QM213 January-February 2016 Vol.22 No.213

Page 1

www.tpaemagazine.com

For

Quality Management

January-February 2016 Vol.22 No.213

Magazine for Executive Management

ฐานรากของการศึกษาไทย จุดเริ่มตนสูเศรษฐกิจดิจิทัล

 

การปรับระบบ ISO 14001:2004 เขาสูมาตรฐาน 14001:2015 เพิ่มรายไดกับการลดตนทุน คนละเร�องเดียวกัน ?

  

ทำอยางไรเศรษฐกิจไทยที่ “เสียทรง” จะ “สมสวน” เพิ่มมากขึ้น กิจการเพ�อสังคม....ไมหวังผลกำไรจริงหรือ กรณีศึกษาราน Green Ladies ฮองกง เพิ่มประสิทธิภาพงานดวยการจัดการความรู


ME A

V

D. LT

เคร�องสอบเทียบมาตรฐานอุณหภูมิ สำหรับหองแล็บมาตรวิทยา

R RE T ONIX SU

PASSED ER

I F I C AT I O

N

ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย

STANDARD THERMOMETER Fluke 1594A, 1595A SuperThermometer Readouts

Fluke 1586A Super-DAQ

ความแมนยำระดับ primary lab ในราคา secondary lab มั่นใจไดในทุกคาการวัด อยูในคาลิมิต ที่ตองการ • ใชกับโพรบ SPRTs, PRTs, RTDs และ thermistors (0 Ω to 500 kΩ) • ความแมนยำ รุน 1594A : ± 0.00006 °C, 0.8 ppm Ratio accuracy รุน 1595A : ± 0.000015 °C, 0.2 ppm Ratio accuracy • เลือกวัดคาโดยวิธี resistance ratio (Rx/Rs) หรือวิธี absolute resistance ได

Fluke 1523/24 Handheld Thermometer

เครื่องวัดและสอบเทียบอุณหภูมิหลายแชนเนล ความเที่ยงตรงสูง ใชบันทึกขอมูลในงานอุตสาหกรรมและงานสอบเทียบอุณหภูมิอัตโนมัติ • วัดคาเทอรโมคัปเปล, PRTs, เทอรมิสเตอร, แรงดัน dc, กระแส dc และความตานทาน • ความแมนยำการวัดอุณหภูมิสูงสุด  PRTs : ± 0.005 °C  เทอรโมคัปเปล : ± 0.5 °C  เทอรมิสเตอร : ± 0.002 °C • จำนวนอินพุตสูงสุด 40 แชนเนล แยกทางไฟฟา • ความเร็วสแกนสูงสุด 10 แชนเนลตอวินาที

Fluke 1551A Ex/1552A Ex Digital Reference Thermometer

ชุดวัดอุณหภูมิแบบพกพา เหมาะสำหรับ งานภาคสนาม สามารถใชงานไดทั้ง sPRT, PRT, Thermister และ TC มีใหเลือกทั้งแบบ 1 CH และ 2 CH

ใชงานทดแทนเทอรโมมิเตอรแบบปรอทแทงแกว (LIG) โดยใชโพรบกานโลหะ • ความแมนยำ ± 0.05°˚C • ปลอดภัยตอพื้นที่ไวไฟ • Data Logging • ทำงานตอเนื่อง 300 ชั่วโมง

Fluke 1529 Thermometer Chub E4

ชุดเครื่องมือวัดคาทางอุณหภูมิแบบ 4 ชวงวัด สามารถเลือกได • แบบ STD (2PRT, 2TC) • แบบ PRT 4 CH • แบบ TC 4 CH

HEAT SOURCE Fluke 9190A Ultra-Cool Field Metrology Well

เครื่องสอบเทียบอุณหภูมิเย็นจัด สำหรับงานภาคสนาม และสำหรับงาน สอบเทียบอุณหภูมิที่ต่ำมากเปน พิเศษโดยเฉพาะ • ทำอุณหภูมิ จาก 23 Cํ ไปยัง -95 Cํ ไดรวดเร็วภายใน 90 นาที • ทำอุณหภูมิไดกวาง -95°C ถึง 140°C • เสถียรภาพ ±0.015°C • ความแมนยำสูง ±0.05°C • คุณสมบัติสอดคลองตาม EURAMET cg-13 • สำหรับสอบเทียบ RTDs, เทอรโมคัปเปล, เทอรโมมิเตอร และเซ็นเซอรวัดอุณหภูมิแบบอื่นๆ

Fluke 914X Field Metrology Well

ชุดเครื่องมือสอบเทียบอุณหภูมิ แบบแหง เหมาะสำหรับงานภาคสนาม ดวยขนาดที่เล็กกะทัดรัด สะดวก ตอการพกพา แตยังคงประสิทธิภาพ ดวยชุดอุณหภูมิแบบ Dual Zone และยังเพิ่มขีดความสามารถดวยชุด Readout สำหรับ PRT, RTD, TC และ สามารถบันทึก ผลการวัดอุณหภูมิได Range : -25 to 660°C

Fluke 917X Metrology Well

ชุดเครื่องมือสอบเทียบอุณหภูมิแบบแหง ที่มีประสิทธิภาพระดับ Bath ดวยชุดควบคุม อุณหภูมิแบบ Dual Zone ทำใหไดมาซึ่ง • คา Stabillity ± 0.005 °C • คา Axial Uniformity ± 0.02°C • คา Radial Uniformity ± 0.01 °C • คา Accuracy ± 0.006 °C • คา Loading ± 0.005 °C • คา Hysteresis ± 0.025 °C • Immersion Depth 8 นิ้ว Range : -45 to 700°C

Fluke 6331, 7321, 7341, 7381 Deep Well Compact Calibrator

Fluke 4180 Infrared Calibrator

ชุดสรางอุณหภูมิมาตรฐาน สำหรับ สอบเทียบ อินฟราเรดเทอรโมมิเตอร ดวยขนาดที่กวางถึง 6 นิ้ว ทำให สามารถสอบเทียบอินฟราเรด เทอรโมมิเตอรไดตามมาตรฐาน และยังสามารถ ปรับคา Emissivity ของเทอรโมมิเตอรได

Fluke 6102, 7102, 7103 Micro Bath ชุดสรางอุณหภูมิชนิดใชของเหลว เปนสื่อในการ ควบคุมอุณหภูมิ เหมาะสำหรับการใชงานใน ภาคสนาม ดวยขนาดกะทัดรัด มีหัวปดเพื่อกัน ของเหลวภายในหก มีชวงการทำอุณหภูมิตั้งแต -30 ถึง 200°C รายละเอียด แตกตางกันในแตละรุน

Fluke 9118A Thermocouple Calibration Furnace

ชุดสรางอุณหภูมิชนิดใชของเหลวเปนสื่อในการ ควบคุมอุณหภูมิแบบลึก เหมาะสำหรับงานใน หองสอบเทียบ และชุดหัววัดที่มีขนาดยาว ดวย ความลึก ถึง 19 นิ้ว เมื่อใชรวมกับอุปกรณพิเศษ ทำใหสามารถสอบเทียบ LIG ได ชวงการทำ อุณหภูมิ ตั้งแต -45 to 300 °C

PROBE

Primary Probe

ชุดหัววัดมาตรฐานระดับ Primary เหมาะสำหรับ ผูที่ตองการใชเปน Reference ใชในงานสอบเทียบ ทางอุณหภูมิ Range : -200 to 661 °C

Secondary Probe

ชุดหัววัดมาตรฐานระดับ Secondary ใชในงานสอบเทียบทางอุณหภูมิ มีชวงการใชงาน -200 ถึง 661 °C

Industrial Probe

ชุดหัววัดอุณหภูมิมาตรฐานระดับ Industrial ใชในงานอุตสาหกรรม มีชวงการใชงานตั้งแต -200 ถึง 420 °C

เครื่องสอบเทียบเทอรโมคัปเปลอุณหภูมิสูง 300 - 1200 °C

มีหลุมทำความรอนแนวนอนแบบเปด สะดวกใชงาน ทำความรอนไดเร็ว มีความสม่ำเสมอความรอนแนวแกนดี เหมาะสำหรับหอง Lab, งานอุตสาหกรรมเซรามิก, หลอโลหะ, พลาสติก, ยานยนต, พลังงาน

สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 061-626-9958, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ temperature-calibrator


Fluke 2638A Hydra Series III เคร�องบันทึกขอมูล (Data Acquisition) อเนกประสงค เปนดิจิตอลมัลติมิเตอร ในตัว สำหรับงานเก็บขอมูลทางไฟฟาและ อุณหภูมิจำนวนมากในอุตสาหกรรม  วัดและบันทึกคา แรงดัน DC/AC, กระแส DC/AC, ความตานทาน, ความถี่, RTD, เทอรโมคัปเปล และเทอรมิสเตอร  อินพุตดิฟเฟอเรนเชียลเลือกได 22, 44, 66 แชนเนล  เปน DMM ขนาด 6½ หลักในตัว อีก 1 แชนเนล  แสดงกราฟขอมูลไดพรอมกัน 4 ชอง บนจอแสดงผลสี  ความแมนยำ DC 0.0024%  เก็บขอมูลได 57,000 ชุดขอมูล  มีเวบเซิรฟเวอรในตัวสำหรับดูขอมูลจากระยะไกลได

   

  

 

  

I F I C AT I O

N

ME A

ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย

สอบเทียบ DMM ตั้งแต 8.5 หลักลงมา ไดครบ 5 ฟงคชั่น : แรงดัน/กระแส ac, แรงดัน/กระแส dc และความตานทาน คา 1 year, 95% Confidence spec : 3.5 ppm dc voltage, 42 ppm ac voltage, 35 ppm dc current, 103 ppm ac current, และ 6.5 ppm resistance กำเนิด ac/dc voltage ถึง 1100 V, ac/dc current ถึง 2.2 A และความตานทาน 18 คา ไดถึง 100 MOhm สอบเทียบ RF millivoltmeters ไดถึง 30 MHz (อุปกรณเสริม) จำลองตัวเองเปน Fluke 5700A หรือ 5720A ได ใช MET/CAL เวอรชั่นเกาได อินเตอรเฟส GPIB (IEEE-488), RS-232, Ethernet, USB 2.0 มีอินเตอรเฟสเฉพาะสำหรับตอกับ Fluke 52120A และ 5725A ได มีชองตอ USB ดานหนาสำหรับดาวนโหลดไฟลสอบเทียบ .cvs ดวย USB แฟลชไดรฟได

Fluke 6105A Electrical Power Standard เครื่องสอบเทียบดานไฟฟากำลัง จายกำลังไดทั้ง 1, 2, 3 หรือ 4 เฟส แยกจากกันและพรอมกัน ฟลุค 6100A สามารถจายแรงดันแบบ Pure sine ไดถงึ 1000V กระแส สูงสุด 80A ความแมนยำขนาด 100ppm (0.01%) และวัด phase shift (phase adjustment) ไดละเอียดถึง 1 millidegree หรือ 10 ไมโครเรเดียน นอกจากนี้ฟลุค 6100A ยังมีความสามารถพิเศษอื่น ๆ อีกดังนี้  Fluctuation Harmonics  Dips and Swells  Multi Phase Operation

Compatible

ดิจิตอลมัลติมิเตอรคุณภาพสูงสำหรับ Calibration Lab ดวยฟงกชัน และความแมนยำยอดเยี่ยม

ER

Compatible

เครื่องสอบเทียบเครื่องมือวัดทางไฟฟาหลากชนิด มีระบบปองกันอินพุตที่ตอบสนองรวดเร็ว ใชสอบเทียบเครื่องมือเหลานี้ อะนาล็อกมิเตอรและดิจิตอลมิเตอร ไดถึง 6½ หลัก แคลมปวัดกระแส และแคลมปมิเตอร เทอรโมคัปเปลและ RTD เทอรโมมิเตอร เครื่องสอบเทียบกระบวนการผลิต ดาตาล็อกเกอร, สตริป และชารตเรคอรดเดอร วัตตมิเตอร, พาเนลมิเตอร เครื่องวิเคราะหเพาเวอรและฮารมอนิก ออสซิลโลสโคปทั้งชนิดอะนาล็อกและดิจิตอล

PASSED

Fluke 5730A Multifunction Calibrator ความแมนยำสูงขึ้น จอสีระบบสัมผัส ควบคุมสั่งการงายขึ้น

Fluke 5522A Multi-Products Calibrator

V

D. LT

เคร�องมือสอบเทียบมาตรฐานของเคร�องมือวัด สำหรับจัดทำหองสอบเทียบเปนของตัวเอง

R RE T ONIX SU

Compatible

Fluke 5320A

Multifunction Electrical Tester Calibrator Compatible

Fluke 96270A 27 GHz Low Phase Noise Reference Source

Compatible

Compatible

DC Volts

 

DC Current

  

AC Volt

 

ยานวัดจาก 200mV ถึง 1000V AC Current  ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A ความละเอียด 5.5 หลัก แบนดวิดช 100 kHz  ความละเอียด จาก 5.5 หลัก ถึง 8.5 หลัก ความไวสูงสุด 1nV ถึง 6.5 หลัก ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A  ความไวสูงสุด 100pA ความละเอียด 5.5 ถึง 7.5 หลัก Ohms  ยานการวัดจาก 2Ω ถึง 20 GΩ ความไวสูงสุด 10pA  ความละเอียดจาก 5.5 ยานวัดจาก 200mV หลักถึง 8.5 หลัก  ความไวสูงสุด 10nΩ ถึง 1000V แบนดวิดช 1 MHz ความละเอียดจาก 5.5 หลัก อุณหภูมิ  วัดไดทั้งแบบ two-wires, ถึง 6.5 หลัก three-wires และ four-wires ความไวสูงสุด 100nV  อานคาเปน ํC, ํF, K หรือ Ω ได

Fluke 8845A/8846A ดิจิตอลมัลติมิเตอรความแมนยำสูง

เครื่องสอบเทียบมัลติฟงกชันสำหรับเครื่องมือทดสอบทางไฟฟา รวมฟงกชนั มากมายไวในเครือ่ งเดียว สามารถจาย หรือ เปลีย่ นแปลง คาความตานทาน หรือการกำหนดคาอื่น ๆ ที่ใชทั่วไป เพื่อการ สอบเทียบเครื่องมือวัดไฟฟา ซึ่งมีความยืดหยุนและแมนยำ เพียงพอ ตอการสอบเทียบเครื่องมือวัด ทดสอบตาง ๆ ไดอยางหลากหลาย ใชสอบเทียบ  Multifunction insulation tester  Portable appliance tester  Insulation resistance testers  Continuity testers and earth resistance testers  Ground bond testers and loop/line impedance testers  Hipot testers  เครื่องมือทดสอบทางไฟฟาอื่น ๆ

เครื่องกำเนิดความถี่อางอิงขนาด 27 GHz ที่ใชงานงาย มีความแมนยำสูง และราคาคุม คา ใชสอบเทียบไดทง้ั สเปกตรัม อะนาไลเซอร, RF เพาเวอรเซ็นเซอร และอื่นๆ ปรับระดับ สัญญาณและการลดทอนไดอยางแมนยำ, สัญญาณมีความ บริสุทธิ์สูงและแมนยำ ความผิดเพิ้ยนทางมอดูเลชั่นต่ำ

Fluke 6003A Three Phase Electrical Power Calibrator Compatible

มัลติมิเตอรความแมนยำสูงขนาด 6.5 หลัก ที่มีความสามารถหลากหลาย ตอบสนอง ทุกความตองการของการวัดคาทางไฟฟาไดมากที่สุด เปน เครื่องแบบตั้งโตะที่ใชงาน งาย ประกอบไปดวย ฟงกชันตาง ๆ มากมาย และยังสามารถ วัดอุณหภูมิ คาความจุ คาบเวลา และความถี่  วัด Vdc ที่ความแมนยำ 0.0025%  ยานการวัดกระแส 10 mA ถึง 10 A  ยานการวัดโอหม 10Ω ถึง 1 GΩ  เทคนิคการวัด 2 x 4 แบบ 4-wire  มีพอรต USB เชื่อมตอกับคอมพิวเตอร (รุน 8846A)  แสดงผลแบบกราฟก  โหมดการบันทึก Trendplot ใหขอมูลเปนสถิติและกราฟ  พิกัดความปลอดภัย CAT I 1000V, CAT II 600V

เครือ่ งสอบเทียบคุณภาพไฟฟา 3 เฟส ทีม่ สี มรรถนะและความแมนยำสูง ในราคาคุม คา ควบคุมแตละเฟสไดอยางอิสระ เหมาะสำหรับหองปฏิบัติการสอบเทียบ, โรงงานผลิตเครื่องมือวัดทางไฟฟา และหนวยงานที่ตองดูแลเครื่องมือวัด ทางดานพลังงาน, เครื่องวิเคราะหคุณภาพไฟฟา และเครื่องมือประเภทเดียวกัน

สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 061-626-9958, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar สนใจโปรดติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่

บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จำกัด

2425/2 ถนนลาดพราว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 0-2514-1000, 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001, 0-2514-0003 อีเมล : info@measuretronix.com เวบไซต : http://www.measuretronix.com

http://www.measuretronix.com/electrical-calibrator


ศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. ไดผานการรับรองหองปฏิบัติการสอบเทียบมาตรฐาน มอก. 17025 ในสาขาไฟฟาทั่วไป และสาขาความดันจากระดับความดัน -1 บาร ถึง 5000 บาร และมุงมั่นที่จะขยายขอบขาย การรับรองในอุณหภูมิ และแรงบิดตอไปในอนาคต อีกทั้งยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาเพิ่ม ขอบขาย ความสามารถในการใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของทานผูใชบริการ ในการสอบเทียบสาขาอื่น ๆ ตอไป

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035

Electrical / Electronics Pressure / Vacuum Temperature Dimension / Torque Gas Detector

2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035


2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035


Quality Management Vol.22 No.213 January-February 2016

Contents 20

ฟิตร่างกาย เติมความแอคทีฟ และอ่อนเยาว์ให้ตนเอง

โดย ศูนย์สง่ เสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์

Advertorial 22 ลีนส�ำหรับงานบริการ

ตอน ลีนในธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน)

โดย แผนกออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ นุ่ )

Special Issue 27

สช. องค์กรภาครัฐที่มุ่งสนับสนุน ภาคการศึกษาไทยสู่เศรษฐกิจดิจิทัล

31

17 Quality System

ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กับภารกิจสนับสนุนการศึกษาอาชีวะ สู่เศรษฐกิจดิจิทัล

35

การสนับสนุนด้านเทคโนโลยี ในสถาบันอุดมศึกษา กลไกลสู่การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล โดย กองบรรณาธิการ

Quality Trend 11 การปรับระบบ ISO 14001:2004 เข้าสู่มาตรฐาน 14001:2015

โดย นายคุณภาพ

Quality Tools 15 เพิ่มรายได้กับการลดต้นทุน คนละเรื่องเดียวกัน ?

โดย วิบลู ย์ พงศ์พรทรัพย์

Quality for Food 17 หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า ตามแนวทางของ AIB

AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices ตอนที่ 8 โดย สุวมิ ล สุระเรืองชัย

Quality of Life 19 การนวดสัมผัส ส่งเสริมพัฒนาการทารกแรกเกิด

โดย โรงพยาบาลหัวเฉียว

Quality Management Quality Finance 40 ท�ำอย่างไรเศรษฐกิจไทยที่ “เสียทรง” จะ “สมส่วน” เพิ่มมากขึ้น

โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์

40


นิตยสาร

CREATIVE & IDEA KAIZEN

จัดโปรแรงส...ฉลองสูปที่ 10

สมาชิก 1 ป 790.-

SUBSCRIPTION CREATIVE & IDEA KAIZEN

รับเพิ่ม 3 ฉบับ (ฉบับยอนหลัง)

สมาชิก 2 ป 1,550.รับเพิ่ม 6 ฉบับ (ฉบับยอนหลัง) วิธีการชำระเงิน

 เช็คสั่งจายในนาม “สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)”  โอนเงิน เขาบัญชี ในนาม “สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)”  ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 เลขที่บัญชี 172-0-239233 บัญชีสะสมทรัพย  ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 เลขที่บัญชี 009-2-233-25-3 บัญชีออมทรัพย

ประเภท  บุคคล  นิติบุคคล | สมัครสมาชิก  1 ป  2 ป ขอมูลสมาชิก

ชื่อ-นามสกุล......................................................................................................... ตำแหนง.................................................. แผนก................................................... ชื่อบริษัท............................................................................................................... ที่อยู .................................................................................................................... ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ โทรศัพท........................................... ตอ........ โทรสาร........................................... Email ……………………………………………………..………………………........

ขอมูลออกใบเสร็จ

เลขที่ประจำตัวผูเสียภาษี (13 หลัก) ........................................................................ ชื่อบริษัท............................................................................................................... ที่อยู ..................................................................................................................... ตัวแทนรับใบเสร็จ (ชื่อ-นามสกุล)............................................................................ (ปองกันการสูญหายในการจัดสงใบเสร็จ)

ขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ เจาหนาที่งานสมาชิกสัมพันธ

โทรศัพท 0 2258 0320 ตอ 1740 (คุณจารุภา) โทรสาร 0 2662 1096 E-mail: maz_member@tpa.or.th


Quality Management Vol.22 No.213 January-February 2016

42

Contents Quality Marketing & Branding 42 การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ในหน่วยบริการปฐมภูมิ: บทเรียนจากกรณีศึกษา Best Practice ตอนที่ 2

โดย ผศ.ดร.พัลลภา ปีตสิ นั ต์

45

กิจการเพื่อสังคม....ไม่หวังผลก�ำไรจริงหรือ กรณีศึกษาร้าน Green Ladies ฮ่องกง

โดย จิตอุษา ขันทอง

48

Internal Customer และ External Customer (ลูกค้าภายใน และลูกค้าภายนอก ที่ธุรกิจต้องเข้าใจอย่างยิ่ง) โดย ดร.ธเนศ ศิรกิ จิ

Quality People 50 เพิ่มประสิทธิภาพงานด้วยการจัดการความรู้ โดย ดร.ประเวศน์ มหารัตน์สกุล

Quality Movement

45

Quality Book Guide

55

Quality Movement

56

Advertiser Index

60

50



Editor’s Talk เปิด

ต่อเนื่อง

รับปี 2559 ด้วยความสดใส ขอให้ผู้อ่านทุกท่านมีความสุขตลอดปีและ ตลอดไป ส�ำหรับ ก็ยังคงพร้อมที่จะมอบสิ่งดี ๆ เพื่อผู้อ่านทุกท่านอย่าง

ส�ำหรับฉบับนีเ้ ราเปิดรับเรือ่ งราวใหม่ ๆ ถึงนโยบายการพัฒนาประเทศสูเ่ ศรษฐกิจ ดิจิทัล เพื่อให้สอดคล้องและสมดุลกับการเปิด AEC อย่างเป็นทางการ แต่เหนือสิ่งอื่นใด การพัฒนาสิ่งใดก็ตามควรเริ่มมาจากรากฐานความรู้และการศึกษาเป็นส�ำคัญ ดังนั้น เรา จึงได้หยิบยกเรื่องของการศึกษาที่จะต่อยอดสู่การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศ ด้วย Special Issue “ฐานรากของการศึกษาไทย จุดเริ่มต้นสู่เศรษฐกิจดิจิทัล” จากผู้บริหารใน หน่วยงานการศึกษาในภาครัฐของไทย นอกจากนีเ้ รายังมีบทความน่าอ่านเช่นเคย อาทิ Quality System เสนอบทความเรือ่ ง การปรับระบบ ISO 14001:2004 เข้าสู่มาตรฐาน 14001:2015 บทความเรื่อง เพิ่มรายได้กับการ ลดต้นทุน คนละเรื่องเดียวกัน ? Quality Management เสนอบทความเรื่อง ท�ำอย่างไรเศรษฐกิจ ไทยที่ “เสียทรง” จะ “สมส่วน” เพิ่มมากขึ้น บทความเรื่อง กิจการเพื่อสังคม....ไม่หวังผลก�ำไรจริง หรือ กรณีศึกษาร้าน Green Ladies ฮ่องกง และบทความเรื่อง เพิ่มประสิทธิภาพงานด้วยการ จัดการความรู้ ขอให้ทุกท่านมีความสุขกับบทความของเรา พบกันใหม่ฉบับหน้า

Published by

Advisors คุณมนตรี ชูนามชัย คุณญาณพัฒน อูทองทรัพย

Executive Editor สมใจ วัฒนบรรเจิด

Editorial Assistant พรามร ศรีปาลวิทย จารุภา มวงสวย

Graphics Art Director Production Design โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1731, 1732, 1708

PR & Advertising Supervisor: ฬ�ยากร ขุพินิจ โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th

Marketing Service

บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

Advertising

บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

Member

จารุภา มวงสวย โทร. 0-2259-9160 ตอ 1740 ภาพประกอบบางสวนโดย www.shutterstock.com

วัตถุประสงค บทความและขอมูลในนิตยสารฉบับนี้เปนความคิดเห็นสวนตัว และลิขสิทธิ์ของผูเขียน จึงไมมีสวนผูกพันกับสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) แตอยางใด อีกทั้งขอมูลตาง ๆ อาจผิดพลาดเน�องจากกระบวนการพิมพ จึงมิควรใชอางอิงกอนที่จะตรวจสอบใหชัดเจน และในกรณีมีบทความใดที่ผูอานเห็นวาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิงหรือทำให เขาใจผิดวาเปนผลงานของผูเขียน กรุณาแจงใหทางสมาคมฯ ทราบ จักเปนพระคุณอยางยิ่ง


ใบสมัครสมาชิก รูปแบบ Magazine

Download Form: www.tpaemagazine.com

ในนาม

1 ป (12 ฉบับ) 790 บาท 2 ป (24 ฉบับ) 1,550 บาท เริม่ ฉบับเดือน (ระบุ) .............................

นิติบุคคล บุคคล สมัครสมาชิกใหม ตออายุ (ระบุรหัส) ..............................

