 e-mail: corpcomm@scg.co.th กรรมการอิสระที่ทําหนาที่ดูแลผูถือหุนรายยอย โทรสาร 0-2586-3007 e-mail: ind_dir@scg.co.th

SET SCC Local SCC Foreign

ราคาหุนของบริษัท (บาท)

320

850

280

750

240

650 550 450 350

200 160 120

250 150 50

80 40

1


ขอมูลสําคัญทางการเงิน บริษัทปูนซิเมนต ไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย 2552

2551

2550

2549

2548

ขายสุทธิ

238,664

293,230

267,737

258,175

218,265

ตนทุนและคาใชจาย กําไรกอนภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย รวมเงินปนผลรับจากบริษัทรวม (EBITDA) กําไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจํา 1

216,767

281,457

247,719

231,337

191,793

47,116 24,408

38,783 16,479

50,008 25,841

57,151 30,157

53,507 30,713

24,346

16,771

30,352

29,451

32,236

สินทรัพย

315,992

285,776

248,256

226,264

199,370

หนี้สิน

184,571

174,428

139,717

132,699

128,677

สวนของผูถ อื หุน เฉพาะบริษัทและสวนของผูถ อื หุน สวนนอย

131,421

111,348

108,539

93,565

70,693

สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัท

104,510

87,220

86,131

75,023

63,947

1,200

1,200

1,200

1,200

1,200

มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท)

87.1

72.7

71.8

62.5

53.3

กําไรสุทธิตอหุน (บาท)

20.3

14.0

25.3

24.5

26.9

8.5

7.5

15.0

15.0

15.0

อัตราการจายเงินปนผลตอกําไรสุทธิ (%)

41.9

53.6

59.3

61.2

55.8

อัตรากําไรสุทธิตอขายสุทธิ (%)

10.2

5.7

11.3

11.4

14.8

อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน (%)

25.4

19.3

37.7

42.4

53.3

งบกําไรขาดทุน (ลานบาท)

กําไรสุทธิ 2 งบดุล 3 (ลานบาท)

อัตราสวนทางการเงิน

จํานวนหุนที่ออก (ลานหุน)

เงินปนผลจายตอหุน (บาท)

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม (%) อัตรากระแสเงินสดที่ไดจากการดําเนินงาน (EBITDA) ตอสินทรัพยรวม (%) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) 4

8.1

6.3

12.8

13.8

16.5

15.7

14.5

21.1

26.7

27.4

1.4

1.6

1.3

1.4

1.8

อัตราสวนราคาตลาดตอหุน ตอกําไรสุทธิตอ หุน (เทา) 5

11.6

7.4

9.2

9.9

9.1

2.6

3.1

2.0

1.8

1.9

อัตราสวนหนี้สินสุทธิตอกระแสเงินสดที่ไดจากการดําเนินงาน (EBITDA) (เทา) 1 2 3 4 5

2

กําไรกอนกําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผือ่ การดอยคาของเงินลงทุนและอืน่ ๆ - สุทธิจากภาษีเงินได กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ ป 2549 ปรับปรุงใหมเพื่อแสดงเปรียบเทียบกับป 2550 ซึ่งปรับปรุงคํานิยามสวนไดเสียในผูถือหุนสวนนอยตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน = หนี้สินหารสวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัทและสวนของผูถือหุนสวนนอย ราคาตลาด หมายถึง ราคาปดของหุนของบริษัท ณ วันสิ้นป ในกระดานซื้อขายหลักทรัพยในประเทศ


ผลประกอบการ บริษัทปูนซิเมนต ไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

สัดสวนยอดขาย ป 2552

สัดสวนกําไรสุทธิ* ป 2552

9%

เอสซีจี เคมิคอลส เอสซีจี เปเปอร เอสซีจี ซิเมนต เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น เอสซีจี การลงทุน

11% 4%

11%

6% 42%

47%

20% 23%

18%

9%

ขายสุทธิ

สินทรัพย

พันลานบาท

หนี้สิน

พันลานบาท

พันลานบาท

400

400

400

300

300 200 218.3

293.2 258.2 267.7 238.7

300 316.0

200

226.3 248.3

200

199.4

100

100

285.8

100

2548 2549 2550 2551 2552

กําไรสุทธิกอนรายการ ที่ไมเกิดขึ้นเปนประจํา

174.4 184.6

0

0

0

139.7 128.7 132.7

2548 2549 2550 2551 2552

กําไรสุทธิ*

2548 2549 2550 2551

2552

กําไรสุทธิ* ตอหุน

พันลานบาท

บาท/หุน

พันลานบาท 40

40

30

30 30.7

25.8

10

24.4

20

30.4 24.3

EBITDA

53.5

47.1 38.8

0

15

2552

15

10

50

5

7.5

8.5

0 2548 2549 2550 2551 2552

2548 2549 2550 2551

75 15

50.0

20.3 14.0

100

15 57.2

25.3

รอยละ

20

60

24.5

อัตราการจายเงินปนผลตอกําไรสุทธิ*

บาท/หุน

80

26.9

0 2548 2549 2550 2551 2552

เงินปนผลจายตอหุน

พันลานบาท

20 10

16.8

0 2548 2549 2550 2551 2552

*

29.5 29.5

10

16.5

0

20

30 32.2

30.2

20

40

40

61.2 55.8

59.3

53.6

25

41.9

0 2548 2549 2550

2551

2552

2548

2549

2550

2551

2552

กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ 3


สารจากคณะกรรมการ ป 2552 เศรษฐกิจโลกยังคงชะลอตัวจากวิกฤตการเงิน ในประเทศสหรัฐอเมริกาในปที่ผานมา ขณะที่เศรษฐกิจไทย ไดรบั ผลกระทบจากปญหาทางการเมืองในประเทศ ประกอบกับ ภาคการสงออกชะลอตัวตามสภาวะเศรษฐกิจโลก รวมทั้ง การลงทุนภาครัฐและภาคเอกชนยังไมฟนตัวจากปจจัยความ ไมแนนอนโดยรวม เอสซีจปี รับตัวอยางรวดเร็วเพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงและ ปจจัยความไมแนนอนตาง ๆ เนนการบริหารธุรกิจอยางรอบคอบ โดยเฉพาะดานการเงิน และการแสวงหาตลาดใหม ๆ สงผลให ป 2552 เอสซีจีมีผลประกอบการดีกวาป 2551 และมีฐานะ ทางการเงิน ที่แข็งแกรงและมั่นคงยิ่งขึ้น โดยมีรายไดรวม 238,664 ลานบาท และมีกําไรสุทธิ 24,346 ลานบาท ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาจากผลการดําเนินงาน ฐานะทางการเงิน และ สภาวะเศรษฐกิจโลก คณะกรรมการบริษั ทจึงมีมติเห็นควร เสนอทีป่ ระชุมสามัญผูถ อื หุน ประจําป 2553 ในวันที่ 31 มีนาคม 2553 เพือ่ อนุมตั กิ ารจายเงินปนผลทัง้ ปในอัตราหุน ละ 8.50 บาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 42 ของกําไรสุทธิของงบการเงินรวม โดยจาย เงินปนผลระหวางกาลในอัตราหุนละ 3.50 บาท ไปเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2552 และจะจายเงินปนผลงวดสุดทายในอัตรา หุนละ 5.00 บาท ในวันที่ 28 เมษายน 2553 ป 2553 เศรษฐกิจโลกเริ่มสงสัญญาณฟนตัว สงผลดี ตอภาคการสงออกของไทย ประกอบกับการลงทุน ภาครัฐ คาดวาจะมีความคืบหนา สงผลใหภาพรวมของเศรษฐกิจไทย ดีขึ้น ดังนั้น เอสซีจียังคงมุงมั่นบริหารงานดวยความรอบคอบ บริหารความเสี่ยงอยางรัดกุม เพื่อมุงสูการเจริญเติบโตอยาง มั่นคงและยั่งยืนตามวิสัยทัศนขององคกร โดยมีแนวทางดังนี้

ครองใจผูบริโภคดวยการพัฒนาคุณภาพ สินคาและบริการที่มีมูลคาเพิ่ม

เอสซีจมี งุ ยกระดับความพึงพอใจของผูบ ริโภค โดยใสใจศึกษา เพื่อเขาถึงความตองการที่แทจริง ใหสามารถพัฒนาสินคาและ บริการที่มีมูลคาเพิ่ม มีคุณภาพเยี่ยม ครบวงจร รวมทั้งคิดคน สินคาและบริการใหม ๆ รองรับความตองการที่ ไมหยุดนิ่ง ตอบสนองความเปนอยูท่ีดีข้ึน ตลอดจนเสริมสรางคุณ ภาพ สิ่งแวดลอมและสังคมที่ยั่งยืน อาทิ กระดาษไอเดีย เวิรค จากเอสซีจี เปเปอร กระดาษถายเอกสารทีข่ าวเรียบเนียนยิง่ ขึน้ และเพิ่มประสิทธิภาพกระดาษใหคงรูป ไมติดเครื่องพิมพ ซูเปอร ซีเมนต จากเอสซีจี ซิเมนต ทีน่ าํ เสนอปูนซีเมนตสตู รใหม ตอบโจทยผบู ริโภคทัง้ ดานคุณภาพและงบประมาณ และเอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ ศูนยแสดงนวัตกรรมการกอสรางและตกแตง ของเอสซีจที ี่ใชเทคโนโลยีทที่ นั สมัยประกอบการจัดแสดงสินคา เพือ่ สรางประสบการณทนี่ า ประทับใจใหแกผบู ริโภค นอกจากนี้ เอสซีจียงั ไดเปดตัวฉลาก SCG eco value เพือ่ รับรองสินคาและ บริการที่เปน มิตรตอสิ่งแวดลอม โดยอางอิงตามมาตรฐาน ฉลากสิ่งแวดลอมสากล ISO 14021

4

ในป 2552 สินคาและบริการที่มีมูลคาเพิ่มสูงจากเอสซีจี มียอดขายเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง คิดเปนรอยละ 25 ของยอดขายรวม สอดคล อ งกั บ การจั ด สรรงบประมาณด า นวิ จั ย และพั ฒ นา กวา 880 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นตอเนื่องทุกป นอกจากนี้ เอสซีจีไดรวมตราสินคา (Brand) ที่หลากหลาย ใหมรี ปู แบบเดียวกัน เพือ่ เสริมสรางความมัน่ ใจและความสะดวก ในการจดจําใหแกผบู ริโภค อาทิ การรวม “ตราชาง” ของสินคา วัสดุกอสรางใหมีตราสินคาเดียวกัน สะทอนถึงสัญลักษณ แหงคุณภาพที่เปนเลิศ และการมุงมั่นพัฒนาสินคาและบริการ อยางไมหยุดนิ่ง นับเปนกลยุทธสําคัญที่เอสซีจี ไดผนึกกําลัง รวมกันเพิ่มมูลคาใหตราสินคา และจัดระบบบริหารจัดการ ใหมปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ เพือ่ สรางความชัดเจนในการดําเนินธุรกิจ รองรับการเติบโตในอนาคต

ขยายธุรกิจสูภูมิภาคอาเซียนอยางตอเนื่อง

การขยายธุรกิจสูภ มู ภิ าคอาเซียนมีความคืบหนาทีส่ าํ คัญคือ การเริ่มผลิตและจัดจําหนายของโรงงานผลิตกระดาษคราฟท ในประเทศเวียดนาม มูลคาการลงทุนเกือบ 6,000 ลานบาท ตั้งแตไตรมาสที่ 2 ของป 2552 ขณะที่ชวงตนป 2553 กิจการ บรรจภัณฑไดเขาซื้อหุนทั้งหมดในบริษัท New Asia Industries Co., Ltd. ผูประกอบธุรกิจผลิตและจําหนายกลองกระดาษ ลูกฟูกรายใหญ ในประเทศเวียดนาม มูลคาการลงทุนทั้งสิ้น ประมาณ 770 ลานบาท สําหรับโครงการปโตรเคมีครบวงจรในตอนใตของประเทศ เวี ย ดนามอยู ร ะหว า งศึ ก ษาข อ มู ล ทั้ ง ด า นการลงทุ น และ โครงสรางทางการเงิน ซึง่ ถือเปนจดเริม่ ตนของการขยายธุรกิจ ไปยังประเทศที่มีความเติบโตทางเศรษฐกิจและความตองการ ผลิตภัณฑในระดับสูง และเมื่อปลายปที่ผานมา ไดลงนามใน กรอบความตกลงรวมทุนกับ Qatar Petroleum International องคกรรัฐวิสาหกิจของประเทศกาตาร เพื่อเขามาเปนผูรวมทุน และเสริมศักยภาพการจัดหาวัตถุดิบใหกับโครงการ เอสซีจียังไดขยายสํานักงานการคาตางประเทศ ไปยัง ประเทศโปแลนด รัสเซีย และแอฟริกาใต ปจจบัน มีสํานักงาน การคาตางประเทศรวมทั้งสิ้น 35 แหงใน 22 ประเทศ นอกจากนี้ เอสซีจยี งั ไดขยายฐานการตลาดของสินคาในกลุม สูภ มู ภิ าคอืน่ ๆ รวมกวา 100 ประเทศทั่วโลก

ดูแลสังคมและสิ่งแวดลอม เพื่อการเติบโต รวมกันอยางยั่งยืน

เอสซี จี เ ลื อ กใช เ ทคโนโลยี ที่ ดี ที่ สุ ดในโลกและเป น มิ ต ร กับสิ่งแวดลอม เพื่อใหชุมชนรอบขางและพนักงานอยูอยาง มีความสุข มีการบริหารจัดการเพื่อลดผลกระทบดานสุขภาพ สิ่งแวดลอม และสังคม จากการดําเนินงานใหมีนอยที่สุด และ มุง มัน่ อยูร ว มกับชุมชนอยางเกือ้ กูล รวมทัง้ เปดโอกาสใหผมู สี ว น เกี่ยวของทุกฝายไดมีสวนรวมในการดําเนินงานอยางโปรงใส ตามแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยืน


สําหรับกรณีทศี่ าลปกครองกลางไดมคี าํ สัง่ ใหหนวยราชการ ระงับโครงการลงทุน 76 โครงการ ทีบ่ ริเวณมาบตาพุด จ.ระยอง ไวเปนการชั่วคราวเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552 และตอมา ในวันที่ 2 ธันวาคม 2552 ศาลปกครองสูงสุดมีคําสั่งยืนยันให ระงับโครงการสวนใหญตามคําสั่งศาลปกครองกลาง สงผล กระทบกับโครงการลงทุนในพืน้ ทีด่ งั กลาวของเอสซีจี เคมิคอลส ทั้ ง ส ว นของบริ ษั ท ย อ ยและบริ ษั ท ร ว มทุ น ทั้ ง นี้ เอสซี จี ได ประสานงานอยางใกลชิดกับหนวยงานราชการและผูมีสวน เกีย่ วของ เพื่อคลี่คลายปญหา และวางแผนการลงทุนใหเกิด ผลกระทบตอผูมีสวนเกี่ยวของนอยที่สุด ปจจบัน โครงการของ เอสซีจีทั้งหมดอยูระหวางการดําเนินการตามคําสั่งของศาล ปกครอง โดยเรงดําเนินการอยางสุดความสามารถ ใหถูกตอง ตามแนวทางของรัฐธรรมนูญ มาตรา 67 วรรคสอง เพื่อสราง ความเชือ่ มัน่ ใหกบั สังคมถึงความตัง้ ใจทีจ่ ะอยูร ว มกับชุมชนอยาง เกื้อกูลและเติบโตไปพรอมกัน ในป 2552 เอสซีจีมีความภาคภูมิใจที่โครงการเพื่อสังคม ทีร่ เิ ริม่ ขึน้ ประสบความสําเร็จและขยายสูว งกวาง อาทิ โครงการ เอสซีจี รักษนํ้าเพื่ออนาคต ซึ่งไดขยายการสรางฝายชะลอนํ้า กวา 16,000 ฝาย และฟน ฟูฝายชะลอนํา้ ใหอยูในสภาพดีดงั เดิม รวมทั้ ง ถอดบทเรี ย นการเรี ย นรู จ ากการสร า งฝายชะลอนํ้า และวิถีชุมชนใน จ.ลําปาง เพื่อเผยแพรสูชมุ ชนอื่นตอไป นอกจากนี้ เอสซีจี ซิเมนตยังลดการปลอยกาซเรือนกระจก ไดปละประมาณ 300,000 ตัน จากการนําลมรอนเหลือใช ในกระบวนการผลิตปูนซีเมนตกลับมาผลิตไฟฟาดวยระบบ Waste Heat Power Generator ที่ติดตั้งครบแลว

คณะกรรมการบริษั ท ขอขอบคุณทานผูถือหุน ผูถือหุนกู ผูรวมทุน คูคา ลูกคา พนักงาน และผูเกี่ยวของทุกฝาย รวมถึง สถาบันการเงิน ทั้งในประเทศและตางประเทศ ที่สนับสนุน การดําเนินงานของเอสซีจีดวยดีตลอดมา และขอใหทุกทาน เชือ่ มัน่ วา เอสซีจจี ะดําเนินธุรกิจอยางรอบคอบ รัดกุม ยึดมัน่ ใน หลักจรรยาบรรณและบรรษัทภิบาล เพือ่ ใหเกิดประโยชนสงู สุด ตอผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝาย และเปนองคกรที่เจริญกาวหนา อยางยั่งยืนควบคูไปกับประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนตาม วิสัยทัศนขององคกร กรุงเทพมหานคร วันที่ 27 มกราคม 2553

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานกรรมการ

กานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ 5


ผังการบริหาร

คณะกรรมการ 1. จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานกรรมการ

คณะกรรมการ

บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล และสรรหา

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ พิจารณา ผลตอบแทน

สํานักงาน ตรวจสอบ

2. กําธน สินธวานนท์ กรรมการ 3. เสนาะ อูนากูล กรรมการ 4. สุเมธ ตันติเวชกุล กรรมการ 5. ปรีชา อรรถวิภัชน กรรมการ 6. พนัส สิมะเสถียร กรรมการ 7. ยศ เอื้อชูเกียรติ กรรมการ

กรรมการผูจัดการใหญ

8. อาสา สารสิน กรรมการ

หนวยงานสวนกลาง

9. ชุมพล ณ ลําเลียง กรรมการ 10. ธารินทร นิมมานเหมินท กรรมการ

6

เอสซีจี เคมิคอลส

เอสซีจี เปเปอร

เอสซีจี ซิเมนต

เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง

เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น

เอสซีจี การลงทุน

11. ประมนต สุธีวงศ กรรมการ 12. กานต ตระกูลฮุน กรรมการ และกรรมการผูจัดการใหญ


ผูบริหารระดับสูง เอสซีจี 1. กานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี 1

2

2. รุงโรจน รังสิโยภาส ผูชวยผูจัดการใหญ เอสซีจี

3. ชลณัฐ ญาณารณพ กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี เคมิคอลส 3

4

4. เชาวลิต เอกบุตร กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี เปเปอร

5. ปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ซิเมนต 5

6

6. พิชิต ไมพุม กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง

7. ขจรเดช แสงสุพรรณ กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น 8. ดําริ ตันชีวะวงศ กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี การลงทุน 7

8 7


ผลการดําเนินงาน เอสซีจี เคมิคอลส เอสซีจี เปเปอร เอสซีจี ซิเมนต เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น

8

10 12 14 16 18


สรุปผลการดําเนินงาน

0

(พันลานบาท) ยอดขายสุทธิ 150

(พันลานบาท) ยอดขายสุทธิ 60

0 2551 2552

EBITDA*

6.2

6.0

5

0

0

(พันลานบาท) ยอดขายสุทธิ

2551 2552

2551 2552

EBITDA*

กําไรสุทธิ**

15 26.9

30

10

(พันลานบาท) ยอดขายสุทธิ 15

100

10

2551 2552

EBITDA*

กําไรสุทธิ**

0 2551 2552

2551 2552

1.1

5 1.2

0

1.6

2551 2552

1.7

86.6

150

0.8

0

1.6

0

4.9

5 4.1

10

50

กําไรสุทธิ**

11.6

10

11.3

46.7

20

20

2551 2552

15 50.0

60 40

2.3

1.7 0

102.7

มียอดขายสุทธิ 86,641 ลานบาท กําไรสุทธิ 1,077 ลานบาท และมี EBITDA 1,581 ลานบาท ลดลงจากปกอ นรอยละ 9 จากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และความผันผวนของราคานํา้ มัน ธุรกิจจะขยายสาขารานคาปลีกในประเทศ และสํานักงานขายในตางประเทศ พัฒนาระบบจัดจําหนายและกระจายสินคา รวมทั้งพัฒนาระบบลูกคาสัมพันธใหดียิ่งขึ้น

กําไรสุทธิ**

7.9

5

2551 2552

เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น

EBITDA*

42.7

20

23.4

มียอดขายสุทธิ 26,873 ลานบาท กําไรสุทธิ 1,617 ลานบาท และมี EBITDA 4,907 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากปกอ นรอยละ 20 ธุรกิจยังเนนตอบสนอง ลูกคาดวยนวัตกรรมสินคาที่ครบวงจร พรอมพัฒนาบริการเพื่ออํานวยความ สะดวกใหกบั ลูกคา และขยายตลาดไปยังอาเซียนโดยเฉพาะอยางยิง่ ประเทศ เวียดนาม

2551 2552

10

2551 2552

เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง

2551 2552

15

(พันลานบาท) ยอดขายสุทธิ

มียอดขายสุทธิ 46,661 ลานบาท กําไรสุทธิ 6,214 ลานบาท และมี EBITDA 11,616 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 3 จากการลดตนทุน พลั ง งานด ว ยการติ ด ตั้ ง เครื่ อ งผลิ ต กระแสไฟฟ า จากความร อ นเหลื อใช ในกระบวนการผลิตปูนซีเมนต (Waste Heat Power Generator) ธุรกิจมุง ผลักดันการสงออกและขยายการลงทุนไปยังภูมิภาคอาเซียน

6.1

0

2551 2552

เอสซีจี ซิเมนต

12.6

19.5 10

0

40

กําไรสุทธิ**

12.6

50

47.1

มียอดขายสุทธิ 42,729 ลานบาท กําไรสุทธิ 2,286 ลานบาท และมี EBITDA 7,901 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 19 จากตนทุนที่ลดลง และยอดขายทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการขยายกําลังผลิต ธุรกิจเนนเพิม่ ขีดความสามารถ การแขงขันดวยการพัฒนาธุรกิจอยางยัง่ ยืน สรางสรรคนวัตกรรม และขยาย ตลาดไปยังภูมิภาคอาเซียน

EBITDA*

20

2551 2552

เอสซีจี เปเปอร

2551 2552

101.1

100

2551 2552

30 136.5

มียอดขายสุทธิ 101,115 ลานบาท กําไรสุทธิ 12,556 ลานบาท และมี EBITDA 19,482 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 55 เนื่องจากในไตรมาส ที่ 4 ป 2551 ธุรกิจขาดทุนจากมูลคาสินคาคงเหลือ (Stock Loss) กวา 4,000 ลานบาท ธุรกิจมุงพัฒนาสินคาและบริการที่มีมูลคาเพิ่มสูงและหลากหลาย ตอบสนองความตองการของลูกคาและผูบริโภค

47.1

0

24.3

20

16.8

100

40

2551 2552

เอสซีจี เคมิคอลส

กําไรสุทธิ**

6.7

200

EBITDA* 60

38.8

300

238.7

มียอดขายสุทธิ 238,664 ลานบาท และมี EBITDA 47,116 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 21 จากที่ทุกธุรกิจของเอสซีจีปรับตัวอยางรวดเร็ว เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ และการบริหารธุรกิจอยางรอบคอบ โดยเฉพาะดานการเงินและการแสวงหาตลาดใหม ๆ ทั้งในประเทศและ ตางประเทศ ทั้งนี้ ในป 2552 เอสซีจีมีกําไรสุทธิ 24,346 ลานบาท

(พันลานบาท) ยอดขายสุทธิ 293.2

ภาพรวมธุรกิจของเอสซีจี

2551 2552

* รวมเงินปนผลจากบริษัทรวม ** กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ 9


ขอมูลทางการเงิน (ลานบาท)

ขอมูลจากงบดุล * สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพย หนี้สิน สวนของผูถ อื หุน เฉพาะบริษัทและสวนของผูถ อื หุน สวนนอย

ขอมูลจากงบกําไรขาดทุน ขายสุทธิ ตนทุนและคาใชจาย กําไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจํา ** กําไรสุทธิ *** EBITDA **** * ** *** ****

2552

2551

2550

2549

2548

31,339 165,964 96,998 68,966

28,039 138,504 78,355 60,149

36,009 123,205 59,824 63,381

29,849 109,391 52,775 56,616

19,408 78,656 38,788 39,868

101,115 89,407 12,681 12,556 19,482

136,527 133,694 5,869 6,136 12,598

130,223 118,533 13,741 16,982 22,611

122,645 107,801 17,545 17,574 26,199

86,084 74,477 16,263 16,656 19,653

ป 2549 ปรับปรุงใหมเพื่อแสดงเปรียบเทียบกับป 2550 ซึ่งปรับปรุงคํานิยามสวนไดเสียในผูถือหุนสวนนอยตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 กําไรกอนกําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนและอื่นๆ - สุทธิจากภาษีเงินได กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ กําไรกอนภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย รวมเงินปนผลรับจากบริษัทรวม

ผลการดําเนินงาน

ในป 2552 ธุรกิจเคมีภัณฑปรับตัวดีขึ้นกวาป 2551 ราคา วัตถุดิบและเม็ดพลาสติกปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่องจากความ ตองการแนฟทาและเม็ดพลาสติกเพิม่ ขึน้ ตามสภาวะเศรษฐกิจโลก ทีเ่ ริม่ ฟน ตัว โดยเฉพาะในประเทศจีนและประเทศอืน่ ๆ ในเอเชีย และราคานํา้ มันดิบปรับตัวสูงขึน้ เมือ่ เทียบกับไตรมาสที่ 4 ของป 2551 ประกอบกับการเลือ่ นกําหนดการเริม่ ผลิตของโรงงานโอเลฟนสและ โพลิโอเลฟนสในตะวันออกกลาง ราคาแนฟทาเฉลีย่ ของป 2552 อยูท ่ี 553 ดอลลารสหรัฐตอตัน ปรับตัวลดลงจากราคาเฉลีย่ ของ ปกอ น 274 ดอลลารสหรัฐ ราคาเม็ดพลาสติกเฉลีย่ 1,134 ดอลลาร สหรัฐตอตัน ลดลงจากราคาเฉลีย่ ของปกอ น 342 ดอลลารสหรัฐ เอสซีจี เคมิคอลส มียอดขายรวม 101,115 ลานบาท ลดลง รอยละ 26 จากปกอ น ซึง่ เปนผลจากราคาขายผลิตภัณฑทล่ี ดลง EBITDA เทากับ 19,482 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 55 จากปกอ น เนือ่ งจากในไตรมาสที่ 4 ป 2551 ธุรกิจรับรูผ ลขาดทุนจากมูลคา สินคาคงเหลือ (Stock Loss) กวา 4,000 ลานบาท โดยธุรกิจมี กําไรสุทธิ 12,556 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 105 เมื่อเทียบกับ ปกอน

การพัฒนาองคกร

ดานธุรกิจ

• พัฒนาสินคาหลากหลายกวา 30 ประเภท ครอบคลุม ทั้งสินคาคงทน สินคาอุปโภคบริโภค และสินคาโครงสราง พื้ น ฐาน โดยมียอดขายสินคาที่มีมูลคาเพิ่มกวารอยละ 26 ของยอดขายรวม • ตัง้ สํานักงานสาขาทีเ่ มืองดูไบ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส เพื่อผลักดันยอดขายสินคาในยุโรป ตะวันออกกลาง และ แอฟริกา รวมทั้งขยายตลาดไปยังกวา 100 ประเทศทั่วโลก

10

• เพิม่ กําลังพลของสํานักงานเซีย่ งไฮและกวางเจา เพือ่ รองรับ ปริมาณการขายที่เพิ่มขึ้น • เขาถือหุน ในบริษัทประเภท Technology Licensing ขนาด กลางในอุตสาหกรรมปโตรเคมีและโรงกลัน่ ประเทศสหรัฐอเมริกา มูลคาประมาณ 1,200 ลานบาท ชวยพัฒนาเทคโนโลยีแบบ กาวกระโดดและพัฒนาศักยภาพบุคลากรในดานการวิจัยและ วิศวกรรมออกแบบระบบ • บริษั ทกรุงเทพ ซินธิติกส จํากัด ซึ่งเปน บริษั ทรวม ไดลงทุนสรางโรงงานผลิต NB Latex นํา้ ยางสังเคราะหที่ใชผลิต ผลิตภัณฑทางการแพทย มูลคาประมาณ 1,225 ลานบาท กําลังผลิต ปละ 54,000 ตัน คาดวาจะเริ่มผลิตไดในป 2554

ดานทรัพยากรบุคคล

• เพิม่ ประสิทธิภาพการดูแลพนักงานทีเ่ กีย่ วของกับงานวิจยั และพัฒนา โดยจัดตัง้ คณะกรรมการบริหารงานบุคคลเพือ่ ดูแล พนั ก งานกลุ ม นี้ โ ดยเฉพาะ ทั้ ง ด า นความก า วหน าในอาชี พ ผลการปฏิบตั งิ าน และผลตอบแทน ตลอดจนสงเสริมการอบรม และแลกเปลี่ยนความรูกับผูเชี่ยวชาญและสถาบันวิจัยชั้นนํา ทั้งในประเทศและตางประเทศอยางตอเนื่อง • พัฒนาทักษะความเปนผูนําใหกับพนักงานระดับจัดการ ในดานตาง ๆ อาทิ Facilitative Leadership, Strategic Communication และ Global Mindset • พั ฒ นาพนั ก งานใหม ในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ขึ้ น ไป ใหมีความรูดานภาพรวมของการดําเนินธุรกิจ และสามารถ ปรั บ ตั ว ให เ ข า กั บ องค ก รได ร วดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น ผ า นหลั ก สู ต ร Career Development Program • เสริ ม สร า งความรู แ ละทั ก ษะก อ นเริ่ ม ปฏิ บั ติ ง าน ใหกับพนักงานใหม ในระดับปฏิบัติการ ผานโครงการ Mini Constructionism-Chemicals Engineering Practice School


“เปาหมายของเราคือตองการใหลูกคาเติบโตไปพรอมกับเอสซีจี เราจึงเนนเสริมความสามารถการแข มารถการแข าร ร งขั​ันของลูลูกคาผู ผแปรรูรูป (Converter) ใหพัฒนาสิ าสินคาทันความต ม องการของตลาด ก อง ด และผูบริโภคอยางมีประสิ ะสิสิทธิภาพที พ ่สุด ควบคู คู ไปกับกการพัฒนา นวัตกรรมสินคาและบริการร อาทิ เม็มดพลาสติ า ก PE1000 สําหรับผลิตทอทนแรงดันสู นสูง ไมมมี​ีสารและกลิ ล ่นตกค ต าง แผนอะคริลิก Shinkolitee ที่บิดโค คงหรือขยายได ข ดตามทีที่ตองการ า รวมทั้งจัดหาแหลงเงินทุนและบริ นและบริ ล หหาารสินทรั ท พย ใหหกับลูกคา เพื่อใหดําเนินธุรกิจไดอยางคล ค องตัตัว แม ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ” จ”

ยุทธนา เจียมตระการ กรรมการผูจัดการ บริษัทเอสซีจี เพอรฟอรมานซ เคมิคอลส จํากัด ผูจัดจําหนายเม็ดพลาสติกคุณภาพสูง

ดานนวัตกรรม

• ออกแบบกระบวนการผลิ ต เพื่ อ กํ า จั ด กลิ่ น ตกค า ง ของเม็ดพลาสติก HDPE ที่ ใชผลิตภาชนะบรรจอาหาร และ ปรับปรุงสูตรการผลิต เพิ่มตัวเรงปฏิกิริยาในกระบวนการผลิต เม็ดพลาสติก HDPE ใหมีประสิทธิภาพดีข้ึน ชวยลดตนทุน การผลิต • ร ว มกั บ บริ ษั ท สยามอุ ต สาหกรรมวั ส ดุ ท นไฟ จํ า กั ด ในเอสซีจี ซิเมนต พัฒนาสารเคลือบผิวสําหรับเตาเผาอุณหภูมสิ งู ทีส่ ะทอนรังสีความรอนไดดี ลดการใชพลังงาน รวมทัง้ ประดิษฐ หุนกลตรวจสอบระบบการทํางานภายในเตาเผา ทดแทนการ ทํางานของคน ซึ่งมีคาใชจายสูงและใชเวลานาน • พัฒนา PVC Compound เพือ่ เปนวัตถุดบิ ในการผลิตสายไฟ เนนความปลอดภัยสําหรับการใชงานในอาคารสูง มีคณุ สมบัตพิ เิ ศษ คือติดไฟยาก ลดปริมาณควันและไอกรดในกระบวนการผลิต • พัฒนาระบบการเงินและสินเชือ่ e-Credit สนับสนุนการ ดําเนินธุรกิจของลูกคาในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ ชวยใหความเสีย่ ง ดานลูกหนี้ลดลง ชวยบริหารตนทุนการเงินและเงินสดคงเหลือ ไดอยางมีประสิทธิภาพ • พั ฒ นาวั ต ถุ ดิ บ เพื่ อใช ผ ลิ ต Melamine Stoneware ทดแทนการนําเขา Fiber Stone ชวยลดตนทุน • พัฒนากระบวนการผลิต HDPE Compound เปนแบบ เบ็ดเสร็จในขัน้ ตอนเดียว ลดการใชพลังงาน ลดขัน้ ตอนการขนยาย และลดตนทุนการผลิตโดยรวม

• ขยายตลาดไปยังหลายภูมภิ าคทัว่ โลกและขยายสํานักงาน การคาตางประเทศในภูมิภาคหลัก เพื่อรับทราบขอมูลตลาด และขาวสารตาง ๆ ไดอยางทันทวงที ชวยลดความเสี่ยงจาก ความผันผวนของตลาด • พัฒนากระบวนการผลิตและจัดจําหนายใหมปี ระสิทธิภาพ ดียิ่งขึ้น ดวยระบบการจัดการผลผลิตทั่วทั้งองคกร (TPM) และ ระบบการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองคกร (TQM) เพื่อลดตนทุน และควบคุมคุณ ภาพของกระบวนการผลิตควบคูไปกับการ จัดการดานสิ่งแวดลอมอยางจริงจังและตอเนื่อง • พัฒนาระบบการบํารุงรักษาสิ่งแวดลอมแบบยั่งยืน อาทิ ระบบจัดเก็บของเสีย กระบวนการลดการปลอยมลพิษ ระบบ ประหยัดพลังงาน และการสงเสริมการใชวัตถุดิบที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม

กลยุทธการดําเนินธุรกิจ

• พัฒนาสินคาและบริการที่มีมูลคาเพิ่มสูงและมีความ หลากหลาย เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา และ เตรียมพรอมสําหรับการแขงขันที่สูงขึ้น

11


ขอมูลทางการเงิน (ลานบาท)

ขอมูลจากงบดุล สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพย หนี้สิน สวนของผูถ อื หุน เฉพาะบริษัทและสวนของผูถ อื หุน สวนนอย

ขอมูลจากงบกําไรขาดทุน ขายสุทธิ ตนทุนและคาใชจาย กําไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจํา * กําไรสุทธิ ** EBITDA ***

2552

2551

2550

2549

2548

13,121 47,942 19,780 28,162

14,010 51,089 23,683 27,406

14,334 46,454 20,372 26,082

13,162 40,734 16,868 23,866

12,393 38,575 14,025 24,550

42,729 39,740 2,286 2,286 7,901

47,110 44,909 1,658 1,658 6,660

43,890 40,514 2,353 2,353 7,943

42,645 37,649 3,574 3,574 9,634

40,306 35,265 3,689 3,689 9,496

* กําไรกอนกําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนและอื่นๆ - สุทธิจากภาษีเงินได ** กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ *** กําไรกอนภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย รวมเงินปนผลรับจากบริษัทรวม

ผลการดําเนินงาน

ป 2552 ธุรกิจกระดาษไดรับผลกระทบจากความตองการ กระดาษสํ า หรั บ สิ่ ง พิ ม พ แ ละบรรจภั ณ ฑ ใ นประเทศลดลง จากภาวะเศรษฐกิจที่ยังชะลอตัว อยางไรก็ตาม กําลังซื้อ ในภูมภิ าคอาเซียนยังคงเพิม่ ขึน้ ทําใหปริมาณการสงออกสูงขึน้ เมื่อเทียบกับป 2551 เอสซีจี เปเปอร มียอดขายรวม 42,729 ลานบาท ลดลงรอยละ 9 จากปกอ น EBITDA เทากับ 7,901 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 19 โดยธุรกิจมีกําไรสุทธิ 2,286 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 38 จาก การเพิ่ ม กํ า ลั ง ผลิ ต ของกระดาษพิ ม พ เ ขี ย นและกระดาษ อุตสาหกรรมทั้งในและตางประเทศ แตราคากระดาษปรับตัว ลดลงทําใหมูลคาขายสุทธิลดลง ทั้งนี้ ธุรกิจยังมีกําไรเพิ่มขึ้น จากการบริหารตนทุนใหมปี ระสิทธิภาพ • เยื่อกระดาษและกระดาษพิมพเขียน: ปริมาณการขาย เพิ่มขึ้นรอยละ 18 จากป 2551 โดยเปนผลมาจากการเพิ่ม ยอดขายกระดาษถายเอกสารนวัตกรรมใหม ภายใตแบรนดไอเดีย และจากการเพิ่มการสงออกไปยังประเทศในภูมิภาคอาเซียน อาทิ เวียดนาม มาเลเซีย และภูมิภาคตะวันออกกลาง ราคา ผลิตภัณฑเฉลี่ยลดลงรอยละ 15 • กระดาษอุตสาหกรรมและบรรจภัณฑ: ปริมาณการขาย เพิ่มขึ้นรอยละ 2 โดยเปนผลจากตลาดสงออก และกําลังการ ผลิตจากฐานการผลิตในประเทศเวียดนาม ในขณะที่กิจการ บรรจภัณฑมีปริมาณการขายลดลง สืบเนื่องมาจากการบริโภค ชะลอตัวของสินคาบางจําพวก เชน เครื่องใชไฟฟา และอะไหล รถยนต เมื่อเทียบกับป 2551 ราคาผลิตภัณฑเฉลี่ยรวมลดลง รอยละ 15

12

การพัฒนาองคกร

ดานธุรกิจ

• โรงงานผลิตกระดาษคราฟทของบริษัท Vina Kraft Paper Co., Ltd. ประเทศเวียดนาม เริม่ ผลิตอยางเปนทางการในไตรมาส 2 กําลังผลิตปละ 220,000 ตัน • บริษัทกลุม สยามบรรจภัณฑ จํากัด และ Rengo Co., Ltd. ประเทศญีป่ นุ ลงนามในสัญญาเขาซือ้ หุน ทัง้ หมดในบริษัท New Asia Industries Co., Ltd. บริษัทดานบรรจภัณฑ ประเทศ เวียดนาม มูลคาประมาณ 770 ลานบาท เพือ่ ขยายฐานการผลิต และจัดจําหนายในภูมิภาค • บริษั ทสยามฟอเรสทรี จํากัด รวมกับบริษั ทสหโคเจน (ชลบุรี) จํากัด จัดตั้งบริษัทสหกรีน ฟอเรสท จํากัด เพื่อศึกษา ความเปนไปไดและพัฒนาโครงการผลิตพลังงานจากเชือ้ เพลิงชีวมวล จากเปลือกไม เศษไม และของเหลือจากพืชผลทางการเกษตร

ดานทรัพยากรบุคคล

• พัฒนาบุคลากรใหมีความรูและทักษะตามกลยุทธการ เติบโตของธุรกิจ และเตรียมความพรอมใหพนักงานที่จะไป ปฏิบัติงานในตางประเทศ รวมทั้งเสริมสรางบรรยากาศการ ทํางานที่ดี เพื่อใหพนักงานมีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดี อันจะนําไปสูการสรางสรรคงานที่มีคุณภาพ • สรางวัฒนธรรมการแบงปนความรูแ ละการเรียนรูร ว มกัน อย า งต อ เนื่ อ งและสร า งสรรค ผ า นกลุ ม พนั ก งานในวิ ช าชี พ เดียวกัน และการเรียนรูแบบบูรณาการ เพื่อสรางนวัตกรรม และองคความรูใหมภายในองคกร • พัฒนาระบบการเรียนรูด ว ยตนเองผาน e-Learning และ สรางหลักสูตรวิชาชีพดานเทคโนโลยีการผลิต


“เราตอบสนองความตองการของลูกคาเปนหลัก นอกจากกระดาษไอเดีย กรีน ที่ลดการใชตนไมลงรอยละ 30 ซึ่งกลุมผูบริโภคที่รักสิ่งแวดลอมใหการตอบรับดีเกินคาด ปที่ผานมา เราไดแนะนํากระดาษไอเดีย เวิรค เพื่อตอบสนอง สํานักงานยุคใหมที่ตองการงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ชวยใหงานพิมพเอกสารคมชัดยิ่งขึ้น เหมาะกับเครื่องพิมพ สํานักงานทุกประเภท เราจะพัฒนาตอไปอยางไมหยุดนิ่ง เพื่อนําเสนอสิ่งที่ดีกวาสําหรับผูบริโภค”

ดนัยเดช เกตุสุวรรณ ผูจัดการธุรกิจ Home & Office Solution สํานักงานการตลาด บริษัทเอสซีจี เปเปอร จํากัด (มหาชน) ผูผลิตกระดาษครบวงจรรายใหญที่สุด ในประเทศไทย และภูมิภาคอาเซียน

ดานนวัตกรรม • กระดาษไอเดีย เวิรค กระดาษถายเอกสารคุณภาพซูเปอร พรีเมี่ยมที่เคลือบผิวกระดาษดวยสารนาโน ชวยใหผิวกระดาษ ขาวเรียบเนียน ภาพพิมพคมชัด และเทคโนโลยีการเรียงตัวของ เยื่อแบบใหมชวยเพิ่มประสิทธิภาพใหคงรูป ไมติดเครื่องพิมพ • กระดาษโนตโปร ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ สําหรับงานเขียนโดยเฉพาะ ผิวหนากระดาษเรียบ ลืน่ ซึมซับหมึกไดเร็ว ทําใหหมึกไมเลอะมือ ลายเสนคมชัด เหมาะสําหรับสมุดบันทึกและไดอารี่ • กระดาษแบบเรียนนวัตกรรมใหม ชวยถนอมสายตา นํ้าหนักเบา เก็บรักษาไดนานโดยที่กระดาษไมเปลี่ยนสี มีฝุน ที่ผิวหนาตํ่า ทําใหสามารถพิมพไดอยางตอเนื่อง พัฒนาขึ้นเพื่อ ตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ตองการเปลี่ยน กระดาษของแบบเรียนใหเปนกระดาษถนอมสายตา • Coffee Sleeve ปลอกกระดาษกันความรอนสําหรับถวย กาแฟ พรอม ThermoZense สติก๊ เกอรแสดงความรอนทีเ่ ปลีย่ น สีไดตามอุณหภูมิของกาแฟในถวย

กลยุทธการดําเนินธุรกิจ

• รักษาความเปนผูนําตลาดในประเทศและเพิ่มขีดความ สามารถการแขงขัน ดวยการลดตนทุนการผลิต และตนทุน พลังงาน พรอมพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต สรางสรรคนวัตกรรม และขยายการลงทุนในภูมิภาคอาเซียน เพื่อรองรับการเติบโต ของตลาดในอนาคต • พัฒนาสินคาและบริการที่มีมูลคาเพิ่มสูง เพื่อตอบสนอง ความตองการใหม ๆ อยางไมหยุดนิ่ง และใหความสําคัญตอ การดูแลรักษาสิง่ แวดลอมทัง้ ในกระบวนการผลิตและการสราง จิตสํานึกใหพนักงานและผูเ กีย่ วของ เพือ่ นําไปสูก ารพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน • สรางความสัมพันธทดี่ กี บั ลูกคา เพือ่ เขาถึงความตองการ และรวมกันพัฒนาสินคาและบริการใหสามารถตอบสนองตอ ความตองการทางการตลาดมากยิ่งขึ้น

13


ขอมูลทางการเงิน (ลานบาท)

ขอมูลจากงบดุล สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพย หนี้สิน สวนของผูถ อื หุน เฉพาะบริษัทและสวนของผูถ อื หุน สวนนอย

ขอมูลจากงบกําไรขาดทุน ขายสุทธิ ตนทุนและคาใชจาย กําไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจํา * กําไรสุทธิ ** EBITDA ***

2552

2551

2550

2549

2548

9,013 60,681 12,424 48,257

9,886 60,770 11,932 48,838

10,075 60,132 14,846 45,286

9,866 57,791 15,958 41,833

9,199 55,953 17,877 38,076

46,661 38,694 6,124 6,214 11,616

49,999 42,124 6,004 6,006 11,272

44,087 36,943 5,467 5,463 10,198

44,123 35,451 6,649 6,652 12,200

41,630 31,756 7,920 7,916 13,235

* กําไรกอนกําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนและอื่นๆ - สุทธิจากภาษีเงินได ** กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ *** กําไรกอนภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย รวมเงินปนผลรับจากบริษัทรวม

ผลการดําเนินงาน

ป 2552 อุตสาหกรรมปูนซีเมนตในประเทศมีกําลังผลิต รวม 56 ลานตัน ขณะทีม่ คี วามตองการ 24 ลานตัน ใกลเคียงกับ ปกอ น เนือ่ งจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว รวมทัง้ ปญหาการเมือง ภายในประเทศ เอสซี จี ซิ เ มนต มี ย อดขายรวม 46,661 ล า นบาท ลดลงรอยละ 7 จากปกอน ขณะที่มี EBITDA 11,616 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 3 โดยธุรกิจมีกําไรสุทธิ 6,214 ลานบาท เพิ่มขึ้น รอยละ 3 สาเหตุหลักจากการลดตนทุนการผลิต • ปูนซีเมนตเทา: ยอดขายรวมลดลงรอยละ 3 จากปริมาณขาย ในประเทศและสงออกที่ ใกลเคียงกับปกอน ขณะที่ Kampot Cement ประเทศกัมพูชา เดินเครื่องจักรเต็มกําลังผลิต • คอนกรีตผสมเสร็จ: ยอดขายรวมลดลงรอยละ 11 จาก ปริมาณขายในประเทศลดลงรอยละ 9 ธุรกิจไดแตงตัง้ แฟรนไชส เพิ่มขึ้นอีก 14 ราย • ผลิตภัณฑคอนกรีต: ยอดขายรวมลดลงรอยละ 9 จาก ปริมาณขายในประเทศของผลิตภัณฑ Precast และ Post Tension ลดลงรอยละ 5 และ 10 ตามลําดับ ธุรกิจไดแตงตั้งแฟรนไชส เพิ่มขึ้นอีก 2 ราย • ปูนซีเมนตขาว: ยอดขายรวมใกลเคียงกับปกอ นจากปริมาณ ขายในประเทศและการสงออกใกลเคียงกับปกอน • ปูนสําเร็จรูป: ยอดขายรวมใกลเคียงกับปกอ นจากปริมาณ ขายในประเทศและการสงออกใกลเคียงกับปกอน • วัสดุทนไฟ: ยอดขายรวมลดลงรอยละ 7 จากปริมาณขาย ในประเทศลดลงรอยละ 29 ในขณะที่ปริมาณสงออกใกลเคียง กับปกอน

14

การพัฒนาองคกร

ดานธุรกิจ

• ขยายกํ า ลั ง ผลิ ต ปู น สํ า เร็ จ รู ป ที่ โ รงงานเขาวง ป ล ะ 450,000 ตัน และโรงงานทุงสง ปละ 450,000 ตัน มูลคาการ ลงทุนรวม 675 ลานบาท คาดวาจะเปดดําเนินการในไตรมาส 1 ป 2554 ทําใหมีกําลังผลิตปูนสําเร็จรูปรวมปละ 2.25 ลานตัน • ติดตั้งเครื่องจักรใหมสําหรับเหมืองโรงงานปูนทาหลวง มูลคาการลงทุน 615 ลานบาท เพื่อรองรับความตองการ ใชหินปูนอยางตอเนื่อง ยกระดับมาตรฐานการปองกันและ ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ตามมาตรการตรวจแกไขและ ปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) • ติดตั้งระบบผลิตกระแสไฟฟาจากความรอนเหลือใช ในกระบวนการผลิต (Waste Heat Power Generator) ครบ ทุกสายการผลิตปูนซีเมนตเทาทั้งในประเทศไทยและกัมพูชา รวม 100 เมกะวัตต ในไตรมาส 4 ป 2552 มูลคาการลงทุนรวม 5,850 ลานบาท สามารถผลิตไฟฟาใชเองไดรอยละ 30 ชวยลด การซือ้ จากภายนอกไดประมาณปละ 1,600 ลานบาท และชวยลด ปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดมากกวาปละ 300,000 ตัน เมือ่ เดินเครือ่ งจักรเต็มกําลังผลิต

ดานทรัพยากรบุคคล

• พัฒนาพนักงานใหมีความสามารถสอดคลองกับกลยุทธ ของธุรกิจ เสริมสรางวัฒนธรรมองคกรทีเ่ ปดโอกาสใหพนักงาน แสดงความคิดสรางสรรค เอาใจใสลกู คา เพือ่ นํามาพัฒนาสินคา และบริการใหตอบสนองความคาดหวังของลูกคา รวมทัง้ จัดการ องคความรูใหคงอยูตลอดไป


“เราใชเทคโนโลยี ใหม ๆ จากทั่วโลก ทั้งกระบวนการผลิต ควบคุม คุณภาพ ลดตนทุนวัตถุดิบ รักษาสิ่งแวดลอม และบริการดาน คอนกรีตสมัยใหม เพื่อพัฒนาคอนกรีตผสมเสร็จซีแพค ที่มีคุณสมบัติพิเศษ เหมาะกับการใชงานที่หลากหลาย อาทิ คอนกรีตสําหรับลานตากพืชผลทางการเกษตร คอนกรีตสําหรับงานชายฝงทะเล รวมทั้งพัฒนาบริการ ดวยการขนสงคอนกรีตดวยรถโมเล็ก และเปดรับชําระคาบริการผานเคานเตอรเซอรวิส เพื่อใหบริการลูกคารายยอยไดอยางมีประสิทธิภาพ”

บุญรอด คุปติทัฬหิ ผูจัดการสวนพัฒนาเทคโนโลยีคอนกรีตและบริการ บริษัทผลิตภัณฑและวัตถุกอสราง จํากัด ผูผลิตคอนกรีตผสมเสร็จซีแพค

• เตรียมความพรอมบุคลากรเพื่อรองรับการขยายตัวของ ธุรกิจทั้งในประเทศและตางประเทศ ตั้งแตสรรหา คัดเลือก พัฒนาทักษะความรูท จ่ี าํ เปน ปลูกฝงจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ ตลอดจนดูแลพนักงานในเรื่องผลตอบแทน สวัสดิการ และ สภาพแวดลอมในการทํางานใหเหมาะสมกับความตองการ ของพนักงานในแตละประเทศ

ดานนวัตกรรม

• พัฒนาปูนซีเมนตสาํ หรับงานเฉพาะ ไดแก ปูนชางทนนํา้ ทะเล ที่ชวยปองกันงานโครงสรางชายฝงทะเลจากการกัดกรอน ของสารซัลเฟต ปูนชางทีช่ ว ยลดระยะเวลาการถอดแบบคอนกรีต และปูนซีเมนตผสมสูตรเขมขนตราซูเปอรซีเมนต • พัฒนาคอนกรีตผสมเสร็จซีแพคสูตรพิเศษสําหรับลาน ตากพืชผลทางการเกษตร ทีอ่ าศัยหลักการดูดซับความรอนของ ลานคอนกรีต ทําใหความชื้นของพืชผลลดลงอยางรวดเร็ว ผลผลิตจึงขายไดราคาดีขึ้นและเร็วขึ้น • พัฒนาปูนซีเมนตขาวสําหรับงานฉาบผนังที่ใหความรูสึก เหมือนผนังธรรมชาติ • พัฒนาระบบไซโลและเครื่องพนฉาบปูนสําเร็จรู จรูป เพื่อให บริการ ณ พื้นที่ใชงานของลูกคา • พัฒนาเครือขายการจัดสงคอนกรีตผสมเสร็จ เพื่อการ จัดสงสินคาที่รวดเร็วยิ่งขึ้น

กลยุทธการดําเนินธุรกิจ

• สงเสริมการคิดคนนวัตกรรม สรางมูลคาเพิม่ ใหกบั สินคา และบริการ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาแตละกลุม • แสวงหาโอกาสขยายการลงทุนไปยังภูมภิ าคอาเซียนและ ผลักดันการสงออกสินคาเพือ่ รักษาระดับการผลิตใหมเี สถียรภาพ ทามกลางความไมแนนอนของสภาวะเศรษฐกิจโลก • มุง เนนการลงทุนดานวิจยั และพัฒนา รวมทัง้ รักษาสภาพคลอง ลดตนทุนและคาใชจายเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อการ เติบโตในระยะยาวตามหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน

15


ขอมูลทางการเงิน (ลานบาท)

ขอมูลจากงบดุล สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพย หนี้สิน สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัทและสวนของผูถือหุนสวนนอย

ขอมูลจากงบกําไรขาดทุน ขายสุทธิ ตนทุนและคาใชจาย กําไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจํา * กําไรสุทธิ ** EBITDA ***

2552

2551

2550

2549

2548

8,677 22,991 13,916 9,075

8,326 22,654 15,435 7,219

7,576 19,863 13,540 6,323

7,745 20,595 14,180 6,415

7,640 20,259 8,925 11,334

26,873 25,135 1,538 1,617 4,907

23,351 22,739 754 778 4,085

21,281 20,536 950 950 3,928

22,745 20,379 1,799 1,939 4,856

22,227 18,997 2,749 3,071 5,387

* กําไรกอนกําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนและอื่นๆ - สุทธิจากภาษีเงินได ** กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ *** กําไรกอนภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย รวมเงินปนผลรับจากบริษัทรวม

ผลการดําเนินงาน

ป 2552 ธุรกิจผลิตภัณฑกอสรางไดรับผลกระทบจาก เศรษฐกิจโลกชะลอตัวและปญหาการเมืองในประเทศ อยางไร ก็ตาม ภาครัฐไดออกมาตรการกระตุน เศรษฐกิจ เชน มาตรการ ทางภาษี มาตรการลดหยอนคาธรรมเนียมจดทะเบียนโอน และจํานอง รวมถึงเรงรัดเบิกจายงบประมาณและโครงการ ลงทุนขนาดใหญของรัฐ สงผลใหตลาดอสังหาริมทรัพยขยายตัว จากปกอนเล็กนอย เอสซีจี ผลิตภัณฑกอ สราง มียอดขายรวม 26,873 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 15 จากปกอน EBITDA 4,907 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 20 โดยธุรกิจมีกาํ ไรสุทธิ 1,617 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 108 จากการพัฒนาสินคาและบริการครบวงจรตอบสนองความตองการ ของผูบ ริโภคอยางตอเนือ่ ง รวมทัง้ การเพิม่ ทุนบริษัทยอยในธุรกิจ เซรามิก

การพัฒนาองคกร

ดานธุรกิจ

• รวมตราสิ น ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ก อ สร า งที่ ห ลากหลายให มี รูปแบบเดียวกัน ไดแก หลังคาไฟเบอรซีเมนต หลังคาคอนกรีต หลังคาเซรามิก หลังคาโปรงแสง ไมสังเคราะห ฝา ผนัง พื้น รั้ว สินคาตกแตงสวน ฉนวนกันความรอน และฉนวนกันเสียง ภายใตตราสินคา “ตราชาง” และรวมกระเบือ้ งเซรามิก กอกนํา้ และสุขภัณฑ ภายใตตราสินคา “COTTO” เพือ่ ใหลกู คาจดจําไดงา ย • ปรับโครงสรางธุรกิจและตราสินคา CPAC Dsign ใหเปน "แลนดสเคป ตราชาง" ขยายขอบเขตธุรกิจครอบคลุมงาน แลนดสเคปครบวงจร ตั้งแตออกแบบ เตรียมวัสดุกอสรางและ ติดตั้ง

16

• รวมทุนกับบริษัทเซกิซยุ เคมิคอล ประเทศญีป่ นุ รับสรางบาน แบบโมดูลาร ตั้งเปาทํายอดขาย 100 หลัง ภายในป 2553 • เปดโชวรูมและศูนยบริการครบวงจร COTTO STUDIO รูปแบบใหม 7 สาขา • ขยายสาขาศูนยบริการหลังคาครบวงจร รูฟฟง เซนเตอร เพิ่มเปน 38 สาขาทั่วประเทศ พรอมทั้งเปดบริการใหมดาน ฝาและผนัง

ดานทรัพยากรบุคคล

• พัฒนาพนักงานดานการวิจัยและเทคโนโลยี โดยจัดทํา แผนงานความกาวหนาทางวิชาชีพและฝกอบรมความรู เชน หลักสูตร Product Design and Development, Introduction to Green Building, Macro Trend และ Intellectual Property Law • เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการดู แ ลพนั ก งานที่ ป ฏิ บั ติ ง านใน ตางประเทศมากยิ่งขึ้น ควบคูไปกับการพัฒนาภาษาอังกฤษ อยางตอเนื่อง • จัดโครงการพัฒนาสติและสมาธิเบือ้ งตนสําหรับพนักงาน เพื่อการพัฒนาตนเอง และโครงการ Freshy Networking Program สําหรับพนักงานทีม่ อี ายุงานไมถงึ 3 ป เพือ่ เสริมสราง ความสัมพันธระหวางพนักงาน

ดานนวัตกรรม

• นวั ต กรรมบ า นระบบโมดู ล าร ที่ ผ ลิ ต จากโรงงานเป น Module สําเร็จรูป พรอมติดตั้งและเขาอยูอาศัยไดรวดเร็ว


“เราเพิ่มความสะดวกสบายใหกับลูกคา โดยรวบรวม วัสดุกอสรางคุณภาพเยี่ยมของเอสซีจี ใหเปนระบบ ทั้งหลังคา ฝาและผนัง หองนํ้า วัสดุกรุพื้นผิว และภูมิทัศนภายนอก รวมทั้งใหคําปรึกษา ออกแบบ ประมาณการคาใชจาย รับประกัน และบริการหลังการขาย ตอบสนองไลฟสไตลของผูบริโภคที่ตองการ ทั้งสินคาคุณภาพ และความสะดวกในการบริการ ทุกขั้นตอน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น”

ทนงชัย อัศวินชัยโชติ ผูจัดการโฮมโซลูชั่นเซ็นเตอร บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง จํากัด

ผูผลิตและจําหนายวัสดุกอสรางครบวงจร ตราชาง และ COTTO

• กระเบื้องเซรามิก COTTO รุน Eco Touch Series และกระเบื้อง Grazed Porcelain รุน Eco Rockrete Series ผลิตจากวัตถุดิบรีไซเคิลกวารอยละ 60 และลดการใชพลังงาน ในกระบวนการผลิต • ระบบติดตั้งกระเบื้องแบบ Speed Surface: Interlock และ Cladding System: A|C|T Technique จาก COTTO ซึ่ง สามารถติดตั้งไดรวดเร็วกวาระบบปกติ • Everclean Collection จากซีแพคโมเนีย เพิ่มคุณสมบัติ พิเศษของระบบเคลือบสี ทําใหผิวกระเบื้องหลังคาเรียบเนียน และทําความสะอาดตัวเองดวยฝนทีช่ ะลางตามธรรมชาติ ทําให สีสวยทนนาน • กระเบื้องหลังคาไฟเบอรซีเมนต ตราชาง สีประกายมุก มีนํ้าหนักเบาแตยังคงความแข็งแรง • ระบบหลังคาแบบ Top Hat Solution ใหบริการติดตั้ง พรอมรับประกันไมรั่วซึมเปนเวลา 10 ป • ฉนวนดู ด ซั บ เสี ย ง Cylence สํ า หรั บ กั้ น และดู ด ซั บ เสี ย งรบกวนภายในอาคาร โดยเฉพาะในส ว นที่ ต อ งการ ความเงียบหรือกันเสียงเล็ดลอด เชน หองสัมมนา โฮมเธียเตอร สตูดิโอ หรือโรงงานอุตสาหกรรม

• เพิม่ ประสิทธิภาพการตลาดทัง้ ในประเทศและตางประเทศ และสงเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑท่เี ปนมิตรตอสิ่งแวดลอมตาม มาตรฐานของฉลาก SCG eco value ซึ่งอางอิงมาตรฐานสากล ISO 14021 • มุ ง ทํ า ตลาดในประเทศเวี ย ดนามโดยเน น กลุ ม ลู ก ค า โครงการอาคารสูง เชน โรงแรม ซึ่งมีมูลคาและปริมาณการใช สินคาสูง ทั้งยังมุงสรางชื่อเสียงใหเปน ที่รูจักของผูบริโ ภค ในวงกวางยิ่งขึ้น

กลยุทธการดําเนินธุรกิจ

• มุ ง ตอบสนองลู ก ค า ด ว ยนวั ต กรรมสิ น ค า และบริ ก าร ที่ครบวงจร พรอมพัฒนาชองทางจัดจําหนายที่สะดวกสบาย ตอบทุกความตองการไดครบในแบบ One-Stop Shop อาทิ ราน Home Solution

17


ขอมูลทางการเงิน (ลานบาท)

ขอมูลจากงบดุล สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพย หนี้สิน สวนของผูถ อื หุน เฉพาะบริษัทและสวนของผูถ อื หุน สวนนอย

ขอมูลจากงบกําไรขาดทุน ขายสุทธิ ตนทุนและคาใชจาย กําไรสุทธิกอนรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจํา * กําไรสุทธิ ** EBITDA ***

2552

2551

2550

2549

2548

6,941 10,110 7,333 2,777

7,807 10,903 7,557 3,346

8,528 11,143 8,834 2,309

8,214 10,610 8,576 2,034

6,406 8,560 7,337 1,223

86,641 85,821 1,077 1,077 1,581

102,672 101,582 1,211 1,211 1,739

86,440 85,415 939 939 1,576

81,519 80,495 944 1,021 1,498

76,070 74,932 1,079 1,079 1,546

* กําไรกอนกําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนและอื่นๆ - สุทธิจากภาษีเงินได ** กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ *** กําไรกอนภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย รวมเงินปนผลรับจากบริษัทรวม

ผลการดําเนินงาน

ป 2552 ธุรกิจจัดจําหนายไดรบั ผลกระทบจากเศรษฐกิจโลก ชะลอตัว ความผันผวนของราคานํ้ามัน และปญหาการเมือง ภายในประเทศ สงผลใหตลาดวัสดุกอสรางในประเทศหดตัว รอยละ 18 การสงออกลดลงรอยละ 10 และการนําเขาลดลง รอยละ 15 เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น มียอดขายรวม 86,641 ลานบาท ลดลงรอยละ 16 จากปกอน EBITDA 1,581 ลานบาท ลดลง รอยละ 9 โดยธุรกิจมีกาํ ไรสุทธิ 1,077 ลานบาท ลดลงรอยละ 11 • บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จํากัด: ยอดขาย ลดลงจากป ก อ นร อ ยละ 9 เนื่ อ งจากความต อ งการสิ น ค า วัสดุกอสรางในประเทศลดลง • บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส แมเนจเมนท จํากัด: ยอดขาย ลดลงจากปกอ นรอยละ 13 เนือ่ งจากราคานํา้ มันเฉลีย่ ทัง้ ปลดลง • บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จํากัด: ยอดขายลดลงจาก ปกอนรอยละ 28 เนื่องจากการนําเขาสินคาวัตถุดิบลดลง อาทิ ถานหินและเศษเหล็ก รวมทั้งราคาสินคาสงออกลดลง อาทิ ปูนซีเมนต

การพัฒนาองคกร

ดานธุรกิจ

บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จํากัด: • แตงตั้งผูแทนจําหนายเพิ่มเปน 450 ราย ทั่วประเทศ • เพิ่มสาขาโฮมมารทอีก 17 ราน รวมเปน 84 ราน และ รวมมือกับผูแทนจําหนายพัฒนารานคาวัสดุกอสรางทองถิ่น ในรูปแบบ Home Express เพิ่ม 10 ราน รวมเปน 42 ราน

18

• เปดบริการ Pro Shop ในรานผูแทนจําหนาย 9 ราน และ จัดทําบัตรสมาชิก เพือ่ ใหบริการลูกคากลุม ชาง ซึง่ มีสมาชิกรวม 22,000 คนไดดียิ่งขึ้น รวมทั้งดําเนินโครงการนายชางดี พัฒนา ชางคุณภาพแลวทั้งสิ้น 120 คน บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส แมเนจเมนท จํากัด: • สรางคลังสินคาและลานตูคอนเทนเนอรแหงที่ 2 ขนาด 25,000 ตารางเมตร ทีท่ า เรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี เพิม่ ความ สามารถบริการสงออก • จั ด ทํ า มาตรฐานด า นสิ่ ง แวดล อ มและชุ ม ชนสั ม พั น ธ ในการจัดการกองเก็บและจัดสงถานหิน บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จํากัด • ขยายตลาดไปยังยุโรปตะวันออกและแอฟริกา โดยเปด สํานักงานการคาตางประเทศในประเทศโปแลนด รัสเซีย และ แอฟริกาใต ปจจบันมีสาขา 35 แหง ใน 22 ประเทศ • จัดตั้งโรงอัดเศษกระดาษ 3 แหงในประเทศเวียดนาม เพื่อสงวัตถุดิบใหโรงงานของเอสซีจี เปเปอร • จัดตั้งกองถานหินในประเทศฟลิปปนส เพื่อใชผลิตสินคา ของเอสซีจี เปเปอร และลูกคาอื่น ๆ โดยกองเก็บถานหินได 72,000 ตัน

ดานทรัพยากรบุคคล

• พั ฒ นาบุ ค ลากรด า นภาษาและทั ก ษะการปฏิ บั ติ ง าน รองรับการขยายงานในประเทศและตางประเทศ • ปรั บ ปรุ ง กระบวนการสรรหาพนั ก งานต า งประเทศ และพัฒนาความสามารถตามตําแหนง


“ในฐานะหนวยงานที่ติดตอกับลูกคาโดยตรงทั้งในประเทศและภูมิภาคอาเซียน ผานรานโฮมมารท และเครือขายตาง ๆ เราจึงมุงศึกษารูปแบบการใชชีวิต ของลูกคาแตละกลุม เพื่อใหธุรกิจตาง ๆ สามารถพัฒนาสินคา บริการ และ Solution ตอบสนองลูกคาไดดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ เรายังเนนการ พัฒนาระบบจัดจําหนาย และกระจายสินคา รวมทั้งพัฒนาระบบ ลูกคาสัมพันธ (Collaborative Relationship Engagement) เพื่อรองรับความตองการของผูบริโภค และสรางประโยชนสูงสุด ใหกับผูแทนจําหนายใหสามารถแขงขันได ในอนาคต”

บดินทร ดิลกวรโชติ ผูอํานวยการฝายการตลาด บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จํากัด

ผูดําเนินกิจการเครือขายรานคาวัสดุกอสรางโฮมมารท

ดานนวัตกรรม

• สรางศูนยแสดงนวัตกรรมดานการกอสรางและตกแตง ภายใตชอื่ ”เอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ” โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ลาสุดประกอบการจัดแสดงสินคา ใหบริการเจาของบานและ ผูเกี่ยวของ • ใชระบบการบริหารลูกคาสัมพันธเพือ่ เชือ่ มขอมูลระหวาง ผูผลิต ผูจดั จําหนาย รานคา ไปจนถึงผูใชปลายทาง สามารถ สรางยอดขายเพิ่มใหกับธุรกิจไดมากกวา 2,000 ลานบาทตอป • ปรับปรุงอาคารบริษัทคาสากลซิเมนตไทย จํากัด ใหเปน อาคารประหยัดพลังงาน โดยไดรบั รางวัลอาคารประหยัดพลังงาน ฉลากทองแหงแรกของประเทศไทย • ติดตั้งระบบ RFID เพื่อบริหารเที่ยวรถขนสงใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด

บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จํากัด: • เพิ่มศักยภาพและขยายเครือขายการคาในตางประเทศ เพื่อแสวงหาแหลงผลิตสินคาและวัตถุดิบที่มีคุณภาพ รวมทั้ง สรางความสัมพันธกับกลุมลูกคาเดิมและขยายตลาดใหม • พัฒนาสินคาและบริการที่มีมูลคาเพิ่ม โดยขยายไปยัง ธุรกิจตนนํ้าและปลายนํ้า

กลยุทธการดําเนินธุรกิจ

บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จํากัด: • เสริมชองทางจัดจําหนายแบบหลายชองทาง (Multi Channel Distribution) ตอบสนองความตองการของลูกคา ทั้งในประเทศและภูมิภาคอาเซียน ไดแก กัมพูชา เวียดนาม และอินโดนีเซีย • พัฒนารานโฮมมารทใหเปนรานวัสดุกอสรางที่ผูบริโภค เลื อ กเป น อั น ดั บ แรก โดยให บ ริ ก ารแบบครบวงจรและ สรางประสบการณประทับใจใหกับลูกคา บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส แมเนจเมนท จํากัด: • ใชระบบบริหารขอมูลลูกคาทุกขั้นตอน เพื่อตอบสนอง ความตองการของลูกคา รักษาลูกคาหลัก และเพิ่มสวนแบง การขนสงในลูกคาแตละราย • เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการขนส ง แบบ Multi-Modal Transportation เพือ่ ลดตนทุนและเพิม่ ความสามารถในการแขงขัน 19


รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

เอสซีจีดําเนินธุรกิจดวยความรับผิดชอบและเปนธรรม โดยยึ ด มั่ น ในอุ ด มการณ ซึ่ ง ได ถื อ ปฏิ บั ติ สื บ เนื่ อ งกั น มา เปนเวลานาน ภายใตกรอบของจรรยาบรรณที่ไดมีการพัฒนา ใหเหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม บนพื้นฐานแหงประโยชนสุขอยางสมดุลและยั่งยืน เอสซีจถี อื วานโยบายดานบรรษัทภิบาลของเอสซีจี เปนสวน หนึ่งของนโยบายการดําเนินธุรกิจ โดยคณะกรรมการบริษัทได กําหนดใหมกี ารติดตามและประเมินผลเปนประจําทุกป และมีการ ปรั บ ปรุ ง แก ไ ขให มีค วามทั น สมั ย เหมาะสมสอดคล อ งกั บ สภาวการณทางเศรษฐกิจและสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูต ลอดเวลา ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษั ทไดมอบหมายใหคณะกรรมการ บรรษัทภิบาลและสรรหาทําหนาที่กํากับดูแลดานบรรษัทภิบาล ของเอสซีจี ตลอดจนพิจารณาแนวโนมและความเคลื่อนไหว ในระดับสากล อาทิ หลักปฏิบตั ขิ องบริษัทชัน้ นําของโลกที่ไดรบั การยอมรับในดานบรรษัทภิบาล กฎเกณฑของตลาดหลักทรัพย ชัน้ นําของโลก เพือ่ เปรียบเทียบกับสิง่ ทีป่ ฏิบตั อิ ยูแ ละใหขอ เสนอแนะ ในการปรับปรุง อีกทั้งคณะกรรมการบริษัทยังไดมีการกําหนด ใหเรื่องบรรษั ทภิบาลเปนวาระหลักวาระหนึ่งในการประชุม คณะกรรมการบริษัท นอกจากนี้ เอสซีจีไดจดั ทําคูม อื บรรษัทภิบาล เอสซีจี และจรรยาบรรณเอสซีจี เผยแพรใหกับพนักงาน ควบคู ไปกับการใหความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับแนวปฏิบตั ทิ ถี่ กู ตอง เพือ่ ใหพนักงานทุกคนสามารถนําไปใชเปนแนวทางในการปฏิบตั งิ าน และ ไดเปดเผยเนื้อหารายละเอียด พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูสนใจ สามารถศึกษาไดในเว็บไซตของเอสซีจีที่ www.scg.co.th เอสซีจีไดมีการปรับปรุงจรรยาบรรณเอสซีจี เมื่อป 2550 ที่ไดเพิม่ แนวปฏิบตั ขิ องแตละธุรกิจ เสริมดวยตัวอยาง และกําหนด แนวปฏิบัติที่ชัดเจน รวมถึงการกําหนด Whistleblower Policy ซึ่งเปนมาตรการในการคุมครองพนักงานที่รองเรียน หรือให ขอมูลเกีย่ วกับการไมปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับ บริษัท และจรรยาบรรณเอสซีจี โดยมีคณะทํางานกําหนดนโยบาย และใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณเอสซีจี คณะทํางานซึง่ มีผชู ว ยผูจ ดั การใหญ เอสซีจี เปนหัวหนาคณะทํางาน และมีสมาชิกประกอบดวยผูบ ริหารระดับสูงในหนวยงานทีม่ หี นาที่ ดูแลในเรื่องตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ เอสซีจี และตัวแทนที่เปนผูบริหารระดับสูงในแตละกลุม ธุรกิจ โดยทําหนาที่ติดตามผลการดําเนินงาน ตลอดจนใหคําปรึกษา ในเรือ่ งตาง ๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งยังมีสํานักงานตรวจสอบ เปนหนวยงานรับผิดชอบในภาคปฏิบตั เิ กีย่ วกับชองทางในการรับ ขอรองเรียนและ Whistleblower Policy ตลอดป 2552 คณะทํางานฯ ไดมีการติดตามผลการ ดํ า เนิ น งาน การให ค วามรู และการส ง เสริ ม การปฏิ บั ติ ในเรื่องจรรยาบรรณแกพนักงานทุกคน ตลอดจนใหคําปรึกษา ในเรื่องตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับจรรยาบรรณเอสซีจี บนเว็บไซต “จรรยาบรรณเอสซีจ”ี และ ”ระบบใหคาํ ปรึกษาจรรยาบรรณ“ รวมถึง “ระบบรับขอรองเรียนตามแนวทาง Whistleblower Policy” และไดรายงานตอคณะกรรมการบรรษั ทภิบาลและ 20

สรรหาอยางสมํา่ เสมอ ทัง้ นี้ เพือ่ ใหการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณ เอสซีจี ดําเนินไปอยางถูกตองและสอดคลองกัน โดยในป 2552 พบวามีพนักงานใหความสนใจเยี่ยมชมเว็บไซตจรรยาบรรณ เอสซีจที งั้ สิน้ 7,665 ครัง้ มีสถิตขิ อ รองเรียนตาม Whistleblower Policy รวม 11 เรื่อง ซึ่งไดมีการดําเนินการแลวเสร็จ 9 เรื่อง และอีก 2 เรื่องอยูระหวางการตรวจสอบ เอสซีจเี ห็นวาหลักบรรษัทภิบาลเอสซีจี และจรรยาบรรณเอสซีจี เปนแนวทางบริหารองคกรทีม่ ปี ระโยชนอยางยิง่ จึงใหความสําคัญ ในหลักการ และแนวทางปฏิบัติท่ีเกี่ยวกับความรับผิดชอบ และเปนธรรมตอผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝาย ดังเชน การกําหนด อยางชัดเจนเกีย่ วกับโครงสราง องคประกอบ หนาทีค่ วามรับผิดชอบ ความเปนอิสระ และการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษั ท การเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส มีระบบการตรวจสอบและการบริหาร ความเสีย่ งทีร่ อบคอบ รัดกุม เพือ่ ความเชือ่ ถือและเพิม่ มูลคาใหแก ผูถ อื หุน ทัง้ นี้ ไดเปดเผยขอมูลในเรือ่ งดังกลาวผานชองทางตาง ๆ เชน ในรายงานประจําป แบบ 56-1 เว็บไซตของตลาดหลักทรัพยฯ เว็บไซตของเอสซีจี เพือ่ อํานวยความสะดวกใหผมู สี ว นไดเสียตางๆ สามารถเขาถึงขอมูลไดงาย และหลากหลายชองทางมากขึ้น นอกจากนี้ ยังเปดโอกาสใหผมู สี ว นไดเสียตาง ๆ มีสว นรวม ในการเสริมสรางผลการดําเนินงาน โดยสามารถเสนอแนะ ความคิดเห็นผานทางอีเมลไปยังนักลงทุนสัมพันธ (Investor Relations) ของเอสซีจีที่ invest@scg.co.th ซึง่ ขอเสนอแนะ ตาง ๆ จะไดรบั การรวบรวมกลัน่ กรอง เพือ่ รายงานตอฝายจัดการ เอสซีจี และคณะกรรมการบริษั ท เพื่อทราบและพิจารณา ตามลําดับตอไป

การปฏิบัติตามหลักเกณฑ การกํากับดูแลกิจการที่ดี

สิทธิของผูถือหุน (The Rights of Shareholders)

เอสซีจี ไดอํานวยความสะดวกใหผูถือหุนทุกรายไดรับสิทธิ พื้นฐานตาง ๆ ทั้งในฐานะนักลงทุนในหลักทรัพย และในฐานะ เจาของบริษัท ดวยวิธีการและมาตรฐานที่เปนที่ยอมรับ และ เชือ่ ถือได โดยใหสทิ ธิในการซือ้ ขาย โอน หลักทรัพยทต่ี นถืออยู อยางเปนอิสระ การไดรบั สวนแบงผลกําไรจากบริษัท การเขารวม ประชุมผูถ อื หุน การเสนอวาระการประชุมลวงหนา การเสนอชื่อ บุคคลเพื่อเขารับการเลือกตั้งเปนกรรมการบริษั ท การแสดง ความคิดเห็นในที่ประชุมอยางเปนอิสระ การรวมตัดสินใจ ในเรือ่ งสําคัญของบริษัท เชน การเลือกตัง้ กรรมการ การอนุมตั ิ ธุรกรรมที่สําคัญและมีผลตอทิศทางในการดําเนินธุรกิจของ บริษั ท การแกไขหนังสือบริคณหสนธิ ขอบังคับของบริษั ท ทั้งนี้ ผูถือหุน ทุกคนมีสิทธิออกเสียงตามจํานวนหุน ที่ถืออยู โดยหุน แตละหุน มีสทิ ธิออกเสียงหนึง่ เสียง และไมมหี นุ ใดมีสทิ ธิ พิเศษที่เปนการจํากัดสิทธิของผูถือหุนรายอืน่ นอกเหนือจากสิทธิพื้นฐานตาง ๆ ขางตนแลว เอสซีจียังได ดําเนินการในเรือ่ งอืน่ ๆ เพิม่ เติม ทีเ่ ปนการสงเสริม และอํานวย ความสะดวกในการใชสิทธิของผูถือหุน ดังนี้


1. ใหขอ มูลทีส่ าํ คัญและจําเปนสําหรับผูถ อื หุน เกีย่ วกับการ ดําเนินธุรกิจอยางชัดเจน และทันตอเหตุการณ โดยบาง เรื่องแมวาตามเงื่อนไขของกฎหมายจะไมไดบังคับให ตองเปดเผย แตถาหากเอสซีจีเห็นวาเรื่องใดมีความ จําเปนทีผ่ ถู อื หุน ตองรับรู ก็จะแจงใหผูถือหุนทราบผาน ทางเว็บไซตของเอสซีจี และผานทางตลาดหลักทรัพยฯ 2. ผูถือหุนทุกรายไดรับขอมูลประกอบวาระการประชุม เปนการลวงหนากอนวันประชุมผูถือหุน โดยบริษัทได เผยแพรขอ มูลลวงหนาประมาณ 2 เดือนในเว็บไซตของ บริ ษั ท ก อ นจั ด ส ง เอกสารล ว งหน า ก อ นวั น ประชุ ม ไมนอ ยกวา 14 วัน นอกจากนี้ ยังไดชแ้ี จงสิทธิของผูถ อื หุน ในการเขาประชุม และสิทธิออกเสียงลงมติของผูถือหุน ไวอยางชัดเจนในหนังสือนัดประชุมที่บริษัทจัดสงให 3. ในกรณีท่ีผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเอง เอสซี จี เ ป ดโอกาสให ผู ถื อ หุ น สามารถมอบฉั น ทะให กรรมการอิสระหรือบุคคลใด ๆ เขารวมประชุมแทนตนได โดยใชหนังสือมอบฉันทะแบบหนึ่งแบบใดที่ไดจัดสงไป พรอมกับหนังสือนัดประชุม โดยบริษัทไดจัดทําหนังสือ มอบฉันทะในรูปแบบที่ผูถือหุนสามารถกําหนดทิศทาง การออกเสียงลงคะแนนไดตามแบบทีก่ ระทรวงพาณิชย กําหนด และผูถ อื หุน ยังสามารถดาวนโหลดแบบหนังสือ มอบฉัน ทะผานทางหนาเว็บไซตของเอสซีจี ได และ บริษัทยังไดจดั ใหมอี ากรแสตมปไวบริการผูถ อื หุน สําหรับ ปดหนังสือมอบฉันทะอีกดวย นอกจากนี้ บริษัทยังให สิทธิแกผูถือหุนที่เขาประชุมภายหลังจากประธานใน ที่ประชุมเปดการประชุมแลว สามารถออกเสียงลง คะแนนไดในวาระที่อยูระหวางการพิจารณาและยังไม ไดมีการลงมติ และนับเปนองคประชุมตั้งแตวาระที่ได เขาประชุมเปนตนไป เวนแตทป่ี ระชุมผูถ อื หุน จะมีความ เห็นเปนอยางอื่น 4. กอนวันประชุมผูถือหุน บริษั ทเปดโอกาสใหผูถือหุน รายเดียวหรือหลายรายทีถ่ อื หุน นับรวมกันไดไมนอ ยกวา รอยละ 5 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของ บริษัทมีสทิ ธิทจี่ ะเสนอวาระในการประชุมสามัญผูถ อื หุน ประจําป 2553 โดยบริษัทเปดโอกาสใหผูถือหุนเสนอ วาระตั้งแตวัน ที่ 2 พฤศจิกายน 2552 จนถึงวัน ที่ 1 ธันวาคม 2552 เพื่อใหคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และสรรหาเปนผูก ลัน่ กรองกอนเสนอตอคณะกรรมการ บริษั ทเพื่อพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง โดยในกรณีที่บรรจ เปนวาระการประชุม บริษัทจะแจงในหนังสือนัดประชุม ว า เป น วาระที่ กํ า หนดโดยผู ถื อ หุ น ส ว นในกรณี ที่ คณะกรรมการบริษัทปฏิเสธไมรับเรื่องที่ผูถือหุนเสนอ เพือ่ ใหบรรจเปนวาระ บริษัทจะชีแ้ จงเหตุผลใหทปี่ ระชุม สามัญผูถือหุนประจําปทราบ นอกจากนี้ ในชวงเวลาเดียวกันบริษัทไดเปดโอกาส ใหผูถือหุนทุกรายมีสิทธิเสนอชื่อบุคคล เพื่อพิจารณา เขารับการเลือกตัง้ เปนกรรมการบริษัทลวงหนา โดยใน กรณีนค้ี ณะกรรมการบรรษั ทภิบาลและสรรหาจะเปน ผูพิจารณา เพื่อสรรหารวมกับบุคคลอืน่ ตามหลักเกณฑ การสรรหาบุคคลเขาเปนกรรมการบริษัท จากนั้นจะได

5.

6.

7.

8.

9.

เสนอรายชื่อบุคคลที่เห็นวาเหมาะสมใหคณะกรรมการ บริ ษั ท พิ จ ารณาก อ นเสนอต อ ที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น เพื่ อ พิจารณาอนุมตั ติ อ ไป ทัง้ นี้ในชวงเวลาดังกลาวไมมผี ถู อื หุน เสนอวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับ เลือกตั้งเปนกรรมการเปนการลวงหนาแตอยางใด ในวันประชุมผูถือหุนไดจัดใหมีการลงทะเบียนโดยใช ระบบบารโคดทีแ่ สดงถึงเลขทะเบียนของผูถ อื หุน แตละราย ที่ไดจดั พิมพไวบนแบบลงทะเบียนและหนังสือมอบฉันทะ เพื่อใหผูถือหุนไดรับความสะดวกสบายในการประชุม และทําใหขั้นตอนการลงทะเบียนเปนไปอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ ในการใชสทิ ธิออกเสียงแตละวาระไดใชวธิ เี ก็บ บัตรยืนยันลงคะแนนของผูถ อื หุน เฉพาะบัตรยืนยันการ ลงคะแนนเสียงที่ไมเห็นดวย และงดออกเสียง เพือ่ คํานวณ หักออกจากผูที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนทั้งหมด และ สําหรับวิธีการนับคะแนน บริษั ทใชระบบ e-Voting ซึ่งจะใช PDA (Personal Digital Assistant) และ Socket Scanner เปนเครื่องมือชวยนับคะแนน เพื่อให เกิดความรวดเร็ว สามารถประกาศผลคะแนนไดทันที หลังจากจบการพิจารณาแตละวาระ โดยเมื่อจบการ ประชุมผูถือหุนสามารถขอตรวจสอบรายละเอียดได ในการประชุมผูถือหุนแตละปจะมีกรรมการที่ครบรอบ ออกตามวาระจํานวน 1 ใน 3 ของจํานวนคณะกรรมการ ทั้งหมดซึ่งจะมีการเลือกตั้งในวันประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป โดยในวาระเลือกตัง้ กรรมการ ไดมกี ารชีแ้ จง ใหผูถือหุนทราบวาตามขอบังคับของบริษั ทในกรณีที่ บุคคลผูไ ดรบั การเสนอชือ่ เปนกรรมการมีจาํ นวนไมเกินกวา จํ า นวนกรรมการที่จ ะพึ ง มี ไ ด ใ นการเลื อ กตั้ง ครั้ง นั้น ใหทป่ี ระชุมผูถ อื หุน เลือกตัง้ กรรมการทัง้ ชุด และกรณีที่ มีบุคคลไดรับการเสนอชื่อเปนกรรมการมีจํานวนเกิน กว า จํ า นวนกรรมการที่ พึ ง มี ให ผู ถื อ หุ น เลื อ กตั้ ง กรรมการเปนรายบุคคล ทัง้ นี้ ในทีป่ ระชุมไดเปดโอกาสให ผูถ อื หุน สามารถเสนอชื่อบุคคลใหเขารับการเลือกตั้งได อยางเปนอิสระ ในการประชุมไดเปดโอกาสใหผถู อื หุน แสดงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ หรือตั้งคําถามในวาระตาง ๆ อยางอิสระ กอนการลงมติในวาระใด ๆ ในการประชุมผูถ อื หุน เพือ่ ใหผถู อื หุน ไดรบั ทราบขอมูลรายละเอียดในเรือ่ งดังกลาว อยางเพียงพอ ทัง้ นี้ ในวาระทีผ่ ถู อื หุน มีขอ สงสัย ขอซักถาม ก็ ไ ด จั ด เตรี ย มบุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข อ งเป น ผู ใ ห คํ า ตอบ ภายใตความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ในแตละวาระการประชุมผูถือหุน ผูถือหุนสามารถขอ ใหมกี ารลงคะแนนเสียงดวยวิธลี บั ได หากมีผถู อื หุน หนึง่ คนรองขอ และมีผูถือหุนรายอื่นอีก 5 คนรับรอง เพื่อ ใหทปี่ ระชุมผูถ อื หุน มีมติอนุมตั ดิ ว ยคะแนนเสียงขางมาก ใหลงคะแนนดวยวิธีลับ กําหนดใหมีวาระเกี่ยวกับคาตอบแทนของกรรมการ เพื่อชี้แจงใหผูถือหุนไดทราบจํานวนและประเภทของ คาตอบแทนที่กรรมการแตละคนไดรับ โดยแบงเปน เบีย้ ประชุม และโบนัสกรรมการบริษัทซึง่ ไดมกี ารชีแ้ จง อยางละเอียดไวในหนา 60-61 21


การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน (The Equitable Treatment of Shareholders)

การสรางความเทาเทียมกันใหเกิดขึ้นกับผูถือหุนทุกราย ทุกกลุม ไมวา จะเปนผูถ อื หุน รายใหญ ผูถ อื หุน สวนนอย นักลงทุน สถาบัน หรือผูถือหุนตางชาติ เปนเรื่องทาทายที่เอสซีจีคํานึงถึง และพยายามสรางเครือ่ งมือ ทีช่ ว ยใหเกิดความเทาเทียมกันอยาง แทจริง โดยเฉพาะกับผูถือหุนสวนนอย ดังนี้ การกําหนดใหกรรมการอิสระ (Independent Directors) เปนผูมีหนาที่ดูแลผูถือหุนสวนนอย ผูถ อื หุน สวนนอยสามารถเสนอแนะ แสดงความคิดเห็น หรือแจง ขอรองเรียนไปยังกรรมการอิสระ ผานอีเมล ind_dir@scg.co.th ซึ่งกรรมการอิสระจะเปนผูพิจารณาดําเนินการใหเหมาะสม ในแตละเรื่อง เชน หากเปนขอรองเรียน กรรมการอิสระ จะดําเนินการตรวจสอบขอเท็จจริง และหาวิธีการเยียวยา ทีเ่ หมาะสม หรือกรณีเปนขอเสนอแนะทีก่ รรมการอิสระพิจารณา แล ว มี ค วามเห็ น ว า เป น เรื่อ งสํ า คั ญ ที่มีผ ลต อ ผูมีสว นได เ สี ย โดยรวมหรือมีผลตอการประกอบธุรกิจของเอสซีจี กรรมการ อิสระจะเสนอเรื่องดังกลาวตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษั ท เพือ่ พิจารณากําหนดเปนวาระการประชุมในการประชุมผูถ อื หุน การดูแลการใชขอมูลภายใน คณะกรรมการบริษัทไดกาํ หนดมาตรการการปองกันการใช ข อ มู ล ภายในโดยมิ ช อบ (Insider Trading) ของบุ ค คล ทีเ่ กีย่ วของ ซึง่ หมายถึงคณะกรรมการบริษัท ฝายจัดการเอสซีจี และพนักงานในหนวยงานที่เกี่ยวของกับขอมูล รวมทั้งคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกลาว ดังนี้ • ห า มบุ ค คลที่ เ กี่ ย วข อ งซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย ข องบริ ษั ท ภายใน 2 สัปดาหกอนมีการเปดเผยงบการเงินราย ไตรมาสและงบการเงินประจําป และภายใน 24 ชั่วโมง หลังการเปดเผยงบการเงินดังกลาว (Blackout Period) • ในกรณีที่ทราบขอมูลใด ๆ ที่ยังไมเปดเผยซึ่งอาจมี ผลกระทบตอราคาหลักทรัพยของบริษัท ตองไมซอ้ื ขาย หลักทรัพยของบริษัทจนกวาจะพนระยะเวลา 24 ชัว่ โมง นับแตไดมกี ารเปดเผยขอมูลนั้นสูสาธารณะทั้งหมดแลว เลขานุการคณะกรรมการและเลขานุการบริษั ทจะแจงให กรรมการ ฝายจัดการเอสซีจี และพนักงานทีเ่ กีย่ วของไดทราบ ชวงเวลาการหามซือ้ ขายหลักทรัพยอยางชัดเจนลวงหนาอยางนอย 1 สัปดาห นอกจากนี้ คณะกรรมการไดมีการติดตามผลการปฏิบัติ ตามมาตรฐานดังกลาว โดยกรรมการและฝายจัดการเอสซีจี ได ร ายงานการเปลี่ ย นแปลงการถื อ หลั ก ทรั พ ย ใ ห ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัททราบ โดยกําหนดเปนวาระหนึง่ ในการประชุม คณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส

22

การปองกันความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการบริษัทไดกาํ หนดนโยบายและการดําเนินการ ตาง ๆ ดังนี้ • เอสซีจมี โี ครงสรางการถือหุน ทีช่ ดั เจน โปรงใส ไมมกี าร ถือหุน ไขวกับผูถือหุนรายใหญ จึงไมทําใหเกิดความ ขัดแยงทางผลประโยชนใหแกฝายใดฝายหนึ่ง โดยได เปดเผยโครงสรางการถือหุน ของบริษัท และบริษัทยอย ไวในรายงานประจําปอยางละเอียด รวมถึงการเปดเผยการ ถือหลักทรัพยของคณะกรรมการบริษัทอยางครบถวน • มี ก ารแบ ง แยกหน า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบอย า งชั ด เจน ระหวางคณะกรรมการบริษัท ฝายบริหาร และผูถือหุน จึงทําใหปราศจากการกาวกายหนาที่ความรับผิดชอบ ในกรณีที่กรรมการบริษั ท หรือผูบริหารคนใดคนหนึ่ง มีสวนไดเสียกับผลประโยชนในเรื่องที่กําลังพิจารณา ผูม สี ว นไดเสียนัน้ ก็จะไมเขารวมประชุม หรืองดออกเสียง เพื่อใหการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษั ท และ ผูบ ริหารเปนไปอยางยุตธิ รรม เพือ่ ประโยชนของผูถ อื หุน อยางแทจริง • การกําหนดนโยบายการกํากับดูแลและการใชขอมูล ภายในไวในอํานาจดําเนินการ และขอบังคับพนักงาน อยางเปนลายลักษณอกั ษร โดยมีบทกําหนดโทษชัดเจน กรณีทผี่ บู ริหารหรือพนักงานนําขอมูลภายในไปเปดเผย ตอสาธารณะ หรือนําไปใชประโยชนสว นตน • การหามซือ้ ขาย Stock Futures ทีอ่ า งอิงหุน สามัญ SCC สําหรับกรรมการบริษัท ฝายจัดการเอสซีจี และพนักงาน ในหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ รวมทัง้ คูส มรสและบุตรทีย่ งั ไม บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกลาว เพื่อใหสอดคลองกับ แนวปฏิบัติที่ดีตามหลักบรรษัทภิบาลของเอสซีจี • จรรยาบรรณเอสซี จี ไ ด กํ า หนดแนวปฏิ บั ติ เ พิ่ ม เติ ม สําหรับการหามพนักงานใชทรัพยสินของเอสซีจี หรือ ใชเวลาทํางานในการคนหาขอมูล ติดตอ หรือซื้อขาย หลักทรัพยอยางเปนประจํา เพือ่ ประโยชนสาํ หรับตนเอง หรือบุคคลอื่น โดยไมมีเหตุอันควร และไมเปนไปเพือ่ ประโยชนของเอสซีจี

บทบาทของผูมีสวนไดเสีย (The Role of Stakeholders in Corporate Governance)

เอสซีจีดําเนินธุรกิจโดยยึดมั่นในความรับผิดชอบตอผูมี สวนเกี่ยวของทุกฝาย เพื่อประโยชนรวมกันอยางยั่งยืน โดย คณะกรรมการบริษัทไดกาํ กับดูแลใหมรี ะบบการบริหารจัดการ ทีเ่ ชือ่ มัน่ ไดวา สามารถรับรูส ทิ ธิของผูม สี ว นไดเสียตาง ๆ ทัง้ ที่ได กําหนดไวในกฎหมาย และทีไ่ ดกาํ หนดแนวทางไวเปนลายลักษณอกั ษร อย า งชั ด เจนในหลั ก บรรษั ท ภิ บ าลและจรรยาบรรณเอสซี จี รวมทัง้ รับผิดชอบดูแลใหมน่ั ใจไดวา สิทธิดงั กลาวไดรบั การคุม ครอง และปฏิบตั ดิ ว ยความเสมอภาคอยางเครงครัด ทัง้ ผูถ อื หุน พนักงาน ผูใชสินคาและบริการ และผูมีความสัมพันธทางธุรกิจ ดังนี้


ผูถ อื หุน นอกจากสิทธิขน้ั พืน้ ฐาน สิทธิทก่ี าํ หนดไวในกฎหมาย ขอบังคับบริษัท เชน สิทธิในการขอตรวจสอบจํานวนหุน สิทธิ ในการไดรบั ใบหุน สิทธิในการเขาประชุมผูถ อื หุน และออกเสียง ลงคะแนน สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอยางอิสระในทีป่ ระชุม ผูถือหุน รวมถึงสิทธิที่จะไดรับผลตอบแทนอยางเปนธรรมแลว ยังไดใหสิทธิผูถือหุนในการเสนอแนะขอคิดเห็นตาง ๆ เกี่ยวกับ การดําเนินธุรกิจของบริษทั ในฐานะเจาของบริษทั ผานกรรมการอิสระ โดยทุก ๆ ขอคิดเห็นจะไดรบั การรวบรวมเพือ่ เสนอตอคณะกรรมการ บริษัทพิจารณาตอไป พนักงาน เอสซีจีใหความสําคัญกับพนักงานโดยถือวาเปน ทรัพยากรที่ มี ค า และมุ ง มั่ น ที่ จ ะให พ นั ก งานทุ ก คนมี ค วาม ภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในองคกร ในปที่ผานมาเอสซีจี ไดจัดทํา โครงการตาง ๆ เพื่อสนับสนุนและเสริมสรางบรรยากาศการ ทํางานรวมกันเพื่อสรางสรรคส่ิงใหม ๆ เสริมศักยภาพของ พนักงานใหพรอมสําหรับการปฏิบัติงานในตางประเทศ และ รับมือกับสภาวะเศรษฐกิจที่ผันผวน นอกจากนี้ ยังใหความ สําคัญกับการรักษาสุขภาพ ความปลอดภัย และสภาพแวดลอม ในการทํางาน รวมถึงคาตอบแทนของพนักงาน ลู​ูกคา เอสซีจีมีความมุงมั่นที่จะใหผูใชสินคาและบริการ ไดรบั ประโยชนสงู สุดทัง้ ดานคุณภาพและราคา ตลอดจนมุง พัฒนา และรักษาสัมพันธภาพทีย่ ง่ั ยืน รวมทัง้ จัดใหมหี นวยงานรับผิดชอบ ในการใหขอ เสนอแนะในสินคา คําปรึกษาวิธกี ารแกปญ  หา และรับ ขอรองเรียน เพือ่ ใหลกู คาไดรบั ความพึงพอใจอยางทีส่ ดุ ในสินคา และบริการ คูค า เอสซีจปี ฏิบตั ติ ามกรอบการแขงขันทางการคาทีส่ จุ ริต โดยยึดถือการปฏิบตั ติ ามสัญญา จรรยาบรรณเอสซีจี และคํามัน่ ที่ ใหไวกับลูกคาอยางเครงครัด และมีนโยบายในการสงมอบ สินคาตามคุณภาพและตรงตามกําหนดเวลา คูแ ขงทางการคา เอสซีจปี ฏิบตั ติ ามกรอบการแขงขันทางการคา ทีส่ จุ ริต โดยยึดมัน่ ในการดําเนินธุรกิจดวยความเปนธรรม ภายใต กรอบของกฎหมาย และจรรยาบรรณเอสซีจี โดยในปที่ผา นมา บริษัทไมมีขอพิพาทใด ๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับคูแขงทางการคา เจ า หนี้ เอสซี จี ไ ด ป ฏิ บัติต ามเงื่อ นไขการกูยืม เงิ น ตาม ขอตกลง และหนาที่ที่พึงมีตอเจาหนี้ เชน เจาหนี้ทางธุรกิจ และ ผูฝ ากเงิน นอกจากนี้ บริษัทยังจัดใหมโี ครงการตาง ๆ เพือ่ สราง ความสัมพันธกับเจาหนี้ อาทิ กิจกรรมหุนกูสัมพันธ ดานสังคม เอสซีจีดําเนินธุรกิจอยางมีคุณธรรมตอผูมีสวน เกี่ยวของทุกฝายและถือมั่นในอุดมการณการดําเนินธุรกิจ โดย มุงสนับสนุนกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และเสริมสราง ประโยชนสุขของชุมชนและสังคมที่เอสซีจีเขาไปดําเนินธุรกิจ ทั้งในประเทศไทยและอาเซียน ดวยการสรางสรรคกิจกรรม เพือ่ สังคมในดานตาง ๆ อยางตอเนือ่ งตลอดมา โดยเฉพาะอยางยิง่ การพัฒนาและสงเสริมศักยภาพของเยาวชน ทัง้ ดานการศึกษา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี กีฬา และศิลปะ ผานกิจกรรมตาง ๆ อยาง ตอเนือ่ ง อาทิ มอบเงินสนับสนุนใหแกมลู นิธแิ ละองคกรสาธารณกุศล มอบทุนเรียนดีเยี่ยมแกนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนเปนเลิศ มอบทุนการศึกษา “SCG Sharing the Dream” สําหรับเยาวชน ในอาเซียน โครงการฝกงานภาคฤดูรอน “SCG Excellent Internship Program” จัดตั้ง “SCG Badminton Academy”

เพื่อพัฒนาทักษะความสามารถนักแบดมินตันเยาวชนให กาวสูความเปนเลิศดวยมาตรฐานสากลเปนแหงแรกใน ประเทศไทย การจัดประกวดหุน ยนตกภู ยั (Thailand Rescue Robot Championships) เพื่อสงเสริมการพัฒนาเยาวชน ดานนวัตกรรมและเทคโนโลยี ซึง่ ตัวแทนเยาวชนไทยสามารถ ควาแชมปการแขงขันหุน ยนตกภู ยั โลกเปนปที่ 4 ติดตอกัน สรางชือ่ เสียงและความภาคภูมใิ จแกประเทศไทยเปนอยางมาก นอกจากนี้ ยังสงเสริมใหพนักงานและผูเกี่ยวของมี สวนรวมในการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีที่ทําประโยชนให กับชุมชนและสังคม เพื่อใหเติบโตเคียงคูกันไปอยางยั่งยืน รวมทั้งสนับสนุนใหพนักงานมีสวนรวมสรางสรรคกิจกรรม ตาง ๆ เพือ่ ชุมชนและสังคมอยางสมํา่ เสมอ แมกระทัง่ ในชวง ทีเ่ กิดภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ เอสซีจกี ย็ งั คงดําเนินกิจกรรม เพือ่ ชุมชนและสังคมอยางตอเนือ่ ง โดยทุม เทความคิดสรางสรรค ความรู ความสามารถ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โครงการใหมปี ระสิทธิผล กอใหเกิดประโยชนตอ ชุมชนและ สังคมสูงสุด ด า นสิ่ ง แวดล อ ม เอสซีจมี นี โยบายในการดําเนินธุรกิจ ที่ใหความสําคัญตอการพัฒนาสิง่ แวดลอม ชุมชน และสังคม ควบคูกันไป โดยไดจัดทําแนวปฏิบัติการพัฒนาอยางยั่งยืน ใหทุกธุรกิจยึดถือเปนแนวทางในการดําเนินงาน เพื่อเปน แบบอยางที่ดี ในการอนุรักษและจัดการดานสิ่งแวดลอม Green Technology เปนอีกหนึ่งความมุงมั่นและตั้งใจของ เอสซีจี ที่ไมเคยหยุดนิ่งในการคิดคนและพัฒนาทุกขั้นตอน ของการดําเนินธุรกิจ เพือ่ สิง่ แวดลอมทีด่ แี ละยัง่ ยืน นับตัง้ แต การออกแบบโรงงาน การปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิต เครือ่ งจักร เทคโนโลยี ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและไมสง ผลกระทบกับชุมชน มีการบริหารจัดการอยางเปนระบบ ทัง้ ใน กระบวนการผลิตสินคาและการใหบริการ การฟนฟูและ ปรับปรุงทรั พ ยากรธรรมชาติ ต ลอดจนใส ใ จอนุ รั ก ษ สิง่ แวดลอมอยางจริงจังตามแนวทาง 3R (Reduce, Reuse/ Recycle, Replenish) รวมทัง้ เสริมสรางความรู ปลูกจิตสํานึก ตลอดจนสงเสริมใหพนักงานและผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝาย มีสวนรวมในการรักษาสิ่งแวดลอม ในป 2552 เอสซีจีไดเปดตัวฉลาก SCG eco value เพือ่ รับรองนวัตกรรมสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ สินคาหรือบริการที่สามารถใชฉลาก SCG eco value จะต อ งผลิ ต จากกระบวนการพิเศษ ซึ่งสงผลกระทบต อ สิง่ แวดลอมนอยทีส่ ดุ และดีกวาสินคาทัว่ ไป โดยอางอิงตาม มาตรฐาน ISO 14021 นอกจากนี้ ทุกธุรกิจในเอสซีจียังมีเปาหมายในการลด ปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดหรือกาซเรือนกระจก จากกระบวนการผลิตสินคาและการใหบริการอยางตอเนือ่ ง เอสซีจยี งั คงใหความสําคัญกับการอนุรกั ษนา้ํ อยางตอเนือ่ ง จึงไดดาํ เนินโครงการ “เอสซีจี รักษนา้ํ เพือ่ อนาคต” ติดตอกัน เปนปที่ 4 ดวยการสนับสนุนชุมชนสรางฝายชะลอนํ้า เพือ่ คืนสมดุลสูธรรมชาติ ตลอดจนชวยพัฒนาชุมชนใหมีความ เขมแข็งและเติบโตอยางยัง่ ยืน จนถึงป 2552 เอสซีจีไดรว ม กับชุมชนและเครือขายกัลยาณมิตรสรางฝายชะลอนํ้ากวา 23


16,000 ฝาย และยังคงมุง มัน่ สนับสนุนการ “สรางฝายในใจคน” ที่ไมใชเพียงการสรางและฟน ฟูฝายชะลอนํา้ ใหคงอยูอ ยางยัง่ ยืน เทานัน้ แตมงุ สรางจิตสํานึกเรือ่ งสิง่ แวดลอมและการอนุรกั ษนาํ้ ใหหยั่งรากลึกลงในใจของคนในชุมชนและสังคม เพื่อสรางให ชุมชนเขมแข็งและเติบโตอยางยัง่ ยืนสืบไป โดยสามารถติดตาม ขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมและสังคมของเอสซีจี ได จ ากรายงานการพั ฒ นาอย า งยั่ ง ยื น ที่ เ อสซี จี จั ด ทํ า เพื่ อ เผยแพรตั้งแตป 2544 ไดที่ www.scg.co.th

การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส (Disclosure and Transparency)

เอสซีจีใหความสําคัญเรือ่ งการเปดเผยสารสนเทศ เนือ่ งจาก เปนเรื่องที่มีผลกระทบตอการตัดสินใจของผูลงทุนและผูมีสวน ไดเสีย จึงมีความจําเปน ที่ตองมีการควบคุม และกําหนด มาตรการในการเปดเผยสารสนเทศทั้งที่เปนสารสนเทศทาง การเงินและที่ไมใชทางการเงินใหถกู ตองตามทีก่ ฎหมายกําหนด โดยมีสาระสําคัญครบถวน เพียงพอ เชื่อถือได และทันเวลา ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเปดเผยขอมูลสารสนเทศ ผานระบบ SET Community Portal ของตลาดหลักทรัพยฯ และ เว็บไซตของเอสซีจี เอสซีจียึดถือปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ ขอบังคับตาง ๆ ที่กําหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และหนวยงานอื่นของรัฐ อยางเครงครัดและติดตามการแกไข เปลี่ยนแปลงอยูอยางสมํ่าเสมอ เพื่อใหมั่นใจไดวากฎหมาย กฎเกณฑขอบังคับที่เอสซีจีถือปฏิบัตินั้นมีความถูกตอง และ เปนหลักประกันใหผถู อื หุน เชื่อมั่นในการดําเนินธุรกิจที่โปรงใส ถูกตองตรงไปตรงมา เชน 1. เปดเผยขอมูลการเงินและขอมูลที่มิใชขอมูลการเงิน อยางถูกตอง ครบถวน ทันเวลา 2. จั ด ทํ า รายงานความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ ตอรายงานทางการเงินและแสดงไวคกู บั รายงานผูส อบบัญชี ในรายงานประจําป 3. กํ า หนดให ก รรมการและผู  บ ริ ห ารต อ งรายงานการ มี ส  ว นได เ สี ย ของตนและบุ ค คลที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ ง ซึ่งเปนสวนไดเสียทีเ่ กีย่ วของกับการบริหารจัดการกิจการ ของบริษั ท หรื อ บริ ษั ท ย อ ย ให บ ริ ษั ท ทราบผ า น เลขานุการบริษั ท เพื่อทําการเก็บรักษาและรวบรวม เสนอให ประธานกรรมการบริษั ทและประธานคณะ กรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันทําการ นับแต วันที่บริษัทไดรับรายงานนั้น 4. เปดเผยวิธกี ารสรรหากรรมการ และวิธกี ารประเมินผล การปฏิบัติงานของคณะกรรมการ 5. เปดเผยขอมูลการปฏิบัติหนาที่ ในคณะอนุกรรมการ และจํานวนครั้งการเขาประชุมเปนรายบุคคล 6. เปดเผยโครงสรางการดําเนินงานและการลงทุนในบริษทั ยอย และบริษัทรวมอยางชัดเจน 7. เปดเผยขอมูลคาตอบแทนที่กรรมการแตละคนไดรับ จากการเปนกรรมการในคณะอนุกรรมการเปนรายบุคคล

24

8. เปดเผยนโยบายการจายคาตอบแทนแกกรรมการและ ผูบ ริหารระดับสูง รวมทัง้ รูปแบบ ลักษณะ และจํานวน คาตอบแทนทีก่ รรมการแตละคนไดรบั จากการเปนกรรมการ ในคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ 9. เปดเผยนโยบายการดูแลสิ่งแวดลอมและสังคม และ ผลการปฏิบัติตามนโยบาย 10. รายงานนโยบายการกํากับดูแลกิจการและผลการปฏิบตั งิ าน ตามนโยบาย 11. เปดเผยโครงการลงทุนที่สําคัญตาง ๆ และผลกระทบ ที่มีตอโครงการลงทุน เชน ในป 2552 บริษั ทได เปดเผยโครงการลงทุนปโตรเคมีกบั Qatar Petroleum International โครงการซื้อหุนในกิจการบรรจุภัณฑ ของ New Asia Industries ที่ประเทศเวียดนาม และ กรณีศาลปกครองสูงสุดมีคําสั่งระงับโครงการลงทุน ที่มาบตาพุด เปนตน นอกจากนี้ ในป 2552 คณะกรรมการบริษัทยังคงยึดมั่น แนวปฏิบตั เิ รือ่ งการเปดเผยขอมูลทีเ่ กีย่ วของกับเอสซีจี เพือ่ เปน การจัดระเบียบการเปดเผยขอมูลของเอสซีจีใหเปนระบบ และ ปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการเปดเผยขอมูลอยาง ไมถกู ตอง รวมทัง้ เพือ่ ใหผถู อื หุน นักลงทุน สาธารณชน หรือผูม ี สวนไดเสียตาง ๆ มั่นใจไดวาการเปดเผยขอมูลของเอสซีจี มีความถูกตองชัดเจน สอดคลองกับกฎหมาย และเปนไปอยาง เทาเทียมกันตามนโยบายการเปดเผยขอมูล (Disclosure Policy) ซึง่ ไดจดั ทําขึน้ ในป 2551 โดยไดกาํ หนดใหมบี คุ คลทีม่ สี ทิ ธิเปดเผย ขอมูลสําคัญที่ยังไมไดเปดเผยสูสาธารณะ กําหนดแนวปฏิบัติ ในการเปดเผยขอมูลประเภทตาง ๆ สูสาธารณะ และกําหนด ชวงเวลาทีต่ อ งใชความระมัดระวังเปนพิเศษกอนกําหนดเวลาที่จะ เปดเผยขอมูลสําคัญออกสูสาธารณะ ซึ่งรายละเอียดของ แนวปฏิบัติไดเผยแพร ใหผูมีสวนไดเสียและบุคคลทั่วไปทราบ บนเว็บไซตของเอสซีจี หนวยงานนักลงทุนสัมพันธของเอสซีจี ไดทําหนาที่ติดตอ สื่อสารกับนักลงทุนสถาบัน ผูถือหุน รวมทั้งนักวิเคราะหและ หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของอยางเทาเทียมและเปนธรรม โดย หากผูถือหุนตองการขอมูลเพิ่มเติม สามารถติดตอโดยตรง ที่หนวยงานนักลงทุนสัมพันธ invest@scg.co.th ซึ่งในป 2552 ไดมีการจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหกรรมการผูจัดการใหญ และ ผูชวยผูจัดการใหญไดพบปะกับนักลงทุน นักวิเคราะห โดยได นําเสนอผลการดําเนินงาน งบการเงิน ฐานะการเงิน คําอธิบาย และวิเคราะหของฝายจัดการ (Management Discussion & Analysis) ตลอดจนแนวโนมในอนาคต เชน Analyst Conference ทุกไตรมาส Roadshow ในตางประเทศทั้งทวีปอเมริกา ยุโรป และเอเชีย Company Visit ตลอดจนการตอบขอซักถามจาก นักลงทุนโดยตรงผานทางอีเมลและโทรศัพทอยางสมํ่าเสมอ โดยในป 2552 เอสซีจีไดรบั การยกยองจากสมาคมนักวิเคราะห หลั ก ทรั พ ย โ ดยได รั บ รางวั ล นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ แ ละบริ ษั ท จดทะเบียนขวัญใจนักวิเคราะห จากการเปดเผยขอมูลของ บริษัทอยางโปรงใสตอนักลงทุนและนักวิเคราะหไดเปนอยางดี


ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสรางและคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ

โครงสรางคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยบุคคลซึ่งมีความรูความ สามารถเปนทีย่ อมรับในระดับประเทศ เปนผูม บี ทบาทสําคัญใน การกําหนดนโยบายของบริษั ทโดยรวมกับผูบริหารระดับสูง วางแผนการดําเนินงานทัง้ ระยะสัน้ ระยะยาว ตลอดจนกําหนด นโยบายการเงิน การบริหารความเสีย่ ง และภาพรวมขององคกร มี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการกํากับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผล การดํ า เนิ น งานของเอสซี จี และผลการปฏิ บั ติ ง านของ ผูบริหารระดับสูงใหเปนไปตามแผนที่วางไวอยางเปนอิสระ ปจจบันคณะกรรมการบริษัทมีจาํ นวน 12 คน ประกอบดวย กรรมการบริษัทที่ไมเปนผูบริหารจํานวน 11 คน และกรรมการ บริษัททีม่ าจากฝายบริหารจํานวน 1 คน คือ กรรมการผูจ ดั การใหญ และมีกรรมการทีม่ คี ณุ สมบัตเิ ปนอิสระจํานวน 5 คน ตามหลักเกณฑ ที่บริษัทกําหนดซึ่งเขมงวดกวาหลักเกณฑของสํานักงาน ก.ล.ต คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และสรรหา และคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน เพือ่ ปฏิบตั ิ หน า ที่ เ ฉพาะเรื่ อ งและเสนอเรื่ อ งให ค ณะกรรมการบริ ษั ท พิจารณาหรือรับทราบ กรรมการบริษัทที่ไมเปนผูบ ริหารมีการประชุมระหวางกันเอง ในเรือ่ งการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการผูจ ดั การใหญ เปนประจําทุกป โดยกรรมการผูจ ดั การใหญไมไดเขาประชุมดวย ทั้งนี้ เพื่อใหกรรมการบริษั ทที่ ไมเปนผูบริหารสามารถแสดง ความคิดเห็นไดอยางอิสระ นอกจากนี้ ในเดือนที่ไมมีการประชุมคณะกรรมการบริษัท กรรมการบริษัททุกทานจะไดรบั ทราบสรุปผลการดําเนินงานของ บริษั ทอยางตอเนื่อง โดยบริษั ทจะจัดสงเอกสารสรุปผลการ ดําเนินงาน ตลอดจนขาวสารที่สําคัญของบริษั ทใหกรรมการ บริษัท เพื่อทราบความคืบหนาดวย คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการบริษั ทที่เปนกรรมการอิสระจํานวน 4 คน โดยกรรมการตรวจสอบทุกคนมีความรู ความเขาใจ และมี ประสบการณการทํางานดานบัญชี หรือการเงินเปนทีย่ อมรับ โดยมี นายธารินทร นิมมานเหมินท เปนกรรมการตรวจสอบที่เปนผูท่ี มี ค วามรูแ ละประสบการณ เพียงพอ ที่จ ะทํ า หน า ที่ ในการ สอบทานความน า เชื่ อ ถื อ ของงบการเงิ น ได โดยทํ า หน า ที่ สอบทานการดําเนินงานใหถูกตองตามนโยบายและระเบียบ ขอบังคับ ตลอดจนกฎหมาย ระเบียบปฏิบตั ิ และขอกําหนดของ หนวยงานกํากับดูแล สงเสริมใหพฒ ั นาระบบรายงานทางการเงิน และบัญชีใหเปนตามมาตรฐานสากล รวมทัง้ สอบทานใหมรี ะบบ การควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายใน และระบบบริหาร ความเสี่ยงที่รัดกุม เหมาะสม ทันสมัย และมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบตั หิ นาทีแ่ ละแสดงความคิดเห็นได อยางอิสระโดยมี ห น ว ยงานตรวจสอบภายในรายงานตรงตอ คณะกรรมการตรวจสอบ เปนหนวยปฏิบตั ิ รวมทัง้ มีการปรึกษา หารือกับผูสอบบัญชี ที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญดานกฎหมายและ บัญชีเปนประจํา โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะมีการประชุม

รวมกับผูส อบบัญชี โดยไมมฝี า ยจัดการเขาประชุมอยางนอยปละ 1 ครัง้ เพือ่ ขอความเห็นจากผูส อบบัญชีในเรือ่ งตาง ๆ นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังมีทปี่ รึกษาภายนอกทีเ่ ปนอิสระโดย บริษัทเปนผูออกคาใชจายทั้งหมด คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา ประกอบดวยกรรมการบริษัทจํานวน 5 คน โดยกรรมการ ทุกคนไมเปนผูบ ริหาร และประธานกรรมการบรรษัทภิบาลและ สรรหาเปนกรรมการอิสระ ทําหนาที่เสนอ ทบทวน กํากับดูแล งานดานบรรษัทภิบาล พิจารณาสรรหาผูที่สมควรไดรับแตงตั้ง เปนกรรมการบริษัททดแทนกรรมการทีค่ รบรอบออกตามวาระ หรือกรณีอื่น ทบทวนระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ และทํา แผนการสืบทอดตําแหนงกรรมการผูจัดการใหญ คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน ประกอบดวยกรรมการบริษัทจํานวน 3 คน ทําหนาที่ศึกษา พิ จ ารณาติ ด ตามความเปลี่ ย นแปลงและแนวโน ม ในเรื่ อ ง ผลตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท รวมทัง้ ผูบ ริหารระดับสูง ของเอสซีจี เพื่อเสนอเปนนโยบายคาตอบแทนที่สามารถจูงใจ ใหกับผูบริหารระดับสูงของเอสซีจีในการบริหารกิจการของบริษัท ใหเจริญกาวหนา ตลอดจนสามารถรักษาคนเกงและดีใหคงอยู กับองคกร ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการแตละคณะนั้น มีสิทธิหนาที่ตามที่ ไดกาํ หนดไวในขอบังคับของคณะกรรมการแตละชุด และมีการ ประเมิ นผลการปฏิบัติงานและทบทวนผลการปฏิบัติหนาที่ของ คณะอนุกรรมการเปนประจําทุกป อยางนอยปละ 1 ครัง้ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทอาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเฉพาะเรื่อง ชุดอื่น ๆ ตามความเหมาะสมกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลง

การกําหนดจํานวนบริษัทจดทะเบียนที่กรรมการบริษัท จะไปดํารงตําแหนงกรรมการ

ในป 2552 คณะกรรมการบริษั ทไดกําหนดนโยบายการ กําหนดจํานวนบริษัทจดทะเบียนที่กรรมการบริษัทจะไปดํารง ตําแหนงกรรมการ เพื่อใหบริษั ทไดรับประโยชนสูงสุดในการ ทีก่ รรมการบริษัทสามารถอุทศิ เวลาสําหรับการปฏิบตั หิ นาที่ไดอยาง มีประสิทธิภาพ โดยกําหนดใหกรรมการบริษั ทดํารงตําแหนง ในบริษัทจดทะเบียนรวมไมเกิน 5 บริษัท ยกเวนในกรณีไดรบั มอบหมายจากบริษัทใหไปดํารงตําแหนง นอกจากนี้ บริษัทมีแนวปฏิบตั ใิ นกรณีกรรมการผูจ ดั การใหญ จะเขาดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอืน่ โดยจะมีการเสนอเรือ่ ง การดํารงตําแหนงในบริษั ทอื่น เพื่อใหคณะกรรมการบริษั ท ใหความเห็นชอบ ทัง้ นี้ ในป 2552 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษัท ไดเห็นชอบใหกรรมการผูจัดการใหญดํารงตําแหนง Outside Director ของ Kubota Corporation ประเทศญี่ปุน

การแบงแยกบทบาทหนาที่ ระหวางคณะกรรมการบริษัทกับฝายจัดการ

เอสซีจี ไดแบงแยกบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบระหวาง คณะกรรมการบริษัทกับฝายจัดการเอสซีจีอยางชัดเจน โดย กรรมการบริษัททําหนาที่ในการกําหนดนโยบายและกํากับดูแล 25


การดําเนินงานของฝายจัดการเอสซีจีในระดับนโยบาย ขณะที่ ฝายจัดการเอสซีจที าํ หนาทีบ่ ริหารงานในดานตาง ๆ ใหเปนไปตาม นโยบายที่กําหนด ดังนั้น ประธานกรรมการ และกรรมการ ผูจัดการใหญ จึงเปนบุคคลคนละคนกัน โดยทั้งสองตําแหนง ตองผานการคัดเลือกจากคณะกรรมการบริษัท เพื่อใหไดบุคคล ทีม่ คี วามเหมาะสมทีส่ ดุ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทยังเปน ผูก าํ หนดแผนการสืบทอดตําแหนงของผูบ ริหารระดับสูง โดยจะ มีการทบทวนแผนดังกลาวเปนประจําทุกป ประธานกรรมการไมไดเปนกรรมการที่เปนผูบริหาร และ ไมมสี ว นรวมในการบริหารงานของเอสซีจี ตลอดจนไมมอี าํ นาจ ลงนามผูกพันบริษัทเพือ่ ใหแบงแยกหนาทีร่ ะหวางการกํากับดูแลเชิง นโยบายในภาพรวมของบริษัทกับการบริหารงานไดอยางชัดเจน ผูบ ริหารระดับสูงของเอสซีจี มีจาํ นวน 8 คน ไดแก กรรมการ ผูจัดการใหญ เอสซีจี ผูชวยผูจัดการใหญ เอสซีจี และกรรมการ ผูจัดการใหญในกลุมธุรกิจของเอสซีจี ไดแก เอสซีจี เคมิคอลส เอสซีจี เปเปอร เอสซีจี ซิเมนต เอสซีจี ผลิตภัณฑกอ สราง เอสซีจี ดิสทริบวิ ชัน่ และเอสซีจี การลงทุน ซึง่ รายงานตรงตอกรรมการ ผูจัดการใหญ เอสซีจี ทั้งนี้ ผูบริหารระดับสูงทั้ง 8 คนนี้ จะได รับมอบหมายอํานาจหนาที่ใหดําเนินงานภายใตนโยบายตาง ๆ ที่กําหนดไว รับผิดชอบผลการดําเนินงานโดยรวม ควบคุม คาใชจายและงบลงทุนตามขอบเขตที่คณะกรรมการอนุมัติใน แผนงานประจําป ดําเนินการตามนโยบายดานบุคคล แกไขปญหา หรื อ ความขั ด แย ง ที่มีผลกระทบตอองคกร และดํารงไวซ่ึง การสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพตอผูมีสวนเกี่ยวของ

การประชุมของคณะกรรมการบริษัท

กรรมการบริษั ทตองเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษั ท อยางสมํา่ เสมอ เพือ่ รับทราบและรวมกันตัดสินใจในการดําเนิน ธุรกิจของบริษั ท โดยมีการจัดประชุมอยางนอยปละ 8 ครั้ง แตละครั้งจะมีการกําหนดวาระการประชุมลวงหนาไวชัดเจน และอาจมีการประชุมครั้งพิเศษเพิ่มเติม เพื่อพิจารณาเรื่องที่มี ความสําคัญเรงดวน ในการประชุม ประธานกรรมการ และกรรมการผูจ ดั การใหญ เปนผูร ว มกันกําหนดวาระการประชุมและพิจารณาเรือ่ งเขาวาระ การประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยเปดโอกาสใหกรรมการ แตละคนสามารถเสนอเรือ่ งตาง ๆ เพือ่ เขารับการพิจารณาเปน วาระการประชุมได ในป 2552 ไดมีการประชุมคณะกรรมการจํานวน 12 ครั้ง โดยเปนการประชุมที่กําหนดไวลวงหนาทั้งป 8 ครั้ง และครั้ง พิเศษ 4 ครั้ง ทั้งนี้ ในการประชุมแตละครั้งไดมีการจัดสง เอกสารประกอบวาระการประชุ ม ในแต ล ะวาระส ง ให กั บ กรรมการบริษัทแตละคนลวงหนา เพือ่ ใหกรรมการบริษัทมีเวลา พอเพียงที่จะศึกษาขอมูลในเรื่องตาง ๆ อยางเพียงพอ ในการพิจารณาเรือ่ งตาง ๆ ประธานกรรมการ ซึง่ ทําหนาที่ ประธานในทีป่ ระชุมไดเปดโอกาสใหกรรมการแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ ทัง้ นี้ การลงมติในทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษัท ใหถอื มติของเสียงขางมาก โดยใหกรรมการคนหนึง่ มีเสียงหนึง่ เสียง และกรรมการทีม่ สี ว นไดเสียจะไมเขารวมประชุมและ/หรือไมใช สิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น หากคะแนนเสียงเทากัน ประธานในทีป่ ระชุมจะออกเสียงเพิม่ ขึน้ อีกหนึง่ เสียงเปนเสียงชีข้ าด 26

ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ฝายจัดการเอสซีจี ได เขารวมประชุมดวย เพื่อใหขอมูลที่เปนประโยชน และรับทราบ นโยบายโดยตรง เพือ่ ใหสามารถนําไปปฏิบตั อิ ยางมีประสิทธิภาพ เวนแตในบางวาระที่ประชุมเฉพาะคณะกรรมการบริษัท หรือ เฉพาะคณะกรรมการบริษัทที่ไมเปนผูบริหาร ทั้งนี้ เพื่อความ เปนอิสระในการพิจารณาเรื่องตาง ๆ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั ใหความสําคัญเรือ่ งการจัดการ เกีย่ วกับความขัดแยงดานผลประโยชนของผูเ กีย่ วของอยางรอบคอบ เปนธรรม และโปรงใส รวมทัง้ มีการเปดเผยขอมูลในเรือ่ งดังกลาว อยางครบถวน ในกรณีทก่ี รรมการบริษัทคนหนึง่ คนใดมีสว นไดเสีย กับผลประโยชนเกี่ยวกับเรื่องที่มีการพิจารณา กรรมการที่มี สวนไดเสียจะตองไมมีสวนรวมในการตัดสินใจในเรื่องนั้น เมือ่ สิน้ สุดการประชุม เลขานุการบริษัทเปนผูม หี นาทีจ่ ดั ทํา รายงานการประชุมเสนอใหทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษัทรับรอง ในวาระแรกของการประชุมครัง้ ถัดไป และใหประธานกรรมการบริษทั ลงลายมือชือ่ รับรองความถูกตอง ทัง้ นี้ กรรมการบริษทั สามารถแสดง ความคิดเห็น ขอแกไขเพิ่มเติมรายงานการประชุมใหมีความ ละเอียดถูกตองมากทีส่ ดุ ได รายงานการประชุมทีท่ ป่ี ระชุมรับรอง แลวจะถูกจัดเก็บอยางเปนระบบในรูปแบบของเอกสารชั้นความ ลับของบริษัท ณ สํานักงานเลขานุการบริษทั และจัดเก็บในรูปแบบ เอกสารอิเล็กทรอนิกสพรอมกับเอกสารประกอบวาระการ ประชุมตาง ๆ เพื่อสะดวกในการสืบคนอางอิง

เลขานุการคณะกรรมการและเลขานุการบริษัท

เลขานุการคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษั ทไดมีมติแตงตั้งนายวรพล เจนนภา เปนเลขานุการคณะกรรมการ เพื่อทําหนาที่เปน ที่ปรึกษา ใหคําแนะนําแกกรรมการในการปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับ หนาที่ความรับผิดชอบตาง ๆ ของกรรมการ รวมทั้งจัดทํา รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท และเขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัททุกครั้ง โดยเลขานุการคณะกรรมการที่ คณะกรรมการแตงตั้งขึ้นเปนผูที่คณะกรรมการเห็นวามีความ เหมาะสม เนื่ อ งจากเป น ผู  ที่ มี ค วามรู  ค วามสามารถและ ประสบการณสงู ทีจ่ ะชวยใหคาํ แนะนําแกกรรมการในการปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ ตลอดจนบรรษัทภิบาล เอสซีจีไดอยางถูกตอง เลขานุการบริษัท คณะกรรมการได มี ม ติ แ ต ง ตั้ ง นายอํ า นวย อภิ ชั ย นั น ท เปนเลขานุการบริษัท เพือ่ ทําหนาทีจ่ ดั การประชุมคณะกรรมการ บริษั ท คณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ และการประชุมผูถือหุน รวมทั้งจัดทํารายงานการประชุมคณะกรรมการ รายงานการ ประชุมผูถือหุน รายงานประจําป ตลอดจนจัดเก็บเอกสาร ตามที่กฎหมายกําหนด โดยเลขานุการบริษัทที่คณะกรรมการ แตงตัง้ ขึน้ เปนผูท ค่ี ณะกรรมการเห็นวามีความเหมาะสม มีความรู ความสามารถในการบริหารงานเลขานุการบริษั ท และดํารง ตําแหนงเปนผูอํานวยการสํานักงานเลขานุการบริษั ท ซึ่งเปน หน ว ยงานที่ ส นั บ สนุ น งานเลขานุ ก ารบริ ษั ท ให เ ป น ไปตาม กฎหมาย ระเบียบขอบังคับตาง ๆ ตลอดจนรับผิดชอบดูแลงาน ดานบรรษัทภิบาลเอสซีจี


คาตอบแทนกรรมการและผู​ูบริหาร

เอสซีจกี าํ หนดคาตอบแทนทีเ่ หมาะสมแกคณะกรรมการบริษัท และผูบ ริหาร โดยพิจารณาเปรียบเทียบกับการจายคาตอบแทน กรรมการของบริษั ทชั้นนําในตลาดหลักทรัพยฯ และในกลุม อุตสาหกรรมเดียวกัน ตลอดจนผลการดําเนินงานของเอสซีจี และมีการเสนอขออนุมตั ทิ ป่ี ระชุมผูถ อื หุน เพือ่ จายคาตอบแทน ให แ ก ค ณะกรรมการบริ ษั ท สํ า หรั บ ค า ตอบแทนผู บ ริ ห าร คณะกรรมการบริษัทจะเปนผูพ จิ ารณาจากหนาทีค่ วามรับผิดชอบ ผลการปฏิบตั งิ านของแตละคนประกอบกับผลการดําเนินงานใน แตละธุรกิจ นอกจากคาตอบแทนตามปกติแลว ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ของบริษัท เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2547 ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทจายโบนัส ใหแกกรรมการบริษัทไมเกินรอยละ 0.5 ของเงินปนผลทีม่ กี ารจาย ใหแกผูถือหุน โดยใหคณะกรรมการเปนผูพิจารณากําหนด จํานวนเงินที่เหมาะสม และใหไปพิจารณาแบงจายกันเอง โดย มีผลตั้งแตวัน ที่ ไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนเปนตนไป จนกวาทีป่ ระชุมผูถ อื หุน จะมีมติเปลีย่ นแปลงเปนอยางอืน่ โดยการ พิจารณาจายโบนัสใหแกกรรมการดังกลาวเปนไปในแนวทางเดียวกับ การเติบโตของผลกําไรของบริษัท เชนเดียวกันกับการจายโบนัส ใหแกผูบริหาร บริษัทพิจารณาจายโบนัสจากผลการดําเนินงาน ในแตละธุรกิจ และผลการปฏิบตั งิ านของผูบ ริหารเปนรายบุคคล สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับคาตอบแทนกรรมการบริษั ท ในสวนทีเ่ ปนคาตอบแทนรายเดือนและโบนัสซึง่ ไดรบั อนุมตั จิ าก ที่ประชุมผูถือหุน รวมทั้งคาตอบแทนในฐานะอนุกรรมการ เฉพาะเรื่องของป 2552 บริษั ทไดเปดเผยจํานวนเงินรวมเปน รายบุคคลในรายงานประจําป อยูในหนา 60-61

การประเมินผลการปฏิบัติงานและการพัฒนาความรู

การประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการ ในป 2552 ได เ พิ่ ม แบบประเมิ น การปฏิ บั ติ ง านของ ประธานกรรมการ เพื่อใหกรรมการแตละทานประเมินผลการ ปฏิบัติงานของประธานกรรมการ เนื่องจากประธานกรรมการ เปนผูม บี ทบาทสําคัญอยางยิง่ ในการกําหนดนโยบายและกํากับ ดูแลกิจการ รวมทัง้ ไดมกี ารปรับปรุงแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของคณะกรรมการบริษั ทที่ ใชอยู ในปจจบันทั้ง 2 แบบ คือ กรรมการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการทัง้ คณะ (As a Whole) และกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของ ตนเอง (Self-assessment) โดยจัดหมวดหมูข องหัวขอใหม เพิม่ เติม ประเด็นที่ใชในการประเมินผล เพือ่ ใหครอบคลุมประเด็นมากขึน้ และตัดบางขอที่เห็นวามีการปฏิบัติตามปกติที่ดีอยูแลว เพื่อให มีจํานวนขอไมมากเกินไป ซึ่งผลการประเมินนั้นคณะกรรมการ บริษั ทไดวิเคราะห และหาขอสรุปเพื่อกําหนดมาตรการใน การปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางานของคณะกรรมการตอไป เอสซีจี ไดปรับปรุงคูมือกรรมการบริษั ท ซึ่งรวบรวมสรุป กฎหมาย กฎเกณฑ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับกรรมการบริษั ท โดยปรับปรุงใหมีความเหมาะสมสอดคลองกับกฎหมายและ แนวปฏิบัติตาง ๆ ในปจจบัน และเพิ่มเติมรายละเอียดบางสวน ใหชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อใหกรรมการรับทราบบทบาทหนาที่ หลักการ และแนวปฏิบตั ใิ นตําแหนงหนาทีข่ องกรรมการทัง้ หมด ซึ่งแจกใหกับกรรมการบริษั ททุกคนเพื่อเปนขอมูลเบื้องตน

ในกรณีทมี่ กี รรมการที่ไดรบั การเลือกตัง้ รายใหม เอสซีจีได กําหนดแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการเตรียมความพรอมในการปฏิบตั ิ หนาที่กรรมการบริษัท (Director Induction Program) เพื่อให กรรมการทีเ่ ขารับตําแหนงสามารถปฏิบตั หิ นาที่ไดอยางเร็วทีส่ ดุ โดย มีเลขานุการบริษัทเปนผูป ระสานงานในเรือ่ งตาง ๆ 3 ดาน ดังนี้ 1) รวบรวมขอมูลที่จําเปนเกี่ยวกับกรรมการเพื่อประโยชน ในการตรวจสอบดู แ ลให มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ในเรื่องที่เกี่ยวของกับกรรมการ 2) จัดสงขอมูลทีส่ าํ คัญและจําเปนในการปฏิบตั หิ นาทีเ่ กีย่ วกับ กรรมการบริษัท เชน ขอบังคับบริษัท คูม อื กรรมการบริษัท คูม อื กรรมการบริษัทจดทะเบียน สรุปผลการดําเนินงาน เปนตน เพื่อใหกรรมการมีขอมูลอางอิงและสามารถ สืบคนไดในเบื้องตน 3) จัดใหมกี ารพบปะหารือกับประธานกรรมการ กรรมการ ฝายจัดการเอสซีจี หรือผูอํานวยการฝายตาง ๆ เพื่อ รับทราบ และสอบถามขอมูลเชิงลึกเกีย่ วกับการดําเนิน ธุรกิจของเอสซีจี นอกจากนี้ เอสซีจียังสนับสนุนใหกรรมการบริษั ท และ ผูบริหารระดั บ สู ง เข า ร ว มสั ม มนาหลั ก สู ต รที่ เ ป น ประโยชน ตอการปฏิบัติหนาที่ รวมทั้งพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ คณะกรรมการบริษัท และผูบริหารระดับสูงขององคกรตาง ๆ อยูเ สมอ ทัง้ หลักสูตรทีจ่ ดั โดยหนวยงานทีด่ แู ลการฝกอบรมของ เอสซีจี และหลักสูตรที่จัดโดยหนวยงานกํากับดูแลของรัฐ หรือ องค ก รอิ ส ระ เช น หลั ก สู ต รกรรมการบริ ษั ท ของสถาบั น กรรมการบริษัทไทยที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดใหกรรมการ ของบริษัทจดทะเบียนตองผานการอบรมอยางนอยหนึง่ หลักสูตร ซึ่งไดแก Directors Certification Program (DCP), Directors Accreditation Program (DAP), และ Audit Committee Program (ACP) ทัง้ นี้ เพือ่ นําความรูแ ละประสบการณมาพัฒนา องคกรตอไป สําหรับดานการสนับสนุนการปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการ บริษัทนัน้ เอสซีจมี เี ลขานุการคณะกรรมการและเลขานุการบริษัท ทําหนาทีป่ ระสานงานระหวางกรรมการบริษัทและฝายจัดการเอสซีจี และมีสํานักงานเลขานุการบริษั ททําหนาที่ดูแลประสานงาน ดานกฎหมาย กฎเกณฑตา ง ๆ ทีเ่ กีย่ วของ รวมทัง้ ดูแลกิจกรรม ของคณะกรรมการบริษัท การดําเนินการประสานงานใหมีการ ปฏิบัติตามมติคณะกรรมการบริษัท

การประเมินผลกรรมการผูจัดการใหญและผูบริหาร ระดับสูงของเอสซีจี

คณะกรรมการบริ ษั ท ร ว มกั บ คณะกรรมการพิ จ ารณา ผลตอบแทนเปนผูประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการ ผูจ ดั การใหญ โดยพิจารณาจากผลการดําเนินงานทางธุรกิจของ บริษทั การดําเนินงานตามนโยบายที่ ไดรับจากคณะกรรมการ บริ ษั ท ประกอบกับสภาวการณเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม โดยคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนจะนําขอมูลที่ไดไปใชใน การพิ จ ารณาค า ตอบแทนของกรรมการผู จั ด การใหญ แ ละ ผูบ ริหารระดับสูงของเอสซีจี เสนอตอคณะกรรมการบริษัท โดย ดู จ ากข อ มู ล ทั้ ง ป ป จ จบั น และเปรี ย บเที ย บข อ มู ล ย อ นหลั ง ในปจจัยตาง ๆ ดังนี้ 27


1. ผลประกอบการของธุรกิจ โดยพิจารณาจากรอยละของ EBITDA on Operating Assets ซึง่ จะมีการตัง้ เปาหมาย เพื่อกําหนดคารอยละของ EBITDA ของแตละธุรกิจใน เอสซีจที กุ ๆ ป เพือ่ เปนเกณฑในการประเมินและเปรียบเทียบ 2. เปรียบเทียบผลประกอบการของธุรกิจกับอุตสาหกรรม เดียวกันทั้งตลาดภายในประเทศและระดับสากล 3. ความสามารถในการพัฒนาธุรกิจใหดีขึ้น นอกจากนั้น ไดนําผลการสํารวจความคิดเห็นของพนักงาน ระดับจัดการทีม่ ตี อ กรรมการผูจ ดั การใหญ และผูบ ริหารระดับสูง ของเอสซีจี มาใชประกอบการพิจารณาในคณะกรรมการ พิจารณาผลตอบแทนดวย

