中泰国泰民安,友谊地久天长。 จี นไ ทยร่ มเ ย็ นประ ชา ชนผา สุ กมิ ตรภา พยั งยื นนา น
ห้องชุดให้เช่า คอนโดเอสว ี ซิตี้ พระราม 3 曼谷拉玛三路SV CITY公寓套房出租
ชัน ้ 16 楼层:第16层
1
ทุกห้องวิวแม่น�้ำเจ้ำพระยำ พื้นที่ 85.76 ตารางเมตร 2 ห้องนอน 2 ห้องน�้า 1 ห้องครัวพร้อมใช้งาน ตกแต่งเฟอร์นิเจอร์ชุดใหญ่ เครื่องใช้ไฟฟ้าครบชุด พร้อมอยู่
以上均为湄南河河景房,每间面积85.76平米
สิ่งอ�ำนวยควำมสะดวก ลิฟต์ มีที่จอดรถประจ�า 1 คัน การรักษาความปลอดภัย 24 ชั่วโมง กล้องวงจรปิด สระว่ายน�้า ฟิตเนส ร้านค้า - ร้านอาหารในโครงการ
设施
ค่าเช่า : 22,000 บาท/เดือน
租金 :22,000 泰铢/月
两卧,两卫,1厨(设备齐全) 家电齐全,即可入住
电梯、每间配有1个停车位、24小时安保、监控摄像头 、 游泳池、健身房、商店、餐厅
Editor’s Note ‘ไทย-จีน’เติบโตร่วมกันสู่อนาคตที่เปิดกว้าง 45 ปีที่ผ่านมาของการเปิดประวัติศาสตร์หน้าใหม่ความสัมพันธ์ทาง การทูต ทั้งไทยและจีนได้ผ่านร้อนผ่านหนาวและฝ่าฟันวิกฤตส�ำคัญต่างๆทั้ง ในระดับภูมิภาคและระดับโลก มาถึงขณะนีท้ เี่ ราก�ำลังอยูใ่ นโลกทีเ่ ต็มไปด้วยสถานการณ์ใหม่ๆทีท่ า้ ทาย ซึง่ รวมถึงวิกฤต COVID-19 ก้าวต่อไปของความสัมพันธ์ไทย-จีน จะเติบโตร่วม กันอย่างไร? เพื่อก้าวสู่อนาคตที่เปิดกว้าง TAP Magazine ฉบับพิเศษ “45 ปีความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน” เล่มนี้ เป็นความตัง้ ใจของกองบรรณาธิการทีจ่ ดั ท�ำขึน้ เป็นพิเศษ เนือ่ งในโอกาส ส�ำคัญ 1 กรกฎาคม 2563 ซึ่งเป็นปีที่ไทยและจีนได้สถาปนาความสัมพันธ์ ทางการทูตครบรอบ 45 ปี โอกาสนี้ ยังเป็นการก้าวสู่ปีที่ 5 ของนิตยสาร TAP (THAI-ASEAN PANORAMA) นิตยสารรายเดือนในรูปแบบ 2 ภาษา(ไทย-จีน) ซึ่งได้ ยืนหยัดท�ำหน้าที่เป็นสื่อกลางน�ำเสนอเรื่องราวที่น่าสนใจระหว่างไทย-จีน มาตลอดระยะเวลา 4 ปีเต็ม โดยเนื้อหาใน TAP Magazine ฉบับพิเศษเล่ม นี้ ได้จัดท�ำบทสัมภาษณ์พิเศษเพื่อสะท้อนนานาทัศนะจากทั้งบุคคลส�ำคัญ นักธุรกิจและนักวิชาการด้านไทย-จีน ซึ่งหวังว่าจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง แก่ผอู้ า่ นทุกท่าน ในการท�ำความเข้าใจอดีต ติดตามสถานการณ์ปจั จุบนั และ มองเห็นโอกาสใหม่ๆของความร่วมมือระหว่างไทย-จีนในอนาคต เพื่อรับมือ กับความท้าทายใหม่ๆท่ามกลางบริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป
Where
กองบรรณาธิการ
Authority in Charge: Thai-Biz Panorama Co., Ltd. Supported by: China-ASEAN Expo Secretarial, ASEAN-China Centre Editorial Chairman of Advisors: เทพรักษ์ เหลืองสุวรรณ Director/Co-Publisher: Gao Hang Publisher Editor: ธีรเทพ เหลืองสุวรรณ Editor-in-Chief: ประดิษฐ์ เรืองดิษฐ์ MD/Co-Editor: Chen Xiaodan Assistant Editor: ดุลยปวีณ กรณฑ์แสง Editor’s Team: Huang Li, Wang Yinlei, ธนพร ศรีวัฒนดิลก, ณรงค์ฤทธิ์ แซ่อือ Photo Editors: ปวลี อรรฆยกุล Technicians: ประวิตร เอื้อวัฒนานุกูล Editorial Coordinators/Accounting and Finance: นฤมล ผู้ภักดี Artwork Designer: ธีรพล เสมอใจ
To Readers: • We welcome contributions related to China-ASEAN cooperation in trade, culture or tourism. Please send your articles or pictures to tap-magazine@hotmail.com • To those authors of the photographs and articles published on this issue who have not heard from us, please take the initiative to liaise with us for your remuneration.
นิตยสารรายเดือน : TAP (THAI-ASEAN PANORAMA) บริษัท ไทย บิช พาโนราม่า จำ�กัด เลขที่ 1168/76 อาคารลุมพินีทาวเวอร์ ชั้น 26 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท/โทรสาร 0-2679-7036 พิมพ์/แยกสี : บริษัท มติชน จำ�กัด (มหาชน)
Editor’s Note
to Find
中泰携手共进迈向未来 中泰建交45年来,两国经历了区域性甚至全球性的种种考 验和挑战。 如今,我们身处在充满挑战的世界新环境中,包括新冠肺 炎疫情危机。为迈向开放的未来,中泰关系将如何发展? 2020年7月1日正值中泰建交45周年之际,本期刊以此为主 题发行特刊。 《泰国—东盟博览》为中泰双语月刊杂志,创刊至今已经 四年,步入第五个年头,致力于为广大读者提供值得关注的两 国资讯。该特刊对不同领域的两国重要人士进行了专访,包括 政府领导人、企业家、专家学者,希望能为广大读者带来切实 的帮助,了解两国历程,关注现在,展望未来,才能更好应对 变幻莫测的国际形势。 泰国东盟博览杂志编辑组委会
Authority in Charge: Thai-Biz Panorama Co., Ltd. Supported by: China-ASEAN Expo Secretarial, ASEAN-China Centre Editorial Chairman of Advisors: Theparak Leungsuwan Director/Co-Publisher: Gao Hang Publisher Editor: Teerathep Leungsuwan Editor-in-Chief: Pradit Ruangdit MD/Co-Editor: Chen Xiaodan Assistant Editor: Dulyapaween Kronsaeng Editor’s Team: Huang Li, Wang Yinlei, Thanaporn Sriwatanadilog, Narongrit Saeue Photo Editors: Pavalee Akkayakun Technicians: Prawit Auwattananukool Editorial Coordinators/Accounting and Finance: Narumon Phoopakdee Artwork Designer: Theerapon Samoejai
本刊说明:
Monthly magazine : TAP (THAI-ASEAN PANORAMA) Thai Biz Panorama Co., Ltd. 1168/76 26th Floor Lumpini Tower, Rama IV Road. Thungmahamek, Sathorn, Bangkok, 10120 Thailand Tel/Fax 0-2679-7036 Printing/Colour : Matichon Public Co., Ltd.
• 本刊欢迎投稿,有关中国—东盟之间的经贸、文化、旅游等内 容的稿件和图片,可发送邮件至tap-magazine@hotmail.com。 • 本刊部分图片和文章因故未能联系上作者,请作者见刊后与本 刊联系,以便奉送样刊及稿酬。
66 CM
Contents
VOLUME 49 • JUL 2020 45 ปีความสัมพันธ์ทางการทูต“ไทย-จีน” หุ้นส่วนความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์อย่างรอบด้าน พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
泰中建交45周年,建设全面战略合作伙伴关系 泰国总理巴育·占奥差
08 45 ปีความสัมพันธ์ทางการทูตจีน-ไทย โลกผันแปรแต่มิตรภาพยั่งยืน หยาง ซิน อุปทูตรักษาการแทนเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐประชาชนจีนประจ�ำประเทศไทย
中泰建交45周年:任国际风云变幻,中泰友谊长青
10
中国驻泰国大使馆临时代办杨欣
ความสัมพันธ์ไทย-จีน เฟื่องฟูในทุกระดับและทุกมิติ
ดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
泰中关系全面复兴
16
泰国外交部长敦·巴叻玛威奈
“ไทย-จีน”เติบโตร่วมกัน สู่อนาคตที่เปิดกว้าง จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
泰中携手共进迈向未来
18
泰国副总理兼商业部长朱林·拉萨纳维席
สืบสานปณิธานหอการค้าไทย-จีน สานสัมพันธ์สองประเทศเติบโตไปด้วยกัน
ณรงค์ศักดิ์ พุ ทธพรมงคล ประธานกรรมการหอการค้าไทย-จีน
坚守初心使命,为泰中友好添砖加瓦 泰国中华总商会主席林楚钦
22 มองอดีต เข้าใจปัจจุบัน สร้างสรรค์อนาคต 45 ปีความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน
วิกรม กรมดิษฐ์ ประธานกรรมการบริหาร บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน และ ประธานสภาธุรกิจไทย-จีน
27
泰中建交45周年 回顾过去,把握现在,创造未来! 泰中商务委员会主席邱威功
ไทย-จีน “แสวงจุดร่วม สงวนจุดต่าง” ผลักดันสองประเทศสู่ความเจริญร่วมกัน
พล.อ.สุรสิทธิ์ ถนัดทาง ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ไทย-จีน
泰中在“求同存异”中共同发展
32
泰中战略研究中心主任苏拉西·塔纳唐上将
“แปลงจีนให้เป็นโอกาสอย่างรู้เท่าทัน” โจทย์ท้าทาย..ก้าวใหม่สัมพันธ์ไทย-จีนหลัง COVID-19 รศ.ดร.อักษรศรี พานิชสาส์น อาจารย์ประจ�ำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่ปรึกษาประจ�ำคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ วุฒิสภา
37
时不我待,抓住中国发展机遇 泰国参议院外交委员会顾问、法政大学副教授阿顺诗·帕尼察叁
Bank of China พันธมิตรเคียงข้างความสำ�เร็จธุรกิจไทย-จีน หลี่ เฟิง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้จัดการใหญ่ ประจ�ำธนาคารแห่งประเทศจีน (ไทย) จ�ำกัด (มหาชน)
中银泰国:助力中泰企业抵达成功的彼岸
41
中国银行(泰国)股份有限公司行长李峰
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
45 ปีความสัมพันธ์ทางการทูต “ไทย-จีน” หุ้นส่วนความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์อย่างรอบด้าน 泰中建交45周年 建设全面战略合作伙伴关系 เนื่องในโอกาสครบ 45 ปีของการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทย-จีน วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้มี สารแสดงความยินดีถึงนายกรัฐมนตรีหลี่ เค่อเฉียงของจีน โดยมีใจความส�ำคัญว่า เมื่อมองย้อนกลับไปบนเส้นทางแห่งมิตรภาพและความร่วมมือระหว่างไทยกับจีน นับเป็นความพิเศษที่ทั้งสองประเทศได้แบ่งปันความทรงจ�ำอันล�้ำค่าและฝ่าฟันช่วงเวลาที่ยากล�ำบากร่วมกัน สิ่งนี้ได้ช่วยหล่อหลอมเป็นความผูกพันอันใกล้ชิดและลึกซึ้งระหว่างไทยกับจีนที่ไม่เพียงครอบคลุมความสัมพันธ์ระดับรัฐบาลกลาง แต่ยังได้ขยายไปสู่รัฐบาล ระดับมณฑล ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชนของพวกเรา ความสัมพันธ์พิเศษนี้เหมาะสมอย่างยิ่งกับค�ำกล่าวในภาษาจีนที่ว่า “ไทยกับจีนใช่อื่นไกล เป็นพี่น้องกัน” (Zhong-Tai Yi Jia Qin) ตลอดระยะเวลา 45 ปีที่ผ่านมา ไทยกับจีนได้ร่วมกันพัฒนาความสัมพันธ์ให้มีความก้าวหน้าอย่างเด่นชัด อันน�ำมาซึ่ง “การเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือเชิง ยุทธศาสตร์อย่างรอบด้าน” ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของ “นโยบายจีนเดียว” ความไว้เนื้อเชื่อใจกัน การเคารพซึ่งกันและกัน และผลประโยชน์ร่วมกัน รวมทั้งการมี วิสัยทัศน์ร่วมกันต่อสันติภาพ ความเจริญรุ่งเรือง และการพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่ผ่านมา ผู้น�ำและเจ้าหน้าที่ระดับสูงไทยและจีนต่างมีมิตรไมตรีต่อกันและติดต่อสื่อสารกันอย่างตรงไปตรงมา ซึ่งได้กระชับให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้นผ่านการ แลกเปลี่ยนการเยือน
8
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
ในด้านเศรษฐกิจ นับตั้งแต่การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต ไทย-จีน ปริมาณการค้าทวิภาคีได้เพิ่มขึ้นถึง 3,000 เท่า ขณะที่การลงทุน สะสมระหว่างกันมีมลู ค่ามากกว่า 12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ปัจจุบนั จีนเป็น ประเทศคู่ค้าที่ใหญ่ที่สุดของไทย ขณะที่นักท่องเที่ยวชาวจีนมีสัดส่วนมากที่สุดในจ�ำนวนนักท่องเที่ยว ต่างประเทศที่มาเยือนไทย ทั้งสองประเทศต่างให้ความส�ำคัญกับการ ส่งเสริมความเชื่อมโยงระหว่างกันและภายในภูมิภาคผ่านโครงการความ ร่วมมือรถไฟไทย-จีน เพื่อส่งเสริมการด�ำเนินการตามข้อริเริ่มสายแถบและ เส้นทาง (Belt and Road Initiative: BRI) และยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศไทย 4.0
ท่ามกลางความไม่แน่นอนของโลก ซึ่งรวมถึงสถานการณ์ COVID-19 มีความจ�ำเป็นมากยิ่งขึ้นที่ไทยและจีน จะร่วมมือกันรับมือกับความท้าทายที่ เราจะต้องเผชิญ
ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนก็มพี ลวัตเช่นกัน โดยมีการแลกเปลีย่ น ด้านการศึกษา กีฬา และวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น ซึ่งมีส่วนช่วยเสริมสร้างความ เข้าใจอันดีและมิตรภาพระหว่างสองประเทศ การเป็นหุน้ ส่วนความร่วมมือทีแ่ น่นแฟ้นระหว่างไทย-จีน ยังครอบคลุม ความร่วมมือในกรอบอาเซียน-จีน กรอบความร่วมมือล้านช้าง-แม่โขง และ กรอบ ACMECS รวมทั้งเวทีพหุภาคีอื่นๆ ในการนี้ ไทยสนับสนุนบทบาทอันสร้างสรรค์และในเชิงรุกของจีน ซึ่ง สอดคล้องกับพันธกิจหลักของประธานาธิบดีสี จิน้ ผิงทีจ่ ะแสดงบทบาทของ จีนในฐานะประเทศมหาอ�ำนาจที่มีความรับผิดชอบในเวทีระหว่างประเทศ ขณะที่เราก�ำลังก้าวสู่ความสัมพันธ์ในทศวรรษถัดไป ท่ามกลางความ ไม่แน่นอนของโลก ซึ่งรวมถึงสถานการณ์ COVID-19 ในปัจจุบัน มีความ จ�ำเป็นมากยิ่งขึ้นที่ไทยและจีนจะร่วมมือกันรับมือกับความท้าทายที่เราจะ ต้องเผชิญด้วยจิตวิญญาณแห่งมิตรภาพและความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน ในการนี้ ขอยืนยันความมุ่งมั่นอย่างแน่วแน่ของรัฐบาลไทยที่จะท�ำงาน อย่างใกล้ชิดร่วมกับรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนเพื่อยกระดับและขยาย ขอบเขตของการเป็นหุน้ ส่วนความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์อย่างรอบด้านต่อไป
2020年7月1日是泰中建交45周年纪念日。泰国总理 兼国防部长巴育上将向中国国务院总理李克强致贺函。 巴育总理在信中表示,回顾泰中两国共同走过的友 好合作历程,可以说是一段弥足珍贵的共同分享、共度
新冠疫情背景下, 泰中两国更需要同舟 共济,携手合作迎接 所面临的挑战。
时艰的特别日子。这不仅有助于密切两国中央政府之间 的交往,更将友好交往扩大到地方政府、民企及社会各 界,这一特别的关系只有用中国的一句话来形容,那就 是“中泰一家亲”。 过去45年来,泰中两国的友谊关系不断向前发展, 并成功建立了“全面战略合作伙伴关系”,这一关系是 建立在“一个中国”原则以及相互信任、相互尊重、互 利共赢的基础上,同时也是建立在和平、繁荣以及可持 续发展的共同愿景上。 一直以来,泰国和中国政府的高层领导人和工作人员 都有着深厚的友谊,并且通过互信互访沟通交流,以互相 交换意见方式促使两国的友谊更加密切。 在经济方面,自从泰中两国建交以来,双边贸易额 增长3000多倍,双边合作投资额超过12亿美元。如今, 中国已经成为泰国最大的贸易伙伴国,同时,中国还是 泰国最大的旅游客源国。 两国通过泰中铁路区域合作项目,增进双方和区域的 互联互通,响应并促进“一带一路”倡议以及泰国4.0发展 战略的成功落实。两国民间交往也呈动态发展,双方在教 育、体育、文化方面的交流日趋频繁,这也势必将加深两 国人民之间的了解和友谊。 泰中两国全面合作伙伴关系还在东盟-中国框架以及 澜沧江-湄公河合作、伊洛瓦底-昭披耶-湄公经济合作战 略(ACMECS)框架及其它多边合作框架下得到体现。 泰国支持中国在上述框架内发挥建设性、主动性作 用,这也是与习近平主席所肩负的重大使命,以及中国作 为负责任的大国在国际舞台上的责任是一致的。 值此两国友好关系正迈入新纪元之际,世界出现不稳 定性,包括新冠肺炎疫情,泰中两国更需要发挥友谊的精 神,同舟共济,携手合作迎接所面临的挑战。最后,泰方 重申一直以来的坚定立场:泰国政府愿与中国政府密切合 作,推动两国全面战略合作伙伴关系迈上新台阶。
9
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
หยาง ซิน อุปทูตรักษาการแทน เอกอัครราชทูตจีนประจำ�ประเทศไทย 45 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตจีน-ไทย โลกผันแปร แต่มิตรภาพยั่งยืน จีนและไทยได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการ เมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 นับเป็นการเปิดฉากใหม่ของการแลกเปลี่ยน มิตรภาพระหว่างสองประเทศ ตลอด 45 ปีทผี่ า่ นมา ไม่วา่ ทัง้ สองประเทศจะ เติบโตไปในทิศทางใด หรือสถานการณ์โลกจะผันแปรอย่างไร ความสัมพันธ์ จีน-ไทยก็ยังคงเจริญรุดหน้าไปอย่างมั่นคงตามเส้นทางที่บรรพชนรุ่นก่อน ได้กรุยทางไว้ กลายเป็นต้นแบบของการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน แบ่งปันผล ประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ เนื่องในโอกาสครบรอบ 45 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตจีน-ไทย TAP Magazine ได้มีโอกาสสัมภาษณ์พิเศษ หยางซิน อุปทูตรักษาการแทน เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจ�ำประเทศไทย โดยอุปทูต หยางซินได้ฉายภาพให้เห็นถึงผลส�ำเร็จทางความร่วมมืออย่างรอบด้าน ระหว่างจีน-ไทย ทั้งความเชื่อมั่นทางการเมืองระหว่างกันที่เพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าขยายวงกว้างขึ้นเรื่อยๆ การ แลกเปลี่ยนด้านสังคมวัฒนธรรมที่นับวันยิ่งแน่นแฟ้น ความสัมพันธ์หุ้นส่วน เชิงยุทธศาสตร์พัฒนารุดหน้าอย่างรวดเร็ว และความร่วมมืออย่างรอบด้าน ที่ก่อให้เกิดผลส�ำเร็จมากมาย สถาปนาความสัมพันธ์การทูต 45 ปี ความร่วมมือรอบด้านก่อให้เกิดผลส�ำเร็จนานัปการ ด้านการเมือง ทั้งสองประเทศเคารพและเชื่อมั่นไว้วางใจซึ่งกันและ กัน ความเชื่อมั่นเชิงยุทธศาสตร์ระหว่างกันลึกซึ้งยิ่งขึ้น “ผู้น�ำทั้งสอง ประเทศได้พบปะหารือกันในหลายวาระโอกาส แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เชิงลึกในประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญ ก�ำหนดทิศทางการพัฒนาความ สัมพันธ์ร่วมกัน” อุปทูตหยางซิน กล่าว ประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ได้ส่งสาส์นแสดงความยินดีแด่ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ในโอกาสพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ทั้ง ยังได้ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องอิสริยาภรณ์ ‘รัฐมิตราภรณ์’ แด่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ด้วยตนเอง นายกรัฐมนตรีหลี่ เค่อเฉียงได้เดินทางมาเยือนประเทศไทย อย่างเป็นทางการ เข้าร่วมการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกและการ ประชุมสุดยอดที่เกี่ยวข้อง เสริมแรงขับเคลื่อนใหม่ให้กับการพัฒนาความ สัมพันธ์จีน-ไทยยุคใหม่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีไทย ผู้น�ำรัฐบาลและรัฐสภาไทยได้มาเยือนจีนแล้วหลายครั้ง และได้หารือ แลกเปลี่ยนเชิงลึกกับผู้น�ำของจีน อุปทูตหยางซิน กล่าวว่า “ท่ามกลางสถานการณ์โลกที่มีความสลับ ซับซ้อน ปัจจัยความไม่แน่นอนมากมาย จีน-ไทยต่างมีความเข้าใจและ
10
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
นักท่องเที่ยวจีนมาไทยทะลุหลักสิบล้านคน 2 ปีติดต่อกัน ทั้งสองประเทศ มีการแลกเปลี่ยนในด้านต่างๆ ทั้งด้านเทคโนโลยีนวัตกรรม สาธารณสุข และศิลปวัฒนธรรมที่นับวันยิ่งเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา มีความร่วมมือแลกเปลี่ยนอย่างใกล้ชิดกับมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งเมือง หนานจิง ละครโทรทัศน์ของไทยมีชื่อเสียงมากในจีน ขณะที่วรรณกรรม ออนไลน์และละครโทรทัศน์ของจีนก็ได้รับความนิยมในหมู่วัยรุ่นชาวไทย เช่นเดียวกัน มิตรภาพและความเข้าใจอันดีระหว่างผู้คนทั้งสองประเทศนับ วันยิ่งลึกซึ้งมากขึ้น