จัดสงนิตยสารที่ ช�อ-นามสกุล...................................................................................................... ตำแหน�ง...................................................................... ฝาย/แผนก............................................. ช�อ (หน�วยงาน)........................................................................................................ ที่อยู......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................ รหัสไปรษณีย................................. โทรศัพท........................................................ ตอ..................... โทรสาร........................................................ E-mail (รับขาวสาร) .....................................................................

ระดับการศึกษา

ต่ำกวาปริญญาตรี

จัดสงใบเสร็จรับเงินที่

ปริญญาโท

ปริญญาตรี

จัดสงที่เดียวกับที่สงวารสาร

ปริญญาเอก

จัดสงตามที่อยูดานลาง

ตัวแทน / ผูรับใบเสร็จ (ช�อ-นามสกุล).......................................................................................................................................................... (สำหรับจาหนาซองลงทะเบียน) ที่อยูออกใบเสร็จ (หน�วยงาน)................................................................................................. ที่อยู....................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................

ทานทราบขอมูล-ขาวสาร จากที่ ใด

 เขาชมทางเว็บไซต (www.tpaemagazine.com)  บริษัทเปนสมาชิก ส.ส.ท.  รานคา ....................................  นิทรรศการตาง ๆ (Booth)งาน.......................................................................................................(ระบุ)  อ�น ๆ....................................................................................................................................................(ระบุ)

ประเภทธุรกิจที่ดำเนินการ กรุณาเลือกประเภทกิจการ

อุตสาหกรรมกาซ อุตสาหกรรมการจัดการเพ�อสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑกระดาษ อุตสาหกรรมแกรนิตและหินออน อุตสาหกรรมแกวและกระจก อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลการเกษตร อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลและโลหะการ อุตสาหกรรมเคร�องนุงหม อุตสาหกรรมเคร�องปรับอากาศและเคร�องทำความเย็น อุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต อุตสาหกรรมซอฟตแวร อุตสาหกรรมเซรามิกส

ผูผลิต ผูนำเขา อ�น ๆ (โปรดระบุ)

ผูสงออก

อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมน้ำตาล อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง อุตสาหกรรมผูผลิตไฟฟา อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมไมอัด ไมบาง และวัสดุแผน อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมยานยนต

ผูจัดจำหนาย

หนวยงานราชการ

อุตสาหกรรมเย�อและกระดาษ อุตสาหกรรมรองเทา อุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันปโตรเลียม อุตสาหกรรมโรงเล�อยและโรงอบไม อุตสาหกรรมสมุนไพร อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑหนัง อุตสาหกรรมหลังคาและอุปกรณ อุตสาหกรรมหัตถอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมอะลูมิเนียม อุตสาหกรรมอัญมณีและเคร�องประดับ อุตสาหกรรมอาหาร

วิธีการชำระเงิน เงินสด (กรณีชำระที่สมาคมฯ เทานั้น) โอนเงินเขาบัญชีธนาคาร ช�อบัญชี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 บัญชีสะสมทรัพย เลขที่บัญชี 172-0-239233 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 009-2-23325-3

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม หรือสงใบสมัครมาที่

เจาหนาที่ลูกคาสัมพันธสมาชิก โครงการผลิตส�อและมัลติมีเดีย

PR_NW

สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 โทรศัพท 0-2258-0320-5 ตอ 1740 โทรสาร 0-2662-1096 หรือ E-mail maz_member@tpa.or.th


Q

System for

uality

Trend Tools for Food of Life Advertorial


Q

Trend for

uality

การปรับระบบ ISO 9001:2008 เข้าสู่มาตรฐาน ISO 9001:2015 มาตรฐาน

ISO 14001:2015 ฉบับมาตรฐาน สากล (IS) ที่ประกาศใช้ในเดือน กั น ยายน 2015 ที่ ผ ่ า นมา องค์ ก ารที่ ป ระยุ ก ต์ ใ ช้ ม าตรฐาน ISO 14001:2004 ต้องเตรียมพร้อมในการปรับปรุงระบบเข้าสู่มาตรฐาน 14001:2015 โดยแนวทางในการปรับเข้าสูม่ าตรฐาน ISO 14001:2015 สามารถประยุกต์รายละเอียดของกิจกรรมการประยุกต์ใช้ข้อก�ำหนด ตามแนวทางมาตรฐาน ISO 9001:2015 หรือการประยุกต์ใช้ระบบแบบ องค์รวม (Integrated Management System) เนื่องจากโครงสร้าง ข้อก�ำหนดมีการปรับเป็นแนวทางเดียวกัน โดยเปลี่ยนหลักการจาก ระบบบริหารจัดการคุณภาพ เป็น ระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม สามารถด�ำเนินการได้ดังนี้ 1. การประชุมระดมความคิดเห็นโดยผู้บริหาร และทีมงาน ระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพิจารณา ก�ำหนด และบันทึก รายละเอียดผลการระดมสมอง ดังนี้

นายคุณภาพ

➲ การก�ำหนดหลักการเหตุและผลในการน�ำ ระบบบริหาร

จัดการสิ่งแวดล้อมมาปฏิบัติ ประโยชน์ที่ได้รับจากการท�ำระบบการ จัดการสิ่งแวดล้อม และปัจจัยสู่ความส�ำเร็จ (success factor) โดย อ้างอิงจากบทน�ำของมาตรฐาน ISO 14001:2015 ➲ การวิเคราะห์ประเด็นปัจจัยทัง้ ภายในและภายนอก (internal and external issue) ที่มีผลต่อวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ใน การบรรลุผลด้านระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้จะ รวมถึงเงื่อนไขทางด้านสิ่งแวดล้อมที่มีต่อองค์การ ได้แก่ ภูมิอากาศ คุณภาพอากาศ คุณภาพน�้ำ การใช้ทรัพยากร การปนเปื้อน เป็นต้น ตัวอย่างเช่น บริษัทผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โรงกลั่นน�้ำมัน โรงงานผลิ ต ปู น ซี เ มนต์ ห รื อ โรงงานผลิ ต ไฟฟ้ า จากเชื้ อ เพลิ ง ที่ มี กระบวนการเผาไหม้และมีการปลดปล่อยไอเสียทางปล่อง ประเด็น ลักษณะปัญหาสิง่ แวดล้อมทีม่ นี ยั ส�ำคัญ คือ ด้านมลพิษทางอากาศ ซึง่ สามารถมีผลต่อวัตถุประสงค์ขององค์การหรือมีผลต่อประเด็นปัญหา for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

11


Vol.22 No.213 January-February 2016

Trend

12

สิ่งแวดล้อมขององค์การ ประเด็นปัจจัยที่มีผลต่อการควบคุมปัญหา สิ่งแวดล้อมนี้ คือ ระบบการควบคุมและก�ำจัดมลพิษทางอากาศ ซึ่งมี เทคโนโลยีและระบบการควบคุมต่าง ๆ ที่เป็นปัจจัยส�ำคัญและจ�ำเป็น ต้องน�ำมาควบคุมตามระบบการควบคุมการปฏิบัติการ (operational control) การควบคุมสภาวะระบบการเผาไหม้ รวมทั้งการพิจารณา ปัจจัยด้านคุณภาพของเชื้อเพลิง เช่น สารก�ำมะถัน หรือสารโลหะหนัก ที่มีในเชื้อเพลิงที่เผาไหม้ เป็นต้น ขณะที่โรงงานผลิตอาหาร เช่น การแปรรูปเนื้อสัตว์ โรงงาน ช�ำแหละเนื้อสัตว์ ลักษณะปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่มีนัยส�ำคัญ คือ ปัญหามลพิษทางน�ำ้ เนือ่ งจากเป็นอุตสาหกรรมทีม่ กี ารใช้นำ�้ มาก ดังนัน้ จึงต้องมีระบบการควบคุมระบบการบ�ำบัดน�้ำเสียที่มีประสิทธิผล และ เพียงพอต่อปริมาณน�้ำเสียที่เกิดขึ้นในระบบ ส่วนประเด็นปัจจัยภายนอก ได้แก่ ข้อก�ำหนดทางด้านกฎหมาย ภาครัฐ ข้อก�ำหนดของลูกค้า เช่น นโยบายการจัดซือ้ สีเขียวแบบ Green Purchasing ข้อก�ำหนดด้าน RoHs หรือ Reach หรือข้อก�ำหนดตาม แนวทาง Code of Conduct กฎหมายระหว่างประเทศด้านสิง่ แวดล้อม รวมถึงข้อก�ำหนด NGO ทีอ่ าจมีมมุ มมองแนวคิดด้านระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมที่มากกว่าการจัดการตามกฎหมาย เป็นต้น ความเข้าใจความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย เช่น โรงงานผลิตไฟฟ้า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องด้าน สิ่งแวดล้อม ได้แก่ ชุมชน องค์การหน่วยงานอิสระ (NGO) และภาค สังคมที่อาจได้รับผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมจากการผลิตกระแส ไฟฟ้า ความกังวลด้านผลกระทบด้านสุขภาพ พื้นที่การเกษตร การ ประมง การท่องเที่ยว เป็นต้น โดยหากเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตเป็น เชือ้ เพลิงชนิดทีอ่ าจก่อให้เกิดมลพิษ เช่น ถ่านหิน ขยะ ก็จะมีความเสีย่ ง จากการร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้เสียมากกว่าเชื้อเพลิงสะอาด ความ คาดหวังของชุมชนสามารถรวมไปถึงกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) ที่ทาง องค์การจัดหาให้กับชุมชน เพื่อให้อยู่ร่วมกับชุมชนอย่างมีความสุข การก�ำหนดขอบข่ายของระบบบริหารสิง่ แวดล้อมตามข้อก�ำหนด 4.3 ISO 9001:2015 เป็นการพิจารณาชีบ้ ง่ ประเด็นด้านสภาพแวดล้อม ภายในและภายนอกและข้อก�ำหนดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อน�ำไป ออกแบบระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและการพิจารณาข้อก�ำหนดที่ จ�ำเป็นต้องประยุกต์ใช้ต่อไป โดยการก�ำหนดขอบข่าย ควรพิจารณา บริบทขององค์การเพือ่ สร้างคุณค่าและเป็นประโยชน์ตอ่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ น เสีย ซึง่ องค์การอาจจะก�ำหนดขอบเขต การเลือกประยุกต์ใช้ขอ้ ก�ำหนด ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมทั้งหมดหรือเฉพาะส่วนขององค์การ องค์การสามารถพิจารณาเลือกขอบเขตการควบคุมที่สามารถควบคุม หรือมีอทิ ธิพลเหนือกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และบริการ การพิจารณาวัฏจักร ชีวติ ผลิตภัณฑ์ โดยพิจารณาปัญหาด้านสิง่ แวดล้อมทีม่ นี ยั ส�ำคัญ หรือ ความสอดคล้องต่อกฎหมาย

2. การด� ำ เนิ น การประเมิ น ความเสี่ ย งและโอกาส ตาม ข้อก�ำหนด 6.1 โดยอาจใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาด้าน ➲ ประเด็นปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม ในด้านลบ (aspect and impact) ซึ่งสามารถส่งผลกระทบต่อองค์การ ในการผลิตและส่งมอบผลิตภัณฑ์ตามข้อก�ำหนด โดยการประเมิน ปัญหาสิง่ แวดล้อมให้พจิ ารณาตลอดกระบวนการวงจรชีวติ ผลิตภัณฑ์ (product life cycle) ตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบ การพัฒนา การผลิต การส่งมอบผลิตภัณฑ์ ➲ ความสอดคล้องกับข้อก�ำหนดทางด้านกฎหมาย พันธสัญญาด้านสิง่ แวดล้อม เช่น ข้อก�ำหนดด้านกฎหมายสิง่ แวดล้อมทีอ่ าจ มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ ที่องค์การต้องผูกพันในการปฏิบัติตาม ➲ ข้อก�ำหนดความต้องการและความคาดหวังของผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสีย ซึ่งมีผลต่อประสิทธิผลที่ได้จากระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การก�ำหนดระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตาม Supply Chain การ เลือกใช้วตั ถุดบิ ทีไ่ ม่มสี ารโลหะหนักตามมาตรฐาน RoHs และ Reach ระบบการสรรหาวัตถุดิบที่ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม เช่น กฎหมาย IUU (illegal, unreported and unregulated fishing) เป็นต้น ตั ว อย่ า งของความเสี่ ย งและโอกาสด้ า นการจั ด การสิ่ ง แวดล้อม เช่น ➲ ปั ญ หาความเข้ า ใจข้ อ ก� ำ หนดหรื อ ภาษาสื่ อ สารที่ เ ป็ น อุปสรรคต่อคนงานที่อาจมีระดับความรู้ความสามารถน้อย ท�ำให้การ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมผิดพลาด ➲ การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ ท�ำให้เกิดน�้ำท่วม มี ผลกระทบต่อการสัญญาข้อตกลงขององค์การ ➲ การขาดทรัพยากรทีเ่ พียงพอในการรักษาความมีประสิทธิผลของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ➲ การมีเทคโนโลยีใหม่ การเงินที่เพียงพอในการลงทุน ซึ่ง ท�ำให้สามารถปรับปรุงคุณภาพอากาศได้ เช่น ระบบการเผาไหม้ถา่ นหิน ขยะ ที่ช่วยลดมลพิษอากาศ ➲ สภาวะแล้ง ท�ำให้เกิดการขาดแคลนน�ำ้ ในการสเปรย์บำ� บัด คุณภาพอากาศทีป่ ล่อยออก โดยการดักจับฝุน่ ละออง การบ�ำบัดระบบ Wet Scrubbers ➲ สถานการณ์ฉกุ เฉินทีไ่ ม่ได้วางแผนไว้หรือเหตุการณ์ทไี่ ม่ได้ คาดการณ์ไว้ก่อน ซึ่งจ�ำเป็นต้องมีการจัดการเป็นกรณีพิเศษ เช่น เพลิงไหม้ สารเคมีหกรั่วไหล สภาวะอากาศที่เลวร้ายโดยฉับพลัน โดยองค์การจะต้องวิเคราะห์ลักษณะของการเกิดอันตราย ประเภทและความรุนแรง และผลกระทบจากสภาวะฉุกเฉินเหล่านี้ เพือ่ การจัดการความเสี่ยง โดยการจัดการความเสี่ยงตามมาตรฐานไม่ได้ ก�ำหนดวิธกี ารทีเ่ ป็นทางการ โดยองค์การสามารถออกแบบวิธกี ารชีบ้ ง่ และประเมินความเสี่ยงได้


Trend 3. การวางแผนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม องค์การต้องมีการก�ำหนดการวางแผนงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ด้านสิง่ แวดล้อมทีร่ ะดับกลยุทธ์ ระดับเทคนิค หรือระดับปฏิบตั กิ าร โดย การด�ำเนินการทั้งหมดให้สนับสนุนต่อกลยุทธ์องค์การ การก�ำหนดตัว ชี้วัดเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในด้านที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสิ่งแวดล้อม มีการเฝ้าติดตามและมีการสือ่ สาร และการจัดท�ำแผนปฏิบตั ิ การเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม โดยแนวทางตาม ข้อก�ำหนด 6.2.2 ตัวอย่างของวัตถุประสงค์คณ ุ ภาพ: การควบคุมค่า BOD COD กระบวนการบ�ำบัดน�้ำเสียให้เป็นไปตามกฎหมายสิ่งแวดล้อมก�ำหนด ตลอดกระบวนการผลิต ใคร ฝ่ายวิศวกรรม

กิจกรรมอะไร การควบคุมระบบการบ�ำบัดน�้ำเสีย

ทรัพยากรที่ต้องการ

ระยะเวลา

ผู้ควบคุมมลพิษน�้ำ อุปกรณ์เครื่องเติมอากาศ ● เครื่องมือวิเคราะห์คุณภาพน�้ำ ● สารเคมีที่ใช้ในกระบวนการ บ�ำบัด

ตลอดระยะเวลาที่มี กระบวนการผลิต

● ●

การประเมินผล การเฝ้าติดตามวัดผลคุณภาพน�้ำ pH BOD COD Online ● การจัดส่งห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ ภายนอก ●

4. การจัดท�ำแผนการสือ่ สารภายในและภายนอก องค์การต้องมีการก�ำหนดแผนการสือ่ สาร โดยก�ำหนดรายละเอียดตามข้อก�ำหนด 7.4 ตัวอย่าง: แผนการสื่อสารภายนอก ผู้รับผิดชอบ ฝ่ายสิ่งแวดล้อม

หัวข้อสื่อสาร ผลการเฝ้าติดตามตรวจวัด การรายงานผลปริมาณการส่ง ของเสียบ�ำบัด ●

เมื่อใด ●

ฝ่ายธุรการ

ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ของบริษัท

สื่อสารกับใคร

การจัดส่งรายงานตามวาระที่ กฎหมายกำหนด เมื่อมีการนัดหมายผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเข้ารับฟัง และเข้า เยี่ยมชมกิจการ

● ●

หน่วยงานราชการ กรมโรงงาน

ชุมชน สื่อมวลชน ● ผู้แทนองค์การ อิสระ ● Supplier ● Customer ● ●

วิธีการ การสื่อสารผ่านระบบ Internet ของ กรมโรงงาน ● การจัดเตรียมข้อมูลผลการตรวจวัด ณ โรงงานให้พร้อม ● การรับฟังการน�ำเสนอโครงการ จัดการด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัท ●

ตัวอย่าง: การจัดท�ำแผนการสื่อสารภายใน ฝ่ายบุคคล

หัวข้อสื่อสาร ความเข้าใจด้านระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมภายในบริษัทฯ

เมื่อใด ● ●

สื่อสารกับใคร

ปฐมนิเทศอย่างน้อยเดือนละครั้ง พนักงาน เสียงตามสายอย่างน้อยสัปดาห์ ละครั้ง

5. การก�ำหนดการวางแผนและควบคุมการปฏิบตั กิ าร องค์การ ควรมีวธิ กี ารในการวางแผนและควบคุมการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม โดย ขึน้ กับลักษณะของกระบวนการ ความเสีย่ งและโอกาส ประเด็นปัญหา ด้านสิ่งแวดล้อมที่มีนัยส�ำคัญ และการสอดคล้องกับกฎหมาย เพื่อให้ ได้ผลการควบคุมสิ่งแวดล้อมเป็นไปตามที่มุ่งหวังและการควบคุม

วิธีการ การใช้เสียงตามสาย การจัดอบรมปฐมนิเทศ ● การติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ ● ●

กระบวนการจัดการสิ่งแวดล้อมมีประสิทธิผล โดยวิธีต่าง ๆ ดังนี้ ➲ การออกแบบกระบวนการเพื่อป้องกันความผิดพลาดและ บรรลุผลตามทีต่ อ้ งการ เช่น การออกแบบระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียทีส่ ามารถ รองรับปริมาณน�้ำและโหลดคุณภาพน�้ำให้ชัดเจน

Vol.22 No.213 January-February 2016

ผู้รับผิดชอบ

13


Trend

➲ การใช้เทคโนโลยีในการควบคุมกระบวนการระบบการ

Vol.22 No.213 January-February 2016

จัดการสิ่งแวดล้อม เช่น เทคโนโลยีการบ�ำบัดน�้ำเสีย การบ�ำบัดมลพิษ ทางอากาศ หรือการออกแบบระบบการเผาไหม้ที่ป้องกันมลพิษ ➲ การใช้บุคลากรที่มีความสามารถในการควบคุมระบบการ จัดการสิ่งแวดล้อม ➲ การควบคุมกระบวนการตามวิธกี ารทีก่ ำ� หนด ทีถ่ กู ต้อง และ ก�ำหนดวิธกี ารเฝ้าติดตามและตรวจวัดกระบวนการ เพือ่ ป้องกันการเกิด ของเสีย (waste) ในกระบวนการผลิต ➲ การก�ำหนดและการอ้างอิงเอกสารข้อมูลในการปฏิบตั งิ าน ตามที่จ�ำเป็นในการควบคุมกระบวนการ

14

6. การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร สิง่ ทีอ่ งค์การต้องมีการทบทวน ในการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร คือ การทบทวนการเปลี่ยนแปลงด้าน ➲ ประเด็นภายในและภายนอกทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับระบบการ จัดการสิ่งแวดล้อม ➲ ความต้องการและความคาดหวังขององค์การที่มีส่วนได้ ส่วนเสีย ➲ ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยส�ำคัญ ➲ ความเสี่ยงและโอกาส โดยสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงภายในองค์การ เช่น การมีลูกค้ารายใหม่ที่มีข้อก�ำหนดในเรื่อง ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น ผู้ขายรายใหม่ที่ต้องประเมิน ความสามารถในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม หรือกรณีที่ภาครัฐมีการ เปลี่ยนแปลงกฎหมายใหม่ รวมถึงกรณีที่องค์การมีการปรับเปลี่ยน กระบวนการผลิตใหม่ มีผลิตภัณฑ์ใหม่เกิดขึน้ หรือการขยายก�ำลังการ ผลิต ซึ่งท�ำให้มีการใช้ทรัพยากร เช่น น�้ำ ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น และก่อให้เกิด ปริมาณมลพิษ เช่น น�ำ้ เสีย การเผาไหม้และปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพิม่ ขึน้ ซึง่ การเปลีย่ นแปลงเหล่านี้ อาจเป็นสาเหตุทที่ ำ� ให้ผลการด�ำเนิน งานตามวัตถุประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อมไม่บรรลุผลได้ ผลจากการทบทวน ต้องน�ำไปสู่การปรับปรุงระบบให้มีประสิ ท ธิ ผ ลที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เช่ น การทบทวนความพร้ อ มและเพี ย งพอของ ทรัพยากร การตัดสินใจของผู้บริหารในการปรับปรุงระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม


Q

Tools for

เพิ่มรายได้ ผ่าน

พ้นไปอีก 1 ปีแล้ว หลายคนเริม่ กลับมาท�ำงานหลังจากหยุด ยาวเพือ่ พักผ่อน หลังจากทีม่ เี รือ่ งวุน่ วายทีต่ อ้ ง เคลียร์ให้เสร็จก่อนสิน้ ปี ไม่วา่ จะเป็นเร่งเคลียร์ ออเดอร์ทคี่ า้ งอยู่ หรือหาออเดอร์เพิม่ ให้ได้ตาม เป้าทีต่ งั้ ไว้ ไหนจะเตรียมปิดงบ สรุปก�ำไรเพือ่ จ่ายโบนัส ไหนบางส่วนก็เตรียมจัดงานฉลอง ปีใหม่ ปีเก่าผ่านไป ปีใหม่ผา่ นเข้ามา ถึงแม้ จะท�ำงานเหมือนเดิม แต่สงิ่ ทีต่ อ้ งเริม่ ใหม่ ก็คอื การท�ำนโยบายส�ำหรับปีนี้ เมื่ อ พู ด ถึ ง นโยบาย หลายคนก็ เ ริ่ ม ปวดหัวขึ้นมาทันที เพราะยังคิดไม่ออกว่าจะ ท�ำโปรเจคอะไรทีต่ อบสนองนโยบายของนาย โดยเฉพาะนโยบายคลาสสิก นั่นก็คือ Save

uality

กับการลดต้นทุน

คนละเรื่องเดียวกัน ?

