QM209 May-June 2015 Vol.22 No.209

Page 1

www.tpaemagazine.com

For

Quality Management

May-June 2015 Vol.22 No.209

Magazine for Executive Management

The

Quality and Standards in ASEAN Community

 

ISO 37001 มาตรฐานระบบการจัดการ ตอตานการติดสินบน แผนผังตนไมและแผนผังเมทริกซ : เคร�องมือในการคนหามาตรการตอบโต

  

แนวโนมราคาน้ำมันกับการพัฒนาเศรษฐกิจจีน พฤติกรรมจริงบอกมากกวาขอมูลประชากรศาสตร งานบริหารและงานปฏิบัติการแบงกันทำหนาที่อยางไร

ฉบับ

ครบรอบ

22 ป


เคร�องวัดและบันทึก (Data Logging) อุณหภูมิและความชื้น ที่มอนิเตอรผานอินเตอรเน็ตได รุน HMT140 เช�อมตอดวย WiFi สะดวกติดตั้ง สงขอมูลผาน ระบบ Wi-Fi

วัดและบันทึกอุณหภูมิ และความชื้น

มอนิเตอรขอมูล, บันทึก, แจงเตือน

ระบบเน็ตเวิรก ที่ใชอยู

มีรุนที่มีจอในตัวและ รุนแยกโพรบวัด แจงเตือนระยะไกล

Vaisala HMT140

เปนดาตาล็อกเกอรแบบไรสาย สำหรับวัดและเก็บขอมูลอุณหภูมิ, ความชื้น และสัญญาณอะนาล็อก ในงานมอนิเตอรสภาพแวดลอมในหองคลังสินคา, หองแชแข็งอาหาร, ถังแชแข็งดวยไนโตรเจน, หองปฎิบัติการ, ธนาคารโลหิต, และงานทางวิทยาศาสตร

รุน DL2000 วัดไดหลายจุดพรอมกัน มาตรฐาน cGMP

คุณสมบัติเดนของรุน HMT140 เก็บขอมูลในตัวเองได แบตเตอรี่ทำงานได 18 เดือน ใชเซ็นเซอร HUMICAP® ทนทานตอฝุนละอองและสารเคมี มาตรฐาน NIST (พรอมใบรับรอง)     

ใชงานรวมกับ Veriteq Power over Ethernet เพ�อเช�อมตอกับ เน็ตเวิรกที่มีอยู ได

มอนิเตอรขอมูล, บันทึก, แจงเตือน

มอนิเตอรระยะไกล ผานอินเตอรเนต

คุณสมบัติเดนของรุน DL2000 สำหรับสภาพแวดลอมสุดขั้ว แบตเตอรี่ใชงานไดนาน 10 ป ปรับชวงเวลาการเก็บบันทึกขอมูลได บันทึกขอมูลตอเน�องไดนานหลายป พรอมระบบปองกันดวยพาสเวิรด เซ็นเซอรคุณภาพสูง ระดับเดียวกับ ดาตาล็อกเกอรที่ใชในงานสอบเทียบ      

ตูแชเย็นจัด

ตูเย็น

Vaisala DL2000 Series

เตาอบ ระบบเน็ตเวิรก ที่ ใชอยู

แจงเตือนระยะไกล ทางโทรศัพท

เปนเคร�องวัดและเก็บบันทึกขอมูลหรือดาตาล็อกเกอรสำหรับอุณหภูมิและความชื้นที่ออกแบบมา ใหสอดคลองตามขอกำหนดในงาน อุตสาหกรรม/เภสัชกรรมโดยเฉพาะ ดวยมาตรฐาน NIST-traceable, ISO/IEC 17025 calibration, วัดคาไดตามมาตรฐาน cGMP-compliant

สนใจติดตอ : คุณวิชัย ตันติพิมพกุล 08-1934-2570, wichai@measuretronix.com ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ vaisala


ME A

V

D. LT

เคร�องสอบเทียบมาตรฐานอุณหภูมิ สำหรับหองแล็บมาตรวิทยา

R RE T ONIX SU

PASSED ER

I F I C AT I O

N

ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย

STANDARD THERMOMETER Fluke 1594A, 1595A SuperThermometer Readouts

Fluke 1586A Super-DAQ

ความแมนยำระดับ primary lab ในราคา secondary lab มั่นใจไดในทุกคาการวัด อยูในคาลิมิต ที่ตองการ • ใชกับโพรบ SPRTs, PRTs, RTDs และ thermistors (0 Ω to 500 kΩ) • ความแมนยำ รุน 1594A : ± 0.00006 °C, 0.8 ppm Ratio accuracy รุน 1595A : ± 0.000015 °C, 0.2 ppm Ratio accuracy • เลือกวัดคาโดยวิธี resistance ratio (Rx/Rs) หรือวิธี absolute resistance ได

Fluke 1523/24 Handheld Thermometer

เครื่องวัดและสอบเทียบอุณหภูมิหลายแชนเนล ความเที่ยงตรงสูง ใชบันทึกขอมูลในงานอุตสาหกรรมและงานสอบเทียบอุณหภูมิอัตโนมัติ • วัดคาเทอรโมคัปเปล, PRTs, เทอรมิสเตอร, แรงดัน dc, กระแส dc และความตานทาน • ความแมนยำการวัดอุณหภูมิสูงสุด  PRTs : ± 0.005 °C  เทอรโมคัปเปล : ± 0.5 °C  เทอรมิสเตอร : ± 0.002 °C • จำนวนอินพุตสูงสุด 40 แชนเนล แยกทางไฟฟา • ความเร็วสแกนสูงสุด 10 แชนเนลตอวินาที

Fluke 1551A Ex/1552A Ex Digital Reference Thermometer

ชุดวัดอุณหภูมิแบบพกพา เหมาะสำหรับ งานภาคสนาม สามารถใชงานไดทั้ง sPRT, PRT, Thermister และ TC มีใหเลือกทั้งแบบ 1 CH และ 2 CH

ใชงานทดแทนเทอรโมมิเตอรแบบปรอทแทงแกว (LIG) โดยใชโพรบกานโลหะ • ความแมนยำ ± 0.05°˚C • ปลอดภัยตอพื้นที่ไวไฟ • Data Logging • ทำงานตอเนื่อง 300 ชั่วโมง

Fluke 1529 Thermometer Chub E4

ชุดเครื่องมือวัดคาทางอุณหภูมิแบบ 4 ชวงวัด สามารถเลือกได • แบบ STD (2PRT, 2TC) • แบบ PRT 4 CH • แบบ TC 4 CH

HEAT SOURCE Fluke 9190A Ultra-Cool Field Metrology Well

เครื่องสอบเทียบอุณหภูมิเย็นจัด สำหรับงานภาคสนาม และสำหรับงาน สอบเทียบอุณหภูมิที่ต่ำมากเปน พิเศษโดยเฉพาะ • ทำอุณหภูมิ จาก 23 Cํ ไปยัง -95 Cํ ไดรวดเร็วภายใน 90 นาที • ทำอุณหภูมิไดกวาง -95°C ถึง 140°C • เสถียรภาพ ±0.015°C • ความแมนยำสูง ±0.05°C • คุณสมบัติสอดคลองตาม EURAMET cg-13 • สำหรับสอบเทียบ RTDs, เทอรโมคัปเปล, เทอรโมมิเตอร และเซ็นเซอรวัดอุณหภูมิแบบอื่นๆ

Fluke 914X Field Metrology Well

ชุดเครื่องมือสอบเทียบอุณหภูมิ แบบแหง เหมาะสำหรับงานภาคสนาม ดวยขนาดที่เล็กกะทัดรัด สะดวก ตอการพกพา แตยังคงประสิทธิภาพ ดวยชุดอุณหภูมิแบบ Dual Zone และยังเพิ่มขีดความสามารถดวยชุด Readout สำหรับ PRT, RTD, TC และ สามารถบันทึก ผลการวัดอุณหภูมิได Range : -25 to 660°C

Fluke 917X Metrology Well

ชุดเครื่องมือสอบเทียบอุณหภูมิแบบแหง ที่มีประสิทธิภาพระดับ Bath ดวยชุดควบคุม อุณหภูมิแบบ Dual Zone ทำใหไดมาซึ่ง • คา Stabillity ± 0.005 °C • คา Axial Uniformity ± 0.02°C • คา Radial Uniformity ± 0.01 °C • คา Accuracy ± 0.006 °C • คา Loading ± 0.005 °C • คา Hysteresis ± 0.025 °C • Immersion Depth 8 นิ้ว Range : -45 to 700°C

Fluke 6331, 7321, 7341, 7381 Deep Well Compact Calibrator

Fluke 4180 Infrared Calibrator

ชุดสรางอุณหภูมิมาตรฐาน สำหรับ สอบเทียบ อินฟราเรดเทอรโมมิเตอร ดวยขนาดที่กวางถึง 6 นิ้ว ทำให สามารถสอบเทียบอินฟราเรด เทอรโมมิเตอรไดตามมาตรฐาน และยังสามารถ ปรับคา Emissivity ของเทอรโมมิเตอรได

Fluke 6102, 7102, 7103 Micro Bath ชุดสรางอุณหภูมิชนิดใชของเหลว เปนสื่อในการ ควบคุมอุณหภูมิ เหมาะสำหรับการใชงานใน ภาคสนาม ดวยขนาดกะทัดรัด มีหัวปดเพื่อกัน ของเหลวภายในหก มีชวงการทำอุณหภูมิตั้งแต -30 ถึง 200°C รายละเอียด แตกตางกันในแตละรุน

Fluke 9118A Thermocouple Calibration Furnace

ชุดสรางอุณหภูมิชนิดใชของเหลวเปนสื่อในการ ควบคุมอุณหภูมิแบบลึก เหมาะสำหรับงานใน หองสอบเทียบ และชุดหัววัดที่มีขนาดยาว ดวย ความลึก ถึง 19 นิ้ว เมื่อใชรวมกับอุปกรณพิเศษ ทำใหสามารถสอบเทียบ LIG ได ชวงการทำ อุณหภูมิ ตั้งแต -45 to 300 °C

PROBE

Primary Probe

ชุดหัววัดมาตรฐานระดับ Primary เหมาะสำหรับ ผูที่ตองการใชเปน Reference ใชในงานสอบเทียบ ทางอุณหภูมิ Range : -200 to 661 °C

Secondary Probe

ชุดหัววัดมาตรฐานระดับ Secondary ใชในงานสอบเทียบทางอุณหภูมิ มีชวงการใชงาน -200 ถึง 661 °C

Industrial Probe

ชุดหัววัดอุณหภูมิมาตรฐานระดับ Industrial ใชในงานอุตสาหกรรม มีชวงการใชงานตั้งแต -200 ถึง 420 °C

เครื่องสอบเทียบเทอรโมคัปเปลอุณหภูมิสูง 300 - 1200 °C

มีหลุมทำความรอนแนวนอนแบบเปด สะดวกใชงาน ทำความรอนไดเร็ว มีความสม่ำเสมอความรอนแนวแกนดี เหมาะสำหรับหอง Lab, งานอุตสาหกรรมเซรามิก, หลอโลหะ, พลาสติก, ยานยนต, พลังงาน

สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 08-1869-7770, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ temperature-calibrator


ศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. ไดผานการรับรองหองปฏิบัติการสอบเทียบมาตรฐาน มอก. 17025 ในสาขาไฟฟาทั่วไป และสาขาความดันจากระดับความดัน -1 บาร ถึง 5000 บาร และมุงมั่นที่จะขยายขอบขาย การรับรองในอุณหภูมิ และแรงบิดตอไปในอนาคต อีกทั้งยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาเพิ่ม ขอบขาย ความสามารถในการใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของทานผูใชบริการ ในการสอบเทียบสาขาอื่น ๆ ตอไป

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035

Electrical / Electronics Pressure / Vacuum Temperature Dimension / Torque Gas Detector

2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035


2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035



Artwork Sumipol for ForQuality(10-02-58).pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

3/24/2558 BE

10:07


Quality Management Vol.22 No.209 May-June 2015

Contents 25

ไขความลับในการลดน�้ำหนัก... ลดอย่างไรให้ได้ผล ศูนย์สง่ เสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์

Special Issue 28 32

อย. ขับเคลื่อนองค์กรรองรับ AEC

คุณภาพและมาตรฐาน กับการเปิดประชาคมอาเซียน โดย กองบรรณาธิการ

19

16

Quality Management Quality Finance 36 แนวโน้มราคาน�้ำมัน

กับการพัฒนาเศรษฐกิจจีน โดย รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์

38

กลยุทธ์ลดหนี้ ไม่เป็นหนี้ มีเงินสะสม โดย รศ.สุพตั รา สุภาพ

Quality Marketing & Branding 42 Marketing New Trend Update

Quality System Quality Trend 13 ISO 37001 มาตรฐานระบบการจัดการการต่อต้านการติดสินบน

ั ผดุง โดย วงศกร ตระกูลหิรญ

Quality Tools 16 แผนผังต้นไม้และแผนผังเมทริกซ์: เครื่องมือในการค้นหามาตรการตอบโต้

โดย วิบลู ย์ พงศ์พรทรัพย์

Quality for Food 19 หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า ตามแนวทางของ AIB

AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices ตอนที่ 4 โดย สุวมิ ล สุระเรืองชัย

Quality of Life 22 วิกฤตโรคหัวใจ! เป็นโรคที่คร่าชีวิตคนไทยมากที่สุดติดอันดับ 1 ใน 3

โดย โรงพยาบาลหัวเฉียว

from Japan: สงคราม E-Commerce ในญี่ปุ่น โดย ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์

45

พฤติกรรมจริงบอกมากกว่าข้อมูล ประชากรศาสตร์ โดย ชาคริต ดิเรกวัฒนชัย

45



Quality Management Vol.22 No.209 May-June 2015

Contents 47

Rebranding เคล็ดไม่ลับปรับแบรนด์ให้เจ๋ง ตอนที่ 4 โดย ผศ.ดร.พัลลภา ปีตสิ นั ต์

Quality People 51 วิกฤตการณ์จะท�ำให้มนุษย์กล้าแกร่งและยอมรับเพื่อความอยู่รอด ตอนที่ 27 โดย ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวศิ ษิ ฏ์

54

ปัจจัยที่ไล่น้องใหม่ออกจากองค์กร ตอนที่ 1 โดย ธ�ำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์

47

56

56

งานบริหารและงานปฏิบัติการแบ่งกันท�ำหน้าที่อย่างไร โดย ดร.ประเวศน์ มหารัตน์สกุล

Quality Idol & Model 59 บริษัท โตโย ไทร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ที่สุดของนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่เป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของญี่ปุ่น

62

บริษัท พิณ อินเตอร์วู้ด จ�ำกัด องค์กรก้าวหน้า รักษาสิ่งแวดล้อม พร้อมส่งสินค้า พัฒนาต่อเนื่อง ยึดเรือ่ งข้อก�ำหนด ลดความสูญเสีย โดย กองบรรณาธิการ

Life Style 66

Pattaya Sheep Farm@Chonburi โดย หมูดนิ

Quality Movement 69 Quality Book Guide 70 Quality Movement 74 Advertiser Index

66


ใบสมัครสมาชิก รูปแบบ Magazine

Download Form: www.tpaemagazine.com

ในนาม

1 ป (12 ฉบับ) 790 บาท 2 ป (24 ฉบับ) 1,550 บาท เริม่ ฉบับเดือน (ระบุ) .............................

นิติบุคคล บุคคล สมัครสมาชิกใหม ตออายุ (ระบุรหัส) ..............................

จัดสงนิตยสารที่ ช�อ-นามสกุล...................................................................................................... ตำแหน�ง...................................................................... ฝาย/แผนก............................................. ช�อ (หน�วยงาน)........................................................................................................ ที่อยู......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................ รหัสไปรษณีย................................. โทรศัพท........................................................ ตอ..................... โทรสาร........................................................ E-mail (รับขาวสาร) .....................................................................

ระดับการศึกษา

ต่ำกวาปริญญาตรี

จัดสงใบเสร็จรับเงินที่

ปริญญาโท

ปริญญาตรี

จัดสงที่เดียวกับที่สงวารสาร

ปริญญาเอก

จัดสงตามที่อยูดานลาง

ตัวแทน / ผูรับใบเสร็จ (ช�อ-นามสกุล).......................................................................................................................................................... (สำหรับจาหนาซองลงทะเบียน) ที่อยูออกใบเสร็จ (หน�วยงาน)................................................................................................. ที่อยู....................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................

ทานทราบขอมูล-ขาวสาร จากที่ ใด

 เขาชมทางเว็บไซต (www.tpaemagazine.com)  บริษัทเปนสมาชิก ส.ส.ท.  รานคา ....................................  นิทรรศการตาง ๆ (Booth)งาน.......................................................................................................(ระบุ)  อ�น ๆ....................................................................................................................................................(ระบุ)

ประเภทธุรกิจที่ดำเนินการ กรุณาเลือกประเภทกิจการ

อุตสาหกรรมกาซ อุตสาหกรรมการจัดการเพ�อสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑกระดาษ อุตสาหกรรมแกรนิตและหินออน อุตสาหกรรมแกวและกระจก อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลการเกษตร อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลและโลหะการ อุตสาหกรรมเคร�องนุงหม อุตสาหกรรมเคร�องปรับอากาศและเคร�องทำความเย็น อุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต อุตสาหกรรมซอฟตแวร อุตสาหกรรมเซรามิกส

ผูผลิต ผูนำเขา อ�น ๆ (โปรดระบุ)

ผูสงออก

อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมน้ำตาล อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง อุตสาหกรรมผูผลิตไฟฟา อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมไมอัด ไมบาง และวัสดุแผน อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมยานยนต

ผูจัดจำหนาย

หนวยงานราชการ

อุตสาหกรรมเย�อและกระดาษ อุตสาหกรรมรองเทา อุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันปโตรเลียม อุตสาหกรรมโรงเล�อยและโรงอบไม อุตสาหกรรมสมุนไพร อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑหนัง อุตสาหกรรมหลังคาและอุปกรณ อุตสาหกรรมหัตถอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมอะลูมิเนียม อุตสาหกรรมอัญมณีและเคร�องประดับ อุตสาหกรรมอาหาร

วิธีการชำระเงิน เงินสด (กรณีชำระที่สมาคมฯ เทานั้น) โอนเงินเขาบัญชีธนาคาร ช�อบัญชี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 บัญชีสะสมทรัพย เลขที่บัญชี 172-0-239233 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 009-2-23325-3

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม หรือสงใบสมัครมาที่

เจาหนาที่ลูกคาสัมพันธสมาชิก ฝายธุรกิจสิ่งพิมพ ส.ส.ท.

PR_NW

สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 โทรศัพท 0-2258-0320-5 ตอ 1740 โทรสาร 0-2662-1096 หรือ E-mail maz_member@tpa.or.th


Editor’s Talk

“คุณภาพ”

และ “มาตรฐาน” สองค�ำนี้มีความส�ำคัญต่อการแข่งขัน ในอนาคตอย่างไร ผู้ประกอบการจะสามารถพัฒนา ศักยภาพของตนเองได้อย่างไร ภาครัฐจะมีส่วนให้การสนับสนุนอย่างไร หลายค�ำถาม วนเวียนอยู่ใกล้ตัว ยิ่งใกล้เข้าสู่การเปิดประชาคมอาเซียนในปลายปีนี้ ผู้ประกอบการไทย ต่างยิง่ ต่องเร่งขวนขวายพัฒนาตนเองและสร้างองค์ความรู้ ส�ำหรับผูป้ ระกอบการายใหญ่ อาจไม่น่าเป็นห่วงนัก แต่ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมอาจต้องท�ำงานหนัก มากยิ่งขึ้น ขอเป็นส่วนหนึ่งที่จะเอาใจช่วยทุกท่านให้ก้าวผ่านความท้าทายนี้ไปให้ ได้ สืบเนื่องจากนิตยสาร ครบรอบ 22 ปี ฉบับที่ 209 เดือนพฤษภาคมมิถุนายน 2558 จึงใคร่ขอน�ำเสนอประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวกับ “คุณภาพ” และ “มาตรฐาน” ผ่านบทสัมภาษณ์ ท่านเลขาธิการส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวง สาธารณสุข และ ท่านเลขาธิการส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวง อุตสาหกรรม ซึง่ เป็นองค์กรทีเ่ กีย่ วข้องและยังเป็นผูแ้ ทนหลักของประเทศไทยเข้าร่วมประชุม คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน นอกจากนี้ยังเป็น องค์กรหลักในการปรับมาตรฐาน กฎระเบียบ และกระบวนการตรวจสอบรับรองมาตรฐาน ให้เป็นที่ยอมรับในระดับภูมิภาคและสากล พร้อมกันนี้นิตยสาร ยังขอน�ำเสนอบทความคุณภาพน่าอ่าน อาทิ Quality System บทความเรือ่ ง ISO 37001 มาตรฐานระบบการจัดการการต่อต้านการติดสินบน บทความ เรือ่ ง แผนผังต้นไม้และแผนผังเมทริกซ์: เครือ่ งมือในการค้นหา Quality Management เสนอบทความ เรื่อง แนวโน้มราคาน�้ำมันกับการพัฒนาเศรษฐกิจจีน บทความเรื่อง พฤติกรรมจริงบอกมากกว่า ข้อมูลประชากรศาสตร์ และบทความเรื่อง งานบริหารและงานปฏิบัติการแบ่งกันท�ำหน้าที่อย่างไร ขอบคุณผู้อ่านทุกท่านที่ติดตามอ่านนิตยสาร มาโดยตลอด

Published by

Advisors คุณมนตรี ชูนามชัย คุณญาณพัฒน อูทองทรัพย

Executive Editor สมใจ วัฒนบรรเจิด

Editorial Assistant พรามร ศรีปาลวิทย จารุภา มวงสวย

Graphics Art Director Production Design โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1731, 1732, 1708

PR & Advertising Supervisor: ฬ�ยากร ขุพินิจ โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th

Marketing Service

บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

Advertising

บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

Member

จารุภา มวงสวย โทร. 0-2259-9160 ตอ 1740

พบกันใหม่ฉบับหน้า

Pre-Press Printing

วัตถุประสงค

บริษัท ส.เอเซียเพรส (1989) จำกัด โทร. 0-2732-3101 โทรสาร 0-2375-2017

บทความและขอมูลในนิตยสารฉบับนี้เปนความคิดเห็นสวนตัว และลิขสิทธิ์ของผูเขียน จึงไมมีสวนผูกพันกับสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) แตอยางใด อีกทั้งขอมูลตาง ๆ อาจผิดพลาดเน�องจากกระบวนการพิมพ จึงมิควรใชอางอิงกอนที่จะตรวจสอบใหชัดเจน และในกรณีมีบทความใดที่ผูอานเห็นวาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิงหรือทำให เขาใจผิดวาเปนผลงานของผูเขียน กรุณาแจงใหทางสมาคมฯ ทราบ จักเปนพระคุณอยางยิ่ง


ไดอยางไร? ในทุกคำถามที่เกี่ยวกับ “Quality” CCT มี ใหคุณทุก “คำตอบ”

ผลิตสินคาใหมีมากกวาคุณภาพ

CCT รับประกันใหคุณผานการรับรอง

 

ISO 14001

ISO/IEC 17025

ISO 9001 TQM

Consultancy Services and Training

ISO/TS 16949

Consult

QS 9000

HACCP

TIS 18001

5S 

Pre-assessment Audit

QCC

ติดตอสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณมัลลิกา

CCT SQUARE CO., LTD.

1570 Phaholyothin Rd., Ladyaw, Jatujak, Bangkok 10900 Tel. 0-29397717-20 (6 Automatic Line) Fax: 0-25121475 1570 ถนนพหลโยธ�น แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-29397717-20 (6 คูสายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-25121475 http://www.cctsquare.com e-mail: service@cctsquare.com

In-house Training


Q

System for

uality

Trend Tools for Food of Life


Q

Trend for

uality

ISO 37001 มาตรฐานระบบการจัดการการต่อต้านการติดสินบน วงศกร ตระกูลหิรัญผดุง wongskora@hotmail.com

ความเป็นมา

ส�ำหรับธุรกิจ การทุจริตคอร์รัปชั่นด้วยการ “ติดสินบน” เป็น “ภาษีทผี่ ดิ กฎหมาย” ก้อนใหญ่ทบี่ ริษทั ธุรกิจต้องจ่าย กลายเป็นต้นทุน ในการด�ำเนินงานทีม่ ผี ลต่อแรงจูงใจในการท�ำธุรกิจ และการเติบโตของ ประเทศ ซึง่ มักเกิดขึน้ ระหว่างเอกชนกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั หรือแม้แต่เอกชน กับเอกชนเอง ปัจจัยความเห็นแก่ตัวของนักธุรกิจ สภาวะสมยอม จ�ำยอม แต่ท�ำเพื่อให้ได้ “งาน” การทุจริตคอร์รัปชั่นนับวันจะมีเทคนิคและซับซ้อนมากขึ้น สิ่งที่ช่วยลดปัญหาได้ คือ การเปิดเผยข้อมูลผ่านสาธารณชนอย่าง กว้างขวาง ขณะเดียวกันสือ่ มวลชนทีค่ อยเปิดเผยความไม่ถกู ต้องก็ขาด ความกล้าในการติดตามขุดคุ้ยเพื่อน�ำเสนอข้อเท็จจริง เพราะสื่อที่ท�ำ หน้าทีอ่ ย่างตรงไปตรงมาได้รบั ผลกระทบ เช่น ไม่ซอื้ โฆษณา ไม่ให้ขา่ ว หรือถูกฟ้องร้องทางกฎหมาย ท�ำให้ยุ่งยาก

นิยามปัญหาการคอร์รัปชั่น

องค์การความโปร่งใสสากลได้ให้ความหมาย และระบุถงึ กรณี การติดสินบนว่าเป็นแรงจูงใจส�ำคัญให้เกิดการคอร์รัปชั่น เพราะ

เป็นการเสนอ การให้ หรือการสัญญาว่าจะให้ผลประโยชน์ทงั้ ในรูปแบบ ของเงิน หรือสิ่งตอบแทนแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือบุคคล หรือองค์การ ธุรกิจทั้งโดยทางตรงหรือทางอ้อม

ISO 37001 มาตรฐานระบบการจัดการการต่อต้านการติดสินบน

มาตรฐานสากล ISO 37001 มาตรฐานระบบการจัดการการ ต่อต้านการติดสินบน (anti-bribery management systems) คาดว่า จะประกาศใช้ในปี 2559 เพื่อประโยชน์ต่อทุกองค์การไม่ให้ต้องจ่าย สินบน และเป็นการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของภาค ธุรกิจ ข้อมูลจากธนาคารโลกประเมินว่ามีการจ่ายเงินเพื่อการติด สินบนสูงถึง 1 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ในแต่ละปี หรือคิดเป็น 3% ของ GDP โลก และประมาณการว่ามีองค์การธุรกิจจ�ำนวนกว่า 50% มีการ จ่ายเงินติดสินบน ซึ่งเป็นปัญหาที่ลดทอนขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ และส่งผลกระทบ คือ สร้างความเหลื่อมล�้ำ ความ ไม่เท่าเทียมให้แก่สังคม เป็นอุปสรรคส�ำคัญในการแก้ปัญหาความ ยากจนของประเทศ และท�ำลายความน่าเชื่อถือขององค์การ และเป็น for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

13


Trend ปัญหาความเป็นธรรมในธุรกิจ กระทบต่อความเชือ่ มัน่ ในการลงทุน การ ตัดสินใจด�ำเนินธุรกรรมกัน รวมถึงการขอสินเชื่อและการช�ำระหนี้ ธนาคาร มาตรฐาน ISO 37001 Anti-Bribery Management Systems เป็นมาตรฐานทีจ่ ะใช้เป็นเครือ่ งมือในการบริหารจัดการการต่อต้านการ ติดสินบนที่ก�ำหนดแนวทางการปฏิบัติที่ดี เพื่อต่อต้านคอร์รัปชั่นที่ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้กบั ทุกองค์การ โดยขณะนีม้ าตรฐานอยูใ่ น ระหว่างการจัดท�ำเป็นฉบับร่าง ทัง้ นีข้ อ้ ก�ำหนดมาตรฐานน่าจะต่อยอด หรือมีบางส่วนที่สอดคล้องกับมาตรฐาน BS 10500 ซึ่งเป็นมาตรฐาน ว่าด้วยการจัดการต่อต้านการคอร์รปั ชัน่ ของประเทศสหราชอาณาจักร สถานะล่าสุดของมาตรฐาน ISO 37001 เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2557 คือ มาตรฐานฉบับร่างกรรมาธิการ (Committee Draft; ISO/CD 37001) คาดว่าน่าจะประกาศเป็นมาตรฐานสากลภายในปี 2559 โดย มีโครงสร้างข้อก�ำหนดสอดคล้องตามมาตรฐานระบบการจัดการอื่น ๆ เช่น ISO 9001 และ ISO 14001 กล่าวคือ มีสาระส�ำคัญครอบคลุม เช่น องค์การต้องมีนโยบาย การต่อต้านการติดสินบน มีการสือ่ สารให้แก่บคุ ลากรและสาธารณะรับ ทราบ มีการควบคุม การให้ความรู้ การฝึกอบรม องค์การต้องมีความ รับผิดชอบ และให้การสนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ ที่จะต่อต้านการติด สินบนอย่างจริงจัง มีการวางแผน การประเมินความเสีย่ ง การตรวจสอบ ประเมินภายใน และการปรับปรุงเพื่อการพัฒนา เป็นต้น

ทำ�ความรู้จัก BS 10500

BS 10500:2011 Specification for an Anti-Bribery Management System (ABMS) เป็นมาตรฐานของฝั่งสหราชอาณาจักร (UK) จั ด ท� ำ แล้ ว เสร็ จ มี ก ารประเมิ น รั บ รองแก่ อ งค์ ก ารหลายแห่ ง แล้ ว BS 10500 ได้พฒ ั นาขึน้ เพือ่ ให้สอดรับกับกฎหมาย คือ The UK Bribery

Act 2010 ซึง่ เป็นกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต คอร์รัปชั่น โดยมุมมองที่ส�ำคัญของ BS 10500 มีดังนี้ ➲ นโยบายการต่อต้านการติดสินบน (anti-bribery policy) ➲ การสื่อสาร (communication) ➲ การให้ความรู้ การฝึกอบรม และการแนะแนว (education, training and guidance) ➲ ความรับผิดชอบในการปฏิบัติตาม (responsibility for compliance) ➲ ทรัพยากรในการต่อสู้กับการติดสินบน (resources to combat bribery) ➲ การประเมินความเสี่ยง (risk assessment) ➲ การตรวจสอบวิเคราะห์สถานะธุรกิจ (due diligence) ➲ ขั้นตอนการจ้างงาน (employment procedures) ➲ นโยบายการให้ของขวัญ การต้อนรับ และการบริจาค (gifts, hospitality, donations policies) ➲ การจ่ายเงินค่าอ�ำนวยความสะดวก (facilitation payments) ➲ การมอบหมายการตัดสินใจ (delegated decision-making) ➲ การควบคุมสัญญา (contractual controls) ➲ การควบคุมทางการเงิน (financial controls) ➲ การควบคุมการจัดซื้อจัดจ้างและการค้า (procurement and commercial controls) ➲ การเพิ่มความระมัดระวังให้มากขึ้น (raising concerns: whistle-blowing arrangements) ➲ ขั้นตอนการสืบสวน (investigation procedures) ➲ กระบวนการทางวินัย (disciplinary procedures) ➲ การตรวจสอบภายใน (internal audit) ➲ การทบทวนของฝ่ายบริหาร (top management overview and tone)

BS 10500 มีประโยชน์อะไรบ้าง

Vol.22 No.209 May-June 2015

14

ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพิ่มขึ้น ส�ำหรับมาตรการต่อต้านการติดสินบนอย่างเพียงพอ ➲ แสดงให้เห็นถึงการปฏิบต ั ติ ามกฎหมายทีม่ ขี นั้ ตอนทีถ่ กู ต้อง ในสถานที่ ➲ ตรวจสอบและบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งธุรกิจและห่วงโซ่ อุปทาน ➲ ได้รบ ั โอกาสในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ าน อาจลดเบี้ยประกันและติดตามเตรียมพร้อมส�ำหรับด�ำเนินการทาง กฎหมาย มาตรฐานทั้งสองฉบับนี้ ไม่ว่าจะ ISO 37001 และ BS 10500 ล้วนช่วยให้เห็นว่าองค์การมีการด�ำเนินงานตามตัวชีว้ ดั ทีส่ มเหตุสมผล และเหมาะสมต่อการป้องกันการติดสินบน เพือ่ สร้างการยอมรับเชือ่ ถือ


Trend ในการด�ำเนินธุรกิจ และแสดงถึงความเป็นองค์การที่โปร่งใส มีธรรมาภิบาล

ปัญหาคอร์รัปชั่นทางเศรษฐศาสตร์

การต่อต้านคอร์รัปชั่นของไทย

ปัจจุบันภาคเอกชนไทยรวมตัวกันปฏิเสธคอร์รัปชั่นในการท�ำ ธุ ร กิ จ และร่ ว มมื อ กั น ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงในวิ ธี แ ละ กระบวนการท�ำงานของภาครัฐ เพือ่ สร้างความโปร่งใสและความน่าเชือ่ ถือ ให้กบั การท�ำธุรกิจของประเทศกว่า 300 บริษทั โดยเฉพาะบริษทั ขนาด ใหญ่ที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ ได้มีพันธกิจสามอย่างที่ต้องท�ำและทุก บริษัทก�ำลังท�ำ เพื่อให้การประกาศเจตนารมณ์มีผลไปสู่การปฏิบัติจริง 1. ประกาศเป็นนโยบายของบริษทั โดยคณะกรรมการบริษทั ที่จะท�ำธุรกิจโดยไม่มีการทุจริตคอร์รัปชั่น

2. วางระบบควบคุมภายในเพื่อป้องกันไม่ให้การท�ำทุจริต คอร์รัปชั่นเกิดขึ้นในบริษัท ทั้งที่เป็นธุรกิจระหว่างบริษัทเอกชนด้วย กันเอง และระหว่างบริษัทกับภาคทางการ 3. น�ำนโยบายและระบบดังกล่าวไปปฏิบตั ใิ ช้จริง เป็นการท�ำ โดยไม่ตอ้ งรอมาตรฐาน ทุกวันนีป้ ญ ั หาคอร์รปั ชัน่ โดยการติดสินบน หาก โดนจับได้ว่ามีความผิดจริง ทั้งเจ้าหน้าที่รัฐและภาคเอกชน นอกจาก ถูกด�ำเนินคดีทางกฎหมายแล้ว ยังเป็นข่าวอึกทึกครึกโครม สร้างความ เสียหายต่อชื่อเสียงและกระทบต่อภาพลักษณ์ของบริษัท รวมถึง วงศ์ตระกูล สิ่งนี้ไม่ได้เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีนก็ลงโทษอย่างเด็ดขาด มาเลเซียเปิดพิพิธภัณฑ์คนโกง บันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ไว้เลย ฯลฯ เรียกว่ากลายเป็นประเด็นร้อนของหลายประเทศทั่วโลก หาก ผิดมีการฉ้อฉลทุจริต ติดคดีคอร์รัปชั่น บริษัทหลายแห่งถึงขนาดปิด กิจการลง ประเทศบางชาติอาจล้มละลายเข้าโปรแกรมกูเ้ งินกับองค์การ ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจฟุบไปยาวเลย เอกสารอ้างอิง http://www.iso.org/iso/home/news_index/news_archive/news. htm?refid=Ref1916

Vol.22 No.209 May-June 2015

จากงานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์ที่ผ่านมา สรุปคร่าว ๆ ได้ว่า คอร์รัปชั่นส่งผลเสียระยะยาวต่อระบอบเศรษฐกิจ 6 ทางหลัก ๆ ดังนี้ 1. บั่ น ทอนอั ต ราการเติ บ โตระยะยาว และพยุ ง ระบอบ ทุนนิยมพวกพ้อง (crony capitalism) ให้ด�ำเนินต่อไป คอร์รัปชั่น เรียกรับเงินสูงกว่าอัตราที่จ่ายกันปกติเสมอ และมีความไม่แน่นอนสูง ทั้งในอัตราเรียกเก็บ และในแง่ที่ผู้จ่ายไม่แน่ใจได้ว่า คนที่รับเงินไปนั้น จะท�ำตามสัญญาหรือไม่ นอกจากนี้ยังลดแรงจูงใจที่จะลงทุน เพราะ เป็นต้นทุนส่วนเพิ่มนอกเหนือจากค่าใช้จ่ายในการท�ำธุรกิจ กลุ่มที่ได้ ประโยชน์ มักกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มที่ติดสินบนอยู่เพียงไม่กี่ราย จึงเกิด ทุนนิยมพวกพ้อง เกิดความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจ 2. บิดเบือนแรงจูงใจผูท้ มี่ คี วามสามารถ เนือ่ งจากรายได้จาก คอร์รปั ชัน่ มีมลู ค่าสูงและได้มาง่ายกว่า ผูท้ จุ ริตมักคิดหาช่องทางใหม่ ๆ ทีส่ ลับซับซ้อนขึน้ เพือ่ เรียกรับประโยชน์ และย้ายไปท�ำงานในจุดทีม่ ผี ล ประโยชน์มากขึน้ ท�ำให้คนทีม่ คี วามสามารถไม่ได้อยูใ่ นจุดทีค่ วรจะอยู่ 3. บิดเบือนค่าใช้จา่ ย และลดคุณภาพของสินค้าและบริการ เนื่องจากการไม่สามารถแสดงหลักฐานเมื่อติดสินบนได้ และเงิน บางส่วนได้จา่ ยไปให้เจ้าหน้าทีแ่ ละพนักงานทีร่ บั สินบนไปแล้ว เลยต้อง ลดต้นทุนลง 4. ลดประสิทธิภาพของเงินกู้ ส่วนใหญ่ผู้บริหารภาคเอกชน และภาครัฐที่คอร์รัปชั่นมักจะมีแผนขอสินเชื่อมาท�ำโครงการเพื่อรับ ประโยชน์ ท�ำให้สนิ้ เปลือง ผลลัพธ์ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย ไร้ประสิทธิภาพ และมีงบประมาณของฝ่ายบริหารทีส่ งู โดยส่วนใหญ่มกั ไม่เปิดเผย หรือ สามารถตรวจสอบโดยละเอียดได้ 5. เพิม่ ความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดวิกฤตการเงิน โดยเฉพาะการปล่อย กูอ้ ย่างไม่ระมัดระวังของสถาบันการเงิน หรือการใช้จา่ ยผิดประเภท ซึง่ อาจน�ำไปสู่ปัญหาหนี้เสีย ส่งผลต่อสถาบันการเงิน และเศรษฐกิจของ ประเทศได้ 6. เพิ่มแรงจูงใจให้มีการหลบเลี่ยงภาษี หรือการท�ำงานไม่ เต็มที่ เพราะขาดความศรัทธาและเชื่อมั่นต่อองค์การ

15


Q

Tools for

uality

แผนผังต้นไม้และแผนผังเมทริกซ์: เครื่องมือในการค้นหามาตรการตอบโต้ วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์ viboon@gmail.com

ใน

บทความฉบับก่อนหน้านี้ ผู้เขียนได้แนะน�ำให้รู้จักเครื่องมือ สองเครื่องมือในชุด 7 New QC Tools ได้แก่ แผนผังกลุ่ม เชื่อมโยง (affinity diagram) และแผนผังแสดงความสัมพันธ์ (interrelation diagram) ซึง่ เป็นเครือ่ งมือกลุม่ แรกทีม่ ไี ว้สำ� หรับการท�ำความ เข้าใจกับลักษณะปัญหาทีม่ คี วามสับสน และแจกแจงปัญหาให้ชดั เจน เพื่อน�ำไปเป็นจุดเริ่มในการแก้ไขปัญหา มาในบทความฉบับนี้ ผูเ้ ขียนจะแนะน�ำเครือ่ งมืออีก 2 เครือ่ งมือ ที่น�ำมาใช้ต่อจากเครื่องมือชุดแรกได้แก่ แผนผังต้นไม้ และแผนผัง เมทริกซ์ หลังจากท�ำความเข้าใจกับปัญหาแล้ว ขั้นตอนถัดไปก็คือ การค้นหามาตรการ กลยุทธ์ หรือวิธีการในการแก้ไขปัญหา โดยแผน-

16

for Quality Vol.22 No.209 May-June 20151

ผังต้นไม้เป็นเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยค้นหาวิธกี ารในการบรรลุจดุ ประสงค์ ส่วน แผนผังเมทริกซ์เป็นเครื่องมือที่ใช้แสดงถึงความสัมพันธ์หรือความ เกี่ยวข้องของประเด็นที่สนใจ

แผนผังต้นไม้ (tree diagrams)

แผนผังต้นไม้เป็นเครื่องมือง่าย ๆ ที่ทุกคนคงคุ้นเคยกันดี โดย ลักษณะหน้าตาของเครือ่ งมือตัวนีจ้ ะเหมือนกับชือ่ ของมัน นัน่ ก็คอื เริม่ จากประเด็นหนึ่งประเด็นและแตกกิ่งก้านขยายออกไปเรื่อย ๆ เหมือน กับต้นไม้ เพียงแต่ในการแสดงมักนิยมจับต้นไม้นั้นนอนลง ดังแสดง ในรูปที่ 1


Tools

ทำ�อย่างไร ?

ทำ�อย่างไร ?

