WRITE e-Magazine issue 1

Page 1

E-Magazine

WRITE ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 กันยายน 2551 www.thaiwriter.net


2

write.exe ​ ส​ วัสดีค​ รับท​ า่ น​ผอ​ู้ า่ น​ห​ นังสืออ​ เิ ลค​โทร​นค​ิ บุค๊ ใ​ น​รปู แ​ บบ​วรรณกรรม​ท​ี่ ท่าน​กำลังอ​ า่ น​อยูน​่ ไ​ี้ ม่ใช่เ​รือ่ ง​ใหม่ส​ ำหรับก​ าร​ทำ​หนังสือ​แ​ ต่ร​ ปู แ​ บบ​ ของ​มัน​เกิด​ขึ้นแ​ ละ​พัฒนา​มา​ได้​พอ​สมควร​ ​ผม​มคี​ วาม​สนใจ​ใน​การ​ ทำ​หนังสือแ​ บบ​นม​ี้ า​นาน​แล้ว​แ​ ต่ย​ งั ข​ าด​ความ​พร้อม​ท​ งั้ ท​ มี ง​ าน​และ​ ทาง​ดา้ น​เทคนิค​ต​ อ้ ง​ยอมรับว​ า่ ใ​ น​โลก​ดจิ ติ อล​เรา​สามารถ​สร้างสรรค์​ สิ่ง​ต่าง​ ​ๆ​ ​ขึ้น​มา​ได้​โดย​มี​ค่า​ใช้​จ่าย​ที่​น้อย​ลง​ ​เมื่อ​กระดาษ​และ​การ​ พิมพ์ม​ ร​ี าคา​แพง​ขนึ้ ​น​ กั อ​ า่ น​มอง​หา​สอื่ ท​ ส​ี่ นอง​ความ​ตอ้ งการ​ได้ต​ รง​ จุด​กว่า​​ถูก​กว่า​​ทาง​เลือก​จึง​มา​ถึง​หนังสือ​ใน​รูป​แบบ​นี้​​แม้ว่าม​ ันจ​ ะ​ ต่าง​จาก​การ​เป็น​หนังสือกระดาษที่จับต้องได้​ ​แต่​ผม​เชื่อ​ว่า​มัน​จะ​ พอ​ทดแทน​กันได้​​ใน​อนาคต​เมื่อเ​ทคนิค​ดขี​ ึ้น​​เน็ต​เร็ว​ขึ้น​​และ​ผู้คน​มี​ คอมพิวเตอร์ต​ ดิ ตัว​ก​ าร​อา่ น​หนังสือค​ ง​มก​ี าร​ปฏิวตั ไ​ิ ป​พอ​สมควร​ใ​ น​ ฐานะ​ที่​เรา​เป็น​สื่อ​ทาง​ด้าน​วรรณกรรม​​โดย​มอง​ว่า​เรา​ไม่ค​ วร​ละเลย​ ต่อ​เรื่อง​เทคโนโลยี​ที่​กำลัง​เจริญ​รุด​หน้า​ ​อย่าง​น้อย​ผม​ก็​อยาก​รักษา​ ฐาน​คน​อ่าน​วรรณกรรม​ให้​ยังค​ ง​มี​พื้นทีแ่​ ม้​เวทีเ​ปลี่ยน​ไป​ก็ตาม​ ​ ​เนื้อหา​ใน​หนังสือเ​ล่ม​นี้​ได้​พี่​​ๆ​​น้อง​​ๆ​​จาก​สมาชิก​​ www​.t​haiwriter​.n​ et​ม​ า​ชว่ ย​กนั เ​ขียน​โ​ ดยทีท​่ กุ ท​ า่ น​เต็มใจ​ทจ​ี่ ะ​เขียน​ อย่าง​ทผ​ี่ ม​ไม่รจ​ู้ ะ​ตอบแทน​อย่างไร​ถ​ า้ ห​ นังสือเ​ล่มน​ ไ​ี้ ม่มพ​ี วก​เขา​และ​ เธอ​กค​็ งจะ​จดื ส​ นิท​ช​ นิดท​ ผ​ี่ ม​เอง​กท​็ ำ​คน​เดียว​ไม่ไ​ หว​ผ​ ล​งาน​ใน​เล่มน​ ​ี้ จึงม​ ี​ความ​หลาก​หลาย​​มหี​ ลาย​แนวทาง​ให้ท​ ่าน​ผู้​อ่าน​ได้​เลือก​อ่าน​ ​ ​สำหรับ​เล่ม​แรก​ซึ่ง​เป็น​เล่ม​ทดลอง​อ่าน​นี้​เนื้อหา​ยัง​ไม่​ สมบูรณ์​นัก​ ​ยัง​ขาด​อีกห​ ลาย​คอลัมน์ท​ ี่​คิดเ​อา​ไว้​ ​แต่​ไม่มเี​วลา​ทำให้​ ทันก​ อ่ น​ปดิ ต​ น้ ฉบับ​ซ​ งึ่ ผ​ ม​เชือ่ ว​ า่ ใ​ น​เล่มต​ อ่ ​ๆ​ ​ไ​ ป​จะ​สามารถ​แก้ไข​ให้​ ตรง​จุด​นี้​ได้​​ ​ ​ส่วน​หนังสือ​เรา​ได้​ทำ​เป็น​สอง​แบบ​ ​คือ​รูป​แบบ​ไฟล์​ ​PDF​​ ซึง่ ท​ า่ น​สามารถ​โหลด​ไป​เปิดอ​ า่ น​ใน​คอมพิวเตอร์ไ​ ด้​โ​ ดยใช้โปรแกรม Adobe Acrobat ซึ่งเป็นโปรแกรมพื้นฐานที่ดาวน์โหลดมาได้ไม่ ต้องเสียลิขสิทธิ์ ซึง่ โปรแกรมนีส​้ ามารถ​ขยาย​ขนาด​ความ​ใหญ่ข​ อง​ตวั ​


3

อักษร​​หรือจ​ ะ​พิมพ์ม​ า​อ่าน​จาก​เครื่องพิมพ์ก​ ส็​ ะดวก​ ​ ​ไฟล์อ​ กี ร​ ปู แ​ บบ​หนึง่ ค​ อื เ​ป็นไ​ ฟล์ใ​ น​ลกั ษณะ​ แฟลช​ ​สามารถ​เปิด​อ่าน​คล้าย​หนังสือ​ ​รูป​แบบ​นี้​ อาจ​จะ​ต้อง​ใช้​เน็ต​ที่​มคี​ วามเร็ว​สูง​สักน​ ิด​ ​เพราะ​ต้อง​ โหลด​เนื้อ​หาซึ่ง​มาก​ถึง​ห้า​สิบ​หน้า​ ​ดัง​นั้น​ท่าน​ผู้​อ่าน​ สามารถ​เลือก​ได้​ตาม​ต้องการ​ ​ ​นิตยสาร​ WRITE​ ​ตั้งใจ​จะ​ออก​เป็น​ราย​ เดือน​ ​แต่​ช่วง​เริ่ม​ต้น​เรา​ขอ​ออก​ตาม​ราย​สะดวก​เสีย​ ก่อน​​หวังว​ ่า​ท่าน​ผู้​อ่าน​คง​ไม่ว​ ่า​อะไร​นะ​ครับ​​และ​ถ้า​ ท่าน​ผู้​อ่าน​ที่​สนใจ​จะ​ส่ง​บทความ​ ​ข้อ​เขียน​ ​มา​ร่วม​ กับ​ทาง​นิตยสาร หรือต้องการแสดงความคิดเห็น​ สามารถ​ส่ง​มา​ได้ที่​​niwat59​@​gmail​.​com​​ขอ​ย้ำ​นะ​ ครับว​ า่ เ​รา​ไม่มค​ี า่ เ​รือ่ ง​ตอบแทน​ทา่ น​น​ อกจาก​คำ​วา่ ​ ขอบคุณ​​ ​ “ข​อ บ​คุ ณ ​ที่ ​ท่ า น​เ ขี ย น​ ​ข อบคุ ณ ​ที่ ​ท่ า น​ อ่าน”​ ​ ​เชิญ​เปิด​อ่าน​โดย​พลัน​ ​ ​นิวัต​​พุทธ​ประสาท​ ​


4

CONTENTS รายงาน​พิเศษ​6​​​Book​​Design​​10​​​Short​​ Story​​14​​​Nostalgia​​18​​S ​ hort​​Story​20​​ ๑​​รูป​​๑​​เรื่อง 22 Music​​Fountain 24​ ​Book​​Review​​28 Book​​Review 32 ​​Book​​&​​Movie 36​​ นอน​ดู​หนัง 42​​Playground46​ ​โลก​เหงา​​50 Books​​Mania 56

WRITE Magazine บรรณาธิการ: นิวัต พุทธประสาท ประสานงานและเทคนิค: ติณ นิติกวินกุล นักเขียน: ก​ฤติศ​ ิลป์​​​ศักดิ์​ศิริ, จิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร, “​ ​โน​ลี​โอ​”, แก้ม​หอม, ชนินทร อุลิศ, หอมรำเพย, ทนัชพร แซ่ตั้ง, พล​​พะ​ยาบ, ลุงยะ, มณฑิตา วงษ์ชีพ, ผู้หญิงตะวันตก, มาลี ออกแบบรูปเล่ม: Porcupine Book Design ขอบคุณ: สมาชิกไทยไรเตอร์ดอตเน็ต , www.f0nt.com สำนักงาน: 29/76 หมู่บ้านวรารมย์ 81 ซอย 42 บางบอน 4 เขตบางบอน กทม. www.thaiwriter.net โทรศัพท์: 02-814-8887 E-Mail: porcupine@thaiwriter.net


5


6

รายงานพิเศษ

​text&image: ก​ฤติ​ศิลป์​​​ศักดิ์​ศิริ

อบรม​การ​เขียน​นวนิยาย​ขนาด​สั้น​กับ​สมาคม​นัก​เขียนฯ ​เมื่อ​วัน​ที่​ ​14​-​15​ ​มิถุนายน​​,​ ​วัน​ที่​ ​25​-​26​ ​มิถุนายน​ ​และ​วัน​ที่​ 19​-2​ 0​​กรกฎาคม​ที่​ผ่าน​มา​​สมาคม​นัก​เขียน​แห่ง​ประเทศไทย​​ร่วม​ กับ​ ​กองทุน​กฤษณา​ ​อโศก​สิน​ ​ทำการ​จัด​อบรม​ ​โครงการ​ต่อย​อด​​ สืบทอด​วรรณศิลป์​ ​:​ ​การ​เขียน​นวนิยาย​ขนาด​สั้น​ ​รุ่น​ที่​ ​1​ ​,​ ​รุ่น​ที่​ ​2​ และ​รุ่น​ที่​​3​​ตาม​ลำดับ​​ณ​​สมาคม​นัก​เขียน​แห่ง​ประเทศไทย​​​ ​ ใน​การ​อบรม​รุ่น​ที่​ ​1​ ​มี​วิทยากร​ผู้ทรง​คุณวุฒิ​รวม​ ​4​ ​ท่าน​​ ได้แก่​ค​ ณ ุ ก​ ฤษณา​อ​ โศก​สนิ ​ศ​ ลิ ปินแ​ ห่งช​ าติ​ส​ าขา​วรรณศิลป์,​​ค​ ณ ุ ​ ชมัยภร​​แสง​กระจ่าง​​นายก​สมาคม​นัก​เขียน​แห่ง​ประเทศไทย​​,​​คุณ​ กนก​วลี​ ​พจน​ปกรณ์​ ​นัก​เขียน​นวนิยาย​มือ​อาชีพ​ ​และ​คุณ​ขจร​ฤทธิ์​ รักษา​​บรรณาธิการ​​และ​เจ้าของ​สำนัก​พิมพ์​บ้าน​หนังสือ​ ​ ผู้​ที่​เข้า​รับ​การ​อบรม​ใน​รุ่น​แรก​นี้​มี​ด้วย​กัน​หลาก​รุ่น​หลาย​ วัย​ ​ไม่​ว่า​จะ​เป็น​นักเรียน​-​นักศึกษา​​,​ ​ครู​-​อาจารย์​​,​ ​คน​วัย​ทำงาน​ผู้​ สนใจ​ใฝ่​รู้​ ​รวม​ถึง​นัก​เขียน​อาชีพ​อย่าง​คุณ​โดม​ ​วุฒิ​ชัย​ ​เจ้าของ​ผล​ งาน​ ​“​ห่าง​ไกล​ ​ไม่​ห่าง​กัน​”​ ​รางวัล​ชมเชย​รัก​ลูก​อะ​วอร์ด​ ​ประจำ​ปี​ 2550​ ​และ​ ​“​ควัน​ไฟ​สายรุ้ง​”​ ​รางวัล​นาย​อิน​ทร์อะ​วอร์ด​ ​ประเภท​ สารคดี​ป​ ระจำ​ป​ี 2​ 551​,​น​ กั เ​ขียน​นอ้ ง​ใหม่ว​ ยั ใ​ ส​อย่าง​K​ enny​H​ ass​​ แห่ง​ ​1168​ ​พับลิช​ชิ่ง​ ​และ​คุณ​พจนารถ​ ​พจน​ปกรณ์​ ​นัก​เขียน​เรื่อง​ สั้นร​ างวัล​ชมเชย​พาน​แว่น​ฟ้า​ประจำ​ปี​​2546​​,​​รางวัล​สุ​ภาว์​​เทว​กุล​ ประจำ​ปี​ ​2549​ ​และ​รางวัล​ชนะ​เลิศ​นาย​อิน​ทร์อะ​วอร์ด​ ​ประเภท​ นวนิยาย​​ประจำ​ปี​​2551​ ​วันแ​ รก​ของ​การ​อบรม​เริม่ ต​ น้ ท​ เ​ี่ วลา​0​ 9.00​น​ .​​ค​ ณ ุ ก​ ฤษณา​​ อโศก​สิน​ ​กล่าว​เปิด​งาน​พร้อม​ปาฐกถา​พิเศษ​ว่า​ด้วย​การ​เขียน​ นวนิยาย​​โดย​มี​เนื้อหา​ดังนี้​​ ​ “​จง​อ่าน​ความ​รู้สึก​และ​เขียน​ความ​รู้สึก​ ​การ​อ่าน​ความ​ รู้สึก​เป็น​ความ​ประณีต​อีก​อย่าง​หนึ่ง​ที่​มนุษย์​ผู้​เจริญ​ปรารถนา​ ​นัก​ เขียน​เขียน​ความ​รู้สึกข​ อง​ตัว​ละคร​ลง​ไป​บน​กระดาษ​ของ​เขา​​ทำให้​ กระดาษ​เกิดร​ ูป​​รส​​สี​​และ​เสียง​​แม้​กระทั่งก​ ลิ่น​ให้​เรา​ได้​ประทับใ​ จ​​ สิ่ง​ที่​เป็น​ตัว​อักษร​ที่​เรา​อ่าน​ได้​เหล่า​นี้​มา​จาก​อะไร​?​ ​มา​จาก​ภาษา​​ และ​ฝี​ไม้ล​ ายมือใ​ น​การ​สื่อภ​ าษา​ของ​ชีวิต​ให้เ​กิด​ชีวิตข​ ึ้น​มา​ ​รูป​ ​รส​​

กลิ่น​​สี​​เสียง​​เหล่า​นี้​จะ​ผุดข​ ึ้น​มาก​ระ​ทบ​ความ​รู้สึกข​ อง​เรา​ได้​​อย่าง​ อ่อน​ห​ รืออ​ ย่าง​เข้มข​ น้ ก​ ด​็ ว้ ย​ภาษา​ของ​นกั เ​ขียน​ฉ​ ะนัน้ ​ภ​ าษา​จงึ เ​ป็น​ สิ่งท​ ี่​นักอ​ ่าน​ต้องการ​เป็น​อันดับ​หนึ่ง​ ​ ต่ อ ​ม า​จึ ง ​ถึ ง ​เ นื้ อ หา​ที่ ​เ รา​ผู ก ​ขึ้ น ​ทั้ ง ​จ าก​เ รื่ อ ง​จ ริ ง ​แ ละ​ จินตนาการ​ ​นัก​เขียน​เป็น​อิสระ​ใน​ทุก​เรื่อง​ที่​อยาก​เขียน​ ​เนื้อหา​จะ​ เป็นอ​ ย่างไร​กไ็ ด้ส​ ดุ แต่ใ​ จ​ของ​ผเ​ู้ ขียน​ก​ อ่ น​เขียน​งาน​นกั เ​ขียน​จะ​ตอ้ ง​ เลือก​“เ​นือ้ หา​”​ก​ อ่ น​น​ กั เ​ขียน​มอื ใ​ หม่ห​ ดั ข​ บั อ​ าจ​นกึ ว​ า่ ต​ อ้ ง​พยายาม​ หา​เนื้อหา​ที่​โลดโผน​เกี่ยว​กับ​เรื่อง​เพศ​มา​ดึงดูดค​ วาม​สนใจ​​แต่​กไ็​ ม่​ เป็น​ความ​จริง​เสมอ​ไป​ว่าน​ ัก​อ่าน​ทุกค​ น​อยาก​เสพ​ ​ ฉะนัน้ ​ก​ าร​เขียน​เรือ่ ง​แรกๆ​ค​ วร​เลือก​เนือ้ หา​ทต​ี่ นเอง​ถนัด​ คุน้ เ​คย​แ​ ละ​เป็นส​ งิ่ ท​ ก​ี่ ระทบ​ตา​จบั ใจ​เ​พราะ​จะ​ชว่ ย​ให้การ​บรรยาย​ เรื่อง​นั้นๆ​ ​ง่าย​ขึ้น​ ​เนื่องจาก​สามารถ​ลง​ราย​ละเอียด​ได้​เป็น​ขั้น​เป็น​ ตอน​ ​ราย​ละเอียด​เป็น​อีก​สิ่ง​ที่​สำคัญ​ใน​การ​ขับ​เคลื่อน​การ​เขียน​ ทุกช​ นิด​โ​ ดย​เฉพาะ​ราย​ละเอียด​เกีย่ ว​กบั ส​ ติป​ ญ ั ญา​อ​ ารมณ์​ค​ วาม​ รูส้ กึ ข​ อง​ตวั ล​ ะคร​เป็นส​ งิ่ ท​ ไ​ี่ ม่ค​ วร​ทงิ้ ​ก​ าร​บรรยาย​และ​การ​พรรณนา​ โวหาร​จงึ เ​ป็นส​ งิ่ ท​ จ​ี่ ำเป็นอ​ ย่าง​ยงิ่ ใ​ น​งาน​เขียน​เ​รา​ตอ้ ง​เขียน​หนังสือ​ ให้​ผอู้​ ่าน​ตาม​เรา​​ไม่ใช่เ​รา​โน้ม​ลง​ไป​ตาม​ผู้​อ่าน​​ไม่​เช่นน​ ั้น​เรา​จะ​ไม่​ สามารถ​ยืน​ได้​​แค่​ลง​ไป​คลาน​กับ​พื้น​ ​ ​เมื่อ​ตรง​ไป​สู่​เป้า​หมาย​ของ​เรื่อง​ราว​แล้ว​ ​เรา​ก็​ต้อง​ ​“​ม้วน​​ และ​มดั ”​ ​ใ​ ห้ท​ กุ บ​ รรทัดท​ เ​ี่ ขียน​มา​ลงเอย​อย่าง​สมบูรณ์​ส​ มบูรณ์ด​ ว้ ย​ ปัญญา​ที่​เรา​พิจารณา​แล้ว​ว่า​ถูก​ต้อง​งดงาม​ ​ทาง​ไป​สู่​ความ​สำเร็จ​


7


8

นั้น​​แม้​ยาก​ลำบาก​ก็​จริง​​แต่​ถ้า​เป็น​ทาง​แห่ง​ความ​รัก​​เดิน​เท่า​ไหร่​ ก็​ไม่รจู้​ ัก​เหนื่อย​”​ ​​ ​หลัง​จบ​ปาฐกถา​พิเศษ​​คุณ​ชมัยภร​​แสง​กระจ่าง​​รับ​ช่วง​ ต่อ​ด้วย​การ​พูด​ถึง​เรื่อง​ของ​ความ​รู้​พื้น​ฐาน​เกี่ยว​กับ​นวนิยาย​​ ​​ ​“​นวนิยาย​คือ​อะไร​?​ ​หลาย​คน​รู้จัก​เรื่อง​สั้น​ ​แต่​อาจ​ยัง​ ไม่​เข้าใจ​ความ​หมาย​ของ​นวนิยาย​ ​นวนิยาย​ไม่ใช่​การนำ​เรื่อง​สั้น​ หลายๆ​​เรื่อง​มา​ต่อ​กัน​​ถ้า​ไม่​วาง​โครง​เรื่อง​ให้ม​ ัน​เป็น​นวนิยาย​มัน​ ก็​จะ​กลาย​เป็น​เรื่อง​สั้น​ชุด​ ​แต่ละ​ชุด​จะ​เหมือน​กับ​ว่า​มี​โครงสร้าง​ ของ​การ​เป็น​เรื่อง​สั้น​อยู่​ใน​แต่ละ​เรื่อง​ ​ส่วน​นวนิยาย​เป็น​เรื่อง​แต่ง​ อีก​แบบ​หนึ่ง​ซึ่ง​ต้อง​มี​โครงสร้าง​ของ​มัน​เอง​​ ​ ​​ ​เรา​จะ​ทำให้​เป็น​นวนิยาย​ได้​อย่างไร​?​ ​สิ่ง​ที่​ต้อง​มี​คือ​ คุณ​จะ​ต้อง​คิด​ ​ต้อง​ทำ​อย่างไร​ ​ต้องหา​อะไร​มา​เขียน​ ​ก่อน​เขียน​ นวนิยาย​เรา​รู้​แล้วว​ ่าโ​ ครงสร้าง​ของ​มัน​เป็น​อย่างไร​ ​แต่​เรา​จะ​ต้อง​ คิด​ก่อน​ว่า​เรา​จะ​เขียน​อะไร​​นี่​คือ​องค์​ประกอบ​อัน​แรก​ของ​มัน​​คือ​ เรือ่ ง​ของ​แก่นเ​รือ่ ง​ห​ รือธ​ มี ​(​ T​ heme​)​ข​ อง​เรือ่ ง​เ​มือ่ ค​ รูค​่ ณ ุ ก​ ฤษณา​ บอก​วา่ จ​ ะ​ตอ้ ง​มว้ น​แล้วม​ ดั ​เ​มือ่ ม​ ดั แ​ ล้วจ​ ะ​พา​ไป​สเ​ู่ ป้าห​ มาย​น​ นั่ ค​ อื ​ ต้อง​คดิ เ​อา​ไว้ก​ อ่ น​ต​ วั แ​ ก่นค​ วาม​คดิ ​แ​ ละ​เป้าห​ มาย​จะ​มา​พร้อม​กนั ​ เรา​จะ​เขียน​เรือ่ ง​อะไร​?​แ​ ละ​เขียน​ทำไม​?​น​ ค​ี่ อื ส​ งิ่ ส​ ำคัญท​ สี่ ดุ ใ​ น​การ​ เขียน​นวนิยาย​ ​​ ​ขณะ​ที่​คิด​แก่น​เรื่อง​ ​แล้ว​คิด​ชื่อ​เรื่อง​ไป​พร้อม​กัน​ได้​ด้วย​ จะ​เป็น​เรื่อง​ที่​วิเศษ​มาก​ ​แต่​ชื่อ​เรื่อง​ไม่​ควร​บอก​หมด​ ​เพราะ​นั่น​ จะ​ทำให้​ยาว​เกิน​ไป​ ​และ​ไม่​น่า​สนใจ​ ​สร้าง​วลี​อะไร​ก็ได้​ที่​แปลกๆ​​ และ​สื่อ​ความ​หมาย​ ​ ​อย่าง​เช่น​ ​นวนิยาย​ของ​คุณ​กฤษณา​ ​ที่​ชื่อ​ ​“​ ข้าม​สี​ทันด​ ร​”​​หาก​ไม่​ได้​อ่าน​ก็​จะ​ไม่​ทราบ​เลย​ว่า​​‘​สี​ทัน​ดร​’​​ซึ่ง​แปล​ ว่า​ทะเล​ที่​กว้าง​ใหญ่​มาก​ ​ใน​ที่​นหี้​ มาย​ถึง​ยา​เสพ​ติด​ ​เพราะ​ฉะนั้น​ ความ​หมาย​ของ​ ​‘​ข้าม​สี​ทัน​ดร​’​ ​จึง​หมาย​ถึง​ความ​ยาก​ลำบาก​ใน​ การ​ข้าม​ให้​พ้น​ยา​เสพ​ติด​ ​​ ​หลัง​จาก​ที่​เรา​คิด​แก่น​เรื่อง​เรียบร้อย​แล้ว​ ​เรา​ต้อง​คิด​ โครง​เรื่อง​ต่อ​ ​อย่าง​โครง​เรื่อง​ใน​เรื่อง​สั้น​คือ​การนำ​เหตุการณ์​ของ​ เรื่อง​มา​ต่อ​กัน​อย่าง​เป็น​เหตุ​เป็น​ผล​เพียง​หนึ่ง​หรือ​สอง​เหตุการณ์​ เท่านั้น​เพราะ​มัน​เป็น​เรื่อง​สั้น​ ​แต่​นวนิยาย​จะ​ต้อง​เป็น​เหตุการณ์​ ทัง้ ช​ ดุ ท​ ต​ี่ อ่ ก​ นั เ​ป็นโ​ ครง​เรือ่ ง​แ​ ละ​เหตุการณ์เ​หล่าน​ นั้ จ​ ะ​ตอ้ ง​รบั ก​ นั ​ อย่าง​เป็นเ​หตุเ​ป็นผ​ ล​โ​ ดย​เหตุผล​ใน​ทน​ี่ ห​ี้ มาย​ถงึ ก​ ารก​ระ​ทำ​ของ​ตวั ​ ละคร​ทท​ี่ ำให้เ​กิดเ​หตุการณ์ต​ า่ งๆ​เ​พราะ​ฉะนัน้ เ​หตุการณ์ต​ อ้ ง​สอด​ รับ​กัน​ตั้งแต่​ต้น​จน​จบ​​โดย​ไม่​ให้​คน​อ่าน​ตั้ง​คำถาม​หรือ​มี​ข้อ​สงสัย​

คน​ที่​เขียน​ชำนาญ​แล้ว​ ​แม้แ​ ต่​คำๆ​ ​หนึ่ง​ ​หรือ​ประ​โยคๆ​ ​หนึ่ง​ก็​จะ​ มี​ความ​หมาย​​และ​ราย​ละเอียด​ของ​มัน​เอง​โดย​อัตโนมัต”ิ​ ​ ​ ​จาก​นั้น​ ​คุณ​ชมัยภร​ ​ได้​เสนอ​ให้​ผู้​เข้า​อบรม​ช่วย​กัน​คิด​ แก่นเ​รือ่ ง​ช​ อื่ ต​ วั ล​ ะคร​แ​ ละ​เหตุการณ์ต​ า่ งๆ​ท​ ส​ี่ อด​รบั ก​ นั อ​ ย่าง​เป็น​ เหตุ​เป็น​ผล​ร่วม​กัน​​เพื่อ​ให้​เกิดค​ วาม​เข้าใจ​มาก​ขึ้น​​​ ​ ​หัวข้อ​ของ​การ​อบรม​ช่วง​เช้า​เน้น​หนัก​ใน​เรื่อง​ของ​แก่น​ เรื่อง​ ​และ​โครง​เรื่อง​ ​ด้วย​เหตุ​นี้​คุณ​ชมัยภร​จึง​ขอ​ความ​อนุเคราะห์​ จาก​วิทยากร​อีก​ ​2​ ​ท่าน​ ​คือ​ ​คุณ​ขจร​ฤทธิ์​ ​รักษา​ ​และ​คุณ​กนก​ วลี​ ​พจน​ปกรณ์​ ​บอก​เล่า​ถึง​การ​คิด​แก่น​เรื่อง​ ​และ​โครง​เรื่อง​ของ​ นวนิยาย​ซึ่ง​คุณ​ชมัยภร​ชอบ​เป็นการ​ส่วน​ตัว​ ​โดย​เริ่ม​ที่​นวนิยาย​ เรื่อง​‘​หญิง​ข้าง​ถนน​’​​ของ​คุณ​ขจร​ฤทธิ์​​รักษา​ ​ ​คุณข​ จร​ฤทธิ์​​พูดถ​ ึง​การ​วาง​โครง​เรื่อง​ของ​นวนิยาย​เรื่อง​ นี้​ว่า​​ ​​ ​“​คุณ​รงษ์​ ​วงษ์​สวรรค์​เคย​สอน​ว่า​ ​“​ข้อ​สำคัญ​ที่สุด​คือ​ สร้าง​ตัว​ละคร​ของ​เรา​ให้​มี​ชีวิต​ ​และ​ตัว​ละคร​นั้น​ก็​จะ​ดำเนิน​ต่อ​ ไป​”​ ​ตอน​ที่​ผม​จะ​เขียน​เรื่อง​ ​ ​‘​หญิง​ข้าง​ถนน​’ ​ซึ่ง​เป็น​เรื่อง​เกี่ยว​ กับ​โสเภณี​ที่​อยู่​ชายหาด​พัทยา​ ​ผม​ไม่​ได้​คิด​เรื่อง​นี้​ก่อน​ ​ที​แรก​ผม​ คิด​ว่า​จะ​เขียน​เรื่อง​เกย์​ ​เพราะ​อยาก​รู้​ว่า​เหตุ​ใด​ผู้ชาย​ถึง​ยอม​ให้​ ผู้ชาย​ด้วย​กัน​ล่วง​ล้ำ​ ​ผม​จึง​เริ่ม​ต้น​ด้วย​การ​ไป​นั่ง​บาร์​เกย์​ที่​พัทยา​​ พอ​เขา​รู้​ว่า​ผม​เป็น​นัก​เขียน​เขา​ก็​ถอย​หนี​กัน​หมด​ ​ผม​เลย​เดิน​ กลับ​ที่พัก​ ​เจอ​หญิง​ข้าง​ถนน​เดิน​เข้า​มาบ​อก​ ​ ​“​Hello​ ​You​ ​want​​ me​?​”​ ​ผม​เลย​เข้าไป​คุย​ด้วย​ ​เขา​ไม่​คุย​ ​เขา​จะ​เอา​ตัง​ ​ผม​ก็​ให้​เขา​ ไป​พัน​บาท​ ​ ​แล้ว​ชวน​เขา​ไป​กิน​ก๋วยเตี๋ยว​ ​นั่ง​คุย​กัน​ไป​ ​น้ำตา​เขา​ ก็​ไหล​พราก​ไป​ ​ชีวิต​ลำบาก​ ​ผม​จึง​อยาก​เขียน​เรื่อง​นี้​ ​หลัง​จาก​ได้​ ข้อมูล​จริงแ​ ล้ว​​ผม​ต้อง​ไป​หา​ข้อมูลเ​พิ่ม​เติมแ​ ถว​ภาค​อีสาน​ซึ่ง​เป็น​ ถิน่ ฐาน​บา้ น​เกิดข​ อง​‘​หญิงข​ า้ ง​ถนน​’​เ​พือ่ น​ ำ​มา​ประกอบ​การ​เขียน​​ พร้อม​กับส​ ร้าง​ตัว​ละคร​ ​4​-​5​ ​ตัว​ ​แล้ว​นำ​มา​เกลี่ยใ​ ห้​เข้าก​ ับเ​นื้อหา​ ของ​เรื่อง​ ​ไม่​ว่า​เรา​จะ​เขียน​เรื่อง​อะไร​ ​เรา​ต้อง​เข้า​ให้​ถึง​เรื่อง​นั้นๆ​​ รวม​ทั้ง​กล้า​หาญ​ที่​จะ​เขียน​ ​กล้า​หาญ​ที่​จะ​คิด​ ​และ​รับ​ฟัง​คน​ที่​มี​ ประสบการณ์”​ ​ ​​ ​ด้าน​ ​คุณ​กนก​วลี​ ​พจน​ปกรณ์​ ​ได้​พูด​ถึง​นวนิยาย​เรื่อง​ ​‘​จะ​เก็บร​ ัก​ไว้​ไม่ใ​ ห้​หลุด​ลอย​’ ​ของ​เธอ​ว่า​ ​“​เรื่อง​ ​‘​จะ​เก็บ​รักไ​ ว้​ไม่​ให้​ หลุด​ลอย​’​ ​เริ่ม​จาก​ดิฉัน​ได้​ไป​ปฏิบัติ​ธรรม​ที่​วัด​ปรินายก​เป็น​เวลา​​ 21​​วัน​​นั่น​ทำให้​ได้​เห็น​แม่ช​ ที​ ั้ง​หลาย​ที่​อยูใ่​ น​วัด​​อยูใ่​ น​แวดวง​ของ​ ทัง้ ส​ งฆ์แ​ ละ​ช​ี ​แ​ ล้วก​ เ​็ ห็นแ​ ม่ช​ ค​ี น​หนึง่ ม​ ล​ี กู ​ท​ กุ เ​ช้าป​ ระมาณ​ต​ี 4​ ​ค​ รึง่ ​