การสรรหากรรมการบริษัท

คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหามีหนาทีส่ รรหาบุคคล ผูท รงคุณวุฒเิ ปนกรรมการแทนกรรมการทีค่ รบกําหนดออกตาม วาระหรือในกรณีอื่น ๆ เสนอตอคณะกรรมการบริษั ทเพื่อ พิจารณาบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อเขารับการเลือกตั้งจาก ที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น ต อไป โดยคณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล และสรรหา คัดเลือกจากผูทรงคุณวุฒิและความเชี่ยวชาญจาก หลากหลายอาชีพ มีภาวะผูนํา วิสัยทัศนกวางไกล เปนผูมี คุณธรรมและจริยธรรม มีประวัตกิ ารทํางานโปรงใสไมดา งพรอย รวมทัง้ มีความสามารถในการแสดงความคิดเห็นอยางเปนอิสระ นอกจากนี้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหาจะพิจารณา ถึงคุณลักษณะเฉพาะบุคคลของผูท จี่ ะคัดเลือก เพือ่ เสนอชือ่ เปน กรรมการในดานตาง ๆ คือ • ความมีคุณธรรมและความรับผิดชอบ (Integrity and Accountability) • การตัดสินใจดวยขอมูลและเหตุผล (Informed Judgment) • ความมีวฒ ุ ภิ าวะและความมัน่ คง เปนผูร บั ฟงทีด่ แี ละกลา แสดงความคิดเห็นที่แตกตางและเปนอิสระ • ยึดมั่นในการทํางานอยางมีหลักการและมาตรฐานเยี่ยง มืออาชีพ รวมทัง้ พิจารณาความรูค วามชํานาญเฉพาะดานทีจ่ าํ เปนตองมี ในคณะกรรมการ เพือ่ ใหคณะกรรมการสามารถกําหนดกลยุทธ นโยบาย และกํากับดูแลใหมีการปฏิบัติตามกลยุทธไดอยางมี ประสิทธิผล

การควบคุมและการตรวจสอบภายใน

1. การควบคุ​ุมภายใน

ระบบการควบคุมภายในเปนสิง่ จําเปนทีส่ าํ คัญในการดําเนิน ธุรกิจ เอสซีจีจึงไดใหความสําคัญกับระบบการควบคุมภายใน มาตลอด โดยไดพฒ ั นาระบบการควบคุมภายในใหไดมาตรฐาน สากลตามแนวทางของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) ทัง้ ดานสภาพแวดลอมการควบคุม การประเมินความเสีย่ ง กิจกรรม การควบคุม ขอมูลสารสนเทศและการสือ่ สารในองคกร และการ ติดตามและประเมินผล มีโครงสรางองคกรทีเ่ หมาะสมกับแผนธุรกิจ แบงแยกหนาทีค่ วามรับผิดชอบทีช่ ดั เจน สรรหาและพัฒนาพนักงาน

28

อยางตอเนือ่ งและเหมาะสมกับสภาพธุรกิจทีเ่ ปลีย่ นแปลง สงเสริม พนักงานทุกคนยึดมั่นตามหลักบรรษัทภิบาลและจรรยาบรรณ เอสซีจี และตระหนักถึงความสําคัญของการประเมินการบริหาร ความเสีย่ ง โดยปลูกฝงใหการบริหารความเสีย่ งเปนความรับผิดชอบ ของพนักงานทุกคน พัฒนาเปนเครือ่ งมือในการเผยแพรและสือ่ สาร ภายในของธุรกิจเอสซีจีไดอยางถูกตองและทันกาลอยางสมํา่ เสมอ โดยนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการควบคุมภายในของ กระบวนการตาง ๆ ตัง้ แตการรวบรวมขอมูลสารสนเทศ ประมวล ขอมูลสารสนเทศ จัดเก็บขอมูลสารสนเทศ และนําเสนอขอมูล สารสนเทศ โดยใชระบบคอมพิวเตอรทท่ี นั สมัยและเหมาะสมกับการ ดําเนินธุรกิจในปจจบัน รวมทัง้ มุง เนนการพัฒนาการประเมินการ ควบคุมภายในดานการเงิน การดําเนินงาน การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวของใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล พรอมทัง้ ผลักดันใหมกี ารปฏิบตั ติ ามระบบควบคุมภายในอยูอ ยาง ตอเนือ่ ง และสมํา่ เสมอ เพือ่ การพัฒนาอยางยัง่ ยืน สําหรับป 2552 สรุปสาระสําคัญไดดงั นี้ 1.1 ขอกําหนดระบบการควบคุมภายในและคูม อื การปฏิบตั งิ าน เพื่อใหหนวยงานและกิจการตาง ๆ ในเอสซีจีซึ่งมี จํานวนมาก ไดใชอา งอิงในการปฏิบตั งิ านใหมปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลอยางเปนมาตรฐานเดียวกัน จึงไดจดั ทํา ขอกําหนดระบบการควบคุมภายใน (Internal Control Instruction) ซึง่ กําหนดจดควบคุมทีส่ าํ คัญของการควบคุม ภายในครอบคลุมการปฏิบตั งิ านในทุกกิจกรรมทีส่ าํ คัญ ในการดําเนินธุรกิจ อันจะเปนการเสริมสรางความ มีประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจอยางรัดกุม โดยการ รวมมือของหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกันเพื่อให เกิดการประสานงานในการรวบรวมและปรับปรุงคูมือ การปฏิ บั ติ ง านและนํ า ไปใช ใ นการปฏิ บัติง านเพื่อ บรรลุถึงเปาหมายและแผนงานที่กําหนดไว รวมทั้ง เพือ่ ใหเอสซีจมี รี ะบบกํากับดูแลกิจการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได ซึ่งจะชวยสรางความเชื่อมั่นและ ความมั่นใจตอผูถือหุน ผูลงทุน ผูมีสวนไดเสีย ซึ่ง สอดคลองกับหลักการบรรษัทภิบาลทีก่ าํ หนดอยางเหมาะสม นอกจากนั้น ในป 2552 ยังมีการพัฒนาปรับปรุงคูมือ การปฏิบตั งิ านของหนวยงานทีเ่ กีย่ วของใหสอดคลองกับ ขอกําหนดการควบคุมภายในอยางทันสมัย เหมาะสม กับสภาพการดําเนินธุรกิจในปจจบันและเปนสากลยิง่ ขึน้ 1.2 การรายงานระบบการควบคุมภายใน ระบบการควบคุมภายในเปนสิ่งจําเปน ที่เอสซีจี ให ความสําคัญมาโดยตลอด นอกจากจะมีการกําหนดและ พัฒนาระบบการควบคุมภายในใหไดมาตรฐานตาม COSO แลว ยังกําหนดใหผบู ริหารระดับสูงตองรับผิดชอบ โดยตรงตอประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการ ควบคุมภายในขององคกร โดยเฉพาะอยางยิ่งในความ ถูกตองตามมาตรฐานการบัญชี เพื่อใชในการจัดทํา รายงานทางการเงิน และความเพียงพอของการเปดเผย ขอมูลในงบการเงิน กลาวคือ ผูบ ริหารระดับสูงทีร่ บั ผิดชอบ ในดานบัญชีการเงินจะจัดทํารายงานการประเมินการ


ควบคุมภายในที่มีผลตอรายงานทางการเงินของบริษัท เสนอตอคณะกรรมการตรวจสอบปละครัง้ โดยในป 2552 ไดมีการจัดทํารายงานการประเมินการควบคุมภายใน ที่มีผลตอรายงานทางการเงินของบริษั ทเสนอตอคณะ กรรมการตรวจสอบแลวเมือ่ เดือนพฤศจิกายนทีผ่ า นมา ซึ่งไดมีการจัดทําและตรวจสอบติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติงานตามระบบการควบคุ ม ภายใน ในส ว นที่ เกี่ยวของกับความนาเชื่อถือของขอมูลทางการเงิน มีกระบวนการติดตามผลระบบประเมินการควบคุม ตนเองของหนวยงานตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วของในธุรกิจอยางตอเนือ่ ง และมีมาตรการปองกันที่นํามาใชในการแกไขจดออน ปญหาหรืออุปสรรคที่ไดตรวจพบในระหวางป โดยมีการ ประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการ ควบคุมภายในที่เปนสาระสําคัญระดับหนวยงานดวย โดยสํานักงานตรวจสอบไดเสนอรายงานผลการประเมิน ระบบการควบคุมภายในของแตละหนวยงานตามแผนงาน ตรวจสอบประจําปตอคณะกรรมการตรวจสอบเปน รายเดือน และเสนอที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เปนรายไตรมาส 1.3 การควบคุมภายในตามแนวทาง TQM เอสซีจีใชแนวทางการบริหารงานคุณภาพโดยรวมทัว่ ทัง้ องคกร หรือ Total Quality Management (TQM) มาเปนระยะเวลานานตอเนือ่ ง และใชเสริมกับระบบการ ควบคุมภายใน เพือ่ ใหปฏิบตั งิ านไดอยางรัดกุม ถูกระเบียบ และกฎหมาย โดยยึดหลักของการตรวจสอบขอมูลเชิง ปริมาณและคุณภาพอยางมีเหตุผล และพิสูจนไดตาม วิทยาศาสตร เพื่อพัฒนาคุณภาพงานใหดีข้ึนอยูเสมอ และมีเปาหมายคือการสรางคุณคาใหถกู ใจลูกคา หรือมี ลูกคาเปนศูนยกลางของการทํางาน ดังนัน้ การดําเนินงาน ตามหลัก TQM จะอยูในรูปแบบของการเรียนรูท จ่ี ะมอง ปญหาในมุมมองที่แตกตางไปจากเดิม ดวยการคิด นอกกรอบเพื่อหาวิธีการใหม ๆ มาทดลองแกไขปญหา หากไมพบปญหาก็สามารถตัง้ คําถามกับตนเองไดตลอดเวลา วาจะมีทางทํางานในวันพรุงนี้ ใหดีกวาวันนี้ ไดอยางไร โดยสอดคลองกับระบบการควบคุมภายในขางตนได และในป 2552 นี้ไดเนนใหหนวยงานสวนกลาง (Corporate Function) ซึง่ เปนหนวยสนับสนุนและใหบริการกับกลุม ธุรกิจตาง ๆ นําหลักการ TQM มาปรับใชกบั งานประจํา อยางจริงจัง โดยมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม และตอเนือ่ ง โดยเริม่ จากมีลกู คาเปนศูนยกลางของการ ทํางาน และมีการวางแผนกลยุทธตามความตองการลูกคา เพื่อใหลูกคาทั้งภายในและภายนอกไดประโยชนสูงสุด 1.4 การพัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกสประเมินการควบคุมดวย ตนเอง (Electronics-Control Self Assessment : eCSA) เมื่อเริ่มตนการประเมินการควบคุมภายในจะเปน ระบบ Manual ดังนั้นเพื่อใหผูบังคับบัญชาสามารถที่ จะมีกลไกในการประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามเปาหมาย และระเบียบขอบังคับอยางทันเวลา จึงมีการพัฒนาระบบ

การประเมินผลการควบคุมดวยตนเองเปนคอมพิวเตอร ที่ชวยอํานวยความสะดวกในการติดตามผลไดอยาง นาเชื่อถือและรวดเร็ว ซึ่งจะสงผลใหเกิดการปรับปรุง กลยุทธตาง ๆ เพื่อใชแกไขปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึน้ ไดอยางทันเวลา โดยเริ่มพัฒนาจากกิจกรรมทางธุรกิจ ที่สําคัญ คือ การจัดหา การขายและการตลาด การบริหาร สินคาคงเหลือ เปนตน

2. การตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบเปนผูกํากับดูแลการปฏิบัติงาน ของสํานักงานตรวจสอบภายในใหเกิดความเปนอิสระ เปนธรรม มีระบบบรรษั ทภิบาลและจรรยาบรรณที่ดี โดยการประเมิน ความเพี ย งพอ และความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของระบบการ ควบคุมภายใน ความถูกตองของงบการเงิน การเปดเผยขอมูล อยางเพียงพอ โปรงใส และการประเมินการบริหารความเสี่ยง ของกิจกรรมทางธุรกิจตาง ๆ ภายในองคกร รวมทั้งระบบงาน สารสนเทศที่เ ชื่อ ถื อได และมี ผ ลสํ า คั ญ ต อ การดํ า เนิ น งาน เพื่อใหมีการปฏิบัติที่สอดคลองกับนโยบายและสภาพธุรกิจที่ มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อให ผูปฏิบัติงานทุกระดับขององคกรสามารถปฏิบัติหนาที่ของตน ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามหลักการการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี สรุปไดดังนี้ 2.1 การกําหนดแผนงานตรวจสอบระยะปานกลาง และแผนงานประจําปปี การปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบในป 2552 ได มี ก าร ทบทวนแผนงานระยะปานกลางโดยมีวิสัยทัศน คือ “ตรวจสอบเชิงปองกัน อยางสรางสรรคทันเหตุการณ ยึดมั่นจรรยาบรรณและบรรษั ทภิบาล มุงมั่นสูการ พัฒนาที่ยั่งยืน” และนําพันธกิจมาจัดทําแผนประจําป ไดแก การสงเสริมและพัฒนากระบวนการตรวจสอบ เชิงปองกันอยางสรางสรรคดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย และสื่อ สารผลการตรวจสอบให เ ป น กรณี ศึก ษากั บ ผูเ กีย่ วของ การใหคาํ ปรึกษาอยางเปนอิสระและเทีย่ งธรรม โดยมุง เนนการมีสว นรวมจากทุกคน เพือ่ ใหเกิดประโยชน และเพิม่ คุณคาแกองคกร ยึดถือจรรยาบรรณตรวจสอบ อยางเครงครัด พัฒนาองคความรู ทักษะ และเพิม่ คุณภาพ ในการตรวจสอบอยางตอเนือ่ งตามสภาพแวดลอมและ เทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลง การสงเสริมพนักงานใหไดทนุ การศึกษาดานการตรวจสอบภายใน และสงเสริมให ผูตรวจสอบเขาสอบรับวุฒิบัตรตามวิชาชีพตรวจสอบ ภายในตามมาตรฐานสากล รวมทัง้ มีการประเมินผล และให ความเห็นในการพัฒนางานตรวจสอบของหน ว ยงาน ทีร่ บั การตรวจสอบดวย นอกจากนี้ ยังไดปรับปรุงกลยุทธ ใหสอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ และสภาพแวดลอม ในการดําเนินธุรกิจของเอสซีจี โดยเนนการสรางคุณคา ในเชิงรุก กอใหเกิดประโยชนกับกลุมธุรกิจ วางแผน การตรวจสอบใหทันเหตุการณ และสื่อสารแนวทาง ปองกันอยางทันเวลา

29


2.2 การกําหนดดัชนีช้วี ัดผลการตรวจสอบ (Key Performance Indicators - KPI)

ในป 2552 ไดกาํ หนดดัชนีชวี้ ดั ผลการตรวจสอบ (KPI) และปรับปรุงตัวชีว้ ดั ผลการดําเนินงานเพือ่ ใหสอดคลอง กับวิสยั ทัศน กลยุทธ พันธกิจ และการเปลีย่ นแปลงวิธกี าร ดําเนินธุรกิจเฉพาะทีม่ กี ารปรับปรุงงานอันเปนการเพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการวัดผลการปฏิบัติ งานตรวจสอบ โดยมีจดมุงหมายพัฒนาการตรวจสอบ ใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง และติดตามผลการ ปฏิบัติงานในทุกระดับเพื่อพัฒนาศักยภาพผูตรวจสอบ ภายในใหมีการปฏิบัติงานที่ไดมาตรฐานสากล รวมทั้ง ไดเริ่มนําแบบประเมินผลความสามารถในการปฏิบัติ งานตรวจสอบ (Competency) มาใชในการประเมินผล และพัฒนาผูตรวจสอบทุกระดับเพื่อเพิ่มความสามารถ ที่จําเปนตอความสําเร็จของการปฏิบัติงานตรวจสอบ เพื่อพัฒนาผูตรวจสอบและงานตรวจสอบที่มีคุณภาพ มากขึน้ โดยผูต รวจสอบจะตองเรียนรูใ นเรือ่ งความรู ทักษะ และพฤติกรรมเพิ่มขึ้นได เพื่อมุงสูการเปนผูตรวจสอบ ที่ไดมาตรฐานสากลและไดรบั วุฒบิ ตั รจากสถาบันตาง ๆ

2.3 การพัฒนาระบบงานตรวจสอบดานคอมพิวเตอร

ในป 2552 ไดมกี ารพัฒนาเว็บไซต เพือ่ เปนชองทางใน การสื่อสาร ใหความรู คําปรึกษาเกีย่ วกับระบบการควบคุม ภายใน การบริหารความเสีย่ ง การประเมินการควบคุม ดวยตนเอง อํานาจดําเนินการ และการปฏิบตั งิ านทีถ่ กู ตอง ซึ่งสงผลใหขอผิดพลาดลดลง และไดรับการจัดการ อยางทันเวลา การตรวจสอบทําไดอยางมีประสิทธิภาพ และใชกําลังพลนอยลง และไดจัดทําคูมือปฏิบัติงาน เรื่ อ งการประเมิ น ผลการควบคุมดวยตนเองดานไอที สําหรับกิจการนําไปใช เพื่อใหไดระบบงานสารสนเทศ ที่เชื่อถือได มีระบบควบคุมที่ดี มีความปลอดภัย และ เปนไปตาม e-Policy ของเอสซีจี โดยจัดหาเครื่องมือ ที่ ช ว ยในการตรวจสอบ รวมทั้งระบบการจัดเก็บที่มี ประสิทธิภาพ เพือ่ ใชเปนแหลงเรียนรูแ ละพัฒนาผูตรวจ สอบโดยพัฒนาแนวทางในการตรวจสอบระบบงาน คอมพิวเตอร สําหรับผูตรวจสอบนําไปใชในการตรวจ สอบระบบงาน ในเรื่องการใหบริการระบบเทคโนโลยี สารสนเทศใหแกบริษัทในเอสซีจี และระบบงาน Web Application

2.4 การพัฒนาระบบการใหคําปรึกษาผานทาง เว็บไซต

ป ญ หาที่ พ บในการตรวจสอบประการหนึ่ ง คื อ ผูก ระทําผิดไมไดมเี จตนาหรือไมรวู า ระเบียบเปนอยางไร ดั ง นั้ น จึ ง มี ก ารพั ฒ นาระบบให คํ า ปรึ ก ษาผ า นทาง เว็บไซตเปนชองทางใหผูปฏิบัติงานสอบถามขอสงสัย เกี่ยวกับระเบียบ ขอบังคับ การควบคุมภายใน อํานาจ ดําเนินการ เปนตน โดยไดรบั คําปรึกษาทีท่ นั เวลา สามารถ

30

นําไปปฏิบตั ไิ ดอยางถูกตองตัง้ แตแรก ซึง่ สอดคลองกับ แนวทางการตรวจสอบเชิงปองกัน และลดขอผิดพลาด กอเกิดประโยชนกับหนวยงานตาง ๆ เปนอยางมาก กลาวคือ ชวยลดจดออนและขอบกพรองที่เคยมี ไดเปน จํานวนมากและไดมีการรวบรวมจัดหมวดหมูคําถาม เพื่อใหพ นั ก งานได ศึ ก ษาและสื่ อ สารให ผู ป ฏิ บั ติ ง าน ในระดับตาง ๆ โดยการชีแ้ จงใหทราบ อันเปนการเสริมสราง แนวทางการตรวจสอบในเชิงปองกันอยางไดผลดีมาก


ขอมูลอื่น ๆ การลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม กิจการที่ควบคุมรวมกัน และบริษัทอื่น ซึ่งเปนบริษัทที่มีการประกอบธุรกิจที่เปนสาระสําคัญ สัดสวน

ชื่อบริษัท

โทรศัพท

สัดสวนการถือหุน การถือหุน โดยตรง/ออม โดยตรง/ออม ธุรกิจ / ทุนชําระแลว ของบริษทั และ ทัง้ หมด * ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) บริษทั ยอย(รอยละ) (รอยละ)

เอสซีจี เคมิคอลส บริษัทยอย 1 2

บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จํากัด บริษัทไทยโพลิเอททีลีน จํากัด

กรุงเทพฯ ระยอง

0-2586-4762 0-3868-3393-7

3

บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน จํากัด

ระยอง

0-3868-3393-7

4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

บริษัทเอสซีจี พลาสติกส จํากัด กรุงเทพฯ บริษัทเอสซีจี เพอรฟอรมานซ เคมิคอลส จํากัด กรุงเทพฯ บริษัทเอสซีจี โพลิโอเลฟนส จํากัด กรุงเทพฯ บริษัทระยองวิศวกรรมและซอมบํารุง จํากัด ระยอง บริษัทโปรเทค เอาทซอสซิ่ง จํากัด ระยอง บริษัทอาร ไอ แอล 1996 จํากัด ระยอง บริษัทวีนา เอสซีจี เคมิคอลส จํากัด กรุงเทพฯ SCG Chemicals (Singapore) Pte. Ltd. สิงคโปร Tuban Petrochemicals Pte. Ltd. สิงคโปร Hexagon International, Inc. สหรัฐอเมริกา บริษัทระยองไปปไลน จํากัด ระยอง บริษัทมาบตาพุด แทงค เทอรมินัล จํากัด ระยอง

0-2586-6161 0-2586-4115 0-2586-6161 0-3868-5040-8 0-3860-8657-8 0-3868-9471-2 0-2586-5435 (65) 6297-9661 (65) 6297-9661 0-2586-4444 0-3868-9471-2 0-3868-9471-2

16 17 18

PT. TPC Indo Plastic & Chemicals Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Pte. Ltd. บริษัทมาบตาพุดโอเลฟนส จํากัด

19

บริษัทระยองโอเลฟนส จํากัด

20 21

Rayong Olefins (Singapore) Pte. Ltd. บริษัทโฟลวแล็บ แอนด เซอรวิส จํากัด

22

อินโดนีเซีย สิงคโปร

(6231) 3952-9458 (65) 6221-5318

ระยอง

0-3893-7000

ระยอง

0-3868-5040-8

สิงคโปร ระยอง

(65) 6297-9661 0-3891-1321-2

บริษัทไทยพลาสติกและเคมีภณั ฑ จํากัด (มหาชน)

กรุงเทพฯ

0-2676-6000

23 24 25 26

บริษัททีพซี ี เพสต เรซิน จํากัด บริษัทนวพลาสติกอุตสาหกรรม (สระบุร)ี จํากัด บริษัทนวพลาสติกอุตสาหกรรม จํากัด บริษัทนวอินเตอรเทค จํากัด

กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ระยอง

0-2676-6200 0-2586-3930-5 0-2586-3930-5 0-2586-3930-5

27 28

Chemtech Co., Ltd. บริษัทโทเทิลแพลนทเซอรวิส จํากัด

เวียดนาม สมุทรปราการ ระยอง Minh Thai House Component Co., Ltd. เวียดนาม Viet-Thai Plastchem Co., Ltd. เวียดนาม

(84650) 784-992 0-2385-9515-16 0-3868-7320-23 (848) 3754-2989 (84650) 710-993

29 30

กิจการลงทุน เม็ดพลาสติก โพลิเอททีลีน เม็ดพลาสติก โพลิโพรไพลีน คาขายเม็ดพลาสติก คาขายเม็ดพลาสติก คาขายเม็ดพลาสติก บริการซอมบํารุง บริการซอมบํารุง นิคมอุตสาหกรรม กิจการลงทุน กิจการลงทุน กิจการลงทุน กิจการลงทุน บริการใชสิทธิทางทอ บริการคลังเก็บสินคา และขนถายสินคา พีวีซีเรซิน กิจการลงทุน วัตถุดิบสําหรับ ผลิตเม็ดพลาสติก วัตถุดิบสําหรับ ผลิตเม็ดพลาสติก จัดหาวัตถุดิบ บริการสอบเทียบ มาตรฐาน พีวีซีเรซินและ พีวีซีคอมเปานด พีวีซี เพสต เรซิน ทอและขอตอพีวซี ี ผลิตภัณฑพลาสติกพีวซี ี แมพมิ พสาํ หรับ ผลิตภัณฑพลาสติกพีวซี ี ทอและขอตอพีวซี ี ลงทุนและบริการ ดานวิศวกรรม ประตู หนาตางพีวีซี พีวีซีคอมเปานด

7,108 2,300

100 100

100 100

2,889

100

100

5 3 0.3 2 0.3 1,100 883 804 2,828 0.03 200 700

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 91 81

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 91 81

1,020 1,881

78 65

78 68

17,779

55

67

7,700

47

64

0.5 4

64 51

64 51

875

46

46

1,330 400 426 40

46 46 46 46

46 46 46 46

103 1,180

46 46

46 46

36 75

37 33

37 33

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอืน่ 31


สัดสวน

31 32

ชื่อบริษัท TPC Vina Plastic and Chemicals Corporation Co., Ltd. บริษัทสยามสเตบิไลเซอรส แอนด เคมิคอลส จํากัด

เวียดนาม

โทรศัพท (848) 3823-4730

ระยอง

0-3868-3451-3

สัดสวนการถือหุน การถือหุน โดยตรง/ออม โดยตรง/ออม ธุรกิจ / ทุนชําระแลว ของบริษทั และ ทัง้ หมด * ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) บริษทั ยอย(รอยละ) (รอยละ) พีวีซีเรซิน 745 32 32 สเตบิไลเซอรส

190

27

27

1,646

61

61

4,800

49

50

4,050

50

50

3,337 4,455

50 49

50 50

995

50

50

620 327 78 4 5,590

50 50 49 46

50 50 50 49 47

64

46

46

200 1,203

45 41

45 41

472

39

39

337

39

39

642

25

25

429

25

25

1,173

22

22

15,010

22

22

9,815

20

20

900 596

20 20

20 20

7 120 118 220

18 16 10 10

18 16 10 10

314

10

10

บริษัทรวม กิจการที่ควบคุมรวมกันและอื่น ๆ 33

Long Son Petrochemicals Co., Ltd.

34

บริษัทสยาม มิตซุย พีทีเอ จํากัด

ระยอง

35

บริษัทสยามสไตรีนโมโนเมอร จํากัด

ระยอง

36 37

บริษัทสยามเลเทกซสังเคราะห จํากัด บริษัทสยามโพลิเอททีลีน จํากัด

ระยอง ระยอง

38

บริษัทสยามโพลีสไตรีน จํากัด

ระยอง

39 40 41 42 43

บริษัทระยอง เทอรมินัล จํากัด PT. Siam Maspion Terminal บริษัทเอสดีกรุปเซอรวิซ จํากัด SCG Plastics (China) Co., Limited บริษัทไทย เอ็มเอ็มเอ จํากัด

44

บริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จํากัด

ระยอง

วัตถุดิบสําหรับ ผลิตเม็ดพลาสติก เม็ดพลาสติกโพลิเอททีลนี และโพลิโพรไพลีน 0-3868-5100 วัตถุดิบสําหรับ ผลิตเพ็ทเรซิน 0-3868-3215-6 วัตถุดิบสําหรับ ผลิตโพลิสไตรีน 0-3868-3215-6 เลเทกซสังเคราะห 0-3868-3215-6 เม็ดพลาสติก โพลิเอททีลีน 0-3868-3215-6 เม็ดพลาสติก โพลิสไตรีน 0-3868-9471-2 บริการทาเรือขนสง (6231) 395-2945-8 บริการทาเรือขนสง 0-2365-7000 กิจการลงทุน (852) 2544-9991 คาขายเม็ดพลาสติก 0-3868-5040-8 วัตถุดิบสําหรับ ผลิตกระจกเทียม 0-3868-4241 เม็ดพลาสติก

45 46

บริษัทไทย เอ็มเอฟซี จํากัด Mehr Petrochemical Company

ระยอง อิหราน

0-3868-4241 (9821) 8850-0641

47

PT. Trans-Pacific Polyethylene Indonesia อินโดนีเซีย

(6221) 574-5880

48

PT. Trans-Pacific Polyethylindo

อินโดนีเซีย

(6221) 574-5880

49

GTC Technology US, LLC

สหรัฐอเมริกา

0-2586-4444

50

GTC Technology International, LP

สหรัฐอเมริกา

0-2586-4444

51

บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จํากัด

กรุงเทพฯ

0-2679-5120

52

บริษัทปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน)

กรุงเทพฯ

0-2265-8400

53

PT. Trans-Pacific Petrochemical Indotama บริษัทไทย เพ็ท เรซิน จํากัด Mitsui Advanced Composites (Zhongshan) Co., Ltd. Nawacam Co., Ltd. บริษัทริเกน (ไทยแลนด) จํากัด PT. Srithai Maspion Indonesia PT. Trans-Pacific Polypropylene Indonesia PT. Trans-Pacific Styrene Indonesia

อินโดนีเซีย

(6221) 574-5880

54 55 56 57 58 59 60

เวียดนาม

ระยอง อินโดนีเซีย กรุงเทพฯ ฮองกง ระยอง

(848) 3825-7226

ระยอง 0-3868-5900 จีน (86) 760-533-2138 กัมพูชา กรุงเทพฯ อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย

(85523) 882-072 0-2501-1054 (6231) 891-3630 (6221) 574-5880

อินโดนีเซีย

(6221) 574-5880

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น 32

โพลิโพรไพลีนคอมเปานด

ผงเมลามีน เม็ดพลาสติก โพลิเอททีลนี ชนิด HDPE เม็ดพลาสติก โพลิเอททีลนี ชนิด LDPE เม็ดพลาสติก โพลิเอททีลนี ชนิด HDPE ใหบริการเทคโนโลยี ดานเคมีภัณฑ ใหบริการเทคโนโลยี ดานเคมีภัณฑ วัตถุดิบสําหรับ ผลิตยางสังเคราะห วัตถุดิบสําหรับ ผลิตเม็ดพลาสติก วัตถุดิบสําหรับ ผลิตอะโรเมติกส เพ็ทเรซิน เม็ดพลาสติก โพลิโพรไพลีนคอมเปานด

ทอและขอตอพีวีซี พีวีซีคอมเปานด ผงเมลามีน เม็ดพลาติก โพลิโพรไพลีน วัตถุดิบสําหรับ ผลิตโพลิสไตรีน


สัดสวน

ชื่อบริษัท

โทรศัพท

สัดสวนการถือหุน การถือหุน โดยตรง/ออม โดยตรง/ออม ธุรกิจ / ทุนชําระแลว ของบริษทั และ ทัง้ หมด * ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) บริษทั ยอย(รอยละ) (รอยละ)

เอสซีจี เปเปอร 61

บริษัทยอย

กรุงเทพฯ

0-2586-3333

62 63 64 65 66 67

บริษัทผลิตภัณฑกระดาษไทย จํากัด กรุงเทพฯ บริษัทกระดาษสหไทย จํากัด (มหาชน) สมุทรปราการ บริษัทสยามคราฟทอุตสาหกรรม จํากัด กรุงเทพฯ บริษัทอุตสาหกรรมกระดาษคราฟทไทย จํากัด กรุงเทพฯ United Pulp & Paper Co., Inc. ฟลิปปนส บริษัทกระดาษสหไทยอุตสาหกรรม จํากัด กรุงเทพฯ

0-2586-3333 0-2754-2100-10 0-2586-3333 0-2586-3333 (632) 870-0100 0-2586-3333

68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80

บริษัทสยามเซลลูโลส จํากัด บริษัทอินโฟเซฟ จํากัด บริษัทเยื่อกระดาษสยามโฮลดิ้ง จํากัด บริษัทสยามฟอเรสทรี จํากัด บริษัทพนัสนิมิต จํากัด บริษัทไทยพนาสณฑ จํากัด บริษัทไทยพนาดร จํากัด บริษัทไทยพนาราม จํากัด บริษัทสวนปารังสฤษฎ จํากัด บริษัทสยามพนาเวศ จํากัด บริษัทไทยพนาบูรณ จํากัด บริษัทไทยวนภูมิ จํากัด บริษัทฟนิคซ พัลพ แอนด เพเพอร จํากัด (มหาชน) บริษัทฟนิคซ ยูทิลิต้ี จํากัด บริษัทไทยเคนเปเปอร จํากัด (มหาชน) บริษัทกลุมสยามบรรจภัณฑ จํากัด

81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93

บริษัทเอสซีจี เปเปอร จํากัด (มหาชน)

กรุงเทพฯ ปทุมธานี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ขอนแกน

0-2586-3333 0-2586-3333 0-2586-3333 0-2586-3333 0-2586-3333 0-2586-3333 0-2586-3333 0-2586-3333 0-2586-3333 0-2586-3333 0-2586-3333 0-2586-3333 0-2586-3333

ขอนแกน กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ปทุมธานี สมุทรปราการ ราชบุรุ ี บริษัทสยามบรรจภัณฑสงขลา (1994) จํากัด สงขลา บริษัทไทยคอนเทนเนอรขอนแกน จํากัด ขอนแกน บริษัทไทยคอนเทนเนอรระยอง จํากัด ระยอง บริษัทไทยคอนเทนเนอรสระบุรี จํากัด สระบุรี บริษัทไทยคอนเทนเนอร (ทีซีซ)ี จํากัด ปราจีนบุรี ชลบุรี ปทุ​ุมธานี Vina Kraft Paper Co., Ltd. เวียดนาม TCG Rengo Subang (M) Sdn. Bhd. มาเลเซีย

0-2586-3333 0-2440-0707 0-2586-5991

กิจการลงทุ​ุนและ เยื่อกระดาษ กระดาษพิมพเขียน กระดาษพิมพเขียน กระดาษคราฟท กระดาษคราฟท กระดาษคราฟท กระดาษยิปซัมและ กระดาษกลอง ขาวเคลือบ เยื่อกระดาษ ทําลายเอกสาร กิจการลงทุน สวนปา สวนปา สวนปา สวนปา สวนปา สวนปา สวนปา สวนปา สวนปา เยื่อกระดาษและ กระดาษพิมพเขียน สาธารณูปโภค กระดาษคราฟท กลองกระดาษ

0-2586-3333 0-2586-3333 0-2586-3333 0-3625-1724-8 0-3720-8568-70

กลองกระดาษ กลองกระดาษ กลองกระดาษ กลองกระดาษ กลองกระดาษ

280 150 650 450 1,100

69 69 69 69 69

69 69 69 69 69

กระดาษคราฟท กลองกระดาษ

3,778 146

69 69

69 69

สิงคโปร สมุทรปราการ

(848) 268-0240-2 (603) 5636-3610 ตอ 220 (65) 6661-7325 0-2754-2650-8

56 110

69 49

69 49

สมุทรปราการ

0-2754-2650-8

กลองกระดาษ เอกสารปลอดการ ทําเทียม บริการงานพิมพ ระบบดิจิตอล

34

25

25

สมุทรปราการ ฟลิปปนส

0-2709-3110-7 กลองกระดาษอ็อพเซ็ท (632) 870-0100 กิจการลงทุน

500 263

48 39

48 39

TCG Rengo (S) Limited บริษัทไทยบริติชซีเคียวริต้ี พริ้นติ้ง จํากัด (มหาชน) บริษัทไทยบริติช ดีโพสต จํากัด

1,563

98

98

1,200 430 250 1,000 4,328 1,200

98 98 98 98 98 98

98 98 98 98 98 98

300 70 180 20 2 2 2 2 2 3 3 3 1,200

98 98 98 98 98 98 98 98 98 98 98 98 98

98 98 98 98 98 98 98 98 98 98 98 98 98

375 3,583 784

98 85 69

98 85 69

บริษัทรวมและอื่น ๆ 94 95

บริษัทสยามทบพันแพคเกจจิจิ้ง จํากัด P&S Holdings Corporation

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอืน่ 33


สัดสวน

ชื่อบริษัท

โทรศัพท

สัดสวนการถือหุน การถือหุน โดยตรง/ออม โดยตรง/ออม ธุรกิจ / ทุนชําระแลว ของบริษทั และ ทัง้ หมด * ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) บริษทั ยอย(รอยละ) (รอยละ)

เอสซีจี ซิเมนต 96 97

บริษัทยอย

106 บริษัทเอสซีไอ แพลนท เซอรวิสเซส จํากัด

สระบุรี

0-3628-9131

107 บริษัทสยามวิจัยและนวัตกรรม จํากัด 108 บริษัทเอสซีไอ อีโค เซอรวิสเซส จํากัด 109 CPAC Concrete Products (Cambodia) Co., Ltd. 110 Cementhai Building Materials (Singapore) Pte. Ltd. 111 PT. Semen Jawa

สระบุรี นนทบุรี กัมพูชา

0-3627-3152-63 0-2962-7295-7 (85516) 745-999

กิจการลงทุน กิจการลงทุนและ คอนกรีตผสมเสร็จ ปูนซีเมนต ปูนซีเมนต ปูนซีเมนต ปูนซีเมนต ปูนฉาบและปูนกอ ปูนซีเมนตขาว วัสดุทนไฟ รับปรึกษาการอนุรักษ พลังงานและรับจาง ผลิตไฟฟา บริการดานเทคนิคและ ติดตั้งโรงงาน วิจัยและพัฒนา กําจัดกากอุตสาหกรรม แผนพื้นสําเร็จรูป

สิงคโปร

(65) 6297-9661

กิจการลงทุน

14

100

100

อินโดนีเซีย

(6221) 350-9491 ตอ 103 (85523) 996-839 (85620) 246-5553 (959) 501-4702 (85516) 282-930 (85523) 996-839

ปูนซีเมนต

301

95

95

ปูนซีเมนต คอนกรีตผสมเสร็จ คอนกรีตผสมเสร็จ คอนกรีตผสมเสร็จ กิจการลงทุนในที่ดิน

1,551 17 10 5 0.2

93 70 70 69 45

93 70 70 69 45

กรุงเทพฯ 0-2641-5600 บังคลาเทศ (8802) 988-1002-3

ปูนซีเมนต ปูนซีเมนต

4,671 62

10 10

10 10

98 99 100 101 102 103 104 105

112 113 114 115 116

บริษัทเอสซีจี ซิเมนต จํากัด บริษัทผลิตภัณฑและวัตถุกอสราง จํากัด

กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ

0-2586-3060-1 0-2555-5000

บริษัทปูนซิเมนตไทย (แกงคอย) จํากัด สระบุรี บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทาหลวง) จํากัด สระบุรี บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทุงสง) จํากัด นครศรีธรรมราช บริษัทปูนซิเมนตไทย (ลําปาง) จํากัด ลําปาง บริษัทสยามมอรตาร จํากัด สระบุรี บริษัทสยามปูนซิเมนตขาว จํากัด สระบุรี บริษัทสยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จํากัด กรุงเทพฯ บริษัทอนุรักษพลังงานซิเมนตไทย จํากัด กรุงเทพฯ

0-3624-0000-78 0-3635-1200-18 0-7553-8222 0-5427-1500 0-3624-5428-68 0-3635-1200-18 0-2586-3242-52 0-2586-2410

Kampot Cement Co., Ltd. CPAC Lao Co., Ltd. Myanmar CPAC Service Co., Ltd. CPAC Cambodia Co., Ltd. Kampot Land Co., Ltd.

กัมพูชา ลาว พมา กัมพูชา กัมพูชา

4,894 9,140

100 100

100 100

625 575 700 589 443 200 150 1,310

100 100 100 100 100 100 100 100

100 100 100 100 100 100 100 100

50

100

100

100 12 17

100 100 100

100 100 100

บริษัทรวมและอื่น ๆ 117 บริษัทปูนซิเมนตเอเซีย จํากัด (มหาชน) 118 Holcim (Bangladesh) Co., Ltd.

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น 34


สัดสวน

ชื่อบริษัท

โทรศัพท

สัดสวนการถือหุน การถือหุน โดยตรง/ออม โดยตรง/ออม ธุรกิจ / ทุนชําระแลว ของบริษทั และ ทัง้ หมด * ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) บริษทั ยอย(รอยละ) (รอยละ)

เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง บริษัทยอย

119 บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง จํากัด 120 บริษัทกระเบื้องกระดาษไทย จํากัด

กรุงเทพฯ สระบุรี

0-2586-3333 0-2586-3838

กิจการลงทุน กระเบื้องไฟเบอร ซิเมนต 0-5433-7301-5 กระเบือ้ งไฟเบอรซเิ มนต 0-2255-6355 กระเบือ้ งไฟเบอรซเิ มนต 0-2586-6801-50 คอนกรีตสําเร็จรูป บล็อคปู​ูถนน แผนปูพู ื้น บุผุ นัง รั้วคอนกรีต และ คอนกรีตมวลเบา 0-3637-3441-4 ฉนวนใยแกวกันความรอน 0-2586-3333 กิจการลงทุน 0-2586-3333 กิจการลงทุน 0-2586-4094-8 กระเบื้องเซรามิค ปู​ูพื้นและบุผุ นัง 0-3638-0240-6 กระเบื้องเซรามิค ปู​ูพื้นและบุผุ นัง 0-2586-4111 บริการติดตั้ง ตอเติม ซอมแซมวัสดุ​ุกอสราง 0-2586-4094-8 โรงงานผลิต กระแสไฟฟา (65) 6297-9661 กิจการลงทุน (65) 6297-9661 กิจการลงทุน (632) 813-1666 กิจการลงทุน (632) 813-1666 กิจการลงทุน

121 บริษัทผลิตภัณฑกระเบื้อง (ลําปาง) จํากัด ลําปาง 122 บริษัทกระเบื้องทิพย จํากัด กรุงเทพฯ 123 บริษัทเอสซีจี แลนดสเคป จํากัด สระบุรี (เดิมชื่อ "บริษัทผลิตภัณฑคอนกรีตซีแพค จํากัด") 124 125 126 127

บริษัทสยามไฟเบอรกลาส จํากัด บริษัทยิปซัมซิเมนตไทย จํากัด บริษัทเซรามิคซิเมนตไทย จํากัด บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จํากัด

128 บริษัทเดอะ สยาม เซรามิค กรุป อินดัสทรี่ส จํากัด 129 บริษัทซิเมนตไทยโฮมเซอรวิส จํากัด 130 บริษัทไทยเซรามิคพาวเวอร จํากัด 131 132 133 134

Cementhai Gypsum (Singapore) Pte. Ltd. Cementhai Ceramic (Singapore) Pte. Ltd. Cementhai Roof Holdings Philippines, Inc. Cementhai Ceramics Philippines Holdings, Inc. 135 บริษัทโสสุโก แอนด กรุป (2008) จํากัด 136 บริษัทสระบุรีรัชต จํากัด 137 PT. Surya Siam Keramik 138 บริษัทกระเบื้องหลังคาซีแพค จํากัด

สระบุรี กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ สระบุรี กรุงเทพฯ สระบุรี สิงคโปร สิงคโปร ฟลิปปนส ฟลิปปนส กรุงเทพฯ สระบุรี

0-2938-9833

บริษัทจัดจําหนาย กระเบื้องเซรามิคปูพื้น และผนัง 0-2586-6801-50 แผนปูพ้นื และ บุ​ุผนังคอนกรีต (6221) 5696-2458 กระเบื้องเซรามิคปูพ้ืน 0-2586-3333 กระเบือ้ งหลังคาคอนกรีต

อินโดนีเซีย สระบุรี ลําพูน นครศรีธรรมราช 139 บริษัทกระเบื้องหลังคาเซรามิคไทย จํากัด สระบุรี 0-2586-3333 กระเบือ้ งหลังคาเซรามิค 140 บริษัทไทยเซรามิคโฮลดิ้ง จํากัด กรุงเทพฯ 0-2586-3333 กิจการลงทุน 141 CPAC Monier (Cambodia) Co., Ltd. กัมพูชา (85523) 220-351-2 กระเบื้องหลังคา คอนกรีต 142 CPAC Monier Vietnam Co., Ltd. เวียดนาม (8498) 558-3252 กระเบื้องหลังคา คอนกรีต 143 บริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จํากัด 0-3637-6100 กระเบื้องเซรามิค สระบุรี (มหาชน) ปู​ูพื้นและบุผุ นัง 144 บริษัทโสสุโก เซรามิค จํากัด กรุงเทพฯ 0-2938-9833 กระเบื้องเซรามิค ปู​ูพื้นและบุผุ นัง 145 บริษัทเอสซีจี-เซกิซุย เซลส จํากัด กรุงเทพฯ 0-2586-3333 การตลาดและการขาย บานสําเร็จรูปู 146 CPAC Monier Philippines, Inc. ฟลิปปนส (632) 813-1666 กระเบื้องหลังคา คอนกรีต 147 PT. Siam-Indo Gypsum Industry อินโดนีเซีย (6221) 8832-0028 แผนยิปซัม 148 PT. Siam-Indo Concrete Products อินโดนีเซีย (6226) 743-2140 กระเบื้องซีเมนต ใยธรรมชาติ

1,651 200

100 100

100 100

530 25 1,630

100 100 100

100 100 100

422 470 614 450

100 100 100 100

100 100 100 100

960

100

100

60

100

100

45

100

100

626 1,799 133 252

100 100 100 100

100 100 100 100

50

90

90

96

83

83

87 211

80 75

80 75

200 200 43

75 75 75

75 75 75

235

75

75

986

62

62

800

54

54

100

51

51

226

50

50

306 446

50 50

50 50

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอืน่ 35


สัดสวน

ชื่อบริษัท

โทรศัพท

สัดสวนการถือหุน การถือหุน โดยตรง/ออม โดยตรง/ออม ธุรกิจ / ทุนชําระแลว ของบริษทั และ ทัง้ หมด * ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) บริษทั ยอย(รอยละ) (รอยละ)

บริษัทรวมและอื่น ๆ 149 บริษัทเซกิซุย-เอสซีจี อินดัสทรี จํากัด 150 Mariwasa Siam Holdings, Inc. 151 Mariwasa Siam Ceramic, Inc. 152 บริษัทสยามซานิทารีฟตติ้งส จํากัด 153 บริษัทโตโต แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด 154 บริษัทสยามโมลดิ้งพลาสเตอร จํากัด

กรุงเทพฯ 0-2586-3333 ผลิตบานสําเร็จรูป ฟลิปปนส (632) 628-1986-90 กระเบื้องเซรามิคปูพ้ืน และบุ​ุผนัง ฟลิปปนส (632) 628-1986-90 กระเบื้องเซรามิคปูพ้ืน และบุ​ุผนัง กรุงเทพฯ 0-2973-5101-7 กอกนํ้าและอุปกรณ ประกอบสุ​ุขภัณฑ สระบุรี 0-3637-3647-66 เครื่องสุขภัณฑ

200 1,093

49 40

49 46

584

-

46

200

33

45

550

40

40

ตัวแบบสําหรับผลิต สุ​ุขภัณฑ กิจการลงทุน กระเบื้องหลังคา คอนกรีต เครื่องสุขภัณฑ เครื่องสุขภัณฑ เครื่องสุขภัณฑ

125

40

40

267 33

40 38

40 38

60 200 160

36 -

36 36 36

กรุงเทพฯ 0-2555-0055 แผนยิปซัม สระบุรี 0-3637-3500-9 แผนยิปซัม สงขลา 0-7420-6000-5 แผนยิปซัม อินโดนีเซีย (6202) 6743-6888 กระเบื้องหลังคาดินเผา ระยอง 0-2555-0055 กระเบื้องหลังคาดินเผา ฟลิปปนส (632) 628-1986-90 กิจการลงทุน

150 470 120 222 160 87

29 28 25 20

29 29 29 28 25 20

สระบุรี

0-3637-3578-82

155 Mariwasa Holdings, Inc. 156 CPAC Monier (Laos) Co., Ltd.

ฟลิปปนส (632) 628-1986-90 ลาว (85621) 243-440

157 บริษัทสยามซานิทารีแวร จํากัด 158 บริษัทสยามซานิทารีแวรอินดัสทรี จํากัด 159 บริษัทสยามซานิทารีแวรอินดัสทรี (หนองแค) จํากัด 160 บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม จํากัด 161 บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สระบุร)ี จํากัด 162 บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สงขลา) จํากัด 163 PT. M Class Industry 164 บริษัทลาฟารจสยาม รูฟฟง จํากัด 165 CMPI Holding, Inc.

กรุงเทพฯ สระบุรี สระบุรี

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น 36

0-2973-5040-54 0-2973-5040-54 0-2973-5040-54


สัดสวน

ชื่อบริษัท

โทรศัพท

สัดสวนการถือหุน การถือหุน โดยตรง/ออม โดยตรง/ออม ธุรกิจ / ทุนชําระแลว ของบริษทั และ ทัง้ หมด * ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) บริษทั ยอย(รอยละ) (รอยละ)

เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น 166 167 168 169 170 171 172 173 174 175 176 177

บริษัทยอย

บริษัทเอสซีจี ดิสทริบิวชั่น จํากัด บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จํากัด บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จํากัด บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส แมเนจเมนท จํากัด บริษัทเอสซีที เซอรวิสเซส จํากัด บริษัทโฮมมารทโฮมโซลูช่นั จํากัด บริษัทเอสซีจี รีเทล จํากัด บริษัทเอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ จํากัด Cementhai SCT (Australia) Pty. Ltd. Cementhai SCT (Guangzhou) Ltd. Cementhai SCT (Hong Kong) Ltd. Cementhai SCT (Jordan) L.L.C.

178 Cementhai SCT (Middle East) FZE. 179 Cementhai SCT (Philippines) Inc. 180 Cementhai SCT (Singapore) Pte. Ltd. 181 Cementhai SCT (U.S.A.), Inc. 182 SCG Trading (M) Sdn. Bhd. 183 PT. Cementhai SCT Indonesia 184 SCT Logistics (Vietnam) Co., Ltd. 185 186 187 188 189

SCT (Vientiane) Co., Ltd. Cementhai SCT (Cambodia) Co., Ltd. Cementhai SCT (Malaysia) Sdn. Bhd. Siam Cement Myanmar Trading Ltd. Cementhai SCT Emirates (L.L.C)

กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ

0-2586-3333 0-2586-4444 0-2586-3333 0-2586-4444 0-2586-4444 0-2729-6761-3 0-2586-3333 0-2101-9922

ออสเตรเลีย (612) 9438-1225 จีน (86) 208-365-2559 ฮองกง (852) 2838-6456 จอรแดน (9626) 551-7776 / 552-6665 สหรัฐอาหรับ (9714) 8812-270 เอมิเรท ฟลิปปนส (632) 501-8634 / 501-8630 สิงคโปร (65) 6295-3455 สหรัฐอเมริกา (1310) 323-2194 / 323-2438 / 323-2528 มาเลเซีย (603) 5632-0168 อินโดนีเซีย (6221) 351-8890 เวียดนาม (848) 6296-1282 (848) 6297-0492 ลาว (856) 212-43435-6 กัมพูชา (85523) 990-401-5 มาเลเซีย (603) 5632-0168 พมา (959) 873-0462 สหรัฐอาหรับ (9714) 321-7663 เอมิเรท

กิจการลงทุน คาขายระหวางประเทศ จัดจําหนายในประเทศ บริการดานโลจิสติกส คาขายระหวางประเทศ ขายปลีก ขายปลีก ศูนยแสดงสินคาเอสซีจี และใหบริการ คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ

1,629 400 524 300 10 26 1 200

100 100 100 100 100 100 100 100

100 100 100 100 100 100 100 100

5 14 220 50

100 100 100 100

100 100 100 100

คาขายระหวางประเทศ

11

100

100

คาขายระหวางประเทศ

8

100

100

คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ

23 4

100 100

100 100

คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ บริการดานโลจิสติกส การคาระหวางประเทศ และการกระจายสินคา ในประเทศ คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ คาขายระหวางประเทศ

20 5 64

100 100 100

100 100 100

1 1 4 3 3

100 75 69 60 49

100 75 69 60 49

ทาเทียบเรือสินคา ใหเชาที่ดิน ธุรกิจโรงอัด เศษกระดาษ บริการใหเชา เรือลําเลียง บริการขนสงดวย เรือลําเลียง

63 37 95

50 48 40

50 48 40

34

29

29

365

27

27

บริษัทรวมและอื่น ๆ 190 บริษัทไทยพรอสเพอริตีเทอมินอล จํากัด 191 บริษัทเซอรเวย มารีน เซอรวิส จํากัด 192 Green Siam Resources Corporation

สมุทรปราการ

กรุงเทพฯ ฟลิปปนส

193 บริษัทสยามพูลสวัสดิ์ไลเตอร จํากัด

กรุงเทพฯ

194 บริษัทจัมโบบาจส แอนด ทักส จํากัด

กรุงเทพฯ

0-2754-4501-9 0-2296-1490-2 (632) 217-3983 0-2427-2229 0-2872-3014-5 0-2872-3014-5

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น 37


สัดสวน

ชื่อบริษัท

โทรศัพท

สัดสวนการถือหุน การถือหุน โดยตรง/ออม โดยตรง/ออม ธุรกิจ / ทุนชําระแลว ของบริษทั และ ทัง้ หมด * ผลิตภัณฑหลัก (ลานบาท) บริษทั ยอย(รอยละ) (รอยละ)

เอสซีจี การลงทุน และอืน่ ๆ บริษัทยอย

195 บริษัทซิเมนตไทยโฮลดิ้ง จํากัด 196 บริษัทซิเมนตไทยพร็อพเพอรต้ี (2001) จํากัด (มหาชน) 197 บริษัทพร็อพเพอรต้ี แวลู พลัส จํากัด

กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ

0-2586-2104 0-2586-2104

กิจการลงทุน กิจการลงทุน

1 72

100 100

100 100

กรุงเทพฯ

0-2586-2104

820

100

100

5

100

100

15 180

100 100

100 100

สิงคโปร สระบุรี ระยอง

ที่ดิน และบริการพื้นที่เชา 0-2586-3333 บริการทางดานบัญชี การเงิน และภาษีอากร 0-2586-5777 ที่ปรึกษาดานกฎหมาย 0-2586-3333 กิจการลงทุ​ุน ในตราสารหนี้ ในความตองการ ของตลาด 0-2586-3333 ประกอบธุรกิจประกันภัย 0-3637-3333-5 สวนอุตสาหกรรม 0-3889-2222-3 สวนอุตสาหกรรม

198 บริษัทเอสซีจี แอคเคานตง้ิ เซอรวสิ เซส จํากัด

กรุงเทพฯ

199 บริษัทกฎหมายเอสซีจี จํากัด 200 บริษัทบางซื่อการจัดการ จํากัด

กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ

34 500 1,000

100 75 75

100 75 75

ปทุมธานี

0-2909-0300-1

333

40

40

บริษัทสยาม คูโบตา แทรกเตอร จํากัด ชลบุรี บริษัทสยามคูโบตาเมททัลเทคโนโลยี จํากัด ฉะเชิงเทรา บริษัทสยามคูโบตา ลีสซิ่ง จํากัด ปทุมธานี บริษัทสยามเลมเมอรซ จํากัด สระบุรี บริษัทสยามเอทีอุตสาหกรรม จํากัด ชลบุรี บริษัทผลิตภัณฑวิศวไทย จํากัด ปทุมธานี บริษัทนวโลหะอุตสาหกรรม จํากัด สระบุรี บริษัทไอซิน ทาคาโอกา ฟาวนดริ บางปะกง จํากัด ชลบุรี บริษัทนวโลหะไทย จํากัด สระบุรี บริษัทนว 84 จํากัด กรุงเทพฯ บริษัทมูซาชิออโตพารท จํากัด ปทุมธานี บริษัทไอทีวัน จํากัด กรุงเทพฯ บริษัทโตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด สมุทรปราการ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด ระยอง

0-3818-5130 0-2267-1377 0-2909-0300 0-3637-3309-21 0-3845-4266-8 0-2529-3518-22 0-3633-6531-4 0-3845-4671-7 0-3628-8300 0-2625-7966-70 0-2529-1753-6 0-2271-5191 0-2386-1000 0-3868-3723-30

2,110 900 1,375 107 240 85 300 475 308 1,203 200 80 7,520 3,000

40 30 30 29 30 30 20 25 21 20 10 10

40 40 40 30 30 30 30 30 25 25 21 20 10 10

2,667

10

10

1,792

-

10

240

5

5

9,000 850

5 4

5 4

201 Cementhai Captive Insurance Pte. Ltd. 202 บริษัทเอสไอแอล ที่ดินอุตสาหกรรม จํากัด 203 บริษัทระยองทีด่ ินอุตสาหกรรม จํากัด

บริษัทรวมและอื่น ๆ 204 บริษัทสยามคูโบตาอุตสาหกรรม จํากัด 205 206 207 208 209 210 211 212 213 214 215 216 217 218

219 บริษัทสยามมิชลินกรุป จํากัด

กรุงเทพฯ

0-2619-3000-19

220 บริษัทสยามมิชลิน จํากัด

กรุงเทพฯ

0-2619-3000-19

221 บริษัทสยามฟูรูกาวา จํากัด

สระบุรี

0-3637-3570-3

222 บริษัทสยามยูไนเต็ดสตีล (1995) จํากัด 223 บริษัทสยามโตโยตาอุตสาหกรรม จํากัด

ระยอง ชลบุรี

0-3868-5152-59 0-3821-3451-5

* สัดสวนการถือหุนโดยตรง / ออมของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทอื่น 38

เครื่องจักรกล การเกษตร รถแทรกเตอร เหล็กหลอรูปพรรณ ลีสซิ่ง กระทะลอรถยนต ชิ้นสวนยานยนต ชิ้นสวนยานยนต เหล็กหลอรูปพรรณ เหล็กหลอรูปพรรณ เหล็กหลอรูปพรรณ ปลูกสวนปา ชิ้นสวนจักรยานยนต บริการดานเทคโนโลยี รถยนต เหล็กโครงสราง รู​ูปพรรณ กิจการลงทุน ในยางรถยนต กิจการลงทุน ในยางรถยนต แบตเตอรี่รถยนตและ รถจักรยานยนต เหล็กแผนรีดเย็น เครื่องยนต และชิ้นสวนรถยนต


สรุปสารสนเทศสําคัญ 1. การวิเคราะหผลการดําเนินงานและฐานะการเงิน

1. ภาพรวมของผลการดําเนินงาน เอสซีจีมีกําไรสุทธิเพิ่มขึ้นรอยละ 45 จากปกอน

ในป 2552 เอสซีจมี ยี อดขายสุทธิเทากับ 238,664 ลานบาท ลดลงรอยละ 19 จากปกอน เนื่องจากราคาขายผลิตภัณฑ เคมีภัณฑและกระดาษในตลาดโลกลดลง และมีกําไรสุทธิ 24,346 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 45 จากปกอน จากการที่ ธุรกิจสามารถประหยัดตนทุนไดตามมาตรการในการลดตนทุน และปรับปรุงกระบวนการผลิตใหมีประสิทธิภาพ ประกอบกับ ในไตรมาสที่ 4 ป 2551 ไดรับผลกระทบจากขาดทุนจากมูลคา สินคาคงเหลือ (Stock Loss) 5,000 ลานบาท โดยสวนใหญ มาจากเอสซีจี เคมิคอลส ทั้งนี้ ในป 2552 เอสซีจมี ี EBITDA เทากับ 47,116 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 21 จากปกอน เอสซีจีมีสวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม (Equity Income) เทากับ 7,200 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 54 จากปกอ น โดยมีแหลงที่มาของรายได ดังนี้ • จากบริษั ทรวมในเอสซีจี เคมิคอลส เทากับ 5,234 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 77 จากปกอน สาเหตุหลัก จากผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นของธุรกิจ PTA • จากบริษัทรวมอื่น ๆ เทากับ 1,966 ลานบาท เพิ่มขึ้น รอยละ 15 จากปกอน

2. ผลการดําเนินงานของกลุมธุรกิจ เอสซีจี เคมิคอลส ในป 2552 เอสซีจี เคมิคอลส มียอดขายสุทธิเทากับ 101,115 ลานบาท ลดลงรอยละ 26 จากปกอน ซึ่งเปนผล มาจากราคาขายผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ล ดลง ในขณะที่ ทั้ ง ป ธุ ร กิ จ มี EBITDA เทากับ 19,482 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 55 จากปกอ น และมีกําไรสุทธิเทากับ 12,556 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 105 จากปกอ น เนือ่ งจากในไตรมาสที่ 4 ป 2551 ธุรกิจรับรูผ ลขาดทุน จากมูลคาสินคาคงเหลือ (Stock Loss) กวา 4,000 ลานบาท เอสซีจี เปเปอร ในป 2552 เอสซี จี เปเปอร มี ย อดขายสุ ท ธิ เ ท า กั บ 42,729 ลานบาท ลดลงรอยละ 9 จากปกอน จากราคา ขายผลิตภัณฑที่ลดลง ในขณะที่ทั้งปธุรกิจมี EBITDA เทากับ 7,901 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 19 จากปกอน และมีกําไรสุทธิ เทากับ 2,286 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 38 จากปกอ น เนือ่ งจาก มี กํ า ลั ง การผลิ ต ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น รวมทั้ ง มี ก ารบริ ห ารต น ทุ น ที่ มี ประสิทธิภาพ

เอสซีจี ซิเมนต ในป 2552 เอสซีจี ซิเมนต มียอดขายสุทธิเทากับ 46,661 ลานบาท ลดลงรอยละ 7 จากปกอ น ในขณะทีม่ ี EBITDA เทากับ 11,616 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 3 จากปกอน และมีกําไรสุทธิ เทากับ 6,214 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 3 จากปกอ น ซึง่ เปนผล มาจากสามารถประหยัดตนทุนพลังงานไดจากโครงการ Waste Heat Power Generator เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง ในป 2552 เอสซีจี ผลิตภัณฑกอ สราง มียอดขายสุทธิเทากับ 26,873 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 15 จากปกอน โดยธุรกิจมี EBITDA เทากับ 4,907 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 20 จากปกอน และมีกําไรสุทธิเทากับ 1,617 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 108 จากปกอ น จากผลการดําเนินงานทีด่ ขี น้ึ ของบริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จํากัด (มหาชน) (TGCI) ประกอบกับมีการนํา ผลการดําเนินงานของบริษัทโสสุโก เซรามิค จํากัด มาจัดทํา งบการเงินรวม (เริ่มไตรมาสที่ 1 ป 2552) เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น ในป 2552 เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น มียอดขายสุทธิเทากับ 86,641 ลานบาท ลดลงรอยละ 16 จากปกอน เนื่องจากราคา ขายผลิตภัณฑลดลง ในขณะที่ทั้งปธุรกิจมี EBITDA เทากับ 1,581 ลานบาท ลดลงรอยละ 9 จากปกอน และมีกําไรสุทธิ เทากับ 1,077 ลานบาท ลดลงรอยละ 11 จากปกอน

3. ภาพรวมของฐานะการเงิน สินทรัพย

เอสซีจีมีความมั่นคงทางการเงินอยางตอเนื่อง โดยมี เงินสดคงเหลือเทากับ 28,937 ลานบาท และจากนโยบาย บริหารสภาพคลองทําใหมีระยะเวลาเงินทุนหมุนเวียนเฉลี่ย 53 วัน ดีขึ้นจากปกอน

เอสซีจีมีสิน ทรัพยรวม ณ 31 ธันวาคม 2552 เทากับ 315,992 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 10 จากปกอ น สวนใหญเกิด จากโครงการลงทุน นอกจากนี้ ในไตรมาสที่ 1 ป 2552 เอสซีจี ไดนาํ ผลการดําเนินงานของบริษัทโสสุโก เซรามิค จํากัด (เอสซีจี ถือหุนในอัตรารอยละ 54) มาจัดทํางบการเงินรวม เนื่องจาก มีอาํ นาจควบคุมในการกําหนดนโยบายการเงินและการดําเนินงาน ทัง้ นี้ สินทรัพยสว นใหญของเอสซีจี ประกอบดวย ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ และเงินลงทุนในหุน ทุน ซึง่ คิดเปนรอยละ 48 และ 19 ของสินทรัพยทง้ั หมดตามลําดับ โดยกลุม ธุรกิจทีม่ สี นิ ทรัพย รวมมากทีส่ ดุ ไดแก เอสซีจี เคมิคอลส เอสซีจี ซิเมนต และเอสซีจี เปเปอร ตามลําดับ

39


สินทรัพยหมุนเวียน: ณ สิน้ ป 2552 เทากับ 89,988 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 7 จากปกอ น สวนใหญประกอบดวยสินคาคงเหลือ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด และลูกหนี้การคา จาก นโยบายบริหารสภาพคลองและรักษาระดับเงินทุนหมุนเวียนให อยู ในระดับที่เหมาะสม ทําใหเอสซีจีมีความมั่นคงทางการเงิน อยางตอเนือ่ ง โดย ณ สิ้นป 2552 เอสซีจมี ีเงินสดคงเหลือในมือ เทากับ 28,937 ลานบาท และมีเงินทุนหมุนเวียนเทากับ 36,855 ลานบาท มีระยะเวลาเงินทุนหมุนเวียนเฉลีย่ เทากับ 53 วัน ดีขน้ึ จากปกอนซึ่งอยูที่ 61 วัน ที่ ดิ น อาคารและอุ ป กรณ : ณ สิ้ น ป 2552 เท า กั บ 151,804 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 11 จากปกอน เนื่องจาก ในระหวางปมีการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณเพิ่มขึ้น 27,512 ลานบาท สวนใหญเปนโครงการลงทุนทีอ่ ยูร ะหวางการกอสราง ทัง้ นี้ ในป 2552 เอสซีจมี คี า เสือ่ มราคาเทากับ 11,957 ลานบาท เงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการทีค่ วบคุมรวมกัน: ณ สิน้ ป 2552 เทากับ 58,690 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 9,092 ลานบาท หรือ รอยละ 18 จากปกอน จากรายการสําคัญที่เกิดขึ้นในระหวางป ดังนี้ • การรับรูส ว นแบงกําไรจากเงินลงทุนซึง่ บันทึกโดยวิธสี ว น ไดเสีย (สุทธิจากเงินปนผลรับ) จํานวน 4,130 ลานบาท • การลงทุนเพิม่ ในบริษัทรวมและกิจการทีค่ วบคุมรวมกัน เทากับ 5,536 ลานบาท สวนใหญจากเอสซีจี เคมิคอลส หนี้สิน

ตนทุนทางการเงิน ลดลง 440 ลานบาท จากปกอน

หนี้สินรวม ณ สิ้นป 2552 เทากับ 184,570 ลานบาท เพิม่ ขึน้ รอยละ 6 จากปกอ น สวนใหญมาจากเงินกูย มื ระยะยาว 21,909 ล า นบาท ซึ่ ง บริ ษั ท ย อ ยมี ก ารกู ยื ม เพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ นํามาลงทุนในโครงการตาง ๆ เชน โครงการ Naphtha Cracker แหงที่ 2 ของเอสซีจี เคมิคอลส ประกอบกับในระหวางป เอสซีจีไดออกหุน กูช ดุ ใหม จํานวน 30,000 ลานบาท เพือ่ ทดแทน หุนกูชุดเดิมที่ครบกําหนดไถถอนจํานวน 25,000 ลานบาท ทั้งนี้ สถานะหนี้สินสุทธิ (หนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ยหักดวยเงินสด และรายการเทียบเทาเงินสด) ของเอสซีจี ณ สิน้ ป 2552 เทากับ 122,019 ลานบาท เพิ่มขึ้น 1,498 ลานบาท จากสิ้นป 2551 และมีตนทุนการเงิน เทากับ 5,649 ลานบาท ลดลงจากปกอน 440 ลานบาท

4. อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ เอสซีจีมีอตั ราสวนทางการเงินดีข้นึ จากปกอน

ในป 2552 เอสซีจมี อี ตั ราสวนสภาพคลองอยูท ร่ี ะดับ 1.7 เทา ในขณะทีป่ ก อ นอยูท ร่ี ะดับ 1.3 เทา และจากหนีส้ นิ สุทธิเทากับ 122,019 ลานบาท ทําใหเอสซีจมี อี ตั ราสวนหนีส้ นิ สุทธิตอ กระแส เงินสดที่ไดจากการดําเนินงาน (EBITDA) อยูท ่ี 2.6 เทา ลดลงจาก ปกอ น ซึง่ อยูท ่ี 3.1 เทา โดยหนีส้ นิ สุทธิดงั กลาวเปนหนีส้ นิ ทีร่ วม หนี้สินของโครงการลงทุน ที่อยู ในระหวางการกอสรางหลาย โครงการ ประมาณ 35,728 ลานบาท ดังนัน้ หากไมรวมหนีส้ นิ ของ โครงการลงทุนทีอ่ ยูในระหวางการกอสราง หนีส้ นิ สุทธิของเอสซีจี จะลดลงอยูท ป่ี ระมาณ 86,291 ลานบาท และทําใหมอี ตั ราสวน 40

หนีส้ นิ สุทธิตอ EBITDA อยูท ร่ี ะดับ 1.8 เทา นอกจากนี้ ในป 2552 อัตราสวนหนีส้ นิ ตอสวนของผูถ อื หุน อยูท ร่ี ะดับ 1.4 เทา ลดลงจาก ปกอ น ซึง่ อยูท ร่ี ะดับ 1.6 เทา ทัง้ นี้ อัตราสวนดังกลาวยังคงอยูใน ระดับตํา่ สะทอนใหเห็นถึงโครงสรางทางการเงินทีด่ ขี องเอสซีจี จากฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานในป 2552 คณะกรรมการบริษัทมีมติใหเสนอทีป่ ระชุมใหญสามัญผูถ อื หุน เพือ่ อนุมตั กิ ารจายเงินปนผลสําหรับป 2552 ในอัตราหุน ละ 8.50 บาท ซึ่งคิดเปนอัตรารอยละ 42 ของกําไรสุทธิจากงบการเงินรวม ทัง้ นี้ บริษัทไดจา ยเปนเงินปนผลระหวางกาลไปแลว ในอัตราหุน ละ 3.50 บาท เมือ่ วันที่ 27 สิงหาคม 2552 และจะจายเงินปนผลงวด สุดทายในอัตราหุน ละ 5.00 บาท ในวันที่ 28 เมษายน 2553