วิธีปฏิบัติ วิธีการ

แนวทาง วิธีการ จุดประสงค์

Clay Desiccant

ลดอากาศชื้น ภายในบรรจุภัณฑ์

วิธีปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ

วิธีการ

วิธีปฏิบัติ

ทำ�ให้ ทำ�ให้

▲ รูปที่

Silica Gel

ไม่ให้มีความชื้น ภายในบรรจุภัณฑ์

พลาสติก ป้องกันไม่ให้อากาศชื้น เข้ามาภายในบรรจุภัณฑ์

วิธีปฏิบัติ แนวทาง

ใส่ตัวดูดความชื้น ลงในบรรจุภัณฑ์

ใช้บรรจุภัณฑ์ ที่กันความชื้น

กระจก อะลูมิเนียม

วิธีปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ

▲ รูปที่

3 แผนผังต้นไม้สำ�หรับการป้องกันความชื้นในบรรจุภัณฑ์

วิธีปฏิบัติ

Waste Warranty

ลดต้นทุน

1 รูปแบบของแผนผังต้นไม้

Cycle Time

แผนผังต้นไม้ ถูกเริ่มใช้ครั้งแรกในการวิเคราะห์หน้าที่งานใน วิศวกรรมคุณค่า (value engineering) ในชื่อของแผนผังระบบ (system diagrams) หรือ Dendrograms ซึ่งเริ่มจากการตั้งจุดประสงค์ และด�ำเนินการพัฒนากลยุทธ์สบื ต่อกันเรือ่ ยมา เพือ่ ให้บรรลุผลส�ำเร็จ ดังแสดงในรูปที่ 2

ออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่

เพิ่มรายรับ เพิ่มปริมาณขาย ▲ รูปที่

ทำ�โปรโมชั่น

4 แผนผังต้นไม้สำ�หรับการเพิ่มกำ�ไรระยะยาวตามแนวทางคุณภาพ

กลยุทธ์ จุดประสงค์

กลยุทธ์ จุดประสงค์

▲ รูปที่

เพิ่มราคาขาย

2 แนวคิดของแผนผังต้นไม้

หรือพูดง่าย ๆ ก็คอื แผนภาพทีใ่ ช้แสดงถึงวิธกี ารต่าง ๆ ในการ บรรลุจุดประสงค์ ดังตัวอย่างในรูปที่ 3 ซึ่งแสดงถึงวิธีการที่ไม่ให้เกิด ความชื้นภายในบรรจุภัณฑ์ และรูปที่ 4 ที่แสดงถึงวิธีการในการเพิ่ม ก�ำไรระยะยาว

อย่างไรก็ตาม การที่พบเห็นแผนผังที่มีลักษณะเหมือนกับ แผนผังต้นไม้ ก็ไม่ได้แปลว่าจะเป็นแผนผังต้นไม้เสมอไป เช่น แผนผัง สายการบังคับบัญชา แผนผังจ�ำแนกองค์ประกอบผลิตภัณฑ์ ฯลฯ เนือ่ งจากแผนผังเหล่านีม้ ไิ ด้มคี วามหมายในการแสดงถึงการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงค�ำพูด แต่ใช้เพือ่ จ�ำแนกรายการหรือองค์ประกอบย่อยเท่านัน้ ในการสร้างแผนผังต้นไม้ ให้เริม่ จากการก�ำหนดจุดประสงค์ที่ ต้องการและเขียนลงในกล่องด้านซ้ายมือ หลักจากนัน้ ให้ทำ� การระดม สมองผ่ า นการ์ ด เพื่ อ ค้ น หาวิ ธี ก ารต่ า ง ๆ ที่ ส ามารถท� ำ ให้ บ รรลุ จุดประสงค์นั้น โดยเริ่มจากแนวคิดหลักและย่อยลงไปถึงวิธีการย่อย หลังจากนั้นน�ำการ์ดต่าง ๆ มาวางต่อด้านขวามือ โดยเริ่มจากวิธีการ หลัก และต่อด้วยวิธีการย่อย จนได้ถึงวิธีที่สามารถน�ำไปปฏิบัติได้ เมื่อน�ำการ์ดวางจนครบถ้วนแล้ว ให้ท�ำการทวนสอบความ ถูกต้อง รวมถึงความครบถ้วนว่ายังมีวธิ กี ารอืน่ ๆ ทีย่ งั ไม่ได้นำ� มาเขียน ไว้หรือไม่ โดยการอ่านย้อนกลับจากการ์ดขวามือสุด ว่าวิธีการ ดังกล่าวสามารถท�ำให้เกิดผลลัพธ์ในช่องซ้ายมือหรือไม่ ดังแสดงใน รูปที่ 1

แผนผังเมทริกซ์ (matrix diagram)

แผนผังเมทริกซ์ เป็นเครื่องมือที่ทุกคนรู้จักและคุ้นเคยกันดี ตัง้ แต่สมัยเรียนหนังสือแล้ว เพราะก่อนไปโรงเรียนจ�ำเป็นต้องดูแผนผัง เมทริกซ์ก่อนว่าวันนี้มีเรียนอะไรบ้าง ผู้อ่านคงเดากันออกแล้วว่า ก�ำลังพูดถึง “ตารางสอน” นั่นเอง ตารางสอนเป็นรูปแบบหนึ่งของแผนผังเมทริกซ์ ที่ใช้แสดง

Vol.22 No.209 May-June 2015

จุดประสงค์

เพิ่มกำ�ไร

17


Tools ความสัมพันธ์ของวันและเวลา โดยความสัมพันธ์ทเี่ กิดขึน้ คือวิชาเรียน แผนผังเมทริกซ์จงึ เป็นเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรหรือปัจจัยต่าง ๆ ที่สนใจ โดยอาศัยรูปแบบของตาราง ไขว้ เพื่อช่วยในการวางแผนตัดสินใจหรือการพิจารณาผลกระทบที่จะ เกิดขึ้น ดังแสดงในรูปที่ 5

แต่นอกจากการประเมินความสัมพันธ์กันด้วยวิธีที่กล่าวไป ข้างต้นแล้ว อาจประเมินความสัมพันธ์โดยการใช้ตัวเลขแทนความ สัมพันธ์ก็ได้ ดังตัวอย่างในรูปที่ 6

▲ รูปที่ ▲ รูปที่

5 แผนผังเมทริกซ์แสดงความสัมพันธ์ของความต้องการลูกค้าและคุณลักษณะ ของไฟฉาย

รูปแบบของแผนผังเมทริกซ์ทพี่ บเห็นโดยทัว่ ไปมักเป็นแบบตัว L ซึ่งเป็นการแสดงความสัมพันธ์ของปัจจัย 2 ปัจจัย โดยปัจจัยแรกอยู่ แถวนอนทางด้านบนและปัจจัยที่ 2 อยูแ่ ถวตัง้ ทางด้านซ้ายมือ ดังแสดง ในรูปที่ 5 แต่นอกจากนี้แล้วยังมีแผนผังเมทริกซ์แบบตัว T ตัว Y ตัว X ดังแสดงในรูปที่ 6 ซึ่งเป็นการแสดงความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มากกว่า 2 ปัจจัยอีกด้วย

Vol.22 No.209 May-June 2015

▲ รูปที่

18

6 แผนผังเมทริกซ์รูปแบบต่าง ๆ

ส�ำหรับการแสดงความสัมพันธ์ มักใช้สัญลักษณ์ง่าย ๆ แทน ความสัมพันธ์ ณ ต�ำแหน่งทีเ่ กิดการตัดกันของตาราง เช่น วงกลมซ้อน กันสองวง แทนมีความสัมพันธ์กันสูงมาก วงกลมหนึ่งวง แทนมีความ สัมพันธ์กนั สูง และสามเหลีย่ ม แทนมีความสัมพันธ์กนั น้อย ส่วนช่องใด ปล่อยว่างไว้ แสดงว่าไม่มีความสัมพันธ์กันเลย ดังแสดงไว้ในรูปที่ 5

6 การใช้แผนผังเมทริกซ์เพื่อตัดสินใจทางเลือก

เมื่อได้วิธีการในการบรรลุจุดประสงค์จากแผนผังต้นไม้รูปที่ 3 แล้ว ขั้นต่อมาคือการตัดสินใจเพื่อเลือกวิธีการที่ดีที่สุด ดังนั้น จึงน�ำวิธี การทีไ่ ด้มาวางไว้ในแถวตัง้ ด้านซ้ายมือ และท�ำการก�ำหนดเกณฑ์เพือ่ ประเมินทางเลือก ซึ่งในที่นี้จะพิจารณาจากมุมมองด้านความส�ำเร็จ ความเป็นไปได้ และความคุ้มค่า ดังแสดงไว้ในแถวนอนด้านบน หลังจากนั้นท�ำการประเมินว่าแต่ละวิธีการมีคะแนนในแต่ละ ด้านเป็นอย่างไร อย่างเป็นอิสระ เมื่อประเมินเสร็จแล้ว ให้น�ำคะแนน ทีไ่ ด้มาคูณกันเป็นคะแนนรวม และเลือกทางเลือกทีม่ คี ะแนนมากทีส่ ดุ จะเห็นได้ว่าทั้งแผนผังต้นไม้และแผนผังเมทริกซ์ ต่างก็เป็น เครือ่ งมือทีใ่ ช้กนั อยูโ่ ดยทัว่ ๆ ไป เพราะนอกจากจะเป็นเครือ่ งมือทีส่ ร้าง ง่ายแล้ว ยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยจัดระเบียบวิธีคิดให้สะดวกต่อการ ท�ำความเข้าใจอีกด้วย เอกสารอ้างอิง โยชิโนบุ นายาทานิ, 7 New QC Tools เครื่องมือสู่คุณภาพยุคใหม่ กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2545


Q

for Food for

uality

หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า

ตามแนวทางของ AIB

ตอนที่ 4 AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices แปลและเรียบเรียงโดย สุวิมล สุระเรืองชัย System Development Consultant Co., Ltd. sdcexpert@sdcexpert.com, suwimol.su@gmail.com

ต่อจากฉบับที่ 207 2.8 Air Makeup Units อากาศที่ใช้ ต้องถูกกรอง (filtered or screened) และ ตัวกรอง (filters and screens) ต้องถูกคงไว้ เพื่อป้องกันการปนเปื้อนสู่ผลิตภัณฑ์ 2.8.1.1 Air Makeup Units ต้ อ ง ติดตั้งด้วยตัวกรองที่สะอาดและปราศจาก เชื้อราและสาหร่าย 2.8.1.2 อากาศที่ ไ หลกลั บ เข้ า ท่ อ ส�ำหรับ HVAC Systems และ Air Makeup Units ต้องถูกติดตั้งให้ท�ำความสะอาดและ ตรวจสอบได้ 2.8.1.3 พัดลม เครื่องเป่าลม (blower) เครื่องกรอง ตู้ และ Plenums ต้องอยู่ใน แผนการบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกันเพื่อป้องกัน เชื้อรา การพัฒนาของเชื้อจุลินทรีย์ กิจกรรม ของแมลง และสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ

2.8.1.4 หน้าต่าง หรือประตู ที่ต้อง เปิ ด เพื่ อ ระบายอากาศต้ อ งมี ต ะแกรงเพื่ อ ป้องกันการเข้าของสัตว์พาหะ 2.8.1.5 เครื่องเป่าลมต้องถูกตั้ง ท�ำ ความสะอาด และด�ำเนินการในลักษณะทีไ่ ม่ ท�ำให้เกิดการปนเปื้อนต่อวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ ระหว่างกระบวนการ บรรจุภัณฑ์ พื้นผิวที่ สัมผัสกับอาหาร และผลิตภัณฑ์สุดท้าย 2.8.1.6 มีตัวกรองที่มีประสิทธิภาพ ในการก�ำจัดอนุภาคขนาด 50 ไมครอน หรือ มากกว่า ข้อก�ำหนดรอง 2.8.2.1 หากไม่มตี ะแกรง ทีห่ น้าต่าง และช่องกระจกรับแสงสว่าง (skylight) ต้อง ไม่มีการเปิดออก Ø

2.8.2.3 มีการระบายอากาศในจุดจัด เก็บผลิตภัณฑ์และพืน้ ทีผ่ ลิตเพือ่ ลดกลิน่ ควัน และไอระเหย 2.9 การป้องกันสัตว์พาหะ วัสดุ โครงสร้าง และการบ�ำรุงรักษาสิ่งก่อสร้างและ อุปกรณ์ที่สนับสนุนต่อการป้องกันและก�ำจัด สัตว์พาหะและแมลงแบบบูรณาการ (integrated pest management program) 2.9.1.1 สิ่งก่อสร้างต้องเป็นอุปสรรค เพื่อป้องกันนก สัตว์กัดแทะ แมลงและสัตว์ พาหะอื่น ๆ 2.9.1.2 โครงสร้างต้องไม่มีรอยแตก รอยแยก และการอาศัยของสัตว์พาหะ 2.9.1.3 ประตู หน้าต่าง และช่องเปิด ออกสูภ่ ายนอกต้องปิดมิดชิด หรืออย่างอืน่ ใด ต้องกันสัตว์พาหะอย่างน้อยต้องน้อยกว่า ¼ for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

19


for Food

Vol.22 No.209 May-June 2015

หรือ 6 มิลลิเมตร 2.10 การรั่วและการหล่อลื่น การ รั่วไหลและการหล่อลื่นต้องถูกจัดการไม่ให้ เกิดการปนเปื้อนสู่ผลิตภัณฑ์อาหาร ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 2.10.1.1 ต้องมีการป้องกัน การชี้บ่ง และก�ำจัดการรั่วไหลและการหล่อลื่นที่มาก เกินไป 2.12 การป้องกันการปนเปื้อนข้าม ขั้ น ตอนที่ แ ตกต่ า งในการจั ด เก็ บ และการ กระจายผลิตภัณฑ์อาหารที่สามารถส่งผล กระทบในทางลบต่อกระบวนการและการจัด เก็บในพื้นที่อื่น ๆ การด�ำเนินการคัดแยกเพื่อ ลดโอกาสส�ำหรับอันตรายทางอาหารทีจ่ ะเกิด ขึ้น ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 2.12.1.1 การด�ำเนินการต้องถูกแยก บนพืน้ ฐานการไหลของกระบวนการ ประเภท ของวัสดุ อุปกรณ์ พนักงาน การไหลของ อากาศ คุณภาพของอากาศ และบริการที่ จ�ำเป็น 2.12.1.2 มี ก ารจั ด การไหลของ กระบวนการ ตั้งแต่การรับเข้าถึง จัดส่งเพื่อ ป้องกันการปนเปื้อนสู่ผลิตภัณฑ์ 2.12.1.3 พื้นที่ส�ำหรับการล้างและ ท�ำความสะอาดต้องอยู่ห่างจากกิจกรรมการ ท�ำงานและเก็บรักษา หากจ�ำเป็น 2.12.1.4 ห้องน�ำ้ ต้องไม่เปิดโดยตรง

20

สู่ผลิตภัณฑ์ที่อาจถูกจัดเก็บไว้ Ø 2.15 การซ่อมแซมชั่วคราว หากมี การซ่ อ มแซม หรื อ การด� ำ เนิ น อื่ น ใด การ ซ่อมแซมแบบชัว่ คราวทีม่ คี วามจ�ำเป็นในบาง ช่วงเวลา หรือหลีกเลี่ยงไม่ได้ ระเบียบปฏิบัติ ต้องมั่นใจว่าจะไม่กลายเป็นการปนเปื้อน อันตรายตามที่ก�ำหนดไว้ ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 2.15.1.1 เทป ลวด เชือก กระดาษ แข็ง พลาสติกและวัสดุชั่วคราวอื่น ๆ ต้องไม่ น�ำมาใช้ส�ำหรับการซ่อมแซมแบบถาวร หาก มีการใช้สำ� หรับการซ่อมแซมแบบฉุกเฉิน ต้อง ลงวันที่และน�ำมาทดแทนด้วยการซ่อมแซม อย่างถาวรโดยเร็ว 2.15.1.2 การซ่อมแซมแบบชัว่ คราว ใด ๆ บนพืน้ ผิวสัมผัสกับอาหารต้องสร้างจาก วัสดุที่เป็น Food-Grade 2.15.1.3 คงไว้ซึ่งบันทึก Work Order หรือใบแจ้งซ่อม 2.15.1.4 ต้ อ งมี ก ารปฏิ บั ติ ต าม ระเบียบปฏิบตั ดิ า้ นการซ่อมแซมแบบชัว่ คราว ข้อก�ำหนดรอง 2.15.2.1 ปัญหาของการซ่อมแซม แบบชั่วคราวต้องถูกแก้ไขโดยเร็ว และตาม หลักการ 2.16 การสร้ า งพื้ น ผิ ว ที่ สั ม ผั ส กั บ อาหาร พื้ น ผิ ว ที่ มี ก ารเสื่ อ มสภาพหรื อ ไม่

สามารถท�ำความสะอาดได้ หรือรักษาไว้ได้ อาจเป็นอันตรายในการปนเปือ้ นสูผ่ ลิตภัณฑ์ ได้ ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 2.16.1.1 พื้ น ผิ ว สั ม ผั ส กั บ อาหาร ต้องไม่เกิดการกัดกร่อน คงทน และท�ำจาก วัสดุที่ไม่เป็นพิษ 2.16.1.2 รอยต่ อ บนพื้ น ผิ ว สั ม ผั ส กับอาหารต้องเรียบและปราศจากรอยเชื่อม หรือตะปู 2.17 อุปกรณ์การวัดอุณหภูมิ กระบวนการผลิตและพืน้ ทีจ่ ดั เก็บทีต่ อ้ งมีควบคุม อุ ณ หภู มิ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี เ ครื่ อ งวั ด ที่ มี ค วาม แม่นย�ำ ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ Ø 2.17.1.2 หากมีการใช้งานในกระบวนการที่เป็นจุดวิกฤตเพื่อความปลอดภัย ของอาหาร อุปกรณ์การวัดอุณหภูมิต้องถูก สอบเทียบตามมาตรฐานสากล 2.17.1.3 อุปกรณ์การวัดอุณหภูมิ ต้องถูกตรวจสอบตามความถี่ที่ก�ำหนด 2.17.1.4 ใช้ระบบการตรวจสอบด้วย สัญญาณเตือนเมื่ออุณหภูมิเกินค่าที่ตั้งไว้ 2.17.1.5 คงไว้ซงึ่ บันทึกของกิจกรรม การตรวจสอบอุณหภูมิ ข้อก�ำหนดรอง 2.17.2.1 ติ ด ตั้ ง เทอร์ โ มมิ เ ตอร์ ภายในตู้เย็น ตู้แช่แข็ง และพื้นที่จัดเก็บที่ถูก ควบคุมอุณหภูมิ


2.17.2.2 อุปกรณ์วัดอุณหภูมิที่ใช้ ในกระบวนการที่ไม่เป็นจุดวิกฤตเพื่อความ ปลอดภัยของอาหารต้องถูกสอบเทียบตาม มาตรฐานสากล Ø 2.19 อุปกรณ์การขนส่ง อุปกรณ์ เช่น รถยกอาจท�ำให้เกิด ปัญหาการปนเปือ้ นข้ามหากไม่ได้รบั การดูแล รักษา ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 2.19.1.1 อุ ป กรณ์ ก ารขนส่ ง ซึ่ ง รวมถึงรถลากพาเลท (pallet jacks) รถเข็น (carts) รถลาก (trolleys) และรถยก ต้องถูก รักษาไว้ให้ปอ้ งกันการปนเปือ้ นของผลิตภัณฑ์ ในระหว่างการขนส่ง 2.19.1.2 รถยก รถลากพาเลท (pallet jacks) หรืออุปกรณ์ทคี่ ล้ายคลึงกันต้องอยู่ ในรายการบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกัน และ/หรือ แผนการท�ำความสะอาด ส�ำหรับการท�ำความ สะอาดและติดตาม 2.20 Parts Storage การดูแลรักษา ที่ไม่เหมาะสม หรืออะไหล่การซ่อมแซมที่ สกปรก อาจท�ำให้เกิดความเสีย่ งการปนเปือ้ น สูผ่ ลิตภัณฑ์ จากการจัดเก็บหรือการท�ำความ สะอาดที่ไม่เหมาะสม ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 2.20.1.1 อะไหล่ต้องถูกจัดเก็บใน สภาพแวดล้อมที่สะอาด ห่างจากพื้น ข้อก�ำหนดรอง 2.20.2.1 ต้องมีเฉพาะอะไหล่และ อุปกรณ์ทสี่ ะอาดเท่านัน้ ถูกจัดเก็บในพืน้ ทีจ่ ดั เก็บอะไหล่ 2.21 คุณภาพน�้ำ มีการจัดเตรียมน�ำ้ แหล่งน�ำ้ และการ จัดการน�้ำ เพื่อเตรียมน�้ำที่มีความปลอดภัย ส�ำหรับกิจกรรมที่สัมผัสกับอาหาร ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 2.21.1.1 น�้ำที่ใช้ในโรงงานต้องมี ความสอดคล้องตามข้อก�ำหนดกฎหมาย 2.21.1.2 โรงงานต้องมีนำ�้ ประปาที่

ปลอดภัย จากแหล่งน�้ำที่ได้รับการอนุญาต 2.21.1.3 สุม่ ตัวอย่างน�ำ้ เป็นประจ�ำ ทีน่ ำ� มาจากน�ำ้ บาดาล ในการใช้งานและพืน้ ผิ ว สั ม ผั ส ที่ ส อดคล้ อ งตามหน่ ว ยงานด้ า น สุขภาพท้องถิ่น และข้อก�ำหนดกฎหมาย 2.21.1.4 ผลของการทดสอบน�้ ำ ต้องถูกจัดท�ำเป็นเอกสาร 2.21.1.5 น�้ำ ไอน�้ำ และน�้ำแข็งที่ สัมผัสกับอาหารและพื้นผิวสัมผัสกับอาหาร ต้องถูกตรวจสอบเป็นประจ�ำเพื่อให้มั่นใจว่า ไม่มีความเสี่ยงต่อความปลอดภัยต่อผลิตภัณฑ์ 2.21.1.6 การติดตั้งอุปกรณ์ในการ ก่อสร้างและคงไว้ซึ่งน�้ำประปาเพื่อป้องกัน การไหลกลับเข้าสู่ระบบจ่ายน�้ำและการไหล ย้อนกลับ 2.21.1.7 ตรวจเช็คเป็นประจ�ำเพื่อ ทวนสอบการไหลกลับเข้าสูร่ ะบบจ่ายน�ำ้ และ การไหลย้อนกลับ เพื่อเป็นการป้องกันการ ท�ำงานที่ไม่เหมาะสม ผลการด�ำเนินการต้อง จัดท�ำเป็นเอกสาร 2.21.1.8 มี ร ะบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย ที่ เพียงพอส�ำหรับกระบวนการผลิต และรักษา ไว้เพื่อป้องกันการปนเปื้อนสู่ผลิตภัณฑ์ทั้ง โดยตรงหรือโดยอ้อม 2.21.1.9 สารเคมีในการบ�ำบัดน�ำ้ ที่ ใช้กบั ไอน�ำ้ หรือน�ำ้ ใช้ทสี่ มั ผัสโดยตรงหรือโดย อ้อมกับอาหารต้องได้รับอนุญาตให้ใช้สัมผัส กับอาหารได้

2.21.1.10 มี ก ารใช้ ส ารเคมี ใ นการ บ�ำบัดน�ำ้ ทีส่ อดคล้องตามทีฉ่ ลากระบุ ผลลัพธ์ ของการทดสอบความเข้มข้นและระเบียบ ปฏิบัติด้านการทวนสอบ (verification) ต้อง จัดท�ำเป็นเอกสาร ข้อก�ำหนดรอง 2.21.2.1 ต้ อ งมี ก ารชี้ บ ่ ง อุ ป กรณ์ การป้องกันการไหลกลับเข้าสู่ระบบจ่ายน�้ำ และการไหลย้อนกลับในโปรแกรมการบ�ำรุง รักษาเชิงป้องกัน 2.22 การออกแบบสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกในการล้างมือ มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการก�ำจัดสิง่ ปนเปือ้ นจาก มือของพนักงาน ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 2.22.1.1 มี น�้ ำ ร้ อ นและน�้ ำ เย็ น ใน ห้องน�้ำ อ่างล้างมือ และห้องเปลี่ยนเสื้อผ้า 2.22.1.2 สิง่ อ�ำนวยความสะดวกใน การล้างมือต้องมีน�้ำใช้ที่เพียงพอ 2.22.1.3 สิง่ อ�ำนวยความสะดวกใน การล้างมือ ต้องมีข้อความและถูกแยกออก จากสิง่ อ�ำนวยความสะดวกในการล้างเครือ่ งใช้ อื่น ๆ ข้อก�ำหนดรอง Ø 2.22.2.2 จั ด เตรี ย มวาล์ ว ผสมที่ สามารถปรับอุณหภูมิของน�้ำได้

อ่านต่อฉบับหน้า

Vol.22 No.209 May-June 2015

for Food

21


Q

of Life for

uality

วิกฤตโรคหัวใจ! เป็นโรคที่คร่าชีวิตคนไทยมากที่สุดติดอันดับ 1 ใน 3

โรงพยาบาลหัวเฉียว

“โรคหัวใจ”

22

เป็ น ค�ำที่ กว้าง และสามารถแบ่งได้หลายชนิด ดังนี้ 1. โรคลิ้ น หั ว ใจและผนั ง กั้ น ห้ อ ง หัวใจ อาจเป็นแต่กำ� เนิด มักไม่ทราบสาเหตุที่ ชัดเจน เชื่อว่าการติดเชื้อไวรัสและการได้รับ สารเคมี หรือยาบางชนิดระหว่างตัง้ ครรภ์ ซึง่ ความผิดปกติเหล่านี้ส่วนมากสามารถผ่าตัด แก้ไขได้ หรือมาเป็นภายหลังก็ได้ มักเกิดจาก การติดเชื้อคออักเสบและไม่ได้รับการรักษา อย่างถูกต้องจึงเกิดการอักเสบของลิ้นหัวใจ และส่งผลให้ลิ้นหัวใจตีบ รั่ว หรือภาวะลิ้นหัวใจรัว่ ทีเ่ กิดจากการเสือ่ มของลิน้ หัวใจเอง 2. โรคกล้ามเนื้อหัวใจ กล้ามเนื้อ หัวใจท�ำงานผิดปกติ หรือกล้ามเนือ้ หัวใจหนา กว่าปกติ โรคที่พบบ่อย คือ กล้ามเนื้อหัวใจ หนา เนือ่ งจากความดันโลหิตสูงทีไ่ ม่ได้รบั การ รักษามานาน กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือ กล้ามเนื้อหัวใจตายจากหลอดเลือดหัวใจตีบ ตัน สาเหตุทพี่ บบ่อย คือ การสะสมของไขมัน ที่ผนังหลอดเลือด การแก้ไขภาวะกล้ามเนื้อ for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015


of Life ตารางแสดงชนิดและปริมาณอาหารที่เหมาะสมสำ�หรับคนไทยใน 1 วัน หน่วยนับ

ข้าว – แป้ง ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม

ทัพพี ทัพพี ส่วน ช้อนกินข้าว แก้ว

น�้ำมัน น�้ำตาล และเกลือ

ช้อนชา

พลังงาน 1,600 2,000 2,400 กิโลแคลอรี่ กิโลแคลอรี่ กิโลแคลอรี่ 8 10 12 4 (6) 5 6 3 (4) 5 5 6 9 12 2 (1) 1 1 ➢ ไม่ควรรับประทานน�้ำตาลเกินวันละ 4-6 ช้อนชาต่อวัน เพราะพลังงานที่ได้รับจากน�้ำตาลเป็นส่วนเกิน จะสะสม ท�ำให้อ้วนได้ ➢ เกลือโซเดียม หรือเกลือแกง เป็นสารที่ให้ความเค็มใน เครื่องปรุงรส ไม่ควรรับประทานเกินวันละ 1 ช้อนชา หากเกินจะเสี่ยงต่อภาวะความดันโลหิตสูง

หัวใจตายหรือขาดเลือด คือ ขยายหลอดเลือด หัวใจด้วยบอลลูนแล้วใส่ Stent และการผ่าตัด By Pass 3. โรคเยือ่ หุม้ หัวใจ เป็นโรคทีพ่ บไม่ บ่อย ส่วนใหญ่เกิดการอักเสบจากการติดเชือ้ ไวรัส แบคทีเรีย หรือเชื้อวัณโรค ส่วนใหญ่ รักษาได้ 4. โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ กลุม่ นีม้ ี หลายชนิดทัง้ อันตรายและไม่อนั ตราย สาเหตุ เกิดจากระบบไฟฟ้าในหัวใจท�ำงานผิดปกติ ผูป้ ว่ ยจะมีอาการเจ็บหน้าอก หอบ เหนือ่ ยง่าย ใจสั่น วูบ ในรายที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอาจ พบว่ามีขาบวมร่วมด้วย

การปฏิบัติการเพื่อลดความเสี่ยง ก่อนเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด

หลักส�ำคัญของการปฏิบัติตนเพื่อลด ความเสีย่ ง คือ หลัก 3 อ (อาหาร ออกก�ำลังกาย อารมณ์) และ 2 ส (ไม่สบู บุหรี่ และลด การดืม่ สุรา) 1. อ อาหาร รับประทานพอดี รับประทานพอ คือ รับประทานอาหาร ครบทุกหมู่ มากน้อยให้พอดีกบั ความต้องการ ของร่างกาย และสมดุลกับการออกแรงใน แต่ละวัน รับประทานดี คือ รับประทานอาหารให้ หลากหลายชนิด ไม่ซ�้ำซากจ�ำเจ ลดอาหาร หวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้ (ควรเลือกรับ

ประทานผลไม้ทมี่ รี สหวานน้อย) หมายเหตุ: ➲ พลังงานวันละ 1,600 กิโลแคลอรี่ เหมาะส�ำหรับเด็กอายุ 6 - 13 ปี หญิงวัยท�ำงาน อายุ 25 - 60 ปี และผูส้ งู อายุ 60 ปีขนึ้ ไป ➲ พลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี่ เหมาะส�ำหรับวัยรุน่ หญิง-ชาย อายุ 14-35 ปี ชายวัยท�ำงาน 25 - 60 ปี ➲ พลังงานวันละ 2,400 กิโลแคลอรี่ เหมาะส�ำหรับหญิง-ชายที่ใช้พลังงานมาก ๆ เช่น เกษตรกร ผูใ้ ช้แรงงาน นักกีฬา 2. อ ออกกาลังกายพอเพียง การออกก� ำ ลั ง กายจะช่ ว ยเพิ่ ม สมรรถภาพร่ า งกาย ความทนทานของหัวใจ ช่วยควบคุมน�้ำหนัก ลดไขมันในเลือ ด ส่งเสริม กระบวนการใช้

Vol.22 No.209 May-June 2015

กลุ่มอาหาร

น�้ำตาล ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคเบาหวาน ลดความดันโลหิต ได้ประมาณ 8 - 10 มิลลิเมตรปรอท ลดความ เครียด (เพิม่ ระดับฮอร์โมนความสุข คือ ฮอร์โมน เอนดอร์ ฟ ิ น ) และท� ำ ให้ ส ามารถประกอบ กิ จ วั ต รประจ� ำ วั น และท� ำ งานได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ เคล็ดลับในการเริม่ ต้นออกก�ำลังกาย ➲ การแต่งกาย สวมรองเท้าพื้นหนา รองรับแรงกระแทกยืดหยุน่ ได้ สวมใส่เสือ้ ผ้าที่ สบายและแห้ง ดูดซับเหงือ่ ได้ดี ➲ เริ่มต้นด้วยการเดิน 5 นาที (หรือ ออกก�ำลังกายอย่างอืน่ ทีค่ ณ ุ ชอบ) เกือบทุกวัน ของสัปดาห์อย่างช้า ๆ เพิ่มเวลามากขึ้นจน

23


of Life

Vol.22 No.209 May-June 2015

24

กระทัง่ สามารถท�ำได้ 30 นาทีตอ่ วัน อย่างน้อย 5 วันต่อสัปดาห์ ถ้าต้องการลดน�้ำหนัก ควร ออกก�ำลังกายต่อเนือ่ งวันละ 45 นาทีขนึ้ ไป ➲ การเดินเป็นวิธอ ี อกก�ำลังกายทีง่ า่ ย และปลอดภัยทีส่ ดุ เหมาะสมกับทุกเพศ ทุกวัย ท�ำได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา ทีม่ โี อกาส โดยการเดินเร็ว วันละ 30-45 นาที อย่างน้อย 5 วันต่อสัปดาห์ ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและ หลอดเลือดได้ 35-50% ➲ การออกก�ำลังกายระดับปานกลาง เหมาะสมกับคนทัว่ ไป โดยหัวใจควรเต้น 6070% ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด โดย ค�ำนวณจากสูตรอัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจ = 220 – อายุ (ปี) เช่น นาย ก มีอายุ 40 ปี ความหนักของ การออกก�ำลังกายที่ต้องการ คือ 60% ของ อัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจ อัตราการเต้น สูงสุดของหัวใจของคนอายุ 40 ปี เท่ากับ 220 - 40 = 180 ดังนัน้ 60% ของอัตราการเต้น ของหัวใจสูงสุดของนาย ก เท่ากับ 60/100 x 180 = 108 ครัง้ ต่อนาที กรณีทไี่ ม่ได้จบั ชีพจร ให้สงั เกตอาการขณะออกก�ำลังกาย คือ ขณะ

ทีอ่ อกก�ำลังกายหัวใจเต้นเร็วขึน้ หายใจเร็วขึน้ กว่าปกติเล็กน้อย แต่สามารถพูดคุยกับผู้อื่น ได้จนจบประโยคโดยไม่ต้องหยุดเพื่อหายใจ ร้องเป็นเพลงได้ แต่ไม่ไพเราะ ขั้นตอนการออกก�ำลังกาย การออกก�ำลังกายทีถ่ กู ต้องและท�ำอย่างสม�ำ่ เสมอจะ ท�ำให้รา่ งกายเกิดความแข็งแรง อายุยนื ชะลอ ความชรา และลดโอกาสการเกิดโรคหัวใจและ หลอดเลื อ ด การออกก� ำ ลั ง กายที่ ถู ก ต้ อ ง ประกอบด้วย 3 ขัน้ ตอน ดังนี้ ➲ ขัน ้ ตอนที่ 1 การอบอุน่ ร่างกายหรือ การอุน่ เครือ่ ง (warm up) ประมาณ 5-10 นาที ➲ ขั้ น ตอนที่ 2 การออกก� ำ ลั ง กาย อย่างจริงจัง (exercise) ประมาณ 20-30 นาที

ขัน้ ตอนที่ 3 การท�ำให้รา่ งกายเย็น ลงหรือการเบาเครือ่ ง (cool down) เป็นระยะ ผ่อนคลาย ประมาณ 5-10 นาที ข้อควรระวัง หากมีอาการดังต่อไปนี้ ให้หยุดการออกก�ำลังกายและไปพบแพทย์ เพือ่ ตรวจหาสาเหตุ ➲ ใจสัน ่ ➲ แน่นหน้าอก และปวดร้าวไปทีแ ่ ขน ไหล่ และคอซีกซ้าย ➲ หายใจล�ำบาก หรือเวลาหายใจมี เสียงดังวีด๊ ๆ ➲ หายใจตืน ้ เร็วอย่างรุนแรง ➲ วิงเวียน รูส ้ กึ เหมือนจะเป็นลม หรือ รูส้ กึ พะอืดพะอม ➲ เหงือ ่ ออกมากผิดปกติ ➲ เป็นตะคริว มีอาการปวดกล้ามเนือ ้ อย่างรุนแรง ➲ คลืน ่ ไส้ 3. อ อารมณ์ ผ่อนคลาย ไม่เครียด ความเครียดจะส่งผลให้เกิดความผิดปกติทาง ร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม เช่น ➲ ความผิดปกติทางร่างกาย ได้แก่ ปวดศีรษะ ไมเกรน ท้องเสียหรือท้องผูก นอนไม่หลับ หรือง่วงเหงาหาวนอน ปวดเมื่อย กล้ามเนือ้ เบือ่ อาหารหรือรับประทานมากกว่า ปกติ ท้องอืดเฟ้อ อาหารไม่ยอ่ ย ประจ�ำเดือน มาไม่ปกติ เสือ่ มสมรรถภาพทางเพศ มือเย็น เท้าเย็น เหงือ่ ออกตามมือตามเท้า ใจสัน่ ถอน หายใจบ่อย ๆ ผิวหนังเป็นผื่นคัน เป็นหวัด บ่อยๆ แพ้อากาศง่าย เป็นต้น ➲ ความผิ ด ปกติ ท างจิ ต ใจ ได้ แ ก่ ความวิตกกังวล คิดมาก คิดฟุง้ ซ่าน หลงลืมง่าย หงุดหงิด โกรธง่าย ใจน้อย เบือ่ หน่าย ซึมเศร้า เหงา ว้าเหว่ สิน้ หวัง หมดความรูส้ กึ สนุกสนาน เป็นต้น ➲ ความผิดปกติทางพฤติกรรม ได้แก่ สูบบุหรี่ ดืม่ สุรามากขึน้ ใช้สารเสพติด ใช้ยานอนหลับ จูจ้ ขี้ บี้ น่ ชวนทะเลาะ มีเรือ่ งขัดแย้ง กับผูอ้ นื่ บ่อย ๆ ดึงผม กัดเล็บ กัดฟัน ผุดลุก ผุดนัง่ เงียบขรึม เก็บตัว เป็นต้น


Q

of Life for

uality

ใน

ปัจจุบนั ความอ้วนไม่เพียงแต่สง่ ผลต่อบุคลิกภาพ แต่ยงั ก่อให้เกิด ปัญหาสุขภาพต่าง ๆ มากมาย ดังนั้น การดูแลรักษาสุขภาพให้ แข็งแรง ตลอดจนควบคุมน�ำ้ หนักตัวให้อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ จึงเป็นปัจจัยส�ำคัญ ต่อภาวะการมีสขุ ภาพดี คนส่วนใหญ่มองว่าการลดน�้ำหนักเป็นสิง่ ทีท่ ำ� ได้ยาก บางคนเสียเวลาและใช้เงินทองมากมายไปกับนวัตกรรมการลดน�ำ้ หนักแบบ ต่าง ๆ ในท้องตลาด แต่กลับไม่ประสบความส�ำเร็จ บางคนออกก�ำลังกาย อย่างหนักแต่นำ�้ หนักตัวกลับไม่ลด แถมยังรับประทานอาหารมากกว่าเดิม หลังการออกก�ำลังกาย และอีกหลาย ๆ คนที่พยายามลดน�้ำหนักแต่กลับ

ลดน�้ำหนัก...