9

เรา​จะ​ต้อง​ตื่น​ขึ้น​มา​ทำวัตร​ ​เด็ก​ผู้ชาย​คน​นี้​ซึ่ง​อยู่​ใน​วัย​ที่​ยัง​ไม่​เข้า​ วิจารณ์​​,​ ​การ​ทำ​ต้นฉบับ​ ​รวม​ถึง​ช่อง​ทางการ​นำ​เสนอ​ผล​งาน​ไป​ อนุบาล​ก็​จะ​มา​อยู่​ท้าย​แถว​ตรง​ที่​เรา​สวด​มนต์​กัน​ ​เสียง​ของ​แก​จะ​ ยัง​นิตยสาร​ ​และ​สำนัก​พิมพ์​ต่างๆ​ ​ส่วน​ช่วง​บ่าย​เป็นการ​วิจารณ์​ แทรก​ขนึ้ ม​ า​เจือ้ ย​แจ้ว​พ​ อ​หก​โมง​เย็นก​ ม​็ า​อกี แ​ ล้ว​เ​รา​กเ​็ ลย​ประทับ​ ผล​งาน​ของ​ผเ​ู้ ข้าอ​ บรม​พ​ ร้อม​มอบ​ของ​ทร​ี่ ะลึกใ​ ห้แ​ ก่ผ​ ท​ู้ เ​ี่ ขียน​โครง​ ใจ​ ​ ​แล้ว​ก็ได้​คุย​กับ​แม่​ชี​ว่า​เป็น​มายัง​ไง​ ​แม่​ชี​ก็​เล่า​เรื่อง​ราว​ให้​ฟัง​ เรื่อง​ได้​ดี​ที่สุด​จำนวน​ ​5​ ​เรื่อง​ ​และ​วิทยากร​เปิด​โอกาส​ให้​ผู้​เข้า​ ซึ่ง​แน่นอน​ว่า​ชีวิต​ของ​เธอ​ต้อง​รันทด​ถึง​ต้อง​นำ​ลูก​มา​ปฏิบัติ​ธรรม​ อบรม​ซัก​ถาม​ขอ้ ​สงสัย​​หลัง​จาก​นนั้ ​จึง​เข้า​ส​ชู่ ่วง​เวลา​ของ​การ​มอบ​ ด้วย​ ​ดิฉัน​เก็บ​ข้อมูล​ของ​แม่​ชี​เอา​ไว้​หลาย​เรื่อง​เลย​ ​แต่​ตัว​ละคร​​ ใบ​ประกาศนียบัตร​​โดย​​คุณก​ ฤษณา​​อโศก​สิน​​ก่อน​ปิดท​ ้าย​ด้วย​ 1​ ​ตัว​ยัง​ทำ​อะไร​ไม่​ได้​ ​การ​เขียน​หนังสือ​ไม่ใช่​ว่า​จะ​เขียน​ได้​เลย​​ การ​ถ่าย​ภาพ​ร่วม​กัน​เป็น​ที่​ระลึก​ เพราะ​ฉะนั้น​ต้อง​เก็บ​ไว้​ก่อน​ ​คือ​เวลา​เรา​ไป​เจอะ​เจอ​อะไร​เรา​จะ​ ​​ ​สำหรับ​รุ่น​ที่​ ​2​ ​มี​วิทยากร​ด้วย​กัน​ ​3​ ​ท่าน​ ​ได้แก่​ ​คุณ​ เก็บเ​อา​ไว้​แ​ ล้วม​ นั จ​ ะ​เป็นป​ ระโยชน์ท​ กุ ค​ รัง้ ท​ กุ ค​ รา​ทเ​ี่ รา​จะ​ดงึ ม​ นั ม​ า​ กฤษณา​ ​อ โศก​สิ น​,​ ​คุ ณ​ช มั ย ภร​ ​แ สง​ก ระจ่ า ง​​,​ ​คุ ณ​ก นก​ว ลี​ ใช้​​จ​ น​กระทัง่ ม​ า​อกี ร​ ะยะ​หนึง่ ค​ ณ ุ แ​ ม่ป​ ว่ ย​เป็นม​ ะเร็งป​ อด​ด​ ฉิ นั พ​ า​ พจน​ปกรณ์​ ​ ​เนื่องจาก​คุณ​ขจร​ฤทธิ์​ ​รักษา​ ​เข้า​รับ​การ​ผ่าตัด​ คุณแ​ ม่ไ​ ป​หา​หมอ​โ​ ดย​ตอ้ ง​ไปๆ​ม​ าๆ​ร​ ะหว่าง​สอง​โรง​พยาบาล​ค​ อื ​ กะทันหัน​​ส่วน​รุ่นท​ ี่​​3​​มี​วิทยากร​ด้วย​กัน​​4​​ท่าน​​ได้แก่​​คุณ​ชมัยภร​​ พญาไท​กบั ร​ าชวิถ​ี เ​พราะ​คณ ุ ห​ มอ​ทร​ี่ กั ษา​คณ ุ แ​ ม่เ​ป็นแ​ พทย์ป​ ระจำ​ แสง​กระจ่าง​,​ค​ ณ ุ ก​ นก​วลี​พ​ จน​ปกรณ์​,​​ค​ ณ ุ เ​พชร​ยพุ า​บ​ รู ณ์ส​ ริ จ​ิ รุง​ โรง​พยาบาล​พญาไท​แ​ ต่เ​ป็นอ​ าจารย์ส​ อน​อยูท​่ โ​ี่ รง​พยาบาล​ราชวิถ​ี รัฐ​​แห่ง​นิตยสาร​​KOKORO​​(ณ ​ ​​เพชร​​สำนักพ​ ิมพ์)​ ​​และ​​ผศ​.​ดร​. นัน่ ท​ ำให้เ​ห็นค​ วาม​แตก​ตา่ ง​ทงั้ ก​ าร​บริการ​แ​ ละ​การ​ทำงาน​ของ​คณ ุ ​ ​สวุ​ รรณ​า​​เกรียง​ไกร​เพ็​ชร์​ ​​อดีตอ​ าจารย์ป​ ระจำ​ภาค​วชิ า​ภาษา​ไทย​ ​​ หมอ​​ดิฉัน​กเ็​ก็บข​ ้อมูล​เอา​ไว้​อีก​​แต่​ยัง​ไม่​เป็น​รูป​เป็น​ร่าง​​ต่อ​มา​ได้​ คณะ​อกั ษร​ศาสตร์​จ​ ฬุ าลงกรณ์ม​ หาวิทยาลัย​ ​ผ​ ซ​ู้ งึ่ เ​ป็นท​ งั้ น​ กั อ​ า่ น​​ อ่าน​หนังสือพิมพ์​และ​ดู​ข่าว​ทาง​โทรทัศน์​ ​มี​นัก​ธุรกิจ​ชาย​คน​หนึ่ง​ นักว​ จิ ารณ์​​แ​ ละ​บรรณาธิการ​ป​ จั จุบนั เ​ป็นผ​ ช​ู้ ว่ ย​ผอ​ู้ ำนวย​การ​ศนู ย์​ ถูก​จับ​ใน​ข้อหา​ฟอก​เงิน​​​เขา​กลาย​เป็น​คน​ล้ม​ละลาย​​นั่น​เป็น​ภาพ​ มานุษยวิทยา​สิ​ริน​ธร​ ​​ ที่​ชอ็ ก​ความ​รู้สึก​ของ​ดฉิ ัน​เหมือน​กนั ​​ตวั ​ละคร​ของ​​‘จ​ ะ​เก็บ​รัก​ไว้​ไม่​ ​​ ​ตลอด​ระยะ​เวลา​การ​อบรม​ทั้ง​ ​3​ ​รุ่น​ ​วิทยากร​ทุก​ท่าน​ ให้ห​ ลุดล​ อย​’​แ​ ต่ละ​ตวั ม​ นั เ​หมือน​เป็นจ​ กิ๊ ซ​ อว์​เ​มือ่ เ​รา​ได้ภ​ าพ​มา​แต่​ ล้วน​ถ่ายทอด​ประสบการณ์​ให้​แก่​ผู้​เข้า​อบรม​อย่าง​เป็น​กันเอง​​ ละ​ภาพๆ​เ​รา​มหี น้าท​ ท​ี่ จ​ี่ ะ​นำ​ภาพ​เหล่าน​ นั้ ม​ า​ตอ่ ก​ นั ใ​ ห้เ​ป็นร​ ปู ร​ า่ ง​ท​ี่ ปราศจาก​ความ​ตึงเครียด​​​ทำให้​ช่วง​เวลา​ของ​การ​อบรม​ทั้ง​​2​​วัน​ สวยงาม​แ​ ละ​ชดั เจน​ขนึ้ ​แ​ ต่ท​ งั้ หมด​ทงั้ ม​ วล​กย​็ งั ไ​ ม่ไ​ ด้พ​ ล๊อต​ อ​อก​มา​​ เต็มเ​ปีย่ ม​ไป​ดว้ ย​เนือ้ หา​สาระ​พ​ ร้อม​ทงั้ ค​ วาม​สนุกสนาน​ควบคูก​่ นั ​ แล้วใ​ น​ชว่ ง​นนั้ ม​ ข​ี า่ ว​คราว​ของ​นสิ ติ น​ กั ศึกษา​มหาวิทยาลัยท​ ฟ​ี่ งุ้ เฟ้อ​ ไป​​จน​ผู้​เข้า​รับ​การ​อบรม​ต่าง​พูดเ​ป็น​เสียง​เดียวกัน​ว่า​​“​ราคา​เพียง​ เห่อเหิมห​ รือว​ า่ ไ​ หล​ตาม​กระแส​วตั ถุนยิ ม​อย่าง​มาก​ด​ ฉิ นั เ​ลย​ได้ต​ วั ​ เท่า​นี้​นับว​ ่า​คุ้มเ​กินค​ ุ้ม​”​ ละคร​เพิม่ อ​ กี ต​ วั ​พ​ อ​จะ​ลงมือเ​ขียน​กต​็ อ้ ง​จบั ต​ วั ล​ ะคร​เหล่าน​ ม​ี้ า​ผสม​ ​ ​นอกจาก​น​ี้ ผ​ เ​ู้ ข้าอ​ บรม​ยงั ไ​ ด้ร​ บั น​ ติ ยสาร​ไร​เตอร์​(​ห​ นังสือ​ กัน​​โดย​กำหนด​คาแรคเตอร์ต​ ัว​ละคร​แต่ละ​ตัว​ให้ช​ ัดเจน​”​ ทรง​คุณค่า​สำหรับ​คอ​วรรณกรรม​)​ ​ที่ทาง​สำนัก​พิมพ์​บ้าน​หนังสือ​ ​​ ช่วง​บ่าย​เป็นการ​อบรม​ใน​หัวข้อ​ ​วิธี​สร้าง​และ​ประเภท​ โดย​คุณข​ จร​ฤทธิ์​​รักษา​​นำ​มา​อภินันทนาการ​คนละ​​2​​เล่ม​​พร้อม​ ของ​ตัว​ละคร​​,​ ​มุม​มอง​และ​การ​เล่า​เรื่อง​​,​ ​การ​เขียน​บท​สนทนา​​ กับร​ วม​เรื่อง​สั้น​ ​ดาว​ส่อง​เมือง​ ​,​ ​เรือง​แสง​ดาว​ ​และ​ ​พราว​สายรุ้ง​ การ​บรรยาย​ฉาก​และ​บรรยากาศ​​,​ก​ าร​ใช้น​ ำ้ เ​สียง​และ​การ​ใช้ภ​ าษา​​​ ที่ทาง​สมาคม​นัก​เขียน​แห่ง​ประเทศไทย​ได้​จัด​ทำ​ขึ้น​ ​ ​โดย​แต่ละ​ กลวิธท​ี าง​วรรณศิลป์​แ​ ละ​สตู ร​สำหรับก​ าร​แต่งน​ วนิยาย​,​​ว​ ธิ ต​ี งั้ ช​ อื่ ​ เล่ม​เหมาะ​สำหรับ​นำ​ไป​ศึกษา​กลวิธี​การ​เขียน​ ​เนื่อง​เพราะ​บรรจุ​ เรื่อง​​ชื่อ​ตัว​ละคร​​และ​นามปากกา​​ชั่วโมง​สุดท้าย​เป็นการ​​work- เรื่อง​สั้น​ของ​นักเ​ขียน​ชั้นค​ รู​ทั่ว​ฟ้าเ​มือง​ไทย​รวม​เข้า​ไว้​ด้วย​กัน​​ shop​ ​ฝึก​เขียน​นวนิยาย​ ​พร้อม​สั่ง​ให้​ผู้​เข้า​อบรม​เขียน​โครง​เรื่อง​ ​​ ​สำหรับก​ าร​อบรม​การ​เขียน​นวนิยาย​ขนาด​สนั้ ก​ บั ส​ มาคม​ นวนิยาย​จำนวน​​1​​เรื่อง​​เพื่อ​นำ​มา​ส่ง​ใน​วันร​ ุ่ง​ขึ้น​ นัก​เขียนฯ​​ใน​ครั้ง​ต่อไ​ ป​จะ​จัด​ขึ้น​เมื่อ​ไหร่​นั้น​​​ติดต่อส​ อบถาม​ได้ที่​ ​​ ​ใน​วั น ​ที่ ​ส อง​ข อง​ก าร​อ บรม​ ​ช่ ว ง​เ ช้ า ​เ ป็ น การ​อ บรม​ สมาคม​นัก​เขียน​แห่ง​ประเทศไทย​​โทร​.​​02​-​910​-​9565​​หรือ​ที่​​​08​-​ ใน​หัวข้อ​ ​การ​ขอยืม​ความ​คิด​คน​อื่น​และ​การ​เลียน​แบบ​อย่าง​ 4015​-​8534​​(ค​ ุณ​ส​ราวุ​ธ​​เจ้า​หน้าทีส่​ มาคม​นักเ​ขียนฯ​)​  d สร้างสรรค์​​,​ ​อุปสรรค​และ​ปัญหา​ใน​การ​เขียน​นวนิยาย​​,​ ​การ​ถูก​


10

Book​D ​ esign​ text: นิวัต พุทธประสาท

​Text​​Book​​

การ​จัด​หน้า​หนังสือ​สำหรับ​อ่าน​​ การ​ออก​แบบ​หนังสือ​พ็อค​เก็​ตบุ๊​คดู​เหมือน​จะ​เป็น​เรื่อง​ง่าย​ ​ๆ​ ไม่มี​อะไร​ซับ​ซ้อน​ ​เพราะ​หนังสือ​ทั้ง​เล่ม​มี​แต่​ตัว​หนังสือ​ ​กับ​ตัว​ หนังสือ​เท่านั้น​ ​ไม่​นับ​รวม​ภาพ​ประกอบ​ ​ซึ่ง​ส่วน​ใหญ่​จะ​มี​แต่​ หนังสือ​ท่อง​เที่ยว​ ​หรือ​วิชาการ​ที่​ต้อง​อาศัย​รูป​ประกอบ​ ​ยิ่ง​เป็น​ หนังสือเ​กีย่ ว​กบั น​ ยิ าย​หรือเ​รือ่ ง​สนั้ ข​ อง​ฝรัง่ ด​ ว้ ย​แล้ว​ก​ าร​ใช้ภ​ าพ​ ประกอบ​ยิ่ง​น้อย​ลง​ไป​ ​อาจ​เป็น​เพราะ​ว่าการ​มี​ภาพ​ประกอบ​ หนังสือเ​ท่ากับก​ าร​เพิม่ ​C​ ost​ข​ อง​ตน้ ทุนเ​ข้าไป​ดว้ ย​ท​ าง​ทด​ี่ ก​ี ค​็ อื ​ ตัด​มันท​ ิ้ง​เสีย​​แล้ว​ทำ​แต่​หนังสือ​ที่​มี​แต่​ตัว​หนังสือ​​555​ ​ ​สำหรับ​การ​ออกแบบ​ทั้ง​หลาย​ ​“​ยิ่ง​น้อย​เท่า​ไหร่​ ​ก็​ยิ่ง​ สวย​มาก​เท่านั้น​”​ ​แต่​ ​“​ความ​น้อย​”​ ​มัก​จะ​ควบคู่​กับ​ความ​ยาก​ เสมอ​บ​ าง​สำนักพ​ มิ พ์อ​ าจ​จะ​ไม่ใ​ ห้ค​ วาม​สำคัญต​ อ่ ก​ าร​ออกแบบ​​ ไม่​เห็น​คุณค่า​ของ​การ​จัด​รูป​เล่ม​และ​มอง​ข้าม​ความ​สวยงาม​ใน​ แบบ​เรียบ​ง่าย​​แต่เ​น้นท​ คี่​ วาม​หรูหรา​ใน​เชิง​ปริมาณ​​แน่นอน​นัก​ ออกแบบ​ตอ้ ง​ทำ​บาง​อย่าง​ให้ก​ บั เ​จ้าของ​ผล​งาน​ได้เ​ห็นว​ า่ ต​ วั เ​อง​ ทุ่มเท​ทรัพยากร​ทาง​สมอง​เพื่อ​คิดค้น​รูป​แบบ​อัน​อลังการ​ ​เพื่อ​ สม​กับ​ราคา​ค่า​จ้าง​ ​และ​ทาง​เจ้าของ​หรือ​สำนัก​พิมพ์​เอง​ก็​ยินดี​ กับ​รูป​แบบ​ที่​เลิศ​หรู​ ​แม้​มัน​จะ​ไม่​เข้า​กัน​เลย​ ​หรือ​ว่า​ตัว​หนังสือ​ อ่าน​ยาก​โคตร​ ​ๆ​ ​รวม​ถึง​รก​รุงรัง​ด้วย​ตัว​อักษร​ประดิษฐ์​ที่​ไม่​เข้า​ กับ​เนื้อหา​

​ ​ภาษา​ไทย​เป็น​ภาษา​ที่​มี​เอกลักษณ์​เฉพาะ​ตัว​ ​ใน​ แวดวง​การ​พิมพ์​นั้น​ ​การ​ออกแบบ​ตัว​พิมพ์​ภาษา​ไทย​มี​ข้อ​ถก​ เถียง​ทาง​เทคนิค​มา​โดย​ตลอด​ ​เริ่ม​จาก​ยุค​การ​จัด​อาร์ต​ใน​แบบ​ เก่า​ที่​ต้อง​ตัด​เรียง​ตัว​อักษร​เพื่อ​ถ่าย​เป็น​ฟิล์ม​นั้น​ทำให้​ตัว​อักษร​ ตัว​ใหญ่​กิน​เนื้อที่​หน้า​กระดาษ​ ​เพราะ​ถ้า​หด​เหลือ​ตัว​เล็ก​ก็​จะ​ ทำให้อ​ ่าน​ยาก​​จน​มา​ถึงก​ าร​จัดอ​ าร์ตย​ ุคใ​ หม่​ซึ่งใ​ ช้​คอมพิวเตอร์​ ความ​กา้ วหน้าท​ าง​เทคโนโลยีท​ ำให้ว​ งการ​พมิ พ์ค​ กึ คักเ​ป็นอ​ ย่าง​ มาก​แ​ ต่ก​ ระนัน้ ป​ ญ ั หา​ภาษา​ไทย​สำหรับซ​ อห์ฟแวร์ต​ า่ ง​ประเทศ​ ก็​เกิด​ปัญหา​ซ้ำ​แล้ว​ซ้ำ​เล่า​ ​โดย​เฉพาะ​โปรแกรม​อย่าง​ ​ILLUSTRATOR​​,​​PHOTOSHOP​​และ​​INDESING​​มักป​ ระสบ​ปัญหา​ พยัญชนะ​กระเด้งบ​ ้าง​ ​ไม่​อ่าน​ฟ้อน​ต์​ภาษา​ไทย​บาง​ตัว​บ้าง​ ​จน​


11

ผูใ​้ ช้ห​ ลาย​คน​ตา่ ง​บน่ ก​ นั ว​ า่ ฟ​ อ้ น​ตไ​์ ทย​บน​เวทีโ​ ลก​มป​ี ญ ั หา​ตลอด​ กาล​ ​ ​ปัญหา​เหล่า​นี้​บั่นทอน​ต่อ​ผู้​ออกแบบ​อยู่​พอ​สมควร​ เพราะ​หาไม่​แล้ว​เรา​ก็​ไม่​สามารถ​จัดการ​กับ​หนังสือ​ของ​เรา​ ให้​ออก​มา​สมบูรณ์​ได้​ ​ซึ่ง​ก็​ต้อง​ยอมรับ​ว่า​ปัญหา​การ​ละเมิด​ ลิขสิทธิ์​ใน​ไทย​ ​ทำให้​ไม่​ค่อย​มี​ใคร​อยาก​จะ​ซัพพอร์ต​โปรแกรม​ เพื่อ​รองรับ​ภาษา​ไทย​ให้​เรา​นั่นเอง​ ​สุดท้าย​องค์กร​เอกชน​ก็​ต้อง​ เพิ่ง​ตนเอง​กัน​ต่อ​ไป​ ​หรือ​ถ้า​ต้องการ​ขจัด​ปัญหา​เรื่อง​เท​คนิค​ ซอห์ฟแวร์​ก็​ต้อง​ซื้อ​บริการ​เสริม​สำหรับ​การ​แก้ไข​ของ​โปรแกรม​ นั้น​​ๆ​ ​ ​กลับม​ า​ทก​ี่ าร​ออกแบบ​หนังสือ​ส​ งิ่ ท​ ต​ี่ อ้ ง​คำนึงป​ ระการ​ แรก​ก็​คือ​ ​เรา​จะ​เลือก​ฟ้อน​ต์​หรือ​ตัว​อักษร​ชนิด​ใด​เป็น​ตัว​เนื้อหา​​ โจทย์น​ เ​ี้ ป็นโ​ จทย์ท​ ไ​ี่ ม่ย​ าก​แ​ ต่ค​ น​ทำ​หนังสือม​ อื ใ​ หม่ม​ กั จ​ ะ​ตก​มา้ ​ ตาย​มา​นับ​ต่อ​นับ​​

​ ​เรา​จะ​รไ​ู้ ด้อ​ ย่างไร​วา่ ฟ​ อ้ น​ตท​์ เ​ี่ รา​เลือก​นนั้ ​1​ .​อ​ า่ น​งา่ ย​2​ ​ .​ประหยัด​เนื้อที่​​3​.ไ​ ม่​เป็น​ปัญหา​เมื่อต​ ้อง​ส่ง​โรง​พิมพ์​​ข้อแ​ รก​นั้น​ เรา​ต้อง​ศึกษา​หนังสือ​ตัวอย่าง​ที่​ขาย​ใน​ท้อง​ตลาด​หลาย​ ​ๆ​ ​เล่ม​ ข้อดี​ของ​ฟ้อน​ต์​ไทย​อย่าง​หนึ่ง​ก็​คือ​มี​ให้​เลือก​ไม่​มาก​นัก​ ​ฟ้อน​ต์​ ไทย​ทอี่​ ่าน​ง่าย​เมื่อ​ต้อง​พิมพ์ข​ ้อความ​ยาว​​ๆ​​จึง​มี​ตัวเ​ลือก​จำกัด​ ​ ​แต่​สิ่ง​ที่​ต้อง​คำนึง​ถึง​ก็​คือ​ตัว​อักษร​บาง​ตัว​เหมาะ​กับ​ ขนาด​บาง​ขนาด​เท่านั้น​ ​แม้​มัน​จะ​เป็น​ฟ้อน​ต์​ที่​อ่าน​ง่าย​ ​แต่​ถ้า​ ใช้​ผิดข​ นาด​มันก​ จ็​ ะ​ดู​ไม่​สวย​​ ​ ​อย่าง​เช่นฟ​ ้อน​ต์​ฮิตอ​ ย่าง​ ​Cordia​ ​หรือ​ ​ทอม​ไลต์​ ​นั้น​ จะ​มี​เส้น​ทบี่​ าง​ ​มัน​เหมาะ​กับ​ขนาด​ตั้งแต่​ ​12​-​16​ ​พ้อย​ ต์เ​ท่านั้น​ ถ้า​ใหญ่​กว่า​นี้​มัน​จะ​ดู​บาง​เกิน​ไป​ดู​แล้ว​ไม่มี​น้ำ​หนัก​ ​สำหรับ​ผม​ ฟ้อน​ต์​​Cordia​​มักจ​ ะ​เลือก​ใช้​อยู่​ที่​​14​-​15​​พ้อย​ ต์​เท่านั้น​​แม้แต่​ 16​พ​ ้อ​ยต์ม​ ัน​กด็​ ู​หลวม​​ๆ​​เกินง​ าม​ ​ ​ส่วน​ฟ้อน​ต์​ ​Angsana​ ​หรือ​ ​ฝรั่งเศส​ ​จะ​เป็น​ฟ้อน​ต์​ที่​


12

มี​เส้น​หนา​บาง​ใน​ตัว​ ​ดู​แล้ว​มี​น้ำ​หนัก​มั่นคง​ ​ฟ้อน​ต์​นี้​เหมาะ​แก่​ การ​เป็น​ฟ้อน​ต์​สำหรับ​อ่าน​ข้อความ​ยาว​ ​ๆ​ ​ที่​สำคัญ​คือ​มัน​อ่าน​ ได้​ง่าย​ทั้ง​ตัว​เล็ก​และ​ตัว​ใหญ่​ ​ถ้า​เรา​เลือก​ขนาด​ฟ้อน​ต์​ที่​เล็ก​ลง​​ มัน​จะ​กิน​เนื้อที่​กระดาษ​น้อย​กว่า​ ​เส้น​ที่​หนา​ทำให้​เรา​อ่าน​ได้​ อย่าง​ชัดเจน​ ​ ​ฟ้อน​ต์​สำหรับ​อ่าน​ตัว​อื่น​​ๆ​​ที่​นิยม​ใช้​ก็​คือ​​Browallria​​ ก็​นิยม​ไม่​แพ้​กัน​ ​ขึ้น​อยู่​กับ​ความ​ชอบ​ส่วน​ตัว​ ​อีก​อย่าง​ก็​คือ ​ฟ้อน​ต์​เหล่า​นี้​เรา​มัก​เห็น​จน​คุ้น​เคย​ตาม​เอกสาร​ต่าง​ ​ๆ​ ​อยู่​แล้ว​ เมื่อ​นำ​มา​จัด​ทำ​หนังสือ​จึง​ทำให้​คน​อ่าน​คุ้น​เคย​กับ​มัน​ได้​ง่าย​ กว่าฟ​ ้อน​ต์​อักษร​ประดิษฐ์​ ​ ​นอกจาก​การ​เลือก​ฟ้อน​ต์​แล้ว​สิ่ง​ที่​เป็น​กฎ​ที่​ละเมิด​ไม่​ ได้​ก็​คือ​ ​ความ​ห่าง​ระหว่าง​บรรทัด​ ​คือ​จุด​สำคัญ​ที่​ทำให้ห​ นังสือ​ ออก​มา​ดดู​ ี​สวย​​และ​อ่าน​ง่าย​​หนังสือ​บาง​เล่ม​เนื้อหา​น้อย​​ผู้​จัด​

มัก​แก้​ปัญหา​ด้วย​การ​ใช้​ฟ้อน​ต์​ใหญ่​ขึ้น​และ​จัด​บรรทัด​ห่าง​กัน​ มาก​จน​มอง​เห็น​พื้นที่​ว่าง​โหวง​ ​หรือ​หนังสือ​บาง​เล่ม​ ​ตัว​อักษร​ นอกจาก​เล็กแ​ ละ​เบียด​กนั แ​ ล้ว​บ​ รรทัดย​ งั ต​ ดิ ก​ นั จ​ น​อา่ น​แทบ​ไม่​ ออก​​หรือ​อ่าน​ได้​ครู่​เดียว​ก็​ตาลาย​​นอกจาก​บรรทัดแ​ ล้ว​​ช่องไฟ​ ระหว่าง​วรรค​ใน​แต่ละ​ประโยค​ก็​มี​ส่วน​ทำให้​หนังสือ​อ่าน​ยาก​ ด้วย​ ​ ​ผม​เคย​เห็น​สำนัก​พิมพ์​หนึ่ง​เว้น​วรรค​ประโยค​ห่าง​ กัน​ประมาณ​ห้า​เคาะ​ ​ทำให้​บรรทัด​หนึ่ง​มี​เพียง​ ​หนึ่ง​หรือ​สอง​ ประโยค​ ​และ​ตัว​อักษร​ห่าง​กัน​จน​อ่าน​ไม่รู้​เรื่อง​ ​หนังสือ​สำนัก​ พิมพ์น​ ผี้​ ม​มี​อยูส่​ อง​สาม​เล่ม​ ​และ​ไม่เ​คย​อ่าน​หนังสือข​ อง​เขา​จบ​ เลย​น​ ่าเ​สียดาย​


13

​ ​การ​จัด​หนังสือ​พ้อ​ค​เก็​ตบุ๊ค​เหมือน​เป็น​งาน​ที่​ง่ายดาย​​ แต่ค​ วาม​งา่ ย​นนั้ แ​ ฝง​เร้นไ​ ป​ดว้ ย​กบั ด​ กั ​ส​ ำหรับก​ าร​จดั อ​ าร์ตเ​พือ่ ​ พ็อค​เก็ต​ บุค๊ ​“​ น​ อ้ ย​แต่ม​ าก​”​ค​ อื ค​ าถา​ขอ้ แ​ รก​แ​ ละ​ขอ้ ส​ ดุ ท้าย​ทน​ี่ กั ​ ออกแบบ​หนังสือ​พึงท​ ่อง​จน​ขึ้นใจ​นั่นเอง d


14 14

Short Story text: จิรัฏฐ์ เฉลิมแสนยากร

ความ​หนัก​หน่วง​ที่​ยอม​ทน​ของ​ชีวิต​(​วัย​รุ่น​) ว​ ิไล​กำลังน​ ั่ง​เหม่อ​มอง​ออก​ไป​นอก​ห้องเรียน​​ ​เธอ​กำลัง​คิด​ว่า​เมื่อ​คืน​นี้​ที่​วิชัย​บอก​รัก​นั้น​มา​จาก​ใจ​หรือ​เพราะ​ เขา​เหงา​กันแ​ น่​​วิไล​สังเกต​ว่า​เพื่อน​หลาย​คน​เคย​โดน​แฟน​ตัวเ​อง​ สารภาพ​รัก​มา​แล้ว​แต่​ก็​ไม่​ได้​จริงจัง​ยั่งยืน​อะไร​เลย​สัก​คน​เดียว​​ ไป​จบ​กัน​ที่​หอพัก​ทุกค​ น​ไป ​​ ​วิไล​บอก​กับ​ตัว​เอง​อีก​ว่า​แต่​เรา​ยัง​ไม่​ได้​เสีย​กับ​วิชัย​สัก​หน่อย​​ ทำไม​วิชัย​ถึง​ได้​บอก​รัก​-​-​หรือ​ว่า​เขา​ต้องการ​จะ​มี​อะไร​กับ​ฉัน​กัน​ แน่​—​เขา​หวังห​ รือ​?​ ​ ​อีก​ยี่สิบ​นาที​จะ​เที่ยง​คืน​ ​วิชัย​นั่ง​อยู่​ที่​โซฟา​หนัง​เทียม​ใน​ร้าน​ อาหาร​กึ่ง​ผับ​กึ่ง​บาร์​ ​ใน​มือ​ถือ​แก้ว​เหล้า​ผสม​โซดา​ซึ่ง​น้ำ​แข็ง​ หลาย​ก้อน​ได้​ละลาย​จน​เหล้า​เจือ​จาง​ลง​ไป​แล้ว​เนื่องจาก​เขา​นั่ง​ เหม่อ​มอง​ออก​ไป​นอก​ร้าน​ที่​มี​ผู้คน​พลุกพล่าน​ ​เขา​กำลัง​คิด​ว่า​ คำ​สารภาพ​รัก​ที่​บอก​รัก​วิไล​ไป​เมื่อ​คืน​เป็น​เพราะ​สาเหตุ​ใด​กัน​ แน่​—​เรา​ต้องการ​นอน​กับ​เธอ​หรือ​ว่า​เรา​รัก​เธอ​จริงๆ​


15 15

​ ​ภาพ​หยุด​ไว้แ​ ค่​นั้น​ ​นี่​ไม่ใช่​มิวสิค​วิดิ​โอ​ตัว​ใหม่​ของ​นัก​ร้อง​ดัง​ค่าย​ไหน​หาก​เป็น​ภาพ​ของ​หนุ่ม​ สาว​วัยร​ ุ่น​คู่​หนึ่ง​ที่​กำลัง​สับสน​กับ​เรื่อง​ความ​รัก​​ ​ จ​ ะ​เรียก​วา่ ค​ วาม​รกั ไ​ ด้ห​ รือไ​ ม่น​ นั้ ไ​ ม่ส​ ำคัญ​ส​ ำคัญแ​ ต่ค​ ำ​วา่ ​“​ ค​ วาม​รกั ”​ ​ไ​ ด้​ เป็นอ​ าการ​ถึง​ขั้นห​ มกมุ่น​ของ​วัย​นี้​มากกว่า​เรื่อง​อื่น​ บ​ าง​คน​หมกมุน่ ถ​ งึ ข​ นั้ ไ​ ด้ป​ รัชญา​ประจำ​ตวั อ​ อก​มา​เสมอ​และ​ใน​สมัยน​ อ​ี้ นิ ​ เต​อร์เน็ทเ​ป็นส​ อื่ ท​ ใ​ี่ ช้ง​ า่ ย​เ​ข้าถ​ งึ ง​ า่ ย​แ​ ละ​รวดเร็ว​จ​ น​หลาย​คน​เข้าไป​เขียน​ ระบาย​ปรัชญา​ความ​รกั ข​ อง​ตวั เ​อง​เอา​ไว้เ​ผือ่ แ​ ผ่เ​พือ่ นๆ​เพือ่ เ​ป็นอ​ ทุ าหรณ์​ สอน​ใจ​ไว้ม​ ากมาย​บ​ าง​เรือ่ ง​ซำ้ ซาก​บาง​เรือ่ ง​ซำ้ ส​ อง​บ​ าง​เรือ่ ง​มค​ี วาม​เป็น​ นามธรรม​สูง​กว่า​ปรัชญา​ของ​นิชเช่​เสีย​อีก​ ​และ​บาง​เรื่อง​ก็​ตรง​ไป​ตรง​มา​ และ​ง่ายดาย​ ​บาง​เรื่อง​มี​การ​เปรียบ​เปรย​เพื่อ​ให้​เห็น​ภาพ​และ​ความ​รู้สึก​ เช่น​ ​ต้นไม้​แห่ง​ความ​รัก​-​-​ต้นไม้​ที่​เรา​กำลัง​ปลูก​เหมือน​ไม่มี​อะไร​เติบโต​ ไม่​งอกงาม​ ​ไม่​ออกดอก​ ​ไม่​ติด​ผล​ทั้ง​ที่​ค่อย​พรวน​ดิน​ ​รดน้ำ​ ​พูด​คุย​และ​ เปิด​เพลง​ให้​ฟัง​ตอน​นี้​เรา​เริ่ม​เหนื่อย​ที่​จะ​ทำ​ ​ทั้ง​ที่​เป็น​สิ่ง​ที่​เรา​ตั้งใจ​ทำ​​ เป็นส​ ิ่ง​ที่​เรา​อยาก​ทำ​ ​เรา​ดิ้นรน​ไป​เอง​ ​เรา​ทรมาน​ตัวเ​รา​เอง​ ​เป็นต้น(​ ​เป็น​ ต้น​จริงๆ​)​​ ​ ​อะ​แฮ่​ม​.​.​.​ผม​ก็​เคย​มี​ความ​รัก​ใน​วัย​เรียน​มา​เหมือน​กัน​ ​จึง​เห็น​ว่า​เรื่อง​รักๆ​ ใคร่ๆ​ใน​วัย​รุ่น​นั้น​เป็น​เรื่อง​ที่​ส่ง​ผล​ต่อ​การ​ดำเนิน​ชีวิต​ไม่​น้อย​ไป​กว่า​เรื่อง​อื่น​ เลย​ ​​ ​จาก​นิตยสาร​ ​New​ ​Scientist​ ​ฉบับ​หนึ่ง​ได้​เขียน​ถึง​เรื่อง​ความ​รัก​เอา​ ไว้​ใน​เชิง​วิทยาศาสตร์​ว่า​ ​ความ​รัก​เกิด​ขึ้น​จาก​สาร​เคมี​ใน​ร่างกาย​ ​ที่​ถูก​ ผลิต​ออก​มา​จาก​สมอง​ส่วน​หน้า ​เมื่อ​หนุ่ม​สาว​ได้​ถูกใจ​กัน​ฮอร์โมน​ตัว​นี้​ (​Oxytocin​)​ ​เป็น​ฮอร์โมน​ชนิด​เดียวกัน​กับ​ฮอร์โมน​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​มารดา​ที่​เพิ่ง​ ให้​กำเนิด​บุตร​ใหม่ๆ​ ​โดย​ทำให้​แม่​หลง​รัก​และ​หวงแหน​ลูก​ ​ใน​การ​ทดลอง​ ใช้​คำ​ว่า​​ลุ่ม​หลง​(​ ​Addicted​)​ ​


