SOOK Magazine No.31

Page 1


TEAM

editor's note

ที่ปรึกษา ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ เบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐียร โดย สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร 02-343-1500 Email : thc@thaihealth.or.th SOOK

www.thaihealthcenter.org บรรณาธิการอำ�นวยการ เบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐียร บรรณาธิการที่ปรึกษา โศภิษฐ์ ขันแข็ง หยาดฝน ธัญโชติกานต์ บรรณาธิการบริหาร ชนม์นิภา บัณฑิตพุฒ กองบรรณาธิการ วรรณประภา ตุงคะสมิต พิมพ์ใจ จันทรประภา นพชนก มันตาวิจักษณ์ บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ อลิสา อนุกูลประเสริฐ

ศิลปกรรม ยุการมาศ ยาสมุทร์ วรัตม์ ถนอมวรสิน ช่างภาพ ประวีร์ จันทร์ส่งเสริม จิระ ไชยอัมพร พิสูจน์อักษร สุธินาทร ใจสมิทธ์ ฝ่ายประสานงานและการตลาด กนกพร เรืองเลขา ปนัดดา วิบูลย์มงคล ฝ่ายสมาชิก ปารณีย์ ศรีอริยะเมต ฝ่ายดูแลการผลิต ชัยชวัชร์ บุญพันธะรัชต์

การที่จะประสบความสำ�เร็จได้ ไม่ได้หมายความว่าเราต้องเป็น คนสมบูรณ์แบบเสมอไป เคยสงสั ย กั น ไหมคะ ทำ � ไมนั ก ธุ ร กิ จ บางคนเรี ย นหนั ง สื อ ไม่ จ บ แต่ประสบความสำ�เร็จในชีวติ หรือคนทีส่ ามารถปลดหนีก้ อ้ นโตได้ภายใน เวลาไม่กี่ปี เคล็ดลับของความสำ�เร็จอยู่ที่วิธีการคิดค่ะ คนทีป่ ระสบความสำ�เร็จส่วนใหญ่ลว้ นเป็นคน “คิดบวก” แน่นอนว่า ก่อนที่จะประสบความสำ�เร็จ พวกเขาล้วนต้องเจอกับปัญหามากมาย ให้ฟันฝ่า การคิดบวกนี่แหละที่เป็นกุญแจสำ�คัญทำ�ให้ก้าวผ่านอุปสรรค มาได้ แล้วไม่ได้มีดีแค่นำ�ไปสู่ความสำ�เร็จนะคะ ยังช่วยเติมความสุข บอกลาความทุกข์ เพิ่มพลังในการใช้ชีวิตอีกด้วย ในแต่ละวัน เราอาจมีเรื่องวุ่นวายหรือไม่สบายใจมากมาย แต่เมื่อ รู้แบบนี้แล้ว ลองนำ�การคิดบวกมาปรับใช้กับชีวิตประจำ�วันกันดีกว่าค่ะ SOOK ฉบับ Power of Positive Thinking นี้ ไม่เพียงแค่นำ�ประโยชน์ ของการคิดบวกมาบอกต่อ แต่เราอยากเชิญชวนให้คุณผู้อ่านมาปรับ เปลี่ยนมุมมอง เติมเครื่องหมายบวกให้กับตัวเองเยอะๆ เพราะเรา เชื่ อ ว่ า นี่ คือ การสร้ า งแรงบั น ดาลใจและสร้ า งพลั ง ในการก้ า วเดิ น ไป ข้างหน้าที่ดีที่สุด เรามาทำ�ทุกวันให้เป็นวันที่ดี เริ่มต้นด้วยการคิดบวกกันค่ะ

ผลิตโดย บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด เลขที่ 81 ซอยโชคชัย 4 ซอย 46 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 โทร 02-116-9959, 087-718-7324 โทรสาร 02-116-9958, Email : cocoonjob@gmail.com แยกสีที่ บริษัท 71 อินเตอร์สแกน จำ�กัด โทร. 02-631-7171

พิมพ์ที่ บริษัท สยามพริ้นท์ จำ�กัด โทร. 02-5090068-9

บรรณาธิการอำ�นวยการ เบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐียร

ISSN 2286-8127

03


MAKE SOME SURPRISE

BUA

HOMEMADE CHALKBOARD

กระดานดำ�ทำ�มือ

สมัยเด็กๆ การได้จับชอล์กเขียนกระดานด�ำเป็นเรื่องสนุก (ยกเว้นตอนท�ำ โจทย์เลขหน้าห้อง) เดีย๋ วนีโ้ ตแล้วเราก็ยงั อยากวาดรูปเล่นบนกระดานด�ำอยูด่ ี ถ้าอย่างนั้นมาท�ำกระดานด�ำใช้เองดีกว่า ด้วยวัสดุอุปกรณ์ง่ายๆ แป๊บเดียวก็ เสร็จ เขียนเล่นก็ได้ หรือจะวาดภาพให้สวยปิง๊ แล้ววางประดับบ้านก็ไม่เลวเลย 12