ไขความลับในการ

ลดอย่างไรให้ได้ผล นายแพทย์สมบูรณ์ รุ่งพรชัย

แพทย์ด้านเวชศาสตร์ชะลอวัย ฮอร์โมนและสุขภาพทางเพศ สูตินรีเวชวิทยา เวชศาสตร์การกีฬา การลดน�้ำหนัก ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์

ล้มเหลวจนรูส้ กึ ท้อใจ นัน่ เป็นเพราะคนส่วนใหญ่ยงั มีความเข้าใจเแบบผิด ๆ รวมทัง้ ไม่ทราบ ถึงวิธกี ารลดน�ำ้ หนักอย่างถูกต้องนัน่ เอง ในอดีตการลดน�ำ้ หนักด้วยวิธกี ารควบคุมแคลอรีเ่ ป็นทีย่ อมรับกันในวงกว้าง หลักการนี้ เน้นการสร้างสมดุลของการออกก�ำลังกายและการรับประทานอาหารเพือ่ รักษาระดับน�ำ้ หนัก ตัวให้คงที่ แต่หากคุณต้องการลดน�้ำหนัก คุณจะต้องเพิม่ ความเข้มข้นในการออกก�ำลังกาย และลดปริมาณของอาหารทีร่ บั ประทาน แต่ในความเป็นจริงแล้วในการลดน�ำ้ หนักให้ได้ผลนัน้ ยังต้องอาศัยปัจจัยอืน่ ๆ นอกเหนือจากการควบคุมแคลอรีเ่ พียงอย่างเดียว

ระบบการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย

น�ำ้ หนักตัวมีความสัมพันธ์โดยตรงกับระบบการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย ในคนทีม่ ี อัตราการเผาผลาญพลังงานในร่างกายสูง ร่างกายจะสามารถเผาผลาญพลังงานจากอาหาร ทีร่ บั ประทานเข้าไปได้หมดและไม่เหลือเป็นพลังงานส่วนเกินสะสมในร่างกาย น�ำ้ หนักตัวก็จะ คงทีไ่ ม่เพิม่ ขึน้ ง่าย ๆ แต่ในคนทีม่ อี ตั ราการเผาผลาญพลังงานต�ำ่ ร่างกายจะมีขดี จ�ำกัดในการ เผาผลาญพลังงาน หากรับประทานอาหารทีใ่ ห้พลังงานสูง ร่างกายจะไม่สามารถเผาผลาญ พลังงานได้หมดและเหลือเป็นพลังงานส่วนเกินสะสม ท�ำให้นำ�้ หนักตัวเพิม่ ขึน้ ได้งา่ ย จากงานวิจยั พบว่า การลดน�ำ้ หนักทีไ่ ม่ถกู วิธสี ง่ ผลต่อประสิทธิภาพการท�ำงานของระบบ เผาผลาญพลังงานในร่างกาย นอกเหนือจากนัน้ อาหารทีน่ ยิ มบริโภคกันในปัจจุบนั บางชนิดก็ ยังส่งผลต่อการท�ำงานของต่อมไทรอยด์ซงึ่ ท�ำหน้าทีผ่ ลิตฮอร์โมนทีค่ วบคุมการท�ำงานของระบบ การเผาผลาญพลังงานในร่างกาย for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

25


of Life

Vol.22 No.209 May-June 2015

คนส่วนใหญ่ทไี่ ม่ประสบความส�ำเร็จใน การลดน�้ำหนักนั้น เหตุผลหลักเกิดจากการ ขาดความรู ้ ใ นวิ ธี ก ารลดน�้ ำ หนั ก ที่ ถู ก วิ ธี นอกจากนัน้ ยังเกิดจากความเชือ่ ความเข้าใจ ผิด ๆ เกีย่ วกับการลดน�ำ้ หนักอีกด้วย ➲ ความเชื่อที่ 1: การรับประทาน อาหารน้อยลงจะช่วยท�ำให้คุณผอมได้ คน จ�ำนวนไม่น้อยเชื่อว่าถ้ารับประทานอาหาร น้อยลง หรืออดอาหารจะสามารถช่วยท�ำให้ น�ำ้ หนักลดลงได้ ในความเป็นจริงแล้ววิธกี าร ลดปริมาณการรับประทานหรืออดอาหารจะ ช่วยท�ำให้นำ�้ หนักลดลงแค่เพียงในช่วงแรก ๆ เท่านั้น ในระยะยาวการลดน�้ำหนักด้วยวิธีนี้ จะส่งผลให้อัตราการเผาผลาญพลังงานใน ร่างกายต�ำ่ ลง เนือ่ งจากร่างกายจะปรับสภาพ เพือ่ ท�ำการสะสมพลังงานไว้ใช้ในขณะทีม่ กี าร บริโภคพลังงานที่ลดลง นอกจากนี้วิธีการลด น�้ำหนักดังกล่าวยังอาจก่อให้เกิดอาการผิดปกติของสมดุลฮอร์โมน และปัญหาสุขภาพ อืน่ ๆ อีกด้วย การลดน�ำ้ หนักให้ประสบความ ส�ำเร็จต้องอาศัยปัจจัยหลาย ๆ อย่าง อาทิ การ รับประทานอาหารทีม่ สี ารอาหารและพลังงาน พอเหมาะ การแบ่งมื้ออาหารเป็นมื้อย่อย ๆ ก็มีส่วนช่วยเร่งอัตราการเผาผลาญพลังงาน ได้ดว้ ยเช่นกัน

26

ความเชื่อที่ 2: การลดน�้ำหนัก ท�ำให้คุณมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น หลายคน เชื่ อ ว่ า การลดน�้ ำ หนั ก จะช่ ว ยท� ำ ให้ ชี วิ ต มี ความสุ ข ขึ้ น ซึ่ ง เป็ น ความจริ ง หากผู ้ ที่ ล ด น�้ำหนักปฏิบัติตามวิถีทางที่ถูกต้อง ในทาง กลับกันการลดน�ำ้ หนักด้วยวิธผี ดิ ๆ อาจก่อให้ เกิดปัญหาสุขภาพต่าง ๆ ตามมามากมาย อาทิ ปัญหาฮอร์โมนขาดความสมดุล รวมทัง้ ปัญหา การขาดวิตามินบางชนิด เช่น วิตามินดี งานวิจยั ในปัจจุบนั พบว่า อาหารทีน่ ยิ ม บริโภคกันทุกวันนี้บางชนิดซึ่งมักหลีกเลี่ยง ส่วนประกอบที่เป็นไขมันมีผลท�ำให้ร่างกาย ขาดวิตามินดี ซึง่ เป็นวิตามินทีต่ อ้ งอาศัยไขมัน เป็นตัวท�ำละลาย ลักษณะนิสยั การรับประทานอาหาร ที่ไม่หลากหลายก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่ อาจก่อให้เกิดภาวะการขาดวิตามิน บางชนิด ยิ่งบางคนมีลักษณะ นิสัยเลือกรับประทาน

อาหารเฉพาะที่ตัวเองชอบ ยิ่งท�ำให้ไม่ได้รับ สารอาหารทีค่ รบถ้วนและก่อให้เกิดการสะสม สารพิษในรูปของไขมันในร่างกาย รวมทั้งยัง ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ตามมาอีก มากมาย ➲ ความเชื่อที่ 3: ยิ่งออกก�ำลังกาย มาก ยิง่ ลดน�ำ้ หนักได้มาก ถึงแม้วา่ การออกก�ำลังกายจะมีสว่ นช่วยในการควบคุมน�ำ้ หนัก ตัว แต่การออกก�ำลังกายมากเกินไปก็อาจก่อ ให้เกิดอันตรายได้ เนือ่ งจากร่างกายจะท�ำการ ปรับสมดุลโดยการเก็บกักพลังงานไว้มากขึ้น เพือ่ ทดแทนกับพลังงานทีส่ ญ ู เสียไปหลังจาก การออกก�ำลังกายที่หนักเกินไป นอกจากนี้ การออกก�ำลังกายมากเกินไปยังอาจก่อให้เกิด อาการบาดเจ็บ นอนไม่หลับ ริ้วรอย และ อาการต่าง ๆ ของความเสือ่ มชรา การควบคุมน�ำ้ หนักให้อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ ถือว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญในการมีสขุ ภาพทีด่ ี การ ลดน�้ำหนักถึงแม้จะเป็นเรื่องที่ท�ำได้ยาก แต่ หากผู้ที่ท�ำการลดน�้ำหนักมีความมุ่งมั่นพยายามและมีความเข้าใจทีถ่ กู ต้องในการควบคุม การรับประทานอาหาร การออกก�ำลังกาย และ การพักผ่อนอย่างเพียงพอและเหมาะสมแล้ว ไม่ใช่เพียงรูปร่างทีส่ มส่วนและบุคลิกภาพทีด่ ี ขึน้ เท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงสุขภาพองค์รวมทีด่ ขี นึ้ ด้วย ซึง่ เป็นผลลัพธ์ทนี่ า่ พึงพอใจจากการลด และควบคุมน�ำ้ หนักอย่างถูกวิธี


Q

Special Issue for

uality

Special Issue

Special Issue


Q

Special Issue for

uality

อย.

ขับเคลื่อนองค์กร

รองรับ AEC

ส�ำ

กองบรรณาธิการ

นักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ อย. สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นส่วน ราชการทีม่ ฐี านะการปกป้องและคุม้ ครองสุขภาพประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑ์ สุขภาพเหล่านัน้ ซึง่ ต้องมีคณ ุ ภาพ มาตรฐาน และปลอดภัย มีการส่งเสริมพฤติกรรมบริโภคที่ ถูกต้องด้วยข้อมูลวิชาการที่มีหลักฐานเชื่อถือได้ละมีความเหมาะสม เพื่อให้ประชาชนได้ บริโภคผลิตภัณฑ์สขุ ภาพทีป่ ลอดภัยและสมประโยชน์ ด้วยภารกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับคุณภาพ มาตรฐาน และความปลอดภัย อย. จึงมีสว่ น ขับเคลือ่ นนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องร่วมกันกับหน่วยงานทัง้ ของภาครัฐและผูป้ ระกอบการเอกชน ตามเป้าหมายในการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของประเทศให้อยู่ในระดับ ุ ชัย สมบูรณ์สขุ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา นานาชาติ ซึง่ นายแพทย์บญ ท่านได้กล่าวถึงแนวทางการด�ำเนินงานขององค์กร การขับเคลือ่ นนโยบายตามกระแส สังคมโลก และท่านยังได้เสนอแนะแนวทางสูก่ ารแข่งขันให้กบั ผูป้ ระกอบการด้านอาหาร และยาของประเทศไทยอีกด้วย

นายแพทย์บุญชัย สมบูรณ์สุข

28

เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข

for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015


Special Issue การดำ�เนินงานของ อย.

อย. กับการเตรียมความพร้อม สู่การเปิดประชาคมอาเซียน

การด� ำ เนิ น งานที่ ผ ่ า นมาของ อย. สะท้อนให้เห็นถึงการเตรียมพร้อมด้านคุณภาพ และมาตรฐานสูก่ ารแข่งขันในอนาคต ซึง่ การเปิด ประชาคมอาเซียนก็เป็นอีกประตูหนึ่งที่ อย. จะ ต้องผลักดันกฎเกณฑ์ ข้อบังคับ และเป็นตัวแทน ของประเทศในการเข้าไปเจรจาร่วมกันกับประเทศ

สมาชิกอาเซียนอีก 9 ประเทศ “ด้วยภารกิจของ อย. ที่เป็นหน่วยงานรับผิดชอบดูแลผลิตภัณฑ์ ด้านสุขภาพทีห่ ลากหลาย ไม่วา่ จะเป็นยา อาหาร และเครือ่ งส�ำอาง เครือ่ งมือแพทย์ ยาเสพติด วัตถุ ออกฤทธิต์ อ่ จิตประสาท รวมทัง้ วัตถุอนั ตรายบาง อย่างที่ใช้ในบ้านเรือน เหล่านี้ถือว่าเป็นสินค้า อุปโภคบริโภคทีส่ ำ� คัญ และสืบเนือ่ งจากการเปิด ประชาคมอาเซียนที่จะเกิดขึ้นเป็นเรื่องที่เกี่ยว เนือ่ งกับการไหลอย่างอิสระของสินค้าและบริการ ดังนั้น สินค้าที่อยู่ในความดูแลของ อย. จึง เป็นเป้าหมายที่ต้องให้ความส�ำคัญและต้องเร่ง ขับเคลือ่ นให้ทนั ต่อโอกาสและการเจริญเติบทีจ่ ะ เกิดขึน้ ในอนาคต โดยเฉพาะในอาเซียนก็เล็งเห็น ความส�ำคัญต่อสินค้าอุตสาหกรรมอาหารและยา รวมทัง้ บริการทางการแพทย์เป็นอย่างมาก อย. เตรียมพร้อมรองรับการเปิดประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะในเรื่องของ คน ในเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในหน้าที่ความรับ-

Vol.22 No.209 May-June 2015

ท่ า นเลขาธิ ก ารฯ เริ่ ม ต้ น กล่ า วถึ ง แนวทางการด�ำเนินงานของ อย. อย่างคร่าว ๆ ว่า “อย. มีภารกิจในการดูแล ควบคุม และปกป้อง ประชาชนคนไทยทุกคนเพือ่ ให้ได้รบั การบริโภคที่ มีคณ ุ ภาพและมาตรฐาน ตามแนวทางการด�ำเนิน งาน คือ ด�ำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยอาหาร กฎหมายว่าด้วยยา กฎหมายว่าด้วยเครือ่ งส�ำอาง กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย กฎหมายว่าด้วย วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท กฎหมายว่า ด้วยยาเสพติดให้โทษ กฎหมายว่าด้วยเครือ่ งมือ แพทย์ กฎหมายว่าด้วยการป้องกันการใช้สารระเหย และกฎหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง พัฒนาระบบ และกลไก เพื่อให้มีการด�ำเนินการบังคับใช้กฎหมายทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบ เฝ้าระวังก�ำกับและ ตรวจสอบคุ ณ ภาพมาตรฐานของผลิ ต ภั ณ ฑ์ สถานประกอบการ และโฆษณา รวมทัง้ ผลอันไม่ พึงประสงค์ของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนมีการติดตาม หรื อ เฝ้ า ระวั ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ สุขภาพจากภายในประเทศและภายนอกประเทศ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และระบบงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้าน ผลิตภัณฑ์สุขภาพให้มีประสิทธิภาพและประสิ ท ธิ ผ ล ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาผู ้ บ ริ โ ภคให้ มี ศักยภาพในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทีถ่ กู ต้อง เหมาะสม ปลอดภัย และคุม้ ค่า รวมทัง้ เพื่อให้ผู้บริโภคนั้นมีการร้องเรียน เพื่อปกป้อง สิทธิของตนได้ พัฒนาและส่งเสริมการด�ำเนินงาน คุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ โดยการ มีสว่ นร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน และ เครือข่ายประชาคมสุขภาพ ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตาม ที่ ก ฎหมายก� ำ หนดให้ เ ป็ น อ� ำ นาจหน้ า ที่ ข อง ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือตาม ทีก่ ระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย”

29


Special Issue

Vol.22 No.209 May-June 2015

ผิดชอบ กระบวนการเพิม่ ศักยภาพของผูป้ ระกอบการไทยในอุตสาหกรรมอาหารและยา รวมไปถึง การแก้ไขกฎระเบียบทีเ่ ป็นอุปสรรค และปรับปรุง ข้อก�ำหนดกฎหมายที่เอื้อต่อการค้าขายระหว่าง ประเทศ ซึ่งเวทีที่ส�ำคัญส�ำหรับมาตรการเตรียม ความพร้อมจะมีทงั้ ทีด่ ำ� เนินการโดย อย. เอง และ ด� ำ เนิ น การร่ ว มกั บ ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ อาทิ สมาคมที่เกี่ยวข้อง เช่น สมาคมผู้ผลิตยาแผน ปัจจุบนั สมาคมผูผ้ ลิตยาสมุนไพร สมาคมผูผ้ ลิตเครื่ อ งส� ำ อาง สมาคมผู ้ ผ ลิ ต เครื่ อ งมื อ แพทย์ เป็นต้น ทีผ่ า่ นมา อย. และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ดังกล่าวข้างต้น ได้มีโอกาสเข้าร่วมเจรจาในเวที ประชาคมอาเซี ย น ภายใต้ คณะกรรมการที่ ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน หรือ ASEAN Consultative Committee on Standards and Quality: ACCSQ ซึ่งดูแลกิจกรรม ด้านการมาตรฐาน คุณภาพ และการรับรองของ อาเซียน ได้รบั มอบหมายจากเจ้าหน้าทีอ่ าวุโสทาง เศรษฐกิจอาเซียน (SEOM) ให้เป็นผูพ้ จิ ารณาใน รายละเอียดของมาตรการ/กิจกรรมด้านมาตรฐาน และการรับรองทีจ่ ะด�ำเนินงานส�ำหรับสินค้าและ บริการ โดยจะมีกลุม่ ผูท้ ำ� งานกลุม่ ย่อย ๆ ในแต่ละ ผลิตภัณฑ์ อาทิ ยา อาหาร เครือ่ งส�ำอาง ผลิตภัณฑ์ สมุนไพรและเสริมอาหาร และเครื่องมือแพทย์ ซึ่ง อย. ได้ส่งผู้แทนเข้าไปร่วมอยู่ในแต่ละกลุ่ม และท� ำ งานร่ ว มกั น กั บ สมาชิ ก อาเซี ย นอี ก 9 ประเทศ มีจดุ มุง่ หมายเพือ่ สนับสนุนและส่งเสริม การเปิดเสรีทางการค้าภายใต้ความตกลงจัดตั้ง เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) เช่น การปรับ มาตรฐานและการจัดทําความตกลงการยอมรับ ร่วม (Mutual Recognition Agreement: MRA) เพื่ อ ยอมรั บ ผลการตรวจสอบและรั บ รอง ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ของประเทศสมาชิกอื่น ว่าเป็นไปตามมาตรฐานโดยไม่ต้องมีการ

30

ตรวจซ�้ำอีก ซึ่งจะเป็นการอํานวยความสะดวก ทางการค้าในภูมิภาคได้เป็นอย่างดี ส่งเสริมการ รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยการลด หรือเลิกอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (Technical Barriers to Trade: TBT) ที่เกิดจากมาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค (Technical Regulation) และการตรวจสอบและรับรอง (Conformity Assessment) ที่ผ่านมาจากการท�ำงานร่วมกันมา โดยตลอดหลายปี ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม มี ก ลไกลการเปิ ด ประชาคมอาเซียน ผลิตภัณฑ์ในแต่ละกลุ่มได้ ทยอยปรั บ กฎระเบี ย บตามข้ อ ตกลงร่ ว มของ อาเซียน เช่น หลักฐานในการยืน่ ทะเบียนต้องใช้ ร่วมกัน 10 ประเทศ เป็นต้น” ซึง่ ในประเด็นการเปิดประชาคมอาเซียน

ท�ำให้การค้าเป็นไปได้อย่างเสรี ดังนัน้ สิง่ ทีต่ อ้ งพึง ตระหนัก คือ เรือ่ งของการเฝ้าระวังความปลอดภัย หรือระบบคัดกรองผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพและ มาตรฐาน จึงต้องมีการเพิม่ ศักยภาพในเรือ่ งของ ด่านตรวจทีม่ ที งั้ ทางบก ทางเรือ ทางอากาศ โดย ในขณะนีจ้ ำ� นวนด่านทีป่ ระเทศไทยมี 40-50 ด่าน จึงต้องมีการเพิม่ ก�ำลังคน และพัฒนากระบวนการ ในการควบคุม ก�ำกับ และติดตาม ส่วนในด้านการพัฒนาศักยภาพของภาค รัฐและภาคธุรกิจ ท่านเลขาธิการฯ กล่าวเพิม่ เติม ว่า “ภาครัฐและภาคเอกชนท�ำงานด้วยกันตลอด มา ผู้ประกอบการไทยเล็งเห็นความส�ำคัญของ การคุณภาพและมาตรฐานเป็นอย่างมาก เพราะ อาจเป็นกลไกการกีดกันทางการค้าได้ ผูป้ ระกอบ การรายใหญ่ไม่นา่ เป็นห่วงนัก แต่ผปู้ ระกอบการ ขนาดกลางและขนาดย่อมนัน้ น่าเป็นห่วงอย่างยิง่ ซึ่งผู้ประกอบการจะต้องพัฒนาตนเองโดยมุ่ง ส่งเสริมด้านศักยภาพ โดย อย. ก็มหี ลักสูตรการ ฝึกอบรมเพือ่ ถ่ายทอดองค์ความรู้ ความเข้าใจเรือ่ ง กฎระเบียบแก่ผปู้ ระกอบการทีส่ นใจอย่างต่อเนือ่ ง และอย่างละเอียดถีถ่ ว้ น รวมทัง้ มีการปรับปรุงทัง้ กฎหมายแม่และกฎหมายลูกเพื่อให้เอื้อต่อการ เปิดเสรีทจี่ ะเกิดขึน้ อาทิ พ.ร.บ. ยา พ.ร.บ. เครือ่ งส�ำอาง พ.ร.บ. อาหาร พ.ร.บ. เครื่องมือแพทย์ เป็นต้น ซึง่ เป็นการปรับให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ ของอาเซียน ส�ำหรับกฎหมายลูก อาทิ กฎกระทรวง ต่าง ๆ ทีส่ ามารถด�ำเนินการได้โดยไม่ตอ้ งรอการ แก้ไขกฎหมาย อย. ได้ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง เช่น ประกาศหลักเกณฑ์วิธีการมาตรฐานในการ ผลิตทีด่ ขี องยาทัง้ แผนปัจจุบนั และแผนไทย ซึง่ นี่ จะเป็นการยกระดับผู้ประกอบการเพื่อเตรียม ความพร้อมสูก่ ารแข่งขันระหว่างประเทศ รวมไป


Special Issue ถึงการลดขัน้ ตอนทีย่ งุ่ ยากซับซ้อนให้สะดวกและ รวดเร็วยิ่งขึ้น” ท่านเลขาธิการฯ เชื่อมั่นว่าหาก ผูป้ ระกอบการเข้มแข็งขึน้ ดูแลการผลิตได้ ก็จะ สามารถดูแลตนเองให้ดียิ่งขึ้นได้ จากนั้นก็จะ ต่อยอดไปสูก่ ารท�ำ Self-Regulation ได้มากขึน้ ที่ผ่านมาในปี 2557 ก็สามารถด�ำเนินการได้ใน หลายผลิตภัณฑ์ และยังสามารถลดขัน้ ตอน รวม ถึงระยะเวลาในการด�ำเนินงานได้อย่างสัมฤทธิผ์ ล

“ประเทศไทยมีศกั ยภาพในอุตสาหกรรม อาหารและยาไม่ดอ้ ยกว่าใคร โดยเฉพาะอย่างยิง่ อาหารจากประเทศไทย ทีไ่ ม่ได้สง่ ออกในอาเซียน เท่านัน้ แต่ยงั ส่งออกไปยังทัว่ โลก เครือ่ งส�ำอางก็ เช่นเดียวกัน มียอดส่งออกถึงกว่าหมื่นล้านบาท ส่วนยา จะอยูใ่ นวงจ�ำกัดเนือ่ งจากประเทศไทยน�ำ เข้ า มาเสี ย เป็ น ส่ ว นใหญ่ แต่ แ นวโน้ ม ก็ ดี ขึ้ น เรือ่ ย ๆ โดยเรามีจำ� นวนผูป้ ระกอบการส่งออกยา ไปยังอาเซียนมากขึ้น และต่างชาติก็ให้ความ เชือ่ ถือต่อผลิตภัณฑ์ไทย โดยเฉพาะบางประเทศ ในอาเซียนอาทิ เมียนม่าร์ ลาว กัมพูชา หาก ผลิตภัณฑ์ใดไม่มีภาษาไทยก�ำกับก็จะไม่ซื้อ อีกผลิตภัณฑ์หนึ่งที่ประเทศไทยแข็งแกร่ง คือ เครื่องมือแพทย์ อาทิ ถุงมือทางการแพทย์ ซึ่ง สามารถตีตลาดได้ในสหรัฐอเมริกาและยุโรป นัน่ เพราะผูป้ ระกอบการไทยส่วนใหญ่มศี กั ยภาพ อีกทั้งกลไกการส่งเสริมการส่งออกของประเทศ ค่อนข้างชัดเจน ผูป้ ระกอบการท�ำตามาตรฐานที่ ผู้ซื้อก�ำหนดได้อย่างเข้มงวด” ท่านเลขาธิการฯ กล่าวอย่างเชือ่ มัน่ ในศักยภาพของผูป้ ระกอบการ ไทยว่าไม่แพ้ชาติใดในโลก อย. ไทย ก็ได้รบั ความเชือ่ ถือต่อประเทศ สมาชิกอาเซียนด้วยเช่นเดียวกัน “อะไรที่ อย. ไทย กลั่นกรองเข้าสู่การเจรจาก็ไม่มีปัญหา ไม่ว่าจะ เป็นอาหาร ยา เครือ่ งมือแพทย์ ทีผ่ า่ นมาเราผ่าน การรับรองอย่างเป็นเอกฉันท์จาก ACCSQPPWG ยอมรับ อย. ไทย เป็นหน่วยตรวจประเมิน ASEAN Listed Inspection Service ท�ำให้ผผู้ ลิต ยาแผนปัจจุบนั ส�ำเร็จรูปสามารถส่งออกยาไปยัง ประเทศสมาชิกในภูมภิ าคอาเซียน โดยไม่ตอ้ งถูก ประเมินจากประเทศสมาชิกอีก ลดความซ�ำ้ ซ้อน ของการตรวจประเมิน GMP ด้านยาภายใน ภูมภิ าค ประหยัดเวลา เอือ้ อ�ำนวยต่อธุรกิจด้าน ยา และเพิม่ มูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศ” อย. ไทยได้ รั บ การรั บ รองการตรวจ

ประเมินเรือ่ งวัคซีน มากว่า 2 รอบแล้ว และเป็น เพียงไม่กี่ประเทศที่ได้รับการรับรอง ส�ำหรับใน อาเซี ย นมี เ พี ย งประเทศไทยและอิ น โดนี เ ซี ย เท่านั้นที่ถือว่าเป็น Fully Functional NRAs: National Regulatory Authorities “อินโดนีเซีย จะได้เปรียบประเทศไทยตรงทีม่ จี ำ� นวนประชากร มากกว่า 200 ล้านคน และมีความสามารถในการ ผลิ ต วั ค ซี น แต่ ก็ เ ป็ น ประเทศที่ มี ก ารกี ด กั น ทางการค้าสูงเช่นกัน แต่หากกล่าวในเรื่องการ แข่งขันด้านอุตสาหกรรมอาหาร ประเทศไทยก็ยงั มีศกั ยภาพเหนือกว่า”

ความสำ�คัญของคุณภาพและมาตรฐาน

เนือ่ งจากภารกิจของ อย. มุง่ ส่งเสริมและ สนับสนุนเกี่ยวกับการคุณภาพและมาตรฐาน ท่านเลขาธิการฯ จึงใคร่ขอแสดงทัศนะเกีย่ วกับ ความส�ำคัญของเรือ่ งนีว้ า่ “เรือ่ งของคุณภาพและ มาตรฐานเป็นตัวสะท้อนศักยภาพของผูผ้ ลิต และ กฎระเบียบ ซึ่งกฎระเบียบของไทยถือว่าเป็น มาตรฐานอยูแ่ ล้ว และสอดคล้องกับทีอ่ าเซียนได้ ก�ำหนดไว้ มีเพียงประเด็นทีอ่ าจต้องพึง่ การแก้ไข

กฎหมาย ซึง่ หากกล่าวถึงเรือ่ งนี้ ขอบอกว่า อย. พยายามสนับสนุนเรื่องนี้ร่วมกับภาคเอกชนมา โดยตลอด เรามีกระบวนการรับฟังความคิดเห็น มีการใช้ Good Regulatory Practice: GRP มา โดยตลอด นีจ่ งึ เป็นการการันตีได้วา่ เมือ่ ก�ำหนด กฎเกณฑ์ขึ้นมาแล้วทุกคนสามารถน�ำไปปฏิบัติ ได้จริง” สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ คือ รัฐบาลอาจต้องช่วย สนับสนุนภาคธุรกิจรายย่อยและรายเล็กให้มี ความสามารถมากขึน้ กว่านีก้ จ็ ะเป็นอีกพลังหนึง่ ที่จะช่วยให้รากฐานด้านคุณภาพและมาตรฐาน ของไทยดีขนึ้ อย่างต่อเนือ่ ง ท่านเลขาธิการฯ ยังได้กล่าวฝากถึง ผู้ประกอบการทุกคนในช่วงท้ายบทสัมภาษณ์ อีกว่า “จากการประชุมและเจรจากับอาเซียน หลายคณะประเทศไทยได้ มี โ อกาสเป็ น รอง ประธานฯ อาทิ ยา เครือ่ งส�ำอาง ซึง่ ผูป้ ระกอบการ ไทยก็ได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมและเจรจาด้วย ดังนัน้ กล่าวได้วา่ ประเทศไทยมีโอกาสในเวทีโลก อย่างแน่นอน บรรยากาศการท�ำธุรกิจในอนาคต จะมีคแู่ ข่งขันมากขึน้ เพราะฉะนัน้ การพัฒนาใน เรื่องคุณภาพและมาตรฐานจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ ทีส่ ดุ ผูบ้ ริโภคไม่วา่ จะเป็นประเทศใดต่างต้องการ ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน และความ ปลอดภัย ภาครัฐพร้อมเดินเคียงข้างผูป้ ระกอบการทุกรายให้สามารถด�ำเนินการใด ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับกฎระเบียบได้อย่างสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น ขอเพียงผูป้ ระกอบการติดตามความคืบหน้าของ กฎระเบียบให้ละเอียดถี่ถ้วน แล้วเราจะประสบ ความส�ำเร็จไปพร้อมกัน” ท่านเลขาธิการฯ กล่าว

Vol.22 No.209 May-June 2015

คุณภาพและมาตรฐานอาหารและยาของไทย ในสายตาอาเซียน

31


Q

Special Issue for

uality

คุณภาพและมาตรฐาน

กับการเปิดประชาคมอาเซียน กองบรรณาธิการ

ส�ำ

นักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นหน่วยงานภาครัฐที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการมาตรฐานของประเทศ โดยเฉพาะในขณะนีถ้ อื เป็นหน่วยงานผูแ้ ทนหลักไทยเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการทีป่ รึกษาด้าน มาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน รวมทัง้ ยังผลักดัน และปรับมาตรฐาน กฎระเบียบ และกระบวนการตรวจสอบรับรองมาตรฐานให้เป็นทีย่ อมรับในภูมภิ าคและสากล เนื่องด้วยการมาตรฐานเป็นประเด็นที่น่าสนใจส�ำหรับการค้า การลงทุน และภาพรวมของการแข่งขันในระดับโลก อีกทัง้ ยังเป็นโอกาสครบรอบ 22 ปีของ นิตยสาร เราจึงขอเสนอบทสัมภาษณ์ขององค์กรรัฐเกีย่ วกับการขับเคลือ่ น งานคุณภาพและมาตรฐาน เพื่อเป็นอีกหนึ่งการสื่อสารให้ทุกท่านเข้าใจและ ตระหนักถึงเรือ่ งนี้ โดย คุณหทัย อูไ่ ทย เลขาธิการส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม ได้ให้เกียรติกบั เราเป็นอย่างยิง่

คุณหทัย อู่ไทย

32

for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

เลขาธิการสำ�นักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม


Special Issue สมอ. กับการเตรียมความพร้อมรองรับ AEC

Europe) ในอุตสาหกรรมยานยนต์ ส�ำหรับเรือ่ งของการตรวจสอบรับรอง ใน วันนีท้ กุ กลุม่ อุตสาหกรรมต้องมีการเตรียมการใน การสร้างหน่วยรับรอง (Certification Body: CB) หรือหน่วยตรวจ (Inspection Body: IB) ซึ่ง ขณะนีป้ ระเทศไทยมีความพร้อมในเรือ่ งดังกล่าว มากพอสมควร อาทิ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ ก็มสี ถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ของกระทรวงอุตสาหกรรมรองรับอยู่ และ สมอ. ได้ขบั เคลือ่ นให้สถาบันไฟฟ้าฯ เป็นหน่วยรับรอง หลักด้านนีใ้ นประเทศไทย แต่สงิ่ ทีต่ อ้ งรองรับ คือ การเตรียมห้องทดสอบเพือ่ รองรับมาตรฐานทีจ่ ะ ประกาศใช้” ซึ่งห้องปฏิบัติการทดสอบถือว่ามี ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก เนือ่ งจากการจะชีว้ ดั ได้ว่าสินค้าใดมีมาตรฐานหรือไม่มีมาตรฐาน หรือไม่ อย่างไร ต้องมีการทดสอบผ่านทางห้อง ปฏิ บั ติ ก ารและต้ อ งเป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ นานาชาติ ซึง่ หน่วยงานทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบไม่วา่ สถาบันไฟฟ้าฯ หรือหน่วยงานอืน่ ๆ จะต้องได้รบั การรับรองตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 โดย รั ฐ บาลเองก็ ไ ด้ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ เรื่ อ งการ ทดสอบ มีการตัง้ งบประมาณเพือ่ จัดซือ้ เครือ่ งมือ รองรับในแต่ละปีเป็นจ�ำนวนมาก โดยในปี พ.ศ. 2558 ได้งบประมาณ 140 ล้านบาท “ส�ำหรับ อุตสาหกรรมยาง รัฐบาลได้มกี ารพูดคุยเกีย่ วกับ การจัดตั้งศูนย์ทดสอบยางล้อและผลิตภัณฑ์ ยานยนต์และชิน้ ส่วนยานยนต์ โดยเฉพาะยางล้อ จะเป็นการตรวจสอบทัง้ ระบบ ลงทุนทัง้ สิน้ 1,100

ล้านบาท แบ่งเป็น 2 เฟส โดยเฟสแรกเป็นเงิน 530 ล้านบาท เฟสทีส่ องเป็นเงิน 570 ล้านบาท ส่วนยานยนต์และชิน้ ส่วนยานยนต์ทเี่ หลือลงทุน อีก 1,750 ล้านบาท รวมทัง้ สิน้ 2,850 ล้านบาท ตามที่ประเทศไทยได้สัญญาไว้กับประชาคม อาเซียน รวมถึงตัวอีโคคาร์สองด้วย” ทั้งนี้ยังคง มีอกี หลายมาตรฐานทีจ่ ะต้องเร่งขับเคลือ่ นอย่าง ต่อเนือ่ ง

การส่งเสริม สนับสนุน สร้างความตระหนัก

อีกประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจส�ำหรับการ ด�ำเนินงานของ สมอ. เพื่อเตรียมความพร้อม

Vol.22 No.209 May-June 2015

ท่านเลขาธิการ สมอ. กล่าวเริ่มต้นถึง การด�ำเนินงานของ สมอ. เพื่อรองรับการเปิด AEC ในช่วงปลายปีนี้ “ในเบื้องต้น สมอ. ได้ เตรียมความพร้อมในเรือ่ งการปรับมาตรฐานและ ข้อก�ำหนดต่าง ๆ ให้เป็นไปตามข้อตกลง จ�ำแนก ออกเป็นประเด็นได้แก่ 1. การก�ำหนดมาตรฐาน 2. การตรวจสอบรับรอง รวมถึงความพร้อมของ หน่วยที่จะรับรองและห้องปฏิบัติการทดสอบ นอกจากนัน้ ยังครอบคลุมถึงเรือ่ งการส่งเสริมและ สร้างความตระหนัก ทั้ ง นี้ ป ระเด็ น ในเรื่ อ งของการก� ำ หนด มาตรฐาน ซึง่ ทีผ่ า่ นมาได้มมี าตรฐานทีป่ ระเทศไทยกับอาเซียนมีความตกลงกันว่าเราควรปรับ มาตรฐานอย่างไร และเป็นไปตามมาตรฐานอะไร ตัวอย่างเช่น การก�ำหนดมาตรฐานไฟฟ้าและ ั ญากับอาเซียนว่าต้อง อิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ เรามีสญ ปรับมาตรฐานทัง้ สิน้ 30 มาตรฐาน ซึง่ จนถึงวันนี้ ปรับไปแล้ว 22 มาตรฐาน ส่วนอีก 8 มาตรฐาน ก�ำลังด�ำเนินการอยู่ คาดว่าในช่วงเวลาอันใกล้นี้ จะแล้วเสร็จ การก�ำหนดมาตรฐานยานยนต์และ ชิน้ ส่วนยานยนต์ มีทงั้ สิน้ 19 รายการ ขณะนีป้ รับ ไปแล้ว 16 รายการ อีก 3 รายการจะแล้วเสร็จใน เร็ววันนี้ นอกจากนี้ยังมี การก�ำหนดมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ยาง จ�ำนวน 46 มาตรฐาน โดย 35 มาตรฐานได้น�ำเสนอไปในเดือนเมษายนที่ผ่าน มา ส่วนทีเ่ หลืออีก 11 มาตรฐานจะทยอยเสนอ ต่อไป การก�ำหนดมาตรฐานของอุตสาหกรรม ข้างต้น น่าจะแล้วเสร็จก่อนเปิดประชาคมอาเซียน ในเดือนธันวาคม 2558 อย่างแน่นอน นอกจากนี้ สมอ. ยังมีการพูดคุยกับอีก 2 กลุม่ อุตสาหกรรม คือ อุตสาหกรรมวัสดุกอ่ สร้าง และผลิตภัณฑ์ไม้ ซึ่งคาดว่าน่าจะมีการปรับประสานมาตรฐาน 3 มาตรฐานด้ ว ยกั น ส� ำ หรั บ อุ ต สาหกรรมวั ส ดุ ก่อสร้าง นัน่ คือ เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต ปูนซีเมนต์ และกระจกโฟลต ส่วนผลิตภัณฑ์ไม้ จ�ำนวน 34 มาตรฐาน ก�ำลังอยู่ในขั้นตอนการเจรจา ทั้ง 5 กลุ่มอุตสาหกรรมที่กล่าวเบื้องต้น ส่วนใหญ่จะ เป็นไปตามมาตรฐานระหว่างประเทศ นั่นคือ อุตสาหกรรมไฟฟ้าเป็นไปตามมาตรฐาน IEC (Internationnal Electrotechique Commission) หากเป็นมาตรฐานอื่น ๆ สามารถอ้างอิงได้จาก มาตรฐาน ISO (International Standardization and Organization) หรือมาตรฐาน UNECE (United Nation Economic Commission for

33


Special Issue รองรับการเปิดประชาคมอาเซียน นัน่ คือ การส่งเสริม สนับสนุน และสร้างความตระหนัก สมอ. ใน ฐานะหน่วยงานของรัฐก็พยายามให้ความร่วมมือ กันระหว่างภาครัฐและเอกชน รวมไปจนถึงประชา สังคม ซึ่ง 3 กลุ่มใหญ่นี้ต้องร่วมพูดคุยกันเพื่อ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้บริโภคของอาเซียน “ภาครัฐ เอกชน และประชาคมจึงต้องท�ำงานร่วม กันเพื่อการมาตรฐานที่ปลอดภัยสูง มีการตรวจสอบรับรองที่เป็นที่ยอมรับ จึงต้องมองย้อนกลับ ไปว่า สิง่ ทีจ่ ะด�ำเนินการทัง้ หมดนี้ ประชาชนของ อาเซียนจะต้องได้รบั ผลประโยชน์รว่ มกัน”

ความสำ�คัญของการมาตรฐาน ต่อประชาคมโลก

ท่านเลขาธิการ สมอ. ยังได้กล่าวถึง ความส�ำคัญของการมาตรฐานต่อประชาคมโลก ว่า “จากทีม่ กี ารเจรจาด้านการมาตรฐาน และการ ตรวจสอบรับรอง สมาชิกอาเซียนทัง้ 10 ประเทศ ต่างให้ความส�ำคัญทัง้ ในเรือ่ งของคุณภาพ เพราะ ทุกประเทศต่างตระหนักถึงการปกป้องประชาคม ในประเทศของตน ซึง่ คุณภาพจะวัดได้อย่างไรนัน้ จะต้องมีมาตรฐานเป็นตัวชี้วัด และจะต้องเป็น มาตรฐานทีม่ รี ะดับเหมือนกันในทุกประเทศ “One Standard and One Test Accept Everywhere in the World” เพราะฉะนัน้ เรือ่ งของคุณภาพนัน้ ทุก คนต่างตระหนักถึงอยู่แล้ว แต่คุณภาพก็มีหลาย ระดับ ทัง้ ระดับดี ดีมาก พอใช้ ไม่ดี ดังนัน้ การวัด คือต้องใช้มาตรฐานเป็นตัววัด ซึง่ จะใช้มาตรฐาน อะไรเป็นตัววัดนั้นวันนี้ทั้ง 10 ประเทศสมาชิก อาเซียน มีความชัดเจนว่าจะใช้มาตรฐานระดับ นานาชาติทสี่ อดคล้องและเป็นแนวทางเดียวกัน”

Vol.22 No.209 May-June 2015

การมาตรฐานของไทยในสายตาอาเซียน

34

อาเซียนมองประเทศไทยในเรื่องมาตรฐานว่า “ผมเชือ่ ว่าการมาตรฐานของประเทศไทย ในสายตาอาเซียนเราไม่แพ้ใคร ไม่เฉพาะแต่ใน อาเซียนเท่านัน้ แต่ในระดับโลกประเทศไทยก็ได้ รับการยอมรับ เห็นได้จากการเข้าร่วมประชุม เจรจากับทัว่ โลก ไม่วา่ จะเป็นมาตรฐาน ISO หรือ IEC ประเทศไทยถือว่าเป็นอีกประเทศหนึง่ ทีม่ สี ทิ ธิ มีเสียงในการวางระบบ และวางกฎเกณฑ์ด้าน มาตรฐานในที่ประชุมเพื่อร่วมกันก�ำหนดมาตรฐาน ทั้งนี้เพราะประเทศไทยมีผู้เชี่ยวชาญใน อุตสาหกรรมหลากหลายด้าน ต่างชาติจงึ ให้ความ สนใจ” หากกล่าวถึงเรื่องการมาตรฐานทุกวันนี้ ก้าวทันกันทั่วโลกแล้ว เพียงแต่ต้องวางกลยุทธ์

และยุทธศาสตร์ให้ดี แต่ทั้งนี้ประเทศไทยก็ต้อง เพิ่มทักษะทางด้านการสื่อสารก็จะช่วยให้การ ด�ำเนินงานสะดวกขึน้ “ส�ำหรับการมาตรฐานในประเทศไทย ก็ จะมีจดุ ทีต่ อ้ งปรับปรุงอยูบ่ า้ งไม่มากก็นอ้ ย แต่การ ปรับปรุงอาจต้องท�ำทัง้ ระบบ และทุกภาคส่วนต้อง ช่วยกัน ส่วนราชการเองก็ต้องปรับระบบเพื่อให้ พร้อมบริการอย่างสะดวกรวดเร็ว อยูบ่ นบรรทัดฐานทีม่ คี วามถูกต้อง มีเป้าหมายทีช่ ดั เจน รวมไป ถึงการสร้างเครือข่ายในการด�ำเนินงาน ภาคเอกชน ก็จะต้องมีส่วนช่วย โดยเฉพาะการช่วยเหลือ ตนเองในระดับพื้นฐานให้ได้ ต้องใฝ่รู้ และรู้จัก พิทักษ์ผลประโยชน์ของตนเอง เพราะไม่มีใคร ปกป้องผลประโยชน์ของตัวเองได้ดเี ท่าตัวเอง”

กลยุทธ์ของผู้บริหาร สมอ. ต่อการเปิดประชาคมอาเซียน

“ผมให้ความส�ำคัญกับเรือ่ ง Teamwork เพราะนี่จะเป็นการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ กับองค์กรของเราได้ ซึง่ ทุกวันนี้ สมอ. พยายามที่ จะท�ำอยู่ อาทิ การปรับโครงสร้างพื้นฐานให้มี ความแข็งแกร่งจริง ๆ เปรียบเสมือนการก่อสร้าง ทีต่ อ้ งมีการวางเสาหลักหรือฐานรากให้แข็งแกร่ง และสามารถรองรับทุกสิ่งทุกอย่างที่จะเกิดขึ้นได้ แผนการด�ำเนินงานระยะสัน้ ระยะยาวเกิดขึน้ จาก การร่วมกันของทีมงาน สมอ. ทุกคน เฉกเช่นเดียวกันกับภาคอุตสาหกรรม ประชาคมจะต้องร่วมกันท�ำงาน เพื่อร่วมกันวาง โครงสร้างพืน้ ฐานของภาคอุตสาหกรรม เพราะทุก วันนีเ้ ราไม่ได้ผลิตสินค้าเพือ่ ใช้ในประเทศแต่เพียง อย่างเดียว แต่เราผลิตเพื่อการส่งออกค่อนข้าง มาก ทั้ ง นี้ สิ น ค้ า เพื่ อ การส่ ง ออกจะได้ รั บ การ

ยอมรับหรือไม่นนั้ ขึน้ อยูก่ บั สินค้าเหล่านัน้ ทีต่ อ้ ง มีคุณภาพและมาตรฐาน และเป็นไปตามความ ต้องการของผู้บริโภค กล่าวได้ว่าผู้บริโภคอาจ คาดหวังสินค้าของเราไว้บ้างส่วนหนึ่ง สิ่งที่เรา ต้องท�ำ คือ ท�ำเกินกว่าที่ผู้บริโภคคาดหวังไว้ นี่ เป็นเป้าหมายที่ สมอ. และภาคเอกชนต้องท�ำงาน ร่วมกัน” ท่านเลขาธิการ สมอ. กล่าวถึงกลยุทธ์ที่ วางเป้าหมายไว้

ฝากถึงผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไป ในเรื่องคุณภาพและมาตรฐาน