Cost หรือการลดต้นทุน ซึง่ กลายเป็นนโยบาย หลักของหลาย ๆ บริษทั ทีต่ อ้ งมีเกือบทุกปีโดย เฉพาะอย่างยิง่ ปีใดทีม่ วี กิ ฤตเศรษฐกิจ นายยิง่ เน้นให้มกี ารลดต้นทุนอย่างหนัก แต่เมือ่ ท�ำไปหลาย ๆ ปี ก็เริม่ รูส้ กึ ว่า ไม่รจู้ ะลดต้นทุนอะไรแล้ว หลัง ๆ ก็เลยน�ำเสนอแผนงานเป็นการ เพิ่ ม ยอดผลิ ต ให้ ม ากขึ้ น หรื อ การสร้ า ง ผลิตภัณฑ์ใหม่ให้กบั นาย นายงง เพราะนายบอกให้ลดต้นทุน แต่กลับไปเสนอแผนการผลิตให้มากขึน้ ในทางกลั บ กั น พอนายสั่ ง ให้ เ พิ่ ม รายได้ กลับไปลดของเสีย ??? นัน่ เป็นเพราะเกิดความสับสนระหว่าง

วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์ viboon@gmail.com

การลดต้นทุนกับการเพิม่ รายได้ ทุกคนคงรูว้ า่ ก�ำไรเกิดจากรายได้หกั ลบด้วยรายจ่ายหรือต้นทุน ก�ำไร = รายได้ - ต้นทุน ดังนัน้ การเพิม่ ก�ำไร สามารถท�ำได้ 2 วิธี คือ เพิม่ รายให้มากขึน้ หรือการลดต้นทุนให้ ต�ำ่ ลง ซึง่ ไม่วา่ จะท�ำอย่างใดอย่างหนึง่ หรือทัง้ สองอย่างพร้อมกัน ก็จะส่งผลให้กำ� ไรมากขึน้ หลายคนมองว่า การขายให้มากขึน้ ก็ แปลว่าต้องผลิตให้มากขึน้ ดังนัน้ ต้นทุนก็จะ ถูกลง เลยเข้าใจว่าการผลิตให้มากขึ้นเป็น แนวทางการลดต้นทุนอย่างหนึง่ for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

15


Tools ในความเป็นจริง ถึงแม้วา่ การผลิตให้ มากขึ้นจะท�ำให้ต้นทุนต่อหน่วยลดลง แต่ ต้นทุนโดยรวมก็ยงั คงเพิม่ อีกทัง้ หากขายไม่ได้ ก็มีแต่ขาดทุนเพราะผลิตเกินความต้องการ ดังนัน้ การเพิม่ ก�ำลังการผลิตจึงไม่ใช่แนวทาง ในการลดต้นทุน แต่จัดเป็นกิจกรรมที่อยู่ใน เรือ่ งการเพิม่ ยอดขาย ซึง่ เป็นแนวทางหนึง่ ของ การเพิม่ รายได้ ส่ ว นอี ก แนวทางหนึ่ ง ของการเพิ่ ม รายได้ คือ การขายในจ�ำนวนเท่าเดิมแต่ให้ได้ ในราคาทีส่ งู ขึน้ รายได้ = ราคาขาย × จ�ำนวนสินค้าขาย

Vol.22 No.213 January-February 2016

แต่ไม่วา่ จะเป็นการเพิม่ ราคาขายหรือ เพิม่ จ�ำนวนสินค้าขาย ต่างก็ทำ� ให้รายได้มาก ขึน้ เพียงแต่วธิ ใี นการเพิม่ จะแตกต่างกัน ในการเพิ่ ม ยอดขายมั ก ใช้ ก ารท� ำ โปรโมชัน่ เช่น ซือ้ 2 ชิน้ ถูกกว่า ซือ้ 3 แถม 1 ดังที่เราพบเห็นกันตามห้างสรรพสินค้าทั่ว ๆ ไป ส่วนการเพิ่มราคาขายนั้น หากเป็น สินค้าตัวเดิมแล้วไปเพิ่มราคาขาย คงเป็นไป ไม่ได้ที่ลูกค้าจะซื้อ ดังนั้น การเพิ่มราคาขาย จะท�ำได้โดยการปรับปรุงหรือออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น การปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ การเพิ่มขนาดบรรจุ หรือการเพิ่มฟังก์ชั่นการ ท�ำงานบางอย่างให้กบั ผลิตภัณฑ์ อย่ า งไรก็ ต าม แนวทางในการลด ต้นทุนกับการเพิ่มรายได้ก็ยังเป็นคนละเรื่อง กั น ถึ ง แม้ ก ารท� ำ ทั้ ง สองอย่ า งนี้ จ ะมี จุ ด ประสงค์เหมือนกัน คือ การเพิม่ ก�ำไร

16

มาลองดูสมการ 2 สมการนีเ้ ปรียบเทียบกัน ราคาขาย = ต้นทุน + ก�ำไร ①

กับ

ต้นทุน = ราคาขาย - ก�ำไร ②

สมการทัง้ สองนีเ้ หมือนหรือแตกต่างกัน ? ในทางคณิตศาสตร์ ทุกคนคงตอบได้ ว่าสมการที่ ① และ ② เป็นสมการเดียวกัน แตกต่างกันตรงทีต่ วั แปรอยูค่ นละข้างสมการ เท่านัน้ หรือพูดง่ายๆ ก็คอื ย้ายข้างตัว “ก�ำไร” ไปอยูค่ นละฝัง่ แต่ในเชิงการบริหาร สมการทั้งสอง กลับมีความแตกต่างกัน สมการที่ ① ราคาขายเกิดจากต้นทุน บวกกับก�ำไร แสดงว่า ต้นทุนและก�ำไร เป็น สิง่ ทีถ่ กู ก�ำหนดไว้แล้ว ดังนัน้ ถ้าอยากได้กำ� ไร ตามที่ก�ำหนดไว้ ก็ต้องหาทางขายสินค้าใน ราคาดังกล่าวให้ได้ ขณะที่สมการที่ ② ต้นทุนเกิดจาก ราคาขายหักลบด้วยก�ำไร แสดงว่า ราคาขาย และก�ำไรถูกก�ำหนดไว้แล้ว นั่นแปลว่าถ้า อยากได้ก�ำไรตามที่ก�ำหนดไว้ จะต้องหันไป ควบคุมต้นทุนการผลิตให้ได้ตามค่าทีค่ ำ� นวณ ไว้ จากแนวคิดดังกล่าว ผูอ้ า่ นจะเห็นได้ ว่า สมการทัง้ สองมีความแตกต่างกัน ในการขายสินค้าให้ได้ตามราคาที่ ค�ำนวณไว้ สามารถท�ำได้โดยการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ เพือ่ ให้ลกู ค้าเห็นประโยชน์ทเี่ พิม่ ขึน้ และยอมซื้อสินค้าในราคาที่สูงขึ้น ตามที่ได้ กล่าวไว้แล้วข้างต้น แต่ส�ำหรับอุตสาหกรรมในประเทศไทย การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่เป็นเรื่องที่ค่อน ข้างยาก เนือ่ งจากอุตสาหกรรมส่วนใหญ่เป็น รูปแบบของการรับจ้างผลิต กล่าวคือ ลูกค้า เป็นคนก�ำหนดแบบมาให้เราท�ำตามเท่านัน้ จึงไม่น่าแปลกใจที่นโยบายหลัก คือ การลดต้นทุน เพราะลูกค้าเป็นคนก�ำหนด ราคาขายให้กับผู้ผลิตเรียบร้อยแล้ว ดังนั้น ทางเดียวที่ผู้ผลิตจะมีก�ำไรได้ ก็ต้องท�ำการ ลดต้นทุนหรือค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ

ดังนัน้ นโยบายของหลาย ๆ บริษทั จึง มีเรื่องของการลดต้นทุนเป็นนโยบายหลัก เพราะเป็นหนทางเดียวที่จะรักษาผลก�ำไรให้ กับบริษทั ได้ และเมือ่ พูดถึงการลดต้นทุน หลายคน ก็มกั นึกถึงการลดเวลาท�ำงาน การลดคนงาน การเปลี่ยนวัตถุดิบให้มีราคาที่ถูกลง การลด การใช้พลังงาน ฯลฯ การลดต้นทุนในแนวทางดังกล่าว ดู เหมือนเป็นการลดต้นทุน เพราะตัวเลขรายจ่าย ทางบัญชีจะลดลงทันที แต่สงิ่ ทีต่ อ้ งระวังก็คอื ผลกระทบระยะ ยาวทีเ่ กิดขึน้ หลายครัง้ เมือ่ ท�ำการเปลีย่ นวัตถุดบิ ให้ ถูกลง กลับพบว่า ต้องเสียแรงงานและเวลาใน ขัน้ ตอนการผลิตมากขึน้ กว่าเดิม รวม ๆ แล้ว อาจมากกว่าต้นทุนทีล่ ดลงไป แบบนีค้ งไม่เรียกว่าการลดต้นทุนแน่ ดังนั้น การเลือกแนวทางในการลด ต้ น ทุ น จึ ง ควรพิ จ ารณาทั้ ง ต้ น ทุ น ที่ ล ดลง รวมถึงค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นหลังจากการ เปลีย่ นแปลงด้วย หรือทีเ่ รียกว่า ต้นทุนตลอด อายุการท�ำงาน (Life Cycle Cost: LCC) นอกจากนี้การลดต้นทุน ไม่ใช่เพียง แค่ท�ำให้ค่าใช้จ่ายลดลง แต่ยังต้องค�ำนึงถึง คุ ณ ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ บริ ก ารไม่ ใ ห้ กระทบไปด้วย หรือพูดง่าย ๆ คือ ลดต้นทุน แต่ไม่ลดคุณภาพ เพราะลูกค้าคงไม่พอใจแน่ หากได้รบั สินค้าหรือการบริการทีม่ คี ณ ุ ภาพแย่ลงไปจาก เดิม ส่วนจะลดต้นทุนอย่างไรไม่ให้กระทบ คุณภาพนั้น โปรดติดตามในนิตยสารฉบับ ต่อ ๆ ไป


Q

for Food for

uality

หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า

ตามแนวทางของ AIB

ตอนที่ 8 AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices แปลและเรียบเรียงโดย สุวิมล สุระเรืองชัย System Development Consultant Co., Ltd. sdcexpert@sdcexpert.com, suwimol.su@gmail.com

ต่อจากฉบับที่แล้ว 5. ความเพียงพอของโปรแกรมขั้น พื้นฐานและความปลอดภัยด้านอาหาร มี การประสานงานจากการสนับสนุนการจัดการ การจัดทีมข้ามหน่วยงาน การจัดการด้าน เอกสาร การฝึกอบรม และระบบการตรวจสอบ เพื่อให้มั่นใจว่าหน่วยงานทั้งหมดได้ปฏิบัติ งานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพในการ ส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย 5.1 การก�ำหนดนโยบาย โรงงานต้อง มุ่งมั่นที่จะท�ำให้ผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัย และสอดคล้องตามกฎหมาย ผ่านการก�ำหนด และจัดท�ำเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน

ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.1.1.1 มีการจัดท�ำนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษรที่แสดงความมุ่งมั่นในการผลิต การจั ด เก็ บ และการกระจายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ปลอดภัย และถูกต้องตามกฎหมายส�ำหรับ ผู้บริโภค 5.1.1.2 มี ก ารลงนามโดยผู ้ บ ริ ห าร ระดับสูง 5.1.1.3 มีการสื่อสารนโยบายอย่าง สม�่ำเสมอทั่วทั้งองค์กร 5.1.1.4 มีการทบทวนนโยบายเป็น ประจ�ำโดยผู้บริหารระดับสูง

5.1.1.5 เจ้าหน้าที่ที่ก�ำกับดูแลและ พนักงานในจุดทีส่ ำ� คัญต้องผ่านการฝึกอบรม เพื่อให้เกิดความเข้าใจและน�ำนโยบายไป ปฏิบัติ 5.2 ความรับผิดชอบ ผู้บริหารมีการ อนุมัติแต่งตั้งและสนับสนุนให้พนักงานใน ระดับหัวหน้างานมีความรูค้ วามสามารถ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าโรงงานได้มกี ารด�ำเนินการทีส่ อดคล้องตามโปรแกรม กฎหมาย และกฎระเบียบ ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.2.1.1 ผูท้ เี่ ป็นหัวหน้างานต้องตรวจ สอบประสิทธิภาพของการน�ำไปใช้ส�ำหรับ for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

17


Vol.22 No.213 January-February 2016

for Food

18

โปรแกรมสุขลักษณะขั้นพื้นฐานและความ ปลอดภัยด้านอาหาร 5.2.1.2 โรงงานต้องมีแผนผังองค์กร ที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันที่แสดงให้เห็นผู้รับ ผิดชอบ เพื่อให้มั่นใจว่าได้มีการด�ำเนินการ ที่ ส อดคล้ อ งตามข้ อ ก� ำ หนดกฎหมายและ แนวทางการปฏิบัติ 5.2.1.3 โรงงานต้องมีเอกสารระเบียบ ปฏิบัติงานเพื่อรักษาโปรแกรมสุขลักษณะ ขั้นพื้นฐานและความปลอดภัยด้านอาหารที่ ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ข้อมูลใหม่ที่มีความ ส�ำคัญประกอบด้วย ➢ กฎหมาย ➢ ประเด็ น ปั ญ หาความปลอดภั ย ด้านอาหาร ➢ การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ➢ มาตรฐานอุตสาหกรรม ข้อก�ำหนดรอง 5.2.2.1 โรงงานต้องคงไว้ซึ่งข้อก�ำหนดส�ำคัญทั้งหมด ทั้งระดับโรงงาน หรือ ระดับ Corporate 5.3 การสนับสนุน ฝ่ายบริหารต้อง ให้ ก ารสนั บ สนุ น ทรั พ ยากรบุ ค คลและงบประมาณเพื่อสนับสนุนโปรแกรมสุขลักษณะ ขั้นพื้นฐานและความปลอดภัยด้านอาหาร ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.3.1.1 หน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้องในการน�ำไปใช้ซึ่งโปรแกรมสุขลักษณะ ขั้นพื้นฐานและความปลอดภัยทั้งหมดต้องมี การสนับสนุนด้านงบประมาณและทรัพยากร บุคคลเพือ่ ให้เกิดการรักษาไว้อย่างเหมาะสม และทันเวลา ส�ำหรับเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องดักจับ สารเคมี หรือการสนับสนุนอื่น ๆ 5.4 ระเบี ย บปฏิ บั ติ ง านเป็ น ลายลักษณ์อักษร สุขลักษณะขั้นพื้นฐานทั้งหมด ภายในโรงงานต้องมีโปรแกรมเป็นลายลักษณ์อักษร รวมถึงระเบียบปฏิบัติ งานระเบียบ ปฏิบัติงานเป็นสิ่งส� ำคัญเพื่อน�ำไปสู่ความ ปลอดภัยด้านอาหาร เนื่องจากจะมีการระบุ ผู้รับผิดชอบ การแก้ไข และระยะเวลาแล้ว เสร็จ

ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.4.1.1 โรงงานต้ อ งมี ก ารจั ด ท� ำ ระเบียบปฏิบตั เิ ป็นลายลักษณ์อกั ษรทีร่ ะบุใน แต่ละขั้นตอนเพื่อให้มั่นใจว่าผลิตภัณฑ์มี ความปลอดภัย ระเบียบปฏิบตั ติ อ้ งมีการระบุ: ➢ ใบพรรณนาลั ก ษณะงาน (job descriptions) ต้องระบุถึงความรับผิดชอบที่ เกีย่ วกับโปรแกรมสุขลักษณะขัน้ พืน้ ฐานและ ความปลอดภัยด้านอาหาร ➢ ทางเลือกอืน ่ ต้องถูกออกแบบให้ ครอบคลุ ม เมื่ อ พนั ก งานหลั ก ไม่ ส ามารถ ปฏิบัติงานได้ 5.4.1.2 ฝ่ายบริหารต้องมีการทบทวนระเบียบปฏิบัติที่เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้มั่นใจถึงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสม ข้อก�ำหนดรอง 5.4.2.1 ต้องมีระเบียบปฏิบัติที่เป็น ลายลักษณ์อักษรตามข้อก�ำหนดทั้งหมดที่ อยู่ใน The AIB International Consolidated Standards for Inspection 5.4.2.2 ระเบียบปฏิบัติที่เป็นลายลักษณ์อักษร ต้องพร้อมใช้ 5.5 การฝึกอบรมและการให้ความรู้ มีการก�ำหนดแผนการฝึกอบรมอย่างสม�่ำเสมอ การติดตามการฝึกอบรม และการให้ ความรู้ต้องมั่นใจว่าได้มีการน�ำไปใช้อย่าง เหมาะสมในโปรแกรมสุขลักษณะขัน้ พืน้ ฐาน

และความปลอดภัย การฝึกอบรมและการ ศึกษาใช้ส�ำหรับพนักงานทุกระดับ ตั้งแต่ ระดับปฏิบัติการถึงระดับบริหาร ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.5.1.1 มีระเบียบปฏิบัตทิ เี่ ป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อการพัฒนา มีการฝึกอบรม และการให้ความรูเ้ รือ่ งสุขลักษณะขัน้ พืน้ ฐาน และความปลอดภัยด้านอาหารแก่พนักงาน ทั้งหมด 5.5.1.2 คงไว้ซึ่งบันทึกการฝึกอบรม และการศึกษาส�ำหรับพนักงานทั้งหมด 5.5.1.3 การฝึกอบรม รวมถึงเกณฑ์ ส�ำหรับข้อก�ำหนดด้านความสามารถที่ใช้ใน การยืนยันถึงความรู้ความเข้าใจ 5.5.1.4 ก่อนเริ่มงาน พนักงานใหม่ พนักงานชั่วคราวและผู้รับเหมาต้องผ่านการ ฝึกอบรมและมีความรูต้ ามโปรแกรมสุขลักษณะ ขั้ น พื้ น ฐานและความปลอดภั ย พนั ก งาน เหล่านี้ต้องถูกควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติที่ สอดคล้อง 5.5.1.5 การฝึกอบรมและให้ความรู้ ซ�้ำ ต้องด�ำเนินการอย่างน้อยปีละครั้งหรือ ความถี่ที่มากกว่าตามความจ�ำเป็น

อ่านต่อฉบับหน้า


Q

of Life for

uality

การนวดสั ม ผั ส ส่งเสริมพัฒนาการทารกแรกเกิด

แพทย์เฉพาะทางทารกแรกเกิด คลินิกเด็ก โรงพยาบาลหัวเฉียว

ครอบ

ครัวมีบทบาทส�ำคัญต่อ การพัฒนาคนในครอบครัวให้มีประสิทธิภาพในการด�ำรงชีวิต โดย เฉพาะพ่อแม่ต้องมีปัจจัยพื้นฐานที่ต้องค�ำนึง ถึงในการเลีย้ งลูกน้อยให้มคี ณ ุ ภาพ โดยเริม่ ต้น จากการเอาใจใส่ดูแลทารกเกิดให้มีสุขภาพ แข็งแรงและส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ทาง สมองของเด็กอย่างเต็มที่ การนวดสัมผัสเป็น อีกกิจกรรมหนึง่ ในการช่วยส่งเสริมพัฒนาการ ทารกแรกเกิดได้ โดยพ่อแม่สามารถช่วยกัน นวดสัมผัสแก่ลกู น้อยเพือ่ เป็นการสร้างสายใย ครอบครัว เพราะการกระตุ้นพัฒนาการทารก ด้วยการนวดสัมผัสเป็นการส่งเสริมพัฒนาการ ทีส่ ำ� คัญในการสร้างความรัก และความผูกพัน ของบิ ด ามารดาที่ มี ต ่ อ ลู ก น้ อ ยได้ ม ากขึ้ น ท�ำให้ทารกเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพและ เหมาะสมตามวัย นอกจากจะช่วยส่งเสริมพัฒนาการ ด้านร่างกาย อารมณ์ และสังคมของทารกแล้ว การนวดสัมผัสยังเป็นการส่งเสริมพัฒนาที่ เป็นการดูแลทารกแรกเกิดโดยลดสิง่ กระตุน้ ที่ เป็นอันตรายต่อพัฒนาการของทารกได้อีก ด้วย และยังเป็นกิจกรรมหนึง่ ในการดูแลทารก แรกเกิด สามารถท�ำให้มารดาได้เรียนรูอ้ ากัปกิรยิ าของลูกน้อยว่าชอบหรือไม่ชอบให้สมั ผัส ส่วนใด ทั้งยังกระตุ้นประสาทสัมผัส และ พัฒนาการทางด้านการเคลื่อนไหวให้ดีขึ้น เช่น ท�ำกิจกรรมหัตถการพร้อม ๆ กันเท่าที่

จ� ำ เป็ น การจั ด ท่ า ให้ ท ารกเคลื่ อ นไหวได้ สะดวก การปรับพฤติกรรมเจ้าหน้าที่ลดเสียง พูดคุย บรรเทาอาการเจ็บปวดหลังท�ำหัตถการ ด้วยการสัมผัส การลดแสงสว่างให้ทารกได้ พักผ่อนโดยไม่ขัดต่อการดูแลรักษา การเปิด ดนตรีท�ำนองเบา ๆ ฟังสบาย ๆ เพื่อให้ทารก ได้รู้สึกผ่อนคลาย การนวดสัมผัสส่งเสริม พัฒนาการอย่างนุ่มนวล อ่อนโยน เป็นการ สื่อสารความรักจากบิดามารดาสู่ลูกน้อยจน เกิดเป็นความไว้วางใจ สิง่ ต่าง ๆ เหล่านีส้ ง่ ผล ให้ทารกเจริญเติบโตตามเกณฑ์ มีนำ�้ หนักและ ส่วนสูงตามมาตรฐาน นอนหลับพักผ่อนได้ดี กระตุน้ ให้รา่ งกายสร้างฮอร์โมนเพือ่ การเจริญ เติบโต การนวดสัมผัส แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. สัมผัสทีผ่ วิ (touch) อย่างนุม่ นวล มีผลต่อจิตใจ และความผูกพันที่เด็กจะมีต่อ บิดามารดา และผู้เลี้ยงดู 2. สัมผัสโดยการเคลื่อนไหว (dianastic stimulation) การท�ำให้ข้อต่าง ๆ ได้ เคลื่อนไหว กล้ามเนื้อถูกกระตุ้น ส่งผลให้การ หลั่ง Growth Hormone เพิ่ม น�้ำหนัก-ส่วนสูง เพิม่ ขึน้ อีกทัง้ ยังเพิม่ ภูมติ า้ นทานของร่างกาย หลั ก ของการนวดต้ อ งยึ ด เด็ ก เป็ น ศูนย์กลางนวดขณะที่เด็กมีความสุข โดย การเตรียมความพร้อมดังนี้

1. เด็ก ➢ อย่านวดหลังจากเด็กรับประทาน อาหารใหม่ ๆ (ควรนวดหลังอาหาร 1 ชั่วโมง) ➢ ควรเลือกช่วงเวลาสบาย ๆ รู้สึก ผ่อนคลาย ทั้งเด็กและผู้นวดสัมผัส ➢ ถ้าเด็กรู้สึกหงุดหงิดไม่สบายตัว ร้องไห้ ควรหยุดกิจกรรมนี้ไว้ก่อน 2. ผู้นวดสัมผัส ➢ ควรปฏิ บั ติ กั บ เด็ ก ด้ ว ยความ นุ่มนวล อ่อนโยน ไม่รีบร้อน ➢ ควรคุ ย และยิ้ ม กั บ เด็ ก สบตา ขณะนวดสัมผัสเพือ่ เพิม่ ความรักความผูกพัน ➢ จะเริ่มต้นด้วยท่าใดก่อนก็ได้ แต่ หากเริ่มต้นนวดที่แขน หรือขา เด็กจะรู้สึก สบาย ชอบมากกว่าการเริ่มต้นด้วยท่าอื่น ➢ ในครัง้ แรก ๆ ของการนวดใช้เวลา ไม่นาน 5-10 นาที เมื่อเด็กคุ้นเคยจึงค่อย ๆ เพิ่มเวลาให้มากขึ้น 3. สภาพแวดล้อมและสิ่งอ�ำนวย ความสะดวก ➢ สถานที่ อุ ณ หภู มิ ที่ พ อเหมาะไม่ หนาวหรือร้อนเกินไป ➢ เปิดเพลงทีม ่ ที ว่ งท�ำนองเบาๆ ฟัง สบาย เพื่อให้รู้สึกผ่อนคลาย ➢ อาจใช้โลชั่น แป้ง ทาที่มือก่อน นวดสัมผัสเพื่อให้นวดได้อย่างนุ่มนวล

for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

19


Q

of Life for

uality

ฟิตร่างกาย

เติมความแอคทีฟและอ่อนเยาว์ให้ตนเอง

“การ

ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์

ออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำเป็นสิ่งจ�ำเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งส�ำหรับผู้ที่อยาก มีสุขภาพแข็งแรง มีพลัง และอ่อนเยาว์ แม้ว่าจะอยู่ในชีวิตช่วงวัยกลางคน หรือบัน้ ปลายชีวติ แล้วก็ตาม” แพทย์หญิงวรรณวิพธุ สรรพสิทธิว์ งศ์ (คุณหมอฟ้า) แพทย์ดา้ น เวชศาสตร์ชะลอวัย การแพทย์เพื่อชีวิตที่ยืนยาว ประจ�ำศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ใน เครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์ กล่าว การวางแผนฟื้นฟูสุขภาพหรือแผนเพื่อการชะลอวัยนั้น จุดหมายที่แท้จริง คือ มุ่งให้เกิด ประโยชน์ในระยะยาว ไม่ใช่การรักษาเพียงผิวเผินทีม่ งุ่ เน้นเพียงความรวดเร็ว หรือการศัลยกรรม ตกแต่งที่มุ่งเน้นความสวยงาม แม้เราไม่สามารถย้อนเวลากลับไปได้ แต่เราสามารถท�ำให้ เข็มนาฬิกาแห่งอายุเดินช้าลงได้ โดยหนึง่ ในเคล็ดลับทีจ่ ะน�ำไปสูเ่ ป้าหมายดังกล่าว ก็คอื การ ออกก�ำลังกาย นั่นเอง “ธรรมชาติสร้างคนเรามาให้ต้องมีการเคลื่อนไหว คนที่ออกแรงและ เคลื่อนไหวอยู่ประจ�ำมีแนวโน้มที่จะบริหารจัดการน�้ำหนักของตัวเองได้ดีกว่า อีกทั้งการออกก�ำลังกายยังช่วยลดผลกระทบจากโรคประจ�ำตัวและโรคภัย ไข้เจ็บต่าง ๆ พร้อมเสริมสร้างความคล่องแคล่ว หยืดหยุ่น ทนทานให้กับ ร่างกาย และช่วยกระตุ้นสมอง ซึ่งจะเป็นเกราะคอยช่วยป้องกันอาการ ความจ�ำเสื่อม การลดลงของระดับการรับรู้ทางสติปัญญา และภาวะ สมองเสื่อมอีกด้วย” คุณหมอฟ้า อธิบาย นอกจากนี้ คุ ณ หมอฟ้ า ยังฝากถึงผู้ที่ห่างจากการออก ก�ำลังกายมาเป็นเวลานานแล้วว่า อย่ากลัวที่จะเริ่มต้นใหม่ เพราะ สิ่งที่ยากที่สุด คือ การหา “จุดเริ่มต้น” ในการออกก�ำลังกายนั่นเอง ทุกวันนี้มีโปรแกรมสอนออกก�ำลังกายพร้อมตารางควบคุม การออกก�ำลังกาย เช่น T25 The Seven-Minute Workout หรือ The 10,000 Steps และโปรแกรมอื่น ๆ ออกมามากมาย ซึ่งโปรแกรมสอน ออกก�ำลังกายทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างล้นหลามจากผูค้ นนับล้านทัว่ โลกนี้ ก็เป็นอีก ทางหนึง่ ทีส่ ามารถช่วยประคับประคองให้ผทู้ เี่ พิง่ เริม่ ต้นออกก�ำลังกายนัน้ รูแ้ ละมัน่ ใจว่า ตนควรจะออกก�ำลังกายอย่างไรจึงจะดี

แพทย์หญิงวรรณวิพุธ สรรพสิทธิ์วงศ์ (คุณหมอฟ้า)