16 16

เ​หตุท​ ใ​ี่ ช้ค​ ำ​นก​ี้ เ​็ นือ่ ง​มา​จาก​การ​สงั เกต​กระบวนการ​ทำงาน​ของ​ฮอร์โมน​ ภายใน​ร่างกาย​และ​พฤติกรรม​ที่​แสดงออก​มา​นั้น​ไม่​ต่าง​ไป​จาก​ผู้​ติด​ ยา​เสพย์​ติด​ประเภท​โคเคน​หรือ​เฮโรอีน​เลย​ ​ ​อย่างไร​ก็ตาม​การ​มอง​ความ​รัก​ใน​แง่​วิทยาศาสตร์​อย่าง​เดียว​อาจ​ ทำให้​ก้อน​สำลี​ที่​อ่อน​นุ่ม​กลาย​เป็น​ก้อน​หิน​ที่​แข็ง​กระด้าง​ได้​ ​เพราะ​ สายใย​ความ​ผูกพัน​ระหว่าง​แม่​ลูก​เป็น​เรื่อง​ละเอียด​อ่อน​และ​ลึก​ซึ้ง​ กว่าส​ ายตา​มาก​นัก​ ​ ​ที่​ผม​อ้าง​ถึง​ข้อมูล​นี้​กเ็​พื่อ​แสดง​ให้​เห็น​ว่า​​ฮอร์โมน​ตัวเ​ดียวกัน​นี้​มี​การ​ หลั่ง​ออก​มา​อย่าง​ไม่​หยุด​ยั้งใ​ น​วัย​รุ่น​ ​ ​ฟร็​องซัวส์​ ​โม​ริยัค​บอก​ว่า​ความ​รัก​ทำให้​คน​ตาบอด​นั้น​ก็​เป็น​ความ​ จริง​​เพราะ​เมื่อ​ใด​ทฮี่​ อร์โมน​ตัว​นหี้​ ลั่ง​ออก​มา​แล้ว​​จะ​ทำให้​สมอง​ส่วน​ ที่​เรียก​ว่า​เหตุผล​นั้น​ถูก​ปิดตาย​ ​แต่​จะ​สั่ง​การ​ไป​ที่​เรื่อง​รัก​โร​แมน​ติก​ อย่าง​เดียว​​ ​ เ​มือ่ ฮ​ อร์โมน​หลัง่ อ​ อก​มา​มาก​ใน​วยั ท​ เ​ี่ หตุแ​ ละ​ผล​ยงั ม​ น​ี อ้ ย​จ​ งึ ท​ ำให้ว​ ไิ ล​ และ​วชิ ยั เ​กิดอ​ าการ​สบั สน​เป็นธ​ รรมดา​(แ​ ต่เ​รือ่ ง​รกั เ​ป็นเ​รือ่ ง​ของ​เหตุผล​ หรือ​?— ​ ​เอ๊ะ​น​ ี่​เรา​โร​แมน​ติก​ไป​หรือ​เปล่า​?​)​ ​


17 17

ว​ ิไล​กับ​วิชัย​กำลัง​กระวนกระวาย​กับ​อาการ​(​ที่​ทั้ง​สอง​สมมุตมิ​ ัน​ขึ้น​ว่าค​ วาม​)​รัก​​ ​อารมณ์​ของ​วัย​รุ่น​นั้น​มี​ความ​สุด​โต่ง​อย่าง​สูง​ ​ถ้า​หากว่าป​ ักใจ​กับ​เรื่อง​ใด​เรื่อง​หนึ่ง​แล้ว​จะ​ แน่วแ​ น่แ​ ละ​มงุ่ ม​ นั่ อ​ ย่าง​ไม่บ​ นั ยะบันยังไ​ ม่ฟ​ งั เ​สียง​แห่งค​ วาม​วติ ก​กงั วล​จาก​คน​รอบ​ตวั ใ​ ดๆ​ ทั้ง​สิ้น​​เป็น​อารมณ์​ที่​ถ้า​หาก​ใช้​ไป​ใน​ทาง​ที่​เป็นป​ ระโยชน์​ก็​จะ​ส่ง​เสริมก​ ้าวหน้า​​แต่​หาก​ใช้​ ไป​ใน​ทาง​ผิด​แล้ว​ก็​วิ่ง​วน​อยูใ่​ น​ความ​มืดมัว​​ แ​ ต่ก​ ย​็ งั ม​ ว​ี ยั ร​ นุ่ ห​ ลาย​คน​ทเ​ี่ อือ่ ย​เฉือ่ ย​เพราะ​ยงั พ​ ะว้าพะวังก​ บั ก​ าร​หา​สงิ่ ท​ เ​ี่ หมาะ​สม​กบั ต​ วั ​ เอง​อยู่​ ​​ น​ อกจาก​ฮอร์โมน​แล้ว​ค​ วาม​รกั ใ​ น​วยั ร​ นุ่ ย​ งั ถ​ กู ก​ ระตุน้ จ​ า​กมิวส​ ก​ิ ว​ ดิ โ​ิ อ​จ​ าก​เพลง​จ​ าก​เพือ่ น​​ จาก​อิน​เต​อร์เน็ท​​และ​อีก​หลาย​ช่อง​ทาง​​ ​บาง​คน​สดใส​ซาบซึ้ง​กับ​ความ​รัก​ ​บาง​คน​ระทม​ขมขื่น​ ​บาง​คน​รัก​เขา​ข้าง​เดียว​ ​บาง​คน​รัก​ เขา​หลาย​คน​​บาง​คน​มี​เขา​กย็​ ัง​รัก​ฯ​ ลฯ​​ ​ ท​ กุ ร​ ปู แ​ บบ​ทเ​ี่ กิดข​ นึ้ น​ นั้ ก​ ด​็ ว้ ย​ความ​ยนิ ยอม​พร้อมใจ​ย​ งิ่ ส​ มัยน​ เ​ี้ ท​รนด์อ​ าการ​อกหักม​ า​พร้อม​ กับค​ วาม​ดำ​มดื ก​ ำลังม​ า​แรง​ใ​ คร​ไม่เ​คย​อกหักห​ รืออ​ กหักแ​ ล้วท​ ำใจ​ได้เ​ร็วถ​ อื ว่าไ​ ม่เ​ข้าถ​ งึ ซ​ งึ่ ​ จิต​วิญญาณ​ของ​ความ​รัก​ ​

จ​ ะ​วา่ แ​ ต่เ​รือ่ ง​รกั ใ​ น​วยั ร​ นุ่ อ​ ย่าง​เดียว​กไ​็ ม่ค​ รอบคลุมน​ กั ​เ​พราะ​ความ​รกั ​ นั้น​ไม่เ​ข้าใ​ คร​ออก​ใคร​​เข้าไป​ออก​มา​ได้​ทุก​เพศ​ทุก​วัย​​เป็นเ​รื่อง​ที่​เขียน​ ได้ท​ กุ ย​ คุ ท​ กุ ส​ มัย​ไ​ ม่ว​ า่ เ​ขียน​ซำ้ เ​ขียน​ซาก​กนั อ​ ย่างไร​ค​ วาม​รกั ก​ ย​็ งั ด​ ส​ู ด​ ใหม่​รอ​การ​เขียน​ถึง​ของ​คน​รุ่น​ต่อ​ไป​และ​ต่อ​ไป​ ​แต่​ที่​สำคัญ​ที่สุดใ​ น​ตอน​นกี้​ ็​คือ​ขอ​ให้​คน​ไทย​รัก​กัน​มากๆ​นะ​ครับ​d


18

Nostalgia text&image: “​ โ​ น​ลี​โอ​”

วาน​นี้​.​.​.ที่​คิดถึง​ “​เช้าน​ ี้​​ฟ้า​เป็น​สี​ฟ้า​ ​ท้อง​น้ำ​สี​ขาว​ขุ่น​.​.​.​เช่น​เคย​ ​ลม​โชย​อ่อน​เย็น​ ​อยาก​เห็น​ตัว​ปลา​.​.​.​อีก​ครั้ง​”​

​ ​นาน​แค่​ไหน​แล้วน​ ะ​​ที่​ฉัน​ไม่​ได้​ทำ​แบบ​นี้​​สูด​ลม​หายใจ​เข้าล​ ึก ๆ​​ แล้วค​ ่อย ๆ​ ​ผ่อน​ลม​หายใจ​ออก​ยาว ๆ​ ​นั่งน​ ิ่ง ๆ​ ​แล้ว​หย่อน​เท้า​ ทีย​่ ำ่ เ​ดินต​ รากตรำ​ไป​ทวั่ ท​ กุ หน​ทกุ แ​ ห่ง​ล​ ง​แช่ใ​ น​ผนื น​ ำ้ ผ​ นื เ​ดิม​ท​ ​ี่ ฉันเ​อง​ได้​ทอด​ทิ้ง​ผืน​น้ำ​นี้​ไป​นาน​พอควร​ ​ เสียง​จอ๋ ม​ แ​ จ๋ม​ ย​ าม​ทแ​ี่ กว่งเ​ท้าไ​ ป​มา​เบา ๆ​ท​ ำให้ไ​ ม่ล​ มื ​ ที่​จะ​แหงน​หน้า​มอง​ดู​ท้องฟ้า​​.​.​.​ใช่​สิ​.​.​.​​ฟ้า​ยัง​คง​เป็น​สี​ฟ้า​ ​ฟ้า​จะ​ เปลี่ยน​สี​เป็น​สอี​ ื่น​ไป​ได้​อย่างไร​​ปุย​เมฆ​สี​ขาว​ขุ่น​​นอน​ลอย​เรียง​ ตัว​ไป​มา​ใน​ท่วงท่า​ต่าง ๆ​ ​ตาม​แต่​ใจ​ปรารถนา​อยาก​จะ​ให้​เป็น​ ฉันย​ มิ้ ใ​ ห้ท​ อ้ งฟ้าเ​บือ้ ง​บน​ฉ​ นั ย​ มิ้ ใ​ ห้ผ​ นื น​ ำ้ เ​บือ้ ง​หน้า​ฉ​ นั ม​ อง​เห็น​ ตัวป​ ลา​แหวก​วา่ ย​เวียน​วน​รอบๆ​เ​ท้าข​ อง​ฉนั ท​ แ​ี่ ช่น​ ำ้ จ​ น​เปือ่ ย​ซดี ​ อืม​.​..​​ปลาต​อด​ตุ้บๆ​​ที่​ปลาย​หัวน​ ิ้ว​โป้ง​เท้า​​เปลี่ยน​นิ้ว​​เปลี่ยน​ไป​​ เปลีย่ น​มา​อ​ า้ ว​..​.​น​ นั่ ง​ ก​ู นิ ป​ ลา​ม​ นั ม​ งุ่ ห​ น้าม​ า​ทางเท้าข​ อง​ฉนั ท​ แ​ี่ ช่​ น้ำอ​ ยู​่ ฉ​ นั ร​ ทู้ นั ค​ วาม​คดิ เ​จ้าง​ ต​ู วั ส​ นั้ ​ส​ ด​ี ำ​มนั ว​ าว​ตวั น​ นั้ ​เ​พราะ​มนั ​ เคย​มา​พัวพัน​รอบ​ขา​ของ​ฉันเ​มื่อ​วันว​ าน​

​ ​“​เฮ้ย​ ​เดี๋ยว​กนู​ ับ​ ​หนึ่ง​ถึงส​ ิบ​ ​แล้ว​พวก​มึง​หา​ทซี่​ ่อน​นะ​​ เลือก​เอาเลย​​มึง​จะ​เอา​เสา​ต้นไ​ หน​ ​หรือม​ ึง​จะ​เกาะ​ไป​กับผ​ ักต​ บ​ กอ​ไหน​กไ็ ด้​แ​ ต่ห​ า้ ม​ออก​ไป​ไกล​เกินใ​ ต้ถนุ บ​ า้ น​ยาย​เนียน​นะ​โว้ย​ กู​ขเี้​กียจ​ว่าย​น้ำตา​มหา​พวก​มึง​”​​ ​​ ​นัน่ ม​ นั เ​ป็นก​ ฎ​กติกา​ตาม​ประ​สา​เด็ก ๆ​ใ​ น​หมูผ​่ อง​เพือ่ น​ วัยเ​ดียวกันแ​ ละ​วัย​โตก​ว่า​ระหว่าง​ฉัน​ ​เพื่อน ๆ​ ​พี่ ๆ​ ​ ​และ​เพื่อน ​พชี่​ าย​​ที่​มักจ​ ะ​รวม​ตัวก​ ัน​กระโดด​น้ำ​เมื่อ​สบ​โอกาส​หรือ​แอบ​หนี​ บร​รดา​แม่ ๆ​ ​ของ​พวก​เรา​มา​เล่น​น้ำ​ตาม​ใต้ถุน​บ้าน​หรือ​ท่าน้ำ​ บ้าน​ใด​บ้าน​หนึ่ง​​​​​​ ​ ​หนึง่ ใ​ น​กจิ กรรม​ยอด​ฮติ ข​ อง​พวก​เรา​ชาว​ทโมน​ซ​ งึ่ เ​ป็น​ ฉายา​ที่​บร​รดา​แม่ ๆ​ ​อีก​นั่น​แหละ​แต่ง​ตั้ง​ให้​ก็​คือ​ ​การ​เล่น​ซ่อน​ แอบ​ใน​น้ำ​ ​แข่ง​กัน​ว่าย​น้ำ​ข้าม​คลอง​ ​หรือ​เล่น​ต่อสู้​กัน​โดย​แบ่ง​ เป็นฝ​ า่ ย​ธรรมะ​และ​ฝา่ ย​อธรรม​ทจ​ี่ ะ​กระโดด​เตะ​ก​ ระโดด​ถบี ก​ นั ​ จน​นำ้ ก​ ระจาย​แ​ ละ​ตาม​มา​ดว้ ย​เสียง​หวั เราะ​ชอบใจ​ของ​ฝา่ ย​ตรง​ ข้าม​กึกก้อง​ลั่น​คลอง​​​​ฉัน​จำ​ได้​ว่า​​ฉัน​ตัวเ​ล็ก​สุดแ​ ละ​มัก​จะ​โด​น พี่ ๆ​​ตัวโ​ ต ๆ​​จับ​กด​น้ำ​อยูร่​ ่ำไป​เพราะ​หนี​ไป​เคย​พ้นใ​ คร​สักท​ ี​​ ​ ​และ​บ่อย​ครั้ง​ทเี่​ดียว​​ที่​หนึ่ง​หรือ​สอง​ใน​บรรดา​สมาชิก​ ทีม​ทโมน​ ​เล่น​ซ่อน​แอบ​แล้ว​ชอบ​ไป​เกาะ​หรือ​ดำ​น้ำ​ไป​โผล่​ใต้​ กอ​ผัก​ตบ​ชวา​ ​จะ​มี​ปลิง​ตัว​เล็ก​เกาะ​ติด​หู​ ​ติด​หลัง​ ​หรือ​มี​อุน​จิ​


19

(​อุจจาระ​) ​ของ​ใคร​ก็​ไม่รู้​ติด​แหมะ​อยู่​บน​หัว​ส่ง​กลิ่น​และ​เรียก​ เสียง​ฮา​ให้ห​ วั เราะ​กนั ท​ อ้ ง​แข็ง​แ​ ละ​เก็บไ​ ป​เป็นป​ ระเด็นใ​ ห้ล​ อ้ ก​ นั ​ ทั่วค​ ุ้งน​ ้ำใ​ ห้ไ​ ด้ฮ​ า​และ​ได้อ​ าย​กันเ​ป็นเ​ดือน ๆ​​แม้ก​ ระนั้นก​ ไ็​ ม่เ​คย​ มี​ใคร​ใน​กลุ่ม​พวก​เรา​เข็ด​ขยาด​กับ​การ​เล่น​ซ่อน​แอบ​ใน​น้ำ​เลย​​ ​ ​“​แม่​งงง​ ​ดู​มัน​ดิ​ ​ซวย​ชิบเ​ป๋ง​ ​เล่น​ซ่อน​แอบ​ใน​น้ำ​กัน​ที​ ไร​ ​ไอ้​โต​กะ​ไอ้​หนุ่ม​มัน​ต้อง​ได้​ขี้​ติด​หัว​มา​ทุกที​”​ ​ว่า​แล้ว​เรา​ก็​ฮา​ กันค​ รืน​ส​ ว่ น​เจ้าต​ วั ก​ ไ็ ด้แ​ ต่อ​ าย​มว้ น​และ​ทำ​ฮา​กลบ​เกลือ่ น​ความ​ ซวย​ของ​ตัว​เอง​​ ​ ถึงต​ วั ฉ​ นั จ​ ะ​เล็ก​ถ​ งึ ฉ​ นั จ​ ะ​เป็นน​ อ้ ง​นชุ ส​ ดุ ท​ อ้ ง​ถ​ งึ ฉ​ นั จ​ ะ​ เป็น​ผู้​หญิง​ ​แต่​ฉัน​ก็​ไม่​เคย​ได้​รับ​การ​ทะนุถนอม​เยี่ยง​เด็ก​หญิง​ คน​หนึ่ง​ที่​พึง​จะ​ได้​รับ​จาก​หนุ่ม​น้อยห​นุ่ม​ใหญ่​ใน​ละแวก​บ้าน​ เลย​ ​ตรง​กัน​ข้าม​ ​ฉัน​คบ​เพื่อน​ตัว​โต​ ​ฉัน​มี​พี่​ชาย​มากมาย​ตั้ง​ห้า​ หก​คน​ ​ฉัน​มี​เพื่อน​พี่​ชาย​อีก​นับ​สิบ​ ​ฉัน​ไป​ไหน​มา​ไหน​กับ​เพื่อน​ ผู้ชาย​อย่าง​ไม่​เคอะเขิน​ ​และ​ก็​ไม่รู้​เป็น​โชค​ดี​หรือ​โชค​ร้าย​ที่​ไอ้​ เพื่อน ๆ​เ​หล่า​นั้น​มัน​ก็​ไม่​เคย​คิด​เลย​ว่า​ฉัน​เป็น​เด็ก​ผู้​หญิง​ ​ ​บางที​การ​ที่​อยู่​ใน​แวดล้อม​ของ​เด็ก​ชาย​และ​พี่​ชา​ย มากๆ​​เข้า​​ก็​ทำให้ฉ​ ันซ​ ึมซับพ​ ฤติกรรม​และ​ความ​ห่าม​บาง​อย่าง​ ติดตัว​มา​ด้วย​​แต่​คง​มี​อยู่​อย่าง​เดียว​ที่​ทำให้ฉ​ ัน​รู้สึก​ว่า​​ฉัน​ยัง​คง​ เป็นผ​ ห​ู้ ญิงอ​ ยู​่ น​ นั่ ค​ อื ​ฉ​ นั ไ​ ม่ส​ ามารถ​แก้ผ​ า้ โ​ ทง ๆ​โ​ ดด​นำ้ ต​ มู ตาม​ อย่าง​ที่​สมาชิก​ใน​กลุ่ม​มัน​ทำ​กัน​​ฉัน​ยังต​ ้อง​นุ่ง​กางเกง​ขา​สั้น​​ยัง​ ต้อง​ใส่​เสื้อผ้าแ​ ล้ว​จึง​โดด​น้ำ​ตามพ​วก​มัน​ทุกที​​ ​ ​“​ขึ้น​จาก​น้ำ​ซะ​ที​นึง​เห๊อะ​​แม่คุณ​เอ๊ย​​ซีดห​ มด​แล้ว​”​ ​“​เฮ้ย​!​​ลง​มา​จาก​ต้น​มะม่วง​ได้​แล้ว​โว้ย​​เย็น​แล้ว​”​ ​“​ดู​มัน​สิ​​ให้​เรียก​อยู่​ได้​​ปาก​จะ​ฉีก​ถึง​หู​​มัน​เชื่อ​ที่ไหน​​ โน่น​มัน​ว่าย​น้ำ​ข้าม​ไป​ฝั่งโ​ น้นแ​ ล้ว​”​ ​ “​ดู​ซิ​​วัน ๆ​​นึง​​เล่น​แต่​น้ำ​​ตัว​ดำ​เป็นเ​ห​นี่​ยง​เลย​​กู​อยาก​ จะ​รู้​นัก​ว่าเ​มื่อ​ไหร่​พวก​มึง​จะ​เลิก​เล่น​น้ำ​กัน​เสียที​”​ ​ ​เสียง​ด่า​ของ​แม่​​รส​ไม้​เรียว​ของ​ยาย​​และ​ฝ่ามือ​พิฆาต​ ของ​พ่อ​ ​ยัง​ประทับ​อยู่​ที่​ตูด​ที่​ก้น​ ​และ​ใน​หัวใจ​ไม่​ตก​ไม่​หล่น​เลย​ ที​เดียว​ ​นาน​แล้ว​ที่​ฉัน​ห่าง​หาย​ไป​จาก​ความ​รู้สึก​แบบ​นั้น​ ​ ​นาน​ จน​เพื่อน​บาง​คน​ล้ม​หาย​ตาย​จาก​ ​บาง​คน​มี​ลูก​โต​เข้า​โรงเรียน​​ บาง​คน​แต่งงาน​แล้ว​สอง​สาม​รอบ​ ​บาง​คน​จำ​ได้​ยัง​ทักทาย​พูด​ คุย​เรื่อง​ใน​อดีต​และ​ถาม​ถึง​ชีวิต​ปัจจุบัน​รวม​ถึง​อนาคต​ ​แต่​บาง​ คน​แปลก​จัง​​เดิน​สวน​กัน​หน้า​ยัง​ไม่​มอง​​​ ​เสียง​โดด​นำ้ ต​ มู ตาม​ข​ โ​ี้ คลน​ทข​ี่ น้ ค​ ลัก่ ​ห​ รือเ​สียง​หวั เราะ​

ทีเ​่ ซ็งแ​ ซ่ล​ นั่ ค​ ลอง​ม​ นั บ​ อก​ถงึ ช​ ว่ ง​ชวี ติ ท​ ม​ี่ แ​ี ต่ค​ วาม​สขุ ​ส​ นุกสนาน​​ ที่​ไม่มวี​ ัน​หา​ได้​อีกใ​ น​ปัจจุบัน​ ​ครั้งใ​ ด​ทเี่​ห็น​เด็ก ๆ​ ​สมัยน​ โี้​ ดด​น้ำ​ มัน​เหมือน​มี​ภาพ​ทับ​ซ้อน​เข้า​มา​ใน​ห้วง​ความ​คิดว​ ่า​ครั้งห​ นึ่ง​​ฉัน​ ก็เ​คย​ทำ​แบบ​นี้​เหมือน​กัน​​ ​​ แต่​ครั้ง​นั้น​ ​ไม่​เหมือน​ครั้ง​นี้​ที่​ไม่มี​เรือ​พาย​ของ​แม่ค้า​ ขาย​ขนม​หวาน​ห​ รือข​ าย​กบั ข้าว​ไ​ ม่มแ​ี ม่คา้ ข​ าย​กว๋ ยเตีย๋ ว​เรือเ​จ้า​ ประจำ​ที่​พวก​ฉัน​มัก​แสร้ง​ทำ​เป็น​ว่าย​น้ำ​มุ่ง​หน้า​เข้าหา​เรือ​โดย​ มี​ข้อ​แลก​เปลี่ยน​กับ​แม่ค้า​ว่า​จะ​ได้​กิน​ฟรี​เพื่อ​ที่​จะ​ไม่​โดน​ล่ม​เรือ​ ไม่มี​เรือ​หางยาว​แล่น​ผ่าน​ให้​ได้​ว่าย​น้ำ​ออก​ไป​โต้​คลื่น​ก้อน​โตๆ​​ อย่าง​ไม่​เกรง​กลัว​ ​ไม่มแี​ ม้​เด็กต​ ัวด​ ำ ๆ​ ​เขียว ๆ​ ​ทลี่​ อยคอ​อยูใ่​ น​ น้ำ​พร้อม​กะละมังใ​ ส่​เสื้อผ้าใ​ บ​โต​ ​ลอย​ไป​ท่าน้ำ​บ้าน​ข้าง ๆ​ ​เพื่อ​ ไป​ซักผ​ ้าท​ ี่​ท่าน้ำ​บ้าน​เขา​ ​ถึง​แม้​คลอง​และ​ผืน​น้ำ​ผืน​เดิม​วัน​นี้​จะ​ดู​เงียบ​สงบ​ลง​ กว่า​แต่​ก่อน​ ​แต่​ก็​มี​สะพาน​ปูน​ที่ทาง​การ​มาส​ร้าง​ไว้​เลียบ​เลาะ​ ชาย​คลอง​ไป​ตลอด​ความ​ยาว​จนถึง​หน้า​วัด​ประจำ​ชุมชน​ ​เรือ​ พาย​ค่อย ๆ​ ​หาย​ไป​ ​กลุ่ม​ลิง​ทโมน​ที่​หนี​พ่อ​หนี​แม่​มา​โดด​น้ำ​ก็​ หาย​ไป​​มี​แต่​เด็ก ๆ​​ทขี่​ ี่​รถ​มอ​เต​อร์​ไซด์​แล่น​ไป​มา​อยู่​บน​สะพาน​ ปูน​หน้า​บ้าน​อย่าง​ชำนิ​ชำนาญ​กับ​ความ​แคบ​เล็ก​ของ​สะพาน​ ปูน​​ ​ ความ​เ หมื อ น​ที่ ​แ ตก​ต่ า ง​ร ะหว่ า ง​เ มื่ อ​ว าน​กั บ ​วั น​นี้ ​ ค่อย ๆ​​คลาย​ตัวอ​ อก​ทลี​ ะ​น้อย​​บาง​อย่าง​ขาด​หาย​ไป​​บาง​อย่าง​ เพิ่ม​เติม​เข้า​มา​แทนที่​​และ​มี​อีก​ไม่น​ ้อย​ที่​ตกๆ​​หล่น ๆ​​ฉันไ​ ม่รวู้​ ่า​ เพื่อน ๆ​ ​พี่ ๆ​ ​ที่​ยัง​เหลือ​อยู่​จะ​มี​รูป​แบบ​ชีวิต​ที่​เปลี่ยนแปลง​ไป​​ จะ​ยุ่ง​วุ่นวาย​มาก​ขนาด​ไหน​ ​จะ​ยัง​พอ​มี​เวลา​ให้​คิด​ย้อน​ไป​ใน​ วาน​วัน​เช่น​เดียว​กับ​ฉัน​บ้าง​หรือ​เปล่า​ ​ฉัน​รู้​เพียง​ว่า​ ​ตอน​นี้​ ​เท้า​ ที่​แช่​น้ำ​อยู่​เริ่ม​จะ​ซีด​ขาว​ ​ปลา​ซิว​ปลา​สร้อย​รุม​ตอด​นิ้ว​เท้า​กัน​ ตุ้บตั้บ​ ​พร้อม​กาล​เวลา​ที่​หมุนเวียน​ ​พร้อม​ประสบการณ์​ที่​เพิ่ม​ ขึ้น​ ​พร้อม​ช่วง​ชีวิต​ที่​เลื่อน​ผ่าน​ทั้ง​ดี​และ​ไม่​ดี​ให้​ได้​จดจำ​ ​คำนึง​ ถึง​เ​ก็บ​เกี่ยว​และ​ไขว่​คว้า​​ ​ หาก​ยัง​พอ​มี​หนทาง​ให้​สามารถ​ย้อน​วัน​เวลา​ได้​ ​ฉัน​ คง​อยาก​กลับ​ไป​โดด​น้ำ​ให้​ชุ่ม​ปอด​และ​เล่น​ซ่อน​แอบ​จาก​ใคร​ หลาย ๆ​ค​ น​อยูใ​่ น​นำ้ น​ นั้ อ​ กี ส​ กั ค​ รัง้ ​ห​ าก​แต่ค​ รัง้ น​ ฉ​ี้ นั ค​ ง​ไม่ห​ นีแ​ ม่​ ไป​เล่นน​ ำ้ อ​ ย่าง​แต่ก​ อ่ น​แ​ ต่ฉ​ นั จ​ ะ​ขอ​แม่ไ​ ป​เล่นน​ ำ้ ด​ ี ๆ​แ​ ละ​ขอ​อยู​่ ใน​น้ำ​นั้น​นาน​เท่า​นาน​…​d


20

Short Story text: แก้มห​ อม

ค่ำ​วัน​ศุกร์​นั้น​..​.​ที่​ฉัน​ใกล้​เธอ​ ๑​ ​ ​มี​แวบ​หนึ่ง​ที่​เรา​สอง​คน​สบตา​กัน​ ​ ​ ​ผม​เห็น​ความ​อบอุ่น​อยู่​ใน​ ดวงตา​นั้น​​​​ความ​อบอุ่น​ที่​โอบ​อุ้ม​จิตว​ ิญญาณ​ของ​ผม​​​​ผม​รัก​ เธอ​ ​ ​รักอ​ ย่าง​บริสุทธิ์​ใจ​ ​ ​รัก​อย่าง​ถวาย​ชีวิต​ ​ ​รัก​อย่าง​ที่​ไม่​เคย​ รัก​ใคร​มา​ก่อน​​​​ ​อากาศ​เย็น​ลง​ทุกที​ ​ ​ควัน​ไฟ​ลอย​อ้อยอิ่ง​เป็น​สาย​มา​ จาก​บ้าน​เรือน​ของ​ชาว​บ้าน​​ ​ ​เธอ​ดู​โทรทัศน์​​​ข่าว​ภาค​ค่ำ​​​ตา​ผม​จับจ​ ้อง​ตาม​เธอ​ไป​ ด้วย​​​แต่​ใจ​ของ​ผม​เตลิด​ไป​ไกล​เกิน​จะ​กู่​กลับ​​​​(​ความ​จริง​จะ​ว่า​ ไป​แล้ว​​​มัน​ก็​ไม่​ได้​ไป​ไกล​ที่ไหน​หรอก​​​ใจ​ของ​ผม​มัน​ไป​อยู่​ใกล้​ เธอ​มากกว่า​)​ ​ ​ที่​นี่​มี​เพียง​เรา​สอง​คน​ ​ ​ ​ทั้ง​โรงเรียน​มี​เรา​อยู่​เพียง​สอง​ คน​​ว​ นั ศ​ กุ ร์ท​ ท​ี่ กุ ค​ น​ตา่ ง​พา​กนั ก​ ลับบ​ า้ น​กนั ห​ มด​แล้ว​​​ม​ แ​ี ต่ค​ วาม​ เงียบ​​​​ผม​เอ่ย​ถาม​เธอ​ว่าห​ ิว​ข้าว​หรือ​ยัง​​​เธอ​ตอบ​ว่า​ยัง​​​ตอน​นี้​ อยาก​ทำงาน​ให้​มัน​เสร็จ​ก่อน​​​เธอ​ว่า​ทุกที​เธอ​ทาน​ข้าว​หลัง​สอง​ ทุ่ม​เป็น​ประจำ​จน​ชิน​ ​ ​ผม​ไม่​ว่า​อะไร​ ​ ​ ​แค่​ได้​อยู​่ใกล้​ ​ๆ ​เธอ​ผม​ก็​มี​ความ​สุข​ มากมาย​นักหนา​แล้ว​ ​ ​สักพ​ กั เ​ธอ​กล​็ กุ ไ​ ป​พมิ พ์ง​ าน​ของ​เธอ​ตอ่ ​​ผ​ ม​นงั่ อ​ ยูโ​่ ซฟา​ รับแขก​มอง​ตาม​แผ่น​หลังข​ อง​เธอ​ไป​

๒​ ​ ​​เธอ​ขอร้อง​ผม​ให้​มา​นั่ง​เป็น​เพื่อน​ที่​ห้อง​ธุรการ​ ​ ​ ​เธอ​กลัว​ ​ ​แต่​ ก็​อยาก​ทำงาน​ให้​มัน​เสร็จ​ ​ๆไป​ ​ ​ ​เธอ​ไม่​ชอบ​ให้​งาน​มัน​คั่ง​ค้าง​​ พรุ่ง​นี้​วัน​เสาร์​เธอ​จะ​ได้​ถือ​โอกาส​พัก​ผ่อน​ ​ ​อยาก​จะ​นอน​ตื่น​ สาย​ๆ​ ​อย่าง​ที่​เธอ​ชอบ​​​ ​ ​โรงเรียน​ของ​เรา​ครู​มี​ยี่สิบ​กว่า​คน​ ​ ​กลับ​บ้าน​กัน​หมด​​ มี​เพียง​เรา​สอง​คน​เท่านั้น​ ​ ​ผม​ไม่รู้​จะ​กลับ​ไป​ไหน​ ​ ​บ้าน​ไกล​ เหมือน​กับ​เธอ​​​เธอ​ยิ่ง​ไกล​กว่า​ผม​​​จังหวัดท​ าง​ภาค​กลาง​​​ห่าง​ จาก​จังหวัดช​ ายแดน​ภาค​เหนือ​หลาย​ร้อย​กิโลเมตร​​​วันห​ ยุดแ​ ค่​ สาม​วัน​แบบ​นี้​​​กลับ​ไป​ก็​เหนื่อย​เปล่า​​​เธอ​บอก​ว่า​รอ​หยุดย​ าว​​ๆ​ กว่าน​ คี้​ ่อย​กลับ​ ​ ​ผม​ปดิ ป​ ระตูห​ น้าโ​ รงเรียน​เรียบร้อย​แล้ว​​แ​ ม้แต่ภ​ ารโรง​ ยัง​กลับบ​ ้าน​​​ผม​อุ่นใ​ จ​ทยี่​ ัง​มี​เธอ​อยู่​​​​ยิ่งต​ อน​นี้​เธอ​อยู่​ใกล้​​ๆ​ตรง​ นีเ​้ อง​​เ​รา​สดู ห​ ายใจ​อากาศ​เดียวกัน​​อ​ ากาศ​ทเ​ี่ คย​เข้าไป​ใน​ปอด​ ของ​เธอ​​​แล้ว​มัน​กเ็​ข้าไป​ใน​ปอด​ของ​ผม​บ้าง​​​ผม​รู้สึก​เหมือน​ว่า​ ชีวิตแ​ ละ​จิตว​ ิญญาณ​ของ​สอง​เรา​ผูกพันก​ ันม​ าก​ขึ้น​


21

​ ​บอก​กบั ต​ วั เ​อง​วา่ ​​เ​ธอ​อยูต​่ รง​นนั้ เ​อง​​พ​ มิ พ์ง​ าน​ของ​เธอ​ อย่าง​ตั้งใจ​​​ผม​อยาก​จะ​เข้าไป​กอด​​​สัมผัส​เธอ​​​หอม​ที่​แก้ม​ของ​ เธอ​เบา​ ​ๆ​ ​ ​แต่​ผม​ก็​ไม่​กล้า​ ​ ​บาง​ครั้ง​แค่​นิ้ว​ของ​เรา​แตะ​กัน​ ​ ​นิ้ว​ อุน่ ​ๆ​ ข​ อง​เธอ​มนั ส​ ง่ ค​ วาม​รสู้ กึ ร​ าวกับก​ ระแส​ไฟฟ้าท​ พ​ี่ งุ่ เ​ข้าไป​ใน​ หัวใจ​ของ​ผม​​ก​ ระตุ้น​ให้​หัวใจ​ของ​ผม​เต้น​เร็วข​ ึ้น​​​ ​ ​อย่าง​นี้​นี่เอง​ที่​เรียก​ว่า​​​ความ​รัก​​​​ ​ ​ผม​เคย​แตะ​เธอ​ทแ​ี่ ขน​​เ​ธอ​ยมิ้ แ​ ล้วก​ ถ​็ าม​วา่ ม​ อ​ี ะไร​​ผ​ ม​ ตอบ​เธอ​ไป​ว่า​​​อยาก​จะ​ส่งผ​ ่าน​ความ​รู้สึก​ว่า​รัก​ไป​ทาง​แขน​ของ​ เธอ​ ​ ​เหมือน​เรา​เติม​น้ำ​เกลือ​คนไข้​ ​ ​ ​ผม​พยายาม​จะ​แตะ​ที่​แขน​ เธอ​บ่อย​​ๆ​​​ความ​รู้สึก​ว่าร​ ัก​ของ​ผม​จะ​ได้​เต็ม​หัวใจ​ของ​เธอ​​​เธอ​ หัวเราะ​คิก​​ๆ​​ๆ​ ​ ​ครูห​ นุม่ ค​ รูส​ าว​​อ​ ยูด​่ ว้ ย​กนั เ​พียง​สอง​คนใน​หอ้ ง​ทม​ี่ ดิ ชิด​ บรรยากาศ​ขา้ ง​นอก​มดื แ​ ละ​เงียบ​สนิท​​ม​ เ​ี พียง​เสียง​หวั ใจ​ของ​ผม​ เท่านั้น​​​ที่​เต้น​โครม​คราม​

เธอ​หันม​ า​มอง​ผม​ ​ ​รอย​ยิ้มแ​ ต้มอ​ ยู่​ใน​ ใบหน้า​​แ​ ก้มท​ ผ​ี่ ม​หลงใหล​อยาก​จมุ พิต​ สัมผัส​​เ​ธอ​จอ้ ง​เข้าไป​ใน​ดวงตา​ของ​ผม​​ ผม​รู้สึกป​ ระหม่า​

