QM210 July-August 2015 Vol.22 No.210

Page 1

www.tpaemagazine.com

For

Quality Management

July-August 2015 Vol.22 No.210

เช�อถือไดอันดับหนึ่ง

Magazine for Executive Management

เซนเซอรและทรานสมิตเตอรวัด Dew Point สำหรับระบบอากาศอัดในโรงงานอุตสาหกรรม

แมนยำสูง ใชงานงาย ทนทานทุกสภาวะ ไมตองบำรุงรักษา มั่นใจไดระยะยาว Vaisala DMT340

Vaisala DMT152

วัด Dew point ที่อุณหภูมิต่ำถึง -80° ํC ทนทานตอการควบแนน

Vaisala DMT143

ทรานสมิตเตอรวัด Dew point และอุณหภูมิ สำหรับอากาศที่แหงจัด

วัด Dew point ภายใตความดันสูง ถึง 50 บาร (725 psia)

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดตอ : คุณวิชัย 08-1934-2570, wichai@measuretronix.com

มาตรฐานอาเซียนของ 5 สินคาอุตสาหกรรม: อิเล็กทรอนิกส/ยานยนต/ยาง/เสื้อผา/ไม

Marketing New Trend update from Japan: Brand Japan 2015

บทบาทการแพทย ไทยสู สาธารณสุขของอาเซียน

www.measuretronix.com/ vaisala


Fluke 2638A Hydra Series III เคร�องบันทึกขอมูล (Data Acquisition) อเนกประสงค เปนดิจิตอลมัลติมิเตอร ในตัว สำหรับงานเก็บขอมูลทางไฟฟาและ อุณหภูมิจำนวนมากในอุตสาหกรรม  วัดและบันทึกคา แรงดัน DC/AC, กระแส DC/AC, ความตานทาน, ความถี่, RTD, เทอรโมคัปเปล และเทอรมิสเตอร  อินพุตดิฟเฟอเรนเชียลเลือกได 22, 44, 66 แชนเนล  เปน DMM ขนาด 6½ หลักในตัว อีก 1 แชนเนล  แสดงกราฟขอมูลไดพรอมกัน 4 ชอง บนจอแสดงผลสี  ความแมนยำ DC 0.0024%  เก็บขอมูลได 57,000 ชุดขอมูล  มีเวบเซิรฟเวอรในตัวสำหรับดูขอมูลจากระยะไกลได

   

  

 

  

I F I C AT I O

N

ME A

ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย

สอบเทียบ DMM ตั้งแต 8.5 หลักลงมา ไดครบ 5 ฟงคชั่น : แรงดัน/กระแส ac, แรงดัน/กระแส dc และความตานทาน คา 1 year, 95% Confidence spec : 3.5 ppm dc voltage, 42 ppm ac voltage, 35 ppm dc current, 103 ppm ac current, และ 6.5 ppm resistance กำเนิด ac/dc voltage ถึง 1100 V, ac/dc current ถึง 2.2 A และความตานทาน 18 คา ไดถึง 100 MOhm สอบเทียบ RF millivoltmeters ไดถึง 30 MHz (อุปกรณเสริม) จำลองตัวเองเปน Fluke 5700A หรือ 5720A ได ใช MET/CAL เวอรชั่นเกาได อินเตอรเฟส GPIB (IEEE-488), RS-232, Ethernet, USB 2.0 มีอินเตอรเฟสเฉพาะสำหรับตอกับ Fluke 52120A และ 5725A ได มีชองตอ USB ดานหนาสำหรับดาวนโหลดไฟลสอบเทียบ .cvs ดวย USB แฟลชไดรฟได

Fluke 6105A Electrical Power Standard เครื่องสอบเทียบดานไฟฟากำลัง จายกำลังไดทั้ง 1, 2, 3 หรือ 4 เฟส แยกจากกันและพรอมกัน ฟลุค 6100A สามารถจายแรงดันแบบ Pure sine ไดถงึ 1000V กระแส สูงสุด 80A ความแมนยำขนาด 100ppm (0.01%) และวัด phase shift (phase adjustment) ไดละเอียดถึง 1 millidegree หรือ 10 ไมโครเรเดียน นอกจากนี้ฟลุค 6100A ยังมีความสามารถพิเศษอื่น ๆ อีกดังนี้  Fluctuation Harmonics  Dips and Swells  Multi Phase Operation

Compatible

ดิจิตอลมัลติมิเตอรคุณภาพสูงสำหรับ Calibration Lab ดวยฟงกชัน และความแมนยำยอดเยี่ยม

ER

Compatible

เครื่องสอบเทียบเครื่องมือวัดทางไฟฟาหลากชนิด มีระบบปองกันอินพุตที่ตอบสนองรวดเร็ว ใชสอบเทียบเครื่องมือเหลานี้ อะนาล็อกมิเตอรและดิจิตอลมิเตอร ไดถึง 6½ หลัก แคลมปวัดกระแส และแคลมปมิเตอร เทอรโมคัปเปลและ RTD เทอรโมมิเตอร เครื่องสอบเทียบกระบวนการผลิต ดาตาล็อกเกอร, สตริป และชารตเรคอรดเดอร วัตตมิเตอร, พาเนลมิเตอร เครื่องวิเคราะหเพาเวอรและฮารมอนิก ออสซิลโลสโคปทั้งชนิดอะนาล็อกและดิจิตอล

PASSED

Fluke 5730A Multifunction Calibrator ความแมนยำสูงขึ้น จอสีระบบสัมผัส ควบคุมสั่งการงายขึ้น

Fluke 5522A Multi-Products Calibrator

V

D. LT

เคร�องมือสอบเทียบมาตรฐานของเคร�องมือวัด สำหรับจัดทำหองสอบเทียบเปนของตัวเอง

R RE T ONIX SU

Compatible

Fluke 5320A

Multifunction Electrical Tester Calibrator Compatible

Fluke 96270A 27 GHz Low Phase Noise Reference Source

Compatible

Compatible

DC Volts

 

DC Current

  

AC Volt

 

ยานวัดจาก 200mV ถึง 1000V AC Current  ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A ความละเอียด 5.5 หลัก แบนดวิดช 100 kHz  ความละเอียด จาก 5.5 หลัก ถึง 8.5 หลัก ความไวสูงสุด 1nV ถึง 6.5 หลัก ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A  ความไวสูงสุด 100pA ความละเอียด 5.5 ถึง 7.5 หลัก Ohms  ยานการวัดจาก 2Ω ถึง 20 GΩ ความไวสูงสุด 10pA  ความละเอียดจาก 5.5 ยานวัดจาก 200mV หลักถึง 8.5 หลัก  ความไวสูงสุด 10nΩ ถึง 1000V แบนดวิดช 1 MHz ความละเอียดจาก 5.5 หลัก อุณหภูมิ  วัดไดทั้งแบบ two-wires, ถึง 6.5 หลัก three-wires และ four-wires ความไวสูงสุด 100nV  อานคาเปน ํC, ํF, K หรือ Ω ได

Fluke 8845A/8846A ดิจิตอลมัลติมิเตอรความแมนยำสูง

เครื่องสอบเทียบมัลติฟงกชันสำหรับเครื่องมือทดสอบทางไฟฟา รวมฟงกชนั มากมายไวในเครือ่ งเดียว สามารถจาย หรือ เปลีย่ นแปลง คาความตานทาน หรือการกำหนดคาอื่น ๆ ที่ใชทั่วไป เพื่อการ สอบเทียบเครื่องมือวัดไฟฟา ซึ่งมีความยืดหยุนและแมนยำ เพียงพอ ตอการสอบเทียบเครื่องมือวัด ทดสอบตาง ๆ ไดอยางหลากหลาย ใชสอบเทียบ  Multifunction insulation tester  Portable appliance tester  Insulation resistance testers  Continuity testers and earth resistance testers  Ground bond testers and loop/line impedance testers  Hipot testers  เครื่องมือทดสอบทางไฟฟาอื่น ๆ

เครื่องกำเนิดความถี่อางอิงขนาด 27 GHz ที่ใชงานงาย มีความแมนยำสูง และราคาคุม คา ใชสอบเทียบไดทง้ั สเปกตรัม อะนาไลเซอร, RF เพาเวอรเซ็นเซอร และอื่นๆ ปรับระดับ สัญญาณและการลดทอนไดอยางแมนยำ, สัญญาณมีความ บริสุทธิ์สูงและแมนยำ ความผิดเพิ้ยนทางมอดูเลชั่นต่ำ

Fluke 6003A Three Phase Electrical Power Calibrator Compatible

มัลติมิเตอรความแมนยำสูงขนาด 6.5 หลัก ที่มีความสามารถหลากหลาย ตอบสนอง ทุกความตองการของการวัดคาทางไฟฟาไดมากที่สุด เปน เครื่องแบบตั้งโตะที่ใชงาน งาย ประกอบไปดวย ฟงกชันตาง ๆ มากมาย และยังสามารถ วัดอุณหภูมิ คาความจุ คาบเวลา และความถี่  วัด Vdc ที่ความแมนยำ 0.0025%  ยานการวัดกระแส 10 mA ถึง 10 A  ยานการวัดโอหม 10Ω ถึง 1 GΩ  เทคนิคการวัด 2 x 4 แบบ 4-wire  มีพอรต USB เชื่อมตอกับคอมพิวเตอร (รุน 8846A)  แสดงผลแบบกราฟก  โหมดการบันทึก Trendplot ใหขอมูลเปนสถิติและกราฟ  พิกัดความปลอดภัย CAT I 1000V, CAT II 600V

เครือ่ งสอบเทียบคุณภาพไฟฟา 3 เฟส ทีม่ สี มรรถนะและความแมนยำสูง ในราคาคุม คา ควบคุมแตละเฟสไดอยางอิสระ เหมาะสำหรับหองปฏิบัติการสอบเทียบ, โรงงานผลิตเครื่องมือวัดทางไฟฟา และหนวยงานที่ตองดูแลเครื่องมือวัด ทางดานพลังงาน, เครื่องวิเคราะหคุณภาพไฟฟา และเครื่องมือประเภทเดียวกัน

สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 08-1869-7770, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar สนใจโปรดติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่

บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จำกัด

2425/2 ถนนลาดพราว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 0-2514-1000, 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001, 0-2514-0003 อีเมล : info@measuretronix.com เวบไซต : http://www.measuretronix.com

http://www.measuretronix.com/electrical-calibrator


เคร�องทดสอบเคร�องมือทางการแพทย

Biomedical Test Equipment

RIGEL เปนผูผลิตเคร�องมือสอบเทียบทางการแพทย ที่ ไดมาตรฐาน IEC 60601 & IEC 62353 ที่มีประสบการณยาวนาน 44 ป ไดรับรางวัล The Queen’s Award ในป 2012 รับประกันในคุณภาพและความเช�อมั่น Rigel Uni-Pulse Defibrillator Analyzer เคร�องสอบเทียบเคร�องกระตุกหัวใจ เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราหเครื่องกระตุกหัวใจ ซึ่งสามารถสอบเทียบไดทั้ง Mono-phasic, Bi-phasic, Standard and Pulsating waveform และ Automated external defibrillator (AED) สามารถพิมพผล Pass/Fail Label ไดทันทีผานเครื่องพิมพที่เชื่อมตอผาน Bluetooth

Rigel UNI-SIM : Vital Signs Simulator เคร�องวิเคราะหการทำงานเคร�องวัด สัญญาณชีพ 6 พารามิเตอร 1. 2. 3. 4.

คาออกซิเจนในเลือด (SPO2) คาสัญญาณแรงดันไฟฟาหัวใจ (ECG) คาความดันโลหิตในหลอดเลือด (IBP) คาความดันโลหิต (NIBP)

5. คาอุณหภูมิรางกาย (Temperature) 6. คาอัตราการหายใจ (Respiration)

Rigel Uni-Therm : High Current Electrosurgical Analyzer เคร�องวิเคราะหการทำงาน เคร�องจี้ดวยไฟฟา

เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราะหเครื่องตัดจี้ ดวยไฟฟา สามารถวัดคาพลังงานที่เครื่องตัดจี้ ที่ปลอยออกมา ทั้งในรูปแบบของ CUT, COAG และ CQM ตามมาตรฐาน IEC 60601-2-2 บันทึกขอมูล ในตัวเครื่องได

Rigel 288 : Electrical Safety Analyzer เคร�องทดสอบวิเคราะหความปลอดภัยทางไฟฟา เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟาประสิทธิภาพสูง สามารถรองรับการทดสอบไดหลายมาตรฐาน โดยเฉพาะ มาตรฐาน EN/IEC 62353, NFPA-99 และ EN/IEC 60601-1 ทดสอบ Ground bond โดยใช dual current high intensity

Rigel Multi-Flo : Infusion Pump Analyzer เคร�องวิเคราะหการทำงาน เคร�องใหสารละลายทางหลอดเลือด

เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราะหเครื่องจายสารละลาย ทางหลอดเลือดทั้งที่เปนแบบ Infusion Pump และ Syringe Pumpเครื่องมือเหลานี้จะสามารถสอบเทียบ ไดทั้ง Flow/Volume Test และ Occlusion Test

IMT FlowAnalyzer Set V : Gas Flow Analyzer (PF300) เคร�องวิเคราะหการทำงานของเคร�องชวยหายใจ

เปนเครื่องทดสอบเครื่องชวยหายใจแบบตั้งโตะ สามารถวิเคราะหแกสไดทั้ง อัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณอ็อกซิเจน ที่มีความแมนยำสูง สามารถทดสอบเครื่องมือ ทางการแพทย ไดดังนี้ 1. Ventilators CPAP/Bilevel 2. Ventilators ICU 3. Ventilators Infant 4. Ventilators High Frequency 5. Blood Pressure Analyzer 6. Oxygen Concentrators 7. Vacuum Pumps 8. Spirometers 9. Pipe Gases

IMT FlowAnalyzer Set VA : Anesthesia and Gas Flow Analzer (PF300 with OR-703)

เคร�องวิเคราะหการทำงานของเคร�อง เคร�องรมยาสลบและเคร�องชวยหายใจ เปนเครื่องวิเคราะหเครื่องรมยาสลบ ที่สามารถวิเคราะหแกสรมยาสลบ เชน CO2, N2O, Halothane, Enflurane, Isoflurane, Sevoflurane และ Desfluraneไดและยังวิเคราะห เครื่องชวยหายใจไดทั้ง อัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณอ็อกซิเจน ที่มีความแมนยำสูง สามารถทดสอบเครื่องมือ ทางการแพทยไดดังนี้ 6. Blood Pressure Analyzer 1. Anesthesia Vaporizer 7. Oxygen Concentrators 2. Ventilators CPAP/Bilevel 8. Vacuum Pumps 3. Ventilators ICU 9. Spirometers 4. Ventilators Infant 10. Pipe Gases 5. Ventilators High Frequency

สนใจติดตอ: คุณเฉลิมพร 08-5489-3461, คุณมนัสนันท 08-7714-3630 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ rigel-biomedical


ศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. ไดผานการรับรองหองปฏิบัติการสอบเทียบมาตรฐาน มอก. 17025 ในสาขาไฟฟาทั่วไป และสาขาความดันจากระดับความดัน -1 บาร ถึง 5000 บาร และมุงมั่นที่จะขยายขอบขาย การรับรองในอุณหภูมิ และแรงบิดตอไปในอนาคต อีกทั้งยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาเพิ่ม ขอบขาย ความสามารถในการใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของทานผูใชบริการ ในการสอบเทียบสาขาอื่น ๆ ตอไป

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035

Electrical / Electronics Pressure / Vacuum Temperature Dimension / Torque Gas Detector

2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035


2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035



Artwork Sumipol for ForQuality(10-02-58).pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

3/24/2558 BE

10:07



สิงหาคม 2558

10.30 - 18.30 น. ไบเทค กรุงเทพฯ

ํา

ํา

าํ




MDA174U-witu15-TPA-8.5x11.5.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/5/15

2:09 pm


Ad BMAM-GBR 15 Size 8.5x11.5 inches.pdf 1 6/23/2015 2:41:59 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


Quality Management Vol.22 No.210 July-August 2015

31

Contents

Quality of Life 37 คลินิกเด็กดี

โดย โรงพยาบาลหัวเฉียว 38 เจาะลึกทางรักษาโรคภูมิแพ้อาหาร เฉียบพลันและภูมิแพ้อาหารแอบแฝง โดย ศูนย์สง่ เสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์

ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์

41

Special Issue

สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล เสริมสร้างความเข้มแข็งในการเป็นผู้น�ำ ด้านการจัดการสุขภาพของบุคลากร สาธารณสุขในระดับนานาชาติ 45 โรงพยาบาลหัวเฉียว หัวเฉียวก้าวไกล มั่นใจมาตรฐาน ประทับใจบริการ โรงพยาบาลเพื่อสังคม โดย กองบรรณาธิการ

34

Quality Management Cover Story

37

17

Vaisala เซนเซอร์และทรานสมิตเตอร์วัด Dew Point ส�ำหรับระบบอากาศอัดในโรงงานอุตสาหกรรม

โดย บริษทั เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

Quality System Quality Trend 27 มาตรฐานอาเซียนของ 5 สินค้าอุตสาหกรรม:

อิเล็กทรอนิกส์/ยานยนต์/ยาง/เสื้อผ้า/ไม้

โดย วงศกร ตระกูลหิรญ ั ผดุง

Quality Tools 31 แผนผังลูกศรและแผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ: เครื่องมือในการวางแผน

โดย วิบลู ย์ พงศ์พรทรัพย์

Quality for Food 34 หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า ตามแนวทางของ AIB

AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices ตอนที่ 5

โดย สุวมิ ล สุระเรือ่ งชัย

Quality Finance 50 จีนกับการพัฒนา “Shale Gas”

โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ 52 โอกาสทางการค้า การลงทุน ที่ดูไบ … ตอนที่ 1 โดย ดร.ภาวัต อุปถัมภ์เชือ้

Quality Marketing & Branding 54 Marketing New Trend update

from Japan: Brand Japan 2015 โดย ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์

54


ทำเรื่องยากใหเปน เรื่องงายดวย ไอเดีย

KAIZEN

ดาวนโหลดนิตยสาร Creative & Idea KAIZEN Online ไดแลววันนี้ที่

Bookcaze

Booksmile

Nstore

Naiinpann

Bookdose

Ookbee

Meb

สอบถามขอมูลเพิ่มเติม

โทร. 02-259-9160

ตอ 1740 (คุณจารุภา)

โครงการผลิตสื่อและมัลติมีเดีย สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 20150603


Quality Management Vol.22 No.210 July-August 2015

Contents 57

การตลาดส�ำหรับผู้ประกอบการ: การเลือกกลยุทธ์ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายส�ำหรับผู้ประกอบการ

โดย ผศ.ดร.นภวรรณ คณานุรกั ษ์

60

Rebranding เคล็ดไม่ลับปรับแบรนด์ให้เจ๋ง ตอนที่ 5 โดย มนิสรา โตวิทยา และผศ.ดร. พัลลภา ปีตสิ นั ต์

Quality People 63 วิกฤตการณ์จะท�ำให้มนุษย์กล้าแกร่งและยอมรับเพื่อความอยู่รอด ตอนที่ 28

60

โดย ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวศิ ษิ ฏ์

66

ปัจจัยที่ไล่น้องใหม่ออกจากองค์กร ตอนที่ 2 โดย ธ�ำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์

Quality Idol & Model 68 รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นและยอดเยี่ยม

แบบอย่างของผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม 71 Kaplan International โมเดลธุรกิจภาษา ธุรกิจเพื่อเชื่อมโยงสังคมโลก โดย กองบรรณาธิการ

75

Life Style Bangkok Seashell Museum

โดย หมูดนิ

66

63

Quality Movement 78 Quality Book Guide 79 Quality Movement 82 Advertiser Index

75


ศูนยรวมการออกแบบ

ผลิตส�อสรางสรรคครบวงจร *สิ่งพิมพ รับออกแบบและผลิต Company Profile, Newsletter, Catalogue, Brochure, Pocket Book, Annual Report, etc. *มัลติมีเดีย รับออกแบบและผลิต e-Catalogue, e-Newsletter, e-Company Profile, Company Presentation, Website, ผลิตรายการโทรทัศน, etc. *Seminar & Event รับจัดงานสัมมนากลุมใหญและยอย ดวยทีมงานมืออาชีพ *รองรับ 3 ภาษา ไทย อังกฤษ ญี่ปุน

เราพรอมสงมอบผลงานคุณภาพ ไดมาตรฐาน รวดเร็ว ในราคาเปนกันเอง ทุกส�อสรางสรรคไวใจเรา

0-2258-0320#1750 สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)


Editor’s Talk

การ

แพทย์และสาธารณสุขของไทยเป็นจุดแข็งที่หลายประเทศจับตามอง นั่น เพราะคุณภาพและมาตรฐานการให้บริการที่เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศใน กลุ่มอาเซียนแล้ว กล่าวได้เลยว่าได้รับการยอมรับว่าเทียบเท่าระดับโลก แต่สิ่งที่น่าเป็น ห่วงในวันนี้ นัน่ คือ บุคลากรทางการแพทย์และพยาบาล เริม่ ขาดแคลน ไม่ใช่เพราะแรงงาน เคลื่อนย้าย แต่เป็นเพราะงบประมาณที่ใช้ในการบริหารจัดการเริ่มส่อเค้าว่าน่าจะต้อง พิจารณา นักศึกษาที่จะมุ่งศึกษาต่อในสาขานี้เริ่มขาดโอกาส ส่งผลต่อการขาดบุคลากร ทางการแพทย์และพยาบาลโดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกล หลายภาคส่วนจึงต้องเร่งแก้ไข และทบทวนต่อไป ส�ำหรับบุคลากรทางการแพทย์ที่มีอยู่ในสังกัดโรงพยาบาลทั้งรัฐและเอกชนใน ปัจจุบัน ทุกวันนี้ต่างเริ่มเล็งเห็นความส�ำคัญของการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน จึงมี การพัฒนาทักษะทางการสือ่ สารมากขึน้ ซึง่ ในประเด็นนีก้ ข็ นึ้ อยูก่ บั ความมุง่ มัน่ ของแต่ละ บุคคลที่จะพัฒนาทักษะได้มาก-น้อยต่างกัน แต่ยุคนี้เป็นยุคแห่งการสื่อสาร หากเรา สามารถสื่อสารได้มากกว่าสองภาษา นั่นหมายถึงโอกาสที่ดี ส�ำหรับ ฉบับที่ 210 ประจ�ำเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2558 ได้หยิบยกเนื้อหา พิเศษเกี่ยวกับ บทบาทการแพทย์ไทยสู่สาธารณสุขของอาเซียน ผู้อ่านสามารถติดตามอ่าน บทสัมภาษณ์ผู้ที่อยู่ในแวดวงการแพทย์และสาธารณสุขไทยและมีผลงานวิจัยที่เอื้อประโยชน์ต่อประเทศมากมาย คือ ศาสตราจารย์ ดร.สุภา เพ่งพิศ ผู้อ�ำนวยการสถาบันพัฒนา สุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล รวมถึงผู้บริหารโรงพยาบาลหัวเฉียว คุณสุธี เกตุศิริ ซึ่ง ท่านเป็นนักบริหารมืออาชีพที่น�ำพาความก้าวหน้ามาสู่โรงพยาบาลจนกระทั่งได้รับความ ไว้วางใจจากลูกค้ามากมาย มาแสดงวิสัยทัศน์ในการบริหารเพื่อมุ่งสู่ความส�ำเร็จ นอกจากนี้ยังมีบทความในเล่มรอท่านอยู่มากมาย อาทิ Quality System เสนอ บทความเรื่อง มาตรฐานอาเซียนของ 5 สินค้าอุตสาหกรรม: อิเล็กทรอนิกส์/ยานยนต์/ยาง/เสื้อผ้า/ ไม้ บทความเรื่อง แผนผังลูกศรและแผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ: เครื่องมือในการวางแผน Quality Management เสนอบทความเรื่อง จีนกับการพัฒนา “Shale Gas” บทความเรื่อง Marketing New Trend update from Japan: Brand Japan 2015 บทความเรื่อง ปัจจัยที่ไล่น้องใหม่ออกจาก องค์กร ขอให้ทุกท่านสนุกกับการอ่านนิตยสารของเรา พบกันใหม่ฉบับหน้า

วัตถุประสงค

Published by

Advisors คุณมนตรี ชูนามชัย คุณญาณพัฒน อูทองทรัพย

Executive Editor สมใจ วัฒนบรรเจิด

Editorial Assistant พรามร ศรีปาลวิทย จารุภา มวงสวย

Graphics Art Director Production Design โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1731, 1732, 1708

PR & Advertising Supervisor: ฬ�ยากร ขุพินิจ โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th

Marketing Service

บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

Advertising

บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

Member

จารุภา มวงสวย โทร. 0-2259-9160 ตอ 1740

Pre-Press Printing

บริษัท ส.เอเซียเพรส (1989) จำกัด โทร. 0-2732-3101 โทรสาร 0-2375-2017

บทความและขอมูลในนิตยสารฉบับนี้เปนความคิดเห็นสวนตัว และลิขสิทธิ์ของผูเขียน จึงไมมีสวนผูกพันกับสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) แตอยางใด อีกทั้งขอมูลตาง ๆ อาจผิดพลาดเน�องจากกระบวนการพิมพ จึงมิควรใชอางอิงกอนที่จะตรวจสอบใหชัดเจน และในกรณีมีบทความใดที่ผูอานเห็นวาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิงหรือทำให เขาใจผิดวาเปนผลงานของผูเขียน กรุณาแจงใหทางสมาคมฯ ทราบ จักเปนพระคุณอยางยิ่ง


Q

Cover Story for

uality

เชือ่ ถือได้อนั ดับหนึง่

เซนเซอร์และทรานสมิตเตอร์วดั Dew Point ส�ำหรับระบบอากาศอัดในโรงงานอุตสาหกรรม แม่นย�ำสูง ใช้งานง่าย ทนทานทุกสภาวะ ไม่ตอ้ งบ�ำรุงรักษา มัน่ ใจได้ระยะยาว

Vaisala DMT152

วัด Dew Point ทีอ่ ณ ุ หภูมติ ำ�่ ถึง -80°C ทนทานต่อการควบแน่น

Vaisala DMT143

วัด Dew Point ภายใต้ ความดันสูงถึง 50 บาร์ (725 psia)

Vaisala DMT340

ทรานสมิตเตอร์วดั Dew Point และ อุณหภูมิ ส�ำหรับอากาศทีแ่ ห้งจัด สนใจติดต่อ: คุณวิชยั 08-1934-2570

บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด www.measuretronix.com

www.measuretronix.com /vaisala

มี ก ารใช้ ง านอากาศที่ ถู ก อั ด จนมี ค วามดั น สู ง เป็ น แหล่ ง พลั ง งานอย่ า ง กว้างขวางในกระบวนการอุตสาหกรรมทั่วไป เช่น การขับดันเครื่องจักรต่าง ๆ เช่น ไขควงลมและ Pneumatic Actuator การควบคุมวาล์วระบบนิวเมติก ลูกสูบ และ ตั ว ควบคุ ม อื่ น ๆ อี ก มากมาย รวมทั้ ง ใช้ เ ป็ น ตั ว กลางส� ำหรั บ ล� ำ เลี ย งวั ต ถุ ดิ บ สู ่ เครื่องจักร หรือแม้แต่การก�ำจัดก๊าซหรือฝุ่นผงต่าง ๆ

for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

17


Cover Story

Filter

Returnair air Return

After cooling

Blower

Plastic pellet feed Valve

Dewpoint Dewpoint measurement measurement

HOPPER

Blower

Desiccant bed, regenerating

Desiccant bed, active

Heater

Filter

Valve DRYER

Plastic pellets Plastic pellets for further further for processing processing

Filter

Hopper Hopper throat throat Heater

Dry Dry supply air supply air

Dewpoint Dewpoint measurement

measurement

ตัวอย่างระบบก�ำจัดความชื้นในเม็ดพลาสติกก่อนส่งไปยังขั้นตอนฉีดขึ้นรูป

ความชืน้ เป็นผลข้างเคียงทีไ่ ม่พงึ ประสงค์จากอากาศอัดความดัน สูงที่จ่ายไปในระบบและในกระบวนการที่น�ำไปใช้ ซึ่งอากาศอัดที่แห้ง และการตรวจวัดค่า Dew Point ทีแ่ ม่นย�ำเชือ่ ถือได้ จะช่วยให้กระบวนการ ในอุตสาหกรรมด�ำเนินไปได้อย่างราบรื่น ด้วยความมั่นใจ

ความชื้นสัมพัทธ์

หน่วยวัดที่นิยมใช้ในการวัดระดับความชื้นในอากาศ ได้แก่ ความชื้นสัมพัทธ์ (Relative Humidity: RH) ซึ่งหมายถึง อัตราส่วนของ ปริมาณไอน�้ำที่มีในอากาศ ณ ขณะนั้นเทียบกับปริมาณไอน�้ำที่อากาศ จะรองรับได้ หากระดับไอน�้ำ ณ ขณะนั้นมากเกินกว่าความสามารถของ อากาศจะรองรับได้ (> 100%) ไอน�้ำจะควบแน่น (condensation) และ กลายเป็นหยดน�้ำในที่สุด โดยปกติอากาศที่อุณหภูมิสูงกว่าจะสามารถมีแรงดันไอน�้ำและ ความสามารถในการรับปริมาณไอน�ำ้ ได้มากกว่าอากาศทีอ่ ณ ุ หภูมติ ำ�่ กว่า โดยเหตุนี้การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิจะมีผลโดยตรงต่อแรงดันไอน�้ำ และเมื่ออุณหภูมิลดลงจนท�ำให้ไอน�้ำเกิดการอิ่มตัว (saturation) และ เกิดการควบแน่นเป็นหยดน�้ำ เรียกว่า จุดน�้ำค้าง (dew point) Vol.22 No.210 July-August 2015

Dew Point

18

อุณหภูมิ Dew Point คือ หน่วยวัดปริมาณไอน�้ำที่มีอยู่ในอากาศ ซึ่งคุณสมบัติของน�้ำจะมีอยู่ 3 สถานะ คือ ของเหลว ของแข็ง และก๊าซ และไอน�้ำที่เราเห็นอยู่โดยทั่วไปก็คือน�้ำที่มีสถานะเป็นก๊าซ ความดันรวมของก๊าซใด ๆ หาได้จากผลรวมของความดันก๊าซ ต่าง ๆ ที่เป็นส่วนประกอบหลาย ๆ ส่วน ที่อธิบายตามกฎของ Dalton’s จะได้ P(total) = P1 + P2 + P3 … Pn

จ�ำนวนก๊าซต่าง ๆ ที่ผสมกันนั้น สามารถแสดงออกได้ในรูป ของความดัน ส่วนประกอบที่ส�ำคัญของอากาศ คือ ไนโตรเจน ออกซิเจน และไอน�้ำ ฉะนั้นผลรวมของความดันบรรยากาศ คือ ส่วนประกอบของ ความดันแต่ละส่วนของก๊าซทั้ง 3 ชนิด ในขณะที่ไนโตรเจนและออกซิเจน จะมีสัดส่วนที่ค่อนข้างคงที่และเป็นปริมาณส่วนมาก ส่วนที่เป็นไอน�้ำ จึงเป็นส่วนเล็ก ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงสูง และเราสนใจที่จะวัด

Vaisala มีเครื่องวัด Dew Point ในระบบอากาศอัดหลายรุ่น ทั้งแบบมือถือ และแบบทรานสมิตเตอร์

ความดันไอน�้ำสูงสุดนั้นจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิด้วย ตัวอย่างเช่น ที่ อุณหภูมิ 20 Cํ (68 Fํ ) ความดันไอน�ำ้ สูงสุดทีไ่ ด้ คือ 23.3 มิลลิบาร์ (mbar) ค่าของ 23.3 mbar คือ ค่าความดันไอน�้ำอิ่มตัว ที่ 20 ํC (68 ํF) (อุณหภูมิ ที่จุดอิ่มตัว) หากมีไอน�้ำเพิ่มขึ้นจะท�ำให้เกิดการควบแน่นเป็นหยดน�้ำ เราสามารถน�ำปรากฏการณ์ควบแน่นนีม้ าใช้วดั ปริมาณของไอน�ำ้ โดยการน�ำก๊าซที่ต้องการทราบค่าปริมาณไอน�้ำ มาไหลผ่านพื้นผิวที่ถูก


Cover Story ควบคุมอุณหภูมิที่ผิวหน้า พื้นผิวจะถูกเพิ่มความเย็นจนกระทั่งเริ่มเกิดฝ้า ของไอน�้ำขึ้น อุณหภูมิที่ท�ำให้เกิดฝ้าไอน�้ำขึ้นนี้เราเรียกว่า อุณหภูมิ Dew Point ดังนั้น เมื่อเราทราบค่าของอุณหภูมิที่เกิดแรงดันไอน�้ำอิ่มตัว เราก็ สามารถหาค่าของปริมาณไอน�้ำได้ เพราะว่ามีความสัมพันธ์กันระหว่าง อุณหภูมิก๊าซและความดันไอน�้ำอิ่มตัว การวัดอุณหภูมิ Dew Point ของก๊าซเป็นการวัดความดันส่วนของ ไอน�้ำ โดยวิธีการวัดโดยตรง การจะรู้อุณหภูมิ Dew Point ซึ่งเหมือนกับ ความดันไอน�้ำที่อิ่มตัวสามารถหาได้จากการค�ำนวณหรือดูจากตาราง ตารางดังกล่าวจะแสดงค่าของอุณหภูมิและค่าของความดันไอน�้ำอิ่มตัว อุณหภูมิ 20°C (68°F) 0°C (32°F) -10°C (14°F) -20°C (-4°F) -40°C (-40°F)

ดังนี้

ความสัมพันธ์ของความดันรวม ความดันของไอน�้ำ e แสดงได้ P1/P2 = e1/e2

ในทางกลับกันอุณหภูมิ Dew Point จะคล้ายกับความดันไอ อิ่มตัว ซึ่งมันง่ายมากในการค�ำนวณผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง ความดันรวมกับความดันไออิ่มตัว ค่าความดันไออิ่มตัวสามารถค�ำนวณ กลับไปยังอุณหภูมิ Dew Point ได้เหมือนกัน ในการค�ำนวณสามารถดูได้ จากคู่มือ การใช้ตารางหรือแสดงโดยโปรแกรมการค�ำนวณต่าง ๆ

ความดันไอน�้ำอิ่มตัว 23.3 mbar 6.1 mbar 2.8 mbar 1.3 mbar 0.2 mbar

ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิ Dew Point และความดัน Dew Point

ในกรณีที่ก๊าซที่ต้องการวัดปริมาณไอน�้ำมีความดันสูงกว่าความ ดันบรรยากาศ เราจะเปลีย่ นไปวัดค่าความดันทีท่ ำ� ให้เกิดการกลัน่ ตัวของ น�้ำแทน ค่านี้เรียกว่า “ความดัน Dew Point”

Vaisala DSS70A ชุดเก็บตัวอย่าง ที่ช่วยเพิ่มความสามารถของ Dew Point เซนเซอร์ ในการวัดค่าตามพื้นที่ในกระบวนการอุตสาหกรรม

ความส�ำคัญของอุณหภูมิ Dew Point ในระบบอากาศอัด

ความส�ำคัญของอุณหภูมิ Dew Point ในระบบอากาศอัดขึ้นอยู่ กับการน�ำอากาศไปใช้งานแต่ละอย่าง ในหลาย ๆ งานก็ไม่มคี วามจ�ำเป็น นัก (เช่น ระบบอากาศอัดแบบเคลื่อนที่ส�ำหรับเครื่องมือนิวแมติก เครื่อง เติมลมยางในปั๊มน�้ำมัน เป็นต้น) ค่า Dew Point จะมีความส�ำคัญมากใน กรณีที่ท่อน�ำอากาศด้านนอกอาจเย็นถึงอุณหภูมิที่จุดเยือกแข็ง เมื่อ อุณหภูมิ Dew Point สูงจะท�ำให้ภายในท่อมีน�้ำแข็งเกาะและเกิดการ อุดตันขึ้นภายในท่อ

เครื่องวัด Dew Point ที่มีจอแสดงผลกราฟิก มีประโยชน์อย่างมาก ในการมอนิเตอร์ Dew Point แบบต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน

เมื่อความดันของก๊าซเพิ่มขึ้น อุณหภูมิ Dew Point ของก๊าซนั้น จะเพิ่มขึ้นด้วย พิจารณาจากตัวอย่างของอากาศที่ความดันบรรยากาศ คือ 1013.3 mbar กับอุณหภูมิ Dew Point ที่ -10 ํC (14 ํF) จากตาราง หน้า 18 ความดันบางส่วนของไอน�้ำ (สัญลักษณ์ที่ใช้ “e”) คือ 2.8 mbar ถ้าอากาศที่ว่านี้คือแรงอากาศอัด และผลรวมของความดันเป็น 2 เท่า คือ 2026.6 mbar ดังนั้น จากกฎของ Daltan คือ ความดันบางส่วนของไอน�้ำ e จะเป็น 2 เท่าด้วย นั่นคือ 5.6 mbar อุณหภูมิ Dew Point ที่จะท�ำให้เกิด ความดันที่เท่ากับ 5.6mb อยู่ที่ประมาณ -1 ํC (30 ํF) ดังนั้น เมื่ออากาศเพิ่มความดันขึ้น อุณหภูมิ Dew Point ของ อากาศก็เพิ่มขึ้นด้วย ในทางกลับกันแรงอัดก๊าซจะแผ่ขยายถึงความดัน บรรยากาศ ท�ำให้ความดันบางส่วนลดลง ส่วนประกอบของก๊าซรวมถึง ไอน�้ำและอุณหภูมิ Dew Point ของก๊าซที่ลดลง

โรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ที่ใช้ระบบอากาศอัดในขบวนการ ผลิตกับอุปกรณ์ต่าง ๆ มากมาย อุปกรณ์บางตัวอาจท�ำงานบกพร่องหรือ ช�ำรุด หากเกิดการควบแน่นเป็นหยดน�้ำกับชิ้นส่วนภายใน ในขบวนการ ผลิตที่อ่อนไหวต่อการปนเปื้อนน�้ำ (เช่น การพ่นสี) ต้องการอากาศอัดที่มี ความแห้งตามข้อก�ำหนด ในงานด้านการแพทย์และเภสัชกรรมจะถือว่า ไอน�ำ้ และก๊าซต่าง ๆ ในอากาศอัดเป็นสิง่ ปนเปือ้ น จ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้อง ท�ำให้บริสุทธิ์