>> 1975年,毛泽东主席会见访华签署建交公报的泰国总理克里·巴莫亲王。 บันทึกภาพประวัติศาสตร์ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีของไทย เข้าพบ ประธานเหมา เจ๋อตุง ผู้น�ำสูงสุดของรัฐบาลจีน เมื่อปี พ.ศ.2518
ช่วยเหลือซึ่งกันและกันเป็นอย่างดี เคารพผลประโยชน์ส�ำคัญและหลักการ ส�ำคัญของกันและกัน จับมือร่วมกันเผชิญหน้ากับความท้าทายและอุปสรรค ยืนหยัดการแลกเปลีย่ นและการประสานงานทีด่ รี ะหว่างกันในกิจการระหว่าง ประเทศและระดับภูมิภาค” ด้านเศรษฐกิจ ต่างฝ่ายต่างเป็นคู่ค้าที่ส�ำคัญของกันและกัน ความ ร่วมมือประสบผลส�ำเร็จในเชิงรูปธรรมมากมาย สถิตกิ ารค้าทวิภาคีเติบโต ต่อเนื่องทุกปี ในปี 2562 มูลค่าการค้าไทย-จีนทะลุ 9.17 หมื่นล้านเหรียญ สหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากช่วงเริ่มต้นของการสถาปนาความสัมพันธ์ถึง 3,700 เท่า จีนเป็นประเทศคู่ค้าที่ใหญ่ที่สุดของไทยติดต่อกันเป็นเวลา 7 ปีแล้ว ส่วน ไทยก็เป็นคู่ค้าอันดับที่ 3 ในอาเซียนของจีน ในปี 2562 จีนได้กลายเป็น แหล่งที่มาของการลงทุนจากต่างประเทศที่ใหญ่ที่สุดของไทย ช่วง 5 เดือน แรกของปี 2563 มูลค่าการน�ำเข้าส่งออกไทย-จีนเพิ่มขึ้น 8.1% เติบโตสวน กระแส COVID-19 “ทั้งสองฝ่ายจับมือร่วมกันสร้าง ‘หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง’ การก่อสร้าง โครงการรถไฟจีน-ไทย คืบหน้าไปด้วยดี บริษัทจีนกว่าร้อยรายได้เข้าไปตั้ง โรงงานในนิคมอุตสาหกรรมไทย-จีน จ.ระยองแล้ว โครงการรถไฟความเร็ว สูงเชือ่ ม 3 สนามบิน ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ทีบ่ ริษทั China Railway Construction Corporation Limited (CRCC) เข้าร่วมประมูล ได้ลงนามสัญญาโครงการเสร็จสิ้นเรียบร้อย บรรดาผู้น�ำบริษัทเทคโนโลยี ชัน้ สูงของจีน อาทิ HUAWEI, Alibaba, JD.com ต่างร่วมมืออย่างใกล้ชดิ กับ บริษทั ชัน้ น�ำของไทย เพือ่ ผลักดันการพัฒนาเศรษฐกิจดิจทิ ลั ปัญญาประดิษฐ์ ระบบโลจิสติกส์ที่ทันสมัย โครงข่ายโทรคมนาคม 5G รวมถึงอุตสาหกรรม แห่งอนาคตอื่นๆของประเทศไทย สร้างแรงขับเคลื่อนใหม่ให้กับความ ร่วมมือเศรษฐกิจจีน-ไทย” ด้านสังคมวัฒนธรรม ทัง้ สองฝ่ายยืนหยัดเปิดกว้าง แลกเปลีย่ นเรียน รู้ซึ่งกันและกัน ปี 2562 มีนักศึกษาจีนมาศึกษาเล่าเรียนในไทยมากกว่า 36,000 คน มีนักศึกษาไทยกว่า 28,000 คนไปศึกษาต่อในประเทศจีน มี ครูอาสาสมัครชาวจีนกว่า 1,500 คนสอนภาษาจีนในไทย นักท่องเที่ยวจีน ครองต�ำแหน่งนักท่องเที่ยวกลุ่มใหญ่ที่สุดของไทยมาหลายปีต่อเนื่อง ยอด
จีนไทยพี่น้องกัน จับมือร่วมกันต่อสู้โรคระบาด ท่ามกลางความท้าทายจากวิกฤต COVID-19 ทั้งสองประเทศได้ช่วย เหลือเกื้อกูลกัน ลงเรือล�ำเดียวกัน ยามที่ฝ่ายหนึ่งก�ำลังเผชิญกับความยาก ล�ำบาก อีกฝ่ายต่างรีบเร่งยื่นมือให้การสนับสนุนแก่รัฐบาลและบริจาค เวชภัณฑ์ทางการแพทย์ให้แก่กันอย่างไม่เห็นแก่ตัว การกระท�ำเหล่านี้ บ่งบอกได้เป็นอย่างดีถึงมิตรภาพความจริงใจระหว่างจีน-ไทย ดังค�ำกล่าวที่ ว่า ‘จีนไทยใช่อื่นไกล พี่น้องกัน’ ตลอดจนสะท้อนให้เห็นถึงจิตวิญญาณอัน ยิ่งใหญ่ภายใต้แนวคิด ‘โชคชะตาร่วมกันส�ำหรับมวลมนุษยชาติ’ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชสาส์นแสดง ความห่วงใยไปยังประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ทรงชื่นชมจีนที่สามารถรับมือกับ โรคระบาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และ ฯพณฯ ชวน หลีกภัย ได้เป็นตัวแทนของรัฐบาลไทยและรัฐสภาไทยส่งสารแสดง ความห่วงใยไปยังผู้นำ� ของจีน นอกจากนี้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ยังได้ ท�ำคลิปวิดโี อเพือ่ ส่งก�ำลังใจให้กบั ประเทศจีนและทัว่ โลกต่อสูก้ บั โรคระบาด ทุกภาคส่วนของไทยต่างร่วมแรงร่วมใจช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ส่งเวชภัณฑ์ ทางการแพทย์จ�ำนวนมากมาช่วยเหลือจีนในเวลาอันรวดเร็ว “จีนได้ติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดในไทยมาโดยตลอด แลก เปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์โรคระบาด สื่อสารมาตรการป้องกันการแพร่ ระบาดอย่างทันท่วงที หารือแผนการวินจิ ฉัยรักษา และมีความร่วมมือพัฒนา วัคซีนร่วมกับไทย จีนพร้อมจะให้การสนับสนุนและช่วยเหลือไทยอย่าง เต็มที่” อุปทูตหยางซิน กล่าว รัฐบาลจีนได้มอบเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ แก่รัฐบาลไทยแล้ว 2 รอบ ประกอบด้วยหน้ากากอนามัย หน้ากาก N-95 ชุดป้องกัน และชุดตรวจเชื้อไวรัส ผู้ประกอบการ หน่วยงานพันธมิตรและ ประชาชนชาวจีนได้อาสาออกมาช่วยเหลือสนับสนุนไทยต่อสูก้ บั โรคระบาด สถานทูตจีนประจ�ำประเทศไทยได้ตั้ง ‘ตู้ปันสุข’ ร่วมแบ่งปันสิ่งของจ�ำเป็น ให้กับประชาชนคนไทยที่พักอยู่ใกล้กับสถานทูต “การรวมพลังต่อสู้กับโรค ระบาดของจีนและไทยสะท้อนให้เห็นถึงมิตรภาพที่แสนพิเศษ ดังค�ำกล่าว ที่ว่า ‘พี่น้องที่มีความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน ย่อมมีพลังอย่างน่าอัศจรรย์’ ความสัมพันธ์จีน-ไทยที่ผ่านความท้าทายครั้งใหญ่ของโรคระบาด จะยิ่ง ใกล้ชิดสนิทสนม แน่นแฟ้นมั่นคงยิ่งขึ้น” อุปทูตหยางซิน กล่าว ความสัมพันธ์จีน-ไทยยุคใหม่ หลังโลกเผชิญการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ อุปทูตหยางซิน กล่าวว่า ปัจจุบันระเบียบโลกก�ำลังเผชิญกับการ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในรอบร้อยปี ประกอบกับการแพร่ระบาดของไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ที่ได้กลายเป็นความท้าทายอย่างยิ่งยวดต่อทั้งความ มั่นคงทางการเมือง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการสาธารณสุข ทั่วโลก กระตุ้นให้ลัทธิชาตินิยม ลัทธิโดดเดี่ยวนิยม ลัทธิปกป้องทางการค้า และลัทธิประชานิยมทัว่ โลกฟืน้ ตัว ก่อให้เกิดการลุกฮือของแนวคิด ‘การทวน กระแสโลกาภิวัตน์’ และการตัดขาดทางอุตสาหกรรม ‘ความแตกแยก’ ที่ เกิดขึ้นจากโรคระบาดได้บั่นทอนเจตนารมณ์ความร่วมมือและความเป็น น�ำ้ หนึง่ ใจเดียวกันของนานาประเทศ ทัง้ ยังเป็นอุปสรรคอย่างร้ายแรงต่อการ
11
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
ฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก “จีนและไทยต่างเป็นประเทศทีส่ นับสนุนและยึดมัน่ ปฏิบตั ติ ามแนวคิด พหุภาคี ทั้งยังเป็นประเทศผู้เข้าร่วม ผลักดันและผู้ได้รับผลประโยชน์ที่ ส�ำคัญจากโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ ผ่านร้อนผ่านหนาวมา 45 ปี จีนไทย สองประเทศยึดมัน่ ในหลักการเคารพซึง่ กันและกัน เสมอภาคเป็นธรรม ร่วม แบ่งปันผลประโยชน์ จนกลายเป็นต้นแบบมิตใิ หม่ของการแลกเปลีย่ นความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศ” อุปทูตหยางซิน กล่าวว่า ในวาระพิเศษเช่นนี้ พวกเราเชื่อมั่นเป็นอย่าง ยิ่งว่า ตราบใดที่ไม่หยุดปรับตัวให้เท่าทันกระแสของยุคสมัย ยืนหยัดใน หลักการเปิดกว้าง และแบ่งปันเอื้อเฟื้อผลประโยชน์ ท่ามกลางสถานการณ์ โลกที่ผันผวน ความสัมพันธ์จีน-ไทยจะยังคงเจริญรุดหน้า พัฒนาจาก มิตรภาพดั้งเดิม สู่การขยายความร่วมมือในด้านต่างๆจนก่อเกิดผลส�ำเร็จ เชิงรูปธรรมใหม่ๆมากมาย ประการแรก ส่งเสริมการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ระหว่างกัน เน้นไปที่การ แลกเปลี่ยนระดับสูง ขยายการติดต่อไปมาหาสู่ระหว่างผู้น�ำทั้งสองประเทศ ในทุกระดับ ใช้ประโยชน์จากกลไกเจรจาทีม่ อี ยู่ เพิม่ พูนความเชือ่ มัน่ กระชับ ความร่วมมือระหว่างกัน ผลักดันความสัมพันธ์หุ้นส่วนความร่วมมือเชิง ยุทธศาสตร์อย่างรอบด้านให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ส่งเสริมการบูรณาการเชิงลึกของ ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสองประเทศทั้งในระดับนโยบายและทางปฏิบัติ ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่เอื้อต่อการขยายความร่วมมือในด้านอื่นๆต่อไป ประการที่สอง ส่งเสริมความร่วมมือด้านการค้า ด�ำเนินการป้องกัน ควบคุมโรคระบาดไปพร้อมกับเร่งหารือมาตรการที่เป็นรูปธรรมส�ำหรับการ กลับมาเริม่ ต้นการผลิตอีกครัง้ ฟืน้ ฟูสานต่อและขยายความร่วมมือเชิงปฏิบตั ิ ด้านเศรษฐกิจการค้าร่วมกัน ส่งเสริมการสร้าง ‘หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง’ จับมือร่วมกันสร้าง ‘เส้นทางสายไหมสุขภาพ’ (Health Silk Road) และ ‘เส้นทางสายไหมดิจิทัล’ (Digital Silk Road) เร่งการก่อสร้างโครงการ รถไฟความเร็วสูงจีน-ไทย เพื่อให้ประชาชนชาวไทยได้รับประโยชน์โดยเร็ว ชูข้อได้เปรียบด้านการส่งเสริมกันทางเศรษฐกิจ เร่งแสวงหาโอกาสความ ร่วมมือใหม่ๆ จับตาทิศทางอุตสาหกรรมดิจทิ ลั และความเคลือ่ นไหวใหม่ เพือ่ ยกระดับความร่วมมือจีน-ไทย
12
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
ประการทีส่ าม ส่งเสริมการแลกเปลีย่ นด้านสังคมและวัฒนธรรม เพือ่ บรรลุเป้าหมายส่งเสริมการเชือ่ มโยงระหว่างประชาชน สร้างให้เกิดเครือข่าย การแลกเปลี่ยนด้านสังคมวัฒนธรรมที่ลึกซึ้ง รอบด้านและครอบคลุมในทุก มิติ สนับสนุนการพบปะแลกเปลี่ยนระหว่างหน่วยงานด้านศิลปวัฒนธรรม สื่อสารมวลชน และคลังข้อมูลของสองประเทศ ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ และแลกเปลี่ยนกันระหว่างเยาวชน เร่งดึงศักยภาพความร่วมมือด้านการ ท่องเที่ยวอย่างเต็มที่ พร้อมขยายความร่วมมือในด้านเทคโนโลยีนวัตกรรม การสาธารณสุขและอืน่ ๆ ส่งเสริมให้เกิดการแบ่งปันเทคนิคความรู้ การฝึกฝน อบรม แลกเปลีย่ นบุคลากร รวมทัง้ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ขจัดและบรรเทา ความยากจนระหว่างกัน ประการที่สี่ ขยายความร่วมมือเชิงพหุภาคี จีนและไทยต่างเป็น ประเทศทีก่ ำ� ลังพัฒนา มีผลประโยชน์รว่ มกันในวงกว้างทัง้ ระดับภูมภิ าคและ ระดับสากล ทัง้ สองประเทศควรจะเสริมการสือ่ สารและประสานงานระหว่าง กัน ร่วมกันปกป้องหลักการพื้นฐานของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศตาม วัตถุประสงค์และหลักการภายใต้ ‘กฎบัตรสหประชาชาติ’ ปกป้องระบบ การค้าพหุภาคีตามกฎองค์การการค้าโลก ร่วมกันประกาศจุดยืนต่อต้านลัทธิ ปกป้องทางการค้าและลัทธิอำ� นาจนิยม ร่วมกันรับมือกับความเปลีย่ นแปลง ด้านสภาพอากาศ ขจัดลัทธิก่อการร้ายและภัยคุกคามอื่นๆต่อโลก ร่วมกัน ด�ำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศรูปแบบใหม่และสร้างสังคมที่แบ่งปัน อนาคตร่วมกันของมนุษยชาติ ไทยเป็นหนึ่งในประเทศผู้ก่อตั้งประชาคม อาเซียน มีบทบาทส�ำคัญอย่างยิ่งในระดับภูมิภาค จีนยินดีที่จะท�ำงานร่วม กับไทยภายใต้กรอบกลไกที่มีอยู่ เพื่อกระชับความร่วมมือจีน-อาเซียน และ ยกระดับความร่วมมือแม่น�้ำล้านช้าง-แม่นำ�้ โขง ‘ฟ้าสูงแล้วแต่นกจะบิน ทะเลกว้างใหญ่แล้วแต่ปลาจะว่ายวน’ เนือ่ งใน วาระส�ำคัญครบรอบ 45 ปี การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตจีน-ไทย จีนมีความเชื่อมั่นและมุ่งมั่นที่จะร่วมมือกับไทยอย่างจริงใจ พร้อมอาศัย โอกาสวาระส�ำคัญทางประวัติศาสตร์นี้ ในการปฏิบัติตามข้อตกลงที่สำ� คัญ ของผู้น�ำทั้งสองประเทศ ผลักดันความสัมพันธ์หุ้นส่วนความร่วมมือเชิง ยุทธศาสตร์อย่างรอบด้านจีน-ไทยไปสู่มิติใหม่ เพื่อให้ผลส�ำเร็จของความ ร่วมมือจีน-ไทยเป็นประโยชน์ต่อประชาชนทั้งสองประเทศมากยิ่งขึ้น
13
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
中泰建交45周年:任国际风云变幻,中泰友谊长青 ——专访中国驻泰国大使馆临时代办 杨欣
1975年7月1日,中泰正式建立外交关系,翻开了两 国友好交往的新篇章。2020年是中泰建交45周年,45年 来,无论两国国内如何发展,无论国际风云如何变幻,中 泰关系始终沿着先辈伟人开辟的道路稳步前进,成为国家 间和睦相处、互利共赢的典范。 在中泰建交45周年之际,本刊记者采访了中国驻泰 国大使馆临时代办杨欣。他为我们呈现了中泰两国全方位 合作取得的硕果:两国政治互信不断加深,经贸合作日益 拓展,人文交流更加密切,全面战略合作伙伴关系快速发 展,全方位合作取得丰硕成果。 建交45周年 全方位合作成果丰硕 政治上,双方相互尊重、彼此信赖,战略互信得到深 化。“两国领导人在双多边场合频繁会面,就重大战略问 题坦诚深入交换看法,为双边关系发展指明方向。” 杨欣
14
说道。中国国家主席习近平致贺哇集拉隆功国王陛下加 冕,亲自向诗琳通公主殿下颁授中国对外最高荣誉“友谊 勋章”。李克强总理赴泰出席东亚合作领导人系列会议并 正式访问,为新时代中泰关系发展注入新动力。巴育总理 等泰国政府、国会领导人多次率团访华,同中国领导人深 入交流。杨欣表示,面对国际地区形势复杂深刻变化,中 泰两国相互理解,相互支持,照顾彼此核心利益和重大关 切,携手面对困难与挑战,在国际和地区事务中保持着良 好的沟通与协作。 经济上,双方互为重要伙伴,务实合作硕果累累。中 泰双边贸易额连年增长,2019年达917亿美元,是建交初 期的近3700倍。中国连续七年成为泰国最大贸易伙伴,泰 国是中国在东盟中第三大贸易伙伴。2019年中国成为泰国 最大外资来源国。今年1至5月,中泰进出口额在疫情重压 下逆势上涨8.1%。杨欣介绍说:“双方携手共建‘一带一
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
路’,中泰铁路建设进展顺利,百余家中国企业落户泰中 罗勇工业园,中国铁建参与的泰国EEC连接三大机场高铁 项目成功签约。华为、阿里巴巴、京东等技术领先、实力 雄厚的中国企业正与泰国龙头企业强强联合,推动泰国数 字经济、人工智能、现代物流、5G通讯等‘未来产业’发 展,为中泰经济合作增添新动能。” 人文上,双方坚持开放包容,交流互鉴。2019年共 3.6万名中国学生在泰国学习,2.8万名泰国学生赴中国留 学,近1500名中国汉语教育志愿者在泰国工作。中国多 年稳居泰国最大旅游客源国,赴泰游客数量连续两年破千 万。杨欣还表示,中泰双方在科技、卫生、艺术等领域的 交流合作日益频繁,南京艺术学院与泰国甘拉雅尼音乐学 院交流与合作有声有色,泰国电视剧在华热播,中国电影 电视剧、网络文学受到泰国年轻人的喜爱,两国人民间的 相互了解和友谊不断加深。 中泰一家亲,携手战疫情 面对新冠肺炎疫情带来的挑战,中泰两国人民守望 相助、同舟共济,在彼此抗疫艰难时刻,及时给予对方宝 贵政治支持和无私医疗物资援助,生动阐释了“中泰一家 亲”的真挚情谊和人类命运共同体的伟大精神。 泰国国王哇集拉隆功向中国国家主席习近平致慰问 电,高度赞赏中国抗击疫情采取的有力措施。泰国总理巴 育、国会主席川·立派分别代表泰国政府、国会向中国领 导人致慰问电。巴育还发表视频讲话,为中国和世界抗击 疫情加油打气。泰国各界倾力相助,短时间内向中国捐赠 了大量医疗物资。 “中方一直关注泰国疫情发展,及时同泰方分享疫 情信息、沟通防疫措施、研商治疗方案、开展疫苗研发 合作,尽其所能提供支持与援助。”杨欣说。中国政府向 泰国政府捐赠两批医疗物资,包括医用外科口罩、N95口 罩、检测试剂和防护服等。中国企业、友好组织和民间机 构自发行动,支援泰国抗疫斗争。据悉,中国驻泰国大使 馆还专门设立了“爱心柜”,为使馆附近泰国民众提供生 活必需物资。“中泰抗疫合作充分展现两国‘兄弟齐心、 其利断金’的特殊友谊,中泰关系历经疫情洗礼,更加亲 密无间、牢不可破。”杨欣说道。 世界格局新变化下的中泰关系 杨欣表示,当前,国际秩序百年未有之大变局叠加 新冠肺炎疫情,对全球政治稳定、经济发展和公共卫生 形成多重挑战,激化政治民族主义、外交孤立主义、贸 易保护主义、社会民粹主义在全球范围抬头,产业脱钩、 “逆全球化”思潮甚嚣尘上。疫情滋生的“分裂”文化,
不断侵蚀国际合作意愿和共同行动力,也给全球经济复苏 造成严重阻碍。 “中泰两国是多边主义的坚定支持者和践行者,也 是经济全球化的重要参与者、推动者和获益者。45年风雨 走过,中泰两国秉持相互尊重、公平正义、互利共赢的原 则,成功打造践行新型国际关系理念的国家交往典范。” 杨欣说,“在这个特殊时期,我们有理由相信,只要顺应 时代潮流,坚持奉行开放包容、互利共赢理念,中泰关系 必将在国际乱局中坚定前行,在传统友好中升华情谊,在 各领域务实合作中结出新硕果。”对此,杨欣还建议道: 首先,应加强战略沟通。以高层交往为引领,密切两 国各级别人员往来,用好各项对话合作机制,为双方进一 步增进互信、对接合作提供坚实保障。深化全面战略合作 伙伴关系,推动两国发展战略在政策和执行等层面深入融 合,为更广泛密切的合作创造有利条件。 其次,应深化经贸合作。在疫情防控常态化背景下, 积极探讨中泰联合复产复工,尽快恢复并深化拓展经贸务 实合作的具体举措。坚定推进共建“一带一路”,携手打 造“健康丝绸之路”“数字丝绸之路”,推动中泰铁路尽 早造福沿线民众。充分发挥经济互补优势,积极培育新的 合作增长点,抓住数字经济新产业、新业态,助力中泰合 作提质升级。 第三,应加深人文交流。以促进民心相通为目标, 完善全方位、深层次人文交流网络。积极支持中泰智库、 媒体、文艺团体互访交流,促进青年交往和互动,充分 挖掘旅游合作潜力,深入拓展科技、公共卫生等领域合 作,推动知识和技术分享、人才交流和培训,加强扶贫 减贫经验交流。 第四,应拓展多边合作。中泰同为发展中国家,在 区域和国际事务中有着广泛的共同利益。双方应深化沟 通与协调,共同维护以《联合国宪章》宗旨和原则为基 础的国际关系基本准则,以世界贸易组织规则为核心的多 边贸易体系,共同发出反对贸易保护主义、霸凌主义的坚 定声音,携手应对气候变化、恐怖主义等全球性挑战,共 同践行新型国际关系和构建人类命运共同体。泰国是东盟 创始国之一,在地区事务中具有重要影响力。中方愿同泰 方一道在现有机制框架下,加强中国—东盟合作,推动澜 湄合作提质升级。 海阔凭鱼跃,天高任鸟飞。立足中泰建交45周年这 一继往开来的重要时刻,中方有信心、有决心同泰方精诚 合作,把握历史机遇,落实两国领导人重要共识,推动中 泰全面战略合作伙伴关系不断迈上新台阶,让中泰合作的 累累硕果更好造福两国人民。
15
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
ดอน ปรมัตถ์วินัย ความสัมพันธ์ไทย-จีนเฟื่องฟูในทุกระดับและทุกมิติ 泰中关系全面复兴 泰国外交部长敦·巴叻玛威奈 ในโอกาสครบรอบ 45 ปี แห่งการสถาปนาทางการทูตระหว่างไทย-จีน ดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ส่งสารแสดงความยินดี ถึง หวัง อี้ มนตรีแห่งรัฐและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีใจความส�ำคัญดังนี้ ตลอด 45 ปีที่ผ่านมา กระทรวงการต่างประเทศของไทยและกระทรวงการต่างประเทศของจีนได้มีบทบาทส�ำคัญในการบ่มเพาะความสัมพันธ์ไทย-จีน จนพัฒนาไปสูก่ ารเป็นหุน้ ส่วนความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์อย่างรอบด้านทีม่ คี วามพิเศษและสดใส บนพืน้ ฐานของความไว้เนือ้ เชือ่ ใจกัน การเคารพซึง่ กันและกัน และ ผลประโยชน์รว่ มกัน โดยรัฐมนตรีตา่ งประเทศของไทยได้กล่าวแสดงความขอบคุณอย่างจริงใจส�ำหรับมิตรภาพ ตลอดจนเวลาและพลังงานทีร่ ฐั มนตรีตา่ งประเทศของ จีนได้ทุ่มเทเพื่อทะนุบ�ำรุงความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศ อีกทัง้ ยังรูส้ กึ เป็นเกียรติทไี่ ด้มสี ารแสดงความยินดีมาในโอกาสนีแ้ ละได้เห็นถึงความสัมพันธ์ไทย-จีนทีเ่ ฟือ่ งฟูในทุกระดับและทุกมิติ ในฐานะผูท้ ไี่ ด้มสี ว่ นเกีย่ วข้อง กับแต่ละช่วงเวลาของความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างทัง้ สองประเทศในระหว่างการด�ำรงต�ำแหน่งต่างๆ ซึง่ รวมถึงเอกอัครราชทูตไทยประจ�ำสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างปี 2543-2547 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในปัจจุบัน
16
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