ยิ้ม​ ​ ​เธอ​เดินน​ ำ​ออก​จาก​หอ้ ง​ธรุ การ​​ผ​ ม​ปดิ ป​ ระตูต​ าม​หลัง​ ล็อก​กุญแจ​ ​ ​เดินต​ าม​หลัง​เธอ​ลง​บันได​ ​ ​ ​เลี้ยว​ออก​จาก​อาคาร​ เดิน​ไป​ทาง​หลังโ​ รงเรียน​สู่​บ้าน​พักค​ รู​​​​เธอ​หยุดท​ ี่​ประตูห​ น้า​ห้อง​ ของ​เธอ​​​​อาการ​ลังเล​รีรอ​บาง​อย่าง​​​​รอย​ยิ้มฉ​ าย​อยูบ่​ น​ใบหน้า​ เป็น​ยิ้มท​ เี่​ชิญ​ชวน​​​ผม​ยิ้มต​ อบ​เธอ​ ​แล้ว​กห็​ ัน​หลัง​เดินก​ ลับบ​ ้าน​พักข​ อง​ตัวเ​อง​..​​.​ ​๓​ เธอ​ปิด​คอมพิวเตอร์แ​ ล้ว​ ​ ​แสดง​ว่า​งาน​ที่​เธอ​ต้องการ​มา​สะสาง​ ​ ​คืนน​ นั้ ผ​ ม​ฝนั เ​ห็นเ​ธอ​​​เ​ธอ​เอียง​แก้มเ​ข้าม​ า​ให้ผ​ ม​หอม​​ เสร็จ​สิ้น​ลง​ ​ ​ผม​ลุก​จาก​โซฟา​ ​ ​เดิน​เข้าไป​หา​เธอ​ที่​กำลัง​นั่ง​หัน​ ก่อน​ทผี่​ ม​จะ​รวบ​เธอ​เข้า​มาก​อด​​​​ผม​ดัน​ตื่นน​ อน​เสีย​ก่อน​​​ หลัง​ให้​กับ​ผม​​​หน้า​จอ​คอมพิวเตอร์​ยัง​ไม่​ปิด​แสง​​​ผม​ยาว​เคลีย​ ​ ​๔​ บ่า​ของ​เธอ​ปลิว​ไสว​เมื่อ​ถูก​พัดลม​ที่​อยู่​ข้าง​​ๆ​ ​ ​เธอ​หัน​มา​มอง​ผม​​​รอย​ยิ้ม​แต้ม​อยู่​ใน​ใบหน้า​​​แก้ม​ที่​ ​​ผม​เจอ​เธอ​ตอน​เช้า​วัน​อังคาร​ ผม​หลงใหล​อยาก​จมุ พิตส​ มั ผัส​​เ​ธอ​จอ้ ง​เข้าไป​ใน​ดวงตา​ของ​ผม​​ ​ขึ้นไ​ ป​เซ็น​ชื่อท​ หี่​ ้อง​ธุรการ​​​เวลา​เช้า​มาก​​​มี​ครู​มา​เซ็น​ ผม​รสู้ กึ ป​ ระหม่า​​เ​ดินแ​ ทบ​จะ​ไม่เ​ป็น​​ก​ อ่ น​จะ​รวบรวม​ความ​กล้า​ ชื่อก​ ่อน​หน้า​ผม​ไม่​กคี่​ น​​​หนึ่งใ​ น​นั้น​มี​เธอ​อยูด่​ ้วย​​​ผม​เซ็น​ชื่อ​ต่อ​ จาก​เธอ​​​น่าป​ ระหลาด​เป็น​ที่สุด​​​​แม้แต่เ​รื่อง​เล็ก​​ๆ​น้อย​​ๆแ​ บบ​ ถาม​เธอ​ไป​ว่า​ นีม้​ ันก​ ็​ทำให้​ผม​เป็นสุข​ได้​ ​ ​“​เสร็จ​แล้วเ​ห​รอ​”​ ​ ​ก่อน​ทจ​ี่ ะ​เข้าไป​หอ้ ง​พกั ค​ รูท​ อ​ี่ ยูข​่ า้ ง​ๆ​ ​​ผ​ ม​ได้ยนิ เ​ธอ​คยุ ​ ​ ​“​อืมม​..​.​”​ ​ ​หน้า​จอ​คอมพิวเตอร์​ดับ​วูบ​ลง​ไป​แล้ว​ ​ ​เธอ​ลุก​ขึ้น​ยืน​​ กับเ​พื่อน​ครู​สาว​ทสี่​ นิท​กัน​ ​ ​เสียง​หัวเราะ​กัน​คิก​ ​ๆ ​คัก ๆ​ ​ ​ได้ยิน แทบ​จะ​ชน​กับ​ผม​ ​ ​ผม​เธอ​ปลิว​มา​โดน​ใบหน้า​ของ​ผม​ ​ ​ ​กลิ่น​ ​แว่ว​​ๆ​ว่า​​​เป็น​ยังไ​ ง​บ้าง​เมื่อ​วัน​ศุกร์​​​ได้ยิน​ชื่อ​ของ​ผม​อยูใ่​ น​เรื่อง​ แชมพูอ​ อ่ น​ๆ​ แ​ ละ​โคโลญ​จน์ท​ เ​ี่ ธอ​ชอบ​ใช้​​เ​หมือน​ผรู้ า้ ย​ทว​ี่ งิ่ เ​ข้า​ ราว​ทเ​ี่ ธอ​พดู ค​ ยุ ก​ นั ​​ผ​ ม​ชะงักเ​ท้า​​ไ​ ม่ก​ ล้าเ​ข้าไป​ใน​หอ้ ง​นนั้ ​​เ​สียง​ เธอ​แว่ว​ๆ​ ​มา​เข้าหู​​​​ทำเอา​ผม​หน้า​ชา​​​ มา​ใน​จมูก​ของ​ผม​​​แล้วก​ ็​บอก​ว่า​​​หยุดย​ กมือ​ขึ้น​​​ ​ ​ใจ​ของ​ผม​เต้น​ไม่​เป็นส​ ่ำ​ ​ ​ ​มือ​ผม​สั่น​ ​ๆ​ ก่อน​จะ​ยก​ขึ้น​ ​ ​“​ซื่อ​บื้อ”​ ​​ ไป​ช้า​​ๆ​​​ไป​แตะ​ที่​แขน​ของ​เธอ​​​คำ​พูด​ของ​ผม​ที่​เอ่ย​ออก​มา​ยาก​ ​ ​เธอ​ว่าอ​ ย่าง​นั้น​แล้ว​กห็​ ัวเราะ d ลำบาก​ราวกับ​มี​ก้อน​หิน​ติด​อยู่​ใน​คอ​​​ ​ ​“​ไป​ส่ง​ที่​บ้าน​นะ​”​ ​ ​เธอ​พยัก​หน้า​ ​ ​อาวุธ​ที่​ร้ายกาจ​ที่สุด​ของ​เธอ​คือ​รอย​


22

๑ รูป ๑ เรื่อง : ความทรงจำ text&Image: ชนินทร อุลิศ


23

ความทรงจำเป็นสถานที่ซึ่งผมแวะไปเยี่ยมเยือนบ่อยเป็นอันดับต้น ๆ ในชีวิต ผมคิดว่าผมไม่ใช่คนเดียวที่เป็นแบบนั้น

ทำไมคนเราชอบเดินทางกลับไปในความทรงจำ บางคนกลับไปเพื่อสัมผัสความสุขในอดีตซึ่งปัจจุบันไม่มี บางคนกลับไปหาอดีตอันขมขื่นเพื่อตอกย้ำความสำเร็จในปัจจุบัน บางคนกลับไปหาใครอีกคนที่เราเคยอยู่ใกล้ ๆ บางคนกลับไปหาเรื่องบางเรื่องที่เราหมดโอกาสที่จะลืม ที่สุดแล้ว วันนี้เมื่อผ่านพ้นไปในปีหน้าและปีต่อ ๆ ไป เราอาจจะได้เินทางกลัยมาอีกครั้งหนึ่ง d

ส​ ถาน​ที่​: ​มิวเซียม​สยาม​​พิพิธภัณฑ์ก​ าร​เรียน​รู้​แห่ง​ชาติ​​เปิด​บริการ​1​ 0.00​-​18.00​น​ ​.​ ​ทุก​วันอ​ ังคาร​-​อาทิตย์​​ไม่​เว้น​วัน​หยุด​นักขัต​ฤกษ์​


24

Music Fountain

text: หอมรำเพย

Herbie​​Hancock​ ​River​:​​The​​Joni​L ​ etters​ เป็น​เวลา​นาน​มาก​แล้ว​ที่​รางวัล​แก​รม​มี่​อ​วอร์ด​จะ​มอ​บ ราง​วัลอัลบัม​ยอด​เยี่ยม​แห่ง​ปี​ให้​กับ​ดนตรี​สา​ขา​แจ๊ส​ ​แต่​ กระนั้นผ​ ล​งาน​ของ​เฮ​อร์​บี้​ ​แฮนค็อค​ ​ชุด​ ​River​:​ ​The​ ​Joni​​ Letters​ ​ก็​สามารถ​เดิน​ไป​สู่​จุด​นั้น​ได้​อย่าง​สง่า​งาม​ ​เท่ากับ​ ว่าการ​ประกาศ​รางวัล​ใน​ปี​ ​2007​ ​ได้​ทำลาย​กำแพง​แห่ง​ ดนตรี​ลง​ที​ละ​น้อย​ ​และ​แก​รม​มี่​เอง​ก็​คง​ตระหนัก​ว่า​ไม่มี​ เหตุผล​อัน​ใด​ยิ่ง​ใหญ่​ไป​กว่า​นี้​อีก​แล้ว​ ​ขณะ​ที่​ตัว​ผล​งาน​ ของ​ชุด​นี้​อธิบายตัวมันเองอย่างสมบูรณ์พูด​ได้​คำ​เดียว​ว่า ย​อด​เยี่ยม​ไม่มที​ ี่​ติ​ ​ ​เฮ​อร์​บี้​ ​แฮนค็​อก​เป็น​นัก​เปีย​โน​แนว​แจ๊ส​ ​เขา​เคย​ เล่น​ให้​กับ​วง​ไมลส์​ ​เด​วิส​ ​นัก​ทรัมเป็ต​-คน​แจ๊ส​ผู้​ยิ่ง​ใหญ่​ ตลอด​กาล​ ​เฮ​อร์​บี้​สร้างสรรค์​ผล​งาน​เดี่ยว​ของ​ตัว​เอง​และ​ สร้าง​ชื่อ​มา​กับ​สังกัด​บลู​โน้ตเรคคอร์ด​ ​เฮ​อร์​บี้​เป็น​คน​แจ๊ส​ ที่​ไม่​หยุด​นิ่ง​ ​เมื่อ​เข้า​สู่​ยุค​ ​70​ ​ความ​อ่อน​ล้า​ของ​แจ๊ส​ถู​ก ดน​ตรีร​ อ็ ค​เข้าก​ ระหน่ำโ​ จมตี​ด​ นตรีแ​ จ๊สเ​ริม่ เ​ล่นเ​บา​ลง​ข​ ณะ​ ที่​ดนตรี​ร็อค​ถล่ม​ใน​ชาร์​ตอัน​ดับ​เพลง​อย่าง​ที่​ไม่มี​ใคร​หยุด​


25


26

​อัลบัม​ชุด​นี้​​เกิด​ขึ้น​เมื่อ​ต้น​สังกัด​ถาม​เฮ​อร์​บี้​ว่า​ทำไม​ไม่​นำ​เอา​ ผล​งาน​ของ​โจ​นี่​​มิต​เช​ลมา​ทำ​​เพราะ​โดย​ส่วน​ตัว​แล้ว​​เฮ​อร์​บี้​ ชื่นชม​ผล​งานการ​แต่ง​เพลง​ของ​โจ​นี่​​มิต​เชล​เป็น​ทุน​เดิม​อยู่​แล้ว ยั้ง​ ​นัก​ดนตรี​แจ๊​สห​ลาย​คน​ไม่​สามารถ​ฝ่า​กระแส​ไป​ได้​ก็​ หาย​ไป​จาก​วง​โคจร​ธุรกิจ​ดนตรี​ ​บ้าง​ก็​ล้ม​ตาย​จาก​ปัญหา​ สุขภาพ​เรื้อรัง​ ​สิ่ง​เหล่า​นี้​กัดกร่อน​คน​แจ๊​สลง​เรื่อย​ ​ๆ​ ​แต่​ก็​ มี​ศิลปิน​แจ๊ส​ไม่​มาก​นัก​ที่​กล้า​นำ​เสนอ​ผล​งาน​ใน​รูป​แบบ ​ใหม่​​ๆ​​ด้วย​การ​ผสม​ผสาน​แจ๊​สกับร็อค​เข้า​ด้วย​กัน​​แจ๊​สกับ​ โซลเข้าด้วยกัน​ ​และ​แจ๊ส​ซึ่ง​ไม่​ใช่​แจ๊ส​แบบ​เดิม​อีก​ต่อ​ไป​​ หนึ่ง​ในขบวนผู้กล้าน​ ั้น​ก็​คือเ​ฮ​อร์​บี้​​แฮนค็​อก​นี่เอง​ ​ ​ถ้า​หาก​ติดตาม​ผล​งาน​ของ​เฮ​อร์​บี้​ ​แฮนค็​อก​มา​ สัก​ระยะ​ ​เรา​จะ​รู้​เขา​เป็น​นัก​เปีย​โน​แจ๊ส​ที่​จะ​สร้างสรรค์​งาน ​ใหม่​ ​ๆ​ ​ออก​มา​เสมอ​ ​เขา​จะ​ไม่​ทำงาน​ใน​แบบ​เดิม​ ​แต่​จะ​ ทดลอง​ทำงาน​ใน​รูป​แบบ​ใหม่​ ​ๆ​ ​บา​งอัลบัม​เมื่อ​ประสบ​ ความ​สำเร็จ​แ​ ทนทีเ​่ ขา​จะ​กลับไ​ ป​ทำ​ใน​แนว​เดิม​เ​ขา​กลับฉ​ กี ​ ออก​ไป​อีก​แนว​ ​ผล​งาน​ของ​เขา​จึง​ได้​รับ​ความ​นิยม​ใน​แบบ​ ขึน้ ​ๆ​ ​ล​ ง​ๆ​ ​บ​ า​งอัลบัมล​ งตัวส​ ดุ ย​ อด​แ​ ต่บ​ า​งอัลบัมแ​ ฟน​เก่า​ๆ​ ​ ก็​รับ​มัน​ไม่​ได้​ก็​มี​​แต่​นั่นไ​ ม่ใช่​ปัญหา​ของ​เขา​​เพราะ​การ​เป็น​ ศิลปิน​ก​ าร​สร้างสรรค์ส​ งิ่ ใ​ หม่​ๆ​ ​ค​ อื ห​ วั ใจ​สำคัญม​ ากกว่าก​ าร​ ตามใจ​แฟน​เพลง​ ​ ​​อัลบัม​ชุด​นี้​ ​เกิด​ขึ้น​เมื่อ​ต้น​สังกัด​ถาม​เฮ​อร์​บี้​ว่า​ ทำไม​ไม่​นำ​เอา​ผล​งาน​ของ​โจ​นี่​ ​มิต​เช​ลมา​ทำ​ ​เพราะ​โดย​ ส่วน​ตัว​แล้ว​​เฮ​อร์​บชี้​ ื่นชม​ผล​งานการ​แต่ง​เพลง​ของ​โจ​นี่​​มิต​ เชล​เป็น​ทุน​เดิม​อยู่​แล้ว​ ​เขา​จึง​ตัดสิน​ใจ​เริ่ม​โปร​เจ​คนี้​โดย​

ไม่​ลังเล​ ​การ​คัด​เลือก​เพ​ลงของมิตเชล​เพื่อนำ​มา​เรียบ​เรียง​ ใหม่​ ​เฮ​อร์​บี้​ ​แฮนค็​อก​ได้​อดีต​สามี​ขอ​งโ​จนี่​มา​ช่วย​ ​ทำให้​ เขา​สามารถ​เข้า​ถึง​เพลง​ที่​เธอ​เขียน​ใน​ช่วง​เวลา​นั้น​ได้​อย่าง​ ดี​ ​และ​เข้าใจ​อารมณ์​ของ​เพลง​ ​นอกจาก​นั้น​ยัง​ได้​เชิญ​นัก​ แซก​โซ​โฟน​อย่าง​เวน​ ​ช็อต​เตอร์​ ​ตำ​นาน​แจ๊ส​ที่​ยัง​มี​ชีวิต​อยู่​ อีกคนในปัจจุบันมาช่วยแบคอัพ สิ่งสำคัญช็อต​เตอร์​เคย​ ทำงาน​ร่วม​กับ​โจ​นี่​ ​มิต​เช​ลมา​ก่อน​ ​จึง​ไม่​ยาก​ที่​เขา​จะ​เข้า​ ถึง​ดนตรี​ ​และ​การ​เลือก​ช็อต​เตอร์​มา​เป่า​แซก​เป็น​สิ่ง​พิเศษ​ สำหรับ​แฟน​เพ​ลง​แจ๊ส​จริง​​ๆ​ ​ ​ขณะ​ทน​ี่ กั ร​ อ้ ง​รบั เ​ชิญน​ นั้ ก​ ไ​็ ม่ธ​ รรมดา​ไม่ว​ า่ จ​ ะ​เป็น​ นอ​ร่า​ ​โจน​ส์​ ​กับ​เพ​ลง​เปิด​อัลบัม​อย่าง​ ​Court​ ​and​ ​Spark​​ หรือน​ กั ร​ อ้ ง​สาว​ใหญ่โ​ ซล​รอ็ ค​ อ​ยา่ ง​ทนิ า​่ ​เ​ท​อร์เ​นอ​รก​์ ม​็ า​ขยับ​ ลูกคอ​ใน​แบบ​แจ๊ส​เ​รือ่ ง​พลังเ​สียง​ไม่ต​ อ้ ง​คยุ ก​ นั ใ​ ห้ม​ าก​ความ​​ แต่​เทคนิค​ใน​การ​เปล่ง​เสียง​นี่​แหละ​ครับ​ ​ที่​เป็น​อัต​ลักษณ์​ ชัดเจน​แ​ ละ​ทน​ี า่ ก​ ท​็ ำให้เ​ห็นว​ า่ เ​ธอ​ไม่จ​ ำเป็นต​ อ้ ง​เปล่งเ​สียง​ มาก​เท่ากับ​ร้อง​เพ​ลง​ร็อค​ ​แต่​ร้อง​ได้​อย่าง​มี​พลัง​ ​นอกจาก​ นัก​ร้อง​มีชื่อ​เสียง​แล้ว​ ​ยัง​มี​สอง​นัก​ร้อง​สาว​รุ่น​ใหม่​มา​ร่วม​ งาน​ด้วย​ ​คน​แรก​คือ​หลุย​เซียน​า​ ​โซ​ชา​ ​สาว​คน​นี้​มี​อัลบัม​ ใน​แบบ​บอส​ซา​โน​วา​มา​แล้ว​หนึ่ง​ชุด​ ​น้ำ​เสียง​ของ​เธอ​ออก ​เศร้า​​ๆ​​หม่น​​ๆ​​แต่น​ ่า​ฟัง​​ส่วน​เพลง​เด่น​ขอ​งอัลบัม​คือ​​River​​ นักร​ อ้ ง​สาว​รนุ่ ใ​ หม่อ​ ย่าง​ค​ อล​รนิ ​ไ​ บล​เล่ เร ม​าข​ บั ก​ ล่อ​ มด้วย​


27

สำเนียง​เสียง​หวาน​แ​ ม้จ​ ะ​เป็นห​ น้าใ​ หม่ข​ อง​วงการ​เพลง​แ​ ต่​ มี​อนาคต​ดี​ที​เดียว​​โดย​เฉพาะ​การ​ตีความ​เพลง​นี้​ได้​ชวน​ฟัง​ ​ ​ส่วน​โจ​นี่​ ​มิต​เชล​ ​ก็​มา​ขับ​ร้อง​เพลง​ของ​ตัว​เอง​ใน​ เพลง​​Tea​​Leaf​​Prophecy​​ได้​อย่าง​เยี่ยม​ยอด​ ​ ​นอกจาก​นัก​ร้อง​ที่มา​ทำ​หน้าที่​กัน​มาก​หน้า​แล้ว​ Section​ ​ที่​ขาด​ไม่​ได้​คือ​นัก​ดนตรี​ ​เวน​ย์​ ​ช็อต​เตอร์​รับ​หน้า​ ที่​แซกฯ​ ​ส่วน​ดับเบิล​เบส​ ​เป็น​หน้าที่​ของ​ ​เดฟ​ ​ฮอลแลนด์​ มือ​เบส​ใน​ตำนาน​อีก​คน​ที่มา​ร่วม​ต่อ​เติม​จิ๊ก​ซอร์​ให้​เต็ม​ สมบูรณ์ ​ ​สำหรับ​ผม​ยิ่ง​ได้​ฟัง​อัลบัม​นี้​หลาย​ต่อ​หลาย​รอบ​​ ยิ่ง​เพิ่ม​ความ​ชอบ​ไป​ที​ละ​นิด​ ​และ​อัลบัม​นี้​ขึ้น​ชาร์ต​ของ​ผม​

ใน​ปี​ ​2008​ ​นาน​ติดต่อ​กัน​สอง​เดือน​แล้ว​ ​คน​ที่​กำลัง​เริ่ม​ต้น​ ฟัง​แจ๊ส​ ​การ​เริ่ม​กับ​อัลบัม​นี้​ก็​ไม่​เลว​นัก​ ​มี​ทั้งเพ​ลง​ร้อง​และ​ เพลง​บรรเลง​​ท่วงทำนอง​เพลง​ที่​ไพเราะ​​ดนตรี​เล่น​ได้​อย่าง​ เข้าขา​กัน​ ​บันทึก​เสียง​ได้​ไม่​เลว​ ​จึง​ยาก​ที่​จะ​ปฏิเสธ​ ​แม้ว่า​ อี​เอ็ม​ไอ​จะ​ประกาศ​ไม่​ผลิต​แผ่น​ซีดี​แล้ว​ ​แต่​ผม​ก็​หา​ซื้อ​ชุด​ นี้​ได้​จาก​ร้าน​ ​บี​ทู​เอส​ ​และ​คิด​ว่า​น่า​จะ​มี​ขาย​ตาม​ร้าน​ซีดี​ ใหญ่​ๆ​ ​​ทั่วไป​​ ​ ​เมื่อ​เฮ​อร์​บี้​ ​แฮนค็​อก​ทำ​อัลบัม​นี้​เสร็จ​ ​ตอน​ที่​เขา​ จะ​ส่ง​แผ่น​ให้​โจ​นี่​ ​มิต​เชล​ฟัง​ ​เขา​กลัว​และ​กังวล​ว่า​โจ​นี่​ ​จะ​ ชอบ​มัน​หรือ​ไม่​ ​แต่​โจ​นี่​กลับ​รู้สึก​ตื่น​เต้น​ ​เมื่อ​ได้​ฟัง​เธอ​ชอบ​ มัน​มาก​แ​ ละ​ผม​กเ็​ห็น​ด้วย​อย่าง​ไม่​สงสัย​ d


28

Book Review Text: ทนัชพร แซ่ตั้ง

วิชา​สุดท้าย​​ที่​ยัง​ไม่ท​้าย​สุด​​ “​วชิ า​สดุ ท้าย​(​ ท​ ม​ี่ หาวิทยาลัยไ​ ม่ไ​ ด้ส​ อน​)”​​ เป็น​ชื่อ​ที่​ต้อง​ยอมรับ​ว่า​เพียง​แค่​เห็น​หรือ​ ได้ยิน​ก็​​“​โดน​”​​แถม​มัน​ยัง​ความ​สงสัย​ใคร่​ รู้​ให้​กับ​ฉัน​อย่าง​มากว่า​ยัง​มี​อีก​หนึ่ง​วิชา​ สุดท้าย​ทม​ี่ หาวิทยาลัยไ​ ม่ไ​ ด้น​ ำ​ไป​ใส่ไ​ ว้ใ​ น​ หลักสูตร​อกี ห​ รือน​ ​ี่ !​​ก​ อปร​กบั ค​ ำถาม​ใน​ใจ​ ที่​ยัง​ไม่รู้​ว่า​จะ​ได้​อะไร​จาก​สุนทรพจน์​สอง​ ร้อย​หน้าใ​ น​มือ​ต่อ​จาก​นี้​ ​เพียง​บางเบา​ที่​ได้​รู้​จาก​คำนำ​ ของ​ผู้​แปล​ใน​ครั้ง​แรก​ว่า​หนังสือ​เล่ม​นี้​ ล้วน​เต็ม​ไป​ด้วย​คำ​กล่าว​สุนทรพจน์ใ​ น​วัน​ รับ​ปริญญา​เพื่อ​นักศึกษา​ปี​สุดท้าย​ ​จาก​ หลาก​หลาย​มหาวิทยาลัยอ​ นั ม​ ชี อื่ เ​สียง​ใน​ อเมริกา​ทถ​ี่ อื ป​ ฏิบตั ก​ิ นั ม​ า​ยาวนาน​ก​ ระทำ​ การ​โดย​“​ ค​ นใน​”​อ​ ย่าง​อธิการบดี​ท​ เ​ี่ ปิดใ​ จ​ ให้​​“​คนนอก​”​​อัน​เป็น​ผู้​มีชื่อ​เสียง​ใน​สาขา​ อาชีพ​ต่างๆ​ ​มาก​ล่าว​ สุ​นท​รพ​จน์ใ​ น​วัน​จบ​ ปริญญา​ให้​นักศึกษา​ที่​กำลัง​จะ​จบ​รุ่น​ปี​ การ​ศึกษา​นั้นๆ​​ฟัง​​โดย​หมุนเวียน​กัน​ตาม​ โอกาส​และ​วาระ​อัน​สมควร​

​เมื่ อ ​ไ ด้ ​เ ริ่ ม ​ล งมื อ ​อ่ า น​ก็ ​ต้ อ ง​ บอก​ว่า​แทบ​จะ​วาง​ไม่​ลง​ ​และ​เริ่ม​จะ​ต่อ​ ติด​สัญญาณ​คุณภาพ​ขึ้น​ใน​ใจ​มา​นิดๆ​ แล้ว​จาก​การ​ที่​สำนัก​พิมพ์​และ​ผู้​แปล​ได้​ พยายาม​เป็น​อย่าง​ยิ่ง​ใน​การ​ถ่ายทอด​ ออก​มา​อย่าง​ทุ่มเท​ ​ด้วย​การ​ตัดสิน​ใจ​ พิมพ์เ​นือ้ หา​ชวี ติ ข​ อง​ผม​ู้ ชี อื่ เ​สียง​ใน​แต่ละ​ วงการ​​​อัน​แตก​ต่าง​กันไ​ ป​ใน​สาขา​อาชีพ​ แห่งป​ ระเทศ​เสรีภาพ​อย่าง​อเมริกา​ท​ ำให้​ เนื้อหา​ใน​เล่ม​อัด​แน่น​ ​ครอบคลุม​และ​ ครบ​ถ้วน​อย่าง​ลงตัว​​


29


30

หาก​ตอน​นค ​ี้ ณ ุ เ​อง​ยงั ค ​ ง​ประสบ​ปญ ั หา​เพราะ​ไม่รว ​ู้ า ่ จ​ ะ​หา​แรง​บน ั ดาล​ ใจ​ให้ต ​ว ั เ​อง​ไป​ใน​ทศ ิ ทาง​ไหน​แ​ละ​อยาก​ได้อ ​ ะไร​สก ั อ ​ ย่าง​ทจ​ี่ ะ​เป็นผ ​ ล​ดต ​ี อ ่ ​ หัวใจ​ ​และ​ไม่​อยาก​ให้​ใบ​ปริญญา​เป็น​กับ​ดัก​ที่​จะ​ทำให้​ชีวิต​คุณ​หมด​ คุณค่า​

​สตี​ฟ​ ​จ๊​อบส์​ ​(​Steve​ ​Jobs​)​ ​ไม่​ได้​จบ​ปริญญา​ ตรี​จาก​มหาวิทยาลัย​ใด​ ​แต่​เป็น​ผู้​สร้าง​คอมพิวเตอร์​ส่วน​ บุคคล​ตัว​แรก​ใน​โรงรถ​ที่​บ้าน​ ​จน​กลาย​เป็น​ตำนาน​แห่ง​ คอมพิวเตอร์น​ าม​ ​“แ​ มคอินทอช​”​ ​ ​ ​หรือ​ ​ ​บิล​ ​เกตส์​ ​(​Bill​​ Gates​)​ ​ลา​ออก​จาก​มหาวิทยาลัย​กลาง​คัน​ ​และ​เป็น​ผกู้​ ่อ​ ตั้ง​บริษัท​ยักษ์​ใหญ่​ ​“​ไมโคร​ซอฟท์​”​ ​ผลิต​ซอฟท์แวร์​ที่​มี​ผู้​ นิยม​ใช้​ทั่ว​โลก​ ​แต่​สุดท้าย​เขา​ได้​ลา​ออก​จาก​งาน​ประจำ​ เพื่อ​อุทิศ​ตน​ให้แ​ ก่​งานการ​กุศล​อย่าง​เต็มต​ ัว​​​ ​ เพียง​2​ ​ค​ น​ตวั อย่าง​จาก​ผย​ู้ งิ่ ใ​ หญ่แ​ ห่งอ​ าชีพท​ น​ี่ า่ ​ สนใจ​ของ​คน​ทั้ง​​10​​แห่งย​ ุค​ที่​มี​ผู้คน​รู้จัก​มาก​ที่สุด​​ก็​ทำให้​ หนังสือ​เล่ม​นี้​น่าส​ นใจ​ขึ้น​มา​แล้ว​ ​ยิ่ง​แนวทาง​ซึ่ง​แต่ละ​คน​ ต่าง​กม​็ ช​ี วี ติ ท​ อ​ี่ ดั แ​ น่นไ​ ป​ดว้ ย​ประสบการณ์อ​ ย่าง​แท้จริง​ก​ ​็ ยิง่ เ​ป็นต​ วั ช​ โู รง​ให้ก​ บั ฉ​ าก​มา่ น​ทก​ี่ ำลังจ​ ะ​เปิดต​ วั ท​ า่ น​ผก​ู้ ล่าว​ คน​ต่อ​ไป​ ​จน​ทำให้​ผู้​อ่าน​อย่าง​ฉัน​ชัก​สนุก​ที่​จะ​ติดตาม​ว่า​ วิชา​สุดท้าย​ที่​มหาวิทยาลัย​ไม่​ได้​สอน​สำหรับ​แต่ละ​ท่าน​ จะ​ออก​มา​ใน​ลักษณะ​ใด​กัน​แน่​ ​แต่ละ​ทา่ น​ทำการ​ลอง​ผดิ ล​ อง​ถกู ด​ ว้ ย​การ​เอา​ตวั ​ เข้าแ​ ลก​กบั ค​ วาม​ไม่รเ​ู้ กีย่ ว​กบั อ​ นาคต​ทไ​ี่ ม่เ​คย​เป็นป​ จั จุบนั ​ และ​ ​การ​ใช้​ชีวิต​ทั้ง​ชีวิต​เล่า​เรื่อง​เพื่อ​เป็น​อุทาหรณ์​และ​ วิทยาทาน​ต่อ​คน​รุ่น​ใหม่​ ​ที่​กำลัง​จะ​ก้าว​ข้าม​ความ​เป็น​วัย​ รุ่น​สู่​ผู้ใหญ่​ที่​อาจ​ยัง​ไม่รู้​ทิศทาง​ไป​ ​โดย​น้อย​คน​นัก​ที่​จะ​ ยอมรับแ​ ละ​เปิด​ใจถึง​เล่า​ช่วง​ชีวิต​ที่​มี​ทั้ง​ดี​และ​ร้าย​ ​แต่​ใน​

ท้าย​ทสี่ ดุ ผ​ ก​ู้ ล่าว​กเ​็ ลือก​ให้ต​ นเอง​ตก​เป็นป​ ระโยชน์ต​ อ่ โ​ ลก​ และ​สังคม​ได้อ​ ย่าง​ลงตัว​ ​ สุนทรพจน์จ​ าก​ชวี ติ แ​ ละ​คราบ​นำ้ ตา​ของ​ผก​ู้ ล่าว​ แต่ละ​ท่าน​ ​แตก​ต่าง​และ​ประกอบ​ไป​ด้วย​มุม​มอง​อัน​ดี​ที่​ มี​ต่อ​ตัว​เอง​และ​สังคม​โลก​ ​ไม่​ว่า​จะ​เป็นการ​หัวเราะ​ด้วย​ ความ​สนุกใ​ ห้ก​ ับช​ ีวิตท​ ผี่​ ิดพ​ ลาด​​ส่งม​ อบ​ความ​เจริญด​ ้วย​ น้ำจ​ ติ น​ ำ้ ใจ​ทใ​ี่ ส​สะอาด​ก​ าร​ให้ท​ เ​ี่ ต็มเ​ปีย่ ม​แม้ใ​ น​วนั ท​ ช​ี่ วี ติ ​ เกิด​ข้อ​พิพาท​ ​ ​หรือ​มือ​ที่​เรียก​ร้อง​ป่าว​ประกาศ​หาความ​ ยุติธรรม​ให้​สังคม​อื่น​ที่​รอ​คอย​ ​ ​เมื่อ​แต่ละ​ท่าน​ก็ได้​ลงมือ​ ใช้ช​ วี ติ ​ช​ วี ติ ม​ นั ก​ ส​็ ง่ ผ​ ล​ตาม​มา​อย่าง​ทไ​ี่ ด้ก​ ล่าว​สนุ ทรพจน์​ ออก​ไป​เ​ลย​รไ​ู้ ด้ว​ า่ ท​ กุ ค​ น​เต็มท​ แ​ี่ ละ​สนุกก​ บั ช​ วี ติ ข​ อง​ตวั เ​อง​ อย่าง​ที่​กล่าว​ออก​มา​อย่าง​จริง​ใจ​จริงๆ​​ ​ผู้​กล่าว​สุนทรพจน์ไ​ ด้​ทำการ​ส่ง​ซิก​ ​(​signal​)​ ​ให้​ นักศึกษา​ว่า​ผ่าน​วิชา​สุดท้าย​ของ​แต่ละ​ท่าน​​ว่า​จะ​ทำ​ยา่ ง​ ไร​ให้​ตนเอง​ประ​สบ​ความ​เร็จ​ ​ทำให้​อย่างไร​เมื่อ​ตนเอง​ ผิด​พลาด​แต่​ก็​สามารถ​อยู่​กับ​มัน​ได้​อย่าง​ไม่​ขลาด​เขลา​​ และ​บอก​แม้​กระทั่ง​ว่า​ ​ถ้า​คุณ​ทะเยอทะยาน​ใน​ด้าน​ใด​​ มัน​ก็​ล้วน​แล้ว​แต่​จะ​ส่ง​ผล​ให้​คุณ​เป็น​ไป​ใน​ด้าน​นั้น​อย่าง​ แน่นอน​