ท่านเลขาธิการ สมอ. ได้กล่าวฝากถึง ผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไปว่า “ทุกวันนี้ เรื่องคุณภาพและมาตรฐานเป็นเรื่องที่มีความ ส�ำคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของทุกคน ในวันนี้ อุตสาหกรรมจะยืนอยูไ่ ม่ได้หากไม่สามารถรักษา คุณภาพและมาตรฐานไว้ได้ และจะอยู่นิ่งไม่ได้ เนือ่ งจากทุกสิง่ ทุกอย่างต้องมีการพัฒนาอยูต่ ลอด เวลา ผูป้ ระกอบการทุกท่านจึงต้องตระหนักและ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง และขอฝากถึงเรื่องสิ่งแวดล้อมตามเป้าหมาย Zero Waste เพือ่ สังคม และโลกที่น่าอยู่ของเราทุกคน” ท่านเลขาธิการ สมอ. กล่าวฝาก


Q

Management for

uality

Finance Marketing & Branding People Idol & Model


Q

Finance for

uality

ราคาน� ำ ้ มั น กับการพัฒนาเศรษฐกิจ แนวโน้ม

รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์

อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

การ

ทีร่ าคาน�ำ้ มันดิบได้ตกมากนัน้ ประเทศทีจ่ ะได้ประโยชน์อย่าง มากมายก็คือ จีน ที่ยังมีโครงสร้างเศรษฐกิจ ที่ อิ ง กั บ ภาคเศรษฐกิ จ จริ ง (real-sector based economy) เป็นอย่างมาก เพราะ เท่าที่เป็นอยู่ ภาคบริการ (service sector) ซึ่งได้รวมภาคการเงิน (financial sector) ยัง มีสัดส่วนของการสร้างมูลค่าของ GDP ใน ระดับต�่ำ และต�่ำกว่ามหาอ�ำนาจตะวันตก ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐ หรือสหภาพยุโรป (EU) เป็นอันมาก เท่าที่เป็นอยู่ ภาคบริการของจีนยัง สร้างมูลค่า GDP ได้เพียง 40% เศษเท่านั้น เทียบกับที่กว่า 80% ในกรณีของสหรัฐ และ กว่า 70% ในกรณีของสหภาพยุโรป

36

จีน

for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

การตระหนักถึงความส�ำคัญในการ เป็นเศรษฐกิจทีอ่ งิ กับภาคเศรษฐกิจจริง ทีจ่ ะ ยังคงด�ำรงอยูก่ บั จีนอีกค่อนข้างยาวนาน ได้ ส่งผลให้ทางการจีน “ดิ้นรน” แสวงหาแหล่ง พลังงานในต่างประเทศ อันถือเป็นนโยบาย หลักทีส่ ำ� คัญมากของจีนในการออกลงทุนยัง ต่างประเทศและค้าขายกับต่างประเทศใน ช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา มีข้อที่น่าสังเกตว่า ในช่วงที่ผ่านมา จีนได้ออกไปแสวงหาแหล่งพลังงานไม่วา่ จะ เป็นการลงทุนเอง และ/หรือการท�ำสัญญา การซื้อผลิตภัณฑ์พลังงานระยะยาวชนิด กระจายตัวทัว่ โลก ไม่วา่ จะเป็นในตะวันออกกลาง อัฟริกา ละตินอเมริกา เอเชียกลาง รัสเซีย แคนาดา ออสเตรเลีย หรือในบรรดา

ประเทศที่เป็นสมาชิกของอาเซียนที่มีพลังงานมาก ๆ เอง เช่น อินโดนีเซีย บรูไน ฯลฯ ทัง้ นีเ้ ป็นเพราะภาคเศรษฐกิจจริงนัน้ ได้มีพลังงานท�ำหน้าที่ในการขับเคลื่อนใน แทบทุกองคพายพ ไม่ว่าจะเป็นขบวนการ ล�ำเลียงขนส่งวัตถุดบิ เข้าสูโ่ รงงาน ขบวนการ ผลิตสินค้าต่าง ๆ ในโรงงาน การเก็บรักษา ผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตภัณฑ์ ที่ เ น่ า เสี ย ง่ า ย (perishable products) ทั้งหลาย เช่น การเก็บในระบบแช่แข็ง หรือ ในห้องเย็นที่ต้องใช้พลังงานเป็นอันมาก ไม่เพียงเท่านั้นผลิตภัณฑ์สินค้าที่ ผลิตเสร็จแล้วยังต้องบรรทุกในยานพาหนะ ทีล่ ว้ นแล้วแต่ตอ้ งใช้พลังานจากซากฟอสซิล (fossil-based energy) ในการขับเคลื่อน


มี ข ้ อ ที่ น ่ า สั ง เกตว่ า ในขบวนการ ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ น�้ ำ มั น ปิ โ ตรเลี ย มมี บทบาทมากเป็ น พิ เ ศษในด้ า นขบวนการ ขนส่งสินค้า (transportation) และการเดิน ทางโดยยวดยานพาหนะของผู้คน ที่มีความ ส�ำคัญเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ จี น ซึ่ ง เป็ น ประเทศขนาดใหญ่ ไม่ ว ่ า จะ พิจารณาจากขนาดของประเทศที่มีพื้นที่ถึง 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร (ใกล้เคียงกับขนาด พื้ น ที่ ข องสหรั ฐ ) และมี ป ระชากรถึ ง กว่ า 1,300 ล้านคน ซึง่ คิดเป็นประมาณหนึง่ ในห้า ของจ�ำนวนประชากรทัว่ ทัง้ โลกทีม่ ปี ระมาณ 7,000 ล้านคน จากการตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของแหล่งพลังงานในด้านต่าง ๆ เช่น น�้ำมัน ปิโตรเลียมในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของจีน แผ่ น ดิ น มั ง กรไม่ เ พี ย งแต่ ต ้ อ งสร้ า งหลั ก ประกันด้านแหล่งอุปทานพลังงาน (supply assurance) แก่ตน เช่น การออกไปลงทุนใน แหล่งพลังงานนอกประเทศ ฯลฯ เท่านัน้ หาก แต่ จี น ยั ง ได้ ส ร้ า งแหล่ ง ส� ำ รองน�้ ำ มั น ดิ บ ขนาดใหญ่ในประเทศ เพื่อให้สามารถเก็บ ส�ำรองน�ำ้ มันดิบได้มาก ๆ เช่น ประมาณ 100 วันเป็นอย่างน้อย ด้วยเป้าหมายสร้างหลักประกันทัง้ ทางด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและ เพื่อเป้าหมายไม่ใช่เศรษฐกิจ (non-economic objectives) ต่าง ๆ เช่น ด้านการเมือง และความมั่นคง ฯลฯ จากความรวดเร็ ว และถี่ ก ระชั้ น ทางการพัฒนาเศรษฐกิจที่ท�ำให้พญามังกร พุ่งทะยานจากประเทศที่เคยยากจนและ ด้อยพัฒนามาก ๆ ในอดีตจนกลายเป็น ประเทศทีม่ ขี นาดของข้อมูลค่า GDP สูงเป็น อันดับที่สองของโลกในปัจจุบัน ได้ส่งผล ให้การ “บริโภค” น�ำ้ มันของจีนเพิม่ ขึน้ เหมือน “เงาตามตัว” ด้วย โดยต้องใช้น�้ำมันดิบกว่า 10 ล้านบาเรลในปัจจุบัน โดยที่ประมาณ 60% ของปริมาณน�้ำมันดิบที่จีนใช้ในแต่ละ วันได้จากการน�ำเข้าจากต่างประเทศ ที่ส่ง ผลให้ จี น กลายเป็ น ผู ้ น� ำ เข้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดังกล่าวที่สูงอยู่ในอันดับ “Top 2” ของโลก และมีปริมาณการน�ำเข้าทีใ่ กล้เคียงกับสหรัฐ ในแต่ละวัน

ยิง่ เท่าทีเ่ ป็นอยูส่ หรัฐซึง่ เป็นประเทศ ที่น�ำเข้าน�้ำมันดิบมากเป็นอันดับที่ 1 ของ โลกมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน (สหรัฐเคย “บริโภค” น�้ำมันดิบคิดเป็นประมาณหนึ่งใน สี่ของการใช้น�้ำมันดิบทั่วทั้งโลกมาตลอดใน ช่วงก่อนหน้านี้) ได้หันไปผลิตน�้ำมันดิบใช้ เอง จากขบวนการผลิต “Shale Gas” และ “Shale Oil” ทีส่ ง่ ผลท�ำให้แผ่นดินพญาอินทรี สามารถผลิตน�้ำมันดิบภายในประเทศเพิ่ม ขึ้นนับเท่าตัว คือ จากวันละ 4-5 ล้านบาเรล เมื่อไม่กี่ปีก่อน เป็นวันละประมาณ 9 ล้านบาเรลในปัจจุบัน (2015) ด้วยแล้ว ก็ยัง ส่งผลให้สหรัฐพึ่งพาการน� ำเข้าน�้ำมันดิบ จากต่างประเทศน้อยลง ท�ำให้จนี “ผงาด” ขึน้ เป็นผูน้ ำ� เข้าน�ำ้ มันดิบในอันดับต้น ๆ ของโลก แทน

การที่แผ่นดินมังกร พุ่งทะยานทาง การพัฒนาขึน้ มาจนกลายเป็นทัง้ ผูผ้ ลิตและ จ�ำหน่ายรถยนต์เป็นอันดับที่ 1 ของโลก โดย สามารถขายรถยนต์ภายในประเทศได้ปีละ กว่า 20 ล้านคันในปัจจุบันด้วยแล้ว ความ จ�ำเป็นการใช้พลังงานในรูปน�ำ้ มันปิโตรเลียม ก็ยังมีเพิ่มมากขึ้น การที่ราคาน�้ำมันปิโตรเลียมลดต�่ำ ลงอย่างมีนยั ส�ำคัญในปี 2014 เป็นต้นมา ยัง ช่วยให้จีนลดทอนการพึ่งพาแหล่งพลังงาน จากซากฟอสซิลอืน่ ๆ ทีส่ ร้างปัญหามลภาวะ มากกว่า เช่น พลังงานจากถ่านหินที่จีน

พึ่งพามาก ๆ ได้ด้วยในบางระดับ ไม่อาจที่จะปฏิเสธความจริงได้ว่า เท่าทีเ่ ป็นอยูจ่ นี เป็นทัง้ ประเทศผูผ้ ลิตและใช้ ถ่านหินในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่มาก ที่สุดของโลก ตัวอย่างเช่น การผลิตกระแสไฟฟ้า ในจีน ต้องพึ่งพาถ่านหินเป็นพลังงานไม่ต�่ำ กว่าสองในสามของพลังงานทุกแหล่งทีใ่ ช้ใน การผลิตกระแสไฟฟ้าในแดนมังกร อันเป็น อัตราการพึ่งพาถ่านหินที่สูงกว่าระดับเฉลี่ย ของโลกหลายเท่าตัว ทีส่ ง่ ผลให้จนี กลายเป็น “จ�ำเลย” ในอันดับต้น ๆ ของโลก ในด้านการ สร้างปัญหามลภาวะให้แก่ชั้นบรรยากาศ ของโลก อันเป็นทีม่ าส�ำคัญของปัญหา “โลกร้อน” (global warming) ที่ก�ำลังเพิ่มความ คุ ก คามต่ อ ดาวเคราะห์ ที่ มี ชื่ อ ว่ า “โลก” ดวงนีม้ ากขึน้ ในทุกวันนี้ และก�ำลังกลายเป็น “ศัตรู” หมายเลขต้น ๆ ที่ก�ำลังคุกคามความ ปลอดภัยของมนุษยชาติทยี่ ดึ “ดาวเคราะห์” ดวงนี้เป็นแหล่งพ�ำนักมาอย่างยาวนาน เมื่อเป็นเช่นนี้ จีนจึงต้องปรับสมดุล ในการใช้พลังงานในลักษณะต่าง ๆ ไม่วา่ จะ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น�้ำมันและ พลังงานจากแหล่งอื่น ๆ การปรับสมดุลการ ใช้แหล่งพลังงาน เช่น การหาทางลดทอน การพึ่งพาพลังงานจากถ่านหินที่สร้างผล ข้างเคียงด้านลบ (side-effects) แก่การ พัฒนาของจีนมากมายในปัจจุบัน และหา ทางใช้แหล่งพลังงานอื่น ๆ เช่น การใช้แก๊สธรรมชาติ (natural gas) ที่ จี น ยั ง ใช้ ใ น สัดส่วนที่ต�่ำกว่าระดับเฉลี่ยการใช้ของโลก มาก ฯลฯ เท่ า ที่ เ ป็ น อยู ่ นอกจากการสร้ า ง หลักประกันด้านน�้ำมันแล้ว จีนยังให้ความ ส�ำคัญกับการเพิ่มแหล่งพลังงานทดแทน พลังงานกระแสหลักที่ตนพึ่งพามาก ๆ เช่น ถ่านหิน ตัวอย่างการแสวงหาแหล่งแก๊สธรรมชาติทั้งในและนอกแผ่นดินมังกร ทั้งนี้ ยังไม่นบั รวมการหาทางพัฒนาแหล่งพลังงาน ทดแทน (alternative energy) อื่น ๆ ที่ไม่ได้ มาจากซากฟอสซิลด้วย

Vol.22 No.209 May-June 2015

Finance

37


Q

Finance for

uality

กลยุทธ์ลดหนี้

รศ.สุพัตรา สุภาพ

อาจารย์อาวุโส จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ไม่เป็นหนี้ มีเงินสะสม

ช่วง

นี้คนไม่น้อยบอกว่า มีรายได้ ไม่พอรายจ่าย เพราะภาวะ เศรษฐกิจชะลอตัว และมีเหตุการณ์ไม่คาดฝันท�ำให้ประกอบธุรกิจยากหรือมีงานท�ำที่ มั่นคงได้ โดยเฉพาะผูท้ กี่ นิ เงินเดือนจะบอกว่า ข้าวของแพง ภาระก็มาก มีรายจ่ายให้หนักใจ ตลอดเวลา จนชักหน้าไม่ถึงหลัง ไม่พอ ยัง เป็ น หนี้ เ ป็ น สิ น ซึ่ ง ก็ ไ ม่ รู ้ ว ่ า จะลดหนี้ ไ ด้ อย่างไร วันนี้จึงขอน�ำข้อคิดของผู้เชี่ยวชาญ ด้านลดหนี้มาเป็นอุทาหรณ์ ส่วนใครจะใช้ ของใครแล้วแต่ความพอใจ เริ่มด้วย Philip Smith เขียน “Get Out of Your Debt-Fast” เป็นข้อคิดทีเ่ ขาน�ำมาจากผูห้ ญิง 5 คน ทีร่ วม กลุ่มเพื่อช่วยกันหาวิธีลดหนี้ซึ่งพวกเธอแม้ ยังสาวก็ท�ำได้ส�ำเร็จ และปลดหนี้สินได้ ถึง

38

for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

1,500,000 บาท แค่ 10 เดือน Katie Dunsworth วัย 26 ปี สมาชิก ของกลุ่มปลดหนี้ กล่าวว่า พวกเขาเป็นหนี้ มากแต่สามารถปลดหนี้ได้ คนอื่น ๆ น่าจะ ท�ำได้เช่นกัน ซึ่งสาว ๆ ทั้ง 5 คน มาจาก แวนคูเวอร์ ในแคนาดา และได้ขอ้ คิดมาจาก รายการ “Oprah Show” ที่พูดถึงเรื่องการ ปลดหนี้ โดยตั้ ง ชื่ อ กลุ ่ ม ของเขาว่ า “The Smart Cookies” ทั้งยังมีรายการวิทยุและ ทีวีเพื่อช่วยเหลือปวงชนในชื่อเดียวกัน แล้ว ยังเขียนหนังสือขายดี The Smart Cookies Quide to Making More Dough

กลยุทธ์ปลดหนี้

คนไม่น้อยเป็นหนี้ก็ไม่กล้าจะบอก ใคร ท�ำให้ตอ้ งแก้ปญ ั หาด้วยตัวเอง จนต้อง

เจ็บตัวไปไม่น้อย ทางที่ดี 1. เปิ ด อกพู ด กั บ คนที่ มี ป ั ญ หา คล้าย ๆ กับเรา และหาเวลาพูดคุย อาจจะ อาทิตย์ละครั้ง หรือสองอาทิตย์ครั้ง หรือ เดื อ นละครั้ ง เพื่ อ หาทางออกหรื อ ช่ ว ย ควบคุมการใช้จ่ายของเรา 2. ใช้เงินสด จะท�ำให้เราไม่ใช้เงิน เกิ น ตั ว ก็ มี เ งิ น สดอยู ่ แ ค่ นั้ น จะใช้ จ ่ า ย มากกว่านั้นคงยาก ไม่เหมือนใช้บัตรเครดิต จะใช้เพลิน เพราะธนาคารให้วงเงินเราใช้ จ่ายเกินตัวอยู่แล้วในแต่ละใบ ยิ่งใครก็ตามมีหลายบัตรเครดิต ยิ่ง เพลิดเพลินใช้จา่ ยโดยไม่รตู้ วั มารูอ้ กี ทีกเ็ ป็น หนี้จนแทบหมดแรงใช้หนี้ 3. ขอลดดอกเบีย้ บัตรเครดิต เป็น การต่อรองกับธนาคารหรือสถาบันการเงิน


ถ้าไม่ได้ผลก็หาธนาคารหรือสถาบันอื่นที่ ดอกเบี้ยต�่ำกว่า เพื่อจะได้ลดภาระดอกเบี้ย ซึ่งส่วนมากธนาคารหรือสถาบันการเงินจะ ยอมไม่น้อย เพราะกลัวเสียลูกค้า 4. ท�ำบัญชีรายจ่าย เป็นการเก็บ ใบเสร็จทุกใบ บัตรเครดิต Statement ของ ธนาคาร และรายจ่ายทุกอย่างทีไ่ ม่มใี บเสร็จ ในรอบ 3 เดือน เป็นการดูว่าเงินหายไปไหน ก่อนจะหาทางเก็บออม 5. ก� ำ หนดรายรั บ รายจ่ า ย โดย พยายามใช้ในสิ่งจ�ำเป็น ยกตัวอย่าง แคธี เคยใช้ เ งิ น ซื้ อ ของโดยไม่ คิ ด ถึ ง เดื อ นละ 21,000 บาท เป็นข้าวของทีไ่ ร้สาระ บางทีซอื้ มาก็ไม่ได้ใช้ หรือใช้ไม่ได้ หรือไม่ดี เธอจึง เปลี่ยนมาซื้อเดือนละ 6,750 บาท ท�ำให้เธอ ประหยัดไปเดือนละ 4,250 บาท ตกปีละ 12,750 บาท 6. ใช้มือถืออย่างประหยัด ปัจจุบันคนจะใช้มือถือโดยไม่คิด ก็โทรง่าย แถม เห็นมีโปรโมชั่นก็ดีใจ เลยโทรบ่อย ไม่ทันคิด ว่ า เกิ ด เกิ น โปรโมชั่ น จะเสี ย เงิ น เพิ่ ม หรื อ โทรศัพท์ทางไกลด้วยมือถือจะถูกกว่าใช้ โทรศัพท์บ้าน การติดต่อพูดคุยกันกับต่างประเทศใช้อินเทอร์เน็ตจะดีที่สุด ไม่เปลือง ค่าใช้จ่าย 7. เลิกเป็นสมาชิกเคเบิล้ ทีเ่ สียเงิน ขอให้ดูฟรีทีวี หรือฟรีเคเบิ้ลอะไรก็ตามที่ไม่ เสียเงิน 8. ซื้ อ ของใช้ ที่ ไ ม่ ใ ช่ แ บรนด์ ดั ง เพราะคุณภาพแม้จะดีกว่าบ้าง แต่เราน่าจะ ใช้สินค้าและบริการที่เหมาะกับรายได้ ไม่ ควรใช้สนิ ค้าและบริการเกินฐานะจนเป็นหนี้ เป็นสิน 9. ขายเสื้ อ ผ้ า เก่ า เพื่ อ จะได้ มี รายได้บ้าง เช่น แคธีเสียเงินซื้อชุดแต่งงาน 35,000 บาทพอแต่งงานเสร็จ เธอก็ขายชุด แต่งงานไป 18,000 บาท เพราะเก็บไว้คงไม่ ได้ใช้ ก็รปู ร่างเปลีย่ นไป ยิง่ มีลกู ยิง่ อ้วน เวลา อยากได้เสือ้ ผ้า เธอจะซือ้ ของเก่า เธอบอกว่า เอามาต้มซักฆ่าเชื้อ ก็ใช้ได้ดี เสื้อผ้าเก่า ท�ำให้เธอประหยัดถึงร้อยละ 60 10. ซือ้ เครือ่ งส�ำอางตามร้าน จะถูก กว่าซื้อในห้างสรรพสินค้า ทั้ง 5 สาว เตือนผู้

ที่มีหนี้สินว่า ถ้าท�ำรายรับรายจ่ายอย่าง ละเอียดทุกรายการทุกวัน จะเห็นได้วา่ แต่ละ เดือนเราใช้อะไรที่ไม่เข้าท่าบ้าง แล้วอาจ ท�ำให้เราคิดได้วา่ เราท�ำแบบนัน้ ไปได้อย่างไร เพราะส่วนมากคนเราจะไม่ชอบจดรายจ่าย อาจจะขีเ้ กียจหรือไม่กเ็ ห็นว่าเสียเวลา จนไม่ ได้ทันดูว่าได้ใช้อะไรเกินความจ�ำเป็น ข้อคิดการปลดหนี้ของทั้ง 5 สาว น่าสนใจถ้าท�ำได้ ก็คงมีแต่ได้กบั ได้ ไม่เป็น หนี้เท่าไร

ปลดหนี้ด้วยตัวเอง

นีเ่ ป็นข้อคิดของอดีตตัวแทนบริษทั ประกัน ส�ำหรับผูท้ มี่ ชี วี ติ อยูบ่ นบัตรเครดิต ที่ หาเงินไม่พอใช้หนี้ Thomas Lane เขียนเรือ่ ง

“You Can Get Filthy Rich & Climb out of Debt-by Suing Yourself” เป็นการน�ำข้อคิด ของ Meg Falken มาเรียบเรียงเพื่อเป็น วิ ท ยาทานแก่ ผู ้ ที่ เ ป็ น ทาสบั ต รเครดิ ต ที่ หาเงินไม่พอใช้หนี้ Falken อดี ต รองประธานบริ ษั ท ประกันภัยในสหรัฐอเมริกา และเป็นผู้แต่ง หนังสือ Sue Yourself for Fun and Profit, Profit, Profit! บอกว่า การประกันเป็นสิ่งดี เพราะเราบอกไม่ได้ว่าอะไรจะเกิดขึ้น โดย เฉพาะอุบัติเหตุ เนื่องจากมีสถิติว่า ผู้ชาย 7 ใน 10 คน ส่วนผู้หญิงจะเป็น 6 ใน 10 คน

เกิดอุบตั เิ หตุในบ้านในช่วง 5 ปี ถ้าไม่ประกัน เราอาจเสียเงินค่ารักษาพยาบาลมาก หรือ ไม่ได้เงินค่าทดแทน ยิง่ ทุพพลภาพหรือพิการ ถาวร ยิ่งจะได้ค่าชดเชยมากขึ้น หากเราประกันเงินสูง บริษัทประกันภัยจะรีบเจรจาต่อรองกับเรา เพื่อบริษัท จะได้ไม่ต้องเสียเงินมาก หรือต้องฟ้องขึ้น ศาลให้เสียเวลา นอกจากนี้ถ้าเป็นอุบัติเหตุ ถึงขั้นเสียชีวิตก็จะได้เงินค่าชดเชยสูง Falken ได้ยกตัวอย่างผู้ที่ประกัน และได้เงินชดเชย 4 คน ที่กลายเป็นเศรษฐี อย่างน้อยก็เป็นข้อคิดให้คนไปสหรัฐอเมริกา หรืออยูส่ หรัฐอเมริกา ยิง่ ไปกว่านัน้ ในหนังสือ เล่มนี้ Falken ยังได้เล่าเรื่อง ผู้เอาประกันทั้ง ชายหญิ ง และเด็ ก เรี ย กร้ อ งค่ า ประกั น จน กลายเป็นเศรษฐี ทั้ง ๆ ที่เป็นความผิดของ พวกเขาเอง อลิเซีย วัน 24 ปี ฆ่าตัวตายเองด้วย การผสมยาพิษในเนื้อ ท�ำให้เธอต้องนอน โรงพยาบาล 3 วัน และปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจี ย น และเกิ ด อาการขาดน�้ ำ เธอให้ ทนายความท�ำเรื่องขอสิทธิค่าชดเชยอ้างว่า เป็นเรื่องที่ไม่ได้ตั้งใจ แต่บริษัทประกันภัยก็ รักษาสัญญาว่าจะป้องกันเธอจากอุบัติเหตุ แม้ เ ป็ น เรื่ อ งความผิ ด ของเธอเองก็ ต าม อลิเซียเล่าต่อว่า เป็นเหตุการณ์ที่เจ็บปวด อย่างมาก แต่กค็ มุ้ ได้เงินมา 4,500,000 บาท ทอมมี่ วัย 12 ขวบ เล่นสเก็ตลงมา ตามราวบันได 3 ชั้นในบ้านจนแขนขาหัก และแตกในบัฟฟาโร และทนายช่วยเรียกร้อง เงินจากบริษัทประกันภัยได้ไป 7,250,000 บาท แจ็ค พ่อครัวที่เกษียณแล้ววัย 67 ปี ติดโรคจากเมียที่ตายเพราะไปใช้แปรงสีฟัน ของเธอเลยฟ้องบริษทั ประกัน 150 ล้านบาท ซึ่งในตอนหลังแจ็คได้ค่าชดเชยเท่าไรไม่มี ใครรู้ได้ เพราะเป็นการตกลงยอมความกัน ระหว่างบริษทั แต่มขี อ้ น่าสังเกตว่า หลังจาก ได้เงินชดเชยไม่กี่วัน เขาซื้อแมนชั่นที่มี 26 ห้อง ในราคา 30 ล้านบาท รีเบ็คกา วัย 43 ปี ท�ำประกันไว้ 30 ล้านบาท หลังจากนั้นแค่ 3 เดือน เธอก็ลื่น หกล้มระหว่างลงยาขัดเงาบนพื้นครัวจน

Vol.22 No.209 May-June 2015

Finance

39


Finance ท�ำให้หน้าไปโดนขอบเตาจนเป็นแผล เธอได้ เงินค่าชดเชยไป 9,000,000 บาท โดยไม่ต้อง ขึ้นศาลหลังจากเกิดอุบัติเหตุแค่ 4 เดือน นี่ คื อ ตั ว อย่ า งที่ Falken เขี ย นใน หนังสือของเขา ในต่างประเทศก็เป็นแบบนีไ้ ม่ น้อย ทีฟ่ อ้ งอะไรแปลก ๆ แต่กไ็ ด้เงินไม่นา่ เชือ่ ไม่น้อย ถ้าเป็นประเทศไทยยากจะได้ตามที่ คิด เพราะบริษัทประกันภัยต่าง ๆ รักษาผลประโยชน์ของบริษัทเต็มที่ โดยเฉพาะกรมธรรม์แต่ละบับ ผู้เอาประกันไม่ค่อยอ่านว่า บริษัทเขียนอะไร เพราะจะพิมพ์ตัวเล็กมาก และมีหลายหน้า หลายคนจึงละเลย ไม่ว่า ประกันอะไร เช่น ประกันชีวิต ประกันรถยนต์ ประกันบ้าน คอนโดมิเนียม เป็นต้น บริษัท ประกันเลยได้ประโยชน์ เรากลับเสียประโยชน์

เคล็ดลับได้เงิน แม้ไม่มีเงิน

Vol.22 No.209 May-June 2015

Liz Pullizm Weston ผู้เชี่ยวชาญการ เงิน ให้ข้อคิดเกี่ยวกับการประหยัดเงิน ถ้า รู้จักใช้เงินและเก็บเงิน ดังนี้ ➲ ใช้บัตร ATM ธนาคารที่ไม่คิดค่า บริการ โอนเงิน หรือกดเงินข้ามสาขาโดย ธนาคารไม่คิดค่าธรรมเนียม ➲ ใช้บต ั รเครดิตทีเ่ บิกเกินวงเงินโดย ให้หักจากบัญชีเงินสะสม จะได้ไม่เสียดอก เบี้ย ในกรณีที่มีเงินพอให้หัก ➲ โทรศัพท์ทางไกลด้วยมือถือ จะ ถูกกว่าโทรจากโทรศัพท์บ้าน

40

ตรวจสอบราคาที่ พั ก โรงแรม ต่างๆ ก่อนไปพัก และเลือกโรงรามที่ให้ราคา ต�่ำสุด และบริการดี ยิ่งไปกว่านั้นควรพักช่วง โปรโมชั่น หรือ Low Season รวมถึงการใช้ บริการฟิสเนตก็ควรท�ำแบบเดียวกัน ➲ ซื้อของก่อนสินค้ารุ่นใหม่จะออก Jean Chatzky แนะน�ำว่าที่เป็นเช่นนี้ เพราะบริษทั หวังร้านต่าง ๆ ไม่อยากมีของค้าง สต็อกหรือขายไม่ได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ โทรศัพท์ เครื่องซักผ้า เครื่องอบ เป็นต้น ยิ่งก่อนปีใหม่จะแข่งกันลดราคา เพื่อ ท�ำยอดขาย และหาเงินเข้าบริษทั ห้างร้าน เพือ่ จ่ายโบนัส หรือหนี้สิน หรือลงทุน เป็นต้น ➲ ซื้ อ ของตอนบริ ษั ท ห้ า งร้ า นลด

ราคา ซึ่งมักท�ำเป็นช่วง ๆ จึงไม่ควรใจร้อนซื้อ สินค้าก่อน Chatzky เตือนว่า อย่าผลีผลามรีบซือ้ เพราะเห็นว่าราคาถูก ต้องดูสินค้านั้นจะหมด อายุเมื่อไร โดยเฉพาะอาหารการกิน ไม่ว่า เป็นของสดหรือของแห้ง หรือเครื่องกระป๋อง น�้ำอัดลม น�้ำหวาน น�้ำดื่ม น�้ำปลา น�้ำมัน ของ ขบเคี้ยว เป็นต้น เนื่องจากสินค้าไม่น้อย พอ จวนหมดอายุ พ่อค้ามักจะน�ำมาขายแบบลด ราคา นีเ่ ป็นข้อคิดของ 3 ผูเ้ ชีย่ วชาญการเงิน Liz Pullian Weston แต่งหนังสือ East Money: How to Simplily Your Finance and Get What You Want out of Life Barbara Stanny เขียนหนังสือ The Secret of Six-Figure Women Jean Chatzky มีหนังสือขายดี Make Money, Not Excuses โดยเฉพาะ Stanny แนะน�ำต่อว่า ก่อนทีจ่ ะคิดซือ้ อะไร ไม่วา่ จะเป็นลิปสติก หรือ ทานข้าวกลางวันก็ขอให้เก็บเงินอย่างน้อย วันละ 10-20 บาท อาทิตย์หนึ่งได้สักอย่างต�่ำ 100 บาท ปีหนึ่งได้ 1,200 บาท ไม่ใช่มีเงินก็ ซื้อของกินของใช้หมด แล้วควรมีวินัยในการ เก็บเงิน ให้ถือว่าเป็นหน้าที่ หลังจากเก็บได้ก็ น�ำไปฝากเป็นเงินสะสมแม้จะได้ดอกเบี้ยไม่ มาก แต่เก็บไปเรือ่ ย ๆ เราจะมีเงินก้อนใช้ยาม ฉุกเฉิน ไม่ต้องกู้ยืม Amanda Prost เขียน How Can I Squeeze More Money from My Budget ? กล่าวว่าที่เราเป็นหนี้ทุกวันนี้เพราะเราใช้เงิน โดยไม่รวู้ า่ ควรไม่ควร บางครัง้ มีคา่ ธรรมเนียม เรากลับคิดว่าเล็กน้อย ไม่เป็นไร แต่พอมี รายการต่าง ๆ มากเข้าท�ำให้เราเสียเงินโดย ใช่เหตุ จึงควรฟังผู้เชี่ยวชาญว่า เราเสียเงิน โดยไม่คิดไหม แล้วพยายามอุดช่องโหว่ เพื่อ จะได้มีเงินออมมากขึ้น เป็นจริงตามที่ผู้เชี่ยวชาญให้ข้อคิด ไว้

แก้ปัญหาเรื่องเงิน

เรื่องเงินไม่พอใช้ หรือเป็นหนี้ เป็น เรือ่ งน่าหนักใจ ซึง่ Grey Smith ผูแ้ ต่งหนังสือ


Finance ด้านการเงิน และเขียน “Ark the Money Man” เป็นข้อคิดในการแก้ปัญหาเรื่องเงิน ๆ ทอง ที่ให้เขาช่วยหาทางออก อยู่ที่ว่าเราจะเชื่อ หรือไม่ ฟังไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม

มีเงินให้งอกเงย

Q: มี เ งิ น ในบั ญ ชี ส ะสม 400,000 บาท แต่ไม่รู้จะท�ำอะไรกับเงินจ�ำนวนนี้ A: ถามตัวเองอยากเก็บเงินใช้ระยะ สั้น ๆ หรือระยะยาวหลาย ๆ ปี หลังจากนั้นไป ทีธ่ นาคาร หรือสถาบันการเงิน เพือ่ ปรึกษาการ ลงทุนระยะสั้นและยาวได้แบบไหน

เพื่อนชวนซื้อหุ้น

Q: เพื่อนชอบมาชวนให้ซื้อหุ้น ทั้ง ๆ ที่ดิฉันไม่ได้มีเงินมากพอลงทุน เธอบอกว่ามี เงินน้อยก็ท�ำให้มีเงินมากเท่าตัวได้ ดิฉันควร จะเชื่อเพื่อนหรือไม่ A: มีขอ้ เตือนใจว่า การลงทุนจะต้อง ศึกษาให้รอบคอบ โดยเฉพาะผูท้ ไี่ ม่เคยซือ้ หุน้ ต้องปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ การซื้อหุ้นมีได้ก็จริง แต่ก็มีเสียด้วย ส�ำคัญเพื่อนคุณเป็นผู้เชี่ยวชาญการ ลงทุนหรือไม่ และเท่าทีเ่ ธอเคยลงทุนมาก เธอ ได้หรือเสียเป็นส่วนใหญ่ Q: ต้ อ งการความช่ ว ยเหลื อ ด่ ว น เพราะแม้อายุ 20 ปี เป็นโสดด้วย มีการงาน ท�ำที่ดี แต่ไม่เคยเก็บเงินได้เลย A: คุณก็เป็นเหมือนหลาย ๆ คนที่ ชอบใช้เงินมากกว่าเก็บเงิน วิธีการง่าย ๆ คือ ต้องเขียนสถานที่ที่ คุณไปและใช้เงินทุกแห่งในวันเสาร์-อาทิตย์ หรือวันหยุด แล้วดูวา่ รายการไหนบ้างทีเ่ ราใช้ โดยไม่คดิ และไม่จำ� เป็น แม้จะท�ำยากก็ตอ้ งท�ำ ถ้าไม่อยากใช้เงินหมดเหมือนเช่นเคย ถ้าเราไม่ควบคุมตัวเองให้ได้ แล้วใคร จะท�ำแทนเราได้ นี่คือสัจธรรม

ใช้เงินไม่คิด

Q: สามีหาเงินได้มาก ซึง่ ไม่นานมานี้ แทนที่เขาจะเอาเงินไปใช้หนี้ค่าจ�ำนองบ้าน

มีปัญหากับธนาคาร

เขากลั บ อยากเอาเงิ น ไปซื้ อ เรื อ เพื่ อ จะได้ ตกปลา เรามีลูกสองคน และมีหนี้ค่าจ�ำนอง บ้านไม่น้อย จะท�ำอย่างไรดี A: คุณควรจะนั่งจับเข่าคุยกันดี ๆ ว่าจะท�ำอย่างไรให้ชีวิตครอบครัวดีขึ้น โดย ไม่เป็นหนีค้ า่ จ�ำนองบ้าน และเลีย้ งลูกสองคน ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น ได้เรียนหนังสือโดยไม่เครียด เรื่องหนี้สินของพ่อแม่ หรือจะโดนยึดบ้าน วันไหนก็ไม่รู้ ถามเขาว่าเงินจ�ำนวนนี้ แบ่งไปใช้ให้ เขาไปพักผ่อน อาจไปเช่าที่ตกปลาตามที่เขา อยากไป และเงินทีไ่ ด้มาน่าจะใช้เพือ่ แบ่งเบา ภาระหนี้สินจะดีไหม จะได้ไม่ต้องกังวลเรื่อง บ้านยังจ�ำนองอยู่ ถ้าเขายังยืนยันไม่สนใจ เรื่องจ�ำนองบ้านและลูก ๆ ก็เป็นหน้าที่ของ คุณต้องยื่นค�ำขาดว่าเขาจะรักตกปลามาก กว่าครอบครัวที่ต้องล�ำบากใช่หรือไม่

Q: มีปัญหากับธนาคาร ไม่รู้จะไป ร้องเรียนกับใคร ช่วยแนะน�ำด้วย A: ติดต่อแผนกลูกค้าสัมพันธ์หรือ หน่วยการเงิน หรือผู้จัดการ หรือส�ำนักงาน ใหญ่ ถ้าพนักงานพูดจาไม่ไพเราะ หรือบริการ ไม่ดี หากยั ง ไม่ ไ ด้ ผ ล ก็ ร ้ อ งเรี ย นไปยั ง ประธานธนาคาร ถ้าเป็นปัญหาร้ายแรง ธนาคารทุกแห่งอยากบริการลูกค้า อยู่แล้ว เพราะกลัวลูกค้าจะไปใช้บริการกับ ธนาคารอื่น ข้ อ คิ ด วั น นี้ ข องผู ้ เ ชี่ ย วชาญหลาย สาขาวิชาชีพช่วยให้บริหารจัดการเงินและ หนี้สินได้เป็นอย่างดี บางครั้ง เหมือนเส้นผมบังภูเขา ถ้า มีคนมาช่วยให้กระจ่างจะท�ำให้ไม่เป็นหนี้ หรือหนี้น้อยลง จะได้พอมีเงินเก็บเพื่อชีวิต ที่ดีกว่านี้ได้ แล้วท�ำไมไม่ฟังพวกเขาล่ะ

Vol.22 No.209 May-June 2015

ช่วยสอนให้ออมทรัพย์หน่อย

ถ้าเขาเลือกสนุกกับการซื้อเรือและ ตกปลา คุณคงต้องท�ำใจจะอยู่ให้เขามีเรือ ตกปลาหรือเป็นหนี้สิน หรือเลิกกับเขาไป

41


Q

Marketing & Branding for

uality

New Trend-Update from

สงคราม E-Commerce ในญี่ปุ่น ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์

สนามรบ

คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น E-mail: orbusiness@hotmail.com

E-Commerce ใ น ญี่ ปุ ่ น มี ลักษณะทีว่ า่ ยักษ์ใหญ่จำ� นวนไม่มากรายต่อสู้ กัน โดยมีคนแคระจ�ำนวนมากคอยก่อกวนอยู่ โดยรอบ แต่ยักษ์ใหญ่อย่าง Rakuten กลับ มองว่ า สงครามนี้ ไ ม่ เ ป็ น ปั ญ หา คนแคระ เหล่านี้ไม่ใช่คู่แข่งแต่ประการใด เพราะว่า จุดขายของ Rakuten คือ “Premium Mall” เป็นการขายสินค้าผ่านทางอินเทอร์เน็ต ให้การ สนับสนุนแก่ “ร้านค้า (เจ้าของสินค้าที่ขาย ผ่านอินเทอร์เน็ตของ Rakuten)” ที่ดีเด่นจาก การส� ำ รวจ เพื่ อ เพิ่ ม สี สั น และเสน่ ห ์ ใ ห้ แ ก่ ร้านค้าแต่ละร้าน ในขณะเดียวกัน Rakuten ก็ จะเก็บค่าเข้า จึงเปรียบเสมือนกับ Rakuten เป็นห้างสรรพสินค้า หรือ Mall ระดับสูงที่ให้ พื้นที่เช่าแก่ร้านค้าต่าง ๆ ที่มาจ�ำหน่ายสินค้า ดังนั้น ในสาขานี้ Rakuten ไม่รู้จักค�ำว่าแพ้ และคาดกันว่าจะมีอตั ราการเติบโตระดับสูงต่อ ไปไม่ต่างกับ Amazon ที่มีความแข็งแกร่งใน

42

for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

ด้านการขายตรง แต่ทว่า EC Service รายใหม่ ๆ ที่เกิด ขึน้ มาเรือ่ ย ๆ ก็มกี ารพัฒนาตลาดในเวทีทตี่ า่ ง กับรายใหญ่ทอี่ ยูม่ าก่อน ทีส่ ดุ โต่งก็จะเป็นแบบ “CtoC” ที่เป็นการขายของบุคคลให้กับบุคคล ซึ่งที่ผ่านมาส่วนใหญ่ CtoC จะเป็นแบบ Net Auction ถึงแม้จะเป็นบุคคลธรรมดาก็มีการ ก�ำหนดราคาที่ไม่ต่างกับร้านค้า ธุรกิจย่อย ๆ เหล่านี้ไม่ไปออกร้านใน Rakuten แต่เป็นผู้ประกอบการส่วนบุคคลที่ท้าทายการขายผ่าน ทางอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่ แนวโน้มนีม้ มี าก ขึน้ เรือ่ ย ๆ เพราะเป็นการขายระหว่างบุคคลกับ บุคคลจึงไม่ต้องเสียภาษีบริโภค ซึ่งเป็นเสน่ห์ อย่างหนึ่ง ในอีกด้านหนึ่ง “Service EC” ที่น�ำ เสนอบริการ ก็เข้าสู่สนามรบนี้มากขึ้นเช่น เดียวกัน ส่วนใหญ่จะเป็นการจองทีพ่ กั โรงแรม นอกจากนีก้ ม็ เี รือ่ งภัตตาคาร สนามกอล์ฟ การ สอนพิเศษ บริการท�ำความสะอาดบ้าน หรือ เลี้ยงดูเด็ก ทางด้านร้านค้าปลีกแท้ก็เริ่มต้อง เข้าสู่ตลาด EC เช่นเดียวกัน แสดงให้เห็นถึง ความหลากหลายของธุรกิจ EC ทีก่ ำ� ลัง เติบโต จากการคาดคะเนของ กระทรวงเศรษฐกิจอุตสาหกรรม คาดว่าตลาด EC ในประเทศ ญี่ปุ่น ในปี 2012 มีสูงถึง กว่า 9 ล้านล้านเยน ซึ่งเป็นตัวเลข ที่ค�ำนวณเฉพาะ “BtoC” โดย ยังไม่รวม CtoC แต่ถ้าหากว่า รวมแล้ว ที่ผ่านมาในปี 2013 มีถึง 16 ล้านล้านเยนเลยทีเดียว อนาคตอันใกล้ 20 ล้านล้านเยน จึงเป็นเรื่องที่ไม่ยากนัก