Vol.22 No.210 July-August 2015

ผลกระทบของความดันในสภาวะ Dew Point

19


Cover Story ช่วงของอุณหภูมิ Dew Point ในระบบอากาศอัด

ช่วงของอุณหภูมิ Dew Point ในระบบอากาศอัดจะมีค่าตั้งแต่ อุณหภูมิแวดล้อมจนถึงต�่ำขนาด -80 ํC (-112 ํF) บางกรณีอาจต�่ำกว่านั้น อีก ในระบบอากาศอัดที่ไม่มีระบบไล่ความชื้น จะเกิดการควบแน่นขึ้นที่ อุณหภูมิปกติ ระบบท�ำอากาศแห้งแบบใช้เครื่องท�ำความเย็น จะเป่าลมผ่าน ระบบท�ำความเย็นท�ำให้เกิดการควบแน่นของกระแสอากาศ ระบบนีจ้ ะให้ อากาศที่มีค่าอุณหภูมิ Dew Point ไม่ต�่ำไปกว่า -5 ํC (23 ํF) ส่วนเครื่องท�ำ อากาศแห้งแบบใช้สารดูดความชื้น มีความสามารถดูดไอน�้ำออกจาก อากาศได้ดกี ว่า โดยท�ำอุณหภูมิ Dew Point ได้ตำ�่ ถึง -40 Cํ (-40 Fํ ) ทีเดียว

รู้จักเทคโนโลยีเซนเซอร์ Vaisala DRYCAP®

DRYCAP® เป็นเซนเซอร์วัด Dew Point ที่ใช้เทคโนโลยีโพลีเมอร์ ฟิล์มบางที่ Vaisala ได้ท�ำการพัฒนาปรับปรุงให้มีเสเถียรภาพการวัดที่ อุณหภูมติ ำ�่ ดีขนึ้ ตัง้ แต่ปี 1997 มีการน�ำไปใช้กบั งานต่าง ๆ มากมาย ตัง้ แต่ ขบวนการอบแห้ง เครื่องอากาศอัด ไปจนถึงตู้อบแห้ง ด้วยคุณสมบัติเด่น ที่มีความเชื่อถือได้สูง ทั้งในสภาพแวดล้อมที่ร้อนจัดและเย็นจัด

ทนทานต่อการควบแน่นเป็นหยดน�้ำ

เซนเซอร์ Vaisala DRYCAP® สามารถทนทานต่อสภาพการ ควบแน่นเป็นหยดน�้ำ จึงใช้ได้กับงานที่มักมีปัญหาเกิดหยดน�้ำเกาะเป็น บางครั้ง เช่น การควบแน่นที่ท่อขณะเริ่มต้นท�ำงานหรือท�ำงานผิดพลาด นอกจากนัน้ DRYCAP® ยังทนทานต่อสารเคมีตา่ ง ๆ จึงสามารถใช้งานได้ ในทุกสภาพแวดล้อม

การเลือกเครือ่ งวัด Dew Point ทีเ่ หมาะสมในระบบอากาศอัด

การเลือกเซนเซอร์และทรานสมิตเตอร์ที่เหมาะสมกับการติดตั้ง ใช้งาน นับเป็นเรื่องส�ำคัญอย่างยิ่ง ต่อไปนี้คือค�ำถามส�ำคัญที่คุณควร ตอบได้ชัดเจนเสียก่อน ซึ่งจะท�ำให้คุณเรียนรู้เข้าใจสิ่งที่จ�ำเป็น ต้องใช้ เครื่องมืออะไรบ้าง และตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง 1. คุณต้องการใช้งานแพลตฟอร์มไหน ติดตั้งกับที่ หรือแบบ เคลื่อนที่

เครื่องวัด Dew Point แบบเคลื่อนที่ และแบบยึดติดกับที่ หน้าตาของตัวเซนเซอร์ Vaisala DRYCAP® Upper electrode Thin-film polymer Lower electrode Glass substrate Pt-100

โครงสร้างภายในของ Vaisala DRYCAP®

Vol.22 No.210 July-August 2015

เทคโนโลยีโพลีเมอร์ฟิล์มบางของ Vaisala DRYCAP® สามารถ ท�ำงานได้ดีในสภาพอากาศที่แห้งจัด และอุณหภูมิสูงได้ถึง 350°C

20

สอบเทียบตัวเองอัตโนมัติ

อันเป็นลิขสิทธิ์เฉพาะของ Vaisala ช่วยเพิ่มเสถียรภาพการวัด Dew Point ต�่ำ ๆ โดยระหว่างการสอบเทียบตัวเอง เซนเซอร์ DRYCAP® จะถูกให้ความร้อน แล้วท�ำการติดตามวัดค่าความชืน้ และอุณหภูมติ อ่ เนือ่ ง ขณะที่เซนเซอร์เย็นลงจนถึงอุณหภูมิห้อง แล้วน�ำมาวิเคราะห์เพื่อหาค่า ดริฟต์ ถ้ามีก็ท�ำการชดเชยโดยอัตโนมัติ ท�ำให้ได้ความแม่นย�ำที่ดีกว่า ±2°C แม้ที่อุณหภูมิต�่ำมาก

➲ แบบติดตัง้ กับที่ มักต้องการแหล่งจ่ายภายนอกในการท�ำงาน และระบบจะมีความซับซ้อนมากขึ้น เมื่อต้องต่อร่วมกับจอแสดงผล รีเลย์ แจ้งเตือน ตัวเก็บข้อมูลดาต้าล็อกเกอร์ เชื่อมต่อเครื่อข่ายแลน และอื่น ๆ ➲ แบบเคลือ ่ นที่ ท�ำงานด้วยแบตเตอรี่ มีหลากหลายขนาดและ ฟังก์ชั่นส�ำหรับใช้งานที่แตกต่างกัน ใช้สอบทานการท�ำงานของทราน สมิตเตอร์แบบติดตัง้ กับทีใ่ นงานภาคสนาม หรือการตรวจวัดตามจุดต่างๆ ในระบบอากาศอัด

2. ใช้เครือ่ งท�ำลมแห้งแบบไหน ในระบบอากาศอัดทัว่ ไป เครือ่ ง ท� ำ ลมแห้ ง (dryer) จะเป็ น ตั ว ก� ำ หนดช่ ว งท� ำ งานของเซนเซอร์ ห รื อ เครื่องวัด Dew Point ซึ่งตัวเซนเซอร์จะท�ำมาให้เหมาะสมกับช่วงใช้งาน เฉพาะ เช่น อากาศที่แห้งจัด ช่วงอุณภูมิแวดล้อม หรือสภาพความชื้นสูง ➲ แบบใช้สารดูดความชืน ้ มักท�ำงานในช่วง -60 ถึง -40°C ควร ใช้เครือ่ งวัด Dew Point ค่าต�ำ่ ทีใ่ ช้เซนเซอร์ DRYCAP® ช่วง -60 ถึง -10°C ➲ แบบใช้สารท�ำความเย็น มักท�ำงานที่อุณหภูมิสูง ช่วง Dew Point 2 ถึง 4°C สามารถใช้เครือ่ งวัด Dew Point ทีม่ ชี ว่ งวัด -10 ถึง +20°C 3. จุดที่วัดมีความดันและอุณหภูมิเท่าใด แม้ว่าอุณหภูมิของ อากาศอัดจะไม่มีผลกับค่า Dew Point แต่มีผลกระทบต่อสมรรถนะของ เซนเซอร์ที่วัด ถ้าอากาศอัดร้อนจัดอาจจ�ำเป็นต้องใช้จุดวัดที่มีการลด อุณหภูมิ หรือใช้วิธีสุ่มวัดแทน การวัด Dew Point ที่ดี ต้องมีการติดตามและจัดการความดัน เนือ่ งจากความดันมีผลต่อค่า Dew Point โดยตรง เราจ�ำเป็นต้องรูค้ า่ ความ ดันของการวัด Dew Point แต่ละครั้ง เพื่อเปรียบเทียบค่าและปรับฐานที่ ความดันค่าเดียว


Cover Story

4. วัดค่าโดยตรงในท่อ หรือใช้เซลล์ตวั อย่าง (sample cell) การ ติดตั้งตัววัดโดยทั่วไปมี 2 วิธี คือ เสียบปลายโพรบโดยตรงผ่านตัว T หรือ บอลวาล์วส�ำหรับการวัดอยู่กับที่ อีกวิธีใช้ท่อหรือเซลล์ตัวอย่างเพื่อแยก การวัดออกจากระบบ

การเสียบโพรบวัด Dew Point โดยตรงผ่านบอลวาล์ว

การวัดตรง ท�ำงานได้ง่าย ค่าติดตั้งไม่แพง ตอบสนองรวดเร็ว แต่ มีข้อเสีย คือ ความดันไม่คงที่ ท�ำให้ค่า Dew Point เปลี่ยนแปลงไปด้วย และไม่สามารถแยกหรือถอดโพรบออกจากระบบอากาศอัดได้ เมื่อต้อง ซ่อมบ�ำรุงหรือสอบเทียบ โพรบวัดตรงมีให้เลือก 2 แบบ คือ ความลึก ตายตัว กับแบบปรับความลึกได้

เซลล์ตัวอย่าง (sample cell) แบบต่าง ๆ

การวัดผ่านเซลล์ตวั อย่าง จะมีทอ่ สแตนเลสทีต่ อ่ แยกจากท่อหลัก ตรงจุดวัด ต่อเข้ากับเซลล์ตัวอย่างที่ติดตั้งโพรบ โดยมีสกรูหรือวาล์วปรับ

ควบคุมการไหลเพือ่ ให้เกิดความเปลีย่ นแปลงความดันน้อยทีส่ ดุ ข้อดีของ วิธีนี้คือเป็นการแยกการวัดออกจากระบบ ลดผลจากความดันไม่คงที่ใน ท่อหลัก

เครื่องวัด Dew Point (อุณหภูมิจุดน�้ำค้าง)

เครือ่ งวัด Dew Point ของ Vaisala เหมาะส�ำหรับการวัดความชืน้ ที่ต�่ำกว่า 10%RH ถ้าต้องการวัดความชื้นที่สูงกว่า 10%RH ให้ใช้เครื่อง วัดความชื้นปกติ จุดเด่นของเครื่องวัด Dew Point จาก Vaisala คือ ● มีรุ่นให้เลือกทั้งแบบทรานสมิตเตอร์ โมดูล และแบบมือถือ ● ใช้งานได้กว้าง ตั้งขบวนการอบแห้ง จนถึงระบบอากาศอัด และตู้อบแห้ง ● ความแม่นย�ำ ±2°C (±3.6°F) ® ● ใช้เซนเซอร์ DRYCAP เทคโนโลยีเฉพาะของ Vaisala ที่มี ฟังก์ชั่นสอบเทียบตัวเองอัตโนมัติ ● เสถียรภาพระยะยาวยอดเยีย ่ ม ไม่จำ� เป็นต้องสอบเทียบบ่อย ● ตอบสนองการวัดค่าได้รวดเร็ว ● ทนทานต่อการกลัน ่ ตัวเป็นหยดน�ำ้ และสามารถฟืน้ สภาพตัว เองได้ ● ทนทานต่อการเปรอะเปื้อนต่าง ๆ ไอน�้ำมัน และสารเคมี

Vaisala DMT242

เครื่องวัด Dew Point แบบทรานสมิตเตอร์ ส�ำหรับงาน OEM

เหมาะส�ำหรับติดตั้งในเครื่องมือ OEM อื่น ๆ เช่น เครื่องอบแห้ง และระบบท�ำอากาศแห้ง ออกแบบมาส�ำหรับสภาพการท�ำงานแบบสุดขัว้ ® ● ใช้เซนเซอร์ Vaisala DRYCAP พร้อมซอฟต์แวร์สอบเทียบ อัตโนมัติ

Vol.22 No.210 July-August 2015

ช่วงวัดอุณหภูมิ Dew Point ของเครื่องวัด Vaisala รุ่นต่าง ๆ

21


Cover Story ● ● ● ● ● ●

เหมาะส�ำหรับวัด Dew Point ค่าต�ำ่ ในงานอุตสาหกรรมอบแห้ง ● เสถียรภาพระยะยาวที่ Dew Point ต�่ำ ดีเยี่ยม ตอบสนอง

รวดเร็ว

● ● ● ● ●

ช่วงวัด Dew Point -60 ถึง +60°C (-76 ถึง +140°F) ความแม่นย�ำ ±2°C (±3.6°F) ทนทานต่อการควบแน่น ตัวเครื่องกันน�้ำและกันฝุ่นระดับ IP65(NEMA 4) สามารถติดตั้งโดยตรงกับระบบที่มีความดันสูงสุด 20 บาร์

Vaisala DMT152

เครื่องวัด Dew Point ที่อุณหภูมิต�่ำ แบบทรานสมิตเตอร์ ส�ำหรับงาน OEM

รุน่ ปรับปรุงล่าสุด ออกแบบมาส�ำหรับการวัดจุดกลัน่ ตัวทีต่ ำ�่ ได้ถงึ -80 ํC ส�ำหรับติดตั้งในเครื่องมือ OEM อื่น ๆ ● ขนาดเล็กกระทัดรัด มีความแม่นย�ำสูง ® ● ใช้เซนเซอร์โพลีเมอร์ ด้วยเทคโนโลยี Vaisala DRYCAP ● วัด Dew Point ได้ต�่ำถึง -80 ํC (-112°F) ● ช่วงห่างระยะเวลาสอบเทียบยาวนาน 5 ปี ประหยัดค่าบ�ำรุง รักษา ● ตอบสนองรวดเร็ว ทนทานต่อการควบแน่น ● สอบเทียบย้อนกลับได้ NIST ● มี Loop Power ส�ำหรับจ่ายตัวอ่านค่าภายนอกรุ่น Nokeval 301 ได้

Vaisala DMT143

ใช้เซนเซอร์ Vaisala DRYCAP® สอบเทียบตัวเองได้ ช่วงวัดอุณหภูมิ Dew Point -60 ถึง +60 ํC (-76 ถึง +140 ํF) ความแม่นย�ำ ±2 ํC (±3.6 ํF) ตอบสนองรวดเร็ว ทนทานต่อการควบแน่น สอบเทียบย้อนกลับได้ NIST ตั้งค่าและส่งข้อมูลผ่าน RS485 มี LED แจ้งเตือนเมื่อ Dew Point เกินช่วงวัด

Vaisala DM70

เครื่องวัด Dew Point แบบมือถือ

บันทึกข้อมูลได้ในตัว เชื่อมต่อผ่าน USB ส�ำหรับท�ำ Report ได้ สะดวกในการพกพา ● ความแม่นย�ำสูง ● บันทึกข้อมูลได้ในตัว ● มาพร้อม NIST Certificate ● มีซอฟต์แวร์และเคเบิ้ลต่อกับ USB ส�ำหรับท�ำ Report ให้ ●

เลือกซื้อ

Vaisala DMT340 Series

เครือ่ งวัด Dew Point และวัดอุณหภูมิ ส�ำหรับอากาศแห้งจัด

Vol.22 No.210 July-August 2015

เครื่องวัด Dew Point ที่ความดันสูง แบบทรานสมิตเตอร์ ส�ำหรับงาน OEM

22

ใช้เซนเซอร์ Vaisala DRYCAP® สามารถติดตั้งโดยตรงในระบบ ที่มีความดันสูงได้ถึง 50 บาร์ (725 psia) ● ขนาดกะทั ด รั ด ส� ำ หรั บ ติ ด ตั้ ง ในเครื่ อ งท� ำ อากาศแห้ ง ใน อุตสาหกรรม

ออกแบบมาส�ำหรับการวัดจุดกลัน่ ตัวทีต่ ำ�่ กว่า 10% (RH) เหมาะ ส�ำหรับมอนิเตอร์อากาศแห้ง และเครือ่ งเป่าพลาสติก มีความสามารถเสริม ท�ำดาต้าล็อกกิ้ง และอินเตอร์เฟสด้วย (W)LAN ● ส�ำหรับวัด Dew Point ค่าต�่ำกว่า 10% (RH) ● มีโพรบวัด 4 แบบ ส�ำหรับการติดตั้งที่แตกต่างกัน ® ● ใช้เทคโนโลยีเซนเซอร์ Vaisala DRYCAP ที่ให้ค่าแม่นย�ำ เชื่อถือได้สูง ตอบสนองรวดเร็ว คงทน มีเสถียรภาพในระยะยาว


Cover Story ความสามารถเสริม ต่อรีเลย์เตือนภายนอกได้ มี Data Logging เก็บค่าที่วัดได้ยาวนานกว่า 4 ปี ● เชื่อมต่อสื่อสารด้วย LAN และ WLAN (อุปกรณ์เสริม) ● ●

Nokeval 301/302

จอแสดงผล ด้วยกระแสหลูป 4-20 mA จากทรานสมิตเตอร์ในกระบวนการผลิต

จุดเด่นของเครื่องวัดความชื้น Vaisala คือ ● มีให้เลือกทัง ้ แบบทรานสมิตเตอร์ โมดูล มือถือ และรุน่ ส�ำหรับ สอบเทียบ รวมถึงในงานที่ต้องการวัดค่าที่มีปริมาณงานสูงในอุตสาหกรรม ● ความแม่นย�ำสูงถึง ±1%RH ● เชื่อถือได้สูง มีความแม่นย�ำในการวัด ยาวนานถึง 40 ปี ● ทนทานต่อฝุ่น และสารเคมี ● คืนสภาพตัวเองได้จากการกลั่นตัวเป็นหยดน�้ำ ● มีตว ั อุน่ เซนเซอร์เพือ่ วัดค่าได้ แม้สภาพแวดล้อมกลัน่ ตัวเป็น หยดน�ำ้

Vaisala HMT330 Series

เครื่องวัดความชื้นในอากาศ และวัดอุณหภูมิแบบทรานสมิตเตอร์ ส�ำหรับงานขั้นสูง

IP 65 ทนน�้ำ ทนฝุ่น ไม่ใช้แหล่งจ่ายไฟ ภายนอก

เครื่องวัดความชื้น

เครือ่ งวัดความชืน้ ของ Vaisala เหมาะกับการวัดความชืน้ ทีส่ งู กว่า 10%RH ถ้าต้องการวัดความชื้นที่น้อยกว่า 10%RH ให้ใช้เครื่องวัด Dew Point

HMT330 Series เป็นทรานสมิตเตอร์วัดความชื้นและอุณหภูมิ รุ่นสูงสุดส�ำหรับงานตรวจวัดตามจ�ำนวนผู้ใช้ มีจอแสดงผลตัวเลขและ กราฟิกขนาดใหญ่ ปรับตั้งค่าการท�ำงานทรานสมิตเตอร์ได้ครบถ้วน มี ความสามารถเสริมท�ำดาต้าล็อกกิ้ง และอินเตอร์เฟสด้วย (W)LAN คุณสมบัติเด่น ● รุ่นใหม่ จอแสดงกราฟได้ในตัว ● ส�ำหรับวัดต่อเนื่องในอุตสาหกรรม ● มีรุ่นพิเศษส�ำหรับความดันสูง ● มีรุ่นพิเศษส�ำหรับอุณหภูมิสูง ● ตัวถังโลหะทั้งตัว ทนทาน สมบุกสมบัน ● มาพร้อม NIST Certificate เครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ VAISALA HMT330 Series หนึ่งในความแม่นย�ำและทนทานที่สุด ส�ำหรับงานอุตสาหกรรม รุ่นแรกจาก Vaisala ที่กล้ารับประกันการใช้งานถึง 10 ปี ความคุ้มค่า ในระยะยาวส�ำหรับงานหนัก เช่น วัดความชื้นในกระบวนการผลิตยา เครื่องมือแพทย์ การนึ่งฆ่าเชื้อ ฯลฯ

Vol.22 No.210 July-August 2015

แสดงผล 4 หลัก ด้วยตัวเลข LED สีแดงชัดเจน ใช้อ่านค่าในงาน ภาคสนาม ใช้ไฟจากหลูป 4-20 mA ไม่ตอ้ งใช้แหล่งจ่ายภายนอก สะดวก ในการติดตั้งใช้งานได้ทุกที่ ตั้งค่าและช่วงวัดด้วยปุ่มกดที่หน้าปัดได้ โดยตรง ● ใช้อ่านสัญญาณหลูป 4-20 mA ● ไม่ต้องใช้แหล่งจ่ายภายนอก ● ใช้เพียงตัวต้านทานหลูป 240 โอห์มเท่านั้น ● แสดงผล 4 หลัก ปรับสเกลได้ที่หน้าปัด ● อยู่ในกล่อง ABS ที่แข็งแรง ทนทาน ● ทนน�้ำ ทนฝุ่น ระดับ IP65 ● รุ่น 302 มีเอาต์พุตสัญญาณเตือน ตั้งจุดท�ำงานได้

23


Cover Story

Vaisala HMT120

เครื่องวัดความชื้นอากาศและอุณหภูมิ แบบทรานสมิตเตอร์

เป็นเครื่องวัดความชื้นและอุณหภูมิแบบทรานสมิตเตอร์ ส�ำหรับ งานคลี น รู ม งาน HVAC และงานอุ ต สาหกรรมเบา ตรวจสอบหา ประสิทธิภาพ Cooling Tower (heat rate) ● วัดความชื้นสัมพัทธ์ Dew Point/Frost Point อุณหภูมิ Wet Bulb ความชื้นสัมบูรณ์ Mixing Ratio, Vapor Pressure และ Saturation Vapor Pressure ● ให้เอาต์พุตแบบหลูป 2 สาย หรือแรงดัน 3 สาย ● ถอดเปลี่ยนโพรบได้ ● มีรุ่นที่มีหน้าจอ LCD ● เชื่อมต่อ PC ผ่าน USB ● รุ่นติดผนัง ต่อโพรบระยะไกลได้ ● ใช้งานกลางแจ้งได้ด้วยอุปกรณ์เสริม

Vaisala HM40

เครื่องวัดความชื้นอากาศและอุณหภูมิ แบบมือถือ

HM40 เป็นเครือ่ งวัดความชืน้ และอุณหภูมขิ นาดกะทัดรัด สะดวก พกพา ส�ำหรับการวัดแบบเคลื่อนที่เฉพาะจุด ใช้งานได้กว้าง สามารถ แสดงผลเป็นกราฟแสดงค่าพร้อมกันได้ทั้งความชื้นและอุณหภูมิ

คุณสมบัติเด่น ● จอแสดงผลเป็ น กราฟแสดงค่ า พร้ อ มกั น ทั้ ง ความชื้ น และ อุณหภูมิ ● ช่วงวัดความชื้น 0 ถึง 100 %RH อุณหภูมิ -10°C ถึง +60°C ● แสดงค่าได้ทั้ง: RH, T, Td, Tw, a x, h ● ขนาดกะทัดรัด แข็งแรง ทนทาน ● มีปุ่มหยุดภาพบนหน้าจอได้ ● ถอดเปลี่ยนโพรบได้ ® ● ใช้เซนเซอร์คุณภาพสูง Vaisala HUMICAP Vaisala ยังมีเครื่องมือตรวจวัดส�ำหรับงานอุตสาหกรรมและ สิ่งแวดล้อมรุ่นอื่น ๆ อีกจ�ำนวนมาก

Vol.22 No.210 July-August 2015

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่: คุณวิชัย 08-1934-2570 wichai@measuretronix.com

24

บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

2425/2 ถนนลาดพร้าว ระหว่างซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทร. 0-2514-1000; 0-2514-1234 แฟกซ์ 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail: info@measuretronix.com


ผลิตสินคาใหมีมากกวาคุณภาพ

ไดอยางไร?

ับรอง

ผานการร ณ ุ ค  ให น ั ะก ร ป บ ั ร T CC

ในทุกคำถามที่เกี่ยวกับ “Quality” CCT มี ใหคุณทุก “คำตอบ”

Consultancy Services and Training 

ISO 9001

ISO 14001

ISO/TS 16949

ISO/IEC 17025

HACCP 

TQM

 

5S

Pre-assessment Audit

Consult

QS 9000

TIS 18001

QCC

In-house Training

ติดตอสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณมัลลิกา

CCT SQUARE CO., LTD.

1570 Phaholyothin Rd., Ladyaw, Jatujak, Bangkok 10900 Tel. 0-29397717-20 (6 Automatic Line) Fax: 0-25121475 1570 ถนนพหลโยธ�น แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-29397717-20 (6 คูสายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-25121475 http://www.cctsquare.com e-mail: service@cctsquare.com


Q

System for

uality

Trend Tools for Food of Life


Q

Trend for

uality

มาตรฐานอาเซียนของ

5อิเล็กสิทรอนิ นค้กส์าอุ/ยานยนต์ ตสาหกรรม: /ยาง/เสื้อผ้า/ไม้ วงศกร ตระกูลหิรัญผดุง wongskora@hotmail.com

เป้าหมาย AEC Blueprint

การเตรียมความพร้อมด้านมาตรฐานของไทย

ในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2558 ข้อตกลง การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เริ่มมี ผลบังคับใช้ โดยมีพิมพ์เขียวการด�ำเนินงานด้าน เศรษฐกิจ (AEC blueprint) ที่ก�ำหนดทิศทางไว้ 4 ประการ คือ 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม เพื่อเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงาน ฝีมือ และเงินทุนได้อย่างเสรีมากขึ้น 2. การสร้างเสริมขีดความสามารถในการแข่งขัน เพื่ออ�ำนวย ความสะดวกทั้ ง เรื่ อ งการปรั บ นโยบาย ลิ ข สิ ท ธิ์ พาณิชยอิเล็กทรอนิกส์ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ลดช่องว่าง และความเหลื่อมล�้ำ สนับสนุน SMEs และ 4. การ บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ซึ่งเน้นการปรับ ประสานนโยบายเศรษฐกิ จ เปิ ด เขตการค้ า เสรี (FTA) กับประเทศนอกภูมิภาค for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

27


Trend การด� ำ เนิ น การตาม AEC Blueprint ข้ า งต้ น จะช่ ว ยเพิ่ ม ศักยภาพการผลิตสินค้าและบริการ และสนับสนุนการแบ่งผลิต รวมถึง การใช้วตั ถุดบิ ในภูมภิ าค ซึง่ ในการเคลือ่ นย้ายสินค้าและวัตถุดบิ อย่าง สะดวก มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องลดอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (technical barriers to trade) ผ่านการยอมรับร่วมใน “มาตรฐาน” เพือ่ เพิ่มปริมาณและมูลค่าการค้าขายระหว่างกัน โดยเฉพาะใน 12 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายที่อาเซียนมี ศักยภาพสูงจะต้องด�ำเนินการก่อน (AEC priority integration sectors) ได้แก่ 1. อิเล็กทรอนิกส์ 2. ยานยนต์และชิ้นส่วน 3. ผลิตภัณฑ์ยาง 4. สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 5. ผลิตภัณฑ์ไม้ 6. ผลิตภัณฑ์ประมง 7. ผลิตภัณฑ์เกษตร 8. ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ 9. การท่องเที่ยว 10. การขนส่งทางอากาศ 11. โลจิสติกส์ และ12. เทคโนโลยีสารสนเทศ

สถานการณ์ความพร้อมของมาตรฐานอาเซียน

มาตรฐานและการรับรองของอาเซียนในสาขาหลัก ๆ มีคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน (ASEAN Consultative Committee for Standards and Quality: ACCSQ) รับผิดชอบ ซึง่ จะระบุสงิ่ ทีป่ ระเทศสมาชิก 10 ชาติ อันประกอบด้วย ไทย สิงคโปร์ ฟิลปิ ปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน เวียดนาม ลาว เมียนม่าร์ และกัมพูชา ต้องมีการด�ำเนินการ คือ 1. การปรับมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิค เป็นการ ปรับมาตรฐานและกฎระเบียบที่ใช้แตกต่างกันในแต่ละประเทศให้ สอดคล้องกับมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล หากไม่มี มาตรฐานสากลก็อาจก�ำหนดขึ้นใหม่ หรือน�ำมาตรฐานของประเทศ สมาชิกที่มีใช้อยู่ มาปรับให้สอดคล้องเป็นที่ยอมรับซึ่งกันและกันใน อาเซียน

2. การจัดท�ำความตกลงยอมรับร่วม (MRA) เป็นการก�ำหนด ขอบข่ายและเงื่อนไขในการยอมรับผลการตรวจสอบรับรองที่ด�ำเนิน การโดยหน่วยตรวจสอบรับรองของประเทศสมาชิกผูส้ ง่ ออก เพือ่ น�ำมา ใช้ประกอบการตรวจสอบรับรองสินค้า โดยไม่ต้องตรวจสอบรับรองซ�้ำ ในผู้น�ำเข้า 3. การจัดท�ำระบบด้านกฎระเบียบให้เป็นหนึ่งเดียว เป็น การจัดท�ำกฎระเบียบด้านการตรวจสอบรับรองของภูมิภาคส�ำหรับใช้ ในการดูแลสินค้าและบริการทีจ่ ะเข้าสูต่ ลาดอาเซียน หรือทีม่ าจากฐาน การผลิตในอาเซียนให้เป็นเอกภาพ เหมาะสมกับเงื่อนไขและสภาวะ เฉพาะของภูมิภาค มีความสอดคล้องกันและเป็นที่ยอมรับในระดับ สากล 4. ความร่วมมือกับประเทศคู่เจรจา เป็นการด�ำเนินความ ร่วมมือด้านมาตรฐานและตรวจสอบรับรองกับประเทศคู่เจรจา เช่น สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา สถาบัน PTB แห่งประเทศเยอรมนี เป็นต้น ทัง้ นีเ้ พือ่ สนับสนุนโครงการ/กิจกรรมทีอ่ าเซียนด�ำเนินการอยูใ่ นปัจจุบนั

ความก้าวหน้ามาตรฐานอาเซียน 5 สินค้าอุตสาหกรรมสำ�คัญ

Vol.22 No.210 July-August 2015

ดังนี้

28

ต้องปรับมาตรฐานและกฎระเบียบทางเทคนิคให้สอดคล้องกัน

1. ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสาขาแรกของ 12 สาขา ที่ ประกาศขยายความร่วมมือ เพราะไม่มีใครได้เปรียบเสียเปรียบชัดเจน เนื่องมาจากประเทศสมาชิกส่วนใหญ่ล้วนแต่เป็นฐานการผลิตให้แก่ บริษัทอิเล็กทรอนิกส์ระดับโลก หากเป็นแบรนด์ของตนเองก็ต้องผลิต ตามมาตรฐาน IEC ที่ควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์สาขาดังกล่าวอย่าง เข้มงวดจนเรียกว่า ไม่ได้มาตรฐานนี้ไม่มีใครเชื่อถือ ไม่มีใครกล้าซื้อ เพราะนอกจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการแข่งขันสูง มีราคาค่อนข้างแพง แล้ว ยังเกี่ยวข้องกับความปลอดภัย และเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิต ประจ�ำวันของทุกคนด้วย ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ทีจ่ ะปรับมาตรฐาน ให้ ส อดคล้ อ งกั น อ้ า งอิ ง ตามมาตรฐานของ IEC มี ทั้ ง หมด 121 มาตรฐาน เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น วิทยุ โทรทัศน์ ชิ้นส่วนโทรทัศน์


Trend

NO.

AUTOMOTIVE PRODUCT

3. ผลิตภัณฑ์ยาง ปัจจุบันยางพารากลายเป็นพืชเศรษฐกิจ ส�ำคัญในภูมภิ าค ทัง้ ในแง่การเพาะปลูก และการแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ ที่หลากหลาย ดังนั้น ประเทศสมาชิกจึงให้ความเห็นชอบที่จะปรับ มาตรฐานให้สอดคล้องกันโดยอ้างอิงมาตรฐานของ ISO ทั้งหมด 46 มาตรฐาน ซึ่งได้แก่ ท่อยางจ�ำนวน 6 มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ใน รถยนต์ที่ไม่ได้อ้างอิงมาตรฐาน UN Regulations จ�ำนวน 5 มาตรฐาน และมาตรฐานวิธีทดสอบ จ�ำนวน 35 มาตรฐาน 4. ผลิ ต ภั ณ ฑ์ วั ส ดุ ก ่ อ สร้ า ง สมาชิ ก อาเซี ย นล้ ว นแต่ เ ป็ น ประเทศก�ำลังพัฒนายกเว้นเพียงสิงคโปร์ ดังนั้น จึงมีการก่อสร้าง โครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โตแบบก้าวกระโดด เพื่อ ให้งา่ ยต่อการออกแบบและก่อสร้าง รวมทัง้ ลดอุปสรรคทีแ่ ต่ละประเทศ มีความแตกต่างของกฎหมายควบคุมการก่อสร้าง เบือ้ งต้นชาติสมาชิก อยู่ระหว่างการน�ำร่องจัดท�ำความตกลงยอมรับร่วมผลการตรวจสอบ

UNECE REGULATION

NO.

AUTOMOTIVE PRODUCT

UNECE REGULATION

1

Braking System

R13

11

Safety Glass

R43

2

Braking System (Passenger Car)

R13H

12

Rear View Mirror

R46

3

Seat Belt Anchorage

R14

13

Diesel Emission

R49

4

Seat Belt

R16

14

Noise Emission

R51

5

Seats

R17

15

Pneumatic Tyre – Commercial

R54

6

Head Restraints

R25

16

Driver Operated Control

R28

7

Pneumatic Tyre – Passenger

R30

17

Tyre (L Category)

R75

8

Speedometer (L Category)

R39

18

Steering Equipment

R79

9

Exhaust Emission (L Category)

R40

19

Exhaust Emission

R83

10

Noise (L Category)

R41

Vol.22 No.210 July-August 2015

และวิทยุ เครือ่ งขยายเสียงและชิน้ ส่วน ตัวเหนีย่ วน�ำ ตัวต้านทาน สวิตช์ ไฟฟ้า ฯลฯ นอกจากมาตรฐานแล้ว ยังมีความตกลง AHEEERR (Agreement on the ASEAN Harmonized Electrical and Electronic Equipment Regulatory Regime) ที่จะปรับกฎระเบียบให้ สอดคล้องกัน ซึง่ มีรายการมาตรฐานบังคับของไทยทีอ่ ยูใ่ นขอบข่ายของ AHEEERR จ�ำนวน 31 มาตรฐาน ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้ปรับ มาตรฐานให้สอดคล้องแล้วเสร็จ จ�ำนวน 22 มาตรฐาน เช่น สายไฟฟ้า ประเภทต่าง ๆ เตารีดไฟฟ้า มอเตอร์ คอมเพรสเซอร์ และอยู่ระหว่าง ด�ำเนินการปรับมาตรฐานอีก 9 มาตรฐาน ได้แก่ หลอดไฟฟ้า ฟิวส์กา้ มปู หลอดฟลูออเรสเซนต์ บัลลาสต์ส�ำหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ พัดลม ไฟฟ้า กระติกน�้ำร้อนไฟฟ้า เตาไฟฟ้า และเครื่องอบผ้า รวมทั้งการ ยอมรับในผลการรับรองผลิตภัณฑ์มาใช้ในการขออนุญาตเครือ่ งหมาย มอก. โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2558 2. ยานยนต์และชิ้นส่วน หลายประเทศในอาเซียนเป็นฐาน การผลิตยานยนต์อนั ดับต้น ๆ ของโลก โดยเฉพาะไทย อินโดนีเซีย และ มาเลเซีย ลักษณะของอุตสาหกรรมยานยนต์จะมีความเชื่อมโยงกันสูง ทั้งระหว่างค่ายรถยนต์และบริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ โดยรถยนต์ 1 คัน ประกอบด้วยชิ้นส่วนต่าง ๆ กว่า 20,000 - 30,000 ชิ้น บริษัท ขนาดใหญ่ไม่ได้ผลิตทุกชิน้ ส่วนด้วยตนเอง การแบ่งงานกันท�ำ และการ จ้างผลิตจึงเป็นรูปแบบปกติที่เกิดขึ้น คณะท�ำงานด้านผลิตภัณฑ์ยานยนต์ของอาเซียน (Automotive Product Working Group: APWG) ที่มาจาก 10 ประเทศสมาชิกได้ เห็นชอบให้ใช้ UN Regulations เป็นพื้นฐานในการอ้างอิงเพื่อปรับ มาตรฐานให้สร้างการยอมรับร่วมในผลการตรวจสอบและรับรอง และ เห็นชอบรายการผลิตภัณฑ์นำ� ร่อง จ�ำนวน 19 รายการ ดังตารางด้านล่าง

29


Trend และรับรองผลิตภัณฑ์ จ�ำนวน 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ปูนซิเมนต์ปอร์ต แลนด์ กระจกโฟลต และเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต 5. ผลิตภัณฑ์ไม้ เพราะอาเซียนล้วนมีต้นทุนทรัพยากรป่า ไม้สงู และมีการแปรรูปอุตสาหกรรมป่าไม้ทหี่ ลากหลาย โดยเฉพาะใน กลุ่มประเทศ CLMV กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม ผลิตภัณฑ์ไม้ที่ ประเทศสมาชิกให้ความเห็นชอบที่จะปรับมาตรฐานให้สอดคล้อง โดยอ้างอิงมาตรฐานของ ISO มีทงั้ หมด 34 มาตรฐาน ได้แก่ แผ่นไม้อดั ไม้แปรรูป พื้นไม้ ทั้งนี้ มาตรฐานดังกล่าวครอบคลุมเฉพาะไม้จากป่า ปลูกที่แปรรูป รวมทั้งไม้ยางพารา เพื่อลดการตัดไม้ท�ำลายป่า

ลักษณะเฉพาะของความตกลงแต่ละฉบับ

ความตกลง

การยอมรับ ผลทดสอบ

การยอมรับ ใบรับรอง

การปรับมาตรฐานให้ สอดคล้องกัน

การปรับระบบการ รับรองให้ สอดคล้องกัน

หมายเหตุ

ASEAN Sectoral MRA for Electrical and Electronic Equipment (EE MRA)

ใช้มาตรฐานของแต่ละ ประเทศ

-

-

ASEAN Harmonized EEE Regulatory Regime (AHEEERR)

 อ้างอิงมาตรฐาน IEC

 * ระบบการรับรอง เป็นไปตามความ เสี่ยง

จานวนมาตรฐาน อาเซียน = 121 ไทย = 31

ASEAN MRA for Type Approval for Automotive Products

 อ้างอิง UN Regulations

-

ระยะแรกภายในปี 2558 อาเซียนมี 19 มาตรฐาน ระยะที่ 2 เพิ่มอีก 32 มาตรฐาน

ASEAN Sectoral MRA for Building & Construction

?

-

อยู่ระหว่างการเจรจา

สาขาผลิตภัณฑ์ยาง

?

?

?

-

อยู่ระหว่างการศึกษา

สาขาผลิตภัณฑ์ไม้

?

?

?