31

​ฉัน​เล็งเ​ห็น​แล้วว​ ่าส​ ุนทรพจน์​เล่ม​นมี้​ ี​​​“​ทุก​อย่าง”​​ ที่​ควร​มี​แล้ว​อย่าง​ครบ​ถ้วน​ ​เข้า​ถึง​และ​ง่าย​ต่อ​การ​เข้าใจ​​ และ​หาก​ใน​ฐานะ​ทค​ี่ ณ ุ เ​ป็นม​ นุษย์​ฉ​ นั ก​ เ​็ ห็นว​ า่ ม​ นั ต​ อ้ ง​มส​ี กั ​ เรือ่ ง​ทเ​ี่ รา​สามารถ​หยิบจ​ บั ม​ า​เป็นต้นแ​ บบ​ใช้ง​ าน​ได้ไ​ ม่ม​ าก​ ก็​น้อย​ตาม​วัตถุประสงค์​ของ​หนังสือ​ที่​ปู​ทาง​ไว้​ให้​ ​ไม่​ว่า​จะ​ เป็นป​ รัชา​ใน​การ​มอง​โลก​ ​สังคม​ ​เพื่อน​มนุษย์​ ​โดย​ไม่ล​ ืม​ที่​ จะ​ให้​ปรัชญา​ชีวิต​แก่​ตนเอง​เฉก​เช่น​กัน​ ​ ต้อง​ถอื ว่าก​ าร​ปราก​ฎต​ วั ข​ อง​หนังสือ​“​ ว​ ชิ า​สดุ ท้าย​ (​ที่​มหาวิทยาลัย​ไม่​ได้​สอน​)​”​ ​เล่ม​นี้​ ​ออก​จะ​ฮือ​ฮา​มิใช่​น้อย​ สำหรับ​นัก​อ่าน​ตัวยง​ ​ด้วย​ความ​ที่​หนังสือ​ไม่​ได้​ออกตัว​มา​ แต่​ต้น​ว่า​ตั้งใจ​จะ​มอบ​อะไร​ให้​แก่​ผู้​อ่าน​ ​มัน​เลย​สนุก​ที่​จะ​ สาน​ตอ่ แ​ รง​บนั ดาล​ใจ​ของ​ผถ​ู้ า่ ยทอด​เ​พือ่ จ​ ะ​กอ่ ใ​ ห้เ​กิดก​ อง​ กำลังส​ ำคัญแ​ ห่งโ​ ลก​คณ ุ ภาพ​อ​ นั เ​ป็นการ​ยนื ยันว​ า่ ​แ​ ม้โ​ ลก​ จะ​หมุน​ไป​เกิน​กว่า​ ​360​ ​องศา​ขนาด​ไหน​ ​สุดท้าย​โลก​ก็​จะ​ กลับม​ า​ขอรับ​สิ่งท​ ี่​คุณ​หยิบย​ ื่น​ให้​อยู่ดี​

​ หาก​ตอน​นี้​คุณ​เอง​ยัง​คง​ประสบ​ ปัญหา​เพราะ​ไม่รู้​ว่า​จะ​หา​แรง​บันดาล​ใจ​ให้​ ตัว​เอง​ไป​ใน​ทิศทาง​ไหน​ ​และ​อยาก​ได้​อะไร​ สักอ​ ย่าง​ทจ​ี่ ะ​เป็นผ​ ล​ดต​ี อ่ ห​ วั ใจ​แ​ ละ​ไม่อ​ ยาก​ ให้ใ​ บ​ปริญญา​เป็นก​ บั ด​ กั ท​ จ​ี่ ะ​ทำให้ช​ วี ติ ค​ ณ ุ ​ หมด​คุณค่า​ ​สงสัย​ว่า​ได้​เวลา​ที่​คุณ​คง​ต้อง​ เปิด​ใจ​แล้ว​เดิน​หน้า​ไป​หา​ ​“​วิชา​สุดท้าย​ ​(​ที่​ มหาวิทยาลัยไ​ ม่​ได้​สอน​)”​ ​​มา​อ่าน​สักเ​ล่ม​ได้​ แล้ว​​ ​เพราะ​สำหรับ​ฉัน​แค่​ได้​ ​“​ ​เอ่ย​ ​“​ ขอบคุณ​”​ ​ทุก​ครั้ง​ที่​มี​โอกาส​ ​ดึง​กระดาษ​ ทิช​ชู่​ให้​พอดี​ ​ปิด​ไฟ​ทันที​ที่​เลิก​ใช้​ ​เลือก​ให้​ ทาน​เป็น​นิจ​ ​และ​ลด​จริต​เรื่อง​โกรธ​เกรี้ยว​ ​”​ ก็​รู้สึก​ว่า​ชีวิต​ได้​เลี้ยว​เข้า​สู่​ ​“​วิชา​สุดท้าย​(​ที่​ มหาวิทยาลัยไ​ ม่​ได้​สอน​)”​ ​ ​ไป​นิดๆ​ ​แล้วเ​ช่น​ กัน​.​.​. d


32

Book Review

text: จ​ ิรั​ฏฐ์​​เฉลิม​แสนยากร​​

ที่อื่น: เล่ห์เพทุบายใหม่ (ให้เริงใจไปอีกทางหนึ่ง) รวม​เรื่อง​สั้น​​ที่​อื่น​​ของ​​กิตติ​พล​​สรัค​คา​นนท์​​ตพี​ ิมพ์​ครั้ง​ แรก​ ​มกราคม​ ​2550​ ​ได้​เกิด​แรง​สะท้อน​กลับ​จาก​คน​ อ่าน​รวม​ทั้ง​บท​วิจารณ์​ตาม​ออก​มา​บ้าง​พอ​สมควร​ ​ส่วน​ ใหญ่​​กล่าว​ไป​ใน​ทำนอง​​​“​นอกจาก​จะ​สะท้อน​ความ​ว่าง​ เปล่า​ ​สมยอม​ ​ดูดาย​ ​เคลื่อน​ไหล​ไป​ตาม​แต่​ขนบ​สังคม​ จะ​พา​ไป​ได้​อย่าง​ชัดเจน​ ​(​ชัด​จน​เกิน​กว่า​จะ​เป็น​เรื่อง ​จริง​)​ ​ยัง​ได้​ใช้​คุณสมบัติ​และ​คุณ​ประโยชน์​ของ​เรื่อง​เล่า​ เรื่อง​แต่ง​ ​(ม​ หรสพ​ที่​จงใจ​จัดแ​ สดง​ขึ้น​)​ ​สะท้อน​ถึงค​ วาม​ หวัง​ของ​ชีวิต​ ​ชีวิต​ที่​ทุก​ผู้​สุดท้าย​จบ​ลง​ที่​ความ​ตาย​ ​(​ไม่​ ว่า​จะ​เป็น​ตัว​ละคร​ ​ผู้​แต่ง​ ​ผู้​อาน​)​”​ ​อุทิศ​ ​เห​มะ​มูล​”​ หรือ​ คุณ​รัก​ชวนหัว​​เขียน​ไว้​ใน​เว็บ​บล็อก​ของ​เขา​ว่า​​“​ประเด็น​ ที่​คุณ​กิตติ​พล​ชอบ​พูด​ถึง​​(​อย่าง​น้อย​ใน​เล่ม​น)ี้​ ​​คือ​​ความ​ ตาย​​ซึ่ง​แทรก​อยู่​แทบ​ทุก​บท​​ทุก​บรรทัด​”​​

​ ​จริง​หรือ​ที่​ตัว​ละคร​ทั้งหมด​ใน​รวม​เรื่อง​ สั้น​เล่ม​นี้​ได้​สะท้อน​ความ​ว่าง​เปล่า​ ​สมยอม​ ​ดูดาย​​ เคลือ่ น​ไป​ตาม​ขนบ​จะ​พา​ไป​?​​แ​ ละ​จ​ ริงห​ รือท​ ค​ี่ วาม​ ตาย​ที่​แทรก​ไว้​ตลอด​ทั้ง​เรื่อง​คือ​จุด​มุ่ง​หมาย​ปลาย​ ทาง​?​​ ​ ​ถ้า​หาก​คำ​ตอบ​คือ​ ​จริง​ ​รวม​เรื่อง​สั้น​เล่ม​นี้​ก็​ ไม่มี​อะไร​ที่​ข้าพเจ้า​จะ​ต้อง​ขุด​คุ้ย​หา​คำ​ตอบ​อีก​ต่อ​ไป​​ เนื่องจาก​รวม​เรื่อง​สั้น​ใน​ยุค​สมัย​นี้​หรือ​จะ​เรียก​อย่าง​ เป็น​ทางการ​ว่า​ร่วม​สมัย​ ​มัก​จะ​กล่าว​ถึง​ประเด็น​นี้​อย่าง​ มากมาย​อยู่​แล้ว ​แต่โ​ ชค​ดี​​คำ​ตอบ​ที่​ข้าพเจ้า​พบ​คือ​​ไม่​จริง​​​ ถึง​แม้ว่า​ทุก​คน​ล้วน​ต้อง​ตาย​เป็น​สัจธรรม​ของ​ ชีวติ ​แ​ ต่ร​ วม​เรือ่ ง​สนั้ เ​ล่มน​ ก​ี้ ลับย​ อ้ น​ถาม​สจั ธรรม​ดงั ก​ ล่าว​​


33

ว่า​จริงห​ รือท​ ค​ี่ วาม​ตาย​เป็นจ​ ดุ ห​ มาย​ปลาย​ทาง​หรือ​ คือจ​ ุด​สิ้น​สุด​? ​(ท​ ั้ง​ต่อ​ตัวช​ ีวิต​ผู้​ตาย​เอง​​และ​ต่อ​คน​รอบ​ ข้าง​)​ ​ ก่อน​อื่น​ขอ​กล่าว​ถึง​ลักษณะ​ร่วม​ของ​ตัว​ละคร​ ใน​รวม​เรื่อง​สั้น​เล่ม​นี้​เสีย​ก่อน​ ​ตัว​ละคร​ใน​รวม​เรื่อง​สั้น​ เล่มน​ ม​ี้ ไิ ด้ม​ ล​ี กั ษณะ​ตดั ขาด​จาก​สงั คม​หรือค​ วาม​สมั พันธ์​ ระหว่ า ง​ค น​กั บ ​ค น​ด้ ว ย​กั น ​ (​ร ะหว่ า ง​ตั ว ​ล ะคร​กั บ ​ตั ว​ ละคร​) อ​ ย่าง​ขาด​สะบัน้ ​ไ​ ม่เ​หลือใ​ ย​ไ​ ม่อ​ าจ​พดู ไ​ ด้เ​ต็มค​ ำ​วา่ ​ ​“ว​ ่าง​เปล่า​”​​หรือ​​“​ดูดาย​”​​นั่น​ก็​เพราะ​​“​คน​ทเี่​ปล่า​เปลี่ยว​ แปลก​แยก​ที่สุด​จึง​จะ​กลัว​ความ​อาทร​จาก​คน​อื่น​ ​เพราะ​ ความ​อาทร​จาก​คน​อื่น​นำ​ไป​สู่​ความ​เป็น​หนี้​และ​การ​ผูก​ สัมพันธ์​”​ ​*​(​มุก​หอม​ ​วงษ์​เทศ​ ​จาก​บท​กล่าว​ตาม​ใน​รวม​ เรื่อง​สั้นร​ ัก​แรก​ข​ อง​​ซา​มู​เอล​​เบก​เก็ทท์)​ ​ ​ ​ตัว​ละคร​ใน​เรื่อง​นี้​มิได้​กลัว​การ​ผูก​สัมพันธ์​กับ​ ตัว​ละคร​อื่น​เลย​ ​ตรง​กัน​ข้าม​ ​ตัว​ละคร​กลับ​ผูก​สัมพันธ์​ กับผ​ อ​ู้ นื่ ห​ รือแ​ ม้แต่ส​ ถาน​ทอ​ี่ นื่ เ​ส​มอๆ​ใ​ น​รปู แ​ บบ​และ​การ​ แสดงออก​ที่​แตก​ต่าง​กัน​ออก​ไป​ตาม​ลักษณะ​นิสัย​ของ​ ตัว​ละคร​นั้นๆ​ ​เช่น​ ​“​เขา​จะ​โทรศัพท์​ไป​หา​เธอ​ ​พูด​คุย​ใน​ เรื่อง​ซึ่ง​ทำให้​เธอ​และ​เขา​สบายใจ​ ​ส่วน​เธอ​ก็​จะ​เล่า​เรื่อง​ เพื่อน​ร่วม​แผนก​ ​พฤติ​กร​รม​แปลกๆ​ของ​หัวหน้า​”​ ​(​เรื่อง​ ที่​ขโมย​มา​ ​หน้า​ ​9​)​ ​หรือ​ ​“​เขา​ฝาก​ลัง​กระดาษ​ใบ​หนึ่ง​ที่​ ภายใน​บรรจุ​เสื้อผ้า​และ​หนังสือ​สอง​สาม​เล่ม​ไว้​กับ​ร้าน​ ปะ​ซ่อม​ยาง​ของ​ช่าง​แก่ๆ​…​ช่าง​ชรา​แสดง​ท่าทาง​บ่าย​ เบี่ยง​เหมือน​จะ​ไม่​รับ​ฝาก​ ​แต่​ที่สุด​ก็​ยินยอม​”​ ​(​เข้า​เมือง​​ หน้า​​21​)​​ที่​เห็น​ได้​ชัด​คือ​ตัวล​ ะคร​ใน​เรื่อง​​ทอี่​ ื่น​​“​เขา​”​​เจอ​ กับ​​“เ​ธอ​”​​หญิง​สาว​แปลก​หน้าที่​เขา​พูด​คุย​อย่าง​สนิทใ​ จ​​ กระ​ทั้ง​ตาม​เธอ​ไป​ที่​น้ำตก​​ทั้งๆ​ที่​เขา​ใช้​ชีวิต​อยู่​อย่าง​โดด​ เดี่ยว​มา​เป็น​เวลา​นาน​ ​(​เพียง​เพราะ​เขา​ไม่ใช่​คน​ช่าง​พูด​ ช่าง​เจรจา​—ห​ น้า​5​ 3​)​​ดังน​ นั้ ​จ​ งึ แ​ สดง​ให้เ​ห็นว​ า่ ต​ วั ล​ ะคร​ ต่าง​มี​​(​หรือพ​ ยายาม​จะ​มี​)​​ปฏิสัมพันธ์​กับ​บุคคล​อื่น​หรือ​ สิ่ง​แวดล้อม​รอบ​ตัว​​ ​ ​นอกจาก​นี้​ผอู้​ ่าน​ยงั ​พอ​จะ​ทราบ​อีก​วา่ ​ตัว​ละคร​ ประกอบ​อาชีพอ​ ะไร​ ​มี​ความ​สัมพันธ์​กัน​แบบ​ไหน​ (​สามี​ ภรรยา​​ชู้​​หรือ​หย่า​ขาด​จาก​กัน​)​​บาง​เรื่อง​ผอู้​ ่าน​ยัง​ทราบ​ ถึงร​ ปู พ​ รรณ​สณ ั ฐาน​ของ​ตวั ล​ ะคร​วา่ ม​ ล​ี กั ษณะ​เช่นไ​ ร​เ​ช่น​

“​เขา​หย่าร​ า้ ง​กบั ภ​ รรยา​ไป​เมือ่ ป​ ลาย​ปท​ี แ​ี่ ล้ว​เ​ขา​เป็นช​ าย​ หนุ่ม​อายุ​สามสิบส​ อง​ปี​​ผิว​คล้ำ​​รูป​ร่าง​เล็ก​​มสี​ ีหน้า​และ​ แวว​ตา​เหมือน​จะ​มี​ความ​วิตก​กังวล​อยู่​ตลอด​เวลา​ ​จมูก​ ที่​แบน​ราบ​ราวกับ​ที่ราบ​ลุ่ม​บน​แผนที่​ทาง​ภูมิศาสตร์​จม​ หาย​ไป​ใน​โหนก​แก้มท​ งั้ ส​ อง​ขา้ ง​ม​ อง​ดา้ น​ขา้ ง​ใบหน้าข​ อง​ เขา​​จะ​แล​ดู​คล้าย​กับเ​นิ่น​เตี้ยๆ​​สอง​สาม​เนิน​เหลื่อม​ซ้อน​ กันอ​ ยู”​่ ​(​ค​ นื ห​ นึง่ ​ห​ น้า​3​ 1​)​อ​ กี ท​ งั้ ต​ วั ล​ ะคร​ตา่ งๆ​ยงั ม​ ค​ี วาม​ ทรง​จำเป็น​ของ​ตัว​เอง​ ​และ​มักจ​ ะ​นึก​ย้อน​กลับไ​ ป​ทุก​ครั้ง​ นีจ่​ ึง​เป็น​สิ่งย​ ืนยัน​ว่า​ตัวล​ ะคร​ไม่ไ​ ด้​ว่าง​เปล่า​​ ​ ​สิ่ง​ที่​ทำให้​ผู้​อ่าน​รู้สึก​ว่า​ตัวล​ ะคร​ดูดาย​​นั่น​เป็น​ เพราะ​ผอ​ู้ า่ น​ตาม​ไม่ทนั ก​ าร​ใช้น​ ำ้ เ​สียง​หรือเ​สียง​เล่าข​ อง​ผ​ู้ เขียน​เ​หตุท​ ผ​ี่ เ​ู้ ขียน​เลือก​ใช้น​ ำ้ เ​สียง​ใน​การ​เล่าใ​ น​ลกั ษณะ​ เรียบ​เฉย​​สงวน​ท่าที​หรือ​ละไว้น​ ั้น​​กเ็​พื่อ​ที่​จะ​กระตุ้นใ​ ห้​ผู้​ อ่าน​เกิดก​ าร​โต้ตอบ​​สะท้อน​กลับ​​ต่อย​อด​​รุกเ​ร้า​อารมณ์​ และ​ความ​รู้สึกใ​ น​ผู้​อ่าน​แต่ละ​คน​นั่นเอง ​(​และ​ได้​ผล​เสีย​ ด้วย​)​​ ​ ใน​สว่ น​ของ​การ​ลำดับค​ วาม​หมาย​ของ​รวม​เรือ่ ง​ สัน้ เ​ล่มน​ ม​ี้ ไิ ด้เ​ป็นไ​ ป​ใน​ทาง​เดียว (​ล​ กู ศ​ ร​ทาง​เดียว​)​​ก​ ล่าว​ คือ​​ไม่​ได้​เริ่ม​ต้นท​ ี่​​0​​​ไป​หา​​10​​หรือ​​10​​ไป​หา​​0​​​รวม​ทั้ง​ ไม่​ได้​เริ่ม​จาก​ ​มี​ชีวิต​ ​ไป​หา​ ​ความ​ตาย​ ​หรือ​ ​จาก​ความ​ ตาย​ ​ไป​หา​ ​ชีวิต​ ​ ​แต่​เป็น​ไป​ใน​ลักษณะ​ลูก​ศร​สอง​ทาง ​(​de ​​​​​​​​​​)​ห​ รือ​​การก​ลับไ​ ป​กลับ​มา​​​​​​ ​​​ ​และ​เหตุการณ์​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​รวม​เรื่อง​สั้น​เล่ม​นี้​ อยูบ่​ ริเวณ​ลูกศ​ ร​สอง​ทาง​นั่นเอง​ ​ ​บริ เ วณ​ลู ก ​ศ ร​ส อง​ท าง​นี้ ​เ อง​ที่ ​ผู้ ​เ ขี ย น​ใ ห้ ​ สัญลักษณ์​ ​คือ​ ​ถนน​(​รวม​ทั้ง​ราง​รถไฟ​)​ ​อัน​หมาย​ถึง​ ลักษณะ​ของ​การ​ไป​-ก​ ลับ​​​ ​ ความ​นา่ ส​ นใจ​ทผ​ี่ เ​ู้ ขียน​หยิบถ​ นน​มา​ใช้น​ นั้ ​ม​ ใิ ช่​ เพียง​แค่​แสดง​ถึง​ทาง​ผ่าน​หรือ​แสดง​ว่า​ตัว​ละคร​ไร้​จุด​ หมาย​ปลาย​ทาง​เท่านั้น​แต่​ยัง​แสดง​ให้​เห็น​ถึง​การ​เจือ​ จาง​ความ​หมาย​ของ​จุด​เริ่ม​ต้น​รวม​ทั้ง​ปลาย​ทาง​ได้​อีก​ ด้วย​​กล่าว​คือ​​ถ้า​เรา​เริ่ม​ต้นจ​ าก​ปลาย​ทาง​​เพื่อ​ที่​จะ​ไป​สู่​ อีกป​ ลาย​ทาง​หนึง่ ​แ​ ละ​จาก​ปลาย​ทาง​นนั้ ถ​ า้ เ​รา​ยอ้ น​กลับ​ มา​ทจ​ี่ ดุ เ​ริม่ ต​ น้ ​จ​ ดุ เ​ริม่ ต​ น้ น​ นั้ ก​ ค​็ อื ป​ ลาย​ทาง​​ก​ าร​สลับไ​ ป​ มา​ของ​ความ​หมาย​จดุ ห​ มาย​และ​ปลาย​ทาง​นเี่ อง​(​หรือข​ วั้ ​


34

ใน​มิติ​ของ​เวลา​ก็​ยัง​ปรากฏ​ลักษณะ​คู่​ขนาน​ระหว่าง​ ปัจจุบัน​กับ​อดีต​​ด้วย​การ​ให้​ตัว​ละคร​ระลึก​ถึง​ความ​ทรง​ จำ​​เป็นการ​นำ​ความ​มี​ชีวิต​เข้าไป​ใกล้​ชิด​กับ​ความ​ตาย​

ของ​คู่​ใน​สิ่ง​อื่นๆ​ ​ดัง​จะ​กล่าว​ต่อ​ไป​)​ ​คือ​สาเหตุ​ที่แท้​จริง​ ของ​ปัญหา​ใน​รวม​เรื่อง​สั้น​​ที่​อื่น​ ​“​ชวี ติ ​​คอื ​​การ​นบั ​ถอย​หลัง​​เพียง​แต่​ไม่ร​แู้ น่ชดั ​ ว่า​ควร​เริ่ม​จาก​จำนวน​ใด​ ​สำหรับ​เขา​ ​ชีวิต​เป็น​เรื่อง​น่า​ ประหลาด​ใจ​อีก​เรื่อง​หนึ่ง​เสมอ​”​ ​ภาพ​ปรากฏ​ ​หน้า​ ​72​ ​(​เน้น​โดย​ผู้​เขียน​บทความ​)​ ​ คำ​ว่า​ ​อีก​เรื่อง​หนึ่ง​ ​นั่น​หมายความ​ว่า​ ​มี​อีก​ และ​อีก​เรื่อง​นั้น​ก็​คือ​​ความ​ตาย​ ​“​เขา​รู้สึก​ว่า​เรื่อง​เล่า​ใน​ลักษณะ​นี้​มี​จุดจบ เ​ห​มอื น​ ๆ​กนั ค​ อื ล​ งเอย​ทค​ี่ วาม​ตาย​พ​ ร้อม​กบั ค​ วาม​รสู้ กึ ท​ ​ี่ เศร้าส​ ร้อย​และ​หดหู​่ แ​ ต่ใ​ น​ทาง​กลับก​ นั เ​รือ่ ง​เล่าท​ ำนอง​น​ี้ ทำให้ค​ น​ตาย​กลับม​ า​มช​ี วี ติ อ​ กี ค​ รัง้ ​อ​ ย่าง​นอ้ ย​กใ​็ น​ความ​ ทรง​จำ​ของ​คน​ทยี่​ ัง​ต้อง​อยู่​ต่อ​ไป​”​​(อ​ นาลัย​​หน้า100​)​ ​นอกจาก​นผ​ี้ เ​ู้ ขียน​ยงั ไ​ ด้โ​ ปรยปราย​สญ ั ลักษณ์​ ทีแ​่ สดง​ถงึ ล​ กั ษณะ​ของ​เลข​ค​ู่ ห​ รือส​ งิ่ ส​ อง​สงิ่ ท​ อ​ี่ ยูร​่ ะหว่าง​ ปลาย​ลกู ศ​ ร​สอง​ขา้ ง​เอา​ไว้ใ​ น​ทกุ เ​รือ่ ง​เ​ช่นใ​ ช้บ​ รรยากาศ​ ที่​หมอก​ลง​จัด​ ​อัน​เป็น​ช่วง​ระหว่าง​ความ​คลุมเครือ​และ​ ความ​ชดั เจน​เ​ช่น ​“เ​ช้าว​ นั น​ นั้ ห​ มอก​ลง​หนา​จดั ​ถดั จ​ าก​สอง​ สาม​ก้าว​ออก​ไป​หมอก​สามารถ​บดบัง​การ​มอง​เห็น​ได้​ เกือบ​สมบูรณ์​ท​ อ้ ง​ถนน​ตน้ ไม้​ไ​ หล่ท​ าง​แ​ ละ​บา้ น​เรือน​ซงึ่ ​ ตั้ง​อยูห่​ ่างๆ​จึง​ดู​ไม่มี​ความ​แตก​ต่าง​แต่​อย่าง​ใด​ ​สำหรับ​

ผูข้​ ี่​ยวดยาน​ผ่าน​เส้น​ทาง​ดังก​ ล่าว​”​ ​(เ​ข้า​เมือง​ ​หน้า​ ​19​)​ ​(เ​น้น​โดย​ผู้​เขียน​บทความ​)​ ​ ใช้​ฉาก​เวลา​โพล้เพล้​​อันเ​ป็น​เวลา​เปลี่ยน​ผ่าน​ ระหว่าง​กลาง​วันก​ ับ​กลาง​คืน​ ​เช่น​ ​”ด​ วง​อาทิตย์ท​ อแสง​ รำไร​ตรง​ขอบ​ฟา้ ​เ​หมือน​หยด​นำ้ ผ​ งึ้ ก​ ำลังท​ งิ้ ต​ วั ล​ ง​มา​ตาม​ แรง​โน้มถ​ ว่ ง​เ​พียง​ครูเ​่ ดียว​ดวง​อาทิตย์ก​ พ​็ ลันเ​ปลีย่ น​เป็น​ สีชมพู”​ ​ ​(​ชั่ว​กาล​ ​หน้า​ ​44​)​ ​หรือ​ ​“​ดวง​อาทิตย์เ​พิ่ง​จะ​ลับ​ หาย​ไป​หลัง​ทิว​ไม้​ ​ประกาย​สี​ทอง​ที่​ปรากฏ​บน​เส้น​ของ​ หมู่​เมฆ​ที่​จรด​กับ​ชาย​ป่า​ดู​เหมือน​จะ​มี​ไฟ​ลุก​โชติ​ช่วง​อยู่​ ทีใ่​ ด​สักแ​ ห่ง​หนึ่ง​”​​(ภ​ าพ​ปรากฏ​​หน้า​​68​)​ ​ ใช้​ฉาก​เวลา​เช้า​มืด​ ​อัน​เป็น​ช่วง​เวลา​เปลี่ยน​ ผ่าน​จาก​กลาง​คืน​ไป​สู่​กลาง​วัน​ ​เช่น​ ​“​เขา​ได้ยิน​เสียง ​นก​ดุเหว่า​ร้อง​เป็น​จัง​หวะ​ซ้ำๆ​อยู่​ไกลๆ​ ​นาฬิกา​ข้อ​มือ​ บอก​เวลา​ตี​สี่​ห้า​สิบห​ ้าน​ าที​”​​(​คืนห​ นึ่ง​ห​ น้า​3​ 9​)​ ​ นอกจาก​บรรยากาศ​แล้ว​​ผู้​เขียน​ยังแ​ ทรก​เลข​​ 2​​เอา​ไว้​เป็น​ระ​ยะๆ​​อีกท​ ั้ง​ยัง​ระดม​การ​ใช้​สัญลักษณ์ใ​ น​ เชิง​คู่​ขนาน​และ​คู่​ตรง​ข้าม​อยู่​บ่อย​ครั้ง​ ​แต่​ที่​เห็น​ชัดเจน​ ที่สุด​ ​จาก​เรื่อง​ ​คืน​หนึ่ง​ ​เช่น​ ​ถนน​ขาด​สอง​ช่อง​,​ ​เครื่อง​ สาย​สอง​ชิ้น​,​ ​บ้าน​หลัง​นี้​มี​สอง​ห้อง​นอน​,​ ​ทรุด​โทรม​/​ งดงาม​,​​งุนงง​/​กระจ่าง​ชัด,​​​บิดเบือน​/​ขยับ​ขยาย​,​เหตุผล​ /​เมามาย​,​​ความ​ฝัน​/ค​ วาม​จริง​​เป็นต้น​


35

​ใน​มิติ​ของ​เวลา​ก็​ยัง​ปรากฏ​ลักษณะ​คู่​ขนาน​ ระหว่าง​ปัจจุบัน​กับ​อดีต​ ​ด้วย​การ​ให้​ตัว​ละคร​ระลึก​ถึง​ ความ​ทรง​จำ​ ​เป็นการ​นำ​ความ​มี​ชีวิต​เข้าไป​ใกล้​ชิด​กับ​ ความ​ตาย​ ​เช่น​ ​ความ​ทรง​จำ​ของ​เขา​เกี่ยว​กับ​งาน​ศพ​ ครั้ง​นั้น​ราง​เลือน​เต็มที​ ​เขา​ไม่​อาจ​บอก​ได้​ว่า​ ​เขา​รัก​แม่​ และ​เสียใจ​ ​เพียง​แต่​เขา​รู้​แน่ชัด​อย่าง​หนึ่ง​ว่า​ถ้า​แม่​ของ​ เขา​ตาย​ลง​ ​ณ​ ​ตอน​นี้​ ​ความ​ตาย​ของ​แม่​ย่อม​มี​ความ​ หมาย​แตก​ต่าง​จาก​ตอน​นั้น​อย่าง​มากมาย​แน่นอน​”​ ​(​ภาพ​ปรากฏ​​หน้า​​70​)​​ ​ หรือ​แม้แต่​คำ​ว่า​ ​“​ที่​อื่น”​ ​ที่​แปล​ว่า​ ​ไม่ใช่​ที่​ นี่​ ​ไม่ใช่​ตรง​นี้​ ​ไม่รู้​ว่า​อยู่​ตรง​ไหน​ ​เพียง​แต่​ไม่ใช่​ตรง​นี้​”​ ​(​คำนำ​)​ ​ก็​แสดง​ให้​เห็นถ​ ึง​แรง​ตี​กลับ​ไป​กลับ​มา​ ​เหมือน​ กับค​ ำ​วา่ ​ท​ อ​ี่ นื่ ​ค​ อื ล​ กู เ​ทนนิสท​ ถ​ี่ กู ต​ โี ต้ก​ ลับไ​ ป​มาระ​หว่าง​ สอง​ฝั่ง​ ​ถ้า​ยืน​อยู่​ฝั่ง​ ​“​มี​ชีวิต​”​ ​ที่​อื่น​จะ​ถูก​กระทบ​ชิ่งไ​ ป​ที่​ ฝั่ง​​“​ความ​ตาย​”​แต่ถ​ า้ ​ยืนอ​ ยูใ่​ น​ฝั่ง​​“​ความ​ตาย​”​​ทอี่​ ื่นจ​ ะ​ ถูก​กระทบ​ชิ่ง​ไป​ที่​ฝั่ง​​“​มี​ชีวิต”​ ​​ ​ ​อย่างไร​ก็ตาม​ ​รวม​เรื่อง​สั้น​เล่ม​นี้​บอก​แก่​เรา​ (​ใน​ระดับ​ผิว​เผิน​)​ ​ว่า​ ​เส้น​แบ่ง​ระหว่าง​ ​“​มี​ชีวิต​”​ ​กับ​ ​“​ความ​ตาย​”​ ​มิได้​ชัดเจน​เหมือน​ดัง​ตาข่าย​คั่น​ฝั่ง​ใน​ สนาม​เทนนิส​ ​หาก​มัน​คลุมเครือ​ ​เลือน​ราง​ ​คาบ​เกี่ยว​​ บาง​ครั้ง​อาจ​ทำให้​เข้าใจ​ผิด​ไป​ได้​ว่า​ ​ทั้ง​สอง​ฝั่ง​ล้วน​ทับ​ ซ้อน​กัน​อยู่​ใน​ที​​(ส​ ังเกต​ได้​ชัดเจน​จาก​เรื่อง​​เข้าเ​มือง​)​​นี่​ จึงอ​ าจ​เป็นเ​หตุผล​วา่ ท​ ำไม​ผเ​ู้ ขียน​ถงึ ไ​ ม่ใ​ ช้ค​ ำ​วา่ ​อ​ นาลัย​ นั่น​ก็​เพราะ​ ​ทั้ง​สอง​ฝั่ง​ต่าง​ยัง​พัวพัน​หรือ​สัมพันธ์​กัน​อยู่​ อย่าง​แยก​ไม่​ออก​นั่นเอง​​ ​ ถึง​แม้ว่า​เรื่อง​สั้น​ทั้งหมด​ใน​รวม​เรื่อง​สั้น​เล่ม​นี้​ จะ​แสดง​ให้​เห็น​ถึง​ความ​คาบ​เกี่ยว​​พร่าเ​ลือน​​คลุมเครือ​ ของ​เส้น​แบ่ง​ระหว่าง​การ​มี​ชีวิต​กับ​ความ​ตาย​ ​ ​รวม​ทั้ง​ สรรพ​สิ่ง​อื่นๆ​ไม่​ว่า​จะ​เป็นก​ลุ่ม​คำ​ ​บรรยากาศ​ ​สถาน​ที่​ และ​ตัว​ละคร​ที่​เป็น​ลักษณะ​คู่​ ​ดัง​ที่​ได้​กล่าว​มา​แล้ว​ ​แต่​ อีกด​ า้ น​หนึง่ ​ก​ ลับท​ ำให้ผ​ อ​ู้ า่ น​เห็นว​ า่ เ​ส้นค​ นั่ ฝ​ งั่ น​ นั้ ช​ ดั เจน​ และ​คมกริบ​​ ​ผู้​เขียน​ (​รวม​ทั้ง​ผู้​อ่าน​) ​มี​ชุด​ความ​เข้าใจ​ใน​ ฝั่ง​และ​เส้น​แบ่ง​ฝั่ง ​(​ความ​มี​ชีวิต​และ​ความ​ตาย​ )​เป็น​ อย่าง​ดี​อยูแ่​ ล้ว​โดย​ประสบการณ์ใ​ น​ชีวิตจ​ ริง​ ​แต่​ผเู้​ขียน​

จงใจ​เจือ​จาง​มัน​ให้เ​ลือน​ราง​​ด้วย​การ​สร้าง​มหรสพ​แห่ง​ ชีวติ ข​ นึ้ (​เ​รือ่ ง​แต่งท​ งั้ ​1​ 2​เ​รือ่ ง​น)​ี้ ​พ​ ร้อม​มลู ด​ ว้ ย​การ​แทรก​ สัญลักษณ์ข​ อง​ความ​คาบ​เกีย่ ว​และ​การก​ลบั ไ​ ป​กลับม​ า​ เอา​ไว้​ตลอด​ทั้ง​เล่ม​(​ดังท​ ี่​วิเคราะห์ม​ า​ข้าง​ต้น​)​ ​ การก​ระ​ทำ​ดงั ก​ ล่าว​มใิ ช่อ​ ะไร​อนื่ ​น​ อก​เสียจ​ าก​ สะท้อน​ให้​เห็น​ถึง​ความ​กลัว​ใน​จิตใจ​ของ​มนุษย์​ ​เมื่อ​รับ​ รู้​ถึง​สัจธรรม​ของ​ชีวิต​(​ไม่​ว่า​กลัว​ที่​จะ​อยู่​ ​หรือ​กลัว​ที่​จะ​ ตาย​ส​ ดุ ท้าย​ทกุ ค​ น​กต​็ อ้ ง​ตาย​)​แ​ ต่ก​ บ​็ า่ ย​เบีย่ ง​ห​ ลีกเ​ลีย่ ง​​ ทำให้ก​ ลับไ​ ป​กลับม​ า​ห​ รือแ​ ม้แต่ใ​ ห้ค​ วาม​หมาย​ใหม่​จ​ น​ สัจ​ธรรม​นั้น​เลือน​ราง​​​ทั้งนีก้​ เ็​พื่อ​ปลอบ​ประโลม​ใจ​​และ​ ทำให้​ผู้​อ่าน​(​หรือ​ตัวผู้​เขียน​เอง​)​ เริง​ใจ​ไป​อีก​ทาง​หนึ่ง​ที่​ ตรง​กันข​ ้าม​กับ​ทาง​ที่​ตน​ไม่​ปรารถนา​​ ​และ​การ​ที่​หนังสือ​เล่ม​นี้​นำ​ประโยค​ของ​ ​ลูเคร​ ทุส​ม​ า​โปรย​ไว้ก​ อ่ น​เข้าเ​รือ่ ง​วา่ ​“​ .​.​.​ค​ วาม​ตาย​ซงึ่ ท​ ำให้เ​จ้า​ ท้อแท้แ​ ละ​บา่ ย​หน้าไ​ ป​จาก​ความ​เริงใ​ จ​ใน​อกี ห​ น​หนึง่ น​ ะ่ ​ หรือ​ก​ ใ​็ น​เมือ่ ช​ วี ติ ท​ เ​ี่ จ้าใ​ ช้ม​ า​จน​กระทัง่ บ​ ดั นีเ​้ ป็นส​ งิ่ ล​ ำ้ ค่า​ .​.​.​แล้ว​ใย​เจ้า​จะ​ไม่​หา​ตอน​จบ​ให้​แก่​มัน​ ​หรือ​เจ้า​หวัง​จะ​ ให้​ข้า​คิดเ​ล่ห์​เพทุบาย​ใหม่​ขึ้น​มา​ขึ้น​มา​เพื่อ​ลวง​เจ้า​”​​ ​เป็น​ประโยค​ที่​เตือน​ผู้​อ่าน​อยู่​กรายๆ​แล้ว​ว่า​ รวม​เรื่อง​สั้น​ที่​จะ​ได้​อ่าน​ต่อ​ไป​นี้​เป็น​เพียง​ ​เล่ห์​เพทุบาย​ ใหม่ท​ ส​ี่ ร้าง​ขนึ้ ม​ า​เพือ่ ล​ วง​ให้ผ​ อ​ู้ า่ น​ไป​อยูใ​่ น​อกี ท​ ที่ าง​หนึง่ ​ ทาง​ที่​เรียก​ว่า​ท​ ี่​อื่น​น​ ั่นเอง  d ​ ​


