60 KNOWLEDGE
ปัจจัยเสี่ยงและการบริหารจัดการ ความเสี่ยง (ตอนที่ 4) การวัดความสามารถที่จะด�ำเนินการให้วัตถุประสงค์ของ งานประสบความส�ำเร็จ ภายใต้การตัดสินใจ งบประมาณ ก�ำหนดเวลา และข้อจ�ำกัดด้านเทคนิคที่เผชิญอยู่ โดย ธีรพงศ์ ประดิษฐ์กุล
ก่อนอื่นขอสวัสดีต้อนรับปีใหม่ ส�ำหรับเทศกาลปีใหม่ และเทศกาลตรุษจีน 2020 ขอให้กิจการการงานของ สมาชิ ก ผู้ อ่ า นทุ ก ท่ า นได้ รั บ แต่ ส่ิ ง ที่ ดี ท� ำ มาค้ า ขาย เจริญก้าวหน้า และขอให้ธรุ กิจของท่านยัง ่ ยืนสืบไปครับ
ในวารสารสมาคมการพิมพ์ไทยฉบับนี้ ผมจะมากล่าวถึงความเสีย่ ง และประเภทความเสี่ยงที่ในธุรกิจสิ่งพิมพ์ต้องพบเจอ และจะ หาทางออกได้อย่างไร ผู้เขียนเองต้องขอออกตัวก่อนว่าสิ่งที่ ได้เขียนนี้เป็นปัจจัยพื้นฐาน ในบางธุรกิจอาจจะพบเจอปัญหา และความเสี่ยงมากกว่านี้ และอาจจะมีวิธีแก้ได้ดี แต่ผมจะขอ เขียนให้สมาชิกผู้อ่านได้เตรียมพร้อม และแก้ไขได้ในระดับต้น เป็นปัญหาพื้นฐาน แต่ก็ไม่สามารถละเลยได้ ความหมายของการบริหารความเสี่ยง
ความเสีย่ ง (Risk) คือ การวัดความสามารถ ทีจ่ ะด�ำเนินการให้ วัตถุประสงค์ของงานประสบความส�ำเร็จ ภายใต้การตัดสินใจ งบประมาณ ก�ำหนดเวลา และข้อจ�ำกัดด้านเทคนิคที่เผชิญอยู่ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124
อย่างเช่น การจัดท�ำโครงการเป็นชุดของกิจกรรมทีจ่ ะด�ำเนินการ เรื่องใดเรื่องหนึ่งในอนาคต โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด มาด�ำเนินการให้ประสบความส�ำเร็จ ภายใต้กรอบเวลาอันจ�ำกัด ซึง่ เป็นก�ำหนดการปฏิบตั กิ ารในอนาคต ความเสีย่ งจึงอาจเกิดขึน้ ได้ตลอดเวลา อันเนื่องมาจากความไม่แน่นอน และความจ�ำกัด ของทรัพยากรโครงการ ผูบ้ ริหารโครงการจึงต้องจัดการความเสีย่ ง ของโครงการ เพือ่ ให้ปญ ั หาของโครงการลดน้อยลง และสามารถ ด�ำเนินการให้ประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้อย่าง มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ การจัดการความเสี่ยง หรือ การบริหารความเสีย่ ง (Risk management) คือ การจัดการ ความเสี่ยง ทั้งในกระบวนการในการระบุ วิเคราะห์ (Risk analysis) ประเมิน (Risk assessment) ดูแล ตรวจสอบ และ ควบคุมความเสีย่ งทีส่ มั พันธ์กบั กิจกรรม หน้าทีแ่ ละกระบวนการ ท�ำงาน เพือ่ ให้องค์กรลดความเสียหายจากความเสีย่ งมากทีส่ ดุ อันเนื่องมาจากภัยที่องค์กรต้องเผชิญในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือเรียกว่า อุบัติภัย (Accident)