ความสัมพันธ์ที่แข็งเกร่งและความร่วมมือที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ระหว่างไทยกับจีนเกิดจากความปรารถนาของทั้งสองประเทศที่จะร่วมมือ กันในสาขาทีเ่ ป็นความสนใจร่วมกันและเป็นผลประโยชน์รว่ มของทัง้ สองฝ่าย ทัง้ ไทยและจีนต่างก็ได้รบั ประโยชน์จากความร่วมมือทีเ่ ข้มแข็งตลอดมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านเศรษฐกิจ ซึ่งมีส่วนส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศ และการส่งเสริมความอยู่ดีกินดีของประชาชนของทั้งสองประเทศ ปัจจุบัน จีนเป็นประเทศคู่ค้าที่ใหญ่ที่สุดของไทย โดยปริมาณการค้า ทวิภาคีเพิ่มขึ้นมากกว่า 12 เท่าจากปี 2543 ขณะที่นักท่องเที่ยวชาวจีนมี สัดส่วนสูงสุดหากเทียบกับนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเยือนไทย ขณะเดียวกัน ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนก็เติบโตอย่างต่อเนื่อง ผ่านความร่วมมือที่แข็งขันในด้านการศึกษา วัฒนธรรม และกรอบความ สัมพันธ์เมืองพี่เมืองน้องที่เพิ่มขึ้นกว่า 40 คู่ ซึ่งช่วยให้ไทยและจีนสามารถ บ่มเพาะความเข้าใจซึง่ กันและกัน เสริมสร้างสายสัมพันธ์แห่งมิตรภาพ และ กระชับความร่วมมือทวิภาคีในด้านต่างๆ ทีเ่ ป็นผลประโยชน์รว่ มกัน ให้แนบ แน่นยิ่งขึ้นต่อไป พัฒนาการของความสัมพันธ์ไทยกับจีนเหล่านี้จะไม่สามารถเกิดขึ้น ได้หากปราศจากรากฐานที่มั่นคงที่รัฐบาลทั้งสองประเทศได้ร่วมกันวางไว้ จากการแลกเปลี่ยนการเยือนอย่างสม�่ำเสมอของผู้น�ำและเจ้าหน้าที่ระดับ สูง ตลอดจนการปรึกษาหารืออย่างใกล้ชดิ ผ่านการหารือเชิงยุทธศาสตร์และ การประชุมคณะท�ำงานร่วมระหว่างไทยกับรัฐบาลระดับมณฑลต่างๆ ของ
จีน การเยือนไทยอย่างเป็นทางการของนายกรัฐมนตรีหลี่ เค่อเฉียง ของ จีน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2562 ยังถือเป็นอีกก้าวส�ำคัญที่ช่วยตอกย�ำ้ ความ เป็นหุน้ ส่วนและความมุง่ มัน่ ในการส่งเสริมความร่วมมือต่อไปเพือ่ การพัฒนา ของประเทศและประชาชนของสองประเทศ รวมทัง้ ช่วยขับเคลือ่ นเป้าหมาย ที่มีร่วมกันในการสร้างความกลมเกลียวและความเจริญรุ่งเรืองของภูมิภาค ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีนได้ผ่านการทดสอบจากกาลเวลาและ ความท้าทายต่างๆ ความเอื้ออาทรที่หลั่งไหลมาจากรัฐบาล ภาคธุรกิจ และ ประชาชนของทั้งสองประเทศในการช่วยเหลือซึ่งกันและกันเพื่อเอาชนะ สถานการณ์ COVID-19 ได้ช่วยท�ำให้สายสัมพันธ์และความผูกพันระหว่าง ทั้งสองประเทศลึกซึ้งยิ่งขึ้น การระลึกถึงการครบรอบ 45 ปีความสัมพันธ์จีน-ไทยเป็นช่วงเวลาที่ จะได้เฉลิมฉลองความส�ำเร็จที่ผ่านมาและร่วมกันแสวงหาหนทางที่จะเสริม สร้างความเข้มแข็งให้กบั การเป็นหุน้ ส่วนระหว่างกันเพือ่ อนาคตทีส่ ดใสยิง่ ขึน้ ในการนี้ ไทยมุ่งหวังที่จะท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับจีนเพื่อเสริมสร้างการ เป็นหุน้ ส่วนเชิงยุทธศาสตร์ทมี่ คี วามส�ำคัญและก้าวหน้า พร้อมกับสนับสนุน บทบาททีส่ ร้างสรรค์ของจีนในกรอบอนุภมู ภิ าคและภูมภิ าค โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งอาเซียน-จีน ความร่วมมือแม่โขง-ล้านช้าง (MLC) และยุทธศาสตร์ความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง (ACMECS) ตลอดจนความ มุ่งมั่นของจีนในการเป็นมหาอ�ำนาจที่มีความรับผิดชอบของโลก
值此泰中建交45周年之际,泰国外交部长敦·巴叻玛 威奈向中国国务委员、外交部长王毅致贺信,庆祝中泰建 交45周年。贺函主要内容如下: 过去45年来,泰中两国外交部在培育和推动两国关系 发展发挥了重要作用,并在相互信任、相互尊重、互利共 赢的基础上建成了全面战略合作伙伴关系。在此,我谨向 阁下在推动两国关系发展方面的努力表示真心的感谢。 另外,我在此还要感谢阁下的贺函。非常高兴能有机 会亲眼见证泰中两国关系在各方面、各层面全面发展,我 在不同时期,在不同的职务上参与并见证了泰中两国关系 发展,其中包括2000年至2004年作为泰国驻中国大使, 以及现在作为泰国外交部部长的经历。 泰中两国坚实的友谊及不断深入的合作,得益于两 国所关心及能实现互惠互利领域方面合作的良好愿望,两 国人民均从密切合作中受益。特别是在经济领域的合作, 更是成为推动两国人民实现安居乐业的重要组成部分。 目前,中国已成为泰国最大的贸易伙伴国,双边贸易 额从2000年至今已经实现12倍的增长。与其它国家相比, 中国游客已经成为泰国最大的入境旅游客源。与此同时, 两国在教育、文化等领域的民间交往也在持续蓬勃发展, 两国已经缔结40余个姐妹友好城市。这些都极大地增进了
泰中两国人民之间的相互了解,促进了两国友谊以及在各 领域的深入合作,共同创造互惠互利的局面。 上述泰中两国关系的发展离不开两国领导人及政府 高层之间密切的交往、交流所打下的坚实基础,以及泰 国和和中国各级地方政府之间的交流。我祝贺李克强总 理于去年11月份访问泰国取得成功,这次访问是深化两 国伙伴关系,促进两国合作交流,并增进地区融合与发 展的的一次重要访问。 泰中两国的友谊经历过时间与各种挑战的考验,两 国政府及企业、人民在抗击新冠肺炎疫情期间的互相帮 助,同舟共济,这势必将让两国的友谊和联系更加紧密。 纪念泰中两国建交45周年,庆祝两国过去取得的成就 的同时,我们将为未来共同促进两国战略关系发展,创造 更加灿烂的明天而寻找更多道路。 在此,泰国将致力与中国一道促进两国全面战略合 作伙伴关系向前发展,并支持中国在区域及次区域事务 中发挥更多建设性的作用,特别是在东盟-中国框架,湄 公河-澜沧江(MLC)以及伊洛瓦底-昭披耶-湄公经济 合作战略(ACMECS)等框架下发挥作用,并支持中国 成为负责任的世界级大国。
17
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ “ไทย-จีน”เติบโตร่วมกัน สู่อนาคตที่เปิดกว้าง ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าได้กลายเป็นองค์ประกอบที่นับวัน ยิ่งมีความส�ำคัญต่อความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพาณิชย์ ให้สมั ภาษณ์พเิ ศษ เนื่องในโอกาส 45 ปีสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีนว่า ปัจจุบัน ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีนมีพลวัตสูงครอบคลุมมิติต่างๆ โดยเฉพาะ ด้านเศรษฐกิจและการค้า จีนถือเป็นประเทศคู่ค้าล�ำดับ 1 ของไทย โดยในช่วงสิบปีที่ผ่านมา ระหว่างปี 2553-2562 มูลค่าการค้าระหว่างไทยและจีนขยายตัวสูงถึงร้อย ละ 6.3 โดยเฉลีย่ ต่อปี ซึง่ ทัง้ สองฝ่ายตัง้ เป้าหมายการค้าร่วมกันไว้ที่ 140,000 ล้านเหรียญสหรัฐภายในปี 2564 ในปี 2562 จีนเป็นคู่ค้าอันดับที่ 1 ของไทย ครองสัดส่วนการค้าร้อยละ 16.5 ของการค้าระหว่างประเทศทัง้ หมดของไทย ขณะทีไ่ ทยเป็นคูค่ า้ อันดับที่ 14 ของจีน ครองสัดส่วนการค้าราวร้อยละ 2.0 ส่วนในปี 2563 (ม.ค.-เม.ย.) การค้ารวมระหว่างไทยกับจีนมีมูลค่า 25,199.00 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้น จากช่วงเวลาเดียวกันของปี 2562 ร้อยละ 1.48 “ความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างไทยกับจีน มี 2-3 รูปแบบ กลไก แรกคื อ JC คณะกรรมการร่ ว มว่ า ด้ ว ยการค้ า การลงทุ น และความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างไทย-จีน (JC เศรษฐกิจไทย-จีน), กรอบความ ร่วมมือแม่โขง - ล้านช้าง (MLC), ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี - เจ้าพระยา - แม่โขง (ACMECS) ใน 3 กรอบความร่วมมือส�ำคัญเรา ท�ำงานร่วมกัน และอีกกรอบความร่วมมือที่สำ� คัญคือ ความตกลงการค้าเสรี อาเซียน-จีน (ACFTA) เพื่อกระชับความร่วมมือด้านการค้าและเปิดตลาด การค้าระหว่างกันในระดับภูมิภาค” ลงนาม RCEP ปลายปี 63 ขยายโอกาสการค้าการลงทุนไทย-จีน รองนายกฯจุรินทร์ กล่าวต่อว่า นอกจากนี้ ไทยและจีนยังมีความ ร่วมมือระดับพหุภาคีีผ่านความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) ซึ่งเป็นอีกหนึ่งกรอบความสัมพันธ์ทางการค้าที่จะช่วยเพิ่มพูน การค้าระหว่างกันมากยิง่ ขึน้ โดยความคืบหน้าขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างการขัดเกลา ถ้อยค�ำทางกฎหมายซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือนก.ค. เพื่อให้ทัน ลงนามในเดือนพ.ย.ปีนี้ การลงนามความตกลง RCEP จะช่ ว ยเชื่ อ มโยงเศรษฐกิ จ การค้ า การลงทุนระหว่างไทยกับประเทศสมาชิก ซึ่งรวมถึงจีนที่เป็นประเทศคู่ค้า อันดับหนึ่งของไทย รวมทั้งจะช่วยกระตุ้นให้เศรษฐกิจของไทยและอาเซียน ขยายตัวเพิม่ ขึน้ ในระยะยาว และช่วยสร้างโอกาสจากการเปิดตลาดเพิม่ เติม จากความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน (ACFTA) โดยสินค้าของไทยที่คาด ว่าจะได้รับประโยชน์เพิ่มเติมเมื่อเปรียบเทียบกับความตกลง ACFTA อาทิ เครื่องรับโทรทัศน์ อุปกรณ์ยานยนต์ ยาง ผักและผลไม้
18
ในขณะเดียวกัน RCEP จะช่วยสร้างโอกาสให้ผปู้ ระกอบการไทยเข้าไป ลงทุนในจีนในสาขาที่ไทยมีศักยภาพ อาทิ ก่อสร้าง ค้าปลีก ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง ด้านสุขภาพ ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับภาพยนตร์และบันเทิง ประเภทเทคนิค ตัดต่อภาพและเสียง การผลิตแอนิเมชัน และเปิดรับการลงทุนคุณภาพทีไ่ ทย ยังมีความต้องการเพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นในประเทศ และต่อยอดเป้าหมายการส่งเสริมอุตสาหกรรม S-curve เช่น การวิจัยและ พัฒนา สิ่งแวดล้อม โทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ การศึกษา การซ่อมบ�ำรุง รักษาชิ้นส่วนอากาศยาน เป็นต้น ทัง้ นี้ RCEP ถือเป็นความตกลงการค้าเสรี (FTA) ทีม่ มี ลู ค่าทางเศรษฐกิจ สูงที่สุดในโลก ประกอบด้วยสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, อินเดีย, ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ครอบคลุมประชากรรวม กันเกือบ 3,600 ล้านคน คิดเป็นประมาณร้อยละ 48.1 ของประชากรโลก โดยข้อมูลในปี 2562 ประเทศสมาชิก RCEP 16 ประเทศ มีมูลค่า GDP กว่า 28.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณร้อยละ 32.7 ของ GDP โลก และ มีมูลค่าการค้ารวมกว่า 11.2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 29.5 ของมูลค่าการค้าโลก เดินหน้านโยบายสร้างสัมพันธ์การค้ารายมณฑล ด้านนโยบายการผลักดันการค้าระหว่างไทย-จีน รองนายกฯจุรินทร์ กล่าวว่า ได้มอบนโยบายให้กระทรวงพาณิชย์เดินหน้าสร้างความสัมพันธ์ ทางการค้าในรูปแบบเฉพาะเจาะจงระหว่างไทยกับมณฑลต่างๆของจีน โดย วาง Positioning การค้าทีส่ อดคล้องกับนโยบายในการพัฒนามณฑลของจีน และส่งเสริมการค้าที่สอดคล้องกับความต้องการของมณฑลนั้นๆ เช่น เขต ปกครองตนเองกว่างซีจ้วง ที่รัฐบาลจีนก�ำหนดให้เป็นประตูสู่อาเซียน ไทย จึงก�ำหนดให้กว่างซีเป็นประตูนำ� เข้าผลไม้และเป็นศูนย์กระจายผลไม้เข้าสูจ่ นี ทีส่ ำ� คัญ ส่วนมณฑลยูนนานมีบทบาทเป็นประตูการค้าสูภ่ าคตะวันตกของจีน ขณะที่ไหหล�ำจะกลายเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษที่รัฐบาลจีนให้ความ ส�ำคัญ ประกอบกับคนไทยจ�ำนวนมากมีเชือ้ สายมาจากไหหล�ำ ซึง่ กระทรวง พาณิชย์อยู่ระหว่างหาแนวทางความร่วมมือหรือจัดท�ำข้อตกลงพิเศษที่จะ ท�ำให้ไทยและไหหล�ำสามารถขยายความสัมพันธ์ได้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น พร้อมกันนี้ ยังให้ความส�ำคัญกับการสร้างความร่วมมือระดับคณะ ท�ำงานรายมณฑล กระชับความสัมพันธ์ผ่านการเดินทางไปมาหาสู่ เหย้า เยือนระหว่างไทยกับมณฑลต่างๆ ในทุกระดับ รวมถึงเข้าร่วมงานแสดงสินค้า ในมณฑลต่างๆ เพือ่ เพิม่ ช่องทางและขยายโอกาสทางการค้าระหว่างไทย-จีน รุกการค้าออนไลน์ ฝ่าวิกฤต COVID-19 ส� ำ หรั บ มุ ม มองต่ อ การรั บ มื อ ความท้ า ทายการค้ า ไทย-จี น ในยุ ค COVID-19 รองนายกฯจุรินทร์ กล่าวว่า วิกฤตการแพร่ระบาด COVID-19 ได้ส่งผลให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากการค้าออฟไลน์มี
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
>>
ปัญหาอุปสรรคท�ำได้ยากขึน้ ท�ำให้การค้าออนไลน์กลายเป็น New Normal และช่องทางส�ำคัญในการเข้าถึงผู้บริโภคชาวจีน ในช่วงที่ผ่านมา กระทรวงพาณิชย์ได้ร่วมมือด้านการค้าออนไลน์กับ Alibaba โดยเปิดร้านค้าภายใต้ชื่อ“TOPTHAI” บนแพลตฟอร์มยอด นิยมของจีนอย่าง Tmall โดยมีกลุ่มสินค้าเป้าหมาย อาทิ สินค้าอาหาร (ผลไม้, ผลไม้แปรรูป, อาหารกระป๋อง, Snack, เครื่องดื่ม) สินค้าของใช้ใน บ้าน (หมอนยางพารา, ของประดับตกแต่งบ้าน) และสินค้าแฟชั่น (เสื้อผ้า, กระเป๋า, รองเท้า) “ล่าสุด ในช่วงเทศกาล 6.18 ที่ผ่านมา ผมได้ร่วมกิจกรรมไลฟ์สดน�ำ เสนอและส่งเสริมการขายผลไม้และอาหารไทยในตลาดจีน ผ่าน Tmall เป็นครั้งแรก ซึ่งประสบความส�ำเร็จอย่างดียิ่ง ในช่วงเวลา 15-16 นาทีของ การไลฟ์สด มีคนติดตามเข้าชมมากถึง 16 ล้านวิว ต้องขอบคุณแพลตฟอร์ม Tmall ทีท่ ำ� ให้ชาวจีนได้รบั รูเ้ รือ่ งราวของสินค้าไทย และได้รบั ทราบว่ามีชอ่ ง ทางซือ้ ผลไม้ไทยเกรดพรีเมียมผ่าน Tmall จึงช่วยท�ำให้ขายสินค้าไทยได้เพิม่ ขึ้นและสะดวกคล่องตัวยิ่งขึ้น” ทั้งนี้ กระทรวงพาณิชย์ยังได้ส่งเสริมการขายบนแพลตฟอร์มออนไลน์ (Online In-store Promotion) เพื่อกระตุ้นการสั่งซื้อสินค้าไทยในรูปแบบ แคมเปญระยะสั้น ผ่านแพลตฟอร์มเครือข่ายพันธมิตรในประเทศจีน อาทิ ITO Yokado , Tmall , JD , Lotus , Hema และ Taobao พร้อมทั้งจัด กิจกรรมจับคูเ่ จรจาธุรกิจผ่านระบบออนไลน์ (Online Business Matching) กับผู้น�ำเข้าในประเทศจีนในกลุ่มสินค้าผลไม้ เช่น ล�ำไย โดยมีแผนขยายไป ยังสินค้าอื่นๆต่อไปในอนาคต 45 ปีความสัมพันธ์ไทย-จีนแน่นแฟ้น รองนายกฯ จุรินทร์ กล่าวว่า หากย้อนมองความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้น ระหว่างไทยกับจีนตั้งแต่ในอดีตที่ผ่านมา จีนถือเป็นมิตรประเทศที่มีความ ส�ำคัญมากส�ำหรับไทย และได้รักษาความสัมพันธ์อันดีมาโดยต่อเนื่องในทุก ระดับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับพระราชวงศ์ ซึ่งถือว่ามีความใกล้ชิดใน ระดับประมุขของทั้งสองประเทศ ประชาชนชาวไทยต่างรู้สึกปลาบปลื้มปีติอย่างยิ่ง ที่ได้เห็นสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงได้รับการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเครื่องอิสริยาภรณ์ รัฐมิตราภรณ์แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จากประธานาธิบดีสี จิ้นผิง ซึ่ง กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงมีคุณูปการอย่างใหญ่หลวงในการ กระชับความสัมพันธ์ระหว่างไทยจีนเป็นเวลาอันยาวนานและต่อเนื่อง ซึ่ง ถือว่าเป็นเกียรติกับประเทศไทยด้วย นอกจากนี้ ไทย-จีนยังมีการแลกเปลี่ยนการเยือนระหว่างผู้น�ำระดับ สูงของรัฐบาลอย่างสม�่ำเสมอ และที่ส�ำคัญคือความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นใน ระดับประชาชน “สุดท้ายนี้ ผมหวังว่า ความสัมพันธ์ไทย-จีนจะเจริญก้าวหน้าต่อไปตาม ล�ำดับ ไม่ว่าจะเป็นภาคการเมือง เศรษฐกิจสังคม และระดับพรรคการเมือง ความสัมพันธ์ไทย-จีนในทุกระดับทุกมิติจะเจริญงอกงามเติบโตร่วมกันสู่ อนาคตที่เปิดกว้างต่อไป” รองนายกฯจุรินทร์ กล่าว
19
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
泰中携手共进迈向未来 ——泰国副总理兼商业部长朱林 泰中经贸合作是双边关系的重要组成部 分。正值泰中建交45周年之际,泰国副总理兼 商业部部长朱林•拉萨纳维席在接受本刊记者采 访时表示,如今,泰中双边关系发展活跃,各 方面合作日趋紧密,尤其是经贸。 中国是泰国最大贸易伙伴。在过去十年中 (自2010年至2019年),双边贸易额年均增长 6.3%。泰中双方定下目标,在2021年之内双边 贸易额力争达到1400亿美元。 2019年中国成为泰国的第一大贸易伙伴, 占泰国国际贸易总额的16.5%。泰国是中国的 第14个贸易伙伴,约占中国国际贸易总额的 2.0%。2020年1月至4月,双边贸易总额为 251.99亿美元,同比增长1.48%。 “两国贸易往来存在2-3种形式,即:中 泰贸易、投资和经济合作联合委员会机制; 澜沧江-湄公河合作机制(MLC);伊洛瓦 底江、湄南河与湄公河三河流域经济合作战 略(ACMECS)。另一重要经济合作架构是 中国-东盟自贸协定(ACFTA),进一步加强 区域经贸合作,将实质性地彼此开放市场。” 朱林说。 RCEP于今年底落地,拓展泰中经贸合作 朱林还说到,泰中两国还通过《区域全面 经济伙伴关系协定》(RCEP)开展双边贸易 合作,为双方经济增长提供助力。RCEP各项 法律文件审核工作预计将于7月结束,以便有 关各方能在今年11月份签署协议。 RCEP有助于扩大泰国与其他成员国的经 贸和投资往来,还包括作为泰国最大贸易伙 伴的中国。同时还能促进泰国和东盟经济的可 持续性增长,在《中国-东盟自由贸易协定》 市场开放基础上创造更大的合作潜力和发展空 间,更有利于泰国产品推向国际市场,如电视 机、汽车设备、橡胶、蔬果。 与此同时,RCEP还为泰国特色领域的本 国企业投资中国创造机遇,如建筑、零售、 保健、汽车、影视、娱乐、视频及音频处理、 动画制作等。此外,国内有市场需求的领域对 外资敞开大门,助力本土其他产业发展,还进 一步促进S形曲线产业发展,如研发、生态环 境、电信、计算机、教育、飞机零部件的维护 保养等。
20
RCEP是全球最具潜力的区域自由贸易协 定,成员国包括东盟十国、中国、日本、韩 国、印度、澳大利亚和新西兰,覆盖总人口近 36亿,占世界总人口的48.1%。根据2019年数 据显示,16个成员国的GDP总值超过28.5万亿 美元,约占全球GDP的32.7%;总贸易额超过 11.2万亿美元,占全球贸易的29.5%。 务实推进省级经贸关系 关于推进泰中经贸合作政策方面,朱林 说,已下令商业部推进泰国同中国多省建立对 口经贸合作关系,结合中国各省发展政策,制 定符合双方发展的政策,促进与各省需求相一 致的贸易发展。如中国视广西为通往东盟的 门户,泰国便将广西作为本国水果出口的大门 和重要集散地,而云南是通向中国西部市场 的门户。 海南是中国高度重视的经济特区,加上有 很多泰国华裔祖籍海南。为此,商业部正寻找 合作突破口或签订特别协议,进一步深化泰国 与海南之间的合作关系。 泰国高度重视促进与中国各省的合作,双 方开展多层次的互访交流,以及参加各种省级 贸易展,进一步拓展两国的合作渠道和机会。 转战线上,渡过疫情危机 关于泰中两国应对疫情对经贸的挑战,朱 林说,受疫情影响,传统的线下贸易有诸多障 碍,消费者行为习惯也发生改变,为此,线上 贸易成为后疫情时代的“新常态”,这也是进 入中国消费群的重要渠道。 前不久,泰国商业部与中国阿里巴巴旗 下天猫线上商城平台达成合作,在天猫线上商 城上建立“TOPTHAI旗舰店”。最具代表性 的产品,包括食品(水果、加工水果、罐头食
品、零食、饮料)、家居产品(乳胶枕、家居 饰品)和时尚产品(服装、包包、鞋子)。 “在‘6.18’购物节中,我第一次参加网 络直播销售,通过网络直播平台,向中国观 众推荐泰国优质水果和食品,直播仅15-16分 钟,观看人数超过1600万。本次活动取得巨 大成功,必须感谢天猫平台,让更多中国消费 者对泰国产品有更多的认知,同时还知道可 以通过天猫渠道购买到泰国优质水果,不仅有 助于营销,还让泰国产品走进中国市场更加便 利。”朱林说。 商业部通过伊藤洋华堂、天猫、京 东、Lotus、盒马、淘宝等中国知名电商平台 举办促销活动刺激消费。此外,还与中国水果 进口商举办线上商务洽谈,未来还计划扩展到 其他产品类型。 45年,泰中友好交流更加紧密 朱林说,回顾泰中两国关系发展历程,中 国是泰国重要的合作伙伴,两国关系始终保持 稳中向好势头,尤其是泰国王室为推动中泰友 好关系、深化两国互利合作作出了重要贡献。 习近平主席向诗琳通公主亲授中国国家 涉外最高荣誉“友谊勋章”,让泰国全民倍感 荣幸,也是泰国获得的殊荣。长期以来,诗琳 通公主为推动中泰务实合作和传统友谊做出杰 出贡献。 此外,泰中两国高层频繁互访,更重要的 是两国民心相通更加和谐紧密。 “最后,我衷心希望,不论是政治、经 济、社会还是政党层面,泰中关系向更高水平 迈进,双方全方位友好合作蓬勃发展,共同迎 接更加广阔的美好未来。”朱林说。
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