36

Book & Movie ​text: พล​​พะ​ยาบ​

Partie​​de​​campagne​​(​1936​)​

​ชนบท​พิศวาส​ ฤดู​ร้อน​ปี​ ​1860​ ​เมอ​ซิ​เอ​อร์ดืว์​ฟูร์​ ​พ่อค้า​เครื่อง​เหล็ก​แห่ง​กรุง​ ปารีส​ ​ขับ​รถ​ม้า​สอง​ล้อ​คัน​งาม​พา​มา​ดา​มดืว์​ฟูร์​ ​ภรรยา​ ​หญิง​ ชรา​ผู้​เป็น​แม่​ ​อัง​เรียตต์​ ​บุตร​สาว​วัย​ ​18​ ​ปี​ ​และ​ชาย​หนุ่ม​ว่าที่​ ลูกเขย​ ​เดิน​ทาง​จาก​เมือง​อัน​วุ่นวาย​สู่​ชนบท​สงบ​เงียบ​เพื่อ​พัก​ ผ่อน​หย่อน​ใจ​ ​เมื่อ​ผ่าน​มา​ถึง​ภัตตาคาร​ปู​แล็ง​ริม​ฝั่ง​แม่​น้ำ​แซน​ ​มา​ ดา​มดืวฟ​์ รู เ​์ ห็นว​ า่ เ​ข้าท​ า่ เ​ข้าท​ าง​ทงั้ เ​มนูอ​ าหาร​บ​ รรยากาศ​รม่ รืน่ ​ ทิวทัศน์ง​ ดงาม​​ซึ่ง​อาจ​รวม​ถึง​ชาย​รูปร​ ่าง​กำยำ​​2​​คน​ที่​กำลัง​นั่ง​ กินอ​ าหาร​อยู​่ น​ าง​จงึ ต​ ดั สินใ​ จ​เลือก​เป็นส​ ถาน​ทส​ี่ ำหรับม​ อื้ ก​ ลาง​ วัน​และ​ใช้​เวลา​ตลอด​บ่าย​ผ่อน​คลาย​อารมณ์​ ​หลัง​มื้อ​อาหาร​อิ่ม​อร่อย​ ​ขณะ​ที่​เมอ​ซิ​เอ​อร์ดืว์​ฟูร์​และ​ ว่าที่​ลูกเขย​มัว​แต่​เมา​แปล้​ ​ชาย​ร่าง​กำยำ​ทั้ง​สอง​สบ​โอกาส​ชวน​ มา​ดา​มดืวฟ​์ รู ก​์ บั อ​ งั เ​รียตต์ล​ ง​เรือล​ อ่ ง​แม่นำ้ ​ม​ า​ดา​มดืวฟ​์ รู ไ​์ ป​กบั ​ ชาย​คน​หนึ่ง​ส​ ่วน​อังเ​รียตต์​ไป​กับ​ชาย​รูป​งาม​นาม​​อัง​รี​

​วิมาน​มนุษย์​ฉ​ บับ​พิมพ์​ครั้ง​ที่​​5​พ​ ​.ศ​ ​.2​ 526​


37

​ ด้วย​ความ​งาม​ของ​ธรรมชาติ​ ​และ​ความ​ปรารถนา​ รัญจวน​ใจ​ใน​กัน​และ​กัน​ของ​ชาย​หนุ่ม-​ ​หญิงส​ าว​ ​ก่อ​ให้​เกิด​ห้วง​ พิศวาส​เกิน​ทัดทาน​ ​ณ​ ​เกาะ​เล็กๆ​ ​กลาง​แม่น้ำ​ลับตา​ผู้คน​ ​ยิน​ เสียง​นก​ไน​ติง​เกล​ขับ​ขาน​บรรเลง​คลอ​ คือ​ห้วง​พิศวาส​ไม่​คลาย​ จาง​แ​ ม้​ต้อง​จาก​พราก​กัน​ไป​นาน​เท่าน​ าน​.​.​.​ ​เรื่อง​ราว​ดัง​กล่าว​อยู่​ใน​เรื่อง​สั้น​​Une​​partie​​de​​campagne​ข​ อง​ก​ ยี ​์ เ​ดอ​โ​ ม​ปาส์ซ​ งั ต​ ​์ พ​ มิ พ์เ​ผย​แพร่เ​มือ่ ป​ ​ี 1​ 881​ฉ​ บับ​ แปล​ภาษา​องั กฤษ​ชอื่ ​A​ ​C​ ountry​E​ xcursion​ส​ ว่ น​ภาษา​ไทย​โดย​​ อาษา​​ขอ​จิตต์​เมตต์​​ใช้ช​ ื่อ​ว่า​​“​ชนบท​พิศวาส​”​​พิมพ์​ครั้ง​แรก​ใน​ รวม​เรื่อง​สั้น​ ​“ส​ วัสดี​ยอด​รัก​”​ ​โดย​สำนัก​พิมพ์​โอ​เดีย​น​สโตร์​ ​พ​.​ศ​ .​2508​ ​ซึ่ง​ได้​พิมพ์​ชุด​เรื่อง​สั้น​ของ​โม​ปาส์​ซัง​ต์​ออก​มา​พร้อม​กัน ท​ งั้ ส​ นิ้ ​1​ 2​เ​ล่ม​ต​ อ่ ม​ า​มผ​ี จ​ู้ ดั พ​ มิ พ์เ​รือ่ ง​สนั้ ท​ งั้ หมด​โดย​จดั ก​ ลุม่ แ​ บ่ง​ เล่มก​ ัน​ใหม่​​ซึ่ง​​“ช​ นบท​พิศวาส​”​​ได้​มา​รวม​อยู่​กับ​เรื่อง​สั้น​อีก​​34​​ เรื่อง​​ใน​ชื่อป​ ก​ว่า​​“​วิมาน​มนุษย์​”​ ​ กีย์​ ​เดอ​ ​โม​ปาส์​ซัง​ต์​ ​(​Guy​ ​de​ ​Maupassant​,​ ​1850​ -​1893​)​ ​เป็น​นัก​เขียน​ฝรั่งเศส​ที่​โด่ง​ดัง​มาก​ช่วง​ปลาย​ศตวรรษ​ ที่​ ​19​ ​เขา​เกิด​ที่​แคว้น​นอร์มั​งดี​ ​ได้​รับ​การ​อุปถัมภ์​ส่ง​เสริม​วิชา​ วรรณกรรม​จาก​ก​ ส​ุ ต​ าฟ​โ​ ฟล​แบรต์​ป​ รมาจารย์น​ กั เ​ขียน​เจ้าของ​ ผล​งาน​เรื่อง​ ​Madame​ ​Bovary​ ​และ​ได้​รู้จัก​กับ​เพื่อน​นัก​เขียน​ ของ​โฟล​แบรต์อ​ ย่าง​เ​อ​มลิ ​โ​ ซลา​น​ กั เ​ขียน​แนว​ธรรมชาติน​ ยิ ม​คน​ สำคัญ​แ​ ละ​อว​ิ าน​ต​ รูเ​ก​เนฟ​น​ กั เ​ขียน​สจั นิยม​ชาว​รสั เ​ซียน​โ​ ม​ปาส์​ ซังต​ จ​์ งึ ไ​ ด้ร​ บั อ​ ทิ ธิพล​แนวทาง​ธรรมชาติน​ ยิ ม​และ​สจั นิยม​โดยตรง​​ เกิดเ​ป็น​เรื่อง​สั้น​ที่​เล่าเ​รื่อง​ราว​จริงแ​ ท้ข​ อง​ผู้คน​ใน​สังคม​ ​ งาน​เขียน​ของ​ราชา​เรื่อง​สั้น​ฝรั่งเศส​ยัง​มี​ราย​ละเอียด​ อีก​หลาก​หลาย​ ​ทั้ง​พล็อ​ตอัน​ชาญ​ฉลาด​และ​การ​จบ​แบบ​หัก​ มุม​​กระทั่ง​เป็นแ​ บบ​อย่าง​ให้​แก่​นัก​เขียน​รุ่น​ถัด​มา​อย่าง​​ซอม​เม​ อร์​เซท​ ​มอห์ม​ ​และ​โอ​.​เฮ็​นรี่​ ​มี​เรื่อง​ที่​บรรยาย​ภาพ​สมจริง​อย่าง​ ละเอียด​ลออ​ตาม​แบบ​อ​ อ​นอ​เร่​เ​ดอ​บ​ ลั ซ​ คั ​แ​ ม้แต่เ​รือ่ ง​สนั้ ส​ ยอง​ ขวัญ​เหนือ​ธรรมชาติ​ก็​ยัง​มี​ ​ ความ​ยอด​เยี่ยม​ล้ำ​หน้า​ของ​โม​ปาส์​ซัง​ต์​ทำให้​เขา​ถูก​ ยกย่อง​ให้เ​ป็น​หนึ่ง​ใน​บิดา​แห่ง​เรื่อง​สั้น​สมัย​ใหม่​ ​ รวม​เรื่อง​สั้น​​16​​เล่ม​​นิยาย​​6​​เรื่อง​​บันทึก​การ​เดิน​ทาง​​ 3​เ​ล่ม​แ​ ละ​บท​กวีอ​ กี เ​ล่มห​ นึง่ ​ค​ อื ผ​ ล​งาน​ทงั้ หมด​ของ​โม​ปาส์ซ​ งั ต​ ​์ ก่อน​ทเ​ี่ ขา​จะ​กลาย​เป็นค​ น​วกิ ลจริตจ​ าก​โรค​ซฟิ ลิ สิ ข​ นึ้ ส​ มอง​แ​ ละ​ เสียช​ ีวิต​ใน​ปี​​1893​​รวม​อายุเ​พียง​​43​​ปี​

1​ ​ป​ ห​ี ลังจ​ าก​โม​ปาส์ซ​ งั ต​ เ​์ สียช​ วี ติ ​ม​ เ​ี ด็กช​ าย​คน​หนึง่ ถ​ อื ก​ ำเนิดข​ นึ้ ​ ใน​กรุง​ปารีส​ ​เขา​เป็น​ลูกชาย​คน​ที่​สอง​ของ​ปิแอร์​ ​ออ​กุสต์​ ​เรอ​นัว​ร์​ ​ศิลปิน​ผู้​บุกเบิก​แนว​ทา​งอิม​เพ​รส​ชั่น​นิสต์​ ​เด็ก​ชาย​เติบโต​ ขึ้น​ท่ามกลาง​ภาพ​เขียน​ของ​พ่อ​ ​ได้เ​ป็น​แบบ​ให้​พ่อว​ าด​ ​และ​น่า​ จะ​ทำให้​เขา​มี​สาย​เลือด​ศิลปิน​อยู่​เต็ม​เปี่ยม​ ​เมือ่ เ​กิดส​ งครามโลก​ครัง้ ท​ ​ี่ 1​ ​เ​ขา​เข้าร​ ว่ ม​เป็นท​ หาร​และ​ ได้ร​ บั บ​ าด​เจ็บห​ นักท​ ข​ี่ า​ถงึ ​2​ ​ค​ รัง้ ​แ​ ต่เ​พราะ​การ​บาด​เจ็บแ​ ละ​ตอ้ ง​ พัก​ฟื้น​ยาวนาน​นี่เอง​ทำให้​ได้​ใช้​เวลา​ไป​กับ​การ​ชม​ภาพยนตร์​ มากมาย​ก​ ระทั่งป​ ี​1​ 924​เ​ขา​กเ็​ริ่ม​ลงมือท​ ำ​หนัง​ด้วย​ตนเอง​ ​นีค​่ อื บ​ ท​เริม่ ต​ น้ ข​ อง​หนึง่ ใ​ น​ผก​ู้ ำกับภ​ าพยนตร์ผ​ ย​ู้ งิ่ ใ​ หญ่​ ตลอด​กาล​นาม​ว่า​ฌ ​ อง​​เรอ​นัวร​ ์​(​ ​Jean​​Renoir​,​1​ 894​-1​ 979​)​ ​ เรอ​นัว​ร์​ประสบ​ความ​สำเร็จ​ใน​ฐานะ​คน​ทำ​หนัง​อย่าง​ รวดเร็ว​ ​จาก​หนัง​เงียบ​สู่​หนัง​เสียง​ ​จาก​คน​ทำ​หนัง​ชาว​ฝรั่งเศส​ กระทั่ง​อพยพ​หนี​ภัย​นาซี​ไป​เป็น​พลเมือง​อเมริกัน​ ​มี​หนัง​ขึ้น​ หิ้ง​ให้​โลก​ยกย่อง​-​ศึกษา​มากมาย​ ​เช่น​ ​The​ ​Grand​ ​Illusion​ ​(​1937​)​ ​The​ ​Rules​ ​of​ ​the​ ​Game​ ​(​1939​)​ ​The​ ​River​​ (​1951​)​ ​หนัง​ของ​เขา​มัก​จะ​สำรวจ​ลง​ลึก​พฤติกรรม​มนุษย์​อย่าง​ หลัก​แหลม​และ​แสบ​สันต์​ ​บ้าง​มี​นัย​ยะ​ทาง​สังคม​-​การเมือง​ ชัดเจน​โ​ ดด​เด่นด​ ว้ ย​การ​เคลือ่ น​กล้อง​และ​เรียง​รอ้ ย​ภาพ​จาก​มมุ ​ กล้อง​หลาก​หลาย​ ​การ​บรรจบ​พบ​กนั ข​ อง​เรอ​นวั ร​ ก​์ บั โ​ ม​ปาส์ซ​ งั ต​ เ​์ กิดข​ นึ้ ใ​ น​ ปี​1​ 936​เ​มือ่ เ​รอ​นวั ร​ น​์ ำ​เรือ่ ง​U​ ne​p​ artie​d​ e​c​ ampagne​ข​ อง​โม​ ปาส์​ซังต​ ์​มาส​ร้าง​เป็น​หนัง​ ​เป็น​ทรี่​ ู้จักก​ ัน​ต่อ​มา​ใน​ชื่อ​ ​Partie​ ​de​​ campagne​​หรือ​​A​​Day​​in​​the​​Country​​และ​ได้ร​ ับ​การ​ยกย่อง​ ว่า​เป็น​หนัง​รักท​ ี่​ดี​ที่สุด​ของ​เรอ​นัว​ร์​ ​ เหตุ ​ที่ ​เ รอ​นั ว ​ร์ ​ห ยิ บ ​ง าน​เ ขี ย น​ข อง​โ ม​ป าส์ ​ซั ง ​ต์ ​ม า​ ถ่ายทอด​บน​แผ่น​ฟิล์ม​ ​ใช่​เพียง​เพราะ​เป็น​วัตถุดิบ​ชั้น​ดี​โดย​นัก​ เขียน​ชื่อ​ดัง​เท่านั้น​ ​แต่​เพราะ​โม​ปาส์​ซัง​ต์​เป็น​เพื่อน​ของ​ออ​กุสต์​ เรอ​นัว​ร์​​และ​ว่า​กัน​ว่า​เรอ​นัว​รผ์​ ู้​ลูก​ทำ​หนัง​เรื่อง​นเี้​พื่อ​อุทิศ​แด่​พ่อ​ ผูจ​้ าก​ไป​ร​ วม​ทงั้ ร​ ำลึกถ​ งึ ย​ คุ ส​ มัยจ​ กั รวรรดิฝ​ รัง่ เศส​ครัง้ ท​ ​ี่ 2​ ​ซ​ งึ่ พ​ อ่ ​ ของ​เขา​ได้​ใช้​ชีวิตว​ ัย​เยาว์​และ​เติบโต​สู่​เส้น​ทาง​ศิลปะ​ ​ กระนั้น​ ​การ​เดิน​ทาง​สู่​ชนบท​พิศวาส​ครั้ง​นี้​ไม่​ราบ​รื่น​ นักเ​นือ่ งจาก​สภาพ​อากาศ​ไม่เ​อือ้ อ​ ำนวย​ก​ าร​ถา่ ย​ทำ​ยดื เ​ยือ้ อ​ อก​ ไป​จนถึง​กำหนด​ทเี่​รอ​นัว​รต์​ ้อง​ขยับไ​ ป​ทำ​หนังเ​รื่อง​อื่น​​ฟลิ ์มห​ นัง​ Partie​​de​​campagne​​ซึ่ง​ถ่าย​ค้าง​ไว้​จึง​ถูกท​ ิ้งข​ ว้าง​อยูน่​ าน​กว่า​


38

เ​นื่องจาก​เรอ​นัว​ร์​ตั้งใจ​ทำให้​เป็น​หนัง​สนุกสนาน​​มี​บท​ ตอน​โร​แมน​ติก​​ก่อน​จะ​จบ​ด้วย​ความ ​เศร้า​สร้อย​โหย​หา​​จึง​ปรุงแ ​ ต่ง​ด้วย​การ​แสดง​​การ​ ถ่าย​ภาพ​​และ​ดนตรี​ประกอบ​เพื่อ​โอบ​อุ้ม​บรรยากาศ​ และ​ชักจูง​อารมณ์​ความ​รู้สึก​อย่าง​เต็ม​ที่

จะ​ถกู น​ ำ​มา​บรู ณะ​ตดั ต​ อ่ แ​ ละ​นำ​ออก​ฉาย​ใน​ป​ี 1​ 946​ห​ รืออ​ กี ​1​ 0​​ ปี​ต่อ​มา​ ​ Partie​ ​de​ ​campagne​ ​เป็น​หนัง​ขาว​-​ดำ​ ​ความยาว​​ 40​​นาที​​พอ​เหมาะ​กับ​เรื่อง​สั้น​ขนาด​ไม่​ยาว​นัก​​เรอ​นัว​ร์​เขียน​ถึง​ เรื่อง​นี้​ใน​หนังสือ​อัตชีวประวัติ​ ​My​ ​Life​ ​and​ ​My​ ​Films​ ​ว่า​เขา​ เคย​ถกู ร​ อ้ งขอ​ให้ข​ ยาย​ฟตุ เ​ตจ​หนังเ​ป็นห​ นังข​ นาด​ยาว​แ​ ต่ป​ ฏิเสธ​ เด็ด​ขาด​เพราะ​ไม่​ต้องการ​เปลี่ยนแปลง​เรื่อง​ราว​ของ​โม​ปาส์​ซัง​ ต์​ ​ความ​เคารพ​ใน​ต้นฉบับ​ทำให้​หนัง​เดิน​ตาม​โครงสร้าง​เนื้อหา​ ใน​เรื่อง​สั้น​แทบ​จะ​ครบ​ถ้วน​ ​ขาด​เพียง​ฉาก​ก่อน​สุดท้าย​ซึ่ง​อัง​รี​ เข้าไป​ใน​เมือง​แล้ว​ได้​พบ​กับ​มา​ดา​มดืว์​ฟูร์​ ​เข้าใจ​ว่า​เป็น​ส่วน​ที่​ ยัง​ไม่​ได้​ถ่าย​ทำ​ ​ ส่ ว น​ที่ ​เ พิ่ ม ​ขึ้ น ​ม า​เ พี ย ง​เ ล็ ก ​น้ อ ย​เ ป็ น ​ฉ าก​แ ละ​บ ท​ สนทนา​ใน​ลักษณะ​เติม​เต็ม​จินตนาการ​ให้​งาน​เขียน​ ​ไม่​ได้​เสีย​ เรื่อง​ราว​-​รสชาติ​แต่​อย่าง​ใด​ ​เช่น​ฉาก​พูด​คุย​และ​วางแผน​เกี้ยว​ สาว​ของ​สอง​หนุ่ม​ซึ่ง​ใน​เรื่อง​สั้น​ไม่​ได้​กล่าว​ถึง​ ​จุด​ที่​แตก​ต่าง​ชัดเจน​คือ​ธีม​อารมณ์​ ​เนื่องจาก​เรอ​นัว​ ร์​ตั้งใจ​ทำให้​เป็น​หนัง​สนุกสนาน​ ​มี​บท​ตอน​โร​แมน​ติก​ ​ก่อน​จะ​ จบ​ด้วย​ความ​เศร้า​สร้อย​โหย​หา​ ​จึง​ปรุง​แต่ง​ด้วย​การ​แสดง​ ​การ​ ถ่าย​ภาพ​ ​และ​ดนตรี​ประกอบ​เพื่อโ​ อบ​อุ้ม​บรรยากาศ​และ​ชักจูง​ อารมณ์ค​ วาม​รสู้ กึ อ​ ย่าง​เต็มท​ ​ี่ เ​ปรียบ​เทียบ​กบั เ​รือ่ ง​สนั้ ต​ น้ ฉบับซ​ งึ่ ​ อยูใ​่ น​โทน​เรียบ​นงิ่ ผ​ า่ น​บท​บรรยาย​โวหาร​ม​ ากกว่าก​ าร​พรรณนา​

เพื่อ​สร้าง​อารมณ์ร​ ่วม​ ​อย่างไร​ก็ตาม​ ​แม้จ​ ะ​มี​ดีกรีค​ วาม​ซาบซึ้ง-​ ​ละมุนล​ ะไม​ ตรา​ตรึงใ​ จ​ผู้​ชม​ ​แต่​หนัง​กไ็​ ม่​อาจ​นำ​เสนอ​ ​“​บท​อัศจรรย์”​ ​ ​อันน​ ่า​ อัศจรรย์ไ​ ด้อ​ ย่าง​ทโี่​ ม​ปาส์​ซังต​ ์​รังสรรค์​ไว้​ใน​เรื่อง​สั้น​ ​ ฉาก​นี้​เกิด​ขึ้น​เมื่อ​อัง​รี​พา​อัง​เรียตต์​เข้าไป​ใน​ป่า​รก​บน​ เกาะ​เล็กๆ​ก​ ลาง​แม่นำ้ ​เ​พือ่ แ​ อบ​ชม​และ​เฝ้าฟ​ งั เ​สียง​นก​ไน​ตงิ เ​กล​​ เขา​และ​เธอ​แนบ​ชดิ ก​ นั ม​ าก​ขนึ้ เ​รือ่ ยๆ​​ก​ ระทัง่ ต​ า่ ง​สวมกอด​และ​ จุมพิตก​ นั อ​ ย่าง​ดดู ด​ มื่ ​ห​ นังพ​ า​ผช​ู้ ม​มา​สง่ เ​พียง​แค่น​ ก​ี้ อ่ น​จะ​ละไว้​ ใน​ฐาน​ทเ​ี่ ข้าใจ​แ​ ต่ใ​ น​เรือ่ ง​สนั้ โ​ ม​ปาส์ซ​ งั ต​ ใ​์ ช้น​ ก​ไน​ตงิ เ​ก​ลนำ​ทาง​ ผู้​อ่าน​ต่อไ​ ป​ ​ ขอ​คดั ส​ ำนวน​แปล​ของ​อ​ าษา​ข​ อ​จติ ต์เ​มตต์​ม​ า​ทงั้ หมด​ ดังนี้​ ​“​ต่อ​มา​นก​ไน​ติง​เกล​เริ่ม​ร้อง​อีก​ครั้ง​หนึ่ง​,​ ​ที​แรก​ปล่อย​ เสียง​เป็น​เพลง​สาม​โน้ต​แผ่​กระจาย​ไป​ทั่ว​บริเวณ​,​ ​ฟัง​ดู​ไม่​ผิด​ กับ​เป็นการ​เรียก​ร้อง​แห่ง​ความ​รัก​ ​ครั้ง​แล้ว​,​ ​หลัง​จาก​เงียบ​อยู่​ ประเดี๋ยว​หนึ่ง​,​ ​มัน​ร้อง​ใหม่​ด้วย​กังวาน​เบา​กว่า​เก่า​และ​ทำนอง​ สูง​ต่ำพ​ ะเยิบพะยาบ​ ​“​ลม​อ่อน​โชย​,​​เป็น​เหตุ​ให้​ใบไม้​เสียดสี​ดังแ​ ผ่วๆ​,​​ขณะ​ เดียวกัน​บน​หญ้า​กลาง​พุ่ม​ไม้​ทึบ​ปรากฏ​เสียง​ถอน​หายใจ​อย่าง​ รุม่ ร​ อ้ น​ของ​ชาย​หญิงส​ อง​คน​คละ​เคล้าก​ บั เ​พลง​ของ​นก​ไน​ตงิ เ​กล​ และ​อาการ​หายใจ​รวยรินข​ อง​ป่า​


39

​ “​ความ​มนึ เมา​ได้ม​ า​สงิ สูน​่ ก​,​ท​ ว่ งทำนอง​จงึ เ​ร็วข​ นึ้ ท​ ล​ี ะ​ น้อยๆ​,​​แบบ​เดียว​กับ​เพลิง​พิศว​ าส​ค่อยๆ​​ทวี​การ​เผา​ไหม้​รุนแรง​ ยิง่ ข​ นึ้ เ​ป็นล​ ำดับ,​​ท​ งั้ นีด​้ ป​ู ระหนึง่ ก​ งั วาน​แจ้วเ​จือ้ ย​นนั้ เ​ข้าจ​ งั หวะ​ กับ​เสียง​จูบ​ใต้​ต้นไม้​​ ​ครั้ง​แล้ว​เพลง​ของ​มัน​อยู่​ใน​ลักษณะ​ลุ่มๆ​​ ดอนๆ​,​ ​คล้าย​กับ​แสดง​ว่า​ยาม​เปล่ง​เสียง​สูง​ต่ำ​มัน​กำลัง​จะ​เป็น​ ลม​.​ ​ฉะนั้น​ลีลา​จึง​เกิด​มา​จาก​อารมณ์​ที่​อยู่​ใน​ภาวะ​ชัก​กระตุก​​ บาง​ครั้ง​มัน​จะ​หยุด​ขณะ​หนึ่ง​,​ ​คราง​ค่อยๆ​ ​สอง​หรือ​สาม​หน​,​ แต่​แล้ว​โดย​ปุบปับ​กะทันหัน​แผด​เสียง​แหลม​ ​หรือ​มิ​ฉะนั้น​มัน​ จะ​ตะเบ็ง​ใน​อาการ​วิกลจริต​,​ ​สั่น​สะท้าน​และ​กระแทก​กระ​ทั้น​,​ ไม่​ผิด​กับ​เพลง​รัก​บ้า​คลั่ง​,​​ติดตาม​ด้วย​การ​ร้อง​แห่งช​ ัยชนะ​​​ครั้ง​ แล้วม​ ัน​หยุด​,​ ​เนื่องจาก​ได้ยิน​เสียง​ถอน​หายใจ​ลึก​แสน​ลึก​เบื้อง​

ล่าง​ประหนึ่ง​วิญญาณ​กำลัง​จะ​ออก​จาก​กาย​.​ ​เสียง​นี้​ดัง​อยู่​เช่น​ นั้น​อีก​ครูห่​ นึ่ง​,​ต​ ่อ​มา​ยุตลิ​ ง​พร้อม​กับ​เปลี่ยน​เป็น​สะอื้น”​ ​ ​ เป็น​ฉาก​อัศจรรย์​แห่ง​ไน​ตงิ ​เกล​ท​สี่ ามารถ​สมั ผัส​ได้​ใน​ งาน​เขียน​เท่านั้น​  d

​ห มายเหตุ ​​: ​ ​ชื่ อ ​ตั ว ​ล ะคร​อ้ า งอิ ง ​จ าก​ส ำนวน​แ ปล​ข อง​ ​อ าษา​ ​ขอ​จิตต์เ​มตต์​


สำนักพิมพ์เม่นวรรณกรรม ภูมิใจเสนอ

รวมเรื่องสั้นเล่มล่าสุดของ นิวัต พุทธประสาท

ถ้าคุณชอบเรื่องสั้นที่ท้าทาย ถ้าคุณชอบความโรแมนติก ถ้าคุณชอบอ่านเรื่องสั้น

แสงแรกของจักรวาล และเรื่องสั้นอื่น ๆ พิมพ์จำนวนจำกัด หาซื้อได้ตามร้านหนังสือชั้นนำ ขนาด 16 หน้ายกพิเศษ หนา 216 หน้า ราคา 155 บาท


ปกติ​ฉัน​ไม่​ค่อย​ชอบ​อ่าน​เรื่อง​สั้น​ ​เพราะ​มัก​รู้สึก​ว่า​ไม่​อิ่ม​​ หลาย​เรื่อง​จบ​แบบ​ค้าง​​ๆ​​คา​​ๆ​ ​​ หนังสือร​ วม​เรื่อง​สั้น​หลาย​เล่ม​ที่​บ้าน​เลย​มที​ ี่​คั่น​หนังสือ​เสียบ​​ อ่าน​ค้าง​วาง​ไว้​ให้​ฝุ่น​จับ​อย่าง​นั้น​​แต่เ​ล่ม​นี้​​ แสง​แรก​ของ​จักรวาล​ ​กลับ​ให้ค​ วาม​รู้สึก​ต่าง​ไป​ ​และ​ทำลาย​กำแพง​ทฉี่​ ัน​มี​กับ​เรื่อง​สั้น​ลง​ได้ ความ​นา่ ช​ นื่ ชม​ของ​คณ ุ น​ วิ ตั อ​ ยูต​่ รง​การ​จบั ก​ ระแส​แห่งก​ าล​สมัย​อ​ า่ น​เรือ่ ง​สนั้ ใ​ น​เล่มน​ แ​ี้ ล้วน​ กึ ถึง​ เมื่อส​ ิบ​ปี​ก่อน​​สมัย​ค่า​เงินบ​ าท​ตก​​คน​ไทย​เพิ่ง​รู้จักม​ ุ​ราคา​มิ​​นิตยสาร​​aday​​ถือก​ ำเนิด​​เรื่อง​เพศ​ ถูก​เปิด​เผย​มาก​ขึ้น​ ​นัก​ดู​หนัง​กระแส​หลัก​ได้​รู้จัก​หวัง​เจียเว่ย​ ​ค่าย​เบ​เก​อรี​กำลัง​โด่ง​ดัง​สุดขีด​ หนุ่ม​สาว​ชนชั้น​กลาง​หัด​ฟัง​เพลง​นอก​ ​และ​อยาก​เป็น​อาร์ติ​สกัน​หมด​ทั้ว​บ้า​นทั้ว​เมือง​ ​สำหรับ​ คุณ​นิวัต​ ​เรา​ยกย่อง​แก​ใน​ราย​ละเอียด​ ​ว่า​เข้าใจ​ห้วง​เวลา​เหล่า​นี้​อย่าง​ถ่องแท้​ ​และ​ถ่ายทอด​ มัน​ออก​มา​ได้​ทุก​แง่​มุม

ตุลาคม 2551 งานมหกรรมหนังสือ

เตรียมพบกับ นิยายเรื่องใหม่ของ ทินกร หุตางกูร และ รวมเรื่องสั้นหลากหลายนักเขียน “เรื่องรักธรรมดา 2”

สำนักพิมพ์เม่นวรรณกรรม www.thaiwriter.net


42

นอนดูหนัง Text: ลุงยะ

THE​​FORGOTTEN​

ค​ วาม​รัก​ของ​แม่​ที่​ไม่​อาจ​ล่วง​รู้ ‘​กล่าว​กัน​ว่า​ความ​รัก​ของ​แม่​ที่​มี​ต่อ​ลูก​นั้น​ยิ่ง​ใหญ่​ ​ ​ ​ยาก​จะ​ หาความ​รัก​ที่​ใด​มา​เสมอ​เหมือน​’​ ​ข้อความ​ข้าง​ต้น​ที่​กล่าว​มา​นั้น​ ​ ​ ​อาจ​จะ​พูด​ได้​เป็น​ นามธรรม​หรือ​รูป​ธรรม​ได้​หลาย​ร้อย​รูป​แบบ​ ​ ​ ​เพราะ​ความ​รัก​ ที่​แม่ม​ ี​ต่อ​ลูก​ก่อ​เกิด​ขึ้น​กับ​สัตว์​โลก​แทบ​จะ​ทุก​ชนิด​ ​ ​ ​ไม่​เว้นแ​ ม้​ กระทั่ง​งู​ที่​ห่วง​ไข่​ตัว​เอง​ ​ ​ ​นก​ที่​ต้อง​ปกป้อง​หา​อาหาร​มา​ให้​ลูก​​ สิงโต​ที่​คอย​ดูแล​เอาใจ​ใส่​จน​ลูก​สิงโต​กำเนิด​เกิด​ขึ้น​เป็น​นัก​ล่า​​ หรือ​ไม่​เว้นแ​ ม้แต่​มนุษย์​เอง​ ​ ​ ​ที่​ดำรง​ความ​รัก​ ​ ​ความ​เอาใจ​ใส่​ ต่อ​ลูก​น้อย​จนกว่า​ชีวิต​จะ​หาไม่​ ​ ​ ​เพราะ​ความ​เป็น​แม่​นั้น​มี​อยู่​ ใน​ทุก​สรรพ​สัตว์​​​​​กล่าว​คือ​สัตว์​โลก​ที่​ขึ้น​ชื่อ​ได้​ว่า​เป็น​​‘​เพศ​แม่​’​ นั้น​ยิ่ง​ใหญ่​มากมาย​มหาศาล​ ​ แต่​ความ​รัก​ที่​น่า​จะ​จับ​ต้อง​ได้​มาก​ที่สุด​ ​ ​ ​ ​นั้น​ก็​คือ​ ความ​รักข​ อง​มนุษย์​​​​เพราะ​มนุษย์​มี​ความ​จำ​ที่​ดี​เลิศ​​​​มี​ภาษา​ ที่​สื่อ​ถึงกัน​ได้​เยี่ยม​​​และ​สุดท้าย​จิตว​ ิญญาณ​ของ​ความ​เป็น​แม่​ ภาย​ใต้​ดวง​จิต​ที่​สังเคราะห์ค​ วาม​รู้สึก​ต่างๆ​นานา​ ​ ​ ​ที่​ก่อ​ให้เ​กิด​ ความ​ทรง​จำ​ที่​ดี​