20

for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

แพทย์ด้านเวชศาสตร์ชะลอวัย ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์


of Life

ออกกำ�ลังกายด้วยวิถีผสมผสาน

“อย่ า คิ ด ว่ า การเข้ า ฟิ ต เนสเป็ น ตั ว เลือกเดียวที่น�ำไปสู่สุขภาพที่ดีและร่างกายที่ แข็งแรง แน่นอนว่าฟิตเนสเป็นทางเลือกที่ สะดวกสบาย มีเครื่องออกก�ำลังกายที่ครบครันอยูภ่ ายในทีเ่ ดียว แต่ถา้ หากเราผูกยึดการ ออกก�ำลังกายไว้กับฟิตเนสเพียงอย่างเดียว ก็จะท�ำให้เกิดข้ออ้างเพื่อหลบหนีการออกก�ำลังกาย เช่น ไม่มีเวลาไปฟิตเนส เป็นต้น ดังนั้น จึงต้องตระหนักด้วยว่าเรามีวิธีอื่น ๆ ที่ เราใช้ออกก�ำลังกายได้เสมอ” คุณหมอฟ้า กล่าวเสริม

การออกก� ำ ลั ง กายให้ ห ลากหลาย รูปแบบเป็นสิ่งที่ควรท�ำ นอกจากจะไม่เกิด ความเบือ่ หน่ายจากความซ�ำ้ ซากจ�ำเจแล้ว ยัง จะช่วยเสริมสร้างสมรรถภาพของร่างกายให้ รอบด้านอีกด้วย นอกจากการเล่นฟิตเนสที่ มุง่ เน้นการเผาผลาญไขมันส่วนเกินและเสริม ความแข็งแกร่งให้แก่กล้ามเนือ้ เป็นส่วนใหญ่ นัน้ อันทีจ่ ริงแล้วเราควรออกก�ำลังกายเพือ่ สร้าง ความอึดและทนทาน รวมถึงความยืดหยุ่น ของกล้ามเนือ้ ด้วย นอกจากฟิตเนสหลายคน อาจพิจารณาการปัน่ จักรยาน วิง่ จ๊อกกิง้ และ กีฬาอืน่ ๆ เช่น กอล์ฟ หรือเทนนิส เป็นต้น ส่วน การว่ายน�ำ้ หรือเดิน ก็เหมาะสมและปลอดภัย กว่าส�ำหรับผูท้ มี่ อี าการบาดเจ็บ ปวดข้อกระดูก หรือผูท้ มี่ นี ำ�้ หนักตัวค่อนข้างมาก อี ก หนึ่ ง รู ป แบบของการออกก� ำ ลั ง กายที่ลืมไปไม่ได้ ก็คือ การท�ำงานบ้านต่าง ๆ

ไม่ว่าจะเป็นการท�ำสวน ล้างรถ หรือการปัด กวาดเช็ดถูตา่ ง ๆ ก็นบั เป็นการออกก�ำลังกาย ด้วยเช่นกัน

ร่วมด้วยช่วยกันสร้างแรงบันดาลใจ ในการออกกำ�ลังกาย

ส�ำหรับผู้ที่เพิ่งเริ่มออกก�ำลังกาย การ ออกก�ำลังกายอย่างไม่มีจุดหมายสามารถ บั่นทอนความตั้งใจและก�ำลังใจลงไปได้มาก คุณหมอฟ้า กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้ว่า “ทุกคน ย่อมต้องการเป้าหมายเพื่อจะท�ำบางสิ่งบาง อย่างให้ส�ำเร็จ เราตั้งเป้าหมายที่ต้องการ บรรลุ เช่น การลดน�้ำหนัก การลดระดับคลอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี หรือลดความดันเลือด และในปัจจุบนั นีค้ วามก้าวหน้าทางเทคโนโลยี อย่างนาฬิกาฟิตเนส แอพพลิเคชั่นในสมาร์ทโฟน ก็ช่วยให้เราติดตามผลได้ง่ายยิ่งขึ้น” นอกจากนีก้ ารท�ำให้การออกก�ำลังกาย กลายเป็นพื้นที่ของการพบปะพูดคุยที่สนุกสนานกับเพื่อนหรือครอบครัว ก็เป็นสิ่งที่ช่วย เหลือในก้าวข้ามผ่านช่วงเริ่มต้นของการออก ก�ำลังกายได้เช่นกัน โดยบ่อยครัง้ ทีค่ ณ ุ หมอฟ้า แนะน�ำให้สมาชิกในครอบครัวออกก�ำลังกาย ด้วยกันเป็นกิจกรรมกลุ่มที่จะท�ำให้ไม่รู้สึก โดดเดี่ยวหรือท�ำตัวไม่ถูกในระยะแรกๆ ของ การออกก�ำลังกาย เพราะนอกจากจะเป็น กิ จ กรรมที่ ช ่ ว ยสร้ า งสั ม พั น ธภาพที่ ดี ใ น ครอบครั ว แล้ ว การออกก� ำ ลั ง กายยั ง ช่ ว ย สร้างเสริมให้รา่ งกายมีความสมบูรณ์แข็งแรง และยังเป็นกุญแจส�ำคัญแห่งความอ่อนเยาว์ อีกด้วย

Vol.22 No.213 January-February 2016

การสร้ า งเสริ ม สมรรถภาพทาง ร่างกายจะเป็นการส่งเสริมให้เริ่มต้นออก ก�ำลังกายในรูปแบบง่าย ๆ โดยคุณหมอฟ้า กล่าวถึงขั้นตอนว่า “ขั้นแรกที่ส�ำคัญที่สุด คือ เราจะต้องพูดคุยท�ำความรู้จักกับคนที่เข้ามา ปรึ ก ษาก่ อ น เพื่ อ ท� ำ ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ร่างกายและวิถีชีวิตของเขา ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ จะถูกน�ำไปวิเคราะห์หาจุดแข็งและจุดอ่อน ของแต่ละคน เพื่อน�ำมาสร้างแผนการสร้าง เสริมสมรรถภาพทางร่างกายให้เหมาะสมกับ คนแต่ละคนโดยเฉพาะ” นอกจากนีย้ งั มีการให้ค�ำแนะน�ำอืน่ ๆ เช่น การให้ค�ำแนะน�ำเพื่อช่วยให้นอนหลับได้ ดียงิ่ ขึน้ หรือค�ำน�ำเกีย่ วกับการปรับพฤติกรรม การบริโภคอาหารอีกด้วย

21


Q

Advertorial for

uality

สำ � หรั บ งานบริ ก าร ลีนในธนาคารซี ไอเอ็มบี ไทย จำ�กัด (มหาชน)

แผนกออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม่ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

ต่อจากฉบับที่แล้ว

จากบทความเรื่อง “ลีนส�ำหรับงานบริการ ตอน ลีนในโรงพยาบาลศิริราช” ที่ลงตีพิมพ์ใน ฉบับเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม พ.ศ.2558 ทีผ่ า่ นมา ผูอ้ า่ นได้ทราบแนวทางการน�ำลีนไปใช้กบั งานบริการทางด้านสุขภาพในองค์กรระดับประเทศอย่างโรงพยาบาลศิรริ าชกัน ไปแล้ว บทความในฉบับนี้จะได้ทราบถึงแนวทางขององค์กรที่เป็นการบริการทางด้านการเงินอย่าง ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน)

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน) เดิมชื่อ ธนาคารไทย ธนาคาร จ�ำกัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2541 โดยมีกองทุนเพื่อการ ฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ทสี่ ดุ ของธนาคาร มาโดยตลอด จากนั้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2551 กลุ่มซีไอเอ็มบี โดย CIMB Bank Berhad ได้เข้าเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดในไทยธนาคาร และ ได้ดำ� เนินการจดทะเบียนเปลีย่ นชือ่ จากธนาคาร ไทยธนาคาร จ�ำกัด (มหาชน) เป็น ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารในกลุ่มของธนาคาร CIMB มีส�ำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ปัจจุบันมี สาขาทีค่ รอบคลุม 18 ประเทศในอาเซียน รวมถึงในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ มีพนักงานประมาณ 40,000 คน และลูกค้าประมาณ 13 ล้านคน ครอบคลุม ตั้งแต่เอเชียเหนือจนกระทั่งถึงเอเชียใต้ มีสาขาที่เป็น Universal Banking ที่

ดร.สุภัค ศิวะรักษ์

22

กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016


Advertorial ให้บริการทุกกลุ่มลูกค้าและทุกเชื้อชาติ อาทิ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ไทย จีน และฮ่องกง คุ ณ สุ ภั ค ศิ ว ะรั ก ษ์ กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ แ ละประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน) มีวิสัยทัศน์ การด�ำเนินการของธนาคารที่สอดคล้องกับ CIMB Group ในเรื่องของ ประสบการณ์ลูกค้า (customer experience) เพื่อให้ลูกค้าประทับใจ ในบริการ และเล็งเห็นถึงการควบคุมความเสี่ยง (risk control) ที่เป็น สิง่ ส�ำคัญส�ำหรับธุรกิจธนาคาร นอกจากนีย้ งั ค�ำนึงถึงประสิทธิภาพของ บุคลากรภายในธนาคารที่ต้องท�ำงานร่วมกันในประเทศต่าง ๆ ที่มี วัฒนธรรมและภาษาที่แตกต่างกัน เพื่อมุ่งเน้นที่จะเป็น Thailand Leading Asian Bank ในทุกกลุม่ ลูกค้า ทัง้ นีส้ ภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบนั มีการแข่งขันทางธุรกิจที่สูงขึ้น ความคาดหวังและความต้องการของ ลูกค้าทีม่ ากขึน้ อย่างต่อเนือ่ งตลอดเวลา ต้องการบริการและคุณภาพที่ ดีขึ้น สร้างความประทับใจมากขึ้น รวมถึงการน�ำเสนอนวัตกรรมและ สินค้าใหม่ ๆ จากโจทย์ธุรกิจนี้รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายสารสนเทศและปฏิบัติการ (Group Information and Operation Division) คุณศีลวัต สันติวิสัฎฐ์ จึงได้ร่วมกันน�ำเอาหลักการบริหารจัดการ ลีนซิกส์ซิกม่า เข้ามาประยุกต์ใช้ในธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย โดยเรียกชื่อ หลักการนี้สั้น ๆ ว่า “ลีนโนเวชั่น (Leanovation)”

การท�ำงาน ท�ำให้การท�ำงานให้สำ� เร็จลุลว่ งอาจเกิดขึน้ ได้ยาก จึงได้เริม่ น�ำแนวคิดการท�ำงาน Two-Way Direction ทีม่ ที งั้ การท�ำงานแบบ “Top -down” และ “Bottom-up” ตามลักษณะการปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ งแบบ PDCA ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย ใช้ Leanovation Program เป็นกุญแจ หลักในการเพิ่มขีดความสามารถในการเปลี่ยนแปลง Accelerate (XLR8) ตามแนวทางของ Dr.John Kotter เปรียบได้กบั การเปลีย่ นแปลง องค์กรโดยใช้ระบบปฏิบัติการ 2 ระบบในองค์กรเดียวกัน นั่นคือ ระบบ การปฏิบัติการท�ำงานตามโครงสร้างองค์กรแบบเดิม และระบบการ ปฏิบตั กิ ารท�ำงานแบบเป็นโครงข่ายแบบใหม่ เน้นการท�ำงานแบบคิดใหม่ ท�ำใหม่ เน้นคุณค่าที่มีต่อลูกค้า ซึ่งใช้ Leanovation Program ช่วย กระตุ้นและส่งผลการท�ำงานแบบรวดเร็ว ยืดหยุ่น ลดความเสี่ยง เน้น ความพึงพอใจของลูกค้าเป็นส�ำคัญ และมีนวัตกรรม ซึ่งเป็นการ เปลี่ยนแปลงองค์กรแบบ “CIMB Way”

แนวทางในการท�ำลีนโนเวชัน่ ของธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย ไม่ได้ เริ่มต้นจากการตัดค่าใช้จ่ายเป็นอันดับแรก ซึ่งอาจท�ำให้ตัดคุณค่าที่มี ต่อลูกค้าหายไปได้ ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย มุง่ เน้นการจัดการอันดับแรก คือ การก�ำหนดคุณค่าที่มีต่อลูกค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเน้นที่ความ ต้องการของลูกค้า (voice of customer) เป็นคุณค่าที่ลูกค้าเต็มใจจะ

คุณศีลวัต สันติวิสัฎฐ์

ค�ำว่า “ลีนโนเวชั่น (Leanovation)” มาจากค�ำว่า Lean เป็น การปรับปรุงกระบวนการท�ำงานให้มปี ระสิทธิภาพ ใช้คมุ้ และ Innovation ซึง่ เป็นนวัตกรรมทีส่ ามารถเกิดขึน้ ได้ในทุกกระบวนการและทุกการ บริหารจัดการ หลายองค์กรมีการจัดการเรื่องประสิทธิภาพและการลด ต้นทุนโดยสั่งการลงไปตามสายงาน (top-down) ซึ่งผู้บริหารธนาคาร เล็งเห็นว่าการแก้ไขปัญหาลักษณะดังกล่าวไม่ใช่การแก้ไขจาก Root Cause ที่แท้จริง และผู้ปฏิบัติงานไม่รู้สึกถึงความเป็น Ownership ใน

จ่าย และรับบริการจากธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย นโยบายลีนโนเวชัน่ ของ ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย คือ การท�ำให้ผบู้ ริหารและพนักงานทุกคนน�ำวิถี การท�ำงานแบบลีนโนเวชัน่ มาประยุกต์ใช้กบั งานของตนเอง เป็นการดึง เอาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานมาใช้อย่างแท้จริง ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าประทับ ใจอย่างมาก โดยมุง่ เน้นการเพิม่ ผลผลิตและลดต้นทุนในเวลาเดียวกัน แนวทางการท�ำงานมาตรฐานในการท�ำลีนโนเวชั่นของธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย คือ เน้นลูกค้าเป็นส�ำคัญ (voice of customer) เน้นที่

Vol.22 No.213 January-February 2016

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายสารสนเทศและปฏิบัติการ (GIOD)

23


Advertorial

Vol.22 No.213 January-February 2016

กระบวนการตั้งแต่ต้นจนจบ (end-to-end process) พยายามสร้าง ค�ำถามกับรูปแบบธุรกิจเดิมว่าดีพอหรือไม่ มีโอกาสในการปรับปรุงได้ อย่างไร และสิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ คือ ต้องเริม่ ท�ำทันที อย่ารอช้าเมือ่ เห็นความ สูญเปล่าทั้งแปดประเภท และความแปรปรวนที่ลูกค้ารู้สึกและสัมผัส ได้ การท�ำกิจกรรมลีนโนเวชั่นเป็นตัวจุดประกายให้พนักงานของ ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย เกิดแรงจูงใจในการท�ำงานที่ดีขึ้น การท�ำงาน ตามวิถีลีนโนเวชั่นทุกคนจะท�ำภายใต้วิธีการหลักการใหญ่เดียวกัน ท�ำเป็นหมู่คณะ ท�ำทั่วทั้งธนาคาร จุดประสงค์ของการท�ำลีนโนเวชั่น เพื่อช่วยให้องค์กรลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต โดยมุ่งเน้นการขจัดความ สูญเปล่าทัง้ แปดประการและความแปรปรวนอยูต่ ลอดเวลา มีมาตรวัด ของการบริหารจัดการแบบลีนโนเวชั่นเรียกว่า ดัชนีการวัดผลิตผล (productivity index) ประกอบไปด้วยมาตรวัด 8 มุมมอง อันประกอบ ไปด้วย ก�ำลังการผลิต ต้นทุนต่อรายการ ดัชนีความพึงพอใจของลูกค้า ผลิตผล ระยะเวลาในการส่งมอบ/การให้บริการ คุณภาพ อัตถประโยชน์ และความเสี่ยง เชื่อว่าเมื่อเราวัดได้ เราจะควบคุมได้และน�ำไปสู่การ บริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อน�ำไปสู่ความเป็นเลิศด้วย แบรนด์ที่เรียกว่า ASEAN For You การฝึกอบรมแบบทั่วทั้งองค์กรซึ่งเป็นหัวใจหลักให้ทุกคนใน องค์กรเข้าใจถึงแก่นแท้ของวิถีการท�ำงานแบบลีนโนเวชั่น และเป็น เสมือนภาษาที่เป็นสื่อกลางในการบริหารจัดการแบบลีนโนเวชั่นทั่วทั้ง องค์กร ธนาคารได้เริ่มจัดอบรมเรื่อง Leanovation เพื่อให้ความรู้กับ ผูบ้ ริหารและพนักงานเป็นจ�ำนวนกว่า 2,000 คน และให้ทกุ คนเกิดความ เข้าใจในเรื่อง Leanovation ในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการจัด Workshop เรือ่ ง Kaizen Blitz เพือ่ วิเคราะห์และคิดปรับปรุงกระบวนการแบบ End to End และเกิดเป็นกระบวนการใหม่ที่มีประสิทธิภาพและขจัด ของเสียที่เกิดขึ้น โดยเริ่มจาก Product Secured Loan, Unsecured Loan, Mutual Fund, Debenture, Human Resources, Treasury และ CIMB Group ที่ซึ่ง ซีไอเอ็มบี ประเทศไทย ได้เข้าไปช่วยท�ำเพื่อให้เกิด Momentum ที่เรียกว่า Leanovation ขึ้นมาในระดับภูมิภาค

24

และเมือ่ เกิดเป็นโครงการต่าง ๆ ขึน้ จะมีหน่วยงานทีช่ ว่ ยด�ำเนิน การติดตามโครงการ โดยการจัดท�ำเป็น Project Charter และ Action Plan น�ำเสนอผ่านต้นแอปเปิ้ล (visual management) ซึ่งช่วยในการ Classified โครงการต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ว่าเป็นประเภท Ground Fruit, Low Hanging Fruit, Bulk of Fruit, Sweet Fruit นอกจากนี้ยังมี Leanovation Committee ซึง่ เป็นระดับผูบ้ ริหารในแต่ละสายงานทีม่ าช่วยแนะน�ำ แนวทางเพื่อให้โครงการส�ำเร็จลุล่วงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ในปีที่แล้วเราเริ่มน�ำแนวคิดเรื่อง Leanovation มาประยุกต์ใช้ กับสายงาน Operation และ IT โดยมีการจัดประกวดผลงานภายใต้ ชื่องานว่า Leanovation CEO Awards โดยกรรมการผู้จัดการใหญ่และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารเป็นผู้แจกรางวัลเพื่อเชิดชูเกียรติ ซึ่งแบ่ง ประเภทการประกวดออกเป็น Premier League, Division 1 (ระดับ Department Head) และ Division 2 (ระดับ Section Head) มีการ สื่อสารโครงการผ่าน Mascot ที่ชื่อว่า Mr.Leano รวมไปถึงการสื่อสาร ให้คนรู้จักค�ำว่า Downtime ซึ่งเป็น 8 Wastes ที่มีอยู่ทุกกิจกรรมไม่ว่า จะเป็น Massive Training, Kaizen Blitz, Submission Project,


Advertorial Monthly Update และในเรือ่ งของ Leanovation CEO Awards จะเห็น ได้ว่าธนาคารมีการด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง รวมถึง Management ต้องไปในแนวทางเดียวกัน และท�ำไปพร้อม ๆ กัน

Vol.22 No.213 January-February 2016

ผลลัพธ์การด�ำเนินการเรือ่ ง Leanovation ทัง้ ในเรือ่ งของ Customer Experience, Quality และ Risk and Control สามารถช่วยใน เรือ่ ง Cost Saving ได้ประมาณ 17.4 ล้านบาท โดยคิดเป็น Soft Saving ประมาณ 6.2 ล้านบาท Hard Saving ประมาณ 9.2 ล้านบาท In-house Training Saving 2 ล้านบาท และเพิ่ม Capacity ได้อีก 37 FTEs นอกจากนี้การผลักดันและส่งเสริมให้คนระดับปฏิบัติการน�ำ เสนอแนวคิดขึน้ มาเป็นสิง่ ส�ำคัญอีกอย่างหนึง่ คือ ในระดับผูบ้ ริหารแล้ว โอกาสที่จะสัมผัสพนักงานระดับปฏิบัติการ หรือแม้แต่โอกาสของ พนักงานเหล่านั้นจะได้พบกับกรรมการผู้จัดการใหญ่และประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) และได้น�ำเสนอผลงานมีน้อย ซึ่งการด�ำเนิน กิจกรรมนี้ถือเป็นโอกาสที่ดีท�ำให้ผู้บริหารระดับสูงเล็งเห็นทักษะความ สามารถและความคิดนวัตกรรมต่าง ๆ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ การได้ผลลัพธ์ ทางธุรกิจ และเป็นวัฒนธรรมองค์กรแบบลีนโนเวชั่น (Leanovation)

นอกจากองค์กรจะได้รับประโยชน์โดยตรงแล้ว ผลงานลีนโนเวชั่ น (Leanovation) ยั ง ได้ รั บ การคั ด เลื อ กจากคณะกรรมการผู ้ ทรงเกียรติ Retail Banker International Asia Trailblazers Awards 2015 ณ ประเทศสิงคโปร์ ในหมวดความเป็นเลิศทางกลยุทธ์หัวข้อเรื่อง นวัตกรรมการจัดการรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจ Strategy Excellence: The Most Innovative Business Model เป็นรางวัลอันทรงเกียรติระดับ นานาชาติ International Awards ธนาคารไอเอ็มบี ไทย ชนะการ ประกวดคู่แข่งหลายธนาคารระดับทวีปเอเชียซึ่งปกติแล้วหมวดความ เป็นเลิศทางกลยุทธ์ในหัวข้อนวัตกรรมการจัดการ รูปแบบการด�ำเนิน ธุรกิจโดยส่วนใหญ่จะให้รางวัลกับธนาคารที่น�ำเสนอนวัตกรรมการท�ำ รายได้ แท้จริงเปรียบเสมือนกับเหรียญมีสองด้านเสมอ ด้านหนึง่ หาราย ได้ ท�ำก�ำไร อีกด้านหนึ่งที่เราท�ำกัน คือ ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต จัดการ ความเสี่ยง โดยธนาคารได้รับการยกย่องว่าเป็นธนาคารที่มีนวัตกรรมการจัดการเรื่องคิดใหม่ ท�ำใหม่ ด้วยผลงานของพนักงานทุกคนที่ ช่วยกันปรับปรุงการจัดการทุกมิติและเป็นธนาคารที่เป็นเลิศในระดับ อาเซียนอย่างแท้จริง

25


Q

Special Issue for

uality

Special Issue

Special Issue


Q

Special Issue for

uality

องค์กรภาครัฐที่มุ่งสนับสนุน

ภาคการศึกษาไทยสู่เศรษฐกิจดิจิทัล กองบรรณาธิการ

ส�ำนักงาน

คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน หรือ สช. เป็นหน่วยงาน ในสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่ เสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการศึกษาเอกชนต่อคณะกรรมการ ส่งเสริม สนับสนุน ด้านวิชาการ การประกันคุณภาพ การวิจัยและพัฒนาเพื่อประกันคุณภาพการศึกษา รับผิดชอบการ ด�ำเนินงานเกีย่ วกับกองทุน ด�ำเนินการจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาเอกชนตามมาตรการทีค่ ณะกรรมการฯ ก�ำหนด เป็นศูนย์สง่ เสริมสนับสนุนข้อมูล และทะเบียนกลางทางการศึกษาเอกชน ตลอดจนติดตาม ตรวจสอบ และประกันผลการจัดการศึกษาเอกชน และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการฯ มอบหมาย และด�ำเนินงานตามวิสัยทัศน์ คือ “การศึกษาเอกชนมีคุณภาพได้มาตรฐานสากล” กล่าวได้ว่าการศึกษาเป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศ เฉกเช่นดียวกันการศึกษาก็ เป็นพื้นฐานส�ำคัญทางด้านเศรษฐกิจเช่นเดียวกัน ตามนโยบายของภาครัฐที่มุ่งส่งเสริมให้ทุก ภาคส่วนขับเคลื่อนการด�ำเนินงานของประเทศสู่ “เศรษฐกิจดิจิทัล” ภาคการศึกษาก็ได้ผลักดันให้ ▲

คุณอดินันท์ ปากบารา

เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ

for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

27


Special Issue มีผลต่อการด�ำเนินชีวติ การค้า การคมนาคม และ การบริการ เป็นภาพรวมทุกส่วนของกิจกรรมใน ประเทศ เมือ่ นโยบายของภาครัฐมุง่ ไปทางดิจทิ ลั ก็ถอื ว่าเป็นนโยบายทีม่ าถูกทางแล้ว ซึง่ การศึกษา จะมีสว่ นปูพนื้ ฐานหรือรากฐานเกีย่ วกับเศรษฐกิจ ดิจิทัลได้มากทีเดียว”

นโยบายการศึกษา ที่ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลไทย

การด�ำเนินงานสอดคล้องกับนโยบายดังกล่าว ซึง่ คุณอดินนั ท์ ปากบารา เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ท่านผู้บริหารที่พร้อม สนับสนุนให้ สช. เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ตอบรับ นโยบายนี้ และพร้อมส่งเสริมพัฒนาการศึกษา ภาคเอกชนอย่างเต็มก�ำลัง

Vol.22 No.213 January-February 2016

การดำ�เนินงานของ สช.