การรุกด้วยสมาร์ทโฟน

ผู้ประกอบการรายใหม่ที่เข้าสู่ตลาด EC ผุดขึน้ เหมือนเห็ดหลังฝน ตลาดขนาดใหญ่ เป็นเสน่ห์ดึงดูดให้เข้าสู่ธุรกิจนี้มากขึ้นเรื่อย ๆ LINE ที่น�ำเสนอ Messenger Application ที่มีผู้ใช้ทั่วโลกถึง 480 ล้านคน หรือใน ญี่ปุ่นมีถึง 52 ล้านคนเลยทีเดียว บริษัทนี้ ในปี 2013 ได้เริ่ม “LINE Mall” ที่เป็น EC Application ส�ำหรับสมาร์ทโฟน ทาง LINE Mall มุง่ เน้น EC ที่ท�ำพิเศษส�ำหรับสมาร์ทโฟนโดยเฉพาะ โดยให้บคุ คลธรรมดาสามารถน�ำเสนอสินค้าที่ จะขายแบบ CtoC ได้ง่าย ไม่ซับซ้อน เช่น การ ประมูลแบบ Auction Site ราคาจะเป็น One Price ที่ก�ำหนดโดยผู้น�ำเสนอสินค้า นอกจากนี้ ยังไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายในการออกร้าน หรือค่า ธรรมเนียมการขายด้วย ผู้ซื้อก็ไม่ต้องจ่ายค่า ธรรมเนียม หรือค่าส่ง นอกเหนือจากราคาขาย ทีแ่ สดงไว้ ซึง่ เป็นรูปแบบการขายทีง่ า่ ยทีส่ ดุ ใช้ ระบบราคาทีเ่ ข้าใจง่ายทีส่ ดุ จึงท�ำให้ผใู้ ช้บริการ ขยายตัวขึ้นอย่างมาก จากการบริการจัดส่งด้วยค่าส่งที่ต�่ำ LINE ขยายกิจการไปสู่การบริการโลจิสติกส์ โดยจับมือกับบริษัทการขายทางไปรษณีย์ เริ่ม ต้น “การจัดส่งของ LINE” ที่สามารถจัดส่งทั่ว ประเทศได้ในอัตราค่าส่งเดียว ได้มีการใช้ “Yu Pack” ของไปรษณีย์ญี่ปุ่นแบบเก็บเงินปลาย ทาง ท�ำการส่งไปที่ศูนย์โลจิสติกส์ของบริษัท โลจิสติกส์ แล้วติดฉลากส่งให้กับลูกค้าอีกครั้ง หนึ่ง ค่าส่งอาจจะต่างกันตามขนาดของสินค้า แต่ถ้าหากว่าเป็นขนาดที่ความยาว 3 ด้าน รวมกันไม่เกิน 60 เซนติเมตร ก็คิดเท่ากันที่


Marketing & Branding อย่างไรก็ตาม ในต่างประเทศก็ไม่ได้ประสบความส�ำเร็จมากนัก เนื่องจากไม่สามารถสร้าง ยอดขายให้ได้อัตราส่วนที่สูงเพียงพอ ในยุ ค ที่ อิ น เทอร์ เ น็ ต ขยายตั ว อย่ า ง รวดเร็ว คอมพิวเตอร์อย่างสมาร์ทโฟนก็ก�ำลัง แพร่หลายถึงขนาดที่ว่า 1 คน มี 1 เครื่อง การ น�ำเสนอด้วย Platform เดียวกันในต่างประเทศ ก็มีความเป็นไปได้ ดังนั้น ตลาด EC จึงเริ่ม สงครามที่ดุเดือดระหว่างเจ้าเก่ากับเจ้าใหม่ และมีโอกาสทีเ่ จ้าใหม่จะชนะเจ้าเก่าได้ไม่นอ้ ย การมาแรงของความแพร่หลายของ การสัง่ ซือ้ อย่างง่าย ๆ ด้วยการใช้สมาร์ทโฟน ไม่ เพียงแต่ท�ำให้ธุรกิจ CtoC เติมโตเท่านั้น แต่ท�ำ ให้เกิดบริการแนวใหม่ทใี่ ช้ “ความรวดเร็วสุด ๆ” ที่ได้รับของหลังจากสั่งแล้วในเวลาไม่กี่นาที หรือไม่กี่ชั่วโมง เป็นต้นว่าที่โตเกียว เขตชิบุย่า ในช่ ว งเที่ ย งก็ จ ะมี ผู ้ ช ายสวมยู นิ ฟ อร์ ม แบก กล่องที่มีสารท�ำความเย็นไว้ที่จักรยาน แล้ววิ่ง ไปส่งข้าวกล่อง (เบนโต) จากการใช้ “Bento.jp” ที่เป็น Application ส�ำหรับสมาร์ทโฟน ท�ำการ จ�ำหน่ายเบนโตในราคา 800 เยน ซึง่ สามารถส่ง ให้ได้ภายใน 20 นาที หลังจากสั่งซื้อ บริการนี้ ได้เริ่มต้นเมื่อปีที่แล้วในเขตรอปปงงิ เขตชิบุย่า ในช่วงแรก ๆ การบริการไม่ค่อยทันการสั่งจึง เกิดความวุ่นวายขึ้นมาพอสมควร แต่ปัจจุบัน ก็ได้รวมศูนย์ทบี่ ริเวณรอบ ๆ อาคารในรอปปงงิ หรือรอบ ๆ สถานีชิบุย่า ท�ำให้สามารถขยาย ยอดขายได้มากขึ้นเรื่อย ๆ ขณะนี้มียอดสั่งซื้อ เบนโตต่อวันหลายร้อยกล่องด้วยกัน เมื่อสอบถามผู้ให้บริการก็พบว่า อัตราก�ำไรไม่ค่อยสูง มากนัก แต่มีเหตุผลว่า มีวัตถุประสงค์อยู่ที่ อย่างอื่นมากกว่าการขายเบนโตเท่านั้น นั่นคือ

Logistics Operation นั่นคือ บริษัทพยายามที่ จะสร้างระบบโลจิสติกส์ที่สามารถส่งสินค้าที่ จ�ำกัดในพื้นที่ที่จ�ำกัดในทันทีทันใด เบนโตจะ เป็นสินค้าที่สั่งรวมศูนย์ในเวลาที่จ�ำกัดคือตอน กลางวันเท่านั้น และจากคุณลักษณะสินค้า ก็คือ ต้องส่งในเวลาอันสั้น นอกจากนี้จ�ำนวน การสั่ ง เบนโตก็ เ ปลี่ ย นแปลงไปตามดิ น ฟ้ า อากาศอีกด้วย ในปัจจุบันมีพนักงานส่งถึงที่ ท�ำงานอยู่ 10 คน ซึ่งจ�ำนวนที่พนักงานคนหนึ่ง จะแบกรับได้นั้นก็จ�ำกัด ดังนั้น เมื่อมีการสั่งซื้อ จ�ำนวนมาก ก็ต้องปรึกษาหารือกัน พยายาม สร้างเส้นทางที่ไม่ต้องมีการเพิ่มสต็อค จาก ประสบการณ์นี้ท�ำให้สามารถสร้างเครือข่าย โลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพได้ สิ่งที่เป็นประโยชน์ในการสร้างเครือข่ายนีไ้ ด้นนั้ ก็คอื การวิเคราะห์ขอ้ มูลการสัง่ จาก การวิเคราะห์ท�ำให้รู้ว่าตึกไหนมีลูกค้าประจ�ำที่ มีการสั่งซื้อบ่อย ซึ่งบางครั้งสามารถส่งได้เร็ว ที่สุด คือ 2 นาที ท�ำให้ลูกค้าถึงกับตกใจอย่าง มาก ในขณะเดียวกันการสร้างประสิทธิภาพ ถ้า 1 คน สามารถขนได้จ�ำนวนมากเท่าไร ยังท�ำให้ ต้นทุนการส่งลดลง ซึ่ง Bento.jp ใช้เวลาเพียง 3 เดือน ก็สามารถลดค่าใช้จ่ายการส่งลงได้ เหลือเพียง 1 ใน 3 เท่านั้น การใช้เวลาในการส่งของ แต่ละปีก็ใช้ เวลาน้อยลงทุกที ส�ำหรับ Amazon ในปีที่แล้ว ได้ท�ำการวิเคราะห์สินค้าที่มีอัตราการสั่งซื้อสูง จากข้อมูล จึงท�ำการขนไปรวมไว้ยงั จุดส่งทีใ่ กล้ ๆ ไว้ก่อนที่จะมีการสั่งซื้อ เพื่อลดเวลาการส่งให้ น้อยลง ในสหรัฐอเมริกา สามารถยื่นขอสิทธิบัตรได้ด้วย แสดงให้เห็นว่าการลดเวลาการส่ง เป็นปัจจัยส�ำคัญของการแข่งขันที่หลีกเลี่ยงไม่

Vol.22 No.209 May-June 2015

650 เยน ซึ่งยิ่งใช้บริการบริษัทโลจิสติกส์ก็ยิ่ง ท�ำให้ค่าใช้จ่ายต�่ำลงได้อีก และยังไม่มีปัญหา การส่งเหมือนกับการซื้อขายกันระหว่างบุคคล กับบุคคลอีกด้วย แสดงให้เห็นว่าการเข้าสู่ ตลาด EC ดูเหมือนเป็นเรือ่ งทีง่ า่ ย แต่โลจิสติกส์ เป็นประเด็นปัญหาที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ บริษัท ขนาดใหญ่จึงมีความได้เปรียบมากกว่า เช่น Amazon.com ของสหรัฐอเมริกา ก็พยายาม พัฒนาระบบการส่งทีไ่ ม่ตอ้ งเก็บค่าส่งกับลูกค้า เพราะค่าส่งจะเป็นปัจจัยส�ำคัญในการแข่งขัน ด้านราคาไปเสียแล้ว การสร้างเพียงเป็นเวที ส�ำหรับจับคูร่ ะหว่างผูซ้ อื้ กับผูข้ าย ท�ำให้สามารถ ที่จะถอนตัวจากธุรกิจได้ง่าย เพราะขอบเขต ความรับผิดชอบมีเพียงแค่การช�ำระเงินเท่านั้น ถ้าไม่เข้าสูก่ ารให้บริการเรือ่ งโลจิสติกส์กไ็ ม่ตอ้ ง รับผิดชอบกรณีเกิดอุบัติเหตุในการบริการการ จัดส่ง ดังนั้น ผู้ประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ที่เข้าสู่ การบริการโลจิสติกส์จะต้องมีความรับผิดชอบ ทีส่ งู ขึน้ อย่างไรก็ตาม LINE ก็ยงั มัน่ ใจว่า ตลาด EC ผ่านสมาร์ทโฟนนั้น ในอีกไม่กี่ปีจะต้อง มากกว่าการใช้ PC อย่างแน่นอน EC Service อีกรายหนึ่ง “Mercari” เริ่ม ก่อตั้งในปี 2013 เน้นสมาร์ทโฟน Application ในการซือ้ ขายสินค้าของบุคคลต่อบุคคลด้วยกัน รูปแบบการซื้อขายระหว่างผู้จะขายกับผู้จะซื้อ ท�ำให้มคี วามง่าย ซึง่ ก็ไม่ตา่ งกับ LINE Mall แต่ ยังมีจุดเด่น คือ การเปิดโอกาสให้เจรจาต่อรอง ระหว่างกันได้ จึงใช้ชื่อว่า “Free Market Application” นอกจากนีใ้ นปีทแี่ ล้วยังเริม่ การโฆษณา ทางทีวี ซึง่ เพียงไม่กเี่ ดือนสามารถมียอดดาวน์โหลดถึง 4 ล้านครั้ง มียอดการซื้อขายถึง 1 พันล้านเยนต่อเดือน จ�ำนวนสินค้าที่ขายแต่ละ วันมากกว่า 1 แสนชิ้น บริษัทนี้ใช้ความได้ เปรียบจากการเคลื่อนไหวที่รวดเร็ว เพราะไม่ ต้องยึดติดกับประเพณี กฎเกณฑ์การปฏิบัติ เหมือนกับบริษัทใหญ่ ๆ อย่าง Rakuten หรือ Amazon การขยายตัวสู่ต่างประเทศก็ท�ำได้ อย่างรวดเร็ว ปัจจุบนั ก็ได้ไปสร้างฐานไว้ทสี่ หรัฐอเมริกาด้วย ซึ่งเหตุผลที่เลือกสหรัฐอเมริกามี 2 เงื่อนไขส�ำคัญ ได้แก่ โลจิสติกส์ และระบบ ช�ำระเงิน ทีม่ กี ารพัฒนาแล้วนัน่ เอง ทัง้ นีต้ อ่ จาก สหรัฐอเมริกา บริษัทมีแผนที่จะขยายไปยุโรป อีกด้วย ซึง่ การขยายไปสูต่ า่ งประเทศของบริษทั นี้ ท�ำได้รวดเร็วมาก เพียง 2 ปี หลังจากก่อตั้ง บริษัท เมื่อเทียบกับ Rakuten ซึ่งต้องใช้เวลา ประมาณ 10 ปี จึงไปขยายธุรกิจที่ไต้หวันได้

43


Marketing & Branding

Vol.22 No.209 May-June 2015

ได้เสียแล้ว การปฏิรปู ไปสู่ Last One Mile จากการ แพร่หลายของสมาร์ทโฟน ได้สร้างระบบใหม่ให้ กับตลาด คือ การส่งที่เร็วสุด ๆ สิ่งนี้เป็นการ สร้างโอกาสให้ผู้ที่ไม่เคยคิดมาก่อนว่าจะเข้าสู่ ตลาด EC ได้เข้าสู่ตลาดมากขึ้น กลางปีที่แล้ว ใน 38 ประเทศทัว่ โลก 144 เมือง มีการจ�ำหน่วย ไอศกรีมจ�ำนวน 2.5 แสนชิ้น น�้ำหนัก 27.5 ตัน บริษัทที่จ�ำหน่ายมีเพียงบริษัทเดียว ซึ่งบริษัทนี้ ไม่ใช่บริษัทผู้ขายไอศครีมอีกด้วย คือ บริษัท Uber ของสหรัฐอเมริกาที่ปกติน�ำเสนอ “Uber” Application บริการรถเช่า โดยทีร่ ถ Wagon ได้ บรรทุกไอศกรีมไว้ปริมาณมาก และผูช้ ว่ ยคนขับ ก็ใช้แท็บเล็ต “iPad Mini” พร้อมกับสั่งคนขับให้ ไปที่ที่ก�ำหนด เป็นอาคารส�ำนักงานที่พนักงาน บริษัทที่สั่งได้ยืนรออยู่แล้ว จากสั่งจนถึงส่งใช้ เวลาเพียง 5 นาที เป็นเซ็ท 3 ชิ้น ราคา 2,000 เยน ซึง่ ถือว่าไม่ถกู นัก แต่บริษทั นีส้ งั่ ซือ้ ถึง 5 เซ็ท ผู้ซื้อก็จะรับของจาก Uber แล้วมีการถ่ายรูป ร่วมกันกับทีมงานจัดส่ง ซึง่ ก็เป็น Campaign ที่ ช่วยสร้างชือ่ เสียงให้กบั Uber ปกติ Uber มีหน้า ที่ขนคน เมื่อได้ใช้ Application ขึ้น รถเช่าที่อยู่ ใกล้ ๆ ก็จะถูกสั่งให้ไปรับคนที่อยู่ในบริเวณที่ ใกล้ เ คี ย ง คนขั บ รถก็ ใ ช้ Uber เช่ น เดี ย วกั น สามารถตรวจสอบจากแผนทีไ่ ด้ ในขณะเดียวกัน ก็มีการใช้เครดิตการ์ดที่ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว จึง ไม่ต้องมีการช�ำระเงิน นั่นคือ Uber ได้สร้าง นวัตกรรมใหม่ด้วย “Service EC” ที่ Matching ระหว่างผูโ้ ดยสารกับรถเช่า แต่ปจั จุบนั ไม่ใช่การ Matching เรื่องคนแต่เป็นการท�ำโลจิสติกส์ สิ่งของด้วยการจ�ำหน่ายไอศกรีม นี่คือ จุดเริ่มต้นอย่างหนึ่ง ซึ่ง Uber ในปีนี้เองได้เริ่ม “Uber Rush” หรือการใช้รถจักรยาน ในนิวยอร์คใช้ Platform เหมือนกับรถเช่า เริม่ ต้นให้บริการการ จัดส่งเอกสาร หลักคิดของ Uber ก็คือ ในเมือง ใหญ่ ๆ ถ้าสร้างเครือข่ายได้แล้วก็สามารถ ขนได้ทั้งคนและสิ่งของ โดยการใช้ GPS ใน สมาร์ทโฟน ซึง่ มีความสะดวกที่ PC ไม่สามารถ ท�ำได้

44

การโต้กลับของ Real Sector

ร้านค้า Real Sector คือ กุญแจส�ำคัญ ของการขยายตัวของตลาด EC ปรับตัวจาก Off-Line สู่ On-Line เริ่มสู่การเชื่อมโยงของ Real กับ Net อย่างแท้จริง บริษัท DFO (DIY Factory Osaka)

จ�ำหน่ายเครื่องมือ วัสดุ ส�ำหรับท�ำเครื่องเรือน เครื่องใช้ในบ้านด้วยตัวเอง บริษัทนี้นอกจาก การขายหน้าร้านแล้วยังบริหาร Website ขาย ทางไปรษณีย์เฉพาะส�ำหรับเครื่องมือดังกล่าว หลายครั้งพนักงานจะแนะน�ำลูกค้าที่มาที่ร้าน ให้ สั่ ง ซื้ อ ทาง Website ซึ่ ง ลู ก ค้ า ก็ เ ห็ น ด้ ว ย เพราะจะได้ไม่ต้องขนเครื่องมือที่หนัก ๆ กลับ ด้วยตัวเอง และยังซือ้ ได้ถกู กว่าอีกด้วย หลายปี ทีผ่ า่ นมา “Showrooming” ซึง่ เป็นพฤติกรรมการ ซื้อของลูกค้าที่ท�ำให้ธุรกิจค้าปลีกเกิดความ หวั่นไหว เพราะลูกค้าไปดูสินค้าที่หน้าร้าน แต่ เวลาซื้ อ กลั บ สั่ ง ซื้ อ ทาง Website ที่ มี ร าคา ถูกกว่า ท�ำให้ร้านค้าเกิดภาวะสุญญากาศขึ้น แต่ส�ำหรับ Daito ที่บริหาร DFO กลับมองว่า ควรส่งเสริมให้ลกู ค้าซือ้ ทางเน็ตมากกว่า เพราะ

ถ้าจะขายของเพียงอย่างเดียวแล้ว ขายทางเน็ต ย่อมดีกว่าอย่างแน่นอน จ�ำนวนสินค้าของ DFO มีประมาณ 600 อย่าง ถ้าหากว่าเป็น Website ขายทางไปรษณีย์แล้ว สามารถมีได้ถึง 8 แสน อย่างเลยทีเดียว ถ้าซื้อทางเน็ตได้ ลูกค้าก็ไม่ จ�ำเป็นต้องเดินทางไปที่ร้านให้เสียเวลา แถม ราคายังถูกกว่าอีกด้วย บริษัทจึงตั้งราคาสินค้า บางอย่างให้ขายทางเน็ตถูกกว่าหน้าร้าน บริษัทมองว่าทั้งเน็ต ทั้งหน้าร้านต่างมี จุ ด เด่ น ที่ เ ป็ น ของตนเอง ถ้ า หากว่ า ลู ก ค้ า ต้องการกลไกของ “Showroom” ก็ต้องน�ำเสนอ คุณค่าที่เน็ตไม่สามารถจะให้ได้ เป็นต้นว่า ลูกค้าสามารถมาทดลองใช้ที่หน้าร้านได้ ทั้งนี้ สินค้าทีว่ างขายหน้าร้านจะไม่ใช่สนิ ค้าทีซ่ อื้ ขาย ง่าย มักจะเป็นสินค้าทีม่ กี ำ� ไรสูง โดยมียอดขาย เพียงครึง่ หนึง่ ของรายได้ทงั้ หมดเท่านัน้ แต่เป็น

ค่าวางสินค้าของผู้ผลิต หรือรายได้ Event เช่น Workshop, Seminar ของผู้ผลิตอีกถึงร้อยละ 40 สิ น ค้ า เครื่ อ งมื อ หรื อ วั ส ดุ เ ป็ น สิ น ค้ า เฉพาะที่ดูแล้วจะไม่ค่อยรู้ว่าราคาเท่าไร DFO จะแบ่งพืน้ ทีใ่ ห้แก่ผผู้ ลิตสินค้าตามสะดวกแล้ว เก็บค่าวางสินค้าเดือนละหลายหมืน่ เยน ผูผ้ ลิต สามารถจัดวางสินค้าของตนเองในพื้นที่นั้นได้ อย่างอิสระ ซึ่งมีผู้ผลิตมากถึง 25 ราย ส่วนการ ต้อนรับลูกค้าเป็นหน้าทีข่ องพนักงานของ DFO ในขณะเดียวกัน ทั้งในวันธรรมดา หรือปลาย สัปดาห์ก็จะมี Event สอนการใช้โดยวิทยากรที่ ช�ำนาญ การเชื่อมต่อระหว่าง Real กับ Net มี อีกปัจจัยหนึง่ ทีท่ ำ� ให้มคี วามใกล้กนั มากขึน้ คือ การใช้ Point ตัวอย่างเช่น Rakuten ใช้ Point ที่ลูกค้าได้จากการสั่งสินค้า ซึ่งเรียกว่า “Rakuten Super Point” ไปใช้ได้กับร้านสะดวกซื้อ K-Sunks ที่มีร้านค้าประมาณ 13,000 ร้านค้า สมาชิก Point ที่มีอยู่ประมาณ 90 ล้านคน ใช้ บริการได้กับทั้ง Real และ Net ในขณะที่อีก ด้านหนึ่ง T-Point Japan ก็ร่วมมือกับ Yahoo สร้าง Point System ขึ้น นอกจากนี้ “Ponta” ของเครือมิตซูบิชิที่ใช้ที่ร้านสะดวกซื้อ Lawson ก็ร่วมมือกับ Recruit Holding ในการใช้ Recruit Point จากตัวอย่างต่าง ๆ จะเห็นได้ว่า การ แยกบริหารระหว่างยอดขายที่หน้าร้านกับยอด ขายในเน็ต จะกลายเป็นเรื่องของอดีตไปเสีย แล้ว ธุรกิจค้าปลีกต้องรวมศูนย์ Off-Line กับ On-Line เข้าด้วยกัน น�ำเสนอ “พืน้ ทีข่ าย” ทีเ่ ป็น ทีต่ อ้ งการให้แก่ผบู้ ริโภค ไม่มองว่าเน็ตคือคูแ่ ข่ง หรือศัตรู ต้องพยายามน�ำเอาจุดเด่นเข้ามาใช้ ประโยชน์มิฉะนั้นจะสูญเสียความสามารถใน การแข่งขัน อย่างไรก็ตาม การที่ธุรกิจค้าปลีก ยังมีความล้าหลังส�ำหรับการไปสู่ “EC” นั่น เพราะยังยึดติดกับแนวทางการขายที่เป็นการ เฉพาะของการค้าปลีกในปัจจุบันที่มีอยู่นั่นเอง แต่ถ้าธุรกิจการกระจายสินค้า เช่น ค้าปลีก ค้าส่ง สามารถพัฒนาตัวเองในโลกของเน็ตให้ มากขึ้น ตลาด EC คงจะเติบโตอย่างไม่หยุดยั้ง อย่างแน่นอน


Q

Marketing & Branding for

uality

พฤติบอกมากกว่ กรรมจริ ง าข้อมูลประชากรศาสตร์ ชาคริต ดิเรกวัฒนชัย charkritd@gmail.com

ข้อ

มูลเกีย่ วกับลูกค้าเป็นสิง่ ทีม่ คี า่ มากทีส่ ดุ ส�ำหรับนักการตลาด ในอันที่จะเข้าใจความต้องการของลูกค้าเพื่อที่จะได้ตอบ สนองลูกค้าได้ถกู ต้องตรงจุด ไม่ตอ้ งเดาแบบไม่มหี ลักเกณฑ์ โดยเฉพาะ การเข้าใจสิง่ ทีล่ กู ค้าต้องการก่อนน�ำเสนอแผนการตลาดนัน้ ยังเป็นการ ลดความเสี่ยงของความผิดพลาดในแผนการตลาดได้เป็นอย่างดี สิ่งที่นักการตลาดใช้เป็นข้อมูลกันมาตลอดในการท�ำความ เข้าใจลูกค้าของตนเอง คือ การใช้เรื่องราวของข้อมูล Demographic หรือทีเ่ รียกว่า ข้อมูลประชากรศาสตร์ของลูกค้า เพือ่ ให้เข้าใจว่าลูกค้า หรือผูบ้ ริโภคเป็นใคร มีอายุเท่าไร อาศัยอยูท่ ไี่ หน สถานภาพทางสังคม รวมถึงพฤติกรรมอื่น ๆ แบบกว้าง ๆ ข้อมูลประชากรศาสตร์ โดยส่วนมากจะเป็นข้อมูลทีไ่ ด้จากการ ท�ำวิจัยตลาด มาจากการสอบถามลูกค้าในขณะที่มีการสัมภาษณ์ท�ำ วิจัย ซึ่งก็ถือว่าเป็นข้อมูลที่มีความจ�ำเป็นอย่างมาก และเป็นข้อมูล พื้นฐานที่นักการตลาดใช้กันมานาน ยกตัวอย่างเช่น การตั้งกลุ่ม เป้าหมายทางการตลาดของเครื่องส�ำอางส�ำหรับผู้ชายว่า เป็นผู้ชาย อายุ 31-40 ปี มีรายได้ต่อครัวเรือนตั้งแต่ 39,999 บาทขึ้นไป อาศัย ในเขตเมือง ท�ำงานประจ�ำและพบปะผู้คนเป็นประจ�ำ ... การตั้ง

กลุ่มเป้าหมายแบบนี้จะเห็นได้ชัดว่ามาจากการใช้ข้อมูลที่เรียกว่า “ประชากรศาสตร์ ” เพราะเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ก�ำหนดขึ้นมาจาก สมมติฐานว่าพวกเขาคือกลุ่มเป้าหมายที่ท่านควรจะจับให้อยู่และ เป็นลูกค้าของท่านต่อไป

มากกว่าแค่ข้อมูล Demographic คือ พฤติกรรม

การเข้าใจลูกค้าด้วยข้อมูลประชากรศาสตร์ (demographic) เป็นสิ่งที่จ�ำเป็นและล้วนสามารถให้แนวทางในการวางแผนการตลาด ลองมาแบ่งดูว่าข้อมูลทางประชากรศาสตร์ใดบ้างที่ท่านต้องใส่ใจเป็น พิเศษ ซึ่งแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ ได้แก่ ➲ ข้อมูลพืน ้ ฐานทีช่ ดั เจน ข้อมูลเหล่านี้ ได้แก่ สิง่ ทีจ่ บั ต้องได้ และไม่สามารถเปลี่ยนได้ เช่น เพศ อายุ อาชีพ สถานภาพสมรส ที่อยู่อาศัย เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้มีความน่าสนใจตรงที่ท่านสามารถพิสูจน์ ได้ด้วยตา และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ในทันที ➲ ข้อมูลพืน ้ ฐานทีม่ าจากการประเมิน ข้อมูลเหล่านีเ้ กีย่ วกับ พฤติกรรมส่วนตัวของลูกค้า เช่น รายได้และสถานภาพทางสังคม แม้ เป็นข้อมูลที่วัดได้และจับต้องได้แต่ก็จะยังมีความผิดพลาดได้สูงอยู่ for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

45


Marketing & Branding เพราะเป็นข้อมูลที่มาจากการบอกกล่าวของผู้ตอบแบบสอบถาม และ การถามข้อมูลเพื่อประเมินลูกค้าเหล่านี้ก็เป็นเพียงการถามเพื่อให้ สามารถแบ่งกลุ่มลูกค้าได้ แต่การพิสูจน์ให้เห็นความจริงคงเป็นสิ่งที่ ยากกว่า เพราะการบอกความจริงเกี่ยวกับสถานะทางสังคม อาจเป็น มุมมองที่เสี่ยงเกินไปส�ำหรับผู้ตอบแบบสอบถามที่จะบอกคนที่ไม่รู้จัก หรือบางครัง้ การบอกเรือ่ งราวรายได้สถานะทางสังคมก็อาจจะผิดพลาด ได้ อันเกิดจากการโอ้อวดให้ดูดีมากกว่าความเป็นจริง ซึ่งล้วนเป็นสิ่งที่ เกิดขึ้นได้จริง ในอดีตข้อมูลประชากรศาสตร์ ถือเป็นข้อมูลทีด่ ที สี่ ดุ เพราะเรา ไม่สามารถท�ำได้ดีกว่าการถาม และถ้าจะวิเคราะห์ตามความเป็นจริง ก็ไม่พบเหตุผลทีจ่ ะจูงใจให้ตอบแบบสอบถามเกีย่ วกับสถานะทางสังคม ของตัวเองให้ผิดเพี้ยนไปแต่อย่างไร

Vol.22 No.209 May-June 2015

การจับจ่ายจริงบอกพฤติกรรมการใช้ชีวิต

46

ต่อไปข้อมูลการวิจัยตลาดจะเป็นลักษณะของ Post Demographic Consumerism มากขึ้น คือ การวัดพฤติกรรมการใช้ชีวิตจริง ของผู้บริโภค เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการตลาด ที่ผ่านมาเราใช้ข้อมูลทางประชากรศาสตร์เป็นตัวคาดคะเน พฤติกรรมของผู้บริโภค ยกตัวอย่างเช่น ลูกค้าที่มีรายได้สูงจะมีการจับ จ่ายทีม่ ากกว่า แต่ในความเป็นจริงครอบครัวนัน้ อาจไม่จบั จ่ายมากแต่ กลับมีความมัธยัสถ์มากกว่าและไม่ใช้สินค้าแบรนด์เนมเลย กลับกันที่ ลูกค้าที่มีรายได้ปานกลางอาจมีการจับจ่ายที่มากกว่า หรือลูกค้าที่มี ที่อยู่อาศัยใกล้ร้านค้าของท่านน่าจะจับจ่ายด้วยความถี่ที่มากกว่า แต่ในความเป็นจริงลูกค้าท่านนั้นอาจเลือกจับจ่ายใกล้ที่ท�ำงานซึ่ง ไกลจากที่อยู่อาศัยมากกว่าการจับจ่ายแถวบ้าน ดังนั้น เราจะพบว่า ความคลาดเคลื่อนจากการคาดคะเนเกิดขึ้นได้เสมอ แต่ต่อจากนี้การตั้งต้นเข้าใจลูกค้าในเรื่อง “พฤติกรรมการ จับจ่าย” (shopping behavior) จะเป็นเรื่องน�ำมากกว่าการใช้เพียง ข้อมูลทางประชากรศาสตร์เท่านั้น ลักษณะของข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการจับจ่าย เป็นสิ่งที่ ประเมินและวิเคราะห์ยากทีส่ ดุ การสอบถามลูกค้าดูเหมือนเป็นสิง่ เดียว ทีท่ ำ� ได้ และเป็นสิง่ ทีน่ า่ เชือ่ ถือมากกว่าเพราะมาจากปากของลูกค้าเอง แต่ถ้าจะมองมุมกลับ ก็จะเห็นได้ว่าค�ำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมเป็นการ ถามให้ตอบตามพฤติกรรมที่ผู้ให้สัมภาษณ์จ�ำได้ จึงมีความเป็นไปได้ ว่าพฤติกรรมจริง ๆ จะไม่ได้เป็นไปตามนัน้ เช่น ค�ำถามเกีย่ วกับความถี่ ในการจับจ่าย ขั้นตอนการเลือกผลิตภัณฑ์ ผู้บริโภคต้องประเมินจาก พฤติกรรมของตนเองและตอบออกมาจากความเชื่อ ความถี่ที่เป็น ค�ำตอบจึงขึ้นกับความรู้สึกมากกว่าความเป็นจริง ในปัจจุบันการเข้าถึงแหล่งข้อมูลที่บอกถึงข้อมูลประชากรศาสตร์และพฤติกรรมของผู้บริโภคเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ โดยท่าน สามารถได้ข้อมูลโดยการ ➲ สร้างเครือข่ายสมาชิก (membership network) ของลูกค้า ของท่านขึน้ มา เก็บข้อมูลและประวัตกิ ารซือ้ ให้เป็นระบบ มีการวิเคราะห์

พฤติกรรมการซื้อของลูกค้าของท่านให้เป็นระบบและสม�่ำเสมอ ข้อมูล ทีท่ า่ นได้จะท�ำให้ทา่ นเรียนรูพ้ ฤติกรรมจับจ่ายลูกค้าของท่านได้ชดั เจน เวลาที่ซื้อสินค้า จ�ำนวนชิ้นที่ซื้อ ความถี่ในการมาร้านค้า สิ่งเหล่านี้จะ ท�ำให้ท่านสามารถที่จะเรียนรู้ เช่น ลูกค้ากลุ่มหนึ่งจะมาจับจ่ายในวัน ธรรมดาเท่านั้น ไม่เคยมาวันหยุดสุดสัปดาห์เนื่องจากลูกค้าจับจ่ายใน วันธรรมดาใกล้ที่ท�ำงาน วันหยุดอยู่บ้านจึงไม่เคยมาซื้อ การออก กิจกรรมทางการตลาดทีเ่ น้นให้ลกู ค้ามาซือ้ ในวันสุดสัปดาห์กอ็ าจจะไม่ เป็นผล แต่ควรมอบโปรโมชั่นให้ลูกค้าเพื่อซื้อมากขึ้นในวันธรรมดาจะ ได้ผลที่จับต้องได้มากกว่า ➲ เป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจกับแหล่งข้อมูล การใช้ข้อมูลของ ตนเองเป็นสิ่งดี แต่ค่าใช้จ่ายในการจัดท�ำเครือข่ายสมาชิกเป็นจ�ำนวน เงินทีส่ งู และอาจไม่คมุ้ ค่าการลงทุนหากเปรียบเทียบกับขนาดของธุรกิจ การซื้อข้อมูลจากผู้ประกอบการอื่นที่มีข้อมูลอยู่แล้ว เช่น บัตรเครดิต หรือธุรกิจที่มีเครือข่ายสมาชิก ก็อาจเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งที่จะได้ ข้อมูลที่จะเข้าถึงลูกค้าและเข้าใจพฤติกรรมการจับจ่ายของลูกค้า การ ร่วมมือกับผู้ที่มีข้อมูลอยู่แล้วถือเป็นการได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย ฝ่าย เจ้าของข้อมูลก็มขี อ้ เสนอใหม่ ๆ ให้กบั ลูกค้า ท่านเองก็จะได้ลกู ค้ากลุม่ ใหม่ขึ้นมา การเข้าถึงข้อมูลเป็นเรื่องที่ยากแต่ยังเป็นไปได้ ในขณะที่สิ่งที่ ส�ำคัญมากกว่า คือ การหยิบข้อมูลไปวิเคราะห์และใช้ให้เป็น เป็นเรื่อง ที่นักการตลาดต้องใช้การพิจารณาเป็นอย่างมาก การร่วมวิเคราะห์ พฤติกรรมต้องใช้ความรู้ความสามารถของนักวิจัยตลาดเป็นผู้ช่วย วิเคราะห์พฤติกรรมและการออกแบบแผนการส่งเสริมการขายที่จะได้ ผลสูงสุด อย่างไรก็ตาม แม้ขอ้ มูลเกีย่ วกับพฤติกรรมการใช้จา่ ยของลูกค้า จะจ�ำเป็นมากขึ้น แต่การวิเคราะห์พฤติกรรมของลูกค้าจ�ำเป็นต้อง ท�ำการวิเคราะห์ร่วมกันกับข้อมูลประชากรศาสตร์ด้วย เพราะไม่ว่า พฤติกรรมของลูกค้าที่มีจะโดดเด่นสักเพียงใด แต่ปัจจัยส�ำคัญที่จะตี กรอบของพฤติกรรมของลูกค้านั้น ก็ยังคงเป็นสถานะทางสังคมที่เขามี อยู่เสมอ เช่น ครอบครัวที่มีบุตรเล็กก็ต้องมีค่าใช้จ่ายประจ� ำด้าน การศึกษาอยู่เสมอ ครอบครัวที่มีอาชีพรับจ้างย่อมมีความอ่อนไหวกับ สถานการณ์ทางเศรษฐกิจมากกว่าครอบครัวที่รายได้มั่นคง ข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อการวางแผนการตลาด คือ พฤติกรรมของ ลูกค้า เป็นสิ่งที่นักการตลาดต้องมี และต้องใส่ใจมากขึ้น โดยมุ่งไปยัง พฤติกรรมจริงของลูกค้ามากกว่าการใช้ข้อมูลของลูกค้าเพื่อมาคาด คะเนพฤติกรรมทีเ่ หลือเพราะลูกค้าอาจซับซ้อนกว่าทีค่ ดิ ลูกค้าบางกลุม่ อาจใช้จ่ายเกินตัว ในขณะที่บางกลุ่มอาจเก็บออมมากกว่าใช้จ่าย สิ่ง เหล่านี้ไม่สามารถฟันธงได้เพียงข้อมูลพื้นฐาน Demographic แต่ จ�ำเป็นต้องได้จากการวิเคราะห์ร่วมกันกับพฤติกรรมที่แท้จริงมากกว่า สุภาษิตที่เคยใช้ว่า “ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่” อาจไม่จริง เสมอไปแล้ว


Q

Marketing & Branding for

uality

Rebranding

ตอนที่

4

เคล็ดไม่ลับปรับแบรนด์ ให้เจ๋ง ปัญจมา รัชตนันทิ และ ผศ.ดร.พัลลภา ปีติสันต์

วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

จาก

ในตอนก่อน ๆ ที่ผ่านมา ทีมนักศึกษาปริญญาโท สาขา การตลาดของวิทยาลัยการจัดการมหาวิทยาลัยมหิดล พบประเด็นหลัก ๆ ทีส่ ำ� คัญว่า การ Rebranding ไม่ใช่แค่การเปลีย่ นชือ่ เปลีย่ นโลโก้ แต่เป็นการสร้างประสบการณ์ให้กบั ลูกค้าในทุกช่องทางการ บริการ เพื่อให้ลูกค้ามีความสะดวกสบายที่สุด การให้บริการลูกค้าเป็น สิง่ ส�ำคัญเพราะหากลูกค้าทีม่ าใช้บริการแล้วไม่ประทับใจ ก็จะส่งผลต่อ ภาพลักษณ์ของแบรนด์โดยตรง ส�ำหรับในตอนนี้ คุณปัญจมา รัชตนันทิ หนึง่ ในทีมวิจยั ได้เลือกทีจ่ ะศึกษาเชิงลึก กรณีศกึ ษา ธนาคารกสิกรไทย ซึ่งเป็นกรณีศึกษาที่ได้น�ำกลยุทธ์ Rebranding มาใช้ได้อย่างโดดเด่น

จุดเริ่มต้นของ “ธนาคารกสิกรไทย”

ธนาคารกสิกรไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2488 ด้วย ทุนจดทะเบียน 5 ล้านบาท และพนักงานชุดแรกเริ่มเพียง 21 คน มี อาคารซึ่งเป็นสาขาส�ำนักถนนเสือป่าในปัจจุบันเป็นที่ท�ำการแห่งแรก การด�ำเนินงานของธนาคารประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดี เพียง 6 เดือน หรือเพียงงวดบัญชีแรกที่สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2488 มียอดเงิน ฝากสูงถึง 12 ล้านบาท มีสินทรัพย์ 15 ล้านบาท จากจุดที่เริ่มต้นจนถึงวันนี้ ธนาคารกสิกรไทย เติบโตอย่าง

มั่นคง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2557 มีทุนจดทะเบียน 30,486 ล้านบาท มี สินทรัพย์จ�ำนวน 2,308,996 ล้านบาท ถือว่าเป็นธนาคารที่อยู่ในกลุ่ม ธนาคารขนาดใหญ่ของประเทศ มีสาขาและส�ำนักงานย่อยในประเทศ จ�ำนวน 992 สาขา ให้บริการและส่งเสริมความสะดวกต่าง ๆ ด้าน การค้า การเงินระหว่างประเทศไทยและประเทศคู่ค้าทั่วโลก เป็นผู้น�ำ ในธุรกิจเอสเอ็มอี และ Digital Banking และยังเป็นธนาคารที่มี ภาพลักษณ์เป็นธนาคารที่มี Innovation สูง ตลอดระยะเวลากว่า 68 ปีที่ผ่านมา ธนาคารมุ่งมั่นในการ พัฒนาองค์กรและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเงินใหม่อย่างสม�่ำเสมอเพือ่ ให้บริการที่เป็นเลิศแก่ลูกค้า ภายใต้ค�ำขวัญของธนาคารที่ว่า “บริการ ทุกระดับประทับใจ”

จุดเปลี่ยนของ “ธนาคารกสิกรไทย”

ในปี 2536 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของธนาคาร กสิกรไทยและเป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์ธนาคารไทยในการ เปลี่ยนแปลง เพราะเป็นปีที่แบงก์ชาติได้เข้ามาท�ำธุรกิจ BIBF ท�ำให้มี การกู้จากต่างชาติเข้ามามาก นอกจากนี้ยังมีการเปิดเสรีทางการเงิน และการพัฒนาตลาดทุนภายในประเทศ ท�ำให้เกิดช่องทางและโอกาส for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