ณรงค์ศักดิ์ พุทธพรมงคล สืบสานปณิธาน ‘หอการค้าไทย-จีน’ สานสัมพันธ์สองประเทศเติบโตไปด้วยกัน “หอการค้าไทย-จีน” (เดิมคือ หอการค้าชิโน-สยาม) ถือเป็นองค์กร ส� ำ คั ญ ที่ มี บ ทบาทอย่ า งยิ่ ง ในการเป็ น ผู ้ เ ชื่ อ มสั ม พั น ธภาพอย่ า งไม่ เ ป็ น ทางการระหว่างรัฐบาลและประชาชนทั้งสองประเทศมาอย่างยาวนาน นับตั้งแต่สมัยที่ยังไม่มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็น ทางการระหว่างไทย-จีน โดยเป็นหอการค้าต่างชาติทกี่ อ่ ตัง้ ขึน้ ในประเทศไทย เมือ่ ปี 2453 (ตรงกับรัชศกเซวียนถ่งปีที่ 2 แห่งราชวงศ์ชงิ ) มีประวัตคิ วามเป็นมา ยาวนานกว่าศตวรรษ และจะครบรอบ 110 ปี ในปี 2563 นี้ ปั จ จุ บั น ภารกิ จ อั น ทรงเกี ย รติ ใ นการขั บ เคลื่ อ นการด� ำ เนิ น งาน หอการค้าไทย-จีน ได้ส่งต่อมายังคณะกรรมการชุดใหม่ ภายใต้การน�ำของ ณรงค์ศักดิ์ พุทธพรมงคล ประธานกรรมการหอการค้าไทย-จีน สมัยที่ 27 ประธานณรงค์ศักดิ์ กล่าวว่า หอการค้าไทย-จีนเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อ 110 ปีที่แล้ว โดยกลุ่มพ่อค้าชาวจีนที่อพยพเข้ามาตั้งรกรากในประเทศไทย จน สามารถสร้างเนื้อสร้างตัวจากเสื่อผืนหมอนใบ ในระยะแรก นอกจากท�ำ หน้าที่ส่งเสริมการพาณิชย์ระหว่างไทย-จีนแล้ว หอการค้าไทย-จีนยังมี บทบาทส�ำคัญในการอ�ำนวยความสะดวกและให้ความช่วยเหลือชาวจีน อพยพ ตลอดจนท�ำหน้าที่เสมือนสถานทูตและสถานกงสุลของประเทศจีน ในการออกและรับรองเอกสารต่างๆ ต่อมาภายหลังการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทย-จีน ในปี 2518 เป็นต้นมา หอการค้าไทย-จีน ซึง่ เป็นศูนย์รวมของชาวไทยเชือ้ สาย จีน ชาวจีนโพ้นทะเล และสมาคมธุรกิจการค้าไทย-จีนต่างๆกว่า 50 สมาคม ยังคงมีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริมมิตรภาพไทย-จีน เสริมสร้างความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ ตลอดจนสนับสนุนการแลกเปลีย่ นทางวัฒนธรรมอันดีระหว่าง สองประเทศให้แนบแน่นยิ่งขึ้น ทั้ ง นี้ คณะกรรมการหอการค้ า ไทย-จี น ชุ ด ปั จ จุ บั น ได้ ก� ำ หนดให้ หอการค้าไทย-จีน “เป็นหน่วยงานภาคเอกชนที่มีบทบาทส�ำคัญในการ สนับสนุนและส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศไทย-จีน และอ�ำนวยความ สะดวกด้านต่างๆให้แก่นักธุรกิจจีน โดยเฉพาะผู้ประกอบการ SMEs จีน ที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทย” และสานต่อภารกิจส่งเสริมความสัมพันธ์ ระหว่างไทยและจีนในทุกมิติ “ในฐานะประธานกรรมการหอการค้าไทย-จีน สมัยที่ 27 ผมพร้อมที่ จะยกระดับความสัมพันธ์ของ 2 ประเทศให้แน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้น 4 ภารกิจหลัก ได้แก่ 1. การดึงดูดการลงทุนจากจีน โดยเฉพาะผู้ประกอบการ SMEs จีน ซึ่ง มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูงมาลงทุนในประเทศไทย 2.การขยายการ ส่งออกไปยังตลาดจีน 3.สนับสนุนการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ พิเศษภาคตะวันออก(EEC) ของไทยกับเส้นทางสายไหมใหม่ (One Belt, One Road หรือ Belt and Road Initiative-BRI) ของจีน เพื่อพัฒนา เศรษฐกิจของทั้งสองประเทศให้เจริญเติบโตยิ่งขึ้น และ 4.ส่งเสริมความ ร่วมมือด้านอีคอมเมิร์ซระหว่างประเทศไทย-จีน เพื่อยกระดับการพัฒนา อีคอมเมิร์ซในประเทศไทย”
22
COVID-19 กระชับสัมพันธ์ไทยจีนใกล้ชิด การก้าวเข้ามารับต�ำแหน่งส�ำคัญเมื่อวันที่ 10 ก.พ.2563 ท่ามกลาง สถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 นับเป็นภารกิจที่ท้าทายอย่าง ยิ่งส�ำหรับประธานกรรมการหอการค้าไทย-จีนคนใหม่ แม้กิจกรรมทาง เศรษฐกิจและสังคมต่างๆในช่วงที่ผ่านมา ต้องหยุดชะงักลงจากมาตรการ การควบคุมการแพร่ระบาดไวรัส แต่หอการค้าไทย-จีนยังคงเดินหน้าท�ำงาน เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนไปอย่างไม่หยุดนิ่ง ภายใต้วิถี New Normal ทัง้ การจัดประชุมสมาพันธ์หอการค้าไทย-จีนและสมาคมธุรกิจต่างๆ กว่า 50 สมาคม ผ่านทางระบบการประชุมทางไกลครัง้ แรกในประวัตศิ าสตร์ นอกจากนี้ ยังได้ผลักดัน“โครงการน�ำร่องเพื่อฟื้นฟูการท่องเที่ยว ไทย-จีน หลังวิกฤต COVID-19” โดยร่วมกับสมาคมที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
นอกจากบริษทั ด้านไฮเทคจากจีนทีจ่ ะเข้ามาลงทุนในประเทศไทยแล้ว หอการค้าไทย-จีนยังเล็งเห็นถึงศักยภาพของกลุม่ ธุรกิจ SMEs ของจีน ทีม่ กี าร ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทีจ่ ะเข้ามาลงทุนในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่าง ยิง่ กลุม่ ธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับจีน เช่น การน�ำเข้าและส่งออกสินค้ากับประเทศ จีน ซึ่งหอการค้าไทย-จีน สามารถเข้าไปส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวก ให้กับกลุ่มธุรกิจเหล่านี้เข้ามาลงทุนในประเทศไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยเครือข่ายของหอการค้าไทย-จีน และกว่า 50 สมาคมการค้าซึ่งมี สมาชิกหลายพันราย และมีศกั ยภาพทีจ่ ะขยายความร่วมมือกับนักลงทุนจีน
>> 2019年11月4日,泰国中华总商会热烈欢迎李克强总理莅泰访问。 ‘หอการค้าไทย-จีน’ ให้การต้อนรับ หลี่ เค่อเฉียง นายกรัฐมนตรีจีน เนื่องในโอกาสเดินทางเยือนไทยอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 4 พ.ย.2562
บริการการท่องเที่ยว เพื่อน�ำเสนอมาตรการรองรับการกลับมาเปิดประเทศ ภายใต้การจัดท�ำข้อตกลงทวิภาคี Travel Bubble ระหว่างไทย-จีน เพื่อให้ กลุ่มนักธุรกิจทั้งสองประเทศสามารถเดินทางท�ำธุรกิจระหว่างกัน รวมถึง การเดินทางเข้ามาของกลุ่มนักเรียนนักศึกษา และกลุ่มนักท่องเที่ยวกลุ่ม เล็กๆที่เดินทางมากับบริษัททัวร์จากประเทศจีน ภายหลังจากสถานการณ์ COVID-19 เริ่มคลี่คลาย “เดิมเรามีแผนงานต่างๆที่วางไว้จ�ำนวนมากเพื่อส่งเสริมและยกระดับ การค้าการลงทุนไทย-จีน แม้ในช่วงวิกฤต COVID-19 จะท�ำให้กจิ กรรมต่างๆ ต้องสะดุดไปบ้าง แต่ทุกแผนงานยังคงต้องเดินหน้าต่อและเตรียมรุกหนัก มากขึ้นหลัง COVID-19 คลี่คลาย เริ่มจากการน�ำทัพผู้ประกอบการไทยเข้า ร่วมงาน China International Import Expo (CIIE) ในเดือนพ.ย.นี้ที่นคร เซี่ยงไฮ้ซึ่งจัดต่อเนื่องทุกปีเป็นครั้งที่ 3 พร้อมทั้งเดินหน้าสานต่อเป้าหมาย น�ำคณะเดินทางไปชักชวนการลงทุนจากจีนให้ครอบคลุมทั้ง 30 มณฑล ในช่วงระยะเวลาที่ดำ� รงต�ำแหน่ง” ทั้งนี้ จากแรงกระตุ้นของวิกฤต COVID-19 และความขัดแย้งระหว่าง จีนกับสหรัฐ ส่งผลให้จนี หันมาค้าขายและกระชับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ กับประเทศในภูมิภาคเอเชียมากขึ้น เพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพของห่วงโซ่ อุปทานและห่วงโซ่อตุ สาหกรรมทัง้ ของจีนเองและของภูมภิ าคเอเชียโดยรวม หลัง COVID-19 จึงเป็นโอกาสและความท้าทายในการเชิญนักลงทุนจีน ให้เข้ามาลงทุนในประเทศไทย โดยเฉพาะในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC โดยอาศัยการเป็นจุดยุทธศาสตร์สำ� คัญในการเป็นประตูสอู่ าเซียน ในการนี้ หอการค้าไทย-จีน จึงได้จดั ตัง้ ทีมงานคนรุน่ ใหม่เพือ่ เป็นคณะท�ำงาน ในการต้อนรับคณะนักลงทุนจีนที่เดินทางมาเยือนไทย และคณะท�ำงานใน การน�ำคณะนักธุรกิจไทยเดินทางไปเยือนจีน เพื่อรองรับการค้าการลงทุน ระหว่างไทยและจีนที่มีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้น
ร่วมสร้างเศรษฐกิจที่เปิดกว้าง...เติบโตไปด้วยกัน ประธานณรงค์ศกั ดิ์ กล่าวว่า ไทยและจีนสถาปนาความสัมพันธ์ทางการ ทูต เมื่อวันที่ 1 ก.ค. 2518 ครบรอบ 45 ปีในปีนี้ ความสัมพันธ์ระหว่าง สองประเทศมีความใกล้ชิดบนพื้นฐาน “การเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือเชิง ยุทธศาสตร์อย่างรอบด้าน” มีการแลกเปลี่ยนการเยือนในทุกระดับอย่าง สม�่ำเสมอ และมีการขยายความร่วมมือเชิงลึกในทุกมิติ อีกทั้งไทยยังให้ ความส�ำคัญกับการส่งเสริมความสัมพันธ์อนั ดีกบั รัฐบาลในระดับมณฑลของ จีน โดยเฉพาะมณฑลที่มีความส�ำคัญทางยุทธศาสตร์กับไทย เช่น กวางตุ้ง ยูนนาน และกว่างซี ในด้ า นการเมื อ ง ไทยกั บ จี น ด� ำ เนิ น ความสั ม พั น ธ์ บ นพื้ น ฐานของ หลักการเคารพซึ่งกันและกัน ความไว้เนื้อเชื่อใจและการมีผลประโยชน์ร่วม กัน ไม่แทรกแซงกิจการภายใน ทัง้ สองประเทศมีความเชือ่ มโยงทางเชือ้ ชาติ และวัฒนธรรมอย่างแนบแน่น ไม่เคยมีปญ ั หาความขัดแย้งทางประวัตศิ าสตร์ พรมแดน หรือน่านน�ำ้ ระหว่างกัน ท�ำให้ความสัมพันธ์ดำ� เนินไปอย่างราบรืน่ ในด้านความร่วมมือเศรษฐกิจซึง่ ถือเป็นหัวใจของความสัมพันธ์ไทย-จีน ยังมีความก้าวหน้าอย่างต่อเนือ่ ง ปัจจุบนั จีนเป็นประเทศคูค่ า้ อันดับ 1 ของ ไทย ในขณะที่ไทยเป็นคู่ค้าอันดับ 11 ของจีน โดยในกลุ่มสมาชิกอาเซียน จีนค้าขายกับประเทศไทยเป็นอันดับ 3 (รองจากเวียดนาม และมาเลเซีย) ขณะที่สถิติล่าสุดในเดือนพ.ค.จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ การ ส่งออกจากไทยไปจีนมีมูลค่า 2,909.3 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวที่ 15.3% ส่งผลให้ในรอบ 5 เดือนแรกของปีนี้ การส่งออกจากไทยไปจีนมีมูลค่ารวม 12,221.1 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวที่ 4.7% และมีสัดส่วน 12.5% ของ การส่งออกรวมของประเทศ สินค้าส่งออกส�ำคัญที่ขยายตัว ได้แก่ ผลไม้สด แช่แข็งและแห้ง รถยนต์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง แผงวงจรไฟฟ้า และเครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ ในด้ า นการลงทุ น จี น มี มู ล ค่ า การลงทุ น สะสมในไทยถึ ง ปลายปี 2562 ประมาณ 8,000 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยวิสาหกิจจีนสนใจลงทุนใน ภาคธุรกิจที่ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ภาคอุตสาหกรรมใหม่ โลจิสติกส์ และการพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ ส่วนการลงทุนสะสมของไทยในจีน จนถึงเดือนก.ย. 2562 มีมูลค่า 4,344.48 ล้านเหรียญสหรัฐ (เฉพาะระหว่าง เดือนม.ค.-ก.ย. 2562 การลงทุนไทยในจีนมีมลู ค่า 74.48 ล้านเหรียญสหรัฐ) ขณะที่สถิติในช่วง 5 เดือนแรกของปี 2563 มีนักลงทุนจีนยื่นขอรับ การส่งเสริมการลงทุนจากบีโอไอ จ�ำนวน 82 โครงการ มีมูลค่าเงินลงทุน รวม 15,069 ล้านบาท นับว่าสูงสุดในบรรดาการลงทุนจากต่างประเทศ ทั้ง ในแง่โครงการและเงินลงทุน “นักลงทุนจีนมองประเทศไทยว่ามีจดุ แข็ง เพราะมีเสถียรภาพทางการ เมืองและสังคม และตั้งอยู่บนจุดยุทธศาสตร์ของภูมิภาค มีการพัฒนา
23
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
坚守初心使命,为泰中友好添 ——泰国中华总商会主席林楚钦
>> 林楚钦主席代表泰国中华总商会向中国政府捐赠抗疫善款, 由中国驻泰王国大使馆杨欣代办接领。 ณรงค์ศักดิ์ พุ ทธพรมงคล ประธานกรรมการหอการค้าไทย-จีน เป็นตัวแทนหอการค้าไทย-จีน มอบเงินช่วยเหลือรัฐบาลจีนต่อสู้กับ COVID-19 โดยมีอุปทูตหยาง ซิน เป็นผู้รับมอบ
โครงสร้างพืน้ ฐานทีด่ แี ละมีความพร้อมเพือ่ รองรับและส่งเสริมการเชือ่ มโยง โครงข่ายคมนาคมขนส่งในภูมภิ าค จากความได้เปรียบในเชิงยุทธศาสตร์นจี้ งึ ท�ำให้ประเทศไทยกลายเป็นศูนย์กลางของการเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่ง ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนและจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางบก สอดรับ กับนโยบาย Belt and Road Initiative หรือ BRI ของจีนซึ่งเชื่อมโยงกับ นโยบายการพัฒนาพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจภาคตะวันออกหรือ EEC และหากโครงการ ก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน เสร็จสมบูรณ์ ก็จะยิง่ เพิม่ ขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศไทย นอกจากนี้ ประเทศไทยยังเป็นแหล่งวัตถุดบิ ชิน้ ส่วนสินค้าอุตสาหกรรม และสินค้ากึ่งส�ำเร็จรูป ซึ่งอยู่ในห่วงโซ่อุตสาหกรรมและห่วงโซ่อุปทานของ จีน เช่น ผลิตภัณฑ์ยางและยางพารา เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ส่วน ประกอบ รถยนต์และอุปกรณ์สว่ นประกอบ ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง และแห้ง จุดแข็งที่ส�ำคัญอีกประการ คือ คนไทยและจีน มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด กันมายาวนาน จึงมีเครือข่ายเชื่อมโยงโดยเฉพาะด้านธุรกิจการค้าและการ ลงทุน อีกทั้งรัฐบาลทั้งสองประเทศยังไม่มีข้อพิพาทระหว่างกัน” ในมุ ม มองของประธานกรรมการหอการค้ า ไทย-จี น ท่ า มกลาง สถานการณ์โลกที่ผันแปร และความท้าทายของการฟื้นฟูเศรษฐกิจหลัง COVID-19 ไทยและจีนจึงควรมองโอกาสผสานจุดแข็งระหว่างกันเพื่อ ร่วมสร้างเศรษฐกิจที่ทุกฝ่ายได้รับผลประโยชน์ร่วมกันอย่างเปิดกว้าง “ประเทศจีนมีจุดแข็งความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี มีการน�ำระบบ ดิจทิ ลั ระบบออโตเมชัน่ และ โรโบติกส์ มาใช้อย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรม การผลิ ต และธุรกิจ บริการ โดยเฉพาะบริการด้านการแพทย์ บริก าร ค้าปลีกค้าส่ง จึงเป็นโอกาสที่เราจะน�ำจุดแข็งเหล่านี้เข้ามาเสริมศักยภาพ ประเทศไทยซึ่งประสบกับปัญหาขาดแคลนแรงงาน ต้องอาศัยแรงงานจาก ประเทศเพื่อนบ้านและขาดแคลนบุคลากรด้านดิจิทัล ผมคิดว่าการท�ำธุรกิจยุคนี้ เราควรเปิดกว้าง อย่าไปกลัว อย่าปิดกัน้ แต่ ต้องมองจีนให้เป็นโอกาสแล้วหันมาจับมือร่วมกันเพื่อเติบโตก้าวไปด้วยกัน แบบ win-win” ประธานกรรมการหอการค้าไทย-จีน กล่าว
24
早在泰国和中国尚未建立正式外交关系之前,泰国中 华总商会(原名:暹罗国中华商会,以下简称商会)就已 是促进泰中两国政府和人民之间友好交往的非政府性重要 组织。商会创立于前清宣统二年(1910年),迄今已逾一 百年历史。今年迎来创立110周年纪念日。 时至今日,商会一如既往践初心、肩使命。在第27 届商会主席林楚钦先生的领导下,继续坚定信心,奋力 前行。 林楚钦表示,商会至今已有整整110年的历史,过 去,华商迁移到泰国谋生,并逐渐融入当地,创建家业。 初期,除了促进泰中商贸发展,商会还为广大华人侨胞在 泰发展提供便利和帮助,甚至在签发和资料公证等多方面 起到如中国大使馆或领事馆的重要作用。 泰中两国于1975年正式建立外交关系以后,商会成 为汇聚在泰华人华侨、50多家泰中经贸商会的中心,继 续为增进泰中友谊,加强泰中经贸合作,促进泰中文化 交流,做出了巨大贡献。 现届会董会致力将商会打造成在全面推动泰中经贸合 作方面发挥重要作用的民间组织,为广大中国企业提供便 利,尤其是赴泰投资的中国中小型企业。 林楚钦表示,作为第27届商会主席,已做好准备通 过以下四大方面使泰中两国关系获得进一步巩固和发展。 1、吸引中国投资,尤其是高科技型中国中小型 企业;2、扩大对华出口;3、助力泰国东部经济走廊
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
添砖加瓦 (EEC)与中国“一带一路”倡议对接,实现共同繁 荣;4、促进两国跨境电子商务合作,进一步推动泰国电 商领域的发展。 疫情趋紧人心,泰中关系更牢固紧密 林楚钦于今年2月10日出任商会主席,正值疫情时 期,这对于新任商会主席而言极具挑战。此前,为防范新 冠肺炎疫情扩大采取的措施对各种社会和经济活动按下暂 停键,但却未能阻挡商会前进的步伐,在新常态环境下不 断为促进两国关系发展做出贡献,并通过网络视频方式召 开有史以来首次泰国中华总商会暨各行业公会联谊会,50 多个商会参会。 疫情过后,为了恢复两国投资商、留学生及小团体 旅行团正常的交流和往来,在泰中两国“旅行泡泡”协议 下,商会与旅游相关行业协会开展合作,提出“疫情后重 振泰中旅游业试点项目的建议”。 “过去,我们制定了许多加强泰中经贸合作的计划, 虽然一场突如其来的新冠肺炎疫情对很多经济活动拉闸, 但是疫情过后,需要依旧按照原计划行动和加倍努力使经 济复苏。届时将组织泰国企业参加今年11月份在上海举行 的中国国际进口博览会(简称进博会、CIIE)。中国已连 续三年举办进博会。此外还将努力实现吸引中国30个省份 投资商赴泰投资的目标。”林楚钦说。 鉴于新冠肺炎疫情和中美贸易争端的推动力,为中 国乃至亚洲供应链和产业链构建,中国和亚洲关系更紧 密更强劲。 疫情过后,邀请中国投资商赴泰投资是机遇,也是 挑战,尤其是东部经济走廊(EEC),泰国政府致力于 将其发展成东南亚大门。因此,为扩大双边贸易投资规 模,商会专门成立新生代团队负责两国企业相互进行交 流考察的协调事宜。 除了落户泰国的中国高科技企业之外,商会还发现赴 泰投资的创新技术型中国中小型企业的潜力,尤其是与中 国有关的业务,如与中国开展进出口贸易。商会拥有强大 的关系网和来自50多家商会组织的上千家企业会员,将能 为以上赴泰投资的中国企业提供有效支持和便利。 泰中携手共进迈向未来 林楚钦说,1975年7月1日泰国和中国正式建立外交关 系,今年迎来两国建交45周年,双方全面战略合作伙伴关 系的提升,更促进了两国紧密关系和务实合作,各级建立 良好关系,全面深化合作。另外,泰国始终高度重视促进 与中国地方政府间的友好关系,尤其是与泰国具有战略重
要性的省份,如广东、云南和广西。 政治方面,泰中两国本着互相尊重、互相信任、不干 涉内政的原则,互惠互利。两国血缘文化关系密切,不曾 有过历史、领土和领海的争端。 经济合作是泰中关系的核心,在各项经济合作的开展 下更加紧密。如今,中国是泰国的第一大贸易伙伴,而泰 国是中国的第11大贸易伙伴,在东盟国家中位列第3(仅 次于越南和马来西亚)。 根据泰国商务部发布的最新数据显示,5月,泰国对 华出口29.093亿美元,增长15.3%。今年前5个月,泰国 对华出口总额为122.211亿美元,增长4.7%,占泰国出口 总额的12.5%。主要出口产品有水果(新鲜、冷藏和干 果)、汽车及其零部件、橡胶制品、电路板、计算机及 其零部件。 投资方面,截至2019年年底,中国对泰累计直接投 资额约80亿美元,中国倾向于投资新型创新技术产业、 新行业、物流及电子商务产业。截止2019年9月底,泰国 对华累计直接总投资额约43.4448亿美元(仅今年1月至9 月,泰国对华直接投资额7448万美元。) 根据今年前5个月的数据显示,中国企业向泰国投资 促进委员会(BOI)递交投资申请共计82个项目,总投 资额150.69亿泰铢,项目和投资额方面均占外国总投资 比例最高。 “泰国在中国投资者眼中具有多方面优势,泰国政治 和社会保持和谐稳定,位于区域战略地区,有良好的基础 设施建设,已做好准备促进地区互联互通。鉴于这一战略 优势,泰国已成为东盟和中国的交通枢纽,尤其是陆运, 与中国‘一带一路’倡议和泰国东部经济走廊(EEC)计 划高度契合。一旦泰中高铁建成,将大大提高泰国的竞争 力。”林楚钦说。 此外,泰国还是原材料、工业零配件、中间产品的 产地,与中国产业链和供应链紧密相连,如橡胶和橡胶制 品、计算机、机械设备及其零部件、汽车及其零部件、水 果(新鲜、冷藏、冷冻、干果)等。 另一重要优势是,泰中友好关系源远流长,联系紧 密,尤其是经贸投资的合作,加上两国政府之间不曾有 过任何争端。 林楚钦认为,在国际风云变幻,疫情后经济复苏面临 巨大挑战的大背景下,泰中两国应结合双方优势寻找合作 机会,实现互惠互利。 中国在先进科技方面占有优势,将数字化、自动化、 机器人等技术运用于制造业和服务业,尤其是医疗业、零 售业。因此,若能优势互补,将给泰国带来机遇,因为泰 国正面临劳动力短缺问题,需要依靠邻国劳动力,以及缺 乏数字经济领域的人才。 “我认为,现在做生意,应该要开放包容,不要害 怕,抓住中国发展机遇,携手共进,实现互利共赢。” 林楚钦说。
25
45周年
中泰一家亲 45 ปป จีนไทยใช่อืนไกล พีีน้องกัน
《中国—东盟博览》杂志社恭贺中泰建交45周年 ขอแสดงความยินดีเนืืองในโอกาสครบรอบ 45 ปป การสถาปนาความสัมพั นธ์ทางการทูตจีน-ไทย นิตยสาร China-ASEAN Panorama
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
วิกรม กรมดิษฐ์