2. นโยบายการบริหารและจัดการความเสี่ยง และปจจัยความเสี่ยง

การบริหารความเสี่ยง

บทบาทและความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริษั ทมีหนาที่ ในการกําหนดนโยบายและ กํากับดูแลการบริหารความเสีย่ งของเอสซีจี เพือ่ ใหมคี วามมัน่ ใจ อยางสมเหตุสมผลวาการบริหารความเสี่ยงนั้นมีประสิทธิภาพ โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบทําหนาทีป่ ระเมินประสิทธิภาพการ บริหารความเสีย่ งเปนประจําทุกไตรมาส ในแตละกลุม ธุรกิจจะมี คณะทํางานบริหารความเสีย่ งซึง่ แตงตัง้ โดยฝายจัดการ ทําหนาที่ ประเมิน กําหนดกลยุทธ ควบคุม ติดตาม และจัดทํารายงาน การบริหารความเสี่ยงซึ่งเปนความเสี่ยงหลักของเอสซีจี เสนอ คณะจัดการเปนประจําทุกไตรมาสหรือในกรณีทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลง อยางมีนยั สําคัญทีจ่ ะสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจ นอกจากนี้ เอสซีจยี งั ไดปลูกฝงใหพนักงานในทุกระดับตระหนักถึงความสําคัญ ของความเสีย่ ง และมีสว นรวมในการบริหารความเสีย่ งดวย กระบวนการบริหารความเสี่ยง กระบวนการบริหารความเสี่ยงของเอสซีจี สอดคลองตาม มาตรฐานสากลตามแนวทางของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) โดย องคประกอบของการประเมินความเสีย่ งประกอบดวยการพิจารณา สภาพแวดลอมภายใน การกําหนดวัตถุประสงค การระบุเหตุการณ การประเมินความเสี่ยง การตอบสนองตอความเสี่ยง กิจกรรม การควบคุม สารสนเทศและการสือ่ สาร และการติดตามประเมินผล นอกจากนี้ การบริหารความเสี่ยงของเอสซีจี ยังเปนที่ยอมรับ ในระดับสากล โดยเอสซีจีอยูในกลุม Gold Class ของดัชนีชี้วดั ความมั่นคงดาวโจนส (Dow Jones Sustainability Indexes) ตั้งแตป 2551-2552 คณะทํางานบริหารความเสีย่ งของกลุม ธุรกิจจะมีการประเมิน การบริหารความเสีย่ งตามคูม อื การบริหารความเสีย่ งทีก่ าํ หนดไว โดยทําหนาที่วิเคราะหเหตุการณที่กลุมธุรกิจตองเผชิญ โดย พิจารณาทัง้ เหตุการณทจ่ี ะกอใหเกิดความเสีย่ งและโอกาสในการ สรางประโยชนใหกบั องคกร จัดลําดับความสําคัญของความเสีย่ ง โดยพิจารณาจากโอกาสที่จะเกิด (Likelihood) และผลกระทบ (Significance) เพือ่ กําหนดเปนความเสีย่ งหลักทีส่ าํ คัญซึง่ ตอง มีการบริหารจัดการอยางใกลชิด โดยตองกําหนดกลยุทธหรือ


มาตรการในการจั ด การกั บ ความเสี่ ย งหลั กให อ ยู ใ นระดั บ ที่ยอมรับได รวมทั้งมีการติดตามผลของการใชกลยุทธหรือ มาตรการจัดการความเสี่ยง และพัฒนาการบริหารความเสี่ยง อยางตอเนื่อง

การแบงประเภทของความเสี่ยง

1. ความเสีย่ งจากปจจัยภายนอก เปนเหตุการณทเ่ี กิดจาก ปจจัยภายนอกองคกร ไดแก การแขงขันอยางรุนแรง การลดลงของอุปสงคทั้งจากวิกฤติเศรษฐกิจ ปญหา ทางการเมือง และปจจัยอืน่ ๆ อาจสงผลกระทบตอยอดขาย และกําไรของบริษัท นอกจากนี้ ความตองการของลูกคา ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปส ง ผลให บ ริ ษั ท ต อ งปรั บ เปลี่ ย น กระบวนการผลิต พัฒนาบุคลากรหรือเพิ่มการลงทุน ซึ่ ง ต อ งใช เ งิ น ลงทุ น จํ า นวนมาก การเปลี่ ย นแปลง กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ ของหนวยงานราชการ อาจสงผลใหคาใชจายในการดําเนินงานสูงขึ้น 2. ความเสีย่ งจากการปฏิบตั งิ าน เปนเหตุการณทเ่ี กิดจาก ปจจัยภายในองคกรซึง่ เกีย่ วของกับการปฏิบตั งิ านตาง ๆ ไดแก ความผันผวนของราคาวัตถุดบิ ตามราคาตลาดโลก รวมถึงอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย อาจสงผล กระทบตอผลการดําเนินงานและสภาพคลองของบริษัท การวิจัยและพัฒนาสินคาและบริการก็เปนปจจัยหนึ่งที่ ตองใชเงินลงทุนจํานวนมากและมีความเสี่ยงที่จะไม ตอบสนองกับความตองการของลูกคา 3. ความเสี่ยงจากขอมูลในการตัดสินใจ เปนความเสี่ยง ทีเ่ กีย่ วของกับขอมูลตาง ๆ ทีม่ อี ทิ ธิพลตอการตัดสินใจ ไดแก ขอมูลทางการเงินที่ ไมถูกตอง ไมเปนไปตาม กฎหมายและมาตรฐานบัญชี ขอมูลไมทันเวลา ใชใน การวัดผลการปฏิบัติงานไมได นอกจากนี้ การกําหนด โครงสรางของธุรกิจ ผังองคกร เปาหมาย และกลยุทธ ที่ไมเหมาะสมหรือไมสอดคลองกับสภาพการณปจ จบัน อาจสงผลกระทบตอขอมูลที่เกี่ยวของกับการตัดสินใจ

กลยุ​ุทธในภาพรวมของเอสซีจี

กลยุทธสาํ คัญที่ใชในการดําเนินธุรกิจและลดความเสีย่ งไดแก 1. การบริหารสภาพคลองและเงินทุนหมุนเวียน 2. เพิม่ ประสิทธิภาพการดําเนินงานและลดตนทุนดานตาง ๆ 3. เสริมสรางความแข็งแกรงของตลาดในประเทศ และ ขยายฐานตลาดตางประเทศที่มีคุณภาพ 4. พัฒนาสินคาและบริการที่มีมูลคาเพิ่ม

ความเสี่ยงหลักและกลยุ​ุทธในการจัดการความเสี่ยง

1. ความเสี่ยงจากภายนอกดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม • ความขัดแยงทางการเมืองในประเทศ ปญหาความไมสงบ ของภาคใต ปญหาชายแดนและความขัดแยงทางการทูตกับ ประเทศเพือ่ นบาน สงผลใหเศรษฐกิจของประเทศไทยชะลอตัว การเติบโตทางเศรษฐกิจไมกา วหนาเทาทีค่ วร การใชจา ย ของภาครัฐไมเปนไปตามแผนที่วางไว ฝายบริหารได ติ ด ตามสถานการณ อ ย า งใกล ชิ ด เพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย น กลยุทธใหเหมาะสม

• การพิ จ ารณาคดี ก ารระงั บ โครงการในมาบตาพุ ด สืบเนือ่ งจากคําสัง่ ศาลปกครองสัง่ ใหหนวยงานราชการ สั่งระงับโครงการหรือกิจกรรม 65 โครงการในพื้นที่ มาบตาพุดและพืน้ ที่ใกลเคียงเปนการชัว่ คราว ในจํานวนนี้ มีโครงการของ เอสซีจี อยู 18 โครงการ คิดเปนมูลคา เงินลงทุนทั้งสิ้นประมาณ 57,500 ลานบาท จากการ หยุดกิจกรรมชัว่ คราวนีก้ อ ใหเกิดผลกระทบทางการเงิน ซึ่งประกอบดวย คาใชจายในการเคลื่อนยายผูรับเหมา กอสรางออกจากโครงการ คาใชจา ยเพิม่ เติมเพือ่ รักษา สภาพงานกอสรางใหมีความปลอดภัยและสามารถใช งานไดโดยไมเสียหาย คาใชจา ยดอกเบีย้ คาจางพนักงาน และค า สู ญ เสี ย โอกาสในการประกอบธุ ร กิ จ ทั้ ง นี้ ขึ้นอยูกับความลาชาของแตละโครงการ ซึ่งเอสซีจ อยูร ะหวางการประเมินมูลคาความเสียหายของโครงการ และหารืออยางใกลชดิ กับหนวยงานราชการและผูม สี ว น เกี่ ย วข อ ง เพื่ อ หาแนวทางปฏิ บั ติ ใ ห เ กิ ด ผลกระทบ นอยที่สุดตอทุกฝาย • อุปสงคของตลาดวัสดุกอสรางลดลงเนื่องจากปจจัย ทางการเมืองและการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ สงผลให ยอดขายรวมของเอสซีจี ดิสทริบิวชั่น ซึ่งทํ า หน า ที่ จัดจําหนายสินคาของเอสซีจี ลดลง 15.6% จากปกอ น ในขณะที่ป ริ ม าณความต อ งการของปู น ซี เ มนตต เ ทา ในประเทศใกลเคียงกับปกอน เอสซีจีพยายามรักษา ความเปนผูนําในตลาดและเพิ่มความสามารถในการ แขงขันโดยพัฒนาสินคาและบริการที่มีมูลคาเพิ่ม เพื่อ ตอบสนองความต อ งการของลู ก ค า ที่ ห ลากหลาย รวมถึ ง การผลั ก ดั น สิ น ค า ที่ เ ป น มิ ต รตอสิ่งแวดลอม ตามมาตรฐานของฉลาก SCG eco value นอกจากนี้ ยังมีการขยายตลาดและการลงทุนไปยังภูมภิ าคอาเซียน เพือ่ รองรับการเติบโตของตลาดในอนาคต • การชะลอตัวหรือปรับตัวลดลงของความตองการกระดาษ และบรรจภัณฑอนั เปนผลจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ โดยรวมทั้ ง ในระดั บ ประเทศและภู มิ ภ าค ซึ่ ง ทํ าให มีความเสี่ยงในการแขงขันที่สูงขึ้นทั้งในระหวางผูผลิต ในประเทศและในภูมภิ าค ทัง้ นี้ เอสซีจี เปเปอร ไดปรับ แผนการดําเนินงานโดยลดตน ทุนการผลิต ควบคุม คาใชจายคงที่ ในการบริหารงาน พัฒนาตลาดสงออก ลดและควบคุมระดับสินทรัพยหมุนเวียนเพื่อเพิ่มความ สามารถในการปรับตัวกรณีมีความผันผวนของราคา วัตถุดบิ • ความผันผวนของราคาสินคาและวัตถุดิบที่อางอิงตาม ราคาตลาดโลก ราคาสินคาและวัตถุดิบของเอสซีจี เคมิคอลส ผันผวนตามราคาตลาดโลก โดยป 2552 ราคา แนฟทาลดลงเฉลีย่ 274 ดอลลารสหรัฐตอตัน ในขณะที่ ราคาเม็ดพลาสติกลดลง 342 ดอลลารสหรัฐตอตัน เอสซีจี พยายามรั ก ษาตลาดในประเทศที่ เ ป น ลู ก ค า สํ า คั ญ เชิงกลยุทธ ผลักดันการขายสินคาไปยังตลาดตางประเทศ ที่ใหผลตอบแทนทีด่ กี วา และเรงการขายสินคาลวงหนา (Forward Selling) เพื่อเพิ่มโอกาสในการขายสินคา 41


2. ความเสี่ยงดานการปฎิบัติงาน • ความผันผวนดานราคาของถานหิน (Coal) ซึ่งเปน เชื้อเพลิงหลักในการผลิตปูนซีเมนต ซึ่งแปรผันตาม ราคานํ้ามันในตลาดโลกที่มีแนวโนมปรับตัวเพิ่มขึ้น เนือ่ งจากอุปสงคทเี่ พิม่ ขึน้ จากการฟน ตัวของเศรษฐกิจโลก สงผลใหตน ทุนการผลิตปูนซีเมนตสงู กวาทีป่ ระมาณการไว เอสซี จี ไ ด แ ก ป  ญ หาดั ง กล า วโดยการเพิ่ ม การใช เชื้ อ เพลิ ง ทดแทน การสํ า รวจแหล ง เชื้ อ เพลิ ง ใหม การทําสัญญาซื้อขายถานหินระยะยาว และการลงทุน ในโครงการผลิต/ใชพลังงานที่มีประสิทธิภาพ เชน โครงการติดตั้งเครื่องผลิตกระแสไฟฟาจากความรอน เหลื อ ทิ้ ง จากกระบวนการผลิ ต ปู น ซี เ มนต (WHG: Waste Heat Power Generator) • ความผันผวนของราคา Natural Gas ในป 2552 ราคา Natural Gas มีแนวโนมสูงขึ้น 23% จากตนป สงผล กระทบกับธุรกิจในกลุมผฺลิตภัณฑกอสราง ทําใหตนทุน การผลิตเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งกิจการไดเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิตและเพิ่มสัดสวนการใชพลังงานทดแทน เพื่อลดความเสี่ยงดังกลาว 3. ความเสี่ยงดานการเงิน • ความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นสงผลกระทบตอการ ดําเนินธุรกรรมทางการคาของเอสซีจีในหลาย ๆ ธุรกิจ ซึง่ มีทงั้ การนําเขาและสงออก ปญหาสวนใหญสามารถ แกไขไดโดยการทํา Natural Hedge และใชเครื่องมือ ทางการเงินอื่น ๆ ไดแก Forward นอกจากนี้ ณ สิ้นป 2552 เอสซีจีมียอดเงินกูสกุลตางประเทศเทากับ 12 % ของยอดเงินกูท งั้ หมด โดยกูม าเพือ่ ใชในโครงการลงทุน ของเอสซีจีท่ีสวนใหญจะมีรายไดอางอิงกับเงินสกุล ตางประเทศ ดังนัน้ ปญหาความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น จึงไดถูกปองกันไวแลวเปนสวนใหญ • เอสซีจีมีการใชเครื่องมือทางการเงิน ไดแก Interest Rate Swap สวนใหญเปนการเปลี่ยนภาระดอกเบี้ย ลอยตัวมาเปนภาระดอกเบี้ยคงที่ของเงินกูระยะยาว เพื่อใหไดทราบตนทุนทางการเงินที่แนนอน

42


3. โครงสรางผูถือหุน ก. ผูถือหุน 10 รายแรก (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ผูถือหุน สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย บริษัทไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด CHASE NOMINEES LIMITED 42 NORTRUST NOMINEES LTD. BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES, LUXEMBOURG บริษัททุนลดาวัลย จํากัด STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY สํานักงานประกันสังคม สํานักงานพระคลังขางที่ BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES, LONDON BRANCH

จํานวนหุน 360,000,000 126,861,882 44,546,532 37,432,304 26,014,636 23,220,000 21,369,940 18,044,480 15,473,000 14,859,300

สัดสวน (รอยละ) 30.000 10.572 3.712 3.119 2.168 1.935 1.781 1.504 1.289 1.238

จํานวนหุน 15,893,615 11,732,690 8,457,500 6,424,700 5,533,100 4,743,760 3,417,267 3,404,156 3,238,100 3,165,750

สัดสวน (รอยละ) 1.32 0.98 0.70 0.54 0.46 0.40 0.28 0.28 0.27 0.26

บริษัททุนลดาวัลย จํากัด เปนบริษัทที่สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยถือหุน 100% ทั้งนี้ สามารถทราบขอมูลนักลงทุนในบริษัทไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ไดในเว็บไซต www.set.or.th

ผูถือ NVDR 10 รายแรก ณ วันที่ 14 สิงหาคม 2552 มีดังนี้ ผูถือหุน 1. GERLACH & CO.-AGF FUNDS INC. AS MANAGER/ TRUSTEE 2. HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD 3. SOMERS (U.K.) LIMITED 4. NORBAX INC.,13 5. CITIBANK NOMINEES SINGAPORE PTE LTD-CITIBANK LDN RE FUND 203 6. MELLON NOMINEE (UK) LIMITED 7. NORTRUST NOMINEE LTD. 8. GOLDMAN SACHS & CO 9. MELLON BANK, N.A. 10. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY

ข. กลุมุ ผูถู อื หุนุ รายใหญทโ่ี ดยพฤติการณมอี ทิ ธิพลตอการกําหนดนโยบาย การจัดการ หรือการดําเนินงานของบริษัทอยางมีนยั สําคัญ (ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552) 1. 2.

ผูถือหุน สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย บริษัททุนลดาวัลย จํากัด

ขอจํากัดการถือหุ​ุนของบุ​ุคคลตางดาว

บริษัทมีขอจํากัดการถือหุนของบุคคลตางดาว (Foreign Limit) ไวรอยละ 25 ของทุนชําระแลว โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีบุคคลตางดาวถือหุนของบริษัทรอยละ 25 ของทุนชําระแลว

43


ขอบเขตหนาที่ของกรรมการบริษัท

4. คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวย 1. นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา 2. พล.อ.อ.กําธน สินธวานนท 3. นายเสนาะ อูนากูล 4. นายสุเมธ ตันติเวชกุล 5. นายปรีชา อรรถวิภัชน 6. นายพนัส สิมะเสถียร 7. นายยศ เอื้อชูเกียรติ 8. นายอาสา สารสิน 9. นายชุมพล ณ ลําเลียง 10. นายธารินทร นิมมานเหมินท 11. นายประมนต สุธีวงศ * 12. นายกานต ตระกูลฮุน

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการผูจ ดั การใหญ

หมายเหตุ * นายประมนต สุธีวงศ ไดรับเลือกตั้งเปนกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2552 แทนนายศิววงศ จังคศิริ

กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท

กรรมการบริษัท 2 คนในจํานวน 5 คน คือ นายเสนาะ อูนากูล หรือนายยศ เอื้อชูเกียรติ หรือนายพนัส สิมะเสถียร หรือ นายประมนต สุธีวงศ หรือนายกานต ตระกูลฮุน ลงลายมือชื่อ รวมกัน

วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการบริษัท

จํานวนปทด่ี าํ รงตําแหนงในแตละวาระ ขอบังคับของบริษั ทไดกําหนดจํานวนปท่ีดํารงตําแหนง ในแตละวาระของกรรมการบริษัท เปนไปตามพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจํากัด โดยในการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป กรรมการบริษัทตองออกจากตําแหนงจํานวน 1 ใน 3 ถาจํานวน กรรมการแบงออกใหตรงเปน 3 สวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวน ใกลทสี่ ดุ กับสวน 1 ใน 3 ทัง้ นี้ กรรมการบริษัททีจ่ ะตองออกจาก ตําแหนงนั้นใหพิจารณาจากกรรมการบริษั ทที่อยู ในตําแหนง นานที่สุดเปนผูออกจากตําแหนง ซึ่งปจจบันบริษัทมีกรรมการ ทั้งสิ้นจํานวน 12 คน แตละคนจะดํารงตําแหนงวาระละ 3 ป อยางไรก็ตาม กรรมการบริษัททีอ่ อกไปนัน้ อาจไดรบั เลือกตัง้ ให ดํารงตําแหนงอีกก็ได จํานวนวาระการดํารงตําแหนงติดตอกันของกรรมการ บริษัทเห็นวากรรมการของบริษัททุกคน ซึ่งไดรับเลือกตั้ง จากที่ประชุมผูถือหุนตางเปนกรรมการที่ทรงคุณวุฒิ มีความรู ความสามารถในระดับตนของประเทศ มีคณ ุ ธรรมและจริยธรรม ตลอดจนปฏิบตั หิ นาที่ไดเปนอยางดีตลอดมา และหากทีป่ ระชุม ผูถือหุนยังคงใหความไววางใจ โดยเลือกตั้งกรรมการผูทรง คุณวุฒิดังกลาวเปนกรรมการของบริษัท ก็ยอมจะตองเคารพ สิทธิของผูถือหุน บริษัทจึงไมไดมีการกําหนดจํานวนวาระการ ดํารงตําแหนงติดตอกันของกรรมการไวอยางชัดเจน 44

ใหกรรมการบริษัทมีหนาที่ดังตอไปนี้ 1. บริหารกิจการใหเปนไปเพือ่ ประโยชนทดี่ ที สี่ ดุ แกผถู อื หุน (Fiduciary Duty) โดยยึดถือแนวปฏิบตั สิ าํ คัญ 4 ประการคือ 1.1 การปฏิบัติหนาที่ดวยความรอบคอบระมัดระวัง (Duty of Care) 1.2 การปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความซือ่ สัตยสจุ ริต (Duty of Loyalty) 1.3 การปฏิบัติตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ และมติท่ปี ระชุมผูถือหุน (Duty of Obedience) 1.4 การเป ด เผยข อ มู ล ต อ ผู  ถื อ หุ  น อย า งถู ก ต อ ง ครบถวน และโปรงใส (Duty of Disclosure) 2. กําหนดวิสยั ทัศน พันธกิจ และนโยบายการดําเนินธุรกิจ ของเอสซีจี เพื่อความมั่นคงและผลประโยชนที่สมดุล และยัง่ ยืนของทุกฝายทีเ่ กีย่ วของ รวมทัง้ เพิม่ มูลคาของ ผูถือหุนอยางตอเนื่อง 3. พิ จ ารณาแผนการดํ า เนิ น งาน และพั ฒ นาขี ด ความ สามารถของเอสซีจี ใหแขงขันไดในระดับสากล 4. ประเมินผลการดําเนินงานของเอสซีจี และผลการปฏิบตั งิ าน ของผูบริหารระดับสูง 5. กํากับดูแลและพัฒนาระบบการบริหารความเสีย่ ง รวมทัง้ การกํ า กั บ ดู แ ลและพั ฒ นาบรรษั ท ภิ บ าลของเอสซี จี เพื่อใหไปสูมาตรฐานที่ยอมรับในระดับสากล 6. อุทศิ ตนและเวลาโดยไมแสวงหาผลประโยชนแกตนเอง หรือผูห นึง่ ผูใ ด และไมดาํ เนินการใด ๆ ทีเ่ ปนการขัดแยง หรือแขงขันกับผลประโยชนของบริษัทหรือเอสซีจี 7. จัดการองคกรใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ และมติของทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ดวยความซือ่ สัตย สุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชนขององคกร 8. ปฏิบัติตามหลักบรรษั ทภิบาลของเอสซีจี และขอพึง ปฏิบัติท่ีดีสําหรับกรรมการบริษั ทจดทะเบียน ตาม แนวทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 9. เปนผูก าํ กับดูแลและติดตามการวัดผลการดําเนินงานทัง้ ในระดับกลุมธุรกิจ และระดับเอสซีจี โดยกําหนดใหมี การรายงานผลการดําเนินงานอยางสมํ่าเสมอ รวมทั้ง ใหนโยบายเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงการดําเนินงาน ของธุรกิจ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรของเอสซีจี 10. สงเสริมใหพนักงานทุกระดับมีจติ สํานึกในจริยธรรมและ คุณธรรม โดยตระหนักในความสําคัญของระบบควบคุม และตรวจสอบภายใน เพือ่ ลดความเสีย่ งดานการทุจริต และการใชอํานาจอยางไมถูกตอง รวมทั้งปองกันการ กระทําผิดกฎหมาย 11. ดูแลผลประโยชนทั้งของผูถือหุนรายใหญและผูถือหุน สวนนอย ตามสิทธิอยางเปนธรรม นอกจากนี้ ผูถือหุน ยังสามารถใชสทิ ธิในการดูแลรักษาผลประโยชนของตน และไดรบั ขาวสารอยางถูกตอง ครบถวน โปรงใส เปดเผย และสามารถตรวจสอบได 12. ตระหนักถึงบทบาทหนาทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริษัทเคารพสิทธิของผูถ อื หุน ปฏิบตั ติ อ ผูถ อื หุน และผูม ี


สวนไดเสียอืน่ อยางเปนธรรม มีความโปรงใสในการดําเนินงาน และมีการเปดเผยขอมูลอยางถูกตองเพียงพอ 13. ประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการบริษั ท เปนประจําทุกป โดยใหมกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ าน เปน 2 แบบ คือ ประเมินการปฏิบตั งิ านโดยรวมของ คณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการ (As a Whole) และการประเมินตนเองเปนรายบุคคล (Self-assessment) เพื่ อ นํ า ผลการประเมิ น มาพิ จ ารณาร ว มกั น ในคณะ กรรมการบริษัท 14. เขารวมประชุมคณะกรรมการบริษั ทและการประชุม ผูถ อื หุน เวนแตในกรณีทม่ี เี หตุสดุ วิสยั โดยกรรมการบริษัท ที่ ไ มสามารถเขารวมประชุมจะตองแจงใหประธาน กรรมการหรือเลขานุการคณะกรรมการบริษั ททราบ ลวงหนากอนการประชุม ในการปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการบริษั ทอาจขอคําปรึกษา จากที่ปรึกษาอิสระภายนอกหรือผูเชี่ยวชาญในวิ ช าชี พ อื่ น ๆ หากเห็นวามีความจําเปนและเหมาะสม

นิยามกรรมการอิสระของบริษัท

กรรมการอิสระตองเปนกรรมการทีเ่ ปนอิสระจากผูถ อื หุน รายใหญ ผูบ ริหาร และผูเ กีย่ วของ โดยตองมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. ถือหุน ไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุน ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแยง โดยใหนบั รวมหุน ทีถ่ อื โดยผูที่เกี่ยวของกับกรรมการอิสระรายนั้น ๆ ดวย 2. ไมเปนกรรมการที่มีสวนรวมในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ทีป่ รึกษาที่ไดรบั เงินเดือนประจํา ผูม อี าํ นาจ ควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน (บริษัทพี่นอง) หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง ทัง้ ในปจจุบนั และกอนเปนกรรมการ อิสระไมนอ ยกวา 2 ป 3. ไมมีค วามสั มพั นธ ทางธุรกิ จ กั บบริ ษั ท บริษั ทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิตบิ คุ คลอืน่ ทีม่ คี วามขัดแยง ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณ อยางอิสระของตนทัง้ ในปจจุบนั และกอนเปนกรรมการ อิสระไมนอยกวา 2 ป ดังนี้ 3.1 ไมเปนผูสอบบัญชี ทั้งนี้ ใหรวมถึงการไมเปน ผูถ อื หุน รายใหญ กรรมการที่ไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการของสํานักงาน สอบบัญชีตนสังกัด 3.2 ไมเปนผูใ หบริการทางวิชาชีพอืน่ ๆ เชน ทีป่ รึกษา กฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผูประเมินราคา ทรัพยสิน เปนตน ที่มีมูลคาการใหบริการทาง วิชาชีพอื่นเกินกวา 2 ลานบาทตอป กับบริษั ท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง ทั้งนี้ ใหรวมถึงการไมเปน ผูถ อื หุน รายใหญ กรรมการที่ไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการของผูใหบริการ วิชาชีพอื่น ๆ

3.3 ไมไดรับประโยชนทั้งทางตรงและทางออม หรือ มีสวนไดเสีย จากการทําธุรกรรมทางการคาหรือ ธุรกิจ ไดแก รายการทีเ่ ปนธุรกิจปกติ รายการเชา หรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับ สินทรัพยหรือบริการ หรือรายการใหความชวยเหลือ ทางการเงินกับบริษั ท บริษั ทใหญ บริษั ทยอย บริษัทรวม ทีม่ มี ลู คาตัง้ แต 20 ลานบาท หรือตัง้ แต รอยละ 3 ของสินทรัพยท่มี ีตัวตนสุทธิของบริษัท แลวแตจํานวนใดจะตํ่ากวา โดยใหนับรวมมูลคา รายการในระหวาง 1 ป กอนวันที่มีความสัมพันธ ทางธุรกิจ ทัง้ นี้ ใหรวมถึงการไมเปนผูถ อื หุน รายใหญ กรรมการที่ไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือ หุนสวนผูจัดการของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจ ดังกลาว 4. ไมมคี วามสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียน ตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ปนบิดามารดา คูส มรส พีน่ อ ง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตรกับผูบริหาร ผูถือหุน รายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการ เสนอชือ่ เปนผูบ ริหาร หรือผูม อี าํ นาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทยอย 5. ไมเปนกรรมการที่ไดรับแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของ กรรมการบริษั ท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่ง เปนผูเกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัท 6. สามารถดูแลผลประโยชนของผูถือหุน ทุกรายอยาง เทาเทียมกัน 7. สามารถดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน 8. สามารถเขารวมการประชุมคณะกรรมการของบริษั ท เพื่อตัดสินใจในเรื่องตาง ๆ ไดโดยอิสระ 9. ไม เ ป น บุ ค คลที่ มี ช่ื อ อยู  ใ นบั ญ ชี ร ายชื่ อ บุ ค คลที่ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเห็นวาไมสมควรเปน ผูบ ริหารตามขอบังคับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 10. ไม เ คยต อ งคํ า พิ พ ากษาว าได ก ระทํ า ความผิ ด ตาม กฎหมายว า ด ว ยหลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย กฎหมายวาดวยธุรกิจสถาบันการเงิน กฎหมายวาดวย การประกันชีวิต กฎหมายวาดวยการประกันวินาศภัย กฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับธุรกิจการเงินในทํานองเดียวกัน ไมวาจะเปนกฎหมายไทยหรือกฎหมายตางประเทศ โดยหนวยงานทีม่ อี าํ นาจตามกฎหมายนัน้ ทัง้ นี้ ในความผิด เกีย่ วกับการกระทําอันไมเปนธรรมทีเ่ กีย่ วกับการซือ้ ขาย หลักทรัพย หรือการบริหารงานที่มีลักษณะเปนการ หลอกลวง ฉอฉล หรือทุจริต 11. ไม มี ลั ก ษณะอื่ น ใดที่ ทํ าให ไ ม ส ามารถให ค วามเห็ น อยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท 12. หากมีคุณสมบัติตามขอ 1-11 กรรมการอิสระอาจ ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษั ทใหตัดสินใจ ในการดําเนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษั ทรวม บริษั ทยอยลําดับเดียวกัน (บริษั ทพี่นอง)

45


หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยมีการตัดสินใจ แบบองคคณะ (Collective Decision) ไดโดยไมถือวา กรรมการอิสระเปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมในการบริหารงาน ในรอบป 2552 กรรมการอิสระของบริษัททั้ง 5 คน ไมมี ความสัมพันธทางธุรกิจหรือการใหบริการทางวิชาชีพที่มีมูลคา เกินกวาหลักเกณฑท่ีกําหนดตามประกาศคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุนวาดวยการขออนุญาตและการอนุญาตใหเสนอขายหุน ที่ออกใหม

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบ จํานวน 4 คน ประกอบดวย 1. พล.อ.อ.กําธน สินธวานนท ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายสุเมธ ตันติเวชกุล กรรมการตรวจสอบ 3. นายปรีชา อรรถวิภัชน กรรมการตรวจสอบ 4. นายธารินทร นิมมานเหมินท กรรมการตรวจสอบ

วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบมีวาระอยูในตําแหนงคราวละ 3 ป เมือ่ ครบกําหนดออกตามวาระก็อาจไดรับการพิจารณาแตงตั้งให ดํารงตําแหนงตอไปอีกได

ขอบเขตหนาที่การตรวจสอบ

ใหกรรมการตรวจสอบมีหนาที่ดังตอไปนี้ 1. สอบทานใหมรี ะบบรายงานทางการเงิน และการเปดเผย ขอมูลในงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีทก่ี าํ หนดโดย กฎหมายอยางโปรงใส ถูกตอง และเพียงพอ 2. สงเสริมใหมีการพัฒนาระบบรายงานทางการเงินให ทัดเทียมกับมาตรฐานบัญชีสากล 3. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผลตามวิธกี ารและมาตรฐาน สากลที่ยอมรับโดยทั่วไป 4. สอบทานใหมรี ะบบงานเชิงปองกันและเปนประโยชนกบั หนวยงาน เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ ปฏิบัติงานใหดียิ่งขึ้น 5. สอบทานระบบการบริหารความเสี่ยงขององคกร 6. สอบทานใหบริษัทปฏิบตั ติ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยและกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับ ธุรกิจของบริษัท 7. สอบทานสรุปผลตรวจสอบทุจริตและกําหนดมาตรการ ปองกันภายในองคกร 8. สอบทานความถู ก ต อ งและประสิ ท ธิ ผ ลของระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ กีย่ วของกับการควบคุมภายใน รายงานทางการเงิน การบริหารความเสีย่ ง และเสนอแนะ การปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ 9. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมี ความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมาย และขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 46

10. สอบทานใหกรรมการตรวจสอบมีการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยรวมและ การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตนเองเปนประจําทุกป 11. สอบทานและให ค วามเห็ น ในการปฏิ บั ติ ง านของ สํานักงานตรวจสอบและประสานงานกับผูสอบบัญชี 12. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดเผย ไวในรายงานประจําปของบริษั ท ซึ่งรายงานดังกลาว ตองลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และมี ความเห็นในเรือ่ งตาง ๆ ตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย 13. พิจารณาคัดเลือก เสนอ แตงตัง้ บุคคลซึง่ มีความเปนอิสระ เพื่ อ ทํ า หน า ที่ ผู  ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท รวมทั้ ง เสนอ คาตอบแทนของผูสอบบัญชีของบริษั ท และประเมิน ประสิทธิภาพการทํางานของผูสอบบัญชี 14. จัดใหมกี ารประชุมรวมกับผูส อบบัญชีโดยไมมฝี า ยจัดการ เขารวมประชุมอยางนอยปละ 1 ครั้ง 15. สอบทานใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ ของสํานักงานตรวจสอบตามมาตรฐานสากล 16. พิจารณาอนุมตั งิ บประมาณและกําลังพลของสํานักงาน ตรวจสอบ 17. ใหความเห็นชอบในการแตงตัง้ ถอดถอน โยกยาย หรือ เลิกจางผูอํานวยการสํานักงานตรวจสอบ 18. พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน โดยพิจารณาจากการปฏิบัติหนาที่และรายงานตาง ๆ รวมทั้งสายการบังคับบัญชา 19. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ก ฎหมายกํ า หนดหรื อ คณะ กรรมการบริษัทจะมอบหมาย ในการปฏิบตั งิ านตามขอบเขตอํานาจหนาที่ ใหคณะกรรมการ ตรวจสอบมีอาํ นาจเรียก สัง่ การ ใหฝา ยจัดการ หัวหนาหนวยงาน หรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวของมาใหความเห็น รวมประชุม หรือสงเอกสารตามที่เห็นวาเกี่ยวของจําเปน รวมทั้งแสวงหา ความเห็นทีเ่ ปนอิสระจากทีป่ รึกษาทางวิชาชีพอืน่ ใด เมือ่ เห็นวา จําเปน ดวยคาใชจายของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบัติงานภายในขอบเขตอํานาจ หนาที่และความรับผิดชอบตามคําสั่งของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทเปนผูร บั ผิดชอบการดําเนินงานของบริษัท โดยตรงตอผูถือหุน ผูมีสวนไดเสีย และบุคคลทั่วไป

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ

1. หลังจากคณะกรรมการตรวจสอบไดรับทราบกรณีที่ ผูสอบบัญชีพบพฤติการณอันควรสงสัยวากรรมการ ผูจ ดั การ หรือบุคคล ซึง่ รับผิดชอบในการดําเนินงานของ บริษั ทกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย มาตรา 281/2 วรรคสอง มาตรา 305 มาตรา 306 มาตรา 308 มาตรา 309 มาตรา 310 มาตรา 311 มาตรา 312 หรือมาตรา 313 ใหคณะกรรมการ ตรวจสอบดําเนินการตรวจสอบและรายงานผลการ ตรวจสอบในเบือ้ งตนใหสาํ นักงานคณะกรรมการกํากับ


หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยและผูสอบบัญชีทราบ ภายใน 30 วันนับแตวนั ที่ไดรบั แจงจากผูส อบบัญชี 2. ในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หาก พบหรือมีขอ สงสัยวามีรายการหรือการกระทําดังตอไปนี้ ซึ่งอาจมีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานของบริษั ท ใหคณะกรรมการ ตรวจสอบรายงานตอคณะกรรมการบริษั ทเพื่อดําเนิน การปรับปรุงแกไขภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควร (1) รายการที่เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (2) การทุจริตหรือมีส่งิ ผิดปกติหรือมีความบกพรอง ที่สําคัญในระบบควบคุมภายใน (3) การฝ า ฝ น กฎหมายว า ด ว ยหลั ก ทรั พ ย แ ละ ตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท หากคณะกรรมการบริษัทหรือคณะจัดการไมดําเนินการให มีการแกไขปรับปรุงภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบ กําหนด กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานวามี รายการหรือการกระทําดังกลาวตอสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย หรือตลาดหลักทรัพยฯ

คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา

คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา จํานวน 5 คน ประกอบดวย 1. นายสุเมธ ตันติเวชกุล ประธานกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา 2. นายเสนาะ อูนากูล กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา 3. นายพนัส สิมะเสถียร กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา 4. นายอาสา สารสิน กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา 5. นายธารินทร นิมมานเหมินท กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา

วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการบรรษัทภิบาล และสรรหา

กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหามีวาระการดํารงตําแหนง คราวละ 3 ป เมื่อครบกําหนดออกตามวาระก็อาจไดรับแตงตั้ง ใหดํารงตําแหนงตอไปอีกได

ขอบเขตหนาที่ของกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา

ใหกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหามีหนาที่ดังตอไปนี้ ดานบรรษัทภิบาล 1. กําหนดขอบเขตและนโยบายดานบรรษัทภิบาลของเอสซีจี เพื่อนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัท 2. เสนอแนะแนวปฏิ บั ติ ด  า นบรรษั ท ภิ บ าลของเอสซี จี ตอคณะกรรมการบริษั ท พรอมทั้งใหคําแนะนําแก คณะกรรมการบริษัทในเรื่องเกี่ยวกับบรรษัทภิบาล

3. ติดตามดูแลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษั ท และคณะจัดการใหเปนไปตามนโยบายดานบรรษัทภิบาล ของเอสซีจี 4. พิจารณาทบทวนแนวปฏิบตั ดิ า นบรรษัทภิบาลของเอสซีจี โดยเปรียบเทียบกับบริษทั ชัน้ นําในระดับสากลและเสนอแนะ ตอคณะกรรมการบริษัท เพือ่ ใหมกี ารพิจารณาปรับปรุง ใหทันสมัยอยางตอเนื่อง 5. พิจารณาทบทวนความเปนอิสระของคณะกรรมการ บริษัทรวมทัง้ การมีผลประโยชนขดั แยงทีอ่ าจเกิดขึน้ ใน การปฏิบัติหนาที่ 6. พิจารณาทบทวนความเหมาะสมในการดํารงตําแหนง กรรมการบริษัทในกรณีทมี่ เี หตุการณการเปลีย่ นแปลง ที่เกี่ยวของกับคุณสมบัติของกรรมการบริษัท 7. เสนอแนะวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะ กรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ รวมทัง้ ติดตามและสรุปผลการประเมินใหคณะกรรมการบริษัท ทราบ เพื่อนําขอมูลมาพิจารณาปรับปรุงประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน 8. พิจารณาทบทวนวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ เปนประจําทุกป 9. รายงานความคืบหนาและผลการปฏิบัติงานตอคณะ กรรมการบริษัททุกครัง้ หลังมีการประชุมคณะกรรมการ บรรษัทภิบาลและสรรหาอยางสมํ่าเสมอ 10. พิจารณาทบทวนและเสนอแนะตอคณะกรรมการบริษัท ในเรื่องโครงสราง หนาที่ และความรับผิดชอบ รวมทั้ง แนวปฏิ บั ติ ข องคณะกรรมการบริ ษั ท และคณะ อนุกรรมการ พิจารณาทบทวนและเสนอแนะหากมีการ เปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับขอบังคับ (Charter) ของ คณะกรรมการบริษัท และคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ ใหเหมาะสมและมีความทันสมัยอยูเสมอ 11. ปฏิบัติหนาที่ในเรื่องอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัท มอบหมาย ดานการสรรหากรรมการและผูบริหารระดับสูง 1. กํ า หนดคุ ณ สมบั ติ ข องบุ ค คลที่ จ ะดํ า รงตํ า แหน ง กรรมการบริ ษั ท และกํ า หนดกระบวนการสรรหา กรรมการบริษั ทเพื่อแทนกรรมการที่ครบวาระ โดย พิจารณาสรรหากรรมการที่มีคุณสมบัติหลากหลาย ทั้งในดานทักษะ ประสบการณ และความสามารถ เฉพาะดาน 2. พิจารณาสรรหาบุคคลผูมีคุณสมบัติเหมาะสมมาดํารง ตําแหนงกรรมการบริษัททดแทนกรรมการที่ครบวาระ หรือกรณีอน่ื ๆ เพือ่ เสนอใหคณะกรรมการบริษัทและ/ หรือที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาอนุมัติ 3. จัดทําแผนสืบทอดตําแหนงกรรมการผูจ ดั การใหญ และ ผูบ ริหารระดับสูงของบริษัท เพือ่ เสนอใหคณะกรรมการ บริษัทพิจารณา 4. ปฏิบัติหนาที่ในเรื่องอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัท มอบหมาย 47


ในการปฏิบตั งิ านตามขอบเขตอํานาจหนาที่ ใหคณะกรรมการ บรรษัทภิบาลและสรรหามีอํานาจเรียก สั่งการ ใหฝายจัดการ หัวหนาหนวยงานหรือพนักงานของบริษั ทที่เกี่ยวของมาให ความเห็น รวมประชุม หรือสงเอกสารที่เห็นวาเกี่ยวของจําเปน นอกจากนั้น ในการปฏิบัติหนาที่ภายใตขอบเขตอํานาจหนาที่ ของขอบังคับ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหาอาจขอ คํ า ปรึ ก ษาจากที่ ป รึ ก ษาอิ ส ระภายนอกหรื อ ผู  เ ชี่ ย วชาญใน วิชาชีพอืน่ ๆ หากเห็นวามีความจําเปนและเหมาะสม โดยบริษัท จะเปนผูรับผิดชอบในเรื่องคาใชจายทั้งหมด

คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน

คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน จํานวน 3 คน ประกอบดวย 1. นายยศ เอื้อชูเกียรติ ประธานกรรมการพิจารณาผลตอบแทน 2. นายชุมพล ณ ลําเลียง กรรมการพิจารณาผลตอบแทน 3. นายประมนต สุธีวงศ กรรมการพิจารณาผลตอบแทน

วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการพิจารณา ผลตอบแทน

กรรมการพิจารณาผลตอบแทนมีวาระการดํารงตําแหนง คราวละ 3 ป เมื่อครบกําหนดออกตามวาระก็อาจไดรับแตงตั้ง ใหดํารงตําแหนงตอไปอีกได

ขอบเขตหนาที่ของกรรมการพิจารณาผลตอบแทน

ใหกรรมการพิจารณาผลตอบแทนมีหนาที่ดังตอไปนี้ 1. เสนอแนวทางและวิ ธี ก ารจ า ยค า ตอบแทนให แ ก คณะกรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ ที่คณะกรรมการบริษัทแตงตั้งซึ่งรวมถึงโบนัสประจําป และเบี้ยประชุม 2. เสนอนโยบายการพิจารณาคาตอบแทนใหแกคณะ จัดการเอสซีจี (Management Incentive) ซึ่งรวมถึง เงินเดือน โบนัสประจําป โดยใหสอดคลองกับผลการ ดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท และผลการปฏิ บั ติ ง านของ คณะจัดการเปนรายบุคคล ในกรณีที่เห็นสมควรให วาจางบริษัททีป่ รึกษาเพือ่ ใหคาํ แนะนําการดําเนินโครงการ 3. ประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผูจัดการใหญ เพื่อกําหนดคาตอบแทนกอนนําเสนอขออนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัทเปนประจําทุกป 4. ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะจั ด การเอสซี จี เปนรายบุคคลตามขอเสนอของกรรมการผูจ ดั การใหญ เพื่อกําหนดคาตอบแทนกอนนําเสนอขออนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัทเปนประจําทุกป 5. พิจารณางบประมาณการขึ้นคาจาง การเปลี่ยนแปลง ค า จ า งและผลตอบแทน เงิ น รางวั ล ประจํ า ป ข อง คณะจัดการกอนเสนอคณะกรรมการบริษัท 6. พิจารณาทบทวน ศึกษา ติดตามความเปลีย่ นแปลงและ แนวโนมในเรื่องผลตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท รวมทั้ ง ฝ า ยจั ด การอย า งสมํ่ า เสมอ เพื่ อ นํ า เสนอ คณะกรรมการบริษัทอนุมัติ

48

7. พิจารณาการจายคาตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท และฝายจัดการ เปรียบเทียบกับบริษัทจดทะเบียนชัน้ นํา อื่น ๆ ที่มีการประกอบธุรกิจอยางเดียวกัน เพื่อให เอสซีจีรักษาความเปนผูนําในตลาดธุรกิจอุตสาหกรรม นัน้ ๆ และเพือ่ เปนการสรางแรงจูงใจในการบริหารงาน ใหเจริญกาวหนา 8. รายงานความคื บ หน า และผลการปฏิ บั ติ ง านต อ คณะกรรมการบริ ษั ท ทุ ก ครั้ ง หลั ง มี ก ารประชุ ม คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนอยางสมํ่าเสมอ 9. ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข องคณะกรรมการ พิจารณาผลตอบแทนและรายงานผลการประเมินให คณะกรรมการบริษัททราบ 10. พิจารณาทบทวนและเสนอแนะหากมีการเปลี่ยนแปลง ใด ๆ เกี่ยวกับขอบังคับ (Charter) ของคณะกรรมการ พิจารณาผลตอบแทนตอคณะกรรมการบริษั ทเพื่อขอ อนุมตั ปิ รับปรุงใหเหมาะสมและมีความทันสมัยอยูเ สมอ 11. ปฏิ บั ติ ห น า ที่ อ่ื น ๆ ตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมาย ในการปฏิบตั งิ านตามขอบเขตอํานาจหนาที่ใหคณะกรรมการ พิจารณาผลตอบแทนมีอํานาจเรียก สั่งการ ใหฝายจัดการ หัวหนาหนวยงานหรือพนักงานของบริษั ทที่เกี่ยวของมาให ความเห็น รวมประชุม หรือสงเอกสารที่เห็นวาเกี่ยวของจําเปน นอกจากนั้น ในการปฏิบัติหนาที่ภายใตขอบเขตอํานาจหนาที่ ของขอบังคับฉบับนี้ คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนอาจ ขอคํ า ปรึกษาจากที่ปรึกษาอิสระภายนอกหรือผูเชี่ยวชาญใน วิชาชีพอืน่ ๆ หากเห็นวามีความจําเปนและเหมาะสม โดยบริษัท จะเปนผูรับผิดชอบในเรื่องคาใชจายทั้งหมด

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริษัท ทั้ง 12 คน ไมมีคุณสมบัติตองหามดังนี้ 1. ไมมีประวัติการกระทําความผิดอาญาในความผิดที่ เกี่ยวกับทรัพยซึ่งไดกระทําโดยทุจริต 2. ไมมีประวัติการทํารายการที่อาจเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชนกับเอสซีจีในรอบปที่ผานมา


นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา

อายุ 67 ป ตําแหนงในบริษัท ประธานกรรมการ การศึกษา 2507 ปริญญาตรี เกียรตินิยม เศรษฐศาสตร University of London ประเทศอังกฤษ 2514 ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร Australian National University ประเทศออสเตรเลีย การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2544 Chairman 2000 Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ประสบการณ 2519-2522 คณบดี คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 2526-2528 รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวง อุตสาหกรรม 2528 รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม 2529 รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี 2541-2542 ประธานกรรมการ บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) 2541-2550 นายกกรรมการ ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2530 ผูอํานวยการ สํานักงานทรัพยสิน สวนพระมหากษัตริย ตั้งแต 2530 รองเลขาธิการพระราชวัง สํานักพระราชวัง ตั้งแต 2530 ประธานกรรมการ บริษัทเทเวศประกันภัย จํากัด (มหาชน) ตัง้ แต 2541 นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ตัง้ แต 2550 กรรมการธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน)

พลอากาศเอกกําธน สินธวานนท

อายุ 83 ป เปนกรรมการที่มีคุณสมบัติเปนกรรมการอิสระ ตําแหนงในบริษัท กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ การศึกษา 2490 วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาไฟฟา จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2531 วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 2531 วิศวกรรมไฟฟาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2532 วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2532

วิศวกรรมไฟฟาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2541 วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยสยาม 2543 รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 2550 ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ Southeast Bangkok College 2550 วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยอีสเทิรนเอเชีย การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2544 Chairman 2000 Program สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2547 Finance for Non-Finance Directors สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2547 Directors Accreditation Program (DAP) 18/2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย 2549 Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2516-2518 สมาชิกสภานิติบญ ั ญัติแหงชาติ 2524-2530 สมาชิกวุฒิสภา 2528-2530 ผูว า การการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 2528-2538 ประธานกรรมการมูลนิธิสวนหลวง ร.๙ 2533-2536 นายกวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2520 รองประธานมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ในพระบรมราชูปถัมถ ตั้งแต 2529 ประธานทีป่ รึกษาคณะกรรมการอํานวยการ สถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย ตั้งแต 2530 รองประธานมูลนิธิสายใจไทยใน พระบรมราชูปถัมภ ตั้งแต 2530 องคมนตรี ตั้งแต 2532 ประธานกรรมการมูลนิธิ เพื่อสถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย ตั้งแต 2537 รองประธานมูลนิธิโครงการหลวง ตั้งแต 2546 ประธานมูลนิธิพระดาบส ตั้งแต 2546 ประธานมูลนิธิประชาธิปก-รําไพพรรณี ตั้งแต 2547 ประธานกรรมการ โครงการทุนเลาเรียนหลวงสําหรับ พระสงฆไทย ตั้งแต 2548 ประธานกรรมการมูลนิธิสวนหลวง ร.๙

49


นายเสนาะ อูนากูล

อายุ 78 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา การศึกษา 2494 ประกาศนียบัตรการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2497 ปริญญาตรี สาขาการพาณิชย University of Melbourne ประเทศออสเตรเลีย 2500 ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร Columbia University ประเทศสหรัฐอเมริกา 2504 ปริญญาเอก สาขาเศรษฐศาสตร Columbia University ประเทศสหรัฐอเมริกา 2527 เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2528 พาณิชยศาสตรและการบัญชีดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2531 สังคมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2532 เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2534 เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2534 เศรษฐศาสตรการพัฒนาดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 2541 เศรษฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยขอนแกน การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Advanced Director Program “Board’s Failure and How to Fix It” สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2548 Directors Accreditation Program (DAP) 32/2005 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2515-2518, สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ 2520-2522 2516-2517 รองปลัดกระทรวงพาณิชย 2517-2518 เลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ 2518-2522 ผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย 2523-2532 เลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ 2524-2534 สมาชิกวุฒิสภา 2534-2535 ประธานสภามหาวิทยาลัยบูรพา 2534-2535 รองนายกรัฐมนตรี 2535-2538 ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร ธนาคารเอเชีย จํากัด (มหาชน) 50

ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2527 ประธานกรรมการ มูลนิธิสถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย กรรมการ บริษัทโดล (ไทยแลนด) จํากัด ตั้งแต 2535 ตั้งแต 2536 กรรมการทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ตั้งแต 2549 กรรมการ บริษัททุนลดาวัลย จํากัด

นายสุเมธ ตันติเวชกุล

อายุ 70 ป เปนกรรมการที่มีคุณสมบัติเปนกรรมการอิสระ ตําแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา การศึกษา 2509 ปริญญาตรี รัฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกรอนอบ ประเทศฝรั่งเศส 2510 ปริญญาโท รัฐศาสตรและกฎหมาย ระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยมองเปลิเอ ประเทศฝรั่งเศส 2512 ปริญญาเอก รัฐศาสตร มหาวิทยาลัยมองเปลิเอ ประเทศฝรั่งเศส 2525 Diploma Economic Development EDI World Bank Washington D.C. ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2544 พ.ร.บ. ลมละลายและการฟนฟูกิจการ : กรรมการและผูบริหารตองรูอะไร สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2544 คณะกรรมการตรวจสอบความคาดหวังทีเ่ พิม่ และความรับผิดชอบที่ขยาย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2546 Directors Certification Program (DCP) 30/2003 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2546 Finance for Non-Finance Directors 5/2003 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2549 Audit Committee Program (ACP) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2537-2539 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ 2537-2539 กรรมการ ธนาคารแหงประเทศไทย 2537-2544 กรรมการ บริษทั การบินไทย จํากัด (มหาชน) 2539-2540 กรรมการ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 2540-2541 ประธานกรรมการ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย 2540-2543 กรรมการ ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน)


ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2531 กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิชัยพัฒนา ตั้งแต 2544 กรรมการ สภามหาวิทยาลัยบูรพา ตั้งแต 2547 ประธานมูลนิธิประเทศไทยใสสะอาด ตั้งแต 2548 นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ตั้งแต 2546

นายปรีชา อรรถวิภัชน

ตั้งแต 2547

อายุ 71 ป เปนกรรมการที่มีคุณสมบัติเปนกรรมการอิสระ ตําแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการตรวจสอบ การศึกษา 2503 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาอุตสาหการ จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2507 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร (Industrial Engineering & Management) Oklahoma State University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Directors Certification Program (DCP) 39/2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2547 Finance for Non-Finance Directors สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2549 Audit Committee Program (ACP) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2536-2544 กรรมการ บริษัทปตท. สํารวจและผลิต ปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 2539-2542 ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม 2540-2541 ประธานคณะกรรมการ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 2540-2542 ประธานคณะกรรมการ การปโตรเลียม แหงประเทศไทย 2542-2543 ประธานกรรมการ บริษัทปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) 2543-2546 ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ บริษัทปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2536 กรรมการ H.C. Starck Co., Ltd. ตั้งแต 2543 ประธานกรรมการ บริษัทรวมกิจอางทองคลังสินคา จํากัด ตั้งแต 2543 ประธานกรรมการ บริษทั แพน-เปเปอร จํากัด ตั้งแต 2544 ผูชํานาญการพิเศษระดับวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ สภาวิศวกร ตั้งแต 2544 ประธานกรรมการ บริษัทชัยนันทบางพลีพารคแลนด จํากัด ตั้งแต 2545 กรรมการพิจารณารางกฎหมาย กระทรวงแรงงาน

ตั้งแต 2546 ตั้งแต 2547

ตั้งแต 2547 ตั้งแต 2551 ตั้งแต 2551 ตั้งแต 2552

ประธานกรรมการ บริษัทสยาม พี.พี. อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด ประธานกรรมการ บริษัททุงคาฮาเบอร จํากัด (มหาชน) ประธานคณะกรรมการ บริษัทเอกรัฐพัฒนา จํากัด กรรมการวิชาการระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย สมาคมวิศวกรรมสถาน แหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัทไทยรุงยูเนียนคาร จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัทไทยชูการ เทอรมเิ นิล้ จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัทนํ้าตาลเกษตรไทย จํากัด ประธานคณะกรรมการอุตสาหกรรม พัฒนามูลนิธิ

นายพนัส สิมะเสถียร

อายุ 77 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา การศึกษา 2494 ประกาศนียบัตร วิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2497 B.A., Cum Laude สาขาบริหารธุรกิจ Claremont Men’s College, California ประเทศสหรัฐอเมริกา 2498 ปริญญาโท วิชาการบัญชี University of Illinois ประเทศสหรัฐอเมริกา 2501 ปริญญาเอก วิชาการบัญชี University of Illinois ประเทศสหรัฐอเมริกา 2527 พาณิชยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2543 Directors Certification Program (DCP) 2/2000 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2544 ธุรกิจครอบครัวกับการกํากับดูแลกิจการทีด่ :ี วิสัยทัศนสูความสําเร็จที่ย่งั ยืน สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2545 Strengthening Corporate Governance Practices in Thailand สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2547 การประชุมผูถือหุน: จัดอยางไร… ใหโปรงใสและไดประโยชน สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2547 Developing CG Policy Statement สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 51


2547 2548 ประสบการณ 2525-2535

ความเปนอิสระของกรรมการและการจัดการ ความขัดแยงของผลประโยชน สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DCP Refresher Course 1/2005 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ประธานกรรมการ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 2525-2535 ปลัดกระทรวงการคลัง 2535 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง 2536-2538 ประธานกรรมการ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 2537-2549 กรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย 2539-2549 ประธานกรรมการบริหาร บริษัทสหยูเนี่ยน จํากัด (มหาชน) 2540-2548 รองประธานกรรมการ คณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2535 รองประธานกรรมการและ ประธานกรรมการบริหาร บริษัทสยามพิวรรธน จํากัด ตั้งแต 2543 กรรมการทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ตั้งแต 2546 ประธานกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 12 ตั้งแต 2548 ประธานกรรมการ คณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตั้งแต 2549 รองประธานกรรมการ บริษัทยูเนี่ยนอุตสาหกรรมสิ่งทอ จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2550 รองประธานกรรมการ บริษัทสหยูเนี่ยน จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2550 ประธานกรรมการ บริษัทยูเนี่ยนเทคโนโลยี (2008) จํากัด (มหาชน)

นายยศ เอื้อชูเกียรติ

อายุ 67 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการพิจารณาผลตอบแทน การศึกษา 2507 ปริญญาตรี วิศวกรรม สาขาโยธา University College London, London University ประเทศอังกฤษ การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2543 Chairman 2000 Program 1/2000 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2544 บทบาทคณะกรรมการในการกําหนด นโยบายคาตอบแทน สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 52

ประสบการณ 2511-2517

กรรมการผูจัดการ บริษัทไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จํากัด 2517-2524 กรรมการรองผูจัดการ ธนาคารแหงเอเชียเพื่อการอุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม จํากัด 2524-2535 กรรมการผูจัดการใหญ และกรรมการ ธนาคารเอเชีย จํากัด 2535-2540 รองประธานกรรมการ ธนาคารเอเชีย จํากัด (มหาชน) 2537-2540 ที่ปรึกษาประจําสํานักงานทรัพยสิน สวนพระมหากษัตริย 2543-2545 ประธานกรรมการ บริษัทไทยอินดัสเตรียลแกส จํากัด (มหาชน) 2543-2548 กรรมการ บริษัทปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) 2549-2552 กรรมการ บริษัทไมเนอร อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2533 ประธานกรรมการ บริษัทไทยพลาสติก และเคมีภัณฑ จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2540 ที่ปรึกษาการเงินและการลงทุน สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย ตั้งแต 2544 ประธานกรรมการบริหาร บริษัททุนลดาวัลย จํากัด ตั้งแต 2544 ประธานกรรมการ บริษัทวังสินทรัพย จํากัด

นายอาสา สารสิน

อายุ 73 ป เปนกรรมการที่มีคุณสมบัติเปนกรรมการอิสระ ตําแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา การศึกษา 2502 ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ Boston University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2546 Directors Accreditation Program (DAP) 5/2003 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2547 Finance for Non-Finance Directors สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2550 Audit Committee Program (ACP) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2520-2523 เอกอัครราชทูตไทยประจําประเทศเบลเยีย่ ม และหัวหนาคณะผูแ ทนไทยประจําประชาคม เศรษฐกิจยุโรป


2523-2525 2525-2529 2529-2531

อธิบดีกรมการเมือง กระทรวงการตางประเทศ ปลัดกระทรวงการตางประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจําประเทศ สหรัฐอเมริกา 2534-2535 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ 2537-2547 นายกสมาคมไทย-ลาว 2538-2542 รองประธานกรรมการ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 2540 ประธานการประชุม Asia-Europe Business Forum (AEBF) ครั้งที่ 2 ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2536 ประธานกรรมการ บริษัทไทยเอเชียแปซิฟคบริวเวอรี่ จํากัด ตั้งแต 2539 ประธานกรรมการ บริษัทอมตะ ซิต้ี จํากัด ตั้งแต 2541 ประธานกิตติมศักดิ์ มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย ระหวางประเทศ ตั้งแต 2541 ประธานกรรมการ บริษัทผาแดงอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2541 กรรมการ มูลนิธิสถาบันพัฒนา มันสําปะหลังแหงประเทศไทย ตั้งแต 2542 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัทเจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2542 ประธานกรรมการ บริษัทสยามแม็คโคร จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2543 ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2543 ราชเลขาธิการ สํานักราชเลขาธิการ ตั้งแต 2546 กรรมการ บริษัทไทยนํ้าทิพย จํากัด ตั้งแต 2547 ประธานกรรมการ อมตะสปริง คันทรี่ คลับ

นายชุมพล ณ ลําเลียง

อายุ 62 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการพิจารณาผลตอบแทน การศึกษา 2507 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาเครือ่ งกล University of Washington ประเทศสหรัฐอเมริกา 2510 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2544 Chairman 2000 Program 2/2001 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2536-2548 กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน)

2548-2552

กรรมการ British Airways Public Company Limited ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2538 กรรมการ บริษัทโดล (ไทยแลนด) จํากัด ตั้งแต 2547 ประธานกรรมการ บริษัทสิงคโปร เทเลคอมมูนิเคชั่น จํากัด ประเทศสิงคโปร ตั้งแต 2550 กรรมการ ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน)

นายธารินทร นิมมานเหมินท

อายุ 64 ป เปนกรรมการที่มีคุณสมบัติเปนกรรมการอิสระ ตําแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา การศึกษา 2511 ปริญญาตรี รัฐพัฒนาศาสตร (เกียรตินยิ ม) Harvard College ประเทศสหรัฐอเมริกา 2513 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (การเงิน) The Stanford Gradutes School of Business ประเทศสหรัฐอเมริกา ประสบการณ 2527-2535 กรรมการและผูจัดการใหญ ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) 2534-2535 ประธานสมาคมธนาคารไทย 2535-2538 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง (ก.ย. 2535 - พ.ค. 2538) 2539-2548 สมาชิกสภาผูแทนราษฎร 2540-2544 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง (พ.ย. 2540 - ก.พ. 2544) 2542-2543 ประธานกรรมการ คณะกรรมการพัฒนาธนาคารโลก ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2531 รองประธานมูลนิธิ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ตั้งแต 2535 กรรมการและเหรัญญิก มูลนิธิขาเทียม ตั้งแต 2546 ประธานกรรมการ บริษัทสยามพิวรรธน จํากัด

นายประมนต สุธีวงศ

อายุ 70 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการพิจารณาผลตอบแทน การศึกษา 2506 ปริญญาตรี วิศวกรรมเครื่องกล University of Kansas ประเทศสหรัฐอเมริกา 2527 ปริญญาโท วิศวกรรมเครื่องกล University of Kansas ประเทศสหรัฐอเมริกา 2530 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา 53


การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2544 Chairman 2000 Program 2/2001 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2546 Directors Accreditation Program (DAP) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2552 Role of Compensation Committee (RCC 2009) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2508-2523 บริษัทเอสโซแสตนดารด ประเทศไทย จํากัด 2524-2539 กรรมการผูจัดการ บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จํากัด 2527-2535 ผูชวยผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) 2535-2542 ผูชวยผูจัดการใหญอาวุโส บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) 2533-2548 กรรมการ มูลนิธิซิเมนตไทย 2541-2545 ประธานคณะกรรมการ หอการคา นานาชาติแหงประเทศไทย 2542-2547 ประธานคณะกรรมการ ธนาคารไทยธนาคาร จํากัด (มหาชน) 2549-2551 สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ 2547-2552 ประธานกรรมการ หอการคาไทย 2548-2552 ประธานกรรมการ สภาหอการคาแหงประเทศไทย ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2540 กรรมการ บริษัทนวกิจประกันภัย จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2542 ประธานคณะกรรมการ บริษัทโตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด ตั้งแต 2542 ประธานคณะกรรมการ บริษทั สยามคอมเพรสเซอรอตุ สาหกรรม จํากัด ตั้งแต 2542 กรรมการ มูลนิธิโตโยตาประเทศไทย ตั้งแต 2550 กรรมการ สํานักงานขาราชการพลเรือน ตั้งแต 2552 กรรมการกิตติมศักดิ์ สภามหาวิทยาลัย หอการคาไทย ตั้งแต 2552 ประธานอาวุโส หอการคาไทย และสภาหอการคาแหงประเทศไทย

นายกานต ตระกูลฮุน

อายุ 54 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ การศึกษา 2520 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา เกียรตินยิ มอันดับ 1 จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2529 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร The Georgia Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา 54

2529

ปริญญาโท บริหารธุรกิจ The Georgia Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา 2544 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2546 Directors Certification Program (DCP) 29/2003 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2542-2545 กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทเซรามิคซิเมนตไทย จํากัด 2546-2547 ผูชวยผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) 2547-2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ตําแหนงอื่นในปจจบัน ดํารงตําแหนงประธานกรรมการและกรรมการ บริษัทในเอสซีจี นอกตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย จํานวน 13 บริษัท ตั้งแต 2547 Board Member, East Asia Council, Insead ตั้งแต 2549 สมาชิก World Business Council for Sustainable Development ตั้งแต 2549 สมาชิก School of Engineering and Technology Asian Institute of Technology ตั้งแต 2550 สมาชิก Asia Business Council ตั้งแต 2552 กรรมการ Kubota Corporation (Japan)

นายวรพล เจนนภา

ตําแหนงในบริษัท เลขานุการคณะกรรมการ

นายอํานวย อภิชัยนันท

ตําแหนงในบริษัท เลขานุการบริษัท


รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยของกรรมการบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552) ชื่อ ของตนเอง 1. นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา 2. พล.อ.อ.กําธน สินธวานนท

28,000

3. นายเสนาะ อูนากูล 4. นายสุเมธ ตันติเวชกุล 5. นายปรีชา อรรถวิภัชน

30,000 4,100

6. นายพนัส สิมะเสถียร 7. นายยศ เอื้อชูเกียรติ 8. นายอาสา สารสิน

100,000 284,000 -

9. นายชุมพล ณ ลําเลียง 10. นายธารินทร นิมมานเหมินท 11. นายประมนต สุธีวงศ 12. นายกานต ตระกูลฮุน

1,001,000 -

บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) บริษัทในเครือ หุนสามัญ หุนกู หุนสามัญ (จํานวนหุน) (จํานวนหนวย) (จํานวนหุน) คูส มรสหรือบุตุ ร เพิ่ม (ลด) เพิ่ม (ลด) เพิ่ม (ลด) ที่ยังไมบรรลุ ระหวาง ของตนเอง ระหวาง ระหวาง ของตนเอง นิติภาวะ รอบปบัญชี รอบปบัญชี รอบปบัญชี 1,000 61,500 เพิ่มของตนเอง 12,000 33,500 1,500 เพิ่มของตนเอง 6,000 เพิ่มของคู​ูสมรส 27,000 12,000 - 20,047,780* 30,000* 90,100 10,600 40,000* เพิ่มของคู​ูสมรส - 1,000,000* 10,000 45,000 4,000 4,000 (194,600)*

หมายเหตุ 1. บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) มีทุนจดทะเบียน 1,600,000,000 บาท ทุนชําระแลว 1,200,000,000 บาท (1,200,000,000 หุน) 2. ตาม พ.ร.บ.บริษัทมหาชนจํากัด คําวา “บริษัทในเครือ” หมายถึง บริษัทมหาชนจํากัดบริษัทหนึ่งซึ่งมีความสัมพันธกับบริษัทเอกชน หรือบริษัทมหาชนจํากัดบริษัทใดบริษัทหนึง่ หรือหลายบริษัทในลักษณะดังตอไปนี้ - บริษัทหนึง่ มีอาํ นาจควบคุมเกีย่ วกับการแตงตัง้ และถอดถอนกรรมการ ซึง่ มีอาํ นาจจัดการทัง้ หมดหรือโดยสวนใหญของอีกบริษัทหนึง่ - บริษัทหนึง่ ถือหุน ในอีกบริษัทหนึง่ เกินกวารอยละ 50 ของหุน ทีอ่ อกจําหนายแลว 3. ตามหลักเกณฑของ ก.ล.ต. หุน สามัญของบริษัท ทีถ่ อื โดยกรรมการใหรวมถึงหุน สามัญทีถ่ อื โดยคูส มรสและบุตรทีย่ งั ไมบรรลุนติ ภิ าวะดวย 4. ตามหลักเกณฑ พ.ร.บ. บริษัทมหาชนจํากัด ใหแสดงหุน สามัญและหุน กูข องบริษัท และบริษัทในเครือ ทีถ่ อื โดยกรรมการเฉพาะการถือหุน ของตนเอง 5. หุน กูบ ริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) มีมลู คาหนวยละ 1,000 บาท 6. * หุน สามัญบริษัทไทยพลาสติกและเคมีภณั ฑ จํากัด (มหาชน)

การเขารวมประชุมของกรรมการบริษัทป 2552 (จํานวนครั้ง) คณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ บรรษัคณะกรรมการ ประชุมสามัญผูถือหุน ท ภิ บ าลและสรรหา พิ จ ารณาผลตอบแทน (จํ า นวน 12 คน) (จํ า นวน 4 คน) ประจําป 2552 รายชื่อกรรมการ (จํานวน 5 คน) (จํานวน 3 คน) จํานวนการประชุม จํานวนการประชุม (จํ ( 12 คน)) จํานวนการประชุม จํานวนการประชุม เมือ่ วันทีา่นวน ทั้งป 12 ครั้ง ทั้งป 9 ครั้ง 25 มี นาคม 2552 ทั้งป 4 ครั้ง ทัง้ ป 6 ครั้ง 1. นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา 12/12 1/1 2. พล.อ.อ.กําธน สินธวานนท 12/12 9/9 1/1 3. นายเสนาะ อูนากูล 12/12 4/4 1/1 4. นายสุเมธ ตันติเวชกุล 11/12 8/9 4/4 1/1 5. นายปรีชา อรรถวิภัชน 12/12 9/9 1/1 6. นายพนัส สิมะเสถียร 12/12 4/4 1/1 7. นายยศ เอื้อชูเกียรติ 11/12 6/6 1/1 8. นายอาสา สารสิน 12/12 3/4 1/1 9. นายชุมพล ณ ลําเลียง 10/12 6/6 0/1 10. นายธารินทร นิมมานเหมินท 11/12 8/9 2/4 1/1 11. นายประมนต สุธีวงศ 9/9 4/4 12. นายกานต ตระกูลฮุน 12/12 1/1 หมายเหตุ 1. กรรมการอิสระ จํานวน 5 คน ไดแก ลําดับที่ 2, 4, 5, 8 และ 10 2. คณะกรรมการตรวจสอบ จํานวน 4 คน ไดแก ลําดับที่ 2, 4, 5 และ 10 3. คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา จํานวน 5 คน ไดแก ลําดับที่ 3, 4, 6, 8 และ 10 4. คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน จํานวน 3 คน ไดแก ลําดับที่ 7, 9 และ 11 5. นายประมนต สุธีวงศ ไดรับเลือกตั้งเปนกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2552 แทนนายศิววงศ จังคศิริ ซึ่งถึงแกอนิจกรรม 55