-

อยู่ระหว่างการศึกษา

Vol.22 No.210 July-August 2015

สถานการณ์ด้านมาตรฐานหลังเปิด AEC

30

แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการกีดกันทางการค้า จะ เปลีย่ นจากมาตรการทางด้านภาษีเป็นมาตรการทีไ่ ม่ใช่ภาษี การบังคับ ใช้มาตรฐานอุตสาหกรรมของแต่ละประเทศกับสินค้าส่งออกและน�ำ เข้า มีการอ้างอิงมาตรฐานสากลที่เข้มข้นมากขึ้น โดยสินค้าน�ำเข้า ระหว่างเขตการค้าเสรี และการเปิดเสรีทางการค้าระหว่างกัน ส่งผลให้ สินค้าทะลักเข้ามามากขึ้น ผลิตภัณฑ์เดียวกัน ผู้บริโภคจะมีตัวเลือก มากขึ้น ทว่าผู้ผลิตก็ต้องแข่งขันมากกว่าเดิม กดดันให้เกิดการแข่งขัน กันในทุกตลาด ไม่ว่าจะเป็นระดับล่าง (คู่แข่งมากที่สุด) ระดับกลาง หรือระดับบน โดยเฉพาะภายในกลุ่ม AEC และ AEC+3 ญี่ปุ่น จีน อินเดีย ทั้ ง นี้ ม าตรฐานอุ ต สาหกรรมที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ของแต่ ล ะ ประเทศต้องมีความเป็นสากล เพือ่ สร้างโอกาสและความอยูร่ อดให้กบั อุตสาหกรรม โดยเฉพาะ SMEs ต้องยกระดับการผลิตและคุณภาพ สินค้าให้เป็นไปตามมาตรฐาน นอกจากนี้ทางด้านการตรวจรับรอง มาตรฐานต้องมีความเป็นสากลแข่งขัน และเอื้อต่อการลดต้นทุนต่อ ผู้ประกอบการส่งออกสินค้าและบริการ การเพิ่มประเภทสินค้าที่ได้รับการตรวจรับรองให้สามารถ รองรับสินค้าทีผ่ ลิตในประเทศได้อย่างมีมาตรฐานจะช่วยลดการพึง่ การ การตรวจสอบจากต่างประเทศ เพื่อให้มีความสะดวกรวดเร็ว และลด

ต้นทุนให้ผู้ประกอบการ นอกจากนี้การพัฒนาขีดความสามารถของ ธุรกิจตรวจรับรองมาตรฐานสินค้าภาคเอกชนมีความจ�ำเป็น และมี โอกาสทีจ่ ะขยายธุรกิจเป็นแหล่งรายได้ให้กบั ประเทศในอนาคต ขอบข่าย ของธุรกิจนี้ ประกอบด้วย ห้องปฏิบัติการทดสอบ (testing lab) ห้อง ปฏิบัติการทดสอบทางการแพทย์ (medical testing lab) ห้องปฏิบัติ การสอบเทียบ (calibration lab) หน่วยตรวจ (inspection body) หน่วย รับรองระบบการจัดการ (management system certification body) และหน่ ว ยรั บ รองผลิ ต ภั ณ ฑ์ (product certification body) ใน ประเทศไทยมีทั้งที่ภาครัฐด�ำเนินการเอง และที่เอกชนด�ำเนินการ รวม แล้วมีกว่า 100 ราย

7 ภารกิจทีท่ า้ ทายด้านมาตรฐานสินค้าอาเซียนทีส่ มาชิกต้องดำ�เนินการ

1. ในการก�ำหนดมาตรฐานต่อไปของประเทศสมาชิก ต้อง อ้างอิงมาตรฐานสากลที่ทันสมัย เช่น ISO, IEC, UN และมีความ สอดคล้องกับสถานการณ์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมและ ผู้บริโภค 2. ในการตรวจสอบและรับรอง ใช้มาตรฐานสากลเป็นเกณฑ์ ในการด�ำเนินงาน เช่น ISO/IEC 17025 และ ISO/IEC 17065 3. ใช้ประโยชน์จากการยอมรับร่วมของการรับรองระบบงาน ในระดับสากล เช่น ILAC, MRA และ IAF, MLA 4. การตรวจสอบรับรอง มีความสอดคล้องกับกระบวนการ ผลิต เพียงพอต่อการคุ้มครองผู้บริโภค และมีค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม 5. ด้านโครงสร้างพืน้ ฐานด้านมาตรฐาน หน่วยตรวจสอบและ รับรองมีความสามารถ และได้รบั การยอมรับในสาขา/ขอบข่ายทีจ่ ำ� เป็น และมีจ�ำนวนเพียงพอกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม 6. มี ก ารบู ร ณาการการใช้ ท รั พ ยากร วั ส ดุ อุ ป กรณ์ และ เครื่องมือทดสอบในระดับประเทศ และอาเซียน 7. ผู้ตรวจประเมินมีความรู้ ความสามารถ และมีจริยธรรม ท�ำได้เช่นนี้ การเคลื่อนย้ายสินค้าภายในอาเซียนจะสะดวก รวดเร็ว และเป็นปัจจัยหลักอันหนึง่ ในการท�ำให้อาเซียนกลายเป็นฐาน ผลิตอุตสาหกรรมของเครือข่ายการผลิตอุตสาหกรรมระดับโลกได้ ใคร จะไปรู้…ความมหัศจรรย์ของเศรษฐกิจเอเชีย จากความส�ำเร็จด้าน การพัฒนาอุตสาหกรรม เริ่มจาก ญี่ปุ่น แล้วส่งต่อไปยัง 4 เสือของ เอเชีย คือ ไต้หวัน เกาหลีใต้ ฮ่องกง และสิงคโปร์ และส่งมอบให้ จีน แล้ว “อาเซียน” จะรับไม้ต่อจากจีนได้หรือไม่ หากทุกอย่างเวิร์คตาม แผน คราวนี้ก็ไม่แน่เหมือนกัน เอกสารอ้างอิง ส� ำ นั กงานมาตรฐานผลิ ต ภั ณฑ์ อุ ต สาหกรรม, เอกสารประกอบการ บรรยาย สมอ. กับภารกิจที่ท้าทายบนเส้นทางสู่ AEC. 30 มีนาคม 2558


Q

Tools for

uality

แผนผังลูกศรและแผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ:

เครื่องมือในการวางแผน วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์

ต่อจากฉบับที่แล้ว

viboon@gmail.com

ใน

บทความฉบับก่อนหน้านี้ ผู้เขียนได้แนะน�ำให้รู้จักเครื่องมือในชุด 7 New QC Tools ไป 4 เครื่องมือ ได้แก่ แผนผังกลุ่มเชื่อมโยง (affinity diagrams) และแผนผังแสดงความสัมพันธ์ (interrelation diagrams) เป็นเครือ่ งมือกลุม่ แรกทีม่ ไี ว้สำ� หรับการท�ำความ เข้าใจกับลักษณะปัญหาที่มีความสับสน และแจกแจงปัญหาให้ชัดเจนเพื่อน�ำไปเป็นจุดเริ่มในการแก้ไขปัญหา ถัดมา คือ แผนผังต้นไม้ (tree diagrams) และแผนผังเมทริกซ์ (matrix diagrams) เป็นเครื่องมือในกลุ่มที่สองที่มีไว้ส�ำหรับการค้นหามาตรการ กลยุทธ์ หรือวิธีการ ในการแก้ไขปัญหา มาในบทความฉบับนี้ ผู้เขียนขอแนะน�ำเครื่องมือชุดสุดท้าย ได้แก่ แผนผังลูกศร (arrow diagrams) และ แผนภูมิขั้นตอนการ ตัดสินใจ (process decision program charts) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่น�ำมาตรการตอบโต้มาวางแผนเพื่อน�ำไปปฏิบัติ

for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

31


Tools แผนผังลูกศร (arrow diagram)

เมื่อพูดถึงเครื่องมือในการวางแผนงาน หลายคนคงคุ้นเคย กับแผนภูมิแกนท์ (gantt chart) ดังแสดงในรูปที่ 1

ในการสร้างแผนผังลูกศร เริ่มจากการก�ำหนดรายละเอียด ระยะเวลา รวมถึงล�ำดับขั้นของงาน ตามตัวอย่างในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 รายละเอียดของงานก่อสร้าง

▲ รูปที่

1 แผนภูมิแกนท์

แผนภูมแิ กนท์เป็นเครือ่ งมือทีใ่ ช้แสดงรายละเอียดของกิจกรรม และช่วงเวลาในการด�ำเนินกิจกรรม เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมาย ตามเวลาที่ก�ำหนด โดยอาจมีรายละเอียดอื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น ผู้รับผิด ชอบ สถานที่ ฯลฯ อย่างไรก็ตาม สิ่งที่แผนภูมิแกนท์มิได้แสดงให้เห็น คือ ความ สัมพันธ์ของแต่ละกิจกรรมว่ากิจกรรมใดมีผลกระทบต่อกิจกรรมใดบ้าง หรือในกรณีทเี่ กิดความล่าช้าของกิจกรรมบางกิจกรรมจะส่งผลกระทบ ต่องานอย่างไร แผนผังลูกศรเป็นเครื่องมือที่เข้ามาช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว เนื่องจากแผนภาพลูกศรเป็นเครื่องมือที่ใช้ก�ำหนดขั้นตอนการด�ำเนิน งาน โดยพิจารณาปัจจัยด้านเวลาและล� ำดับของขั้นตอน เพื่อให้ สามารถควบคุมกิจกรรมให้ดำ� เนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไป ตามแผนงานที่ก�ำหนดไว้ แผนภาพลูกศร ถูกพัฒนามาจากวิชา PERT (program evaluation and review technique) และ CPM (critical path method) โดยในการสร้างแผนภาพลูกศรอาศัยสัญลักษณ์ง่าย ๆ 3 สัญลักษณ์ ดังแสดงในรูปที่ 2

ชื่องาน

รายละเอียดงาน

เวลาที่ใช้ (วัน)

งานก่อนหน้า

A

วางฐานราก

2

-

B

ตั้งโครง

4

A

C

สร้างผนังนอก

2

B

D

ตกแต่งภายนอก

1

C

E

สร้างผนังใน

2

B

F

เดินท่อน�้ำ

2

B

G

เดินไฟฟ้า

1

B

H

ติดตั้งข้อต่อ

3

B

I

ทาสีผนังภายใน

2

E, F

J

เก็บงานภายใน

2

H

K

ตรวจสอบก่อน ส่งมอบ

1

D, G, I, J

หลังจากนั้นน�ำกิจกรรมแรกซึ่งในที่นี้ คือ A –วางรากฐาน ซึ่งใช้เวลา 2 วัน มาเขียนแทนด้วยลูกศร ยาว 2 หน่วย วางเชื่อมจุด เริ่มต้น (วงกลมหมายเลข 1) และจุดเชื่อมต่อ (วงกลมหมายเลข 2) ดังแสดงในรูปที่ 3 1

▲ รูปที่

ใช้แทน

Vol.22 No.210 July-August 2015

กิจกรรม

32

ความหมาย กิจกรรมที่ต้องทำ�ตามกำ�หนดเวลา

ดสิ้นสุดของกิจกรรมหนึ่ง จุดเชื่อมต่อ แสดงจุ จุดเริ่มต้นของกิจกรรมต่อไป ดัมมี่ ▲ รูปที่

แสดงความต่อเนื่องของกิจกรรม โดยไม่มีความต้องการเรื่องเวลา

2 สัญลักษณ์และความหมายของแผนภาพลูกศร

2

3 ขั้นตอนที่ 1 ของการสร้างแผนภาพลูกศร

ถัดไปให้น�ำกิจกรรม B-ตั้งโครงซึ่งใช้เวลา 4 วัน ท�ำต่อจาก กิจกรรม A มาเชื่อมต่อจากจุดวงกลม 2 โดยใช้ลูกศรยาว 4 หน่วย และปิดท้ายด้วยจุดเชื่อมต่อ (วงกลมหมายเลข 3) ดังแสดงในรูปที่ 4 1

สัญลักษณ์

A(2)

▲ รูปที่

A(2)

2

B(4)

3

4 ขั้นตอนที่ 2 ของการสร้างแผนภาพลูกศร

หลั งจากนั้ นน� ำ กิ จ กรรมในล� ำดั บ ถั ด ไปมาวางเชื่ อ มต่ อ ไป เรื่อยๆ จนครบ จะได้แผนภาพลูกศรดังแสดงในรูปที่ 5 โดยการเชื่อม ต่อกิจกรรมใดที่ไม่มีเวลามาเกี่ยวข้องให้ใช้เป็นเส้นปะแทน เช่น กิจกรรม K ต้องรอกิจกรรม D, G, I และ J แต่เนื่องจากกิจกรรม J ท�ำ เสร็จหลังสุด นั่นหมายความว่า กิจกรรม D, G และ I ท�ำเสร็จก่อนแล้ว ดังนั้น การเชื่อมต่อจึงใช้เป็นเส้นปะ


Tools

1

A(2)

2

B(4)

D(1)

H(3)

3

G(1)

▲ รูปที่

4

5 6

J(2)

11

K(1)

12

7

F(2)

8

E(2)

9

I(2)

10

5 แผนภูมิลูกศร

จากแผนภาพที่ได้จะเห็นว่า เส้นทางของกิจกรรม A-B-H-J-K เป็นเส้นทางวิกฤต กล่าวคือ กิจกรรมในเส้นทางเหล่านี้เป็นตัวก�ำหนด ระยะเวลาของงานทั้ ง หมด หากกิ จ กรรมในเส้ น ทางดั ง กล่ า วเกิ ด ความล่าช้า ก็จะส่งผลต่อเวลาในการท�ำงานทั้งหมดด้วย ในทางกลับกัน กิจกรรมในเส้นทางอืน่ ๆ สามารถทีจ่ ะล่าช้าไป ได้บ้างเล็กน้อย โดยไม่กระทบกับเวลาในการท�ำงานตามแผนที่วางไว้ เช่น กิจกรรม C-D ซึ่งแผนก�ำหนดให้ใช้เวลา 3 วัน สามารถล่าช้าได้ถึง 5 วัน อย่างไรก็ตาม ถ้าล่าช้ามากกว่า 5 วันก็จะกระทบต่อเวลาของงาน ทั้งหมด จะเห็นได้ว่าเมื่อเปรียบเทียบกับแผนภูมิแกนท์แล้ว แผนภาพ ลูกศรให้รายละเอียดในเรื่องของความสัมพันธ์ของกิจกรรมได้ดีกว่า ท�ำให้สามารถควบคุมหรือปรับเปลีย่ นแผนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เกิดเหตุการณ์ทที่ ำ� ให้ไม่สามารถด�ำเนินการตามแผนก็จะส่งผลให้งาน เกิดความล่าช้าหรืออาจไม่สามารถบรรลุตามเป้าหมายทีก่ ำ� หนดได้ ในการแก้ ไ ขปั ญ หาดั ง กล่ า วจึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งพิ จ ารณาถึ ง เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและเตรียมแผนการแก้ไขปัญหาไว้ ล่วงหน้าเพื่อให้การด�ำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ โดย เครื่องมือที่ใช้ส�ำหรับแก้ไขปัญหาดังกล่าว คือ แผนภูมิขั้นตอนการ ตัดสินใจ แผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ คือ แผนภาพที่แสดงถึงขั้นตอน หรือกิจกรรมในการด�ำเนินงาน โดยพิจารณาถึงอุปสรรคที่อาจจะเกิด ขึ้น ในแต่ละขั้นตอนของการด�ำเนินการ พร้อมทั้งก�ำหนดแนวทางการ แก้ไขปัญหาอุปสรรคนั้นล่วงหน้า โดยแผนภูมิดังกล่าวเกิดขึ้นใน ปี 1968 ระหว่างที่ศาสตราจารย์คอนโด แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียว เผชิญหน้ากับการก่อม็อบในมหาวิทยาลัย ส�ำหรับรูปแบบในการสร้างแผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจมี หลายรูปแบบ แต่รูปแบบที่ผู้อ่านน่าจะคุ้นเคย คือ รูปแบบของ Flow Chart ดังแสดงในรูปที่ 6 จุดเริ่มต้นของงาน กิจกรรม จุดตัดสินใจ เพื่อเลือกทางเลือก จากเหตุการณ์ที่จะ เกิดขึ้น

แผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ (process decision program chart)

การวางแผนโดยใช้แผนภูมแิ กนท์หรือแผนภาพลูกศร มีเงือ่ นไข ส�ำคัญอย่างหนึง่ คือ ต้องสามารถระบุกจิ กรรมหรืองานทีต่ อ้ งปฏิบตั ไิ ด้ อย่างครบถ้วน และปฏิบตั ไิ ปตามแผนเหล่านัน้ แต่ในการท�ำงานจริง หาก

จุดสิ้นสุดของงาน ▲ รูปที่

6 ตัวอย่างรูปแบบของแผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจ

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้รปู แบบของการน�ำเสนอจะมีความแตกต่าง กัน แต่สาระของแผนภูมิขั้นตอนการตัดสินใจจะเหมือนกัน คือ ต้องมี การพิจารณาถึงเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นและแนวทางในการแก้ไขเพื่อ ให้สามารถบรรลุเป้าหมายตามที่ก�ำหนดไว้ เอกสารอ้างอิง โยชิโนบุ นายาทานิ, 7 New QC Tools เครื่องมือสู่คุณภาพยุคใหม่ กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2545

Vol.22 No.210 July-August 2015

C(2)

33


Q

for Food for

uality

หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า

ตามแนวทางของ AIB

ตอนที่ 5 AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices แปลและเรียบเรียงโดย สุวิมล สุระเรืองชัย System Development Consultant Co., Ltd. sdcexpert@sdcexpert.com, suwimol.su@gmail.com

ต่อจากฉบับที่แล้ว 3 หลักการท�ำความสะอาด มีการ ท�ำความสะอาดและฆ่าเชือ้ อุปกรณ์ เครือ่ งใช้ และโครงสร้าง เพื่อให้เหมาะกับสุขภาพและ สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยในการกระจาย อาหาร 3.1 การท�ำความสะอาด การท�ำความ สะอาดเป็นมากกว่าการท�ำให้สงิ่ อ�ำนวยความ สะดวกต่าง ๆ ดูดี วิธีและแผนการท�ำความ สะอาดต้องมีความปลอดภัยด้านอาหารร่วม ด้วย

34

for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 3.1.1.1 การท�ำความสะอาดต้องถูก ท�ำในลักษณะทีส่ ามารถป้องกันการปนเปือ้ น ของวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์และอุปกรณ์ได้ 3.2 สารท�ำความสะอาดและฆ่าเชื้อ ที่สัมผัสกับอาหาร สารท�ำความสะอาดและ ฆ่าเชือ้ ต้องเป็นสารเคมีทอี่ ยูภ่ ายใต้โปรแกรม การควบคุมสารเคมี ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 3.2.1.1 สารท�ำความสะอาดและฆ่า-

เชือ้ ทัง้ หมด ทีใ่ ช้ในการท�ำความสะอาดพืน้ ผิว ที่สัมผัสกับอาหาร ต้องมีเอกสารการรับรอง ให้ใช้สัมผัสกับอาหารได้ 3.2.1.2 ต้องได้รับการทดสอบความ เข้มข้นในการฆ่าเชื้อ เพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการ ปฏิบัติที่สอดคล้องตามที่ฉลากระบุ 3.2.1.3 สารเคมี ใ นการท� ำ ความ สะอาดทั้งหมดต้องมีฉลากที่เหมาะสม 3.2.1.4 สารเคมี ใ นการท� ำ ความ สะอาดทั้ ง หมดต้ อ งถู ก จั ด เก็ บ ในพื้ น ที่


ปลอดภัยห่างจากพื้นที่ปฏิบัติงานและพื้นที่ จัดเก็บอาหารเมื่อไม่ใช้งาน 3.2.1.5 มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บ ปฏิบตั ดิ า้ นการทวนสอบ (verification procedures) และคงไว้ซึ่งบันทึกของการทดสอบ ความเข้มข้นของสารเคมี การทดสอบซ�ำ้ และ การปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข หากจ�ำเป็น 3.3 อุปกรณ์และเครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องมือในการท�ำความสะอาด อาจ ส่ ง ผลกระทบในเชิ ง ลบต่ อ ความปลอดภั ย ด้านอาหาร หากไม่ได้รบั การจัดการทีเ่ หมาะสม ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 3.3.1.1 อุปกรณ์และเครือ่ งมือในการ ท�ำความสะอาดต้องพร้อมใช้งาน 3.3.1.2 อุ ป กรณ์ ใ นการท� ำ ความ สะอาดต้องถูกรักษาและจัดเก็บในลักษณะที่ ไม่ทำ� ให้เกิดการปนเปือ้ นต่ออาหารหรือสัมผัส กับอาหาร 3.3.1.3 แยกและก�ำหนดเครื่องใช้ที่ ชั ด เจนที่ ใ ช้ ท� ำ ความสะอาดพื้ น ผิ ว สั ม ผั ส อาหาร (โซนผลิตภัณฑ์) และโครงสร้าง (พืน้ ที่ ผลิต) 3.3.1.4 เครือ่ งใช้ทใี่ ช้ในการท�ำความ สะอาดห้องน�้ำ หรือทางระบายน�้ำต้องไม่ใช้ เพือ่ วัตถุประสงค์ในการท�ำความสะอาดอย่าง อื่น 3.3.1.5 เครื่ อ งใช้ ใ นการท� ำ ความ สะอาดทั้งหมดต้องถูกท�ำความสะอาดและ

จัดเก็บอย่างเหมาะสมหลังใช้งาน การจัดเก็บ ทีเ่ หมาะสมรวมถึงการแยก เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าจะ ไม่มีการปนเปื้อนข้ามเกิดขึ้น 3.3.1.6 มีการใช้รหัสสี หรือลักษณะ อื่น ๆ ในการแบ่งแยกในพื้นที่เพื่อชี้บ่งและ แยกเครื่ อ งใช้ ใ นการท� ำ ความสะอาดตาม วัตถุประสงค์การใช้งาน 3.4 การท�ำความสะอาดประจ�ำวัน (housekeeping) การท�ำความสะอาดประจ�ำ วันเป็นการมุง่ เน้นในการรักษาความเรียบร้อย และสะอาดอย่างสม�่ำเสมอ 3.4.1.1 การท�ำความสะอาดประจ�ำ วันต้องถูกด�ำเนินการให้สมบูรณ์ในลักษณะที่ ป้องกันการปนเปื้อนได้

3.4.1.2 การท�ำความสะอาดประจ�ำ วันต้องมีการมอบหมายที่เหมาะสมในทุก แผนก 3.4.1.3 การท�ำความสะอาดประจ�ำ วันเพื่อให้มั่นใจว่าพื้นที่การท�ำงานหรือพื้นที่ สนับสนุนอืน่ ๆ มีความสะอาดระหว่างชัว่ โมง การท�ำงาน 3.4.1.4 เมื่ อ มี ก ารใช้ ง าน น�้ ำ ที่ ใ ช้ ส�ำหรับการท�ำความสะอาดประจ�ำวันหรือเป็น ระยะ ต้องถูกเข้มงวดและใช้ในลักษณะที่ไม่ ท�ำให้เกิดการปนเปื้อนต่ออาหารหรือวัสดุ อื่น ๆ ในการจัดเก็บ ด้วยหยดน�้ำ หมอก หรือ การสัมผัสโดยตรง 3.5 การท�ำความสะอาดเป็นระยะ (deep) การท�ำความสะอาดเป็นระยะ ต้อง รวมโครงสร้างและอุปกรณ์ตกแต่งภายในที่ อาจจะถู ก ท� ำ ความสะอาดในช่ ว งเวลาที่ ไม่มีการผลิตในพื้นที่เท่านั้น การท�ำความ สะอาดนี้ต้องใช้พนักงานที่ผ่านการฝึกอบรม และมั ก จะต้ อ งได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ จาก พนั ก งานซ่ อ มบ� ำ รุ ง หรื อ ผู ้ ที่ ส ามารถถอด ชิ้นส่วนอุปกรณ์อย่างเหมาะสมได้ ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 3.5.1.1 การท� ำ ความสะอาดเป็ น ระยะต้องสอดคล้องตามกฎหมายด้านความ ปลอดภัย ระเบียบบังคับ และระเบียบปฏิบัติ

Vol.22 No.210 July-August 2015

for Food

35


Vol.22 No.210 July-August 2015

for Food

36

ที่เกี่ยวกับการท�ำความสะอาดอุปกรณ์ 3.5.1.2 การท� ำ ความสะอาดเป็ น ระยะต้องอยู่ในแผนการท�ำความสะอาด บน บัญชีแม่บทแผนการท�ำความสะอาด หรือ เทียบเท่า 3.5.1.3 การท� ำ ความสะอาดเป็ น ระยะต้องได้รับการมอบหมาย 3.5.1.4 การ์ดอุปกรณ์ Trims แผง ควบคุม ต้องถูกถอดและทดแทนทีส่ อดคล้อง ตามข้ อ ก� ำ หนดกฏหมายนานาชาติ แ ละ ท้ อ งถิ่ น เพื่ อ ให้ ส ามารถตรวจสอบและท� ำ ความสะอาดภายในของอุปกรณ์ได้ทั้งหมด 3.5.1.5 อุปกรณ์และโครงสร้างที่อยู่ เหนือศีรษะ (รวมถึงหลอดไฟ ท่อ คาน และ vent grids) ต้องอยู่ในแผนการท�ำความ สะอาดเป็ น ระยะบนบั ญ ชี แ ม่ บ ทแผนการ ท�ำความสะอาด 3.5.1.6 พื้นปรับระดับ (dock leveler) ต้องถูกท�ำความสะอาดตามความถีท่ เี่ พียง พอในการป้องกันการสะสมของเศษวัสดุ การ รั่วไหลของผลิตภัณฑ์หรือวัสดุอื่น ๆ 3.5.1.7 ชัน้ วางและชัน้ ในการจัดเก็บ (racks and storage shelves) ต้ อ งถู ก ท�ำความสะอาดตามความถี่ที่เพียงพอเพื่อ ก�ำจัดการรัว่ ไหลและการสะสมของสิง่ สกปรก 3.5.1.8 พื้นที่โดยรอบต้องถูกเช็ดถู (mopping) และท�ำความสะอาดประจ�ำเดือน หรือความถี่ที่มากกว่าตามความจ�ำเป็น 3.5.1.9 พื้ น ที่ ที่ มี ก ารท� ำ ใหม่ (recoup and salvage) ต้องถูกท�ำความสะอาด บนความถีท่ จี่ ะสามารถควบคุมการหกรัว่ ไหล และความเสียหายของผลิตภัณฑ์อนั เนือ่ งจาก ปัญหาด้านสุขอนามัยที่อาจน�ำไปสู่การปน เปื้อนผลิตภัณฑ์หรือร่องรอยสัตว์พาหะได้ ข้อก�ำหนดรอง Ø 3.5.2.3 ในการท�ำซ�้ำ (recoup) ถุง และอุปกรณ์ที่ใช้จัดการผลิตภัณฑ์ต้องถูก ท�ำความสะอาดทีเ่ หมาะสมอย่างน้อยสัปดาห์ ละครั้งหรือความถี่ที่มากกว่าเพื่อป้องกันการ เจริญของเชื้อราและแมลง

3.5.2.4 รางระบายน�ำ้ ในพืน้ ทีท่ มี่ เี นือ้ สัตว์ ผลิตภัณฑ์นม และพื้นที่ผลิต ต้องถูก ท�ำความสะอาดและฆ่าเชื้อเป็นประจ�ำ 3.6 การซ่อมบ�ำรุงที่สะอาด (maintenance cleaning) การซ่อมบ�ำรุงที่สะอาด ต้องมั่นใจว่าพนักงานหน่วยงานซ่อมบ�ำรุง ผ่านการฝึกอบรมที่เหมาะสมในกิจกรรมการ ท�ำความสะอาด และกิจกรรมในการซ่อม บ�ำรุงและซ่อมแซมต้องไม่ท�ำให้เกิดแหล่ง ปนเปื้อนสู่ผลิตภัณฑ์ ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 3.6.1.1 การซ่อมบ�ำรุงทีส่ ะอาดมีการ ด�ำเนินการทีเ่ สร็จสิน้ ในลักษณะทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิด ความไม่ปลอดภัยต่อผลิตภัณฑ์ 3.6.1.2 แผงและกล่องควบคุมไฟฟ้า ที่ไม่ปิดสนิทต้องได้รับการท�ำความสะอาด และตรวจสอบตามความถี่ที่ก�ำหนดไว้ 3.6.1.3 เศษวัสดุของการซ่อมบ�ำรุงที่ เกิดขึ้นขณะซ่อมแซมต้องถูกก�ำจัดออกอย่าง รวดเร็ว 3.6.1.4 น็ อ ต เกลี ย ว เครื่ อ งล้ า ง เศษลวด เทป ลวดเชื่อมหรือวัสดุขนาดเล็ก อืน่ ๆ ทีอ่ าจเกิดการปนเปือ้ นสูผ่ ลิตภัณฑ์ตอ้ ง ถูกท�ำบัญชีไว้ 3.6.1.5 ไม่มรี อยเปือ้ นของจารบีหรือ น�้ำมันหล่อลื่นที่มากเกินไปบนอุปกรณ์ 3.6.1.6 มี เ ครื่ อ งมื อ และชุ ด คลุ ม ที่ สะอาดถูกใช้งานในโซนผลิตภัณฑ์ 3.6.1.7 พนั ก งานซ่ อ มบ� ำ รุ ง ต้ อ ง ปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติด้านสุขอนามัยที่ เหมาะสมเมื่อปฏิบัติงานในโซนผลิตภัณฑ์ หรืออุปกรณ์ 3.6.1.8 เครื่ อ งใช้ ใ นการท� ำ ความ สะอาดทีอ่ าจก่อให้เกิดเศษวัสดุ เช่น แปรงลวด ฟองน�้ำ และ แผ่นขัด (scrub pads) ต้องไม่มี การใช้งาน เว้นแต่มีความจ�ำเป็น หากใช้งาน ต้องได้รับการตรวจสอบพื้นที่หลังจากการใช้ งานเพื่อชี้บ่งและก�ำจัดเศษซากที่อาจเป็น แหล่งปนเปื้อนสู่ผลิตภัณฑ์ 3.7 พืน้ ผิวสัมผัสอาหารทีส่ ะอาด พืน้ ผิวสัมผัสอาหารที่สะอาดต้องก�ำจัดอาหารที่

ตกค้างและโอกาสในการเจริญเติบโตของ จุลินทรีย์ ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 3.7.1.1 พื้นผิวสัมผัสกับอาหารและ อุปกรณ์ที่จ�ำเป็นต้องฆ่าเชื้อ ต้องถูกท�ำความ สะอาดและฆ่าเชื้อเพื่อก�ำจัดจุลินทรีย์ที่ก่อ ให้เกิดโรค หรือขจัดสิ่งปนเปื้อน 3.7.1.2 อุปกรณ์และเครือ่ งใช้ตอ้ งถูก ท�ำความสะอาดและฆ่าเชือ้ ตามแผนทีร่ ะบุไว้ เพื่อป้องกันการปนเปื้อนจากจุลินทรีย์ 3.7.1.3 เครื่องใช้และภาชนะบรรจุ ต้องถูกล้างและท�ำให้แห้งระหว่างการใช้งาน หรือตามความเหมาะสมและถูกจัดเก็บใน ลักษณะพลิกคว�่ำห่างจากพื้น 3.7.1.4 อุ ป กรณ์ ที่ จั ด การกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละโซนผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ้ อ งถู ก ท� ำ ความ สะอาดที่บ่อยครั้งให้เพียงพอกับการป้องกัน การตกค้างจากการขนย้ายสู่ผลิตภัณฑ์ 3.7.1.5 Trays and Dollies ที่ถูก สุขอนามัยต้องได้รบั การท�ำความสะอาดและ รักษาไว้ในลักษณะที่ป้องกันการปลอมปนสู่ ผลิตภัณฑ์ได้ 3.7.1.6 พื้นผิวที่ไม่สัมผัสกับอาหาร ต้องถูกท�ำความสะอาดอย่างสม�่ำเสมอและ ตามความจ�ำเป็น

อ่านต่อฉบับหน้า


Q

of Life for

uality

การ

พาลู ก น้ อ ยไปพบกุ ม ารแพทย์ ตามก�ำหนดนัด หรือทีเ่ รียกกันว่า ไปคลิ นิ ก เด็ ก ดี นั้ น เพื่ อ ให้ แ พทย์ ไ ด้ ต รวจ สุขภาพลูกน้อยเป็นระยะ สร้างความมัน่ ใจว่า ลูกเจริญเติบโตสมวัย มีพฒ ั นาการด้านต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ได้รับอาหารที่มีประโยชน์ เหมาะกั บ ช่ ว งอายุ ข องลู ก ในปริ ม าณที่ พ อ เหมาะ ท�ำให้มนี ำ�้ หนักและส่วนสูงเพิม่ ตามที่ ควรจะเป็นและลูกน้อยจะได้รับการปกป้อง ด้วยการรับวัคซีนทีจ่ ำ� เป็นเพือ่ การปกป้องโรค ต่าง ๆ พร้อมกันไปด้วย

การนัดมาตรวจ

ครั้ ง แรกมั ก จะเป็ น ช่ ว งหนึ่ ง ถึ ง สอง อาทิตย์แรกหลังคลอด เพราะทารกในวัยนีอ้ าจ มีปญ ั หาตัวเหลือง ปัญหาในการดูดนมแม่ ซึง่ แพทย์จะได้ให้การรักษาและให้ค�ำแนะน�ำที่ เหมาะสม หลังจากช่วงนี้แล้ว แพทย์จะนัดตรวจ สุขภาพและฉีดวัคซีนเป็นระยะ ช่วงอายุ 1 เดือน 2 เดือน 3-4 เดือน 5-6 เดือน 7 เดือน 9 เดือน 1 ขวบ 1 ขวบครึง่ และ 2 ขวบ ซึง่ จะเห็น ได้วา่ ในช่วง 2 ปีแรกนีเ้ ป็นเวลาทีพ่ อ่ แม่จะต้อง พาลูกมาพบแพทย์บอ่ ยทีส่ ดุ เนือ่ งจากเป็นช่วง ทีล่ กู มีการเปลีย่ นแปลงและเติบโตเร็วมากกว่า ช่วงเวลาอืน่ หากมีความผิดปกติใด ๆ เกิดขึน้ ไม่ ว ่ า จะเป็ น เรื่ อ งของน�้ ำ หนั ก ส่ ว นสู ง พัฒนาการ และสุขภาพทัว่ ๆ ไป แพทย์จะได้ ให้คำ� แนะน�ำหรือให้การรักษาได้แต่เนิน่ ๆ หลัง จาก 2 ปีไปแล้ว ส่วนใหญ่แพทย์จะนัดตรวจ สุขภาพและให้วัคซีนอย่างน้อยปีละครั้งไป จนถึงอายุ 15 ปี

เมื่อคุณพ่อคุณแม่พาลูกมาตรวจสุขภาพ เด็กดี

การตรวจเริ่มแรก ก็คือ การชั่งน�้ำหนัก และวัดส่วนสูง (หรือความยาว) ของลูกน้อย และการวัดขนาดรอบศีรษะ แพทย์จะตรวจ สุขภาพ ติดตามพัฒนาการของลูกน้อย เช่น ลูก เริม่ ยกศีรษะขึน้ บ้างหรือยัง คว�ำ่ หรือเกาะยืนได้ แล้วหรือยัง เป็นต้น นอกจากนีแ้ ล้วแพทย์กจ็ ะ

คลินิกเด็กดี โรงพยาบาลหัวเฉียว

อยากทราบถึงกิจวัตรประจ�ำวันของลูกน้อย เป็นต้นว่า การดูดนมหรือการรับประทาน อาหาร การนอน การขับถ่าย และการเล่น คุณพ่อคุณแม่จะได้พูดคุยซักถามเกี่ยวกับ วิธีการเลี้ยงดู การให้นมแต่ละมื้อ ชนิดและ ปริมาณของอาหารทีเ่ ด็กควรได้รบั การเสริมสร้างพัฒนาการในวัยต่าง ๆ หรืออาจไต่ถาม แพทย์ ห ากมี ข ้ อ สงสั ย หรื อ กั ง วลเกี่ ย วกั บ สุขภาพของลูก เป็นต้นว่า ผื่นที่ใบหน้า การ แหวะนม มีฝา้ ขาวในปาก ฯลฯ หลังจากการพบแพทย์ ลูกน้อยจะได้รบั วัคซีน ตามก�ำหนด เด็กเล็ก ๆ แทบทุกคนจะ ร้องไห้หลังจากฉีดยา แต่หลังจากได้รบั การอุม้ กอด และปลอบโยนจากคุณพ่อคุณแม่แล้วก็

มักจะหยุดร้องและลืมในเวลาอันรวดเร็ว ก่อนกลับบ้าน คุณพ่อคุณแม่มักจะได้ รับบัตรนัดวันเวลาตรวจสุขภาพและรับวัคซีน ครัง้ ต่อไป หากคุณพ่อ คุณแม่ลมื หรือติดธุระ ไม่ได้พาลูกมาพบแพทย์ตามวันนัด คุณพ่อ คุณแม่ควรนัดหมายใหม่ เพื่อพาลูกมาพบ แพทย์ในทันที

for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

37


Q

of Life for

uality

เจาะลึกทางรักษาโรคภูมิแพ้ อาหารเฉียบพลันและภูมิแพ้อาหารแอบแฝง

ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล

จริง

นายแพทย์นาวิน จิตเทศ

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ชะลอวัย และเวชศาสตร์ฟื้นฟูภาวะเสื่อม ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ (Vitallife) โรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล

38

for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

อยูท่ กี่ ารเพลิดเพลินไปกับอาหาร เลิศรสนานาชนิดนั้น เป็นความ สุขอย่างหนึง่ ในชีวติ คนเรา แต่ทว่าบางคนกลับ มีอาการเจ็บป่วย หรือความไม่สบายตัว หลัง จากทีไ่ ด้รบั ประทานอาหารหรือเครือ่ งดืม่ บาง ชนิ ด เช่ น อาการปวดหั ว หลั ง รั บ ประทาน ช็ อ กโกแลต หรื อ อาการบวมหลั ง จากรั บ ประทานบะหมีเ่ กีย๊ วแสนอร่อย เป็นต้น นายแพทย์นาวิน จิตเทศ แพทย์ผู้เชี่ ย วชาญด้ า นเวชศาสตร์ ช ะลอวั ย และ เวชศาสตร์ฟื้นฟูภาวะเสื่อม ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ (Vitallife) โรงพยาบาล บ�ำรุงราษฎร์ เปิดเผยว่า อาการเจ็บปวดและ ไม่สบายเนือ้ ตัวเหล่านีเ้ ป็นอาการแพ้อาหาร ซึง่ อาการเหล่านี้สามารถรักษาได้ “อันดับแรก ต้องระบุให้ได้กอ่ นว่าคน ๆ นัน้ เป็นโรคภูมแิ พ้ อาหารแบบเฉียบพลันหรือแบบแอบแฝง”


of Life

โรคภูมิแพ้อาหารเฉียบพลัน และโรคภู มิ แ พ้ อ าหารแอบแฝงต่ า งกั น อย่างไร

อาการแพ้ในโรคภูมิแพ้อาหารเฉียบพลัน ซึง่ เป็นการตอบสนองของภูมคิ มุ้ กันของ ร่ า งกายต่ อ อาหารที่ รั บ ประทานเข้ า ไปจะ เกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว เฉียบพลัน และในบางครัง้ เป็นอันตรายมาก โดยอาการที่บ่งชี้ว่าแพ้ อาหาร ได้แก่ มีผนื่ ขึน้ ตามร่างกาย ใบหน้าบวม หายใจล�ำบาก เป็นลมพิษ คันตามร่างกาย และมีภาวะหายใจหอบเร็วและสั้น เป็นต้น นอกจากนีห้ ากเป็นกรณีทมี่ ปี ฏิกริ ยิ าแพ้อย่าง รุ น แรงอาจเกิ ด ภาวะช็ อ กและน� ำ ไปสู ่ ก าร เสียชีวติ ได้ ค�ำอธิบายทางการแพทย์งา่ ย ๆ ของโรค ภูมแิ พ้อาหารเฉียบพลัน คือ ผูป้ ว่ ยจะมีอาการ เกิ ด ขึ้ น โดยเฉี ย บพลั น ทั น ที หลั ง จากรั บ ประทานอาหารทีแ่ พ้เข้าไป โดยส่วนมากเกิด จากภูมติ า้ นทานอิมโมโนโกลบุลนิ ชนิดอี (IgE) ซึ่งจะถูกปล่อยออกมาเมื่อร่างกายพบกับสิ่ง แปลกปลอม เช่น โปรตีนบางชนิด ปลา หอย ถัว่ (เช่น ถัว่ ลิสง วอลนัท เฮเซลนัท บราซิลนัท) เป็นประเภทอาหารที่คนเราจะแพ้มากที่สุด และบ่อยครัง้ ทีเ่ ด็กเล็ก ๆ จะแพ้อาหารประเภท นมและไข่ดว้ ยเช่นกัน ในทางกลับกัน อาการแพ้ในโรคภูมแิ พ้