28

ท่านเลขาธิการ สช. เริม่ ต้นบทสัมภาษณ์ ด้วยการแนะน�ำองค์กรว่า “ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน หรือ สช.” มีหน้าที่ ในการส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาที่ภาคเอกชน จัดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนในระบบหรือนอก ระบบตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล มัธยมศึกษา จนถึง ระดับ ปวส. และนอกระบบทุกประเภท อาทิ ดนตรี กี ฬ า ศาสนา หรื อ แม้ ก ระทั่ ง โรงเรี ย น พาณิชย์นาวี นอกจากนี้ในจังหวัดทางภาคใต้ก็มี โรงเรี ย นสอนศาสนาอิ ส ลาม หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า สถาบันศึกษาปอเนาะ และยังมีศูนย์การศึกษา อิสลามประจ�ำมัสยิดอีกกว่า 2 พันแห่งทัว่ ประเทศ ในเชิงปริมาณ สช. รับผิดชอบนักเรียน ในระบบประมาณ 2,300,000 คน รวมประมาณ 3,900 โรง ทั้งสามัญศึกษาและอาชีวศึกษาทั่ว

ประเทศ และสถานศึ ก ษานอกระบบอี ก กว่ า 5,000 แห่งทั่วประเทศ ในเชิงหน่วยงาน สช. มี ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน หรือ สช. ในกรุงเทพฯ และยังมี สช.จังหวัดใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา และสตูล เรียกว่า ส�ำนักงานการ ศึกษาเอกชนจังหวัด หรือ สช.จังหวัด มีหน้าที่ ดูแลการศึกษาเอกชนในจังหวัดนัน้ ๆ ส่วนจังหวัด อืน่ ทัว่ ประเทศ จะมอบหมายงานให้กบั ส�ำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในทุกเขตพื้นที่ ประมาณ 200 เขตทั่วประเทศดูแลต่อไป”

การศึกษาภาคเอกชน กับการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล

“ภาคการศึกษาได้ตระหนักถึงการพัฒนา ประเทศมาตัง้ แต่นโยบายการสร้างเศรษฐกิจฐาน ความรู้ (Knowledge Based Economy) อธิบาย ง่าย ๆ คือ การท�ำอะไรก็ตามแต่ที่ต้องอาศัย ความรูอ้ ย่างเป็นระบบ หลังจากนัน้ จึงมีเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ (Creative Economy) เข้ามา ซึ่ง เป็นการต่อยอดจากความรู้ จากภูมิปัญญาของ เรามาสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ แต่ ณ ปัจจุบันและ อนาคต เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) เริ่ม

“ประเทศไทยได้ ใ ห้ ค วามสนใจและ ให้การสนับสนุนด้านการพัฒนา ICT เป็นอย่าง มาก ซึ่งนี่เป็นรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัล จนถึง ขั้นที่ประเทศมีกระทรวง ICT เป็นการเฉพาะ นอกจากนี้แล้วกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมทั้ง กระทรวงอื่ น ๆ ที่ จั ด การศึ ก ษาก็ ไ ด้ ใ ห้ ก าร สนับสนุนการใช้สื่อดิจิทัลในการเรียนการสอน การใช้ e-Learning และการใช้ e-Office ในการ บริหารจัดการงาน อีกทัง้ ภาครัฐยังมีนโยบายทีจ่ ะปูพนื้ ฐาน แก่นักเรียนให้มีความสามารถที่จะใช้สื่อดิจิทัล เพื่อการค้นคว้าหาความรู้ในทุกระดับและทุก ประเภทต่อไป” ท่านเลขาธิการ สช. กล่าวถึง นโยบายในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการต่อ การพัฒนาการศึกษาไทยสู่เศรษฐกิจดิจิทัล

ตัวอย่างประเทศที่ประสบความสำ�เร็จ

ท่านเลขาธิการ สช. ได้กล่าวเพิม่ เติมถึง ประเทศที่น�ำนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลมาใช้จน กระทั่งประสบความส�ำเร็จว่า “มีหลายประเทศ ที่ น� ำ นโยบายนี้ ม าใช้ และได้ รั บ ความสนใจ รวมถึงภาคการศึกษาก็ได้เข้าไปค้นคว้าข้อมูลใน ประเทศเหล่านั้น เช่น ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็น ประเทศทีน่ กั ศึกษาสามารถเขียนโปรแกรมเพือ่ ส่ง จ�ำหน่ายให้กบั ไมโครซอฟต์ หรือบริษทั ยักษ์ใหญ่ ติดอันดับโลกได้อย่างไร ? เราให้ความสนใจ อย่างยิ่งว่าเขาท�ำได้อย่างไร ? ค�ำตอบที่ได้รับ คือ ประเทศนี้ มี ก ารปู พื้ น ฐานการเรี ย นรู ้ ท างด้ า น คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และก้าวไปสูด่ จิ ทิ ลั ก้าวไปสู่การคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์โปรแกรม ต่างๆ ที่หลากหลายและเราใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน ต่อมา คือ ประเทศเกาหลี ซึ่งจะเห็นได้ว่าหาก ย้อนกลับไปเมื่อกว่า 20 ปีที่แล้ว ความเจริญทาง เศรษฐกิจก็เทียบเท่ากับประเทศไทย แต่ในขณะ เดียวกันเกาหลีมคี วามพยายามอย่างสูงมากทีจ่ ะ ใช้ดจิ ทิ ลั หรือความรูส้ มัยใหม่จนสามารถเข้าไปสู่ การเป็นประเทศผู้ผลิตสินค้าและบริการที่ติด


Special Issue อั น ดั บ โลก อาทิ เครื่ อ งมื อ สื่ อ สาร โทรทั ศ น์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ส่วนประเทศที่ก้าวหน้าไป กว่านั้น คือ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งทุกท่านทราบกันดี อยู่แล้วว่า การด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันของคนชาว ญี่ปุ่นเกี่ยวข้องกับดิจิทัลเป็นอย่างมาก และใน ขณะเดี ย วกั น ภาพรวมของโลก เราจะเห็ น ว่ า การค้าขายไม่มคี วามจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องน�ำสินค้าไป นัง่ ขายก็ได้ นีค่ อื การน�ำดิจทิ ลั เข้ามาช่วยในระบบ การค้ า ขาย และเป็ น ตั ว อย่ า งที่ เ ห็ น ได้ ชั ด ใน ปัจจุบัน” การด�ำเนินนโยบายอาจต้องพบกับอุปสรรคที่ต้องฝ่าฟัน ท่านเลขาธิการ สช. กล่าวถึง อุปสรรคที่น่าจะเกิดขึ้น “ประการแรกเป็นสิ่งที่ ส�ำคัญ คือ ทักษะการคิดวิเคราะห์ของคนไทย อาจต้องเร่งพัฒนา เนื่องจากยังขาดระบบการ เรียนรู้เพื่อน�ำไปสู่การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดแก้ไขปัญหา และการคิดที่หลากหลาย ประการที่ 2 คือ ทักษะทางการสือ่ สาร โดย เฉพาะการสือ่ สารภาษาต่างประเทศ ซึง่ เป้าหมาย ในการสื่อสารไม่ว่าจะเป็นเพื่อการสื่อสาร และ เพือ่ การแสวงหาความรู้ ทัง้ สองด้านนีค้ นไทยควร

ต้องได้รับการสนับสนุน และน่าจะเป็นอุปสรรค ที่อาจท�ำให้การด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล ไม่ประสบผลสัมฤทธิ์” ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ศึกษาเอกชน หรือ สช. ได้ประกาศนโยบายปี 2558 เป็นต้นไป เพื่อส่งเสริมด้านดิจิทัลของ ประเทศ ซึ่ง ท่านเลขาธิการ สช. ได้อธิบายว่า “เราประกาศนโยบายด้านการศึกษาให้สามารถ

รองรับการพัฒนาประเทศในอนาคต คือ 1. นโยบายเกี่ยวกับการอ่านออกเขียนได้ในภาษาไทย 2. นโยบายเกี่ยวกับการอ่านออกเขียนได้ใน ภาษาอังกฤษ ใช้ระบบที่เรียกว่า “กรอบมาตรฐานการประเมินความสามารถทางภาษาจาก ประเทศในกลุ ่ ม สหภาพยุ โ รป” หรื อ CEFR (Common European Framework of Reference for Languages) มาใช้เป็นกรอบการประเมิน ความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษ โดยเริ่มต้นที่ จะต้องมีการสือ่ สารได้ 3. การสอนเรือ่ งกระบวนการคิด นอกจากการก�ำหนดนโยบายดังกล่าว แล้ว ในปี พ.ศ.2558 สช. ยังได้ด�ำเนินกิจกรรม อื่ น ๆ ควบคู ่ ด ้ ว ย นั่ น คื อ 1. การอุ ด หนุ น งบประมาณ 970 ล้านบาท ให้โรงเรียนเอกชนทั่ว ประเทศในการซื้อสื่ออุปกรณ์ที่เรียกว่า Smart Class Room ได้แก่ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ และ Content ต่าง ๆ รวมถึงระบบอินทราเน็ต และ อินเทอร์เน็ตที่ช่วยอ�ำนวยความสะดวกในการ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล เพื่ อ ให้ เ ด็ ก ใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ใน การเรียนรู้ ซึ่งในอนาคตจะมีการส่งเสริมด้าน e-Learning ต่อไป เพราะจะเป็นเครื่องมือในการ ส่งเสริมการศึกษาสู่ระบบดิจิทัลได้ชัดเจนที่สุด 2. การอบรมครู จ�ำนวน 12,000 คนทั่วประเทศ เกีย่ วกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การเรียน การสอน ซึง่ ทีผ่ า่ นมาโรงเรียนต่าง ๆ พร้อมตอบรับ นโยบายและวิ ธี ก าร โดยมี ก ารสอนเกี่ ย วกั บ กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ รวมถึงทักษะ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และสื่อเทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอนมากขึ้น และในขณะเดียวกันทาง สช. เองก็ได้ออกเยี่ยมเยียนนิเทศก์งาน ทั่วประเทศ พร้อมทั้งยังติดตามการรายงานผล

Vol.22 No.213 January-February 2016

อุปสรรคที่ต้องพุ่งชน

29


Special Issue การด�ำเนินงานจากภาคการศึกษาเอกชนผ่านทาง ระบบออนไลน์ตลอดเวลา” “นอกจากนี้ สช. ในฐานะทีเ่ ป็นหน่วยงาน ดูแลการศึกษาในทุกระดับและทุกประเภททั่ว ประเทศไทย ซึง่ มีผเู้ รียนทัง้ ในระบบและนอกระบบ กว่า 3,500,000 คน การบริหารงานของโรงเรียน เอกชนมีความยืดหยุน่ คล่องตัว เพราะฉะนัน้ การ ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั เราจึงท�ำได้อย่างรวดเร็ว แต่ ใ นขณะเดี ย วกั น โรงเรี ย นเอกชนสามั ญ ทั่ ว ประเทศก็ได้พัฒนาตัวเองไปได้ไกลกว่าที่ สช. ให้การสนับสนุนเสียอีก เช่น โรงเรียนมีโปรแกรม การเรียนการสอนระบบ 3D มีระบบ e-Learning ที่นักเรียนสามารถเรียนได้ตลอดเวลา หรือเรียน ได้ทุกที่ที่ต้องการ นอกจากนี้ในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนที่เปิดการศึกษาในระดับ ปวช. และ ปวส. ที่เกี่ยวข้องกับดิจิทัล อาทิ สาขาอิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาการตลาด หรือการบัญชี หรือ พาณิชยกรรมอื่น ๆ เราก็จะเพิ่มเรื่องการใช้สื่อ อินเทอร์เน็ตเข้ามาในหลักสูตร”

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา

การศึกษาภาคเอกชนนั้น นอกจากจะ

ต้องแข่งขันกับตัวเองแล้ว ยังต้องแข่งขันกับตลาด อื่น ๆ กล่าวได้ว่าสถานศึกษาจะต้องมีศักยภาพ ในการแข่งขันทีส่ งู กว่าภาครัฐ ต้องตืน่ ตัวอยูเ่ สมอ ต้องมีความส�ำเร็จที่ต่อเนื่องจึงจะอยู่รอดได้ “ทุก วันนี้การเจริญเติบโตของการศึกษาภาคเอกชน หากมุมมองในเชิงปริมาณ น่าจะมีอัตราคงที่ เนือ่ งจากจ�ำนวนประชากรลดลง ดังนัน้ ผูเ้ รียนทัง้ ในภาครัฐและเอกชนจึงมีจ�ำนวนลดน้อยลงไป แต่มุมมองในเชิงคุณภาพ หรือประเด็นความ ก้าวหน้าเชิงวิชาการใหม่ ต้องยอมรับว่าการศึกษา ภาคเอกชนไปได้ไกลมาก” การศึกษาภาคเอกชน มีการปรับตัวไปตามกระแสความเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี “ผมขอยกตัวอย่างโรงเรียนนอกระบบแห่งหนึ่งที่ จังหวัดเชียงใหม่ ชื่อจงรักนวดแผนไทย เมื่อเดิน เข้าไปภายในโรงเรียนท่านจะพบกับนักเรียนญีป่ นุ่ ที่เข้ามาเรียนอยู่ประมาณ 30 คนต่อชั้นเรียน เมื่อ เดินไปอีกห้องหนึง่ จะพบกับนักเรียนจากประเทศ ทางแถบยุโรป สหรัฐอเมริกา มาเรียน สอบถาม นักเรียนเหล่านั้นพบค� ำตอบที่ว่า 1. นักเรียน เหล่านี้ต้องการเปิดสถานบริการนวดแผนไทย ที่ประเทศของตนเอง 2. นักเรียนมีสถานบริการ

นวดแผนไทยอยู่แล้ว แต่ความรู้ไม่พอ และพบ ว่าการนวดแผนไทยดีที่สุดในโลก จึงสนใจมา เรี ย น ขณะเดี ย วกั น โรงเรี ย นนี้ ไ ด้ เ ปิ ด สาขาที่ ประเทศญี่ปุ่น 2 แห่ง นี่เป็นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึง ความก้าวหน้าของโรงเรียนนอกระบบของไทย แม้แต่โรงเรียนสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย ก็ มี นั ก เรี ย นชาวสิ ง คโปร์ ชาวเมี ย นม่ า ร์ ชาว แคนาดาเข้ามาเรียน นั่นเพราะบุคลากรของไทย สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ดีเยี่ยม” ภาครัฐที่ เกี่ยวข้องกับการศึกษานอกระบบจึงต้องมีการ สร้างระบบที่ยืดหยุ่น รวดเร็ว และอ�ำนวยความ สะดวกให้โรงเรียนภาคเอกชนมีความคล่องตัว รวมถึงพิจารณาการยกเว้นภาษีสื่ออุปกรณ์การ เรียนที่ให้ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนการสอนสูง และ มีราคาสูง ก็จะส่งผลให้การศึกษาไทยก้าวไกลไป เร็วขึ้น

Vol.22 No.213 January-February 2016

ผลที่ประเทศจะได้รับจากการศึกษา ที่ต่อยอดสู่เศรษฐกิจดิจิทัล

30

“ทิศทางเศรษฐกิจดิจทิ ลั ของไทย ผมมอง ว่าไปได้ไกลมาก เพราะคนไทยมีความคิดสร้างสรรค์ สู ง และมี ทั ศ นคติ เ ชิ ง บวกต่ อ การใช้ สื่ อ มัลติมีเดีย และสื่อดิจิทัล ซึ่งเหล่านี้เป็นจุดเด่นที่ คนไทยมีและต้องรักษาไว้ ก็จะเป็นส่วนหนึ่งใน การพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ที่เป็นดิจิทัลไปสู่ ตลาดได้มากขึน้ นอกจากนีร้ ะบบดิจทิ ลั ทีส่ ามารถ ค้าขายและให้บริการได้ทวั่ โลก ผมเชือ่ ว่าคนไทย ท� ำ ได้ ดี เพราะฉะนั้ น หากประเทศไทยได้ ว าง รากฐานเรื่องเศรษฐกิจดิจิทัลให้ชัดขึ้นและจัดท�ำ แผนในอนาคตระยะยาว 25 ปีวา่ จะมีแนวโน้มเป็น อย่างไร แต่ละ 5 ปี ควรท�ำอะไรบ้าง และแต่ละปี ควรท�ำอะไร เราจึงจะมีเป้าหมายทีช่ ดั เจนขึน้ และ เราจะเป็นศูนย์กลางของเศรษฐกิจดิจิทัลได้ใน ภูมภิ าคนี”้ ท่านเลขาธิการ สช. กล่าวสรุป


Q

Special Issue for

uality

สำ�นักงาน

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กับภารกิจสนับสนุนการศึกษาอาชีวะ

สู่เศรษฐกิจดิจิทัล กองบรรณาธิการ

นอก

เหนือจากการศึกษาภาคเอกชนแล้ว การศึกษาในขั้นอุดมศึกษาของไทยก็เร่ง ด�ำเนินการเพื่อสนับสนุนนโยบายของภาครัฐที่เน้นหนักถึงการปูพื้นฐาน การศึกษาระดับอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสู่ Digital Economy ส�ำหรับ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หรือ สอศ. โดย ดร.อกนิษฐ์ คลังแสง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่านได้กล่าว แสดงรายละเอียดถึงภารกิจของ สอศ. ต่อการพัฒนาประเทศในอนาคตกับ . ฉบับนี้

นโยบายการศึกษาระดับอาชีวศึกษาเพื่อส่งเสริมสู่เศรษฐกิจดิจิทัล

ท่านรองเลขาธิการฯ กล่าวเริม่ ต้นถึงนโยบายเศรษฐกิจดิจทิ ลั ของภาครัฐว่า “นโยบายของภาครัฐในการสร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศนั้น รัฐบาลได้ ก�ำหนดนโยบายให้มีการส่งเสริมภาคเศรษฐกิจดิจิทัล และวางรากฐานของเศรษฐกิจ

ดร.อกนิษฐ์ คลังแสง

รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

31


Special Issue จะมีการวางคุณลักษณะในเชิงลึกเพื่อตอบโจทย์ การพัฒนาสู่การขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจ ดิจิทัลต่อไป

Vol.22 No.213 January-February 2016

คณะอนุกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา (อ.กรอ.อศ.)

32

ดิจิทัลของประเทศอย่างจริงจัง ทั้งนี้โครงสร้าง พืน้ ฐานของดิจทิ ลั เกีย่ วข้องกับโครงสร้างพืน้ ฐาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคม และการ แพร่ภาพกระจายเสียง รวมทัง้ การหลอมรวมของ เทคโนโลยีทั้งสามด้านนี้เพื่อก่อให้เกิดนวัตกรรม ในการพั ฒ นาดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คม ต่อไป ดังนั้น เศรษฐกิจดิจิทัล (digital economy) จึงเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต้องอาศัย เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งมีอินเทอร์เน็ตเป็นหลัก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ การผลิตสินค้า การขนส่ง หรือแม้แต่เป็นตัวกลาง ในการซือ้ -ขาย ท�ำให้สามารถก�ำหนดกลยุทธ์การ ตลาดได้สะดวกมากขึน้ เนือ่ งจากมีการเก็บข้อมูล ที่เป็นระเบียบ ส่งผลต่อการบริหารจัดการที่ง่าย ขึ้น” ส�ำหรับการศึกษาระดับอาชีวศึกษาของ ไทย ก็พร้อมทีจ่ ะร่วมขับเคลือ่ นเศรษฐกิจดิจทิ ลั สู่ สถานบันการศึกษา เพือ่ วัตถุประสงค์ในการเตรียม ความพร้อมของนักเรียนให้เข้าใจและรองรับการ ขยายตัวของเศรษฐกิจ “การส่งเสริมทรัพยากร บุคคลเป็นเรื่องที่ส�ำคัญมาก ซึ่งทรัพยากรบุคคล ในระดับอาชีวศึกษานั้นจะเน้นหนักในเรื่องของ การสนับสนุนสู่วิชาชีพเฉพาะทาง รวมถึงการ เป็นผู้ปฏิบัติการ เนื่องจากเป็นที่ต้องการส�ำหรับ แรงงานของประเทศอย่างยิ่ง อาชีวศึกษาจึงผลิต ก� ำลั ง คนให้ มี ค วามสอดคล้ อ งทั้ ง คุ ณลั กษณะ และปริมาณที่สมดุล เมื่อมีการก�ำหนดกฎเกณฑ์ เช่นนี้แล้ว นโยบายที่เกิดขึ้นจึงมุ่งผลิตแรงงาน ทั้ ง ในแง่ ป ริ ม าณและคุ ณ ภาพด้ ว ยการสร้ า ง

ท่านรองเลขาธิการฯ ยังได้กล่าวถึงการ ด� ำ เนิ น งานของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการ อาชี ว ศึ ก ษา เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นการอาชี ว ศึ ก ษาที่ ชัดเจนอีกว่า “สอศ. ได้จดั การประชุมคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาก�ำลังคน อาชีวศึกษา (กรอ.อศ.) และคณะอนุกรรมการร่วม ภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาก�ำลังคนอาชีวศึกษา เพื่อสนับสนุนการท�ำงานของคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาก�ำลังคน อาชีวศึกษา (อ.กรอ.อศ.) โดยยุทธศาสตร์การ ท�ำงานของคณะอนุกรรมการฯ เพือ่ สนับสนุนการ มุ่งสู่เศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ยกตัวอย่างเช่น ในกลุ่มอาชีพเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารได้มกี ารท�ำแผนความ คิ ด ตามกรอบการด� ำ เนิ น งานเพื่ อ ช่ ว ยในการ วิเคราะห์และแยกรายละเอียดของการด�ำเนินงาน ซึง่ จากการประชุมร่วมทีผ่ า่ นมาส�ำหรับกลุม่ อาชีพ เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารยั ง ไม่ สามารถระบุความต้องการก�ำลังคนด้าน ICT ที่ แท้จริงได้ ดังนัน้ สถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพ (องค์การ มหาชน) จึงได้จดั ท�ำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ วิชาชีพด้าน ICT 6 สายงาน คือ ซอฟต์แวร์และ การประยุกต์ ฮาร์ดแวร์ การสื่อสารโทรคมนาคม เครือข่ายและความปลอดภัย การบริหารโครงการ สารสนเทศ และแอนิเมชั่น และยังมีข้อเสนอให้ สอศ. ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องตามประเภท อุตสาหกรรม คือ ภาคการผลิต และภาคการ บริการต่อไป” เครือข่าย ซึ่งค�ำว่าเครือข่ายนี้หมายรวมถึงภาครัฐและเอกชนเพือ่ การพัฒนาก�ำลังคนอาชีวศึกษา รวม 33 คลัสเตอร์อาชีพ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนา ด้านหลักสูตร การสอน และการประเมินผลในเชิง ระบบ เพื่อผลิตนักศึกษาที่มีคุณภาพและเป็นที่ ต้องการ สามารถท�ำงานได้จริงทัง้ ในประเทศและ ต่างประเทศ” ทั้งได้มีการวางคุณลักษณะของ นักศึกษาเป็นกลุ่ม ๆ อย่างชัดเจน โดยเฉพาะ นักศึกษาที่ศึกษาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคม และการแพร่ภาพกระจายเสียง ก็

โครงการเพื่อสนับสนุนอาชีวศึกษา สู่เศรษฐกิจดิจิทัล

สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดในการพัฒนาประเทศ สู่เศรษฐกิจดิจิทัลดังที่ท่านรองเลขาธิการฯ ได้ กล่าวไว้ข้างต้นนั้น จะส�ำเร็จไม่ได้หากขาดการ สนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ส�ำหรับ ภาครัฐในนามของ สอศ. ได้ด�ำเนินโครงการจัด ท�ำความร่วมมือการจัดการเรียนการสอนทวิภาคี แบบเครือข่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารขึ้น ซึ่ง ท่านรองเลขาธิการฯ ก็ได้กล่าว อธิบาย “แนวทางการด�ำเนินงานโครงการจัดท�ำ


Special Issue

ประเทศที่ประสบความสำ�เร็จ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล

หลายประเทศได้มีการน�ำเทคโนโลยีมา ใช้ในการพัฒนา และที่ส�ำคัญ คือ น�ำมาพัฒนา เศรษฐกิจได้อย่างน่าสนใจ ท่านรองเลขาธิการฯ ยกตัวอย่างความส�ำเร็จของประเทศต่าง ๆ เหล่า นั้นว่า “ประเทศเกาหลีใต้ เป็นประเทศที่มีภาค เอกชนเป็นแกนกลางในการขับเคลื่อนเนื่องจาก ตอบโจทย์ผบู้ ริโภคอย่างแท้จริง โดยภาคธุรกิจได้ ส่งเสริมโอกาสทีไ่ ด้รบั จากภาครัฐให้การสนับสนุน การศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานในหลักสูตรตั้งแต่ระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาตลาด ซอฟต์แวร์และเกมออนไลน์ให้เติบโตกลายเป็น เทรนด์ของประเทศ และเป็นปัจจัยหลักที่ท�ำให้ การใช้งานอินเทอร์เน็ตเติบโตในช่วงปี 19992006 จนกระทัง่ ในปัจจุบนั อุตสาหกรรมได้พฒ ั นา มาเน้นการสร้างออนไลน์คอนเทนต์ ซึ่งท�ำให้การ บริ โ ภคข้ อ มู ล มี ป ริ ม าณสู ง จนผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารต้ อ ง วางแผนสร้างเทคโนโลยี 5G ภายในปี 2020 เพื่อรองรับการใช้งานของผู้บริโภค

ประเทศจีน ได้พยายามพัฒนาประเทศ ควบคู่กันระหว่างอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศ ซึง่ เรียกว่า “Twin-Track Strategy” โดย เน้นที่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี เช่ น การเพิ่ ม เส้ น ทาง มอเตอร์เวย์และติดตั้งไฟเบอร์ ออปติก เคเบิ้ล และได้รวมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี สารสนเทศจัดตั้งใหม่เป็น Ministry of Information Industry: MII และได้จัดตั้ง State Council Information Management Commission: SCIMC ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับ US Federal Communications Commission: FCC ของ สหรัฐฯ นอกจากนี้ยังได้จัดตั้งโครงการทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น โครงการ Chinese Communist Party: CCP และโครงการ Telephone Village และถึงแม้ว่าจีนยังไม่ได้เน้น เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล อย่ า งเต็ ม ตั ว แต่ โ ครงสร้ า ง พื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่รัฐบาล ได้สร้างขึ้นก็สามารถรองรับความเจริญเติบโตได้ ประเทศออสเตรเลีย มีเป้าหมายในการ เป็นเศรษฐกิจดิจิทัลในปี 2020 โดยได้เพิ่มการมี ส่วนร่วมของประชาชนและภาคธุรกิจในการใช้ อินเทอร์เน็ต เนื่องจากจ�ำนวนการใช้จะส่งผล ต่ อ การเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ มี ก าร จั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มและโครงสร้ า งพื้ น ฐาน โดยเฉพาะการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพ ของการใช้พลังงานเพื่อลดผลกระทบทาง ด้านใช้สิ่งแวดล้อมซึ่งส่งผลต่อการ จ้างงาน เช่น การใช้เทคโนโลยี ในการจั ด การถนนในเมื อ ง ช่วงเวลารถติดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและแก้ ไ ขปั ญ หา การใช้ เทคโนโลยีในการจัดการระบบชลประทาน ให้ตรงกับความต้องการของเกษตรกร เป็นต้น ประเทศสิงคโปร์ เป็นประเทศที่มีเป้าหมายสู่ Smart City หรือ Intelligent Island เพื่อ เป็นศูนย์กลางข้อมูลข่าวสาร การคมนาคมขนส่ง ในภู มิ ภ าคอาเซี ย น โดยได้ ล งทุ น ใน โครงสร้างพื้นฐานของการสื่อสารทาง ไกลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการร่วมลงทุน ในภาครัฐและเอกชนและความร่วมมือ ของทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ รวมถึงการพัฒนาทักษะของแรงงานในการ ใช้เทคโนโลยี ประเมินผลของเทคโนโลยีตอ่ การ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาทาง สังคมและวัฒยธรรมอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ วิธกี ารที่