มองอดีต เข้าใจปัจจุบัน สร้างสรรค์อนาคต 45 ปีความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน สั ม พั น ธภาพอั น ดี ร ะหว่ า งไทย-จี น ได้ ผ ่ า นการทดสอบจากการ เปลี่ ย นแปลงต่ า งๆด้ ว ยกาลเวลาที่ ย าวนาน ท่ า มกลางสถานการณ์ ความท้าทายและบริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป เราควรใช้โอกาสที่ดีจาก ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศ เพื่อสร้างสรรค์อนาคต ร่วมกันต่อไปอย่างไร? ติดตามได้จากมุมมอง วิกรม กรมดิษฐ์ ประธาน กรรมการบริหาร บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน และ ประธานสภาธุรกิจไทย-จีน รากฐานความสัมพันธ์ไทย-จีน ไม่ใช่เพียงแค่ 45 ปี นักธุรกิจไทยที่มีบทบาทส�ำคัญต่อความสัมพันธ์ไทย-จีน เริ่มต้นบท สนทนาด้วยการเล่าย้อนอดีตให้เห็นถึงวิถคี วามสัมพันธ์ไทย-จีนทีม่ กี ารติดต่อ กันมาเป็นเวลานาน โดยสามารถย้อนไปได้ถึงสมัยสุโขทัย เมื่อครั้งชนกลุ่ม น้อยชาวไทหรือเผ่าไตในสิบสองปันนาทางตอนใต้ของจีน เดินทางข้ามภูเขา เข้ามาอยู่ในแถบตอนเหนือของประเทศไทยเมื่อ 900 กว่าปีก่อน จนกระทัง่ มาถึงอีกยุคส�ำคัญในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ทมี่ ชี าวจีนจ�ำนวน มากอพยพทางเรือจากมณฑลชายทะเลทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน เช่น ฮกเกี้ยน กวางตุ้ง และไหหล�ำ เข้ามาตั้งรกรากในเมืองไทย ทั้งในแถบพื้นที่ ลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยา แม่น�้ำท่าจีน แม่นำ�้ แม่กลอง รวมถึงจังหวัดจันทบุรี ใน ภาคตะวันออก และแถบพื้นที่หาดใหญ่ ภาคใต้ของไทย จากค�ำบอกเล่าของ“วิกรม” ซึ่งเป็นหนึ่งในนักธุรกิจไทยที่มีบรรพบุรุษ สืบเชื้อสายมาจากชาวจีนแคะหรือฮากก้า ซึ่งอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ใน ชุมชนท่าเรือ จ.กาญจนบุรี เมื่อ 150 กว่าปีมาแล้ว ไทยและจีนจึงมีความ สัมพันธ์กันโดยเชื้อชาติมาตั้งแต่โบราณกาล และยังมีความผูกพันทางสาย เลือดผ่านเชื้อสายของชาวจีนอพยพที่หลอมรวมเข้าเป็นสังคมเดียวกับ คนไทยผ่านการแต่งงาน แต่ไหนแต่ไรมา สังคมไทยยังเป็นดินแดนที่เปิดกว้างต่อการเดินทาง เข้ามาค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าและตั้งรกรากของชาวต่างชาติ ในสมัย อยุธยาช่วงหนึ่งยังเปิดกว้างให้ชาวต่างชาติเข้ามาเป็นขุนนางรับราชการใน ราชส�ำนัก ด้วยการเป็นสังคมที่เปิดกว้าง ให้เกียรติต้อนรับ และไม่มีการแบ่ง แยกชนชาติ อีกทั้งไทยและจีนยังไม่เคยมีปัญหาความขัดแย้งใดๆที่ตกทอด มาจากประวัติศาสตร์ ไม่ว่าจะอดีตหรือปัจจุบัน จึงได้เห็นปรากฏการณ์ ในความเป็นจริงว่า คนไทย-จีนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างผาสุก จนชาวจีน เรียกขานประเทศไทยว่า“ไท่กั๋ว”ซึ่งหมายถึงประเทศที่มีความสงบสุขและ เสรีภาพ จึงต่างพากันหลั่งไหลเข้ามาตั้งรกราก จนประเทศไทยกลายเป็น ประเทศที่มีชาวจีนและเชื้อสายจีนอาศัยอยู่มากที่สุดในโลก ต่ อ มาแม้ ใ นช่ ว งกระแสทางการเมื อ งโลกในยุ ค หลั ง สงครามโลก ครั้งที่ 2 จะท�ำให้ไทยกับจีนขาดการติดต่อกันในระดับทางการอยู่ระยะหนึ่ง แต่เมื่อหมอกควันแห่งความขัดแย้งทางอุดมการณ์ทางการเมืองเบาบาง ลง ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนได้รับการฟื้นฟูและพัฒนาขึ้นอีกครั้งเมื่อ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีของไทยสมัยนัน้ เดินทางเยือนจีนเป็น ครัง้ แรกและได้รว่ มลงนามกับนายกรัฐมนตรีโจว เอินไหล ในแถลงการณ์รว่ ม ไทย-จีนว่าด้วยการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2518 นับเป็นการเปิดประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของความสัมพันธ์ระหว่าง ไทย-จีนอีกครั้งหนึ่ง
เปิดมุมมองโอกาส สร้างสรรค์อนาคตร่วมกัน กาลเวลาผ่านมา 45 ปี สัมพันธภาพไทย-จีนทุกด้านได้ขยายตัวและ ยกระดับความร่วมมือระหว่างกัน โดยเฉพาะความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจ ที่มีความเชื่อมโยงกันมากขึ้น หลังจากการจัดท�ำข้อตกลงเขตการค้าเสรี อาเซียน-จีน ที่เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี 2548 จากเดิมในอดีตที่สหรัฐอเมริกา ยุโรป และญี่ปุ่น เคยเป็นตลาดส่งออก ส�ำคัญของไทยทีม่ สี ดั ส่วนกว่า 60% แต่ในช่วง 5-10 ปีมานี้ การค้าขายกับจีน ได้มบี ทบาทเพิม่ ขึน้ แทนที่ และกลายมาเป็นประเทศคูค่ า้ อันดับหนึง่ ของไทย เช่นเดียวกับด้านการท่องเทีย่ วซึง่ จีนเป็นตลาดนักท่องเทีย่ วอันดับหนึง่ ของไทยปีละกว่า 10 ล้านคน ส่งผลต่อเนื่องถึงการขยายตัวด้านการค้าขาย และการเข้ามาลงทุนทัง้ ในตลาดอสังหาริมทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจน การขยายการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม “ถึงแม้ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 จะท�ำให้การเดิน ทางไปมาหาสู่ต้องหยุดชะงัก แต่ธุรกิจจีนยังมีแนวโน้มขยายการลงทุนใน ไทยอย่างต่อเนื่อง อย่างเช่นในนิคมอุตสาหกรรมอมตะของเราซึ่งเป็นนิคม อุตสาหกรรมที่มีโรงงานจีนเข้ามาลงทุนที่ใหญ่ที่สุดในโลก จ�ำนวนกว่า 160 โรงงาน และมีจำ� นวนชาวจีนทีเ่ ข้ามาท�ำงานในนิคมฯกว่า 4,000 คน” วิกรม ประธานกรรมการบริหาร บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน กล่าว “45 ปีที่ผ่านมา ด้วยพื้นฐานความสัมพันธ์อันดีต่อกันระหว่างไทยจีน ท�ำให้นักธุรกิจจีนมีความคุ้นเคยใกล้ชิดและความมั่นใจ จนท�ำให้เกิด
27
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
ความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน และในอนาคต เชือ่ ว่า คนจีนน่าจะยังคงใช้ไทยเป็นศูนย์กลางของการลงทุนและการท�ำงาน ในภูมิภาคนี้ จากความได้เปรียบด้านที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของไทยที่เป็น ศูนย์กลางของอาเซียน ...โจทย์ที่ส�ำคัญ คือ เราจะใช้โอกาสเหล่านี้ให้เกิดความร่วมมือที่เป็น ประโยชน์กับจีนได้อย่างไร?”วิกรม กล่าว พร้อมทั้งย�้ำว่า วันนี้ เราจึงต้อง เปิดมุมมองใหม่ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับจีน จากความคิดเดิมๆแบบที่เคย มองจีนเมื่อสมัย 30-40 ปีที่แล้ว ซึ่งจีนยังเป็นประเทศ“หลังม่านไม้ไผ่” มีจีดีพีต่อหัวประชากร (GDP per Capita) เพียง 200 เหรียญสหรัฐ/คน/ปี แต่หลังจากที่จีนได้ปฏิรูปเศรษฐกิจและเปิดประเทศอย่างจริงจังในปี 2521 ส่งผลให้อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจจีนขยายตัวอย่างต่อเนื่องปีละกว่า 9% ท�ำให้คนจีนมีฐานะร�่ำรวยขึ้น ปัจจุบนั จีดพี ตี อ่ หัวประชากรจีนอยูท่ รี่ าว 10,000 เหรียญสหรัฐ/คน/ปี และได้กลายมาเป็นมหาอ�ำนาจเศรษฐกิจของโลก ในปีที่แล้วจีนมีมูลค่า การค้าระหว่างประเทศ (Total Trade) ราว 4.4 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ขึ้น แซงหน้าสูงกว่าสหรัฐกว่า 10% อีกทัง้ ยังเป็นตลาดผูบ้ ริโภคทีส่ ำ� คัญของโลก เมือ่ ปีทแี่ ล้วก่อนวิกฤต COVID-19 มีคนจีนเดินทางออกไปเทีย่ วทัว่ โลก กว่า 130 ล้านคน โดยมีเม็ดเงินใช้จ่ายในการท่องเที่ยวประมาณ 4 แสนล้าน เหรียญสหรัฐ เทียบเท่าพอๆกับจีดีพีของประเทศไทย แม้ความแตกต่างใน ด้านวัฒนธรรมและมารยาทสังคม จะท�ำให้มนี กั ท่องเทีย่ วบางส่วนถูกวิจารณ์ เรื่องภาพลักษณ์พฤติกรรมและการแสดงออกในด้านลบ แต่นั่นเป็นเพียง เหตุการณ์ส่วนบุคคล ไม่ใช่ภาพลักษณ์ทั้งหมดของชาวจีน “การมองความสัมพันธ์ไม่ว่ากับประเทศใด เราควรมองหาโอกาสใน ด้านดีเพื่อดึงศักยภาพในการพัฒนาร่วมกัน อย่าไปปิดกั้น แต่ควรสร้าง ความร่วมมือ เปิดตลาดการค้าการลงทุนเพื่อเข้ามาเติมเต็มในส่วนที่ไทยยัง ขาด ภายใต้การก�ำหนดกฎเกณฑ์ทมี่ งุ่ ดึงดูดการลงทุนทีม่ คี ณ ุ ภาพ ก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อประเทศ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสามารถเติบโตไปด้วยกัน กับธุรกิจของคนไทย” ในมุมมองของประธานสภาธุรกิจไทย-จีน ในด้านพัฒนาทางเศรษฐกิจ จึงมีโอกาสอีกมากที่ไทยและจีนจะร่วมมือกัน โดยใช้ประโยชน์จากการที่ ไทยเป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงคมนาคมของภูมิภาคอาเซียน ทั้งทางบกซึ่ง เป็นจุดเชือ่ มโยงโครงสร้างคมนาคมทางรถไฟและถนนระหว่างจีนกับอาเซียน และทางทะเลซึง่ ไทยเป็นจุดเชือ่ มโยงระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทร แปซิฟิก สอดรับกับยุทธศาสตร์ Belt and Road Initiative ของจีนที่มุ่ง เชื่อมโยงเส้นทางการค้าของ 3 ทวีป เอเชีย ยุโรป และแอฟริกาเข้าด้วยกัน “วิกฤตการแพร่ระบาด COVID-19 และสงครามการค้าระหว่างจีนสหรัฐ เป็นสถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ ในช่วงเวลาหนึง่ แต่ในทีส่ ดุ ก็จะจบลงตามเหตุ ปัจจัย ขณะทีค่ วามสัมพันธ์ไทย-จีน ได้ผา่ นการทดสอบจากการเปลีย่ นแปลง ต่างๆด้วยกาลเวลาที่ยาวนานมาตั้งแต่โบราณกาล มีความใกล้ชิดกันทั้งทาง เชื้อชาติ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ เป็นความสัมพันธ์ที่พิเศษไม่เหมือน กับประเทศใด เราจึงควรรักษาสัมพันธภาพอันดีระหว่างกันที่ไม่ได้มาโดยง่ายนี้ และ ใช้โอกาสจากประวัติศาสตร์ 900 ปีให้เป็นประโยชน์ บวกด้วยจุดแข็งที่ ตั้งภูมิศาสตร์ของไทย และกรอบความร่วมมืออาเซียน+6 (จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, อินเดีย, ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์) เพื่อเป็นสะพานส�ำคัญที่ น�ำไปสู่ความร่วมมือระหว่างไทย-จีน ก้าวสู่อนาคตที่เปิดกว้างร่วมกันอย่าง มีประสิทธิภาพ” วิกรม ประธานสภาธุรกิจไทย-จีน ซึ่งมีบทบาทส�ำคัญต่อ ความสัมพันธ์ไทย-จีน กล่าว
28
สภาธุรกิจไทย-จีน สะพานเชื่อมธุรกิจไทย-จีน นับเป็นเวลา 19 ปีมาแล้วที่“สภาธุรกิจไทย-จีน”ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อ ปี 2544 โดยความร่วมมือของ“กกร.”คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมธนาคารไทย) กับ สภาส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศของจีน (China Council for The Promotion of International TradeCCPIT) เพื่อเชื่อมโยงการติดต่อระหว่างภาคเอกชนด้านการค้าการลงทุน ระหว่างไทย-จีนโดยตรง ภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาลทั้งสองประเทศ สภาธุรกิจไทย-จีนจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หลักได้แก่ 1.ส่งเสริม การค้าและการลงทุนระหว่างไทยและจีน 2.ส่งเสริมความร่วมมือทางการ ค้าและการลงทุนในประเทศที่สาม เช่น กลุ่มประเทศ CLMV และอาเซียน 3.ส่งเสริมการขยายความร่วมมือของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของ ทั้งสองประเทศ 4.ส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวกในด้านการถ่ายทอด เทคโนโลยี การแลกเปลี่ยนข้อมูล วิกรม กรมดิษฐ์ ประธานสภาธุรกิจไทย-จีน กล่าวว่า การท�ำงานระหว่าง สภาธุรกิจไทย-จีน กับ CCPIT ท�ำให้มกี ารเดินหน้าบทบาทสร้างความสัมพันธ์ เชิงลึกกับจีนและการจัดกิจกรรมระหว่างกันมาอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีเป้าหมาย มุ่งสร้างเวทีส�ำหรับการเชื่อมโยงการลงทุนไทย-จีน และเวทีที่เปิดโอกาสให้ นักธุรกิจไทยและจีนได้พบปะแลกเปลี่ยนเพื่อสร้าง Networking ในการ ขยายลู่ทางการค้าระหว่างกัน นอกจากนี้ สภาธุรกิจไทย-จีน ยังได้เข้ามามีบทบาทในการส่งเสริม อ�ำนวยความสะดวกให้เกิดการค้าการลงทุนและแก้ปญ ั หาให้กบั นักธุรกิจไทย และจีนมาอย่างต่อเนื่อง หนึ่งในผลงานส�ำคัญด้านส่งเสริมการค้าที่ผ่านมา เช่น การประชุมผู้ประกอบการธุรกิจผลไม้ระหว่างไทย-จีน ซึ่งเป็นที่มาของ การผลักดันให้มีการเจรจาลดภาษีน�ำเข้าผลไม้ตามข้อตกลงเหลือร้อยละ 0
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
泰中建交45周年 回顾过去,把握现在,创造未来! ——泰中商务委员会主席邱威功 历经各种风雨考验,泰中关系更加亲密无间、牢不 可破。在国际风云变幻莫测,人类面临诸多挑战背景下, 我们应如何通过两国友好邦交关系共创美好未来?围绕该 问题,本刊记者采访了泰国安美德(AMATA)集团董事 长、泰中商务委员会主席邱威功。 追溯泰中交往的漫长历史,远超45年 作为一位对泰中关系发展起到重要作用的泰国企业 家,邱威功开门见山就提到了两国有着源远流长的交往 历史,甚至可以追溯到距今900多年的素可泰王朝,当 时来自中国西双版纳少数民族傣族人穿越山口迁移到泰 国北部。 中国人迁移到泰国居住的另一重要时间点是拉达那 哥欣时期。当时,移民泰国的中国人越来越多,他们大 多来自福建、广东和海南,通过乘船方式来到泰国湄南 河流域、他钦河流域、美功河流域、东部尖竹汶府、南 部合艾府等地定居。 据邱威功所述,他是拥有中国血统的泰国商人之 一。150多年前,他的客家人祖先移居到泰国北碧府。泰 国和中国在历史上就有亲缘关系,后来中国移民还通过 通婚方式融合到泰国社会。 自古以来,泰国社会对前来经商、定居的外国人始 终保持友善迎合态度。甚至在大城王朝时期,基于开放 的社会,外国人还曾担任宫廷官员,友善包容,无种族区 分。此外,泰中两国未曾有过任何争端。无论是过去还是 现在,我们总会看到泰国人和中国人都能够和平共处。在 中国人的眼中,泰国是一个和平自由的国家,于是纷纷涌 入泰国,进而泰国成为华人华侨最多的国家。 接下来,在第二次世界大战结束后,泰中两国的外交 关系中断了一段时间。当政治立场冲突阴霾逐渐散去,泰 中关系又重新恢复正常的外交关系。1975年7月1日,泰 国总理克立•巴莫亲王首次率领政府代表团访华,并同中 国总理周恩来签署了《中泰建交公报》,开启了双边关 系的新篇章。
开阔视野,共创未来 建交45年来,泰中关系全方位蓬勃发展,尤其是 中国—东盟自贸协定于2005年实施后,双边经贸关系不 断加强。 过去,美国、欧盟和日本是泰国的主要出口市场,占 有超过60%的比重,但是在过去5-10年中,泰中贸易不断 提质升级,中国成为泰国第一大贸易伙伴。 同时,中国还是泰国第一大旅游客源国,每年泰国接 待中国游客达1000万人次,进一步带动房地产、证券、工 业等产业的迅猛发展。
29
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
“虽然受新冠肺炎疫情影响,经济活动一度被迫按 下‘暂停键’,但是中国对泰国投资仍呈增长势头,如 罗勇AMATA CITY是全球拥有入驻中资企业最多的工业 园,超过160家,中国籍员工超过4000人。”邱威功说。 基于建交45年,泰中两国关系始终保持健康稳定发 展,中国投资商对泰国经济发展充满信心,进一步推动双 边贸易可持续发展。泰国地处东盟核心地带,未来,相信 泰国仍是中国人热衷投资和工作的东盟国家。 关键是我们如何通过泰中友好邦交关系寻找合作机 遇。邱威功强调说,如今,我们要从一个更新的角度去重 新了解中国,跳出对30、40年前中国的刻板印象,中国不 再“闭关锁国”,人均GDP不再只有200美元。自1978年 中国改革开放以后,中国经济持续以GDP年均增速9%的速 度快速增长,使人民过上更加富足的生活。 如今,中国人均GDP约为1万美元,一跃成为世界 主要经济体。2019年中国贸易总额约为4.4万亿美元,领 先美国超过10%。此外,中国还是全球重要的消费市场。 在新冠肺炎疫情暴发之前,2019年中国公民出境旅 游人数超过1.3亿人次,花费超过4000亿美元,相当于泰 国GDP总值。鉴于文化礼仪等方面存在差异,此前部分 中国游客不文明行为被曝光,但这仅是个人行为,并非 代表所有中国人。 针对国家间关系来说,我们应该寻找双方合作契合 点,保持开放的态度,在吸引高质量外资原则的前提下, 深化合作,开放投资贸易市场,弥补泰国在某些方面功 能的欠缺和不足,为国家带来福祉,保护环境,使两国 企业共同发展。 从泰中商务委员会主席的角度来看,鉴于泰国是东 盟交通枢纽,泰中经贸合作还有很大的发展空间。陆运方 面,泰国是中国和东盟铁路、公路的连接点;海运方面, 泰国是印度洋和太平洋的纽带,与旨在推进亚洲、欧洲及 非洲之间贸易合作的中国“一带一路”倡议高度契合。 无论是新冠肺炎疫情危机还是中美贸易争端,都只会 持续一段时间,终究会结束。泰中关系经历了重重考验, 包括种族、历史、地理,让彼此更加亲密,仅有泰中存在 如此特殊的关系。 “为此,我们应更加珍惜这来之不易的良好关系,两 国交往有着900多年的历史,加上泰国地理区位优势,东 盟+6合作框架(中国、日本、韩国、印度、澳大利亚和新 西兰),以此为良机,搭建泰中合作的重要桥梁,共创美 好未来。”邱威功说。
30
泰中商务委员会 构建泰中经贸往来桥梁 泰中商务委员会创立于2001年,成立至今已19年。 由泰中两国的贸易促进组织代表组成,泰方代表为泰国三 家民商机构,即泰国贸易院、泰国工业联合会、泰国银行 协会;中方代表为中国国际贸易促进委员会,肩负着促进 泰中两国贸易发展的重任。 委员会成立宗旨是:1、促进泰中两国贸易及投资发 展;2、促进与第三国的贸易合作,如东盟国家;3、扩 大泰中两国中小企业的合作;4、加强两国之间的科学技 术指导和信息交流,协助及互相提供相关便利。 邱威功还补充说,泰中商务委员会与中国国际贸易促 进委员会开展合作,起到强化两国深层次合作的作用,同 时还举办了多次泰中交流活动。泰中商务委员会致力于为 中泰搭建投资、贸易洽谈的广阔舞台,拓展贸易渠道。 此外,泰中商贸委员会在为两国投资者提供便利和 解决疑难问题上发挥了重要作用,重要成就包括举办泰 中水果商座谈会,这也是推动水果进口零关税的由来。
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
พล.อ.สุรสิทธิ์ ถนัดทาง ไทย-จีน “แสวงจุดร่วม สงวนจุดต่าง” ผลักดันสองประเทศสู่ความเจริญร่วมกัน “มองย้อนความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทย-จีน ถือเป็น 45 ปีที่น่า ชื่นชม แม้สองประเทศจะมีความแตกต่างกันทั้งในด้านระบบการเมืองการ ปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม แต่ไทยและจีนต่างมีความเข้าใจอันดีต่อกัน ภายใต้หลักการ“แสวงจุดร่วม-สงวนจุดต่าง”หรือ“ฉิวถง ฉุนอี้”-求同 存异 พล.อ.สุรสิทธิ์ ถนัดทาง ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ไทย-จีน กล่าวถึงมุมมองความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน ซึ่งหากย้อนกลับไปเมื่อ 45 ปีที่แล้ว ต้องถือเป็นความกล้าหาญของผู้น�ำรัฐบาลไทยในยุคนั้นที่กล้า ปรับเปลี่ยนนโยบายต่างประเทศ และนับเป็นความใจกว้างของรัฐบาลจีนที่ ท�ำให้ประวัตศิ าสตร์หน้าใหม่ความสัมพันธ์ไทย-จีน กลับมาฟืน้ ฟูอกี ครัง้ โดย ขยับจากความสัมพันธ์กับโลกตะวันตก มาสู่การกระชับความสัมพันธ์กับจีน และโลกตะวันออก “45 ปีที่ผ่านมา ไทยและจีนต่างมีความเห็นอกเห็นใจกัน ท่ามกลาง ความแตกต่างของสองประเทศ แต่สามารถขับเคลื่อนให้เกิดความร่วมมือ และการอ�ำนวยประโยชน์กันและกัน ที่สำ� คัญคือยังได้มีการเพิ่มระดับความ ร่วมมือทางยุทธศาสตร์ระหว่างกันมากขึ้นเรื่อยๆ ทิศทางต่อไปข้างหน้า ผมเชือ่ ว่าเราจะยังคงมีความร่วมมืออันดีระหว่าง กันต่อไป ภายใต้ทิศทางความสัมพันธ์ทางการทูตในลักษณะที่เรียกว่า New Look Diplomacy เปลีย่ นจากมุมมองการป้องกันร่วม (Collective Defence) ที่ต้องคิดเหมือนกัน ท�ำเหมือนกัน ไปสู่ความมั่นคงโดยการ ร่วมมือ (Cooperative Security) ร่วมมือกันในจุดที่ร่วมได้ เป็น New Look Diplomacy หรือความสัมพันธ์ทางการทูตใหม่ในเชิงป้องกันสงคราม และความขัดแย้ง แสวงจุดร่วม สงวนจุดต่าง ซึ่งเอกลักษณ์ของไทยคือการ เป็น“สนลู่ลม”ที่รักษาสมดุลความสัมพันธ์ที่ดีกับประเทศต่างๆไม่ว่ากับใคร ก็ตาม ความท้าทายหลัง COVID-19 ส�ำหรับประเด็นความท้าทายหลังสถานการณ์ COVID-19 ซึ่งส่งผลให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หากถามว่าจะท�ำให้เกิด การเปลี่ยนขั้วในเชิงภูมิรัฐศาสตร์แบบไหน ผมคิดว่ากลุ่มประเทศที่ให้ความ ร่วมมือกับจีน ในอนาคตจะยังคงมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับจีนต่อไป และ อาจจะมีความร่วมมือกับจีนในเรื่องการเมืองระดับนานาชาติเพิ่มขึ้นด้วย ขณะที่ระเบียบโลกใหม่จะก้าวไปสู่การให้ความส�ำคัญกับความมั่นคง ทางมนุษย์ (Human Security) และเรื่องสภาวะแวดล้อมในการอยู่อาศัย มากขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งที่ทั่วโลกมองไปทิศทางเดียวกัน ส่วนประเด็นการทวนกระแสโลกาภิวัตน์ หลัง COVID-19 ผมอยาก ใช้ค�ำว่า โลกาภิวัตน์ยังคงไม่ได้หายไปไหน เพียงแต่จะมีการร่วมมือกันอีก แบบหนึ่ง บางเรื่องอาจจะมีการทวนกระแสโลกาภิวัตน์ และบางเรื่องอาจ จะยังต้องร่วมกันอยู่ ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในระดับภูมิภาค ผมคิดว่าจะมี ความสัมพันธ์กันที่แน่นแฟ้นมากขึ้น จากการแลกเปลี่ยนความร่วมมือกันใน