อาหารแอบแฝงจะเกิดขึน้ อย่างล่าช้าหลังจาก ทีก่ นิ หรือดืม่ เข้าไปแล้ว โดยอาการทีบ่ ง่ ชีว้ า่ มี การแพ้อาหาร ได้แก่ อาการบวม และปวดท้อง เป็นต้น การแพ้อาหารแบบแอบแฝงมีหลาย สาเหตุ เช่น การขาดเอนไซม์ซึ่งเป็นสิ่งที่ช่วย ย่อยอาหารอย่างสมบูรณ์ โรคอาหารเป็นพิษ โรคลําไส้ทํางานแปรปรวน ซึ่งเป็นโรคของ ลําไส้ทที่ าํ งานผิดปกติ ทาํ ให้เกิดการปวดท้อง ท้องเสียและท้องผูก หรืออาจท้องเสียและ ท้ อ งผู ก สลั บ กั น นอกจากนี้ วั ต ถุ เ จื อ ปนใน อาหารและความเครียดก็มผี ลด้วยเช่นกัน ผู้คนส่วนใหญ่ทั้งในประเทศไทยและ ทัว่ โลกทีเ่ ป็นโรคภูมแิ พ้อาหารแอบแฝง มักจะ แพ้อาหารที่มีกูลเทนซึ่งเป็นโปรตีนจากข้าว เช่น แป้ง ข้าวไรย์ ข้าวสาลี และอาหารที่มี แลกโตส ซึ่งเป็นอาหารจ�ำพวกนมและผลิตภัณฑ์จากนม

การตรวจและรักษา

นายแพทย์นาวิน กล่าวว่า เทคโนโลยี และการค้นคว้าที่ก้าวหน้าในปัจจุบันท�ำให้ แพทย์สามารถตรวจพบอาการแพ้แอบแฝงใน อาหารและเครือ่ งดืม่ มากกว่า 200 ชนิด โดย สามารถท�ำได้ผ่านทั้งการตรวจเลือดและการ ตรวจสอบภูมแิ พ้ทางผิวหนัง “ในอดี ต ผู ้ ค นที่ เ จ็ บ ป่ ว ยอาจไม่ รู ้ ตั ว ว่าการเจ็บป่วยมีสาเหตุมาจากการแพ้อาหาร แบบแอบแฝง แต่ทุกวันนี้เราสามารถตรวจ สอบและพัฒนาโปรแกรมรักษาให้เหมาะกับ แต่ละบุคคลได้แล้ว” นอกจากนี้ นายแพทย์นาวิน ยังกล่าว ถึงวิธีรักษาของไวทัลไลฟ์ว่า “โดยปกติแล้วก็ จะมีการให้ผู้รับการรักษางดอาหารบางชนิด เป็นระยะเวลาหนึ่งเพื่อระบุว่าแพ้อาหารชนิด ใด หลังจากนัน้ ก็จะสร้างสมดุลของแบคทีเรีย ในล�ำไส้ให้รา่ งกายกลับมาท�ำงานได้อย่างเป็น ปกติ” “แพทย์อาจแนะน�ำให้ปรับพฤติกรรม การรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหาร ที่มีกากใยให้มากขึ้น รับประทานผลิตภัณฑ์ อาหารเสริมที่มีแบคทีเรียที่ยังมีชีวิตอยู่ เช่น โยเกิร์ต หรือรับประทานสมุนไพร เป็นต้น

ภายในเวลาไม่นานคนไข้กจ็ ะสามารถกลับมา รับประทานอาหารได้อย่างเป็นปกติ อย่างไรก็ตาม การรับประทานอาหารที่เคยแพ้ อาจ ต้องรับประทานในปริมาณน้อย ๆ ก่อน ใน ช่วงแรก” ในกรณี ที่ ค นไข้ รู ้ ว ่ า ตนมี อ าการแพ้ อย่ า งรุ น แรง มั ก จะจบลงที่ ก ารหลี ก เลี่ ย ง ไม่รับประทานอาหารชนิดนั้น ๆ อย่างถาวร นอกจากนี้คนที่รู้ตัวว่าแพ้อาหารทั้งในแบบ เฉียบพลันและแอบแฝงต้องระวังเรื่องอาหาร การกินเป็นอย่างดีและอ่านฉลากผลิตภัณฑ์ อย่างละเอียดทุกครัง้ ว่ามีสว่ นผสมของสิง่ ทีต่ น แพ้หรือไม่ ก่อนจะซื้อสินค้าจากซุปเปอร์มาร์เก็ตและร้านค้าต่าง ๆ รวมถึงใครทีย่ งั ไม่รู้ ตัวว่าเป็นโรคภูมแิ พ้อาหารหรือไม่ หากแต่วา่ มี อ าการเจ็ บ ป่ ว ยหรื อ ความผิ ด ปกติ ท าง ร่างกายเกิดขึน้ หลังจากรับประทานอาหาร ควร ให้ ล องท� ำ การทดสอบเพื่ อ ตรวจหาภู มิ แ พ้ อาหารทั้งแบบเฉียบพลันและแอบแฝงเพื่อ รักษาให้หายขาด นายแพทย์นาวิน กล่าว แนะน�ำ “ผมพบคนไข้ที่มีอาการร่างกายบวม ปวดท้อง และมีไมเกรนมานานหลายปี โดยที่ ไม่รู้ว่าสาเหตุมาจากอะไร หลังจากที่ท�ำการ ตรวจหาภูมแิ พ้อาหาร เราก็สามารถวินจิ ฉัยได้ ว่าสาเหตุคืออะไรและหาทางรักษาได้อย่าง ตรงจุด ซึ่งจะสามารถก�ำจัดอาการเจ็บป่วย นัน้ ๆ ของคนไข้ได้ และสร้างความเปลีย่ นแปลง ที่ดีขึ้นแก่สุขภาพของคนไข้ได้อย่างถาวร” นายแพทย์นาวิน กล่าวปิดท้าย

Vol.22 No.210 July-August 2015

นายแพทย์ น าวิ น กล่ า ว และยั ง อธิ บ าย เพิ่มเติมอีกว่า “คนส่วนใหญ่มักไม่รู้ว่ามีโรค ภูมแิ พ้อาหารทัง้ แบบเฉียบพลับและแอบแฝง หรื อ ไม่ ก็ คิ ด ว่ า มั น ก็ คื อ โรคภู มิ แ พ้ อ าหาร เหมือนๆ กัน แต่ในความจริงแล้ววิธรี บั มือโรค ภูมแิ พ้อาหารทัง้ 2 ประเภทนี้ ต่างกันมาก” “คนที่เป็นโรคภูมิแพ้อาหารบางชนิด อย่ า งเฉี ย บพลั น จะต้ อ งหยุ ด รั บ ประทาน อาหารชนิดนัน้ เพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดอาการแพ้ แต่สำ� หรับคนทีเ่ ป็นโรคภูมแิ พ้อาหารแอบแฝง ส่วนใหญ่แล้วสามารถรักษาด้วยยาเพื่อเรียก สมดุลของร่างกายกลับคืนมา ซึ่งจะท�ำให้คน คนนั้นสามารถต้านทานอาหารที่ตนแพ้ได้ และภายในระยะเวลาไม่นานก็จะสามารถ รับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มชนิดนั้นได้ ในทีส่ ดุ โดยไม่มอี าการแพ้ใดใด”

39


Q

Special Issue for

uality

Special Issue

Special Issue


Q

Special Issue for

uality

สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล

เสริมสร้างความเข้มแข็งในการเป็นผู้นำ� ด้านการจัดการสุขภาพของบุคลากรสาธารณสุข

ในระดับนานาชาติ กองบรรณาธิการ

สถา

บันพัฒนาสุขภาพอาเซียน (ASEAN Institute for Health Development: AIHD) เดิมมีชื่อว่าศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานอาเซียน (ASEAN Training Center for Primary Health Care Development หรือ ATC/PHC) ก่อตั้งมาจากการ ที่รัฐบาลญี่ปุ่นมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศอาเซียนในด้านการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล (ASEAN Human Resource Development Project) จึงได้มีการลงนาม ใน สัญญาให้ความร่วมมือทางด้านวิชาการ (Technical Cooperation) เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2525 และความช่วยเหลือทางด้านการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2525 กับองค์การความ ร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น (Japan International Cooperation Agency: JICA) ต่อมาได้ปรับเปลี่ยนสถานะจาก “ศูนย์” มาเป็น “สถาบัน” เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2529 สภามหาวิทยาลัยมหิดล ได้มีมติให้ปรับสถานภาพของศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการ สาธารณสุขอาเซียน เป็นสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน รับผิดชอบภารกิจ เทียบเท่ากับคณะหนึ่งของมหาวิทยาลัย และปรับสถานภาพจาก “ศูนย์” มาเป็น “สถาบัน” เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2531 และเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2552 สถาบัน พัฒนาการสาธารณสุขอาเซียนได้ปรับเปลีย่ นชือ่ เป็น สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน ตามประกาศของสภามหาวิทยาลัยมหิดล

ศาสตราจารย์ ดร.สุภา เพ่งพิศ

ผู้อำ�นวยการสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

41


Special Issue

ด้วยวิสยั ทัศน์ของสถาบัน คือ ศูนย์กลาง ความเป็นเลิศ ในการศึกษาฝึกอบรม วิจัยและ นวัตกรรมด้านสาธารณสุขมูลฐาน ในปี 2563 และจากการบริหารจัดการของท่านผู้บริหาร ศาสตราจารย์ ดร.สุภา เพ่งพิศ ผู้อ�ำนวยการ สถาบันฯ ท่านได้วางกลยุทธ์เพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย สูงสุดของสถาบันฯ คือ ผลิตบัณฑิตเพือ่ เป็นผูน้ ำ� ด้ า นการจั ด การสาธารณสุ ข มู ล ฐานในระดั บ นานาชาติ เสริมสร้างความเข้มแข็งในการเป็น ผู ้ น� ำ ด้ า นการจั ด การสุ ข ภาพของบุ ค ลากร สาธารณสุขในระดับนานาชาติ พัฒนางานวิจัย เพื่ อ สร้ า งต้ น แบบนวั ต กรรมการสาธารณสุ ข มูลฐานในทุกภูมิภาคของโลก สืบเนื่องจากการ เปิดประชาคมอาเซียนใกล้เข้ามาทุกขณะ ระบบ การแพทย์และสาธารณสุขไทยพร้อมรองรับการ เจริญเติบโตมาก-น้อยเพียงใด ในวันนีเ้ ราใคร่ขอ ติดตามบทสัมภาษณ์ของท่านถึงสภาวการณ์ทาง ด้ า นการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ในไทยและ อาเซียน รวมถึงภารกิจของสถาบันที่เอื้อต่อการ พัฒนาวงการสาธารณสุข เพือ่ เราจะได้ทราบถึง แนวโน้มการพัฒนาในอนาคตต่อไป

Vol.22 No.210 July-August 2015

สถานการณ์การแพทย์และสาธารณสุข ของไทย

42

เป้าหมายในการผลักดันให้ประเทศไทย เป็นจุดศูนย์กลางทางการแพทย์ของภาคพื้น เอเชียแปซิฟกิ จะเป็นไปได้หรือไม่ และสถานการณ์ ปัจจุบันทั้งการแพทย์และการสาธารณสุขไทย เป็นอย่างไร ท่านผู้อ�ำนวยการสถาบันพัฒนา สุขภาพอาเซียน กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า “ระบบการ แพทย์และการสาธารณสุขของประเทศไทยมี

มีเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย แต่ในบาง พื้นที่ยังไม่มี นอกจากนี้ในเรื่องของการจัดการ องค์ความรู้ที่ประเทศไทยยังขาดอยู่ ตัวอย่างที่ น่าสนใจ เช่น โรงพยาบาลในประเทศสิงคโปร์มี จัดท�ำศูนย์ให้ความรูแ้ ก่ผรู้ บั บริการและประชาชน ทั่วไป ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถค้นหาความรู้ หรือ หยิบยืมสื่อการเรียนรู้ที่โรงพยาบาลจัดเตรียมไว้ ให้กลับไปศึกษาได้ดว้ ยตนเอง แต่หากเป็นระบบ อืน่ ๆ เช่น ระบบมาตรฐานการดูแลรักษาและการ ให้บริการ ประเทศไทยสามารถแข่งขันกับประเทศ อื่นได้อย่างแน่นอน” ระบบการสาธารณสุขของ ประเทศไทยเป็นที่รู้จักในสายตาชาวโลก โดยเฉพาะเรื่องของพฤติกรรมบริการ ซึ่งต่างชาติ ให้การยอมรับในความนุ่มนวล ความเอื้ออารี และอัธยาศัยไมตรีในการให้บริการ โดยเฉพาะ ประเทศทางแถบยุโรป สหรัฐอเมริกา หากมี ปัญหาทางด้านสุขภาพก็จะเข้ามาใช้บริการของ ระบบการแพทย์ไทย

ระบบมาตรฐานทางการแพทย์ของไทย

ความก้าวหน้าอย่างยิ่ง หากวิเคราะห์จาก QS World University Ranking ทางด้านนี้ กล่าวได้วา่ ประเทศไทยติดอยู่ในอันดับ 1 ใน 100 จาก มหาวิทยาลัยทัว่ โลก มีการจัดการระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐาน มีทีมแพทย์ที่มีแนวคิดในการ พัฒนา ซึ่งแตกต่างจากประเทศอื่นที่มุ่งเน้นการ พัฒนาโดยนักธุรกิจ ย้อนหลังไปเมือ่ 20 ปีทผี่ า่ น มาจะมีทมี แพทย์ไทยศึกษาแนวคิด และรูปแบบ ใหม่ ๆ เช่น Hospital Accreditation, Hospital Re-Engineering, Hospital Reform จ�ำนวนมาก และน�ำองค์ความรูร้ ะดับแนวหน้าเหล่านัน้ ทีไ่ ด้รบั มาพัฒนาระบบสาธารณสุขจนถึงทุกวันนี้ จากประสบการณ์ ที่ ไ ด้ มี โ อกาสเข้ า สังเกตการณ์ประเทศเพือ่ นบ้านในอาเซียน กล่าว ได้วา่ ประเทศไทยมีโอกาสทีจ่ ะก้าวหน้ามากทีส่ ดุ ในบางประเทศ อาทิ โรงพยาบาลในเมืองหลวง ของประเทศเมียนม่าร์ยงั ขาดการจัดการพืน้ ทีแ่ ละ ระบบบริการอีกมาก หากเปรียบเทียบกับประเทศที่มีระบบ เศรษฐกิจดีในอาเซียน ประเทศไทยยังคงต้อง พัฒนาระบบอีกระดับหนึ่ง อาทิ เรื่อง Hospital Automation ปัจจุบันระบบของโรงพยาบาล เอกชน หรือโรงพยาบาลในกรุงเทพฯ หลายแห่ง

นอกเหนื อ จากการให้ บ ริ ก ารที่ ดี ข อง บุคลากรทางการแพทย์ของไทยทีโ่ ด่งดังไกลไปทัว่ โลกแล้วนัน้ ระบบมาตรฐานทางการแพทย์ไทยก็ แข่งแกร่งเช่นเดียวกัน “นอกจากระบบ HA (Hospital Accreditation) แล้ว โรงพยาบาลทัง้ รัฐและ เอกชนหลายแห่งมุง่ ท�ำระบบ ISO ด้วย เป้าหมาย คือ เพือ่ ให้เป็นมาตรฐานระดับสากล เพราะฉะนัน้ มาตรฐานของไทยจึงเทียบเท่าสากล แต่สิ่งที่ น่าเป็นห่วง คือ เจ้าหน้าให้บริการทีย่ งั ขาดทักษะ การใช้ภาษาต่างประเทศ โรงพยาบาลภาครัฐเริม่ มีการตระหนักถึงพอสมควรบ้างแล้ว โรงพยาบาล เอกชนก็มวี ธิ บี ริหารจัดการโดยจัดบุคลากรพยาบาลจากต่างประเทศ อาทิ ฟิลปิ ปินส์ หรือบัณฑิต ที่มีความรู้ทางด้านภาษาเข้ามาให้บริการ นี่จึง เป็นจุดแข็งที่ท�ำให้โรงพยาบาลเอกชนสามารถ ดูแลลูกค้าต่างชาติได้ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ คือ โรงพยาบาลภาครัฐไม่สามารถขับเคลือ่ นได้รวดเร็ว นีจ่ งึ ท�ำให้ตอ้ งมุง่ ฝึกทักษะบุคลากรภายในให้มากขึน้ เป็นส�ำคัญ” และอีกประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจ คือ ทุ ก วั น นี้ ต ้ อ งมี ก ารพิ จ ารณาระบบค่ า ใช้ จ ่ า ย ส�ำหรับชาวต่างชาติ เพราะเมื่อคนไทยใช้ระบบ ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทรักษาทุกโรค) เป็นการใช้ภาษีของคนไทยมาเพื่อรองรับการ รักษาพยาบาลคนไทย ซึง่ ชาวต่างชาติทเี่ ข้ามาใช้ บริการไม่ได้เสียภาษี เพราะฉะนัน้ การคิดค่าใช้จ่ายจึงต้องมีระบบของคนไทยและต่างชาติ โดย-


Special Issue

ภารกิจของสถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล

ท่านผูอ้ ำ� นวยการสถาบันฯ ยังได้กล่าว ถึงการด�ำเนินงานของสถาบันฯ ว่า “สถาบั น พัฒนาสุขภาพอาเซียน มียุทธศาสตร์ในการ ด�ำเนินงาน คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความเป็น เลิ ศ ของงานวิ จั ย พั ฒ นาต้ น แบบสาธารณสุ ข มูลฐานที่มีประสิทธิภาพในทุกภูมิภาคของโลก ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปฏิรูปการศึกษาและบริการ วิ ช าการเพื่ อ การเปลี่ ย นแปลงในการพั ฒ นา แนวคิดเชิงนวัตกรรมสาธารณสุขมูลฐานทีแ่ ก้ไข ปัญหาสุขภาพระดับโลก ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนา เครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ ทางการศึ ก ษา วิ จั ย และบริการวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการ องค์กรเพือ่ ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรูใ้ นระดับ อาเซียนและระดับโลก ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนา บุคลากรที่มีคุณภาพ และมีความรับผิดชอบต่อ สังคม และอี ก 4 พั น ธกิ จ เพื่ อ มุ ่ ง สู ่ ก ารเปิ ด ประชาคมอาเซียน คือ 1 การจัดการฝึกอบรม ทัง้ แพทย์และบุคลากรทางด้านสาธารณสุขให้กับ ประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มประเทศอาเซียนให้มี การพัฒนาไปพร้อม ๆ กัน โดยทีเ่ ข้ามาศึกษาอบรม ตามหลักสูตรของไทย รวมถึงการศึกษาดูงานใน

ประเทศไทย 2. การให้การศึกษา ซึ่งผู้ที่สนใจ ศึกษา นอกจากจะได้รับความรู้ยังเข้าใจในเรื่อง วั ฒ นธรรม และยั ง ได้ ศึ ก ษาระบบสั ง คมใน ประเทศไทยที่จะช่วยเพิ่มความรู้ด้านสุขภาพอีก ด้วย 3. การท�ำการวิจยั เกีย่ วกับสุขภาพในกลุม่ ประเทศอาเซียน และขณะนีส้ ถาบันฯ มีเครือข่าย วิจัยที่ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องกับเครือข่ายวิจัย มากกว่า 30 ประเทศทั่วโลก การวิจัยในกลุ่ม ประเทศอาเซียน ก็มเี ช่น ล่าสุดมีการวิจยั การให้ บริการสุขภาพตาในกลุม่ ประเทศอาเซียน ร่วมกับ โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (ร.พ.วัดไร่ขิง) กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จึงเห็นได้วา่ สถาบันฯ เปรียบเสมือนผู้เชื่อมโยงให้ทั้งสอง องค์กรด�ำเนินงานร่วมกันเพือ่ ประโยชน์สงู สุดแก่ ผูใ้ ช้บริการทุกคน 4. ความรับผิดชอบต่อสังคม การจัดฝึกอบรมฟรีให้กับครู อาจารย์ในสถาน ศึกษาใกล้เคียงทัง้ หมดในเรือ่ งเกีย่ วกับการเตรียม เข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น จั ด ฝึ ก อบรมให้ กั บ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขถึงการเข้าสู่ประชาคม อาเซียนส่งผลกระทบต่อระบบสุขภาพ และความ เปลี่ ยนแปลงอย่ างไร นอกจากนี้ ยั ง มี การจั ด กิจกรรมในชุมชนอีกด้วย ด้วยเป้าหมายการ ด�ำเนินงานของสถาบันฯ คือ การมีเวทีแลกเปลีย่ น เรียนรูแ้ ละน�ำเสนอรูปแบบการพัฒนาสุขภาพทีด่ ี ระหว่างประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ เนือ่ งจาก แต่ละพื้นที่มีจุดอ่อนและจุดแข็งที่ไม่เหมือนกัน การแลกเปลีย่ นเรียนรูจ้ งึ เป็นประโยชน์แก่ทกุ ฝ่าย แต่สงิ่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ และเป็นสิง่ ทีค่ วรเร่งขับเคลือ่ น นั่นคือ ประเทศไทยควรมีองค์กรเจ้าภาพที่จะ สามารถเป็นศูนย์กลางในการประสานงานด้านการ แพทย์และสาธารณสุขอาเซียน เพื่อลดความ ซ�ำ้ ซ้อนในการติดต่อประสานงาน ก็จะท�ำให้การ ติดต่อสือ่ สารมีความราบรืน่ สะดวก และรวดเร็ว ยิง่ ขึน้ ”

แผนงานอนาคตของสถาบันฯ

“หากกล่าวในแง่ของสถาบันฯ เป็นส่วน หนึง่ ของมหาวิทยาลัย มีแผนงานในการจัดระบบ การศึกษาให้มีมาตรฐานและระบบเดียวกันใน ระดับอาเซียน เช่น ในอนาคตหากมีคนเรียนบาง วิชามาแล้วจากต่างประเทศสามารถถ่ายโอน หน่วยกิตมาเรียนทีน่ ไี่ ด้ ระบบ ASEAN University Network จาก 30 มหาวิทยาลัย ใน 10 ประเทศ ทีม่ คี วามร่วมมือและแลกเปลีย่ นกัน หาก ต้องการให้นักศึกษามีประสบการณ์ในประเทศ เพื่อนบ้านสามารถลงทะเบียนเรียนวิชานั้นใน ประเทศเพือ่ นบ้านได้ นีค่ อื สิง่ ทีส่ ถาบันฯ ด�ำเนิน การอยู่ และยังพัฒนาในเรื่องการส่งเสริมครู อาจารย์ให้มคี วามสามารถในการท�ำงานในระดับ มืออาชีพ สามารถด�ำเนินงานตาม Thailand Qualification Framework: TQF ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ คือ การจัดกรอบการศึกษา ให้เป็นระดับเช่นเดียวกับนาชาชาติ เพราะฉะนัน้ ในประเทศอาเซียนด้วยกันเมือ่ มีการจัดระดับการ

Vol.22 No.210 July-August 2015

เฉพาะอย่างยิง่ การเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ย่อม มีการเคลือ่ นไหวของประชากรมากขึน้ จากข้อมูล ท�ำให้ทราบว่าเมือ่ ประเทศเพือ่ นบ้านเจ็บป่วยก็จะ ข้ า มแดนเข้ า มารั ก ษาในประเทศไทย ซึ่ ง ใน อนาคตคาดว่าจะมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงเป็น เรื่องที่ผู้เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนต้องจัด ระบบประกันสุขภาพทั้งระยะสั้นและระยะยาว เพือ่ รองรับกลุม่ ผูร้ บั บริการต่างชาติในทุกระดับ

43


Special Issue แท้จริง นั่นคือ สถาบันฯ เปรียบเสมือนได้เข้าไป เยีย่ มศิษย์เก่าทีอ่ ยูใ่ นอาเซียน นีจ่ งึ ท�ำให้สถาบันฯ มีแรงบันดาลใจทีจ่ ะด�ำเนินงานให้มปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด เพราะสามารถด�ำเนิน กิจกรรมและผลิตมหาบัณฑิตที่เข้าไปช่วยเหลือ ประเทศที่ต้องการความช่วยเหลือจากสถาบันฯ ได้อย่างแท้จริง

Vol.22 No.210 July-August 2015

ความพร้อมของระบบการแพทย์ และสาธารณสุขไทยสู่อาเซียน

44

ศึกษาให้เป็นระดับแบบเดียวกันแล้วจะส่งผล ให้การสมัครเข้าท�ำงานง่ายขึน้ เพราะนีจ่ ะเป็นการ เทียบคุณวุฒริ ะหว่างประเทศทีช่ ดั เจน” ทั้งนี้อีก 15 ปี ประเทศไทยจะเป็นสังคม ผู ้ สู ง วั ย ที่ ส มบู ร ณ์ แ บบ เราจะขาดแรงงาน การน�ำเข้าแรงงานจะมีผลที่ตามมา คือ การกลับ มาแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่ควบคุมได้แล้ว และที่ ยั ง ควบคุ ม ไม่ ไ ด้ จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งท� ำ การ ศึกษาวิจัยในเรื่องนี้เพื่อรองรับสถานการณ์ใน อนาคต “ความเปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่อ ภาวะสุขภาพของคนไทยจะเพิ่มขึ้นในอนาคต ปัจจุบันการวิจัยและพัฒนาจึงเป็นปัจจัยที่จะ ต่อยอดให้เราระแวดระวังความน่าจะเป็นที่จะ เกิดขึ้นได้ไม่มากก็น้อย อาทิ ปัจจุบันสถาบันฯ ท�ำงานวิจัยเกี่ยวกับ Traditional and Alternative Medicine ในกลุ่มประเทศอาเซียน ไม่ว่าจะเป็น เรื่องการใช้น�้ำมนต์ สมุนไพร ความเชื่อในการ รักษารูปแบบต่าง ๆ ของแต่ละพื้นที่ ซึ่งขณะนี้ ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น การเก็ บ ข้ อ มู ล และวิ เ คราะห์ อ ยู ่ นอกจากนี้ยังมีการวิจัยพฤติกรรมทางสุขภาพใน อาเซียนอีกมากมายหลายเรื่อง อาทิ การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การติดอินเทอร์เน็ต การออกก�ำลังกาย เรื่องความรุนแรงทางเพศ เป็นต้น ซึ่งได้ วิ เ คราะห์ แ ละตี พิ ม พ์ ใ นระดั บ นานาชาติ แ ล้ ว ขณะนี้อยู่ในช่วงด�ำเนินการในระยะที่ 2 ต่อเนื่อง ต่อไป”

การประเมินผลกิจกรรมของสถาบันฯ

ทีผ่ า่ นมาสถาบันฯ จัดฝึกอบรมมากมาย หลายหลักสูตรจนกระทั่งได้รับการยอมรับจาก

องค์ ก ารอนามั ย โลกให้ เ ป็ น Collaborating Center เรื่อง Primary Health Care Development “จากการท�ำงานที่ผ่านมา สถาบันฯ จึงเป็น ที่ ย อมรั บ เมื่ อ มี เ จ้ า หน้ า ที่ ห รื อ บุ ค ลากรทาง สาธารณสุ ข จากประเทศเพื่ อ นบ้ า นต้ อ งการ ความรู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งทางการแพทย์ องค์ ก าร อนามัยโลกจะส่งเข้ามาอบรมที่นี่ บางหลักสูตร เรามีการติดตามและประเมินผลว่าได้น�ำความ รู้ไปใช้และปฏิบัติจริงอย่างไรบ้าง ตัวอย่างที่ผ่าน มาเช่น การจัดอบรมเรือ่ งเอดส์ ได้จดั ฝึกอบรมเป็น สองระดับ คือ ระดับผู้น�ำด้านนโยบาย เมื่ออบรม แล้วเสร็จก็สามารถน�ำความรู้มาบรรจุเข้าไปเป็น แผนชาติ จากนั้นน�ำกลุ่มในระดับปฏิบัติที่เป็น ตัวแทนของอ�ำเภอหรือจังหวัดให้มาฝึกอบรม แล้ว ฝึกอบรมของทัง้ สองระดับให้สามารถท�ำงานสอด รับกันให้ได้เพือ่ กลับไปยังประเทศของตนเอง เมือ่ น�ำไปปฏิบัติจริงในประเทศแล้วก็จะมีส�ำนักงาน ความร่ ว มมื อ เพื่ อ การพั ฒ นาระหว่ า งประเทศ (สพร.) และองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ ของญี่ปุ่น (JICA) เข้าไปประเมินผลในระดับ ประเทศ สิ่งที่น่าภาคภูมิใจที่สุด คือ ผู้เข้ารับการ อบรมได้น�ำความรู้ที่ได้จากเราไปประยุกต์ใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลสู่ชีวิตและสุขภาพที่ดี ของคนในประเทศนั้น ๆ” ส�ำหรับนักศึกษาของ สถาบันฯ จะอยู่ในหลักสูตรการจัดการสาธารณสุขมูลฐานระดับปริญญาโท ระยะเวลาศึกษา 1 ปี ขณะนีม้ ที งั้ หมด 29 รุน่ เพราะฉะนัน้ จึงมีศษิ ย์เก่า อยู่ใน 10 ประเทศในอาเซียน บางท่านด�ำรง ต�ำแหน่งรัฐมนตรีช่วยฯ บางท่านด�ำรงต�ำแหน่ง อธิบดีฯ เป็นต้น สิ่งที่สร้างความผูกพันอย่าง

ท่านผู้อ�ำนวยการสถาบันฯ ยังได้กล่าว สรุปถึงความพร้อมของการแพทย์และสาธารณสุขไทยในอาเซียนว่า “ขอกล่าวว่าความพร้อมใน ด้านการให้บริการของบุคลากรทางการแพทย์ ไทยมีประสิทธิภาพมาก แต่เรื่องของการสื่อสาร และเอกสารการให้ บ ริ ก าร คงต้ อ งรี บ พั ฒ นา และปรับปรุงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่ไม่สามารถสื่อสารภาษาสากลกับผู้ใช้ บริการต่างชาติ เอกสารต่าง ๆ ที่ใช้ก็ยังไม่มีใน รูปแบบภาษาอังกฤษ หากผู้ใช้บริการใช้ภาษา ไทยไม่ได้ ใช้ภาษาอังกฤษก็ไม่ได้ จะแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้นได้อย่างไร จึงใคร่ฝากให้ผู้เกี่ยวข้องทั้ง หน่วยงานภาครัฐและเอกชนช่วยกันปรับปรุง และใคร่ขอฝากถึงประชาชนทุกคนว่า อย่าเพิ่งมีทัศนคติในแง่ลบต่อระบบการแพทย์ และสาธารณสุขในการเปิดประชาคมอาเซียน ให้มองว่าการเคลื่อนย้ายแรงงานทั้งเข้ามาใน ประเทศและออกไปท�ำงานนอกประเทศมีอยู่ต่อ เนือ่ งมานานแล้ว การเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนเป็น โอกาสส�ำคัญที่ประเทศจะได้พัฒนาไปเป็นผู้น�ำ ในด้านธุรกิจบริการทางการแพทย์และการศึกษา มากขึน้ ซึง่ จะส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย ที่ดีขึ้นตามไปด้วย ส�ำหรับเรื่องสุขภาพนั้น การ ดูแลสุขอนามัยในการด�ำรงชีวิต หากเราด�ำเนิน ชีวิตไปตามที่กรมอนามัยแนะน�ำให้ความรู้ใน เรื่องการดูแลรักษาสุขภาพและป้องกันโรคทั่วไป ก็ไม่ต้องหวั่นวิตกต่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน หากยั ง วิ ต กในเรื่ อ งโรคติ ด ต่ อ เพี ย งแต่ ทุ ก ครอบครัวได้มีการฉีดวัคซีนป้องกันโรคให้กับเด็ก และตนเองอย่างถูกต้องครบถ้วน ก็คงจะสามารถ ด�ำรงชีวิตอย่างปกติสุขได้” ท่านผู้อ�ำนวยการ สถาบันฯ กล่าวสรุป


Q

Special Issue for

uality

หัวเฉียวก้าวไกล มั่นใจมาตรฐาน ประทับใจบริการ โรงพยาบาลเพื่อสังคม กองบรรณาธิการ

โรง

พยาบาลหัวเฉียว เป็นโรงพยาบาลเอกชน ในสังกัดมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ด�ำเนินกิจการเพื่อ ให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วยมากว่า 77 ปี ปัจจุบันมีศักยภาพในการรองรับผู้ป่วยนอก ได้ปีละประมาณ 500,000 ราย มีเตียงรองรับผู้ป่วย 338 เตียง สามารถให้บริการตรวจรักษา ได้ครอบคลุมทุกสาขาการแพทย์ โดยมีคณะแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์สูงกว่า 200 ท่าน และบุคลากรทางการแพทย์อนื่ ๆ อีกจ�ำนวนมาก พรัง่ พร้อมด้วยเครือ่ งมือตรวจวินจิ ฉัย โรคที่ทันสมัย ด้วยมาตรฐานคุณภาพระดับ HA (Hospital Accreditation) มีความมุ่งมั่นที่ จะด�ำเนินตามรอยปณิธานของหลวงปู่ไต้ฮงและมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ความเจริญเติบโตของการแพทย์และบริการของโรงพยาบาลหัวเฉียว ตอบโจทย์การ ขยายตัวของระบบการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศทีม่ งุ่ เน้นให้เป็น Medical Hub หรือ ศูนย์กลางทางการแพทย์ในภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ด้วยนโยบายและการบริหารจัดการองค์กร ของคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลฯ โดยก�ำหนดพันธกิจ คือ “รักษาพยาบาลด้วยคุณธรรมอย่าง มีคณ ุ ภาพ พร้อมพัฒนามาตรฐาน เพือ่ ความพอใจของผูม้ าใช้บริการ และประโยชน์สขุ ของสังคม” และก�ำหนดวิสัยทัศน์ คือ “หัวเฉียวก้าวไกล มั่นใจมาตรฐาน ประทับใจบริการ โรงพยาบาลเพื่อ สังคม” ท�ำให้โรงพยาบาลหัวเฉียวได้รับความไว้วางใจจากผู้ใช้บริการทั้งในและต่างประเทศ

คุณสุธี เกตุศิริ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารโรงพยาบาลหัวเฉียว

for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

45


Special Issue

Vol.22 No.210 July-August 2015

คุ ณ สุ ธี เกตุ ศิ ริ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหารโรงพยาบาลหัวเฉียว กล่าวว่า ด้วยปัจจัย ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น โรงพยาบาลหั ว เฉี ย วจึ ง ได้ วางแผนพัฒนาทั้งด้านวิชาการทางการแพทย์ ด้ า นครุ ภั ณ ฑ์ ด้ า นระบบคอมพิ ว เตอร์ แ ละ สารสนเทศ ด้านอาคารสถานที่ และด้านบุคลากร ให้พร้อมรับการขยายบริการ โดยมีเป้าหมายการ พัฒนาเป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมริ ะดับสูงใน บางสาขา ดังนี้ ➠ ปี พ.ศ.2557 เปิดให้บริการคลินิก เฉพาะทางจอประสาทตา และคลินกิ แม่และเด็ก ➠ ปี พ.ศ.2558 เปิดให้บริการศูนย์ หัวใจและหลอดเลือด และศูนย์รับผู้ป่วยทารก แรกเกิด

46

ปี พ.ศ.2559 เปิดให้บริการหน่วย ดูแลผู้ป่วยหลอดเลือดตีบตัน (stroke)

สถานการณ์ทางการแพทย์ในประเทศไทย

คุณสุธี ได้กล่าวแสดงทัศนะถึงสถานการณ์ทางการแพทย์ว่า “จากมุมมองของผมใน

ฐานะทีอ่ าสาท�ำงานเพือ่ สังคมตามวิสยั ทัศน์ของ องค์กร มีความคิดเห็นว่า การสาธารณสุขของ ไทยมีประเด็นที่น่าสนใจ คือ โครงสร้างของการ สาธารณสุขอาจยังต้องใช้เวลาพัฒนาให้ดยี งิ่ ขึน้ ส�ำหรับความคิดที่ว่าทุกคนควรได้รับการดูแล ทางสาธารณสุขอย่างเท่าเทียมกันเป็นเรื่องที่ดี แต่จ�ำเป็นต้องมีการก�ำหนดกลุ่มผู้มีสิทธิได้รับ ความช่วยเหลืออย่างรอบคอบ มิฉะนัน้ ในอนาคต ที่คนไทยจะมีอายุมากขึ้น สังคมจะเข้าสู่ยุคของ คนสูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเจ็บป่วยมากขึ้น ภาระ ทั้งหมดจะตกอยู่ที่ประเทศชาติ การใช้เงินงบประมาณอาจไม่ตรงกลุ่มประชาชนที่ควรได้รับ การช่วยเหลือจริง ๆ แต่ไปดูแลคนทีพ่ อจะมีกำ� ลัง จ่ายได้ ด้วยหลักการของนโยบายนี้ถือว่าดีมาก เพราะเป็นการสร้างความเท่าเทียมกัน และเกิด ช่องว่างระหว่างประชาชนทั่วประเทศน้อยที่สุด แต่เมื่อน�ำมาปฏิบัติจริงแล้ว อาจด�ำเนินการได้ ยาก นอกจากนี้ยังมีอีกสถานการณ์หนึ่งที่น่า จับตามอง คือ งบประมาณในการผลิตแพทย์ และบุคลากรทางการแพทย์ไม่เพียงพอ ส่งผล ให้ ก ารกระจายตั ว ของแพทย์ แ ละบุ ค ลากร กระจุกตัวอยูใ่ นกรุงเทพฯ และตามหัวเมืองใหญ่ ในพื้ น ที่ ช นบทถื อ ว่ า ยั ง ขาดแคลนบุ ค ลากร ทางการแพทย์อีกเป็นจ�ำนวนมาก และที่ส�ำคัญ อีกประการหนึง่ คือ การพัฒนาบุคลากรและงาน วิจัย ดังเห็นได้จากประเทศที่พัฒนาแล้วจะให้ ความส�ำคัญอย่างมากกับงบประมาณพัฒนา บุคลากรและงานวิจยั ทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ การพัฒนา สังคมและประเทศ”