43


44

ความ​ทรง​จำ​ระหว่าง​แม่​กับ​ลูก  ที่​บางที​วิทยาศาสตร์​ไม่​สามารถ​พิสูจน์ได้​​​​ ค​ วาม​ทรง​จำ​ของ​แม่​ที่​มี​ต่อ​ลูก​​​​​มัน​จะ​เก็บ​ภาพ​ตั้งแต่​ตัว​เอง​ตั้ง​ ท้อง​จน​คลอด​ลูก​ออก​มา​ ​ ​ ​ ​ไม่​ว่า​จะ​เก็บ​ความ​ทรง​จำ​ไว้​ใน​ส่วน​ ใด​ของ​สมอง​​​​​ภาพ​ความ​ทรง​จำ​เหล่า​นั้น​ก็​จะ​ผุด​ขึ้น​​​​เมื่อ​ยาม​ คิดถึง​ภาพ​ใน​อดีต​ ​ ​ ​มัน​จะ​เป็น​เรื่อง​ราว​เล็กๆ​ที่​ที​ภาพ​ต่อ​กัน​มา​ เรื่อยๆ​จนถึง​ปัจจุบัน​ขณะ​​​​พา​เร็ตต้า​​(​จเู​ลี่ยน​​​มัว​ร์​​Hannibal​​,​ Psycho​)​​เอง​ก็​เช่นก​ ัน​​​​เธอ​มี​ความ​ทรง​จำ​ที่​ดี​ต่อล​ ูกชาย​ตัวน​ ้อย​​ ตัง้ แต่ต​ งั้ ท​ อ้ ง​​ค​ ลอด​ลกู ​​​เ​ติบโต​เป็นเ​ด็กช​ าย​​​เ​ข้าโ​ รงเรียน​​​ห​ รือ​ ไม่​เว้น​แม้ก​ ระทั่ง​ยาม​ส่งล​ ูก​เข้าน​ อน​​​​แต่​จู่ๆว​ ัน​หนึ่ง​ลูกชาย​ของ​ เธอ​ดัน​หายตัว​ไป​ ​ ​ ​ไม่มี​ร่อง​รอย​หรือ​เบาะ​แส​ใดๆ​ทั้ง​สิ้น​ ​ ​ ​เธอ​ พยายาม​ตาม​หา​ลกู ​​​แ​ ต่ส​ ามีข​ อง​เธอ​กลับบ​ อก​วา่ เ​ธอ​ไม่เ​คย​มล​ี กู ​ หรือ​แม้แต่​จะ​ตั้ง​ท้อง​ด้วย​กันเ​ลย​​​​แต่​พา​เร็ตต้า​ไม่​เชื่อ​​​​เธอ​เชื่อ​ ว่า​ตัว​เอง​มี​ลูก​จริงๆ​​​​ลูกชาย​ของ​เธอ​ชื่อ​​‘​แซม​​​​พา​เร็ตต้า​’​​เป็น​ เด็ก​น้อย​น่า​รัก​อยู่​ใน​ความ​ทรง​จำ​ของ​เธอ​ตลอด​มา​ ​ ​ ​สามี​ของ​ เธอ​จึง​หา​ว่าเ​ธอ​บ้า​​​​​เลย​นำ​เธอ​ไป​พบ​จิตแพทย์​​(​แก​รี่​​​​ซี​นิส​​,​ C​.S​ ​.I​​​NY​)​​เพื่อบ​ ำบัด​ภาพ​เหล่าน​ ั้น​ออก​ไป​จาก​หัว​​​​​จิตแพทย์​ พยายาม​บำบัดโ​ น้มน​ า้ ว​ให้เ​ธอ​คดิ ว​ า่ ​​​เ​ธอ​ไม่เ​คย​มล​ี กู จ​ ริงๆ​​​แ​ ต่​ พา​เร็ตต้า​กลับ​บอก​จิตแพทย์​ได้​แม่นยำ​ว่า​​​​ลูก​ของ​เธอ​หายตัว​ ไป​​14​​เดือน​​6​​วัน​​​​เธอ​จำ​ได้​แม่นยำ​จน​ภาพ​สุดท้าย​ที่​เธอ​เห็น​ ลูก​ ​ ​ ​นั้น​ก็​คือ​ภาพ​ของ​ลูกชาย​ของ​เธอ​นั่ง​เครื่อง​บิน​ไป​กับ​สาย​ การ​บิน​หนึ่ง​ ​ ​ ​ ​จิตแพทย์​กล่าว​หา​ว่า​เธอ​ตั้ง​ภาพ​จินตนาการ​ขึ้น​ มา​เอง​ ​ ​ ​หรือ​เธอ​อาจ​จะ​เป็น​ ​‘​โรคจิตเ​สื่อม​’​ ​(​หา​ดู​ภาพยนตร์​จิต​ เสื่อม​ได้​หลาย​เรื่อง​​เช่น​​A​​​Beautiful​​mind​​)​​ ​ ความ​นา่ ส​ นใจ​ของ​T​ he​F​ orgotten​​น​ นั้ อ​ ยูท​่ ก​ี่ าร​เล่นแ​ ง่​ ความ​ทรง​จำ​ระหว่าง​แม่ก​ บั ล​ กู ​​​​ท​ บ​ี่ างทีว​ ทิ ยาศาสตร์ไ​ ม่ส​ ามารถ​ พิสจู น์ไ​ ด้​​​​เ​พราะ​มนั อ​ าจ​จะ​มใ​ี น​เรือ่ ง​จติ ว​ ญ ิ ญาณ​ของ​ความ​เป็น​ แม่​เข้าม​ า​เจือปน​​​​​ใน​ตัว​หนัง​นั้น​ทาง​ด้าน​ผู้​กำกับ​​​โจ​เซฟ​​​รู​เบน​​ พยายาม​จะ​เล่าเ​รือ่ ง​ใน​สอง​แง่ร​ ะหว่าง​วทิ ยาศาสตร์ก​ บั ก​ บั ค​ วาม​ ลึกลับ​ของ​จิตใจ​​​​และ​การ​แก้​ปม​ปริศนา​ของ​พา​เร็ตต้า​เอง​​​​ใน​

การ​รับ​รู้​ว่าเ​ธอ​มี​ลูกชาย​จริง​หรือไ​ ม่มจี​ ริง​​​​เธอ​พยายาม​ต่อสูก้​ ับ​ วิทยาศาสตร์ก​ าร​พิสูจน์​ ​ ​ ​ ​เพราะ​เธอ​เชื่อ​ว่า​เธอ​มี​ลูก​ ​ ​ ​ไม่​อย่าง​ นัน้ เ​ธอ​จะ​มภ​ี าพ​ความ​ทรง​จำ​แบบ​นไ​ี้ ด้อ​ ย่างไร​​​ถ​ า้ ห​ าก​เธอ​ไม่ม​ี มันจ​ ริง​ ​พา​เร็ตต้าพ​ ยายาม​หา​ขอ้ พ​ สิ จู น์ไ​ ป​เรือ่ ยๆ​​​จ​ น​ได้พ​ บ​กบั ​ แอช​​​​คาร์เรลล์​​(​Dominic​​​West​)​​นักก​ ีฬา​ฮ็​อก​กนี้​ ้ำแข็ง​​​ที่​สูญ​ เสีย​ลูกไ​ ป​กับค​ วาม​ทรง​จำ​เหมือน​กัน​​​​แต่​ที่​แรก​แอ​ชก​ลับ​ยืนยัน​ กับเ​ธอ​วา่ ต​ วั เ​ขา​เอง​ไม่เ​คย​มล​ี กู ​​​พ​ า​เร็ตต้าพ​ ยายาม​ฟนื้ ค​ วาม​จำ​ ของ​แอช​ ​ ​ ​จาก​นักกีฬา​ที่​เคย​โด่ง​ดัง​ทำไม​ถึง​กลาย​เป็น​ไอ้​ขี้​เมา​​ ก็เ​พราะ​เขา​สูญ​เสีย​ลูก​ไป​ ​ ​ ​ ​พา​เร็ตต้า​พยายาม​ค้นหา​หลัก​ฐาน​ ต่างๆ​ใน​ห้อง​ของ​แอช​​​​จน​เธอ​เห็น​รอย​ฉีกข​ าด​ของ​วอลเปเปอร์​ เธอ​ฉีกม​ ัน​ออก​จาก​ผนังห​ ้อง​​​​​จน​เธอ​พบ​ภาพ​วาด​ของ​เด็กๆ​บน​ ฝา​ผนัง​​​​​ตอน​แรก​แอช​หา​ว่าเ​ธอ​บ้า​​​​​แต่​การ​ได้เ​ห็น​ภาพ​เหล่า​ นี้​มัน​ทำให้​ฟื้นฟูค​ วาม​ทรง​จำ​ของ​แอช​ขึ้น​มา​​​​​ภาพ​ลูกข​ อง​แอช​ เริ่มป​ รากฏ​ขึ้นเ​ป็นร​ ูป​เป็นร​ ่าง​​​​​​จน​แอช​จำ​ได้ว​ ่าต​ ัวเ​ขา​เอง​กเ็​คย​ มีล​ กู ​​​​​และ​พา​เร็ตต้า​กบั ​แอ​ชก็​ตก​อยู​ใ่ น​สภาวะ​เดียวกัน​​​​นนั้ ​คอื ​ การ​มี​อยูจ่​ ริงข​ อง​ความ​ทรง​จำ​ ​ การ​ตาม​สบื ค้นห​ าความ​จริงข​ อง​พา​เร็ตต้าแ​ ละ​แอ​ชนัน้ ​ จึงท​ ำให้ห​ นังเ​รือ่ ง​นใ​ี้ น​ตอน​แรก​ทม​ี่ ส​ี ภาพ​คอ่ น​ขา้ ง​อดื ก​ ลับก​ ลาย​ เป็น​หนัง​ทสี่​ นุก​ตื่นเ​ต้น​ ​ ​ ​เพราะ​การ​ตาม​สืบข​ อง​เธอ​และ​เขา​เริ่ม​ พบ​ปริศนา​บาง​อย่าง​ที่​มัน​อาจ​ไม่ใช่​มนุษย์​กระทำ​ ​ ​ ​แต่​เป็น​สิ่ง​ อื่น​ที่​ไม่​อาจ​คาด​เดา​ถึง​ ​ ​ ​แต่​การ​สืบ​ครั้ง​นี้​ไม่​ได้​ง่าย​อย่าง​ที่​คิด​​ เพราะ​ทั้ง​พา​เร็ตต้า​และ​แอช​ถูก​ตาม​ล่า​ตัว​โดย​ ​ ​ ​NSA​ ​องค์กร​ ความ​มั่นคง​แห่งช​ าติ​ ​ ​ ​ ​ทั้ง​ทพี่​ วก​เธอ​เอง​ไม่รสู้​ าเหตุว​ ่า​พวก​เธอ​ ถูก​ตาม​ล่าเ​พราะ​อะไร​​​​​ทั้ง​เธอ​และ​เขา​ต่าง​ต้อง​สืบแ​ ละ​ต้อง​หนี​ หนัง​จะ​เป็น​แบบ​นี้​อยูใ่​ น​ระยะ​หนึ่ง​​​​จน​สุดท้าย​เธอ​และ​เขา​ต่าง​ ได้​ล่วง​รู้​ว่า​​​​​คน​ทกี่​ ระทำ​ทั้งหมด​คือม​ นุษย์​ต่าง​ดาว​​​​การ​ตาม​ ล่าข​ อง​องค์กร​​NSA​​นั้น​​​​กเ็​พื่อ​ความ​อยูร่​ อด​ของ​สังคม​​​​เพราะ​


45

ทัง้ พ​ า​เร็ตต้าแ​ ละ​แอช​เป็นเ​หยือ่ ข​ อง​การ​ทดลอง​ลบ​ความ​ทรง​จำ​ เกี่ยว​กับ​ลูก​จาก​มนุษย์​ต่าง​ดาว​ ​ สิ่งท​ ที่​ ำให้ห​ นังเ​รื่อง​นนี้​ ่าส​ นใจ​ยิ่งข​ ึ้นไ​ ป​อีกน​ ั้นค​ ือ​​​การ​ เล่นก​ บั ค​ วาม​กลัวใ​ น​อนาคต​​​ก​ ลัวก​ บั ศ​ กั ยภาพ​ทม​ี่ อง​ไม่เ​ห็นข​ อง​ มนุษย์​ต่าง​ดาว​​​​​ความ​กลัว​การ​สูญ​สิ้น​สลาย​ของ​มนุษย์​​​​​ทั้ง​ ใน​แง่​ของ​ความ​เป็น​จริง​ที่​เรา​ยัง​ไม่​เคย​เห็น​ศักยภาพ​ที่แท้​จริง​ เลย​ด้วย​ซ้ำ​ ​(​บางที​มนุษย์​ต่าง​ดาว​อาจ​ทดลอง​เป็น​ ​ ​แต่​สร้าง​ นิวเคลียร์ไ​ ม่​เป็นใ​ คร​จะ​รู้​)​​​​คง​ไม่​ผิดนัก​หาก​มนุษย์​จะ​สร้าง​ภาพ​ ขึ้น​มา​เอง​กับ​สิ่ง​ที่​มอง​ไม่​เห็น​ ​ ​ ​และ​ภาพ​เหล่า​นั้น​จะ​เน้น​ไป​ใน​ ความ​กลัว​ ​การ​สบื หา​ความ​จริงย​ งั เ​ป็นไ​ ป​อยูเ​่ รือ่ ยๆ​​​จ​ น​พา​เร็ตต้า​ และ​แอช​ได้​เจอ​กับ​มนุษย์​ต่าง​ดาว​ใน​ร่าง​มนุษย์​ ​ ​ ​ความ​ทรง​จำ​ ของ​พา​เร็ตต้าเ​อง​เริม่ ผ​ ดุ ข​ นึ้ อ​ กี ค​ รัง้ ​​​ภ​ าพ​ของ​มนุษย์แ​ ปลก​หน้าที​่ อยูด​่ ว้ ย​ทกุ เ​หตุการณ์ต​ อน​ทล​ี่ กู ข​ อง​เธอ​หาย​ไป​​​ก​ าร​เผชิญค​ วาม​ จริง​กับ​ความ​ทรง​จำ​กำลังป​ ระกอบ​ขึ้นเ​ป็น​รูป​เป็น​ร่าง​ ​ ​ ​ปริศนา​ ทุก​อย่าง​เริ่ม​คลี่คลาย​ ​แง่​มุม​ความ​รัก​ที่​แม่​มี​ต่อ​ลูก​นั้น​สอด​แทรก​อยู่​ตลอด​ เวลา​​​​เ​ห็นไ​ ด้จ​ าก​ภาพ​ความ​ทรง​จำ​ของ​พา​เร็ตต้าท​ ม​ี่ ต​ี อ่ ล​ กู ชาย​ ตัว​น้อย​​​​มัน​เข้าม​ า​ปรากฏ​ทั้งใ​ น​ยาม​หลับ​และ​ยาม​ตื่น​​​​มัน​จึง​ ทำให้เ​ธอ​เชือ่ ว​ า่ ล​ กู ชาย​เธอ​มอ​ี ยูจ​่ ริง​​​​แ​ ต่จ​ ะ​เป็นห​ รือต​ าย​ยงั ไ​ ม่ร​ู้ แน่​​​แต่ค​ น​ที่​จะ​เฉลย​ได้​มาก​ที่สุด​นั้น​ก็​คือ​มนุษย์​ต่าง​ดาว​ผู้​นั้น​

​ จุดเ​ฉลย​ของ​หนัง​อยู่​ใน​ตอน​ท้าย​ของ​เรื่อง​​​​การ​เผชิญ​ หน้าก​ นั ร​ ะ​หว่าง​พา​เร็ตต้าก​ บั ม​ นุษย์ต​ า่ ง​ดาว​​​ถ​ า้ ม​ อง​อกี น​ ยั ห​ นึง่ ​ ก็​คือ​ ​ ​ ​การ​เผชิญ​หน้า​กัน​ระหว่าง​การ​ทดลอง​วิทยาศาสตร์​กับ​ ความ​ลึกลับข​ อง​จิตใจ​มนุษย์​ที่​ไม่​อาจ​ล่วง​รู้​ถึง​ ​ ​ ​การ​จะ​ลบล้าง​ ความ​ทรง​จำ​นั้น​มัน​ไม่​ง่าย​ ​ ​ ​โดย​เฉพาะ​การ​ลบ​ภาพ​ความ​ทรง​ จำ​ของ​ลูก​ออก​ไป​จาก​สมอง​ของ​แม่​นั้น​ยิ่ง​เป็น​เรื่อง​ยาก​เข้าไป​ อีก​ ​ ​ ​จะ​เห็น​ได้​ว่า​ตอน​จบ​ของ​หนัง​ที่​มนุษย์​ต่าง​ดาว​พยายาม​ จะ​ลบ​ความ​ทรง​จำ​เกี่ยว​กับ​ลูก​ใน​ตัว​พา​เร็ตต้า​ ​ ​ ​โดย​ให้​พา​เร็ต​ ต้านึ​ก​ถึง​ภาพ​การ​แรก​คลอด​ของ​ลูกชาย​ ​ ​ ​เพื่อ​จะ​ได้​ลบ​ความ​ ทรง​จำ​ทั้งหมด​​​​มนุษย์ต​ ่าง​ดาว​นั้น​นึก​ว่าต​ ัวเ​อง​ทำ​สำเร็จเ​พราะ​ สามารถ​ลบ​ความ​ทรง​จำ​ตัง​แต่​แรก​เกิด​ ​ ​ ​แต่​เหตุการณ์​ไม่​เป็น​ เช่น​นั้น​ ​ ​ ​เพราะ​ความ​เป็น​แม่​มัน​มี​ความ​ทรง​จำ​ตั้งแต่​ตั้ง​ท้อง​​ ภาพ​ความ​ทรง​จำ​ทม​ี่ นุษย์ต​ า่ ง​ดาว​ลบ​ไป​จงึ ไ​ ม่ห​ มด​สนิ้ ​​​จ​ งึ ท​ ำให้​ การ​ทดลอง​ไม่​ประสบ​ความ​สำเร็จ​ ​ ​และ​มนุษย์​ต่าง​ดาว​เป็น​อัน​ พ่าย​แพ้​ไป​ ​ ดั่ง​จะ​เห็น​ได้​ว่า​​​​ความ​เป็น​แม่​นั้น​มันม​ ี​อะไร​มากกว่า​ วิทยาศาสตร์จ​ ะ​เข้า​ถึง​​​​เพราะ​มันไ​ ม่ใช่​แค่ก​ าร​ผสม​พันธุ์​​​​แพร่​ พันธุ​์ ​​ห​ รือก​ าร​ตงั้ ท​ อ้ ง​แล้วค​ ลอด​ลกู ​​​เ​พราะ​ความ​เป็นเ​พศ​แม่ม​ นั ​ มี​มากว่าน​ ั้น​​​​มันม​ ี​มากกว่าท​ ี่​วิทยาศาสตร์จ​ ะ​พิสูจน์ไ​ ด้​ d


46

Playground Text: มณฑิตา วงษ์ชีพ

La Cigale et la Fourmi Jean de La Fontaine - Fables de La Fontaine La Cigale, ayant chanté Tout l’été, Se trouva fort dépourvue Quand la bise fut venue : Pas un seul petit morceau De mouche ou de vermisseau. Elle alla crier famine Chez la Fourmi sa voisine, La priant de lui prêter Quelque grain pour subsister Jusqu’à la saison nouvelle. « Je vous paierai, lui dit-elle, Avant l’AOût, foi d’animal, Intérêt et principal. » La Fourmi n’est pas prêteuse : C’est là son moindre défaut. « Que faisiez-vous au temps chaud ? » Dit-elle à cette emprunteuse. ─ Nuit et jour à tout venant Je chantais, ne vous déplaise. ─ Vous chantiez ? j’en suis fort aise. Eh bien ! dansez maintenant.

ร้องเอ๋ยร้องเพลง ช่างครื้นเครงเสียจริงจิ้งหรีดจ๋า ในหน้าร้อนเจ้าไม่เพียรหาข้าวปลา ลมหนาวมาจึงพบว่าอดอยากพลัน ไม่มีแม้เศษแมลงหรือตัวหนอน ต้องวิงวอนเจ้ามดโปรดช่วยฉัน อยากจะขอยืมอาหารโปรดแบ่งปัน ให้ข้านั้นรอดชีวีมิอดตาย เดือนสิงหามาเยือนจะคืนให้ พร้อมกำไรตอบแทนแก่สหาย จิ้งหรีดจ้อยเปล่งถ้อยคำพร่ำบรรยาย น่าเสียดาย”ข้ามิให้”มดยืนยัน “แล้วตัวเจ้าทำสิ่งใดในหน้าร้อน?” มดถามย้อนจิ้งหรีดผู้เคยสุขสันต์ “ข้าขับขานเสียงเพลงทั้งคืนวัน” “ถ้าเช่นนั้นจงเต้นรำเสียด้วยเอย”


47

รูปแบบฉันทลักษณ์ กวี​นิพนธ์​เรื่อง​​จิ้งหรีด​กับ​มด​​แบ่งอ​ อก​เป็น​​5​​บท​ ​ ​ ​ ​ ​

บท​ที่​​1​​มี​​4​​วรรค​ บท​ที่​​2​​มี​​4​​วรรค​ บท​ที่​​3​​มี​​6​​วรรค​ บท​ที่​​4​​มี​​4​​วรรค​ บท​ที่​​5​​มี​​4​​วรรค​

​ใน​แต่ละ​วรรค​ประกอบ​ด้วย​คำ​คล้อง​สัมผัส​คล้องจอง​ ​(​rimer​)​ ที่​คำ​สุดท้าย​ของ​วรรค​ ​เช่น​ ​chanté​ ​กับ​ ​l’été​ ​หรือ​ ​famine​ ​กับ​ voisine​​เป็นต้น​​อย่างไร​ก็ตาม​ไม่​พบ​ลักษณะ​ของ​คำ​คล้องจอง​ ภายใน​วรรค​เดียวกัน​หรือ​ที่​เรียก​กัน​ว่า​ ​“​สัมผัส​ใน​”​ ​ตาม​แบบ​ ฉันทลักษณ์​ของ​กวี​นิพนธ์​ใน​ภาษา​ไทย​ ​ ​เมื่อ​เปรียบ​เทียบ​กับ​นิทาน​สอน​ใจ​เรื่อง​หมาป่า​กับ​ ลูก​แกะ​ของ​ผู้​แต่ง​คน​เดียวกัน​ ​(​หน้า​ ​56​ ​วรรค​ดี​ภาษา​ฝรั่งเศส​ ศตวรรษ​ที่​ ​17​ ​และ​​18​ ​ของ​ ​อ​.​เหรียญ​​หล่อ​วิ​มงคล​)​​ใน​แง่​ของ​ รูปแ​ บบ​และ​กลวิธใ​ี น​การ​เปิดเ​รือ่ ง​น​ ำ​เสนอ​เรือ่ ง​จ​ ะ​พบ​วา่ น​ ทิ าน​ สอน​ใจ​เรือ่ ง​จงิ้ หรีดก​ บั ม​ ด​มไิ ด้เ​ปิดเ​รือ่ ง​ดว้ ย​การ​ให้ข​ อ้ คิดค​ ติส​ อน​ ใจ​ห​ าก​แต่ไ​ ด้แ​ ฝง​เอา​ไว้โ​ ดย​ผอ​ู้ า่ น​จะ​ได้ซ​ มึ ซับแ​ นว​ความ​คดิ ห​ รือ​ สิ่ง​ที่​กวี​ต้องการ​สื่อ​ด้วย​ตนเอง​ ​ ​การ​ด ำเนิ น ​เ รื่ อ ง​เ ป็ น การ​เ ล่ า ​นิ ท าน​ต าม​ล ำดั บ​ เหตุการณ์ก​ ่อน​หลัง​​มี​จุด​เริ่มต​ ้น​ของ​เหตุการณ์แ​ ละ​ดำเนินเ​รื่อย​ มา​ถึง​ตอน​จบ​ ​โดย​เล่า​ถึง​จิ้งหรีด​ตัว​หนึ่ง​ซึ่ง​มัว​หลง​ระเริง​อยู่​กับ​ การ​ร้อง​เพลง​ตลอด​ช่วง​ฤดู​ร้อน​ ​เมื่อ​ฤดู​หนาว​มา​เยือน​ก็​พบ​ว่า​ ไม่มี​อาหาร​เหลืออ​ ยู่​เลย​ ​จึง​ต้อง​ไป​ขอยืม​อาหาร​จาก​มด​ซึ่งข​ ยัน​ ทำ​มา​หากิน​ ​โดย​สัญญา​ว่า​เมื่อ​ถึง​ฤดูกาล​เก็บ​เกี่ยว​จะ​นำ​มา​ คืนให้​ใน​ปริมาณ​ที่มา​กก​ว่า​เดิม​ ​แต่​ถึง​กระนั้น​เจ้า​มด​จอม​ขยัน​ ก็ย​ งั ย​ นื ก​ ราน​ปฏิเสธ​อ​ กี ท​ งั้ ไ​ ด้ถ​ าม​ยำ้ ถ​ งึ ว​ นั เ​วลา​ใน​หน้าร​ อ้ น​ของ​ จิ้งหรีด​ว่า​ได้​ทำ​อะไร​ใน​ตอน​นั้น​​จิ้งหรีด​ตอบ​ว่า​ตนเอง​ร้อง​เพลง​ อัน​ไพเราะ​ตลอด​อยู่​เวลา​ ​มด​จึง​ประชด​ประชัน​กลับ​ไป​ว่า​ ​หาก​ เป็น​เช่น​นั้น​แล้ว​​จิ้งหรีด​ก็​น่าจ​ ะ​เต้น​ระบำ​เสีย​ด้วย​ ​ ​นิทาน​สอน​ใจ​ของ​ฌ​อง​ ​เดอ​ ​ลา​ ​ฟอง​แตน​มี​จุด​เด่น​ ตรง​ที่​การนำ​สัตว์​ต่างๆ​ ​มา​เป็น​ตัว​ละคร​ใน​การ​ดำเนิน​เรื่อง​ราว​​

ประหนึ่ง​ว่า​สัตว์​เหล่า​นั้น​มี​ความ​รู้สึก​นึกคิด​และ​สามารถ​พูด​คุย​ สื่อสาร​กัน​ได้​เช่น​เดียว​กับ​มนุษย์​ ​กลวิธี​เช่น​นี้​เรียก​ว่า​ ​Personnification​ ​หรือบ​ ุคคล​าธิษ​ฐาน​ ​ซึ่งก​ วี​ใน​ศตวรรษ​ที่​ ​17​ ​นิยม​นำ​ มา​ใช้​ ​ ​จาก​การ​ศึกษา​ชีวประวัติ​ของ​​ฌอง​​เดอ​​ลา​​ฟอง​แตน​​ ใน​เบือ้ ง​ตน้ ​พ​ บ​วา่ เ​ขา​มค​ี วาม​ใกล้ช​ ดิ ผ​ กู พันก​ บั ธ​ รรมชาติแ​ ละ​สงิ่ ​ แวดล้อม​มา​ตงั้ แต่ส​ มัยเ​ยาว์ว​ ยั ​เ​นือ่ งจาก​บดิ า​ทำงาน​ในกรม​ปา่ ​ ไม้​​เมื่อ​เติบ​ใหญ่​เขา​ก็​ยังเ​ขา​กร็​ ับ​ตำแหน่งเ​จ้า​หน้าทีข่​ อง​กรม​ป่า​ ไม้​เช่น​กัน​ ​การ​ใช้​ชีวิต​เช่น​นี้​ ​ย่อม​ส่งผ​ ล​ให้​เกิดแ​ รง​บันดาล​ใจ​ใน​ การ​รังสรรค์​งาน​วรรณกรรม​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​ธรรมชาติ​ที่​โอบ​ล้อม​ ตัว​เขา​มา​เป็น​ระยะ​เวลา​ตลอด​ชีวิตเ​ลย​ก็​ว่าไ​ ด้​ ​ ​นอกจาก​นั้น​การ​ที่​ผู้​เขียน​ให้​สัตว์​เป็น​ตัว​ละคร​ของ​ นิทาน​สอน​ใจ​​นับเ​ป็น​กลวิธอี​ ย่าง​หนึ่ง​ทสี่​ ามารถ​เข้า​ถึงเ​ด็กๆ​​ได้​ อย่าง​ไม่​ยาก​นัก​ ​สามารถ​เล่า​เป็น​นิทาน​ที่​สนุกสนาน​ให้​เด็ก​ฟัง​ เนื่องจาก​โดย​ธรรมชาติ​ของ​เด็ก​ทุก​คน​ชื่น​ชอบ​และ​สนใจ​นิทาน​ ใน​ลักษณะ​ดังก​ ล่าว​เป็น​พิเศษ​​ ​ ​ผูป​้ กครอง​สามารถ​ให้ข​ อ้ คิดส​ อน​ใจ​แก่บ​ ตุ ร​หลาน​หลัง​ จาก​ที่​เล่า​นิทาน​จบ​ลง​ ​ด้วย​การ​สอน​ให้​มี​ความ​ขยัน​หมั่น​เพียร​


48

เหมือน​มด​ห​ าก​เกียจคร้าน​และ​เล่นส​ นุกไ​ ป​วนั ๆ​ก​ จ​็ ะ​ตอ้ ง​พบ​กบั ​ ความ​ยาก​ลำบาก​เช่น​เดียว​กับจ​ ิ้งหรีด​ใน​นิทาน​เรื่อง​นี้​ ​ระดับ​ลึก​​(​niveau​​approfondi​)​​ ​ ​ ​​ใน​การ​วิจารณ์​ระดับ​ลึก​นั้น​ ​ผู้​อ่าน​อาจ​จะ​ตีความ​หมาย​ใน​สิ่ง​ที่​ กวี​ต้องการ​ถ่ายทอด​ผ่าน​นิทาน​สอน​ใจ​เรื่อง​นี้​ได้​ลึก​ซึ้ง​ยิ่ง​ขึ้น​ใน​ แง่​มุม​ของ​สภาพ​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​ของ​ประเทศ​ฝรั่งเศส​ใน​ ยุค​สมัย​นั้น​ ​ ​ด้วย​กลวิธท​ี แ​ี่ ยบยล​ใน​การนำ​เสนอ​ผ​ เ​ู้ ขียน​นำ​สตั ว์ม​ า​ เป็น​สัญลักษณ์​แทน​ผู้คน​ใน​แต่ละ​ชนชั้น​ใน​สังคม​ฝรั่งเศส​สมัย​ ศตวรรษ​ที่​ ​17​ ​จิ้งหรีด​เปรียบ​ได้​กับ​บรรดา​ขุนนาง​และ​ชนชั้น​ สูง​ ​ซึ่ง​เอา​เปรียบ​ชาวนา​ชาวไร่​และ​อาณา​ประชา​ราช​ใน​ชนชั้น​ สามัญ​ ​(​les​ ​tiers​ ​état​)​ ​ซึ่ง​ต้อง​ทำงาน​อย่าง​หนัก​และ​มี​ชีวิต​อยู่​ อย่าง​แร้นแค้น​ ​เนื่องจาก​การ​เก็บ​ภาษี​ใน​อัตรา​ที่​สูง​ลิ่ว​ ​ใน​ขณะ​ ที่​ชนชั้น​ขุนนาง​กิน​​อยู่​อย่าง​หรูหรา​​ฟุ่มเฟือย​​มี​การ​จัดง​ าน​เลี้ยง​ สังสรรค์​อยู่​เสมอ​ ​ ​การ​ที่ ​ม ด​ป ฏิ เ สธ​คำ​วิงวอน​ขอยืม ​อาหาร​ที่​จิ้งหรีด​ ต้องการ​นำ​ไป​ประทัง​ชีวิต​ ​อาจ​จะ​เป็น​สัญญาณ​ที่​นัก​เขียน​ ต้องการ​สื่อ​หรือ​เรียก​ร้อง​ให้​ประชาชน​เลิก​อดทน​ต่อ​การ​เอา​รัด​ เอา​เปรียบ​จาก​ทาง​ราชการ​กเ็​ป็น​ได้​ ​ ​ความ​รู้สึก​ที่​มี​ต่อ​บท​กวี​​ ​ ​​เมื่อ​อ่าน​นิทาน​สอน​ใจ​เรื่อง​จิ้งหรีด​กับ​มด​ ​ของ​ ​ฌอง​ ​เดอ​ ​ลา​​ ฟอง​แตน​ ​และ​มี​โอกาส​ได้​แปล​ถอด​ความ​ออก​มา​เป็น​บท​กวี​ ภาษา​ไทย​ ​ยิ่ง​ทำให้​ข้าพเจ้า​เกิด​ความ​รู้สึก​ชื่น​ชอบ​บท​กวี​และ​ ชื่นชม​ใน​ตัวผู้​ประพันธ์​ท่าน​นี้​เป็น​อย่าง​มาก​ ​เนื่องจาก​ประทับ​ ใจ​ใน​ความ​สามารถ​ของ​กวี​ ​ที่​ไม่​เพียง​แต่​เขียน​นิทาน​สอน​ใจ​ได้​ อย่าง​สนุกสนาน​ ​กระชับ​ ​ได้ใจ​ความ​และ​ข้อคิด​ที่​ดี​เท่านั้น​ ​บท​ กวี​ของ​ฌ​อง​ ​เดอ​ ​ลา​ฟอง​แตน​ ​เปรียบ​เสมือน​กระจก​บาน​ใหญ่​ แห่งร​ ชั ส​ มัยข​ อง​พระ​เจ้าห​ ลุยส์ท​ ​ี่ 1​ 4​ท​ ส​ี่ ะท้อน​ภาพ​สงั คม​ประเทศ​ ฝรั่งเศส​ใน​ยุค​นั้น​ ​ให้​ผู้​อ่าน​ใน​สมัย​ต่อๆ​มา​ได้​มอง​เห็น​อย่าง​ ชัดเจน​ ​สำหรับ​ข้า​เจ้าน​ ั้น​ ​ราวกับ​ว่า​มี​ภาพยนตร์​ประวัติศาสตร์​ ฉาย​อยู่​ใน​หัวช​ ั่ว​ขณะ​ ​ ​เนื้อหา​วิชา​ประวัติศาสตร์​ฝรั่งเศส​ของ​อาจารย์​เซ​บา​ส​

ความ​อ ​ยุ ติ ธ รรม​อั น ​ร้ า ย​แ ร ชนชั้ น ​สู ง ​ต่ า ง​เสวย​สุ ข ​อ ยู่ ​บ น ที่ ​น่ า ​ส งสาร​ ​ด้ ว ย​ก าร​เก็ บ ​ภ ​ใย​ดี​ถึง​ชีวิต​ความ​เป็น​อยู่​ของ​ผู้ค ว่าท ​ ำ​นา​บน​หลัง​คน​ก็​ดู​เหมือน​จ

g


รง​คื อ ​ ​บ รรดา​ขุ น นาง​แ ละ​ น​ค วาม​ทุ ก ข์ ​ข อง​ป ระชาชน​ ​ภ าษี ​ร าคา​แ พง​ ​โดย​ไม่ ​ส นใจ​ คน​​จะ​เรียก​ตาม​สำนวน​ไทย​เรา​ จะ​น้อย​ไป​เสีย​ด้วย​ซ้ำ​