32
ช่วงทีป่ ระสบปัญหาการแพร่ระบาด COVID-19 ซึง่ ท�ำให้เกิดความไว้เนือ้ เชือ่ ใจกันในบางเรื่องที่เกิดขึ้น อาทิ State Quarantine และสามารถที่จะใช้จุด นี้มาเป็นจุดร่วมกันในการขยายความร่วมมือกันต่อไป หลัง COVID-19 บทบาทของอาเซียนจะมีความส�ำคัญมากขึ้น ซึ่ง ไทยควรผสานพลังกับอาเซียนอย่างเป็นปึกแผ่น เพื่อประโยชน์ร่วมกันของ ภูมิภาค ในด้ า นผลกระทบต่ อ การลงทุ น ของจี น ในไทยและการขั บ เคลื่ อ น โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ในช่วงที่ผ่านมา บทบาท การลงทุนของจีนเติบโตเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก ผมคิดว่าการขับเคลื่อน EEC โดยการเข้ามาลงทุนของนักลงทุนจีนจะ ยังคงด�ำเนินต่อไป สถานการณ์ COVID-19 อาจส่งผลให้การลงทุนชะลอตัว ลงไปบ้างเล็กน้อยในระยะสั้น แต่จีนยังคงให้ความสนใจลงทุนในไทยอย่าง ต่อเนื่อง การเชื่อมโยงด้านภูมิศาสตร์ให้เป็นประโยชน์จึงเป็นเรื่องที่ไทยต้อง มองหาช่องทางเพื่อขยายโอกาสให้มากขึ้น ในด้านการเติบโตร่วมกันไปพร้อมกับจีน ผมอยากให้มองไปที่ 2 ด้าน คือ Economic Growth การสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ กับ Growth Together เติบโตสู่การพัฒนาไปร่วมกัน ในด้านการเติบโตทางเศรษฐกิจยังมีโอกาสที่ไทยกับจีนจะขยายความ ร่วมมือกันในหลากหลายรูปแบบ ทั้งในด้านแพลตฟอร์มความร่วมมือใหม่ๆ ทางด้านอุตสาหกรรม การขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งปีนี้ ผู้น�ำจีนและ อาเซียนได้ร่วมกันก�ำหนดให้ปี 2020 เป็นปีแห่งความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ดิจิทัลระหว่างจีน-อาเซียน ท�ำให้มีโอกาสจะขยายความร่วมมือกันในด้าน นี้มากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีโอกาสในด้านเกษตรกรรม ซึ่งไทยควรมุ่งเน้นการผลิต สินค้าที่จีนผลิตเองไม่ได้หรือผลิตได้ไม่เพียงพอต่อความต้องการ เช่น ข้าว หอมมะลิ ทุเรียน ขณะที่ในด้านของการเติบโตร่วมกันต่อไป ต้องมองถึงการ ร่วมกันคิด ร่วมกันสร้าง ร่วมกันแบ่งปันทั้งด้านความรู้ และด้านทรัพยากร มนุษย์ ส�ำหรับข้อริเริม่ หนึง่ แถบ หนึง่ เส้นทาง (Belt and Road Initiative-BRI) ซึ่งจีนต้องการผลักดันการสร้างประชาคมแห่งโชคชะตาร่วมกัน (community of common destiny) ในเรื่องนี้ ผมคิดว่าไทยเองอาจจะต้องมี ท่าทีในเชิงรุกด้วยเช่นกันในการก�ำหนดประเด็นความร่วมมือใหม่ๆว่า การ จะใช้ชะตากรรมร่วมกันให้เป็นประโยชน์จะต้องท�ำอย่างไร เช่น การเป็น พันธมิตรในแง่ความมั่นคง ซึ่งไม่ได้มีเพียงแต่เรื่องของการทหาร และการ ป้องกันประเทศ แต่ยงั มีมติ คิ วามมัน่ คงทัง้ ในด้านอาหาร ด้านการแพทย์และ สาธารณสุข ทีส่ ามารถน�ำมาเป็นแกนกลางของความร่วมมือ เพือ่ สร้างโอกาส ในการพัฒนาร่วมกัน ดังเช่นแนวคิดหนึง่ ของจีนทีบ่ อกว่า แทนทีจ่ ะตีเหล็กให้ เป็นดาบ ให้เอาเหล็กไปตีเป็นคันไถ “Turn Sword into Plough” 化干 戈为玉帛 (huà gāngē wéi yùbó) หมายถึงน�ำเอาทรัพยากรที่มีอยู่มา สร้างก�ำลังการผลิตขึ้นมา
TH
纪念中泰建交
จับโอกาสที่ส�ำ คัญ จากนโยบายของจีน ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
ตลอดระยะเวลา 45 ปีที่ผ่านมา ไทยและจีนมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด และมีการแลกเปลี่ยนกันในทุกระดับ ตั้งแต่ความสัมพันธ์ระดับสูงในระดับ ราชวงศ์ ระดับรัฐบาล ไปจนถึงการแลกเปลี่ยนระหว่างภาคส่วนต่างๆ และ ภาคประชาชน ซึ่งในด้านความสัมพันธ์ในระดับนักวิชาการ ไทยควรอาศัย ประโยชน์และขยายความร่วมมือกับจีนซึ่งมีคลังสมองและนักวิชาการเก่งๆ ให้มากขึ้น เพื่อวางยุทธศาสตร์ที่เหมาะสม ในมุมมองของพล.อ.สุรสิทธิ์ โอกาสการพัฒนาความร่วมมือระหว่าง ไทย-จีน สามารถเชื่อมโยงกับประเด็นความร่วมมือ 5 ด้านตามยุทธศาสตร์ BRI ที่จีนได้ประกาศไว้ ได้แก่ ความเชื่อมโยงด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนา ความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ความเชื่อมโยงด้านการค้า ความเชื่อมโยงด้านการเงิน และความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน สิ่งส�ำคัญคือเราจะอยู่ที่ใดในบทบาทการพัฒนาของจีนที่ก�ำลังก้าวขึ้น มามีบทบาทน�ำในโลกนี้ ซึ่งต้องมีกลไกที่มองอย่างรอบด้าน ค�ำนึงถึงผล ประโยชน์ร่วมกัน บนพื้นฐานของความสัมพันธ์ที่มีความจริงใจ ความเห็น อกเห็นใจ ความมีเกียรติศักดิ์ศรี ความเท่าเทียมกัน และการเคารพในความ แตกต่าง ซึ่ง 45 ปีที่ผ่านมาของความสัมพันธ์ทางการทูต ประเทศทั้งสอง ก็ได้พัฒนามาในแนวทางนี้ จึงท�ำให้ความสัมพันธ์ของทั้งสองประเทศอยู่ใน ระดับที่ดีมาโดยตลอด แม้จะมีความแตกต่างในเชิงโครงสร้างการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แต่ด้วยการ“แสวงหาจุดร่วม สงวนจุดต่าง”และความไว้ เนื้อเชื่อใจกัน ท�ำให้ไทยและจีนก้าวผ่านช่วงเวลาต่างๆที่ท้าทาย ภายใต้ การเปลี่ยนแปลงพลวัตของโลกจากอดีตมาจนถึงปัจจุบัน และพร้อมที่จะ ผลักดันความร่วมมือสองประเทศสู่ความเจริญก้าวหน้าร่วมกันต่อไปใน อนาคต
ในด้านนโยบายของจีนกับโอกาสและความท้า ทายของไทย หาก วิเคราะห์จากการประชุมสองสภาในปีนี้ และการประชุมสมัชชาใหญ่พรรค คอมมิวนิสต์จีนล่าสุดครั้งที่ 19 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อปี 2560 มีประเด็นที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้ จีนยังคงมุง่ เน้นการต่อต้านการทุจริตคอรัปชัน่ อย่างจริงจังและเด็ดขาด แม้จะเป็นเรื่องนโยบายภายใน แต่ก็ต้องการความร่วมมือกับต่างประเทศ และถือเป็นกรณีศึกษาที่ไทยสามารถเรียนรู้และเลือกน�ำมาปรับใช้ ในด้านข้อริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง หรือ Belt and Road Initiative (BRI) เป็นนโยบายที่จีนด�ำเนินมาแล้วและจะเดินหน้าต่อไป ซึ่งเป็นเรื่อง ของการรวมกลุ่มประเทศเพื่อผลักดันโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจที่เปิดกว้าง ภายใต้หลักการร่วมกันปรึกษาหารือ ร่วมกันสร้างสรรค์ และแบ่งปัน จึงถือ เป็นความท้าทายของไทยในการจัดตัง้ ทีมปรึกษาหารือระหว่างกันให้มากขึน้ รวมถึงการจัดตัง้ คลังสมอง หรือ Think Tank เพือ่ น�ำไปสูก่ ารวางยุทธศาสตร์ ของไทยที่เหมาะสม ในการประชุมสองสภาปีนี้ จีนได้งดการตั้งเป้าหมายตัวเลขการเติบโต ทางเศรษฐกิจ หรือ GDP ซึ่งนัยหนึ่งสะท้อนถึงแนวคิดการพัฒนาประเทศที่ ไม่ได้อยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลของโลกตะวันตกทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับตัวเลข GDP โดย จีนหันมาให้ความส�ำคัญกับการมุง่ ขจัดความยากจน การเพิม่ อ�ำนาจก�ำลังซือ้ (Purchasing Power Parity:PPP) เช่นเดียวกับการเชื่อมโยงทางความร่วม มือระหว่างประเทศในกรอบใหม่ผ่าน BRI รวมถึงการจัดตั้งธนาคารเพื่อการ ลงทุนโครงสร้างพื้นฐานแห่งเอเชีย (AIIB) หรือแม้แต่การเปิดเสรีในลักษณะ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจใหม่ๆอย่างเช่นความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ ระดับภูมิภาค (RCEP) จีนมีนโยบายปฏิรปู การศึกษาพร้อมทัง้ เชือ่ มโยงความร่วมมือกับสถาบัน การศึกษาระดับโลก เพื่อก้าวสู่การเป็นฮับด้านการศึกษานานาชาติ (International Education Hub) พร้ อ มส่ ง ออกด้ า นการศึ ก ษาของจี น สู ่ ต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นความท้าทายในการปรับตัวของสถาบันการศึกษา ของไทยว่าจะใช้โอกาสนี้ในการยกระดับพัฒนา รวมถึงจับมือร่วมเติบโตไป กับจีนได้อย่างไร? จีนมีนโยบายให้ความส�ำคัญกับระบบสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน โดย เฉพาะอย่างยิ่งเมื่อจีนเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ นอกจากนี้ จีนยังถือเป็นผู้น�ำ ด้านการผลิตอุปกรณ์และเครื่องมือด้านแพทย์และสาธารณสุขในระดับโลก จึงถือเป็นโอกาสอันดีที่จะขยายความร่วมมือระหว่างกัน โดยอาศัยจุดแข็ง ของระบบสุขภาพของไทยซึ่งได้รับการจัดอันดับในระดับนานาชาติให้เป็น อันดับ 1 ของเอเชีย และอันดับ 6 ของโลกในด้านสุขภาพและการจัดการ โรคระบาดที่ดีที่สุด จีนมีนโยบายเศรษฐกิจสีเขียวที่ให้ความส�ำคัญกับรูปแบบการพัฒนา Green Development ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นด้านการ ผลิต การบริโภค ซึง่ ถือเป็นแนวทางให้กบั ประเทศต่างๆ รวมถึงไทยได้ศกึ ษา และน�ำไปปฏิบัติ จีนตั้งเป้าหมายเป็นดินแดนแห่งนวัตกรรม (Innovation) ความ สร้างสรรค์ และให้ความส�ำคัญกับการวิจัยและพัฒนา ยกตัวอย่างเช่น HUAWEI ซึง่ มีจำ� นวนนักวิจยั มากถึง 8 หมืน่ คนกระจายอยูท่ วั่ โลก แม้ไทยจะ ยังไม่สามารถก้าวสูก่ ารพัฒนาเป็นประเทศผูค้ ดิ ค้นนวัตกรรมเทคโนโลยีได้ใน เร็ววัน แต่สามารถวางตัวเป็นประเทศผู้ใช้นวัตกรรม (Technology User) หรือแม้แต่การเป็น ready made เดินตามพระราชวิเทโศบายของรัชกาล ที่ 5 ดึงเอาคนเก่ง ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศเข้ามาท�ำงานในเมืองไทย หลักการจีนเดียว และ “หนึ่งประเทศ สองระบบ”ส�ำหรับการปกครอง มาเก๊าและฮ่องกง เป็นประเด็นทีอ่ อ่ นไหว ซึง่ ไทยได้ให้การยึดมัน่ ในหลักการ จีนเดียวมาโดยตลอด การออกกฎหมายความมั่นคงแห่งชาติในฮ่องกงเป็น กิจการภายในของจีนที่ไม่ควรเข้าไปก้าวก่ายแทรกแซง
33
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
泰中在“求同存异”中共同发展 ——泰中战略研究中心主任苏拉西上将
“回顾泰中两国关系发展历程,是尤为值得称赞的45 年。虽然两国的政体、经济和社会方面存在差异,但在求 同存异的基本原则下,双方始终相互理解,相互支持。” 泰中战略研究中心主任苏拉西·塔纳唐上将就泰中建交之 事说到,45年前,在当时国际局势下,泰国政府领导人勇 于调整外交政策,加上中国政府的博大胸怀,使泰中两国 重新恢复正常外交关系,开启了双边关系的新篇章。泰 国也将目光从“西方外交”转向“中国和东方外交”。 45年来,尽管两国各方面存在差异性,但是两国政 府和人民时刻祸福与共、心手相连,推动双方务实合作 不断深化,互惠互利。更为重要的是两国战略合作提升 到新的水平。 苏拉西上将相信,在新外交趋势下,泰中两国仍保 持稳定健康发展势头。从思想和行为要保持统一的“集体 防御”转为“合作安全”,寻找双方利益契合点和合作增 长点。所谓“新外交”,更注重遏制战争及冲突,求同存 异。泰国如同“随风弯曲的竹子”,有足够的弹性弯曲, 始终能与各国均保持良好的关系。 后疫情时代的挑战 新冠肺炎疫情对国际关系带来深刻影响。要问将引 起何种地缘政治格局变化,苏拉西上将认为,与中国开 展合作的国家,未来将继续保持密切联系,开展更多国 际政治层面合作。 全球达成国际新秩序将更注重人类安全和生活环境 问题的共识。 疫情后迎来逆全球化浪潮方面,苏拉西上将认为,疫 情后,全球化时代并未消失,只是合作方式发生改变。有 些领域可能出现逆全球化现象,有些则维持原样。 区域性国际关系方面,苏拉西上将认为,通过在抗击 新冠疫情方面的合作和模式,区域性国际关系变得更为紧 密,在某些领域增进互信,例如国家检疫,以及可以利用 该点进一步拓展合作领域。 疫情过后,东盟将发挥日益重要的作用。泰国应与东 盟齐心协力,创造出更大的区域整体利益。
34
对中国在泰国投资和推动东部经济走廊(EEC)建设 方面,此前,来自中国的投资大幅增加。 苏拉西上将认为,中国企业仍继续投资东部经济走 廊,虽然此次疫情会对中国投资造成短期冲击,但是中国 却依旧对泰国的投资热情不减。泰国具有区位优势,应该 寻找合作共赢机遇和空间。 与中国共同成长方面,苏拉西上将建议着重从两个方 面考虑,即经济增长、共同增长。 在工业新型合作平台和推动数字经济发展方面,泰中 两国仍可通过多种方式扩大务实合作。中国和东盟国家领 导人将2020年确定为中国—东盟数字经济合作年,将进一 步加强数字领域合作。 农业方面,泰国应致力于生产中国无法生产或能生 产但无法满足国内需求的产品,如茉莉香米、榴莲。实 现共同发展,在知识和人力资源方面应秉承共商、共建、 共享的理念。 中国通过“一带一路”推动构建人类命运共同体。 苏拉西上将认为,泰国应积极制定合作方案,考虑如何 让命运共同体落地生根,例如建立安全联盟,不单是指 军事、国防,还包括粮食安全、医疗、公共卫生等均可以
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
抓住用好中国重大政策机遇
开展合作,创造发展机遇。正如中国有句古语“化干戈为 玉帛”,意思是利用现有资源提高资源利用率。 建交45年来,从泰国王室、政府到民企、人民,泰中 两国在各领域各层次都联系密切。在学术交流方面,中国 拥有相当丰富的智库类型和学术资源,泰国应善加利用, 进一步深化拓展相关合作,以制定符合国家发展的战略。 从苏拉西上将的角度来看,根据中国提出的“一带 一路”倡议给两国合作带来更多机遇,分为五个方面,包 括:1、“政策沟通”全面对接;2、“设施联通”稳中有 进;3、“贸易畅通”日新月异;4、“资金融通”方兴未 艾;5、“民心相通”深入人心。 中国正在全球扮演着日益重要的角色,关键是泰国 又在其中扮演何种角色,为此要有全方位发展机制,双 方在真诚互信、心手相连、相互平等、尊重彼此差异的 前提下,实现互惠互利。建交45年来,两国始终沿着该 方向不断前行,为此,两国关系始终保持健康稳定发展。 泰中两国在政体、经济、社会、文化等各方面存在差 异,但本着求同存异和相互信任的原则,不管国际形势发 生着怎样的变化,两国关系都经受住了时间和各种挑战的 考验,推动两国在各领域的广泛合作,实现共同发展。
关于中国政策和泰国面临的机遇与挑战方面,对今年 中国两会和于2017年召开的中国共产党第十九次全国代表 大会进行分析,值得关注的有以下几个要点: 中国坚决打击贪污腐败行为,虽属于内部政策问 题,但仍加强反腐败国际合作,反腐败经验值得泰国学 习、借鉴。 中国“一带一路”建设秉持的是共商、共建、共享 原则,推进经济全球化不断向前。为制定符合国家发展 的方针政策,泰国应建立研究团队和智库,这也是泰国 所面临的巨大挑战。 今年“两会”有些特殊,中国未制定GDP增长目标, 展现了未受西方国家高度重视的GDP数值制约的国家发展 思路,将重点放在脱贫攻坚上,提高人民购买力。同样, 拓展“一带一路”国际合作新空间,包括成立亚洲基础设 施投资银行,以及推动建立新经济一体化建设,如区域全 面经济伙伴关系协定(RCEP)。 中国推进教育制度改革,与一流国际教育机构建立合 作,致力发展成为国际教育中心,将中国教育国际化。泰 国应借此时机对本国教育制度进行调整,携手中国共同发 展,这也是泰国面临的挑战。 中国高度重视公共卫生系统,尤其是当中国进入老 龄化社会。此外,中国在医疗器械和公共卫生设备制造 方面居世界领先地位,而泰国具有良好的公共卫生系统, 泰国健康安全水平位居亚洲第一,世界第六,为此双方可 拓展合作。 中国绿色经济政策强调经济、社会和环境的一体化发 展,包括制造业、消费等,为各国提供绿色发展思路,泰 国应该学习和借鉴。 中国的目标是进入创新型国家行列,注重技术研发, 例如华为全球拥有8万研发人员。尽管泰国仍无法进入创 新型国家行列,但是可以定位成为创新科技用户,也可以 追寻拉玛五世足迹,吸引外国专家来泰国工作。 中国坚持“一个中国”的立场和政策,按“一国两 制”方针解决香港和澳门问题,这是一个敏感问题。泰方 始终恪守一个中国原则,中国全国人大推动涉港国安立法 属中国内政别国无权干涉。
35
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
รศ.ดร.อักษรศรี พานิชสาส์น “แปลงจีนให้เป็นโอกาสอย่างรู้เท่าทัน” โจทย์ท้าทาย...ก้าวใหม่สัมพันธ์ไทย-จีนหลัง COVID-19 ท่ามกลางสถานการณ์ใหม่ COVID-19 จุดเปลี่ยนส�ำคัญที่ส่งผลต่อ ภูมิรัฐศาสตร์ ระเบียบโลกใหม่ การทวนกระแสโลกาภิวัตน์ ความสัมพันธ์ ไทย-จีนยุคใหม่นับจากนี้จะก้าวต่อไปอย่างไร? อะไร? คือทิศทางที่ต้อง ตีโจทย์ให้แตกเพื่อ “แปลงจีนให้เป็นโอกาสอย่างรู้เท่าทัน” ติดตามค�ำตอบได้จากมุมมองกูรูเศรษฐกิจจีน รศ.ดร.อักษรศรี พานิชสาส์น อาจารย์ประจ�ำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่ปรึกษาประจ�ำคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ วุฒิสภา และผู้เขียน หนังสือ The Rise of China จีนคิดใหญ่ มองไกล เศรษฐกิจจีน-อาเซียน แนบแน่น..หลัง COVID-19 อ.อักษรศรี เปิดประเด็นโดยวิเคราะห์วา่ ทิศทางใหญ่ทจี่ ะด�ำเนินไปหลัง จากนี้ กระแสภูมิภาคนิยม (Regionalism) จะทวีความส�ำคัญมากขึ้น หลัง COVID-19 ที่จะเป็นจุดจบของโลกาภิวัตน์ (Globalization) ขณะที่ ค วามขั ด แย้ ง ระหว่ า งจี น และสหรั ฐ จะท� ำ ให้ เ กิ ด การเขย่ า ห่วงโซ่อปุ ทานโลก (Global Supply Chain) แตกออกเป็นห่วงโซ่ทเี่ ชือ่ มกับ จีน พยายามแยกออกจากการเชื่อมกับสหรัฐ เศรษฐกิจจีนจะลดการพึ่งพา สหรัฐเพือ่ ลดความเสีย่ งจากสงครามการค้า ต่างฝ่ายต่างยืนบนขาตัวเอง สร้าง อาณาจักรของตัวเองขึ้นมา หรือที่เรียกกันว่า The Great Decoupling โลกที่แตกแกนออกเป็นสองข้างระหว่างแกนจีนกับแกนสหรัฐ “จากจุดจบของโลกาภิวฒ ั น์ทมี่ าพร้อมกับกระแสภูมภิ าคนิยม และการ แตกแกนโลกสองขั้วระหว่างจีน-สหรัฐ ท�ำให้จีนน่าจะหันมาให้ความส�ำคัญ กับเพื่อนบ้านที่มีศักยภาพสูงอย่างอาเซียนมากขึ้น เกิดการหันมาค้าขาย ลงทุนกันเองในภูมิภาค มีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างกันมากขึ้น จะเห็นได้จากสถิติการค้าล่าสุดในไตรมาสแรกของปี 2020 นี้ที่อาเซียนได้ ก้าวขึ้นมาเป็นคู่ค้าอันดับหนึ่งของจีน แซงหน้าอียูและสหรัฐแม้ว่าจะเกิด วิกฤต COVID-19” จีนคิดใหญ่ มุ่งสร้างเส้นทางสายไหมดิจิทัล อีกหนึง่ ทิศทางทีน่ า่ จับตา คือ การขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์หนึง่ แถบ หนึง่ เส้นทาง (Belt and Road Initiative) ของจีนทีไ่ ม่ได้มงุ่ เพียงแค่การสร้างเส้น ทางสายไหมทางกายภาพ ด้วยการเชือ่ มโยงเส้นทางค้าทางบก ทางทะเลแบบ เดิมๆ แต่ยังมุ่งไปสู่การสร้างเส้นทางสายไหมดิจิทัล (Digital Silk Road) เพื่อปูทางไปสู่ความร่วมมือกันในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล จีนยุคนี้ไม่ได้ส่งออกเพียงแค่สินค้า หรือส่งออกนักลงทุนจีนและนัก ท่องเที่ยวจีน แต่ยังลุ่มลึกในการส่งออกแพลตฟอร์มจีน เช่น แพลตฟอร์ม อีคอมเมิร์ซอย่าง Lazada ที่มีอาลีบาบาเป็นเจ้าของ หรือแพลตฟอร์ม วิดีโอด้านความบันเทิงอย่าง TikTok ของสตาร์ทอัพจีนที่หลายคนต่าง คุ้นเคยในชีวิตประจ�ำวัน ล่าสุด จีนยังได้ทดลองน�ำร่องการใช้เงินหยวนดิจิทัลใน 4 เมืองส�ำคัญ
ก้าวใหม่ของความสัมพันธ์ไทย-จีน ที่ควรเดินต่อไป คือ การมุ่งสู่การ จับมือกันด้านเศรษฐกิจดิจิทัล แปลงจีนให้เป็นโอกาส โดยมุ่งเน้น 2D คือ Digitalization และ Diversification