Special Issue การแพทย์ไทยในสายตาชาวโลก

“จากความคิดเห็นและประสบการณ์ ส่วนตัว มองว่าต่างชาติมองเห็นศักยภาพของ การแพทย์และสาธารณสุขไทยเป็น 2 ทัศนะ คือ ต่างชาติชนื่ ชมการแพทย์ไทยทีม่ กี ารพัฒนาและ มีศกั ยภาพทัง้ บุคลากร ความสามารถเชิงวิชาการ การบริการด้านสาธารณสุขต่าง ๆ เปรียบเทียบ ในอาเซียนอยู่ในระดับดีมาก แต่ในอีกมุมมอง หนึ่ง ต่างชาติมองว่าเรายังมีความเหลื่อมล�้ำ ระหว่างผูใ้ ช้บริการในเมืองและพืน้ ทีห่ า่ งไกลเมือง อยู่มาก ยังมีอุปสรรคด้านการพัฒนาบุคลากร ทางการแพทย์ เกิดการขาดแคลนและการโยกย้ายบุคลากรทางการแพทย์ เราจึงต้องพยายาม ทบทวนความเหมาะสมของนโยบายทางการ แพทย์ ใ ห้ ม ากขึ้ น เพื่ อ ให้ ส ามารถลดความ เหลื่อมล�้ำ และปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับระบบ การแพทย์และสาธารณสุขได้อย่างแท้จริง” คุ ณ สุ ธี ได้ ก ล่ า วถึ ง การบริ ก ารของ องค์กรว่า โรงพยาบาลหัวเฉียว ถือว่าเป็น Social Enterprise คือ เป็นองค์กรเอกชนที่มุ่ง ช่วยเหลือสังคมโดยไม่ได้หวังผลก�ำไรเป็นหลัก โรงพยาบาลหัวเฉียวก่อตัง้ ขึน้ โดยกลุม่ บุคคลทีม่ ี จิตสาธารณะและท�ำงานเพื่อสังคม เป้าหมาย ของโรงพยาบาลในวันนี้ คือ การพัฒนาศักยภาพ เพือ่ ให้บริการประชาชนได้ในจ�ำนวนมากขึน้ เพิม่ บริการในการรักษาพยาบาลให้ครอบคลุมทุก สาขาการแพทย์ในเชิงลึกมากขึ้น รักษาโรคที่มี ความซับซ้อนมากขึน้ รวมทัง้ พร้อมทีจ่ ะเป็นทีพ่ งึ ของประชาชน โดยมีการก�ำหนดค่าบริการรักษา พยาบาลที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ ผู ้ ป ่ ว ยทุ ก ระดั บ ฐานะ กล่าวคือ ผูม้ ฐี านะดี บอกได้วา่ ด้วยมาตรฐานการ รักษาทีเ่ ท่ากัน ราคาของโรงพยาบาลหัวเฉียวถูก

กว่าโรงพยาบาลเอกชนแห่งอืน่ ส�ำหรับคนฐานะ ปานกลาง จะบอกได้ว่าราคาของเราไม่แพง ส�ำหรับคนทีม่ รี ายได้ไม่มากนัก จะบอกว่าพอจ่าย ได้ ส�ำหรับประชาชนทีม่ ฐี านะยากจนหรือรายได้ น้อยมาก โรงพยาบาลหัวเฉียวจะให้ความช่วย เหลือรักษาให้ฟรี โดยการสนับสนุนงบประมาณ จากมู ล นิ ธิ ป ่ อ เต็ ก ตึ๊ ง โดยมี ร ะบบด้ า นสั ง คม สงเคราะห์เข้ามาดูแลด้วยความโปร่งใส ตรวจ

สอบได้ เพื่อให้การใช้เงินบริจาคได้อย่างคุ้มค่า และตรงกับวัตถุประสงค์ของผู้บริจาค ทัง้ นีจ้ ะเห็นว่าโรงพยาบาลไม่ได้มองตัว เองเป็นหลัก แต่มองทีผ่ ปู้ ว่ ยและผูร้ บั บริการเป็น หลัก สรุปได้ว่า ในวันนี้โรงพยาบาลหัวเฉียว พัฒนาการรักษาพยาบาลไปในระดับตติยภูมิ หลายสาขามากขึ้ น เปิ ด รั บ แพทย์ ที่ มี ค วาม เชี่ยวชาญเฉพาะทางเพื่อให้ครอบคลุมสาขา ต่าง ๆ ทีเ่ ป็นทีต่ อ้ งการ ซึง่ เมือ่ เร็วๆ นี้ โรงพยาบาล ได้เปิดให้บริการ “ศูนย์หัวใจและหลอดเลือด” ให้บริการทัง้ การตรวจวินจิ ฉัยและรักษาโรคหัวใจ และหลอดเลือดอย่างครบวงจร ตลอด 24 ชัว่ โมง ด้วยทีมแพทย์เฉพาะทางด้านหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคหัวใจและ หลอดเลือด อายุรแพทย์มัณฑนากรเส้นเลือด หัวใจ ศัลยแพทย์เฉพาะทางโรคหัวใจและหลอด-

Vol.22 No.210 July-August 2015

การบริการของโรงพยาบาลหัวเฉียว

47


Vol.22 No.210 July-August 2015

Special Issue

48

เลือด แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูและกายภาพบ�ำบัด และทีมพยาบาลที่ได้รับการฝึกอบรมเฉพาะทาง พรั่งพร้อมด้วยอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ ที่ทันสมัย อาทิ การฉีดสีสวนหัวใจ (coronary angiography) การท�ำบอลลูน เพื่อขยายและใส่ ขดลวดค�้ำยันหลอดเลือดหัวใจ การผ่าตัดเบี่ยง หลอดเลือดหัวใจ ส�ำหรับวิชาชีพพยาบาล โรงพยาบาล เตรียมพร้อมรองรับการขยายบริการจากการเปิด ประชาคมอาเซียน และแก้ปัญหาการขาดแคลน พยาบาล และตระหนักถึงความส�ำคัญของการ ศึกษา มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง โรงพยาบาลหัวเฉียว และมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จึง ร่วมกันจัดตั้ง “โครงการปลูกต้นกล้าพยาบาล 3 สถาบันฯ” ด้วยการมอบทุนเรียนพยาบาล คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 – 4 แก่นักเรียนที่เรียน ดี แต่มฐี านะยากจน ปีละ 30-40 ทุน มูลค่าทุนละ 400,000 บาท โดยคัดเลือกจากผู้ที่ก�ำลังศึกษา ชั้ น มั ธ ยมที่ 6 แผนการเรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ที่มีผลคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ของ 5 ภาคการศึกษา ไม่ต�่ำกว่า 2.50 มีความ ต้ อ งการและทั ศ นคติ ที่ ดี ต ่ อ การเรี ย นวิ ช าชี พ พยาบาล ร้อยละ 90 ของผูร้ บั ทุนเป็นนักเรียนจาก ต่างจังหวัด โครงการนี้จึงเป็นการให้โอกาสแก่ เยาวชนที่มีความสามารถแต่ขาดโอกาสในการ ศึกษาต่อ ในปีนี้มีผู้สมัครสนใจขอรับทุนกว่า 7,000 คนจากทัว่ ประเทศ แสดงให้เห็นว่าจะมีคน สนใจที่จะเรียนสาขานี้อีกมาก ทุ ก วั น นี้ วิ ช าชี พ พยาบาลอยู ่ ใ นภาวะ ขาดแคลน เมื่อเปิดประชาคมอาเซียนในอนาคต เชื่อได้ว่าภาวะขาดแคลนจะมีเพิ่มขึ้น ไม่ใช่จาก สาเหตุ ที่ พ ยาบาลจะอพยพแรงงานไปอยู ่ ใ น ประเทศเพือ่ นบ้าน แต่เนือ่ งจากว่าประชาชนทีจ่ ะ

หน่วยงานและบุคลากร ด้วยเครื่องมือ Key Performance Indicator: KPI ซึ่งสามารถแสดงผล ที่สะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ ปฏิ บั ติ ง านขององค์ ก รหรื อ หน่ ว ยงานภายใน องค์กร ส�ำหรับภาพรวมในเชิงบริหารจัดการจะ เน้นการ Outside in มากกว่าการ Insight out ด้วย วิธีการประเมินผลการรับบริการจากผู้ป่วยและ ผูร้ บั บริการในทุกส่วนงาน โดยการใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์ ซึ่งเป็นวิธีการที่มีประโยชน์ เพราะผูร้ บั บริการจะเป็นผูบ้ อกทิศทางในอนาคต ของโรงพยาบาลได้ดีที่สุด และสะท้อนได้ชัดเจน ที่สุด”

โรงพยาบาลหัวเฉียวในอนาคต

เดินทางเข้ามารักษาพยาบาลในประเทศของเรา จะมีมากขึ้น ดังนั้น จึงต้องเตรียมบุคลากรด้าน การพยาบาลให้เพียงพอต่อความต้องการทีส่ งู ขึน้ นอกจากนี้โรงพยาบาลหัวเฉียวยังมีการส่งเสริม และสนั บ สนุ น ทั ก ษะทางด้ า นภาษาส� ำ หรั บ บุคลากรของโรงพยาบาล โดยเชิญผู้เชี่ยวชาญ จากสถาบันสอนภาษาเข้ามาอบรมให้ความรู้ ทั้งในระดับพื้นฐานและระดับการสนทนา ให้ เหมาะสมกับลักษณะงานและความรับผิดชอบ ของบุ ค ลากรในแต่ ล ะส่ ว นงานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มากว่า 3 ปีแล้ว และโรงพยาบาลยังมีการพัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับแพทย์และผู้ป่วย โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัยของข้อมูลเป็นส�ำคัญ

การด�ำเนินงานของโรงพยาบาล

คุ ณ สุ ธี ยั ง ได้ ก ล่ า วถึ ง การประเมิ น ประสิทธิภาพการด�ำเนินงานของโรงพยาบาลด้วย ว่า “โรงพยาบาลมีระบบการประเมินผลงานของ

“ด้ ว ยเป้ า หมายในอนาคตของโรงพยาบาลหัวเฉียว คือ มุ่งสู่การเป็นโรงพยาบาล ระดั บ ตติ ย ภู มิ ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองคุ ณ ภาพ มาตรฐานโรงพยาบาลระดับ Advance HA พร้อม แผนการขยายบริการให้สามารถรับผูป้ ว่ ยได้มาก ขึ้นจากปัจจุบันมีจ�ำนวนเตียงรับผู้ป่วยใน 338 เตียง ขยายเพิ่มเป็น 500 เตียง ภายในปี 2564 ด้วยอุดมการณ์ที่บุคลากรทุกระดับตระหนักถึง อยู่เสมอ คือ ท�ำงานด้วยความจริงใจ ซื่อตรง มี คุณธรรม เพื่อสามารถให้ความช่วยเหลือประชาชนได้มากขึ้นกว่าเดิม ช่วยให้ผู้ป่วยมีสุขภาพที่ดี หายจากความเจ็บป่วย มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น คณะกรรมการบริ ห าร คณะผู ้ บ ริ ห าร และบุคลากรของโรงพยาบาลหัวเฉียว มีความ มุ่งมั่นและตั้งใจที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลสังคม เรา ทุ่มเทเพื่อให้โรงพยาบาลด�ำเนินไปตามปณิธาน ที่ผู้ก่อตั้งคาดหวังไว้ เราเชื่อมั่นว่าผู้รับบริการจะ ได้รับการดูแลรักษาที่ดี มีคุณภาพ และคุณธรรม อย่างแน่นอน” คุณสุธี กล่าวสรุป


Q

Management for

uality

Finance Marketing & Branding People Idol & Model


Q

Finance for

uality

จี น “Shale Gas” กับการพัฒนา

รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์

อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

การ

พั ฒ นาแหล่ ง แก๊ ส ธรรมชาติ ในจีนและการซื้อจากประเทศ รอบ ๆ บ้าน จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมากเมื่อ ตระหนักถึงปัญหามลภาวะทางอากาศ (air pollution) ที่จีนต้องเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ที่ไม่เพียงสร้างปัญหาในด้านต่าง ๆ อย่าง มากมายให้ แ ก่ ผู ้ ค นในแผ่ น ดิ น มั ง กรเอง เท่านั้น หากแต่ยังท�ำให้ภาพลักษณ์ของ ประเทศ (country image) เสียหายอย่าง มากมายด้วย เท่าที่เป็นอยู่ จีนยังมีการใช้แก๊สธรรมชาติ (ที่ทั้งมีราคาถูกกว่าและสะอาด กว่ า พลั ง งานจากซากฟอสซิ ล อื่ น ๆ) ใน

50

for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

สัดส่วนที่ต�่ำมาก คือ ใช้เพียง 5.9% ของ ปริ ม าณการใช้ พ ลั ง งานกระแสหลั ก รวม ขณะทีอ่ ตั ราการใช้ของประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว จะมีมากกว่า 20% ขึ้นไป เมื่ อ เป็ น เช่ น นี้ จี น จะต้ อ งรี บ เร่ ง พัฒนาแหล่งแก๊สธรรมชาติภายในประเทศ ที่เป็นแหล่งอุปทานที่อยู่ “ใกล้มือ” ที่สุดของ จีนเป็นอันดับแรก ตัวอย่างเช่น การพัฒนา แหล่ ง แก๊ ส ธรรมชาติ ใ นมณฑลเสฉวนใน ใจกลางของแผ่นดินมังกร ที่มีการค้นพบ แหล่งแก๊สธรรมชาติในปริมาณ “ส�ำรอง” มหาศาล คือ มีถึง 616.43 พันล้านลูกบาศก์ เมตรเลยทีเดียว

ในปัจจุบันแม้ว่าจีนได้เร่งมือในการ ใช้แก๊สธรรมชาติ แทนทีห่ รือควบคูก่ บั การใช้ แหล่งพลังงานอืน่ ๆ แต่กย็ งั มีการใช้นอ้ ยกว่า ประเทศอื่น ๆ เมื่อคิดเป็นสัดส่วนของการใช้ พลังงานกระแสหลักรวม ในปี 2008 จีนมีการใช้แก๊สธรรมชาติ เพียง 77,800 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี แล้ว พุ่งทะยานแบบทบต้นเป็น 160,000 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี และก็คงจะขยายตัวใน อัตราที่สูงมาก ๆ ต่อไปอีกหลายขวบปี สภาวการณ์ ดั ง กล่ า วท� ำ ให้ ก าร พัฒนาแหล่งแก๊สธรรมชาติภายในประเทศ ได้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง ทั้งที่เป็นแหล่ง-


แก๊สธรรมชาติปกติ เช่น ที่ค้นพบใน “แอ่ง” เสฉวน (Sichuan Basin) และแหล่งแก๊สธรรมชาติใหม่ทกี่ ำ� ลังเป็นทีส่ นใจอย่างกว้างขวางทั่วโลก และเป็นตัวแปรส�ำคัญที่ท�ำให้ ราคาน�้ำมันดิบ (crude oil) ร่วงหล่นเป็น อย่างมากในช่วง 1-2 ขวบปีทผี่ า่ นมา นัน่ ก็คอื การพัฒนา “Shale Gas” โดยเทคโนโลยี “ขุดเจาะ” สมัยใหม่ที่มีชื่อว่า “Hydraulic Fracturing” นั่นเอง ในช่วงหลายขวบปีก่อน หน่วยงาน พลังงานทีเ่ ป็นรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่ของจีน ที่มีชื่อย่อว่า “CNOOC” พยายามที่จะซื้อ บริษัทที่มีความเชี่ยวชาญด้านการขุดเจาะ แก๊สธรรมชาติของสหรัฐที่มีชื่อว่า “Unocal” ด้วยข้อเสนอจ�ำนวนเงินมูลค่ามหาศาล แต่ในที่สุด “CNOOC” ก็ไม่สามารถ ซื้อ “Unocal” ได้ เพราะถูกขัดขวางจาก ทางการสหรัฐด้วยเหตุผลด้าน “ความมัน่ คง” โดยทีบ่ ริษทั น�ำ้ มันของแดนอินทรี คือ “Chevron” เป็นผู้ซื้อได้แทน ดั ง นั้ น ปั จ จุ บั น จี น ได้ หั น เหไปหา บริษทั น�ำ้ มันและพลังงานยักษ์ใหญ่รายอืน่ ๆ ให้ร่วมมือกับจีนในการขุดเจาะหรือส�ำรวจ แหล่งพลังงานใหม่ ๆ แทน ตัวอย่างเช่น การร่วมมือกับบริษัท “Royal Dutch Shell PLC” อันเป็นบริษัทขนาดใหญ่ในยุโรปที่ รวมทุนกันระหว่างเนเธอร์แลนด์และอังกฤษ นอกจากการพั ฒ นาแหล่ ง แก๊ ส ธรรมชาติ ป กติ ที่ ม ณฑลเสฉวน อั น เป็ น

“ส�ำรอง” แหล่งแก๊สธรรมชาติขนาดใหญ่ใน ใจกลางแผ่นดินจีนแล้ว “Royal Dutch Shell” ยังร่วมมือกับจีนในการส�ำรวจและขุดเจาะ แห่งแก๊สธรรมชาติจาก “Shale Gas” ทีก่ ำ� ลัง สร้างความฮือฮาไปทั่วโลกด้วย มีความเป็นไปได้สงู ยิง่ ว่าเทคโนโลยี การขุดเจาะ “Shale Gas” มีโอกาสที่จะ พัฒนาไปได้อย่างรวดเร็ว โดยที่มีสหรัฐเป็น ผู้ “น�ำร่อง” ล่วงหน้าไปก่อน เพราะนอกจาก แก๊สธรรมชาติจะมีราคาถูกกว่าพลังงานจาก ซากฟอสซิลอืน่ ๆ แล้ว ยัง “สะอาด” กว่าและ ตกเป็น “จ�ำเลย” โลกน้อยกว่าในด้านการ สร้างปัญหามลภาวะทางอากาศที่พลังงาน จากซากฟอสซิ ล อื่ น ๆ ก� ำ ลั ง คุ ก คามทั้ ง สุขอนามัยของผู้คนและการสร้างปัญหาแก่ ความเปลี่ยนแปลงของสภาวะภูมิอากาศ โลก (climate change) ทีก่ ำ� ลังคุกคามความ อยู่รอดปลอดภัยของดาวเคราะห์ดวงที่มีชื่อ ว่า “โลก” ดวงนี้อย่างหนักมือมากยิ่งขึ้นทุกที ในปัจจุบนั ดังปรากฏรูปธรรมออกมาให้เห็น จากปัญหาภัยธรรมชาตินานาลักษณะอัน เป็นความ “แปรปรวน” ทีโ่ ลกไม่เคยพานพบ มาก่อนในอดีต จากตัวเลขของ “USEIA” (US Energy Information Administration) จีนคือ ประเทศที่มีส�ำรองของ “Shale Gas” ที่มาก ที่ สุ ด ในโลก โดยเฉพาะอาจมี ส� ำ รองของ พลังงานจากแหล่งดังกล่าวถึง 36.1 ล้านล้าน (trillion) ลูกบาศก์เมตร ซึ่งมีมากกว่า

แหล่งแก๊สธรรมชาติทั่วไป (conventional gas deposits) ในจีนถึง 12 เท่าตัว “ตัวเลข” ดังกล่าวได้ดึงความสนใจ จากบริษัทยักษ์ใหญ่ของธุรกิจพลังงานโลก ซึง่ นอกจาก “Royal Dutch Shell” แล้ว บริษทั ของแผ่นดินอินทรีซึ่งถือเป็น “คู่แข่ง” คือ “Exxon Mobil Corp” และ “Total SA” ฯลฯ ก็ ให้ความสนใจในแหล่งพลังงานดังกล่าวใน แดนมังกรเป็นอย่างมากด้วย เพราะตระหนักถึงความจริงทีว่ า่ เท่า ทีเ่ ป็นอยู่ นอกจากจีนยังใช้แก๊สธรรมชาติใน สัดส่วนที่ต�่ำมากแล้ว แผ่นดินมังกรยังเป็น ประเทศที่มีประชากรกว่า 1,360 ล้านคน หรือประมาณ 20% ของประชากรรวมทั่วทั้ง โลก ขณะที่มีขนาดของมูลค่า GDP เพียง 10% ต้น ๆ ของ GDP รวมทั่วโลก และมี ความ “หิ ว กระหาย” แหล่งพลังงานจาก แก๊ ส ธรรมชาติ เ พิ่ ม ขึ้ น เป็ น อย่ า งมากใน อนาคตอันใกล้นี้ ปัจจุบันจีนยังอยู่ในช่วงแรก ๆ ของ การพัฒนา “Shale Gas” ขึน้ มาใช้เท่านัน้ โดย ในปี 2015 นี้ คาดว่า แดนมังกรจะ “สูบ” “Shale Gas” ขึ้นมาใช้ประมาณ 6,500 ล้าน ลูกบาศก์เมตร ซึ่งถือว่ายังเป็นปริมาณที่ น้อยมาก เมื่อเทียบกับปริมาณการใช้แก๊สธรรมชาติรวมที่ประมาณ 170,000 ล้าน ลูกบาศก์เมตร ในปี 2013 และเป็นที่คาดไว้ ว่าในปี 2015 นี้ ปริมาณการใช้แก๊สธรรมชาติ ในจีน จะเพิ่มเป็น 230,000 ลูกบาศก์เมตร (ข้อมูลจาก “The National Energy Administration” ของจีน)

Vol.22 No.210 July-August 2015

Finance

51


Q

Finance for

uality

โอกาสทางการค้า

ตอนที่ 1

การลงทุน ที่ดูไบ… ดร.ภาวัต อุปถัมภ์เชื้อ, Lean Six Sigma Black Belt

สวัสดี

ผูอ้ า่ นทีเ่ คารพ ฉบับนีพ้ กั การพูดถึงการเงินหนัก ๆ เอาไว้ ก ่ อ นนะครั บ ผมจะพาท่ า นผู ้ อ ่ า น เดินทางไปยังตะวันออกกลาง ไปยังรัฐรัฐหนึง่ ซึ่งผู้อ่านคงจะเคยได้ยิน หรือมีโอกาสได้ไป เที่ยวพักผ่อนหย่อนใจมาแล้วบ้าง เห็นจาก หัวข้อเรื่องก็รู้แล้วว่ารัฐที่ผมก�ำลังจะพาท่าน ผู้อ่านไป ก็คือ “ดูไบ” นั่นเอง สืบเนื่องจากเมื่อ ปลายเดือนเมษายนที่ผ่านมา ผมได้มีโอกาส เดินทางเป็นหนึ่งในคณะผู้แทนการค้าการ ลงทุนไปเจรจาการค้าการลงทุนที่จัดโดยกรม ส่งเสริมการส่งออกร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ ณ ประเทศดูไบ และจอร์แดน โดยมีผู้สนับ-

52

for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

อาจารย์ประจำ�สาขาวิชาการเงิน ภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ที่ปรึกษาด้านการจัดการทางการเงิน และการลดต้นทุนให้องค์กร E-Mail: drpawat@yahoo.com

สนุ น หลั ก คื อ บริ ษั ท แห่ ง หนึ่ ง ที่ ผ มไปเป็ น ที่ ปรึกษาให้ จากการที่ได้พบปะพูดคุย ศึกษา รูปแบบการท�ำธุรกิจ เกี่ยวกับนักธุรกิจไทยที่ ไปท�ำธุรกิจที่นั่น เลยอยากน�ำข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้มาแชร์ให้ท่านผู้อ่านได้ฟังว่า ดูไบ มี ความน่าสนใจอย่างไร และเราสามารถเข้าไป ลงทุน และเปิดบริษทั ได้อย่างไร เรามาเริม่ กัน เลยนะครับ

ทำ�ไมต้องดูไบ

สิ่งที่ผมสัมผัสได้ในการที่ไปดูไบ สิ่ง แรก คือ ประเทศนี้มีความปลอดภัยสูงมาก ท่านผู้อ่านสามารถออกมาเดินในถนนยาม

ค�่ำคืน ไม่ว่าจะมืดเปลี่ยวแค่ไหนก็จะไม่เป็น อันตรายเลย เนื่องจากกฎหมายของประเทศ นีบ้ ญ ั ญัตไิ ว้อย่างรุนแรง ส่วนอุปสรรคอีกด้าน หนึ่งที่ผมคิด คือ เรื่องภาษา แต่สุดท้ายผมไม่ ต้องกังวลกับสิ่งนั้นเลย จากการสังเกต คน ดูไบที่ผมเจอ ไม่ว่าจะเข้าไปซื้อของ เจรจา ธุรกิจ หรือแม้แต่กระทั่งคุยกับแรงงานที่โน่น แม้ว่าภาษาหลักหรือภาษาราชการจะเป็น ภาษาอาหรับ คนที่นั่นสามารถติดต่อสื่อสาร ด้วยภาษาอังกฤษได้อย่างดีเยี่ยม ท�ำให้ไม่ ต้องกังวลใจในส่วนนี้ไปเลยครับ ดูไบนั้นจริงๆ เป็น 1 ใน 7 รัฐ ของ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรสต์ ซึ่งมีระบบการ


Finance

➲ ในปีที่ผ่านมา (2014) ประเทศ

สหรัฐอาหรับเอมิเรสต์ได้ชื่อว่าเป็นคู่ค้ากับ ประเทศไทยเป็ น อั น ดั บ ที่ 1 ในภู มิ ภ าค ตะวันออกกลาง และเป็นอันดับที่ 7 ของโลก โดยการน�ำเข้าสินค้าของประเทศสหรัฐอาหรับ เอมิ เ รสต์ น� ำ เข้ า จากประเทศไทยในช่ ว งปี 2014- 2015 มีความน่าสนใจ โดยสามารถ แบ่งเป็นผลิตภัณฑ์ได้ดังนี้

จากการที่ได้ติดต่อพูดคุยกับคนไทย ที่อยู่ที่นั่น จริง ๆ แล้วดูไบมีอุปสงค์ที่เกิดใน ประเทศมากกว่าอุปทานที่เกิดขึ้น จึงน่าจะมี ลูท่ างในการเข้าไปท�ำการค้าและการลงทุนใน ดูไบอีกมาก คนที่นี่มีความต้องการและก�ำลัง ซือ้ ทีส่ งู เนือ่ งจากประชากรทีน่ นั่ มีรายได้ตอ่ หัว ค่อนข้างสูง และสามารถที่จะจ่ายในการซื้อ

สินค้า

ปี 2014

1. รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 2. เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 4. อัญมณีและเครื่องประดับ 5. เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่อง รวมส่งออกทั้งหมด

782.4 221.5 156.9 279.1 100.6 3,247.2

ปี 2014 ปี 2015 (ม.ค.-ก.พ.) (ม.ค.-ก.พ.) 128.6 117.0 54.3 62.4 28.1 34.6 12.2 20.4 12.2 20.4 517.9 501.1

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรศุลกากร

เพิ่ม/ลด (%) -9.05 14.92 23.16 -0.91 66.55 -3.23

สินค้าและบริการได้อย่างเต็มที่ จากครึ่ ง ปี แ รกในปี 2014 พบว่ า บริ ษั ท ที่ เ ข้ า ไปเปิ ด เพื่ อ ท� ำ ธุ ร กรรมที่ ดู ไ บมี จ�ำนวนถึง 8,700 บริษทั ซึง่ ส่งผลให้ตอนนีด้ ไู บ จะมีบริษัทต่างชาติเข้าไปลงทุนถึง 160,000 บริษัท ซึ่งเยอะที่สุดในโลก ณ ขณะนี้ ทีนคี้ ำ� ถามต่อมาทีว่ า่ ถึงแม้ทกี่ ล่าวมา จะมีความน่าสนใจในการไปลงทุนที่ดูไบ แต่ รูปแบบการลงทุนที่ดูไบเป็นอย่างไร เอื้อต่อ นักลงไทยในการเข้าไปเปิดบริษัท และลงทุน หรือไม่ แล้วการเข้าไปท�ำธุรกิจที่ดูไบมันง่าย ขนาดนั้ น เลยเหรอ ฉบั บ หน้ า เราจะมาพู ด เรือ่ งนีก้ นั ต่อแบบเจาะลึก ฉบับนีพ้ นื้ ทีห่ มดแล้ว พบกันใหม่ฉบับหน้า

อ่านต่อฉบับหน้า

Vol.22 No.210 July-August 2015

ปกครองท้องถิน่ ของตัวเอง โดยมีรฐั บาลกลาง เป็นคนดูแลนโยบายและกิจการที่ส�ำคัญของ ประเทศ โดยจะมีการเลือกประธานาธิบดีจาก ผู้ปกครองรัฐ ส่วนเหตุผลทางเศรษฐกิจที่น่า สนใจดังนี้ ➲ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรสต์มี ขนาดเศรษฐกิจที่วัดจาก GDP และอัตราการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของภูมิภาคตะวันออกกลาง ➲ เมืองดูไบจัดได้ว่าเป็นศูนย์กลาง ทางเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในตะวันออกกลาง เหตุผลหนึง่ อันเนือ่ งมาจากทีต่ งั้ ทางภูมศิ าสตร์ อยูร่ ะหว่างเอเชีย ยุโรป และแอฟริกา ดังแสดง ในรูป

53


Q

Marketing & Branding for

uality

New Trend-Update from

Brand Japan 2015 ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์

คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น E-mail: orbusiness@hotmail.com

จาก

การส�ำรวจ “Brand Japan 2015” (โดย Nikkei BP Consulting) เพือ่ ส�ำรวจ Brand Power ของปี 2015 ปรากฏว่า Convenience Store ยักษ์ใหญ่ “7-Eleven” ก้าว ขึน้ สูอ่ นั ดับหนึง่ เป็นครัง้ แรก ในขณะที่ “โตโยต้า” ก็ยงั คงเป็นแบรนด์ทไี่ ด้รบั ความนิยม และความ สนิทสนมอย่างสูงเหมือนเดิม ลำ�ดับ 1(11) 2(7) 3(17) 4(3) 5(4) 6(15) 7(22) 8(1) 9(6) 9(29) 11(18) 12(147) 13(35) 14(31) 15(27) 16(59) 16(10) 18(31) 19(40) 20(23) *ตัวเลขในวงเล็บ คือ อันดับปี 2014

54

for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

Brand Name 7-Eleven You Tube Nissin food Studio Ghibli Amazon Haagen-Dazs Google Disney Apple QP Seven & I holdings USJ (Universal Studio Japan) Toyota Suntory Yahoo! iPad Kirin Mos Burger Lawson (CVS) Panasonic

ในช่วงเช้าตรู่ปลายเดือนมีนาคมเป็น ช่วงทีจ่ ะเห็นดอกซากุระบานสะพรัง่ เต็มไปหมด ที่ร้าน 7-Eleven แถบออฟฟิศในเขตจิโยดะ กรุงโตเกียว มีลกู ค้าเข้าแถวเต็มไปหมดทีห่ น้า เคาน์เตอร์ “Seven Café” รอซือ้ กาแฟทีเ่ พิ่งชง เสร็จ ลูกค้าแปลกใจมากเมื่อได้ทดลองดื่ม กาแฟเย็นที่อร่อยและราคาเพียง 100 เยน ลู ก ค้ า คนนี้ จึ ง ซื้ อ ดื่ ม ทุ ก เช้ า ตั้ ง แต่ ป ี ที่ แ ล้ ว เนื่องจากพอใจในความอร่อยและราคาถูก Brand Japan ได้ส�ำรวจและประกาศ “Brand Power” ของบริษัท สินค้า หรือบริการ ทีไ่ ด้เริม่ มาตัง้ แต่ปี 2001 ได้จดั Ranking ของ “Total Strength” ภาคตลาดสินค้าบริโภค พบว่า 7-Eleven ที่มี Seven Café เป็นที่นิยม มาตั้งแต่ปีที่แล้ว และในปีนี้ได้ขึ้นมาสู่อันดับ 1 โดย Total Strength Ranking นั้น ส�ำรวจ ทางอินเทอร์เน็ต (จากประชาชนทีม่ อี ายุ 18 ปี ขึ้นไปจ�ำนวนกว่า 32,000 คน) ค�ำนวณจาก 4 ปัจจัยด้วยกัน ได้แก่ “Friendly” “Convenience” “Outstanding” “Innovative” แล้ว น� ำ มาประมวลคะแนนรวม ถ้ า พิ จ ารณาดู คะแนนแต่ละปัจจัยของ 7-Eleven แล้ว ด้าน Friendly เลื่อนจากอันดับ 42 ปีที่แล้ว มาเป็น อันดับ 4 ในปีนี้อย่างรวดเร็ว ค�ำว่า Friendly นี้ ส่วนใหญ่มกั จะคิดว่าการดูแลต้อนรับลูกค้า


Marketing & Branding ทีช่ นั้ วางสมุดก็จะพบสินค้าอืน่ ๆ ก็ทำ� ให้ลกู ค้า เกิ ด ความสนใจ เหมื อ นกั บ เกมการค้ น หา ทรัพย์สมบัติ ในบริเวณทางผ่านนัน้ จะมีสนิ ค้า ที่เป็นเรื่องราวแปลก ๆ วางไว้ เช่น การท�ำ เบนโตส�ำหรับผูห้ ญิงทีไ่ ม่คอ่ ยระมัดระวัง หรือ แผนการไม่ออกจากบ้านส�ำหรับคนไม่ชอบที่ วุน่ วาย โดยมีสนิ ค้าทีเ่ กีย่ วข้องวางไว้ให้เห็น ที่ หน้าร้านยังมีป้าย POP แขวนไว้ เขียนไว้ เช่น “กล่องเบนโตส�ำหรับคนที่ต้องการควบคุม แคลอรี่” “แทนที่จะเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย การเปลีย่ นหน้าตาท�ำให้ชวี ติ เปลีย่ น” ทีส่ ะดุด ตาท�ำให้คนทีเ่ ดินผ่านต้องอ่านดู นอกจากนีย้ งั มีการพัฒนา Original Product อย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้เมื่อไปที่ Loft จะค้นพบสิ่งใหม่ ๆ หรือ

แปลก ๆ อยูเ่ สมอ จึงเป็นเรือ่ งทีน่ า่ ตืน่ ตาตืน่ ใจ สิ น ค้ า ขนมขบเคี้ ย วที่ เ จ้ า เก่ า อย่ า ง Kameda หรือ Morinaga ก็กลับมาเป็นสินค้า Friendly Brand อีกครั้งหนึ่ง คะแนนรวมนั้น Kameda ขึน้ มาจากอันดับ 93 ของปีทแี่ ล้วมา เป็นอันดับที่ 31 ในปีนี้ ในขณะที่ Morinaga ขึ้นจากอันดับ 55 เป็น 21 Kameda มีสินค้าที่ ฮิต คือ ขนมขบเคี้ยวที่ท�ำจากข้าว เช่น “Kaki No Tane” “Happy Turn” ได้มีการด�ำเนิน กลยุทธ์การตลาดใหม่ตั้งแต่ปี 2014 โดยที่ Happy Turn ที่เป็นขนมท�ำจากข้าวที่เคลือบ ด้วยแป้ง หวาน เผ็ด ใช้ Idol นักร้องวัยรุ่น มา เป็นพรีเซนเตอร์โฆษณา เป็นที่ชื่นชอบของ นักเรียนมัธยมวัยทีนเอจ ในอีกด้านหนึ่ง Kaki No Tane ซึง่ เคยมีภาพลักษณ์ของคนวัยกลาง คน ก็ได้พยายามทีใ่ ห้หลุดพ้นจากภาพลักษณ์ นั้น โดยใช้ดาราวัยสาวมาเป็นพรีเซนเตอร์ โฆษณา จนได้รับความนิยมอย่างสูง นอกจากนี้ ยั ง ได้ พั ฒ นาสิ น ค้ า ใหม่ มี ร สชาติ ชี ส และ ไข่ปลา เป็นที่ชื่นชอบของแม่บ้านที่กินพลาง ท�ำอาหารไปพลางได้ ทางด้าน Morinaga เพิม่ ความครบครัน ของสินค้า ส�ำหรับกลุ่มผู้ใหญ่มากขึ้น เช่น “Chokoball” หรือ Chewing Candy “Hi-Chew” ท�ำให้ได้รับความนิยมของกลุ่มวัย 30 ปี การ ปรับ Package ให้ดูไม่เหมือนสินค้าส�ำหรับ เด็ก ท�ำให้กลุ่มผู้ใหญ่ซื้อได้ง่ายโดยไม่ต้อง อาย ส่วนช็อคโกแล็ต “DARS” นั้น ใช้ภาพ-

Vol.22 No.210 July-August 2015

ที่ดี แต่ที่ผ่านมาใน 1 ปี 7-Eleven ก็ไม่ได้มี การปรับในเรื่องการดูแลลูกค้าเลย แต่ท�ำไม การประเมินในหัวข้อนี้จึงได้คะแนนมากขึ้น จากเหตุผลที่ผู้ตอบแบบสอบถามได้ตอบมา ส่วนใหญ่ให้การประเมิน Seven Café และ “Seven Gold” ซึ่งเป็น High Class Private Brand การตอบสนองของ 7-Eleven Japan ต่อพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลง อยู่ที่ ว่าถึงแม้ตัวเองจะคิดว่าได้ผลิตสินค้าที่ดีแล้ว ก็ตาม แต่การเปลี่ยนแปลงรสนิยมของลูกค้า นั้ น เร็ ว มาก การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ จึ ง ต้ อ ง แข่งขันกับ Needs ของลูกค้า จึงต้องพัฒนา สินค้าอย่างต่อเนื่องทุก ๆ วัน ดังนั้น การทีท่ �ำให้ผู้บริโภคได้รับรู้ว่ามี การพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือ่ ง และได้ซอื้ สินค้านั้นจริง จึงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญอย่างมาก และเมื่อ Brand สินค้านั้น สามารถแพร่ขยาย ไปสู่ลูกค้าได้กว้างขึ้นแล้ว ก็สามารถขึ้นสู่ อันดับที่หนึ่งได้ 7-Eleven แสดงให้เห็นถึง ความพยายามในการพัฒนา สร้างสรรค์อย่าง ต่อเนือ่ ง Seven Café ได้เริม่ เข้ามาวางขายใน ร้านทุก ๆ ร้านตั้งแต่ปี 2013 และสามารถ ขยายบริการสู่ลูกค้าทุกคนได้อย่างทั่วถึง ที่ ส�ำคัญคือ ในช่วงที่ลูกค้ามาจ�ำนวนมาก การ เพิ่ ม เครื่ อ งชงกาแฟเป็ น 2 เครื่ อ ง ท� ำ ให้ สามารถบริการลูกค้าได้ทันโดยลูกค้าไม่ต้อง รอ นอกจากนีย้ งั มีการปรับปรุงเมล็ดกาแฟอยู่ อย่างต่อเนื่อง จน Seven Café กลายเป็น “Killer Product” ที่สามารถขายได้เฉลี่ยวันละ 120 ถ้วยต่อร้าน ไม่เพียงแต่ 7-Eleven เท่านั้นที่การ ประเมินทางด้านปัจจัย Friendly ได้คะแนน สูง “Loft” ซึง่ เป็นร้านขายสินค้าเบ็ดเตล็ดทีเ่ ป็น หนึง่ ในเครือของ Seven & I Holdings ก็ได้รบั คะแนนสูง จึงสามารถขยับจากอันดับที่ 294 ในปีที่แล้ว มาอยู่ในอันดับที่ 82 ได้ Loft นั้น ไม่ได้มีการโฆษณาที่มากมาย หรือมีรูปแบบ ของธุรกิจใหม่ ๆ แต่อย่างใด แต่สิ่งที่ท�ำก็คือ มีการปรับปรุงร้านใหม่อยู่เสมอ เมื่อก้าวเข้า สูร่ า้ นจึงรูส้ กึ ว่ามีความสนิทสนม ในร้านได้ทำ� ทางเดินให้เป็นแนวเฉียงไว้ ท�ำให้ซื้อสินค้า สะดวกขึ้น เช่น เวลาจะซื้อสมุด เมื่อจะเดินไป