47


Marketing & Branding

Vol.22 No.209 May-June 2015

ในการระดมทุนได้มากขึน้ ภาวะเช่นนีท้ ำ� ให้ธนาคารจ�ำเป็นต้องปรับตัว เพื่อสามารถแข่งขันกับธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่อื่น ๆ ทั้งในและ ต่างประเทศ คุณบัณฑูร ล�่ำซ�ำ กรรมการผู้จัดการใหญ่ของธนาคาร ที่เริ่ม เห็นว่าการแข่งขันในธุรกิจธนาคารพาณิชย์มีความรุนแรงขึ้น ธนาคาร มีคู่แข่งทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นการรักษาฐานลูกค้าธนาคารจึง ต้องหันมาให้ความส�ำคัญกับงานบริการลูกค้ามากขึ้น แต่คุณบัณฑูร กลับพบว่า พนักงานในองค์กรท�ำหน้าที่เหมือน “กรรมกรปกขาว” ที่ใช้เวลาส่วนใหญ่ในการเตรียมข้อมูลมากกว่าการให้บริการลูกค้า นอกจากนี้ยังพบปัญหาด้านอื่น ๆ ในองค์กร ไม่ว่าจะเป็นระบบการ ท�ำงานทีม่ คี วามล่าช้า พนักงานไม่มอี ำ� นาจในการตัดสินใจจึงเป็นทีม่ า ของการท�ำ Reengineering ซึ่งก็คือ การเปลี่ยนกระบวนการท�ำงาน ใหม่ทั้งหมด โดยพิจารณาตั้งแต่การให้บริการในแต่ละจุด ทั้งจุดที่มี การให้บริการลูกค้า (front office) และการปฏิบัติงานภายในองค์กร (back office) โดยมีการน�ำเทคโนโลยีหรือคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย ในการท�ำงานเพื่อน�ำไปสู่การให้บริการลูกค้าที่สะดวกรวดเร็ว

48

ทำ�ไมต้อง Reengineering

หลังจากที่ คุ ณ บั ณ ฑู ร ได้มีโอกาสไปฟังบรรยายของ Dr. Michael Hammer เกี่ยวกับการ Reengineering แนวคิดที่จะน�ำ วิธีดังกล่าวมาใช้กับธนาคารกสิกรไทย Reengineering ท�ำอย่างไร

1. ปรับปรุงกระบวนการท�ำงานของคนด้วยการน�ำเทคโนโลยี ที่เหมาะสมมาใช้ เพื่อลดขั้นตอนการท�ำงาน และสามารถท�ำให้ลูกค้า ได้รับบริการต่าง ๆ ได้เร็วขึ้น 2. ปรับโครงสร้างองค์กร (re-organized) ให้สายงานการ บังคับบัญชาแคบลงเป็นแบบ Flat Organization เพื่อให้การตัดสินใจ ต่าง ๆ ท�ำได้เร็วขึ้น และที่ส�ำคัญ คือ อบรมพนักงานและให้อ�ำนาจใน การท�ำงานมากขึ้น 3. ทุก ๆ ครั้งที่มีการปรับปรุง ธนาคารจะมีการออกโฆษณา เพื่อเสริมภาพลักษณ์องค์กร เช่น มีการจัดท�ำโฆษณา “เพื่อบริการที่ ั นารูปแบบการด�ำเนินธุรกิจไปสูก่ าร เป็นเลิศ” เพือ่ สือ่ ว่าธนาคารได้พฒ เป็นรีเทลแบงก์ หรือธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย และพนักงานก็ถือเป็น หัวใจส�ำคัญในการให้บริการในยุทธศาสตร์นี้ 4. พัฒนาระบบบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า (Customer Relationship Management Development Program: CRM) ซึ่งเป็น กุญแจส�ำคัญในการรักษาฐานลูกค้า โดยธนาคารได้ปรับเปลีย่ นรูปแบบ ช่องทางการขายและการให้บริการเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการขายและ การให้บริการ และให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ หลากหลาย กระบวนการท�ำ Reengineering เริ่มปรากฏผลชัดเจนในปี 2538 ซึ่งเป็นปีที่ธนาคารกสิกรไทยครบรอบ 50 ปี และเป็นปีที่ธนาคาร เผยโฉมดีไซน์ภายในส�ำนักงานใหม่กว่า 120 สาขาในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ลูกค้าสัมผัสได้ว่าธนาคารมีกระบวนการให้บริการที่


Marketing & Branding

การเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ของธนาคารกสิกรไทย

ปี 2546 ธนาคารได้เปลี่ยนชื่อธนาคารภาษาอังกฤษจาก Thai Farmers Bank เป็น Kasikornbank และใช้ชื่อย่อของหลักทรัพย์ คือ KBANK ทั้งนี้เพื่อให้ชื่อธนาคารภาษาอังกฤษเป็นชื่อที่สั้น กระชับ และ ออกเสียงตรงกับชื่อภาษาไทยของธนาคาร ปี 2548 เกิดการรวมตัวเป็นกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เนื่องจาก แบงก์ชาติเปิดโอกาสให้ธนาคารพาณิชย์สามารถท�ำธุรกิจอื่น ๆ ที่ นอกเหนือจากการฝากถอน ธนาคารกสิกรไทยจึงรวมกันเป็นกลุ่มขึ้น มา สร้างภาพลักษณ์ “เครือธนาคารกสิกรไทย” ทีเ่ ป็นกลุม่ ธุรกิจทางการ เงินที่สามารถให้บริการได้หลากหลาย ประกอบด้วย 6 บริษัท ได้แก่ ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั แฟคเตอริง่ กสิกรไทย จ�ำกัด บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จ�ำกัด บริษัท หลักทรัพย์กสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท ลีสซิ่งกสิกรไทย จ�ำกัด

โดยมีการสร้างสัญลักษณ์ ผลิตภัณฑ์และบริการของเครือ กสิกรไทย ด้วยค�ำว่า K Excellence ที่เป็น Sign of Guarantee ว่าทุก สินค้าและบริการที่ออกจากธนาคารกสิกรไทยทั้งหมดต้องมีคุณภาพ พร้อมก�ำหนดให้ K ซึ่งเป็นอักษรตัวแรกของชื่อ Kasikorn มาใช้ตั้งเป็น ชื่อของบริการทางการเงินของทุกบริษัทในเครืออีกด้วย

หลังจากเริม่ ใช้ตราสัญลักษณ์ K Excellence จึงได้ออกโฆษณา ชุด K-Heroes ทีส่ ะท้อนถึงความพยายามในการสร้างแบรนด์ของเครือ ธนาคารกสิกรไทย โดย Hero แต่ละตัวจะเป็นสัญลักษณ์คุณภาพของ พนักงานในเครือธนาคารกสิกรไทยทั้ง 6 บริษัท ขณะเดียวกันยังสื่อถึง การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในการสร้างภาพลักษณ์ เพื่อให้ธนาคารมี ความทันสมัยอีกด้วย ปี 2556 ธนาคารมีการปรับใหญ่ภายในองค์กร ด้วยกัน 2 ประเด็น คือ 1. จัดระบบโดยการสร้างแบรนด์ K Kasikornthai ซึ่งเป็น Master Brand ขึ้นมา แทนการใช้ K Excellence ที่เป็นแค่ Sign of Guarantee ของสินค้าและบริการในเครือกสิกรไทยเท่านั้น นอกจากนี้ ยังมีการเปลี่ยนโลโก้บริษัทภายใต้เครือธนาคารกสิกรไทยทั้ง 6 บริษัท ให้เหมือนกัน การเปลี่ยนในครั้งนี้นอกจากจะช่วยผลักดันให้ธนาคาร กสิ ก รไทยเป็ น แบรนด์ ที่ แ ข็ ง แกร่ ง พร้ อ มเติ บ โตสู ่ ค วามเป็ น ผู ้ น� ำ ในอาเซียนแล้ว ยังส่งเสริมให้ลูกค้าสามารถจดจ�ำแบรนด์ ธนาคารกสิกรไทยและเชือ่ มโยงบริษทั ในเครือทัง้ 6 บริษทั กับธนาคารกสิกรไทย ได้ง่ายขึ้น

Vol.22 No.209 May-June 2015

สะดวกและรวดเร็วขึ้น นอกจากการปรับปรุงแล้ว ธนาคารก็ไม่เคยหยุดนิ่งในการ พัฒนาสินค้าใหม่ ๆ เพื่อให้มีสินค้าที่ครอบคลุมกับความต้องการของ ลูกค้า ธนาคารได้คิดค้น “นวัตกรรมสินค้า” ที่มีการน�ำระบบไอทีมา รองรับ ซึ่งสินค้านี้นี่เองที่เป็นกุญแจส�ำคัญในการท�ำธุรกิจของธนาคาร และธนาคารได้ออกนวัตกรรมสินค้าประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น e-Phone Banking, e-ATM, e-Internet Banking, e-Mobile Phone, e-Commerce & m-Commerce) รวมถึงเครื่องรับฝากเงินสดอัตโนมัติ (e-Cash Deposit)

49


Marketing & Branding

2. เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2556 คุณบัณฑูร ได้ส่งรอยยิ้มให้กับ พนักงานทุกคนในองค์กร โดยการน�ำแอปเปิ้ลเขียวไปวางไว้ที่โต๊ะ ท�ำงานพร้อมโน้ตที่มีข้อความว่า “ปั้นยิ้มให้คุณ ความส�ำเร็จของ กสิกรไทย เริม่ ต้นจากรอยยิม้ เล็ก ๆ ของพวกเราทุกคน” ในความหมาย คือ อยากให้พนักงานทุกคนในองค์กรยิม้ เพือ่ ส่งมอบรอยยิม้ ไปให้ลกู ค้า นอกจากนีค้ ำ� ว่า “ปัน้ ” ยังเป็นแสลง หมายถึง คุณปัน้ ซึง่ เป็นชือ่ เล่นของ คุณบัณฑูร ล�่ำซ�ำ ที่ต้องการส่งรอยยิ้มให้พนักงานในองค์กรทุกคน

ทราบได้อย่างไรว่าถึงเวลาต้อง Re-Branding

แบรนด์ ทุ ก แบรนด์ มี อ ายุ และแบรนด์ ไ ม่ ส ามารถอยู ่ ไ ด้ ตลอดชีพ เพราะฉะนั้นต้องมีการสร้างแบรนด์ขึ้นมา แต่ต้องอยู่ภายใต้ คอนเซปต์ขององค์กร ที่ผ่านมาธนาคารกสิกรไทยมีการเปลี่ยนแปลง หลายรอบ เช่น “K Heroes เทคโนโลยีพร้อมความใส่ใจ” “จริงใจเสมอ พิเศษเสมอ” แต่ทงั้ หมดจะอยูภ่ ายใต้คำ� ว่า “บริการทุกระดับประทับใจ”

การสร้างแบรนด์ที่ดีต้องมีความแตกต่าง (differentiation) สังเกตได้วา่ เวลาธนาคารกสิกรไทยท�ำอะไรเกีย่ วกับแบรนด์จะค่อนข้าง มีความแตกต่าง และการท�ำแบรนด์ไม่จ�ำเป็นต้องรอให้เกิดปัญหาถึง ค่อยท�ำ เพราะมันจะเป็นการสร้างแบรนด์ที่ไม่แข็งแกร่ง และในการ ปรับก็ไม่มีความจ�ำเป็นต้องท�ำรีแบรนดิ้งทุกครั้ง อาจปรับปรุงโดยเริ่ม จากการพัฒนาสินค้าและบริการก่อน เพราะธนาคารมีสินค้าค่อนข้าง เยอะ ถ้าท�ำสินค้าทั้งหมดให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันก็จะสะท้อน ความเป็น Corporate Brand ขึ้นมาได้

ปัจจัยที่ทำ�ให้ธนาคารกสิกรไทยประสบความสำ�เร็จ

ปั จ จั ย ที่ ท� ำ ให้ ธ นาคารกสิ ก รไทยประสบความส� ำ เร็ จ มี 2 ประการ คือ 1. การคิดกลยุทธ์ว่าลูกค้าแต่ละกลุ่มมีความต้องการอะไร และเราสามารถสร้างภาพลักษณ์ผ่านกลุ่มลูกค้าได้อย่างไร 2. ต้องมีการพัฒนาสินค้าและบริการอย่างต่อเนือ่ ง เพราะถ้า เราสามารถตอบสนองความต้องการลูกค้าได้ ลูกค้าก็จะนึกถึงธนาคาร เช่น การมีตู้ ATM ครอบคลุมทุกพื้นที่ ไม่ว่าลูกค้าจะไปที่ไหนก็เจอ

Vol.22 No.209 May-June 2015

สรุปเคล็ดลับในการ Re-Branding ให้ประสบความสำ�เร็จ

50

ทุกครั้งที่ธนาคารท�ำในเรื่องของ Branding จะมีการปรับ โครงสร้าง (re-organize) เสมอ เพราะถ้าไม่ปรับโครงสร้าง Brand จะ ไปก่อนแต่โครงสร้างไม่ไปตาม ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องมาถึงกระบวนการ ท�ำงานและจะไม่ก่อให้เกิด Brand ที่ Promise กับลูกค้า กลยุทธ์ที่ท�ำให้ธนาคารกสิกรไทยยืนหยัดและประสบความ ส�ำเร็จมาถึงทุกวันนี้ คือ Customer Centricity หรือการมองที่ความ ต้องการลูกค้าเป็นหลัก ทุกวันนีธ้ นาคารท�ำการวิจยั (research) เพือ่ ให้ เกิดความเข้าใจและรับรูค้ วามต้องการลูกค้า (customer insight) และ น�ำข้อมูลทีไ่ ด้มาพัฒนาปรับปรุงบริการเพือ่ ให้เกิดการบริการทีเ่ ป็นเลิศ ตามที่ธนาคารกสิกรไทยได้ให้ค�ำมั่นสัญญากับลูกค้าด้วยสโลแกน “บริการทุกระดับประทับใจ”


Q

People for

uality

วิกฤตการณ์จะทำ�ให้มนุษย์กล้าแกร่ง

และยอมรับเพื่อความอยู่รอด

ตอนที่ 27

ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์ ประธานสถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ HRDI

ต่อจากฉบับที่แล้ว

ฉบับ

นี้ จ ะน� ำ เสนอสรุ ป สาเหตุ และปัญหาในโตโยต้า และ สามารถแก้ไขให้เป็น Localization to Globalization 1. ปัญหาในการถ่ายทอดเทคโนโลยี เมือ่ ดูสภาพการปฏิบตั งิ านจริงแล้ว คงไม่อาจ ปฏิ เ สธได้ ว ่ า พนั ก งานไทยบางส่ ว นยั ง ไม่ สามารถปฏิบตั งิ านได้ดว้ ยตัวเองโดยไม่มคี น ญี่ปุ่นคอยชี้แนะ หรือควบคุม ซึ่งหากมีงาน ส่วนที่จะเป็นดังกล่าวแม้แต่เพียงเล็กน้อย คนญี่ปุ่นก็จะไม่ถ่ายโอนอ�ำนาจในงานส่วน นั้นให้คนไทย แต่จะรอเวลาที่เหมาะสมและ สภาพความจ�ำเป็นของงาน ดังนัน้ เมือ่ พูดถึง

การปรับการบริหารจัดการให้เป็นของคนไทย จึงไม่ได้หมายถึงว่าคนญีป่ นุ่ จะต้องมอบหมาย งานทั้งหมดให้กับคนไทย ในทางกลับกัน สิ่งนี้กลับเป็นเรื่องที่ไม่ควรท�ำเนื่องจากอาจ ท�ำให้เกิดผลเสียตามมาได้ นอกจากนั้ น ยั ง มี ง านที่ ห ากลด จ�ำนวนคนญี่ปุ่นลง นอกจากจะไม่เป็นการ แก้ ไ ขปั ญ หา แต่ ยั ง กลั บ จะกลายมาเป็ น อุปสรรคในเรือ่ งของประสิทธิภาพของงานอีก ด้วย การถ่ายโอนอ�ำนาจดังกล่าวแยกออก เป็น 2 ประเภท คือ 1. การถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่พนักงานไทยยังต้องเรียนรู้ถึงเทคโนโลยี พื้นฐานจากคนญี่ปุ่นอย่างต่อเนื่อง รวมถึง

เรื่องวิศวกรรมยานยนต์ด้วย 2. การถ่ายทอด ด้ า นการบริ ห ารจั ด การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ ส่งเสริมการส่งออก ได้แก่ ความรูใ้ นเรือ่ ง QC การตลาด การพัฒนาบุคลากร เป็นต้น เทคโนโลยีการวิจัยและพัฒนา หรือ การบริ ห ารจั ด การโรงงานนั้ น มี ลั ก ษณะ เฉพาะทีไ่ ม่สามารถถ่ายทอดได้ในระยะเวลา อันสั้น ๆ และแม้จะเป็นการยกระดับเทคโนโลยีทั่ว ๆ ไปให้สูงขึ้นอีกก็ตาม แต่ในกรณีที่ ผู ้ อ� ำ นวยการที่ รั บ ผิ ด ชอบการผลิ ต หรื อ ผู้จัดการโรงงานเป็นคนญี่ปุ่น การถ่ายทอด เทคโนโลยี ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ อ งง่ า ย ผิ ด กั บ กรณี ที่ ผู้จัดการโรงงานหรือกรรมการที่รับผิดชอบ for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

51


People โรงงานเป็นคนไทย ย่อมสามารถถ่ายทอด เทคโนโลยีได้คล่องตัว จึงมักจะมีการพูดกัน ว่ า ญี่ ปุ ่ น ไม่ ไ ด้ ถ ่ า ยทอดเทคโนโลยี ใ ห้ กั บ ประเทศไทยเต็มที่ ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งมาจาก การขาดความพร้อมจากฝ่ายผู้รับด้วย 2. ปัญหาในการส่งเสริมการส่งออก ส�ำหรับงานที่คนไทยไม่สามารถท�ำได้ก็คือ งานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการส่งออก ส�ำหรับประเทศไทย การส่งออกเป็นนโยบาย ของรัฐที่มีความส�ำคัญมากที่สุด ซึ่งในจุดนี้ คล้ายกับประเทศญี่ปุ่น แต่ตอ้ งยอมรับว่างานภายในบริษทั ที่ เกี่ยวข้องกับการส่งออกมีงานประเภทต่าง ๆ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเป็นจ�ำนวนมาก และยัง มีส่วนที่ยังไม่สามารถพึ่งพาคนไทยได้อยู่ เนื่องจากส�ำนักงานใหญ่ที่ประเทศญี่ปุ่นมี เครือข่ายการขายอยู่ทั่วโลก ท�ำให้ทราบถึง สภาพการณ์ของประเทศต่าง ๆ เป็นอย่างดี นอกจากนั้นยังมีข้อมูลที่ครอบคลุมขอบเขต ที่กว้างขวาง เช่น เทคโนโลยี ข้อก�ำหนด การ วิจัยและพัฒนา ฯลฯ รวมถึงข้อมูลในเรื่อง ราคา ซึง่ ท�ำให้สามารถก�ำหนดราคาทีม่ คี วาม ได้เปรียบได้ คนญีป่ นุ่ จึงอยูใ่ นสถานะทีส่ ามารถ ตัดสินความเป็นความตายเกี่ยวกับการส่ง ออกสินค้าของโตโยต้าได้ดีกว่าพนักงานไทย โดยใช้ข้อมูลและมุมมองทั่วโลก เช่น การ บริการหลังการขาย การบริการชิ้นส่วน และ บริการอื่น ๆ ในส่วนต่าง ๆ ของโลก

Vol.22 No.209 May-June 2015

การปรับการบริหารจัดการให้เป็นของคนไทย อย่างแท้จริง

52

นอกจากเรือ่ งการถ่ายทอดเทคโนโลยี และการส่งออกแล้ว การพยายามลดจ�ำนวน คนญี่ปุ่นในบริษัทให้น้อยลงจนเป็นศูนย์ จะ ท�ำให้การปรับการบริหารจัดการให้เป็นของ ไทยสมบรูณ์หรือไม่ จะเห็นได้ว่าการด�ำเนิน การปรับให้เป็นไทยอย่างแท้จริง เพียงแต่การ ถ่ายโอนอ�ำนาจและความรับผิดชอบให้คน ไทยในบางส่วนยังมีปัญหาที่ก่อให้เกิดความ ไม่พอใจแก่ทั้งสองฝ่ายอยู่ ถ้าเปรียบเทียบ การถ่ายโอนอ�ำนาจกับการปีนภูเขาไฟฟูจิ สภาพปัจจุบันก็เปรียบได้เพียงการปีนขึ้นไป อยู่ในระดับที่ 5 เท่านั้นเอง คือ เห็นเฉพาะ

รูปแบบการปรับให้เป็นท้องถิ่น แต่ในรายละเอียดยังมีปัญหาอยู่ และยังสามารถท�ำให้ ทั้งสองฝ่ายมีความเชื่อมั่นซึ่งกันและกันได้ โดยมีคนไทยจ�ำนวนไม่น้อยที่มีความสงสัย เกี่ยวกับความรู้สึกเชื่อถือของคนญี่ปุ่นที่มีต่อ พนักงานไทย หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ คนญี่ปุ่นมี ความเชื่อถือในตัวคนไทยเกี่ยวกับงานที่ท�ำ เป็นประจ�ำหรือไม่ 1. บทบาทของผูบ้ ริหารไทย ปัญหา การขาดความเชื่อถือซึ่งกันและกันส่วนหนึ่ง มาจากลักษณะนิสยั ของคนไทยเอง กล่าวคือ มุมมองของคนญี่ปุ่นต่อคนไทย หากกล่าว โดยไม่อ้อมค้อม คิดว่าคนไทยบางส่วนขาด ความพยายามและความอดทนในเรื่องการ ท�ำงานของตัวเอง นอกจากนั้นยังดูเหมือนว่า ไม่มีทัศนคติด้านบวกกับงาน คือ ไม่มีความ

กระตือรือร้นที่จะท�ำงาน นอกจากนี้ ผู ้ บ ริ ห ารไทยบางคนยั ง ขาดคุณลักษณะและความสามารถในการ บริหารจัดการบริษัท ซึ่งอาจจะเนื่องมาจาก การที่สังคมไทยเป็นสังคมพุทธและมีขนบธรรมเนียมประเพณีแบบอนุรักษ์นิยมของ สังคมหมู่บ้าน และมีผู้ที่ยังเข้าใจเรื่องหน้าที่ ของผู้บริหาร ปรัชญาของบริษัทอยู่น้อยมาก ดังนัน้ จึงเป็นทีน่ า่ เสียดายทีอ่ ำ� นาจและความ รับผิดชอบที่ได้จัดเตรียมเอาไว้ไม่ได้ถูกใช้ อย่ า งถู ก ต้ อ ง แนวทางที่ ส� ำ คั ญ ในการแก้ ปัญหาดังกล่าว คือ บริษัทญี่ปุ่นมักจะเลือก ส่งพนักงานไทยไปท�ำงานทีส่ ำ� นักงานใหญ่ใน ประเทศญี่ปุ่น หรือส่งไปท�ำงานที่บริษัทใน เครือในสหรัฐอเมริกา โดยถือเป็นส่วนหนึ่ง

ของการฝึกอบรมพนักงาน ทั้งนี้ไม่ว่าสถานที่ฝึกอบรมจะเป็น ประเทศญีป่ นุ่ สหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย หรือ ประเทศไทย ล้วนแต่เน้นการฝึกอบรมเกีย่ วกับ การปฏิบัติงานประจ�ำวัน ที่สามารถน�ำไป ใช้ได้ทั่วโลกเป็นส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การให้ความส�ำคัญกับการฝึกอบรมผู้บริหาร นั้นถือเป็นเรื่องที่เร่งด่วน เนื่องจากผู้บริหาร ไทยยังขาดความสามารถเกีย่ วกับการปฏิบตั ิ งานประจ�ำวันในเรื่องนวัตกรรมใหม่ ๆ ความ คิดสร้างสรรค์ ความรับผิดชอบในการสื่อสาร ภายในองค์ ก ร ฯลฯ การฝึ ก อบรมเพื่ อ ให้ ผู้บริหารไทยมีคุณสมบัติดังกล่าวจะมีส่วน ช่วยอย่างมากในการปรับการบริหารให้เป็น ของไทย หากผู้บริหารไทยทราบถึงกฎเกณฑ์ ของธุรกิจอย่างขว้างกวาง และสามารถน�ำไป ปฏิบตั ไิ ด้จริง ก็เชือ่ แน่วา่ ในอนาคตจะสามารถ ใช้อ�ำนาจได้อย่างถูกต้องด้วยความมั่นใจ และรับผิดชอบได้อย่างแน่นอน นอกจากนีค้ น ญี่ปุ่นยังควรพิจารณาการส่งผู้บริหารไทยให้ ไปศึกษาเป็นระยะสั้น ๆ ในยุโรปหรือสหรัฐอเมริกา ซึ่งสอดคล้องกับค่านิยมของเอเชีย รวมทั้งประเทศไทยด้วย เพราะถือเป็นการ พั ฒ นาพนั ก งานให้ มี ค วามรู ้ แ ละความ ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น 2. บทบาทของผู้บริหารญี่ปุ่น อีก ปั ญ หาหนึ่ ง ที่ ส ่ ง ผลให้ เ กิ ด การขาดความ เชื่อถือซึ่งกันและกัน เกิดจากการปฏิบัติตัว ของคนญี่ ปุ ่ น ที่ เ ข้ า มาท� ำ งานประจ� ำ อยู ่ ที่ ประเทศไทยเอง กล่าวคือ แทนทีจ่ ะใช้ชวี ติ ใน การท�ำงานและชีวติ ส่วนตัวอย่างสนุก ก็มบี าง คนที่ไม่ยอมท�ำตัวให้คุ้นเคยกับประเทศไทย และแยกตัวออกจากคนไทยในบริษัท ท�ำให้ คนทั่วไปคิดว่าคนญี่ปุ่นดูถูกหรือเกลียดคน ไทย ท�ำให้ท�ำงานร่วมกันล�ำบาก และท้าย ที่ สุ ด ก็ จ ะท� ำ ให้ ข วั ญ และก� ำ ลั ง ใจในการ ท�ำงานลดลง ด้ ว ยเหตุ นี้ ท� ำ ให้ ค นญี่ ปุ ่ น ไม่ ไ ด้ รั บ ข้อมูลที่เปิดเผยถึงความรู้สึกที่แท้จริง และ ข้อมูลที่ถูกต้องจากผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ลูกค้า ร้านค้าตัวแทนจ�ำหน่าย ผู้ผลิตชิ้นส่วน ฯลฯ ท�ำให้เกิดปัญหาโดยใช่เหตุ หรืออาจจบลง เป็นการถกถียงกันอย่างไม่มีประสิทธิภาพ


และเป็นอุปสรรคในการตัดสินใจที่ส�ำคัญใน การเจรจาขั้นสุดท้ายอยู่ไม่น้อย แม้จะไม่ถึงขั้นนั้น แต่ก็อาจจะมีการ แสดงกิรยิ าปฏิเสธเนือ่ งจากไม่สนใจเรือ่ งของ ประเทศไทย หรือมีความรู้สึกกลัดกลุ้มกังวล ใจเนื่องจากไม่สามารถท�ำตัวให้เข้ากับประเทศไทยได้ คนญีป่ นุ่ มักจะมองประเทศไทยว่า ด้อยกว่ายุโรปหรือสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ ยั ง มี ค นญี่ ปุ ่ น ที่ ทุ ่ ม เทอยู ่ กั บ การถ่ า ยทอด เทคโนโลยีให้กับคนไทยเพียงอย่างเดียวด้วย ความมุ่งมั่นตั้งใจอันเป็นลักษณะเฉพาะของ คนญี่ ปุ ่ น ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม เข้ า มาปฏิ บั ติ ง านใน ประเทศไทยจนกระทัง่ ถึงก�ำหนดกลับประเทศ โดยไม่สนใจความนึกคิดเกี่ยวกับงานและ ความรู้สึกของคนไทยเลย คนญีป่ นุ่ เช่นทีว่ า่ นีค้ งจะไม่สนใจและ ไวต่อความรู้สึกของอีกฝ่าย เนื่องจากคิดว่า ตนเองมีความสามารถเหนือกว่า ซึง่ เป็นความ รูส้ กึ ทีผ่ ดิ และเป็นอุปสรรคในการท�ำงาน และ อาจลุกลามไปเป็นปัญหาระหว่างผู้บริหาร และพนักงาน เพราะฉะนัน้ คนญีป่ นุ่ เหล่านีจ้ ะ ต้องเข้ามาสัมผัสกับประเทศไทยด้วยความรัก และความเอาใจใส่ และควรจะย้อนกลับมา คิดดูว่าคนไทยจะคิดอย่างไรกับความมุ่งมั่น ตั้งใจแต่ในเรื่องงานของตัวเองเพียงอย่าง เดียว การทราบถึงขนบธรรมเนียมประเพณี และค่ า นิ ย มของประเทศที่ ตั ว เองเข้ า ไป ท� ำ งานอย่ า งถู ก ต้ อ ง และน� ำ ไปใช้ ใ นการ ปฏิบัติงานถือว่าเป็นพื้นฐานของการใช้ชีวิต ในต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นประเทศไทยหรือ

สหรัฐอเมริกาก็ตาม คนญี่ปุ่นที่เข้ามาท�ำงานประจ�ำใน ประเทศไทยไม่ได้มบี ทบาทเป็นเพียงครูผสู้ อน ในเรือ่ งเทคโนโลยีเท่านัน้ ในทางกลับกันก็เป็น นักเรียนทีต่ อ้ งเรียนรูเ้ กีย่ วกับความรูส้ กึ นึกคิด และค่านิยมทีม่ พี นื้ ฐานมาจากวัฒนธรรมและ ประเพณีของไทยด้วย และที่ส�ำคัญที่สุด คือ การเข้าใจจิตใจของคนไทย อันจะเป็นการ สร้างคุณค่าให้ตัวเองที่ไม่ด้อยไปกว่าการมี บทบาทเป็นครูเลย 3. บทบาทของส�ำนักงานใหญ่ใน ประเทศญี่ปุ่น แนวทางที่ 3 ส�ำหรับการสร้าง ความเชื่อถือซึ่งกันและกันมาจากมุมมองที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การกั บ บริ ษั ท ลู ก ของ ส�ำนักงานใหญ่ในประเทศญี่ปุ่น บริษัทลูกใน ต่ า งประเทศไม่ ว ่ า ที่ ใ ดจะต้ อ งประสบกั บ ปัญหาหลากหลายประเภท ในด้านนโยบาย จึงควรจะรวบรวมปัญหาต่าง ๆ โดยผ่านการ ติดต่อกับส�ำนักงานใหญ่ในประเทศญี่ปุ่น อย่างใกล้ชดิ การแลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับ บริ ษั ท ในท้ อ งถิ่ น อย่ า งเพี ย งพอจึ ง มี ค วาม ส�ำคัญ โดยเฉพาะเรื่องที่ส�ำคัญ เช่น การ วางแผนสินค้า นโยบายการขาย เป็นต้น หากไม่เช่นนั้น ผู้บริหารระดับสูงชาวญี่ปุ่นก็ จะไม่สามารถเป็นตัวอย่างทีด่ แี ก่พนักงานใน ท้องถิ่นซึ่งก็คือคนไทยนั้นเอง โตโยต้ายุโรป และสหรัฐอเมริกามักเป็นแบบอย่างนโยบาย ในต่ า งประเทศ โตโยต้ า ในภู มิ ภ าคอื่ น ๆ รวมทั้งเอเชียก็เพียงแค่ “ลอกเลี ย นแบบ” นโยบายต่างประเทศดังกล่าว สิ่งเหล่านี้จะ

ต้องได้รับการเปลี่ยนแปลงไปในที่สุดอย่าง แน่นอน ส�ำหรับแนวทางจากนี้ไปมีการคาดหวังกันว่าการด�ำเนินงานต่าง ๆ จะต้องรับฟัง ความเห็นของเอเชียมากขึ้น เมื่อเห็นความ ส�ำคัญของประเทศต่าง ๆ ในเอเชีย อย่างน้อยที่สุด โตโยต้า ประเทศไทย ก็ได้มีการปรับการบริหารจัดการให้เป็นของ ท้องถิน่ ในเชิงรูปแบบแล้ว ปัญหาทีห่ ลงเหลือ อยู่คิดว่าคือการฟื้นฟูความเชื่อถือซึ่งกันและ กันระหว่างคนไทยและคนญีป่ นุ่ ซึง่ เป็นปัญหา ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ การสร้างความเชือ่ ถือซึง่ กันและ กันไม่ใช่เรือ่ งทีท่ ำ� ได้งา่ ย ๆ โดยอาจท�ำได้หาก มีการเปลี่ยนแปลงความคิดและการน�ำไป ปฏิบตั ขิ องผูท้ เี่ กีย่ วข้องทัง้ 3 ฝ่าย คือ พนักงาน ไทย คนญีป่ นุ่ และส�ำนักงานใหญ่ในประเทศ ญีป่ นุ่ จึงอยากจะเน้นว่า “การปรับการบริหาร จัดการให้เป็นของคนไทยอย่างแท้จริง” เป็น กุญแจส�ำคัญในการที่จะท�ำให้คนไทยและ คนญี่ปุ่นสามารถเชื่อถือซึ่งกันและกันได้ ส�ำหรับรูปแบบการบริหารของโตโยต้า ในอนาคตนั้น หากมองจากมุมมองของการ บริหารจัดการบริษัทในต่างประเทศทั่วโลก ท้ายที่สุดคิดว่าควรจะพิจารณาจัดท�ำระบบ ที่ ใ ห้ ค นต่ า งชาติ เ ข้ า มาเป็ น กรรมการใน ส�ำนักงานใหญ่ในประเทศญี่ปุ่นได้ เป็ น เพราะเขาลงทุ น เป็ น ตั ว เงิ น ไว้ มากมาย แต่พไี่ ทยยังรับจ้างไปเรือ่ ย ๆ สมควร ปรับความคิดไหม โปรดติดตาม

อ่านต่อฉบับหน้า

Vol.22 No.209 May-June 2015

People

53


Q

People for

uality

ตอนที่ 1

ปัจจัยทีไ่ ล่น้องใหม่ออกจากองค์กร ธำ�รงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์

http://tamrongsakk.blogspot.com

ทุก

วันนี้ผมมักจะได้ยินเสียงบ่นจากองค์กรต่าง ๆ ในปัญหาที่ คล้าย ๆ กัน คือ หาคนมาท�ำงานยากกว่าสมัยก่อนเยอะ เด็ก เดีย๋ วนีไ้ ม่คอ่ ยอดทน เข้ามาท�ำงานแป๊บเดียวก็ลาออกแล้ว หาคนว่ายาก แล้วรักษาคนเอาไว้ไม่ให้ลาออกยิ่งยากกว่า ฯลฯ ผมว่าองค์กรของท่านก็คงจะเจอกับปัญหาท�ำนองนี้กันอยู่เช่น เดียวกัน เราลองมาดูกันไหมครับว่าอะไรบ้างที่เป็นปัจจัยที่ท�ำให้ น้องใหม่ทวี่ า่ หามาก็ยากอยูแ่ ล้ว อยูก่ บั เราไม่นานแล้วก็ตอ้ งลาออกไป ท�ำให้เราต้องเหนือ่ ยหาคนอีก ผมจึงขอสรุปปัจจัยส�ำคัญทีจ่ ะช่วยขับไล่ น้องใหม่จากองค์กรมีดังนี้ 1. หัวหน้างาน (ค�ำว่า “หัวหน้างาน” หมายถึง ผู้บังคับบัญชา ที่มีลูกน้อง ไม่ได้หมายถึงชื่อต�ำแหน่งนะครับ) ปัจจัยนีถ้ อื เป็นปัจจัยอันดับหนึง่ ทีท่ ำ� ให้คนตัดสินใจลาออกเลย ก็ว่าได้ โธ่..แค่คิดก็หนาวแล้ว

54

for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

ลองนึกภาพตามนีด้ สู คิ รับ....เราเข้าท�ำงานเป็นน้องใหม่เพิง่ จะ จบ ไม่เคยท�ำงานมาก่อน พอมาท�ำงานวันแรกแล้วหัวหน้าของเราเขา มองเราด้วยแววตาเฉยเมยคล้าย ๆ กับเราเป็นตอไม้ พูดแต่เรื่องงาน ๆ ๆ ๆ และงาน ไม่เคยพูดคุยเรือ่ งอืน่ ๆ เช่น ถามเราเลยว่าเรามีญาติพนี่ อ้ ง ในโลกนี้บ้างหรือไม่ จบมาจากที่ไหน หรือเราชอบหรือไม่ชอบอะไร จะพูดกับเราก็มอี ยูส่ องเรือ่ ง คือ หนึง่ เรียกมาสัง่ งาน กับสองเรียกมาด่า เวลาผิดพลาด มีกฎการท�ำงานอยูส่ ามข้อ คือ ข้อหนึง่ หัวหน้าถูกเสมอ ข้อสอง ถ้าคิดว่าหัวหน้าไม่ถูกให้กลับไปดูข้อหนึ่ง และข้อสามให้ปฏิบัติตาม กฎข้อหนึ่งและข้อสองอย่างเคร่งครัด เป็นหัวหน้าที่มีวาจาเป็นอาวุธ ดาวพุธเป็นวินาศ ท�ำดีไม่เคยจ�ำแต่ท�ำพลาดก็ไม่เคยลืม อย่างนี้แหละ ครับใครเป็นน้องใหม่ก็ต้องร้องเพลง “ออก....อย่างนี้ต้องลาออก....จะ ขอลาออก....รู้แล้วรู้รอดไป ฯลฯ”


People แต่ละหัวข้อ (ตามข้อ 1) ว่าจะต้องใช้เวลากี่ชั่วโมงหรือกี่วัน 4. ระบุ ชื่อผู้สอนงานให้ชัดเจนว่าเป็นใคร และ 5. ประเมินและติดตามผล การสอนงานภายหลังจากเสร็จสิ้นการสอนงานแล้วว่าพนักงานใหม่ สามารถท�ำได้ตามเป้าหมายหรือไม่ ถ้ามีแผนอย่างนี้แหละครับถึงจะเรียกว่าเป็นหัวหน้างานมือ อาชีพส�ำหรับน้องใหม่จริง ๆ 3. ค่าตอบแทนต�่ำกว่าตลาดแข่งขัน ปัจจัยส�ำคัญในเรื่องนี้ก็ คือ บริษัทไม่เคยเห็นความส�ำคัญของการบริหารค่าตอบแทนบ้างเลย เช่น ไม่เคยมีการส�ำรวจค่าตอบแทนในตลาดแรงงานบ้างเลยว่าชาว บ้านเขาจ่ายให้คนจบใหม่เท่าไหร่ แล้วบริษัทของเราจ่ายต�่ำกว่าชาว บ้านเขาเท่าไหร่ แต่ผบู้ ริหารมักจะคิดเข้าข้างตัวเองว่าบริษทั เราจ่ายค่า ตอบแทนให้คนจบใหม่สงู อยูแ่ ล้ว ซึง่ เป็นการคิดเองเออเอง พอพนักงาน ใหม่ได้คยุ กับเพือ่ นฝูง (อย่าลืมว่าวันนีเ้ ป็นยุคของ Social Network แล้ว นะครับ เขามีทั้ง Facebook, Twitter, WhatsApp, Line ฯลฯ) ที่จะ สอบถามกันได้วา่ ใครอยูบ่ ริษทั ไหนจ่ายเงินเดือนกันเท่าไหร่ นีย่ งั ไม่รวม เว็บไซต์ที่มีการตั้งกระทู้สอบถามเรื่อง HR อีกหลาย ๆ เว็บ ซึ่งถ้าใคร สงสัยก็สอบถามเข้าไปแล้วก็จะมีคนมาช่วยตอบอีกต่างหาก คราวนีแ้ หละสัจธรรมเรือ่ ง “เงินเดือนเราได้เท่าไหร่..ไม่สำ� คัญ เท่ากับเงินเดือนเพื่อนได้เท่าไหร่” เริ่มออกฤทธิ์แล้วครับ พอพนักงาน จบใหม่รู้จากเพื่อน ๆ ว่าเพื่อนได้เงินเดือนมากกว่าเราที่จบมาพร้อม ๆ กัน ก็จะเริ่มเสียเซลฟ์ แล้วเขาก็พร้อมจะโบยบินไปหางานใหม่ที่ให้ ค่าตอบแทนอย่างน้อยก็เท่ากับเพื่อนของเขาแล้วครับ ในขณะที่ผู้บริหารบริษัทที่ไม่เคยส�ำรวจค่าตอบแทนในตลาด แรงงาน กลับไปมองเห็นเป็นว่าเด็กยุคใหม่ไม่อดทน ขาดความภักดี (loyalty) ต่อบริษัท อะไรไปโน่น ไม่ได้หันกลับมาดูว่าค่าจ้างพนักงาน จบใหม่ตามคุณวุฒิต่าง ๆ ของบริษัทเราน่ะยังพอจะแข่งขันกับตลาด แรงงานเขาได้ไหม ก็เลยรักษาคนไม่ได้ด้วยสาเหตุนี้แหละครับ ลอง ตอบค�ำถามของผมง่าย ๆ เพื่อพิสูจน์ว่าท่านส�ำรวจค่าตอบแทนบ้าง หรือไม่ เช่น ท่านทราบไหมครับว่าจากผลการส�ำรวจค่าตอบแทนเมื่อ ปลายปี 2554 เขาจ่ายเงินเดือนผู้ที่จบ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาโท เฉลี่ยเดือนละเท่าไหร่เอ่ย ถ้าท่านตอบไม่ได้ก็แสดงว่ายัง ไม่เคยเข้าร่วมการส�ำรวจ หรือมีผลการส�ำรวจค่าตอบแทนในตลาดเพือ่ น�ำมาปรับปรุงการจ่ายค่าตอบแทนพนักงานใหม่ให้สามารถแข่งขันกับ ตลาดได้แล้วล่ะครับ ในคราวหน้าเราค่อยมาว่ากันถึงปัจจัยไล่นอ้ งใหม่ทเี่ หลือกันต่อ นะครับ