การเขารวมอบรมหลักสูตู รของกรรมการอิสระหลักสูตู รใดหลักสูตรหนึ่งตามขอเสนอแนะของ ก.ล.ต. ที่จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รายชื่อกรรมการอิสระของบริษัท 1. พล.อ.อ.กําธน สินธวานนท 2. นายสุเมธ ตันติเวชกุล 3. นายปรีชา อรรถวิภัชน 4. นายอาสา สารสิน 5. นายธารินทร นิมมานเหมินท

หลักสูตรการอบรม Directors Certification Directors Accreditation Program (DCP) Program (DAP) รุนที่ 18/2004 รุนที่ 30/2003 รุน ที่ 39/2004 รุนที่ 5/2003 -

5. ผูบริหารระดับสูงของเอสซีจี ผูบริหารระดับสูงของเอสซีจี ประกอบดวย 1. นายกานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี 2. นายรุงโรจน รังสิโยภาส ผูชวยผูจัดการใหญ เอสซีจี 3. นายชลณัฐ ญาณารณพ กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี เคมิคอลส 4. นายเชาวลิต เอกบุตร กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี เปเปอร 5. นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกลุ กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ซิเมนต 6. นายพิชิต ไมพมุ กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง 7. นายขจรเดช แสงสุพรรณ กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น 8. นายดําริ ตันชีวะวงศ กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี การลงทุน ผูบริหารระดับสูงของเอสซีจี ไดรับมอบหมายอํานาจหนาที่ ให ดํ า เนิ น งานภายใต น โยบาย กลยุ ท ธ และเป า หมายที่ คณะกรรมการบริษั ทกําหนดไว ซึ่งคณะกรรมการบริษั ทได อนุมตั กิ ารจัดทําอํานาจดําเนินการในการกําหนดขอบเขตหนาที่ ทีช่ ดั เจน เพือ่ ความโปรงใสและมีความคลองตัวในการปฏิบตั งิ าน อยางเหมาะสม ผูบ ริหารระดับสูงทัง้ 8 คน ไมมคี ณ ุ สมบัตติ อ งหาม ดังนี้ 1. ไมมีประวัติการกระทําความผิดอาญาในความผิดที่ เกี่ยวกับทรัพยซ่งึ ไดกระทําโดยทุจริต 2. ไมมีประวัติการทํารายการที่อาจเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชนกับเอสซีจีในรอบปที่ผานมา

56

นายกานต ตระกูลฮุน

Audit Committee Program (ACP) รุนที่ 11/2006 รุนที่ 11/2006 รุนที่ 11/2006 -

อายุ 54 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี การศึกษา 2520 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา เกียรตินิยมอันดับ 1 จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2529 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร The Georgia Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา 2529 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ The Georgia Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา 2544 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2546 Directors Certification Program (DCP) 29/2003 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2542-2545 กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทเซรามิคซิเมนตไทย จํากัด 2546-2547 ผูชวยผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) 2547-2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ตําแหนงอื่นในปจจบัน ดํารงตําแหนงประธานกรรมการและกรรมการ บริษัทในเอสซีจี นอกตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย จํานวน 13 บริษัท ตั้งแต 2547 Board Member, East Asia Council, Insead ตั้งแต 2549 สมาชิก World Business Council for Sustainable Development ตั้งแต 2549 สมาชิก School of Engineering and Technology, Asian Institute of Technology


ตั้งแต 2550 ตั้งแต 2552

สมาชิก Asia Business Council กรรมการ Kubota Corporation (Japan)

นายรุงโรจน รังสิโยภาส

อายุ 46 ป ตําแหนงในบริษัท ผูชวยผูจัดการใหญ เอสซีจี การศึกษา 2528 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาเหมืองแร จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2530 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สาขาอุตสาหการ University of Texas (Arlington) ประเทศสหรัฐอเมริกา 2536 ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Directors Accreditation Program (DAP) 2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2539-2540 Vice President-Production, TileCera Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา 2540-2543 President, TileCera Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา 2543-2548 ผูอํานวยการสํานักงานวางแผนกลาง บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2548 กรรมการ บริษัทปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2551 กรรมการ บริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จํากัด (มหาชน)

นายชลณัฐ ญาณารณพ

อายุ 50 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี เคมิคอลส การศึกษา 2525 Bachelor of Environmental Chemical Engineering เกียรตินิยมอันดับ 2 Salford University, Manchester ประเทศอังกฤษ 2527 Master of Chemical Engineering Imperial College, London ประเทศอังกฤษ 2547 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา

การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Directors Accreditation Program (DAP) 2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2538-2548 กรรมการผูจัดการ บริษัทไทยโพลิเอททีลีน จํากัด 2538-2548 กรรมการผูจัดการ บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน จํากัด 2542-2545 กรรมการผูจัดการ บริษัทสยามโพลิโอเลฟนส จํากัด 2545-2547 กรรมการผูจัดการ บริษัทซีซีซี คาเคมีภัณฑ จํากัด 2545-2548 กรรมการผูจัดการ บริษัทซีซีซี โพลิโอเลฟนส จํากัด 2547-2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทเคมีภัณฑซิเมนตไทย จํากัด 2550-2551 นายกสมาคมวิศวกรรมเคมีและ เคมีประยุกตแหงประเทศไทย ตําแหนงอื่นในปจจบัน ประธานกรรมการในกลุมบริษัท เอสซีจี เคมิคอลส จํานวน 6 บริษัท ตั้งแต 2542 กรรมการในกลุมบริษัท SCG-Dow Joint Ventures จํานวน 5 บริษัท ตั้งแต 2548 กรรมการ บริษัทปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2548 กรรมการ บริษัทไทยพลาสติก และเคมีภัณฑ จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2549 กรรมการ บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จํากัด ตั้งแต 2549 กรรมการ บริษัทบีเอสที อิลาสโตเมอรส จํากัด ตั้งแต 2549 กรรมการอํานวยการสถาบันปโตรเลียม แหงประเทศไทย ตั้งแต 2552 ที่ปรึกษาสมาคมวิศวกรรมเคมีและ เคมีประยุกตแหงประเทศไทย

นายเชาวลิต เอกบุตร

อายุ 51 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี เปเปอร การศึกษา 2523 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาเครือ่ งกล เกียรตินยิ มอันดับ 1 จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2525 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สาขาอุตสาหการ และการจัดการ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย 2547 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา

57


การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Directors Accreditation Program (DAP) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2550 Directors Certification Program (DCP) 84/2007 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2540-2542 ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาธุรกิจและ โครงการ บริษทั ปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) 2542-2545 กรรมการผูจ ดั การ บริษัทไทยซีอารที จํากัด 2545-2547 กรรมการผูจัดการ บริษัทผลิตภัณฑกระดาษไทย จํากัด 2547-2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทเยื่อกระดาษสยาม จํากัด (มหาชน) ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2548 ประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหาร บริษัทไทยเคนเปเปอร จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2548 ประธานกรรมการ บริษัทไทยบริติชซีเคียวริต้ี พริ้นติ้ง จํากัด (มหาชน) ตั้งแต 2551 นายกสมาคมอุตสาหกรรมเยือ่ และกระดาษไทย

นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล

อายุ 57 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ซิเมนต การศึกษา 2518 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาอุตสาหการ จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2546 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา ประสบการณ 2539-2541 กรรมการผูจัดการ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด 2542-2543 กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทผลิตภัณฑหลังคาซิเมนตไทย จํากัด 2544-2545 ผูชวยผูจัดการใหญ บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน)

นายพิชิต ไมพุม

อายุ 53 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง การศึกษา 2524 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาเครื่องกล เกียรตินิยมอันดับ 2 สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ 2529 ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สาขาอุตสาหการ และการจัดการ สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย 58

2548

Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Directors Accreditation Program (DAP) 2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2537-2539 หัวหนาสวนผลิต บริษัทสยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จํากัด 2539-2542 ผูจัดการโรงงาน บริษัทสยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จํากัด 2542-2544 ผูจัดการฝายผลิต บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จํากัด 2544-2548 กรรมการผูจัดการ บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จํากัด 2547-2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทผลิตภัณฑกอ สรางซิเมนตไทย จํากัด ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2548 ประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการ บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จํากัด ตั้งแต 2551 ประธานกิตติมศักดิ์สภาอุตสาหกรรม กลุม เซรามิค สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ตั้งแต 2551 กรรมการบริษัทและกรรมการบริหาร บริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จํากัด (มหาชน)

นายขจรเดช แสงสุพรรณ

อายุ 56 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการผูจ ดั การใหญ เอสซีจี ดิสทริบวิ ชัน่ การศึกษา 2518 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาโยธา จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2545 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2546 Finance for Non-Finance Directors Program 2003 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2547 Directors Accreditation Program (DAP) 2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ 2539-2544 กรรมการผูจัดการ บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม จํากัด 2542-2548 กรรมการผูจัดการ บริษัทยิปซัมซิเมนตไทย จํากัด 2544-2548 กรรมการผูจัดการใหญ บริษัทผลิตภัณฑกอ สรางซิเมนตไทย จํากัด 2546-2549 กรรมการ บริษัทมิลเลนเนียม สตีล จํากัด (มหาชน)


ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2544 รองประธานสภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย ตั้งแต 2545 กรรมการ บริษัทเซรามิคซิเมนตไทย จํากัด ตั้งแต 2551 ประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จํากัด (มหาชน)

นายดําริ ตันชีวะวงศ

อายุ 56 ป ตําแหนงในบริษัท กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี การลงทุน การศึกษา 2519 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2547 Advanced Management Program (AMP) Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา 2552 Capital Market Academy Leadership Program (CMA-8) สถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย การอบรมบทบาทหนาที่กรรมการ 2547 Directors Accreditation Program (DAP) 2004 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2551 Directors Certification Program (DCP) 106/2008 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2551 Audit Commitee Program (ACP) 24/2008 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย 2552 Role of Chairman Program (RCP-22) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ 2534-2537 หัวหนาสวนผลิต โรงงานทุงสง บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด 2538 หัวหนาสวนผลิต โรงงานแกงคอย บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) 2539-2541 ผูอํานวยการโรงงานทาหลวง บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) 2542-2548 กรรมการผูจัดการ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด 2547-2548 รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัทซิเมนตไทยโฮลดิ้ง จํากัด ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2542 กรรมการ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด ตั้งแต 2548 กรรมการ สถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหงประเทศไทย

ตั้งแต 2548 ตั้งแต 2548

กรรมการ บริษัทไทยเคนเปเปอร จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัทโตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด

ผูดํารงตําแหนงในสายงานบัญชีและการเงิน นายผดุงเดช อินทรลักษณ

อายุ 55 ป ตําแหนงในบริษัท ผูอํานวยการสํานักงานการเงิน การศึกษา 2518 ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร การเงินและการคลัง จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2521 ปริญญาโท (South-East Asian Studies) University of Kent, Canterbury ประเทศอังกฤษ ประสบการณ 2536-2538 หัวหนาสวนการเงิน บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2550 Indonesian Executive Director, SCG

นายอนุวัฒน จงยินดี

อายุ 52 ป ตําแหนงในบริษัท ผูอํานวยการฝายบัญชีกลาง การศึกษา 2523 ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบณั ฑิต บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2529 ปริญญาโท บัญชีมหาบัณฑิต จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประสบการณ 2546 ผูจัดการสํานักงานบัญชี บริษัทเยื่อกระดาษสยาม จํากัด (มหาชน) 2547 ผูชวยกรรมการผูจัดการ Shared Services Function 2 บริษัทซิเมนตไทยการบัญชี จํากัด ตําแหนงอื่นในปจจบัน ตั้งแต 2548 กรรมการและประธานอนุกรรมการ ดานการทําบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ ตั้งแต 2549 อุปนายก 5 และกรรมการฝายตรวจสอบ สมาคมกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ตั้งแต 2551 กรรมการคณะกําหนดมาตรฐานการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ

59


6. การสรรหากรรมการและผูบริหาร

หลักเกณฑและวิธีการคัดเลือกบุคคลที่จะแตงตั้งเปน กรรมการ

1. การเสนอชื่อบุคคลใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งเปน กรรมการแทนกรรมการที่ ค รบรอบออกตามวาระ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหาจะเปนผูส รรหา เพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษั ทพิจารณากอนเสนอ ทีป่ ระชุมผูถ อื หุน และเปนสิทธิของผูถ อื หุน ทุกรายอยาง เทาเทียมกันที่จะเสนอชื่อบุคคลอื่น สวนอํานาจในการ พิจารณาเลือกผูใ ดเปนกรรมการเปนอํานาจของผูถ อื หุน 2. ในกรณี ที่ บุ ค คลผู ไ ด รั บ การเสนอชื่ อ เป น กรรมการ มีจาํ นวนไมเกินกวาจํานวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีไดในการ เลือกตั้งครั้งนั้นใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการ ทั้งชุด 3. ในกรณี ที่ บุ ค คลผู ไ ด รั บ การเสนอชื่ อ เป น กรรมการ มีจํานวนเกินกวาจํานวนกรรมการที่จะพึงมี ไดในการ เลือกตั้งครั้งนั้น ใหใชวิธีการลงคะแนนเสียงของที่ ประชุมผูถ อื หุน โดยผูถ อื หุน มีสทิ ธิเลือกตัง้ บุคคลที่ไดรบั การเสนอชื่อเปนกรรมการได แตตองไมเกินจํานวน กรรมการที่จะพึงมี ไดในการเลือกตั้งครั้งนั้นและให เลือกเปนรายบุคคล โดยผูถือหุนหรือผูรับมอบฉันทะ มีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งเสียงตอหนึ่งหุน สําหรับการ ลงมติเลือกตั้งบุคคลที่ไดรับการเสนอชื่อเปนกรรมการ แตละคน ใหบุคคลซึ่งไดรับคะแนนสูงสุดตามลําดับ ลงมาเป น ผู ไ ด รั บ เลื อ กตั้ ง เป น กรรมการเท า จํ า นวน กรรมการที่จะพึงมี ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับเลือกตั้งใน ลํ า ดั บ ถั ด ลงมามี ค ะแนนเสี ย งเท า กั น เกิ น จํ า นวน กรรมการที่จะพึงมี ใหประธานในที่ประชุมลงคะแนน เสี ย งอี ก เสี ย งหนึ่ ง เป น เสี ย งชี้ ข าดเพื่ อให ไ ด จํ า นวน กรรมการที่จะพึงมี ในการเลือกตัง้ กรรมการแทนกรรมการบริษัททีค่ รบกําหนด ออกตามวาระในการประชุมสามัญผูถือหุน ป 2552 มีกรรมการ บริ ษั ท ที่ ค รบกํ า หนดออกตามวาระจํ า นวน 4 คน คื อ 1) นายเสนาะ อูนากูล 2) นายพนัส สิมะเสถียร 3) นายอาสา สารสิน และ 4) นายชุมพล ณ ลําเลียง ตามขอบังคับของบริษัท กําหนดใหกรรมการบริษัทตองออกจากตําแหนงจํานวน 1 ใน 3 โดยใหกรรมการบริษั ทคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุดเปนผูออก จากตําแหนง โดยในการสรรหา กรรมการบริษัทแตละคนไดเสนอ ชือ่ บุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสมใหคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและ สรรหาพิจารณา และในการพิจารณาสรรหา คณะกรรมการ บรรษัทภิบาลและสรรหาซึ่งไมรวมกรรมการที่มีสวนไดเสีย คือ นายเสนาะ อูนากูล นายพนัส สิมะเสถียร และนายอาสา สารสิน ที่ครบรอบออกตามวาระในป 2552 ไดพิจารณารายชื่อบุคคลที่ กรรมการบริษัทแตละคนเสนอรวมทัง้ สิน้ 5 คน เปนกรรมการ รายเดิม 4 คน และเปนผูท รงคุณวุฒภิ ายนอกจํานวน 1 คน ทัง้ นี้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหาไดมมี ติใหเสนอชือ่ บุคคล ทีม่ คี วามเหมาะสม 4 คน คือ 1) นายเสนาะ อูนากูล 2) นายพนัส สิมะเสถียร 3) นายอาสา สารสิน และ 4) นายชุมพล ณ ลําเลียง เขารับการเลือกตั้งเปนกรรมการบริษั ท ซึ่งที่ประชุมผูถือหุน 60

เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2552 มีมติดวยเสียงขางมากใหท้งั 4 คน เดิมเปนกรรมการของบริษัท

การสรรหาผู​ูบริหารระดับสู​ูงของเอสซีจี

กระบวนการสรรหาผูบ ริหารของเอสซีจี เริม่ จากการคัดเลือก ผูท่เี ปนคนเกงและดีเขามารวมงานโดยมุงเนนรับคนรุนใหมท่มี ี ความรูค วามสามารถ (Young Talent) และพัฒนาสรางความพรอม ใหทุกคนมีโอกาสกาวขึ้นสูระดับผูบริหารในอนาคตได โดยผาน ขั้นตอนการประเมินพนักงานที่มีศักยภาพสูง (High Potential) ของเอสซีจี ทุกคนจะไดรับการพัฒนาตามแผนที่วางไวเปน รายบุคคล (Individual Development Plan) มีการมอบหมาย งานที่ทาทาย รวมทั้งหมุนเวียน เพื่อเพิ่มทักษะใหรอบรูทุกดาน ซึง่ การเตรียมบุคลากรของเอสซีจดี งั กลาว ไดดาํ เนินการกับพนักงาน ทุกระดับใหมคี วามพรอมในการทดแทนกรณีทมี่ ตี าํ แหนงวางลง โดยตําแหนงผูบ ริหารระดับสูงคณะกรรมการบริษทั จะเปนผูพ จิ ารณา คัดเลือกพนักงานที่มีศักยภาพสูงและมีคุณสมบัติเหมาะสมกับ ตําแหนงงาน

7. คาตอบแทนของกรรมการ และผูบริหารระดับสูง

คาตอบแทนกรรมการ

เนื่องจากที่ประชุมสามัญผูถือหุนครั้งที่ 11 เมื่อวันพุธที่ 24 มีนาคม 2547 มีมติอนุมัติคาตอบแทนและโบนัสกรรมการ โดยใหจายคาตอบแทนรายเดือนใหแกคณะกรรมการ เดือนละ 1,800,000 บาท และใหไปพิจารณาแบงจายกันเอง สําหรับ โบนัสกรรมการมีมติอนุมัติการจายโบนัสโดยใหคณะกรรมการ เปนผูพ จิ ารณากําหนดจํานวนเงินทีเ่ หมาะสม ทัง้ นี้ ไมเกินรอยละ 0.5 ของเงินปนผลทีม่ กี ารจายใหแกผถู อื หุน และใหไปพิจารณา แบงจายกันเอง โดยใหมผี ลตัง้ แตวนั ที่ไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุม ผูถ อื หุน เปนตนไป จนกวาทีป่ ระชุมผูถ อื หุน จะมีมติเปลีย่ นแปลง เปนอยางอื่น

การแบงจายคาตอบแทนรายเดือนและโบนัสคณะกรรมการ

คาตอบแทนรายเดือน คณะกรรมการบริษัทมีมติใหแบงจายคาตอบแทนรวมใหแก ประธานกรรมการ 1.5 สวน หรือคิดเปนจํานวนเงิน 216,000 บาท ตอเดือน กรรมการที่เหลืออีก 11 คน ไดรับคนละ 1 สวนหรือ คิดเปนจํานวนเงิน 144,000 บาทตอเดือน โบนัสกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีมติใหแบงจายเงินโบนัสโดยประธาน กรรมการไดรับ 1.5 สวน และกรรมการไดรับคนละ 1 สวนของ เงินโบนัสตามหลักเกณฑท่ที ี่ประชุมผูถือหุนมีมติไว คาตอบแทนคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ คณะกรรมการบริ ษั ท มี ม ติ ใ ห จ า ยค า ตอบแทนสํ า หรั บ คณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ โดยกําหนดคาตอบแทนประจํา (Fixed Fee) และคาตอบแทนตอครัง้ ทีเ่ ขาประชุม (Attendance Fee) ดังนี้


คาตอบแทนคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ คาตอบแทนประจําตอป (บาท)

คาตอบแทนตอครั้งที่เขาประชุม (บาท)

96,000 64,000

24,000 16,000

72,000 48,000

18,000 12,000

72,000 48,000

18,000 12,000

คณะกรรมการตรวจสอบ ประธาน กรรมการ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา ประธาน กรรมการ คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทน ประธาน กรรมการ การคํานวณคาตอบแทนประธานคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ ไดรับ 1.5 สวน และกรรมการยอยไดรับคนละ 1 สวน

คาตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการชุดตาง ๆ ที่จายในป 2552 คาตอบแทน (บาท) รายชื่อกรรมการ 1. นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา 1 2. พล.อ.อ.กําธน สินธวานนท 2 3. นายเสนาะ อูนากูล 4. นายสุเมธ ตันติเวชกุล 3 5. นายปรีชา อรรถวิภัชน 6. นายพนัส สิมะเสถียร 7. นายยศ เอื้อชูเกียรติ 8. นายอาสา สารสิน 9. นายชุมพล ณ ลําเลียง 4 10. นายธารินทร นิมมานเหมินท 11 นายประมนต สุธีวงศ 5 12. นายกานต ตระกูลฮุน รวม กรรมการที่พนจากตําแหนงระหวางป 1. นายศิววงศ จังคศิริ 6 รวม

คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท ตรวจสอบ 2,592,000 1,728,000 1,728,000 1,728,000 1,728,000 1,728,000 1,728,000 1,728,000 1,728,000 1,728,000 1,161,600 1,728,000 21,033,600

312,000 192,000 208,000 192,000 904,000

325,162 21,358,762

904,000

โบนัส กรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ที่จายในป บรรษัทภิบาล พิจารณา 2552 * และสรรหา ผลตอบแทน (บาท) - 5,160,000 - 3,440,000 96,000 - 3,440,000 144,000 - 3,440,000 - 3,440,000 96,000 - 3,440,000 120,000 3,440,000 84,000 - 3,440,000 158,323 3,440,000 72,000 - 3,440,000 80,267 584,752 - 3,440,000 492,000 358,590 40,144,752 490,000

31,549 390,139

2,381,879 42,526,631

รวม (บาท) 7,752,000 5,480,000 5,264,000 5,504,000 5,376,000 5,264,000 5,288,000 5,252,000 5,326,323 5,432,000 1,826,619 5,168,000 62,932,942 2,738,590 65,671,532

หมายเหตุ 1. ประธานกรรมการบริษัท 2. ประธานกรรมการตรวจสอบ 3. ประธานกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา 4. ประธานกรรมการพิจารณาผลตอบแทน 5. นายประมนต สุธีวงศ เปนกรรมการบริษัทแทนนายศิววงศ จังคศิริ เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2552 6. นายศิววงศ จังคศิริ ถึงแกอนิจกรรมเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2552 * โบนัสที่จายใหกรรมการในป 2552 ประกอบดวย โบนัสที่คํานวณจากอัตราเงินปนผลงวดสุดทายประจําป 2551 ที่จายใหแกผูถือหุนเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 และเงินปนผลงวด ระหวางกาลประจําป 2552 ที่จายใหแกผูถือหุนเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2552 ซึ่งแสดงรวมอยูในบรรทัด "คาตอบแทนกรรมการ" ในงบกําไรขาดทุนรวม หนา 77

61


1.2 คาตอบแทนรวมของผูบริหารบริษัทยอยที่เปนธุรกิจหลัก 1) คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ไดแก เงินเดือน โบนัส และเงินตอบแทนพิเศษ (Variable Pay) 2) คาตอบแทนอื่น ๆ ไดแก เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โดยคาตอบแทนตาง ๆ มีรายละเอียดดังนี้ บริษัทยอยที่เปนธุรกิจหลัก 1. บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จํากัด 2. บริษัทเอสซีจี เปเปอร จํากัด (มหาชน) 3. บริษัทเอสซีจี ซิเมนต จํากัด 4. บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง จํากัด 5. บริษัทเอสซีจี ดิสทริบวิ ชั่น จํากัด

จํานวนผูบริหาร (ราย) 8 8 6 7 7

คาตอบแทนรวมที่เปนตัวเงิน (บาท) 25,425,719 25,753,700 31,324,200 19,433,325 18,759,900

คาตอบแทนอื่น ๆ (บาท) 1,733,640 1,890,240 2,029,800 1,386,000 1,371,960

ทัง้ นี้ จํานวนผูบ ริหารและคาตอบแทนของผูบ ริหารขางตนไมรวมกรรมการผูจ ดั การใหญในแตละบริษัทยอยทีเ่ ปนธุรกิจหลัก เนือ่ งจากไดรวมอยูในจํานวนและคาตอบแทนของผูบ ริหารของบริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ตามทีป่ รากฏในรายงานประจําป 2552 หนา 62 62


8. รายการระหวางกันและรายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการบริ ษั ท ให ค วามสํ า คั ญ ต อ การพิ จ ารณา อนุมตั กิ ารทํารายการระหวางกันหรือรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือ รายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน โดยจรรยาบรรณ เอสซีจี ไดกําหนดนโยบายการทําธุรกรรมของเอสซีจี ดังนี้

การทําธุ​ุรกรรมระหวางกันของบริษัทและบริษัทยอย

การทีเ่ อสซีจปี ระกอบดวยบริษัทจํานวนมาก และบริษัทเหลานัน้ ดําเนินธุรกิจที่ตองทําธุรกรรมระหวางกัน เชน การบริการ การซื้อขายวัตถุดบิ ผลิตภัณฑ การใหความชวยเหลือทางการเงิน การสนับสนุนทางดานเทคนิคหรือบุคลากร ฯลฯ ดังนั้น ในการ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ หรื อ ปฏิ บั ติ ง านที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เรื่ อ งดั ง กล า ว พนักงานและผูเ กีย่ วของทุกคนตองคํานึงถึงกฎหมาย กฎระเบียบ ที่ออกโดยหนวยงานของรัฐ กฎระเบียบของเอสซีจี หลักเกณฑ และเงื่อนไขตาง ๆ ในแตละทองถิ่นที่ไดกําหนดไว

การทําธุ​ุรกรรมกับบุคุ คลภายนอก

การทําธุรกรรมกับบุคคลภายนอกหรือบริษัทอืน่ นัน้ จะตอง ดําเนินการดวยวิธกี ารอันชอบธรรมและปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขที่ได ตกลงไวอยางตรงไปตรงมา หลีกเลี่ยงการทําธุรกรรมที่อาจ กอใหเกิดความเดือดรอนเสียหายกับบุคคลภายนอก บริษัทไดกาํ หนดแนวปฏิบตั แิ ละกระบวนการในการพิจารณา อนุมัติการทํารายการระหวางกัน รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทางผลประโยชน เ พื่ อให เ กิ ด ประโยชนสูงสุดของบริษั ท ตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนด โดยกรรมการและผูบริหารจะแจงใหบริษั ททราบถึงการมีสวน ไดเสียกอน ซึง่ บริษัทพิจารณารายการตาง ๆ ซึง่ หากเปนรายการ ที่จะตองขออนุมัติตามหลักเกณฑและขั้นตอนของกฎหมาย ฝายจัดการจะนําเรื่องดังกลาวเสนอตอคณะกรรมการบริษั ท หรือที่ประชุมผูถือหุน รวมทั้งเปดเผยขอมูลใหนักลงทุนทราบ อย า งโปร ง ใส โดยกรรมการหรื อ ผู บ ริ ห ารที่ มี ส ว นได เ สี ย จะไมมีสวนรวมในการพิจารณาอนุมัติรายการแตอยางใด อยางไรก็ตาม ภายใตจรรยาบรรณและบรรษัทภิบาลเอสซีจี บริษัทมีนโยบายในการทํารายการเปนไปตามกลไกราคาตลาด ซึ่งเปนเครื่องมือที่ ใชในการดําเนินธุรกิจปกติของบริษั ทที่มี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกัน ในอนาคต

รายการระหวางกันของบริษั ทในอนาคตจะเปนรายการ ทีด่ าํ เนินการตามปกติทางการคา โดยใชนโยบายซือ้ ขายตอรอง กันตามกลไกราคาตลาดของธุรกิจ ไมมกี ารถายเทผลประโยชน ระหวางบริษัทกับกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวของ

รายการที่เกี่ยวโยงกันในรอบป 2552 มีดังนี้

1. รายการใหความชวยเหลือทางการเงิน ไดแก การกูยืมเงิน มีบริษัทยอยทํารายการกับบริษัทยอย จํานวน 1 รายการ มูลคา 152.3 ลานบาท ไดแก • โครงการติดตั้งเครื่องจักรเตรียมเชื้อเพลิงทดแทนจาก กากอุตสาหกรรมประเภทของแข็ง (Solid Waste Pretreatment Plant) ทีโ่ รงงานปูนแกงคอย ของบริษัท เอสซีจี อีโค เซอรวิสเซส จํากัด รายการทีเ่ กิดขึน้ ในป 2552 ทัง้ หมด จํานวน 1 รายการขางตน แมวาจะเขาขายเปนรายการเกี่ยวโยงกัน แตไดรับยกเวนการ ปฏิ บั ติ ต ามประกาศคณะกรรมการตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย เรื่องการเปดเผยขอมูลและการปฏิบัติการของ บริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน เนื่องจาก 1. เปนการเขาทํารายการเกี่ยวโยงกันระหวางบริษั ทกับ บริ ษั ท ย อ ยที่ มี บุ ค คลเกี่ ย วโยงกั น ที่ ไ ม ใ ช บ ริ ษั ท จดทะเบียนถือหุนในบริษัทยอยไมเกินกวารอยละ 10 2. เปนการเขาทํารายการเกี่ยวโยงกันระหวางบริษั ทยอย ซึ่ ง บริ ษั ท ถื อ หุ น และมี บุ ค คลที่ เ กี่ ย วโยงกั น ที่ ไ ม ใ ช บริษัทถือหุนในบริษัทยอยไมเกินกวารอยละ 10 3. เปนการเขาทํารายการเกีย่ วโยงกันทีม่ มี ลู คารายการไม เกินรอยละ 0.03 ของสินทรัพยทมี่ ตี วั ตนสุทธิของบริษัท 4. เปนการเขาทํารายการเกี่ยวโยงกันระหวางบริษั ทหรือ บริษัทยอยกับบุคคลอืน่ ทีเ่ กีย่ วโยงกันทีเ่ ปนนิตบิ คุ คลซึง่ ผูมีอํานาจควบคุมที่บริษั ทหรือบริษั ทยอยในฐานะเปน ผูถือหุนของนิติบุคคลดังกลาวไดมอบหมายใหเขาไป ดูแลนิติบุคคลนั้นในฐานะที่บริษั ทหรือบริษั ทยอยเปน ผูถือหุน 5. เปนรายการที่เปนธรรมและไมกอใหเกิดการถายเท ผลประโยชน ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดใหความเห็นชอบการ สอบทานรายการเปดเผยขอมูลสารสนเทศและรายการเกีย่ วโยง ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รายการดังกลาวเปนไป ตามลักษณะธุรกิจปกติทว่ั ไป มีความสมเหตุสมผลของรายการ ราคาที่ทํารายการเปนราคาตลาดเทียบเทากับราคาที่ทํากับ บุคคลภายนอก โดยผานขัน้ ตอนการอนุมตั ิ และปฏิบตั ติ ามกฎหมาย วาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอบังคับ ประกาศ คําสัง่ หรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

63


¤³£ ³¤¤±¬¨m³ ² ¤±¬¨m³ ¤µª² º µ¾¢ q £ ˳ ² ¢¬³ ¤µª² ¿¦± ¤µª² £m®£ ² µ ³¤¬¤¸® ¹ ¦ ¶Æ®³ ¢¶ ¨³¢ ² ¿£n ¦² ª ±¤³£ ³¤

¤µª² ¨³¢«²¢ ² q

«² «m¨ ³¤ ¸®¬¹n À £ ¤ ®n®¢ ²Ç ¬¢ ¤n®£¦±

¤µª²

¢º¦ m³¤³£ ³¤¤±¬¨m³ ² ² ¦¹m¢ ¹¤ µ ¦n³ ³

¾®« ¶ ¶ ¾®« ¶ ¶ ¾®« ¶ ¶ ¾®« ¶ ¶ ¾®« ¶ ¶ ¾®« ¶ ¶ À£ ³£ ¾ ¢µ ®¦«q ¾ ¾ ®¤q µ¾¢ q ¦µ ¡² q µ« ¤µ µ¨ ²Æ ³¤¦ ¹ ³¤ µ ¤³ ³ m®«¤n³ ¿¦±®¸Æ Ä

¤³£ ³¤ ² ¤µª² ¤m¨¢ µ ³¤ ¶Æ®£ºm¡³£Á n®µ µ ¦®£m³ ¢¶ ²£«Ë³ ²é À £ ³¤¾ n³Â ¸®¬¹n ® ¤µª² ¿¦± ¤µª² £m®£

¤µª² ¤m¨¢Á ¾®« ¶ ¶ ¾ ¢µ ®¦«q ¤µª² ¤m¨¢Â n¤² ¤µ ³¤ ¿¦±®¸Æ Ä ³ ¦¹m¢ ¹¤ µ

¤µª² ¤m¨¢ ³£«µ n³ Á¬n ¦¹m¢ ¹¤ µ

¤µª² ¤m¨¢ ¸Ç®«µ n³ ³ ¦¹m¢ ¹¤ µ

/RQJ 6RQ 3HWURFKHPLFDOV &R /WG ¤µª² «£³¢ ¢µ ¹£ ¶ ¶¾® ˳ ² ¤µª² «£³¢À ¦µ¾® ¶¦¶ ˳ ² ¤µª² ¤±£® ¾ ®¤q¢µ ²¦ ˳ ² ¤µª²  £ ¾®Å¢¾®Å¢¾® ˳ ² ¤µª² ¿ ¤ q «£³¢ ®¢À «µ ˳ ² ¤µª²  £ ¾®Å¢¾® ¶ ˳ ² ¤µª² ¤¹ ¾ µ µ µ «q ˳ ² ¤µª²  £ ¾ Å ¾¤ µ ˳ ²

¤µª² «£³¢À ¦µ¾® ¶¦¶ ˳ ² 0HKU 3HWURFKHPLFDO &RPSDQ\ ¤µª² ¤¹ ¾ µ µ µ «q ˳ ² ¤µª² ¾ ¢µ ®¦ ˳ ² ¢¬³

¤µª²  £ ¾ Å ¾¤ µ ˳ ²

¤µª² «£³¢«Â ¤¶ À¢À ¾¢®¤q ˳ ² ¤µª² «£³¢À ¦µ¾® ¶¦¶ ˳ ² 6&* 3ODVWLFV &KLQD &R /LPLWHG ¤µª²  £ ¾®Å¢¾®Å¢¾® ˳ ² ¤µª² ¿ ¤ q «£³¢ ®¢À «µ ˳ ² ¤µª² ¤¹ ¾ µ µ µ «q ˳ ² ¤µª² ¾ ¢µ ®¦ ˳ ² ¢¬³

1DZDFDP &R /WG ¤µª² ¤µ¾ n  £¿¦ q ˳ ² ,QWHU 3ODVWLF &R /WG

¤µª² ¤m¨¢Â n¤² ³¤ Ç˳ ¤± ² ³ ¦¹m¢ ¹¤ µ 0HKU 3HWURFKHPLFDO &RPSDQ\ ¤µª²  £ ¾ Å ¾¤ µ ˳ ²

¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ®

¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ®

¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ®

m³ ¤¤¢¾ ¶£¢ ³¢«²éé³ ¶Æ ¦ ²

¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ®

¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ®

¤µª² ¤m¨¢Á ¾®« ¶ ¶ ¾ ¾ ®¤q ¤µª² ¤m¨¢ ¸Ç®«µ n³ ³ ¦¹m¢ ¹¤ µ

¤µª² «£³¢ ² ¿ ¾ µÇ ˳ ²

¤µª² ¤m¨¢Á ¾®« ¶ ¶ ¦µ ¡² q m®«¤n³ ¤µª² ¤m¨¢Â n¤² ¤µ ³¤ ¿¦±®¸Æ Ä ³ ¦¹m¢ ¹¤ µ

64

0DULZDVD 6LDP &HUDPLF ,QF ¤µª² «£³¢ ³ µ ³¤¶ c µÇ «q ˳ ² ¤µª² À À n ¿¢ º¿ ¾ ®¤µÆ ¤±¾ ©Â £ ˳ ² ¤µª² «£³¢ ³ µ ³¤¶¿¨¤q®µ ²« ¤¶ ˳ ² ¤µª² «£³¢ ³ µ ³¤¶¿¨¤q®µ ²« ¤¶ ¬ ® ¿ ˳ ² ¤µª² «£³¢®¹ «³¬ ¤¤¢£µ ²¢ «¤± ¹¤¶ ˳ ²


¦² ª ±¤³£ ³¤

¤µª² ¤m¨¢ ³£«µ n³ Á¬n ¦¹m¢ ¹¤ µ

¤µª² ¤m¨¢ ¸Ç®«µ n³ ³ ¦¹m¢ ¹¤ µ

¤µª² ¤m¨¢ ºn£¸¢¾ µ ³ ¦¹m¢ ¹¤ µ

¤µª² ¨³¢«²¢ ² q

¤µª² «£³¢ ³ µ ³¤¶ c µÇ «q ˳ ² ¤µª² «£³¢À¢¦ µÇ ¦³«¾ ®¤q ˳ ² ¤µª² «£³¢ ³ µ ³¤¶¿¨¤q®µ ²« ¤¶ ˳ ² ¤µª² «£³¢®¹ «³¬ ¤¤¢£µ ²¢ ˳ ² ¤µª² «£³¢®¹ «³¬ ¤¤¢£µ ²¢ «¤± ¹¤¶ ˳ ² ¤µª² «£³¢®¹ «³¬ ¤¤¢£µ ²¢ « ¦³ ˳ ² ¤µª² ¦³ ³¤q «£³¢ ¤º c} ˳ ²

0DULZDVD 6LDP &HUDPLF ,QF ¤µª² «£³¢À¢¦ µÇ ¦³«¾ ®¤q ˳ ² ¤µª² «£³¢ ³ µ ³¤¶¿¨¤q®µ ²« ¤¶ ˳ ² ¤µª² «£³¢ ³ µ ³¤¶¿¨¤q®µ ²« ¤¶ ¬ ® ¿ ˳ ² ¤µª² «£³¢®¹ «³¬ ¤¤¢£µ ²¢ «¤± ¹¤¶ ˳ ² ¤µª² «£³¢®¹ «³¬ ¤¤¢£µ ²¢ « ¦³ ˳ ²

0DULZDVD 6LDP &HUDPLF ,QF 37 0 &ODVV ,QGXVWU\

«² «m¨ ³¤ ¸®¬¹n À £ ¤ ®n®¢ ²Ç ¬¢ ¤n®£¦±

¤µª²

¢º¦ m³¤³£ ³¤¤±¬¨m³ ² ² ¦¹m¢ ¹¤ µ ¦n³ ³

¾®« ¶ ¶ ¾®« ¶ ¶ ¾®« ¶ ¶ ¾®« ¶ ¶ ¾®« ¶ ¶ ¾®« ¶ ¶ À£ ³£ ¾ ¢µ ®¦«q ¾ ¾ ®¤q µ¾¢ q ¦µ ¡² q µ« ¤µ µ¨ ²Æ ³¤¦ ¹ ³¤ µ ¤³ ³ m®«¤n³ ¿¦±®¸Æ Ä

¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ®

¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ®

®² ¤³ ® ¾ ¶Ç£ ³¢«²éé³ ¶Æ ¦ ²

¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ® ¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ® ¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ®

¤µª² ¤m¨¢Á ¾®« ¶ ¶ µ« ¤µ µ¨ ²Æ ¤µª² ¤m¨¢Á¬n ¤µ ³¤ ¿ m ¦¹m¢ ¹¤ µ ¤µª² ¤m¨¢Â n¤² ¤µ ³¤ ¿¦±®¸Æ Ä ³ ¦¹m¢ ¹¤ µ ¤µª² ¤m¨¢ ³£«µ n³ Á¬n ¦¹m¢ ¹¤ µ

¤µª² ²¢À n ³ «q ¿® q ² «q ˳ ²

¤µª²  £ ¤®«¾ ®¤µ ¶¾ ®¢µ ®¦ ˳ ²

*UHHQ 6LDP 5HVRXUFHV &RUSRUDWLRQ

¤µª² ¤m¨¢Á ¾®« ¶ ¶ ³¤¦ ¹ ¿¦±®¸Æ Ä ¤µª² ¤m¨¢Á¬n ¤µ ³¤ ¿ m ¦¹m¢ ¹¤ µ ¤µª² ¤m¨¢Â n¤² ¤µ ³¤ ¿¦±®¸Æ Ä ³ ¦¹m¢ ¹¤ µ

¤µª² ¤m¨¢ ³£«µ n³ Á¬n ¦¹m¢ ¹¤ µ

¤µª² ® ¶¨² ˳ ²

¤µª² «£³¢ ºÀ n³®¹ «³¬ ¤¤¢ ˳ ² ¤µª² «£³¢¾¦¢¾¢®¤q ˳ ² ¤µª² ¨À¦¬±Â £ ˳ ²

¤µª² «£³¢ ºÀ n³®¹ «³¬ ¤¤¢ ˳ ²

¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ® ¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ® ¤³ ³ ¦³ ¾ ¶£ ¾ m³ ² ¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ®

65


¦² ª ±¤³£ ³¤ลักษณะรายการ

¤µª² ¨³¢«² ¢ ² q บริษัท / ความสัมพันธ

«² «m¨ ¢º¦ m³¤³£ ³¤¤±¬¨m³ ² ² ¦¹m¢ ¹¤ µ ¦n³ ³

สัดสวน มูลคารายการระหวางกันกับกลุมธุรกิจ (ลานบาท) ³¤ ¸®การถื ¬¹n อหุน ¤µª² บริษัท ¾®« ¶เอสซี ¶ จี ¾®« ¶เอสซี ¶ จี ¾®« ¶ ¶ ¾®« ¶ ¶ ¾®« ¶ ¶ เอสซีจี เอสซีจี เอสซีจี À £ ¤ ®n ® ¢ ¾ ¢µ ®¦«q ¾ ¾ ®¤q µ ¾ ¢ q ¦µ ¡² q µ « ¤µ ¨ µ โดยตรง/ออม เคมิคอลส เปเปอร ซิเมนต ผลิตภัณฑ ดิสทริบิว ²ชัÆ ่น m®ก«¤n ²Ç ¬¢ ทั้งหมด อสร³ าง ¤n®£¦±

(รอยละ)

¤µª² ¤m¨¢ ¸Ç®«µบริ nษ³ัทรวมซื้อสินคา ³ ¦¹m¢ ¹¤ µ จากกลุมธุรกิจ โบตาอุตสาหกรรม ¤µª² «£³¢ ºบริ À nษัท³สยามคู ®¹ «³¬ ¤¤¢ Ë ³ ² จํากัด บริ ษ ท ั นวโลหะอุ ต สาหกรรม ¤µª² ¨À¦¬±®¹ «³¬ ¤¤¢ ˳ ² จํากัด บริษัทไอซิน³ ³¨ q ทาคาโอก ฟาวนดริ บางปะกง ¤µª² ® µ ³ ³À® n ¤µา ³ ± Ë ³ ² จํากัด บริ ษ ท ั นวโลหะไทย จํ า กั ด ¤µª² ¨À¦¬±Â £ ˳ ²

- - 21 5

¾®« ¶ ¶ À£ ³£ เอสซีจี นโยบาย ³¤¦ ¹ ³¤ µ ¤³ ³ การลงทุน การคิด ราคา ¿¦±®¸ Æ Ä และอื่นๆ

69 -

40 30 30 25

ราคาตลาด ¤³ ³ ¦³ เที¾ ¶ย£บเท ¾ mากั³บ ² ราคาที ¤³ ³ ¶่ทÆ ํากั˳บ ² บุ ¹ค คลภายนอก ¦¡³£ ®

หารของบริษัทและบริษัทยอยเปนกรรมการ ¤³£ ³¤ ²2. รายการกั ¤µª² บ®¸บริÆ ษ ¶ัทÆ¢อื่น¶ ทีºn ่มีผ¤µูบ¬ริ³¤ ® ¤µ ª² ¿¦± ¤µª² £m®£¾ | ¤¤¢ ³¤ 2.1 บริษัทอื่นในเอสซีจี การลงทุน และอื่นๆ

¤µª² ®¸Æ Á ¾®« ¶ ¶ ³¤¦ ¹ ¿¦±®¸Æ Ä บริษัทอื่นไดรับบริการ

¤µª² ®¸Æ  n¤² และอื ¤µ ³¤ ่นๆ จากกลุมธุรกิจ ¿¦±®¸Æ Ä ³ ¦¹m¢ ¹¤ µ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด ¤µª² ¾¬¦Å «£³¢£³¢³À ± Ë ³ ² เปนกรรมการผูจัดการ นายกิตติ สินสถาพรพงศ ³£ µ µ «µ นายดํ « ³ ¤ ©q ¾ | ¤¤¢ ³¤ º n ² ³¤ าริ ตันชีวะวงศ เปนกรรมการ ³£ ˳¤µ ² ¶นายเชาวลิ ¨±¨ ©q ¾ |ต เอกบุ ¤¤¢ ³¤ ตร เปนกรรมการ ³£¾ ³¨¦µ บริ ¾® ¹ ¤ ¾ | ษัทสยามฟู รูก าวา ¤¤¢ ³¤ จํากัด ¤µª² «£³¢ º¤º นายอธิ ³¨³ Ëธ³ร ²จิ ต รานนท เปนกรรมการผูจัดการ ³£® µ ¤ µ นายดํ ¤³ q ¤¤¢ ³¤ º n ² ³¤ าริ ตั ¾ | นชี วะวงศ เปนกรรมการ สยามโตโยต าอุตสาหกรรม จํากัด ³£ ˳¤µ ²บริ ¶ษ¨ัท±¨ ©q ¾ | ¤¤¢ ³¤ นายดํ³®¹าริ «³¬ ¤¤¢ Ë ตันชีวะวงศ เป³น ²รองประธาน ¤µª² «£³¢À À£ n ชาติ ¾ |อัง จั¤® ¤± ³ นทรเพ็ญ เปนกรรมการรองผูจัดการ ³£ ˳¤µ ² ¶นายพิ ¨±¨ ©q บริษัทอื่นขายสินค ³£ µ า ³ µ ®² ² ¤q¾ Åé ¾ | ¤¤¢ ³¤¤® ºn ² ³¤ ให ก ลุ ม  ธุ ร กิ จ ¤µª² ®¸Æ ³£«µ n³ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด Á¬n ¦¹m¢ ¹¤ µ นายกิตติ สินสถาพรพงศ ¤µª² ¾¬¦Å «£³¢£³¢³À ± Ë ³ ² เปนกรรมการผูจัดการ นายดําริ ตันชีวะวงศ เปนกรรมการ ³£ µ µ «µ « ³ ¤ ©q ¾ | ¤¤¢ ³¤ ºn ² ³¤ นายเชาวลิต เอกบุตร เปนกรรมการ ³£ ˳¤µ ² ¶¨±¨ ©q ¾ | ¤¤¢ ³¤ บริษัทอื่นซื้อสินคา ³£¾ ³¨¦µ ¾® ¹ ¤ ¾ | ¤¤¢ ³¤ จากกลุมธุรกิจ ¤µª² ®¸Æ ¸Ç®«µ n³ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด ³ ¦¹m¢ ¹¤ µ นายกิตติ สินสถาพรพงศ เปนกรรมการผูจัดการ ¤µª² ¾¬¦Å «£³¢£³¢³À ± Ë ³ ² เปนกรรมการ นายดําริ ตันชีวะวงศ ³£ µ µ «µ นายเชาวลิ « ³ ¤ ©q ¾ | n ² ³¤ ต เอกบุ ต ¤¤¢ ³¤ º ร เปนกรรมการ ³£ ˳¤µ ²บริ ¶ษ¨ัท±¨ ©q ¾ |รูก าวา ¤¤¢ ³¤ สยามฟู จํากัด ³£¾ ³¨¦µ ¾® ¹ ¤¤¢ ³¤ นายอธิ ธ¤ ¾ | ร จิต รานนท เปนกรรมการผูจัดการ ¤µª² «£³¢ º¤º นายดํ ³¨³ Ë าริ³ตั ²น ชี วะวงศ เปนกรรมการ ัทสยามยู ¾ | ไนเต็ ดสตีล (1995)n ² จํ ³¤ ากัด ³£® µ ¤ µบริ ษ¤³ q ¤¤¢ ³¤ º กดิ ์ ชาติ สุทธิผล เปนกรรมการรองผูจัดการ ³£ ˳¤µ ² ¶นายพยุ ¨±¨ ©qงศั ¾ | ¤¤¢ ³¤ ษัทสยามโตโยต าอุตสาหกรรม ¤µª² «£³¢£ºบริ  ¾ Å « ¶¦ Ë ³ ² จํากัด นายดํ า ริ ตั น ชี ว ะวงศ เป นรองประธาน n ² ³¤ ³£ £¹ ©² µÊ ³ µ«¹ µ ¦ ¾ | ¤¤¢ ³¤¤® º นายพิ ช าติ อั ง จั น ทร เ พ็ ญ ¤µª² «£³¢À À£ n³®¹ «³¬ ¤¤¢ ˳ ²เป นกรรมการรองผูจัดการ บริษัทอื่นใหเงินกูย ³£ Ë ืม ³¤µ ² ¶¨±¨ ©q ¾ | ¤® ¤± ³ แกกลุมธุรกิจ ³£ µ ³ µ ®² ² ¤q¾ Åé ¾ | ¤¤¢ ³¤¤® ºn ² ³¤ มูลนิธิซิเมนตไทย ¤µª² ®¸Æ Á¬n¾ µ ºn£¸¢ นายกานต ตระกูลฮุน เปนประธานกรรมการ ¿ m ¦¹m¢ ¹¤ µ นายขจรเดช แสงสุพรรณ เปนกรรมการ ¢º¦ µ µ µ¾¢ q £ นายปราโมทย เตชะสุพัฒนกุล เปนกรรมการ ³£ ³ q ¤± º ¦¯¹ ¾ | ¤± ³ ¤¤¢ ³¤ นายรุงโรจน รังสิโยภาส เปนกรรมการ ³£ ¤¾ ¿« «¹ ¤¤¢ ³¤ นายมนู ญ¤¤ ¾ | สรรคคุณ ากร เปนกรรมการ ³£ ¤³À¢ £qนายอนุ ¾ ±«¹ ² q ¦ ¹ ¾ | ¤¤¢ ³¤ วัฒน จงยินดี เปน กรรมการ ³£¤¹m À¤ q นายกิ ¤² «µÀต£¡³« ¾ | ¤¤¢ ³¤ ติ ตั้งจิตรมณีศักดา เปนกรรมการ ³£¢ ºé «¤¤ q ³ ¤ ¾ | นายลั ¹ กษณะน อย พึ ¤¤¢ ³¤ ่งรัศมี เปนกรรมการและเหรัญญิก ³£® ¹¨² q £µ ¶ ¾ | ¤¤¢ ³¤ ³£ µ µ ²Ç µ ¤¢ ¶©² ³ ¾ | ¤¤¢ ³¤ ³£¦² ª ± n®£ ·Æ ¤²©¢¶ ¾ | ¤¤¢ ³¤¿¦±¾¬¤²ééµ

66

-

4

-

288

-

-

-

10

43

276 ราคาตลาด

เที¤³ ³ ¦³ ยบเทากับ ¾ ¶£ ¾ m ราคาที ่ทํา³กั ²บ ¤³ ³ ¶ Æ Ë³ ² บุคคลภายนอก ¹ ¦¡³£ ®

5

4

10

-

-

1,089

-

ราคาตลาด เที¤³ ³ ¦³ ยบเทากับ ราคาที ่ทํา³กั ²บ ¾ ¶£ ¾ m บุ¤³ ³ ¶ คคลภายนอก Æ Ë³ ²

¹ ¦¡³£ ® 10

2

15

207

-

230

-

ราคาตลาด เทียบเทากับ ¤³ ³ ¦³ ราคาที ่ทํากับ £ ¾ m³ ² บุ¾ ¶คคลภายนอก

¤³ ³ ¶Æ ˳ ² ¹ ¦¡³£ ®

5

5

4 627

-

-

-

-

-

-

อัตราดอกเบี้ย ตามสัญญา ที่ตกลงกัน

®² ¤³ ® ¾ ¶Ç£ ³¢«²éé³ ¶Æ ¦ ²


9. ชองทางการเผยแพรขอมูลสารสนเทศ ของบริษัท เอสซีจีใหความสําคัญตอการเปดเผยขอมูลทีม่ คี วามถูกตอง ครบถวน โปรงใส ทันเวลา ทัง้ ขอมูลทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ นอกจากการเปดเผยขอมูลตามหนาที่ ภายใตขอ บังคับของกฎหมายแลวเอสซีจียังไดพัฒนาชองทางใน การสื่อสารขอมูลและขาวสารผานสื่อที่หลากหลายเพื่อเปน ประโยชนตอผูมีสวนเกี่ยวของ อาทิ • จัดใหมหี นวยงานนักลงทุนสัมพันธ เพือ่ เปนชองทางติดตอ โดยตรงกับนักลงทุนทัง้ ในประเทศและตางประเทศ • แถลงขาวผลการดําเนินงานประจําไตรมาส รวมทัง้ แถลงขาว โครงการลงทุนและกิจกรรมทีส่ าํ คัญของเอสซีจเี ปนประจํา • แถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสแกนักลงทุน และนักวิเคราะห • จัดกิจกรรมพบพนักงานเพื่อชี้แจงนโยบายและแนวทาง การดําเนินธุรกิจ • จัดกิจกรรมพบนักลงทุน และผูมีสวนเกี่ยวของ ทั้งใน ประเทศและตางประเทศ • บรรยายใหความรูในหัวขอตาง ๆ ในการสัมมนาระดับ ชาติและระดับนานาชาติ • จัดโครงการเยีย่ มชมกิจการและโรงงาน ใหแกผถู อื หุน นักลงทุน นักวิเคราะห นักวิชาการ ชุมชน สือ่ มวลชน และ ผูม สี ว นเกีย่ วของตาง ๆ • เผยแพรขา วผานสือ่ มวลชนในรูปแบบตาง ๆ อาทิ ขาวแจก ภาพขาว บทความ และสื่อโฆษณาตาง ๆ • จัดทําสิ่งพิมพและสื่ออื่นๆเพื่อเผยแพรขอมูลของเอสซีจี อาทิ รายงานประจําป รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน วารสารผูถือหุนกู วารสารลูกคา วารสารผูแทนจําหนาย และวารสารพนักงาน • เผยแพรขอ มูลขาวสารถึงพนักงานผานสือ่ อิเล็กทรอนิกส ตาง ๆ อาทิ อินทราเน็ต เว็บบอรด และอีเมล • เปดเผยขอมูลผานเว็บไซต www.scg.co.th

10. คาสอบบัญชี บริ ษั ท และบริ ษั ท ย อ ยจ า ยค า สอบบั ญ ชี ใ ห กั บ บริ ษั ท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด ซึ่งเปนสํานักงานสอบบัญชี ที่ผูสอบบัญชีประจําป 2552 สังกัด รวมทั้งบุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวของกับผูสอบบัญชีและสํานักงานสอบบัญชีท่ีผูสอบบัญชี สังกัดในรอบปบญ ั ชีที่ผานมามีจํานวนเงินรวม 30.54 ลานบาท ซึ่งไมรวมคาสอบบัญชีท่จี ายโดยบริษัทรวม ทั้งนี้ บริษั ทที่เปนสํานักงานสอบบัญชีและผูสอบบัญช ไมมีความสัมพันธ หรือสวนไดเสียใด ๆ กับบริษัท/ผูบริหาร/ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาว คาสอบบัญชี ประจําป 2552 1. คาสอบบัญชีงบการเงินเฉพาะบริษัท 2. คาสอบบัญชีประจําปและรายไตรมาส ของบริษัทยอย จํานวน 120 บริษัท และงบการเงินรวม รวมคาสอบบัญชี บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยทั้งหมด

240,000 บาท 30.30 ลานบาท 30.54 ลานบาท

คาบริการอื่นนอกเหนือจากคาสอบบัญชี บริษั ทยอยจายคาตอบแทนการตรวจสอบการปฏิบัติตาม เงื่อนไขของบัตรสงเสริมการลงทุนในรอบปที่ผานมาใหแก สํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัด บุคคลหรือกิจการ ที่เกี่ยวของกับผูสอบบัญชี และสํานักงานสอบบัญชีดังกลาว จํานวนเงินรวม 920,000 บาท

67


บุคคลอางอิง นายทะเบียนหุน ที่ต้งั โทรศัพท โทรสาร อีเมล เว็บไซต ผูสอบบัญชี

บริษัทศู​ูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด ชั้น 1 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 0-2229-2800 0-2359-1259 contact.tsd@set.or.th www.tsd.co.th

ที่ต้งั โทรศัพท โทรสาร

บริษัทเคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด โดย นายสุพจน สิงหเสนห (ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2826) และ/หรือ นายเจริญ ผูสัมฤทธิ์เลิศ (ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4068) 195 เอ็มไพรทาวเวอร ชั้น 50-51 ถนนสาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 0-2677-2000 0-2677-2222

ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ต้งั โทรศัพท โทรสาร

บริษัทกฎหมายเอสซีจี จํากัด เลขที่ 1 ถนนปูนซิเมนตไทย แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 0-2586-5777 หรือ 0-2586-5888 0-2586-2976

ผู​ูแทนผูถือหุนกู ที่ตั้ง โทรศัพท โทรสาร เว็บไซต

ธนาคารธนชาต จํากัด (มหาชน) เลขที่ 900 อาคารตนสนทาวเวอร ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 0-2655-9000 0-2655-9171 www.thanachartbank.com

68


งบการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ งบการเงินรวมบริษัทปูนซิเมนต ไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบการเงินบริษัทปูนซิเมนต ไทย จํากัด (มหาชน)

70 71 73 125

69


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูร บั ผิดชอบตองบการเงินของบริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ซึ่งจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย ภายใตพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 และตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย วาดวยการจัดทําและนําเสนอรายงาน ทางการเงิน ภายใตพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 โดยไดมกี ารพิจารณาเลือกใชนโยบาย การบัญชีทเ่ี หมาะสม และถือปฏิบตั อิ ยางสมํา่ เสมอ รวมทัง้ มีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน โดยผูสอบบัญชีไดตรวจสอบงบการเงิน และแสดงความเห็นในรายงานของผูสอบบัญชีแลว คณะกรรมการบริษั ททําหนาที่กํากับดูแลและพัฒนาบรรษั ทภิบาล รวมทั้งจัดใหมีและดํารงไวซึ่งระบบ การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน เพื่อใหมีความมั่นใจไดวามีการบัน ทึกขอมูลทางบัญชีถูกตอง ครบถวน ทั น เวลา และเพี ย งพอที่ จ ะดํ า รงรั ก ษาไว ซึ่ ง ทรั พ ย สิ น ตลอดจนป อ งกั นไม ใ ห เ กิ ด การทุ จ ริ ต หรื อ การดําเนินการทีผ่ ดิ ปกติอยางมีสาระสําคัญ โดยคณะกรรมการบริษัทไดแตงตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบดวย กรรมการที่เปนอิสระ ทําหนาที่กํากับดูแลงบการเงิน ประเมินระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการใชมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ระหวางประเทศ (International Financial Reporting Standards) โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ปรากฏในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งไดแสดงไวในรายงานประจําปนี้แลว คณะกรรมการบริษั ทมีความเห็นวาระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในของบริษั ท สามารถ สรางความเชื่อมั่นไดวา งบการเงินของบริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย แสดงฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดถูกตองในสาระสําคัญแลว

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานกรรมการ

70

กานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบตั หิ นาทีต่ ามทีค่ ณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายใหกาํ กับดูแลตามขอบังคับ วาดวยคณะกรรมการตรวจสอบ ทีส่ าํ คัญ ไดแก การสอบทานระบบรายงานทางการเงิน การสอบทานการกํากับ ดูแลกิจการทีด่ ี การสอบทานระบบการบริหารความเสีย่ ง การสอบทานระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน การสอบทานการตรวจสอบการทุจริต และการเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชีประจําป 2553 โดยในป 2552 มีการ ประชุมทั้งสิ้น 9 ครั้ง และคณะกรรมการตรวจสอบเขาประชุมรอยละ 94 สรุปสาระสําคัญในการปฏิบัติหนาที่ ไดดังนี้ 1. การสอบทานระบบรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานขอมูลที่เปนสาระสําคัญ ของงบการเงินรายไตรมาสและประจําป 2552 ของบริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของ บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย รวมกับผูส อบบัญชี ฝายจัดการ และผูอ าํ นวยการสํานักงาน ตรวจสอบ โดยไดสอบถามและไดรบั คําชีแ้ จงแสดงหลักฐานเกีย่ วกับขอมูลในการจัดทํางบการเงินตามขอกําหนดของ กฎหมายและมาตรฐานบัญชี รวมทั้งการเปดเผยหมายเหตุในงบการเงินอยางเพียงพอตามมาตรฐานบัญชี จนเปนทีน่ า พอใจ จึงไดใหความเห็นชอบในงบการเงินดังกลาว นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังไดประชุมรวมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุม เพื่อปรึกษาหารือกันอยางอิสระถึงขอมูลที่มีสาระสําคัญในการจัดทํางบการเงินและการเปดเผยขอมูลที่เปน ประโยชนกับผูใชงบการเงิน รวมทั้งขอมูลพฤติกรรมที่สอในทางทุจริตตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ซึง่ ในป 2552 ไมพบวามีการแจงพฤติกรรมดังกลาวจากผูส อบบัญชี สงผลใหการจัดทํา งบการเงินของบริษัท และงบการเงินรวมมีประสิทธิภาพประสิทธิผล มีความโปรงใส และตรวจสอบได นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังไดสอบทานการเตรียมความพรอมในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานบัญชี ซึ่ ง อิ ง ตาม International Financial Reporting Standards (IFRS) โดยบริ ษั ท มี ค วามพร อ มที่ จ ะ ดําเนินการตามมาตรฐานดังกลาวแลว 2. การสอบทานการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ไดสอบทานขอมูลการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณและบรรษัทภิบาลเอสซีจี ตามทีก่ าํ หนดไว พบวากรรมการบริษัทและพนักงานมีการดําเนินธุรกิจอยางมีคณ ุ ธรรม มีการปฏิบตั งิ านตามระบบงาน ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีอยางตอเนื่อง ในสวนทีเ่ กีย่ วกับจรรยาบรรณ พนักงานไดเขามาศึกษาและขอคําปรึกษาผานเว็บไซต จํานวน 7,665 ครัง้ และไมเกิดปญหาในเรือ่ งจรรยาบรรณทีเ่ ปน สาระสําคัญ นอกจากนี้ เอสซีจียังปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจอืน่ อยางเครงครัด โดยเฉพาะในเรือ่ งรายการ เกีย่ วโยงและรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ไดมกี ารตรวจสอบและจัดใหมกี ารรายงานของกรรมการ ทีเ่ กีย่ วของ และเปดเผยใหตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยทราบอยางทันเวลา ในป 2552 คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยรวม และประเมินตนเองซึ่งผลสรุปอยูในเกณฑเปนที่นาพึงพอใจมากใกลเคียงกับปที่แลว หัวขอที่ประเมิน ไดแก ความพรอมของกรรมการ การบริหารความเสี่ยง รายงานทางการเงิน การประชุมคณะกรรมการ และ การปฏิบัติหนาที่ของเลขานุการและสํานักงานตรวจสอบ 3. การสอบทานระบบการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานหลักการในคูมือระบบ การบริหารความเสีย่ งเปนประจําปในเรือ่ งขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน หนาทีแ่ ละวิธปี ฏิบตั งิ านของหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ในการจัดทํา Risk Analysis Document เพือ่ กําหนดปจจัยเสีย่ ง โอกาสทีจ่ ะเกิด ผลกระทบ การจัดการความเสีย่ ง และสัญญาณเตือนภัย และสอบทานการประเมินการบริหารความเสี่ยงตามคูมือที่กําหนดไวเปนรายไตรมาส สําหรับปจจัยความเสีย่ งและกลยุทธการจัดการความเสีย่ งทีส่ าํ คัญ ๆ ของกลุม ธุรกิจตาง ๆ ไดแสดงไวในรายงาน ประจําปแลว อนึ่ง การบริหารความเสี่ยงในแนวทางการพัฒนาสูความยั่งยืนนั้น บริษัทไดรับการประเมินระดับ Gold Class ในเรือ่ งการบริหารความเสีย่ งจาก Dow Jones Sustainability Indexs (DJSI) เปนปท่ี 2 ติดตอกัน

71


4. การสอบทานการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานผลการประเมิน ระบบการควบคุมภายใน ตามทีส่ าํ นักงานตรวจสอบไดรายงานเปนรายไตรมาส โดยผลการประเมินพบวาเหมาะสม กับการดําเนินธุรกิจ และในปน้ไี ดมกี ารพัฒนาขอกําหนดการควบคุมภายใน และคูม อื ปฏิบตั งิ านไวเปนมาตรฐานเดียวกัน เพือ่ ใชในแตละกลุม ธุรกิจ รวมทัง้ ไดนาํ หลักการ Total Quality Management มาปรับเขากับระบบการควบคุม ภายในของบริษัท กอใหเกิดผลการดําเนินงานและฐานะการเงินที่มั่นคงและเติบโตได นอกจากนี้ ฝายจัดการยังได เสนอรายงานการประเมินผลระบบการควบคุมภายในที่มีผลกระทบตองบการเงิน โดยเสนอใหคณะกรรมการ ตรวจสอบพิจารณาสอบทานเปนประจําทุกป และผูส อบบัญชีกม็ คี วามเห็นสอดคลองกันวาไมพบจดออนทีเ่ ปนสาระสําคัญ ซึง่ จะมีผลกระทบกับงบการเงินของบริษัท ในดานการสอบทานการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานการปฏิบัติงานของสํานักงาน ตรวจสอบตามแผนงานระยะปานกลางและแผนงานประจําปที่ไดรับอนุมัติแลว จากผลการสอบทานพบวาไดบรรลุ เปาหมายตามทีก่ าํ หนดไว นอกจากนี้ ยังไดสอบทานความเหมาะสมของผังการบริหารงาน กําลังพล และงบประมาณ ลงทุนและบริหารเปนประจําทุกป 5. การสอบทานการตรวจสอบการทุจริต คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานผลการตรวจสอบการทุจริต เปนรายไตรมาส สรุปแลวมีการทุจริตจํานวน 12 เรือ่ ง และมูลคาทีเ่ สียหายไมเปนสาระสําคัญ และไดใหความเห็น ในการปรับปรุงแกไขแลว นอกจากนี้ ยังไดสอบทานระบบงานที่ใชในการปองกันความเสีย่ งจากการทุจริต การตรวจสอบ ทุจริตตามการประเมินความเสีย่ ง ระเบียบการสอบสวนใหความเปนธรรมกับพนักงาน รวมทั้งมาตรการแกไขปองกัน ให มี ก ารปฏิ บั ติ อ ย า งสมํ่ า เสมอ อนึ่ ง ระบบข อ ร อ งเรี ย นที่ ใ ห พ นั ก งานมี สว นร ว มในการแจ ง เบาะแสของ ผูกระทําความผิดในป 2552 มีขอรองเรียนทั้งสิ้น 11 เรื่อง ตรวจสอบแลวมีความผิดจริงแตเปนเรื่องที่ ไ มมี ผลกระทบสําคัญ 7 เรื่อง เปนความเขาใจผิดของผูรองเรียน 2 เรื่อง และอยูระหวางสอบสวน 2 เรื่อง นอกจากนี้ ยังไดมกี ารพิจารณาและใหความเห็นในเรือ่ งเกีย่ วกับอดีตพนักงานรายหนึง่ ซึง่ ไดลกั ทรัพย (แบบฟอรมใบหุน สามัญ ของบริษัท) และปลอมแปลงใบหุนของผูถือหุนรายหนึ่ง โดยใหมีการเปดเผยขอเท็จจริงกับตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยทราบและพิจารณาใหความเปนธรรมกับผูถือหุนที่เสียหายโดยคํานึงถึงผูถือหุนสวนใหญดวย ทั้งนี้ ขอสรุปจึงเสนอใหรอการพิจารณาคดีของศาลสิ้นสุดกอน 6. การพิจารณาแตงตั้งผูสอบบัญชีประจําป 2553 ในป 2551 บริษัทเคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด ไดรับ คัดเลือกแตงตั้งเปนผูสอบบัญชีของบริษัท จากขอเสนอของผูสอบบัญชีชั้นนําที่ไดรับเชิญ 5 ราย เปนระยะเวลา 3 ป ตัง้ แต 2552 - 2554 ดังนัน้ เมือ่ พิจารณาจากผลการปฏิบตั งิ านสอบบัญชีและการสอบทานคุณสมบัตผิ สู อบบัญชีแลว คณะกรรมการตรวจสอบจึงมีมติใหเสนอแนะตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อขออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนแตงตั้ง นายสุพจน สิงหเสนห ผูส อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 2826 และ/หรือนายเจริญ ผูส มั ฤทธิเ์ ลิศ ผูส อบบัญชีรบั อนุญาต เลขที่ 4068 และ/หรือนางศิรเิ พ็ญ สุขเจริญยิง่ ยง ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3636 แหงบริษัทเคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด เปนผูสอบบัญชีของบริษัทประจําป 2553 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

พลอากาศเอก

กําธน สินธวานนท ประธานกรรมการตรวจสอบ

72


งบการเงินรวม

บริษัทปูนซิเมนต ไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผูถือหุนบริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบกําไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลง สวนของผูถ อื หุน รวมและงบกระแสเงินสดรวมสําหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกันของบริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ซึง่ ผูบ ริหารของกิจการเปนผูร บั ผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา งบการเงินรวมสําหรับปสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ของบริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีอื่น ซึ่งแสดงความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 25 กุมภาพันธ 2552 ขาพเจาไดปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป ซึง่ กําหนดใหขา พเจาตองวางแผนและ ปฏิบตั งิ านเพือ่ ใหไดความเชือ่ มัน่ อยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เปนจํานวนเงินและการเปดเผย ขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับ รายการทางการเงินที่เปนสาระสําคัญซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทําขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสม ของการแสดงรายการทีน่ าํ เสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชือ่ วาการตรวจสอบดังกลาวใหขอ สรุปทีเ่ ปนเกณฑ อยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนีแ้ สดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผลการดําเนินงานรวม และกระแสเงินสดรวมสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษั ทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และบริษั ทยอย โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