55


Marketing & Branding

Vol.22 No.210 July-August 2015

ลักษณ์ของ Character จาก “New Tennis Prince” ซึง่ เป็นการ์ตนู ยอดนิยมใหม่ จัด Event ต่าง ๆ ขึ้น สร้างความนิยม และชื่นชอบได้ หลากหลาย โตโยต้า ก็ไม่น้อยหน้า ขยายความ เป็น “Friendly” ได้สงู ขึน้ ในยุคทีค่ นรุน่ ใหม่เริม่ ห่างเหินจากรถยนต์ทที่ ำ� ให้การขายรถยนต์ใน ญี่ปุ่นไม่ขยายตัว โตโยต้าได้คะแนนรวมใน อันดับที่ 13 เป็นยักษ์ใหญ่รถยนต์รายเดียวที่ ได้เข้าอยู่ใน Top 10 คะแนนด้าน Friendly ขึ้นจากอันดับที่ 135 มาอยู่ที่ อันดับ 83 ซึ่ง เป็นผลพวงจากการโฆษณาทีวีของรถไฮบริด โดยใช้ดารารุ่นใหม่ อย่าง ซาไก มาซาโตะ Story คือ เมืองในจินตนาการที่เรียกว่า “Toyotown” ที่มีต้นไม้ใหญ่ เรียกว่า “ต้นไม้แห่ง ไฮบริด” ให้มีรถโมเดลต่าง ๆ ปรากฏออกมา สร้างความชืน่ ชอบ ความสนิทสนม และความ อ่อนโยนได้เป็นอย่างดี ซึ่งจากการส�ำรวจ โฆษณาก็ พ บว่ า อั ต ราความชื่ น ชอบนั้ น โตโยต้าได้อันดับที่ 5 โดยเฉพาะในหัวข้อที่ว่า “ความชัดเจนของบริษัท” หรือ “ความเป็น แนวหน้าแห่งยุคสมัย” โดยได้อันดับที่ 1

56

อันดับ 1(1) 2(14) 3(12) 4(24) 4(27) 6(6) 7(3) 8(10) 9(5) 9(18)

นอกจากนี้ โตโยต้า ในปัจจัย Innovative ใน Brand Japan ได้ขยับจากอันดับ 23 มาเป็นอันดับ 5 เช่นเดียวกัน นอกจากความ เป็นผู้น�ำในรถไฮบริดแล้ว ในปี 2014 ได้ ประกาศตัว “MIRAI” (อนาคต) ซึง่ เป็นรถ Fuel Battery สามารถน�ำเสนอภาพลักษณ์แห่ง นวัตกรรมได้เป็นอย่างดี ส่วน Universal Studio Japan (USJ) ซึ่งขยับอันดับในคะแนนรวมได้สูงที่สุด โดยที่ ปัจจัย Innovative ขึ้นจากอันดับที่ 61 มาเป็น อันดับที่ 1 ในปีนี้ องค์ประกอบที่ส�ำคัญ คือ การเปิดตัว Theme Park จากภาพยนตร์เรื่อง “Harry Porter” จากการส�ำรวจครั้งนี้ พบว่า ไม่ว่า ยักษ์ใหญ่อย่าง 7-Eleven หรือ โตโยต้า หรือ บริษทั ทีม่ ี Brand Awareness สูง มักจะได้รบั ความชื่นชอบสนิทสนมอยู่แล้ว แต่ Brand เหล่านี้ ต้องสร้างเสริมความชืน่ ชอบจากลูกค้า อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานที่จะ ลืมไม่ได้ ยิ่งในยุคที่มีการขึ้นภาษีบริโภคท�ำ ให้ราคาสินค้าต้องสูงขึ้น ยิ่งมีความจ�ำเป็น อย่างยิ่ง Brand Name Toyota 7-Eleven ANA Google Panasonic SoftBank Apple Canon Suntory Seven & I Holdings

ทางด้าน BtoB (business market) จากการส� ำ รวจของ 500 Brand ก็ มี ก าร ประเมินทางด้าน “การมองการณ์ไกล” “ความ สามารถบุคลากร” รวมทัง้ “Global” และ “การ สนั บ สนุ น เศรษฐกิ จ ญี่ ปุ ่ น ” รวมอยู ่ ด ้ ว ย คะแนนรวมนั้น อันดับ 1 คือ โตโยต้า ซึ่งเป็น อันดับ 1 มา 4 ปีติดต่อกัน อันดับ 2 คือ 7-Eleven ขึ้นมาจากอันดับที่ 14 ในปีนี้ สายการบิน ANA สามารถขึน้ มาจากอันดับ 12 มา เป็น อันดับ 3 โดยได้รับการประเมิน “ความ สามารถบุคลากร” ในอันดับรองลงมาจาก โตโยต้า บริษัทเครื่องไฟฟ้า มีแต่ Panasonic ที่ได้ขึ้นมาอยู่ในอันดับสูง (อันดับ 4) ซึ่งได้รับ การประเมิ น สู ง ในด้ า น “ความสามารถ บุคลากร” และ “การมองการณ์ไกล”


Q

Marketing & Branding for

uality

การตลาดสำ � หรั บ ผู ป ้ ระกอบการ: การเลือกกลยุทธ์ช่องทางการจัดจำ�หน่ายสำ�หรับผู้ประกอบการ (Choosing a Channel Strategy for Entrepreneurial)

ผศ.ดร.นภวรรณ คณานุรักษ์

การ

เลือกกลยุทธ์ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายนั้น ผู้ประกอบการ ควรที่จะค�ำนึงถึงปัจจัยส�ำคัญที่มีผลกระทบต่อการเลือก ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ปัจจัยที่ส�ำคัญนี้มี หลายประเด็นที่จะต้องค�ำนึงถึงที่ประกอบด้วย ลูกค้า ผลิตภัณฑ์และ บริการ สภาพแวดล้อม และความเสีย่ งต่าง ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ซึง่ ประเด็น ส�ำคัญ คือ การเลือกช่องทางการจัดจ�ำหน่ายของลูกค้ามีลกั ษณะบุคลิก เฉพาะตัว จึงท�ำให้ผู้ประกอบการควรที่จะพิจารณาถึงการก�ำหนด ช่องทางที่เหมาะสมกับลูกค้า การก�ำหนดช่องทางทีเ่ หมาะสมกับลูกค้า ควรทีจ่ ะตอบค�ำถาม พืน้ ฐานหลาย ๆ ค�ำถามก่อนทีจ่ ะท�ำการก�ำหนดช่องทางการจัดจ�ำหน่าย ซึ่งค�ำถามพื้นฐานประกอบไปด้วย 1. ผู้ที่คาดว่าจะเป็นลูกค้าของผู้ประกอบการคือใคร 2. ผู้ที่คาดว่าจะเป็นลูกค้าซื้อสินค้าที่ไหน 3. ผู้ที่คาดว่าจะเป็นลูกค้าซื้อสินค้าเมื่อไร 4. ผู้ที่คาดว่าจะเป็นลูกค้าซื้อสินค้าอย่างไร 5. ผู้ที่คาดว่าจะเป็นลูกค้าซื้อสินค้าอะไร

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

ค�ำตอบที่ได้จากค�ำถามเหล่านี้จะช่วยให้ก�ำหนดประเภทของ คนกลางหรือสมาชิกในช่องทางการจัดจ�ำหน่ายที่จะเข้าถึงลูกค้ากลุ่ม เป้าหมายของผูป้ ระกอบการได้เป็นอย่างดี โดยทัว่ ไปอาจจะพบว่าลูกค้า ส่วนหนึ่งจะระบุว่าช่องทางการจัดจ�ำหน่ายทางตรงเป็นทางเลือกที่ดี ที่สุด แต่ในขณะเดียวกันอาจจะพบว่าลูกค้าส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่า ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายทางอ้อมเป็นทางเลือกที่ดีทีสุดเช่นกัน ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์และบริการจัดเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญในการ เลือกช่องทางการจัดจ�ำหน่ายเช่นกัน ดังจะเห็นได้จากผลิตภัณฑ์ที่ ส่งมอบคุณค่าทีด่ เี ยีย่ มให้แก่ลกู ค้า หรือสินค้าทีต่ อ้ งใช้ความเชีย่ วชาญ ด้านใดด้านหนึง่ อย่างลึกซึง้ มักจะเลือกช่องทางการตลาดแบบทางตรง และในกรณีที่สินค้าอยู่ในช่วงต้น ๆ ของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์มักจะ เลือกช่องทางการตลาดแบบทางตรง การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ส่งผลต่อการเลือกช่อง ทางของผู้ประกอบการเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยีระบบการขนส่ง และการเก็บรักษาสินค้า ที่ไม่คงทน มีการเติบโตและก้าวหน้าอย่างมาก ส่งผลให้ธุรกิจหลาย for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

57


Marketing & Branding

ประเภทมีโอกาสเติบโตและเลือกช่องทางการตลาดที่เหมาะสม เช่น ธุรกิจดอกไม้สด ทีส่ ามารถเลือกช่องทางการตลาดทางตรงเพือ่ ส่งมอบ สิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพถึ ง ลู ก ค้ า ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากนั้ น อินเทอร์เน็ตยังเป็นนวัตกรรมเทคโนโลยีหลักทีเ่ ปิดโอกาสผูป้ ระกอบการ มีช่องทางใหม่ในการกระจายสินค้าถึงมือกลุ่มลูกค้าได้เป็นอย่างดี ปัจจัยสุดท้ายที่เป็นปัจจัยส�ำคัญ คือ ความเสี่ยง ประกอบด้วย ความเสี่ยงด้านความสามารถทางการเงิน ทรัพยากรมนุษย์ หรือ เทคโนโลยี ที่ผู้ประกอบการใช้ในการพิจารณาเลือกช่องทางการตลาด เช่น ผูป้ ระกอบการทีไ่ ม่มคี วามสามารถทางการเงินในการจ้างงานด้าน การขาย อาจจะใช้ตัวแทนของผู้ผลิต (manufacturers’ agents) หรือ ตัวแทนขาย (selling agents) ท�ำหน้าที่ในการขายสินค้าให้แก่สมาชิก ในช่องทางอื่น ๆ อย่างผู้ค้าส่ง หรือสามารถท�ำหน้าที่ในการขายให้แก่ ลูกค้า

Vol.22 No.210 July-August 2015

การเลือกกลยุทธ์ช่องทาง (choosing a channel strategy)

58

การเลือกกลยุทธ์ชอ่ งทางทีส่ ามารถเข้าถึงกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย ผู้ประกอบการควรค�ำนึงถึงประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. ประสิทธิผล (effectiveness) กลยุทธ์ชอ่ งทางสามารถตอบ สนองความต้องการของลูกค้าได้ดีเพียงใด สิ่งที่ผู้ประกอบการควรค�ำนึงถึงในการเลือกกลยุทธ์ช่องทาง คือ การพิจารณาว่าช่องทางใดจะสามารถตอบสนองความต้องการ ลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ซึ่งอาจจะเกิดจากการตั้งค�ำถามที่

ผู้ประกอบการควรตอบดังนี้ ➲ ลูกค้าชอบวิธีการซื้อรูปแบบใดหรืออย่างไร ➲ ลูกค้าชอบซื้อสินค้าจากผู้ประกอบการโดยตรงหรือไม่ ➲ ลูกค้ายอมรับได้กับการซื้อผ่านสมาชิกช่องทางหรือไม่ ผู้ประกอบการอาจจะพบว่าลูกค้าเป้าหมายบางส่วนมีความ ต้องการข่าวสาร ความสะดวก และความหลากหลาย ข่าวสาร จะเป็นประเด็นที่ส�ำคัญเมื่อลูกค้ามีความรู้จ�ำกัดหรือ ต้องการข่าวสารเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์และบริการทีม่ ลี กั ษณะจ�ำเพาะ และ สอดรับกับการเลือกสมาชิกช่องทางทีท่ ำ� การสือ่ สารไปยังลูกค้าผ่านการ แสดงสินค้าภายในร้าน การสาธิต และการใช้พนักงานขาย


ความสะดวก ในมุมมองของลูกค้ามีความหมายในหลายมิติ เช่น ช่วงเวลาเปิดปิด การเข้าถึงสินค้าและบริการ ซึ่งจะเห็นได้จากร้าน 7-Eleven ที่เปิดร้านในสถานที่ที่ใกล้กับแหล่งที่อยู่อาศัยหรือสถานที่ ท�ำงานของลูกค้า และส�ำหรับลูกค้าที่จับจ่ายใช้สอยผ่านทางออนไลน์ ความสะดวกหมายถึงความง่ายในการเข้าถึงและความรวดเร็ว ความหลากหลาย เป็นอีกปัจจัยทีส่ ำ� คัญทีส่ ามารถท�ำให้ลกู ค้า เกิ ด ความสนใจในการเข้ า ไปเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า ต่ า ง ๆ ผ่ า นช่ อ งทาง การจ�ำหน่าย 2. การครอบคลุมตลาด (market coverage) ลูกค้ามีความ พอใจกับคุณค่าที่ผู้ประกอบการเสนอให้หรือไม่ ผู ้ ป ระกอบการควรที่ จ ะเข้ า ใจถึ ง ความหนาแน่ น ของการ กระจายสินค้าและบทบาทของสมาชิกในช่องทาง ซึง่ ความหนาแน่นใน การกระจายสินค้าแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ➲ Intensive Distribution Strategy ผู้ประกอบการที่เลือกการ กระจายสินค้าในระดับนี้ เป็นผู้ประกอบการที่ต้องการกระจายสินค้า อย่างทัว่ ถึง และท�ำให้สนิ ค้าสามารถเข้าถึงกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายได้เมือ่ ลูกค้าต้องการ ซึ่งเหมาะกับสินค้าประเภทสินค้าสะดวกซื้อ เช่น นม เครื่องดื่ม อาหาร และของใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ➲ Selective Distribution Strategy ผู้ประกอบการที่เลือกการ กระจายสินค้าในระดับนี้เป็นผู้ประกอบการที่ต้องการเลือกสมาชิก ช่ อ งทางที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง กลุ ่ ม เป้ า หมายที่ ต ้ อ งการสิ น ค้ า ประเภท เลือกซื้อ เช่น นาฬิกา โทรทัศน์ ➲ Exclusive Distribution Strategy ผูป้ ระกอบการทีเ่ ลือกการ กระจายสินค้าในระดับนี้เป็นผู้ประกอบการที่ต้องการควบคุมช่องทาง และจ�ำกัดจ�ำนวนช่องทางการจ�ำหน่ายสินค้า เพราะต้องการสร้างภาพลักษณ์สินค้าและบริการให้ลูกค้าเห็นถึงความหรูหรา มีคุณค่า เช่น สินค้าประเภทเสื้อผ้า น�้ำหอม เครื่องแต่งกายราคาสูง

3. ต้นทุนที่มีประสิทธิภาพและการได้ผลประโยชน์ (costefficiency/profitability) ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งหมายถึงการที่ท�ำให้ผู้ประกอบการสามารถ บริหารจัดการต้นทุนและก่อให้เกิดก�ำไรได้อย่างเหมาะสมเพียงใด ต้นทุนของช่องทางประกอบด้วยการจัดจ�ำหน่าย การโฆษณา และค่าใช้จ่ายในการขาย ซึ่งค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อก�ำไร ท�ำให้ผู้ประกอบการจะต้องพิจารณาว่าควรเลือก สมาชิกช่องทางประเภทใดหรือระดับใด เพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด และสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้เป็นอย่างดี 4. ความสามารถในการปรั บ ตั ว (adaptability) เมื่ อ มี ผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ และรูปแบบช่องทางทีเ่ กิดการรวมตัวกันเป็น หนึ่งเดียว ผู้ประกอบการสามารถปรับตัวได้มากน้อยเพียงใด เช่น การ เกิดช่องทางการจัดจ�ำหน่ายอิเล็กทรอนิกส์ทสี่ ง่ ผลให้ผปู้ ระกอบการจะ ต้องบริหารจัดการร่วมกับช่องทางการจัดจ�ำหน่ายแบบเดิมที่มีอยู่ ไม่ ว่าจะเป็นการจัดจ�ำหน่ายที่มีหน้าร้านและการจัดจ�ำหน่ายตรงโดยใช้ พนักงานขายให้เกิดการประสมประสานกันอย่างลงตัว ผู้ประกอบการที่จะประสบความส�ำเร็จได้จึงควรเลือกกลยุทธ์ ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายทีม่ ปี ระสิทธิผล โดยพิจารณาจากประเด็นต่างๆ ที่ ไ ด้ ก ล่ า วมาแล้ ว ข้ า งต้ น แต่ ทั้ ง นี้ อ าจจะต้ อ งพิ จ ารณาร่ ว มกั บ ส่วนประสมทางการตลาดด้านต่าง ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ ราคา ที่ได้ กล่าวมาแล้วในตอนต้น ๆ และยังรวมถึงส่วนประสมทางการตลาดด้าน การส่งเสริมการตลาดที่กล่าวถึงในตอนต่อ ๆ ไป

Vol.22 No.210 July-August 2015

Marketing & Branding

59


Q

Marketing & Branding for

uality

Rebranding

ตอนที่

5

เคล็ดไม่ลับปรับแบรนด์ ให้เจ๋ง มนิสรา โตวิทยา และ ผศ.ดร.พัลลภา ปีติสันต์

วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

จาก

หลาย ๆ ตอนที่ผ่านมา กรณี ศึกษา Rebranding ที่ทีมวิจัย มหิดลน�ำเสนอ เป็นกรณีศกึ ษาของธุรกิจขนาด กลางและใหญ่ ในฉบับนี้ คุณมนิสรา โตวิทยา นักศึกษาปริญญาโท สาขาการตลาด ได้ไป ศึกษาว่าหากต้องการจะ Rebranding แล้ว ผู้ประกอบการขนาดเล็กมีกลยุทธ์อย่างไร และสามารถท�ำให้การ Rebranding จาก ก๋วยเตีย๋ วเจ๊กเม้ง สู่ JM Cuisine ประสบความ ส�ำเร็จได้อย่างไร

ก่อนที่จะมาเป็น...เจ๊กเม้ง

ร้านก๋วยเตี๋ยวเนื้อ “เจ๊กเม้ง” จากเดิม มีชื่อร้านว่า เม้ง (จเร) เปิดมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2499 โดยเจ้าของที่แท้จริง คือ “นายลิ่มเชียง แซ่ไหล” ซึ่งถือเป็นร้านก๋วยเตี๋ยวเนื้อเก่าแก่ คูก่ บั จังหวัดเพชรบุรมี านาน แต่มคี วามจ�ำเป็น ที่ต้องล้มเลิกกิจการไป ทางครอบครัวสหัส-

60

for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

สพาศน์ดว้ ยความทีเ่ สียดายสูตรก๋วยเตีย๋ วต้น ต�ำรับของความอร่อยและเป็นที่ยอมรับ รวม ไปถึงชือ่ เสียงร้านทีส่ ะสมมานาน จึงซือ้ กิจการ มาสานต่อและเปลีย่ นชือ่ ร้านจาก “เม้ง (จเร)” มาเป็น เจ๊กเม้ง ซึ่งบริหารงานโดย คุณไอซ์ ธีรศานต์ สหัสสพาศน์

ร้านก๋วยเตี๋ยวธรรมดา สร้างคุณค่ากลายเป็นแบรนด์

ในช่วงแรกร้านเจ๊กเม้ง มีรายได้วนั ละ 600 บาท เนือ่ งจากลูกค้าเดิมทีเ่ คยรับประทาน ไม่เข้ามาใช้บริการ เพราะคิดว่าไม่ใช่ร้านต้น ต�ำรับทีค่ นุ้ เคย กลุม่ ลูกค้าเป็นเพียงกลุม่ เล็ก ๆ ที่อาศัยอยู่ในละแวกนั้น คุณไอซ์ ธีรศานต์ สหั ส สพาศน์ ผู ้ บ ริ ห ารร้ า นก๋ ว ยเตี๋ ย วเนื้ อ เจ๊ กเม้ง มองเห็นปัญหาตรงจุดนี้ ในขณะ เดียวกันก็มองว่าเป็นเสน่หอ์ ย่างหนึง่ คุณไอซ์ กล่าวว่า “ถ้าเป็นสมัยก่อนในการท�ำธุรกิจ

เวลาที่อยากได้เงินใคร เราก็ต้องไปขอให้เขา ช่วยเราซือ้ แต่ถา้ เรามีการตลาดทีด่ ี เสน่หข์ อง มันอยู่ตรงที่ว่าเราไม่จ�ำเป็นต้องเดินไปหา ลูกค้า แต่กลับกลายเป็นว่าลูกค้าเป็นคนเดิน น�ำเงินมาให้เรา” ดังนั้น จึงด�ำเนินการปรับเปลีย่ นการบริหารจากเดิมมาเป็นรูปแบบใหม่ โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ ทางการตลาดและสร้ า ง แบรนด์โดยปรับต�ำแหน่งจากร้านดังในท้องถิน่ ให้กลายเป็นแบรนด์รา้ นดังประจ�ำจังหวัด (re-positioning) เพื่อเพิ่มรายได้และขยาย ฐานลูกค้าให้กว้างขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยว กลยุ ท ธ์ ส� ำ หรั บ การสร้ า งแบรนด์ เจ๊กเม้ง คือ การค่อย ๆ สร้างคุณค่าจากภายใน ก่อน ไม่ว่าจะเป็นบรรยากาศร้านที่ทันสมัย สีประจ�ำของร้านที่เป็นลายเส้นขาวสลับด�ำ ซึง่ มีเอกลักษณ์โดดเด่นไม่เหมือนใคร สโลแกน “หน้าไม่งอ รอไม่นาน” ซึ่งเป็นตัวก�ำหนด


Marketing & Branding

ทำ�ไมเจ๊กเม้งต้อง Rebranding เป็น JM Cuisine

หากใครทีเ่ คยมาเทีย่ วจังหวัดเพชรบุรี จะเห็นว่าไม่รู้ท�ำไมร้านก๋วยเตี๋ยวเนื้อถึงมีชื่อ ว่า เม้ง ไปหมด รีวิวแนะน�ำในเว็บไซต์ต่าง ๆ ก็มที งั้ เม้ง (จเร) เม้ง (น�ำ้ พุ) ซึง่ ก็รวมถึงเจ๊กเม้ง ด้วยท�ำให้มีลูกค้าบางกลุ่มสับสน ทางผูบ้ ริหารจึงมีความคิดทีจ่ ะเปลีย่ น ชื่อร้านเพื่อหลีกเลี่ยงค�ำว่า เม้ง บวกกับการ ที่ อ ยากท� ำ ให้ แ บรนด์ มี ม าตรฐานมากขึ้ น เหมือนกับ MK, S&P จากชื่อเสียงของร้าน เจ๊กเม้ง ใครหลายคนคิดว่าวันนีเ้ จ๊กเม้งประสบ ความส�ำเร็จ แต่คณ ุ ไอซ์ได้กล่าวว่า “หลายคน พยายามยัดเยียดความส�ำเร็จมาให้เรา แต่ ไม่ มี ใ ครที่ จ ะประสบความส� ำ เร็ จ ได้ อ ย่ า ง แท้จริง จนกว่าเขาจะพอใจ” จึงเป็นเหตุผล หนึ่งที่เจ๊กเม้งต้อง Rebranding เพื่อความ

ส�ำเร็จอีกก้าวหนึ่งที่ยิ่งใหญ่ กลายมาเป็น JM Cuisine อาหารความคิดสร้างสรรค์ต้นต�ำรับ เพชรบุรี หลาย ๆ คนจะเข้าใจว่า JM ย่อมา จากเจ๊กเม้ง แต่จริง ๆ แล้วย่อมาจาก Joy’s Mom หมายถึง “ความสุขของแม่” นั่นก็คือ คุณศิริรัตน์ สหัสสพาศน์ ซึ่งเป็นคุณแม่ของ คุณไอซ์ ธีรศานต์ สหัสสพาศน์ ผู้บริหาร JM Cuisine การ Rebranding จากเจ๊กเม้งเป็น JM Cuisine เป็นการปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์จาก ร้านก๋วยเตีย๋ วมาเป็นร้านอาหารของคนรุน่ ใหม่ มีเมนูหลากหลายที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ อาทิ ข้าวไข่ข้นซอสต้มย� ำกุ้งน�้ ำข้น บะหมี่ไข่เจียวกรรเชียงปูราดซอสตาลโตนด ราดหน้ า เย็ น ตาโฟ และบะหมี่ ผั ด มั น กุ ้ ง

เป็นต้น และมีการขยายฐานลูกค้าเพิม่ จากนัก ท่องเที่ยวทั่วไป ไปยังกรุ๊ปทัวร์ จัดอาหารชุด เพื่อรองรับคนเป็นจ�ำนวนมาก หลังจากที่มี การเปลี่ยนชื่อร้านจาก “เจ๊กเม้ง” มาเป็น JM Cuisine ก็มีการเปิดร้านใหม่ขึ้นมาเป็นสาขา 2 เพื่อเตรียมพร้อมสู่การให้บริการที่สามารถ รองรับลูกค้าเป็นจ�ำนวนมากถึง 700 ทีน่ งั่ และ ทุกอย่างภายในร้าน JM Cuisine จะไม่ใช้ค�ำ ว่า “เจ๊กเม้ง” ที่เป็นแบรนด์เดิมอีก โดยมีจุด เชื่อมระหว่างแบรนด์เดิมกับแบรนด์ใหม่ คือ คุณแม่ ศิริรัตน์ สหัสสพาศน์ ซึ่งลูกค้าเดิมจ�ำ ได้ดี ภายในร้านจะมีรปู คุณแม่ประกบกับโลโก้ JM Cuisine เพื่อสร้างให้ลูกค้าเข้าใจว่าเป็น ร้านเดียวกัน แต่ก็ยังคงสิ่งที่ลูกค้าจดจ�ำได้ไว้ เหมือนเดิมไม่เปลี่ยน เช่น สโลแกนเดิมของ ร้าน “หน้าไม่งอ รอไม่นาน” และสีสัน ลาย เส้น ขาว-ด�ำ ที่เป็นธีมสีประจ�ำของร้าน จากการเก็บข้อมูลผ่านแบบสอบถาม ทางร้านท�ำให้พบว่าสิ่งที่น่าสนใจ คือ แบรนด์ จริง ๆ ที่ลูกค้าเห็นคุณค่า คือ ต้องบริหารงาน โดย คุณไอซ์ ธีรศานต์ สหัสสพาศน์ น้องชาย คุณครีม ธวัชชัย สหัสสพาศน์ รวมไปถึง คุณแม่ศิริรัตน์ สหัสสพาศน์ ด้วย คุณไอซ์ กล่าวว่า “การเอาแบรนด์ไปผูกกับบุคคลถือว่า ดี ในช่วงแรกแต่ไม่ใช่ในระยะยาว การ Rebraning ต้องท�ำให้เป็นแบรนด์จริง ๆ ในใจ

Vol.22 No.210 July-August 2015

รูปแบบการบริการให้มปี ระสิทธิภาพ คุณภาพ ของอาหารทีค่ ดั สรรวัตถุดบิ อย่างดี เมนูอาหาร ที่หลากหลาย รวมไปถึงรสชาติของอาหารที่ ได้มาตรฐานถูกปากทั้งคนเพชรบุรีและนัก ท่องเที่ยว สิง่ ส�ำคัญต่อมา คือ การสือ่ สารคุณค่า ดังกล่าวไปยังผูบ้ ริโภคทีเ่ ป็นกลุม่ เป้าหมาย ซึง่ เครื่องมือที่น�ำมาใช้เป็นสิ่งใกล้ตัวที่ทุกคนคุ้น เคย นัน่ ก็คอื Social Media อย่าง Facebook, Twitter และ Website ซึ่งถือว่าประสบความ ส�ำเร็จ เพราะท�ำให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ลูกค้ากับทางร้าน และเป็นช่องทางในการ สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า อีกทั้งสิ่งที่แตกต่างจากร้านก๋วยเตีย๋ วทัว่ ไป คือ ทางร้านมีการ เก็บแบบสอบถามข้อมูลลูกค้าและส่ง SMS ขอบคุณลูกค้าที่มาใช้บริการ รวมไปถึงน�ำ ความคิดเห็นของลูกค้ามาพัฒนาปรับปรุง อย่างต่อเนือ่ ง ก่อให้เกิดการพูดกันปากต่อปาก หลั ง จากนั้ น สื่ อ ต่ า ง ๆ ก็ ใ ห้ ค วามสนใจ โดยเฉพาะรายการ SMEs ตีแตก ซึ่งผลของ การออกอากาศ ท�ำให้คนรู้จักร้านมากขึ้น อยากมาเจอผูบ้ ริหารร้านตัวจริง และอยากมา รับประทานอาหารที่ร้านสักครั้งหนึ่งท�ำให้ ร้านเจ๊กเม้งเป็นมากกว่าร้านก๋วยเตีย๋ วธรรมดา แต่เป็นแบรนด์ที่มีคุณค่าในใจผู้บริโภค

61


Marketing & Branding

Vol.22 No.210 July-August 2015

ผู้บริโภค ไม่ได้ขึ้นอยู่กับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง” ซึ่งในอนาคตโลโก้ JM Cuisine จะมีเพียง สัญลักษณ์รูปช้อนส้อม และตัวอักษรค�ำว่า JM Cuisine เท่านั้น จากการสัมภาษณ์ผู้บริหาร JM Cuisine คุณไอซ์ ธีรศานต์ สหัสสพาศน์ ท�ำให้ พบกลยุทธ์ในการ Rebranding ที่น่าสนใจ สรุปออกมาได้ 5 ประการดังต่อไปนี้ 1. วางวิสัยทัศน์ ปักธงไว้ให้ชัดเจน ว่าอยากปรับเปลี่ยน หรือ Rebranding เพื่อ อะไร ค้นหาปัญหาหรือโอกาสให้เจอ 2. รูปแบบการให้บริการต้องท�ำให้ เป็นมืออาชีพ มีประสิทธิภาพ สร้างความ พึงพอใจให้กับผู้บริโภค เนื่องจากการ Rebranding ไม่ใช่เพียงแค่เปลี่ยนชื่อ เปลี่ยน โลโก้ แต่รวมถึง Touch Point ทุกอย่างที่เข้า ถึงลูกค้า จาน ชาม ช้อน ขวดน�้ำ บรรยากาศ ภายในร้าน เพื่อสร้าง Awareness การจดจ�ำ หรือแม้แต่ประสบการณ์ทดี่ ี ในทางการตลาด ก็ คื อ การวางต� ำ แหน่ ง ที่ ถู ก ต้ อ งและการ สื่อสารได้ตรงกับกลุ่มเป้าหมายผ่านช่องทาง ต่าง ๆ 3. เก็บข้อมูลลูกค้าเพื่อน�ำมาแก้ไข ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อครอบคลุมความ ต้องการของลูกค้า ท�ำให้เป็นมาตรฐาน ไม่คดิ

62

ว่าเป็นภาระหรือเป็นหน้าที่ ท�ำด้วยความ สบายใจจนคิดว่าเป็นส่วนหนึ่งของร่างกาย เหมือน ๆ กับการหายใจ จะท�ำให้เราอยู่ในจุด ที่ได้เปรียบคนอื่น เพราะเรามีการปรับตัวอยู่ ตลอดเวลาตามสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยน การ Rebranding ก็เช่นเดียวกัน หากเราไม่ปรับ เปลีย่ นแบรนด์เราก็จะเสีย และหายไปจากใจ ผู้บริโภค 4. รู ้ ว ่ า แบรนด์ ข องเรา อะไรคื อ คุณค่าในใจของผู้บริโภค และมีความส�ำคัญ กับผู้บริโภคมากน้อยแค่ไหน ถ้ามีน้อยก็เพิ่ม Value ให้มีคุณค่ามากขึ้น ในทางตรงข้ามถ้า มีมากเกินไปก็ท�ำให้มันลดลง โดยน�ำเสนอให้ ลูกค้าเข้าใจว่าปรับเปลี่ยนแล้วดีอย่างไร เช่น

แบรนด์เดิมมันเก่าแล้วมีความจ�ำเป็นต้อง เปลี่ยนให้มีความทันสมัยมากขึ้น นั่นก็คือ ข้อ ควรระวังในการ Rebranding ไม่ใช่คิดถึงแต่ ความส�ำเร็จของผู้บริหารอย่างเดียว แต่ต้อง ค�ำนึงถึงลูกค้ากลุ่มเดิมที่ผูกพันกับแบรนด์ ด้ ว ย ว่ า ถ้ า Rebranding จะมี ค วามรู ้ สึ ก อย่างไร ต้องปกป้องคุณค่าของแบรนด์ในใจ ลูกค้าให้ยังอยู่ 5. การ Rebranding ทีป่ ระสบความ ส�ำเร็จ คือ การทีท่ ำ� ให้แบรนด์มคี ณ ุ ค่า ขายได้ ด้วยตัวของมันเอง ไม่ได้ยดึ ติดกับสิง่ ใดสิง่ หนึง่ จากกลยุทธ์การ Rebrand ของ JM Cuisine ข้างต้นนี้ ไม่ใช่แต่องค์กรใหญ่ ๆ เท่านั้นที่จะท�ำการ Rebranding แต่ธุรกิจ ต่าง ๆ หรือผู้ประกอบการ SMEs ที่สนใจจะ ท�ำการ Rebranding ก็สามารถน�ำมาเป็น แนวทางในการน�ำไปปรับใช้ได้ให้เหมาะสมกับ ธุรกิจ รวมไปถึงสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา ท�ำให้การ Rebranding มี ความส�ำคัญอย่างยิง่ ในปัจจุบนั และเป็นสิง่ ทีน่ า่ ศึกษาอย่างต่อนือ่ ง โดยเฉพาะประเทศไทยที่ มีธุรกิจหลากหลายรูปแบบ รวมถึงการ Rebranding เพือ่ เตรียมพร้อมสู่ AEC อีกด้วย


Q

People for

uality

วิกฤตการณ์จะทำ�ให้มนุษย์กล้าแกร่ง

และยอมรับเพื่อความอยู่รอด

ตอนที่ 28

ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์ ประธานสถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ HRDI

ต่อจากฉบับที่แล้ว

การตัดสินใจของ Toyota

แม้ประธานกรรมการจะเป็นผู้ตัดสินใจในขัน้ สุดท้ายของบริษทั แต่ผทู้ จี่ ะเสนอ ให้มีการตัดสินใจที่ดีที่สุด ก็คือ ผู้บริหารไทย ดังนั้น ในการประชุมจึงควรจัดท�ำเอกสาร เสนอให้อนุมัติหรือเอกสารขอความเห็นชอบ ให้ดีที่สุด ข้อเสนอที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท เป็นสิ่งที่พึงประสงค์เสมอ ถ้าไม่น�ำข้อเสนอ ที่ดีมาเสนอด้วยเหตุผล แต่น�ำเสนอเพียง แค่เรื่องความรู้สึกก็นับเป็นเรื่องที่น่าเสียดาย ดังนัน้ ผูบ้ ริหารไทยจะต้องให้ความส�ำคัญกับ เรื่องงานเป็นหลัก ไม่ใช่ความรู้สึก เนื่องมา จากความสัมพันธ์ส่วนบุคคล ในอนาคตหลัง

จากการท�ำ Thainization ในบริษัทได้ส�ำเร็จ แล้ว ต่อไปบริษัทจะต้องมุ่งสู่ยุคโลกาภิวัตน์ (globalization) ซึ่งต้องการให้มีความคิดใน เชิงปกครองของบริษทั มากกว่าในปัจจุบนั อีก ไม่ว่าจะเป็นความคิดเรื่องการปฏิรูป ความ คิดสร้างสรรค์ ความโปร่งใส ความรับผิดชอบ ในการสื่อสารภายในองค์กร เป็นต้น

วิธีการตัดสินใจ

ลั ก ษณะที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะ ของระบบบริหารจัดการธุรกิจแบบญี่ปุ่นที่ มักจะถูกกล่าวถึง ก็คือ การว่าจ้างตลอดชีวิต ระบบอาวุ โ ส สหภาพแรงงานของบริ ษั ท

นอกจากนั้ น ยั ง มี ร ะบบหนั ง สื อ เวี ย นแบบ Bottom up และการผลิตที่ใช้ในบริษัทใน เครื อ ที่ อ ยู ่ ต ่ า งประเทศ จึ ง จะขอกล่ า วถึ ง โครงสร้ า งในการตั ด สิ น ใจของโตโยต้ า ประเทศไทย ในการตัดสินใจภายในบริษัทจะมี ผู้ที่เสนอและผู้ที่ตัดสินใจ วิธีตัดสินใจที่ใช้ ไม่ว่าจะเป็นบริษัทใดก็มีทั้งด้วยวาจาและ ด้วยเอกสาร แต่ส�ำหรับระบบภายในโตโยต้า วิธกี ารตัดสินใจด้วยเอกสารขอความเห็นชอบ อย่างเป็นทางการเป็นวิธีที่ใช้กันมากที่สุด ส่วนมากในเอกสารนี้จะระบุรายการที่ต้อง ตัดสินใจและรายละเอียด บางครัง้ เรือ่ งเล็ก ๆ for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

63


People บางเรื่องไม่ต้องจัดท�ำเป็นเอกสาร ซึ่งขึ้นอยู่ กับเวลา สถานที่ และโอกาส อาจจะมีการ ตัดสินใจโดยการพูดคุยกัน อย่างไรก็ตาม ก็ จะต้องจัดท�ำเป็นเอกสารขออนุมัติตามมา ภายหลัง

การเปรียบเทียบระหว่างการตัดสินใจ แบบญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา

Vol.22 No.210 July-August 2015

ในสหรัฐอเมริกา เรามักจะได้ยินว่า การตัดสินใจแบบ Top down ส่วนญี่ปุ่นใช้ การตัดสินใจแบบ Bottom up ก็คือ เป็นวิธี การตัดสินใจเป็นกลุ่มโดยใช้หนังสือเวียน ซึ่ง ต้องได้รับความเห็นชอบจากคนจ�ำนวนมาก ท�ำให้ความรูส้ กึ ทีม่ สี ว่ นร่วมหลังการตัดสินใจ มีสงู ความร่วมมือกันระหว่างฝ่ายเป็นไปอย่าง ราบรืน่ และสามารถน�ำไปด�ำเนินการทันทีได้ ง่าย นอกจากนั้นยังมีข้อดีอีกอย่างหนึ่งจาก การทีม่ กี ารน�ำความคิดของคนจ�ำนวนมากมา พิจารณา ท�ำให้ได้มุมมองจากหลาย ๆ ด้าน แต่การที่ผู้บริหารสูงสุดตัดสินใจคนเดียวก็มี ข้อดี คือ เป็นการประหยัดเวลาทีต่ อ้ งใช้ในการ ตัดสินใจ อย่างไรก็ตาม บริษทั ญีป่ นุ่ ส่วนมาก ยังคงใช้วิธีการแบบ Bottom up อยู่ มักจะมีการถกเถียงกันว่าการบริหาร จัดการแบบสหรัฐ หรือการบริหารจัดการแบบ ญีป่ นุ่ ดีกว่ากัน ซึง่ มีคำ� ตอบเพียงค�ำตอบเดียว