ต่อจากฉบับที่แล้ว

Vol.22 No.209 May-June 2015

ถ้าหัวหน้างานไม่ทบทวนตัวเองโดยยังคิดเข้าข้างตัวเองว่าฉัน ดีเลิศอยู่แล้ว และไม่ยอมปรับปรุงตัวเอง ปล่อยให้อีคิวต�่ำลงไปเรื่อย ๆ แล้วล่ะก็ ปัญหานี้จะเป็นปัญหาอมตะนิรันดร์กาล เรียกว่า เตรียมนับ ถอยหลังส�ำหรับน้องใหม่ที่เพิ่งเข้ามาท�ำงานในหน่วยงานนี้ได้เลยครับ 2. ไม่มีระบบการสอนงานพนักงานใหม่ที่ดี เรื่องนี้ส่วนใหญ่ ผมมักจะพบว่าเป็นผลสืบเนือ่ งมาจากข้อ 1 (คือปัจจัยหัวหน้างาน) ครับ ก็หัวหน้างานมีความคิดแค่เพียงว่าต้องการ “แรงงาน” ของเด็กจบใหม่ มาท�ำงานแทนพนักงานเก่าทีล่ าออกไปเท่านัน้ ก็เลยใช้วธิ ใี ห้คนเก่าชี้ ๆ บอก ๆ หรือสั่ง ๆ ให้ท�ำไปตามค�ำสั่งแล้วก็คิดเอาเองว่านี่เป็นการสอน งานแล้ว และพนักงานใหม่จะต้องท�ำได้สกิ อ็ ตุ ส่าห์เรียนมาจนจบได้ ถ้า ท�ำไม่ได้แล้วเรียนจบมาได้ยังไง (มันไปเกี่ยวอะไรกันก็ไม่ทราบนะครับ ระหว่างการเรียนจบกับการมาเรียนรู้วิธีท�ำงานจริงน่ะ ซึ่งหัวหน้างาน ประเภทลอจิกสับสนแบบนี้มีให้เห็นอยู่ไม่น้อยเลยนะครับ) ซึ่งวิธีที่ควรท�ำก็คือ แต่ละหน่วยงานควรจะมี “แผนการสอน งาน” ให้ชัดเจนว่า เมื่อมีพนักงานใหม่เข้ามาท�ำงานน่ะ เราจะสอนงาน อะไรให้กับน้องใหม่เหล่านี้บ้าง โดยก�ำหนด 1. หัวข้อที่จะสอนงาน น้องใหม่โดยเรียงล�ำดับหัวข้อที่จะสอนจากง่ายไปยาก 2. เนื้อหา (หรือ outline) ที่จะสอนในแต่ละหัวข้อ) 3. ระยะเวลาที่จะใช้สอนใน

55


Q

People for

uality

งานบริหารและงานปฏิบัติการ

แบ่งกันทำ�หน้าที่อย่างไร

ดร.ประเวศน์ มหารัตน์สกุล

ผู้จัดการฝ่ายบริหารงานกลาง สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ

คน

ที่ท�ำงานในองค์การอาจสงสัยว่า ผูท้ มี่ ตี ำ� แหน่งบริหารท�ำหน้าทีอ่ ะไร วัน ๆ ไม่เห็นท�ำอะไร ไม่ค่อยอยู่ในส�ำนักงาน พบปะคนโน้นที คนนี้ที พนักงานบางคนไม่ สงสัยเฉพาะผู้บริหารยังมีความสงสัยการท�ำ หน้าทีข่ องพนักงานระดับปฏิบตั กิ ารว่าเขาท�ำ อะไรกัน บางคนเอางานของตนเองไปเปรียบเทียบกับงานบริหารว่าตนเองท�ำมากกว่านั่ง ท�ำงานทัง้ วัน ทัศนคติอย่างนีเ้ ป็นเรือ่ งน่าเศร้า ที่มีพนักงานประเภทนี้อยู่ในองค์การ หาก คนในองค์การจะเข้าใจบทบาทหน้าที่ของ แต่ ล ะฝ่ า ย อาจช่ ว ยสร้ า งบรรยากาศการ ท�ำงานที่สร้างสรรค์ได้ ผู้เขียนจึงอยากชวน ผู้อ่านมาวิเคราะห์งานบริหารและงานปฏิบัติ การมีการแบ่งขอบเขตกันอย่างไร จะได้หาย สงสัยกันเสียที มาดูกัน การจัดการทรัพยากรมนุษย์จ�ำแนก คนในองค์การเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ท�ำ

56

for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

หน้าที่ผลิต (line function) และกลุ่มที่ท�ำ หน้าที่สนับสนุน (staff function) แต่ละกลุ่ม ยังมีการจัดล�ำดับหน้าทีใ่ นเชิงบริหารและงาน ปฏิบัติการโดยก�ำหนดค่างาน (job value) เป็นล�ำดับจากงานง่ายจนถึงงานยากซับซ้อน มี แ นวคิ ด ทฤษฎี ร องรั บ อี ก ภาพหนึ่ ง เรา สามารถสัมผัสค่างานได้ในรูปแบบของโครงสร้างต�ำแหน่ง พนักงานควรเข้าใจลักษณะ งานทั้งงานบริหารและงานปฏิบัติการ แม้ว่า ตนเองมิใช่ผู้บริหารก็ตาม เข้าท�ำนองรู้ไว้เป็น ทุนไม่เสียหาย เป็นการเตรียมความพร้อมเผือ่ อนาคตจะได้เป็นผูบ้ ริหารกับเขาบ้าง ทีนมี้ าดู ว่างานหน้าที่บริหารและงานปฏิบัติการเขา แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบกันอย่างไร

งานหน้าที่บริหาร

พนักงานที่ได้รับมอบหมายหรือแต่ง ตั้งให้ท�ำหน้าที่รับผิดชอบในการก�ำหนดทิศ-

ทางขององค์การและขับเคลือ่ นองค์การให้ไป สู่ทิศทางที่ก�ำหนดไว้อาจอยู่ในรูปของวิสัยทัศน์ นโยบายหรือเป้าหมาย เป็นลักษณะงาน บริ ห าร (Granholm, 1988: 237-239) สามารถก�ำหนดหน้าที่และกิจกรรมได้ดังนี้ 1. การช่ ว ยพนั ก งานแก้ ไ ขปั ญ หา ผู้บริหารมีหน้าที่ในการช่วยพนักงาน ผู้ใต้บังคับบัญชาแก้ไขปัญหา เช่น ช่วยพนักงาน แก้ไขปัญหางานที่พนักงานเผชิญอยู่ การ ปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน การพัฒนาทักษะ แก้ปัญหาความขัดแย้ง เป็นต้น 2. การสื่อสารให้ข้อมูลแก่พนักงาน เช่น การให้ความรู้ในนโยบาย การเปลี่ยนแปลง ให้ค�ำแนะน�ำ หรือการประชุม เป็นต้น 3. รั บ ฟั ง ความเห็ น ข้ อ มู ล จาก พนักงาน เช่น แนวคิดการปรับปรุงผลิตภาพ งาน การสร้างการมีสว่ นร่วม การให้คำ� ปรึกษา แนะน�ำเกีย่ วกับกระบวนการ หรือแนวทางใน


People ก�ำหนดเป้าหมายและเวลาแล้วเสร็จ เป็นต้น 12. การประเมินผลการปฏิบัติงาน เช่น ก�ำหนดมาตรฐานผลงานหรือผลการ ปฏิบัติงาน อธิบาย แนะน�ำกรณีที่ผลการ ปฏิบตั งิ านของผูใ้ ต้บงั คับบัญชาประเมินแล้ว ไม่ดี ไม่ได้มาตรฐาน การวิพากษ์ผลงานอย่าง สร้างสรรค์ เป็นต้น 13. การให้ ก ารสนั บ สนุ น การท� ำ หน้าที่ของผู้ใต้บังคับบัญชา เช่น สนับสนุน เครื่องไม้เครื่องมือในการปฏิบัติงาน เครื่อง อ�ำนวยความสะดวกในการปฏิบตั งิ าน ร่วมมือ กับผู้บริหารฝ่ายงานอื่นในการแก้ไขปัญหา เป็นต้น 14. การจัดการทรัพยากร เช่น การ จัดท�ำงบประมาณและใช้จา่ ยเงินอย่างคุม้ ค่า การจัดการทางการเงิน การวิเคราะห์ทางการ เงิน การแยกแยะประเด็นการบริหารงบประมาณและการจัดการทางการเงิน เป็นต้น 15. การบริหารข้อมูลความรู้ เช่น การเตรียมเอกสารงานให้พร้อมและทันเวลา ที่ต้องใช้บริหารนโยบายและการน�ำนโยบาย ไปปฏิบตั ิ มีการบันทึกข้อมูลเกีย่ วกับงาน การ ปฏิบัติงาน ให้ค�ำแนะน�ำ ฝึกสอนพนักงาน ใหม่ เป็นต้น 16. การสร้างโอกาสที่เท่าเทียมกัน เช่น ปฏิบัติต่อพนักงาน ผู้ใต้บังคับบัญชา อย่างเป็นธรรม ใครท�ำงานดีได้มาตรฐานต้อง ได้รับผลตอบแทนที่ดีกว่าผู้ที่ท�ำงานต�่ำกว่า มาตรฐาน สร้างโอกาสความก้าวหน้าให้กับ ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างเท่าเทียมกัน เป็นต้น 17. การรักษาวินัย เช่น แสดงตน

เป็นแบบอย่าง การประพฤติ การแสดงออก ต้องมีวนิ ยั ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบขององค์การ แก้ไขปัญหาความประพฤติ การไม่ปฏิบัติ ตามกฎระเบียบขององค์การ เป็นต้น 18. เข้าใจคน เช่น มีความเข้าใจ จิตวิทยาบุคคล กลุ่มคน พฤติกรรมมนุษย์ วิเคราะห์จดุ แข็งจุดอ่อนของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา เพื่ อ พั ฒ นาจุ ด อ่ อ น และดึ ง ศั ก ยภาพของ ผู้ใต้บังคับบัญชา การสื่อสารได้ทั้งการพูด การเขียน เป็นต้น

งานหน้าที่ปฏิบัติการ

พนักงานระดับปฏิบัติการ โดยทั่วไป มีบทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานประจ�ำ ซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นงานที่ถูกออกแบบไว้ในรูปของ กระบวนการ Work Flows หรือคู่มือปฏิบัติ งาน (work instructions) เพื่อให้การท�ำงาน เป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว (smoothly processes) มาดูว่างานลักษณะใดเป็นงาน หน้าที่ปฏิบัติการ 1. การปฏิบัติงานตามขอบเขตราย ละเอียดลักษณะงาน เป็นลักษณะกิจกรรม งานในแต่ละหน้าที่ (functional title) 2. ศึกษาวิเคราะห์งานที่ปฏิบัติว่ามี ขั้นตอนก่อน-หลัง แล้วปฏิบัติตาม เช่น การ ปฏิบัติตามแต่ละขั้นตอนและเวลาที่ก�ำหนด การสังเกตผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติ บันทึก เหตุการณ์ที่ผิดปกติ เป็นต้น 3. การปฏิบตั งิ านด้วยความกระตือรือร้น ให้งานส�ำเร็จตามเวลาที่ก�ำหนด หรือ เร็วกว่า มีความถูกต้องแม่นย�ำ

Vol.22 No.209 Mary-June 2015

การปรับปรุงงานให้ดีขึ้น เป็นต้น 4. การจัดการแรงงานสัมพันธ์ เช่น การจัดการข้อโต้แย้งทางแรงงาน การชี้แจง สิ ท ธิ ข องพนั ก งาน การใช้ ป ระโยชน์ จ าก แรงงานสัมพันธ์ เป็นต้น 5. ภาวะผู้น�ำ เช่น การจัดการอย่าง มีส่วนร่วม การกระตุ้นส่งเสริมให้พนักงานมี ความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบตั งิ าน ส่งเสริม พนักงานท�ำงานเป็นกลุ่มคณะ เป็นต้น 6. ความปลอดภัยและสุขภาพ เช่น ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น พนั ก งานในการดู แ ล สุขภาพ การออกก�ำลังกาย ป้องกันสิ่งที่เป็น อันตรายต่อสุขภาพ กฎระเบียบเกีย่ วกับความ ปลอดภัย 7. การเป็นตัวแทนองค์การ เช่น การ มีส่วนร่วมในการก�ำหนดวัตถุประสงค์และ เป้าหมายขององค์การ การสื่อสารเกี่ยวกับ นโยบายการบริหาร เป็นต้น 8. การพัฒนาพนักงาน เช่น การให้ ค� ำ แนะน� ำ เกี่ ย วกั บ รายละเอี ย ดงาน การ เปลีย่ นแปลง การสอนงาน การแนะน�ำฝึกฝน ทักษะการท�ำงาน เป็นต้น 9. การท�ำให้พนักงานมีคุณค่า เช่น ประเมิ น ความสามารถของพนั ก งานว่ า มี ความสามารถด้านใดและมอบหมายงานที่ ตรงความสามารถ พิจารณาความสนใจของ พนั ก งานแต่ ล ะคน ประเมิ น ว่ า พนั ก งานมี ความพอใจงานทีม่ อบหมายหรือไม่ การมอบหมายงานให้ตรงกับความรูค้ วามสามารถของ พนักงาน เป็นต้น 10. การวางแผน การจัดล�ำดับงาน และการจัดระบบงาน เช่น การจัดแบ่งงานให้ พนักงานท�ำ การวางแผนกลยุทธ์และก�ำหนด นโยบาย การบริหารเวลา การล�ำดับงานก่อน หลัง การติดตามงานว่าส�ำเร็จตามเป้าหมาย หรือไม่อย่างไร ฯลฯ 11. การควบคุมความก้าวหน้าของ งาน เช่น การประเมินการพัฒนางานและ ความก้าวหน้างานในแต่ละวัน ทบทวนผล การปฏิบัติงานและสั่งการ วิเคราะห์ปัญหาที่ เกิดจากการปฏิบตั งิ านของพนักงาน ตรวจสอบ ความผิดปกติ ความสามารถในการผลิต การ ปฏิ บั ติ ง าน ให้ พ นั ก งานมี ส ่ ว นร่ ว มในการ

57


Vol.22 No.209 Mary-June 2015

People

58

4. การปรับวิธีการปฏิบัติ หากเห็น ว่าจะท�ำให้งานส�ำเร็จเร็วและดีกว่าเดิม 5. มีการวางแผนการปฏิบตั งิ านก่อน ที่ จ ะลงมื อ ท� ำ งาน โดยมี ก ารทบทวนการ ปฏิบัติงานที่ผ่านมาว่ามีจุดอ่อน/ข้อบกพร่อง ตรงส่วนใด แล้วหาทางป้องกันมิให้เกิดซ�้ำ การล�ำดับกิจกรรมงานก่อนทีจ่ ะถึงวันท�ำงาน เป็นต้น 6. รายงานผลการปฏิบัติงานให้กับ ผู้บังคับบัญชาเป็นประจ�ำวัน สัปดาห์ หรือ เดือนแล้วแต่ข้อตกลงระหว่างผู้บังคับบัญชา และผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา หรื อ เป็ น ไปตาม ระเบียบปฏิบัติขององค์การ บริษัท 7. ศึกษา วิเคราะห์งานของตนเอง ว่าเกี่ยวเนื่องกับงานอื่นอย่างไร การส่งต่อ งานต้องไม่เป็นภาระให้ผู้อื่นต้องแก้ไขปรับ แต่งอีก เป็นต้น 8. ให้ความร่วมมือกับผูบ้ งั คับบัญชา และเพือ่ นร่วมงาน เช่น ผูบ้ งั คับบัญชาสัง่ งาน ต้องรีบท�ำให้แล้วเสร็จตามเวลาที่ก�ำหนด ให้ ค�ำแนะน�ำแก่เพื่อนร่วมงาน เป็นต้น 9. การใช้ ท รั พ ยากรอย่ า งคุ ้ ม ค่ า พนักงานต้องตระหนักอยูต่ ลอดเวลาว่าเครือ่ ง มือที่ใช้ในการปฏิบัติงานต้องดูแลรักษาให้ ใช้ ไ ด้ น านที่ สุ ด ระมั ด ระวั ง มิ ใ ห้ ขั ด ต่ อ กระบวนการปฏิบัติ หรือมาตรการที่ก�ำหนด เช่น อาจท�ำให้เกิดอุบัติเหตุ อุบัติภัย หรือ ท�ำลายสิ่งแวดล้อม เป็นต้น 10. ศึกษาเทคนิค และตรรกะที่หนุน กิจกรรมงาน ซึง่ ถ้าพนักงานเข้าใจจะเป็นการ เพิ่มพูนทักษะในการปฏิบัติงาน และเป็นการ พั ฒ นาความรู ้ ค วามสามารถในการสร้ า ง โอกาสความก้าวหน้าของตนเอง 11. ปฏิบัติงานตามที่ผู้บังคับบัญชา มอบหมาย กิ จ กรรมงานที่ เ ขี ย นไว้ ใ นค� ำ พรรณนารายละเอียดของงาน ซึ่งเป็นงาน พืน้ ฐานปกติของผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งงานนัน้ ๆ แต่ ในบางกรณีมีงานที่เพิ่มเติมเพื่อให้งานใน หน้ า ที่ นั้ น สมบู ร ณ์ หรื อ กรณี ที่ ต ้ อ งมี ก าร เปลี่ ย นแปลง ปรั บ งานให้ ส อดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ จะต้องปฏิบัติให้งานหน้าที่ของ ต�ำแหน่งที่ตนครองอยู่ 12. การรั ก ษาวิ นั ย พนั ก งานต้ อ ง

ปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบขององค์การ เพือ่ ความ เป็นระเบียบเรียบร้อยและเป็นเอกลักษณ์ของ องค์การ 13. ก า ร ท� ำ ง า น เ ป ็ น ก ลุ ่ ม ค ณ ะ พนั ก งานต้ อ งปฏิ บั ติ ง านโดยค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ขององค์การ ให้ความร่วมมือกับ เพื่อนพนักงานด้วยกัน 14. การบันทึกหลักฐานผลการปฏิบตั ิ งาน เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการประเมินผล การปฏิบัติงาน ในกรณีที่ผู้ประเมินหรือผู้บังคับบัญชามีความเห็นต่างในผลการปฏิบตั ิ งาน 15. ปฏิบัติหน้าที่ของตนเองให้แล้ว เสร็จสมบูรณ์ จะไม่เกี่ยงงานหรือเอางานไป เปรียบเทียบกับงานหน้าที่อื่นว่าใครท�ำมาก น้อยหรือดีกว่ากัน

16. ศึ ก ษาเกณฑ์ ป ระเมิ น ผลการ ปฏิบัติงาน เพื่อจะได้เข้าใจถึงวัตถุประสงค์ ของการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ องค์การ สามารถที่จะปฏิบัติหน้าที่ได้ตรงกับ วัตถุประสงค์ขององค์การ รู้ว่าจะต้องปฏิบัติ งานอย่างไรจึงจะได้รับการประเมินผลการ ปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีขึ้นไป 17. ใฝ่ศกึ ษาเรียนรูง้ านหน้าทีข่ องตน และงานหน้าทีอ่ นื่ ในองค์การ รวมทัง้ ปัจจัยทัง้ ภายในและภายนอกที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การ ด�ำเนินงานขององค์การ 18. ศกึ ษาและท�ำความเข้าใจแนวคิด ปรัชญาหรือตรรกะที่หนุนอยู่เบื้องหลังของ งานที่ตนเองปฏิบัติอยู่ ในทางปฏิบตั ิ บางกิจกรรมงานยากที่

จะแยกแยะได้ว่ากิจกรรมใดเป็นงานบริหาร กิ จ กรรมใดเป็ น งานปฏิ บั ติ ก าร เนื่ อ งจาก ลักษณะงานทั้งสองมิได้แยกอิสระออกจาก กันอย่างเด็ดขาด การปฏิบัติงานยังมีความ เชือ่ มโยงเกีย่ วเนือ่ งเป็นกระบวนการ การแบ่ง หน้าทีง่ านดังกล่าว เป็นการแบ่งการท�ำหน้าที่ ออกเป็นสองกลุ่ม คือ งานบริหารและงาน หน้าทีป่ ฏิบตั กิ าร ซึง่ เป็นการแบ่งตามลักษณะ งานที่ปฏิบัติ ปัจจุบันหลายองค์การได้แบ่ง หน้าทีง่ านออกเป็น 4 กลุม่ ประเภทงาน ได้แก่ งานปฏิบตั กิ ารทัว่ ไป งานวิชาการหรือวิชาชีพ งานอ�ำนวยการ และงานบริหาร เทียบได้กับ งานปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ งานปฏิบัติการทั่วไปและงานวิชาการ อีก กลุ่มหนึ่ง คือ งานบริหาร แบ่งออกเป็นงาน อ�ำนวยการและงานบริหาร โดยมีหลักการ ของการแบ่งงานออกเป็น 4 ประเภท อธิบาย ได้ว่า งานบริหารเป็นการวางแผน ก�ำหนด ทิศทางขององค์การ งานอ�ำนวยการท�ำหน้าที่ จัดการงานให้เป็นไปตามทิศทางดังกล่าว โดย การอ� ำ นวยการให้ ก ลุ ่ ม พนั ก งานประเภท วิชาการ และปฏิบัติการทั่วไปท�ำหน้าที่ตาม ขอบเขตภารกิจงานในแต่ละระดับต�ำแหน่ง การที่ พ นั ก งานมี ค วามเข้ า ใจลั ก ษณะงาน บริหารหรืองานปฏิบัติการ อาจช่วยลดข้อ ขัดแย้งในการท�ำหน้าทีไ่ ด้ระดับหนึง่ เนือ่ งจาก ทุกคนเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตน การจ�ำแนกหน้าทีง่ านบริหารและงาน ปฏิบัติการดังกล่าวข้างต้น อย่างน้อยช่วย ท�ำให้คนท�ำงานกินเงินเดือนเข้าใจบทบาท หน้าที่ของตนดีขึ้น เอกสารอ้างอิง 1. Granholm, A.R. (1988). Human resource Director”s Portfolio of Personnel Forms, and reports. N.J.: Prentice Hall. 2. Heller, R. (2000). Business Masterminds Peter Drucker. London: Dorling Kindersley.


Q

Idol & Model for

บริษัท

โตโย ไทร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หรือ ทีทีที เริ่มเปิด ด�ำเนินงานในประเทศไทยเมือ่ วันที่ 1 เมษายน 2556 ในฐานะบริษทั ลูกของ บริษทั โตโย ไทร์ แอนด์ รับเบอร์ จ�ำกัด ด้วยทุนช�ำระแล้ว 100 ล้านบาท โดยวางแผนป้อนยางรถยนต์สตู่ ลาด ในเอเชียให้ได้ 12.5 ล้านเส้น ซึ่งในปี 2558 โตโย ไทร์ จะดูแลด้านการบริหารการตลาด การขาย และการสนับสนุนกลยุทธ์ทางธุรกิจ ให้แก่ตัวแทนจ�ำหน่ายยางรถยนต์โตโย ไทร์ ด้ ว ยที ม บริ ห ารมื อ อาชี พ และพนั ก งานที่ ใ ห้ ความส�ำคัญต่อความต้องการของลูกค้า การ

ตัง้ บริษทั ทีทที ใี นประเทศไทยนอกจากเป็นการ ขยายธุรกิจยางรถยนต์อย่างเต็มตัวของบริษทั โตโย ไทร์ แอนด์ รับเบอร์ ยังเป็นก้าวส�ำคัญ ต่อกลยุทธ์การเติบโตในเอเชียของบริษัทฯ อีก ด้วย การก้าวเข้าสู่การแข่งขันในอนาคต ของ โตโย ไทร์ อยู่ภายใต้การบริหารจัดการ ของผูบ้ ริหารหนุม่ ไฟแรง คุณสุตถิพล ลีนะวัต รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั โตโย ไทร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จากประสบการณ์ที่ คร�่ำหวอดในวงการธุรกิจยางรถยนต์ทั้งใน ระดับประเทศและสากลมาร่วม 15 ปี ด้วยคติ

uality

“Let’s Try and Do the Best” หรือ แม้งานจะ ยากสั ก เท่ า ใด นั่ น คื อ สิ่ ง ที่ ท ้ า ทายเสมอ ด้วยบุคลิกที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความเป็นผู้น�ำ พร้อมการเดินทางในการเปิดประสบการณ์ และมุมมองใหม่ในด้านการบริหารจัดการ และ การตลาด โดยท่านเดินทางทั่วประเทศกว่า แสนกิโลเมตร และมากกว่า 2 แสนไมล์ใน ทั่วโลกหรือภูมิภาคเอเชีย มีความเป็นกันเอง พร้ อ มรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของบุ ค ลากรใน องค์กร พันธมิตรทางธุรกิจ ลูกค้า เพื่อเป้าหมายสูงสุดในการเสริมสร้างแบรนด์ โตโย ไทร์ ให้เป็นแบรนด์ชั้นน�ำที่มีวิศวกรรมชั้นสูง

บริ ษ ท ั โตโย ไทร์ (ประเทศไทย) จำ � กั ด ที่สุดของนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่เป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของญี่ปุ่น กองบรรณาธิการ

คุณสุตถิพล ลีนะวัต

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โตโย ไทร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด

for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

59


Idol & Model โดยมีเทคโนโลยีจากญีป่ นุ่ ให้อยูใ่ นใจผูบ้ ริโภค คนไทย (preferred brand of choices) และ ในวั น นี้ ท ่ า นร่ ว มแสดงทั ศ นะและหยิ บ ยก ประเด็นทีน่ า่ สนใจในเรือ่ งการบริหารจนกระทัง่ ประสบความส�ำเร็จ

แนวทางการบริหารงานของผู้บริหาร

Vol.22 No.209 May-June 2015

คุ ณ สุ ต ถิ พ ล ลี น ะวั ต ในฐานะ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ท่านมีบทบาท ส�ำคัญในการขับเคลื่อน บริษัท โตโย ไทร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ทั้งในด้านการวางแผน ก�ำหนดกลยุทธ์และนโยบายการบริหาร ตลอด จนเป็นผู้น�ำในการขับเคลื่อนการตลาดและ การขาย โดยมี เ ป้ า หมายในการสร้ า งและ สนั บ สนุ น ตั ว แทนจ� ำ หน่ า ยทั่ ว ประเทศของ บริษัท โตโย ไทร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ให้ แข็งแกร่งและมีธุรกิจที่เติบโตร่วมกันอย่าง ยัง่ ยืน ซึง่ ท่านได้เข้าร่วมงานกับ บริษทั ซิลเวอร์ สโตน เบอฮาด ประเทศมาเลเซีย ซึง่ เป็นบริษทั ลูกของโตโย ไทร์ แอนด์ รับเบอร์ ประเทศญีป่ นุ่ ตัง้ แต่ปี 2544 พร้อมทัง้ ได้ดแู ลการท�ำตลาดใน ประเทศไทย ก่อนที่จะเข้ ามาร่วมท�ำงานที่ บริษัท โตโย ไทร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หรือ ทีทที ี เมือ่ มีการเปิดตัวบริษทั อย่างเป็นทางการ ในไทยในปี 2556 ในฐานะที่เป็นบริษัทลูก ของ บริษัท โตโย ไทร์ แอนด์ รับเบอร์ จ�ำกัด จากประเทศญี่ปุ่น “ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ตลาดรถยนต์ในอาเซียนเติบโตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีการขยายฐานโรงงานใหม่เพื่อเป็น ฐานการผลิ ต ของค่ า ยรถยนต์ จ ากทั่ ว โลก

60

ตัวเลขการเติบโตนีม้ สี ดั ส่วนเทียบเท่ากับตลาด รถยนต์ในประเทศจีน ส�ำหรับประเทศไทยใน ฐานะเป็นตลาดรถยนต์ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นตลาดรถยนต์ ที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 13 ของโลก มียอดขาย รถยนต์ทวั่ ประเทศกว่า 1.4 ล้านคัน ในปี 2555 ด้ ว ยยุ ท ธศาสตร์ ค วามส� ำ คั ญ ของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โตโย ไทร์ แอนด์ รับเบอร์ จ�ำกัด จึงก�ำหนดให้ประเทศไทยเป็ น ตลาดยุ ท ธศาสตร์ ส� ำ หรั บ ภู มิ ภ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้ด�ำเนินการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ่านตัวแทน จ�ำหน่ายในประเทศ อย่างไรก็ตาม เพื่อตอบ สนองความต้องการของลูกค้าและตัวแทนที่ เพิม่ ขึน้ ในประเทศไทย บริษทั ฯ ได้กอ่ ตัง้ บริษทั โตโย ไทร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (ทีทีที) ใน ฐานะบริษัทลูกที่ดูแลด้านการตลาดและการ ขายโดยเฉพาะในประเทศไทย ปัจจุบัน ทีทีที จึงมีฐานะเป็นบริษัทในเครือของโตโย ไทร์ แอนด์ รับเบอร์ จ�ำกัด มีพันธกิจอันส�ำคัญใน

การน�ำนวัตกรรมเทคโนโลยียางชั้นสูง ส่งตรง มาถึงมือผู้รักการขับขี่ รวมทั้งขยายการท�ำ ธุรกิจระหว่างธุรกิจโดยตรงกับผูผ้ ลิตรถยนต์ใน ประเทศไทย”

เน้นหนักด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม

คุณสุตถิพล กล่าวถึงเทคโนโลยีและ นวัตกรรมของ โตโย ไทร์ ว่า “ในประเทศไทย โตโย ไทร์ จะวางต�ำแหน่งและภาพลักษณ์ของ แบรนด์ยางรถยนต์ดว้ ย “เทคโนโลยีจากญีป่ นุ่ ” ซึ่งมีจุดเด่น “T-Mode Technology” มีการ ออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ที่จ�ำลองทุกสภาพ การขับขี่เพื่อให้ยางรถยนต์โตโย ไทร์มีประสิทธิภาพสูงสุด แบบจ�ำลองคอมพิวเตอร์นี้ ช่ ว ยปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาสมรรถนะยางใน การยึดเกาะถนน ให้มีเสถียรภาพในการเลี้ยว ทนต่อการสึกหรอ และลดเสียงที่เกิดจากหน้า ยางขณะสัมผัสพื้นถนน ท�ำให้ได้ยางรถยนต์ ที่ ใ ห้ ค วามปลอดภั ย สู ง สุ ด บนท้ อ งถนน ซึ่ ง T-Mode Technology มอบสมรรถนะสูงสุด ให้กับรถทุกประเภทตั้งแต่รถสปอร์ต รถซีดาน รถเอสยูวี รถปิคอัพ ไปถึงรถยนต์นงั่ ขนาดกลาง และเล็ก ทั้งนี้ โตโย ไทร์ ตระหนักถึงความ ส�ำคัญของประเทศไทยเป็นอย่างยิ่ง เพราะ ประเทศไทยนับเป็นตลาดรถยนต์ใหญ่ที่สุด ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นตลาด รถยนต์ที่ใหญ่เป็นอันดับ 13 ของโลก มียอด ขายรถยนต์ทั่วประเทศกว่า 1.4 ล้านคัน ในปี 2555 ซึ่งท�ำให้ไทยเป็นตลาดกลยุทธ์ส�ำหรับ ภูมิภาคนี้นั่นเอง” T-Mode Technology มีการออกแบบ ด้วยคอมพิวเตอร์ที่จ�ำลองทุกสภาพการขับขี่ เพื่อให้ยางรถยนต์โตโย ไทร์มีประสิทธิภาพ สูงสุด แบบจ�ำลองคอมพิวเตอร์นชี้ ว่ ยปรับปรุง และพัฒนาสมรรถนะยางในการยึดเกาะถนน ให้มเี สถียรภาพในการเลีย้ ว ทนต่อการสึกหรอ และลดเสียงทีเ่ กิดจากหน้ายางขณะสัมผัสพืน้ ถนน ท�ำให้ได้ยางรถยนต์ที่ให้ความปลอดภัย สูงสุดบนท้องถนน ซึ่ง โตโย ไทร์ มี T-Mode Technology โดดเด่นในยางรถยนต์ 5 รุ่น ได้แก่ Proxes T1 Sport, Proxes ST2, Proxes C1S, Proxes T1R และ TOYO DRB โดยสี่ แบบแรกเป็นยางในตระกูล Proxes ซึ่งขึ้นชื่อ


Idol & Model ในเรือ่ งสมรรถนะสูงในการขับขีแ่ ละคุณภาพที่ เหนือชั้น รุ่น Proxes T1 Sport ออกแบบมา ส� ำ หรั บ ใช้ ใ นรถยุ โ รป ซึ่ ง ให้ ส มรรถนะและ ความนุ่มนวลในการขับขี่สูง ส่วนรุ่น Proxes ST2 และรุ่น Proxes C1S ยอดเยี่ยมในด้าน ความนุม่ นวลและเหมาะส�ำหรับรถเอสยูวแี ละ รถซีดานขนาดใหญ่ตามล�ำดับ ลูกค้าทีช่ นื่ ชอบ ยานยนต์ประเภทสปอร์ตซึ่งเน้นสมรรถนะสูง จะประทับใจกับยางรุ่น Proxes T1R และรุ่น TOYO DRB ที่ให้สมรรถนะในการขับขี่แบบ สปอร์ ต แต่ ยั ง คงความสมดุ ล ไว้ ซึ่ ง ความ นุ่มนวลยามขับขี่ เพื่อให้สอดคล้องกับแผนธุรกิจระยะ กลางของ บริษัท โตโย ไทร์ แอนด์ รับเบอร์ จ� ำ กั ด ในการสร้ า งระบบอุ ป ทานในสาม ภูมภิ าคส�ำคัญทัว่ โลก คือ ในทวีปอเมริกาเหนือ ญี่ปุ่น และเอเชีย โดยภูมิภาคเอเชียนับเป็น ตลาดส�ำคัญทีส่ ดุ ส�ำหรับการเพิม่ สัดส่วนยอดขายของบริษทั โตโย ไทร์ แอนด์ รับเบอร์ จ�ำกัด ทั้งนี้ โตโย ไทร์ จึงพร้อมแล้วที่จะน�ำเสนอ นวัตกรรมและยางรถยนต์ชั้นสูงจากประเทศ ญี่ปุ่นซึ่งเป็นนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่เป็น ลิขสิทธิ์ของโตโย ไทร์ ด้วยเหตุนี้จึงมีพันธกิจ อันมุ่งมั่นที่จะเพิ่มสัดส่วนการตลาดส�ำหรับ ตลาดยางรถยนต์ในประเทศไทย “แรงผลักดัน ของโตโย ไทร์อยู่ในหลักปรัชญาที่ให้ความ ส�ำคัญกับ การยึดมั่นที่จะสร้างมูลค่าใหม่ ผ่านนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่เป็นลิขสิทธิ์ หรือ “a commitment to creating new value through innovation in advanced, proprietary technologies.” (หลักปรัชญาของโตโย ไทร์) พนักงานทุกคนที่โตโย ไทร์ล้วนแต่มุ่งมั่นที่จะ ท�ำงานให้ดีที่สุดในทุก ๆ วัน เพื่อที่ผู้บริโภคจะ ได้ผลิตภัณฑ์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพทีด่ ขี นึ้ ในราคาที่ ดีขึ้นในวันนี้มากกว่าเมื่อวาน (พันธกิจของ โตโย ไทร์)”

แผนและกลยุทธ์เพื่อเผยแพร่นวัตกรรม ผลิตภัณฑ์

“โตโย ไทร์ มีแผนและกลยุทธ์ที่ให้

ความส�ำคัญกับการ เพิม่ ยอดขายของตัวแทน จ�ำหน่าย และ ส่งเสริมการขาย ผลิตภัณฑ์ คุณภาพสู่ผู้บริโภคชาวไทย อาทิ โตโย ไทร์ โรดโชว์ ใน 12 จังหวัดหลักในแต่ละภาคทั่ว ประเทศเพื่ อ ช่ ว ยเพิ่ ม ยอดขายของตั ว แทน จ�ำหน่าย และขณะเดียวกันช่วยให้แบรนด์ โตโย ไทร์เป็นที่รู้จักมากขึ้นในกลุ่มผู้ใช้รถ นอกจากนี้ โตโย ไทร์ ยังจัดท�ำโฆษณาทาง โทรทั ศ น์ ชุ ด ใหม่ ใ นชื่ อ เรื่ อ ง “โตโย ไทร์ เทคโนโลยีจากญีป่ นุ่ ” โฆษณาชุดนีส้ ะท้อนถึง คุณภาพชัน้ น�ำของผลิตภัณฑ์ยางโตโย ไทร์อนั เป็นนวัตกรรมทางเทคโนโลยีจากญีป่ นุ่ ซึง่ ต้อง ใช้ความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมขั้นสูงในการ สร้างสรรค์เพื่อให้ได้ยางรถยนต์ที่เน้นความ ปลอดภัยบนท้องถนน มีการจัดโปรสุดพิเศษ เพื่อให้ผู้บริโภคชาวไทยได้เข้าถึงง่ายขึ้น” คุณ สุตถิพล กล่าวถึงการด�ำเนินงานของโตโย ไทร์

ในประเทศไทย เปรียบเทียบกับทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ อีกว่า “แนวคิด รูปแบบ หรือสไตล์การบริหาร จัดการของบริษทั ลูกในประเทศไทย กับบริษทั แม่ที่ญี่ปุ่น มีทั้งความเหมือนและแตกต่าง ส�ำหรับความเหมือนนั้นไม่ว่าจะในญี่ปุ่นหรือ ประเทศไทยพนักงานทั้งหมดของโตโย ไทร์มี แนวคิดร่วมกันว่าจะท�ำงานให้ดีที่สุดในทุก ๆ วันเพือ่ ทีผ่ บู้ ริโภค จะได้ผลิตภัณฑ์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพที่ดีขึ้นในราคาที่ดีขึ้นในวันนี้มากกว่าเมื่อ วาน ชูเทคโนโลยีทเี่ ป็นลิขสิทธิเ์ ฉพาะจากญีป่ นุ่ (เช่น T-Mode Technology) โตโย ไทร์ เป็น ยางรถยนต์ที่ใช้นวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่ เป็นลิขสิทธิ์เฉพาะจากญี่ปุ่น และยังมีการ ท�ำงานเป็นทีม ซึ่งมีความส�ำคัญอย่างมาก ดังนั้น พนักงาทุกคนถือว่าอยู่ในครอบครัว เดียวกัน “Toyo Family” ส�ำหรับความแตกต่าง นัน่ คือ ประเทศไทยเน้นการสร้างความสัมพันธ์ ที่ดีกับตัวแทนจ�ำหน่ายอย่างมาก และจะเป็น กันเองมากกว่าที่ญี่ปุ่น” คุณสุตถิพล ยังได้กล่าวทิ้งท้ายให้ ลูกค้าเชือ่ มัน่ ในผลิตภัณฑ์ของ โตโย ไทร์ ลอง ปรั บ มุ ม มองและเชื่ อ มั่ น ในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ สร้ า งสรรค์ ม าด้ ว ยนวั ต กรรมเฉพาะของ ประเทศญี่ปุ่น แล้วทุกท่านจะติดใจ

Vol.22 No.209 May-June 2015

เป้าหมายของโตโย ไทร์ ในอนาคต

61


Q

Idol & Model for

uality

บริษัท

พิณ อินเตอร์วู้ด จ�ำกัด (PIN INTERWOOD CO., LTD.) ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2537 โดย คุณดุษฎี และคุณอัจฉรา เลาติเจริญ ภายใต้เครือ บริษัท พิณ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด โดยบริษัท พิณ อินเตอร์วู้ด จ�ำกัด เป็นธุรกิจผลิตเฟอร์นิเจอร์จากวัสดุ ไม้ยางพารา ส�ำหรับเด็ก และผู้ใหญ่ โดยส่งออกให้กับอิเกียซึ่งเป็นธุรกิจขายเครื่องเรือนและ ของใช้ในบ้านรายใหญ่จากประเทศสวีเดนจ�ำนวนหนึ่งร้อยเปอร์เซนต์ของการผลิต ผลิตภัณฑ์ของ PIN ผลิตในประเทศไทย ซึ่งใช้ไม้ป๊อปล่า และไม้ยางพาราจาก สวนยาง ส�ำหรับเฟอร์นิเจอร์ของพิณ อาทิ เก้าอี้ โต๊ะ ชั้นลิ้นชักส�ำหรับใส่เสื้อผ้า ชั้นวางของ ตูห้ นังสือ เป็นต้น ด้วยการออกแบบผลิตภัณฑ์มคี วามหลากหลาย เรียบง่าย สามารถดึงดูด ความสนใจของเด็ก และความต้องการของพวกเขาได้ จากประสบการณ์การผลิตเฟอร์นิเจอร์จากวัสดุไม้ด้วยระยะเวลา 20 ปี ท�ำให้ พิณเป็นผู้น�ำด้านคุณภาพของสินค้าภายใต้ วิสัยทัศน์ “เราจะสร้างความเชื่อมั่นด้วย ผลิตภัณฑ์เฟอร์นเิ จอร์ทมี่ คี ณ ุ ค่า คุณภาพได้มาตรฐานเป็นทีย่ อมรับของลูกค้า” และ พันธกิจ

บริ ษ ท ั พิ ณ อิ น เตอร์ ว ด ้ ู จำ � กั ด องค์กรก้าวหน้า รักษาสิ่งแวดล้อม พร้อมส่งสินค้า พัฒนาต่อเนื่อง