สุพจน สิงหเสนห ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 2826 บริษัทเคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 24 กุมภาพันธ 2553

73


<EVKS9=[;.V_C;7 c9D +lT$S6 ¥CMT-;¦ `GR<EVKS9D OD *<6ZGEIC

¨² ¶Æ ² ¨³ ¢ ¿¦± ¬ m¨£ ² ³

«µ ¤² £q «µ ¤² £q¬¢¹ ¾¨¶£ ¾ µ « ¿¦±¤³£ ³¤¾ ¶£ ¾ m³¾ µ « ¦º ¬ ¶Ç¿¦± ²É¨¾ µ ¤² ³¤ n³ µ ³¤ ¶Æ¾ ¶Æ£¨ n® ² ¤µª² ²Æ¨Â ¦º ¬ ¶Ç¿¦±¾ µ Á¬n ºn£¸¢¤±£±«²Ç ¿ m µ ³¤ ¶Æ¾ ¶Æ£¨ n® ² «µ n³ ¾¬¦¸® «µ ¤² £q¬¢¹ ¾¨¶£ ®¸Æ ¤¨¢«µ ¤² £q¬¢¹ ¾¨¶£ «µ ¤² £q¢m¬¢¹ ¾¨¶£ ¾ µ ¦ ¹ Á ¤µª² ¤m¨¢ ¾ µ ¦ ¹ Á µ ³¤ ¶Æ ¨ ¹¢¤m¨¢ ² ¾ µ ¦ ¹ ¤±£±£³¨®¸Æ ¾ µ Á¬n ºn£¸¢¤±£±£³¨¿ m µ ³¤ ¶Æ¾ ¶Æ£¨ n® ² ¾ µ Á¬n ºn£¸¢¤±£±£³¨¿ m ¤µª² ®¸Æ ¶Æ µ ®³ ³¤¿¦±®¹ ¤ q «µ ¤² £q¢m¢¶ ²¨ «µ ¤² £q¡³ª¶¾ µ  n¤® ³¤ ² ²é ¶ «µ ¤² £q¢m¬¢¹ ¾¨¶£ ®¸Æ ¤¨¢«µ ¤² £q¢m¬¢¹ ¾¨¶£ ¤¨¢«µ ¤² £q

¬¢³£¾¬ ¹

ในนามคณะกรรมการ

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานกรรมการ ¬¢³£¾¬ ¹ ¤± ® ³¤¾ µ ¾ | «m¨ ¬ ·Æ ® ³¤¾ µ ¶Ç 74

กานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ


<EVKS9=[;.V_C;7 c9D +lT$S6 ¥CMT-;¦ `GR<EVKS9D OD *<6ZGEIC

¨² ¶Æ ² ¨³ ¢ ¿¦± ¬ m¨£ ² ³

¬ ¶Ç«µ ¿¦±«m¨ ® ºn ¸®¬¹n

¬¢³£¾¬ ¹

¬ ¶Ç«µ ¬¢¹ ¾¨¶£ ¾ µ ¾ µ ¾ µ ²é ¶¿¦±¾ µ ºn£¸¢¤±£±«²Ç ³ « ³ ² ³¤¾ µ ¾ n³¬ ¶Ç ³¤ n³ µ ³¤ ¶Æ¾ ¶Æ£¨ n® ² ¤µª² ²Æ¨Â ¬ ¶Ç«µ ¤±£±£³¨«m¨ ¶Æ · ˳¬ ˳¤±¡³£Á ¬ ·Æ d

¬¹n ºn«m¨ ¶Æ · ˳¬ ˳¤±¡³£Á ¬ ·Æ d

¾ n³¬ ¶Ç¿¦±¾ µ ºn£¸¢¤±£±«²Ç ³ µ ³¤ ¶Æ¾ ¶Æ£¨ n® ²

m³Á n m³£ n³ m³£

¡³ª¶¾ µ  n n³ m³£

¬ ¶Ç«µ ¬¢¹ ¾¨¶£ ®¸Æ

¤¨¢¬ ¶Ç«µ ¬¢¹ ¾¨¶£

¬ ¶Ç«µ ¢m¬¢¹ ¾¨¶£ ¾ µ ¹ «Ë³¤® ¾¦¶Ç£ ¶ ² ³

¬ ¶Ç«µ ¤±£±£³¨

¬¹n ºn

¬ ¶Ç«µ ¡³ª¶¾ µ  n¤® ³¤ ² ²é ¶

¬ ¶Ç«µ ¢m¬¢¹ ¾¨¶£ ®¸Æ

¤¨¢¬ ¶Ç«µ ¢m¬¢¹ ¾¨¶£

¤¨¢¬ ¶Ç«µ

¬¢³£¾¬ ¹ ¤± ® ³¤¾ µ ¾ | «m¨ ¬ ·Æ ® ³¤¾ µ ¶Ç 75


<EVKS9=[;.V_C;7 c9D +lT$S6 ¥CMT-;¦ `GR<EVKS9D OD *<6ZGEIC

¨² ¶Æ ² ¨³ ¢ ¿¦± ¬ m¨£ ² ³

¬ ¶Ç«µ ¿¦±«m¨ ® ºn ¸®¬¹n

¬¢³£¾¬ ¹

¹ ±¾ ¶£

¹ ¶Æ®® ¿¦± ˳¤±¿¦n¨

«m¨ ® ºn ¸®¬¹n ¹ ¾¤¸® ¬¹n

¦ ³ ¹ ¶Æ£² ¢m¾ µ ·Ç ¤µ ³¤¾ ¦¶Æ£ ¿ ¦ Á ¢º¦ m³£¹ µ ¤¤¢ ® ¾ µ ¦ ¹ ¦ m³ ³ ³¤¿ ¦ m³ ³¤¾ µ

«m¨  n¾«¶£Á ¤µª² ¤m¨¢

«µ µ¿ ¦ «¡³ ® ¬¹n ºn n®£«µ µ ® ¤µª² £m®£ «m¨ ¶Æ¾ | ® ºn ¸®¬¹n «m¨ n®£

¤¨¢«m¨ ® ºn ¸®¬¹n

¤¨¢¬ ¶Ç«µ ¿¦±«m¨ ® ºn ¸®¬¹n

˳¤«±«¢ ² «¤¤¿¦n¨ ¹ «Ë³¤® ³¢ ¬¢³£ ¹ «Ë³¤® ²Æ¨Â £² ¢m n ² «¤¤ ³ ³¤ ˳¾ µ ³ ® ¤µª² ¤µª² £m®£¿¦± ¤µª² ¤m¨¢ ¤¨¢«m¨ ® ºn ¸®¬¹n ¾ ³± ¤µª² «m¨ ® ºn ¸®¬¹n «m¨ n®£ ³ ¹ ¦ ³¤ ˳¾ µ ³ ¿¦±®¸Æ Ä

¬¢³£¾¬ ¹ ¤± ® ³¤¾ µ ¾ | «m¨ ¬ ·Æ ® ³¤¾ µ ¶Ç 76


<EVKS9=[;.V_C;7 c9D +lT$S6 ¥CMT-;¦ `GR<EVKS9D OD *<$lTcE%T69Z;EIC

«Ë³¬¤² ¿ m¦± d«µÇ «¹ ¨² ¶Æ ² ¨³ ¢ ¿¦± ¬ m¨£ ² ³

¬¢³£¾¬ ¹ ³£«¹ µ n ¹ ³£ ˳¤ ²Ç n ¤³£Â n®¸Æ ˳¤ m® m³Á n m³£ m³Á n m³£Á ³¤ ³£ m³Á n m³£Á ³¤ ¤µ¬³¤ m³ ® ¿ ¤¤¢ ³¤ ¤¨¢ m³Á n m³£ ˳¤ ³ ³¤ ˳¾ µ ³ ˳¤ ³ ¹ ³ ³¤ ³£¾ µ ¦ ¹ ¿¦±«µ ¤² £qÁ ³¤ ¤² À ¤ «¤n³ ³ ¹¤ µ m³¾ ¸Æ® ³¤ n®£ m³ ® ¾ µ ¦ ¹ ¿¦±®¸Æ Ä «m¨ ¿ m ˳¤ ³ ¾ µ ¦ ¹ Á ¤µª² ¤m¨¢¿¦± µ ³¤ ¶Æ ¨ ¹¢¤m¨¢ ² ˳¤ m® n ¹ ³ ³¤¾ µ ¿¦±¡³ª¶¾ µ  n n ¹ ³ ³¤¾ µ ˳¤ m® ¡³ª¶¾ µ  n ¡³ª¶¾ µ  n ˳¤«¹ µ ³¤¿ m z ˳¤ ³ ¹

«m¨ ¶Æ¾ | ® ºn ¸®¬¹n ¤µª² Á¬ém «m¨ ¶Æ¾ | ® ºn ¸®¬¹n «m¨ n®£ ˳¤ m®¬¹n ²Ç ¸Ç ³ ³

«m¨ ¶Æ¾ | ® ºn ¸®¬¹n ¤µª² Á¬ém

ในนามคณะกรรมการ

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานกรรมการ

กานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ

¬¢³£¾¬ ¹ ¤± ® ³¤¾ µ ¾ | «m¨ ¬ ·Æ ® ³¤¾ µ ¶Ç 77


บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวม

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

หมายเหตุ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ผลขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง เงินลงทุนเผื่อขาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน สิทธิแปลงสภาพของหุนกูดอยสิทธิของบริษัทยอย สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย รายได (คาใชจาย) สุทธิของรายการที่รับรู โดยตรงในสวนของผูถือหุน กําไร (ขาดทุน) สุทธิ รวมสวนของรายไดและคาใชจายที่รับรู เงินปนผล สวนของผูถือหุนสวนนอยเพิ่มขึ้น ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ผลกําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริง เงินลงทุนเผื่อขาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน รายได (คาใชจาย) สุทธิของรายการที่รับรู โดยตรงในสวนของผูถือหุน กําไรสุทธิ รวมสวนของรายไดและคาใชจายที่รับรู โอนไปทุนสํารองตามกฎหมาย เงินปนผล สวนของผูถือหุนสวนนอยเพิ่มขึ้น ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

1,200,000

17

32

(754)

(697,674)

200,344

-

(305) -

48,828

(476,194) 5,027

-

-

-

-

1,200,000

(305) (305) (1,059)

48,828 48,828 (648,846)

(471,167) (471,167) (270,823)

1,200,000

(1,059)

(648,846)

(270,823)

164 -

(597,392)

202,634 (75,448)

164 (597,392) 164 (597,392) (895) (1,246,238)

127,186 127,186 (143,637)

-

20 32

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 78

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

ผลกําไร (ขาดทุน) ที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ผลตาง ผลตาง จากการ จากการ เปลี่ยนแปลงใน แปลงคา สวนไดเสีย มูลคายุติธรรม งบการเงิน ในบริษัทรวม

1,200,000


หนวย: พันบาท

สิทธิแปลงสภาพ กําไรสะสม จัดสรรแลว ของหุนกูดอยสิทธิ ยังไมไดจัดสรร ของบริษัทยอย จากการดําเนินงาน รวมสวนของ สวนที่เปนของ ทุนสํารอง ทุนสํารอง ของบริษัท บริษัทยอย ผูถอื หุน สวนของผูถือหุน รวมสวน ผูถือหุนสวนนอย ตามกฎหมาย ทั่วไป และบริษัทรวม เฉพาะบริษัท สวนนอย ของผูถือหุน -

120,000

10,516,000

-

-

-

-

(476,499) 53,855

3,946

-

-

-

3,946

3,946 3,946 3,946

120,000

10,516,000

(418,698) 16,770,606 16,770,606 16,770,606 16,351,908 (15,503,420) (15,503,420) 76,300,529 87,219,747

128,360 (290,338) (364,629) 16,405,977 (236,269) 16,115,639 (1,265,502) (16,768,922) 3,162,574 3,162,574 24,128,612 111,348,359

3,946

120,000

10,516,000

76,300,529

24,128,612 111,348,359

-

-

3,946

40,000 160,000

10,516,000

75,033,343

-

86,371,259

87,219,747 202,798 (672,840)

(470,042) 24,345,502 24,345,502 24,345,502 23,875,460 (40,000) (6,585,220) (6,585,220) 94,020,811 104,509,987

22,467,809 108,839,068 128,360 -

(221,402)

(476,499) 182,215 3,946

202,798 (894,242)

(221,402) (691,444) 3,823,492 28,168,994 3,602,090 27,477,550 (1,044,126) (7,629,346) 224,891 224,891 26,911,467 131,421,454

79


บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หนวย: พันบาท

2552

2551

28,168,994

16,405,977

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิ รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่ยังไมเกิดขึ้น คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อมูลคาสินคาลดลง สินคาลาสมัยและเคลื่อนไหวชา (กลับรายการ) คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น ขาดทุน (กําไร) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนและอื่นๆ คาความนิยมติดลบ ขาดทุน (กําไร) จากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ รายไดเงินปนผล สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ภาษีเงินได กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน

12,207,604 (432,462) 5,939,723 256,006 57,669 (128,535) 52,882

12,188,057 (393,107) 5,984,790 518,201 28,028 473,762 -

51,905 (39,487) (1,083,679) (7,200,025) 5,168,476 43,019,071

(369,381) (87,431) 3,426 (1,442,529) (4,668,536) 4,561,582 33,202,839

สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคา ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) - สุทธิ

(3,442,477) 84,956 (265,944) 1,011,655 (65,771) (2,677,581)

7,090,258 (267,628) 7,368,387 190,536 (621,458) 13,760,095

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 80


บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หนวย: พันบาท

หมายเหตุ หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจาหนี้การคา เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน คาใชจายคางจายและหนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ

2552

2551

4,697,602 (84,810) 2,130,457 14,331 47,355 6,804,935

(11,993,646) 8,952 685,359 32,530 151,709 (11,115,096)

เงินสดรับจากการดําเนินงาน จายภาษีเงินได

47,146,425 (4,180,058)

35,847,838 (5,040,648)

เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน

42,966,367

30,807,190

382,908 4,232,156 (5,423,273)

356,222 7,568,814 (3,630,899)

34,161 (39,383) (155,276) (160,498)

(774,665) (9,282) (101,361) (885,308)

เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน รับชําระจากเงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน

147,624 (28,829,172) 275,790 (188,563) (354,510)

640,002 (35,509,546) 695,341 (188,076) 2,265,197 477,715

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน

(29,917,538)

(28,210,538)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปนผล เงินลงทุนในบริษัทรวม กิจการที่ควบคุมรวมกันและบริษัทอื่น เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินสดรับ (จาย) สุทธิจากการไดมาซึ่งบริษัทยอย สวนเกินกวามูลคาสุทธิของบริษัทยอย ผลประโยชนของผูถือหุนสวนนอย เงินลงทุนในบริษัทยอยเพิ่มขึ้น - สุทธิ

4

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 81


บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสดรวม

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หนวย: พันบาท

2552

2551

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูยืม จายดอกเบี้ย เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับ (จาย) จากเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดรับจากหนี้สินระยะยาว เงินสดจายชําระหนี้สินระยะยาว เงินสดจายชําระหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน เงินสดรับจากการออกหุนกู เงินสดจายจากการไถถอนหุนกู เงินสดรับ (จาย) จากการถือหุนกูโดยบริษัทยอย

(7,198,877) (7,477,262) (69,227) 13,294,920 (7,129,929) (66,505) 29,929,000 (24,789,320) 119,501

(5,905,604) 5,773,848 580,465 24,805,554 (5,979,991) (294,583) 39,977,593 (24,762,385) (192,900)

(3,387,699)

34,001,997

เงินปนผลจายของบริษัทใหญ เงินปนผลจายของบริษัทยอยใหแกผูถือหุนสวนนอย

(6,585,220) (931,889)

(15,503,420) (1,299,270)

รวมจายเงินปนผล

(7,517,109)

(16,802,690)

79,362

2,771,900

เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน

(10,825,446)

19,971,207

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น - สุทธิ

2,223,383

22,567,859

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป

26,713,731

4,145,872

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป

28,937,114

26,713,731

2,139,065

4,437,222

เงินกูยืมเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ จายเงินปนผล

สวนของผูถือหุนสวนนอยเพิ่มขึ้นจากการเพิ่มทุน

ขอมูลงบกระแสเงินสดเปดเผยเพิ่มเติม รายการที่ไมใชเงินสด เจาหนี้การซื้อสินทรัพยคงคาง

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 82


บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39

สารบัญ ขอมูลทั่วไป เกณฑการจัดทํางบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สําคัญ การเปลี่ยนแปลงสถานะเปนบริษัทยอย การซือ้ ธุรกิจและการขายเงินลงทุน รายการที่เกิดขึน้ และยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกีย่ วของกัน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคา สินคาคงเหลือ เงินลงทุนในบริษทั รวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี) สินทรัพยไมหมุนเวียนอืน่ เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน หนี้สินระยะยาว หุนกู หนี้สินไมหมุนเวียนอืน่ ทุนเรือนหุน สํารอง ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน ผลการดําเนินงานของกลุมธุรกิจ คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนกรรมการ รายไดอนื่ คาใชจายพนักงาน ตนทุนทางการเงิน ภาษีเงินได กําไรตอหุนขั้นพืน้ ฐาน สัญญา เงินปนผลจาย เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันและหนี้สินทีอ่ าจเกิดขึน้ การบริหารจัดการสวนทุน เรื่องอืน่ ๆ เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการบัญชีไทยทีย่ ังไมไดใช การจัดประเภทรายการใหม

หนา 84 87 88 95 97 100 100 101 101 104 105 106 106 107 107 107 109 110 110 110 110 112 114 114 115 115 115 115 116 116 116 117 117 121 122 123 123 124 124

83


หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการตรวจสอบตามการมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2553 1

ขอมูลทั่วไป บริษั ทปูน ซิเ มนต ไทย จํา กัด (มหาชน) “บริ ษัท” เป นนิติ บุคคลที่จั ดตั้ งขึ้น ในประเทศไทย และที่ อยูจ ดทะเบี ยนตั้ ง อยู เลขที่ 1 ถนนปูนซิเมนตไทย บางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 ประเทศไทย บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2518 บริษัทและบริษัทยอย “กลุมบริษัท” เปนกลุมอุตสาหกรรมที่ใหญที่สุดของประเทศไทย และเปนผูนําตลาดในแตละธุรกิจ ที่ประกอบการ ธุรกิจหลักที่ดําเนินงาน ไดแก ธุรกิจเคมีภัณฑ ธุรกิจกระดาษ ธุรกิจซิเมนต การดําเนินงานอื่นรวมถึง ธุรกิจ ผลิตภัณฑกอสราง ธุรกิจจัดจําหนาย และธุรกิจการลงทุน รายละเอียดบริษัทยอยที่มีผลการดําเนินงานเปนสาระสําคัญที่นํามาจัดทํางบการเงินรวมมีดังตอไปนี้ สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ)

เอสซีจี เคมิคอลส บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จํากัด บริษัทไทยโพลิเอททีลีน จํากัด บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน จํากัด บริษัทเอสซีจี พลาสติกส จํากัด บริษัทเอสซีจี เพอรฟอรมานซ เคมิคอลส จํากัด บริษัทเอสซีจี โพลิโอเลฟนส จํากัด บริษัทระยองวิศวกรรมและซอมบํารุง จํากัด บริษัทโปรเทค เอาทซอสซิง่ จํากัด บริษัทอาร ไอ แอล 1996 จํากัด บริษัทวีนา เอสซีจี เคมิคอลส จํากัด SCG Chemicals (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) Tuban Petrochemicals Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) Hexagon International, Inc. (จดทะเบียนในประเทศสหรัฐอเมริกา) บริษัทระยองไปปไลน จํากัด บริษัทมาบตาพุด แทงค เทอรมินลั จํากัด PT. TPC Indo Plastic & Chemicals (จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย) Alliance Petrochemical Investment (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) เอสซีจี เปเปอร บริษัทเอสซีจี เปเปอร จํากัด (มหาชน) บริษัทผลิตภัณฑกระดาษไทย จํากัด บริษัทกระดาษสหไทย จํากัด (มหาชน) บริษัทสยามคราฟทอุตสาหกรรม จํากัด

84

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 91 81 78

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ)

เอสซีจี เคมิคอลส บริษัทมาบตาพุดโอเลฟนส จํากัด บริษัทระยองโอเลฟนส จํากัด Rayong Olefins (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) บริษัทโฟลวแล็บ แอนด เซอรวิส จํากัด บริษัทไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ จํากัด (มหาชน) บริษัททีพีซี เพสต เรซิน จํากัด บริษัทนวพลาสติกอุตสาหกรรม (สระบุรี) จํากัด บริษัทนวพลาสติกอุตสาหกรรม จํากัด บริษัทนวอินเตอรเทค จํากัด Chemtech Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) บริษัทโทเทิลแพลนทเซอรวิส จํากัด Minh Thai House Component Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) Viet-Thai Plastchem Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) TPC Vina Plastic and Chemicals Corporation Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) บริษัทสยามสเตบิไลเซอรส แอนด เคมิคอลส จํากัด

67 64 64 51 46 46 46 46 46 46 46 37 33 32 27

68 98 98 98 98

เอสซีจี เปเปอร บริษัทอุตสาหกรรมกระดาษคราฟทไทย จํากัด บริษัทกระดาษสหไทยอุตสาหกรรม จํากัด United Pulp and Paper Co., Inc. (จดทะเบียนในประเทศฟลิปปนส)

98 98 98


สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ)

เอสซีจี เปเปอร บริษัทสยามเซลลูโลส จํากัด บริษัทอินโฟเซฟ จํากัด บริษัทเยื่อกระดาษสยามโฮลดิ้ง จํากัด บริษัทสยามฟอเรสทรี จํากัด บริษัทพนัสนิมิต จํากัด บริษัทไทยพนาสณฑ จํากัด บริษัทไทยพนาดร จํากัด บริษัทไทยพนาราม จํากัด บริษัทสวนปารังสฤษฎ จํากัด บริษัทสยามพนาเวศ จํากัด บริษัทไทยพนาบูรณ จํากัด บริษัทไทยวนภูมิ จํากัด บริษัทฟนิคซ พัลพ แอนด เพเพอร จํากัด (มหาชน) บริษัทฟนิคซ ยูทลิ ิตี้ จํากัด บริษัทไทยเคนเปเปอร จํากัด (มหาชน) เอสซีจี ซิเมนต บริษัทเอสซีจี ซิเมนต จํากัด บริษัทผลิตภัณฑและวัตถุกอสราง จํากัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (แกงคอย) จํากัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทาหลวง) จํากัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทุง สง) จํากัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (ลําปาง) จํากัด บริษัทสยามมอรตาร จํากัด บริษัทสยามปูนซิเมนตขาว จํากัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จํากัด บริษัทอนุรักษพลังงานซิเมนตไทย จํากัด บริษัทเอสซีไอ แพลนท เซอรวิสเซส จํากัด บริษัทสยามวิจยั และนวัตกรรม จํากัด บริษัทเอสซีไอ อีโค เซอรวิสเซส จํากัด CPAC Concrete Products (Cambodia) Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศกัมพูชา) เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง จํากัด บริษัทกระเบือ้ งกระดาษไทย จํากัด บริษัทผลิตภัณฑกระเบื้อง (ลําปาง) จํากัด บริษัทกระเบือ้ งทิพย จํากัด บริษัทเอสซีจี แลนดสเคป จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัทผลิตภัณฑคอนกรีตซีแพค จํากัด”) บริษัทสยามไฟเบอรกลาส จํากัด บริษัทยิปซัมซิเมนตไทย จํากัด

98 98 98 98 98 98 98 98 98 98 98 98 98 98 85 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ)

เอสซีจี เปเปอร บริษัทกลุมสยามบรรจุภัณฑ จํากัด บริษัทสยามบรรจุภัณฑสงขลา (1994) จํากัด บริษัทไทยคอนเทนเนอรขอนแกน จํากัด บริษัทไทยคอนเทนเนอรระยอง จํากัด บริษัทไทยคอนเทนเนอรสระบุรี จํากัด บริษัทไทยคอนเทนเนอร (ทีซีซี) จํากัด Vina Kraft Paper Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) TCG Rengo Subang (M) Sdn. Bhd. (จดทะเบียนในประเทศมาเลเซีย) TCG Rengo (S) Limited (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) บริษัทไทยบริติชซีเคียวริตี้ พริ้นติง้ จํากัด (มหาชน) บริษัทไทยบริติช ดีโพสต จํากัด เอสซีจี ซิเมนต Cementhai Building Materials (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) PT. Semen Jawa (จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย) Kampot Cement Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศกัมพูชา) CPAC Lao Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศลาว) Myanmar CPAC Service Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศพมา) CPAC Cambodia Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศกัมพูชา) Kampot Land Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศกัมพูชา) เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง บริษัทเซรามิคซิเมนตไทย จํากัด บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จํากัด บริษัทเดอะ สยาม เซรามิค กรุป อินดัสทรี่ส จํากัด บริษัทซิเมนตไทยโฮมเซอรวิส จํากัด บริษัทไทยเซรามิคพาวเวอร จํากัด Cementhai Gypsum (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร)

69 69 69 69 69 69 69 69 69 49 25

100 95 93 70 70 69 45

100 100 100 100 100 100

85


เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง Cementhai Roof Holdings Philippines, Inc. (จดทะเบียนในประเทศฟลิปปนส) Cementhai Ceramic (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) Cementhai Ceramics Philippines Holdings, Inc. (จดทะเบียนในประเทศฟลิปปนส) บริษัทโสสุโก แอนด กรุป (2008) จํากัด บริษัทสระบุรีรชั ต จํากัด PT. Surya Siam Keramik (จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย) บริษัทกระเบือ้ งหลังคาซีแพค จํากัด บริษัทกระเบือ้ งหลังคาเซรามิคไทย จํากัด บริษัทไทยเซรามิคโฮลดิ้ง จํากัด เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น บริษัทเอสซีจี ดิสทริบิวชัน่ จํากัด บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จํากัด บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จํากัด บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส แมเนจเมนท จํากัด บริษัทเอสซีที เซอรวิสเซส จํากัด บริษัทโฮมมารทโฮมโซลูชั่น จํากัด บริษัทเอสซีจี รีเทล จํากัด บริษัทเอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ จํากัด Cementhai SCT (Australia) Pty. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศออสเตรเลีย) Cementhai SCT (Guangzhou) Ltd. (จดทะเบียนในประเทศจีน) Cementhai SCT (Hong Kong) Ltd. (จดทะเบียนในประเทศจีน) Cementhai SCT (Jordan) L.L.C. (จดทะเบียนในประเทศจอรแดน) Cementhai SCT (Middle East) FZE. (จดทะเบียนในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรท) Cementhai SCT (Philippines) Inc. (จดทะเบียนในประเทศฟลิปปนส) เอสซีจี การลงทุน และอื่นๆ บริษัทซิเมนตไทยโฮลดิง้ จํากัด บริษัทซิเมนตไทยพร็อพเพอรตี้ (2001) จํากัด (มหาชน) บริษัทพร็อพเพอรตี้ แวลู พลัส จํากัด บริษัทเอสซีจี แอคเคานติ้ง เซอรวสิ เซส จํากัด บริษัทกฎหมายเอสซีจี จํากัด

86

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ)

100 100 100 90 83 80 75 75 75

เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง CPAC Monier (Cambodia) Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศกัมพูชา) CPAC Monier Vietnam Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) บริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จํากัด (มหาชน) บริษัทโสสุโก เซรามิค จํากัด บริษัทเอสซีจ-ี เซกิซุย เซลส จํากัด CPAC Monier Philippines, Inc. (จดทะเบียนในประเทศฟลิปปนส) PT. Siam-Indo Gypsum Industry (จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย) PT. Siam-Indo Concrete Products (จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย)

100

เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น Cementhai SCT (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) Cementhai SCT (U.S.A.), Inc. (จดทะเบียนในประเทศสหรัฐอเมริกา) SCG Trading (M) Sdn. Bhd. (จดทะเบียนในประเทศมาเลเซีย) PT. Cementhai SCT Indonesia (จดทะเบียนในประเทศอินโดนีเซีย) SCT Logistics (Vietnam) Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศเวียดนาม) SCT Vientiane Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศลาว) Cementhai SCT (Cambodia) Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศกัมพูชา) Cementhai SCT (Malaysia) Sdn. Bhd. (จดทะเบียนในประเทศมาเลเซีย) Siam Cement Myanmar Trading Ltd. (จดทะเบียนในประเทศพมา) Cementhai SCT Emirates (L.L.C.) (จดทะเบียนในประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรท)

100 100 100 100 100

เอสซีจี การลงทุน และอื่นๆ บริษัทบางซื่อการจัดการ จํากัด Cementhai Captive Insurance Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) บริษัทเอสไอแอล ที่ดินอุตสาหกรรม จํากัด บริษัทระยองที่ดนิ อุตสาหกรรม จํากัด

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ)

75 75 62 54 51 50 50 50

100 100 100 100 100 100 75 69 60 49 100 100 75 75


รายละเอียดบริษัทยอยที่ไมมีการประกอบธุรกิจที่เปนสาระสําคัญหรืออยูระหวางการชําระบัญชี ซึ่งรวมอยูในงบการเงินรวม มีดังนี้

บริษัทคอนกรีตผสมเสร็จซีแพค (ภาคใต) จํากัด บริษัทเหล็กซิเมนตไทย จํากัด บริษัทเอสซีจี โฮลดิ้ง จํากัด บริษัทนวโลหะบางปะกง จํากัด บริษัทบางซื่ออุตสาหกรรม จํากัด บริษัทเหล็กสยาม จํากัด บริษัททอธารา จํากัด บริษัทซีเอ็มที บริการ จํากัด บริษัทซิเมนตไทยแมเนจเมนท เซอรวิสเซส จํากัด บริษัทสยามนวภัณฑ จํากัด บริษัทสยามพาราฟนส จํากัด SCG Corporation S.A. (จดทะเบียนในประเทศปานามา) Cementhai Resources, Inc. (จดทะเบียนในประเทศฟลิปปนส) Tuban LDPE Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร)

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ)

100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100

100 100

Cementhai Roof Products (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) Cementhai Ceramics Singapore Holdings Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) Cementhai Sanitary Ware (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) Cementhai Concrete Products (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) Cementhai Paper (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) บริษัทสยาม ทีพซี ี จํากัด Siam TPC (Singapore) Pte. Ltd. (จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร) Myanmar CPAC Trading Co., Ltd. (จดทะเบียนในประเทศพมา ) บริษัทไทยคอนเทนเนอรเทรดดิง้ จํากัด บริษทั อารโอซี โฮลดิ้ง จํากัด

สัดสวน การถือหุน โดยตรง/ออม (รอยละ)

100 100 100 100 100 78 78 70 69 64

บริษัทยอยดังกลาวขางตนสวนใหญตั้งอยูในประเทศไทย ยกเวนที่ระบุไวเปนอยางอื่น และสัดสวนการถือหุนในบริษัทยอย ดังกลาวไมมีการเปลี่ยนแปลงจากป 2551 อยางมีสาระสําคัญ ทั้งนี้ ในไตรมาสที่ 1 ป 2552 กลุมบริษัทไดนํางบการเงิน ของบริษัทโสสุโก เซรามิค จํากัด มาจัดทํางบการเงินรวมของกลุมบริษัท เนื่องจากกลุมบริษัทเริ่มมีอํานาจควบคุมในการ กําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของบริษัทดังกลาว ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2552 และในไตรมาสที่ 2 ป 2551 กลุมบริษัทไดซื้อหุนสามัญในบริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จํากัด (มหาชน) และไดนํางบการเงินของ บริษัทดังกลาวมาจัดทํางบการเงินรวมของกลุมบริษัท ตั้งแตไตรมาสที่ 3 ป 2551 ตามที่ไดกลาวไวในหมายเหตุ 4 2

เกณฑการจัดทํางบการเงิน งบการเงิ น รวมนี้ นํ า เสนอเพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค ข องการรายงานเพื่ อ ใช ใ นประเทศและจั ด ทํ า เป น ภาษาไทย งบการเงิ น ฉบับภาษาอังกฤษไดจัดทําขึ้นเพื่อความสะดวกของผูอานงบการเงินที่ไมคุนเคยกับภาษาไทย งบการเงินรวมนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีที่ประกาศใชโดยสภาวิชาชีพบัญชี (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และจัดทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของ ประเทศไทย เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศฉบับที่ 12/2552 การจัดเลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชี ของไทยใหมใหตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ กลุมบริษัทไดใชมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปรับปรุงใหม ตลอดจนแนวปฏิบัติทางการบัญชี ที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหวางป 2551 และ 2552 ตอไปนี้ ซึ่งมีผลบังคับสําหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชี ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เปนตนไป มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถอื ไวเพื่อขายและ การดําเนินงานทีย่ กเลิก (ฉบับ 54 เดิม)

87


แมบทการบัญชี เพื่อจัดทําและนําเสนองบการเงิน (ปรับปรุง 2550) (มีผลบังคับใชตงั้ แตวันที่ 26 มิถนุ ายน 2552) แนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับการบันทึกบัญชีสิทธิการเชา (มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 26 มิถุนายน 2552) แนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน การใชมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง ตลอดจนแนวปฏิบัติทางการบัญชีเหลานี้ ไมมีผลกระทบที่เปนสาระสําคัญกับงบการเงินรวม ในระหวางป 2552 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีหลายฉบับ ซึ่งยังไมมีผลบังคับในปจจุบันและ ไมไดมีการนํามาใชสําหรับการจัดทํางบการเงินนี้ มาตรฐานการบัญชีที่ไดออกและปรับปรุงใหมเหลานี้ไดเปดเผยใน หมายเหตุ 38 งบการเงินนี้แสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาท ยกเวนที่ระบุไวเปนอยางอื่น งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑการ บันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเวนตามที่ระบุในนโยบายการบัญชี ในการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบริหารตองใชการประมาณ และขอสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอการกําหนดนโยบายและการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจาย ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกตางจากที่ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทํางบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางตอเนื่อง การปรับประมาณการ ทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ไดรับผลกระทบ ขอมูลเกี่ยวกับการประมาณความไมแนนอนและขอสมมติฐานที่สําคัญในการกําหนดนโยบายการบัญชีมีผลกระทบสําคัญตอ การรับรูจํานวนเงินในงบการเงิน และรวมอยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินตอไปนี้ หมายเหตุ 4 หมายเหตุ 7, 8, 9, 10, 11 และ 12 หมายเหตุ 13 หมายเหตุ 34 3

การซื้อธุรกิจ การวัดมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยแตละรายการและหนวยสินทรัพย ที่กอใหเกิดเงินสดซึ่งรวมคาความนิยม การใชประโยชนของขาดทุนทางภาษีเงินได ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ

(ก) เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมของบริษัท ประกอบดวย งบการเงินของกลุมบริษัท และสวนไดเสียของกลุมบริษัทในบริษัทรวมและ กิจการที่ควบคุมรวมกัน รายการที่มีนัยสําคัญระหวางบริษัทกับบริษัทยอย ไดถูกตัดรายการในการทํางบการเงินรวม บริษัทยอย บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของกลุมบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุมบริษัทมีอํานาจควบคุมทั้งทางตรง หรือทางออมในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการนั้น เพื่อไดมาซึ่งประโยชนจากกิจกรรมของ บริษัทยอย งบการเงินของบริษัทยอยไดรวมอยูในงบการเงินรวม นับแตวันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทยอยไดถูกเปลี่ยนตามความจําเปนเพื่อใหเปนนโยบายเดียวกันกับของกลุมบริษัท บริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัทรวมเปนกิจการที่กลุมบริษัทมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญโดยมีอํานาจเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบาย ทางการเงินและการดําเนินงาน แตไมถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกลาว การมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญถูกสันนิษฐานวา มีอยูเมื่อกลุมบริษัทมีอํานาจในการออกเสียงในกิจการอื่นตั้งแตรอยละ 20 ถึง 50

88


กิจการที่ควบคุมรวมกันเปนกิจการที่กลุมบริษัทมีสวนรวมในการควบคุมกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจตามที่ตกลงไวในสัญญาและ ไดรับความเห็นชอบเปนเอกฉันทในการตัดสินใจเชิงกลยุทธทางการเงินและการดําเนินงาน งบการเงินรวมของกลุมบริษัทไดรวมสวนแบงกําไรหรือขาดทุนของบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกันตามวิธีสวนไดเสีย นับจากวันที่มีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญหรือมีสวนรวมในการควบคุม จนถึงวันที่การมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญหรือมีสวนรวม ในการควบคุมสิ้นสุดลง เมื่อผลขาดทุนที่กลุมบริษัทไดรับปนสวนจากบริษัทรวมหรือกิจการที่ควบคุมรวมกันมีจํานวนเกินกวา เงินลงทุนในบริษัทรวมหรือกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงินลงทุนจะถูกทอนลงจนเปนศูนยและหยุดรับรูสวนผลขาดทุน เวนแต กรณี ที่ ก ลุ ม บริ ษั ท มี ภ าระผู ก พั น ตามกฎหมายหรื อ อนุ ม านหรื อ ยิ น ยอมที่ จ ะชํ า ระภาระผู ก พั น ของบริ ษั ท ร ว มหรื อ กิจการที่ควบคุมรวมกัน การรวมธุรกิจ การรวมธุรกิจของกลุมบริษัทที่ไมใชการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกันใชวิธีซื้อ ตนทุนการซื้อธุรกิจบันทึกดวย มูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินที่ผูซื้อมอบให ณ วันที่มีการแลกเปลี่ยน รวมถึงรายจายอื่นๆ ที่เกี่ยวของโดยตรง กับการซื้อธุรกิจ (ข) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดในงบกระแสเงินสด ประกอบดวย เงินสด เงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียก และ เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะตองชําระคืนเมื่อทวงถามถือเปนสวนหนึ่งของกิจกรรม จัดหาเงินในงบกระแสเงินสด (ค) ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น แสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักดวยคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชําระหนี้และการคาดการณเกี่ยวกับการชําระหนี้ในอนาคตของ ลูกคา ลูกหนี้จะถูกตัดจําหนายบัญชีเมื่อทราบวาเปนหนี้สูญ (ง)

สินคาคงเหลือ กลุมบริษัทตีราคาสินคาคงเหลือในราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ตนทุนของสินคาคํานวณ โดยใชวิธีดังตอไปนี้ สินคาสําเร็จรูป - ตีราคาตามตนทุนมาตรฐาน (ซึ่งใกลเคียงกับตนทุนการผลิตในปจจุบัน) สินคาซื้อมาเพื่อขาย - ตีราคาตามตนทุนถัวเฉลี่ย สินคาระหวางผลิต - ตีราคาตามตนทุนมาตรฐาน ซึง่ ประกอบดวย ตนทุนวัตถุดิบ แรงงาน และคาใชจายในการผลิตผันแปร วัตถุดิบ อะไหล วัสดุ ของใชสนิ้ เปลืองและอื่นๆ - ตีราคาตามตนทุนถัวเฉลี่ย ตนทุนของสินคา ประกอบดวย ตนทุนที่ซื้อ ตนทุนในการดัดแปลงหรือตนทุนอื่นเพื่อใหสินคาอยูในสถานที่และสภาพปจจุบัน ในกรณี ข องสิ น ค า สํ า เร็ จ รู ป และสิ น ค า ระหว า งผลิ ต ที่ ผ ลิ ต เอง ต น ทุ น สิ น ค า รวมการป น ส ว นของค า โสหุ ย การผลิ ต อยางเหมาะสม โดยคํานึงถึงระดับกําลังการผลิตตามปกติ มูลคาสุทธิที่จะไดรับเปนการประมาณราคาที่จะขายไดจากการดําเนินธุรกิจปกติหักดวยคาใชจายที่จําเปนในการขาย

(จ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน บันทึกบัญชีโดยวิธีสวนไดเสีย เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเปนหลักทรัพยในความตองการของตลาดซึ่งถือไวเพื่อคา จัดประเภทเปนสินทรัพยหมุนเวียน และแสดงในราคายุติธรรม กําไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพยไดบันทึกในงบกําไรขาดทุน

89


ตราสารหนี้ซึ่งกลุมบริษัทตั้งใจและสามารถถือจนครบกําหนด จัดประเภทเปนเงินลงทุนที่ถือจนครบกําหนด และแสดง ในราคาทุนตัดจําหนายหักดวยขาดทุนจากการดอยคา ผลตางระหวางราคาทุนที่ซื้อมากับมูลคาไถถอนของตราสารหนี้จะถูก ตัดจายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเปนหลักทรัพยในความตองการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไวเพื่อคาหรือตั้งใจถือไวจนครบ กําหนด จัดประเภทเปนเงินลงทุนเผื่อขาย ภายหลังการรับรูมูลคาในครั้งแรก เงินลงทุนเผื่อขายแสดงในมูลคายุติธรรม และการเปลี่ยนแปลงที่ไมใชผลขาดทุนจากการดอยคาและผลตางจากสกุลเงินตราตางประเทศของรายการที่เปนตัวเงิน บันทึกโดยตรงในสวนของผูถือหุน สวนผลขาดทุนจากการดอยคาและผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศรับรู ในงบกําไรขาดทุน เมื่อมีการจําหนายเงินลงทุนจะรับรูผลกําไรหรือขาดทุนที่เคยบันทึกในสวนของผูถือหุนโดยตรงเขาใน งบกําไรขาดทุน ในกรณีที่เปนเงินลงทุนประเภทที่มีดอกเบี้ยจะบันทึกดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีอัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไมใชหลักทรัพยในความตองการของตลาด แสดงในราคาทุนหักดวยขาดทุนจากการดอยคา มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินสําหรับหลักทรัพยเพื่อคาและหลักทรัพยเผื่อขายจะใชราคาเสนอซื้อ ณ วันที่รายงาน การจําหนายเงินลงทุน เมื่อมีการจําหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางจํานวนเงินสุทธิที่ไดรับและมูลคาตามบัญชี รวมถึงกําไรหรือขาดทุนจากการ ตีราคาหลักทรัพยที่เกี่ยวของที่เคยบันทึกในสวนของผูถือหุนจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุน ในกรณีที่กลุมบริษัทจําหนายเงินลงทุนที่ถืออยูเพียงบางสวน การคํานวณตนทุนสําหรับเงินลงทุนที่จําหนายไปและเงินลงทุน ที่ยังถืออยูใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (ฉ) สัญญาเชาทางการเงิน กลุมบริษัทไดทําสัญญาขายเครื่องจักรและอุปกรณและเชากลับคืนซึ่งเขาลักษณะเปนสัญญาเชาทางการเงิน สวนเกินของรายรับ ที่ไดจากการขายที่สูงกวาราคาตามบัญชีของสินทรัพยไมไดถูกรับรูเปนรายไดโดยทันที แตกลุมบริษัทบันทึกรับรูเปนรายการ รอตัดบัญชีและทยอยตัดตลอดอายุของสัญญาเชา กลุมบริษัทบันทึกสัญญาเชาทางการเงินเปนสินทรัพยและหนี้สินในงบดุลดวยจํานวนเทากับมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา ณ วั น เริ่ ม ต น ของสั ญ ญาเช า ค า เช า ที่ จ า ยชํ า ระจะป น ส ว นเป น ส ว นของค า ใช จ า ยทางการเงิ น และส ว นที่ ไ ปลดเงิ น ต น คาใชจายทางการเงินจะปนสวนไปสูงวดตางๆ ตลอดอายุสัญญาเชา เพื่อใหอัตราดอกเบี้ยเมื่อเทียบกับยอดหนี้ที่คงเหลืออยู ในแตละงวดมีอัตราคงที่ (ช) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยทเี่ ปนกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ แสดงดวยราคาทุนหักดวยคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา สินทรัพยที่เชา การเชาซึ่งกลุมบริษัทไดรับความเสี่ยงและผลตอบแทนสวนใหญจากการครอบครองสินทรัพยที่เชานั้นๆ จัดประเภทเปน สัญญาเชาทางการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณที่ไดมาโดยทําสัญญาเชาทางการเงินบันทึกเปนสินทรัพยดวยมูลคา ยุติธรรมหรือมูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตจํานวนใดจะต่ํากวาหักดวยคาเสื่อมราคา สะสมและขาดทุนจากการดอยคา คาเชาที่ชําระจะแยกเปนสวนที่เปนคาใชจายทางการเงินและสวนที่จะหักจากหนี้ตาม สัญญา เพื่อทําใหอัตราดอกเบี้ยเมื่อเทียบกับยอดหนี้ที่คงเหลืออยูในแตละงวดมีอัตราคงที่ คาใชจายทางการเงินจะบันทึก โดยตรงในงบกําไรขาดทุน

90


คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน คํานวณโดยวิธีเสนตรงตามระยะเวลาดังตอไปนี้ 5 - 33 ป สวนปรับปรุงที่ดนิ อาคารและสิ่งปลูกสราง 5 - 25 ป - เอสซีจี เคมิคอลส 20 - 30 ป - เอสซีจี เปเปอร 5 - 20 ป - เอสซีจี ซิเมนต เครื่องจักรและอุปกรณ 5 - 25 ป - เอสซีจี เคมิคอลส 3 - 20 ป - เอสซีจี เปเปอร 5 - 20 ป - เอสซีจี ซิเมนต 3 - 20 ป ยานพาหนะและอุปกรณ 3 - 20 ป เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน เฉพาะบริษัทยอย 2 แหง ซึง่ ไดแก บริษัทฟนิคซ พัลพ แอนด เพเพอร จํากัด (มหาชน) และบริษัทไทยเคน เปเปอร จํากัด (มหาชน) ตัดคาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ โดยใชวธิ ีและระยะเวลาดังตอไปนี้ บริษัทฟนิคซ พัลพ แอนด เพเพอร จํากัด (มหาชน) สวนปรับปรุงที่ดนิ อาคารและสิ่งปลูกสราง - ไดมากอนวันที่ 1 มกราคม 2545 - ไดมาหลังวันที่ 1 มกราคม 2545 เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องจักรและอุปกรณบางสวน เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน ยานพาหนะ บริษัทไทยเคนเปเปอร จํากัด (มหาชน)

5 - 30 ป 30 20, 30 15 5 - 25 3, 5 5

ป ป ป ป ป ป

วิธีคิดคาเสื่อมราคา วิธีเสนตรง วิธีกองทุนจม วิธีเสนตรง วิธีกองทุนจม วิธีเสนตรง วิธีเสนตรง วิธีเสนตรง วิธีคิดคาเสื่อมราคา วิธีเสนตรง วิธีเสนตรง

สวนปรับปรุงที่ดนิ 5 - 20 ป อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร 20 ป เครื่องจักรที่ใชในการผลิต - โรงงานกาญจนบุรี ตามประมาณการกําลังการผลิต 1.92 ลานตัน - โรงงานปราจีนบุรี ตามประมาณการกําลังการผลิต 5.25 ลานตัน เครื่องจักรและอุปกรณ 5 - 15 ป วิธีเสนตรง เครื่องตกแตงและติดตั้ง 5 ป วิธีเสนตรง ยานพาหนะ 5 ป วิธีเสนตรง อยางไรก็ตาม ผลกระทบจากการใชนโยบายการคิดคาเสื่อมราคาที่ตางกันดังกลาวไมเปนสาระสําคัญตองบการเงินรวม ค า เสื่ อ มราคาของสิ น ทรั พ ย ที่ เ ช า ตามสั ญ ญาเช า ทางการเงิ น บั น ทึ ก เป น ค า ใช จ า ยในแต ล ะงวดบั ญ ชี นโยบายการคิ ด คาเสื่อมราคาของสินทรัพยที่เชาจะเปนนโยบายเดียวกันกับการคิดคาเสื่อมราคาของสินทรัพยที่เปนกรรมสิทธิ์ของกลุมบริษัท กลุมบริษัทไมคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสราง (ซ) สินทรัพยไมมีตัวตน คาความนิยม คา ความนิ ย มจากการรวมธุ รกิ จ ได แ ก ตน ทุ นการได ม าของสิ น ทรัพ ยสุ ท ธิที่ ระบุ ได สว นที่ เ กิน กว า มูล คา ยุติ ธ รรมของ สินทรัพยสุทธินั้น คาความนิยมติดลบจากการรวมธุรกิจ ไดแก มูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิที่ระบุไดสวนที่เกินกวา ตนทุนการไดมาของสินทรัพยสุทธินั้น กลุมบริษัทไดมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีสําหรับคาความนิยมซึ่งมีผลบังคับใช ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2551 ดังนี้ 91


คาความนิยมที่ไดมากอนวันที่ 1 มกราคม 2551 ค า ความนิ ย มและค า ความนิ ย มติ ด ลบ แสดงในราคาทุ น ณ วั น ที่ เ ริ่ ม รั บ รู ร ายการและตั ด จํ า หน า ยตามระยะเวลา ที่คาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจเปนเวลา 5 - 20 ป ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 กลุมบริษัทหยุดตัดจําหนา ย คาความนิยม ยอดคงเหลือของคาความนิยมไดถูกทดสอบการดอยคาตามที่อธิบายในหมายเหตุ 3 (ฌ) คาความนิยมติดลบ ที่ยกยอดมาในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ถูกตัดรายการโดยการปรับปรุงกับกําไรสะสมที่ไมไดจัดสรร ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 คาความนิยมที่ไดมาในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 คาความนิยมวัดมูลคาดวยราคาทุนหักขาดทุนจากการดอยคา คาความนิยมไดถูกทดสอบการดอยคา ตามที่อธิบายใน หมายเหตุ 3 (ฌ) คาความนิยมติดลบรับรูทันทีในงบกําไรขาดทุน สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ ที่กลุมบริษัทซื้อมาและมีอายุการใชงานจํากัด แสดงในราคาทุนหักดวยคาตัดจําหนายสะสมและ ขาดทุ น จากการดอ ยค า สิ น ทรั พ ยไ ม มี ตั ว ตนอื่ น ถู กตั ด จํ า หน า ยและบั น ทึ ก ในงบกํ า ไรขาดทุ น คํ า นวณโดยวิ ธี เ ส น ตรง ตามเกณฑระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจ นับจากวันที่อยูในสภาพพรอมใชงาน ระยะเวลาที่กลุมบริษัท คาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจแสดงไดดังนี้ คาธรรมเนียมการใชสิทธิ ตามอายุสัญญา คาลิขสิทธิ์ซอฟทแวร 3 - 10 ป อื่นๆ 2 - 20 ป (ฌ) การดอยคา มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยของกลุมบริษัทไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ในกรณีที่มีขอบงชี้จะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของคาความนิยม จะถูกประมาณ ณ ทุกวันที่รายงาน และเมื่อมีขอบงชี้เรื่องการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคารับรูเมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยหรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดสูงกวา มูลคาที่จะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาบันทึกในงบกําไรขาดทุน เวนแตเมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลคาของ สินทรัพยเพิ่มขึ้นของสินทรัพยชิ้นเดียวกันกับที่เคยรับรูในสวนของผูถือหุนและมีการดอยคาในเวลาตอมา ในกรณีนี้รับรู ในสวนของผูถือหุน เมื่อมีการลดลงในมูลคายุติธรรมของสินทรัพยทางการเงินเผื่อขายซึ่งไดบันทึกในสวนของผูถือหุน และมีความชัดเจนวา สินทรัพยดังกลาวมีการดอยคา ขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในสวนของผูถือหุนจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุน โดยไมตองปรับกับ สินทรัพยทางการเงินดังกลาว ขาดทุนที่บันทึกในงบกําไรขาดทุนเปนผลตางระหวางราคาทุนที่ซื้อกับมูลคายุติธรรมในปจจุบัน ของสินทรัพยหักดวยขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรูแลวในงบกําไรขาดทุน การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของกลุมหลักทรัพยที่ถือไวจนกวาจะครบกําหนดและลูกหนี้ที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจําหนาย คํานวณโดยการหามูลคาปจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคต คิดลดดวยอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง สําหรับลูกหนี้ระยะสั้นไมมีการคิดลด มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงิน หมายถึง มูลคาจากการใชของสินทรัพยหรือมูลคา ยุติธรรมของสินทรัพยหักตนทุนในการขายแลวแตมูลคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชของสินทรัพยประมาณ จากกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคตคิดลดเปนมูลคาปจจุบัน โดยใชอัตราคิดลดกอนคํานึงถึงภาษีเงินไดเพื่อใหสะทอน มูลคาที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอสินทรัพย การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธโดยตรงกับขาดทุนจากการดอยคาที่เคยรับรู

92


ขาดทุนจากการดอยคาของคาความนิยมจะไมมีการปรับปรุงกลับรายการ ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ไมใช สินทรัพยทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรูในงวดกอนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่รายงานวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ซึง่ หาก มีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใชในการคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการเพียง เทาที่มูลคาตามบัญชีของสินทรัพย ไมเกินกวามูลคาตามบัญชีภายหลังหักดวยคาเสื่อมราคาสะสมหรือคาตัดจําหนายสะสม เสมือนหนึ่งไมเคยมีการบันทึกขาดทุนจากการดอยคามากอน (ญ) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น แสดงในราคาทุน (ฎ) ผลประโยชนพนักงาน โครงการสมทบเงิน ภาระหนี้สินตามโครงการสมทบเงินจะบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น (ฏ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรูในงบดุลก็ตอเมื่อกลุมบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปจจุบัน หรือที่กอตัวขึ้นอันเปน ผลมาจากเหตุการณในอดีต และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจจะตองถูกจายไปเพื่อชําระ ภาระหนี้สินดังกลาว และสามารถประมาณจํานวนภาระหนี้สินไดอยางนาเชื่อถือ ถาผลกระทบดังกลาวมีจํานวนที่เปน สาระสําคัญ ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจายในอนาคต โดยใชอัตราคิดลดในตลาดปจจุบัน กอนคํานึงถึงภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนจํานวนที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มี ตอหนี้สิน (ฐ) รายได รายไดที่รับรูไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม และแสดงสุทธิจากสวนลดการคา การขายสินคาและใหบริการ รายไดจะรับรูในงบกําไรขาดทุน เมื่อไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสินคาที่มีนัยสําคัญไปใหกับ ผูซื้อแลว และจะไมรับรูรายได ถาฝายบริหารยังมีการควบคุมหรือบริหารสินคาที่ขายไปแลวนั้น หรือมีความไมแนนอนที่มี นัยสําคัญในการไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจจากการขายสินคาหรือใหบริการนั้น ไมอาจวัดมูลคาของจํานวนรายไดและ ตนทุนที่เกิดขึ้นไดอยางนาเชื่อถือ หรือมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนที่จะตองรับคืนสินคา รายไดจากการใหบริการรับรู เมื่อมีการใหบริการ ดอกเบี้ยรับและเงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑคงคาง เงินปนผลรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนในวันที่กลุมบริษัทมีสิทธิไดรับ เงินปนผล ในกรณีเงินปนผลที่จะไดรับจากหลักทรัพยในความตองการของตลาดจะพิจารณาจากวันที่มีการประกาศสิทธิ การรับเงินปนผล รายไดคาธรรมเนียม รายไดคาธรรมเนียมการใหบริการรับรูเปนรายไดตามเกณฑคงคางตามที่กําหนดในสัญญา (ฑ) คาใชจาย สัญญาเชาดําเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา ประโยชนที่ไดรับตาม สัญญาเชาจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเปนสวนหนึ่งของคาเชาทั้งสิ้นตามสัญญา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นจะบันทึกในงบกําไรขาดทุน ในรอบบัญชีที่มีรายการดังกลาว

93


ตนทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจายและคาใชจายในทํานองเดียวกันบันทึกในงบกําไรขาดทุนในงวดที่คาใชจายดังกลาวเกิดขึ้น ยกเวนในกรณีทมี่ กี าร บันทึกเปนตนทุนสวนหนึ่งของสินทรัพย อันเปนผลมาจากการใชเวลายาวนานในการจัดหา กอสราง หรือการผลิตสินทรัพย ดั ง กล า วก อ นที่ จ ะนํ า มาใช เ องหรื อ เพื่ อ ขาย ดอกเบี้ ย ซึ่ ง เป น ส ว นหนึ่ ง ของค า งวดตามสั ญ ญาเช า การเงิ น บั น ทึ ก ใน งบกําไรขาดทุนโดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง คาใชจายสําหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน กลุมบริษัทไดเสนอสิทธิใหพนักงานจํานวนหนึ่งที่เขาหลักเกณฑเพื่อการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน พนักงาน ที่เห็นชอบกับขอเสนอจะไดรับเงินจํานวนหนึ่ง โดยคํานวณผันแปรตามเงินเดือนลาสุด จํานวนปที่ทํางาน หรือจํานวนเดือน คงเหลือกอนการเกษียณตามปกติ กลุมบริษัทบันทึกเปนคาใชจายสําหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน (ฒ) ภาษีเงินได ภาษีเงินไดจากกําไรหรือขาดทุนสําหรับป ประกอบดวย ภาษีเงินไดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดรับรู ในงบกําไรขาดทุน เวนแตในสวนที่เกี่ยวกับรายการที่บันทึกในสวนของผูถือหุนรับรูโดยตรงในสวนของผูถือหุน ภาษีเงินไดปจจุบนั ภาษี เ งิ น ได ป จ จุบั น ได แก ภาษีที่ ค าดว าจะจ า ยชํ า ระ โดยคํ า นวณจากกํ า ไรประจํ า ป ที่ต อ งเสีย ภาษี โดยใช อัต ราภาษี ที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปกอนๆ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีบันทึกโดยคํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและ หนี้สิน และจํานวนที่ใชเพื่อความมุงหมายทางภาษี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะไมถูกรับรู เมื่อเกิดจากผลแตกตางชั่วคราว ตอไปนี้ การรับรูคาความนิยมในครั้งแรก การรับรูสินทรัพยหรือหนี้สินในครั้งแรก ซึ่งเปนรายการที่ไมใชการรวมธุรกิจและ รายการนั้นไมมีผลกระทบตอกําไรทางบัญชีหรือกําไรทางภาษี และผลแตกตางที่เกี่ยวของกับเงินลงทุนในบริษัทยอยและ กิจการรวมคา หากเปนไปไดวาจะไมมีการกลับรายการในอนาคตอันใกล ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีวัดมูลคาโดยใช อัตราภาษีที่คาดวาจะใชกับผลแตกตางชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการ โดยอิงกับกฎหมายที่ประกาศใชหรือที่คาดวา มีผลบังคับใช ณ วันที่รายงาน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะบันทึกตอเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากําไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตจะมี จํานวนเพียงพอกับการใชประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวดังกลาว สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานและจะถูกปรับลดลงเทาที่ประโยชนทางภาษีจะมีโอกาสถูกใชจริง (ท) เงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน กําไรหรือขาดทุนจากการแปลงคาจะบันทึกในงบกําไรขาดทุน สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศและบันทึกตามเกณฑราคาทุนเดิม แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการ บัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศซึ่งแสดงในมูลคายุติธรรม แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่มีการ พิจารณามูลคายุติธรรม กิจการในตางประเทศ สินทรัพยและหนี้สินของกิจการในตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน คาความนิยมและรายการปรับปรุงมูลคายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อกิจการในตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ

94


รายไดและคาใชจายของกิจการในตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนสําหรับปถัวเฉลี่ยของอัตราซื้อ และอัตราขาย ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดจากการแปลงคา บันทึกไวเปนรายการแยกตางหากในสวนของผูถือหุน จนกวามีการ จําหนายเงินลงทุนนั้นออกไป ในกรณีของการลงทุนสุทธิในกิจการในตางประเทศของกลุมบริษัท โดยในสาระสําคัญแลวการลงทุนดังกลาวมีลักษณะเปน รายการที่เปนตัวเงิน ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งเกิดจากรายการที่เปนตัวเงินและรายการปองกันความเสี่ยงที่เกี่ยวของ ใหบันทึกไวตางหากในสวนของผูถือหุนจนกวามีการจําหนายเงินลงทุนนั้นออกไป (ธ) เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ

4

สินทรัพยทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่ปรากฏในงบดุล รวมถึง เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น ลูกหนี้ระยะยาว เงินใหกูยืม เงินลงทุน เงินกูยืม และหุนกู กลุมบริษัทดําเนินธุรกิจกับตางประเทศและมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน กลุมบริษัทไดใชเครื่องมือทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงดังกลาว กําไรหรือขาดทุนจากการทําประกันความเสี่ยงรับรูใน งบกําไรขาดทุนในงวดบัญชีเดียวกันกับงวดที่เกิดผลแตกตางจากอัตราแลกเปลี่ยนของสินทรัพยทางการเงินหรือหนี้สิน ทางการเงินที่ทําประกันความเสี่ยงไว การเปลี่ยนแปลงสถานะเปนบริษัทยอย การซือ้ ธุรกิจและการขายเงินลงทุน การเปลี่ยนแปลงสถานะเปนบริษัทยอย ในไตรมาสที่ 1 ป 2552 กลุมบริษัทไดนํางบการเงินของบริษัทโสสุโก เซรามิค จํากัด (ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตและ จําหนายกระเบื้องเซรามิค) มาจัดทํางบการเงินรวมของกลุมบริษัท เนื่องจากกลุมบริษัทเริ่มมีอํานาจควบคุมในการกําหนด นโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของบริษัทดังกลาว ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2552 ทั้งนี้ กลุมบริษัทไดซื้อหุนสามัญของบริษัทดังกลาวเพิ่มขึ้นรอยละ 9 เปนจํานวนเงิน 156 ลานบาท ในปลายไตรมาสที่ 4 ป 2551 จากผูถือหุนรายอื่น ทําใหมีสัดสวนการถือหุนเปนรอยละ 54 โดยกลุมบริษัทบันทึกบัญชีสําหรับการซื้อหุนดังกลาว ตามวิธีซื้อ สินทรัพยและหนี้สินสุทธิของบริษัทยอย ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ประกอบดวยรายการตอไปนี้ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา ลูกหนี้กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมหมุนเวียนอืน่ เงินกูยืมที่มีภาระดอกเบี้ย เจาหนี้การคา หนี้สินอืน่ มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินสุทธิที่ระบุได บวก ปรับปรุงมูลคายุติธรรม หัก สวนของผูถือหุนสวนนอย บวก สวนไดเสียในขาดทุนสุทธิของบริษัทรวมกอนเปนบริษัทยอย สินทรัพยสุทธิจากการไดมา คาความนิยมจากการซื้อธุรกิจ สิ่งตอบแทนในการซื้อที่ไดจา ยไป หัก เงินสดจายซือ้ เงินลงทุน บวก เงินสดที่ไดรับ กระแสเงินสดรับ - สุทธิ

หนวย: ลานบาท

34 369 102 475 20 824 33 (690) (326) (205) 636 73 (295) 186 600 25 625 (625) 34 34

95


การซื้อธุรกิจ ในไตรมาสที่ 2 ป 2551 กลุมบริษัทไดซื้อหุนสามัญในบริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จํากัด (มหาชน) (TGCI) รอยละ 39.9 เปนเงินประมาณ 515 ลานบาท โดยบริษัทดังกลาวดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตและจําหนายกระเบื้อง เซรามิคปูพื้น กระเบื้องบุผนัง และการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ระหวางวันที่ 22 พฤษภาคม 2551 ถึงวันที่ 25 มิถุนายน 2551 กลุมบริษัทไดทําคําเสนอซื้อหุน TGCI เปนการทั่วไป และ ซื้อหุนเพิ่มอีกรอยละ 22 ทําใหมีสัดสวนการถือหุนทั้งหมดคิดเปนรอยละ 61.9 เปนเงินประมาณ 830 ลานบาท ทั้งนี้ ตั้งแต วันที่ 1 กรกฎาคม 2551 กลุมบริษัทมีอํานาจควบคุมใน TGCI ดังนั้น กลุมบริษัทจึงไดนําสินทรัพย หนี้สินและผลการ ดําเนินงานของ TGCI มาจัดทํางบการเงินรวม ณ วันที่และสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินทรัพยและหนี้สินสุทธิของ TGCI ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2551 ประกอบดวยรายการตอไปนี้ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ ที่ดินพัฒนาเพื่อขาย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมหมุนเวียนอืน่ เงินกูยืมที่มีภาระดอกเบี้ย เจาหนี้การคา หนี้สินอืน่ มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินสุทธิที่ระบุได บวก ปรับปรุงมูลคายุติธรรม หัก สวนของผูถือหุนสวนนอย บวก สวนไดเสียในขาดทุนสุทธิของบริษัทรวมกอนเปนบริษัทยอย สินทรัพยสุทธิจากการไดมา คาความนิยมติดลบจากการซื้อธุรกิจ สิ่งตอบแทนในการซื้อที่ไดจา ยไป เงินสดที่ไดรับ กระแสเงินสดจาย - สุทธิ

หนวย: ลานบาท

55 208 589 381 149 47 2,809 785 (3,334) (288) (203) 1,198 150 (457) 19 910 (80) 830 (55) 775

กลุมบริษัทใชมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การรวมธุรกิจ (ฉบับ 43 เดิม) เปนเกณฑ ในการรับรูมูลคายุติธรรมของสินทรัพย หนี้สิน และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่ระบุไดของ TGCI ณ วันที่ซื้อธุรกิจ โดยมูลคา ยุติธรรมที่รับรูสวนใหญเกิดจากกําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ และไมไดรับรูสินทรัพยไมมีตัวตนที่ไดรับมาจากการ รวมธุรกิจแยกตางหาก ณ วันซื้อ เนื่องจากมูลคาไมมีนัยสําคัญ ซึ่งกลุมบริษัทไดปนสวนมูลคายุติธรรมดังกลาวไปยัง สิน ทรั พย สุ ท ธิ ที่ไ ด รั บ มาที่ ร ะบุไ ด ตามส ว นของกลุ ม บริ ษั ท และรั บรู ค า ความนิ ย มติ ด ลบที่เ กิ ด จากการซื้อ ธุ ร กิ จจํ า นวน 80 ลานบาท เปนรายได ซึ่งแสดงภายใตรายการ “รายไดอื่น” ในงบกําไรขาดทุนรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 การขายเงินลงทุน กลุมบริษัทไดขายเงินลงทุนในหุนทุนทั้งหมดรอยละ 48 ของบริษัทแปซิฟค พลาสติคส (ประเทศไทย) จํา กัด ใหแ ก The Dow Chemical Company สง ผลใหก ลุ ม บริษ ัท มีกํ า ไรกอ นภาษีจ ากการขายเงิ น ลงทุ น ดั ง กล า วประมาณ 295 ลานบาท ซึ่งรายการดังกลาวแสดงภายใตรายการ “กําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการ ปรั บ โครงสร า งทางธุ ร กิ จ ค า เผื่ อ การด อ ยค า ของเงิ น ลงทุ น และอื่ น ๆ” ในงบกํ า ไรขาดทุ น รวมสํ า หรั บ ป สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม 2551

96


5

รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ไดแก บุคคลหรือกิจการตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกับกลุมบริษัท โดยการมีผูถือหุนรวมกัน หรือมีกรรมการรวมกัน รายการที่เกิดขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันไดกําหนดขึ้นโดยใชราคาตลาดหรือในราคา ที่ตกลงกันตามสัญญา หากไมมีราคาตลาดรองรับ รายการที่สําคัญกับกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม และนโยบายการกําหนดราคาสรุปไดดังนี้ บริษัทรวม ซื้อ คาบริการ รายไดจากการขายสินคา รายไดคาบริการและอื่นๆ รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหารและอื่นๆ

2552

หนวย: ลานบาท

2551

18,789 1,690 19,815 555 760

21,776 2,023 30,014 699 546

รายไดเงินปนผล

3,070

4,577

บริษัทอืน่ ซื้อ รายไดจากการขายสินคา รายไดคาบริการและอื่นๆ รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหารและอื่นๆ

1,089 454 352 259

1,420 345 1,723 346

รายไดเงินปนผล 1,084 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม กับกิจการที่เกีย่ วของกันมีดงั นี้ ลูกหนี้การคา

1,443

บริษัทรวม บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จํากัด บริษัทสยามโพลิเอททีลีน จํากัด บริษัทสยามสไตรีนโมโนเมอร จํากัด บริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จํากัด บริษัทโตโต แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สระบุรี) จํากัด SCG Plastics (China) Co., Limited บริษัทสยามทบพันแพคเกจจิง้ จํากัด บริษัทไทย เอ็มเอ็มเอ จํากัด Mariwasa Siam Ceramic, Inc. บริษัทริเกน (ไทยแลนด) จํากัด Nawacam Co., Ltd. บริษัทสยาม มิตซุย พีทเี อ จํากัด บริษัทสยามซานิทารีแวรอินดัสทรี จํากัด บริษัทโสสุโก เซรามิค จํากัด บริษัทอืน่ ๆ บริษัทอืน่ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด บริษัทสยามมิชลิน จํากัด บริษัทอืน่ ๆ รวม

นโยบายการกําหนดราคา ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด สวนใหญคิดตามอัตรา รอยละของยอดขายสุทธิ ตามจํานวนที่ประกาศจาย ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด สวนใหญคิดตามอัตรา รอยละของยอดขายสุทธิ ตามจํานวนที่ประกาศจาย