64

คือ ทัง้ สองแบบต่างก็มที งั้ จุดเด่นและจุดด้อย ส�ำหรับแบบญีป่ นุ่ ในปัจจุบนั ก็คอ่ ย ๆ เปลีย่ นแปลงไป แต่ก็ยังคงน�ำเรื่องของบุคลากร เช่น การว่ า จ้ า งตลอดชี วิ ต ซึ่ ง เป็ น ธรรมเนี ย ม ปฏิบัติดั้งเดิมเข้ามาใช้ในการบริหารจัดการ ส่วนแบบสหรัฐเน้นผูถ้ อื หุน้ และมีการควบคุม ดูแลบริษัทอย่างเข้มงวด ซึ่งเป็นจุดที่ดี แต่ เมื่อดูสภาพเศรษฐกิจที่ถดถอยของทั้งสอง ประเทศในปัจจุบัน ส�ำหรับญี่ปุ่นการบริหาร จัดการในบริษัทมีลักษณะที่ความรับผิดชอบ ครอบคลุมทุกอย่างได้ยาก แต่แม้ในสหรัฐก็มี ค�ำถามถึงเรื่องความสามารถของผู้บริหาร ระดับสูงจากการล้มละลายของบริษัทขนาด ใหญ่ ถึงแม้จะมีการควบคุมดูแลบริษัทอย่าง เข้มงวด แต่ความรับผิดชอบของบริษทั ในการ เปิดเผยข้อมูลและการอธิบายต่อสาธารณชน ก็ยงั ไม่มคี วามชัดเจนไม่แตกต่างจากญีป่ นุ่ ซึง่ นับว่าเป็นจุดด้อย เรื่องการให้ความเห็นชอบโดยการ ตัดสินใจ Bottom-up แบบญี่ปุ่นนั้น ส�ำหรับ ผู้ที่ให้ความเห็นชอบนั้น ไม่ใช่ว่าจะสามารถ ตัดสินเรื่องต่าง ๆ ได้ทุกเรื่อง เนื่องจากมีกฎ ข้อบังคับเกี่ยวกับอ�ำนาจเป็นเงื่อนไขอยู่ เรื่อง ที่ส�ำคัญส่วนใหญ่ประธานกรรมการจะเป็น ผู้ตัดสิน ส่วนเรื่องที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้น เช่น การแก้ไขข้อบังคับของบริษทั หรือการเปลีย่ น-

แปลงในเรื่ อ งเงิ น ทุ น นั้ น จะต้ อ งน� ำ เข้ า ที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัท และจะต้องได้ รับการอนุมัติจากส�ำนักงานใหญ่ที่ประเทศ ญี่ปุ่นซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ นอกจากนั้นยังมี การก�ำหนดเรือ่ งทีร่ องกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้อ�ำนวยการ ผู้จัดการ ฯลฯ สามารถให้ความเห็นชอบได้ นอกเหนื อ จากกรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ ซึ่ ง ตัวอย่างหนึ่ง คือ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นผูท้ มี่ อี ำ� นาจในการให้ความเห็นชอบเรือ่ ง แผนประจ� ำ ปี และพิ จ ารณาทบทวนแผน ประจ�ำปีของแต่ละฝ่าย และการสับเปลี่ยน โยกย้ายผู้อ�ำนวยการ นอกจากนั้นยังก�ำหนด ให้รองประธานกรรมการมีอำ� นาจในเรือ่ งการ เลื่อนต�ำแหน่งของพนักงานทั่วไปและการ สับเปลีย่ นโยกย้ายผูจ้ ดั การ ส่วนผูอ้ ำ� นวยการ มี อ� ำ นาจในเรื่ อ งการสั บ เปลี่ ย นโยกย้ า ย พนักงานทั่วไป และผู้จัดการมีอ�ำนาจในเรื่อง การออกเอกสารสั่งซื้อจากผู้ผลิตชิ้นส่วน

การตัดสินใจของโตโยต้า ประเทศไทย

ตามปกติเรือ่ งทีต่ อ้ งให้ความเห็นชอบ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในกฎข้อบังคับเกี่ยวกับอ�ำนาจ จะขอความเห็นชอบจากผู้ที่เกี่ยวข้องโดย อาศัยหนังสือเวียน เพื่อขอการอนุมัติและเข้า สู่ขั้นตอนการด�ำเนินงานจริง ซึ่งรูปแบบการ ให้ความเห็นชอบอย่างต่อเนื่องกันเช่นนี้ คือ ระบบหนังสือเวียน ที่เป็นลักษณะที่เฉพาะ ของคนญี่ปุ่น ส�ำหรับขั้นตอนโดยย่อภายใน โตโยต้า ประเทศไทย เริม่ ต้นจากผูร้ บั ผิดชอบ ยกร่างข้อเสนอ และข้อเสนอดังกล่าวจะถูก เวียนผ่านผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้จัดการ รองผู้อ�ำนวยการ ผู้อ�ำนวยการ ผู้ช่วยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ตามล�ำดับ ใน กรณีที่ผู้จัดการหรือผู้อ�ำนวยการมีค�ำถามขึ้น มา ร่างข้อเสนอจะต้องได้รับการแก้ไขทันที และบางครัง้ อาจจะมีผวู้ จิ ารณ์วา่ วิธกี ารเขียน ไม่ดี หรือมีปัญหาเรื่องรูปแบบการน�ำเสนอ ก็ ต้องน�ำมาแก้ไขใหม่แล้วเสนอเป็นหนังสือ เวียนอีก จึงท�ำให้ต้องเสียเวลามาก ระบบหนังสือเวียนนี้ถูกวิจารณ์ว่ามี ข้อเสียหลายประการ เช่น ใช้เวลามากเกินไป


People

ประเด็นปัญหาในการตัดสินใจและวิธีการแก้ไข

เนื่องจากการตัดสินใจมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องอ�ำนาจและปัญหาในการมอบ อ�ำนาจ และการควบคุมนโยบาย จึงอาจจะ มี เ นื้ อ หาที่ ซ�้ ำ ซ้ อ นกั น อยู ่ บ ้ า ง โดยหากยก ประเด็นปัญหาจริงขึ้นมาผ่านการจัดท�ำและ การใช้ “เอกสารขอความเห็นชอบ” และ “เอกสารเสนอ” ก็คงจะมีประเด็นปัญหาดัง ต่อไปนี้ 1. ใช้ เ วลาโดยสู ญ เปล่ า โดยให้ ความสนใจกับรูปแบบในการจัดท�ำมากเกิน ไป เป็นปัญหาทีค่ อ่ ย ๆ ปรากฏให้เห็นในระยะ หลัง โดยภาระในเรื่องเวลาที่ใช้ในการจัดท�ำ “เอกสารขอความเห็นชอบ” และ “เอกสาร เสนอ” นั้นสูงมาก จึงกลายมาเป็นภาระใน เรื่องงานที่หนักจนไม่สามารถละเลยได้ ใน อดี ต เคยมี ก ารรณรงค์ ใ นเรื่ อ งการไม่ ใ ช้

กระดาษ (paperless campaign) ภายใน บริ ษั ท โดยถื อ เป็ น การรณรงค์ ป รั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพในการท�ำงานอย่างหนึง่ แต่กไ็ ม่ ประสบความส�ำเร็จ ซึ่งเมื่อพิจารณาในเรื่อง ปริมาณและลักษณะงานในปัจจุบัน ก็พบ ว่าการทีไ่ ม่สามารถด�ำเนินการในเรือ่ ง Paperless ให้ส�ำเร็จได้นั้นเป็นข้อเท็จจริงที่เห็นได้ อย่างชัดเจนในตัวเอง เนื่องจากการตัดสินใจ ด้วยวาจาโดยขาดหลักฐานทีเ่ ป็นลายลักษณ์ อักษรหลงเหลืออยูใ่ นภายหลังเป็นระบบทีไ่ ม่ เหมาะกับบริษัทนั่นเอง 2. อ�ำนาจและความรับผิดชอบทีไ่ ม่ ชัดเจน จ�ำเป็นต้องเข้าใจว่าเรื่องนี้เกี่ยวข้อง กับการถ่ายโอนอ�ำนาจให้แก่คนไทยของคน ญี่ปุ่นอยู่บ้าง แม้จะมีกฎข้อบังคับเกี่ยวกับ เรือ่ งอ�ำนาจอยู่ แต่ตอ้ งยอมรับว่าปริมาณงาน ในความเป็นจริงมีมากเกินไป และลักษณะ

อ่านต่อฉบับหน้า

Vol.22 No.210 July-August 2015

ท� ำ ให้ ไ ม่ ทั น เวลา ผู ้ ที่ ใ ห้ ค วามเห็ น ชอบมี จ�ำนวนมากเกินไป ท�ำให้ไม่มีความชัดเจนว่า ใครเป็นผูร้ บั ผิดชอบ แต่กย็ งั เป็นระบบทีย่ งั คง ใช้อยู่ในปัจจุบันในทุกบริษัทของญี่ปุ่น และ ใช้กันเป็นจ�ำนวนมากในบริษัทญี่ปุ่นที่อยู่ใน ประเทศไทยอีกด้วย ส�ำหรับโตโยต้า ประเทศไทย ก็ยงั ใช้หนังสือเวียนนี้ โดยเรียกว่า เอกสาร ขอความเห็นชอบ

ของงานมีความหลากหลายเพิ่มขึ้นมากเกิน กว่าที่ผู้บริหารแต่ละต�ำแหน่งจะใช้อ�ำนาจ ของตั ว เองได้ โ ดยง่ า ย โดยอาศั ย เพี ย งกฎ ข้อบังคับนี้เท่านั้น ส�ำหรับวิธกี ารแก้ไขประเด็นปัญหา 2 ข้อข้างต้น มีแนวทางดังนี้ ➲ วิธีการแก้ไขของข้อ 1 ประเด็น ปัญหานี้เกี่ยวข้องกับการถ่ายโอนอ�ำนาจ วิธี การแก้ไขที่เหมาะสมจึงควรจะเริ่มจากการ ที่ผู้บริหารมีส�ำนึกว่าควรท�ำการชี้แนะผู้ใต้ บั ง คั บ บั ญ ชาเฉพาะในประเด็ น ที่ เ กี่ ย วกั บ เนือ้ หา ส่วนเรือ่ งวิธกี ารใช้ถอ้ ยค�ำ วิธกี ารเขียน ฯลฯ ควรให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชาตัดสินใจด้วยตัว เอง โดยฝึกให้รู้จักเน้นในจุดที่ส�ำคัญที่ต้อง ให้ความส�ำคัญเป็นอันดับแรก จากนั้นให้ ผู้ใต้บังคับบัญชาน�ำจุดที่ได้เรียนรู้ไปใช้ด้วย ตัวเองในขั้นตอนถัดไป ➲ วิธีการแก้ไขของข้อ 2 ปัญหานี้ เกีย่ วข้องกับการแบ่งงานกันระหว่างคนญีป่ นุ่ และพนักงานไทยโดยเฉพาะผูบ้ ริหาร ซึง่ ส่วน ใหญ่เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิธีการคิดที่ไม่ ตรงกัน การทีผ่ ปู้ ระสานงานญีป่ นุ่ มีพฤติกรรม ที่เหมือนกับเป็นผู้จัดการในสายงาน ท�ำให้ ผู้บริหารไทยรู้สึกไม่ชอบใจอย่างมาก เนื่องจากขาดความชัดเจนเรื่องอ�ำนาจและความ รับผิดชอบ การแก้ไขจึงต้องเริม่ จากการท�ำให้ การแบ่งงานระหว่างคนญี่ปุ่นและคนไทยมี ความชัดเจน โดยระบุถึงอ�ำนาจหน้าที่และ ความรับผิดชอบของแต่ละฝ่าย แต่ละต�ำแหน่ง แต่ละบุคคลออกเป็นส่วน ๆ ให้มคี วามชัดเจน มากที่สุด แม้ว่าปัญหานี้ค่อนข้างจะหยั่งราก ลึกและมีขอบเขตกว้างขวาง ท�ำให้แก้ไขได้ ยากก็ตาม แต่ก็จ�ำเป็นต้องแก้ไขให้ได้ เป็ น เพราะเขาลงทุ น เป็ น ตั ว เงิ น ไว้ มากมาย แต่พไี่ ทยยังรับจ้างไปเรือ่ ย ๆ สมควร ปรับความคิดไหมครับ โปรดติดตามต่อไป

65


Q

People for

uality

ตอนที่ 2

ปัจจัยทีไ่ ล่น้องใหม่ออกจากองค์กร

ต่อจากฉบับที่แล้ว

ใน

ตอนที่แล้วผมได้พูดถึงปัจจัยที่จะมีอิทธิพลในการไล่คนที่จบ มาให้เพิง่ เข้าท�ำงานกับองค์กรของท่านแล้วก็ตอ้ งลาออกไปใน ที่สุด 3 ปัจจัยแล้ว ในตอนนี้เรามาว่ากันถึงปัจจัยที่เหลือดังนี้ครับ 4. เพื่อนร่วมงาน มนุษย์เป็นสัตว์สังคมต้องการเพื่อนฝูง แต่ พอเข้ามาท�ำงานกลับพบกับการต้อนรับจากเพื่อนร่วมงานที่มองด้วย สายตาเย็นชา หรือมองเห็นน้องใหม่เป็นถังขยะคือเพือ่ นทีท่ ำ� งานอยูม่ า ก่อนก็โยนงานทีต่ วั เองไม่อยากท�ำมาใส่ให้นอ้ งใหม่รบั ไปเต็ม ๆ เรียกว่า มีการรับน้องใหม่จากเพือ่ นร่วมงานเสียน่วม แถมยังขาดระบบการสอน งานทีด่ ที ผี่ มพูดไปในคราวทีแ่ ล้วเสียอีก ยิง่ เป็นปัจจัยช่วยท�ำให้นอ้ งใหม่ ตัดสินใจลาออกเร็วขึ้นอีก 5. สภาพแวดล้ อ มในการท� ำ งาน หลายบริ ษั ท ปล่ อ ยให้ บรรยากาศสภาพแวดล้อมในที่ท�ำงานไม่สะอาดตา และขาดสภาพที่ เหมาะสมในการท�ำงาน เช่น มีเครื่องไม้เครื่องมือในการท�ำงานวาง

66

for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

ธำ�รงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์

http://tamrongsakk.blogspot.com

ระเกะระกะ มีกล่องวางเกะกะ ที่ท�ำงานสกปรกรกเลอะเทอะไม่เป็น ระเบียบ ฯลฯ ซึ่งพนักงานเดิมที่ท�ำงานอยู่อาจจะเคยชินกับสภาพ บรรยากาศในการท�ำงานแบบนั้น แต่พนักงานจบใหม่ที่เพิ่งจะเข้ามา ท�ำงานในวันแรกเขาย่อมจะแปลกสถานที่และจะเห็นสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานที่ไม่เหมาะสมเหล่านี้ได้ด้วยความอึดอัดใจ พร้อมทั้งเขา คงจะต้องประเมินตัวเองไปด้วยเลยว่าเขาจะอยู่ในสภาพแวดล้อมใน การท�ำงานแบบนี้ได้มากน้อยแค่ไหน ถ้าสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน เหลือจะทนเขาก็คงต้องบ๊ายบายจริงไหมครับ วันนี้ท่านเข้ามาท�ำงานโดยมองสถานที่ท�ำงานแบบคนเพิ่งเข้า มาท�ำงานวันแรกบ้างหรือไม่ละ่ ครับ จะได้เกิดไอเดียทีจ่ ะปรับปรุงสภาพ แวดล้อมในการท�ำงานให้ดขี นึ้ กว่าปัจจุบนั เพือ่ รักษาน้องใหม่เอาไว้และ เพื่อให้คุณภาพชีวิตในการท�ำงานของท่านดีขึ้นด้วยยังไงล่ะครับ 6. เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ในการท�ำงานไม่พอเพียง โดยทัว่ ไปแล้ว


บริษทั ควรจะต้องจัดเตรียมอุปกรณ์เครือ่ งไม้เครือ่ งมือในการท�ำงานให้ พร้อมส�ำหรับพนักงานใหม่ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องเขียน คอมพิวเตอร์ (ถ้าจ�ำเป็นต้องใช้ในงาน) ฯลฯ แต่หลายครั้งก็จะพบว่าบริษัทไม่ได้ เตรียมอะไรให้กับพนักงานใหม่ไว้ล่วงหน้าเลย เช่น เมื่อพนักงานใหม่ เข้ามาก็ไม่รู้จะให้เขาไปนั่งตรงไหน หรือไปนั่งที่โต๊ะของใครสักคนใน แผนก อุปกรณ์เครือ่ งใช้ไม้สอยในการท�ำงานก็ไม่พร้อม เหมือนกับไม่มี การประสานงานกันระหว่างฝ่ายบุคคลกับหน่วยงานที่จะรับน้องใหม่ เข้าไปท�ำงาน ท�ำให้พนักงานใหม่เกิดความรู้สึกครั้งแรกที่ไม่ดีส�ำหรับ บริษัทนี้เสียแล้ว นี่ก็จะเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ท� ำให้น้องใหม่มองว่า บริษทั นีย้ งั ขาดความเป็นมืออาชีพ แค่พนักงานเข้ามาใหม่ยงั ขาดความ พร้อมอย่างนีแ้ ล้วการบริหารจัดการเรือ่ งอืน่ ๆ คงไม่ได้เรือ่ งหรอก ก็เลย ลาออกไปอยู่บริษัทที่เป็นมืออาชีพมากกว่านี้จะดีกว่า 7. ไม่เข้าใจไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ Generation Y ต้อง ยอมรับนะครับว่าวันนี้เป็นยุคของคนที่เราเรียกว่า Generation Y (บาง คนเรียกว่า “Generation Why”) คือ คนที่เกิดประมาณปี 2528-2548 (บางคนก็บอกว่าต่อจาก 2549 จะเป็น Generation Z) ซึง่ เป็นวัยท�ำงาน อยู่ในปัจจุบันนี้ และต้องยอมรับอีกเหมือนกันว่าสภาพแวดล้อมตั้งแต่เกิด วิธี คิด การด�ำรงชีวิต รวมไปถึงไลฟ์สไตล์ของคน Gen Y แตกต่างไปจาก คนรุน่ ก่อนหน้าทีเ่ รียกกันว่าพวก Gen X หรือพวก BB (Baby Boomers) เพราะคน Gen Y คือ คนที่เกิดมาในยุคของคลื่นลูกที่สาม คือ Social Network ยุค 3G ยุคที่ IT เทคโนโลยี และการสื่อสารรวดเร็วฉับไว เกิด มาในยุคที่มี Facebook, Instagram, Line ฯลฯ Gen Y ต้องการความรวดเร็ว ต้องการการสื่อสารที่ฉับไวมี ประสิทธิภาพ ไม่ชอบความชักช้าอืดอาด มีความเป็นตัวของตัวเอง สูง ต้องเปิดโอกาสให้เขาได้ตั้งค�ำถาม แสดงความคิดเห็น และต้อง ยอมรับฟังความคิดเห็นของเขาด้วย ผูใ้ หญ่ผอู้ าวุโสไม่จำ� เป็นต้องถูก ทุกเรื่องเสมอไป ต้องการประสบความส�ำเร็จเร็ว ก้าวหน้าเร็วมีเงิน เยอะ ๆ ตั้งแต่อายุยังน้อย วัตถุนิยมสูง ฯลฯ ซึ่งท่านคงจะเห็นภาพคร่าว ๆ แล้วนะครับว่าคน Gen Y จะมี ความแตกต่างไปจากคน Gen BB หรือ Gen X ที่ยังเชื่อมั่นในระบบ อาวุโส ผูใ้ หญ่จะถูกเสมอ เวลาผูใ้ หญ่ตำ� หนิหรือดุผนู้ อ้ ยก็ตอ้ งนัง่ ฟังห้าม

เถียงห้ามหือ (คล้าย ๆ พจมาน สว่างวงศ์เข้าบ้านทรายทองแล้วถูกหญิง แม่ หญิงใหญ่ดุด่าหญิงพจน์ต้องนั่งก้มหน้านิ่งฟังประมาณนั้นแหละ ครับ) เป็นยุคที่ต้องอดทน รอคอย ท�ำอะไรต้องเป็นขั้นเป็นตอน ฯลฯ ความขัดแย้งระหว่างรุ่นอย่างที่ผมเล่ามาให้ฟังนี่แหละครับ ท�ำให้หัวหน้างานหรือผู้บริหารที่เป็นคนกลุ่ม Gen X หรือ BB เคยถูก อบรมสั่งสอนมาในแบบหนึ่ง พอมาเจอเข้ากับพวกที่เป็น Gen Y ที่เป็น “หญิงมัน่ -ชายมัน่ ” ตามประสาคนรุน่ ใหม่อกี แบบหนึง่ ก็เกิด “การปะทะ กันทางความแตกต่างระหว่างรุ่น” ดังนั้น ถ้าผู้บริหารไม่ยอมเข้าใจ และเปิดใจยอมรับความ เปลี่ยนแปลงของโลก และของรุ่น (generation) ที่เข้าสู่ยุคใหม่ แล้วยัง คงปกครองบังคับบัญชาพวก Gen Y ในแบบ “เจ้านายกับลูกน้อง” ใน ลักษณะเดียวกับที่ตนเองเคยถูกปกครองมาในอดีต แล้วจะน�ำวิธีการ ในอดีตมาใช้กับพวก Gen Y ก็จะท�ำให้พวก Gen Y รับไม่ได้และ ลาออกไปหาบริษัทที่เข้าใจความเป็น Gen Y ของเขาในที่สุดครับ นีจ่ งึ เป็นเรือ่ งส�ำคัญทีผ่ บู้ ริหารองค์กรในยุคใหม่จำ� เป็นต้องเปิด ใจปรับเปลี่ยนวิธีคิด และเข้าใจ Gen Y ให้มากขึ้น และพร้อมจะปรับ เปลี่ยนวิธีการปกครองจาก “เจ้านายกับลูกน้อง” มาเป็น ผู้น�ำทีมงานที่ เป็นเสมือนพี่ที่เข้าใจ เปิดโอกาส และรับฟังความคิดเห็นของน้อง ๆ ให้ มากขึน้ ต้องรูจ้ กั มีกจิ กรรมอืน่ ๆ นอกเหนือจากเรือ่ งงานกับน้อง ๆ Gen Y ด้วย เช่น เขาเล่น Line WhatsApp หรือ Instagram กัน หัวหน้าก็ อาจจะต้องรู้ว่าคืออะไรและพูดภาษาเดียวกับเขาได้ พูดง่าย ๆ ว่าถ้า ท่านเข้าใจเขาก็มีโอกาสจะอยู่ท�ำงานด้วยกันได้นานขึ้นครับ เป็นยังไงบ้างครับ ปัจจัยเสี่ยงทั้งหลายในการไล่น้องใหม่จาก บริษัท ผมเชื่อว่าคงจะท�ำให้ท่านได้ข้อคิดอะไรไปบ้างแล้ว เพื่อที่จะได้ ปรับปรุงแก้ไขและลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เหล่านี้ลง เพื่อรักษาน้องใหม่ ให้อยู่กับเราได้นานขึ้นครับ

Vol.22 No.210 July-August 2015

People

67


Q

Idol & Model for

uality

กระทรวง

อุตสาหกรรม ได้ริเริ่มด�ำเนิน การคัดเลือก “อุตสาหกรรมและโรงงานดี เด่ น ” เพื่อประกาศเกียรติคุณ และมอบโล่ รางวัลจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เนื่ อ งในโอกาสวั น คล้ ายวั น สถาปนา กระทรวงอุตสาหกรรมของทุก ๆ ปี ในวันที่ 5 พฤษภาคม มาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2524 – 2535 ต่อมา ในปี 2536 กระทรวงอุตสาหกรรมได้พัฒนา เปลี่ยนแปลงรูปแบบการคัดเลือก และการ มอบรางวัลโดยจัดเป็นงาน “อุตสาหกรรมดี เด่น” ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2536 โดยเป็นการมอบรางวัลของ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister’s Industry Award) จากนั้นในปี 2546 ได้ก�ำหนดให้มีการ มอบรางวัล “อุตสาหกรรมยอดเยีย่ ม” เพิม่ ขึน้ เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณให้กับองค์กรที่

ประสบผลส�ำเร็จสูงสุดระดับประเทศ และสร้าง แรงจูงใจให้กบั สถานประกอบการอุตสาหกรรม พัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ก้าวไปสูค่ วาม ส�ำเร็จในระดับสากล ด้วย วัตถุประสงค์ คือ คัดเลือกสถานประกอบการอุตสาหกรรมดีเด่น และยอดเยี่ยมขึ้น เพื่อเป็นก�ำลังใจและเป็น แบบอย่างแก่ผปู้ ระกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม ให้มีความคิดริเริ่มและความวิริยะอุตสาหะใน การสรรสร้างสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา อุตสาหกรรมของประเทศ โดยผู้ประกอบการ ที่ได้รับรางวัลสามารถน�ำเครื่องหมายเชิดชู เกียรติไปใช้ในการประชาสัมพันธ์กิจการของ ตนเองได้ ซึง่ ประเภทรางวัลอุตสาหกรรม มี 2 ประเภท คือ ประเภทรางวัลอุตสาหกรรม ดี เ ด่ น (The Prime Minister’s Industry Award) ประกอบด้วย 7 ประเภทรางวัล ได้แก่ ประเภทการเพิ่มผลผลิต ประเภทการรักษา

รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นและยอดเยี่ยม

แบบอย่างของผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม กองบรรณาธิการ

ดร.อรรชกา สีบุญเรือง

68

ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

for Quality Vol.22 No.210 July-August 20151


คุณภาพสิง่ แวดล้อม ประเภทการบริหารความ ปลอดภัย ประเภทการบริหารงานคุณภาพ ประเภทการจั ด การพลั ง งาน ประเภทการ บริหารอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม และประเภทการจั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ และ ประเภทรางวัลอุตสาหกรรมยอดเยีย่ ม (The Prime Minister’s Best Industry Award) 1 รางวัล และเมื่อเร็ว ๆ นี้ กระทรวงอุตสาหกรรม ได้เปิดตัว รางวัลไพรม์ มินิสเตอร์ อินดัสทรี อวอร์ด ประจ�ำปี 2558 (The Prime Minister Industry Award 2015) รางวัลสูงสุด ของภาคอุตสาหกรรมไทย ซึง่ มอบให้กบั องค์กร ที่มีระบบบริหารจัดการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน การประเมินจากกระทรวงอุตสาหกรรม โดย แบ่งรางวัลออกเป็น 2 ระดับ ดังนี้ 1. รางวัล อุตสาหกรรมยอดเยี่ยม 1 รางวัล และ 2. รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 7 ประเภท พร้อม เข้ า รั บ รางวั ล จากนายกรั ฐ มนตรี เพื่ อ เป็ น เกียรติประวัตแิ ละเป็นต้นแบบในการสร้างแรง กระตุ้น ให้กับสถานประกอบการอุตสาหกรรม ทั่วประเทศ เดินหน้าพัฒนาและยกระดับขีด ความสามารถการบริหารจัดการให้มปี ระสิทธิภาพมากยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง ในภาพรวมจะสามารถ พัฒนาเศรษฐกิจไทยได้อย่างยัง่ ยืน โดยเฉพาะ การมุ่งเป้าเจาะตลาดใน 10 ประเทศสมาชิก ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น(AEC) ซึ่ ง มี

ประชากรรวมกั น ทั้ ง สิ้ น กว่ า 600 ล้ า นคน มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) รวมกันสูงถึง 2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรื อ ราว 62 ล้ า นล้ า นบาท โดยจี ดี พี ข อง ประเทศไทยอยู่ที่ 11 ล้านล้านบาท ซึ่งร้อยละ 60 ของจีดีพี หรือกว่า 7 ล้านล้านบาท มาจาก การส่งออก โดยตลาดอาเซียนมีมูลค่าสูงสุด คือ ร้อยละ 25 ดังนั้น หากผู้ป ระกอบการ อุตสาหกรรมไทยสามารถพัฒนายกระดับขีด ความสามารถได้ครบ 7 องค์ประกอบข้างต้น คือ 1. การเพิ่มผลผลิต โดยการเพิ่มจ�ำนวน และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทมี่ อี ยูเ่ ดิมเพือ่ เพิม่

รายได้เข้าสู่บริษัท 2. การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยการลดผลกระทบสู่สิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชม ให้อยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน 3. การบริหารความปลอดภัย โดยการสร้าง ความเชื่ อ มั่ น และยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต พนักงานให้ดีขึ้น 4. การบริหารงานคุณภาพ โดยการยกระดั บ ขี ด ความสามารถในการ บริหารงาน การจัดการ และการผลิต 5. การ จั ด การพลั ง งาน โดยการใช้พลังงานอย่าง คุ้มค่ามากที่สุดเพื่อสนองนโยบายรัฐและลด ต้นทุนการผลิต 6. การจัดการโลจิสติกส์ โดย การจัดการระบบขนส่งไปถึงมือลูกค้าอย่าง รวดเร็วเพื่อความได้เปรียบทางการค้า และ 7. การพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและ ขนาดย่อม โดยการพัฒนาผู้ประกอบการใน ทุก ๆ ด้าน เพือ่ ให้สามารถแข่งขันได้ทา่ มกลาง ภาวะเศรษฐกิจผันผวน ในภาพรวมจะสามารถ ช่วยยกระดับจีดพี ภี าคการผลิตไทยให้สงู ขึน้ ได้ ดร.อรรชกา สีบุญเรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า ปัจจุบันภาค อุตสาหกรรมถือเป็นภาคที่มีบทบาทส�ำคัญ อย่างยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยสร้างมูลค่าผลผลิตอุตสาหกรรมถึงร้อยละ 37 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ มีการจ้างงานมากกว่า 6 ล้านคน ในขณะที่ โครงสร้างทางเศรษฐกิจไทยยังคงต้องพึ่งพา การส่งออกและการลงทุนจากต่างประเทศ

Vol.22 No.210 July-August 2015

Idol & Model

69


Vol.22 No.210 July-August 2015

Idol & Model

70

ดังนัน้ เพือ่ สนับสนุนให้ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมไทย ได้เห็นถึงความส�ำคัญในการพัฒนา ขี ด ความสามารถอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ เพิ่ ม ศักยภาพในการแข่งขันให้ทัดเทียมนานาชาติ กระทรวงอุ ต สาหกรรมจึ ง จั ด ให้ มี ก ารมอบ รางวัลอุตสาหกรรม ประจ�ำปี 2558 โดยมอบหมายให้กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเป็นหน่วย งานหลักในการจัดงาน แบ่งรางวัลออกเป็น 2 ระดับ คือ 1. รางวัลอุตสาหกรรมยอดเยี่ยม 1 รางวัล และ 2. รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น 7 ประเภท ได้แก่ 1.ประเภทการเพิ่มผลผลิต 2. ประเภทการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 3. ประเภทการบริหารความปลอดภัย 4. ประเภท การบริหารงานคุณภาพ 5.ประเภทการจัดการ พลังงาน 6.ประเภทการจัดการโลจิสติกส์ และ 7.ประเภทการบริหารอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดย่ อ ม ให้ กั บ องค์ ก รที่ ป ระสบผล ส�ำเร็จสูงสุดระดับประเทศ โดยสถานประกอบ การทีไ่ ด้รบั รางวัลจะต้องผ่านการคัดเลือกตาม เกณฑ์การประเมินจากคณะกรรมการผู้ทรง คุณวุฒิ เพื่อการันตีว่าเป็นสถานประกอบการ มีมาตรฐานชั้นน�ำระดับประเทศ พร้อมเข้ารับ มอบรางวั ล จากนายกรั ฐ มนตรี เพื่ อ เป็ น เกียรติประวัติและน�ำรางวัลนี้ไปใช้ประโยชน์ กับองค์กรในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านการค้า การ ลงทุน การพัฒนาธุรกิจ และการพัฒนาสังคม รวมทั้งได้รับการยกย่องให้เป็นแบบอย่างที่ดี แก่สถานประกอบการอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ขณะ เดียวกันยังสามารถน�ำไปใช้เป็นใบเบิกทาง ด้านการตลาด การสร้างภาพลักษณ์ให้กับ องค์ ก ร ตลอดจนยกระดั บ มาตรฐานและ คุณภาพสินค้าและผลิตภัณฑ์ยิ่งขึ้นต่อไป ดร.อรรชกา กล่าวต่อว่า ในระยะเวลา อั น ใกล้ นี้ แ ม้ ก ารเปิ ด ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน (AEC) จะถือเป็นโอกาสในการเพิ่ม

สัดส่วนรายได้เข้าสูป่ ระเทศไทย เพราะอาเซียน ถือเป็นหนึ่งในตลาดใหญ่ของโลก มีประชากร รวมกั น ทั้ ง สิ้ น กว่ า 600 ล้ า นคน มี มู ล ค่ า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดพี )ี รวม กันสูงถึง 2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือราว 62 ล้านล้านบาท โดยจีดีพีของประเทศไทยอยู่ที่ 11 ล้านล้านบาท ซึ่งร้อยละ 60 ของจีดีพี หรือ กว่า 7 ล้านล้านบาท มาจากการส่งออก โดย ตลาดอาเซียนมีมลู ค่าสูงสุด คือ ร้อยละ 25 แต่ อย่างไรก็ตามโอกาสและแนวโน้มการเติบโต ของอุตสาหกรรมไทยในอนาคต ยังต้องอาศัย ปัจจัยจากทั้งภายในและภายนอกประเทศมา ก�ำหนดทิศทาง เพื่อสร้างความได้เปรียบใน การแข่งขัน เพราะแม้ว่าดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมภายในประเทศ ตั้งแต่เดือนมกราคม – มีนาคม ปี 2558 จะมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อ เนื่อง แต่การวางมาตรการและกลยุทธ์ระยะ สั้นเพื่อพลิกฟื้นสถานการณ์เฉพาะหน้า ระยะ กลางเพือ่ ประคองธุรกิจให้อยูไ่ ด้โดยไม่ประสบ ปัญหาขาดทุน และระยะยาวเพื่อเสริมความ แข็งแกร่งให้กับธุรกิจอย่างยั่งยืน ยังถือว่ามี ความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทั่วประเทศไทยไม่ควรมองข้าม ดังนั้น กระทรวงอุตสาหกรรม ใน ฐานะที่ มี บ ทบาทและหน้ า ที่ ห ลั ก ในการ สนับสนุนภาคอุตสาหกรรมไทย ให้มศี กั ยภาพ การแข่งขันทัดเทียมกับนานาชาติ จึงต้องการ

ให้ผปู้ ระกอบการไทยก้าวขึน้ เป็นผูน้ ำ� ในระดับ ประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ โดยเฉพาะกลุ ่ ม ประเทศสมาชิ ก ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เพื่อชิงส่วนแบ่ง ทางการตลาดและเพิ่มสัดส่วนของรายได้เข้า สู่ประเทศ โดยอาศัยองค์ประกอบที่สะท้อน จากรางวัลทั้ง 7 ประเภท ซึ่งในภาพรวมจะ สามารถช่วยยกระดับจีดพี ภี าคการผลิตไทยให้ สูงขึ้นได้อย่างยั่งยืน คือ 1. การเพิ่ ม ผลผลิ ต โดยการเพิ่ ม จ�ำนวนและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เดิม เพื่อเพิ่มสัดส่วนรายได้เข้าสู่บริษัท 2. การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยการลดผลกระทบสูส่ งิ่ แวดล้อม สังคม และ ชุมชม เพื่อให้อยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน 3. การบริหารความปลอดภัย โดย การสร้างความเชื่อมั่นและยกระดับคุณภาพ ชีวติ พนักงานให้ดขี นึ้ ซึง่ ถือเป็นหนึง่ ในช่องทาง ส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ พ นั ก งานท� ำ งานได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ 4. การบริหารงานคุณภาพ โดยการ ยกระดับขีดความสามารถในการบริหารงาน การจั ด การ และการผลิ ต ซึ่ ง ถื อ เป็ น หั ว ใจ ส�ำคัญที่น�ำไปสู่ความส�ำเร็จ 5. การจัดการพลังงาน โดยการใช้ พลังงานที่มีอยู่อย่างคุ้มค่ามากที่สุด ซึ่งไม่ เพี ย งช่ ว ยประเทศชาติ ล ดใช้ พ ลั ง งานตาม นโยบายรัฐบาล แต่ในขณะเดียวกันยังถือเป็น อีกหนึง่ ช่องทางในการลดต้นทุนในการผลิตให้ น้อยลง 6. การจัดการโลจิสติกส์ โดยการ จัดการระบบขนส่งสินค้าไปถึงมือลูกค้าอย่าง รวดเร็ว เพื่อสร้างจุดแข็งและความได้เปรียบ ในทางการค้า 7. การพัฒนาอุตสาหกรรมขนาด กลางและขนาดย่อม โดยการพัฒนาให้ผู้ประกอบการมีความรอบรูใ้ นทุก ๆ ด้าน เพือ่ ให้ สามารถแข่งขันได้อย่างยัง่ ยืน ทัง้ การเป็นผูน้ ำ� มีการวางแผนการด�ำเนินธุรกิจทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีการบริหารการตลาด การบริหารทรัพยากร บุคคล การบัญชีและการเงิน เทคโนโลยีและ สารสนเทศ และมีธรรมาภิบาล


Q

Idol & Model for

uality

โมเดลธุรกิจภาษา ธุรกิจเพื่อเชื่อมโยงสังคมโลก กองบรรณาธิการ

ภาษา

อังกฤษได้ถกู ก�ำหนดให้เป็นภาษากลางเพือ่ การด�ำเนินธุรกิจ ท�ำให้ภาษาอังกฤษกลายเป็นกุญแจส�ำคัญทางการสื่อสาร ทีจ่ ะสร้างประโยชน์สงู สุดในการร่วมเป็นหนึง่ ในกลุม่ ภาคีของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนและช่วยให้ประเทศไทยมีความได้เปรียบในการแข่งขันท่ามกลางบริบท ทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม่ แคปแพล่น เป็นหนึ่งในผู้ให้บริการด้านการศึกษาและฝึกอบรมเอกชน รายใหญ่ ปัจจุบันมีเครือข่ายพนักงานกว่า 22,000 คนใน 30 ประเทศทั่วโลก ให้ บริการผูเ้ รียนมากกว่า 75,000 คน จาก 150 ประเทศ และเติบโตขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ความส�ำเร็จที่บริษัทได้รับเกิดจากการวางกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อขยายขอบเขต การให้บริการที่ครอบคลุมด้วยมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก โอกาสนี้ คุณเอกพงษ์ ณ ระนอง ผู้อ�ำนวยการ แคปแพล่น อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) ผู้บริหารวิสัยทัศน์ไกลพร้อมถ่ายทอดแนวทางการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เพื่อ รองรับการแข่งขันทางธุรกิจในประเทศไทย และการเปิดประชาคมอาเซียนที่จะ เกิดขึ้นในระยะเวลาอันใกล้นี้ ▲