จากรายงานการให้บริการปรึกษา ปัญหาสุขภาพจิตทางโทรศัพท์

อัตราฆ่าตัวตายยังน่าห่วง

1323 ช่วงรอบเดือนมกราคม-เมษายน 2557 พบว่า มีการให้บริการปรึกษาปัญหา

สายด่วน

อัน ดับ 1

อัน ดับ 2 อัน ดับ 3 อัน ดับ 4

อัน ดับ 5

12,104 ครั้ง

28.83% 28.83%

ปัญหาความเครียด / วิตกกังวล 23.65% 23.65%

โรคทางจิตเวช 7.46% 7.46%

ปัญหาครอบครัว

3,985 คน สถิติการเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย

eที่มา : ค�ำให้สัมภาษณ์ของนายแพทย์เจษฎา โชคด�ำรงสุข ที่เผยรายงานการให้บริการปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต ทางโทรศัพท์ สายด่วน 1323 ในรอบเดือนมกราคม–เมษายน 2557 กับหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ

เรื่องกลุ้มอยู่รอบตัว

7.31% 7.31%

3,873 คน

ปี 2554

64,181,001 ล้านคน

ปัญหาเรื่องเพศ 4.78% 4.78%

ปัญหาพฤติกรรม

3,940คน

ปี 2555

64,266,365 ล้านคน

จำนวนประชากรไทยทั้งหมด

ปี 2556

64,785,909 ล้านคน

eที่มา : กรมสุขภาพจิต, ศูนย์ป้องกันการฆ่าตัวตายแห่งชาติ

สมาธิลดความเครียดได้จริง ประโยชน์จากสมาธิ

เห็นผลด้วยสมาธิ จากการศึกษาด้วยกลุ่มตัวอย่าง

156 คน

สมองหลั่งสารเอ็นดอร์ฟิน ช่วยให้ร่างกายสดชื่น มีภูมิต้านทานโรค

ช่วยให้คลื่นสมอง ลดความถี่ลง ไม่ยุ่งเหยิง

อัตราการใช้ออกซิเจน เผาผลาญพลังงาน ในร่างกายลดลง 17%

อัตราการเต้นของหัวใจ ลดลงนาทีละ 3 ครั้ง

eที่มา : ค�ำให้สัมภาษณ์ของแพทย์หญิงพรรณพิมล วิปุลากร โฆษกกระทรวงสาธารณสุข จากบทความเรื่อง ‘ฝึกสมาธิ ช่วยหน้าอ่อนเยาว์ ความจ�ำดี’ ในเว็บไซต์ www.thaihealth.or.th

ที่เข้ารับการฝึกสมาธิวิปัสสนา 7 วัน โดยใช้แบบการวัดความเครียดสำหรับคนไทย (Thai Stress Test) วัดผลช่วงก่อนและหลังการฝึก

ก่อนฝึก

VS

หลังฝึก

สุขภาพจิตดีมาก 2.6%

สุขภาพจิตดีมาก 15.4%

สุขภาพจิตปกติ 34%

สุขภาพจิตปกติ 50.6%

เครียดเล็กน้อย 61.5%

เครียดเล็กน้อย 33.3%

เครียดมาก 1.9%

เครียดมาก 0.6%

eที่มา : งานวิจัยเรื่อง ‘ผลของการปฏิบัติสมาธิวิปัสสนา ที่มีต่อระดับความเครียด’ ของสุจิรา จรัสศิลป์

17


SOOK IDEA

YOU ARE WHAT YOU THINK คิดแบบไหน..สุขใจกว่ากัน

คิดบวก

คิดบวก

ปลอดภั ย ได้ ใช้ เวลากั บ คนรั ก หรื อ เพื่ อ นมากขึ้น มีความสุข

รถติด

พรุ่งนี้ สอบ

ยั ง มี เ วลาเตรี ย มตั ว ตั้ ง ใจ อ ่ า น ห นั ง สื อ มีสมาธิและก�ำลังใจที่ ดี จึงสอบผ่าน