2552

หนวย: ลานบาท

2551

1,359 994 411 136 94 82 43 39 30 25 23 22 19 18 45 3,340

199 200 135 153 73 68 21 34 2 16 15 21 10 216 37 1,200

35 20 11 66 3,406

27 20 12 59 1,259 97


ลูกหนี้และเงินใหกูยืมระยะสัน้ แกกิจการที่เกี่ยวของกัน บัญชีเดินสะพัด บริษัทรวม บริษัทสยามคูโบตาอุตสาหกรรม จํากัด บริษัทสยามเลมเมอรซ จํากัด บริษัทไทย เอ็มเอ็มเอ จํากัด บริษัทสยาม มิตซุย พีทเี อ จํากัด บริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จํากัด Mariwasa Siam Ceramic, Inc. บริษัทเซกิซยุ -เอสซีจี อินดัสทรี จํากัด บริษัทไทย เอ็มเอฟซี จํากัด บริษัทสยามซานิทารีแวรอินดัสทรี จํากัด บริษัทไทย เพ็ท เรซิน จํากัด Long Son Petrochemicals Co., Ltd. P&S Holdings Corporation Mehr Petrochemical Company บริษัทอืน่ ๆ บริษัทอืน่ บริษัทสยามมิชลินกรุป จํากัด บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด บริษัทอืน่ ๆ เงินใหกยู ืมระยะสั้นและตั๋วเงินรับ บริษัทรวม PT. M Class Industry บริษัทอืน่ ๆ รวม เงินใหกยู ืมระยะยาวแกกิจการทีเ่ กี่ยวของกัน บริษัทรวม Mariwasa Siam Ceramic, Inc. รายการเคลื่อนไหวระหวางปสําหรับเงินใหกยู ืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันมีดงั นี้ ระยะสั้น ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม ระยะยาว ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

98

2552

หนวย: ลานบาท

2551

257 90 38 37 28 27 23 16 15 13 13 12 9 67 645

211 175 40 34 22 77 15 16 17 2 12 44 60 725

205 19 31 255 900

205 16 33 254 979

114 5 119 1,019

119 11 130 1,109

2552 436 2552

หนวย: ลานบาท

2551

444 หนวย: ลานบาท

2551

130 2,000 (2,011) 119

2,185 1,869 (3,924) 130

444 6 (14) 436

495 10 (61) 444


เจาหนี้การคา บริษัทรวม บริษัทปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จํากัด Mehr Petrochemical Company บริษัทสยามโพลิเอททีลีน จํากัด บริษัทจัมโบบาจส แอนด ทักส จํากัด บริษัทสยามคูโบตาอุตสาหกรรม จํากัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สระบุรี) จํากัด บริษัทไอทีวนั จํากัด บริษัทไทย เพ็ท เรซิน จํากัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สงขลา) จํากัด บริษัทสยามสไตรีนโมโนเมอร จํากัด บริษัทสยามทบพันแพคเกจจิง้ จํากัด บริษัทอืน่ ๆ บริษัทอืน่ บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด รวม

หนวย: ลานบาท

2552

2551

722 394 368 150 106 69 62 31 24 12 11 10 21 1,980

413 64 339 131 45 68 50 10 9 4 16 20 1,169

34 2,014

27 1,196

เจาหนี้และเงินกูย ืมระยะสั้นจากกิจการที่เกีย่ วของกัน บัญชีเดินสะพัด บริษัทรวม บริษัทปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษัทไอทีวนั จํากัด บริษัทโสสุโก เซรามิค จํากัด บริษัทอืน่ ๆ ตั๋วเงินจาย บริษัทอืน่ มูลนิธิซิเมนตไทย PT. Trans-Pacific Polyethylene Indonesia บริษัทอืน่ ๆ รวม

หนวย: ลานบาท

2552

2551

12 11 37 60

9 12 102 21 144

627 78 9 714 774

657 82 45 784 928

รายการเคลื่อนไหวระหวางปสําหรับเงินกูย ืมระยะสั้นจากกิจการทีเ่ กี่ยวของกันมีดังนี้ ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2552 784 65 (135) 714

หนวย: ลานบาท

2551 162 710 (88) 784

99


6

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากธนาคารและเงินสด เงินฝากประจําและตั๋วสัญญาใชเงินไมเกิน 3 เดือน รวม

7

2552 6,350 22,587 28,937

หนวย: ลานบาท

2551 19,698 7,016 26,714

ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการคา กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัททั่วไป ตั๋วเงินรับการคา หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม หนี้สงสัยจะสูญสําหรับป

กิจการที่เกีย่ วของกัน ภายในวันที่ครบกําหนดชําระ เกินวันครบกําหนดชําระ นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน รวม บริษัททั่วไป ภายในวันที่ครบกําหนดชําระ เกินวันครบกําหนดชําระ นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน หัก คาเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม

2552 3,406 19,583 1,096 20,679 1,027 19,652 23,058 58 2552

หนวย: ลานบาท

2551 1,259 18,047 1,016 19,063 1,009 18,054 19,313 28

หนวย: ลานบาท

2551

3,327

1,180

20 59 3,406

58 2 1 18 1,259

17,563

15,212

1,896 129 66 1,025 20,679 1,027 19,652 23,058

2,455 248 148 1,000 19,063 1,009 18,054 19,313

โดยปกติระยะเวลาการใหสินเชื่อแกลูกคาของกลุมบริษัท คือ 30 - 90 วัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ลูกหนี้การคาที่คางชําระเกินวันครบกําหนดชําระของกลุมบริษัทมีการค้ําประกันโดยสถาบัน การเงินในวงเงินจํานวน 402 ลานบาท (2551: 408 ลานบาท)

100


8

สินคาคงเหลือ หนวย: ลานบาท

สินคาสําเร็จรูป สินคาระหวางผลิต วัตถุดิบ อะไหล วัสดุ ของใชสิ้นเปลืองและอื่นๆ วัตถุดิบและอะไหลระหวางทาง รวม หัก คาเผือ่ มูลคาสินคาลดลง สินคาลาสมัยและเคลื่อนไหวชา สุทธิ

2552 13,718 1,596 6,152 4,922 2,867 2,472 31,727 741 30,986

2551 13,191 1,588 5,906 5,565 2,657 2,053 30,960 853 30,107

การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูปและสินคาระหวางผลิต วัตถุดิบใชไป

(759) 79,346

2,856 124,598

ตนทุนของสินคาคงเหลือทีบ่ ันทึกเปนคาใชจายและไดรวมในบัญชีตน ทุนขายสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีจํานวน 180,595 ลานบาท (2551: 240,065 ลานบาท) 9

เงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน รายการเคลื่อนไหวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สําหรับเงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกันซึ่งบันทึกโดย วิธีสวนไดเสียมีดงั นี้ หนวย: ลานบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม สวนแบงกําไรสุทธิจากเงินลงทุน - วิธีสวนไดเสีย ซื้อ รายไดเงินปนผล จําหนาย การเปลี่ยนแปลงสถานะเปนบริษัทยอย อื่นๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2552 49,598 7,200 5,536 (3,070) (68) (439) (67) 58,690

2551 46,217 4,669 4,740 (4,577) (247) (811) (393) 49,598

101


เงินลงทุนในบริษทั รวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม และเงินปนผลรับจากเงินลงทุนระหวางปสิ้นสุด ณ วันเดียวกัน มีดังนี้ สัดสวน ความเปนเจาของ (รอยละ)

บริษัทรวม เอสซีจี เคมิคอลส บริษัทปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษัทสยามโพลิเอททีลีน จํากัด บริษัทกรุงเทพ ซินธิติกส จํากัด บริษัทไทย เอ็มเอ็มเอ จํากัด บริษัทสยาม มิตซุย พีทีเอ จํากัด บริษัทสยามสไตรีนโมโนเมอร จํากัด บริษัทสยามเลเทกซสังเคราะห จํากัด บริษัทแกรนด สยาม คอมโพสิต จํากัด Mehr Petrochemical Company บริษัทสยามโพลีสไตรีน จํากัด บริษัทริเกน (ไทยแลนด) จํากัด Mitsui Advanced Composites (Zhongshan) Co., Ltd. บริษัทไทย เพ็ท เรซิน จํากัด บริษัทไทย เอ็มเอ็ฟซี จํากัด GTC Technology US, LLC GTC Technology International, LP PT. Siam Maspion Terminal บริษัทเอสดีกรุปเซอรวิซ จํากัด บริษัทอื่นๆ เอสซีจี เปเปอร บริษัทสยามทบพันแพคเกจจิ้ง จํากัด P&S Holdings Corporation บริษัทอื่นๆ เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง บริษัทสยามซานิทารีแวร จํากัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมยิปซัม จํากัด บริษัทโตโต แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด บริษัทสยามซานิทารีฟตติ้งส จํากัด บริษัทเซกิซยุ -เอสซีจี อินดัสทรี จํากัด บริษัทสยามโมลดิ้งพลาสเตอร จํากัด CMPI Holding, Inc. Mariwasa Siam Holdings, Inc. PT. M Class Industry Mariwasa Holdings, Inc. บริษัทโสสุโก เซรามิค จํากัด บริษัทอื่นๆ

102

หนวย: ลานบาท

ทุนชําระแลว 2552 2551

วิธีราคาทุน 2552 2551

วิธีสวนไดเสีย 2552 2551

เงินปนผล 2552 2551

2552

2551

22 50 22 47 50 50 50 46 41 50 35

21 50 22 47 50 50 50 46 40 50 35

15,010 4,455 1,173 5,590 4,800 4,050 3,337 64 1,203 995 120

14,968 4,455 1,173 5,590 2,800 3,430 2,331 64 803 995 120

14,821 2,183 954 2,571 2,372 2,022 1,562 167 722 493 42

13,452 2,183 954 2,571 1,372 1,712 1,059 167 482 493 42

23,702 7,189 3,346 3,148 2,801 2,267 1,714 792 576 553 472

21,264 7,069 3,043 2,995 783 1,904 1,175 704 458 464 468

511 898 380 360 281 86

2,187 761 14 405 84

20 20 45 25 25 50 50

20 20 45 50 50

596 900 200 642 429 327 78 80 44,049

596 900 200 327 78 80 38,910

119 180 87 160 107 163 38 47 28,810

119 180 87 163 38 47 25,121

211 173 162 160 107 98 91 88 47,650

177 162 154 85 78 78 41,061

25 9 10 5 2,565

38 23 6 2 3,520

48 39

48 39

500 263 5 768

500 263 5 768

245 105 1 351

245 105 1 351

357 357

347 1 348

10 10

9 9

36 29

36 29

60 150

60 150

50 46

50 46

561 464

517 405

47 55

136 62

40 45 49 40 20 46 28 40 -

45 40 20 46 28 40 54

550 200 200 125 87 1,093 222 267 292 3,246

200 125 87 1,093 222 267 800 300 3,304

220 66 98 23 22 590 106 94 81 1,396

66 23 22 590 106 94 625 85 1,707

220 219 94 76 41 18 20 1,713

192 74 40 30 439 20 1,717

32 134

65 36 1 300


สัดสวน ความเปนเจาของ (รอยละ)

เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น บริษัทจัมโบบาจส แอนด ทักส จํากัด บริษัทไทยพรอสเพอริตี เทอมินอล จํากัด Green Siam Resources Corporation บริษัทสยามพูลสวัสดิ์ไลเตอร จํากัด บริษัทเซอรเวย มารีน เซอรวิส จํากัด บริษทั อื่นๆ เอสซีจี การลงทุน บริษัทสยามคูโบตาอุตสาหกรรม จํากัด บริษัทผลิตภัณฑวิศวไทย จํากัด บริษัทสยาม คูโบตา แทรกเตอร จํากัด บริษัทมูซาชิออโตพารท จํากัด บริษัทสยามเอทีอุตสาหกรรม จํากัด บริษัทนวโลหะอุตสาหกรรม จํากัด บริษัทไอซิน ทาคาโอกา ฟาวนดริ บางปะกง จํากัด บริษัทนวโลหะไทย จํากัด บริษัทสยามเลมเมอรซ จํากัด บริษัทอื่นๆ อื่นๆ บริษัทนว 84 จํากัด บริษัทไอทีวัน จํากัด กิจการที่ควบคุมรวมกัน เอสซีจี เคมิคอลส Long Son Petrochemicals Co., Ltd. รวม

หนวย: ลานบาท

ทุนชําระแลว 2552 2551

วิธีราคาทุน 2552 2551

วิธีสวนไดเสีย 2552 2551

เงินปนผล 2552 2551

2552

2551

27 50 40 29 48

27 50 40 29 48

365 63 95 34 37 22 616

365 63 95 34 37 22 616

108 31 38 10 18 6 211

108 31 38 10 18 6 211

136 63 46 32 17 8 302

130 60 42 31 17 8 288

3 3

5 1 6

40 30 40 21 30 30

40 30 40 21 30 30

333 85 2,110 200 240 300

208 85 1,100 200 240 300

158 76 844 42 72 90

108 76 440 42 72 90

3,094 1,028 929 761 494 330

2,124 968 369 773 457 321

58 55 98 53 18

83 74 128 55 27

30 25 30

30 25 30

475 308 107 4,158

475 308 107 24 3,047

142 74 293 1,791

142 74 293 7 1,344

293 282 148 7,359

253 274 149 5,688

29 18 329

19 26 239 651

25 20

25 39

1,203 80 1,283

1,203 80 1,283

301 16 317

301 31 332

160 77 237

294 107 401

29 29

91 91

71

71

1,646 55,766

133 48,061

1,170 34,046

95 29,161

1,072 58,690

95 49,598

3,070

4,577

ในไตรมาสที่ 1 ป 2552 บริษัทโสสุโก เซรามิค จํากัด ไดเปลี่ยนสถานะเปนบริษัทยอย เนื่องจากกลุมบริษัทมีอํานาจควบคุม ในการกําหนดนโยบายและการดําเนินงาน ตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 4 ขอ มูลทางการเงินโดยสรุปของกิจการที่ควบคุ มรวมกันที่ก ลุมบริษัทได นําไปจัดทํางบการเงินรวมสําหรับ ปสิ้นสุดวัน ที่ 31 ธันวาคม ดังนี้ สัดสวน ความเปน

หนวย: ลานบาท

เจาของ สินทรัพย

สินทรัพย

(รอยละ) หมุนเวียน ไมหมุนเวียน

ป 2552 Long Son Petrochemicals Co., Ltd. ป 2551 Long Son Petrochemicals Co., Ltd.

สินทรัพย หนี้สิน หนี้สิน สวนของ รวม หมุนเวียน ไมหมุนเวียน ผูถ ือหุน

71

1,401

131

1,532

23

-

1,509

71

85

71

156

41

-

115

รายได คาใชจาย ขาดทุน รวม รวม สุทธิ 3 -

(52)

(49)

(20)

(20)

103


10

เงินลงทุนระยะยาวอื่น

สัดสวน ความเปนเจาของ (รอยละ)

วิธีราคาทุน เอสซีจี เคมิคอลส PT. Trans-Pacific Petrochemical Indotama PT. Trans-Pacific Polyethylene Indonesia * PT. Trans-Pacific Polyethylindo * PT. Trans-Pacific Styrene Indonesia PT. Trans-Pacific Polypropylene Indonesia บริษัทอืน่ ๆ

เงินลงทุน

หนวย: ลานบาท

2551

เงินปนผล 2552 2551

2552

2551

2552

20 39 39 10 10

20 39 39 10 10

2,002 184 131 31 22 33 2,403

2,002 184 131 31 22 33 2,403

2 2

2 2

31

31

-

-

942 361 1,303

942 361 1,303

39 39

55 55

396

396

-

7

5

5

-

-

* ไมมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญ เอสซีจี เปเปอร เอสซีจี ซิเมนต บริษัทปูนซีเมนตเอเซีย จํากัด (มหาชน) Holcim (Bangladesh) Co., Ltd.

10 10

10 10

เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น เอสซีจี การลงทุน และอื่นๆ บริษัทโตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด บริษัทสยามมิชลินกรุป จํากัด - หุนบุริมสิทธิชนิดสะสม บริษัทสยามโตโยตาอุตสาหกรรม จํากัด บริษัทอืน่ ๆ รวม หัก คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน สุทธิ

10 10

10 10

881 484

881 484

801 -

481 -

10 4

10 4

267 98 27 1,757 5,895 2,667 3,228

267 98 27 1,757 5,895 2,666 3,229

206 35 1 1,043 1,084 1,084

832 66 1,379 1,443 1,443

ในป 2552 กลุมบริษัทไดตั้งสํารองคาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัท PT.Trans-Pacific Petrochemical Indotama เพิ่มขึ้นจํานวน 129 ลานบาท และกลับรายการสํารองคาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัท Holcim (Bangladesh) Co., Ltd. ลดลงจํานวน 128 ลานบาท ซึ่งแสดงสุทธิภายใตรายการ “กําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนและสินทรัพย ในการปรั บ โครงสร า งธุ ร กิ จ ค า เผื่ อ การด อ ยค า ของเงิ น ลงทุ น และอื่ น ๆ” ในงบกํ า ไรขาดทุ น รวมสํ า หรั บ ป สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม 2552

104


11

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ หนวย: ลานบาท

ที่ดินและ สวน ปรับปรุง

อาคารและ สิ่งปลูกสราง

เครื่องจักร และอุปกรณ

เครื่องตกแตง สินทรัพย เงินชําระลวงหนา ถาวรอื่น คาซื้อที่ดิน ติดตั้งและ ยานพาหนะ เครื่องใช ที่คิด งานระหวาง เครือ่ งจักร และอุปกรณ สํานักงาน คาเสื่อมราคา กอสราง และอุปกรณ

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้นจากการรวมบริษัทยอย ซือ้ จําหนาย / ตัดจําหนาย โอนเขา / (ออก) ผลตางจากการแปลงคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิ่มขึ้นจากการรวมบริษัทยอย ซือ้ จําหนาย / ตัดจําหนาย โอนเขา / (ออก) ผลตางจากการแปลงคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

15,039 235 150 (224) 708 6 15,914 132 90 (99) 1,009 (7) 17,039

32,133 1,033 294 (82) 1,382 12 34,772 575 140 (196) 2,252 (125) 37,418

194,460 3,363 2,114 (1,572) 11,705 69 210,139 2,002 1,075 (1,025) 10,800 (985) 222,006

3,830 50 205 (146) 69 2 4,010 10 54 (98) 51 (15) 4,012

4,273 86 130 (160) 156 (2) 4,483 40 92 (99) 289 1 4,806

403 (3) 400 (149) 251

23,348 34,280 (4) (8,569) (277) 48,778 1 25,691 (31) (13,064) (140) 61,235

คาเสื่อมราคาสะสมและ ขาดทุนจากการดอยคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้นจากการรวมบริษัทยอย คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนาย / ตัดจําหนาย โอนเขา / (ออก) ผลตางจากการแปลงคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิ่มขึ้นจากการรวมบริษัทยอย คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนาย / ตัดจําหนาย โอนเขา / (ออก) ผลตางจากการแปลงคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

4,933 2 341 (104) 9 (2) 5,179 372 (36) 1 (5) 5,511

17,446 179 1,407 (41) (10) 6 18,987 250 1,554 (133) (30) 20,628

140,660 1,667 9,875 (983) 143 (150) 151,212 1,581 9,588 (936) (29) (138) 161,278

3,408 38 162 (126) (3) 3,479 5 166 (81) (3) (4) 3,562

3,653 94 236 (157) (3) 3,823 29 277 (91) (3) (2) 4,033

399 1 400 (149) 251

86 86 86

-

170,585 1,980 12,021 (1,411) 140 (149) 183,166 1,865 11,957 (1,426) (34) (179) 195,349

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

10,735 11,528

15,785 16,790

58,927 60,728

531 450

660 773

-

48,692 61,149

1,524 386

136,854 151,804

5,822 1,220 (5,534) 16 1,524 370 (1,498) (10) 386

279,308 4,767 38,393 (2,188) (86) (174) 320,020 2,760 27,512 (1,697) (161) (1,281) 347,153

ราคาตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณกอนหักคาเสื่อมราคาสะสม ซึ่งไดรับการคิดคาเสื่อมราคาเต็มมูลคาแลว แตยังคงใชงานอยูมีจํานวน 116,409 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 (2551: 91,864 ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ที่ดินและสวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร เครื่องจักรและอุปกรณของ บริษัทยอยมูลคาสุทธิจํานวน 3,292 ลานบาท (2551: 4,593 ลานบาท) ไดนําไปเปนหลักประกันเงินกูยืมระยะยาวจาก สถาบันการเงิน ตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 16 กลุมบริษัทไดบันทึกตนทุนทางการเงินที่เกี่ยวของสวนหนึ่งสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 จํานวน 650 ลานบาท (2551: 188 ลานบาท) โดยมีอัตราดอกเบี้ยที่รับรูรอยละ 2.670 ถึง 6.025 ตอป (2551: รอยละ 2.930 ถึง 6.088 ตอป) ไวเปน สวนหนึ่งของตนทุนโครงการกอสรางเพื่อขยายโรงงาน ราคาทุนของเครื่องจักรและอุปกรณภายใตสัญญาเชาการเงินมีจํานวน 1,191 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 (2551: 866 ลานบาท) และมูลคาตามบัญชีมีจํานวน 972 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 (2551: 712 ลานบาท)

105


ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทยอยหลายแหงไดมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการอายุการใชงานของ อาคาร เครื่องจักรและอุปกรณ โดยใชวิธีเปลี่ยนทันที ตั้งแตวันที่มีการเปลี่ยนแปลงเปนตนไป ดังนี้ (ก) ขยายอายุการใชงานของอาคาร จาก 5 - 20 ป เปน 10 - 30 ป (ข) ขยายอายุการใชงานของเครื่องจักรและอุปกรณ จาก 5 - 15 ป เปน 10 - 25 ป ทั้งนี้ การขยายอายุการใชงานดังกลาวมีผลทําใหคาเสื่อมราคาในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ลดลงประมาณ 977 ลานบาท 12

สินทรัพยไมมีตัวตน

ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น ตัดจําหนายสําหรับป โอน - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิ่มขึ้น ตัดจําหนายสําหรับป โอน - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

13

หนวย: ลานบาท

คาลิขสิทธิ์ ซอฟทแวรและ คาธรรมเนียม การใชสิทธิ 1,784 82 (285) 244 1,825 57 (311) 123 1,694

คาความนิยม 819 (10) 809 63 872

ตนทุน ระหวางพัฒนา 138 100 (113) 125 127 (187) 65

อื่นๆ 982 6 (16) (580) 392 4 (30) 285 651

รวม 3,723 188 (301) (459) 3,151 251 (341) 221 3,282

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี) สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีภายหลังจากการนํามาหักกลบกันตามความเหมาะสมไดแสดงรวมไว ในงบดุล โดยมีรายละเอียดดังนี้ หนวย: ลานบาท

2552 3,212 (388) 2,824

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สุทธิ

2551 3,160 (188) 2,972

รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหวางปมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม 2551

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี เงินลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ขาดทุนสะสมทางภาษี อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สุทธิ

106

938 1,084 1,034 352 3,408 (94) 3,314

บันทึกเปนรายได (คาใชจาย) ใน งบกําไรขาดทุน (หมายเหตุ 29)

(36) (203) (144) 135 (248) (80) (328)

ผลตาง จากอัตรา แลกเปลี่ยน

(1) 1 (14) (14)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

902 880 890 488 3,160 (188) 2,972

บันทึกเปนรายได (คาใชจาย) ใน งบกําไรขาดทุน (หมายเหตุ 29)

214 (139) (121) 98 52 (204) (152)

ผลตาง จากอัตรา แลกเปลี่ยน

2 (2) 4 4

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

1,116 743 767 586 3,212 (388) 2,824


กลุมบริษัทไมไดบันทึกหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชีสําหรับผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดจากเงินลงทุนในบริษัทยอยสองแหง จํานวน 205 ลานบาท อันเนื่องมาจากกลุมบริษัทสามารถควบคุมจังหวะเวลาในการกลับรายการผลแตกตางชั่วคราวได และ มีความเปนไปไดแนนอนที่ผลแตกตางชั่วคราวจะไมไดกลับรายการภายในระยะเวลาที่คาดการณไดในอนาคต 14

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น ที่ดินและสินทรัพยที่ไมไดใชในการดําเนินงาน คาเชาที่ดินจายลวงหนา ภาษีเงินไดรอขอคืน เงินฝากธนาคารสําหรับโครงการ Mehr Petrochemical ในประเทศอิหราน อื่นๆ รวม หัก คาเผื่อการดอยคา สุทธิ

15

2552 1,757 812 328 6 1,615 4,518 735 3,783

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

2551 1,695 850 395 384 1,478 4,802 658 4,144

หนวย: ลานบาท

2552 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูยืม ตั๋วสัญญาใชเงิน รวม

หนวย: ลานบาท

99 1,421 646 2,166

2551 119 877 8,011 9,007

กลุมบริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารหลายแหงจํานวนประมาณ 5,600 ลานบาท ในป 2552 (2551: 4,800 ลานบาท) 16

หนี้สินระยะยาว

หนวย: ลานบาท

2552 สวนที่หมุนเวียน สวนที่มีหลักประกัน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินสวนทีถ่ ึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนที่ไมมีหลักประกัน หนี้สินคาเครื่องจักรผอนชําระสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึง่ ป เงินกูยืมระยะยาวสวนที่ถงึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึง่ ป สวนที่ไมหมุนเวียน สวนที่มีหลักประกัน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สวนที่ไมมีหลักประกัน เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน รวม

2551

162

401

2,330 119 2,611

104 3,251 342 4,098

-

1,693

35,390 306 35,696 38,307

27,056 3 28,752 32,850

107


หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยจําแนกตามประเภทสกุลเงินดังนี้

หนวย: ลานบาท

2552 2551 บาท 19,414 17,495 เหรียญสหรัฐ 16,982 14,379 ยูโร 1,816 623 เปโซ 81 338 เยน 14 15 รวม 38,307 32,850 ระหว า งป สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2552 กลุ ม บริ ษั ท ได เ บิ ก ถอนเงิ น กู ยื ม บางส ว นหรื อ ทั้ง จํ า นวนตามสั ญ ญาเงิ น กู ยื ม ที่ไดลงนามไวรวมเทียบเทาเงินบาทจํานวน 13,295 ลานบาท (2551: 24,806 ลานบาท) ซึ่งสวนใหญจะนําไปใชในโครงการ ลงทุนของบริษัทยอย โดยเงินกูยืมนี้มีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยประมาณรอยละ 1.32 ถึง 4.65 ตอป (2551: รอยละ 3.08 ถึง 5.75 ตอป) และมีกําหนดชําระคืนเงินตนทุกงวด 3 - 6 เดือน โดยเริ่มชําระงวดแรกในเดือนกันยายน 2552 ทั้งนี้ เงินกูยืม ระยะยาวดังกลาว สวนใหญค้ําประกันโดยบริษัท หนี้สินระยะยาวที่เปนเงินตราตางประเทศมีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยประมาณรอยละ 3.30 ตอป ในป 2552 (2551: รอยละ 4.96 ตอป) โดยสวนใหญกลุมบริษัทไดมีการปองกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ยไวแลว ตามที่ กลาวไวในหมายเหตุ 34 หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่งไมรวมหนี้สินตามสัญญาเชาการเงินแยกแสดงตามระยะเวลาครบกําหนดการจายชําระไดดังนี้ 2552 2,493 19,936 15,453 37,882

ครบกําหนดภายใน 1 ป ครบกําหนดหลังจาก 1 ป แตไมเกิน 5 ป ครบกําหนดหลังจาก 5 ป รวม

หนวย: ลานบาท

2551 3,756 18,904 9,845 32,505

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสวนที่มีหลักประกันมีรายละเอียดของหลักประกันซึ่งเปนสินทรัพยดังนี้ 2552 186 349 2,757 3,292

ที่ดินและสวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร เครื่องจักรและอุปกรณ รวม

หนวย: ลานบาท

2551 144 350 4,099 4,593

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน บริษัทยอยหลายแหงไดทําสัญญาเชาการเงินเครื่องจักรและอุปกรณ โดยสัญญาเชามีระยะเวลา 3 - 7 ป หนี้สินตาม สัญญาเชาการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ หนวย: ลานบาท

ป 2552 ครบกําหนดภายใน 1 ป ครบกําหนดหลังจาก 1 ป แตไมเกิน 5 ป รวม ป 2551 ครบกําหนดภายใน 1 ป ครบกําหนดหลังจาก 1 ป แตไมเกิน 5 ป รวม 108

เงินตน

ดอกเบี้ย

ยอดชําระ

119 306 425

1 9 10

120 315 435

342 3 345

12 12

354 3 357


17

หุนกู ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทไดออกหุนกูประเภทไมดอยสิทธิและไมมีหลักประกัน และบริษัทยอยไดออกหุน กู แปลงสภาพประเภทดอยสิทธิและไมมีหลักประกัน มูลคารวม 110,929 ลานบาท (2551: 105,911 ลานบาท) ดังนี้ หนวย: ลานบาท

หุนกูครั้งที่

2552

2551

หุนกู – บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) 1/2548 10,000 2/2548 10,000 2/2549 5,000 3/2549 10,000 10,000 4/2549 5,000 5,000 1/2550 15,000 15,000 2/2550 10,000 10,000 1/2551 20,000 20,000 2/2551 20,000 20,000 1/2552 20,000 2/2552 10,000 รวม 110,000 105,000

อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป)

อายุหุนกู

4.75 5.25 5.75 6.00 6.25 5.75 4.50 4.25 5.35 5.15 4.15

4 ป 4 ป 3 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป

หุนกูแปลงสภาพ – บริษัทไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จํากัด (มหาชน) ** 1/2551 929 911 ปที่ 1-2 MLR ลบ 3.50 5 ป ปที่ 3-5 MLR ลบ 3.00 รวม 110,929 105,911 หัก หุนกูที่ถือโดย 1,219 1,461 บริษัทยอย สุทธิ 109,710 104,450 หัก สวนที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึง่ ป 14,960 24,665 สุทธิ 94,750 79,785

ครบกําหนด 1 เมษายน 2552 1 ตุลาคม 2552 1 เมษายน 2552 1 เมษายน 2553 1 ตุลาคม 2553 1 เมษายน 2554 1 พฤศจิกายน 2554 1 เมษายน 2555 1 พฤศจิกายน 2555 1 เมษายน 2556 1 ตุลาคม 2556

1 สิงหาคม 2556

มูลคายุติธรรม * 2552 2551 1,009 1,038 1,049 1,041 1,044 1,059 1,059 1,025

1,004 1,014 1,013 1,033 1,041 1,024 1,013 975 1,054 -

922

943

* ราคาซื้อขายสุดทาย (บาทตอหนวย: มูลคาตอหนวยเทากับ 1,000 บาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ** สิทธิแปลงสภาพหุนกูเปนหุนสามัญในอัตรา 1.45 บาทตอ 1 หุนสามัญ เวนแตจะมีการเปลี่ยนแปลงราคาแปลงสภาพตามที่กําหนดในขอกําหนดสิทธิ โดยสามารถใชสิทธิแปลงสภาพไดตั้งแตครบกําหนดปที่ 2 นับจากวันที่ออกหุนกูแปลงสภาพ

109


18

หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น 2552 596 124 72 1 286 1,079

รายไดรับลวงหนา เจาหนี้กรมทรัพยากรคาประทานบัตร เงินปนผลคางจาย เงินประกันผลงานจากเจาหนี้ อื่นๆ รวม 19

2551 509 178 77 140 331 1,235

ทุนเรือนหุน ราคาตาม มูลคาหุน ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุนสามัญ ทุนทีอ่ อกและชําระแลว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุนสามัญ

20

หนวย: ลานบาท

(บาท)

จํานวนหุน

1

2552

หนวย: ลานหุน / ลานบาท

2551

มูลคา

จํานวนหุน

มูลคา

1,600

1,600

1,600

1,600

1

1,600

1,600

1,600

1,600

1

1,200

1,200

1,200

1,200

1

1,200

1,200

1,200

1,200

สํารอง การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธ รรมที่บันทึกไปยังสวนของผูถือหุนรวมผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงสุทธิในมูลคายุติธรรม ของเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายจนกระทั่งมีการจําหนายเงินลงทุนนั้น สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสํารอง (“สํารอง ตามกฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสํารองดังกลาว มีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2552 มีมติอนุมัติใหจัดสรรทุนสํารองตามกฎหมายเพิ่มเติมจํานวน 40 ลานบาท

21

ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน กลุ ม บริ ษั ท นํ า เสนอข อ มู ล ทางการเงิ น จํ า แนกตามส ว นงาน โดยแสดงส ว นงานธุ ร กิ จ เป น รู ป แบบหลั ก ในการรายงาน โดยพิจารณาจากระบบการบริหารการจัดการ และโครงสรางการรายงานทางการเงินภายในของกลุมบริษัทเปนเกณฑในการ กําหนดสวนงาน สินทรัพย รายไดและผลการดําเนินงานจากสวนงานเปนรายการที่เกี่ยวของโดยตรงกับสวนงานหรือที่สามารถปนสวนใหกับ สวนงานไดอยางสมเหตุสมผล

110


สวนงานธุรกิจ กลุมบริษัทเสนอสวนงานธุรกิจที่สําคัญ ดังนี้ เอสซีจี เคมิคอลส ผลิตและจําหนายโอเลฟนส โพลีโอเลฟนส และสินคาเคมีภัณฑอื่นๆ เอสซีจี เปเปอร ผลิ ต และจํ า หน า ยกระดาษพิ ม พ เ ขี ย น กระดาษแผ น ยิ ป ซั ม กระดาษอุ ต สาหกรรม บรรจุภัณฑ และเอกสารปลอดการทําเทียม เอสซีจี ซิเมนต ผลิตและจําหนายปูนซีเมนตเทา คอนกรีตผสมเสร็จ ปูนซีเมนตขาว และปูนสําเร็จรูป เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง ผลิ ต และจํ า หน า ยกระเบื้ อ งหลั ง คา อิ ฐ บล็ อ กปู พื้ น กระเบื้ อ งเซรามิ ค สุ ข ภั ณ ฑ และกอกน้ําตางๆ เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น จํ า หน า ยสิ น ค า ซี เ มนต วั ส ดุ ก อ สร า งและสิ น ค า อื่ น ๆ ผ า นช อ งทางการจํ า หน า ยของ ผูแทนจําหนายสินคาในกลุมบริษัท เปนผูสงออกผลิตภัณฑตางๆ ไดแก ซีเมนต เหล็ก วัสดุกอสรางและวัสดุตกแตง รวมทั้งเปนผูนําเขาเชื้อเพลิง เศษกระดาษและเศษเหล็ก เอสซีจี การลงทุน รวมลงทุนกับบริษัทชั้นนําในธุรกิจอื่นๆ ซึ่งสวนใหญไดแก ธุรกิจเครื่องจักรกลการเกษตร อุปกรณและชิ้นสวนยานยนต เหล็ก และที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม ข อ มู ล ทางการเงิ น ของกิ จ การจํ า แนกตามส ว นงานใช สํ า หรั บ การประเมิ น ผลการดํ า เนิ น งานและจั ด สรรทรั พ ยากร สําหรับผูบริหาร กลุมบริษัทประเมินความสามารถในการดําเนินงานตาม EBITDA ขอมูลทางการเงินจําแนกตามกลุมธุรกิจสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้

งบการเงินรวม กลุมธุรกิจ เอสซีจี เคมิคอลส เอสซีจี เปเปอร เอสซีจี ซิเมนต เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น เอสซีจี การลงทุน

สินทรัพยรวม 2552 2551 315,992 285,776

2552 238,664

2551 293,230

EBITDA (1) 2552 2551 47,116 38,783

165,964 47,942 60,681 22,991 10,110 12,099

101,115 42,729 46,661 26,873 86,641 307

136,527 47,110 49,999 23,351 102,672 401

19,482 7,901 11,616 4,907 1,581 1,927

138,504 51,089 60,770 22,654 10,903 10,663

กําไรสุทธิ (2) งบการเงินรวม กลุมธุรกิจ เอสซีจี เคมิคอลส เอสซีจี เปเปอร เอสซีจี ซิเมนต เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น เอสซีจี การลงทุน

หนวย: ลานบาท

2552 24,346

2551 16,771

12,556 2,286 6,214 1,617 1,077 2,972

6,136 1,658 6,006 778 1,211 3,109

ขายสุทธิ

12,598 6,660 11,272 4,085 1,739 2,717

คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย 2552 2551 12,208 12,188 3,016 3,716 2,924 2,149 254 32

3,800 3,339 2,716 2,022 189 31

(1) หมายถึ ง กํา ไรก อ นกํา ไร (ขาดทุ น ) จากการขายเงิ น ลงทุน สิ น ทรั พ ย แ ละอื่ น ๆ ต น ทุ น ทางการเงิ น ภาษี เ งิ น ได ค า เสื่ อ มราคาและค า ตั ด จํา หน า ย รวมเงิ น ป น ผลรั บ จากบริ ษั ท ร ว ม (2) หมายถึ ง กํา ไรสุ ท ธิส ว นที่เ ป น ของผู ถือ หุ น บริ ษัท ใหญ

111


22

ผลการดําเนินงานของกลุมธุรกิจ หนวย: ลานบาท

กลุมธุรกิจ เอสซีจี เคมิคอลส ขอมูลจากงบดุล สินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุนในหุนทุน และเงินใหกูยมื ระยะยาว ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย เงินกูยมื ระยะสั้น หนีส้ ินหมุนเวียนอื่น เงินกูยมื ระยะยาว หนีส้ ินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ิน สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัท และสวนของผูถือหุนสวนนอย รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

เงินกูยมื ระยะสั้น หนีส้ ินหมุนเวียนอื่น เงินกูยมื ระยะยาว หนีส้ ินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ิน สวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัท และสวนของผูถือหุนสวนนอย รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

112

เอสซีจี ซิเมนต

2551

2552

2551

31,339

28,039

13,121

14,010

9,013

9,886

8,677

8,326

48,744 83,201 2,680 165,964

41,305 66,377 2,783 138,504

374 32,653 1,794 47,942

366 35,330 1,383 51,089

1,255 48,678 1,735 60,681

972 47,773 2,139 60,770

2,059 10,612 1,643 22,991

2,063 10,670 1,595 22,654

30,963 15,686 49,395 954 96,998

24,468 11,563 41,550 774 78,355

13,981 3,876 1,853 70 19,780

18,780 2,907 1,949 47 23,683

5,158 5,715 1,237 314 12,424

4,070 5,585 1,992 285 11,932

8,741 3,439 1,402 334 13,916

11,411 2,101 1,528 395 15,435

68,966 165,964

60,149 138,504

28,162 47,942

27,406 51,089

48,257 60,681

48,838 60,770

9,075 22,991

7,219 22,654

กลุมธุรกิจ เอสซีจี การลงทุน 2552 2551

2552

2551

เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง 2552 2551

2552

เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น 2552 2551 ขอมูลจากงบดุล สินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุนในหุนทุน และเงินใหกูยมื ระยะยาว ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย

เอสซีจี เปเปอร

งบการเงินรวม 2552 2551

6,941

7,807

2,080

2,290

89,988

83,826

308 2,064 797 10,110

293 1,938 865 10,903

9,102 900 17 12,099

7,432 922 19 10,663

63,923 151,804 10,277 315,992

54,642 136,854 10,454 285,776

81 7,177 75 7,333

1,165 6,327 65 7,557

2,035 229 15 2,279

1,867 302 12 2,181

20,452 31,791 130,445 1,883 184,571

38,554 25,512 108,537 1,825 174,428

2,777 10,110

3,346 10,903

9,820 12,099

8,482 10,663

131,421 315,992

111,348 285,776


หนวย: ลานบาท

กลุมธุรกิจ เอสซีจี เคมิคอลส 2552 ขอมูลจากงบกําไรขาดทุน ขายสุทธิ ตนทุนขาย กําไรขั้นตน รายไดอื่น กําไรกอนคาใชจาย คาใชจายในการดําเนินงาน กําไรจากการดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุน คาเผือ่ การดอยคาและอื่นๆ กําไรกอนตนทุนทางการเงิน และภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรหลังภาษีเงินได สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน กําไรสุทธิ การแบงปนกําไร (ขาดทุน) สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถ อื หุนสวนนอย

2551

2552

2551

2552

2551

เอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง 2552 2551

เอสซีจี เปเปอร

เอสซีจี ซิเมนต

101,115 (82,757) 18,358 756 19,114 (5,213) 13,901

136,527 (126,618) 9,909 531 10,440 (5,162) 5,278

42,729 (34,538) 8,191 263 8,454 (4,279) 4,175

47,110 (39,560) 7,550 241 7,791 (4,479) 3,312

46,661 (34,851) 11,810 610 12,420 (3,728) 8,692

49,999 (37,784) 12,215 420 12,635 (4,079) 8,556

26,873 (19,400) 7,473 293 7,766 (5,142) 2,624

23,351 (17,951) 5,400 365 5,765 (4,002) 1,763

(125)

372

-

-

128

3

79

(5)

13,776 (1,437) 12,339 (1,520) 10,819

5,650 (1,914) 3,736 (1,140) 2,596

4,175 (923) 3,252 (888) 2,364

3,312 (870) 2,442 (676) 1,766

8,820 (115) 8,705 (2,496) 6,209

8,559 (261) 8,298 (2,307) 5,991

2,703 (593) 2,110 (635) 1,475

1,758 (786) 972 (347) 625

5,234 16,053

2,963 5,559

19 2,383

19 1,785

6,209

5,991

320 1,795

212 837

12,556 3,497 16,053

6,136 (577) 5,559

2,286 97 2,383

1,658 127 1,785

6,214 (5) 6,209

6,006 (15) 5,991

1,617 178 1,795

778 59 837

113


หนวย: ลานบาท

เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น 2552 2551 ขอมูลจากงบกําไรขาดทุน ขายสุทธิ ตนทุนขาย กําไรขั้นตน รายไดอื่น กําไรกอนคาใชจาย คาใชจายในการดําเนินงาน กําไรจากการดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุน คาเผื่อการดอยคาและอื่นๆ กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรหลังภาษีเงินได สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน กําไรสุทธิ การแบงปนกําไร (ขาดทุน) สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย

23

114

102,672 (93,002) 9,670 487 10,157 (8,613) 1,544

307 (153) 154 1,576 1,730 (164) 1,566

401 (192) 209 1,957 2,166 (131) 2,035

238,664 (185,456) 53,208 4,292 57,500 (25,662) 31,838

293,230 (248,095) 45,135 4,156 49,291 (27,273) 22,018

1,323 63 1,386 (321) 1,065

1,544 33 1,577 (397) 1,180

1,566 (77) 1,489 (47) 1,442

2,035 (110) 1,925 (178) 1,747

(52) 31,786 (5,649) 26,137 (5,168) 20,969

369 22,387 (6,089) 16,298 (4,561) 11,737

19 1,084

39 1,219

1,545 2,987

1,369 3,116

7,200 28,169

4,669 16,406

1,077 7 1,084

1,211 8 1,219

2,972 15 2,987

3,109 7 3,116

24,346 3,823 28,169

16,771 (365) 16,406

2552 10,161 1,033 11,194

คาใชจายในการบริหาร เงินเดือน สวัสดิการและคาใชจายพนักงาน คาธรรมเนียมวิชาชีพ คาเสื่อมราคาและรายจายตัดบัญชี คาวัสดุ คาซอมแซม ตกแตงและบํารุงรักษา คาภาษีใบอนุญาตและคาธรรมเนียมอื่นๆ คาประชาสัมพันธ คาจางแรงงานภายนอก คาเผื่อการดอยคาสินทรัพย คาสื่อสารและขนสง อื่นๆ รวม

งบการเงินรวม 2552 2551

86,641 (79,586) 7,055 566 7,621 (6,298) 1,323

คาใชจายในการขาย คาใชจายในการขนสง สงเสริมการขายและโฆษณา อื่นๆ รวม

24

กลุมธุรกิจ เอสซีจี การลงทุน 2552 2551

2552 9,335 1,349 686 660 465 408 373 353 218 555 14,402

หนวย: ลานบาท

2551 13,098 1,206 14,304

หนวย: ลานบาท

2551 8,433 1,272 541 676 562 498 361 65 280 206 12,894


คาตอบแทนของผูบริหารที่ไดรับจากกลุมบริษัท ไดแก เงินเดือน โบนัส เงินตอบแทนพิเศษและอื่นๆ รวมทั้ง เงินสมทบ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพที่กลุมบริษัทจายสมทบใหผูบริหารในฐานะพนักงานของบริษัท ซึ่งแสดงรวมอยูในคาใชจายในการ บริหารจํานวน 143 ลานบาท (2551: 109 ลานบาท) 25

คาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทนกรรมการเปนคาตอบแทนที่จายใหแกคณะกรรมการบริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ตามขอบังคับ ของบริษัท

26

รายไดอื่น 2552 1,084 995 415 393 259 159 146 39 802 4,292

เงินปนผลรับจากบริษัทอืน่ รายไดคาธรรมเนียมการจัดการ กําไรจากเครื่องมือทางการเงิน ดอกเบี้ยรับจากสถาบันการเงิน กําไรจากการขายเศษวัตถุดบิ และอื่นๆ รายไดคาปรับ/คาชําระเงินลาชา รายไดคาเชาและคาสิทธิ กําไรจากการขายสินทรัพย รายไดจากการขอคืนคาไฟฟา คาความนิยมติดลบ อื่นๆ รวม 27

หนวย: ลานบาท

2551 1,443 877 17 296 389 84 139 19 150 87 655 4,156

คาใชจายพนักงาน 2552 17,792 764 347 18,903

เงินเดือนและอื่นๆ เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ คาใชจายสําหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน รวม

หนวย: ลานบาท

2551 16,029 777 204 17,010

กลุมบริษัทไดจัดใหมีเงินทุนเลี้ยงชีพเพื่อจายใหพนักงานเมื่อออกจากงาน โดยกลุมบริษัทจายในอัตรารอยละ 5 ถึง 10 ของ คาจางพนักงาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับอายุงานของพนักงาน และตั้งแตเดือนเมษายน 2538 กลุมบริษัทไดจัดใหมีเงินกองทุนสํารอง เลี้ย งชีพ ซึ่งไดจ ดทะเบีย นเปนนิติ บุคคลกับกระทรวงการคลังตามพระราชบั ญญัติก องทุนสํารองเลี้ย งชีพ พ.ศ. 2530 อีกประเภทหนึ่งสําหรับพนักงานของกลุมบริษัท พนักงานที่จะสมัครเปนสมาชิกกองทุนใหมนี้ตองจายสมทบเปนรายเดือน เขากองทุนในอัตรารอยละ 2 ถึง 10 ของเงินเดือน และกลุมบริษัทจะจายสมทบเปนรายเดือนเขากองทุนนี้ในอัตรารอยละ 5 ถึง 10 ของเงินเดือนสมาชิก ทั้งนี้ขึ้นอยูกับอายุงานของสมาชิก 28

ตนทุนทางการเงิน หมายเหตุ ดอกเบี้ยเงินกูสกุลเงินบาท ดอกเบี้ยเงินกูสกุลเงินตางประเทศ ดอกเบี้ยเงินทุนสํารองเลีย้ งชีพพนักงาน กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน สวนที่บนั ทึกเปนตนทุนของสินทรัพยระหวางกอสราง สุทธิ

11

2552 6,265 661 37 (664) 6,299 (650) 5,649

หนวย: ลานบาท

2551 5,920 399 41 (83) 6,277 (188) 6,089 115


29

ภาษีเงินได หนวย: ลานบาท

หมายเหตุ ภาษีเงินไดปจจุบนั ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี รวม

13

2552 5,016 152 5,168

2551 4,234 328 4,562

การลดภาษีเงินไดนิติบุคคล พระราชกฤษฎี ก าออกตามความในประมวลรั ษ ฎากรว า ด ว ยการลดอั ต รารั ษ ฎากร ฉบั บ ที่ 387 พ.ศ. 2544 ลงวั น ที่ 5 กันยายน 2544 ใหสิทธิทางภาษีแกบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยลดอัตราภาษีเงินได นิติบุคคลจากอัตรารอยละ 30 เปนรอยละ 25 สําหรับกําไรสุทธิทางภาษีเฉพาะสวนที่ไมเกิน 300 ลานบาท เปนเวลา หารอบระยะเวลาบัญชีตอเนื่องกัน นับแตรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เริ่มในหรือหลังวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใชบังคับ และยัง ไดรับสิทธิในการลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ฉบับที่ 475 แตไมเกินรอบระยะเวลาบัญชี 2553 ที่สิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2553 30

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม คํานวณจากกําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนสามัญบริษัทใหญ และจํานวนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลวระหวางป โดยแสดงการคํานวณดังนี้ หนวย: ลานบาท / ลานหุน

กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถ ือหุน บริษัทใหญ จํานวนหุน สามัญที่ออกจําหนายแลว กําไรตอหุนขั้นพืน้ ฐาน (บาท) 31

2551 16,771 1,200

20.29

13.98

สัญญา ก)

ข)

ค)

116

2552 24,346 1,200

บริษัทยอยหลายแหงไดทําสัญญากับบริษัทตางประเทศหลายแหง โดยบริษัทตางประเทศดังกลาวจะใหความ ชวยเหลือเกี่ยวกับขอมูลและความรูทางวิชาการ และความชวยเหลือดานเทคนิคในการผลิตสินคาตามสิทธิการผลิต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทยอยผูกพันที่จะจายคาธรรมเนียมวิชาการจํานวนหนึ่ง และคาธรรมเนียมการ ใชสิทธิในอัตรารอยละของยอดขายสุทธิของสินคาดังกลาวตามที่กําหนดไวในสัญญา บริษัทยอยหลายแหงไดทําสัญญาระยะยาวจํานวนหลายฉบับกับบริษัทอื่นๆ ทั้งในและตางประเทศ เพื่อซื้อวัตถุดิบ รับ บริก าร เช าสิน ทรั พย ซื้อ สิน ทรัพ ย ก อ สรา งโรงงานและสิ น ทรัพย ตา งๆ นอกจากนี้ บริ ษัท ยอ ยสองแห ง ได ประทานบัตรจํานวนสองบัตรสําหรับการทําเหมืองหินปูนจากกรมทรัพยากรธรณี ดังนั้น บริษัทยอยดังกลาวขางตน จะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในสัญญา บริษัทมีสัญญาสนับสนุนทางการเงินแกบริษัทในประเทศแหงหนึ่ง ซึ่งตามสัญญาสนับสนุนทางการเงิน ผูถือหุนหลัก ทุกรายตองปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอตกลงตางๆ ที่กําหนดในสัญญาตามสัดสวนการถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทไดปฏิบัติตามขอตกลงโดยใหการสนับสนุนทางการเงินแกบริษัทดังกลาวแลวเปนจํานวนเงิน รวม 31.5 ลานเหรียญสหรัฐ เงินใหกูยืมดังกลาวแสดงภายใตรายการ “เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น” ใน งบการเงินรวม และการจัดประเภทเงินใหกูยืมเปนสินทรัพยหมุนเวียนหรือสินทรัพยไมหมุนเวียน ขึ้นอยูกับการ พิจารณาของฝายบริหาร ณ วันที่รายงาน โดยพิจารณาจากสถานะการเงินของผูกูและกําหนดการชําระเงิน


32

เงินปนผลจาย ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2551 มีมติอนุมัติการจายเงินปนผลประจําป 2550 ในอัตราหุนละ 15 บาท เปนเงินประมาณ 18,000 ลานบาท โดยไดทําการแบงจายเงินปนผลดังกลาวออกเปน 2 งวด คือ เงินปนผลงวด ระหวางกาล ในอัตราหุนละ 7.50 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผลคิดเปนจํานวนเงิน 8,927 ลานบาท ซึ่ง จายแลวเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2550 และเงินปนผลงวดสุดทาย ในอัตราหุนละ 7.50 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิ รับเงินปนผลคิดเปนจํานวนเงิน 8,946 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2551 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2552 มีมติอนุมัติการจายเงินปนผลประจําป 2551 ในอัตราหุนละ 7.50 บาท เปนเงินประมาณ 9,000 ลานบาท โดยไดทําการแบงจายเงินปนผลดังกลาวออกเปน 2 งวด คือ เงินปนผลงวด ระหวางกาล ในอัตราหุนละ 5.50 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผลคิดเปนจํานวนเงิน 6,557 ลานบาท ซึ่ง จายแลวเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2551 และเงินปนผลงวดสุดทาย ในอัตราหุนละ 2.00 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิ รับเงินปนผลคิดเปนจํานวนเงิน 2,395 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2552 มีมติอนุมัติการจายเงินปนผลระหวางกาลป 2552 ในอัตรา หุ นละ 3.50 บาท ให แก ผู ถื อหุ นเฉพาะผู ที่ มี สิ ทธิ รั บเงิ นป นผลคิ ดเป นจํ านวนเงิ น 4,190 ล านบาท ซึ่ งจ ายแล วเมื่ อวั น ที่ 27 สิงหาคม 2552

33

เครื่องมือทางการเงิน ความเสี่ยงดานสภาพคลอง กลุมบริษัทควบคุมความเสี่ยงดานสภาพคลองและรักษาระดับเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดใหเพียงพอ เพื่อสนับสนุน การดําเนินงานของกลุมบริษัทและลดความเสี่ยงที่อาจเกิดจากผลกระทบของความผันผวนในกระแสเงินสด ความเสี่ยงดานสินเชื่อ ความเสี่ยงดานสินเชื่อเกิดจากการที่ลูกคาไมปฏิบัติตามสัญญาทําใหเกิดความสูญเสียทางการเงิน กลุมบริษัทไดมีนโยบาย ปองกันความเสี่ยงนี้ โดยการพิจารณาการใหสินเชื่อกับลูกคา กําหนดวงเงินสินเชื่อ วงเงินค้ําประกันจากธนาคาร และ/หรือ วงเงินค้ําประกันบุคคล กําหนดระยะเวลาการใหสินเชื่อ มีระบบงานในการควบคุมการใหสินเชื่อ และมีการติดตามลูกหนี้ที่มี การคางชําระ มูลคายุติธรรมของลูกหนี้ซึ่งแสดงไวในงบดุล คือ ยอดสุทธิของลูกหนี้หลังจากหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด อันจะมีผลตอดอกเบี้ยสุทธิ ซึ่งกลุมบริษัท บริหารหนี้สิน โดยการกูยืมที่มีทั้งอัตราดอกเบี้ยคงที่และอัตราดอกเบี้ยลอยตัวตามความเหมาะสมของสภาพตลาด อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของเงินใหกูยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะเวลาที่ครบกําหนดชําระมีดังนี้ เงินใหกูยืม อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

ป 2552 หมุนเวียน เงินใหกูยมื ระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ไมหมุนเวียน เงินใหกูยมื ระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยมื ระยะยาวแกบริษัทอื่น รวม

หนวย: ลานบาท

หลังจาก 1 ป ภายใน 1 ป แตไมเกิน 5 ป

หลังจาก 5 ป

รวม

10.00 SIBOR บวก 6.50

119

-

-

119

2.00 - 5.00 MLR ลบ 2.00

119

48 1,570 1,618

388 388

436 1,570 2,125

117


อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

ป 2551 หมุนเวียน เงินใหกูยมื ระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ไมหมุนเวียน เงินใหกูยมื ระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยมื ระยะยาวแกบริษัทอื่น รวม

หนวย: ลานบาท

หลังจาก 1 ป ภายใน 1 ป แตไมเกิน 5 ป

หลังจาก 5 ป

รวม

5.00 - 10.00

130

-

-

130

2.00 - 5.00 MLR ลบ 2.00

130

43 1,371 1,414

401 401

444 1,371 1,945

อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะเวลาที่ครบกําหนดชําระ มีดังนี้ หนี้สินทางการเงิน อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

ป 2552 หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย ืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินกูย ืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกีย่ วของกัน เงินกูย ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หุนกู ไมหมุนเวียน เงินกูย ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หุนกู รวม

118

หนวย: ลานบาท

หลังจาก 1 ป ภายใน 1 ป แตไมเกิน 5 ป หลังจาก 5 ป

รวม

1.50 - 10.00 / MOR MMR / MLR ลบ 2.00 Cost of fund บวก (0.50 - 0.75) 0.50 - 5.75

2,166

-

-

2,166

714

-

-

714

5.10 - 5.25 FDR3M บวก (2.00 - 2.55) MLR ลบ (1.25 - 2.00) LIBOR บวก (0.30 - 0.325) TIBOR บวก 0.80 Cost of fund บวก 0.30 1.23 - 7.75 6.00 - 6.25

2,493

-

-

2,493

119 14,960

-

-

119 14,960

-

19,936

15,453

35,389

-

306 94,750

-

306 94,750

20,452

114,992

15,453

150,897

MLR ลบ (1.00 - 2.00) EURIBOR บวก (0.65 - 0.75) LIBOR บวก (0.30 - 1.00) SIBOR บวก (0.375 - 1.00) FDR3M บวก 2.00 Cost of fund บวก 0.30 1.23 - 7.75 4.15 - 5.75 MLR ลบ (3.00 - 3.50)


อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป)

ป 2551 หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย ืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินกูย ืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกีย่ วของกัน เงินกูย ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

หนี้สินคาเครื่องจักรผอนชําระ หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หุนกู ไมหมุนเวียน เงินกูย ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หุนกู รวม

หนวย: ลานบาท

หลังจาก 1 ป ภายใน 1 ป แตไมเกิน 5 ป หลังจาก 5 ป

รวม

3.48 - 9.99 / MOR

9,007

-

-

9,007

4.37 - 5.35

784

-

-

784

4.05 - 5.50 MLR ลบ (1.25 - 2.00) SIBOR บวก 0.375 TIBOR บวก 0.80 FDR บวก 0.20 6.03 7.75 - 9.70 4.75 - 5.75

3,652

-

-

3,652

104 342 24,665

-

-

104 342 24,665

-

18,904

9,845

28,749

-

3 79,785

-

3 79,785

38,554

98,692

9,845

147,091

3.75 - 5.00 THBFIX บวก (0.75 - 1.20) FDR บวก 2.25 MLR ลบ (0.50 - 2.00) LIBOR บวก (0.1775 - 3.95) SIBOR บวก (0.375 - 1.00) EURIBOR บวก (0.65 - 0.75) Cost of fund บวก 0.30 7.75 - 9.70 4.25 - 6.25 MLR ลบ (3.00 - 3.50)

119


ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเกิดจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุมบริษัทมีเงินกูยืมสกุลตางประเทศ ดังนี้ หนวย: ลานบาท

เงินกูยืมระยะสั้น และเงินกูยืมระยะยาว สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป 2552 2551 เหรียญสหรัฐ ยูโร เปโซ ดอง เยน อื่นๆ รวม

1,313 282 353 30 1,978

1,383 104 640 15 24 2,166

เงินกูยืมระยะยาว 2552 2551 16,457 1,816 78 18,351

13,683 519 14,202

รวม 2552 17,770 1,816 360 353 30 20,329

2551 15,066 623 640 15 24 16,368

กลุ มบริษั ท ได ทํา ธุร กรรมอนุพั นธ ท างการเงิน เปน สว นหนึ่ง ในการบริ หารและจั ด การความเสี่ ย งอัน เกิ ด จากหนี้สิ น ของ กลุมบริษัท การจัดการความเสี่ยงโดยใชตราสารทางการเงินนี้เปนไปตามนโยบายและแนวทางซึ่งคณะกรรมการบริษัทให ความเห็นชอบแลว และมีการควบคุมขั้นตอนการปฏิบัติงานใหเปนตามนโยบาย อนุพันธทางการเงินที่กลุมบริษัทจัดทํา ไดแก สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา (Forward Exchange Contract) สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ (Cross Currency Swap) และสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) โดยสัญญาที่ทํานั้นเปนการปองกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนของเงินกูยืมระยะสั้นและ เงินกูยืมระยะยาว ตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 34 นอกจากนั้น กลุมบริษัทมีรายไดจากการสงออกและรายไดอื่นๆ เปน เงินตราตางประเทศอีกจํานวนหนึ่งซึ่งเพียงพอที่จะชวยลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศได มูลคายุติธรรม เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญจัดอยูในประเภทระยะสั้น และเงินกูยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตรา ดอกเบี้ยในตลาด ฝายบริหารของกลุมบริษัทเชื่อวา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ราคาตามบัญชีของเครื่องมือ ทางการเงินของกลุมบริษัทไมแตกตางไปจากมูลคายุติธรรมอยางมีสาระสําคัญ (มูลคายุติธรรมของหุนกูไดเปดเผยไวใน หมายเหตุ 17)

120


34

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม กลุมบริษัทมี 2552 ก) หนังสือค้ําประกันที่ออกโดยกลุมบริษัทเพือ่ ค้ําประกันการจายชําระ เงินกูยืมของกิจการที่เกี่ยวของกันที่ไมไดรวมอยูในงบการเงินรวม ข) หนังสือค้ําประกันที่ออกโดยธนาคารแกหนวยงานรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ค) เลตเตอรออฟเครดิตที่เปดแลวแตยังไมเขาเงื่อนไขการเปนหนี้สิน ง) ภาระผูกพัน - ตามสัญญาซื้อวัตถุดิบ - ตามสัญญาเชาและบริการ - ตามสัญญากอสรางโรงงานโอเลฟนสแหงที่ 2 และโครงการ Downstream - ตามสัญญากอสรางและติดตั้งเครื่องจักร จ) หนี้สินทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการถูกประเมินภาษีและอืน่ ๆ (อยูระหวางการพิจารณาของศาลและคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ ซึ่งยังมีความไมแนนอนของผลคดีความและการอุทธรณ กลุมบริษัทจึงยังไมบันทึกหนี้สินทีอ่ าจเกิดขึ้นในงบการเงินรวม)

หนวย: ลานบาท

2551

2,136

2,089

1,375 1,448

677 2,075

46,292 793 1,648 2,663 206

35,733 1,683 11,672 5,553 -

ฉ) ในไตรมาสที่ 1 ของป 2552 บริษัทไดแจงความดําเนินคดีอาญาอดีตพนักงานเกี่ยวกับการลักทรัพย (แบบฟอรมใบหุน สามัญ) และการปลอมแปลงใบหุนสามัญของบริษัทเปนจํานวนหุน 672,000 หุน ซึ่งตอมาในไตรมาสที่ 2 บริษัท ไดรับแจงจากศาลแพงวาผูจัดการมรดกและทายาทผูถือหุนที่ถูกปลอมแปลงใบหุนไดยื่นฟองบริษัทพรอมกับบุคคลและ นิติบุคคลอื่นซึ่งเกี่ยวของกับเรื่องดังกลาว โดยเรียกรองใหรวมกันชดเชยคาเสียหายเปนจํานวนเงิน 223 ลานบาท ทั้งนี้ บริษัทไมไดมีการบันทึกคาเสียหายดังกลาวในงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 โดยศาลไดนัด สืบพยานทุกฝายในป 2553 จึงยังมีความไมแนนอนเกี่ยวกับความรับผิดของบริษัท ช) กลุมบริษัทไดทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาและสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินกับธนาคารหลายแหง ทั้ ง ในและต า งประเทศ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ป อ งกั น ความเสี่ ย งจากการจ า ยชํ า ระเงิ น กู ยื ม จ า ยชํ า ระค า สิ น ค า เครื่องจักรและอุปกรณ และรับชําระเงินคาสินคา มีรายละเอียดดังนี้ หนวย: ลาน / ลานบาท

มูลคาตามสัญญา เงินกูยืม Forward สกุลตางประเทศ เทียบเทาเงินบาท 2552 2551 2552 2551 เหรียญสหรัฐ ยูโร รวม

-

4 2

-

132 104 236

เงินกูยืม Swap สกุลตางประเทศ เทียบเทาเงินบาท 2552 2551 2552 2551 37 -

14 -

1,301 1,301

561 561

สัญญาดังกลาวจะทยอยครบกําหนดภายในเดือนมิถุนายน 2557 (2551: ครบกําหนดภายในเดือนธันวาคม 2553)

121


หนวย: ลาน / ลานบาท

มูลคาตามสัญญา ลูกหนี้การคา Forward สกุลตางประเทศ เทียบเทาเงินบาท 2552 2551 2552 2551 เหรียญสหรัฐ ยูโร เยน อื่นๆ รวม

439 11 69

104 6 194 7

14,693 567 413 15,673

3,675 274 73 201 4,223

เจาหนี้การคา Forward สกุลตางประเทศ เทียบเทาเงินบาท 2552 2551 2552 2551 114 13 351 1

311 12 3,010 -

3,875 643 131 20 4,669

10,641 577 1,005 10 12,233

สัญญาดังกลาวจะทยอยครบกําหนดภายในเดือนธันวาคม 2553 (2551: ครบกําหนดภายในเดือนพฤศจิกายน 2552) ซ) กลุมบริษัทไดทําสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับธนาคารตางประเทศหลายแหงเพื่อปองกันความเสี่ยงจากอัตรา ดอกเบี้ยของวงเงินกูยืมสกุลตางประเทศจํานวน 414 ลานเหรียญสหรัฐ (2551: 236 ลานเหรียญสหรัฐ) โดยการ แลกเปลี่ ย นอัต ราดอกเบี้ ย ลอยตั ว LIBOR เปน อัต ราดอกเบี้ ย คงที่ รอ ยละ 2.67 ถึง 4.98 ต อป (2551: ร อ ยละ 4 ถึง 5 ตอป) ฌ) กลุมบริษัทไดทําสัญญาเพื่อบริหารความเสี่ยงทางดานราคาพลังงาน (Commodity Swap) กับธนาคารในประเทศแหงหนึ่ง และธนาคารต างประเทศหลายแห ง มู ลค าตามสั ญญาสุ ทธิ 54 ล านเหรี ยญสหรั ฐ หรื อเที ยบเท าเงิ นบาทจํ านวน 1,819 ลานบาท (2551: 11 ลานเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทาเงินบาทจํานวน 393 ลานบาท) ญ) บริษัทไดทําสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับธนาคารพาณิชยในประเทศบางแหง เพื่อปองกันความเสี่ยงจากอัตรา ดอกเบี้ยของหุนกูมูลคา 7,000 ลานบาท โดยแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยคงที่เปนอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ตอมาภายหลัง แนวโนมอัตราดอกเบี้ยในตลาดมีการเปลี่ยนแปลง จึงไดมีการปรับปรุงเงื่อนไขในสัญญาโดยแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ลอยตัวเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่ ซึ่งอัตราดอกเบี้ยลอยตัวดังกลาวอางอิงจากอัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยของเงินฝากประจําของ ธนาคารพาณิชยในประเทศหลายแหงบวก Margin รอยละ 2 ถึง 4 ตอป 35

การบริหารจัดการสวนทุน ผูบริหารของกลุมบริษัทมีนโยบายการบริหารจัดการสวนทุน ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อดํารงฐานเงินทุนใหแข็งแกรง โดยการ วางแผน การกําหนดกลยุทธในการดําเนินงานเพื่อใหธุรกิจมีผลประกอบการและการบริหารกระแสเงินสดที่ดีอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ กลุมบริษัทยังคํานึงถึงการมีฐานะการเงินที่ดี โดยพิจารณาลงทุนในโครงการที่มีอัตราผลตอบแทนอยูในเกณฑดี รักษาระดับเงินทุนหมุนเวียนที่เหมาะสม รวมทั้ง สรางความแข็งแกรง ความมั่นคงของการดํารงเงินสด และมีโครงสราง เงินทุนที่เหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อดํารงไวซึ่งความสามารถในการดําเนินธุรกิจอยางตอเนื่องในอนาคต และรักษาความเชื่อมั่น ตอผูถือหุน นักลงทุน เจาหนี้ และผูมีสว นไดเสียอื่นๆ

122


36

เรื่องอื่นๆ เมื่อ วัน ที่ 29 กัน ยายน 2552 ศาลปกครองกลางไดมีคํ าสั่งคุมครองชั่ วคราวที่สั่ง ใหหนวยงานราชการ 8 แหง ระงั บ 76 โครงการในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ใกลเคียงจังหวัดระยองไวเปนการชั่วคราว ตอมาศาลปกครองสูงสุดไดมีคําสั่งให 12 โครงการดําเนินการตอไปได สวนที่เหลืออีก 64 โครงการ ใหระงับไวตามคําสั่งของศาลปกครองกลาง ในจํานวนนี้มี 18 โครงการ มูลคาเงินลงทุน 57,500 ลานบาท ซึ่งสวนใหญเปนโครงการของบริษัทรวมทุนภายใตเอสซีจี เคมิคอลส ทั้งนี้ เมื่อสิ้นป 2552 รัฐบาลไดออกกฎระเบียบและหลักเกณฑที่เกี่ยวของเพื่อใหสอดคลองกับมาตรา 67 วรรคสอง ของ รัฐธรรมนูญป 2550 ขนานกันไปกับการยื่นอุทธรณของผูประกอบการและกลุมบริษัท โดยกลุมบริษัทคาดวาจะใชเวลา ประมาณ 8 - 12 เดือน เพื่อปฏิบัติตามกฎระเบียบและหลักเกณฑใหมที่รัฐบาลประกาศออกมา ดวยความเชื่อมั่นวา โครงการของกลุมบริษัททุกโครงการสามารถปฏิบัติตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญได ดังนั้น สําหรับโครงการที่กอสราง ใกลแลวเสร็จและมีแผนเดิมที่จะเปดดําเนินการกลางป 2553 จะมีความลาชาจากชวงระยะเวลาดังกลาว ในขณะที่โครงการ ที่เดิมวางแผนจะเริ่มดําเนินการกลางป 2554 ความลาชาในการเปดดําเนินการ ขึ้นอยูกับเวลาที่จะสามารถเริ่มการกอสราง ไดใหม