สิงคโปร์เปลีย่ นแปลงประเทศไปสูเ่ ศรษฐกิจดิจทิ ลั โดยการใช้ 4Cs นั่นคือ Computer คือ การน�ำ เทคโนโลยีและสารสนเทศไปใช้ในภาครัฐและ ภาคเอกชน Conduit คือ การเชื่อมโยงระบบ ต่าง ๆ ด้วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ Content คือ การสร้างความเป็นศูนย์กลางของความเชี่ยวชาญและความรู้ ท�ำให้เกิดอุตสาหกรรมเฉพาะ Communication คือ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร โดยบริการมัลติมีเดียและอินเทอร์เน็ตมากขึ้น โดยหน่วยงานหลักที่ท�ำหน้าที่ด�ำเนินการและ ประสานความร่วมมือ คือ National Information Infrastructures (NII)”

ปัญหาและอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ สู่เศรษฐกิจดิจิทัล

“ทีผ่ า่ นมาการพัฒนาประเทศประสบกับ อุปสรรคนานัปการ ซึง่ การพัฒนาเศรษฐกิจดิจทิ ลั

Vol.22 No.213 January-February 2016

ความร่วมมือการจัดการเรียนการสอนทวิภาคี แบบเครือข่ายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารเป็นการรวมกลุ่มกันของสถานศึกษาที่อยู่ ในภูมิภาคต่าง ๆ สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาที่ขาดโอกาสในการจัดการเรียน การสอนเข้ า มาร่ ว มกั น จั ด การศึ ก ษาในระบบ ทวิ ภ าคี ส าขาวิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศ โดย วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศจะท�ำหน้าที่ เป็นตัวกลางในการประสานงานระหว่างสถาน ศึกษากับสถานประกอบการ โดยการคัดเลือก นักศึกษา สถานประกอบการจะเป็นผูค้ ดั เลือกเอง หลั ง จากนั้ น จะน� ำ หลั ก สู ต รมาร่ ว มกั น จั ด ท� ำ แผนการเรียน แผนการฝึก รวมถึงพัฒนาครูฝกึ ใน สถานประกอบการตามหลั ก สู ต รที่ ก ระทรวง แรงงานก�ำหนดไว้ เมื่อครูฝึกในสถานประกอบการผ่ า นการอบรมและได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง จาก กระทรวงศึกษาธิการ ค่าใช้จ่ายของครูฝึกที่เกิด จากการฝึกอบรมนัน้ สถานประกอบการสามารถ น�ำไปลดหย่อนภาษีได้ ซึ่งประโยชน์ที่ได้รับจาก โครงการนี้ คือ สถานประกอบการได้บุคลากรที่มี ความรู ้ ค วามสามารถตรงตามความต้ อ งการ สถานศึกษาตอบสนองนโยบายยุทธศาสตร์ และ มีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และนักศึกษาได้เรียนสาขาที่ชอบ ฝึกทักษะตรง ตามสาขา และมีโอกาสได้งานท�ำ”

33


Special Issue

Vol.22 No.213 January-February 2016

ทีด่ คี วรต้องมีพนื้ ฐานของงานวิจยั และพัฒนาทาง ด้านไอทีเข้ามาเกี่ยวข้อง ที่ผ่านมาเรามีงานวิจัย ทางด้านนี้น้อยมาก และยังต้องพึ่งพาการน�ำเข้า จากต่างประเทศทัง้ ทางด้านฮาร์ตแวร์ ซอฟต์แวร์ เพราะประเทศไทยยั ง ขาดบุ ค ลากรทางด้ า น ซอฟต์แวร์ การผลิตบุคลากรได้ไม่ตรงกับการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการ ของภาคอุตสาหกรรม การพัฒนาอุตสาหกรรม ซอฟต์ แ วร์ ร ะยะสั้ น 5-10 ปี ประเทศไทยมี แนวโน้มขาดแคลนบุคลากรทีม่ คี วามรูด้ า้ นไอซีที ดังนั้น สิ่งที่ต้องด�ำเนินการในระยะสั้น คือ ต้องมี การพั ฒ นาซอฟต์ แ วร์ ที่ ผ ลิ ต ภายในประเทศ พยายามผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง ของนักพัฒนาซอฟต์แวร์ทวั่ โลก และในระยะยาว ควรต้ อ งเร่ ง พั ฒ นาบุ ค ลากรทางด้ า นนี้ โดย เน้นการปฏิรูปการศึกษาให้เยาชนไทยมีความ สามารถทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้ มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้การวางรากฐานการศึกษา ไทยควบคู่ไปกับการให้ความรู้ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศกับประชาชนถือว่าเป็นปัจจัยสู่ความ ส�ำเร็จในเศรษฐกิจดิจิทัล เพราะเป็นการสร้าง อุปสงค์และกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ตามมา ในขณะเดียวกันหากประเทศสามารถ แก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานวิชาชีพด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศได้ก็จะส่งผลให้การพัฒนา ท�ำได้อย่างรวดเร็ว ซึง่ ภาครัฐและภาคเอกชนควร ร่วมมือกันให้การสนับสนุนด้านการศึกษาต่อทาง

34

ด้านเทคโนโลยี รวมถึงสร้างแรงจูงใจด้านรายได้ เพื่อดึงดูดและรักษาแรงงานด้านนี้” ท่านรอง เลขาธิการฯ แสดงทัศนะถึงอุปสรรคที่ส่งผลต่อ เศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศ

ฝากถึงสถานศึกษาและผู้ประกอบการ ต่อการก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัล

ในตอนท้ายของบทสัมภาษณ์นี้ ท่านรอง เลขาธิการฯ ได้กล่าวฝากถึงสถานศึกษาและ ผู้ประกอบการถึงการรร่วมกันพัฒนาประเทศสู่

เศรษฐกิจดิจิทัล “ในแง่มุมของผู้ประกอบการ เศรษฐกิจดิจิทัลจะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยลด ต้นทุนการด�ำเนินงาน โดยสามารถประสานงาน กั บ ผู ้ ผ ลิ ต หรื อ ลู ก ค้ า ได้ ง ่ า ยและรวดเร็ ว ผ่ า น ช่องทางอินเทอร์เน็ต ทัง้ อีเมล การประชุมทางไกล ช่วยต่อยอดความคิดสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้า และบริการรูปแบบใหม่ ๆ เข้าสูต่ ลาด โดยสามารถ ค้นคว้าข้อมูลข่าวสารจากแหล่งต่าง ๆ ทั่วโลก จากนั้นน�ำมาพัฒนาและต่อยอดให้เกิดการแลก เปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกลุ่มธุรกิจเดียวกัน เกิดเป็นองค์ความรู้ที่พัฒนาร่วมกันอย่างเป็น สากล ส�ำหรับสถานศึกษา ใคร่ขอฝากถึงผู้บริหารสถานศึกษาทุกท่านให้มองการพัฒนา เศรษฐกิจดิจิทัลเป็นองค์รวม มีการเน้นย�้ำและ ปลุ ก จิ ต ส� ำ นึ ก การสร้ า งเครื อ ข่ า ยเพื่ อ ร่ ว มกั น ด�ำเนินงานให้เกิดขึน้ ในตัวเองและบุคลากรทุกคน ผู้บริหารต้องพร้อมที่จะเป็นบุคคลเครือข่ายและ มุง่ สร้างเครือข่ายในสถานประกอบการให้มากขึน้ เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วเชื่อมั่นได้ว่าการขับเคลื่อน เศรษฐกิจดิจทิ ลั ในสถานศึกษาระดับอาชีวศึกษา จะด� ำ เนิ น ไปได้ อ ย่ า งสั ม ฤทธิ์ ผ ล” ท่ า นรอง เลขาธิการฯ กล่าว


Q

Special Issue for

การสนับสนุนด้านเทคโนโลยี ในสถาบันอุดมศึกษา

กลไกสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ จาก

uality

ดิจิทัล กองบรรณาธิการ

นโยบายของภาครัฐทีม่ งุ่ สนับสนุนให้ประเทศน�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้เพือ่ ช่วยให้เศรษฐกิจของประเทศ เติบโตขึ้น ส่งผลให้ภาคการศึกษาในทุกระดับชั้นต่างร่วมมือกันส่งเสริมหลักสูตรการศึกษาในการ ปูพื้นฐานความรู้สู่การพัฒนาเศรษฐกิจ ที่เรียกว่า เศรษฐกิจดิจิทัล ผศ.ดร.จิรพล สังข์โพธิ์ รองคณบดีฝ่ายวางแผนและวิจัย และผู้อ�ำนวยการหลักสูตรนโยบายและการ บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือหลักสูตร CIO วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่านเป็นผูห้ นึง่ ที่คร�่ำหวอดอยู่ในวงการ ICT และถ่ายทอดสู่หลักสูตรการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย โดยท่านได้ติดตามและ ให้ความสนใจกับนโยบายของภาครัฐเกี่ยวกับเศรษฐกิจดิจิทัลมาโดยตลอด วันนี้เราจึงขอน�ำเสนอบทสัมภาษณ์ ท่านเพื่อเป็นความรู้แก่ผู้อ่าน

ความหมายของคำ�ว่า “เศรษฐกิจดิจิทัล”

“ค�ำว่า “เศรษฐกิจดิจิทัล” ค�ำ ๆ นี้อาจยังให้ค�ำนิยามได้ไม่ชัดเจนนักเพราะมันขึ้นอยู่กับ บริบทของการตีความ แต่สามารถบอกได้ว่า เศรษฐกิจดิจิทัลมีลักษณะส�ำคัญ 4 ประเด็น คือ 1. เศรษฐกิจดิจิทัลอาศัยอินเทอร์เน็ตเป็นพื้นฐานหลักของการติดต่อสื่อสาร 2. สินค้าและ บริการที่ผู้บริโภคไม่จ�ำเป็นต้องเป็นสิ่งที่จับต้องได้เสมอไป เช่น หนังสือ เพลง รูปแบบ ดิจิทัล 3. ไม่ให้และไม่มีข้อจ�ำกัดในเรื่องท�ำเลและที่ตั้งของสถานประกอบการ 4. ลูกค้า สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ผลิตได้โดยตรง ไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลางหรือตัวแทน (disintermediation) นีเ่ ป็นลักษณะพิเศษทัง้ 4 เรือ่ ง ซึง่ ลักษณะที่ 4 จะสังเกตได้วา่ พ่อค้าคนกลาง หายไป แต่กย็ งั มีคนอีกกลุม่ หนึง่ ทีถ่ อื ว่าเป็นผูร้ วบรวมตัวแทนสินค้าและบริการเข้าด้วยกัน เช่น ตัวแทนบางแห่งรวบรวมสายการบินและโรงแรมเข้าด้วยกัน เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ให้กบั ผูบ้ ริโภค โดยผูบ้ ริโภคจะสามารถเปรียบเทียบข้อมูลการให้บริการต่าง ๆ ได้ดว้ ยตนเอง ▲

ผศ.ดร.จิรพล สังข์โพธิ์

รองคณบดีฝ่ายวางแผนและวิจัย และผู้อำ�นวยการหลักสูตรนโยบายและการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือหลักสูตร CIO มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

35


Special Issue นั่นแสดงว่าผู้บริโภคเริ่มมีอิทธิพลมากยิ่งขึ้น” ผศ.ดร.จิรพล กล่าวเริ่มต้นถึงนิยามของค�ำว่า “เศรษฐกิจดิจทิ ลั ” และท่านยังได้กล่าวถึงประเด็นนี้ต่อไปอีกว่า “ค�ำนิยามค�ำว่า “เศรษฐกิจดิจิทัล” ของแต่ละคนจะไม่เหมือนกัน ผู้บริโภคอาจให้ ความหมายว่า เป็นการซือ้ ของแบบออนไลน์ หาก ถามผู้ประกอบการอาจให้ความหมายว่า การท�ำ โฆษณาออนไลน์ การหาลูกค้าออนไลน์ การน�ำ ระบบ ERP เข้ามาใช้ ภาครัฐอาจให้ความหมาย ว่า เป็นการพัฒนาธุรกิจทางด้านดิจทิ ลั ทีจ่ ะส่งผล ให้ GDP ของประเทศโตขึ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าแต่ละ คนจะตีความไปอย่างไร สรุปตามทัศนะของผมคิดว่า “เศรษฐกิจ ดิจทิ ลั ” คือ เศรษฐกิจทีม่ แี พลตฟอร์ม มีสนิ ค้าและ บริการทั้งที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ ผู้ซื้อและ ผู้ขายไม่จ�ำเป็นต้องอยู่ใกล้กัน ท�ำเลที่ตั้งก็ไม่ใช่ เรื่องที่ส�ำคัญอีกต่อไป”

ความสำ�คัญของ “เศรษฐกิจดิจิทัล”

Vol.22 No.213 January-February 2016

แต่ เ พราะเหตุ ใ ดจึ ง ต้ อ งน� ำ เรื่ อ งของ ดิจิทัลเข้ามามีบทบาทกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ผศ.ดร.จิรพล กล่าวถึงประเด็นนี้ว่า “เกิดจาก 3 เหตุผลหลัก คือ จากพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ เปลีย่ นแปลงไปจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ในสมัยก่อนการจะบริโภคสินค้าก็จะต้องเดิน ทางออกจากบ้านไป แต่เมือ่ มีการใช้งานดิจทิ ลั มี ระบบกูเกิ้ลเชิร์ชส์ที่ช่วยค้นหาสินค้าและบริการ ได้ง่ายดายขึ้น ประด็นที่สอง คือ คู่แข่งในธุรกิจ ก็มีการพัฒนาตัวเองด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล หาก คู่แข่งมีการพัฒนาแต่เราไม่พัฒนา คงจะไม่มีที่

36

ยืนในวงการธุรกิจ เนื่องจากลูกค้าเริ่มมีความ คาดหวังในการบริโภคมากขึ้น สุดท้ายตัวเทคโนโลยีดิจิทัลเองก็มีราคาที่ถูกลง และยังมีความ สามารถที่สูงขึ้น จึงท�ำให้ผู้ประกอบการสามารถ เข้าถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและระบบดิจทิ ลั เข้ามาสู่การบริหารจัดการองค์กรเพื่อเกิดประสิทธิภาพสูงที่สุด”

การกระตุ้นนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล จากภาครัฐ

ล่าสุดที่ผ่านมาภาครัฐได้ออกเป็นร่าง นโยบายดิจิทัลขึ้น และมุ่งเน้นในหลายเรื่อง โดย เฉพาะเรื่องการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน นั่น เพราะการที่จะท�ำให้การแข่งขันทางเศรษฐกิจ ดิจิทัลเกิดขึ้นได้ ต้องท�ำให้ประชากรในประเทศ เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ แล้วโครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ ก็จะกระจายไปได้อย่างทัว่ ถึง “ในประเทศไทยยัง คงมีประชากรอีกกว่าครึ่งประเทศที่ยังเข้าไม่ถึง การเชือ่ มโยงทางอินเทอร์เน็ต ดังนัน้ ข้อมูลต่าง ๆ จึงกระจายไปไม่ได้อย่างทัว่ ถึงนัก ดังนัน้ นโยบาย ของภาครัฐจึงมีการส่งเสริมในเรือ่ งนีใ้ ห้มากยิง่ ขึน้ ว่ า ท� ำ อย่ า งไรให้ ค นเข้ า ถึ ง แพลตฟอร์ ม ทาง อิ น เทอร์ เ น็ ต ได้ และอี ก ประเด็ น หนึ่ ง ภาครั ฐ พยายามส่งเสริมให้การซื้อขายออนไลน์มีความ น่าเชือ่ ถือมากยิง่ ขึน้ ทัง้ นีไ้ ด้จดั ตัง้ หน่วยงานทีเ่ ข้า มาก�ำกับดูแลในการออกกฎหมาย และบทลงโทษ ทีช่ ดั เจน ผูใ้ ห้บริการทางอินเทอร์เน็ตก็จะต้องมีวธิ ี การในการตรวจสอบย้อนกลับได้” แต่ อ ย่ า งไรก็ ดี เ ศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล เป็ น เรือ่ งของเศรษฐกิจและเป็นการสร้างแนวความคิด

ใหม่ ๆ ที่สามารถเปลี่ยนให้เป็นสินค้าหรือบริการ ที่ก่อให้เกิดความต้องการใหม่ ๆ ได้ “สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดที่จะท�ำให้เศรษฐกิจ ดิจิทัลในประเทศเติบโตขึ้น นั่นคือ คนที่มีไอเดีย และสามารถเปลี่ยนไอเดียเป็นสินค้าและบริการ ที่สร้างความต้องการใหม่ ๆ ได้ เพราะเทคโนโลยี ดิจิทัลจะท�ำให้ค่าใช้จ่ายในการเข้าสู่ตลาดนั้น น้อยลงกว่าเดิมมาก แต่การพัฒนาในเรื่องนี้ ทั้ง ประชาชนและธุรกิจต้องเริ่มพัฒนาที่ตัวเองเป็น อันดับแรกก่อน เพราะภาครัฐคงจะดูแลได้แค่ เพียงระดับหนึ่งเท่านั้น”

ตัวอย่างประเทศที่ประสบความสำ�เร็จ ตามนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล

ผศ.ดร.จิรพล กล่าวยกตัวอย่างประเทศ ที่น�ำนโยบายเศรษฐกิจมาใช้แล้วสัมฤทธิ์ผลว่า “ประเทศที่เป็นต้นแบบในการน�ำดิจิทัลมาสร้าง ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ หลั ก ๆ ที่ จ ะต้ อ ง กล่าวถึง คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ซิลิคอนส์ วั ล เลย์ ซึ่ ง เป็ น ฐานการพั ฒ นาและผลิ ต อุ ต สาหกรรมซอฟต์แวร์ที่ส�ำคัญของโลก และถือว่า เป็ น เมื อ งหลวงทางดิ จิ ทั ล ของโลกเลยก็ ว ่ า ได้ บริษทั ทีม่ บี ทบาทมากในชีวติ ของเราไม่วา่ จะเป็น แอปเปิล้ เฟสบุค้ อะเมซอน หรือกูเกิล้ ก็เป็นบริษทั ที่ก่อตั้งขึ้นในประเทศนี้ ส�ำหรับประเทศที่พอจะเทียบเคียงกับ สหรัฐฯ ได้ในประเทศแถบเอเชีย ก็น่ าจะเป็น ประเทศเกาหลีใต้ ซึง่ เป็นประเทศทีเ่ ริม่ ตืน่ ตัวทาง ดิจิทัลย้อนหลังไปเมื่อสิบกว่าปีมานี้เอง และ สามารถพัฒนาบริษทั ในประเทศจนกระทัง่ ทุกวัน นี้เกาหลีใต้เป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศที่มีบริษัทใน ระดับโลกที่เป็น Global Company และสามารถ สู้กับบริษัทชั้นน�ำในซิลิคอนส์ วัลเลย์ได้ เช่น ซัมซุง หรือ LG นอกจากนี้เรื่องดิจิทัลคอนเท้นต์ ในเกาหลีใต้ก็แข็งแรงมาก เช่น กลุ่มนักร้องหญิง ที่เป็นที่นิยมในเกาหลีใต้ มียอดฟอลโล่ว์จากทั่ว โลกเป็นหลักล้าน ซึ่งมีไม่กี่ประเทศที่จะท�ำได้ ขนาดนี้” แต่หากมองในแง่ของการน�ำดิจิทัลมา พัฒนาคุณภาพชีวติ ประเทศในแถบแอฟริกาก็นา่ สนใจเช่นเดียวกัน “หากเราต้องการดูความส�ำเร็จ ของการน�ำดิจทิ ลั เข้ามาใช้ เราจะต้องเปรียบเทียบ บริบทของประเทศต่าง ๆ ด้วย แถบแอฟริกา ในหลายประเทศทุ ก วั น นี้ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ไ ร้ ส าย อย่างทั่วถึง เช่น ประเทศเคนย่า มีการใช้ Mobile Banking แพร่หลายมาก เนื่องจากโครงสร้าง พื้นฐานทางด้านธนาคารของประเทศนี้เรียกว่า


Special Issue แทบไม่ มี ค วามพร้ อ ม สาขาที่ อ ยู ่ ต ามชนบท แทบไม่มีเลย แต่เมื่อมีมือถือเข้ามา เคนย่าจึงมี M-PESA (M มาจากค�ำว่า Mobile PESA มีความ หมายว่าเงินในภาษาสวาฮี ดังนั้น M-PESA จึง หมายถึง Mobile Money) ซึง่ อ�ำนวยความสะดวก ให้ ค นสามารถท� ำ ธุ ร กรรมทางการเงิ น ได้ ท าง มือถือ” นี่จึงเป็นตัวอย่างที่ดีที่แสดงให้เห็นว่า ดิจิทัลยังมีส่วนส�ำคัญยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของคน

ภาคการศึกษากับการพัฒนาเศรษฐกิจดิจทิ ลั

หลักสูตรนโยบายและการบริหารเทคโนโลยี สารสนเทศ

เนื้อหาหลักสูตร ➲ หลักสูตรมีเนือ ้ หาทีค่ รอบคลุม Competencies ทั้ง 12 ด้าน ของผู้บริหารเทคโนโลยี สารสนเทศ อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ และ สนั บ สนุ น จากกระทรวง ICT ในการพั ฒ นา หลักสูตรเพื่อเตรียมความพร้อมของบุคลากรใน การก้าวไปสู่การด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงจนได้รับการรับรองจาก International Academy of CIO (IAC) ให้เป็น 1 ใน 10 ของ CIO University ทั่วโลก อีกทั้ง คณาจารย์ในหลักสูตรมีความรู้ความเชี่ยวชาญ เป็นที่ยอมรับในวงการ IT

จุดมุ่งหมายของหลักสูตร

ความรู้และบทบาทที่เกี่ยวข้องกับ IT ในเชิงลึก หลักการคิดและความรู้ใหม่ (knowledge of innovation) ทีส่ ามารถน�ำไปใช้เป็นแนว ปฏิบัติในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ภายในองค์การอย่างมั่นคง ปลอดภัย ตอบสนอง ต่อความต้องการของธุรกิจ รวมถึงเข้าใจหลักการ บริหารความเสี่ยง หลักการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีและวัฒนธรรม ของคนในองค์ ก าร นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารเชิ ญ วิทยากรผูเ้ ชีย่ วชาญเข้ามาถ่ายทอดประสบการณ์ จริง ซึ่งเป็นประสบการณ์ที่มีคุณค่ามหาศาลอีก ด้วย ➲ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบโดยผู้ทรง คุ ณ วุ ฒิ ที่ มี ป ระสบการณ์ ต รงและผ่ า นการท� ำ หน้าที่ CIO ทั้งภาครัฐและเอกชนมาแล้ว อาทิ ศาสตราจาย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงศ์ ดร.รอม หิรัญพฤกษ์ คุณจันทิมา สิริแสงทักษิณ คุณก�ำพล ศรธนรัตน์ คุณไชยเจริญ อติแพทย์ และอาจารย์ ปริญญา หอมอเนก

หลักสูตร CIO เน้นการสร้าง Core Competency ที่จ�ำเป็นส�ำหรับการเป็น CIO ที่ดี โดย มหาวิทยาลัยได้ออกแบบหลักสูตรเพือ่ น�ำแนวคิด จากทั้ ง ต่ า งประเทศและจากผู ้ เ ชี่ ย วชาญใน ประเทศมาสร้างเป็นหลักสูตรที่เน้นทักษะและ ความรู้ที่จ�ำเป็นดังนี้ Leadership, Policy and Strategy, Investment, Technology and Infrastructure, Governance and Regulation, Business Process, Innovation and Change Management และ Risk and Security “นั ก ศึ ก ษาที่ เ ข้ า มาศึ ก ษาในหลั ก สู ต ร CIO นี้ ส่วนใหญ่เป็นผูท้ ที่ ำ� งานอยูใ่ นสายงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กร แต่ก็มีบางส่วน ก็ไม่ได้ท�ำงานในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแต่ที่ สนใจอยากจะเรี ย นรู ้ เ พื่ อ เปลี่ ย นสายงาน ซึ่ ง นักศึกษาเหล่านี้จบไปก็จะมีหน้าที่บริหารจัดการ สารสนเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุดในองค์การ หลักสูตรของเราก็จะมุ่งพัฒนาทักษะทั้ง 12 ด้าน ตามที่ผู้บริหารด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจะต้อง มีในการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ทางด้านดิจิทัลได้