ของจีน เพื่อรองรับวิถีชีวิตในยุคดิจิทัล และปูทางให้เงินหยวนดิจิทัลกลาย เป็นเงินสกุลหลักของโลก อีกทั้งในการประชุมสภาที่ปรึกษาการเมืองแห่ง ชาติของจีน CPPCC ทีผ่ า่ นมา ยังได้มกี ารเสนอให้มกี ารร่วมมือกันของ 4 สกุล เงินส�ำคัญในเอเชีย คือ เงินหยวนจีน เงินเยนญี่ปุ่น เงินวอนเกาหลีใต้ และ เงินดอลลาร์ฮ่องกง เพื่อสร้างเงินดิจิทัลเพื่อใช้ในภูมิภาค หรือ Regional Stablecoin ซึง่ สะท้อนถึงการมุง่ สูท่ ศิ ทางเศรษฐกิจดิจทิ ลั ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ เส้นทางสายไหมดิจิทัล (Digital Silk Road) “ถ้าเราตีโจทย์เหล่านีแ้ ตก ทัง้ บริบทโลกทีจ่ ะเปลีย่ นไปหลัง COVID-19 และการมุ่งสู่เศรษฐกิจดิจิทัลของจีน จะท�ำให้เห็นถึงทิศทางข้างหน้าของ รูปแบบความสัมพันธ์ไทย-จีนที่จะเปลี่ยนไปจากเดิม สิ่งส�ำคัญคือเราจะ แปลงจีนให้เป็นโอกาสเพื่อประโยชน์ร่วมกันอย่างรู้เท่าทันได้อย่างไร” อ.อักษรศรี กล่าว แปลงจีนให้เป็นโอกาสด้วย 2D ในระยะยาว ด้วยศักยภาพด้านเศรษฐกิจ จีนมีความส�ำคัญอย่าง ยิง่ ยวด ไม่เพียงต่อเศรษฐกิจไทย แต่ยงั มีบทบาทในระดับโลก แม้ในระยะสัน้ เศรษฐกิจจีนอาจจะสะดุดไปบ้างจากวิกฤต COVID-19 แต่ถา้ มองก้าวข้ามไป ในอีก 5-10 ปีข้างหน้า ภาพใหญ่ระดับโลกที่จะเห็นคือ China’s Century หรือ“ศตวรรษแห่งจีน”มาแน่ ในมุมมองของ อ.อักษรศรี การจะใช้โอกาสในการเติบโตไปกับจีน จึง ต้องใช้นโยบาย“แปลงจีนให้เป็นโอกาสอย่างรู้เท่าทัน” ด้วยการเน้นท�ำ
37
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
2D ได้แก่ D ตัวแรก - Digitalization การปรับตัวเพื่อมุ่งสู่เศรษฐกิจดิจิทัล ไปด้วยกัน รวมทั้งเรียนรู้เทคโนโลยีที่ล�้ำหน้าของจีน และ D ตัวที่สอง Diversification เพื่อปรับโครงสร้างการส่งออกของไทยไปจีนและสร้าง สมดุลกระจายความเสี่ยงทางเศรษฐกิจ เพื่อเติบโตไปพร้อมกับจีนโดยไม่ พึ่งพาจีนมากเกินไปจนเป็นความเสี่ยง “ก้าวใหม่ของความสัมพันธ์ไทย-จีนที่ควรเดินต่อไปข้างหน้า คือ การ มุ่งสู่การจับมือกันด้านเศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งจีนเองก็ก�ำลังมุ่งมาทางนี้ ขณะ ที่ไทยเองก็มีนโยบายที่เริ่มท�ำ Digitalization เศรษฐกิจไทยในหลายด้าน เช่น ล่าสุดมีการออกขายพันธบัตรรัฐบาลผ่าน application เป็นครั้งแรกใน ประเทศไทย และธนาคารแห่งประเทศไทยก็เริ่มศึกษาการใช้เงินสกุลดิจิทัล Central Bank Digital Currency ผ่านโครงการอินทนนท์ ซึ่งเป็นทิศทางที่ สอดคล้องกัน และในปีนี้ ผูน้ ำ� จีนและอาเซียนยังได้รว่ มกันก�ำหนดให้ปี 2020 เป็นปีแห่งความร่วมมือด้านเศรษฐกิจดิจทิ ลั ระหว่างจีน-อาเซียน ท�ำให้มแี นว โน้มที่จะน�ำไปสู่การพัฒนาความร่วมมือด้านดิจิทัลระหว่างกันเพิ่มมากขึ้น” อ.อักษรศรี มองว่า หนึ่งในหนทางที่จะแปลงจีนให้เป็นโอกาส คือ การ แลกเปลี่ยนและเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งตอนนี้ มีบริษัทเทคโนโลยี ชั้นน�ำของจีนหลายแห่งที่มองเห็นศักยภาพของไทย เช่น บริษัทเทคคอม ชั้นน�ำของจีนอย่าง HUAWEI และ Xiaomi ที่เข้ามาเปิดส�ำนักงานใหญ่ ประจ�ำภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทกี่ รุงเทพฯ รวมไปถึง Tencent และ Alibaba ที่เข้ามาปักหมุดในไทย ในด้านของการลงทุน ไทยยังมีโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) เพื่อรองรับการเข้ามาลงทุนของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีแห่งอนาคต ของจีน รวมถึงโครงการอืน่ ๆ ทีจ่ ะเชือ่ มโยงแลกเปลีย่ นความร่วมมือระหว่าง ผู้ประกอบการสตาร์ทอัพไทย-จีน โจทย์ที่สำ� คัญวันนี้ จึงอยู่ที่ความพร้อมใน ด้านบุคลากรของไทย และการปรับตัวเพือ่ มุง่ สูเ่ ศรษฐกิจดิจทิ ลั ในทุกภาคส่วน
38
เพือ่ เติบโตไปกับจีน ทัง้ ทักษะด้านภาษาจีน ทักษะด้านเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั หาก ท�ำได้ ไทยกับจีนจะสามารถจับมือร่วมกันไปได้อีกไกล การปรับตัวเพื่อใช้ประโยชน์จากเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อแปลงจีนให้เป็น โอกาสยังท�ำได้ในหลากหลายมิติ ตัวอย่างเช่น การเชือ่ มโยงแพลตฟอร์มการ ท่องเที่ยวของไทยกับแพลตฟอร์มที่คนจีนให้ความนิยม โดยการแปลเนื้อหา คอนเทนต์ดา้ นการท่องเทีย่ วของไทยทีม่ ชี อื่ เสียงอยูแ่ ล้วให้เป็นภาษาจีน เช่น Wongnai และมีทีมงานที่พร้อมจะสื่อสารโต้ตอบภาษาจีนได้หากมีชาวเน็ต จีนสนใจสอบถามผ่านแพลตฟอร์มเข้ามา ทัง้ หมดนี้ เพื่อเจาะเข้าถึงกลุ่มเป้า หมายชาวจีนส่วนใหญ่ที่มีวิถีชีวิตผูกติดกับดิจิทัล และเป็นการยกระดับการ ท่องเที่ยวของไทยสู่ยุคดิจิทัลด้วย “ในภาวะ New Normal หลังวิกฤต COVID-19 ที่ท�ำให้บริบทโลก เปลี่ยน ธุรกิจไทยที่เคยเอนจอยกับการพึ่งพารายได้จากจีนในรูปแบบเดิมๆ อาจจะต้องเริ่มท�ำใจและเลิกคาดหวังว่า หลังจากนี้ทุกอย่างจะกลับมาดีใน เชิงปริมาณเหมือนเดิม โดยเฉพาะในปีนี้ ตลาดนักท่องเที่ยวชาวจีนคงไม่ได้ฟื้นกลับมาโดยเร็ว เนือ่ งจากเศรษฐกิจจีนได้รบั ผลกระทบหนัก ไตรมาสแรกของปี 2020 ติดลบ 6.8% ส่งผลให้รายได้และดีมานด์ในการท่องเที่ยวต่างประเทศของชาวจีน ลดลง โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจีนที่มาไทยส่วนใหญ่ไม่ใช่กลุ่มรายได้สูงและ เป็นกลุ่มที่เดินทางไปต่างประเทศครั้งแรกในชีวิต โอกาสนี้ จึงขอเสนอให้ประเทศไทยใช้จังหวะนี้แปลงจีนให้เป็นโอกาส ด้วยเน้นการท่องเที่ยวในเชิงคุณภาพมากกว่าปริมาณ โดยหันมาเจาะตลาด กลุ่มนักท่องเที่ยวจีนในระดับพรีเมียมที่มีรายได้สูง รวมถึงกลุ่มผู้สูงอายุจีน ซึ่งมีความต้องการท่องเที่ยวพักผ่อนเชิงสุขภาพ หรือ Wellness Tourism อ.อักษรศรี ยังวิเคราะห์ต่อว่า หลัง COVID-19 จีนจะหันมาพึ่งพา ตัวเองมากขึ้นลดการพึ่งพาต่างประเทศ โดยในถ้อยแถลงต่อที่ประชุมสภา NPC นายกรัฐมนตรี “หลี่ เค่อเฉียง” ของจีน ได้ประกาศชัดถึง“หลักประกัน ความมั่นคง 6 ด้าน” หนึ่งในนั้นคือ“ความมั่นคงทางอาหาร” หรือ Food Security โดย จีนจะมีการขยายพืน้ ทีท่ างเกษตรเพิม่ ขึน้ และให้การสนับสนุนการผลิตด้าน เกษตรกรรมในประเทศอย่างจริงจัง เพือ่ ให้ความมัน่ ใจว่าคนจีนทัง้ ประเทศจะ มีอาหารเพียงพอโดยไม่ตอ้ งพึง่ พาต่างชาติ ดังนัน้ ภาคเกษตรไทยทีเ่ คยพึง่ พา ตลาดจีนเป็นหลัก จึงอาจต้องเริ่มปรับตัว และต้องเริ่ม Diversify กระจาย ความเสี่ยง ลดการพึ่งจีนเป็นตลาดหลัก ขณะที่ เ มื่ อ วิ เ คราะห์ โ ครงสร้ า งสิ น ค้ า ไทยที่ ส ่ ง ออกไปจี น ที่ ผ ่ า นมา ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มสินค้าประเภทวัตถุดิบและกึ่งวัตถุดิบที่จีนน�ำเข้าจากไทย เพื่อไปแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่มแล้วส่งออกต่อ ในอนาคต หากผู้ประกอบการไทยยังคงยึดติดกับการค้าขายกับจีนใน แบบเดิมๆ อาจจะไปต่อได้ยาก จึงขอเสนอแนะให้ประเทศไทยต้องปรับตัว ในเชิงโครงสร้างอย่างจริงจัง โดยหันมาเน้นการส่งออกสินค้าส�ำเร็จรูปเพื่อ การอุปโภคบริโภคป้อนสู่ตลาดผู้บริโภคชาวจีน เช่น กลุ่มผลิตภัณฑ์ความ งาม หรือ อัญมณีเครื่องประดับ รวมทั้งการส่งออกผ่านช่องทางอีคอมเมิร์ซ ให้มากขึ้น “ประเด็นสุดท้ายที่อยากขอย�้ำและฝากไว้ คือ ทิศทางความสัมพันธ์ ไทย-จีนยุคใหม่ที่จะก้าวต่อไป คือ การร่วมมือและเติบโตไปด้วยกันอย่างรู้ เท่าทันและมีศักดิ์ศรี มองจีนให้เป็นโอกาส แต่อย่าโลกสวย Rise With The Dragon ด้วย 2D คือ Digitalization และ Diversification รู้เขา รู้เราในการบริหารจัดการความสัมพันธ์กับจีน มองจีนให้รอบ ด้าน อย่าเคลิม้ ตามไปทุกเรือ่ ง รักษาสมดุลความสัมพันธ์ และยึดผลประโยชน์ ร่วมกันเป็นส�ำคัญ” อ.อักษรศรีฝากทิ้งท้าย
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
时不我待,抓住中国发展机遇 ——泰国法政大学阿顺诗副教授 在新冠肺炎疫情对世界政治经济及国际关系影响的 背景下,新时代的泰中关系将如何发展?如何才能抓住 中国发展机遇? 围绕以上问题,泰国参议院外交委员会顾问、泰国 法政大学经济学院副教授阿顺诗·帕尼察叁进行了深度剖 析。阿顺诗副教授曾编著《中国之崛起:雄心勃勃,目光 长远》,是中国经济问题研究专家。
疫情过后,中国—东盟关系更紧密 阿顺诗副教授分析说,疫情成为全球化“终结者”, 区域主义变得日益重要,成为今后发展大方向。 中美贸易争端迫使全球供应链进行重大调整,加速 中、美供应链分裂。中国对美贸易的依赖度进一步降低, 以减少贸易战带来的风险。双方各持本国立场,建立各自 的“王国”。换而言之,两大经济体“大脱钩”。 从全球化终结到区域主义潮流、中美两极分化,将 可能进一步推动中国与如东盟等市场潜力巨大的国家不断 深化经贸合作,投资进一步增强。从今年一季度数据层面 看,虽然暴发新冠肺炎疫情,但东盟超越欧盟和美国,成 为中国的第一大贸易伙伴。
泰中两国应携手推动 数字经济领域的合作, 通过数字化和多元化 抓住中国发展机遇。 货币,此次拟议的稳定币将以4种亚洲主要货币(人民 币、日元、韩元及港币)为支持后盾,充分反映了在 “数字丝绸之路”建设战略下正全面朝数字经济方向发 展。 “如果我们深入了解全球格局‘疫’变和中国数字经 济发展,将能判断泰中关系发展方向,关键在于抓住中国 发展机遇,实现互利共赢。”阿顺诗副教授说。 两大关键点,抓住中国发展机遇
中国雄心勃勃,筑起“数字丝路” 另一值得关注的方向是,推动实施“一带一路”倡 议,除了“海上丝绸之路”和“陆上丝绸之路”之外, 还筑起“数字丝绸之路”,为数字经济合作铺平道路。 如今的中国不再单纯是产品输出、国民出境游或企 业“走出去”,各大平台也顺利走出国门,如人们十分熟 悉的阿里巴巴电商平台Lazada、短视频社交平台抖音等。 为适应数字经济时代发展和为人民币国际化铺平 道路,数字人民币已在中国4大主要城市进行内部封闭 试点测试。今年,中国全国政协委员提议创建新数字
从经济长期发展的潜力来看,中国不仅对泰国经济 增长尤为重要,还是全球经济增长最强引擎。疫情可能 对中国经济造成短期冲击,但展望未来5-10年,全球将 看到“中国世纪”来临。 阿顺诗副教授认为,抓住机遇与中国共同成长,必 须采取“将中国转为机遇”政策,关键要做到以下两点: 1、数字化。主动做出调整以适应数字变革,学习中国先 进技术;2、多元化。旨在调整泰国对中国出口结构,建 立平衡发展,分散经济风险,与中国共同成长,但非过 度依赖中国,避免带来风险。 下一步,泰中两国应该携手推动数字经济领域的合
39
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
作。中国正朝此方向发展,泰国也积极向数字化经济转 型。近日,泰国首次通过应用软件向公众发行政府债券, 泰国中央银行将以Inthanon项目为基础开发央行数字货币 原型。可见,两国发展方向一致。不仅如此,中国与东盟 国家领导人将2020年确定为中国-东盟数字经济合作年, 将进一步加强数字经济领域合作。 阿顺诗副教授还认为,将中国转为机遇的方法之一 是数字技术交流和学习。现在多家中国顶级科技企业瞄 准泰国市场潜力,如华为、小米已在曼谷设立东南亚地 区总部。此外,腾讯和阿里巴巴也已经进入泰国市场。 投资方面,为迎接中国先进技术产能和两国初创企业 交流合作项目,泰国正大力推动东部经济走廊(EEC)建 设。关键在于泰国要做好培养语言和数字技术方面的人才 准备,以及做出调整朝数字经济发展。如果做到这些,才 能让两国合作走得更远。 泰国可在多方面做出调整,利用数字经济抓住中 国发展机遇,例如泰国旅游平台与最受中国人欢迎的平 台开展合作,将知名泰国旅游推介内容译成中文,例如 Wongnai点评平台,当有中国网友线上咨询,建议提供
40
中文服务,这样便于走进中国目标群体,因为大部分中 国人的生活已进入“数字化”,同时还能将泰国旅游业 数字化转型升级。 后疫情时代进入新常态,全球将发生变化。在此背 景下,过去一直依赖中国(资本)的泰国企业,也要做好 心理准备,不要一味认为一切将恢复往昔。尤其是今年, 由于中国经济遭受重创,中国游客市场短期内可能无法回 温。今年中国一季度GDP同比下降6.8%,导致中国公民出 境游的收入和需求均下降,特别是赴泰旅游的中国游客, 大部分属于首次出境游的非高收入群体。 此时,泰国应该趁势而上,抓住中国发展机遇,注重 游客质量而非数量,尤其是中国高端游客,以及注重养生 旅游的中国老年群体。 阿顺诗副教授还分析说,疫情过后,中国经济的长期 发展将依靠不断扩大内需拉动,减少依靠外需。中国国务 院总理李克强在全国人民代表大会上明确表示将“六保” 任务作为经济工作重点,任务之一是保粮食能源安全。中 国将扩大农业种植面积,加大粮食生产政策支持力度,确 保国家粮食安全,不依靠国外粮食进口。因此,过去主要 依靠中国市场的泰国农业应该做出调整,注重多元化,分 散风险,降低将中国作为主要市场的依赖度。 泰国对中国产品出口结构方面,过去,中国从泰国进 口的产品,大部分为原材料和半原材料,以进一步加工出 口。未来,如果泰国业者仍保持与中国传统贸易模式,可 能举步维艰。为此,建议泰国做出重大结构调整,将重点 放在向中国出口成品,如美容产品、珠宝、首饰,以及通 过电商渠道出口。 最后,阿顺诗副教授还强调,接下来中泰关系的发 展方向是携手共进,共同成长,抓住中国机遇的同时, 又不盲目跟风,不武断排斥,时刻保持谨慎的心态对待。 “通过数字化、多元化与中国这条‘巨龙’腾飞,知 己知彼,全方位了解中国,勿要盲从,保持平衡关系,实 现互利共赢至关重要。”阿顺诗副教授说。
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
Bank of China พันธมิตรเคียงข้างความสำ�เร็จธุรกิจไทย-จีน ความสัมพันธ์ดา้ นเศรษฐกิจไทย-จีน ไม่ได้เพียงแต่ภาคการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยวเท่านั้นที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น แต่ยังมีการเชื่อมโยงสนับสนุน ทางด้านการเงินเพือ่ ร่วมกันขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ หนึง่ ในสถาบันการเงินยักษ์ ใหญ่ทมี่ บี ทบาทส�ำคัญ คือ ธนาคารแห่งประเทศจีน (ไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ในเครือ “Bank of China” ซึ่งเข้ามาด�ำเนินธุรกิจในประเทศไทยมาอย่าง ยาวนานกว่า 26 ปี เนือ่ งในโอกาส 45 ปีความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน หลี่ เฟิง ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารและผู้จัดการใหญ่ประจ�ำธนาคารแห่งประเทศจีน (ไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ได้ให้สมั ภาษณ์ถงึ ก้าวย่างธุรกิจไทย-จีน ทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และภาคการเงินที่เจริญรุดหน้ามาอย่างต่อเนื่อง ‘ประเทศไทย’ หัวใจส�ำคัญของอาเซียน ซีอโี อ ธนาคารแห่งประเทศจีน (ไทย) กล่าวว่า ไทยเป็นหนึง่ ในประเทศ อาเซียนทีม่ คี วามส�ำคัญต่อแผนกลยุทธ์ของ Bank of China ซึง่ เข้ามาด�ำเนิน ธุรกิจวิเทศธนกิจ (BIBF) ครั้งแรกในประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 ก.พ. 2537 ซึง่ ต่อมาได้รบั อนุญาตให้ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์เต็มรูปแบบภายใต้ ชื่อ “ธนาคารแห่งประเทศจีน จ�ำกัด สาขากรุงเทพฯ” เมื่อวันที่ 10 มี.ค. 2540 หลังจากนัน้ จึงยกระดับมาเป็น “ธนาคารแห่งประเทศจีน (ไทย) จ�ำกัด (มหาชน)” เมื่อวันที่ 26 ส.ค. 2557 ภายหลังได้เปลี่ยนมาเป็นบริษัทลูก ของธนาคารแห่งประเทศจีน (ฮ่องกง) จ�ำกัด หรือ BOCHK เมื่อวันที่ 9 ม.ค. 2560 เพื่อตอบโจทย์กลยุทธ์การลงทุนและพัฒนาธุรกิจในภูมิภาคอาเซียน หลี่ เฟิง กล่าวว่า Bank of China มีเครือข่ายทั่วโลกกว่า 61 ประเทศ รวมถึง 10 ประเทศของอาเซียน ในด้านการบริการ“การค้าระหว่างประเทศ” Bank of China ยังมีบทบาทเป็นธนาคารตัวกลางช�ำระเงินระหว่างประเทศ (Settlement) และเคลียลิ่งแบงค์ส�ำหรับเงินหยวน (RMB Clearing Bank) ที่ใหญ่ที่สุดในโลก วิสยั ทัศน์ของ ธนาคารแห่งประเทศจีน (ไทย) คือการเป็นธนาคารจีนที่ ให้บริการดีทสี่ ดุ ในประเทศไทย และเป็นพันธมิตรทางการเงินทีเ่ ชือ่ ถือได้ทใี่ ห้ บริการแก่ธรุ กิจจีน-ไทย ปัจจุบนั ธนาคารแห่งประเทศจีน (ไทย) มีสำ� นักงาน สาขา 9 สาขา ทัง้ ในเขตกรุงเทพฯ และพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจส�ำคัญ ได้แก่ ส�ำนักงาน ใหญ่สาทร, รัชดาฯ, ตลาดไท, บางนา ซึ่งอยู่ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล สาขาระยองในภาคตะวันออก, สาขาขอนแก่นและนครราชสีมาในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ, สาขาเชียงใหม่ในภาคเหนือ และสาขาหาดใหญ่ใน ภาคใต้ นอกจากนี้ ยังมีธุรกิจศูนย์บริการวีซ่าจีนในไทย ซึ่งด�ำเนินงานโดย บริษัทลูก “ไชน่า บริดจ์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จ�ำกัด” หลี่ เฟิง กล่าวว่า ในปี 2555 Bank of China ได้จัดตั้งสาขาในนิคม อุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จ.ระยอง ซึ่งมีธุรกิจกว่า 100 รายที่เป็นลูกค้าของเรา นอกจากนี้ ยังได้รบั ความไว้วางใจจากกลุม่ ลูกค้ารัฐวิสาหกิจรับเหมาก่อสร้าง และวิศวกรรมของจีน อาทิ CSCEC (ก่อสร้าง), CRCC (รถไฟ), Sinohydro (ก่อสร้าง) รวมถึง CHEC (โครงสร้างพื้นฐานและวิศวกรรมทางทะเล) และ HUAWEI ที่เข้ามาด�ำเนินธุรกิจในไทย นอกเหนือจากกลุ่มลูกค้าธุรกิจจีน Bank of China ยังมุ่งส่งเสริม ยุทธศาสตร์เชิงท้องถิ่น (Localization Strategy) ด้วยการขยายฐานลูกค้า ธุรกิจไทยซึง่ เป็นบริษทั ขนาดใหญ่ทงั้ ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯและ ธุรกิจครอบครัวที่มีชื่อเสียง รวมถึงกลุ่มธุรกิจที่มีการลงทุน การน�ำเข้าและ การส่งออกในประเทศจีน
ธนาคารแห่งประเทศจีน (ไทย) ได้รับการตอบรับจากลูกค้าที่มีความ หลากหลาย ธนาคารได้พฒ ั นาผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ รวมถึงมีสว่ นร่วมในการ ผลักดันธุรกรรมเงินหยวนเพื่อช่วยลดความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยนและขยายโอกาสทางธุรกิจในจีนให้กับผู้ประกอบการไทย โดย ช่วยลดขั้นตอนและเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำธุรกรรมโดยไม่ต้องผ่านเงิน สกุลอื่น เพิ่มโอกาสและผลตอบแทนในการเจรจาตกลงทางการค้าระหว่าง กันมากขึ้น “ช่วงไม่กี่ปีมานี้ ยอดการท�ำธุรกรรมการค้าด้วยเงินหยวนเติบโตขึ้น อย่างรวดเร็ว ปีที่ผ่านมา บริการช�ำระดุลเงินหยวนของเรามีการขยายตัวสูง ขึ้นถึง 70% โดยมีมูลค่าเกือบ 3 หมื่นล้านหยวนในปี 2562 ในอนาคตไทย และจีนยังมีโอกาสที่จะขยายธุรกรรมเงินหยวนระหว่างกันเพิ่มขึ้น จากการ เชื่อมโยงเศรษฐกิจการค้าการลงทุนระหว่างไทย-จีน และอาเซียน รวมถึง นโยบายผลักดันเงินหยวนสู่สากลของจีน นอกจากนี้ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากของสกุลเงินหยวนยังสูงกว่าเงินสกุล หลักอื่นๆ อันเป็นผลมาจากเศรษฐกิจจีนที่ยังคงแข็งแกร่ง จึงเป็นโอกาสใน การถือครองสินทรัพย์เพื่อกระจายความเสี่ยงและบริหารผลตอบแทนการ ลงทุนส�ำหรับสถาบันการเงิน บริษัทไทยและนักลงทุนชาวไทย” ซีอีโอ ธนาคารแห่งประเทศจีน (ไทย) ยังกล่าวด้วยว่า ในช่วงไม่กี่ปี มานี้ รัฐบาลจีนมีนโยบายเปิดกว้างการน�ำเข้าเพื่อการพัฒนาร่วมกัน ซึ่ง ถือเป็นโอกาสส�ำหรับการขยายตลาดส่งออกสินค้าไทยซึ่งเป็นที่รู้จักใน หมู่นักท่องเที่ยวชาวจีนซึ่งเดินทางมาเที่ยวเมืองไทยปีละกว่า 10 ล้านคน Bank of China เป็นธนาคารพันธมิตรแห่งเดียวของงานแสดงสินค้าน�ำเข้า นานาชาติจนี (China International Import Expo: CIIE) ทีน่ ครเซีย่ งไฮ้ ในการจัดงานแสดงสินค้าน�ำเข้านานาชาติจีนเมื่อปีที่ผ่านมา ธนาคารแห่ง ประเทศจีน (ไทย) ได้เป็นเจ้าภาพเชิญนักธุรกิจไทยจากภาคธุรกิจต่างๆเช่น สินค้าอาหาร ยางพารา และเครือ่ งประดับอัญมณีมากกว่า 50 รายไปร่วมงาน
41
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