คิดลบ

ท�ำไม่ได้แน่ๆ กังวลใจ ไม่มีสมาธิอ่านหนังสือ เลยสอบไม่ผ่าน

คิดลบ

เครี ย ด หงุ ด หงิ ด รี บ ขั บ ปาด แซง เกิ ด อุ บั ติ เ หตุ เสียทั้งเงินและเวลา

คิดบวก

สิวขึ้น อ้วนขึ้น คิดบวก

ให้ก�ำลังใจตัวเอง ออกก�ำลังกาย และรั ก ษาผิ ว อย่ า งถู ก วิ ธี สุ ข ภาพดี ขึ้ น รั ก และภู มิ ใจ ในตัวเองมากขึน้

20

คิดลบ

ไม่มคี วามมัน่ ใจในตัวเองมองหา ทางลัดเพื่อให้ดูดีขึ้น ได้รับผล ข้ า งเคี ย ง เครี ย ดและหมด ก�ำลังใจ

หางานทำ�ไม่ได้ ตกงาน

ไม่ท้อแท้ ให้ก�ำลังใจ ตั ว เอง พั ฒ นาทั ก ษะ ความรูใ้ นต�ำแหน่งงาน ทีอ่ ยากท�ำ เมือ่ ถูกเรียก สัมภาษณ์ จึงมัน่ ใจและ ได้ ท�ำงานที่ รั ก อย่ า ง มีความสุข

คิดลบ

หมดก�ำลังใจ สิ้นหวัง อยากมี ง านท�ำเร็ ว ๆ ยอมท�ำงานที่ไม่ชอบ งานที่ ท�ำออกมาไม่ ดี จึงลาออกเพราะไม่มี ความสุขและเครียด


SOOK INTERVIEW

มองโลกให้

สนุก

แล้วเราจะ

มีความสุข

26

นพชนก

ประวีร์ จันทร์ส่งเสริม


นพชนก

YUGARMAT

หากคุณเป็นคนหนึง่ ทีเ่ สีย่ งต่อการเป็น “โรคคิดแพ้” ด้วยการชอบพูดแง่ลบ เมือ่ ต้องท�ำสิง่ ทีค่ ดิ ว่า ยากหรือเวลาเจอปัญหาต่างๆ มักชอบคิดในใจว่า “ท�ำไม่ได้หรอก” หรือ “ท�ำไมโชคร้ายอย่างนี”้ การยำ�้ คิดในใจแบบนีเ้ หมือนเป็นการป้อนข้อมูลทีไ่ ม่ดใี ส่ตวั เอง อาจท�ำให้กลายเป็นคนมองโลก แง่ลบหรือไม่มคี วามสุขในชีวติ ลองมาปรับทัศนคติจาก “ท�ำไม่ได้แน่ๆ แย่จงั เลย” ด้วยการเปลีย่ น ค�ำพูดและแนวคิดกับ 9 ค�ำพูด ทีจ่ ะช่วยเพิม่ พลังทางความคิดและเติมก�ำลังใจให้กบั ตัวเอง

ทุกปัญหา มีทางออก

สติปัญญาและสมองของคนเรานั้น สามารถคิดค้นวิธกี ารแก้ปญ ั หาต่างๆ ได้เสมอ ดังนัน้ เราจึงต้องไม่ยอมแพ้ หรือท้อถอยก่อนทีจ่ ะหาทางแก้ไข

โชคดีจัง ที่ยังมีโอกาส “โอกาส” เป็นสิง่ ทีท่ กุ คนล้วนอยากได้ ถ้าหากมีงานใหญ่หรืออุปสรรคถาโถม เข้ามา ลองมองมุมใหม่ว่า โชคดีจัง ที่ยังมีโอกาสได้ท�ำ ได้คิดแก้ปัญหา เป็นโอกาสที่ดีแล้วที่เราจะได้แสดง ความสามารถของเรา!