คุณเอกพงษ์ ณ ระนอง

ผู้อำ�นวยการ แคปแพล่น อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย)

for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

71


Idol & Model

จุดเริ่มต้นของบริษัท

แคปแพล่น ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2481 โดยสแตนลีย์ แคปแพล่น ครูสอนพิเศษชาว อเมริกัน โดยธุรกิจเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง จน กระทั่งกลายเป็นหนึ่งในผู้ให้บริการด้านการ ศึกษาและฝึกอบรมเอกชนรายใหญ่ที่สุดของ โลก “หลักสูตรของแคปแพล่น ประกอบด้วย หลักสูตรภาษาอังกฤษและหลักสูตรเพื่อการ ศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย ระดับอุดมศึกษา การเตรี ย มตั ว ก่ อ นสอบ และการฝึ ก อบรม วิชาชีพ โดยถูกคิดค้นมาเพื่อช่วยให้ผู้เรียน สามารถบรรลุเป้าหมายทางการศึกษา และได้ รับคุณวุฒิส�ำหรับการท�ำงาน ซึ่งจะช่วยให้ ผู ้ เ รี ย นมี ค วามได้ เ ปรี ย บทางการแข่ ง ขั น ใน ตลาดงานระดับโลก”

Vol.22 No.210 July-August 2015

จุดเด่นของแคปแพล่น อินเตอร์เนชันแนล ที่เหนือคู่แข่ง

72

คุณเอกพงษ์ ยังได้กล่าวต่อถึงจุดเด่น ของแคปแพล่นว่า “จุดเด่นของ Kaplan International คือ ประสบการณ์ที่ยาวนานกว่า 75 ปี ในการน�ำนักเรียนจากทั่วโลกสู่ความส�ำเร็จ โดยตลอดระยะเวลาที่ ผ ่ า นมาเราได้ มี ก าร พัฒนาคุณภาพของระบบการสอนอย่างต่อ เนื่องที่ท�ำให้สถาบันเติบโต มีชื่อเสียง และได้ รับการยอมรับจากทั่วโลก อย่างหลักสูตร K+ นวัตกรรมการสอนแบบใหม่ของเรา ซึ่งเป็น

ระบบการเรียนแบบ Blended Learning ผสม ผสานระหว่างการเรียนในห้องเรียน และการ เรียนผ่าน Application Online โดยเป็นลิขสิทธิ์ เฉพาะส�ำหรับ Kaplan International ดังนั้น นักเรียนจึงมีโอกาสฝึกฝนและพัฒนาภาษา อังกฤษได้อย่างต่อเนื่องทุกที่ทุกเวลา ก่อนเข้าร่วมชัน้ เรียนกับ Kaplan International นักเรียนทุกคนจะได้ท�ำแบบทดสอบ ภาษาอั ง กฤษ เพื่ อ วั ด ระดั บ ความรู ้ ค วาม สามารถของนักเรียนแต่ละคนให้จัดอยู่ในชั้น เรียนที่เหมาะสม เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนา ความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษได้อย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด จากนั้นสถาบันจะมีการ ทดสอบนักเรียนก่อนปรับระดับชัน้ เรียนทุกครัง้ ซึง่ ชัน้ เรียนของเราจะมีขนาดเล็ก จ�ำกัดจ�ำนวน นักเรียนสูงสุดเพียง 15 คนต่อหนึง่ ห้อง และน�ำ สอนโดยอาจารย์ เ จ้ า ของภาษาที่ ม ากด้ ว ย ประสบการณ์และความสามารถ ท�ำให้นกั เรียน ได้ฝึกใช้ภาษาในการแสดงความคิดเห็น และ ถามค�ำถามภายใต้ความเอาใจใส่จากอาจารย์ อย่างใกล้ชิด และในแต่ละห้องเรียน นักเรียน ไทยจะได้เรียนภาษาร่วมกับเพื่อนจากทั่วโลก เนื่องจาก Kaplan International มีส�ำนักงาน รับสมัครนักเรียนอยู่ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก จึ ง ท� ำ ให้ นั ก เรี ย นมี โ อกาสเรี ย นรู ้ แ ละแลก เปลี่ยนวัฒนธรรม ซึ่งช่วยให้การเรียนภาษา อังกฤษเป็นไปได้อย่างรวดเร็วและเป็นธรรม-

ชาติที่สุด และเมื่อสิ้นสุดหลักสูตร นักเรียน ทุกคนจะได้รบั ประกาศนียบัตรจากทางสถาบัน เพื่อเป็นการรับรองระดับภาษาอังกฤษอย่าง เป็นทางการ นอกจากการเรียนที่มีเนื้อหาเข้มข้น แล้ ว Kaplan International ยั ง มี ก ารจั ด กิจกรรมเพื่อความรู้ ความสนุกสนาน และการ พบปะเพื่อนใหม่ ๆ ด้วยการน�ำเสนอกิจกรรมที่ หลากหลาย เช่น การทัศนศึกษาทั้งในเมือง นอกเมือง หรือในประเทศใกล้เคียง ดังนั้น นักเรียนจะมีโอกาสน�ำภาษาอังกฤษที่ได้เรียน ในห้องเรียนมาใช้ในชีวติ จริง ได้เยีย่ มชมสถานที่ ส�ำคัญ ๆ และยังได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมของ แต่ละประเทศอีกด้วย นอกจากนี้ จุ ด เด่ น อี ก ประการของ Kaplan International และท�ำให้นกั เรียนทัว่ โลก สนใจ คือ เรือ่ งของ Location หรือสถานทีต่ งั้ ของสถาบันซึง่ เป็นสิง่ หนึง่ ทีเ่ ราให้ความส�ำคัญ อย่างมาก ดังนั้น สถาบัน Kaplan International ที่ตั้งอยู่ในแต่ละเมืองในประเทศต่าง ๆ จะตัง้ อยูใ่ จกลางเมือง หรืออยูใ่ น Campus ของ มหาวิทยาลัย ซึง่ ท�ำให้นกั เรียนเดินทางได้อย่าง สะดวกสบาย และปลอดภั ย ในการใช้ ชี วิ ต ประจ�ำวันของนักเรียน อีกทั้งยังมีเจ้าหน้าที่ ประจ�ำศูนย์คอยดูแลและให้คำ� แนะน�ำนักเรียน ในด้านต่าง ๆ เช่น การจัดหาทีพ่ กั การแนะน�ำ สมัครต่อเข้ามหาวิทยาลัย การเตรียมตัวสอบ การเตรียม CV เพือ่ สมัครงาน หรือการแนะน�ำ จัดหางาน เป็นต้น ส�ำหรับเรื่องหอพัก นักเรียนก็สามารถ เลือกประเภทของที่พักได้ตามความเหมาะสม ได้ แ ก่ หอพั ก นั ก ศึ ก ษา หอพั ก ภายในเขต มหาวิทยาลัย อพาร์ตเมนต์ หรือพักกับครอบครัว ท้องถิน่ ซึง่ Kaplan International ได้เลือกสรร มาเป็นอย่างดี Kaplan International ค�ำนึงอยู่ เสมอว่า ทีพ่ กั ทุก ๆ แห่งนัน้ มีความส�ำคัญเป็น อย่างยิง่ ต่อประสบการณ์การเรียนภาษาอังกฤษ ของนั ก เรี ย น ซึ่ ง จะเปิ ด โอกาสสู ง สุ ด ให้ กั บ นักเรียนในการติดต่อสื่อสารกับเจ้าของภาษา หรือเพือ่ นนักศึกษานานาชาติ และยังได้สมั ผัส วัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ สิง่ เหล่านีจ้ ะช่วย เพิม่ ความสามารถในการเรียนรูภ้ าษาอย่างเป็น ธรรมชาติ และมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ”


Idol & Model

การด�ำเนินธุรกิจจะประสบความส�ำเร็จ ได้นั้น ต้องเกิดขึ้นจากทีมงานและบุคลากรทีม่ ี คุณภาพ “ทีมงานของแคปแพล่นเน้นความ แข็งแกร่ง โดยเฉพาะคณาจารย์ที่ผ่านการคัดเลือกมาอย่างเข้มงวดเพื่อสร้างมาตรฐานการ สอนที่ดีที่สุด พร้อมทั้งน�ำเสนอประสบการณ์ การเรียนรูท้ เี่ พลิดเพลินแก่ผเู้ รียน ซึง่ คุณสมบัติ ของคณาจารย์ ข องเรา คื อ คณาจารย์ มี ประสบการณ์การสอนภาษาอังกฤษโดยเฉลี่ย 6.5 ปี และมากกว่าร้อยละ 25 สอนภาษา อังกฤษมาแล้ว 10 ปีหรือมากกว่า ส�ำเร็จการ ศึกษาระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก มี ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในสาขาต่าง ๆ ทั้ง กฎหมาย การละคร วารสารศาสตร์ ด้านธุรกิจ การเจรจา และอื่น ๆ นอกจากนี้ยังท�ำงานเป็น ผูต้ รวจสอบและผูพ้ ฒ ั นาหลักสูตรและคูม่ อื การ สอบภาษาอังกฤษอีกด้วย” ที่ผ่านมาความ ส�ำเร็จที่เกิดขึ้นสะท้อนออกมาอย่างเห็นได้ชัด จากการที่บริษัทฯ มีนักเรียนจากประเทศไทย เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกปี โดยนักเรียนกว่า 95% แนะน�ำให้เพือ่ นและครอบครัวมาเรียนต่อ

แผนการตลาดและการลงทุ น ในระยะสั้ น / ระยะยาว

คุณเอกพงษ์ ยังได้กล่าวถึงแผนการ ตลาดในอนาคตด้วยว่า “ปัจจุบัน Kaplan International มีตัวแทน (agent) อยู่ทั่วประเทศ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้นักเรียนนักศึกษา สามารถสมัครเรียนกับเราได้ไม่ว่าจะอยู่ที่ใด ก็ตาม ดังนั้น แผนการตลาดโดยรวมเราจึง ด�ำเนินการสือ่ สารกับกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย เพือ่ อธิบายถึงหลักสูตรและประโยชน์ทจี่ ะได้รบั ใน การเรียนกับ Kaplan International รวมถึงการ ขยายเครือข่ายตัวแทน เพื่อเพิ่มความสะดวก สบายให้กับนักเรียนนักศึกษามากยิ่งขึ้น” ซึ่ง การสื่อสารผ่านทุกช่องทางจะช่วยให้แผนการ ตลาดของบริษัทฯ บรรลุตามเป้าหมายได้

ความสำ�คัญของภาษาอังกฤษในประเทศไทย

“Kaplan International มองเห็นโอกาส ในการเติบโตของความต้องการด้านการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษของเยาวชนไทย และคนไทยที่มี ศักยภาพในการส่งลูกหลานไปเรียนต่อต่าง ประเทศเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งจากการ แข่งขันทางการศึกษา รวมไปถึงธุรกิจที่เติบโต

ขึ้นจึงเป็นไปได้ว่าความต้องการเรียนภาษา อังกฤษมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และรวดเร็ว เหตุผลหนึ่งมาจากการที่ประเทศไทยจะเข้าสู่ยุคประชาคมอาเซียนในปลายปีนี้ ท� ำ ให้ ภ าษาอั ง กฤษมี ค วามส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง ส�ำหรับเยาวชนและคนท�ำงาน ทีจ่ ะต้องรูภ้ าษา อังกฤษเพื่อความก้าวหน้าในการท�ำงาน และ การท�ำธุรกิจต่อไป” คุณเอกพงษ์ แสดงทัศนะ เกี่ยวกับแนวโน้มการศึกษาภาษาอังกฤษของ คนไทยในอนาคต

ความสำ�คัญของการเรียนภาษาอังกฤษ ในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

“เมื่อภาษาอังกฤษได้ถูกก�ำหนดเป็น ภาษากลางเพื่อการด�ำเนินธุรกิจ ท�ำให้ภาษา อังกฤษกลายเป็นกุญแจส�ำคัญทางการสือ่ สาร ที่จะสร้างประโยชน์สูงสุดในการร่วมเป็นหนึ่ง ในกลุ่มภาคีของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และช่วยให้ประเทศไทยมีความได้เปรียบใน การแข่งขันท่ามกลางบริบททางเศรษฐกิจรูปแบบใหม่ โดยการเปิดประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในปีนจี้ ะเพิม่ ทัง้ โอกาส และการแข่งขัน ที่ดุเดือดยิ่งขึ้นในตลาดไทย แคปแพล่นจึง ตัดสินใจลงทุนทัง้ ในด้านบุคลากร สถานที่ และ หลั ก สู ต รในประเทศไทย เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย น สามารถเข้ า ถึ ง การศึ ก ษาหลั ก สู ต รภาษา อังกฤษในต่างประเทศที่ดีที่สุดของโลก ซึ่งเป็น ส่วนส�ำคัญอย่างยิ่งในการประสบความส�ำเร็จ ทั้งในการศึกษาระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา ตลอดจนการท�ำงานในสายอาชีพ โดย การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะก่อให้ เกิดการลงทุนและการเคลือ่ นย้ายแรงงานจ�ำนวน มากทั่วทั้งภูมิภาคนี้ ดังนั้น นักเรียนนักศึกษา รวมถึงคนท�ำงานในประเทศไทยจึงจ�ำเป็นต้อง ปลูกฝังทักษะภาษาอังกฤษของตนเองให้ดี เยี่ยม เพื่อสร้างความได้เปรียบในตลาดงาน ระดับภูมภิ าคทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ ทัว่ อาเซียน” ใน ตอนท้ายบทสัมภาษณ์ คุณเอกพงษ์ ยังได้ กล่ า วฝากถึ ง ทุ ก ท่ า นด้ ว ยว่ า “เมื่ อ นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษาที่ มี ค วามประสงค์ ใ นการไปเรี ย น ภาษาอังกฤษในต่างประเทศ จะนึกถึง Kaplan International เป็นอันดับแรก”

Vol.22 No.210 July-August 2015

คัดสรรบุคลากรที่มีคุณภาพ

73


Q

of Life for

uality

Relax

Special Issue


for

Q

uality

Relax สู่ความมหัศจรรย์ ในโลกของเปลือกหอย บนถนนสีลมกับ พิพิธภัณฑ์เปลือกหอยกรุงเทพ (BANGKOK SEASHELL MUSEUM) ที่นี่มีการจัดแสดง เปลือกหอยสวยงามซึ่งหาชมได้ยากแห่งหนึ่งและมีเพียงไม่กี่แห่ง ในโลก มีการจัดแสดงเปลือกหอยจากทั่วโลก ที่ผ่านการสะสม และศึกษาส่งผ่านจากรุ่นสู่รุ่นมานานหลายสิบปี โดยเล็งเห็นถึง ความส�ำคัญของการศึกษาเปลือกหอยในหลากหลายแง่มุม เพื่อ เยาวชนไทยและกลุ่มผู้ที่สนใจ และเพื่อเป็นสีสันการท่องเที่ยว แห่งใหม่ของกรุงเทพฯ ตื่นตากับความหลากหลายของเปลือกหอย เรียนรู้ถึงธรรมชาติอันแสนมหัศจรรย์ของสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการ และการปรับตัวอันยอดเยี่ยมต่อเนื่องนับล้านปี สู่ความสวยงามที่ศิลปินไหน ๆ มิอาจสร้างสรรค์ได้

พิพิธภัณฑ์เปลือกหอยกรุงเทพ มีส่วนจัดแสดง 3 ชั้น รวบรวมเปลือกหอยมากกว่า 624 ชนิด แบ่งกลุ่มที่ น่าสนใจแยกตามชั้นต่าง ๆ ท�ำให้ผู้เข้าชมสามารถสัมผัส ถึงความสวยงาม และความหลากหลายของเปลือกหอย ที่จัดแสดงได้อย่างเต็มอิ่ม จากเปลือกหอยที่มีรูปทรง สวยงาม สีสันสดใส ลวดลายงดงามสะดุดตา ที่มาจาก หลากหลายสายพันธุ์ หลากหลายแห่ง แต่ละแห่งจึงเป็น ที่มาของ “หอย” สิ่งมีชีวิตที่สามารถสรรสร้างเปลือกได้ สวยงาม ชัน้ ที่ 1 ประเภทกลุม่ หอยฝาเดีย่ วและหอยสองฝา (Gastropods & Bivalves) จะเห็นเปลือกหอย 2 ฝา ที่มี ขนาดใหญ่และหายาก อาทิ หอยมือเสือยักษ์ หอยเท้าช้าง หอยกระต่าย นอกจากนี้ยงั มีบรรดาเม่นทะเลหลากหลาย รูปร่างที่ท�ำให้เห็นแล้วแปลกตา รวมถึงมีสีสันที่สวยงาม ให้ดูด้วย และในแต่ละชั้นยังมีเรื่องราวความเป็นมาของ หอยแต่ละชนิดให้ได้ศึกษา

พิพิธภัณฑ์เปลือกหอยกรุงเทพ

BANGKOK SEASHELL

MUSEUM for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

75


Relax

ชั้นลอยหรือชั้นที่สอง คือ ชั้นที่จัดแสดงกลุ่มหอย 2 ฝา กับหอยฝาเดี่ยวบางกลุ่ม จะเป็นการจัดแสดงเปลือกหอยที่มีสีสันสวยงามจากทั่วโลก อาทิ หอยเชลล์ เป๋าฮื้อหรือ หอยร้อยรู หอยหนามทุเรียน หอยหัวใจ หอยแต่งตัว หอยแสงอาทิตย์ หอยปิ่น หอยเพรียงเจาะหินยักษ์ โดยเฉพาะชั้นนี้เราจะเห็น หอยสังข์หอม หรือสังข์นก ที่มีความ ส�ำคัญในพิธีทางศาสนาพราหมณ์ ซึ่งในแต่ละประเทศก็มีรูปร่างของหอยสังข์แตกต่างกันไป แต่ละสายพันธุ์ก็จะเป็นลักษณะที่หายาก ชัน้ ที่ 3 จัดแสดงเปลือกหอยหายาก “หอยนมสาวปากร่อง” หอยทะเลน�ำ้ ลึกทีห่ ายาก หอยน�้ำจืด เช่น หอยเต้าปูน หอยที่มีพิษสามารถฆ่าคนได้ด้วยการแทงเข็มเพียงครั้งเดียว หรือ หอยเบีย้ ทีเ่ ราใช้แทนเงินในอดีต ยังมีหอยอีกหลายสายพันธุท์ ไี่ ด้จดั แสดงบนชัน้ นี้ อาทิ หอยครองแครง หอยเดือน หอยวงพระจันทร์ หอยเม็ดขนุน หอยกระดุม หอยน�้ำพริก หอยลุ หอยลูกดิ่ง หอยริบบิ้น มิตร้า หอยเจดีย์ หอยเดือยไก่ หอยเจดีย์ หอยพลูจีบ หลังจากที่ได้เพลิดเพลิน และชื่นชมในความงามของเปลือกหอยนานาชนิด ที่เต็มอิ่ม ทั้งอาหารตา อาหารสมอง เชื่อว่าหลายๆ ท่านในวัยเด็ก อาจจะเคยเห็นผ่านตาเปลือกหอย เหล่านีก้ นั มาบ้างแล้ว ถ้าใครยังไม่มโี อกาสได้แวะเข้าไปเยีย่ มชม อย่าลืมไปเห็นกับตาตัวเอง แล้วคุณจะได้สมั ผัสความมหัศจรรย์ของธรรมชาติเหมือนกับเรา อัตราค่าเข้าชมคนละ 100 บาท เท่านั้นเอง

Vol.22 No.210 July-August 2015

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ ปลื อ กหอยกรุ ง เทพ (BANGKOK SEASHELL MUSEUM) เลขที่ 1043, 1043/1 ซอยสี ล ม 23 แขวงสี ล ม เขตบางรั ก กรุ ง เทพฯ โทรศั พ ท์ 0-2234-0291, 08-1000-0054

76

E-mail : bkkseashellmuseum@gmail.com Website : www.bkkseashellmuseum.co.th เปิดท�ำการทุกวันจันทร์ – อาทิตย์ (ไม่เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์) เวลา เปิด 10.00 - 18.30 น. ทุกวัน (ไม่จ�ำกัดเวลาเข้าชม)




Q

Movement for

uality

Book Guide Movement


Q

Movement for

uality

C ongratulations เมือ่ เร็ว ๆ นี้ คุณวิสทุ ธิ์ แก้วทอง ผูจ้ ดั การฝ่ายสารสนเทศ บริษทั เอสจีเอส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมเป็นสักขีพยาน ในพิธีมอบใบรับรองมาตรฐานสากล ISO 29110 ให้กับผู้เข้าร่วม โครงการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการได้รับมาตรฐานกระบวนการผลิตและบริการ กิจกรรม มาตรฐาน จัดโดยส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีวตั ถุประสงค์สง่ เสริมให้ภาครัฐและผูป้ ระกอบการซอฟต์แวร์ ไทยผ่านการรับรองมาตรฐาน ISO 29110 เพื่อให้องค์กรมีแนวทางในการบริหารจัดการด้าน มาตรฐานการพัฒนาระบบสารสนเทศ มีความสามารถในการพัฒนาระบบสารสนเทศมากขึ้น เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และเพือ่ ให้ลกู ค้ามีความพึงพอใจต่อระบบงานสารสนเทศมากขึน้ ลคค่าใช้จา่ ยทีส่ ญ ู เสียในกระบวนการ ผลิต Software เนื่องจากขาดการควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิต และเพื่อเพิ่มศักยภาพขององค์กรให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ISO 29110 เป็นระบบมาตรฐานกระบวนการผลิตและบริการที่ให้ความส�ำคัญใน 2 กระบวนการหลัก คือ กระบวนการด้านการ บริหารโครงการ (project management) และกระบวนการด้านการสร้างซอฟต์แวร์ (software implementation) ซึ่งจะประกอบด้วย กระบวนการย่อย ๆ ภายในอีก ทั้งสองกระบวนการได้ถูกออกแบบให้เหมาะสมกับผู้ประกอบการขนาดเล็ก จึงมีความเหมาะสมในการ ประยุกต์ใช้ได้ทนั ที โดยได้กำ� หนดขนาดของกระบวนการให้เหมาะสมกับองค์กรขนาดเล็ก จึงไม่สร้างปัญหาในการปรับใช้งานให้เข้ากับ องค์กรในการบริหารจัดการทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนและหน่วยงานรัฐบาล

E vent คุณอาทิตย์ วุฒิคะโร อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (คนกลาง) พร้อมด้วยผู้บริหาร กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และนักออกแบบแฟชั่นชื่อดัง ร่วมเปิดการอบรมกิจกรรมการสร้าง นักออกแบบอุตสาหกรรมแฟชัน่ ไทย (Fashion Designer Creation 2015) ภายใต้โครงการพัฒนา ศั ก ยภาพอุ ต สาหกรรมแฟชั่ น ไทย ประจ� ำ ปี 2558 เพื่ อ ให้ ค วามรู ้ แ ละเตรี ย มความพร้ อ ม นักออกแบบที่เข้าร่วมโครงการให้ก้าวทันแนวโน้มและความเปลี่ยนแปลงของแฟชั่นโลก โดย กิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ ห้องแกรนด์บอลรูม ชั้น 3 โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ โดยมีนกั ออกแบบหน้าใหม่สนใจเข้าร่วมการอบรมจ�ำนวนมาก ส�ำหรับผูป้ ระกอบการทีส่ นใจเข้า ร่วมโครงการ หรือกิจกรรมต่าง ๆ ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม สามารถติดตามข่าวสาร กิจกรรม รวมถึงโครงการต่าง ๆ ได้ที่ www.dip.go.th หรือ www.facebook.com/dip.pr คุณสมภพ เต็งทับทิม (ที่ 3 จากซ้าย) ผู้ช่วยผู้ว่าการสังคมและสิ่งแวดล้อม การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค น�ำทีมผู้บริหารการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เข้าเยี่ยมชมดูงานและแลกเปลี่ยนความรู้ ณ สภาพัฒนาผลิตภัณฑ์ฮ่องกง HKPC ซึ่งเป็นสถาบันพัฒนาผลิตภัณท์และเทคโนโลยีใน อุตสาหกรรมการผลิต ไอที สิ่งแวดล้อม และพลังงาน เพื่อน�ำมาพัฒนากิจกรรมของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค และเชื้อเชิญสมาชิกของสภาพัฒนาผลิตภัณฑ์ฮ่องกง เข้าร่วมงาน Thailand Lighting Fair 2015 ทีก่ ำ� ลังจะจัดขึน้ ระหว่าง 19-21 สิงหาคม 2558 ณ อาคาร 106 ศูนย์นทิ รรศการ และการประชุมไบเทค น�ำเสนอผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมด้านไฟฟ้าและแสงสว่างเพือ่ การอนุรกั ษ์ พลังงาน โดยมี ดร.ลอเรนซ์ ปุน (กลาง) ที่ปรึกษาสภาพัฒนาฮ่องกง ให้การต้อนรับ พร้อมด้วย คุณฤทธิณรงค์ กุลประสูตร (ซ้ายสุด) ผู้บริหารระดับสูงนิตยสารไลท์ติ้งโฟกัส นิตยสารในเครือจีเอ็ม กรุ๊ป และ คุณพาขวัญ เจียมจิโรจน์ (ที่ 2 จากซ้าย) ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ดิ เอ็กซ์ซิบิส จ�ำกัด ร่วมคณะ ณ สภาพัฒนาผลิตภัณฑ์ฮ่องกง เมื่อเร็ว ๆ นี้ for Quality Vol.22 No.210 July-August 2015

79


Movement

E vent ดร.สมาน โอภาสวงศ์ (ที่สี่จากขวา) ประธานกรรมการมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง และ คุณกอบชัย ซอโสตถิ กุ ล (ที่สี่จากซ้าย) ประธานกรรมการบริ ห ารโรงพยาบาลหั ว เฉี ย ว พร้ อ มด้ ว ย คณะกรรมการมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง และคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลหัวเฉียว ตัดริบบิ้นเปิด ศูนย์หัวใจและหลอดเลือด ชั้น 11 โรงพยาบาลหัวเฉียว ที่พร้อมให้บริการด้วยวิทยาการทางการ แพทย์ที่มีความทันสมัยและได้มาตรฐาน ให้บริการวินิจฉัยและรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด อย่างครบวงจรโดยแพทย์ทมี อายุรแพทย์และศัลยแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญ เมือ่ เร็ว ๆ นี้ ณ โรงพยาบาล หัวเฉียว ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร (ที่สี่จากซ้าย) รองปลัดกระทรวงพลังงาน คุณอลงกรณ์ เหล่างาม (ทีส่ ามจากซ้าย) ผูช้ ว่ ยปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คุณสมศักดิ์ ห่มม่วง (ทีส่ จี่ าก ขวา) ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการขนส่งทางน�้ำ กระทรวงคมนาคม รศ.ดร.ธัชชัย สุมิตร (ที่สอง จากซ้าย) ประธานคณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการพลังงานและเทคโนโลยีทยี่ งั่ ยืนแห่งเอเชีย 2559 รศ.พล.ต.ดร.ชัยณรงค์ เชิดชู (ที่สามจากขวา) นายกสมาคมนิวเคลียร์แห่งประเทศไทย คุณสหรัฐ บุญโพธิภักดี (ที่สองจากขวา) รองผู้ว่าการกิจการสังคม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย คุณนภปฎล สุขเกษม (ซ้าย) ซีอีโอ บริษัท แกท อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด และ มิสเตอร์นีล วอร์กเกอร์ (ขวา) ผู้อ�ำนวยการการจัดงานฝ่ายนิทรรศการ SETA 2016 ร่วมแถลง ข่าวประกาศการจัดงานจัดประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ “โครงการพลังงานและเทคโนโลยีทยี่ งั่ ยืนแห่งเอเชีย 2559” หรือ “SETA 2016” เพื่อผลักดันและยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านพลังงานและเทคโนโลยีในระดับภูมิภาคเอเชีย ณ กระทรวง พลังงาน เมื่อเร็ว ๆ นี้ งานจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 23-25 มีนาคม 2559 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

Vol.22 No.210 July-August 2015

บริษัท ซิก้า (ประเทศไทย) จ�ำกัด ในเครือของกลุ่มบริษัทซิก้า ผู้น�ำด้านการผลิตและจัด จ�ำหน่ายเคมีภณ ั ฑ์กอ่ สร้างและกาวอุตสาหกรรมครบวงจร จัดพิธวี างศิลาฤกษ์เพือ่ ก่อสร้างโรงงาน แห่งใหม่ในนิคมอุตสาหกรรมหนองแค จังหวัดสระบุรี ด้วยเงินลงทุน 300 ล้านบาท โดยมี (จากภาพ ขวาไปซ้าย) มิสเตอร์เลียม กอร์ดอน ไกซ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซิก้า (ประเทศไทย) จ�ำกัด พร้อมด้วย ดร.วิชากร เฮงษฎีกุล กรรมการผู้จัดการ อินทีเรีย ฟินิชชิ่ง คุณยุมิ คาน ผู้จัดการ พื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 1 และ มิสเตอร์มาซาโนริ ฮามาดะ ประธาน บริษัท ไทยคาจิมา จ�ำกัด ร่วมพิธวี างศิลาฤกษ์การก่อสร้างโรงงานแห่งที่ 2 ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรมหนองแค จังหวัด สระบุรี ตอกย�ำ้ พันธสัญญาในการเติบโตเคียงข้างสังคมไทยตลอดไป โดยโรงงานแห่งใหม่นเี้ ป็นแห่งที่ 2 ซึง่ จะติดตัง้ ระบบเครือ่ งจักรอันทันสมัย เพือ่ ผลิตกลุม่ ผลิตภัณฑ์ประเภทซีเมนต์มอร์ตา้ และกลุม่ ผลิตภัณฑ์ประเภทน�ำ้ ยาผสมคอนกรีต คาดว่าจะพร้อมเดินสายการผลิตได้ในไตรมาส 1/2559

80

คุณวิชิต พยุหนาวีชัย (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซัมมิท แคปปิตอล ลีสซิ่ง จ�ำกัด ให้การต้อนรับ มิสเตอร์คุนิฮารุ นากามูระ (ที่ 3 จากขวา) ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั ซูมโิ ตโม คอร์ปอเรชัน่ ประเทศญีป่ นุ่ และคณะ ผู้บริหารระดับสูง ในโอกาสมาเยือนเพื่อร่วมประชุมวางแผนงานธุรกิจ ณ ส�ำนักงานใหญ่ของ บริษัท ซัมมิท แคปปิตอล ลิสซิ่ง จ�ำกัด อาคารอื้อจือเหลียง ชั้น 10 เมื่อเร็ว ๆ นี้


Movement

E vent ดร.พิเชษฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี พร้อม คณะ ได้ให้เกียรติเข้าเยีย่ มชมสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ นุ่ ) ในฐานะทีเ่ ป็นองค์กรไม่มงุ่ แสวงหาผลก�ำไรแต่มีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริม และพัฒนาอุตสาหกรรมไทย โดยมี รศ.ดร. สุจริต คูณธนกุลวงศ์ นายกสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) คุณสุพงศ์ ชยุตสาหกิจ นายกสภาสถาบัน รศ.ปราณี จงสุจริตธรรม อุปนายก ดร.สุรพันธ์ เมฆนาวิน เลขาธิการ รศ.ดร. มังกร โรจน์ประภากร เหรัญญิก พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร ส.ส.ท. ให้การต้อนรับ ในการนี้ ดร.พิเชษฐ ดุรงคเวโรจน์ ได้ร่วมหารือกับคณะผู้บริหาร ส.ส.ท. ในโครงการต่าง ๆ พร้อมทั้ง เยี่ยมชมห้องปฏิบัติการสอบเทียบและวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ส.ส.ท. รศ.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ นายกสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ส.ส.ท. ลง นามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ร่วมกับ Dr.Masatoshi Kataoka, President Tokyo Metropolitan Industrial Technology Research Institute/TIRI ในด้านความร่วมมือในการพัฒนา และให้ ความช่วยเหลือทางเทคนิคแก่วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในประเทศไทย โดยมี Mr.Norikazu Shibuya, President, Tokyo Higashi Shinkin Bank ร่วมแสดงความยินดี ณ ห้อง ประชุม 1 สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ส�ำนักงานใหญ่ สุขุมวิท ซอย 29

S how PROMAX PROLITE-63B เครื่องวัดก�ำลังแสงของสายไฟเบอร์ออปติก รุ่นราคาประหยัด

➢ ส�ำหรับความยาวคลื่น 850, 1300, 1310, 1490, 1550, 1650 nm ➢ มีฟังก์ชั่นส�ำหรับการก�ำหนดค่าอ้างอิง (reference) ➢ เก็บข้อมูลได้ 999 ค่า ส่งข้อมูลไปยัง PC ผ่าน USB ➢ จอ LCD มีไฟแบกไลต์ ท�ำงานสะดวกในที่แสงน้อย ➢ มีคอนเน็กเตอร์หลายแบบและอุปกรณ์เสริมที่สลับใช้งานได้ ➢ ท�ำงานด้วยแบตเตอรี่ในตัวแบบชาร์จได้ หรือใช้อะแดปเตอร์ ➢ ไดนามิกเรนจ์กว้าง สามารถวัดก�ำลังแสง -40 ถึง +10 dBm ➢ ปิดเครื่องอัตโนมัติ ประหยัดไฟ ท�ำงานภาคสนามได้ยาวนาน ➢ มีหัวไฟเบอร์ออปติกถอดเปลี่ยนได้หลายแบบ

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อ: คุณวิชิต ชำ�นาญการค้า โทร.08-1832-7016 บริษัท เมเชอร์ โทรนิกซ์ จำ�กัด โทรศัพท์ 0-2514-1000; 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com, E-mail: info@measuretronix.com

Vol.22 No.210 July-August 2015

PROLITE-63B เป็นเครือ่ งวัดก�ำลังแสงของสายไฟเบอร์ออปติกทีใ่ ช้งานได้หลากหลาย เหมาะส�ำหรับงานในห้องแล็บ, LANs, WANs และ CATV รวมถึงงาน Optical Network ระยะไกล มีทั้งมิเตอร์วัดก�ำลังและตัวก�ำเนิดเลเซอร์ในตัว สามารถแยกแยะสายสัญญาณ วัดการลดทอน ตรวจสอบความต่อเนื่องสัญญาณ ประเมินคุณภาพการเชื่อมต่อสัญญาณของไฟเบอร์ลิ้งค์

81


Vol.22 No.210 July-August 2015

82

Pressure

Temperature & Huminity

etc.

pH Meter

Mass

Length

Hardness

Force

Electric ✗

TQM

etc.

Six Sigma

5S

etc.

TIS/OHSAS 18001

SA 8000

Training

Cover, Inside Front Cover, 1 5

Testing

Page

ISO/TS 16949

25

ISO 14001

Page

ISO 9001

Software

Sumipol Co., Ltd.

Services

Measuretronix Ltd.

Measurement

Products

Equipment

CCT Square Co., Ltd.

ISO 17025

Consultancy & Training

2, 3 5

Calibration

Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. Sumipol Co., Ltd.

Page

HACCP

Lab Calibrations

Dimension

Advertiser’s Index

หมายเหตุ* Advertiser’s Index ได้จัดทำ�ขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหาชื่อของบริษัทต่าง ๆ ที่ลงโฆษณาในนิตยสารฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด ๆ กับบริษัทที่ลงโฆษณา หากเกิดความผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำ�ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย


โปรโมชั่นพิเศษ

ัจดหนักเต็ม จัด

จรัดับนหิตยนสารัก

 สำหรับสมาชิก ส.ส.ท. สมัครในี้เหม ทานั้น

ระหวางเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2558

a KAIZEN e d I & e v i t a Cre ี 3 เลม ฟรีทันท

จรับัดนิตเต็ม

ยสาร Creative & Idea KAIZEN ฉบับใหมรายเดือน ตอเน�อง 3 เดือน ฟรี

) ล ค ค ุ บ ิ ต ิ ะน ล แ ญ ั าม (ส  ม ให ก ิ าช ม ส สำหรับ ี้เทานั้น ภายในเดือนกรกฎาคม-กันยายน 2558 น

ติดตอสอบถามขอมูลการสมัครไดที่ :

แผนกสมาชิกสัมพันธ และเครือขายการตลาด โทรศัพท 0-2259-9115 โทรสาร 0-2259-9117 อีเมล member@tpa.or.th เว็บไซต http://www.tpa.or.th/member


โรงเรียนภาษาและวัฒนธรรม สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 泰日経済技術振興協会付属語学学校(ソーソートー)

School of Language and Culture

新コース!

20 タイ入門コース

คอรสสนทนาภาษาไทยเบื้องตน 20 ชั่วโมง

時間

(初心者コース)

タイ語会話の基礎を勉強しながらタイ文化やタイ人の考え方を知ることができるコース

กฃ ขค

คอรสเรียนสนทนาภาษาไทยเบื้องตนควบคูไปกับการเรียนรูวัฒนธรรมและความคิดของคนไทย 対象者 คุณสมบัติผูเรียน  

タイで生活している方、 タイで仕事をしている方。

タイで、 より充実した生活を送るため、 あるいは職場でタイ人と円滑に

コミュニケーションを図るためのタイ語に関する基礎知識を学びたい方。 

初心者向けのタイ語及びタイ文化やタイ人の考え方を学びたい方。

ชาวญี่ปุนที่อาศัยอยู ในเมืองไทย มีความตองการเรียนรูพื้นฐานภาษาไทย รวมทั้งวัฒนธรรมไทย ความรูสึกนึกคิดของคนไทย เพ�อใหการส�อสารในชีวิตประจำวันและการทำงานเปนไปอยางราบร�น

จำนวนผูเรียน

時間

เวลาเรียน

曜日

教材

8−16名

9:00-12:00

月∼金

場面で役立つ

人数

8-16 คน

วันเรียน

(最終日のみ 9:00-11:00) 全7回

9.00-12.00 น. (9.00-11.00 น. เฉพาะวันสุดทายของการเรียน) รวม 7 ครั้ง

スケジュール

กำหนดการเปดคอรส

お問い合わせ先

ติดตอสอบถาม

จันทร-ศุกร

受講料

คาเรียน

5,000B.

หนังสือเรียน 使えるタイ語・

単語帳 150B.

รวมศัพท พูด (ภาษา) ไทยใหเกง ราคา 150 บาท

コード รหัสคอรส

申込締切 วันปดรับสมัคร

受講期間 ระยะเวลาเรียน

TN1-15-001 TN1-15-002 TN1-15-003 TN1-15-004

June 10, 2015 July 8, 2015 July 28, 2015 August 26, 2015

June 15-23, 2015 July 13-21, 2015 August 3-11, 2015 September 1-9, 2015

TEL : 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ext. 1651, 1652 E-mail : thschool@tpa.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.