37

เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน 1) เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทไดมีมติอนุมัติเรื่องตางๆ ที่สําคัญ ดังนี้ ก) ใหเสนอที่ป ระชุมสามัญผูถือหุนเพื่ออนุมัติจายเงินปนผลสําหรับป 2552 ในอัตราหุนละ 8.50 บาท ซึ่งบริษัท ไดจายเงินปนผลระหวางกาลไปแลวในอัตราหุนละ 3.50 บาท เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2552 ตามที่กลาวไวใน หมายเหตุ 32 และจะจายเงินปนผลงวดสุดทายในอัตราหุนละ 5.00 บาท ใหแ กผูถือ หุน เฉพาะผูที่มีสิท ธิรับ เงิน ปน ผลคิด เปน เงิน ประมาณ 6,000 ลานบาท โดยกําหนดจายในวันที่ 28 เมษายน 2553 การจายเงินปนผล ดังกลาวขึ้นอยูกับการอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุนในวันที่ 31 มีนาคม 2553 ข) ในวันที่ 1 เมษายน 2553 ใหบริษัทออกหุนกู ครั้งที่ 1/2553 มูลคาไมเกิน 10,000 ลานบาท ประเภทระบุชื่อผูถือ ไมมีหลักประกัน และไมดอยสิทธิ อายุ 4 ป อัตราดอกเบี้ยตามราคาตลาดในขณะที่ออก กําหนดจายดอกเบี้ยทุกๆ 3 เดือน ซึ่งจะครบกําหนดไถถอนวันที่ 1 เมษายน 2557 โดยเงินที่ไดรับจากการออกหุนกูจะนําไปไถถอนหุนกูครั้งที่ 3/2549 มูลคา 10,000 ลานบาท ที่จะครบกําหนดไถถอนในวันที่ 1 เมษายน 2553 2) เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2552 กลุมบริษัทไดแจงตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยวา บริษัทกลุมสยามบรรจุภัณฑ จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของเอสซีจี เปเปอร ไดลงนามในสัญญาเขาซื้อหุนทั้งหมดในบริษัท New Asia Industries Company Limited ซึ่งประกอบธุรกิจผลิตและจําหนายกลองกระดาษลูกฟูกในประเทศเวียดนาม มูลคาการลงทุน รวมทั้งสิ้นประมาณ 770 ลานบาท ทั้งนี้ ในวันที่ 11 กุมภาพันธ 2553 บริษัทยอยดังกลาวไดจายชําระเงินงวดแรกแลว จํานวน 459 ลานบาท 3) เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ 2553 กลุมบริษัทไดแจงตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยวา บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑกอ สราง จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของกลุมบริษัท ไดลงนามในบันทึกขอตกลงเสนอซื้อหุนบริษัท ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส จํากัด (มหาชน) (Q-CON) (ดําเนินธุรกิจผลิตและจําหนายคอนกรีตมวลเบา) จากกลุมผูถือหุนรายใหญในราคาหุนละ 4 บาท รวมจํ า นวนหุ น ทั้ ง สิ้ น 204 ล า นหุ น คิ ด เป น ร อ ยละ 51 โดยบั น ทึ ก ข อ ตกลงดั ง กล า วอาจถู ก ยกเลิ ก ได หากไม เ ป น ไปตามเงื่ อ นไขในข อ ตกลงที่ กํ า หนดไว ภ ายในกํ า หนด 1 เดื อ น นั บ แต วั น ที่ ทํ า บั น ทึ ก ข อ ตกลง ทั้ ง นี้ เมื่อเงื่อนไขดังกลาวขางตนบรรลุผล และบริษัทยอยดังกลาวไดรับโอนหุนเรียบรอยแลว บริษัทยอยจะทําคําเสนอซื้อหุน Q-CON จากผูถือหุนเปนการทั่วไปตามหลักเกณฑของกฎหมายที่เกี่ยวของ

123


38

มาตรฐานการบัญชีไทยที่ยังไมไดใช กลุมบริษัทยังไมไดใชมาตรฐานการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหม ณ วันที่ในงบการเงิน เนื่องจากยังไมมีการบังคับใช มาตรฐานการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหมดังกลาวใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม ของปที่กําหนด มีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40

39

เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผยขอมูล เกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล การเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน

ปที่มีผล บังคับใช 2555 2554 2554

การจัดประเภทรายการใหม รายการในงบการเงิน รวมของป 2551 บางรายการไดจ ัด ประเภทรายการใหมใ หส อดคลอ งกับ รายการใน งบการเงินรวมของป 2552 ดังนี้

งบดุล เงินลงทุนในบริษทั รวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงินลงทุนในบริษทั รวม เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกัน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมหมุนเวียนอืน่

กอนจัด ประเภทใหม 49,598 137,261 3,737

จัดประเภท ใหม (49,598) 49,504 94 (407) 407

หนวย: ลานบาท

หลังจัด ประเภทใหม 49,504 94 136,854 4,144

การจัดประเภทรายการใหมนี้ เพื่อใหมีความเหมาะสมและใหสอดคลองกับการจัดประเภทรายการตามประกาศกรมพัฒนา ธุรกิจการคา เรื่อง กําหนดรายการยอที่ตองมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552 ลงวันที่ 30 มกราคม 2552

124


งบการเงิน

บริษัทปูนซิเมนต ไทย จํากัด (มหาชน)

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผูถือหุนบริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบกําไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลง สวนของผูถือหุนและงบกระแสเงินสดสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษั ทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ซึ่ ง ผู บ ริ ห ารของกิ จ การเป น ผู รั บ ผิ ด ชอบต อ ความถู ก ต อ งและครบถ ว นของข อ มู ล ในงบการเงิ น เหล า นี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา งบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ของบริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ตรวจสอบโดย ผูสอบบัญชีอื่น ซึ่งแสดงความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 25 กุมภาพันธ 2552 ขาพเจาไดปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป ซึง่ กําหนดใหขา พเจาตองวางแผนและ ปฏิบัติงานเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระ สําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เปนจํานวนเงินและ การเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการ เกีย่ วกับรายการทางการเงินทีเ่ ปนสาระสําคัญซึง่ ผูบ ริหารเปนผูจ ดั ทําขึน้ ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของ การแสดงรายการที่ นํ า เสนอในงบการเงิ น โดยรวม ข า พเจ า เชื่ อ ว า การตรวจสอบดั ง กล า วให ข อ สรุ ป ที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผลการดําเนินงานและ กระแสเงินสดสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษั ทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควร ในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

สุพจน สิงหเสนห ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 2826 บริษัทเคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 24 กุมภาพันธ 2553

125


บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) งบดุล

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หนวย: พันบาท

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา ลูกหนี้และเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทรวม เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

หมายเหตุ

5 4

6 6 7 4 23 8 9 10

2552 22,989,626 61,663,875 911,249 85,564,750

17,450,194 58,929,534 758,632 77,138,360

43,527,001 18,184,381 3,512,915 436,129 1,413,912 2,037,071 166,071 409,918 52,983 69,740,381

46,374,980 16,963,240 3,512,880 444,439 1,371,061 2,199,059 77,073 258,563 48,888 71,250,183

155,305,131

148,388,543

ในนามคณะกรรมการ

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานกรรมการ หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 126

2551

กานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ


บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) งบดุล

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หนวย: พันบาท

หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา หนี้สินระยะยาวสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หุนกูสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เจาหนี้และเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ดอกเบี้ยคางจาย คาใชจายคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน หุนกู หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

หมายเหตุ 11 12 13 4

13

2552

2551

64,983 15,000,000 2,544,859 1,275,867 26,135 139,405 19,051,249

4,500,000 68,648 103,553 25,000,000 3,367,527 1,232,851 62,833 114,162 34,449,574

95,000,000 117,392 95,117,392

80,000,000 146,306 80,146,306

114,168,641

114,595,880

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 127


บริษัท ปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) งบดุล

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หนวย: พันบาท

หนี้สินและสวนของผูถือหุน สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชําระแลว ผลขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุน กําไรสะสม จัดสรรแลว ทุนสํารองตามกฎหมาย ทุนสํารองทั่วไป ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 128

หมายเหตุ

2552

2551

14 14

1,600,000 1,200,000

1,600,000 1,200,000

15

(15)

(39)

15

160,000 10,516,000 29,260,505 41,136,490

120,000 10,516,000 21,956,702 33,792,663

155,305,131

148,388,543


บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุน

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หนวย: พันบาท

หมายเหตุ

2552

2551

รายได รายไดเงินปนผล รายไดคาทรัพยสินทางปญญา รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหาร รายไดอื่น รวมรายได

4 4 4 18

14,053,188 1,615,949 1,329,811 591,100 17,590,048

13,656,926 1,926,408 1,626,408 336,131 17,545,873

คาใชจาย คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนกรรมการ รวมคาใชจาย

16 17

958,922 65,672 1,024,594

838,970 74,660 913,630

16,565,454

16,632,243

(22,555)

(1,631)

16,542,899

16,630,612

4, 20

2,765,241

2,263,093

21

13,777,658 (151,365)

14,367,519 244,421

13,929,023

14,123,098

11.61

11.77

กําไรจากการดําเนินงาน ขาดทุนจากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน และอื่น ๆ

6

กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได (ผลประโยชนภาษีเงินได) ตนทุนทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินได (ผลประโยชนภาษีเงินได) ภาษีเงินได (ผลประโยชนภาษีเงินได) กําไรสุทธิ กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท)

22

ในนามคณะกรรมการ

จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานกรรมการ

กานต ตระกูลฮุน กรรมการผูจัดการใหญ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 129


บริษัท ปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

หมายเหตุ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 ผลขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง เงินลงทุนเผื่อขาย กําไรสุทธิ รวมสวนของรายไดและคาใชจายที่รับรู เงินปนผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2552 ผลกําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริง เงินลงทุนเผื่อขาย กําไรสุทธิ รวมสวนของรายไดที่รับรู โอนไปทุนสํารองตามกฎหมาย เงินปนผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 130

24

15 24

ทุนเรือนหุน ที่ออกและ ชําระแลว

การเปลี่ยนแปลง ในมูลคายุติธรรม

1,200,000

23

1,200,000

(62) (62) (39)

1,200,000

(39)

1,200,000

24 24 (15)


หนวย: พันบาท

กําไรสะสม จัดสรรแลว ทุนสํารอง ตามกฎหมาย

ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของ ผูถือหุน

ทุนสํารองทั่วไป

120,000

10,516,000

23,337,024

35,173,047

120,000

10,516,000

14,123,098 14,123,098 (15,503,420) 21,956,702

(62) 14,123,098 14,123,036 (15,503,420) 33,792,663

120,000

10,516,000

21,956,702

33,792,663

40,000 160,000

10,516,000

13,929,023 13,929,023 (40,000) (6,585,220) 29,260,505

24 13,929,023 13,929,047 (6,585,220) 41,136,490

131


บริษัท ปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หนวย: พันบาท

2552 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิ รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่ยังไมเกิดขึ้น ขาดทุนจากการขายเงินลงทุนและสินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน และอื่นๆ กําไรจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ กําไรจากการขายสินทรัพยไมมีตัวตน รายไดเงินปนผล ภาษีเงินได (ผลประโยชนภาษีเงินได) กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน

2551

13,929,023

14,123,098

120,074 (3,329,299) 5,728,374 16,696

96,400 (3,139,410) 5,042,039 69,163

22,555 (20,414) (68) (14,053,188) (151,365) 2,262,388

1,631 (996) (8,550) (13,656,926) 244,421 2,770,870

(260,172) 850 (4,095) (263,417)

235,226 43,681 (3,251) 275,656

(3,665) 97,191 (10,932) (28,914) 53,680

(28,919) (88,915) (280,045) (14,274) (412,153)

เงินสดรับจากการดําเนินงาน จายภาษีเงินได

2,052,651 (151,073)

2,634,373 (175,408)

เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน

1,901,578

2,458,965

สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) - สุทธิ หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจาหนี้การคา เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน คาใชจายคางจายและหนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 132


บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หนวย: พันบาท

2552

2551

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย รับเงินปนผล ซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทอื่น เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนและรับคืนทุน ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับจากการขายสินทรัพยไมมีตัวตน เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน รับชําระจากเงินใหกูยืมแกบริษัทอื่น เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมลงทุน

3,271,499 14,053,029 (1,515,326) 3,119,608 (42,642) 29,739 (14,784) 100 (2,485,887) 16,415,336

3,115,457 14,865,236 (936,290) 1,035,300 (102,815) 391 (24,277) 79,494 (3,046,182) 159,807 15,146,121

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูยืม จายดอกเบี้ย เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดจายชําระหนี้สินระยะยาว เงินสดจายชําระคืนเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดรับจากการออกหุนกู เงินสดจายจากการไถถอนหุนกู เงินกูยืมเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ เงินปนผลจาย เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

(5,697,487) (4,500,000) (103,553) (891,222) 30,000,000 (25,000,000) (6,192,262) (6,585,220) (12,777,482)

(4,898,320) 4,500,000 (273,908) (178,911) 40,000,000 (25,000,000) 14,148,861 (15,503,420) (1,354,559)

5,539,432

16,250,527

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป

17,450,194

1,199,667

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป

22,989,626

17,450,194

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น - สุทธิ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 133


บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน

สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

134

สารบัญ ขอมูลทั่วไป เกณฑการจัดทํางบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สําคัญ รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้การคา เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน หนี้สินระยะยาว หุนกู ทุนเรือนหุน สํารอง คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนกรรมการ รายไดอื่น คาใชจายพนักงาน ตนทุนทางการเงิน ภาษีเงินได (ผลประโยชนภาษีเงินได) กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน สัญญาใหการสนับสนุนทางการเงิน เงินปนผลจาย เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น การบริหารจัดการสวนทุน เรื่องอื่นๆ เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน มาตรฐานการบัญชีไทยที่ยังไมไดใช การจัดประเภทรายการใหม

หนา 135 135 136 141 145 145 147 148 149 150 150 150 151 151 152 152 152 153 153 153 154 154 154 154 155 157 157 158 158 158 159


หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการตรวจสอบตามการมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2553 1

ขอมูลทั่วไป บริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) “บริษัท” เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และที่อยูจดทะเบียนตั้งอยูเลขที่ 1 ถนนปูนซิเมนตไทย บางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 ประเทศไทย บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2518 บริษัทเปนผูลงทุนในกลุมธุรกิจหลัก ไดแก ธุรกิจเคมีภัณฑ ธุรกิจกระดาษ ธุรกิจซิเมนต ธุรกิจผลิตภัณฑกอสราง ธุรกิจจัดจําหนาย และธุรกิจการลงทุน

2

เกณฑการจัดทํางบการเงิน งบการเงิ น นี้ นํ า เสนอเพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค ข องการรายงานเพื่ อ ใช ใ นประเทศ และจั ด ทํ า เป น ภาษาไทย งบการเงิ น ฉบั บ ภาษาอังกฤษไดจัดทําขึ้นเพื่อความสะดวกของผูอานงบการเงินที่ไมคุนเคยกับภาษาไทย งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีที่ประกาศใชโดยสภาวิชาชีพบัญชี (“สภาวิชาชีพบัญชี”) และจัดทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของ ประเทศไทย เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศฉบับที่ 12/2552 การจัดเลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชี ของไทยใหมใหตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ บริษัทไดใชมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปรับปรุงใหมตลอดจนแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ออก โดยสภาวิชาชีพบัญชีในระหวางป 2551 และ 2552 ตอไปนี้ ซึ่งมีผลบังคับสําหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เปนตนไป มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550)

เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและ การดําเนินงานที่ยกเลิก (ฉบับ 54 เดิม)

แมบทการบัญชี เพื่อจัดทําและนําเสนองบการเงิน (ปรับปรุง 2550) (มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 26 มิถุนายน 2552) การใชมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุงตลอดจนแนวปฏิบัติทางการบัญชีเหลานี้ ไมมี ผลกระทบที่เปนสาระสําคัญกับงบการเงินเฉพาะกิจการ ในระหวางป 2552 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกและปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีหลายฉบับ ซึ่งยังไมมีผลบังคับในปจจุบันและ ไมไดมีการนํามาใชสําหรับการจัดทํางบการเงินนี้ มาตรฐานการบัญชีที่ไดออกและปรับปรุงใหมเหลานี้ไดเปดเผยใน หมายเหตุ 30 งบการเงินนี้แสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาท ยกเวนที่ระบุไวเปนอยางอื่น งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑการบันทึก ตามราคาทุนเดิม ยกเวนตามที่ระบุในนโยบายการบัญชี

135


ในการจัดทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบริหารตองใชการประมาณ และขอสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอการกําหนดนโยบายและการรายงานจํานวนเงินที่เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจาย ผลที่เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกตางจากที่ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทํางบการเงินจะไดรับการทบทวนอยางตอเนื่อง การปรับประมาณการทางบัญชี จะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกลาวไดรับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ไดรับผลกระทบ ขอมูลเกี่ยวกับการประมาณความไมแนนอนและขอสมมติฐานที่สําคัญในการกําหนดนโยบายการบัญชี มีผลกระทบสําคัญตอ การรับรูจํานวนเงินในงบการเงิน และรวมอยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินตอไปนี้ หมายเหตุ 5, 6, 7, 8 และ 9 หมายเหตุ 10 หมายเหตุ 26 3

การวัดมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยแตละรายการและหนวยสินทรัพย ที่กอใหเกิดเงินสด การใชประโยชนของขาดทุนทางภาษีเงินได ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ

(ก) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดในงบกระแสเงินสด ประกอบดวย เงินสด เงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียกและเงินลงทุนระยะสั้น ที่มีสภาพคลองสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะตองชําระคืนเมื่อทวงถามถือเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมจัดหาเงินใน งบกระแสเงินสด (ข) ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อนื่ แสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักดวยคาเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชําระหนี้ และการคาดการณเกี่ยวกับการชําระหนีใ้ นอนาคตของลูกคา ลูกหนี้จะถูกตัดจําหนายบัญชีเมื่อทราบวาเปนหนี้สูญ (ค) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทยอย และบริษัทรวม เงินลงทุนในบริษัทยอย และบริษัทรวม บันทึกบัญชีโดยใชวิธีราคาทุน เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเปนหลักทรัพยในความตองการของตลาดซึ่งถือไวเพื่อคาจัดประเภทเปนสินทรัพยหมุนเวียนและ แสดงในราคายุติธรรม กําไรหรือขาดทุนจากการตีราคาหลักทรัพยไดบันทึกในงบกําไรขาดทุน ตราสารหนี้ซึ่งบริษัทตั้งใจและสามารถถือจนครบกําหนดจัดประเภทเปนเงินลงทุนที่ถือจนครบกําหนดและแสดงในราคาทุน ตัดจําหนายหักดวยขาดทุนจากการดอยคา ผลตางระหวางราคาทุนที่ซื้อมากับมูลคาไถถอนของตราสารหนี้จะถูกตัดจายโดยวิธี อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ ตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเปนหลักทรัพยในความตองการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไวเพื่อคาหรือตั้งใจถือไวจนครบ กําหนด จัดประเภทเปนเงินลงทุนเผื่อขาย ภายหลังการรับรูมูลคาในครั้งแรก เงินลงทุนเผื่อขายแสดงในมูลคายุติธรรม และ การเปลี่ยนแปลงที่ไมใชผลขาดทุนจากการดอยคาและผลตางจากสกุลเงินตราตางประเทศของรายการที่เปนตัวเงินบันทึก 136


โดยตรงในสวนของผูถือหุน สวนผลขาดทุนจากการดอยคาและผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศรับรูใน งบกําไรขาดทุน เมื่อมีการจําหนายเงินลงทุน จะรับรูผลกําไรหรือขาดทุนที่เคยบันทึกในสวนของผูถือหุนโดยตรงเขาใน งบกําไรขาดทุน ในกรณีที่เปนเงินลงทุนประเภทที่มีดอกเบี้ยจะบันทึกดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไมใชหลักทรัพยในความตองการของตลาดแสดงในราคาทุนหักดวยขาดทุนจากการดอยคา มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินสําหรับหลักทรัพยเพื่อคาและหลักทรัพยเผื่อขายจะใชราคาเสนอซื้อ ณ วันที่รายงาน การจําหนายเงินลงทุน เมื่อมีการจําหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางจํานวนเงินสุทธิที่ไดรับและมูลคาตามบัญชี รวมถึงกําไรหรือขาดทุนจากการ ตีราคาหลักทรัพยที่เกี่ยวของที่เคยบันทึกในสวนของผูถือหุนจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุน ในกรณีที่บริษัทจําหนายเงินลงทุนที่ถืออยูเพียงบางสวน การคํานวณตนทุนสําหรับเงินลงทุนที่จําหนายไปและเงินลงทุนที่ยัง ถืออยูใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (ง)

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยทเี่ ปนกรรมสิทธิ์ของกิจการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักดวยคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา สินทรัพยที่เชา การเชาซึ่งบริษัทไดรับความเสี่ยงและผลตอบแทนสวนใหญจากการครอบครองสินทรัพยที่เชานั้นๆ จัดประเภทเปนสัญญาเชา ทางการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณที่ไดมาโดยทําสัญญาเชาทางการเงินบันทึกเปนสินทรัพยดวยมูลคายุติธรรมหรือมูลคา ปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตจํานวนใดจะต่ํากวาหักดวยคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจาก การดอยคา คาเชาที่ชําระจะแยกเปนสวนที่เปนคาใชจายทางการเงินและสวนที่จะหักจากหนี้ตามสัญญา เพื่อทําใหอัตรา ดอกเบี้ยเมื่อเทียบกับยอดหนี้ที่คงเหลืออยูในแตละงวดมีอัตราคงที่ คาใชจายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบกําไรขาดทุน คาเสื่อมราคา คาเสื่อมราคาบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน คํานวณโดยวิธีเสนตรงตามระยะเวลาดังนี้ สวนปรับปรุงที่ดนิ อาคารและสิ่งปลูกสราง เครื่องจักรและอุปกรณ ยานพาหนะและอุปกรณ เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน

5 - 20 5, 20 5, 20 5 5

ป ป ป ป ป

บริษัทไมคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสราง (จ) สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ ที่บริษัทซื้อมาและมีอายุการใชงานจํากัด แสดงในราคาทุนหักดวยคาตัดจําหนายสะสม และขาดทุน จากการดอยคา สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นถูกตัดจําหนายและบันทึกในงบกําไรขาดทุน คํานวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑ

137


ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจนับจากวันที่อยูในสภาพพรอมใชงาน ระยะเวลาที่บริษัทคาดวาจะไดรับ ประโยชนเชิงเศรษฐกิจแสดงไดดังนี้ คาลิขสิทธิ์ซอฟทแวร อื่นๆ

3 - 10 ป 3, 5 ป

(ฉ) การดอยคา มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยของบริษัทไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานวามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ในกรณีที่มี ขอบงชี้จะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคารับรูเมื่อมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย หรือมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด สูงกวามูลคาที่จะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาบันทึกในงบกําไรขาดทุน เวนแตเมื่อมีการกลับรายการการประเมินมูลคา ของสินทรัพยเพิ่มขึ้นของสินทรัพยชิ้นเดียวกันกับที่เคยรับรูในสวนของผูถือหุนและมีการดอยคาในเวลาตอมา ในกรณีนี้รับรู ในสวนของผูถือหุน เมื่อมีการลดลงในมูลคายุติธรรมของสินทรัพยทางการเงินเผื่อขาย ซึ่งไดบันทึกในสวนของผูถือหุน และมีความชัดเจนวา สินทรัพยดังกลาวมีการดอยคา ขาดทุนซึ่งเคยบันทึกในสวนของผูถือหุนจะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยไมตองปรับกับ สินทรัพยทางการเงินดังกลาว ขาดทุนที่บันทึกในงบกําไรขาดทุนเปนผลตางระหวางราคาทุนที่ซื้อกับมูลคายุติธรรมในปจจุบัน ของสินทรัพยหักดวยขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินนั้นๆ ซึ่งเคยรับรูแลวในงบกําไรขาดทุน การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของกลุมหลักทรัพยที่ถือไวจนกวาจะครบกําหนดและลูกหนี้ที่บันทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจําหนาย คํานวณโดยการหามูลคาปจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคต คิดลดดวยอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง สําหรับลูกหนี้ระยะสั้นไมมีการคิดลด มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงิน หมายถึง มูลคาจากการใชของสินทรัพยหรือมูลคายุติธรรม ของสินทรัพยหักตนทุนในการขายแลวแตมูลคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชของสินทรัพยประมาณจาก กระแสเงินสดที่จะไดรับในอนาคตคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนคํานึงถึงภาษีเงินไดเพื่อใหสะทอนมูลคาที่ อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอสินทรัพย การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และ การเพิ่มขึ้นนั้นสัมพันธโดยตรงกับขาดทุนจากการดอยคาที่เคยรับรู ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยทางการเงินอื่นๆ ที่เคยรับรูในงวดกอนจะถูกประเมิน ณ ทุกวันที่รายงาน วามีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ซึ่งหากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใชในการคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการเพียงเทาที่มูลคาตามบัญชีของสินทรัพย ไมเกินกวามูลคาตามบัญชีภายหลังหักดวย คาเสื่อมราคาสะสมหรือคาตัดจําหนายสะสม เสมือนหนึ่งไมเคยมีการบันทึกขาดทุนจากการดอยคามากอน (ช) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น แสดงในราคาทุน

138


(ซ) ผลประโยชนพนักงาน โครงการสมทบเงิน ภาระหนี้สินตามโครงการสมทบเงินจะบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น (ฌ) ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรูในงบดุลก็ตอเมื่อบริษัทมีภาระหนี้สินตามกฎหมายที่เกิดขึ้นในปจจุบัน หรือที่กอตัวขึ้นอันเปนผลมาจาก เหตุการณในอดีต และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาประโยชนเชิงเศรษฐกิจจะตองถูกจายไปเพื่อชําระภาระหนี้สิน ดังกลาว และสามารถประมาณจํานวนภาระหนี้สินไดอยางนาเชื่อถือ ถาผลกระทบดังกลาวมีจํานวนที่เปนสาระสําคัญ ประมาณการหนี้สินพิจารณาจากการคิดลดกระแสเงินสดที่จะจายในอนาคตโดยใชอัตราคิดลดในตลาดปจจุบันกอนคํานึงถึง ภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนจํานวนที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบันซึ่งแปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอหนี้สิน (ญ) รายได รายไดที่รับรูไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม รายไดคาธรรมเนียม รายไดคาทรัพยสินทางปญญา รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหารและการบริการรับรูเปนรายไดตามเกณฑคงคางตามที่ กําหนดในสัญญา รายไดคาเชา รายไดคาเชารับรูในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา คาใชจายเริ่มแรกที่เกิดเปนการเฉพาะเพื่อกอใหเกิด รายไดตามสัญญาเชาจะรับรูเปนคาใชจายในงวดที่เกิดคาใชจายนั้น ดอกเบี้ยรับและเงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑคงคาง เงินปนผลรับบันทึกในงบกําไรขาดทุนในวันที่บริษัทมีสิทธิไดรับเงินปนผล ในกรณีเงินปนผลที่จะไดรับจากหลักทรัพยในความตองการของตลาดจะพิจารณาจากวันที่มีการประกาศสิทธิการรับเงินปนผล (ฎ) คาใชจาย สัญญาเชาดําเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานบันทึกในงบกําไรขาดทุนโดยวิธีเสนตรงตลอดอายุสัญญาเชา ประโยชนที่ไดรับตาม สัญญาเชาจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเปนสวนหนึ่งของคาเชาทั้งสิ้นตามสัญญา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นจะบันทึกในงบกําไรขาดทุน ในรอบบัญชีที่มีรายการดังกลาว ตนทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจายและคาใชจายในทํานองเดียวกันบันทึกในงบกําไรขาดทุนในงวดที่คาใชจายดังกลาวเกิดขึ้น ยกเวนในกรณีที่มีการ บันทึกเปนตนทุนสวนหนึ่งของสินทรัพย อันเปนผลมาจากการใชเวลายาวนานในการจัดหา กอสราง หรือการผลิตสินทรัพย ดังกลาวกอนที่จะนํามาใชเองหรือเพื่อขาย ดอกเบี้ยซึ่งเปนสวนหนึ่งของคางวดตามสัญญาเชาการเงินบันทึกในงบกําไรขาดทุน โดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง

139


คาใชจายสําหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน บริษัทไดเสนอสิทธิใหพนักงานจํานวนหนึ่งที่เขาหลักเกณฑเพื่อการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน พนักงานทีเ่ ห็นชอบ กับขอเสนอจะไดรับเงินจํานวนหนึ่งโดยคํานวณผันแปรตามเงินเดือนลาสุด จํานวนปที่ทํางาน หรือจํานวนเดือนคงเหลือกอน การเกษียณตามปกติ บริษัทบันทึกเปนคาใชจายสําหรับแผนการออกจากงานดวยความเห็นชอบรวมกัน (ฏ) ภาษีเงินได ภาษีเงินไดจากกําไรหรือขาดทุนสําหรับป ประกอบดวย ภาษีเงินไดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดรับรูใน งบกําไรขาดทุน เวนแตในสวนที่เกี่ยวกับรายการที่บันทึกในสวนของผูถือหุนรับรูโดยตรงในสวนของผูถือหุน ภาษีเงินไดปจจุบัน ภาษี เงิ นได ปจ จุบัน ไดแก ภาษีที่ คาดว าจะจายชํา ระโดยคํานวณจากกํา ไรประจํา ปที่ ตอ งเสี ยภาษี โดยใช อัตราภาษี ที่ ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปกอนๆ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีบันทึกโดยคํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สิน และจํานวนที่ใชเพื่อความมุงหมายทางภาษี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะไมถูกรับรูเมื่อเกิดจากผลแตกตางชั่วคราวตอไปนี้ การรับรูคาความนิยมในครั้งแรก การรับรูสินทรัพยหรือหนี้สินในครั้งแรกซึ่งเปนรายการที่ไมใชการรวมธุรกิจและรายการนั้น ไมมีผลกระทบตอกําไรทางบัญชีหรือกําไรทางภาษี และผลแตกตางที่เกี่ยวของกับเงินลงทุนในบริษัทยอยและกิจการรวมคา หากเปนไปไดวาจะไมมีการกลับรายการในอนาคตอันใกล ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีวัดมูลคาโดยใชอัตราภาษีที่คาดวาจะใช กับผลแตกตางชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการโดยอิงกับกฎหมายที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันที่รายงาน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะบันทึกตอเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากําไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตจะมีจํานวน เพียงพอกับการใชประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวดังกลาว สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะถูกทบทวน ณ ทุกวันที่รายงาน และจะถูกปรับลดลงเทาที่ประโยชนทางภาษีจะมีโอกาสถูกใชจริง (ฐ) เงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่รายงานแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน กําไรหรือขาดทุนจากการแปลงคาจะบันทึกในงบกําไรขาดทุน สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศและบันทึกตามเกณฑราคาทุนเดิม แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการ บัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศซึ่งแสดงในมูลคายุติธรรม แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่มีการ พิจารณามูลคายุติธรรม

140


(ฑ) เครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ สินทรัพยทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่ปรากฏในงบดุล รวมถึง เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น ลูกหนี้ระยะยาว เงินใหกูยืม เงินลงทุน เงินกูยืม และหุนกู บริษัทดําเนินธุรกิจกับตางประเทศและมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทได ใชเครื่องมือทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงดังกลาว กําไรหรือขาดทุนจากการทําประกันความเสี่ยงรับรูในงบกําไรขาดทุนใน งวดบัญชีเดียวกันกับงวดที่เกิดผลแตกตางจากอัตราแลกเปลี่ยนของสินทรัพยทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงินที่ทําประกัน ความเสี่ยงไว 4

รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ไดแก บุคคลหรือกิจการตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกับบริษัท โดยการมีผูถือหุนรวมกันหรือมี กรรมการรวมกัน รายการที่เกิดขึ้นกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันไดกําหนดขึ้นโดยใชราคาตลาดหรือในราคาที่ตกลงกัน ตามสัญญาหากไมมีราคาตลาดรองรับ รายการที่สําคัญกับกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม และนโยบายการกําหนดราคาสรุปไดดังนี้ 2551

นโยบายการกําหนดราคา

2,918

3,317

12,150 20 2,979 18

9,629 1 2,876 39

สวนใหญคิดตามอัตรารอยละ ของยอดขายสุทธิ ตามจํานวนที่ประกาศจาย ราคาตลาด อัตราตามสัญญา อัตราตามสัญญา

บริษัทรวม รายไดคาทรัพยสินทางปญญา รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหาร รายไดคาบริการและอื่นๆ

34

38

รายไดเงินปนผล ดอกเบี้ยรับ

823 27

2,588 52

บริษัทอืน่ รายไดคาทรัพยสินทางปญญา รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหาร รายไดคาบริการและอื่นๆ

205

299

1,080 35

1,440 35

บริษัทยอย รายไดคาทรัพยสินทางปญญา รายไดคาธรรมเนียมการจัดการบริหาร รายไดคาบริการและอื่นๆ รายไดเงินปนผล กําไรจากการขายสินทรัพย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย

รายไดเงินปนผล ดอกเบี้ยจาย

2552

หนวย: ลานบาท

สวนใหญคิดตามอัตรารอยละ ของยอดขายสุทธิ ตามจํานวนที่ประกาศจาย อัตราตามสัญญา

สวนใหญคิดตามอัตรารอยละ ของยอดขายสุทธิ ตามจํานวนที่ประกาศจาย อัตราตามสัญญา

งบกําไรขาดทุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทแสดงตนทุนทางการเงินจํานวน 2,765 ลานบาท (2551: 2,263 ลานบาท) ประกอบดวยดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงินจํานวน 5,771 ลานบาท (2551: 5,191 ลานบาท) และดอกเบี้ยรับจากกิจการที่เกี่ยวของกันจํานวน 3,006 ลานบาท (2551: 2,928 ลานบาท)

141


ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม กับกิจการที่เกี่ยวของกันมีดังนี้ ลูกหนี้และเงินใหกูยืมระยะสัน้ แกกิจการที่เกี่ยวของกัน

บัญชีเดินสะพัด บริษัทยอย บริษัทไทยโพลิเอททีลีน จํากัด (จดทะเบียนนิติบุคคลใหม เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2552) บริษัทไทยโพลิเอททีลีน จํากัด บริษัทมาบตาพุดโอเลฟนส จํากัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (แกงคอย) จํากัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทาหลวง) จํากัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (ทุง สง) จํากัด บริษัทผลิตภัณฑและวัตถุกอสราง จํากัด บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน จํากัด (จดทะเบียนนิติบุคคลใหม เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2552) บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน จํากัด บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จํากัด บริษัทกระเบือ้ งกระดาษไทย จํากัด บริษัทคาสากลซิเมนตไทย จํากัด บริษัทเซรามิคอุตสาหกรรมไทย จํากัด บริษัทเอสซีจี โลจิสติกส แมเนจเมนท จํากัด บริษัทเอสซีจี ซิเมนต จํากัด บริษัทอุตสาหกรรมกระดาษคราฟทไทย จํากัด บริษัทปูนซิเมนตไทย (ลําปาง) จํากัด บริษัทเอสซีจี เปเปอร จํากัด (มหาชน) บริษัทเอสซีจี เน็ตเวิรค แมเนจเมนท จํากัด บริษัทสยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จํากัด บริษัทไทยโพลิโพรไพลีน (1994) จํากัด บริษัทไทยโพลิเอททีลีน (1993) จํากัด บริษัทอืน่ ๆ

142

2552

หนวย: ลานบาท

2551

156 151 104 102 95 66

138 25 98 69 83 72

65 46 44 42 37 29 23 23 21 19 16 16 162 1,217

26 34 41 51 37 28 13 8 31 26 20 18 30 18 82 948


บริษัทรวม Mariwasa Siam Ceramic, Inc. บริษัทอืน่ ๆ บริษัทอืน่ บริษัทสยามมิชลินกรุป จํากัด บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด บริษัทอืน่ ๆ

ตั๋วเงินรับ บริษัทยอย บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จํากัด บริษัทเอสซีจี เปเปอร จํากัด (มหาชน) บริษัทซิเมนตไทยโฮลดิง้ จํากัด บริษัทกระเบือ้ งกระดาษไทย จํากัด บริษัทเซรามิคซิเมนตไทย จํากัด บริษัทผลิตภัณฑและวัตถุกอสราง จํากัด Kampot Cement Co., Ltd. บริษัทบางซื่อการจัดการ จํากัด บริษัทเอสซีจี ดิสทริบิวชัน่ จํากัด บริษัทเอสซีจี แอคเคานติ้ง เซอรวสิ เซส จํากัด เงินใหกยู ืมระยะสั้น บริษัทรวม Mariwasa Siam Ceramic, Inc. รวม

หนวย: ลานบาท

2552

2551

15 22 37

10 38 48

205 17 10 232 1,486

205 13 18 236 1,232

27,589 12,502 8,471 5,983 2,448 2,308 727 150 60,178

18,379 17,216 8,262 7,002 3,743 1,688 280 1,087 36 57,693

-

5

61,664

58,930

เงินใหกูยมื ระยะยาวแกกจิ การที่เกีย่ วของกัน

บริษัทรวม Mariwasa Siam Ceramic, Inc.

2552 436

หนวย: ลานบาท

2551

444

143


รายการเคลื่อนไหวระหวางปสําหรับเงินใหกยู ืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันมีดงั นี้ 2552

หนวย: ลานบาท

2551

ระยะสั้น ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

57,698 26,733 (24,253) 60,178

54,647 36,063 (33,012) 57,698

ระยะยาว ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

444 5 (13) 436

495 35 (86) 444

เจาหนี้และเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการทีเ่ กี่ยวของกัน 2552 บัญชีเดินสะพัด ตั๋วเงินจาย บริษัทยอย บริษัทเหล็กสยาม จํากัด Cementhai Ceramic (Singapore) Pte. Ltd. บริษัทพร็อพเพอรตี้ แวลู พลัส จํากัด บริษัทเอสซีจี ดิสทริบิวชัน่ จํากัด บริษัทเอสซีจี แอคเคานติ้ง เซอรวสิ เซส จํากัด Cementhai Gypsum (Singapore) Pte. Ltd. Cementhai Roof Products (Singapore) Pte. Ltd. Cementhai Concrete Products (Singapore) Pte. Ltd. บริษัทอืน่ ๆ บริษัทอืน่ มูลนิธิซิเมนตไทย

144

หนวย: ลานบาท

2551

188

103

1,069 196 78 60 26 4 29 1,462

1,369 423 37 81 63 40 34 2,047

627 2,089

657 2,704


เงินกูยืมระยะสั้น บริษัทยอย Tuban Petrochemicals Pte. Ltd. Cementhai Gypsum (Singapore) Pte. Ltd.

2552

รวม

หนวย: ลานบาท

2551

235 33 268

526 35 561

2,545

3,368

รายการเคลื่อนไหวระหวางปสําหรับเงินกูย ืมระยะสั้นจากกิจการทีเ่ กี่ยวของกันมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้น ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 5

2552 3,265 3,557 (4,465) 2,357

2551 3,412 1,475 (1,622) 3,265

ลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม บริษัทมีลูกหนี้ที่มียอดคางชําระนานแยกตามอายุหนีท้ ี่คางชําระไดดังนี้ 2552 มากกวา 1 ป ขึน้ ไป หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

6

65 65 -

หนวย: ลานบาท

2551

65 65 -

เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม รายการเคลื่อนไหวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สําหรับเงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุนมี ดังนี้

ณ วันที่ 1 มกราคม ซื้อและลงทุนเพิ่ม จําหนายและรับคืนจากการลดทุน คาเผื่อการดอยคาสุทธิจากการกลับรายการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2552 63,338 1,515 (2,898) (244) 61,711

หนวย: ลานบาท

2551 63,439 936 (1,037) 63,338

145


เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และเงินปนผลรับจากเงินลงทุนระหวางปสิ้นสุด ณ วันเดียวกัน มีดังนี้ สัดสวน ความเปนเจาของ (รอยละ) 2552 2551 บริษัทเอสซีจี เคมิคอลส จํากัด และบริษัทยอย และบริษัทรวม บริษัทเอสซีจี เปเปอร จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย บริษัทเอสซีจี ซิเมนต จํากัด และบริษัทยอย บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑกอสราง จํากัด และบริษัทยอย และบริษัทรวม บริษัทเอสซีจี ดิสทริบวิ ชั่น จํากัด และบริษัทยอย บริษัทในกลุมธุรกิจการลงทุน รวม

หนวย: ลานบาท

วิธีราคาทุน 2552

2551

คาเผื่อการดอยคา 2552 2551

สุทธิ 2552

2551

เงินปนผล 2552 2551

100

100

36,396

36,471

-

-

36,396

36,471

5,553

9,285

98

98

7,433

7,431

-

-

7,433

7,431

468

572

100

100

9,518

9,518

-

-

9,518

9,518

6,215

1,828

100

100

5,106

5,106

526

346

4,580

4,760

55

63

100 100

100 100

1,714 2,211 62,378

2,800 2,435 63,761

141 667

77 423

1,714 2,070 61,711

2,800 2,358 63,338

370 312 12,973

469 12,217

ในป 2552 บริษัทไดตั้งสํารองคาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนใน Mariwasa Siam Holdings, Inc. Cementhai Ceramic Philippines Holding, Inc. และ บริษัทบางซื่ออุตสาหกรรม จํากัด เพิ่มขึ้นจํานวน 320 ลานบาท และบริษัทไดขายเงินลงทุน ในหุนทุนของบริษัทไอทีวัน จํากัด รอยละ 19 ใหแกผูรวมทุนปจจุบัน ทําใหสัดสวนการถือหุนคงเหลือรอยละ 20 และขาย เงินลงทุนทั้งหมดในหุนทุนของบริษัทยอยแหงหนึ่งใหแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สงผลใหบริษัทมีกําไรสุทธิกอนภาษีจากการ ขายเงินลงทุนทั้งสิ้นจํานวน 299 ลานบาท ซึ่งไดแสดงรายการดังกลาวขางตนภายใต “ขาดทุนจากการขายเงินลงทุนและ สินทรัพยในการปรับโครงสรางทางธุรกิจ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน และอื่นๆ” ในงบกําไรขาดทุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552

146


7

เงินลงทุนระยะยาวอื่น สัดสวน ความเปนเจาของ (รอยละ) 2552 2551 วิธีราคาทุน บริษัทปูนซีเมนตเอเซีย จํากัด (มหาชน) บริษัทโตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด บริษัทเหล็กสยามยามาโตะ จํากัด Finfloor S.P.A. บริษัทสยามมิชลินกรุป จํากัด – หุนบุริมสิทธิชนิดสะสม บริษัทสยามยูไนเต็ดสตีล (1995) จํากัด บริษัทสยามโตโยตาอุตสาหกรรม จํากัด อื่นๆ รวม หัก คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน สุทธิ

10 10 10 10 10 5 4 -

10 10 10 10 10 5 4 -

หนวย: ลานบาท

เงินลงทุน 2552

2551

1,119 881 401 299 267 296 249 10 3,522 9 3,513

1,119 881 401 299 267 296 249 10 3,522 9 3,513

147


8

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ หนวย: ลานบาท

ที่ดนิ และ สวน ปรับปรุง

อาคารและ สิง่ ปลูกสราง

เครือ่ งจักร และอุปกรณ

เครือ่ งตกแตง ติดตัง้ และ ยานพาหนะ เครือ่ งใช งานระหวาง และอุปกรณ สํานักงาน กอสราง

รวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น จําหนาย / ตัดจําหนาย โอนเขา / (ออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิ่มขึ้น จําหนาย / ตัดจําหนาย โอนเขา / (ออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

1,816 (11) 1 1,806 (9) 1,797

1,363 21 1,384 3 (6) 12 1,393

1,064 17 1,081 (1) 4 1,084

37 12 11 60 7 67

303 14 (4) 5 318 9 (1) 33 359

197 76 (55) 218 24 (139) 103

4,780 102 (15) 4,867 43 (17) (90) 4,803

คาเสือ่ มราคาสะสมและ ขาดทุนจากการดอยคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนาย / ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คาเสื่อมราคาสําหรับป จําหนาย / ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

168 6 174 4 178

1,003 55 1,058 57 (6) 1,109

1,035 9 1,044 10 1,054

35 2 37 7 44

254 19 (4) 269 27 (1) 295

86 86 86

2,581 91 (4) 2,668 105 (7) 2,766

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

1,632 1,619

326 284

37 30

23 23

49 64

132 17

2,199 2,037

ราคาตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณกอนหักคาเสื่อมราคาสะสม ซึ่งไดรับการคิดคาเสื่อมราคาเต็มมูลคาแลว แตยังคง ใชงานอยูมีจํานวน 2,114 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 (2551: 2,066 ลานบาท)

148


9

สินทรัพยไมมีตัวตน หนวย: ลานบาท

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 เพิ่มขึ้น จําหนาย / ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เพิ่มขึ้น จําหนาย / ตัดจําหนาย โอนเขา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

คาลิขสิทธิ์ ซอฟทแวร

อื่น ๆ

รวม

153 25 (114) 64 11 (1) 90 164

32 32 4 36

185 25 (114) 96 15 (1) 90 200

คาตัดจําหนายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 คาตัดจําหนายสําหรับป จําหนาย / ตัดจําหนาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คาตัดจําหนายสําหรับป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

21 6 (8) 19 15 34

-

21 6 (8) 19 15 34

มูลคาสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

45 130

32 36

77 166

149


10

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีภายหลังจากการนํามาหักกลบกันตามความเหมาะสม ไดแสดงรวมไวในงบดุล โดยมีรายละเอียดดังนี้ หนวย: ลานบาท

2552 410 410

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สุทธิ

2551 260 (1) 259

รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหวางปมีดังนี้ หนวย: ลานบาท

ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม ขาดทุนสะสมทางภาษี อื่นๆ รวม หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สุทธิ

11

บันทึกเปนรายได (คาใชจาย) ใน งบกําไรขาดทุน (หมายเหตุ 21)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

บันทึกเปนรายได (คาใชจาย) ใน งบกําไรขาดทุน (หมายเหตุ 21)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

74 408 23 505

(48) (196) (1) (245)

26 212 22 260

177 (32) 5 150

203 180 27 410

(2)

1

(1)

1

-

503

(244)

259

151

410

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (สกุลบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีอัตราดอกเบีย้ รอยละ 3.85 ถึงรอยละ 3.88 ตอป ในป 2552 บริษัทมีวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารในประเทศหลายแหงจํานวนเงินประมาณ 740 ลานบาท ซึ่งมีดอกเบี้ยใน อัตราดอกเบี้ยขั้นต่ําของเงินเบิกเกินบัญชี (2551: 585 ลานบาท)

12

หนี้สินระยะยาว หนี้สินระยะยาวที่เปนเงินตราตางประเทศไดมีการทําธุรกรรมอนุพันธทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน มีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยประมาณรอยละ 6.03 ตอป ในป 2551 บริษัทไดทําสัญญาแลกเปลี่ยนหนี้ตางสกุลเงินกับธนาคารตางประเทศสําหรับหนี้สินระยะยาวที่เปนเงินตราตางประเทศ ทั้งหมด โดยบริษัทจะจายชําระคืนหนี้เงินกูเปนเงินตราอีกสกุลหนึ่งตามที่ตกลงไวในสัญญา

150


13

หุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทไดออกหุนกูประเภทไมดอยสิทธิและไมมีหลักประกันมูลคารวม 110,000 ลานบาท (2551: 105,000 ลานบาท) ดังนี้ หนวย: ลานบาท

หุนกูครั้งที่ 1/2548 2/2548 2/2549 3/2549 4/2549 1/2550 2/2550 1/2551 2/2551 1/2552 2/2552 รวม หัก สวนที่ถงึ กําหนด ชําระภายในหนึ่งป สุทธิ

2552 10,000 5,000 15,000 10,000 20,000 20,000 20,000 10,000 110,000

2551 10,000 10,000 5,000 10,000 5,000 15,000 10,000 20,000 20,000 105,000

15,000 95,000

25,000 80,000

อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป) 4.75 5.25 5.75 6.00 6.25 5.75 4.50 4.25 5.35 5.15 4.15

อายุหุนกู 4 ป 4 ป 3 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป 4 ป

มูลคายุติธรรม * 2552 2551 1,004 1,014 1,013 1,009 1,033 1,038 1,041 1,049 1,024 1,041 1,013 1,044 975 1,059 1,054 1,059 1,025 -

ครบกําหนด 1 เมษายน 2552 1 ตุลาคม 2552 1 เมษายน 2552 1 เมษายน 2553 1 ตุลาคม 2553 1 เมษายน 2554 1 พฤศจิกายน 2554 1 เมษายน 2555 1 พฤศจิกายน 2555 1 เมษายน 2556 1 ตุลาคม 2556

* ราคาซื้อขายสุดทาย (บาทตอหนวย: มูลคาตอหนวยเทากับ 1,000 บาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 14

ทุนเรือนหุน

ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุนสามัญ ทุนทีอ่ อกและชําระแลว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุนสามัญ

ราคาตาม มูลคาหุน (บาท)

จํานวนหุน

มูลคา

จํานวนหุน

มูลคา

1

1,600

1,600

1,600

1,600

1

1,600

1,600

1,600

1,600

1

1,200

1,200

1,200

1,200

1

1,200

1,200

1,200

1,200

หนวย: ลานหุน / ลานบาท

2552

2551

151


15

สํารอง การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมที่บันทึกไปยังสวนของผูถือหุน รวมผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงสุทธิในมูลคายุติธรรม ของเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขายจนกระทั่งมีการจําหนายเงินลงทุนนั้น สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสํารอง (“สํารอง ตามกฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสํารองดังกลาว มีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2552 มีมติอนุมัติใหจัดสรรทุนสํารองตามกฎหมายเพิ่มเติมจํานวน 40 ลานบาท

16

คาใชจายในการบริหาร

เงินเดือน สวัสดิการและคาใชจายพนักงาน คาธรรมเนียมวิชาชีพ คาประชาสัมพันธ คาเสื่อมราคา คาเชา คาจางแรงงานภายนอก คาสาธารณูปโภค คาซอมแซม ตกแตงและบํารุงรักษา คาภาษีใบอนุญาตและคาธรรมเนียมอื่นๆ คาสื่อสารและขนสง คาใชจายเรียกเก็บ อื่นๆ รวม

2552 927 233 157 104 101 68 66 44 22 18 (836) 55 959

หนวย: ลานบาท

2551 838 121 258 79 112 58 63 54 28 24 (873) 77 839

คา ตอบแทนของผูบ ริห ารที่ไ ดรับ จากบริษัท ไดแก เงิน เดือ น โบนัส เงิน ตอบแทนพิเศษและอื่นๆ รวมทั้งเงิน สมทบ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพที่บริษัทจายสมทบใหผูบริหารในฐานะพนักงานของบริษัท ซึ่งแสดงรวมอยูในคาใชจายในการบริหาร จํานวน 71 ลานบาท (2551: 50 ลานบาท) 17

คาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทนกรรมการเปนคาตอบแทนที่จายใหแกคณะกรรมการบริษัทปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) ตามขอบังคับของ บริษัท

152


18

รายไดอื่น

ดอกเบี้ยรับจากธนาคารและสถาบันการเงิน รายไดคาธรรมเนียมค้ําประกันเงินกู กําไรจากการขายหินแรและอืน่ ๆ ดอกเบี้ยรับจากบริษัทอืน่ กําไรจากการขายสินทรัพย อื่น ๆ รวม 19

2552 281 132 86 43 20 29 591

หนวย: ลานบาท

2551 158 47 50 54 1 26 336

คาใชจายพนักงาน

เงินเดือน คาใชจา ยสําหรับแผนการออกจากงาน ดวยความเห็นชอบรวมกัน และอื่นๆ เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ อื่นๆ รวม

2552 644 36 98 778

หนวย: ลานบาท

2551

498 34 98 630

บริษัทไดจัดใหมีเงินทุนเลี้ยงชีพเพื่อจายใหพนักงานเมื่อออกจากงาน โดยบริษัทจายในอัตรารอยละ 5 ถึง 10 ของคาจาง พนักงาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับอายุงานของพนักงาน และตั้งแตเดือนเมษายน 2538 บริษัทไดจัดใหมีเงินกองทุนสํารองเลี้ยงชีพซึ่ง ไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลกับกระทรวงการคลังตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 อีกประเภทหนึ่ง สําหรับพนักงานของบริษัท พนักงานที่จะสมัครเปนสมาชิกกองทุนใหมนี้ตองจายสมทบเปนรายเดือนเขากองทุนในอัตรา รอยละ 2 ถึง 10 ของเงินเดือนและบริษัทจะจายสมทบเปนรายเดือนเขากองทุนนี้ในอัตรารอยละ 5 ถึง 10 ของเงินเดือน สมาชิก ทั้งนี้ขึ้นอยูกับอายุงานของสมาชิก 20

ตนทุนทางการเงิน

ดอกเบี้ยจายเงินกูสกุลเงินบาท ดอกเบี้ยจาย (รับ) บริษัทในเครือ ดอกเบี้ยจาย - บริษัทในเครือ ดอกเบี้ยรับ - บริษัทในเครือ ดอกเบี้ยจายเงินกูสกุลเงินตางประเทศ ดอกเบี้ยจายเงินทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลี่ยน รวม

2552 5,719 53 (3,006) 3 2 (6) 2,765

หนวย: ลานบาท

2551 5,013

74 (2,928) 18 5 81 2,263

153


21

ภาษีเงินได (ผลประโยชนภาษีเงินได) หนวย: ลานบาท

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

หมายเหตุ 10

2552 (151)

2551 244

การลดภาษีเงินไดนิติบุคคล พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตรารัษฎากร ฉบับที่ 387 พ.ศ. 2544 ลงวันที่ 5 กันยายน 2544 ใหสิทธิทางภาษีแกบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลจากอัตรารอยละ 30 เปนรอยละ 25 สําหรับกําไรสุทธิทางภาษีเฉพาะสวนที่ไมเกิน 300 ลานบาท เปนเวลาหารอบระยะเวลาบัญชีตอเนื่องกันนับแต รอบระยะเวลาบัญชีแรกที่เริ่มในหรือหลังวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใชบังคับ และยังไดรับสิทธิในการลดอัตราภาษีเงินได นิติบุคคลตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ฉบับที่ 475 แตไมเกินรอบระยะเวลาบัญชี 2553 ที่สิ้นสุด ในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2553 22

กําไรตอหุนขั้นพืน้ ฐาน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม คํานวณจากกําไรสุทธิสวนของผูถือหุนสามัญและจํานวนหุนสามัญ ที่ออกจําหนายแลวระหวางป โดยแสดงการคํานวณดังนี้

23

กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถ ือหุน จํานวนหุน สามัญที่ออกจําหนายแลว

2552 13,929 1,200

กําไรตอหุนขั้นพืน้ ฐาน (บาท)

11.61

หนวย: ลานบาท / ลานหุน

2551 14,123 1,200 11.77

สัญญาใหการสนับสนุนทางการเงิน บริษัทมีสัญญาสนับสนุนทางการเงินแกบริษัทในประเทศแหงหนึ่ง ซึ่งตามสัญญาสนับสนุนทางการเงิน ผูถือหุนหลักทุกราย ตองปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอตกลงตางๆ ที่กําหนดในสัญญาตามสัดสวนการถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทไดปฏิบัติตามขอตกลงโดยใหการสนับสนุนทางการเงินแกบริษัทดังกลาวแลวเปนจํานวนเงินรวม 31.5 ลานเหรียญสหรัฐ เงินใหกูยืมดังกลาวแสดงภายใตรายการ “เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทอื่น” ในงบการเงิน และการจัดประเภทเงินใหกูยืม เปนสินทรัพยหมุนเวียนหรือสินทรัพยไมหมุนเวียน ขึ้นอยูกับการพิจารณาของฝายบริหาร ณ วันที่รายงานโดยพิจารณาจาก สถานะการเงินของผูกูและกําหนดการชําระเงิน

24

เงินปนผลจาย ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2551 มีมติอนุมัติการจายเงินปนผลประจําป 2550 ในอัตราหุนละ 15 บาท เปนเงินประมาณ 18,000 ลานบาท โดยไดทําการแบงจายเงินปนผลดังกลาวออกเปน 2 งวด คือ เงินปนผลงวด ระหวางกาล ในอัตราหุนละ 7.50 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผลคิดเปนจํานวนเงิน 8,927 ลานบาท ซึ่งจายแลว เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2550 และเงินปนผลงวดสุดทายในอัตราหุนละ 7.50 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผล คิดเปนจํานวนเงิน 8,946 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2551

154


ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2552 มีมติอนุมัติการจายเงินปนผลประจําป 2551 ในอัตราหุนละ 7.50 บาท เปนเงินประมาณ 9,000 ลานบาท โดยไดทําการแบงจายเงินปนผลดังกลาวออกเปน 2 งวด คือ เงินปนผลงวด ระหวางกาล ในอัตราหุนละ 5.50 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผลคิดเปนจํานวนเงิน 6,557 ลานบาท ซึ่งจายแลว เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2551 และเงินปนผลงวดสุดทายในอัตราหุนละ 2.00 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผล คิดเปนจํานวนเงิน 2,395 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2552 มีมติอนุมัติการจายเงินปนผลระหวางกาลป 2552 ในอัตราหุนละ 3.50 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผลคิดเปนจํานวนเงิน 4,190 ลานบาท ซึ่งจายแลวเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2552 25

เครื่องมือทางการเงิน ความเสี่ยงดานสภาพคลอง บริษัทควบคุมความเสี่ยงดานสภาพคลอง และรักษาระดับเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดใหเพียงพอเพื่อสนับสนุนการ ดําเนินงานของบริษัท และลดความเสี่ยงที่อาจเกิดจากผลกระทบของความผันผวนในกระแสเงินสด ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด อันจะมีผลตอดอกเบี้ยสุทธิ ซึ่งบริษัท บริหารหนี้สินโดยการกูยืมที่มีทั้งอัตราดอกเบี้ยคงที่ และอัตราดอกเบี้ยลอยตัวตามความเหมาะสมของสภาพตลาด อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของเงินใหกูยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะเวลาที่ครบกําหนดชําระมีดังนี้ เงินใหกูยืม อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป) ภายใน 1 ป ป 2552 หมุนเวียน เงินใหกยู ืมระยะสั้นแกกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน 5.70 ไมหมุนเวียน เงินใหกยู ืมระยะยาวแกกิจการทีเ่ กี่ยวของกัน 2.00 - 5.00 เงินใหกยู ืมระยะยาวแกบริษัทอื่น MLR ลบ 2.00 รวม ป 2551 หมุนเวียน เงินใหกยู ืมระยะสั้นแกกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน 5.35 ไมหมุนเวียน เงินใหกยู ืมระยะยาวแกกิจการทีเ่ กี่ยวของกัน 2.00 - 5.00 เงินใหกยู ืมระยะยาวแกบริษัทอื่น MLR ลบ 2.00 รวม

หนวย: ลานบาท

หลังจาก 1 ป แตไมเกิน 5 ป หลังจาก 5 ป

รวม

60,178

-

-

60,178

60,178

48 1,414 1,462

388 388

436 1,414 62,028

57,698

-

-

57,698

57,698

43 1,371 1,414

401 401

444 1,371 59,513

155


อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของหนี้สินทางการเงินที่มีภาระดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม และระยะเวลาที่ครบกําหนดชําระมี ดังนี้ หนี้สินทางการเงิน อัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (รอยละตอป) ป 2552 หมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการทีเ่ กี่ยวของกัน 1.90 หุนกู 6.00 - 6.25 ไมหมุนเวียน หุนกู 4.15 - 5.75 รวม ป 2551 หมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 3.85 - 3.88 เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการทีเ่ กี่ยวของกัน 1.68 หนี้สินระยะยาว 6.03 หุนกู 4.75 - 5.75 ไมหมุนเวียน หุนกู 4.25 - 6.25 รวม

หนวย: ลานบาท

หลังจาก 1 ป ภายใน 1 ป แตไมเกิน 5 ป หลังจาก 5 ป

รวม

2,357 15,000

-

-

2,357 15,000

17,357

95,000 95,000

-

95,000 112,357

4,500 3,265 104 25,000

-

-

4,500 3,265 104 25,000

32,869

80,000 80,000

-

80,000 112,869

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเกิดจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม บริษัทมีเงินกูยืมสกุลตางประเทศ ดังนี้ หนวย: ลานบาท

เหรียญสหรัฐ ยูโร รวม

เงินกูยืมระยะสั้น 2552 2551 468 1,029 104 468 1,133

บริษัทไดทําธุรกรรมอนุพันธทางการเงินเปนสวนหนึ่งในการบริหารและจัดการความเสี่ยงอันเกิดจากหนี้สินของบริษัท การจัดการความเสี่ยงโดยใชตราสารทางการเงินนี้เปนไปตามนโยบายและแนวทางที่คณะกรรมการบริษัทใหความเห็นชอบแลว และมีการควบคุมขั้นตอนการปฏิบัติงานใหเปนไปตามนโยบาย

156


อนุพันธทางการเงินที่บริษัทจัดทําไดแก สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา (Forward Exchange Contract) และ สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) มูลคายุติธรรม เนื่องจากสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินสวนใหญจัดอยูในประเภทระยะสั้น และเงินกูยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตรา ดอกเบี้ยในตลาด ฝายบริหารของบริษัทเชื่อวา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ราคาตามบัญชีของเครื่องมือทาง การเงินของบริษัทไมแตกตางไปจากมูลคายุติธรรมอยางมีสาระสําคัญ (มูลคายุติธรรมของหุนกูไดเปดเผยไวในหมายเหตุ 13) 26

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม บริษัทมี หนวย: ลานบาท

2552 ก) หนังสือค้ําประกันที่ออกโดยบริษทั เพื่อค้ําประกันการจายชําระ เงินกูยืมของกิจการที่เกี่ยวของกัน ข) หนังสือค้ําประกันที่ออกโดยธนาคารแกหนวยงานรัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และเอกชน

2551

20,450

17,382

56

56

ค) ในไตรมาสที่ 1 ของป 2552 บริษัทไดแจงความดําเนินคดีอาญาอดีตพนักงานเกี่ยวกับการลักทรัพย (แบบฟอรมใบหุนสามัญ) และการปลอมแปลงใบหุนสามัญของบริษัทเปนจํานวนหุน 672,000 หุน ซึ่งตอมาในไตรมาสที่ 2 บริษัทไดรับแจงจาก ศาลแพงวาผูจัดการมรดกและทายาทผูถือหุนที่ถูกปลอมแปลงใบหุนไดยื่นฟองบริษัทพรอมกับบุคคลและนิติบุคคลอื่น ซึ่งเกี่ยวของกับเรื่องดังกลาวโดยเรียกรองใหรวมกันชดเชยคาเสียหายเปนจํานวนเงิน 223 ลานบาท ทั้งนี้ บริษัทไมได มีการบันทึกคาเสียหายดังกลาวในงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 โดยศาลไดนัดสืบพยานทุกฝาย ในป 2553 จึงยังมีความไมแนนอนเกี่ยวกับความรับผิดของบริษัท ง) บริษัทไดทําสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับธนาคารพาณิชยในประเทศบางแหง เพื่อปองกันความเสี่ยงจากอัตรา ดอกเบี้ยของหุนกูมูลคา 7,000 ลานบาท โดยแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยคงที่เปนอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ตอมาภายหลัง แนวโนมอัตราดอกเบี้ยในตลาดมีการเปลี่ยนแปลง จึงไดมีการปรับปรุงเงื่อนไขในสัญญา โดยแลกเปลี่ยนอัตรา ดอกเบี้ยลอยตัวเปนอัตราดอกเบี้ยคงที่ ซึ่งอัตราดอกเบี้ยลอยตัวดังกลาวอางอิงจากอัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยของเงินฝากประจํา ของธนาคารพาณิชยในประเทศหลายแหงบวก Margin รอยละ 2 ถึง 4 ตอป จ) บริษัทไดทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนากับธนาคารพาณิชยในประเทศหลายแหง มูลคารวม 345 ลาน เหรียญสหรัฐ หรือเทียบเทาเงินบาทจํานวน 11,563 ลานบาท โดยมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันความเสี่ยงจากอัตรา แลกเปลี่ยนสําหรับกระแสเงินสดของรายการทางการคาใหกับกลุมบริษัทในเอสซีจี โดยสัญญาดังกลาวจะทยอยครบ กําหนดภายในเดือนธันวาคม 2553 27

การบริหารจัดการสวนทุน ผูบริหารของบริษัทมีนโยบายการบริหารจัดการสวนทุนซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อดํารงฐานเงินทุนใหแข็งแกรงโดยการวางแผน การกํ า หนดกลยุ ท ธ ใ นการดํ า เนิ น งานเพื่ อ ให ธุ ร กิ จ มี ผ ลประกอบการและการบริ ห ารกระแสเงิ น สดที่ ดี อ ย า งต อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ บริษัทยังคํานึงถึงการมีฐานะการเงินที่ดี โดยพิจารณาลงทุนในโครงการที่มีอัตราผลตอบแทนอยูใ นเกณฑดี รักษา ระดับเงินทุนหมุนเวียนที่เหมาะสม รวมทั้ง สรางความแข็งแกรง ความมั่นคงของการดํารงเงินสด และมีโครงสรางเงินทุนที่ เหมาะสม ทั้งนี้ เพื่อดํารงไวซึ่งความสามารถในการดําเนินธุรกิจอยางตอเนื่องในอนาคต และรักษาความเชื่อมั่นตอผูถือหุน นักลงทุน เจาหนี้ และผูมีสวนไดเสียอื่นๆ 157


28

เรื่องอื่นๆ เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552 ศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งคุมครองชั่วคราวที่สั่งใหหนวยงานราชการ 8 แหง ระงับ 76 โครงการ ในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นที่ใกลเคียงจังหวัดระยองไวเปนการชั่วคราว ตอมาศาลปกครองสูงสุดไดมีคําสั่งให 12 โครงการ ดําเนินการตอไปได สวนที่เหลืออีก 64 โครงการใหระงับไวตามคําสั่งของศาลปกครองกลาง ในจํานวนนี้มี 18 โครงการ มูลคาเงินลงทุน 57,500 ลานบาท ซึ่งสวนใหญเปนโครงการของบริษัทรวมทุนในเอสซีจี เคมิคอลส ทั้งนี้ เมื่อสิ้นป 2552 รัฐบาลไดออกกฎระเบียบและหลักเกณฑที่เกี่ยวของเพื่อใหสอดคลองกับมาตรา 67 วรรคสอง ของ รัฐธรรมนูญป 2550 ขนานกันไปกับการยื่นอุทธรณของผูประกอบการและกลุมบริษัท โดยกลุมบริษัทคาดวาจะใชเวลา ประมาณ 8-12 เดือน เพื่อปฎิบัติตามกฎระเบียบและหลักเกณฑใหมที่รัฐบาลประกาศออกมา ดวยความเชื่อมั่นวาโครงการ ของกลุมบริษัททุกโครงการสามารถปฏิบัติตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญได ดังนั้น สําหรับโครงการที่กอสรางใกลแลวเสร็จ และมีแผนเดิมที่จะเปดดําเนินการกลางป 2553 จะมีความลาชาจากชวงระยะเวลาดังกลาว ในขณะที่โครงการที่เดิมวางแผน จะเริ่มดําเนินการกลางป 2554 ความลาชาในการเปดดําเนินการ ขึ้นอยูกับเวลาที่จะสามารถเริ่มการกอสรางไดใหม

29

เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทไดมีมติอนุมัติเรื่องตางๆ ที่สําคัญ ดังนี้ ก) ใหเสนอที่ประชุมสามัญผูถือหุนเพื่ออนุมัติจายเงินปนผลสําหรับป 2552 ในอัตราหุนละ 8.50 บาท ซึ่งบริษัทไดจาย เงินปนผลระหวางกาลไปแลวในอัตราหุนละ 3.50 บาท เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2552 ตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 24 และจะจายเงินปนผลงวดสุดทายในอัตราหุนละ 5.00 บาท ใหแกผูถือหุนเฉพาะผูที่มีสิทธิรับเงินปนผลคิดเปนเงิน ประมาณ 6,000 ลานบาท โดยกําหนดจายในวันที่ 28 เมษายน 2553 การจายเงินปนผลดังกลาวขึ้นอยูกับการอนุมัติ จากที่ประชุมสามัญผูถือหุนในวันที่ 31 มีนาคม 2553 ข) ในวันที่ 1 เมษายน 2553 ใหบริษัทออกหุนกู ครั้งที่ 1/2553 มูลคาไมเกิน 10,000 ลานบาท ประเภทระบุชื่อผูถือ ไมมี หลักประกัน และไมดอยสิทธิ อายุ 4 ป อัตราดอกเบี้ยตามราคาตลาดในขณะที่ออก กําหนดจายดอกเบี้ยทุกๆ 3 เดือน ซึ่งจะครบกําหนดไถถอนวันที่ 1 เมษายน 2557 โดยเงินที่ไดรับจากการออกหุนกูจะนําไปไถถอนหุนกูครั้งที่ 3/2549 มูลคา 10,000 ลานบาท ที่จะครบกําหนดไถถอนในวันที่ 1 เมษายน 2553

30

มาตรฐานการบัญชีไทยที่ยังไมไดใช บริษัทยังไมไดใชมาตรฐานการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหม ณ วันที่ในงบการเงิน เนื่องจากยังไมมีการบังคับใช มาตรฐาน การบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหมดังกลาวใหถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม ของปที่กําหนด มีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40

158

เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการ เปดเผยขอมูลเกีย่ วกับความชวยเหลือจากรัฐบาล การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการ ที่เกีย่ วของกัน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน

ปที่มีผล บังคับใช 2555 2554 2554


31

การจัดประเภทรายการใหม รายการในงบการเงินของป 2551 บางรายการไดจัดประเภทรายการใหมใหสอดคลองกับรายการในงบการเงินของป 2552 ดังนี้ หนวย: ลานบาท

กอนจัด ประเภทใหม งบดุล เงินลงทุนในบริษทั ยอยและบริษทั รวม เงินลงทุนในบริษทั ยอย เงินลงทุนในบริษทั รวม งบกําไรขาดทุน คาใชจายในการบริหาร รายไดอนื่

จัดประเภท ใหม

หลังจัด ประเภทใหม

63,338 -

(63,338) 46,375 16,963

46,375 16,963

792 289

47 47

839 336

การจั ด ประเภทรายการใหม นี้ เพื่ อ ให มี ค วามเหมาะสมและให ส อดคล อ งกั บ การจั ด ประเภทรายการตามประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการคา เรื่อง กําหนดรายการยอที่ตองมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552 ลงวันที่ 30 มกราคม 2552

159


เอสซีจีมุงหวังใหรายงานฉบับนี้เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จึงจัดพิมพบนกระดาษที่ผลิตจาก EcoFiber 100% จากเอสซีจี เปเปอร พิมพดวยหมึกถั่วเหลือง และไมผานกระบวนการอาบสารเคมีหรือใชเทคนิคการพิมพพิเศษใด ๆ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.