29


แก้ปัญหาด้วยสถาปัตยกรรม จากงานวิทยานิพนธ์ปริญญาโทที่ได้เลือก ท�ำงานกับชุมชน แล้วเกิดความชอบจึงก่อตั้ง CASE (Community Architects for Shelter and Environment) เพื่อท�ำงานเกี่ยวกับชุมชน แออัดอย่างแท้จริง ภายใต้ความเชือ่ ว่า เราทุกคน แม้ต่างอาชีพ ต่างฐานะ แต่มีคุณค่าในความเป็น มนุษย์เท่าเทียมกัน ซึง่ ชุมชนย่านตลาดเก่ามีนบุรี เป็นหนึ่งในชุมชนที่คุณป่องเข้ามาพัฒนาและ แก้ไขปัญหาในชุมชนผ่านงานสถาปัตยกรรม ช่วงแรกที่เข้ามาส�ำรวจชุมชน คุณป่องพบว่า คนในชุมชนต่างคนต่างอยู่ และไม่ได้สนใจว่าเธอ จะมาท�ำอะไร เพราะพวกเขาคิดว่าท�ำไม่ส�ำเร็จ อยู่แล้ว เลยไม่ได้รับความร่วมมือใดๆ จุดเริ่มต้น จึงเริ่มจากการพูดคุยกับเด็กๆ ที่วิ่งตามทีมงาน 36

ส�ำรวจ ซึ่งเด็กๆ อยากให้มีสนามเด็กเล่นเพื่อเล่น กีฬากัน เราก็ท�ำสนามให้ โดยปรับทีร่ กร้างทีม่ แี ต่ ขยะเป็นลานกว้าง นอกจากช่วยแก้ปัญหาเรื่อง ขยะ คนในชุมชนก็เริ่มสนใจและให้ความร่วมมือ จนเกิดเป็นความสามัคคีร่วมกันในชุมชน สร้างส�ำนึกการมีส่วนร่วม จากสนามเด็กเล่นที่เด็กผู้ชายชื่นชอบ ท�ำให้ เด็กผู้หญิงมาขอว่า อยากมีห้องสมุด เพื่อท�ำ การบ้านและนั่งคุยกัน ซึ่งโชคดีที่มีบ้านหลังหนึ่ง ในชุมชนที่เจ้าของไม่ใช้และยินดียกให้เพื่อสร้าง เป็นห้องสมุดด้วยความที่เป็นชุมชนแออัด ท�ำให้ รถบรรทุ ก หรื อ รถยนต์ ไ ม่ ส ามารถเข้ า ได้ ทุ ก ขั้นตอนตั้งแต่ขนทราย เทปูน จนจัดหนังสือ ต้อง ล�ำเลียงด้วยมือหรือมอเตอร์ไซค์ของชาวบ้าน

หลายคนอาจมองว่าเป็นอุปสรรค แต่คุณป่อง มองว่ า เป็ น เรื่ อ งดี ส�ำหรั บ การท�ำกิ จ กรรม ร่วมกัน เพราะท�ำให้เกิดความสามัคคี “การออกแบบก็เช่นกัน เราไม่ได้ออกแบบทุก ขั้นตอนเอง แต่จะคุยกับชาวบ้านก่อนเสมอว่า ต้องการแก้ปัญหาตรงไหน แล้วเราจะท�ำตาม ดังนั้นคนที่ออกแบบจริงๆ คือชาวบ้าน และเมื่อ ชาวบ้านเป็นทัง้ คนท�ำและคนออกแบบ เขาจะรูส้ กึ เป็นเจ้าของและอยากดูแลรักษา” จากความรักในการร่วมท�ำงานกับชุมชน จน เข้ า ใจถึ ง กระบวนการสร้ า งสรรค์ แ ละพั ฒ นา ชุมชนว่า หัวใจอยู่ที่การสร้างส�ำนึกให้ทุกคนเห็น คุณค่า ความสามารถทีม่ อี ยู่ และการมีสว่ นร่วมใน การคิดและท�ำร่วมกัน สิ่งเหล่านี้จะช่วยสร้าง จิตส�ำนึกในการเป็นเจ้าของร่วมกัน และเป็น เหตุผลให้ชุมชนพัฒนาไปได้อย่างยั่งยืน


HARD DAY NIGHT

เกี๊ยวกุ้ง

จิร ไชยอัมพร

Hard day night OCCUPATION : ช่างน้�ำ หอม

NAME : ชัชดนัย มุสิกไชย

ชีวิตในฝรั่งเศส

ปรุงกลิน ่ ด้วยความรัก ใครจะคิดว่าความสนใจที่เป็นงานอดิเรกในตอนแรก วันหนึ่งจะสร้างชื่อเสียง รายได้ ทั้งยังได้ให้ความรู้กับคนอื่นเพื่อต่อยอด ดังเช่นที่คุณชัชดนัย มุสิกไชย แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ ซึ่งไปใช้ชีวิตที่ฝรั่งเศสนานกว่าสิบปีเพื่อศึกษา ต่อด้านโรคหัวใจ จนเกิดไปหลงเสน่ห์เรื่องกลิ่นและมีโอกาสศึกษากับผู้รู้ ก่อน จะกลับมาเมืองไทย และเป็นที่รู้จักในฐานะนักปรุงกลิ่นน้ำ�หอมที่หลายคน อยากให้ออกแบบกลิ่นเฉพาะตัว นอกเหนือจากการเป็นหมอรักษาคนไข้ 44