49

เตียน​ท​ น​ี่ กั ศึกษา​ชนั้ ป​ ท​ี ​ี่ 3​ ​ไ​ ด้เ​รียน​อยูน​่ ​ี้ ช​ ว่ ย​เสริมใ​ ห้การ​อา่ น​และ​ การ​ศึกษา​วรรณคดี​มี​อรรถ​มาก​ยิ่ง​ขึ้น​ ​ใน​ช่วง​ที่​พระ​เจ้า​หลุยส์​ที่​ 14​ป​ กครอง​ประเทศ​นนั้ บ​ า้ น​เมือง​ตก​อยูใ​่ น​สภาวะ​ขา้ ว​ยาก​หมาก​ แพง​และ​มส​ี งคราม​อยูม​่ ไิ ด้ข​ าด​ท​ ำให้เ​ต็มไ​ ป​ดว้ ย​ความ​อดอยาก​ หิวโหย​​และ​เกิด​โรค​ระบาด​​ประชากร​ฝรั่งเศส​มีอายุเ​ฉลี่ย​​25​​ปี​ เด็ก​ทารก​​1​​ใน​​4​​คน​​ต้อง​ตาย​จาก​โลก​นี้​ไป​ก่อน​ถึงว​ ัน​ครบ​รอบ​ วัน​เกิด​ใน​ปี​ที่​ ​1​ ​นับ​เป็น​ภาพ​ใน​อดีต​ที่​ชวน​ให้​สะเทือน​ใจ​เป็น​ อย่าง​มาก​ ​ ​ความ​อ​ยุติธรรม​อัน​ร้าย​แรง​คือ​ ​บรรดา​ขุนนาง​และ​ ชนชัน้ ส​ งู ต​ า่ ง​เสวย​สขุ อ​ ยูบ​่ น​ความ​ทกุ ข์ข​ อง​ประชาชน​ทน​ี่ า่ ส​ งสาร​​ ด้วย​การ​เก็บ​ภาษี​ราคา​แพง​ ​โดย​ไม่​สนใจ​ใย​ดี​ถึง​ชีวิต​ความ​เป็น​ อยู่​ของ​ผู้คน​ ​จะ​เรียก​ตาม​สำนวน​ไทย​เรา​ว่า​ทำ​นา​บน​หลัง​คน​ก็​ ดู​เหมือน​จะ​น้อย​ไป​เสียด​ ้วย​ซ้ำ​ ​ ​เหล่า​ปัญญา​ชน​ ​นัก​คิด​ ​นัก​เขียน​ใน​ยุค​นั้น​ ​เริ่มท​ น​ไม่​ ได้ก​ บั ค​ วาม​อย​ ตุ ธิ รรม​ดงั ก​ ล่าว​ต​ า่ ง​พา​กนั ผ​ ลิตผล​งาน​ทส​ี่ ะท้อน​ และ​กระตุ้น​เตือน​ผ่าน​งาน​เขียน​ต่างๆ​ ​มากมาย​ ​ให้​ประชาชน​ รู้​และ​เข้าใจ​ถึง​ความ​เป็น​ไป​ที่แท้​จริง​ใน​สังคม​ซึ่ง​ตนเอง​กำลัง​ ตก​เป็น​เหยื่อ​ ​โดย​จำเป็น​ที่​จะ​ต้อง​ใช้​วิธี​การ​อัน​แยบคาย​และ​ ระมัดระวัง​เป็น​อย่าง​ยิ่ง​เพื่อ​ป้องกัน​โทษ​อัน​ร้าย​แรง​และ​เพื่อ​นำ​ มา​ซึ่งค​ วาม​ยุติธรรม​​รวม​ไป​ถึง​ความ​สงบ​สุข​ของ​บ้าน​เมือง​ ​ ​หนึ่ง​ใน​ผล​งาน​ดัง​กล่าว​ ​คือ​บท​กวี​ที่​ข้าพเจ้า​ได้​ศึกษา​​ ข้าพเจ้าร​ ู้สึกช​ ื่นชม​ผล​งาน​นิทาน​สอน​ใจ​​ที่​ไม่ใช่เ​ป็นเ​พียง​นิทาน​ เรื่อง​นี้​ของ​​ฌอง​​เดอ​​ลา​​ฟอง​แตน​​ด้วย​ใจ​คารา​วะ​ยิ่ง​d ​


50

โลกเหงา

text&image: ผู้หญิงตะวันตก

มนต์ขลัง​อลังการ​แห่ง​บุ​โร​พุทโธ​ ​การ​เริ่ม​ต้น​เดิน​ทาง​สู่​บุ​โร​พุทโธ​ของ​ฉัน​เริ่ม​จาก​ยอค​ยา​ การ์​ต้า​ ​โดย​ใช้​รถเมล์​จาก​ย่าน​โซ​โซ​รวิ​จา​ยาน​ ​ซึ่ง​เป็น​ ย่าน​ที่พัก​สำหรับ​คน​เดิน​ทาง​แบบ​แบก​เป้​เหมือน​ย่าน​ ถนน​ข้าวสาร​บ้าน​เรา​ไป​ยัง​สถานี​ขนส่ง​ซึ่ง​อยู่​นอก​เมือง​​ สำหรับ​บรรดา​นัก​แบก​เป้​ทั้ง​หลาย​การ​ใช้​รถ​แท็กซี่​ก็​ดู​จะ​ เป็นการ​สิ้น​เปลือง​เกิน​ไป​ ​หลัง​จาก​ฉัน​ลง​จาก​รถ​บัส​เพื่อ​ จะ​ไป​ต่อ​รถ​โดยสาร​ประจำ​ทาง​สู่​บุ​โร​พุทโธ​ ​ทันใด​ที่​ก้าว​ เท้า​ลง​จาก​รถ​ที่​บริเวณ​สถานี​ขนส่ง​บรรดา​พวก​หา​เหยื่อ​ ให้​กับ​แท็กซี่​รุม​ล้อม​หน้า​ล้อม​หลัง​เพื่อ​กระชาก​ฉัน​ขึ้น​ แท็กซีค​่ นั ใ​ด​คนั ห​ นึง่ ใ​ห้ไ​ด้​ข​ นาด​พยายาม​หนีบ​ รรดา​นาย​ หน้าเ​หล่า​นั้น​ก็​พยายาม​เดิน​ตาม​ ​ท้าย​สุด​ฉัน​ต้อง​หัน​ไป​ พึ่ง​ที่​เคา​เตอร์​ประชาสัมพันธ์​ให้​ช่วย​ไล่​บรรดา​นาย​หน้า​ ทั้ง​หลาย​แล้ว​ช่วย​เดิน​ไป​ส่ง​ตรง​รถ​ประจำ​ทาง​ที่​มุ่ง​หน้า​ สูบ​่ โ​ุ ร​พทุ โธ​ห​ ลังจ​ าก​ขนึ้ น​ งั่ บ​ น​รถ​โดยสาร​ประจำ​ทาง​เพือ่ ​ เดิน​ทาง​สู่​บุ​โร​พุทโธ​บรรยากาศ​และ​สีสัน​แห่ง​อินโดนีเซีย​

ได้​เริ่ม​ขึ้น​บรรดา​คน​ขาย​ของ​ราวกับ​ร้าน​สะดวก​ซื้อ​ เคลื่อนที่​มี​ทั้ง​ขนม​ขบเคี้ยว​ต่างๆ​​ยา​หอม​​ยา​ดม​​หมาก​ ฝรัง่ ​ต​ ลอด​ทงั้ ป​ ากกา​แ​ ว่นก​ นั แดด​ก​ ลวิธใ​ี น​การ​ขาย​คอื ​ เขา​จะ​เอา​ของ​มา​วาง​ทุก​ที่​นั่ง​ถ้า​ไม่​ยาก​เสีย​เงิน​ก็​วาง​ไว้​ เฉย​อย่าง​นั้น​เดี๋ยว​คน​ขาย​ก็​จะ​เดิน​กลับ​มา​เก็บ​ของ​หรือ​ เก็บ​เงิน​ถ้า​ผู้​โดยสาร​คน​ใด​สนใจ​สินค้า​เหล่า​นั้น​ ​สำหรับ​ คน​เดิน​ทาง​เร่ร่อน​อย่าง​ฉัน​ก็​เพลิดเพลิน​กับ​กล​ยุทธการ​ ขาย​เหล่าน​ นั้ ไ​ม่น​ อ้ ย​ห​ ลังจ​ าก​หมด​ความ​สนใจ​บรรดา​นกั ​ ขาย​ทั้ง​หลาย​หัน​มา​อีก​ทาง​ก็​เจอ​ ​วณิพก​พร้อม​กีต้าร์​ขึ้น​ มา​บรรเลง​เพลง​ขบั ก​ ล่อม​อยูห​่ น้าร​ ถ​จน​จบ​เพลง​แล้วเ​ดิน​ ทักทาย​บรรดา​ผโ​ู้ ดยสาร​ชวน​ให้ค​ วักเ​หรียญ​สง่ ใ​ห้​น​ กึ ถึง​ บรรดา​วณิพก​เหล่าน​ น​ี้ อกจาก​ความ​มงุ่ ห​ มาย​เหรียญ​จาก​ ผู้​โดยสาร​ทั้ง​หลาย​บาง​คน​คง​พก​เอา​ความ​ฝัน​ใน​การ​เริ่ม​ ต้นเ​ล็กๆ​สำหรับโ​ลก​ของ​ศลิ ปินค​ ดิ ไ​ด้ด​ งั น​ นั้ แ​ ล้วก​ ม​็ อ​ิ าจ​ ใจแข็ง​ล้วง​เศษ​เหรียญ​จาก​กระเป๋า​ส่ง​ให้​เหมือน​จ่าย​เป็น​


51

ค่า​รื่นรมย์​ของ​การ​เดิน​ทาง​ ​นั่ง​ดู​วิว​ทิวทัศน์​และ​ผู้คน​ ประมาณ​หนึ่ง​ชั่วโมง​ก็​ถึง​ท่า​รถ​บัส​บุ​โร​พุทโธ​เนื่องจาก​ ห่าง​จาก​ยอค​ยา​การ์​ตา​ประมาณ 42 กิโลเมตร​แค่​นั้น​เอง​ แต่น​ ั่งร​ ถ​ไป​แบบ​หวาน​เย็น​จอด​ได้​ตลอด​ทาง​ ​ ฉัน​ถึง​บุ​โร​พุทโธ​ใน​บ่าย​วัน​ฝน​พรำ​​แล้ว​เรียก​รถ​ สามล้อ​ถีบ​ให้​ไป​ส่ง​ที่​โรงแรม​ใน​บริเวณ​เขต​โบราณ​สถาน​​ แบก​เป้​มอมแมม​เข้า​พัก​ใน​โรงแรม​นั้น​ดู​จะ​ขัด​แย้ง​กัน​​ แต่​ด้วย​ความ​อยาก​ดื่มด่ำ​กับ​บรรยากาศ​ของ​ความ​เป็น ​โบ​โร​พุทโธ​และ​หลบ​ลี้​หนี​หน้า​บรรดา​คน​ขาย​ของ​ด้าน​ หน้าเ​พื่อ​หาความ​สงบ​กับ​การ​เดิน​ทาง​ของ​ตัว​เอง​ ​หลัง​จาก​ฝน​หยุด​ใน​ตอน​เย็น​ฉัน​ไต่​ได้​ไป​นั่ง​ ดู​พระอาทิตย์​ตก​อยู่​บน​จุด​สูงสุด​ของ​ที่​นี่​ ​ตะวัน​กำลัง​ ลับข​ อบ​ฟ้า​ ​ทุ่ง​หญ้า​ ​ภูเขาไฟ​เม​กา​ปี​ ​วิว​งาม​จน​สิ้น​แสง​ สุดท้าย​แห่ง​วัน​เหมือน​เรา​อยู่​ใน​บาง​ที่​ที่​มี​พลัง​​ฉัน​นึกถึง​

ใคร​ต่ อ ​ใ คร​อั น ​เป็ น ​ที่ รั ก ​ที่ ​จ ะ​ม า​ช่ ว ย​ซึ ม ซั บ ​พ ลั ง ​บ า​ง อ​ย่าง​ ณ​ ตอน​นี้​ ​ฉัน​นึกถึง​ความ​ศรัทธา​อัน​ยิ่ง​ใหญ่​แห่ง​ พุทธ​ศาสนา​​ความ​ศรัทธา​จาก​การ​วาง​หิน​ก้อน​แรก​จวบ​ จน​เป็น​ศาสน​สถาน​อัน​ยิ่ง​ใหญ่​ ​ผ่าน​ความ​เปลี่ยนแปลง​ มากมาย​จาก​ดนิ แ​ ดน​แห่งน​ ​ี้ จ​ วบ​จน​ยงั ค​ ง​เป็นพ​ ทุ ธสถาน​ ที่ ​ย ง​ค ง​ยิ่ ง ​ใ หญ่ ​ท่ ว ม​ก ลาง​ดิ น ​แ ดน​แ ห่ ง ​อิ ท ธิ พ ล​ข อง​ ศาสนา​อิสลาม​ ​ โบ​โร​พุทโธ​มีอายุ​เก่า​แก่​ถึง 1200 กว่า​ปี​ ​ถูก​ สร้าง​ขึ้น​ใน​สมัย​ครั้ง​รา​ชวงศ์ไศ​เลน​ทร์​เมื่อ​ครั้ง​ปกครอง​ อาณาจักร​ชวา​โบราณ​ถูก​สร้าง​ราว​ พ​.​ศ​.​1318​ ​ใช้​หิน​ ใน​การ​ก่อสร้าง​นับ​ล้าน​ก้อน​ ​แรงงาน​มหาศาล​ ​และ​ใช้​ เวลา​หลาย​สิบ​ปี​ ​จน​ได้​พุทธสถาน​ที่​ยิ่ง​ใหญ่​ ​แต่​ความ​ เปลี่ยนแปลง​ใน​ดิน​แดน​แถบ​นี้​ ​อำนาจ​ที่​รุ่งโรจน์​แห่ง​รา​ ชวงศ์โศ​เลน​ทร์​ ​การ​อพยพ​ผู้คน​ออก​จาก​ดิน​แดน​แถบ​


52

นี้​ แ​ ปร​เปลี่ยน​ความ​ยิ่ง​ใหญ่​แห่ง​โบ​โร​พุทโธ​ ​ให้​ถูก​ทิ้ง​ ร้าง​ปกคลุม​ด้วย​เถาวัลย์​และ​พันธุ์​พืช​ ​บาง​ส่วน​ของ​ ศาสน​สถาน​ทรุด​ถล่ม​ด้วย​แรง​สั่น​สะเทือน​ ​และ​ถูก​ กลบ​ฝัง​ด้วย​ด้วย​เถ้า​ถ่าน​จาก​การ​ระเบิด​ของ​ภูเขาไฟ​ ครั้ง​แล้ว​ครั้ง​เล่า​ใน​ช่วง​ที่​ถูก​ทิ้ง​ล้าง​นับ​พันปี​ ​ทุก​อย่าง​ กลืน​กิน​ความ​อลังการ​และ​เรือง​โรจน์​ที่​สรรค์​สร้าง​จาก​ ความ​ศรัทธา​แห่ง​อดีต​เสีย​หมด​สิ้น​​จน​กระ​ทั่ง​ปี พ​.​ศ​.​ 2357ช่วง​ที่​อังกฤษ​ครอบ​ครอง​ชวา​​โบ​โร​พุทโธ​ได้​ถูก​ ค้นพ​ บ​อกี ค​ รัง้ ผ​ ส​ู้ ำเร็จร​ าชการ​ของ​องั กฤษ​ได้ท​ ำการ​รอื้ ​ พรรณ​พืช​และ​ถ่าน​เถ้า​ภูเขาไฟ​ออก​เพื่อ​เตรียม​บูรณะ​ อีกค​ รัง้ ​จ​ น​ใน​ปี พ​.ศ​ .​2​ 450นักโ​บราณคดีช​ าว​ฮอลันดา​ ได้ว​ าง​โครง​การณ์ฟ​ นื้ ค​ นื ชีพใ​ห้ก​ บั โ​บราณ​สถาน​ทห​ี่ ลับ​ ใหล​แห่ง​นี้​ ​โดย​ได้​รื้อ​หิน​ทุก​ก้อน​ที่​ตกหล่น​ลง​มา​แล้ว​

ทำ​เครื่อง​เพื่อ​ประกอบ​กลับ​เข้าไป​​ซึ่ง​การ​บูรณะ​ได้​ทำ​ หลาย​ครั้ง​จน​ในพ​.​ศ​.​2516​ ​การ​บูรณะ​โบ​โร​พุทโธ​ได้​ รับท​ นุ จ​ ากUnescoใช้เ​วลา​ใน​การ​บรู ณะ​ครัง้ น​ ป​ี้ ระมาณ​ สิบ​ปี​จน​ศาสน​สถาน​แห่ง​นี้​กลับ​มา​ยิ่ง​ใหญ่​อีก​ครั้ง​ใน​ปี พ​.​ศ​.​ 2526​ ​การ​ฟื้น​คืน​ความ​ยิ่ง​ใหญ่​แห่ง​พุทธ​ศาสน​ สถาน​ ​จาก​การ​ระดม​เงิน​ทุน​ ​ความ​สนใจ​และ​ความ​ ช่วย​เหลือ​ ​ท่ามกลาง​ดิน​แดน​ของ​เหล่า​มุสลิม​ความ​ คับ​แค้น​และ​ไม่​พอใจ​จาก​มุสลิม​หัว​รุนแรง​ ​โบ​โร​พุทโธ​ ได้​ถูก​ก่อ​วินาศกรรม​โดน​ลอบ​วาง​ระเบิด​ใน​เดือน​มก​ รา​คม พ​.​ศ​.​2528​ ​แต่​โชค​ดี​ที่​ได้​รับ​ความ​เสีย​หาย​ไม่​ มาก​ ​หิน​แต่ละ​ก้อน​ถูก​เรียง​เป็น​รูป​ปิ​ระ​มิด​ทัง​หมด 9 ชั้น​โดย​ชั้น 1​-​6​ ​เป็น​รูป​สี่เหลี่ยม​จตุ​รัส​ ​ชั้น 7​-​9​ ​เป็น​ ทรง​กลม​เรียง​ราย​ด้วย​สถูป​ทรง​โปร่ง​ ​โดย​มี​ยอด​เป็น​


53


54

โบ​โร​พุทโธ​ถูก​สร้าง​ขึ้น​ภาย​ใต้​ความ​เชื่อ​ของ​พุทธ​ศาสนา​นิกาย ​วัชร​ยาน​เพื่อ​เป็น​ศูนย์​แห่ง​การ​พัฒนา​จิต​โดย​การ​เพ่ง​รูป​สลัก​​อ่าน​ ความ​หมาย​​พร้อม​กับ​ปฏิบัติ​สมาธิ​ สถูป​ทืบ​ใหญ่​เป็น​ชั้น​ที่ 10​ ​ โบ​โร​พุทโธ​ถูก​สร้าง​ขึ้น​ภาย​ใต้​ความ​เชื่อ​ของ​ พุ ท ธ​ศ าสนา​นิ ก าย​วั ช ร​ย าน​เพื่ อ ​เป็ น ​ศู น ย์ ​แ ห่ ง ​ก าร​ พัฒนา​จติ โ​ดย​การ​เพ่งร​ ปู ส​ ลัก​อ​ า่ น​ความ​หมาย​พ​ ร้อม​ กับป​ ฏิบัติ​สมาธิ​ขณะ​ทำ​ประ​ทักษิณ​เดิน​เวียน​ขวา​ ​ชั้น 1​-6​ จะ​แทน​อายตนะ​ภายนอก​คอื ต​ า​ห​ ​ู จ​ มูก​ป​ าก​ก​ าย​ สัมผัส​ ​และ​จิต​ ​ชั้น 7​-​9 แทน​จิต​วิญญาณ​สาม​ระดับ​​ ส่วน​สถูป​ใหญ่​ที่​เป็น​จุด​สูงสุด​คือ​ความ​ว่าง​เปล่า​ซึ่ง​ หมาย​ถึง​นิพพาน​ ​ ช​ นั้ 7​-8​ จะ​เป็นส​ ถูปโ​ปร่งร​ ปู ข​ า้ วหลาม​ตดั โ​ดย​ ชั้น7หมาย​ถึง​ระดับ​สัน​ชา​ติต​ญาณ​ซึ่ง​อยู่​ภาย​ใต้​แรง​ กระตุ้น​ ​จาก​ความ​รัก​ ​ความ​เกลียด​ ​ประสบการณ์​ที่​ ผ่าน​มา​​ส่วน​ชั้น 8 เป็น​ระดับ​จิต​มนุษย์​ที่​ใช้​เหตุผล​อยู่​ เหนืออ​ ารมณ์​ที่​สามารถ​พัฒนา​ไป​สู่​การ​หลุด​พ้น​ ​ ชั้น​ที่ 9 เป็น​สถูป​โปร่ง​ช่อง​เป็น​สี่เหลี่ยม​จตุ​ รัส​ค​ อื ร​ ะดับป​ ญ ั ญา​ญาณ​สเี่ หลีย่ ม​จตุร​ สั แ​ สดง​ถงึ ค​ วาม​ มั่นคง​ไม่​เปลี่ยนแปลง​จิต​ที่​บริสุทธิ์​​เข้า​ถึง​สัจธรรม​​ได้​ หลุด​พ้น​แล้ว​ ​ ​ห มู่ ​ส ถู ป ​ไ ล่ ​ต าม​เนิน​ชั้น​แต่ละ​ชั้น​เรียง​ราย​ ความ​ง ดงาม​ด้ ว ย​ส ถาปั ต ยกรรม​แ ละ​ม นต์ ​ข ลั ง​ แห่งความ​ศรัทธา​เชื่อม​โยง​จาก​หิน​ก้อน​แรก​ที่​ถูก​วาง​ ผ่าน​ความ​เสือ่ ม​ความ​เรือง​โรจน์เ​ปลีย่ นแปลง​ความ​เชือ่ ​

แห่งค​ วาม​แตก​ตา่ ง​ทร​ี่ าย​ลอ้ ม​เ​วลา​ทผ​ี่ นั เ​ปลีย่ น​แต่ฉ​ นั ​ เชื่อ​ว่า​ศาสนา​สถาน​แห่ง​นี้​ยัง​เป็น​ภาพ​งาม​เพื่อ​พัฒนา​ จิต​สำหรับ​ผู้​ที่​ยัง​ยึด​ร่ม​พุทธ​ศาสนา​เป็น​ที่​พึ่ง​ ​ ชัน้ ท​ ี่ 1​-5​ กำแพง​ระเบียง​จะ​มภ​ี าพ​สลักง​ ดงาม​ มากมาย​เกี่ยว​กับ​วิถี​ชีวิต​ผู้คน​การก​ลับ​ชาติ​มา​เกิด​ หรือ​สัตว์​ต่างๆ​ซึ่ง​ดิฉัน​ก็​ดู​แล้ว​ไม่​ค่อย​เข้าใจ​ความ​ หมาย​เท่า​ไหร่​แต่​คล้ายๆ​ว่า​เป็น​คติธรรม​แฝง​อยู่​ใน​ ภาพ​ที่​พอ​จะ​เข้าใจ​ก็​จะ​เป็น​กำแพง​ระเบียง​ชั้น​ที่​สาม​ที่​ เป็น​พุทธ​ประวัติ​ที่​เคย​จำ​ได้​สมัย​เรียน​ ​ ​การ​พัก​ใน​เขต​โบราณ​สถาน​ทำให้​ดื่มด่ำ​กับ​ ความ​อลังการ​แห่งโ​บ​โร​พทุ โธ​ได้เ​ต็ม​น​ งั่ จ​ บิ ช​ า​สบายๆ​ ยาม​บ่าย​ที่​ฝน​พรำ​โดย​มี​วิว​ศาสน​สถาน​ประกอบ​ ​และ​ ยาม​ค่ำคืน​ได้​ไป​เกาะ​รั้ว​เตี้ยๆ​ชม​ความ​งาม​ยาม​ค่ำคืน​ ทีแ​่ สง​ไฟ​สาด​สอ่ ง​เ​คล้าด​ ว้ ย​กลิน่ ห​ อม​ของ​ดอกไม้ท​ ส​ี่ ง่ ​ กลิน่ ห​ อม​ยาม​คำ่ คืน​ม​ อ​ี ย่าง​เดียว​ทท​ี่ ำลาย​ความ​สนุ ทรี​ คือ​ยุง​ชุม​ชะมัด​เลย​ ​ ณ​ ค่ำคืน​ใน​บุ​โร​พุทโธ​ฉัน​ยืน​เกาะ​รั้ว​เตี้ยๆ​ที่​ กั้น​บริเวณ​โรงแรม​และ​โบราณ​สถาน​แห่ง​นั้น​ภาพ​ตระ​ ง่าน​ที่​อยู่​ตรง​หน้า​ ​หมู่​สถูป​อัน​ยิ่ง​ใหญ่​บน​ภูเขา​งดงาม​ ด้วย​แสง​ไฟ​ที่​เปิด​สาด​ส่อง​เพิ่ม​มนต์​ขลัง​จับ​เยือก​ลึก​ ใน​ความ​รู้สึก​ ​ลม​พัก​อ่อน​ผสม​ผสาน​กลิ่น​หอม​ของ​ มวล​ดอกไม้​ใน​ละแวก​นั้น​ ​บุ​โร​พุทโธ​ยาม​ค่ำคืน​ที่​ฉัน​


55

ได้​ประจักษ์​งดงาม​ยิ่ง​นัก​เหมือน​เป็น​สิ่ง​ตอบแทน​ ยิ่ง​ใหญ่​สู่​ความ​รู้สึก​ที่​ฉัน​ได้​ดั้น​ด้น​แบก​เป้​มา​ ​ความ​ งดงาม​อลังการ​เกิดจ​ าก​การ​ผสม​ผสาน​อย่าง​ลงตัวข​ อง​ สถาปัตยกรรม​ที่​มุ่ง​สู่​นิพพาน​บน​ความ​เชื่อ​แห่ง​วัชร​ ยาน​และ​ภูมิประเทศ​เป็น​ภูเขา​อัน​เป็น​ที่​ตั้ง​แฉก​เช่น​จะ​ ตอกย้ำเ​ป้าส​ ดุ ท้าย​แห่งค​ วาม​เชือ่ น​ นั้ ​แ​ ละ​คำ่ คืนน​ นั้ ฉ​ นั ​ เข้า​สนู่​ ิทรา​อัน​สงบ​และ​เป็นสุข​ ​ เช้า​ตรู่​ของ​วัน​เช้า​วัน​รุ่ง​ขึ้น​ฉัน​ตื่น​ขึ้น​ตั้งแต่​ตี​ ห้า​เ​พื่อ​ไต่​ขึ้น​ไป​ดู​แสง​แรก​แห่ง​วัน​บน​จุด​สูงสุด​ของ​โบ​ โร​พุทโธ​​ทุ่ง​หญ้า​​ทะเล​หมอก​​ภูเขาไฟ​​ที่​ราย​ล้อม​อยู่​ รอบ​ทำให้ฉ​ นั ร​ สู้ กึ ว​ า่ ต​ วั เ​อง​ลอย​ลอ่ ง​อยูท​่ า่ มกลาง​ความ​ งดงาม​ของ​ธรรมชาติ​เ​หล่าส​ ถูปท​ ร​ี่ าย​รอบ​เบือ้ ง​หลังค​ อื ​ องค์ส​ ถูป​ใหญ่​​ความ​รู้สึก​ที่​เปลี่​ยม​ล้น​ด้วย​มนต์​ขลัง​

​ ความ​สงบ​งาม​ยาม​เช้า​ที่​เปี่ยม​ล้น​ด้วย​ความ​ สุข​ท่ามกลาง​มนต์​ ​อลังการ​แห่ง​ศาสน​สถาน​แห่ง​นี้​ ผ่าน​ไป​จน​แสง​แห่ง​ตะวัน​เริ่ม​แผด​กล้า​บรรยากาศ​คง​ ไม่​เหมาะ​ที่​จะ​อยู่​บน​ลาน​สูงสุด​แล้ว​จึง​กลับ​ลง​มา​ทาน​ อาหาร​เช้า​ที่​โรงแรม​แล้ว​ ​จึง​กลับ​ไป​ชม​ภาพ​สลัก​หิน​ กำแพง​ระเบียง​ที่​มี​ร่ม​เงา​จาก​กำแพง​ ​ ​ฉัน​ค่อยๆ​ไต่​กลับ​ขึ้น​ชม​ภาพ​สลัก​ผนัง​ตาม​ คติ ธ รรม​ค วาม​เชื่ อ ​แ ห่ ง ​ชี วิ ต ​ ​วิ ธี ​ด ำเนิ น ​ท าง​แ ห่ ง​ ธรรมชาติ​ร​ วม​ทงั้ พ​ ทุ ธ​ประวัตน​ิ บั ต​ งั้ แต่พ​ ระพุทธ​องค์​ ประสูติ​​ตรัสรู้​และ​ปริ​นิ​พาน​​และ​ค่อยๆ​พัฒนา​จิต​ของ​ ตัว​เอง​ไต่​สู่​ชั้น​สูง​เหมือน​ความ​เชื่อ​แห่ง​ของ​โบราณ​ สถาน​แห่งน​ เ​ี้ พือ่ ม​ งุ่ ส​ ส​ู่ มาธิแ​ ละ​ความ​สงบ​แห่งจ​ ติ ใจ​เพือ่ ​ เดิน​สู่​จุด​มุ่ง​หมาย​แห่ง​การ​หลุด​พ้น​และ​ปริ​นิ​พาน d


56 56

Books Mania Text: มาลี

อ่าน​:​​ฉบับ​ปฐมฤกษ์​​เมษายน​-​มิถุนายน​​2551​ “​อ่าน” ​เป็น​วารสาร​ราย​สาม​เดือน​ ​ว่า​ด้วย​เรื่อง​หนังสือ​ ​วรรณกรรม​​ ประวัติศาสตร์​​การเมือง​​เนื้อหา​เข้มข​ ้น​​หนัก​​และ​สามารถ​เก็บ​เอา​ไว้​อ่าน​ ยาม​เกิด​สงครามโลก​ครั้งท​ ี่​สาม​ได้​โดย​ไม่เ​บื่อ​ ส​​ ำหรับค​ น​คอ​ไม่แ​ ข็ง​ผ​ ส​ู้ นั ทัดก​ รณีแ​ นะนำ​ให้​“​ อ​ า่ น​”​ว​ นั ล​ ะ​ไม่เ​กินส​ อง​หน้า​ พร้อม​ยา​แก้ป​ วด​หัว​​แต่ส​ ำหรับ​คน​คอแข็ง​​เล่ม​นี้​ทุบ​หัวไ​ ด้​ดี​ชะมัด​ ห​​ า​อา่ น​ได้ต​ าม​รา้ น​แ​ ต่ถ​ า้ ห​ าไม่เ​จอ​รา้ น​หนังสือศ​ กึ ษ​ ติ ส​ ยาม​หลังว​ ดั เ​บญฯ​ มี​อ่าน​แน่ สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน ราคา 200 บาท

กรณี​ศึกษา​เรื่อง​ลูก​แกะ​ฟันผ ​ ุ​:​​ชาติว​ ุฒิ​​บุญย​ ​รักษ์​ :​​รวม​เรื่อง​สั้น​ ​มี​คน​สอน​ผม​ว่า​ถ้า​อยาก​จะ​เดา​ว่า​เล่ม​ไหน​จะ​ได้​รางวัล​ซี​ไรต์​ ​ให้​ดู​ง่าย​ ​ๆ​ ​ว่า​ หนังสือ​เล่ม​นั้น​ ​1​.​อ่าน​ไม่ส​ นุก​ ​2​.​น่า​เบื่อ​ ​3​.​ชวน​หลับ​ ​ถ้าค​ รบ​สาม​ข้อน​ ี้​ชไี้​ ป​ได้​ เลย​​“​งาน​เข้า”​ ​ ​กรณี​ลูก​แกะ​หลง​ทาง​​เฮ้ย​ไม่ใช่​​ลูก​แกะ​ฟัน​ผุฯ​​อ่าน​สนุก​ใน​บาง​เรื่อง​​ไม่น​ ่า​เบื่อ​ ลอง​อ่าน​อาจ​จะ​มี​เชิงอรรถ​เยอะ​ไป​บ้าง​ตาม​ประสา​นัก​เขียน​รุ่น​ใหม่​ ​ก็​ข้าม​ ​ๆ​ ไป​ส่วน​รางวัล​ที่​หนังสือ​เล่ม​นี้​ได้​ก็​อย่า​ไป​ใส่ใจ​ ​หนังสือ​มันดี​อยู่​แล้ว​ได้รางวัล​ อะไร​จะ​สน​ทำไม สำนักพิมพ์หมูเพนกวิน ราคา 140 บาท


57 57

พระจันทร์:​​​ส​ปุ​กนิก​​กับ​​ไลก้า​:​​รวม​เรื่อง​สั้น​ ​ ห​ นังสือเ​ล่มน​ ส​ี้ นุกต​ งั้ แต่ห​ น้าป​ ก​เ​พราะ​แค่ท​ าย​วา่ ช​ อื่ ไ​ หน​เป็นช​ อื่ เ​ล่ม​ช​ อื่ ไ​ หน​ ใคร​เป็นน​ ามปากกา​คน​เขียน​กส​็ นุกแล้ว​เ​ปิดอ​ า่ น​ยงิ่ ส​ นุก​เ​พราะ​ตอ้ ง​คอย​เดา​ ว่า​เรื่อง​นี้​ส​ปุ​กนิก​เขียน​ ​หรือ​เรื่อง​นี้​ ​ไลก้าเ​ขียน​ ​“พระจันทร์” คอน​เซ็ปต์ด​ ี​นะ​​ นำ​เสนอ​แบบ​สมัย​ใหม่​ ​ไม่​ตาม​ขนบ​เรื่อง​สั้น​ทั่วไป​ ​แต่ย​ ัง​สงสัยว​ ่าเ​ล่ม​ต่อ​ไป​ คน​เขียน​จะ​ยัง​สวม​นามปากกา​ดัง​กล่าว​อยู่​หรือเ​ปล่า สำนักพิมพ์เครือข่ายนักเขียนฯ ราคา 155 บาท

ไป​หา​ใคร​บาง​คน​:​​นรา​วุฒิ​​ไชย​ชมภู:​​​รวม​เรื่อง​สั้น​ ​ เ​รือ่ ง​สนั้ ใ​ น​เรือ่ ง​นโ​ี้ คตร​สนั้ ม​ าก​เ​หมาะ​กบั ย​ คุ น​ ​ี้ ย​ คุ ท​ ค​ี่ น​สมาธิส​ นั้ ​บ​ าง​เรือ่ ง​เสีย​ ดาย​พล็อต ทำท่าจะดีดนั มาจบเสียก่อน​แ​ ต่ค​ น​เขียน​พลังงาน​คง​เหลือเฟือ​3​ 5​​ เรื่อง​สั้น​​แม้​ไม่แ​ ปลก​ใหม่แ​ ต่​ใจ​กล้า​​คน​เขียน​หนังสือต​ ้อง​อย่าง​นี้​​แต่ห​ วัง​ว่า​ เล่ม​หน้า​คง​คัดเ​รื่อง​ให้​น้อย​กว่า​นี้​​จะ​ได้​อ่าน​รื่น​​ๆ สำนักพิมพ์ไต้ฝุ่น ราคา 120 บาท

เรียน​​เจ้า​สำนักพ​ ิมพ์​​หาก​ท่าน​คิด​ว่า​ท่าน​ตั้งใจ​ทำ​หนังสือ​ดี​มี​คุณค่า​​เรา​ยินดี​นำ​หนังสือ​ของ​ท่าน​มา​โพ​นท​นา​ให้​ ​สาธารณะ​ได้​รับ​ทราบ​ ​ส่ง​หนังสือ​ของ​ท่าน​มา​ได้ที่​ ​นิตยสาร​นัก​เขียน​ไทย​ ​59​/​2​ ​ถนน​เพชรเกษม​ ​แขวง​วัด​ท่าพระ​​ เขต​บางกอกใหญ่​​กรุงเทพฯ​​10600​​เรา​ไม่​รับ​ประกัน​ว่า​หนังสือข​ อง​ท่าน​จะ​ได้​รับ​การ​เขียน​ถึง​เมื่อ​ไหร่​​แต่​โปรด​มั่นใจ​ ว่า​​เรา​อ่าน​หนังสือ​ของ​ท่าน​ทุก​เล่ม​​(​ถ้า​ดี​จริง)​ ​​อี​ดี้​อาเมน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.