Vol.22 No.213 January-February 2016

“ในทุกองค์การสามารถน�ำระบบดิจิทัล เข้ามาก่อให้เกิดประโยชน์ได้ประกอบด้วย 2 ปัจจัย นั่นคือ 1. หน่วยงานหรือองค์การต้องสร้าง ขีดความสามารถด้านดิจิทัลให้ได้ ซึ่งเกี่ยวเนื่อง กับการวางระบบไอที ที่จะช่วยในการสร้างความ พึงพอใจให้แก่ลูกค้า ควบคุมกระบวนการผลิต หรือน�ำมาสร้างโมเดลทางธุรกิจใหม่ ๆ 2. ผู้น�ำจะ ต้องมี Digital Leadership นัน่ คือ ผูบ้ ริหารจะต้อง มีวิสัยทัศน์ที่เห็นความส�ำคัญของระบบดิจิทัล และก�ำหนดเป็นภารกิจทีจ่ ะมุง่ ให้เกิดเป็นกิจกรรม ทีน่ ำ� ดิจทิ ลั เข้ามาช่วยส่งเสริมและสนับสนุน และ สามารถขับเคลือ่ นวิสยั ทัศน์นไี้ ปสูเ่ ป้าหมายให้ได้ หลักสูตรการศึกษาของวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่เปิดสอนอยู่ เน้นหนักในเรื่องของการสร้างผู้น�ำองค์การให้มี Digital Leadership เรียกว่า หลักสูตร CIO (Chief Information Officer) คื อ หลั ก สู ต ร นโยบายและการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ นั่นเอง”

37


Special Issue

Vol.22 No.213 January-February 2016

โดยหลั ก สู ต รนี้ รั บ นั ก ศึ ก ษาทุ ก สาขาวิ ช าที่ มี เป้าหมายการท�ำงานสูผ่ บู้ ริหารสูงสุดทางด้านไอที ขององค์ ก ารในอนาคต จากการประเมิ น ผล นักศึกษาที่จบหลักสูตรไปแล้ว 2 รุ่น ส่วนใหญ่ นักศึกษาทีเ่ รียนจะมีงานประจ�ำอยูแ่ ล้วก็สามารถ น� ำ สิ่ ง ที่ เ รี ย นไปต่ อ ยอดสู ่ ก ารปฏิ บั ติ ง านใน ต�ำแหน่งที่ตนเองรับผิดชอบและได้รับการเลื่อน ระดับหน้าทีก่ ารท�ำงานไปอยูใ่ นส่วนงานบริหารที่ อยูใ่ นระดับสูงยิง่ ขึน้ ” และในอนาคตมหาวิทยาลัย มีแผนการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับ การขยายตัวทางด้านดิจิทัล “เราเริ่มสร้างเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ โดยเฉพาะ ประเทศสหรัฐอเมริกา เนือ่ งจากประเทศนีม้ คี วาม แข็งแกร่งในเรื่อง CIO ในภาครัฐค่อนข้างมาก และจะต่อยอดสูก่ ารพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมทาง ด้านเทคโนโลยีใหม่ในประเทศไทยแบบระยะสั้น โดยเรียนเชิญวิทยากรจากต่างประเทศเข้ามาให้ ความรู้ นอกจากนี้เรายังมีความสัมพันธ์อันดี กับมหาวิทยาลัยวาเซดะ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจะมี ความร่วมมือกันในการแลกเปลีย่ นนักศึกษาและ นักวิจยั ทีจ่ ะช่วยต่อยอดให้องค์ความรูใ้ นหลักสูตร เข้มข้นยิ่งขึ้น” ผศ.ดร.จิรพล อธิบายถึงหลักสูตร นโยบายและการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อย่างละเอียด

38

ทิศทางดิจิทัลในอนาคต

ผศ.ดร.จิรพล ยังได้วิเคราะห์ถึงทิศทาง การเจริญเติบโตทางดิจทิ ลั ของประเทศไทยอีกว่า “ทุกวันนี้อินเทอร์เน็ตได้ท�ำลายพรมแดนและ ขอบเขตแล้ว อินเทอร์เน็ตช่วยให้ผู้คนติดต่อ สื่ อ สารกั น ง่ า ยขึ้ น ก่ อ ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย น แนวความคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ แต่ใน อนาคตสิ่งของหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ก็จะติดต่อ สื่ อ สารคุ ย กั น เองได้ เ ช่ น เดี ย วกั น กั บ คนและ นวัตกรรมใหม่ ๆ ก็จะเกิดขึ้นตามมาอีกมากมาย เทคโนโลยีที่สะท้อนถึงเทรนด์ในอนาคตนี้ เช่น Internet of Things หรือ IoT และ Smart Device คื อ สภาพแวดล้ อ มอั น ประกอบด้ ว ยสรรพสิ่ ง ที่สามารถสื่อสารและเชื่อมต่อกันได้ผ่านโพรโทคอลการสื่อสารทั้งแบบใช้สายและไร้สาย โดย

สรรพสิ่งต่าง ๆ มีวิธีการระบุตัวตนได้ รับรู้บริบท ของสภาพแวดล้อมได้ และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบ และท�ำงานร่วมกัน โดยเมื่ออุปกรณ์เครื่องใช้ สิ่งของมีความฉลาดมากขึ้น ก็จะสามารถตอบสนองความต้องการของเราได้ดขี นึ้ และส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของเรา”

การปรับตัวสู่เศรษฐกิจดิจิทัล

ผศ.ดร.จิรพล ได้กล่าวถึงการขับเคลื่อน ประเทศสู่เศรษฐกิจดิจิทัลให้สัมฤทธิ์ผลได้นั้น สิ่งที่ส�ำคัญที่สุด นั่นคือ การพัฒนาคุณภาพของ คนให้มแี นวคิดในการทีจ่ ะน�ำเอาเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาพัฒนาและต่อยอดเพื่อให้เกิดความต้องการ ใหม่ ๆ ได้ “สิ่งที่เราต้องค�ำนึงถึงมากที่สุด คือ คน ทีจ่ ะต้องมีความรูแ้ ละไอเดีย ดังนัน้ เราจึงต้องเร่ง พัฒนาคนให้มีทักษะและความคิดสร้างสรรค์ ใหม่ ๆ เพื่ อ ให้ ส ามารถต่ อ ยอดสู ่ ก ารพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ ที่เป็นที่ต้องการขึ้น มาให้ได้ ช่วยน�ำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มและ ธุรกิจใหม่ให้กับองค์กร ซึ่งวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พร้อมทีจ่ ะร่วมผลักดัน ให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ต่อเนื่องต่อไป” ผศ.ดร.จิรพล กล่าวฝาก


Q

Management for

uality

Finance Marketing & Branding People


Q

Finance for

uality

ทำ�อย่างไรเศรษฐกิจไทยที่

“เสียทรง”

“สมส่ ว น” เพิ ม ่ มากขึ น ้ จะ รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์

อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

การ

เร่งเบิกจ่ายงบประมาณของภาครัฐเป็นเพียงมาตรการ ทายาหม่อง แปะกอเอี๊ยะ เพื่อแก้ปวดหรือการบรรเทา ความเจ็บปวดของปัญหาเศรษฐกิจไทย แต่ไม่ได้แก้ปญ ั หาทีส่ มมติฐาน หรือต้นตอของอาการเจ็บปวด ทั้งนี้เป็นเพราะต่อให้เบิกจ่ายได้รวดเร็วเท่าไหร่ก็ไม่ได้ช่วยใน การกระตุน้ เศรษฐกิจมากนัก เมือ่ พิจารณาจาก “ขนาด” ของงบประมาณ ที่สามารถ “เบิกจ่าย” มาใช้กระตุ้นเศรษฐกิจได้ เพราะงบประมาณในส่วนที่เป็นงบลงทุนมีสัดส่วนที่น้อยมาก เมื่อเทียบกับงบประมาณรวมในแต่ละปีที่ประมาณ 3 ใน 4 ของมูลค่า งบประมาณรวมที่ประมาณ 2.57 ล้านล้านบาท เป็นงบประจ�ำ เช่น เงินเดือนของข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ งบที่ตั้งไว้ใช้หนี้ ทั้งดอกเบี้ยและเงินต้นของหนี้สาธารณะที่รัฐบาลชุดต่าง ๆ ได้ก่อเอา ไว้ และงบค่าวัสดุ ครุภัณฑ์ต่าง ๆ ขณะที่เป็นงบการลงทุนไม่ถึง 20%

40

for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

ของงบประมาณรวม ที่บางส่วนได้เป็นงบผูกพันในโครงการต่าง ๆ ที่ ตั้งเอาไว้ก่อนหน้าแล้ว และไม่สามารถน�ำไปใช้นอกวัตถุประสงค์ได้ ดังนั้น การคาดหวังที่จะใช้งบประมาณหรือการใช้จ่ายของ ภาครัฐกระตุ้นเศรษฐกิจก็จะสามารถใช้ได้อย่างจ�ำกัดในระดับหนึ่ง เท่านั้น เหมือนการใช้ยาหม่องหรือกอเปี๊ยะ ทาหรือแปะอาการป่วยไข้ ที่สุมรุม “สรีระทางเศรษฐกิจ” ของไทยมาหลายขวบปี การใช้จา่ ยของภาครัฐทีเ่ ป็นทีค่ าดหวังกันมากนัน้ แต่ตอ้ งระวัง ในด้านต่าง ๆ คือ 1. อย่าใช้เงินไปในด้านการประชาสงเคราะห์ คือ อย่าท�ำ ให้ประเทศชาติเป็นกรมประชาสงเคราะห์ขนาดยักษ์ที่อุดมไปด้วย “พยาธิปากขอ” คือ แบมือขอหรือ “อ้าปาก” ขอทั้งมหาเศรษฐีและคน ยากจนไทยจะต้องลดจิตวิญญาณยาจกและวณิพกในหมูพ่ ลเมือง แต่ ต้องเพิ่มจิตวิญญาณด้านการพึ่งพาตัวเอง และมีความหยิ่งทะนงใน


ตัวเอง และรู้จักช่วยเหลือตัวเองเป็นปฐมและเป็นหลัก แทนที่จะ “แบมือ” ขอจากผู้อื่น ไม่ว่าผู้อื่นนั้นจะเป็นรัฐบาล (ที่มีเงินได้ก็เพราะ ภาษีจากประชาชน) หรือใคร ๆ ก็ตาม 2. อย่าบิดเบือนกลไกการท�ำงานของเศรษฐกิจ ทีเ่ ป็นเศรษฐกิจ ที่บิดเบือน (distorted economy) ตัวอย่างเช่น บิดเบือนกลไกตลาด (market mechanism distortion) เพราะการบิดเบือนกลไกตลาด ดังกล่าว แม้ว่าอาจจะส่งผลด้านบวกในระยะสั้น ๆ เหมือนการที่ ร่างกายเจ็บปวดแล้วมีการ “รักษาโรค” โดยการทายาหม่องและแปะ กอเอี๊ยะ แทนที่จะมุ่งรักษาสมมติฐานของโรคภัย (ทางเศรษฐกิจ) ที่ ก�ำลังสุมรุมสรีระของประเทศอยู่ 3. การใช้จา่ ยของภาครัฐต้องใช้ไปในการท�ำหน้าทีจ่ ดั ระเบียบ และปรับระบบของเศรษฐกิจไทยทีบ่ ดิ เบีย้ วหรือเป็นโครงสร้างเศรษฐกิจ ที่ “เสียทรง” ให้กลายเป็นเศรษฐกิจที่ “สมส่วน” หรือ “Smart” มากยิ่ง ขึ้น ท�ำให้เกิดเศรษฐกิจที่เป็น “Smart Economy” ไม่ใช่เป็น “Distorted Economy” เช่นที่เป็นกันอยู่ เท่าทีเ่ ป็นอยู่ “รูปธรรม” ของการ “เสียทรง” ของเศรษฐกิจไทย ได้ปรากฏออกมาให้เห็นจากหลากหลายลักษณะ เช่น ประการแรก ในด้านองค์ประกอบของมูลค่า GDP ของไทย ที่ยังมีน�้ำหนักไปพึ่งพา การผลิตเพื่อการส่งออกเป็น “ทัพหลวง” ของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ไทย ทีส่ ง่ ผลให้มลู ค่าการส่งออกของไทยมีสดั ส่วนกว่า 60% ของมูลค่า GDP ขณะทีม่ ลู ค่าการส่งออกรวมของประเทศต่าง ๆ ทัง้ โลก มีสดั ส่วน ประมาณหนึ่งในสี่ของมูลค่า GDP รวมของโลกเท่านั้น ไม่อาจที่จะปฏิเสธได้ว่า การส่งออกมีความส�ำคัญต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศทีใ่ ช้ระบบเศรษฐกิจเปิด (open economy) ซึ่งก็รวมเอาประเทศไทยเราอยู่ด้วย แต่การส่งออกดังกล่าว จะต้องเดินเคียงคูไ่ ปกับการมีขดี ความ สามารถทางการแข่งขัน (competitiveness) ที่เหนือกว่าผลิตภัณฑ์ สินค้าประเภทเดียวกัน ที่ผลิตโดยประเทศคู่แข่งอื่น ๆ

แม้วา่ ต้นทุนการผลิตในด้านต่าง ๆ ไม่วา่ ต้นทุนค่าจ้างแรงงาน ฯลฯ จะเพิ่มสูงขึ้น แต่ถ้าผู้ผลิตสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ตลอดทั้งห่วงโซ่ทางอุปทาน (supply chain) ตั้งแต่การบริหารต้นทุน การผลิต (cost management) การบริหารระบบโลจิสติกส์ (logistics management) และการบริหารการตลาด (marketing management) ฯลฯ ให้มีประสิทธิภาพมากกว่าคู่แข่งอื่น ๆ ก็จะท�ำการรักษาขีดความ สามารถทางการแข่งขัน และการด�ำรงความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (comparative advantage) ยังคงด�ำเนินต่อไปได้ อาการ “เสียทรง” ของเศรษฐกิจไทย ยังปรากฏออกมาให้เห็น “รูปธรรม” อีกหลากหลายประการ เช่น ความด้อยประสิทธิภาพของ การพัฒนาภาคบริการ (service sector) ของไทย หลายคนได้แสดงอาการประหลาดใจว่า ท�ำไมภาคบริการของ ไทยยังสร้างมูลค่า GDP ได้คดิ เป็นสัดส่วนไม่ถงึ 50% ของมูลค่า GDP รวม ทั้ง ๆ ที่ประเทศไทยได้ใช้ระบบเศรษฐกิจที่เปิดกว้างมาแล้วอย่าง ยาวนาน เฉพาะในช่วงหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ไทยก็ได้เปิดกว้างทาง เศรษฐกิจอย่างเต็มที่ในสมัยที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี คือ ประมาณ ค.ศ.1960 เป็นต้นมา ทีร่ ฐั บาลไทยได้มนี โยบาย และมาตรการการด�ำเนินมาตรการเศรษฐกิจเปิดอย่างเต็มที่ เช่น มีการ ตั้ง “สภาพัฒน์” ตั้ง “BOI” ฯลฯ ขึ้นมาท�ำหน้าที่ส่งเสริมการลงทุนทั้ง ของนักลงทุนและต่างประเทศอย่างกว้างขวางและมีมาตรการส่งเสริม มากมาย ไม่เพียงเท่านั้น ในช่วงหลายขวบปีที่ผ่านมา ภาคบริการของ ไทยยังมีการขยายตัวที่ “ติดลบ” ขณะที่การผลิตในภาคเกษตรและ อุตสาหกรรมที่แม้ว่าจะขยายตัวในระดับต�่ำแต่ก็ยังขยายตัวเป็นบวก อยู่ เมือ่ เศรษฐกิจไทยอยูใ่ นสภาวะ “เสียทรง” ขาดความ “สมส่วน” ดังกล่าว จึงไม่น่าแปลกใจว่า ท�ำไมในช่วงประมาณทศวรรษที่ผ่านมา การขยายตัวของตัวเลข GDP ไทยจึงอยู่ในสภาวะ “ตกรถไฟ” ขบวนที่ มีชื่อว่า “อาเซียน” เพราะมีอัตราการขยายตัวเพียงครึ่งเดียวของการ ขยายตัวเฉลี่ยของสมาชิกอาเซียนทั้งกลุ่มเท่านั้น โดยที่ประมาณ ทศวรรษที่ผ่านมา GDP ไทยขยายตัวเฉลี่ยเพียง 3% เล็กน้อย ขณะที่ การขยายตัวเฉลี่ยของสมาชิกอาเซียนรวมอยู่ที่ประมาณ 6%

Vol.22 No.213 January-February 2016

Finance

41


Q

Marketing & Branding for

uality

การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ในหน่วยบริการปฐมภูมิ: บทเรียนจากกรณีศึกษา

ตอนที่

Best Practice ผศ.ดร.พัลลภา ปีติสันต์

วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

ต่อจากฉบับที่แล้ว

นิยามของลูกค้าในบริบทของสาธารณสุข

ลูกค้าและผู้ให้บริการในบริบทของ สาธารณสุขมีความแตกต่างและซับซ้อนจาก ธุรกิจการให้บริการอื่น ๆ โดย Archaryulu (2012) ได้ให้ค�ำนิยามว่าในบริบทของการ จัดการลูกค้าสัมพันธ์ในหน่วยงานสาธารณสุข ลูกค้า หมายความรวมถึง ผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย หรือผูต้ ดิ ตามผูป้ ว่ ยมาเข้ารับการบริการ ตลอดจนถึงผู้เข้ารับบริการอื่น ๆ ส่วนผู้ให้บริการ (service provider) ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล เภสัช เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เครือข่ายปฐมภูมิ (ในกรณีของหน่วยบริการปฐมภูม)ิ (สุพัตรา ศรีวณิชชากร และคณะ, 2545)

42

for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

2

การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการ

ในบริบทของธุรกิจซึง่ มีมมุ มองว่าการ จั ด การลู ก ค้ า สั ม พั น ธ์ เ ป็ น หนึ่ ง ในกลยุ ท ธ์ ส�ำหรับการรักษาลูกค้าเก่า (retain existing customer) สร้างให้เกิดความภักดี (create customer loyalty) รวมไปถึงการหาลูกค้าใหม่ (attract new customer) เพือ่ น�ำไปสูก่ ารสร้าง ผลก�ำไรและส่วนแบ่งทางการตลาด แต่ ใ นบริ บ ทของการจั ด การลู ก ค้ า สัมพันธ์ในผู้ให้บริการด้านสุขภาพนั้นมุ่งเน้น เพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน (mutual understanding) ความเชื่อใจซึ่งกันและกัน

(trust) ลดความรู้สึกของความไม่เป็นมิตร (alienated feeling) และความมีสว่ นร่วมของ ผู้เข้ารับบริการในการตัดสินใจ ดังนั้น ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้ และผู้รับบริการจะน�ำไปสู่ความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ ไม่แต่เพียงเท่านั้นยังช่วยก่อให้ เกิดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างผู้ให้ และผูร้ บั บริการ น�ำไปสูก่ ารเข้ารับบริการอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง ส่ ง ผลต่ อ สุ ข ภาพที่ ดี ขึ้ น ของผู ้ รั บ บริการ คุณภาพชีวิตโดยรวม และช่วยท�ำให้ การบริการจัดการปัญหาสุขภาพเรื้อรังได้อีก ด้วย (Arora, 2003; Almunawar and Anshari, 2012)


Marketing & Branding

การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า ดังนั้น การ ท�ำการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ หรือ Customer Relationship Management: CRM จึงเกิดขึน้ ในองค์การ โดยหลักการของการจัดการลูกค้า สัมพันธ์นั้นเน้นการท�ำงานร่วมกันระหว่าง บุคลากรในองค์การ ตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูง จนถึงพนักงานระดับปฏิบัติการ ผู้ให้บริการ ▼ ตารางเปรียบเทียบมุมมองของ

เองเมื่อเล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการสร้าง ความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ มีการน�ำเทคโนโลยี และระบบการบริหารลูกค้าสัมพันธ์มาใช้ เพือ่ การวิเคราะห์ความต้องการและการส�ำรวจ ข้อมูลของผูเ้ ข้ารับบริการ รวมไปถึงการจัดเก็บ ข้อมูลของผู้เข้ารับบริการก็สามารถที่จะลด ต้นทุนในการบริหารจัดการ เพิม่ ประสิทธิภาพ

CRM แบบเดิมและแบบใหม่

ความเกี่ยวข้อง (connection)

CRM แบบเดิม Industrial Age Medicine มุ่งเน้นความสัมพันธ์แบบปัจเจก (individual) เช่น B2B หรือ B2C มุมมองจำ�กัดอยู่ที่ผู้รับบริการ ความต้องการ และลักษณะนิสัย

CRM แบบใหม่ Information Age Healthcare มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมใน ความสัมพันธ์เครือข่าย (collaborative network) มี ก ารเชื่ อ มต่ อ จากหลายหน่ ว ย เพือ่ ให้เข้าใจผูร้ บั บริการ และชุมชน

คุณค่า (value)

Target Message สร้างคุณค่า

Conversation สร้างคุณค่า

ความสัมพันธ์ (relationship)

ที่มา: Cipriani (2008) และ Almunawar and Anshari (2012)

Vol.22 No.213 January-February 2016

ส� ำ หรั บ ในด้ า นของผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารนั้ น หากการจัดการความสัมพันธ์เป็นไปได้อย่าง ดีจะช่วยท�ำให้ผู้ให้บริการสามารถพัฒนาให้ เกิดคุณภาพของการบริการ รวมถึงก่อให้เกิด บริการใหม่ที่จะช่วยตอบโจทย์ให้ผู้เข้ารับ บริการมากยิ่งขึ้น (Yina, 2010) เมื่อเปรียบเทียบกับการจัดการลูกค้า สัมพันธ์ในบริบทของการให้บริการในเชิงธุรกิจ การจัดการลูกค้าสัมพันธ์นั้นนับว่ามีความ ท้าทายอย่างมาก ทั้งนี้เนื่องมาจากการที่ต้อง มีความเกี่ยวข้องกับผู้ป่วย ความซับซ้อนของ งานด้านการสาธารณสุขเอง (complexity of healthcare industry) รวมถึงการเปลีย่ นแปลง ของการสาธารณสุขจาก “Industrial Age Medicine” ไปสู่ “Information Age Healthcare” (Almunawar and Anshari, 2012; Smith, 1997) อันจะท�ำให้รูปแบบของการจัดการ ลูกค้าสัมพันธ์มีความเปลี่ยนแปลงไป จากแนวคิดของการให้ความส�ำคัญ กับลูกค้า (customer centric) ส่งผลให้เกิด

43


Marketing & Branding ของการจัดการข้อมูล ตลอดจนบริหารจัดการ องค์ความรูข้ ององค์การได้มปี ระสิทธิภาพมาก ยิง่ ขึน้ อันจะเป็นการน�ำไปสูป่ ระสิทธิภาพของ โลจิสติกส์และโซ่อุปทานในโรงพยาบาลโดย รวม (Naidu, et al., 1999; Hung, et al. 2009) ส� ำ หรั บ หน่ ว ยงานบริ ก ารด้ า นสาธารณสุขการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ จะช่วยเพิม่ คุณภาพของการให้บริการ (increase service quality) (Chahal and Kumari, 2011; Laohasirichaikul, Chaipoopirutana and Combs, 2011) ในโลจิ ส ติ กส์ แ ละห่ วงโซ่ อุปทานให้ดขี นึ้ ซึง่ การพัฒนาคุณภาพของการ ให้บริการถือเป็นหัวใจหลักอย่างหนึ่งที่จะท�ำ ให้การด�ำเนินงานประสบความส�ำเร็จ อันจะ เป็นการตอบสนองความคาดหวังของผูเ้ ข้ารับ บริการได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดความพึงพอใจ (satisfaction) อันจะน�ำไปสูผ่ ลก�ำไรใน การบริการงาน จากการกลับมาใช้บริการซ�้ำ ความภักดี (loyalty) จากผูท้ เี่ คยใช้บริการ รวม ไปถึงการบอกต่อถึงภาพลักษณ์ (brand image) และชื่อเสียงที่ดีของหน่วยงาน (Chahal and Kumari, 2011; Hung, et.al., 2009; Srivoravilai, et.al., 2011)

เอกสารอ้างอิง 1. สุพตั รา ศรีวณิชชากร และคณะ (2545) บริการปฐมภูมิ: บริการสุขภาพใกล้ใจและใกล้บ้าน. นนทบุ รี : ส� ำ นั ก งานโครงการปฏิ รู ป ระบบบริ ก าร สาธารณสุขกระทรวงสาธารณสุข 2. Acharyulu, G. V. R. K. (2012). Leveraging Customer Relationship Management (CRM) in Corporate Hospital Supply Chain, The IUP Journal of Supply Chain Management, 9 (1), 72-87. 3. Almunawar, M. N. & Anshari, M. (2012). Improving Customer Service in Healthcare with CRM 2.0. Global Science and Technology Forum (GTSF) Business Review, 1(2), 228-234. 4. Arora, N.K. (2003). Interacting with Cancer Patients: the Significant of Physicians Communication Behavior, Social Science& Medicine, 57 (2003), 791-806. 5. Cipriani, F. (2008). Social CRM; Concept, Benefits and Approach to Adopt, Retrieved from http://www.slideshare.net/fhcipriani/ soc ial-crm-presentation-761225. 6. Chahal, H. & Kumari, N. (2011). Evaluating Customer Relationship Dynamics in Healthcare Sector through Indoor Patients’ Judgment, Management Research Review, 34(6), 626-648.

7. Hung, S., Hung, W, Tsai, C. & Jiang, S. (2009). Critical factors of Hospital Adoption on CRM System: Organizational and Information System Perspectives, Decision Support Systems, 48(2010), 592-603. 8. Laohasirichaikul, B., Chaipoopirutana, S. & Combs, H. (2011). Effective Customer Relationship Management of Health Care: A Study of Hospitals in Thailand. Journal of Management and Marketing Research, 6 (January 2011), 1-12. 9. Naidu, G. M., Parvatiyar, A., Sheth, J. N. & Westgate, L. (1999). Does Relationship Marketing Pay? An Empirical Investigation of Relationship Marketing Practices in Hospitals. Journal of Business Research, 46(3), 207–218. 10. Smith, R. (1997). The Future of Healthcare Systems: Information Technology and Consumerism will Transform Health Care Worldwide. BMJ, 314(7093): 1495–1496. 11. Srivoravilai, N., Melewar, T. C., Liu, M. J., and Yannopoulou, N. (2011). Value Marketing through Corporate Reputation: An Empirical Investigation of Thai Hospitals. Journal of Marketing Management. 27 (3/4), 243-268. 12. Yina, W. (2010). Application of Customer Relationship Management in Health Care. Multimedia and Information Technology (MMIT) 1 (2010), 52-55.