พอเรียนจบก็เป็นแพทย์แผนปัจจุบนั ทีเ่ มืองไทย ก่อนจะไป ศึกษาต่อด้านโรคหัวใจทีฝ่ รัง่ เศส จากนัน้ ก็ไปหลงเสน่หง์ านครัว ได้ไปเรียนกับพ่อครัวฝรัง่ เศส เพราะครอบครัวก็ชอบท�ำอาหาร เราก็ซมึ ซับตรงนัน้ มา ทัง้ ท�ำทัง้ ชิมจนเราได้รคู้ วามลับว่า ความ อร่อยนัน้ เคล็ดลับอยูท่ จี่ มูก อาจารย์อธิบายให้ฟงั ว่า อาหาร และเครือ่ งดืม่ ทีอ่ ร่อยมาจากกลิน่ 80% อีก 15% จากรสชาติ และอีก 5% คือความรูส้ กึ ในกระพุง้ แก้ม จึงเริม่ สนใจเรือ่ งกลิน่ จริงจัง อาจารย์แนะน�ำให้ไปเรียนกับช่างน�ำ้ หอม แต่เป็นทีร่ กู้ นั ว่า ทีน่ นั่ ธุรกิจนำ�้ หอมเป็นความลับไม่มใี ครสอน เราก็พยายามสืบ ท�ำทุกทางจนได้เรียนในทีส่ ดุ


BUA

LEARN SOMETHING EVERYDAY

TANGRAM เพิ่มพลังสมองกับตัวต่อทั้ง 7

Tangram เป็นเกมปริศนา (Puzzle) ชนิดหนึง่ ทีม่ ปี ระวัตยิ าวนาน ตัวต่อไม้ 7 ชิ้นที่ดูเรียบง่ายนี้ เป็นเกมคลาสสิกที่เล่นได้ทุกเพศ ทุกวัย พกง่าย ทำ�เองก็ได้ แถมยังได้บริหารสมองไปในตัว

รู้จัก TANGRAM Tangram นั้นเชื่อว่ามีต้นกำ�เนิดจาก ประเทศจีนสมัยราชวงศ์ซง่ ซึง่ ชาวจีนได้ ไอเดี ย มาจากการจั ด โต๊ ะ 7 ตั ว ใน พิธีการต่างๆ โดยการนำ�โต๊ะมาต่อกัน เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบ้าง สี่เหลี่ยม ผื น ผ้ า หรื อ รู ป ทรงเรขาคณิ ต ต่ า งๆ ตามต้ อ งการ หลั ง จากนั้ น จึ ง มี ก าร ประดิษฐ์เป็นชิ้นไม้สำ�หรับใช้เป็นของ เล่นของชาวจีน จนได้เผยแพร่ไปใน ทวีปยุโรปและอเมริกาในช่วงศตวรรษที่ 19 และยังคงเป็นของเล่นที่นิยมมา จนถึงปัจจุบัน

46

เล่น TANGRAM ดีอย่างไร • เพิ่มพลังความคิดสร้างสรรค์ • สร้างสมาธิ • เพิ่มทักษะการคิดวิเคราะห์ • พั ฒ นาความสามารถในการแก้ ป ั ญ หา

และใช้ตรรกะ • ฝึกทักษะด้านคณิตศาสตร์และเรขาคณิต

วิธีการเล่น

Tangram ประกอบด้วยไม้รูปเรขาคณิตที่มีขนาดต่างกัน 7 ชิ้น จัดวางในกล่องสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผ้า วิธีการเล่นคือ น�ำไม้มาต่อกันให้ได้รูปร่างต่างๆ เช่น รูปคน สัตว์ สิ่งของ ตัวเลข และสัญลักษณ์ โดยดูจากภาพเงาปริศนา ซึ่งการวางชิ้นส่วนนั้น ต้องไม่ทับซ้อนกัน และต้องใช้ครบทั้ง 7 ชิ้น ความสนุกของการ เล่นเกมจึงอยู่ที่การเรียงต่อชิ้นส่วนอย่างไรให้ได้พอดี สามารถ เล่นพร้อมกันหลายคนหรือจะแข่งขันกันจับเวลาเพื่อเพิ่มความ ท้าทายก็ได้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.