โดยอ�ำนวยความสะดวกในด้านการจองโรงแรม การสัง่ ซือ้ ตัว๋ เครือ่ งบิน และ การแปลต่างๆ อีกทัง้ ได้จดั กิจกรรมจับคูเ่ จรจาธุรกิจหนึง่ ต่อหนึง่ ระหว่างผูน้ ำ� เข้าสินค้าจากจีนกับผูป้ ระกอบการจากไทย ท�ำให้มมี ลู ค่าการน�ำเข้าและการ ส่งออกจากการเจรจาการค้าในครั้งนั้นมากกว่า 100 ล้านหยวน มุมมองต่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจไทย-จีน ในมุมมองของหลี่ เฟิง ประเทศไทยมีลักษณะภูมิประเทศที่มีความ โดดเด่น มีพนื้ ฐานในการพัฒนาทางเศรษฐกิจทีด่ ี และมีความสัมพันธ์ทใี่ กล้ชดิ กับประเทศจีน ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจระหว่างไทย-จีนได้พัฒนาไป อย่างรวดเร็ว ทัง้ ด้านการค้า การลงทุน และการท่องเทีย่ ว รวมถึงด้านการเงิน “ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ การลงทุนของจีนในไทยเติบโตอย่างรวดเร็ว โดย เฉพาะในช่วงปี 2561-2562 ซึ่งมีบริษัทจีนจ�ำนวนมากเข้ามาลงทุนและ ตั้งโรงงานในเมืองไทย ทั้งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ระยอง, นิคม อุตสาหกรรม WHA ในชลบุรีและระยอง และนิคมอุตสาหกรรมอีกหลาย แห่งในอยุธยา” นอกเหนือจากด้านสิทธิประโยชน์การลงทุนแล้ว หลี่ เฟิง วิเคราะห์ว่า จุดเด่นที่สำ� คัญของไทย คือ การมีห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ที่มีความ สมบูรณ์และครบวงจร โดยเฉพาะด้านชิ้นส่วนและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อีกทัง้ ยังมีราคาทีด่ นิ ต�ำ่ กว่าพืน้ ทีบ่ ริเวณชายฝัง่ ทะเลจีน และมีความได้เปรียบ ด้านต้นทุนค่าจ้างที่อาศัยแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาว เมียนมา และกัมพูชา นอกจากนี้ ไทยยังมีโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆเพื่อรองรับการลงทุน เช่น โครงการ รถไฟความเร็วสูง, โครงข่ายโทรคมนาคม 5G, อุตสาหกรรมพลังงาน ใหม่ ฯลฯ ขณะที่จีนเองมีประสบการณ์ความเชี่ยวชาญด้านอุตสาหกรรม การผลิตและวิศวกรรมการก่อสร้าง ทั้งสองประเทศจึงมีโอกาสขยายความ ร่วมมือกันได้อีกมาก “หลังจากผ่านช่วง COVID-19 ไปแล้ว ผมเชื่อมั่นว่าการลงทุนจาก ต่างประเทศในไทยจะยิ่งเติบโตมากขึ้น อาจกล่าวได้ว่า วิกฤตครั้งนี้เป็น เหมือนกับบททดสอบประเทศต่างๆ ซึง่ ไทยสามารถแสดงผลงานในการรับมือ การแพร่ของโรคระบาดได้ดี สะท้อนถึงความสามารถในการบริหารจัดการ ของรัฐบาล การให้ความร่วมมือของประชาชน และความแข็งแกร่งของระบบ สาธารณสุขไทย อันจะส่งผลดีตอ่ การเพิม่ ความเชือ่ มัน่ ให้กบั นักลงทุนต่างชาติ ที่ย่อมต้องการลงทุนในพื้นที่ที่ปลอดภัย ถือเป็นการเสริมจุดแข็งเดิมที่ไทยมี ความพร้อมในการเป็นฐานผลิตอยู่แล้ว” หลี่ เฟิง กล่าว หลี่ เฟิง ยังกล่าวด้วยว่า หลังจากช่วงการระบาดของ COVID-19 หลายฝ่ายคาดการณ์ว่า การส่งออกของไทยมีแนวโน้มจะติดลบ 8-10% แต่ ปรากฏว่า การส่งออกในช่วง 4 เดือนแรกของไทยเพิ่มขึ้นเล็กน้อย พร้อม กับโครงสร้างการส่งออกของไทยที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก การส่งออก ทางด้านรถยนต์ ชิน้ ส่วนอุปกรณ์ยานยนต์ปรับตัวลดลง ส่วนการส่งออกข้าว สินค้าอาหาร อุปกรณ์และชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ขยายตัวเพิ่มขึ้น สะท้อนให้ เห็นว่าเศรษฐกิจไทยมีความยืดหยุน่ ในการปรับตัวสอดรับกับตลาดภายนอก ที่เปลี่ยนแปลงไปได้ “ในช่วงเผชิญการแพร่ระบาด COVID-19 ทั้งจีนและไทยต่างจับมือ ช่วยเหลือฝ่าฟันวิกฤตไปด้วยกัน และต่างได้รับบทเรียนและประสบการณ์ อย่างยาวนานจากโรคระบาดครั้งนี้ เพื่อน�ำไปฟื้นฟูพัฒนาประเทศให้ดีขึ้น ในฐานะทีจ่ นี และไทยเป็นมิตรประเทศและมีความสัมพันธ์ฉนั พีน่ อ้ งทีด่ ี ต่อกันมาอย่างยาวนาน ผมเชือ่ ว่า หลังจากสถานการณ์ COVID-19 ผ่านพ้น ไปแล้ว ทั้งจีนและไทยจะสามารถผลักดันความร่วมมือในด้านต่างๆ ทั้งด้าน การค้า การลงทุน นวัตกรรมเทคโนโลยี และการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เสริมสร้างความเจริญรุง่ เรืองยิง่ ขึน้ ให้แก่ทงั้ สองประเทศ” ซีอีโอ ธนาคารแห่งประเทศจีน (ไทย) กล่าวด้วยความเชื่อมั่น
42
中银泰国:助力中泰企业抵达 说到中泰经贸关系,除了持续稳定增长的贸易、投 资及旅游,在推动双边贸易发展,金融机构也是重要的参 与方。中国银行(泰国)股份有限公司(以下简称中银泰 国)就是大型金融机构之一,已根植泰国26年。 在中泰建交45周年之际,本刊记者采访了中银泰国 行长李峰。他为我们呈现了中泰两国贸易、投资、金融 方面取得的硕果。 泰国:东盟舞台上的“核心国家” 李峰表示,泰国是中国银行在东盟战略发展的重要国 家之一,中国银行最早于1994年2月21日成立曼谷离岸业 务机构;1997年3月10日由离岸机构升格为分行,并以中 国银行曼谷分行的名义经营全面商业银行业务;2014年8 月26日,中国银行曼谷分行升格为中国银行(泰国)股份 有限公司;2017年1月9日,随着中国银行在东盟地区重 组,中银泰国正式成为中国银行(香港)的成员。 李峰说,中国银行海外机构已覆盖全球61个国家和地 区,包括东盟全部十个国家,就国际贸易而言,中国银行 是全球最大的国际结算银行和人民币清算银行。中银泰国 致力建设成为中泰两国经贸合作的可靠金融合作伙伴,成 为在泰国提供卓越金融服务的中资银行,中银泰国在泰国 全境共设有9家分行,分别位于曼谷沙吞区、拉差达、达 拉泰、邦纳、罗勇府(东部)、孔敬府和呵叻府(东北 部)、清迈府(北部)、合艾府(南部)。中国银行全 资子公司中国桥集团(泰国)有限公司设立了中国签证 申请服务中心,为泰国公民赴中国旅行提供签证服务。 李峰表示,在泰国开拓工程承包市场的中国建筑企业 均为中银泰国长期合作伙伴,如中国建筑、中国港湾、中 国水电、中国铁建等,此外还有华为。2012年中银泰国在 罗勇AMATA CITY工业园开设分行,上百家园区入驻工 业企业均为银行客户。除服务中资企业外,中银泰国不断 推进本土化策略,拓展泰国本土企业业务。长期以来, 中国银行与一批优秀的泰国当地龙头企业,华人华侨家 族企业,进出口企业,工业园、产业园企业建立了长期 稳定的合作关系。 中银泰国不断开发完善金融产品,帮助泰国企业拓 展中国市场,不断推进人民币的跨境使用,进出口双方 无需再通过第三方货币兑换,提高了结算效率,降低了 汇率成本和风险,促进了中泰双向贸易投资合作。“近 两年中银泰国跨境人民币结算量和兑换量每年增长均超过 70%,2019年总值将近300亿元人民币。鉴于东盟、中 国、泰国之间的经贸往来日益深化,未来中泰两国使用人 民币的跨境收付业务还有很大的发展空间。”李峰说。另 外,人民币存款利率远高于其他主流货币,中国宏观经济
TH
纪念中泰建交 ความสัมพั นธ์ทางการทูตไทย-จีน
达成功的彼岸
>> 中国银行在中国驻泰王国大使馆的组织下向泰国卫生部捐赠防疫物资, 泰国副总理兼卫生部长阿努霆出席本次交接仪式 Bank of China ส่งมอบเวชภัณฑ์ป้องกันโรคระบาดให้แก่กระทรวงสาธารณสุขไทย โดยมีอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นตัวแทนรับมอบ ณ สถานเอกอัครราชทูตจีนประจ�ำประเทศไทย
韧性较强,泰国金融机构、企业和投资者持有部分人民币 资产,可获取较高收益也可分散风险。 近年来,中国政府主动扩大进口,为泰国产品出口带 来新机遇,每年赴泰旅游的中国游客达到1000万人次, 众多泰国产品受到中国消费者青睐。中国银行是中国上 海中国国际进口博览会(简称进博会)唯一银行合作伙 伴,2019年进博会举办期间,中银泰国邀请50余家覆盖 食品、橡胶、珠宝等行业的泰国企业参展,并为参展泰 国企业提供订购酒店、机票等便利和业务撮合、翻译等服 务,组织寻找中国进口商进行“一对一”商务洽谈,最终 促成泰国参展企业达成了超过1亿元的进出口合作意向。 谈中泰经贸合作 李峰认为,泰国具有显著的区位优势,良好的基础设 施,中泰经贸关系密切,贸易、投资、旅游、金融等方面 合作呈现蓬勃活力。近年来,中国对泰国投资增长势头迅 猛,2018年至2019年间许多中国企业到泰国罗勇AMATA CITY工业园、WHA伟华工业园(春武里和罗勇府)和大 城多个工业园投资设厂。李峰分析说,泰国的比较优势是 具有完整的供应链,尤其是汽车和电子零配件供应,泰国 工业用地比中国沿海地区便宜,还有来自邻国缅甸、老挝
>> 中银泰国组织泰国企业赴上海参加中国国际进口博览会 ธนาคารแห่งประเทศจีน (ไทย) เป็นเจ้าภาพเชิญนักธุรกิจไทยไปร่วมงาน CIIE ที่นครเซี่ยงไฮ้
和柬埔寨的低成本劳动力优势。为迎接未来更多的投资, 泰国致力于发展东部经济走廊(EEC),加强基础设施 建设,如中泰高铁、5G、新能源产业等。中国在制造业 和工程建设方面拥有丰富经验,两国存有很大合作空间。 李峰认为,疫情过后,泰国将能吸引更多的外资。可 以说,此次疫情是对各国的“考卷”。面对“疫考”,泰 国交出了令人满意的“答卷”,较好控制了疫情,展现了 泰国政府的治理能力、公众的配合度和公共卫生的整体实 力,有助于增强外国投资者信心。泰国已经是外商理想的 生产基地,安全的投资环境更是一个重要的助力。 新冠疫情暴发后,多方预测泰国今年出口将负增长 8-10%。今年前4个月泰国出口同比小幅增长,出口结构 发生较大变化,汽车及零部件出口有较大减少,大米、食 品、计算机等产品出口有一定增长,显示泰国经济在面对 外界变局中仍具韧性和弹性。 战“疫”期间,中泰两国守望相助,共克时艰。疫情 过后,两国可总结战“疫”中积累的宝贵经验,做好疫后 复苏工作。“中泰两国是友好近邻,两国人民如同兄弟。 我相信疫情过后,中泰全方位合作包括贸易、投资、创新 科技、文化交流等领域将蓬勃发展,共同推动两国繁荣和 发展。”李峰充满信心地说。
43
หลัง COVID-19 มิตรภาพจีน-ไทย ยังคงกระชับแน่น
ผู้เขียน : ถาน เหล่ย
หลายประเทศในอาเซียนค่อยๆประกาศผ่อนคลายมาตรการล็อคดาวน์ ตามแนวโน้มสถานการณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19 ที่ลดลง เมื่อเร็วๆนี้ ไทยติด อันดับ 2 ของโลก และอันดับ 1 ของเอเชียด้านการฟื้นตัวจาก COVID-19 จากการจัดอันดับดัชนี Global COVID-19 Index (GCI) โดย PEMANDU Associates มาเลเซีย ภายใต้สถานการณ์ความรุนแรงของการแพร่ระบาด ทั่วโลก ไม่ต้องสงสัยเลยว่านี่เป็นผลงานความส�ำเร็จที่ยอดเยี่ยมของไทย ในฐานะประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญในอาเซียนของจีน ผลงานการรับมือ COVID-19 ของไทยเป็นเช่นไร? จีนไทยช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน อย่างไรบ้าง? ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อทิศทางการพัฒนาความสัมพันธ์จีนไทย? เมื่อเร็วๆนี้ หยาง เป่าอวิ๋น รองผู้อ�ำนวยการสถาบัน China Society for Southeast Asian Studies (CSSAS), อาจารย์ผู้สอนระดับปริญญาเอก ศาสตราจารย์ประจ�ำคณะความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยปักกิง่ และศาสตราจารย์ประจ�ำวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ได้มาร่วมแบ่งปันความคิดเห็นต่อประเด็นดังกล่าว ผ่าน กิจกรรม “ASEAN Join & Share Salon” ที่จัดขึ้น ณ วิทยาลัยอาเซียน ศึกษา มหาวิทยาลัยชนชาติกว่างซี ความส�ำเร็จของไทยในการต่อสูู้กับ COVID-19 ปัจจุบันสถานการณ์ COVID-19 ในไทยมีแนวโน้มไปในทิศทางที่ดี อุตสาหกรรมและภาคธุรกิจค่อยๆทยอยกลับมาเปิดด�ำเนินกิจการตามปกติ หยาง เป่าอวิ๋น แบ่งมาตรการป้องกันและควบคุมโรค COVID-19 ของ ไทยออกเป็น 4 ระยะดังนี้ ระยะแรก ตั้งแต่ปลายเดือน ม.ค.ถึงตรุษจีน ช่วงนี้ในไทยยังคงมี นักท่องเที่ยวจีนอยู่เป็นจ�ำนวนมาก และยังไม่ได้บังคับใช้มาตรการป้องกัน และควบคุมโรคในที่สาธารณะ แต่หลังจากตรวจพบผู้ติดเชื้อรายแรก ผู้คน ก็เริ่มพากันหันมาสวมหน้ากากอนามัย ระยะสอง ช่วงต้นเดือน มี.ค. ตัวเลขผู้ติดเชื้อพุ่งสูงขึ้น พื้นที่สาธารณะ หลายแห่งงดใช้อุปกรณ์ร่วมกัน นักเรียนจ�ำเป็นต้องสวมหน้ากากอนามัย เมื่อไปโรงเรียน ระยะสาม วันที่ 26 มี.ค. กระทรวงสาธารณสุขรายงานพบผู้ป่วยยืนยัน ติดเชื้อสะสมทะลุหลัก 1,000 เป็นครั้งแรก หลังจากนั้นได้มีการประกาศ ใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และบังคับใช้มาตรการควบคุมการเดินทางและป้องกัน การแพร่ระบาด ระยะสี่ ช่วงกลางเดือน พ.ค. ถึงกลางเดือน มิ.ย. จ�ำนวนผู้ติดเชื้อราย ใหม่เริ่มลดลง รัฐบาลไทยทยอยคลายล็อกดาวน์ 8 กิจการและสถานที่ ทีเ่ ปิดให้บริการได้ และเมือ่ ไม่นานนี้ ไทยได้เตรียมแผนเปิดระเบียงท่องเทีย่ ว หรือ “Travel Bubble” เพื่อส่งเสริมและฟื้นฟูอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รับนักท่องเที่ยว ‘จีน-เกาหลี-ญี่ปุ่น’ ไม่ต้องกักตัว 14 วัน หยาง เป่าอวิ๋น มองว่าสาเหตุที่ไทยสามารถกลับมาฟื้นตัวได้อย่าง
44
รวดเร็ว เนือ่ งจากไทยเป็นประเทศกลุม่ แรกๆทีม่ กี ารแพร่ระบาด และสามารถ ออกมาตรการรับมือได้อย่างทันท่วงที แม้ว่าสถานการณ์ฉุกเฉินจะกินเวลา ยาวนานต่อเนื่อง หรืออากาศจะร้อนมากเพียงใด แต่คนไทยส่วนใหญ่ก็ยัง คงให้ความร่วมมือดีในเรื่องการสวมหน้ากากอนามัย เห็นได้ชัดว่า ความ ส�ำเร็จในการต่อสู้กับ COVID-19 ของไทย มีความเกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก กับจิตส�ำนึกของประชาชนในประเทศ จีน-ไทย มิตรแท้ยามยาก จับมือกันก้าวข้ามอุปสรรค ท่ามกลางวิกฤต COVID-19 จีนและไทยได้ร่วมกันเอาชนะความยาก ล�ำบาก ดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นของการระบาดในจีน เมื่อเดือน ม.ค. หน่วยงานภาครัฐและเอกชนของไทยต่างร่วมส่งก�ำลังใจให้ ผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์จีนที่กร�ำศึกหนักอยู่แถวหน้า พร้อมทั้ง แสดงความเต็มใจให้การสนับสนุนจีนอย่างเต็มที่ในการต่อสู้กับ COVID-19 นอกจากนี้ ไทยยังกล่าวว่า ไม่จ�ำเป็นต้องห้ามคนจีนเข้าไทย ซึ่งส�ำนักงาน ตรวจคนเข้าเมืองก็ได้ให้ความช่วยเหลือแก่ชาวจีนที่ติดค้างอยู่ โดยยกเว้น ค่ า ปรั บ ให้ กั บ ชาวจี น ที่ ไ ม่ ส ามารถเดิ น ทางกลั บ ประเทศได้ เนื่ อ งจาก เที่ยวบินถูกระงับชั่วคราว เมื่อจีนเริ่มควบคุมการแพร่ระบาดภายในประเทศได้ สถานการณ์ การแพร่ระบาดในไทยกลับค่อยๆรุนแรงขึ้น หลังเดือน มี.ค. สถานการณ์ COVID-19 ในไทยเริ่มน่าหวั่นวิตก จ�ำนวนผู้ติดเชื้อพุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จีนจึงเร่งส่งความช่วยเหลือด้านเวชภัณฑ์มายังไทย บริจาคยาต้านไวรัสที่
Photo : Xinhua-News
จ�ำเป็นให้ไทยอย่างเร่งด่วน ให้การสนับสนุนไทยในการต่อสู้กับ COVID-19 ซึ่งมีส่วนช่วยลดแรงกดดันต่อเศรษฐกิจและสาธารณสุขไทยได้ในระดับหนึ่ง หยาง เป่าอวิ๋น มองว่า การร่วมแรงร่วมใจต่อสู้กับ COVID-19 ของ จีนและไทย จะส่งผลดีต่อความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศ จากผลส�ำรวจ ความคิดเห็นทีจ่ ดั ท�ำขึน้ โดยส�ำนักวิจยั ซูเปอร์โพล (SUPER POLL) ชีใ้ ห้เห็นว่า ในยามที่ไทยเผชิญหน้ากับโรคระบาดรุนแรง จีนคือประเทศมหาพันธมิตรที่ คนไทยเลือกมากที่สุด 73.3% จากการจัดอันดับประเทศที่เป็นมหามิตรกับ ไทย ซึ่งทิ้งห่างกับประเทศอื่นค่อนข้างมาก หลัง COVID-19 มิตรภาพจีน-ไทยแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ไทยเป็นดินแดนที่มีนัยส�ำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์โลก และเป็นสนาม แข่งขันของประเทศมหาอ�ำนาจมาตั้งแต่สมัยอดีตกาล ช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา สถานการณ์ระหว่างประเทศของไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก การ ที่ไทยมีจีนเป็นประเทศพันธมิตร ยิ่งท�ำให้ทั่วโลกจับตามองทิศทางความ สัมพันธ์จีน-ไทยเป็นพิเศษ ปี 2563 เป็นวาระครบรอบ 45 ปี การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต
จีน-ไทย ตลอด 45 ปีทผี่ า่ นมา ความสัมพันธ์จนี -ไทยได้ผา่ นร้อนผ่านหนาวมา แล้วเกือบครึ่งศตวรรษ และยิ่งพัฒนาแน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในช่วง ของการรับมือกับ COVID-19 ทีห่ น่วยงานภาครัฐเอกชน ตลอดจนประชาชน ทั้งสองประเทศ ต่างช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน ร่วมผลักดันความ สัมพันธ์จีน-ไทยไปสู่มิติใหม่ เมื่อพูดถึงปัจจัยที่จะกระทบต่อทิศทางความสัมพันธ์จีน-ไทยหลัง COVID-19 หยาง เป่าอวิ๋น มองว่า ตลอดเวลาที่ผ่านมา มหาอ�ำนาจบาง ประเทศได้เฝ้าจับตาอิทธิพลของจีนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ นับวันยิ่งขยายวงกว้างมากขึ้น จึงได้พยายามผูกสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย หรือพยายามท�ำให้จีนกับไทยแตกคอกัน ฉะนั้นจึงมีความจ�ำเป็นต้องพึง ระวังการยุยงปลุกปั่นจากประเทศอื่น ที่มุ่งจะท�ำให้ความสัมพันธ์จีน-ไทย เกิดการแตกหัก นอกจากนีป้ ญ ั ญาชนและนักวิชาการชัน้ นาํ ของไทยหลายคน มีภูมิหลังการศึกษาจากยุโรปและอเมริกา มุมมองที่พวกเขามีต่อจีนจึงเป็น แบบตะวันตก แต่โดยภาพรวมแล้ว นักวิชาการจีน-ไทยส่วนใหญ่ยังคงเห็น ไปในทิศทางเดียวกันว่า หลัง COVID-19 สิ้นสุดลง ความสัมพันธ์จีน-ไทยจะ ยังคงเป็นไปในทิศทางที่ดี เนื่องจากในช่วงของการแพร่ระบาด สังคมไทยมี การช่วยเหลือซึ่งกันและกันเป็นอย่างดี ผู้ประกอบการหลายรายได้ออกมา ให้การช่วยเหลือแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 ซึ่งในนั้นมีจ�ำนวน ไม่น้อยที่เป็นผู้ประกอบการจีน COVID-19 ได้ส่งผลกระทบต่อความคืบหน้าโครงการ “หนึ่งแถบหนึ่ง เส้นทาง” ระหว่างสองประเทศ บางโครงการต้องหยุดชะงักลงอย่างไม่มี ก�ำหนด บางธุรกิจถึงขั้นประสบปัญหาด้านเงินทุน หยาง เป่าอวิ๋น แนะน�ำ ว่าในช่วงเวลาที่ยากล�ำบากเช่นนี้ จีน-ไทยจ�ำเป็นต้องรักษาความสัมพันธ์ ทางเศรษฐกิจที่มีอยู่ระหว่างกัน พยายามท�ำให้โครงการเดินหน้าต่อไปได้ ขณะเดียวกันก็ต้องคว้าโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆที่เกิดขึ้นจากโรคระบาด เช่น เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) และเร่งเดินหน้าหาความร่วมมือมิติ ใหม่ๆ เพิ่มเติม
45
后疫情时代,中泰友好仍是主流 文/覃蕾
共克时艰,中泰友好仍是主流
随着东盟多国逐渐推出“解封”措施,疫情也有了 放缓的趋势。近日,马来西亚PEMANDU机构发布全球 新冠肺炎疫情指数报告指出,泰国疫情后恢复正常生产生 活的表现亚洲排名第一,世界第二。在全球疫情严峻的形 势下,这无疑是一份亮眼的“成绩单”。 作为中国在东盟的重要经贸合作伙伴,疫情期间泰国 在战“疫”中的表现如何?中泰两国又是如何鼎力支持彼 此?中泰关系发展会受到哪些因素的影响?近日,在广西 民族大学东盟学院举办的“东盟快闪”学生沙龙活动上, 中国东南亚研究会副会长、北京大学国际关系学院教授, 博士生导师、泰国法政大学比里·帕侬国际学院教授杨保 筠分享了相关见解。 积极抗疫,“泰”有成效 目前泰国疫情形势向好,各行各业也因此逐步恢复 复工复产。 杨保筠将泰国的抗疫分为四个阶段:第一阶段,在 一月末至中国农历新年初一,泰国仍然有大量的中国游 客,公共场所尚未采取任何防疫措施,发现首例后民众 开始纷纷戴口罩;第二阶段,3月初,确诊病例猛增,在 这一阶段内,许多如运动器材的公共设施被取消,学校 要求上课必须佩戴口罩;第三阶段,3月26日,泰国卫生 部宣布确诊人数首次破千,自此进入紧急状态,实施一 系列的交通管制防疫措施;第四阶段,5月中旬至6月中 旬,新增病例开始减少,泰国政府逐步放宽了对8类服务 业场所的限制。近期,泰国为了促进旅游业的复苏,推 出“旅行泡泡”计划,首批中国、日本、韩国等地区入 境人员无需隔离14天。 杨保筠分析认为,泰国疫情迅速复苏的原因在于泰国 新冠疫情的发端较早,泰国也很早就对疫情采取了措施。 虽然紧急状态持续了较长时间,但即使是在天气的炎热的 情况下,许多泰国的普通百姓依旧自觉佩戴口罩。泰国能 在抗疫上成效显著和其国内人民的自觉紧密相关。
46
在新冠肺炎期间,中泰两国共同抗击疫情的过程中 守望相助,对彼此提供了很大的援助。在2020年1月份, 中国疫情暴发之初,泰国官方机构、民间团体同舟共济、 奉献爱心,为奋战在一线的中国医护人员和患者祈福,并 表示愿为中国抗击疫情尽全力支持。此外,泰国还表示 没有必要禁止中国人入境;泰国移民局也表示免除因航 班暂停而无法归国的中方人员的逾期罚款,并为受困的 中国人提供帮助。 当中国的疫情稍微控制住的时候,泰国的疫情却在 慢慢暴发。3月后,泰国的防疫形势急转直下,确诊病例 猛增。为此,中国也多批次向泰国援助了医疗物资,及时 向泰国出口其急需的抗疫药物,为其抗疫提供了很大的支 持,在一定程度上减轻疫情对泰国的卫生和经济压力。 对此,杨保筠认为,中泰两国携手抗疫对中泰关系 产生了积极作用。据泰国“超级民意调研机构”进行的 民意调查显示,在泰国面临严重疫情之时,对泰国比较 友好的国家排名中,73.3%的民众选择了中国,远远超过 其他国家。 疫情之后,中泰更“友”了 泰国有着十分重要的地缘政治意义,自古以来便是 大国角逐的博弈场。近年来,泰国国际形势发生着剧烈 的变化,而中国作为泰国的友好邦国,世界各国也高度 关注中泰关系的发展。2020年是中泰建交45周年,45年 来,中泰关系经历近半个世纪的风雨考验,愈加坚定、成 熟。特别是在新冠肺炎期间,中泰两国,从政府高层,到 民间社会团体、个人,都守望相助、相互支持,推动中泰 关系迈上新台阶。 在谈及疫情之后影响中泰关系发展的因素时,杨保筠 认为,一直以来,某些域外大国对中国在本地区日益增强 的影响力抱有强烈的戒心,积极对泰展开外交行动,间或 甚有离间破坏中泰关系的举动。因此要十分警惕其他国家 对中泰关系的离间挑拨。此外,泰国的精英知识分子多有 欧美求学背景,对中国的看法观点师承西方。但整体上, 大多数中泰学者还是倾向认为中泰关系在后疫情时代只会 向好不会向坏。疫情期间,整个泰国社会的守望相助氛围 良好,企业家在疫情期间救济了不少穷人,其中包括不少 华人企业家。 疫情对中泰“一带一路”项目推进造成了一定的影 响。一些项目复工遥遥无期,甚至一些企业资金上也出现 了问题。杨保筠建议,在这一困难时期,中泰两国必须保 持既有的经济联系,争取把可能的项目落实到位。同时, 还要抓住疫情带来的新的商机,例如数字经济,积极探索 新的合作领域。