ยึดเรื่องข้อกำ�หนด ลดความสูญเสีย กองบรรณาธิการ

คุณดุษฎี เลาติเจริญ

กรรมการผู้จัดการ บริษัท พิณ อินเตอร์วู้ด จำ�กัด

62

for Quality Vol.22 No.209 May-June 20151


Idol & Model ทีจ่ ะมุง่ มัน่ พัฒนาองค์กรให้ลำ�้ หน้า ส่งเสริม ความรู้เกี่ยวกับสินค้าเฟอร์นิเจอร์ สร้างการ ท�ำงานอย่างมีระบบ ส่งมอบสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพ ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและรับผิดชอบต่อ สังคม คุ ณ ดุ ษ ฎี เลาติ เ จริ ญ กรรมการผู้จัดการ บริษัท พิณ อินเตอร์วู้ด จ�ำกัด เล่า ประสบการณ์การด�ำเนินธุรกิจให้กับ . เพื่อน�ำมาสู่การถ่ายทอดยังผู้ประกอบการ รายอื่นในการน�ำไปประยุกต์ใช้เป็นต้นแบบ และต่อยอดสู่ความส�ำเร็จในอนาคต คุ ณ ดุ ษ ฎี เริ่ ม ต้ น พู ด คุ ย เกี่ ย วกั บ จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ภายใต้ บริ ษั ท พิ ณ อินเตอร์วู้ด จ�ำกัด ว่า “เราเน้นหนักถึงสินค้า ทีม่ คี ณ ุ ภาพและมีความปลอดภัยตามทีม่ าตรฐานก�ำหนด โดยเรามุ่งมั่นพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของผู้บริโภค ปรั บ ปรุ ง ระบบคุ ณ ภาพ เพื่ อ การมุ ่ ง สู ่ ก าร บริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (TQM) พัฒนา คุณภาพ และขีดความสามารถของทรัพยากร มนุษย์อย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ ปรับปรุง ประสิทธิภาพ การบริหาร กระบวนการด�ำเนิน งาน และพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อสร้างความ ได้เปรียบในการแข่งขัน ยึดมัน่ ในความรับผิดชอบต่ อ สั ง คม โดยการพั ฒ นามาตรฐาน แรงงาน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ ปรั บ ปรุ ง สภาพการท� ำงาน สิ่ ง แวดล้ อ มให้ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล”

การนำ�หลักการ MFCA มาใช้ในองค์กร

องค์การเพิม่ ผลผลิตแห่งเอเชีย หรือ Asian Productivity Organization (APO) ได้ ส่งเสริมการน�ำเครื่องมือ MFCA ไปใช้ ตั้งแต่ ก่อนที่มาตรฐาน ISO 14051จะได้รับการ ตีพิมพ์ MFCA เป็นเครื่องมือในการบริหาร จัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการใช้วัสดุ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ช่ ว ยลดขยะ/ ของเสียทีป่ ล่อยออก ตลอดจน Non-Products ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดด้าน Green Productivity (GP) ของ APO ที่สามารถน�ำมาใช้ได้ใน องค์กร ขณะนี้ APO ก�ำลังด�ำเนินโครงการทีจ่ ะ

ช่ ว ยส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น แนวคิดเกี่ยวกับ MFCA อัน จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศ สมาชิก โดยประเทศไทยเป็น ผู้น�ำแนวคิดของ MFCA ไปใช้ ในล�ำดับต้น ๆ หลังจากทีเ่ ข้าร่วม โครงการดังกล่าว หลายบริษทั ใน ประเทศไทยได้น�ำหลักการของ MFCA ไปใช้และปฏิบตั อิ ย่างเต็ม รูปแบบ โดยการประยุกต์ใช้ MFCA แสดงให้ เห็นผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมจากองค์กรที่เข้า ร่ ว มโครงการ ซึ่ ง หนึ่ ง ในองค์ ก รที่ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการ คือ บริษัท พิณอินเตอร์วู้ด จ�ำกัด ส�ำหรับขั้นตอนการด�ำเนินงานโครงการ MFCA มีดังนี้ 1. การเตรียมการ ➲ ก�ำหนดผลิตภัณฑ์ สายการผลิต กระบวนการ และเป้าหมาย ➲ วิเคราะห์กระบวนการ และแบ่ง กระบวนการเป็น Quantity Center (QC) 2. เก็บและรวบรวมข้อมูล ➲ ตามประเภทและปริ ม าณของ วัตถุดิบ วัสดุ และของเสีย ➲ รวบรวมข้ อ มู ล ทั้ ง ต้ น ทุ น ด้ า น บริหารจัดการ (system cost) และต้นทุนด้าน พลังงาน (energy cost) ➲ ก� ำ หนดวิ ธี ก ารกระจายต้ น ทุ น

พลังงานและต้นทุนระบบการผลิต 3. ค�ำนวณ MFCA ➲ จัดท�ำ Material Flow Model ➲ ค� ำ นวณต้ น ทุ น ตาม Material Flow Model 4. ระบุสิ่งที่ต้องการปรับปรุง ➲ ระบุสิ่งที่ต้องปรับปรุง รวมทั้งการ ลดต้นทุน 5. จัดท�ำแผนการปรับปรุง ➲ ประมาณการความเป็นไปได้ทจี่ ะ ลด Material Loss ➲ ประเมิ น การลดต้ น ทุ น ตามการ ค�ำนวณแบบ MFCA ➲ จัดล�ำดับสิ่งที่ควรปรับปรุงอันดับ แรกมาท�ำแผนปรับปรุง 6. ด�ำเนินการตามแผนการปรับปรุง ประเมินผลการปรับปรุง 7. ประเมินผลการปรับปรุง

Vol.22 No.209 May-June 2015

จุดเด่นของสินค้าและผลิตภัณฑ์

63


Idol & Model ค�ำนวณตามแบบ MFCA อีกครั้ง ➲ ประเมินการปรับปรุง คุ ณ ดุ ษ ฎี กล่ า วอธิ บ ายถึ ง MFCA เพิ่มเติมว่า “Material Flow Cost Accounting หรื อ MFCA เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการบริ ห าร จัดการการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และลดปริมาณของเสียจากการผลิตและการ ให้บริการขององค์กร โดยการค�ำนวณต้นทุน ของปัจจัยน�ำเข้า มูลค่าผลผลิตทีไ่ ด้ และความ สูญเสียที่เกิดขึ้นในการผลิตและงานบริการ เครื่องมือ MFCA นี้เริ่มพัฒนามาจาก ประเทศเยอรมัน และมีการประยุกต์ให้งา่ ยต่อ การน�ำไปใช้ ส่งผลให้แพร่หลายในประเทศ ญี่ปุ่น ด้วยการประยุกต์แนวคิดบัญชีต้นทุน ที่ มุง่ เน้นความตระหนักถึงต้นทุนของการสูญเสีย วัสดุที่แท้จริง ซึ่ง MFCA ท�ำให้มองเห็นโอกาส ในการลดการใช้ ท รั พ ยากรและปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรในการผลิตและ การให้บริการ ส่งผลให้ลดต้นทุนวัสดุและลด ปริมาณของเสียเพือ่ รักษาสิง่ แวดล้อม เป็นการ สร้างความยั่งยืนให้แก่องค์กร MFCA ยังถือ เป็นเครื่องมือส�ำคัญด้านการเพิ่มผลิตภาพที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (green-productivity tool) อีกด้วย” ทั้งนี้ หลักการของ MFCA แบ่ง

Vol.22 No.209 May-June 2015

64

ต้นทุนออกเป็น 4 ประเภท คือ 1. ต้นทุนของ วัสดุ เป็นต้นทุนที่รวมวัตถุดิบหลักตอนเริ่มต้น กระบวนการ สารที่เติมระหว่างกระบวนการ และสารปรุงแต่งอื่น ๆ เช่น ตัวท�ำละลาย และ ตัวเร่งปฏิกริยา 2. ต้นทุนด้านบริหารจัดการ หรื อ ต้ น ทุ น กระบวนการ เป็นต้นทุนที่รวม ค่าแรง ค่าเสื่อมราคา และค่าโสหุ้ย และอื่น ๆ 3. ต้นทุนด้านพลังงาน เป็นต้นทุนค่าไฟฟ้า ค่า สาธารณูปโภค และต้นทุนด้านพลังงานอื่น ๆ 4. ต้นทุนค่าก�ำจัดของเสีย เป็นต้นทุนในการ ก�ำจัดของเสียที่เกิดขึ้น “ส�ำหรับบริษัทฯ ได้มี 4 จุดหลักที่เกิด จากการปรั บ ปรุ ง ภายในโรงงานตามหลั ก MFCA นั่นคือ 1. การขึ้นรูปงานไม้ และ MDF เป็นการใช้เศษไม้ให้เกิดประโยชน์ โดยท�ำ Finger Joint และการ Laminate รวมทั้งการน�ำ

เศษ MDF มาจัดท�ำเป็นผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ 2. การ ใช้กระดาษทรายในส่วนขอบทีย่ งั ใช้ได้กบั งาน ชิ้ น ส่ ว นเล็ ก ๆ 3. การปรั บ ปรุ ง รางยู วี เ พื่ อ ป้องกันสีหก และ 4. การปรับปรุง Filter ของ บู ท พ่ น สี ที่ ยื ด อายุ ก ารใช้ ง าน โดยการท� ำ ฉากจากไม้เหลากลมมากั้นด้านหน้า เพื่อลด ปริมาณสีที่จะเข้าไปติดด้านใน”

ความยั่งยืน คือ จุดสูงสุดขององค์กร

คุ ณ ดุ ษ ฎี มี เ ป้ า หมายที่ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการ MFCA คือ การมุ่งสู่ความยั่งยืน “โครงการนี้เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง เนื่องจาก เป็นการสร้างระบบให้เกิดการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งการเพิ่มผลผลิตตามแนวทางนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการบัญชี เป็น หน่วยงานที่ส�ำคัญและมีบทบาทเป็นอย่าง มาก” MFCA จะเป็นเครื่องมือใหม่ที่จะช่วย ให้ผู้ประกอบการสามารถลดต้นทุนการผลิต เพิ่มก�ำไร เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร โดยเฉพาะวัตถุดิบ และพลังงานไปพร้อมกับ ลดผลกระทบเชิงลบจากกระบวนการผลิตที่มี ต่อสิ่งแวดล้อม อันเป็นหน้าที่ของธุรกิจที่ต้อง ปฏิบตั ติ ามด้วยความส�ำนึกรับผิดชอบ “ทีผ่ า่ น มาบริษทั ฯ ได้นำ� แนวทาง MFCA ไปปรับใช้ใน องค์กรจนสามารถบรรลุเป้าประสงค์ที่มุ่งหวัง ไว้ คือ ลดต้นทุน สร้างผลก�ำไร และเกิดเป็นผล ส�ำเร็จอย่างยัง่ ยืนแก่องค์กร รวมทัง้ ยังเป็นการ ลดการใช้ ท รั พ ยากร และผลกระทบด้ า น สิ่งแวดล้อมเป็นอย่างดี ทั้งยังสามารถแสดง ผลลั พ ธ์ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรมชั ด เจนอี ก ด้ ว ย นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางที่มุ่งลดต้นทุนใน กระบวนการผลิ ต ของภาคอุ ต สาหกรรมได้ อย่างชัดเจนและยั่งยืน”


Q

of Life for

uality

Relax

Special Issue


for

Q

uality

Relax Pattaya Sheep Farm ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอบางละมุง

จังหวัดชลบุรี มีสัตว์นานาชนิดมากมายพร้อมมุมน่ารัก ส�ำหรับถ่ายภาพ ซึ่งที่นี่เป็นฟาร์มแกะที่ ใหญ่ที่สุดใน ประเทศไทย เป็นสถานที่พักผ่อน และแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ ของเมืองพัทยา เมืองท่องเที่ยวยอดนิยมที่อยู่ห่างจาก กรุงเทพฯ เพียง 60 นาที Pattaya Sheep Farm ฟาร์มแกะ แห่งแรกที่ผสมผสานบรรยากาศชายทะเลที่มีต้นมะพร้าว ตกแต่งรวมกับบรรยากาศแบบฟาร์มแกะได้อย่างลงตัว นอกจากนี้ทาง Pattaya Sheep Farm ยังรวบรวมสัตว์ นานาชนิดไว้รอต้อนรับ และยังมีกิจกรรมส�ำหรับผู้เยี่ยมชม อีกทั้งร้านค้ามากมาย เพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยว ทั้งไทยและต่างชาติ

@

Pattaya Sheep Farm

Chonburi

66

for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

มา

เดิ น ชมรอบฟาร์ ม แกะกั น ดี ก ว่ า บนพื้นที่กว้างขวาง มีมุมน่ารักให้ ถ่ายภาพมากมาย เด่นทีส่ ดุ ก็คงเป็นกังหันลม ใหญ่ยกั ษ์ และทีน่ ยี่ งั มีรา้ นอาหาร The Barn Steak House ที่มีกลิ่นไอแนว Cowboy ผสมผสานกับ Country Farm ไว้ด้วยกัน ส่วนอาหารมีหลากหลายชนิด ทัง้ อาหารไทย


Relax อาหารฝรั่ง สลัด ของว่าง รวมถึงสเต็กที่ได้คัดสรรวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ทั้งในและน�ำเข้า จากต่างประเทศ โดยมีเชฟที่มีประสบการณ์คอยปรุงรสให้อาหารถูกปากทั้งคนไทย และ ชาวต่างชาติไว้บริการ Pattaya Sheep Farm ยังมีกิจกรรมอื่นอีกมากมาย ทั้งการได้สัมผัสใกล้ชิดสัตว์ นานาชนิดไม่ว่าจะเป็น อัลปากา (Alpaca) กวางซิก้า (Sika Deer, Spotted Deer) นกซันคอนัวร์ (Sunconure) ควายเผือก (White Buffaloes) ลา (Donkey) และสัตว์ อื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งทาง Pattaya Sheep Farm ยังมีกิจกรรมนั่งรถม้ารอบฟาร์ม หรือจะฝึกหัดขีม่ า้ โดยมีเจ้าหน้าทีค่ อยดูแล และให้ความปลอดภัยไว้คอยบริการ ทีน่ จี่ งึ เป็นอีกหนึ่งสถานที่พักผ่อนกันได้ทั้งครอบครัว

การเดินทาง

Pattaya Sheep Farm ตั้งอยู่บนถนนพัทยา-ระยอง เส้น 36 ฝั่งเดียวกับสวนผึ้ง

บิ๊กบี (พัทยา-ระยอง) ผ่านถนนมอเตอร์เวย์ มุ่งหน้าพัทยา และขับมาตามถนนเลี่ยงเมือง ชลบุรี เส้นบายพาส ให้เลี้ยวซ้ายที่บางละมุงเพื่อเข้าถนนพัทยา-ระยอง ตรงไปจะเจอกับ โรงเรียนนานาชาติ เดอะรีเจนท์ ให้กลับรถ Pattaya Sheep Farm จะอยู่ฝั่งตรงข้าม

เวลาเปิด-ปิด

เปิดบริการทุกวัน ฟาร์ม: ตั้งแต่เวลา 9.00 - 19.00 น. ร้านอาหาร THE BARN STEAK HOUSE: ตั้งแต่เวลา 10.30 - 20.00 น.

ทีต่ งั้

เลขที่ 73/8 หมู่ 3 ต�ำบลหนองปลาไหล อ�ำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150 เบอร์ติดต่อ 092-321-6718

Vol.22 No.209 May-June 2015

Website : www.facebook.com/PattayaSheepfarm

67


Q

Movement for

uality

Book Guide Movement


Q

Book Guide for

uality

ภาษาญี่ปุ่นวันละบท กับ เตรียมสอบวัดระดับ N3 การอ่าน ผู้แต่ง ผู้แปล ISBN ราคา

ใน

การสอบวัดระดับความรู้ภาษาญี่ปุ่น ระดับ N3 นอกจากผู้สอบจะต้องมี ความเข้าใจด้านค�ำศัพท์ ไวยากรณ์ และการฟัง ในชีวติ ประจ�ำวันทีค่ อ่ นข้างยากในระดับหนึง่ แล้ว 1 ใน 3 ของคะแนนสอบทั้งหมดก็มาจากใน ส่วนของข้อสอบด้านการอ่านที่ถือเป็นอุปสรรค ส�ำคัญส�ำหรับผู้สอบหลายคนเช่นกัน บ้างก็ว่า ประโยคยาวเกินไป อ่านไม่ทันจบหรือยังจับใจ

ฮิโตโกะ ซาซากิ และ โนริโกะ มัทสึโมโตะ ศิริวรรณ มุนินทรวงศ์ และ เมธี ธรรมพิภพ 978-974-443-563-7 240 บาท

ความไม่ได้กห็ มดเวลาสอบเสียก่อน คอลัมน์ฉบับนีจ้ งึ ขอแนะน�ำ เตรียมสอบวัดระดับ N3 การอ่าน หนังสือดีทเี่ หมาะส�ำหรับใช้ เตรียมความพร้อมก่อนลงสนามสอบจริง หนังสือเล่มนี้เป็นหนึ่งในชุดเตรียมสอบวัดระดับ N3 จากทั้งหมด 5 เล่ม แต่ละเล่มได้เน้นจุดส�ำคัญในการสอบ แตกต่างกันไป ได้แก่ คันจิ ค�ำศัพท์ ไวยากรณ์ การฟัง ส่วนในเล่ม การอ่านได้เน้นให้ผอู้ า่ นฝึกฝนทักษะการอ่านอย่างสม�ำ่ เสมอ โดย แบ่งเนือ้ หาทัง้ หมดออกเป็น 6 สัปดาห์ แต่ละวันอ่านวันละ 1 บท อ่าน ซึง่ ในวันที่ 1-6 ของแต่ละสัปดาห์จะมีให้ฝกึ อ่านบทสนทนา ภาษาพูดและบทอ่านที่มีตั้งแต่ข้อความขนาดสั้น ประกาศ โฆษณา แล้วค่อย ๆ เพิ่มระดับความยากเป็นจดหมาย อีเมล (หน้า 30) หนังสือพิมพ์ นวนิยาย ฯลฯ จากรูปตัวอย่าง ผูอ้ า่ นจะได้ เห็นประเด็นส�ำคัญของบทอ่านจากสัญลักษณ์ ✩ ใน หน้าซ้าย (หน้า 30) พร้อมกับเรียนรู้ค�ำศัพท์และ ส�ำนวนทีพ่ บบ่อย แล้วท�ำแบบฝึกหัดจากการอ่าน บทสนทนา จากนั้นจึงได้ฝึกอ่านเพื่อจับใจความ และตอบค�ำถามจากบทอ่านในหน้าขวา (หน้า 31) (ตามรูป) และในวันที่ 7 ของทุกสัปดาห์จะ เป็นการฝึกท�ำแบบทดสอบเสมือนข้อสอบวัดระดับ จริงเพื่อทบทวนเนื้อหาที่ได้อ่านในสัปดาห์นั้น ๆ โดยมีเฉลยและค�ำแปลบทอ่านภาษาไทยท้ายเล่ม เพือ่ เพิม่ เข้าใจ ส�ำหรับผูอ้ า่ นทีก่ ำ� ลังมองหาหนังสือเพือ่ เตรียมตัว (หน้า 31) สอบวัดระดับภาษาญีป่ นุ่ ระดับ N3 จะลองใช้ เตรียมสอบวัด ระดับ N3 การอ่าน เป็นหนึง่ ในหนังสือทบทวนความรูเ้ ดีย่ ว ๆ หรือจะเลือกเล่มอืน่ ในชุดเตรียมสอบ วัดระดับฯ มาอ่านเติมความรูก้ นั วันละบทกับ 6 สัปดาห์กอ่ นสอบด้วยก็ดนี ะคะ สุดท้ายนีข้ อประชาสัมพันธ์สกั นิดว่าตอนนีห้ นังสือของส�ำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม มีให้เลือกอ่านในรูปแบบของ E-book แล้วค่ะ โดยสามารถเข้าไปดูรายละเอียดได้ที่ www. tpapress.com for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

69


Q

Movement for

uality

E vent เมือ่ เร็ว ๆ นี้ คุณวิสทุ ธิ์ แก้วทอง ผูจ้ ดั การฝ่ายสารสนเทศ บริษทั เอสจีเอส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมเป็นสักขีพยานในพิธมี อบใบรับรองมาตรฐานสากล ISO 29110 ให้กบั ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ ส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบการได้รบั มาตรฐานกระบวนการผลิตและบริการ กิจกรรมมาตรฐาน จัดโดย ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) และสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย มีวตั ถุประสงค์สง่ เสริมให้ภาครัฐและผูป้ ระกอบการซอฟต์แวร์ไทยผ่านการรับรอง มาตรฐาน ISO 29110 เพื่อให้องค์กรมีแนวทางในการบริหารจัดการด้านมาตรฐานการพัฒนา ระบบสารสนเทศ มีความสามารถในการพัฒนาระบบสารสนเทศมากขึ้น เพื่อตอบสนองความ ต้องการของลูกค้า และเพื่อให้ลูกค้ามีความพึงพอใจต่อระบบงานสารสนเทศมากขึ้น ลคค่าใช้จ่ายที่สูญเสียในกระบวนการผลิตซอฟต์แวร์ เนื่องจากขาดการควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิต และเพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ISO 29110 เป็นระบบมาตรฐานกระบวนการผลิตและบริการที่ให้ความสำ�คัญใน 2 กระบวนการหลัก คือ กระบวนการด้านการบริหาร โครงการ (project management) และกระบวนการด้านการสร้างซอฟต์แวร์ (software implementation) ซึ่งจะประกอบด้วยกระบวนการ ย่อย ๆ ภายใน อีกทั้งสองกระบวนการได้ถูกออกแบบให้เหมาะสมกับผู้ประกอบการขนาดเล็ก จึงมีความเหมาะสมในการประยุกต์ใช้ได้ทันที โดยได้กำ�หนดขนาดของกระบวนการให้เหมาะสมกับองค์กรขนาดเล็ก จึงไม่สร้างปัญหาในการปรับใช้งานให้เข้ากับองค์กรในการบริหารจัดการ ทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนและหน่วยงานรัฐบาล คุณสุชา ลือชัยขจรพันธ์ ประธานกรรมการ บริษัท ไทยพลาสติก ดอทคอม จ�ำกัด (ที่ 3 จากขวา) พร้อมด้วย ดร.ณรงค์ชยั โอเจริญ หัวหน้าภาควิชาวัสดุและโลหะการ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (ซ้ายสุด) และ คุณศิรวิ รรณ ติรเลิศ ผูอ้ �ำนวยการฝ่ายบริหาร บริษทั บริด ซิสเต็มส์ จ�ำกัด ที่ปรึกษา โครงการ ECIT กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (ที่ 2 จากขวา) จัดงาน แถลงข่าวเปิดตัวเว็บพอร์ทลั AECplastic.com ผูใ้ ห้บริการตลาดออนไลน์ทที่ นั สมัยและครบวงจร แห่งใหม่ส�ำหรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมพลาสติกไทย พร้อมระบบการด�ำเนินธุรกิจผ่านการ ตลาดออนไลน์ที่ทันสมัย เตรียมก้าวสู่ตลาดการค้ายุคประชาคมอาเซียน โดยได้รับเกียรติจาก คุณณรงค์ชัย พิสุทธิ์ปัญญา กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท พีทีที โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จ�ำกัด (ที่ 2 จากซ้าย) ขึ้นกล่าวสัมมนาในหัวข้อ “อุตสาหกรรมเม็ดพลาสติกไทยปรับตัวอย่างไรรับมือ AEC” ณ ห้องพาโนรามา 2 ชั้น 14 โรงแรม ดิเอมเมอรัล รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ เมื่อเร็ว ๆ นี้ บริษัท จัสมิน อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) โดย คุณพิชญ์ โพธารามิก ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร ร่วมแถลงข่าว ประกาศแผนธุรกิจใหม่ “Mobile Broadband 4G (MBB)” ควบคู่ ธุรกิจบรอดแบนด์อินเทอร์เน็ต ซึ่ง ด�ำเนินการโดยบริษัท ทริปเปิลที บรอดแบนด์ จ� ำ กั ด (มหาชน) ภายใต้ชื่อ 3BB โดยปัจจุบันบริษัทมีฐานลูกค้าทั้งในกรุงเทพและ ต่างจังหวัดกว่า 1.7 ล้านราย จ�ำนวนลูกค้าที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้รายได้และก�ำไรของบริษัทเติบโตขึ้นอย่าง รวดเร็วในช่วงที่ผ่านมา

70

for Quality Vol.22 No.209 May-June 2015

ดีเอชแอล เอ๊กซ์เพรส ผู ้ น� ำระดั บ โลกใน ธุรกิจขนส่งด่วนระหว่าง ประเทศ เปิดเซอร์วสิ พอยต์ แห่งที่ 64 ในไทย ณ เดอะพาซิ โ อ คอมมู นิ ตี้ ม อลล์ ลาดกระบัง กรุงเทพฯ โดย เปิดท�ำการทุกวันตลอด 7 วันต่อสัปดาห์ เพื่อช่วยอ�ำนวยความสะดวก ให้แก่ลูกค้าและนักธุรกิจทั้งชาวไทยและต่างชาติในบริเวณนั้น ในปี 2557 ดีเอชแอลได้เปิดเซอร์วสิ พอยต์ 17 แห่งทัว่ ประเทศ ซึ่งเป็นการเน้นย�้ำนโยบายของดีเอชแอลที่มุ่งขยายจุดให้บริการใน แหล่งที่พักอาศัยและธุรกิจค้าปลีกตามจุดต่าง ๆ ของกรุงเทพฯ


Movement

E vent ไทยดริ้งค์ น�ำโดย คุณสุภรณ์ เด่นไพศาล ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการสายงานการตลาด บริษัท ไทยดริ้งค์ จ�ำกัด ส่งเครื่องดื่ม “เอส” เปิดเกมรุกสู้ศึกตลาดน�้ำอัดลมรับซัมเมอร์ ทุ่มงบ 300 ล้านบาท ชูกลยุทธ์ “เอ็กซ์พีเรียนเชียล มาร์เก็ตติ้ง” ดึง ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ เป็น พรีเซนเตอร์คนใหม่ พร้อมเปิดแคมเปญ “เอส ชาเลนจ์ ไม่ลองก็ไม่ใหม่” เปิดประสบการณ์ ท้าลองเหล่าวัยรุน่ กว่า 25 ล้านคนทัว่ ประเทศได้ลมิ้ ลองความอร่อยสดชืน่ สุดขัว้ ของเครือ่ งดืม่ เอส ที่มาพร้อมแพ็คเกจจิ้งขวดสีฟ้าสะท้อนแสงเพื่อขยายฐานแฟนประจ�ำและสร้างฐานลูกค้าใหม่ พร้อมตั้งเป้ายอดขาย 6 พันล้านบาทภายในสิ้นปี 2558 ดร.สันติ กนกธนาพร ผู้อ�ำนวยการสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ สถาบันเครือข่ายของ กระทรวงอุตสาหกรรม (ฝัง่ ขวา) ถ่ายภาพร่วมกับ Mr. Masayoshi Matsukawa, President of JPC (ฝั่งซ้าย) เนื่องในโอกาสเข้าเยี่ยมคารวะ และร่วมหารือแนวทางความร่วมมือส�ำหรับโครงการใน อนาคตระหว่างสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ประเทศไทย และศูนย์เพิ่มผลิตภาพแห่งประเทศ ญี่ปุ่น (Japan Productivity Center: JPC) ทั้งนี้ ดร.สันติ ยังได้กล่าวถึงความมุ่งมั่นของสถาบัน ในการผลักดันแนวคิดเรื่อง “ความยั่งยืน” ในการเพิ่มผลิตภาพ โดยทั้งสององค์กรยังได้ตกลง ร่วมกันที่จะประสานความร่วมมือในการผลักดันการเพิ่มผลิตภาพให้เหนียวแน่นเหมือนเช่น ในอดีตที่ผ่านมา ณ JPC ประเทศญี่ปุ่น เมื่อเร็ว ๆ นี้

คุณวิลาศ งามแสงรุ่งสาโรจน์ (ที่ 5 จากซ้าย) รองผู้ว่าการวางแผนและพัฒนาระบบ ไฟฟ้า การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ พีอีเอ ร่วมเปิดงานแถลงข่าว “Thailand Lighting Fair 2015” งานแสดงสินค้าด้านไฟฟ้าและแสงสว่าง พร้อมด้วยผู้จัดงาน มิส ลูเซีย หว่อง (ที่ 4 จากขวา) ผู้ช่วยผู้จัดการเมสเซ่แฟรงค์เฟิร์ต เซี่ยงไฮ้ คุณนิคม เลิศมัลลิการพร (ที่ 3 จากขวา) ตัวแทน เมสเซ่ แฟรงค์เฟิรต์ ประจ�ำประเทศไทย คุณพาขวัญ เจียมจิโรจน์ (ที่ 4 จากซ้าย) ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บริษัท ดิ เอ็กซ์ซิบิส จ�ำกัด และเหล่าผู้ร่วมแสดงงาน Exhibitors คุณวรวุฒิ ก่อก้องวิศรุต (ที่ 3 จากซ้าย) ผู้จัดการฝ่ายผลิตภัณท์กลุ่มธุรกิจไฟฟ้าและอุปกรณ์แสงสว่าง บริษัท ฟิลิปส์ อิเล็กทรอนิกส์ ประเทศไทย จ�ำกัด มิสเตอร์ฮาวเวิรด์ หวง (ที่ 2 จากซ้าย) กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ทีพี ฮาโล จ�ำกัด และ คุณวรกร จักรเพชร (ที่ 2 จากขวา) กรรมการผู้จัดการ บริษัท แอลอีดี ไลท์ติ้ง จ�ำกัด ร่วมแสดงความยินดี ณ โรงแรมเจดับบลิว แมริออต เมื่อเร็ว ๆ นี้ โดยงาน “Thailand Lighting Fair 2015” จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 19-21 สิงหาคม 2558 ณ อาคาร 106 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

Vol.22 No.209 May-June 2015

ซูซูกิ ผู้สร้างสรรค์ยนตรกรรมระดับโลกเพื่อตอบทุก Way of Life! และสร้าง Excitement ให้กบั ทุกคนในงานมอเตอร์โชว์ พร้อมเผยโฉม “All New Suzuki CIAZ” (ออลนิว ซูซกู ิ เซียส) ซีดาน เหนือระดับใหม่ ซึ่งทีมวิศวกรของซูซูกิได้ผสมผสานดีไซน์สปอร์ตและความสง่างามเข้ากันอย่าง ลงตัว เพื่อตอบไลฟ์สไตล์คนมีระดับ พร้อมออกแบบฟังก์ชั่นพื้นที่ภายในให้มีความกว้างขวาง สะดวกสบาย พื้นที่เก็บสัมภาระท้ายกว้างขวาง สมรรถนะการขับขี่เป็นเลิศ และประหยัดน�้ำมัน เป็นเยี่ยม เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และยังได้ยกทัพยนตรกรรมคุณภาพ ได้แก่ Suzuki SWIFT, Suzuki CELERIO, Suzuki ERTIGA MPV 3 แถว 7 ทีน่ งั่ และ Suzuki CARRY จัดแสดงเต็มพืน้ ที่ บูธดีไซน์ใหม่สดุ อลังการของซูซกู ิ พร้อมสร้างความมัน่ ใจให้กบั ลูกค้าด้วยบริการคุณภาพทัง้ ก่อนและหลังการขาย ด้วยเครือข่ายผูแ้ ทนจ�ำหน่าย และโชว์รูมมาตรฐานทั่วประเทศแล้ววันนี้ อีกทั้งยังมอบสิทธิพิเศษมากมายเกินห้ามใจส�ำหรับช่วงงานมอเตอร์โชว์ 2015 ทั้งนี้คาดการณ์ ยอดจองทะลุกว่า 1,000 คัน ในงานมอเตอร์โชว์

71


Movement

E vent คุณณัฐนันท์ กตัญญูเสริมพงศ์ (ที่ 4 จากซ้าย) ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายบริหารเชิงกลยุทธ์ บริษทั พรอพเพอร์ตี้ แคร์ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด หรือ พีซเี อส (PCS) บริษัทในเครือ ของโอซีเอส กรุป๊ (OCS Group) จากอังกฤษร่วมเสวนาหัวข้อ ผูน้ �ำอย่างมีประสิทธิภาพ ด้านการ บริหารจัดการอาคารของประเทศ ร่วมกับ คุณอายุธพร บูรณะกุล (ซ้ายสุด) นายกสมาคมวิชาชีพ การบริหารทรัพยากรอาคาร คุณกิติคุณ คชเสนี (ที่ 5 จากซ้าย) อุปนายกสมาคมวิชาชีพ การบริหารทรัพยากรอาคาร ดร.ชัยวัฒน์ วิรัตนพงษ์ (ที่ 2 จากขวา) อุปนายกสมาคม และ คุณเฉลิมลาภ อนุสนธิวงษ์ (ขวาสุด) อุปนายกสมาคม เพื่อชูความพร้อมส�ำหรับงาน BMAM Expo Asia 2015 ซึ่งพีซีเอสน�ำสินค้าและบริการเข้าร่วมแสดงครบวงจร เมื่อเร็ว ๆ นี้ คุณอัครเดช พันธิวานนท์ ผู้จัดการฝ่ายส่งเสริมการขาย กลุ่มผลิตภัณฑ์ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ บริษทั ชาร์ป ไทย จ�ำกัด ผูผ้ ลิตและจัดจ�ำหน่ายเครือ่ งใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ ส�ำนักงาน และแผงโซลาร์ชนั้ น�ำของโลก มอบเครือ่ งใช้ไฟฟ้าชาร์ปซึง่ ประกอบด้วย AQUOS LED TV เครื่องปรับอากาศ เครื่องฟอกอากาศ ตู้เย็น ไมโครเวฟ เครื่องดูดฝุ่น และเครื่องปล่อยอนุภาค พลาสม่าคลัสเตอร์ส�ำหรับใช้ในรถ ให้แก่ คุณพัชรี คงสุวรรณ์ ผูโ้ ชคดีจากจังหวัดล�ำปาง จากการ ส่งใบเสร็จซื้อสินค้าชาร์ปมาร่วมชิงโชคในแคมเปญ “อะริกาโต เปลี่ยนชาร์ปใหม่ให้ใช้ทั้งบ้าน” เพื่อเป็นการตอบแทนและขอบคุณลูกค้าที่ให้การสนับสนุนชาร์ปเป็นอย่างดีเสมอมา

C ongratulations

Vol.22 No.209 May-June 2015

คุณอาทิตย์ วุฒิคะโร อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (ที่ 5 จากซ้าย) รับมอบกระเช้า ดอกไม้แสดงความยินดีจาก คุณพสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม (ที่ 4 จากซ้าย) เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากรมส่งเสริมอุตสาหกรรมครบรอบ 73 ปี 11 มีนาคม 2558 นอกจากนี้ยังมีข้าราชการชั้นผู้ใหญ่จากทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตลอดจนผู้ประกอบการ ภายใต้การส่งเสริมของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เข้าร่วมแสดงความยินดีเป็นจ�ำนวนมาก ณ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม พระราม 6 กรุงเทพฯ

72

เมือ่ เร็ว ๆ นี้ บริษทั ดาคอน อินสเป็คชัน่ เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด ได้รบั รางวัลบริษทั ผูร้ บั เหมา ดีเด่นประจ�ำปี 2557 จาก บริษัท เชฟรอนประเทศไทย ส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด ในงานสัมมนา บริษทั ผูร้ บั เหมาประจ�ำปี 2558 (2015 Contractor OE Forum) เพือ่ เป็นการยกย่องและชืน่ ชมผล การปฏิบตั งิ านด้วยความเป็นเลิศของบริษทั ฯ ตลอดระยะเวลา 12 เดือนทีผ่ า่ นมา บริษทั ดาคอนฯ มีความยินดีเป็นอย่างยิง่ ทีไ่ ด้รบั รางวัลส�ำหรับผลการปฏิบตั งิ านทีด่ เี ยีย่ มในด้านสุขภาพและความ ปลอดภัยของพนักงานบริษัทฯ ลูกค้า และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุก ๆ ฝ่าย ซึ่งบริษัทดาคอนฯ รู้สึก ภาคภูมใิ จทีท่ มี วิศวกรตรวจสอบของบริษทั ฯ ได้ทมุ่ เทแรงกายแรงใจเพือ่ ปฏิบตั งิ านตรวจสอบนอก ฝั่งของเชฟรอนในอ่าวไทยจนส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี โดย คุณจรูญ สมอฝาก (ที่ 2 จากซ้าย) ผู้จัดการกลุ่มลูกค้าหลัก บริษัท ดาคอน อินสเป็คชั่น เซอร์วิสเซส จ�ำกัด รับรางวัลบริษัทผู้รับเหมาดีเด่นประจ�ำปี 2557 จาก คุณบุญชัย โควะวินทวีวัฒน์ (ซ้าย) ผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายสนับสนุนงาน ปฏิบัติการ บริษัท เชฟรอนประเทศไทย ส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด


Movement

T raining ฯพณฯ นายตีแยรี วีโต (ที่ 2 จากขวา) เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจ�ำประเทศไทย บรรยายพิเศษในหัวข้อ “Climate Change and Sustainable Development: Paris Climat 2015” ในโครงการ Thammasat Diplomatic Forum โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ (ที่ 3 จากขวา) อธิการบดี ศาสตราจารย์ ดร.ประมวญ เทพชัยศรี (ขวา) รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิธินันท์ วิศเวศวร (ที่ 4 จากขวา) รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมต้อนรับ ณ ห้องประชุมสัญญา ธรรมศักดิ์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ไฟเซอร์ ประเทศไทย หนึ่งในผู้น�ำนวัตกรรมยาคุณภาพของโลก จัดงานประชุมวิชาการ ในหัวข้อ “ทศวรรษของการป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสในประเทศที่พัฒนาแล้วและใน ประเทศทีก่ ำ� ลังพัฒนา” ณ โรงแรมอีสติน สาธร แกรนด์ กรุงเทพฯ โดยงานได้รบั เกียรติจากวิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิด้านโรคติดเชื้อในเด็กและระบาดวิทยาจากประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศไทย เข้าร่วมเพือ่ แลกเปลีย่ นข้อมูลวิชาการระดับโลก และสร้างความเข้าใจในสถานการณ์ปจั จุบนั ของ โรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสในเด็กและแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อหาแนวทางลดและป้องกันการติดเชื้อ กิจกรรมดังกล่าวยังได้รับความสนใจจากกุมารแพทย์ทั่วประเทศกว่า 200 คนเข้าร่วมงาน

S how SENSIT® P400 และ P100 เครื่องตรวจวัดและเตือนก๊าซอันตรายแบบพกติดตัว รุ่น P400 Multi Gas Personal Monitor รุ่นความสามารถสูง วัดและแสดงผลพร้อมกัน 5 ชนิด ขนาด กะทัดรัด ใช้งานง่าย รองรับเซนเซอร์ส�ำหรับตรวจวัดก๊าซได้ 9 ชนิด คือ ➢ ออกซิเจน (O2) ➢ คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ➢ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ➢ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (HCN) ➢ ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ➢ ฟอสฟีน (PH3) ➢ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ➢ เอทิลีนออกไซด์ (ETO ) ➢ ก๊าซที่ติดไฟได้

รุ่น P100 Single Gas Personal Monitor รุน่ เล็ก ใช้งา่ ย ราคาประหยัด วัดก๊าซเฉพาะอย่าง มีจอตัวเลข แสดงระดับก๊าซเป็น % หรือ ppm แจ้งเตือนทัง้ เสียง ไฟกระพริบ และ การสั่น มีรุ่นให้เลือกวัดก๊าซ ➢ ออกซิเจน (O2) ➢ คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ➢ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ➢ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (HCN) ➢ ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ➢ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อ: คุณเนตรนภางค์ พรหมคีรี โทร.089-895-4866, natenapang@measuretronix.com บริษัท เมเชอร์ โทรนิกซ์ จำ�กัด โทรศัพท์ 0-2514-1000; 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com, E-mail: info@measuretronix.com

Vol.22 No.209 May-June 2015

SENSIT® P400 และ P100 เป็นอุปกรณ์พกติดตัวเพื่อความปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานในพืน้ ทีเ่ สี่ยงภัยจากก๊าซ ติดไฟ ก๊าซพิษ หรือการระเบิด โดยแจ้งเตือนผู้ปฏิบัติงานทันทีเมื่อปริมาณก๊าซสูงถึงระดับอันตราย

73


Vol.22 No.209 May-June 2015

74

Pressure

Temperature & Huminity

etc.

pH Meter

Mass

Length

Hardness

Force

Electric ✗

TQM

etc.

Six Sigma

5S

etc.

TIS/OHSAS 18001

SA 8000

Training

Inside Front Cover, 1 5

Testing

Page

ISO/TS 16949

11

ISO 14001

Page

ISO 9001

Software

Sumipol Co., Ltd.

Services

Measuretronix Ltd.

Measurement

Products

Equipment

CCT Square Co., Ltd.

ISO 17025

Consultancy & Training

2, 3 5

Calibration

Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. Sumipol Co., Ltd.

Page

HACCP

Lab Calibrations

Dimension

Advertiser’s Index

หมายเหตุ* Advertiser’s Index ได้จัดทำ�ขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหาชื่อของบริษัทต่าง ๆ ที่ลงโฆษณาในนิตยสารฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด ๆ กับบริษัทที่ลงโฆษณา หากเกิดความผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำ�ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย


ศูนยรวมการออกแบบ

ผลิตส�อสรางสรรคครบวงจร *สิ่งพิมพ รับออกแบบและผลิต Company Profile, Newsletter, Catalogue, Brochure, Pocket Book, Annual Report, etc. *มัลติมีเดีย รับออกแบบและผลิต e-Catalogue, e-Newsletter, e-Company Profile, Company Presentation, Website, ผลิตรายการโทรทัศน, etc. *Seminar & Event รับจัดงานสัมมนากลุมใหญและยอย ดวยทีมงานมืออาชีพ *รองรับ 3 ภาษา ไทย อังกฤษ ญี่ปุน

เราพรอมสงมอบผลงานคุณภาพ ไดมาตรฐาน รวดเร็ว ในราคาเปนกันเอง ทุกส�อสรางสรรคไวใจเรา

0-2258-0320#1750 สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)


Available Now!

ครบเคร�องทุกเร�อง

ธุรกิจและอุตสาหกรรมที่คุณ

กับ

อยากรู

3 นิตยสารออนไลน

อานได ทุกที่ ทุกเวลา ผาน

3 ชองทาง

www.tpaemagazine.com www.tpa.or.th/publisher/journal.php TPA Bookshelf Application

ดาวนโหลดฟรี!!! ไดแลววันนี้ Search ทาง App Store และ Google Play


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.