Vol.22 No.213 January-February 2016

อ่านต่อฉบับหน้า

44


Q

Marketing & Branding for

uality

กิจการเพื่อสังคม....ไม่หวังผลกำ�ไรจริงหรือ กรณีศึกษาร้าน Green Ladies ฮ่องกง

จิตอุษา ขันทอง

สวัสดี

ท่านผู้อ่านทุกท่าน ในปัจจุบันนี้กิจการเพื่อสังคม (social enterprise) ก�ำลังเป็นที่รู้จักและแพร่หลายในประเทศไทยมากขึ้น ซึ่งผู้อ่านบางท่านอาจจะก�ำลังสงสัยว่า กิจการเพื่อสังคมนั้นคืออะไร ประกอบธุรกิจแบบไหน แล้วถ้าเค้าท�ำ กิจการเพื่อสังคม เค้าจะไม่ต้องการก�ำไรเลยจริงหรือ แม้แต่ตัวผู้เขียน เอง เมื่อได้ยินค�ำว่ากิจการเพื่อสังคมครั้งแรกก็ยังสับสนว่าเป้าหมาย ที่แท้จริงของการด�ำเนินกิจการเพื่อสังคมคืออะไร ต่างจาก CSR ที่ได้ เราได้ยินกันอยู่บ่อย ๆ หรือไม่ ต้องการก�ำไรไหม ถ้าเป็นเพื่อสังคมแล้ว ก็น่าจะเป็นกิจการที่ไม่มุ่งหวังก�ำไรเป็นแน่แท้ เมื่อได้ศึกษามากขึ้นจึง ได้รู้ว่าสิ่งที่ผู้เขียนเข้าใจในตอนแรกช่างไม่ถูกต้องเอาเสียเลย หากเราพูดเกี่ยวกับเรื่องของธุรกิจ เราก็มักนึกภาพถึงกิจการ ใดๆ ก็ตามทีม่ กี ารด�ำเนินธุรกิจโดยเน้นทีผ่ ลก�ำไรจากการประกอบธุรกิจ เป็นหลัก ผู้ที่จะได้รับผลประโยชน์จากผลก�ำไรนั้นก็ต้องเป็นเจ้าของ

อาจารย์ประจำ�ภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ E-mail: jitusa@g.swu.ac.th

กิจการ หรือผูถ้ อื หุน้ และเพือ่ เป็นการสร้างภาพลักษณ์ทดี่ ขี องกิจการให้ ลูกค้าหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับรู้ กิจการก็จะจัดโครงการเพื่อแสดง ให้เห็นถึงความรับผิดชอบต่อสังคมด้วยการดูแลเอาใจใส่สิ่งแวดล้อม ร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม รับผิดชอบต่อผู้บริโภค หรือประกอบธุรกิจ ด้วยความเป็นธรรม ซึ่งสิ่งเหล่านี้ท่านผู้อ่านคงคุ้นเคยกันดีว่าเป็นส่วน หนึ่งของ CSR (corporate social responsibility) หรือการแสดงความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมนั่นเอง หากแต่กิจการเพื่อสังคม แตกต่างจาก CSR ตรงที่ กิจการเพือ่ สังคมมีเป้าหมายของการประกอบ ธุรกิจเพื่อประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก เป็นการสร้าง ความสมดุลระหว่างผลก�ำไรที่กิจการได้รับให้กลับคืนมายังสังคม เน้น การสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือวิธีการใหม่ ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาสังคมด้าน ต่าง ๆ ที่มีอยู่ให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืน เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว ท่านผู้อ่านก็จะเห็น ได้ว่า กิจการเพื่อสังคมก็เป็นองค์การธุรกิจที่แสวงหาก�ำไรจากการ for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

45


Marketing & Branding

Vol.22 No.213 January-February 2016

ประกอบธุรกิจเหมือนองค์กรที่มุ่งหวังก�ำไรโดยทั่วไป เพียงแต่ผลก�ำไร ไม่ใช่เป้าหมายสูงสุดของกิจการเพื่อสังคม หากแต่การท�ำก�ำไรนั้น นอกจากเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจแล้ว เป้าหมายหลักคือการพัฒนา และแก้ไขปัญหาสังคมในด้านต่าง ๆ เช่น กลุ่มคนด้อยโอกาส ผู้สูงอายุ ด้านการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อม ให้มีความยั่งยืนตลอดไป จากสิ่งที่ผู้เขียนได้เล่าให้ฟังข้างต้น ท่านผู้อ่านคงอยากรู้แล้ว ใช่ไหมว่ากิจการเพื่อสังคมมันเป็นอย่างไร แล้วบริษัทใดที่ท�ำกิจการ เช่นนัน้ เพือ่ ให้เห็นภาพทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้ ผูเ้ ขียนขอยกตัวอย่างกิจการเพือ่ สังคมแห่งหนึ่งที่ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าไปเยี่ยมชมและเลือกซื้อสินค้า จากร้านค้าแห่งนี้ ซึ่งเป็นร้านขายเสื้อผ้าและสินค้าแฟชั่นมือสอง เวลา ที่เราพูดถึงร้านขายสินค้ามือสอง หลาย ๆ คนมักจะนึกถึงความเก่าล้า สมัยของสินค้าหรือสภาพของร้านที่ไม่น่าเข้าไปเลือกชม หากแต่ร้าน ขายสินค้าแฟชั่นมือสอง “Green Ladies” ที่ฮ่องกงกลับไม่เป็นเช่นนั้น เพราะที่นี่เป็นร้านขายเสื้อผ้าและสินค้าแฟชั่นมือสองของสุภาพสตรีที่ มีการตกแต่งร้านอย่างโดดเด่น พร้อมสินค้าแฟชัน่ มากมายหลากหลาย ชนิดที่มีคุณภาพดี สวยงามและทันสมัย ไม่ว่าจะเป็นเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้า หรือเครือ่ งประดับต่าง ๆ ทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกมาเป็นอย่างดีจาก ทีมงานของร้านก่อนน�ำออกมาวางจ�ำหน่าย และหากวันนั้นท่านผู้อ่าน โชคดีเหมือนผูเ้ ขียนก็มโี อกาสทีจ่ ะเจอกระเป๋ามือสองยีห่ อ้ ดังใบสวยวาง ขายในร้านนี้ด้วยราคาที่น่าคบหาก็เป็นได้ ร้าน Green Ladies ก่อตั้งโดย St. James’ Settlement ซึ่งเป็น องค์กรการกุศล ในปี พ.ศ.2551 เป็นแนวธุรกิจเพือ่ สังคมเชิงนิเวศ (eco social enterprise) ทีม่ รี ปู แบบการด�ำเนินธุรกิจในลักษณะของการฝาก ขายสินค้าเป็นรายแรกในฮ่องกง วัตถุประสงค์หลักของการก่อตั้ง คือ การช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมโดยการจ�ำหน่ายสินค้าแฟชั่นมือสองควบคู่ ไปกับการช่วยเหลือสังคมจากรายได้ของการขายสินค้า ซึ่งจะมีผู้ได้รับ ประโยชน์ 3 กลุ่มจากการด�ำเนินธุรกิจนี้ภายใต้แนวคิด “3 Wins Eco” ได้แก่ 1. ผู้ฝากขาย (consignor wins) เน้นที่กลุ่มลูกค้าสุภาพสตรี ที่มีเสื้อผ้า เครื่องประดับเหลือใช้ จึงเป็นโอกาสอันดีที่สามารถสร้าง รายได้จากการขายสินค้ามือสองของตัวเอง แม้จะไม่มากแต่ก็เป็นการ ไม่ทิ้งสิ่งของเหล่านั้นไปอย่างเปล่าประโยชน์

46

2. ลูกค้า (customer wins) ได้มโี อกาสเลือกซือ้ สินค้าคุณภาพ ดี สวยงาม ทันสมัยในราคาย่อมเยา และยังเป็นการสร้างนิสัยที่ดี เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยการเลือกใช้สินค้ามือสองอีกด้วย 3. สังคม (society wins) ธุรกิจนีม้ องถึงประโยชน์ทกี่ ลับคืนไป ยังสังคม โดยเน้นที่การดูแลสิ่งแวดล้อมจากสินค้ามือสอง เช่น การรับ บริจาคถุงกระดาษทีใ่ ช้แล้วเพือ่ น�ำกลับมาใส่สนิ ค้าให้ลกู ค้าแทนการซือ้ ถุงใหม่ หรือการรับบริจาคเสือ้ ผ้า เครือ่ งประดับทีช่ ำ� รุดเพือ่ น�ำไปรีไซเคิล ให้เกิดประโยชน์ด้านอื่น ควบคู่ไปกับการเน้นการสร้างงานให้กับกลุ่ม สุภาพสตรีวัยกลางคนเพื่อยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึ้นจากการมี งานท�ำ แนวทางการด�ำเนินธุรกิจที่ส�ำคัญของร้าน Green Ladies คือ การรั บ ฝากขายสิ น ค้ า แฟชั่ น มื อ สองของสุ ภ าพสตรี ที่ มี คุ ณ ภาพดี สภาพดี สวยงาม ทันสมัย (ไม่นานเกินกว่า 3 ปี) ภายใต้สโลแกน “Secondhand Fashion, Valuable Fashion” แต่ก็มีข้อจ�ำกัดของสินค้าบาง ประเภทอยู่บ้าง ซึ่งสินค้าเหล่านี้ทางร้านจะไม่รับฝากขาย เช่น เสื้อผ้า สุภาพบุรุษ เสื้อผ้าเด็ก ชุดนอน ชุดชั้นใน หรือเสื้อผ้าที่ทางร้านเล็งเห็น ว่าไม่เหมาะสมต่อการวางขาย เมื่อมีการรับฝากขายสินค้าก็จะมีการ เซ็นสัญญาข้อตกลงกันระหว่างผู้ฝากขายกับทางร้าน โดยทางร้านจะ น�ำสินค้าออกวางขายให้เป็นระยะเวลาประมาณ 2 เดือน เพื่อให้ลูกค้า ที่แวะมาเป็นประจ�ำได้เลือกซื้อสินค้าแบบใหม่ ๆ อยู่เสมอ เมื่อครบ ก�ำหนดระยะเวลาและสินค้ายังไม่สามารถขายได้ กรรมสิทธิ์ในสินค้า จะตกเป็นของทางร้านทันทีซงึ่ ทางร้านมีสทิ ธิทจี่ ะลดราคาสินค้าเพือ่ ขาย หรือสามารถน�ำไปบริจาคให้มลู นิธิ องค์กรการกุศลต่าง ๆ เพือ่ ช่วยเหลือ สังคมต่อไป โดยผูฝ้ ากขายไม่มสี ทิ ธิทจี่ ะเรียกสินค้านัน้ กลับคืนเมือ่ ครบ ก�ำหนดระยะเวลาตามข้อตกลงแล้ว แต่ถา้ สินค้าสามารถขายออกไปได้ ภายในระยะเวลาทีก่ ำ� หนด ก็จะมีขอ้ ตกลงเกีย่ วกับการแบ่งผลตอบแทน กันระหว่างร้านและผูฝ้ ากขายในอัตรา 70:30 ของผลก�ำไร โดยทางร้าน


จะโอนเงินเข้าบัญชีของผู้ฝากขายภายในเดือนถัดไป แต่ทั้งนี้เนื่องจาก ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการร้านที่ค่อนข้างสูง ทางร้านก็จะมีการ เชิญชวนให้ผู้ฝากขายเลือกรับผลตอบแทนเพียง 10-20% ของผลก�ำไร หรือเลือกทีจ่ ะไม่รบั เงินใด ๆ และบริจาครายได้จำ� นวนนัน้ ให้กบั ทางร้าน เพื่อน�ำเงินจ�ำนวนนั้นไปช่วยเหลือสังคมต่อไป มาถึงตรงนี้ ท่านผูอ้ า่ นคงเห็นแล้วว่า Green Ladies แม้จะเป็น กิจการเพื่อสังคม แต่หลักของการประกอบธุรกิจไม่ได้แตกต่างไปจาก ธุรกิจที่มุ่งหวังก�ำไรโดยทั่วไปเลย นั่นคือ ทางร้านยังคงมีค่าใช้จ่ายใน การด�ำเนินธุรกิจและการบริหารงาน วัตถุประสงค์ของการประกอบธุรกิจ ยังคงเป็นการหารายได้และการท�ำก�ำไรจากสินค้าทีร่ บั ฝากขาย แม้จะมี ผลตอบแทนให้กบั ผูฝ้ ากขายแต่กใ็ นสัดส่วนทีน่ อ้ ยกว่ามากเมือ่ เทียบกับ สัดส่วนผลตอบแทนทีท่ างร้านได้รบั รวมถึงเงือ่ นไข ๆ ต่างในการรับฝาก ขาย ก็เอื้อต่อการหมุนเวียนของสินค้าภายในร้านเพื่อสร้างรายได้จาก การขายให้มากขึ้น นอกจากนี้ยังมีเทคนิคของการจูงใจให้ผู้ฝากขาย เลือกรับอัตราผลตอบแทนทีน่ อ้ ยกว่าหรือไม่รบั ผลตอบแทนเลย ซึง่ ล้วน แต่เป็นการหาก�ำไรกลับคืนให้ทางร้านทั้งสิ้น หากแต่กิจการเพื่อสังคม นั้นมีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากกิจการมุ่งหวังก�ำไรทั่วไปดังที่ผู้เขียน

ได้กล่าวไว้ในตอนต้นตรงที่ การด�ำเนินงานของกิจการเพื่อสังคมมีการ ค�ำนึงถึงผลประโยชน์กลับมายังสังคมเป็นหลัก เป้าหมายของการสร้าง ก�ำไรจากการประกอบธุรกิจไม่ได้เน้นการคืนก�ำไรให้เจ้าของกิจการหรือ ผู้ถือหุ้น หากแต่เป็นการน�ำผลก�ำไรที่ได้กลับมาช่วยเหลือชุมชน สังคม หรือสิง่ แวดล้อม โดยเน้นการช่วยเหลือและการแก้ไขปัญหาแบบยัง่ ยืน ให้คนในชุมชนสามารถดูแลและเลี้ยงตัวเองได้ในระยะยาว หรือหาก เป็นเรือ่ งของสิง่ แวดล้อมก็จะค�ำนึงถึงการดูแลไม่ให้เกิดผลกระทบใด ๆ ต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาวเช่นกัน ร้าน Green Ladies เป็นเพียงแค่ตัวอย่างหนึ่งของกิจการเพื่อ สังคมที่ผู้เขียนยกตัวอย่างมาเท่านั้น ทั้งในประเทศไทยเองและต่าง ประเทศ ยังมีกจิ การเพือ่ สังคมทีน่ า่ สนใจอีกมากมายและมีลกั ษณะของ การประกอบธุรกิจที่แตกต่างกันออกไป หากท่านผู้อ่านสนใจอยากจะ ท�ำธุรกิจไปพร้อม ๆ กับการช่วยเหลือสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วยแล้ว แนวทางการด�ำเนินธุรกิจแบบกิจการเพือ่ สังคมก็เป็นสิง่ ทีน่ า่ สนใจและ น่าศึกษาให้ลึกซึ้งมากทีเดียว ถ้ามีโอกาสผู้เขียนจะขอมาเล่าเกี่ยวกับ กิจการเพือ่ สังคมทีด่ ำ� เนินกิจการทัง้ ในประเทศไทยและต่างประเทศ ว่า มีธุรกิจอะไรบ้างที่น่าสนใจแล้วน�ำผลก�ำไรที่ได้ไปช่วยเหลือสังคมใน ด้านไหนกันบ้าง ส�ำหรับฉบับนี้ขอกล่าวค�ำว่า....สวัสดี

Vol.22 No.213 January-February 2016

Marketing & Branding

47


Q

Marketing & Branding for

uality

Internal Customer และ External Customer (ลูกค้าภายใน และลูกค้าภายนอก ที่ธุรกิจต้องเข้าใจอย่างยิ่ง) ดร.ธเนศ ศิริกิจ

ผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาการวางแผนกลยุทธ์การตลาด/ อาจารย์ในระดับปริญญาโทหลายสถาบัน นักวิชาการ และวิทยากรทั้งภาครัฐและเอกชน Email: s_thaneth@yahoo.com

ปัจจุบัน

มี ห ลายองค์ ก าร ยังไม่เข้าใจค�ำว่า ลูกค้า ภายใน (internal customer) และลูกค้า ภายนอก (external customer) และยังบริหาร ผิด ๆ ขออนุญาตหยิบประเด็นนี้มาอีกสักครั้ง เพราะจากการไปบรรยายหลายที่ยังคิดมอง ลูกค้าภายนอกเป็นหลักเท่านั้น ในบทความนี้ จึงใคร่ขอแนะน�ำว่าเราควรแบ่งสัดส่วนว่าต้อง ให้ความสนใจลูกค้าภายในและลูกค้าภายนอก เท่าไหร่ ในที่นี้จึงขอเรียนว่า คงบอกไม่ได้ว่า เราจะให้สดั ส่วนแก่ลกู ค้าภายในและภายนอก เท่าไหร่ แต่ขึ้นอยู่กับธุรกิจของท่านมากกว่า ถ้าเป็นธุรกิจที่มีกระบวนการภายในมากโดย

48

for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

ไม่ได้สัมผัสกับลูกค้าภายนอกก็ต้องให้ความ ส�ำคัญกับกระบวนการภายในเป็นหลัก “ดังนั้น ต้องระบายสีให้ถูกจุดนั่นเอง อย่างไรก็ตาม เมื่อธุรกิจหรือ Business ยัง ต้องใช้คนหรือ People ในการขับเคลื่อน องค์ ก าร คงต้ อ งให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ลู ก ค้ า ภายในด้วยเหมือนกัน” พูดมาถึงตรงนี้ขอให้ความหมายพอ สังเขป ถือเป็นการทบทวนก็แล้วกัน จากการ ไปบรรยายหลาย ๆ ที่ พบว่า ผู้ประกอบการ บางท่านยังไม่เข้าใจ ➲ ลูกค้าภายใน (internal customer) คือ บุคลากรในทุกส่วนกระบวนการที่ เชื่อมโยงกันในการท�ำงาน กล่าวง่าย ๆ คือ

บุคลากรหรือผู้ที่ท�ำงานในองค์การไม่ว่าจะ เป็นใครก็ตาม แม้แต่บริษัทภายนอกที่ท่านว่า จ้างให้มาท�ำงานในองค์การของท่าน เพราะ เขาเหล่านั้นเป็นฟันเฟืองที่ส�ำคัญที่น�ำพาหรือ ส่งมอบผลผลิตให้ถงึ มือลูกค้าอย่างมีคณ ุ ภาพ ทั้งผลิตภัณฑ์และบริการ หลายองค์การมุง่ แต่ผลส�ำเร็จเพือ่ ให้ ได้ก�ำไร มุ่งเงินเป็นหลัก แต่ไม่เคยปรับปรุง กระบวนการภายใน การมองบุคลากรภายใน เป็น “ต้นทุน” คงไม่ใช่ค�ำตอบ แต่ควรมอง เสมือนว่า “People” คือ “สินทรัพย์ หรือ Asset” คือ สิ่งที่มีคุณค่า สินทรัพย์ขึ้นอยู่กับว่าท่าน จะท�ำลายหรือเก็บรักษา และลูกค้าภายในจะ เป็นผู้ที่ก�ำหนดในเรื่อง 3P (Product, Pro-


Marketing & Branding

เพื่อนพี่น้องเหล่านี้ ก็คือ External Customer ส่วนใหญ่จะมีแนวคิด คือ Customer Focus แต่ตอ้ ง Focus ให้ถกู จุดด้วย ซึง่ ลูกค้าภายนอก สิง่ ทีจ่ ะได้รบั และเห็น คือ 4P’ (Product, Price, Place, Promotion) และต้องเชื่อมโยงกับ 4C’S นั่นก็คือ

Product Customer Solution (ความต้องการลูกค้า) ➲ Price Customer Cost (ต้นทุน ลูกค้า) ➲ Place/Distribution Convenience (ความสะดวก) ➲ Promotion Mix Communication (การสื่อสาร) คงจะได้เห็นความชัดเจนบ้างในเรื่อง ของ ลูกค้าภายใน (internal customer) และ ลูกค้าภายนอก (external customer) พอ สังเขป ความส�ำเร็จของธุรกิจไม่ใช่สิ่งที่เห็น ภายนอกอย่างเดียว แต่สิ่งส�ำคัญ คือ คน ภายในองค์ ก ารจะต้ อ งเป็ น ผู ้ ผ ลั ก ดั น ด้ ว ย ดังนัน้ Idea และ Innovation จะถูกแสดงออก มาได้ก็คงต้องขึ้นอยู่กับ “ศาสตร์” และ “ศิลป์” ของผูบ้ ริหารอย่างไรทีจ่ ะดูแล “สินทรัพย์” ของ ท่านนั่นเอง ติ ด ตามข้ อ มู ล ดี ๆ ได้ ใ นบทความ ต่อไป

Vol.22 No.213 January-February 2016

cess, People) นั่นเอง ➲ Product ผลิตภัณฑ์ จะเกิดค�ำว่า แตกต่างหรือ Differentiation ได้ ก็ต้องเกิด จาก Idea หรือ Concept จากคนภายใน “Innovation จะเกิดได้ต้องมี Motivation” ซึ่งก็ คือคนภายในเช่นกัน ➲ Process ความรวดเร็ว ปลอดภัย ทันเวลา และแก้ไขได้ ก็คงไม่พ้นเรื่องคน หรือ People กระบวนการที่ ดี ต ้ อ งเกิ ด จากคน ภายในที่ต้องมี Teamwork ด้วย ถ้า Team ไม่ Work งานก็คงไม่ Work อย่างแน่นอน ➲ People บุคลากรเป็นเรื่องของคน ดังนัน้ ท�ำงานทีเ่ กีย่ วข้องกับคนจึงเป็นเรือ่ งของ ความรู้สึก ดังนั้น จึงมีในเรื่องของ Feeling, Emotional ผูป้ ระกอบการหรือผูบ้ ริหารจึงต้อง มี Programs ที่ออกแบบอย่างชัดเจนและ เป็นจริงให้บุคลากรอยู่กับองค์การด้วยความ เชื่อมั่นและเชื่อถือ โดยให้ความส�ำคัญกับ 3R (Reward = รางวัล แรงจูงใจ Recognition = การสร้างการยอมรับ Remove Barrier = การ ขจัดอุปสรรคและแก้ปัญหาอย่างจริงจัง) ➲ ลูกค้าภายนอก (external customer) คือ ผู้ที่รับสินค้าและบริการของธุรกิจ ผูร้ บั บริการ ผูท้ ซี่ อื้ สินค้า หรือแม้แต่ผทู้ เี่ กีย่ วข้อง กับผูท้ ซี่ อื้ สินค้าและบริการก็ตาม จะเป็นญาติ

49


Q

People for

uality

เพิ่มประสิทธิภาพงาน หลาย

คนอาจสงสั ย ว่ า การที่ บางคนไปปฏิบัติงานใน แต่ละวันไม่รู้ว่าไปจัดการเรื่องอะไร แต่ที่รับรู้ กัน คือ ไปท�ำงาน ค�ำว่า “งาน” มีความหมาย ทั้งแบบกว้างและแบบแคบ แบบกว้าง เช่น งานราชการ งานบริษัท งานธุรกิจ หรืองาน ส่วนตัว แต่ถ้าเป็นคนชอบสงสัยจะไม่หยุด ความคิดเพียงเท่านี้เขาจะตั้งค�ำถามต่อไป ว่าที่ไปท�ำงานนั้นลักษณะงานเป็นอย่างไร การถามเช่นนี้เป็นการมองงานแบบแคบและ มีความคิดวิเคราะห์ ในทางวิชาการเรียกว่า การวิเคราะห์งาน (job analysis) ค�ำถามเช่นนี้ อาจได้ค�ำตอบหลากหลาย บางคนบอกว่าไป จั ด การงานตามที่ ถู ก มอบหมาย บางคน บอกว่าไปจัดการเรือ่ งเงิน บางคนเป็นผูบ้ ริหาร

50

for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

ดร.ประเวศน์ มหารัตน์สกุล

ผู้จัดการฝ่ายบริหารงานกลาง สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ

ด้วยการจัดการความรู้ บอกว่าไปจัดการทั้งคน งาน และเงิน บางคน บอกว่าไม่ได้จัดการคนที่มีอวัยวะครบ 32 ประการ หากแต่จัดการทุนมนุษย์ (human capital) ซึง่ หมายถึงความรู้ ประสบการณ์และ ทักษะของพนักงาน จะเห็นว่าความเข้าใจขึ้น อยูก่ บั มุมมองของแต่ละคนทีม่ ฐี านความรูต้ า่ ง กัน ถ้าวิเคราะห์ให้ละเอียดลึกลงไปแล้วไม่วา่ จะจัดการคน งาน วัสดุอุปกรณ์หรือเงิน ล้วน ต้องการให้บรรลุเป้าหมายขององค์การเหมือน กัน มองลึกลงไปสิ่งที่อยู่เบื้องหลังของการ จั ด การคน งาน วั ส ดุ อุ ป กรณ์ แ ละเงิ น คื อ “ความรู้” ที่ต้องจัดการ หรือที่เรียกว่า การ จัดการความรู้ (knowledge management: KM) มาถึงตรงนี้จึงอยากรู้ต่อไปว่าความรู้ที่ ต้องจัดการอยู่ตรงส่วนใดของตัวคน องค์การ

หรืออยู่ที่ใบปริญญาบัตร พูดให้งงไปกันใหญ่ และเชื่อว่าคนส่วนใหญ่เมื่อพูดถึงความรู้จะ เข้าใจทันทีวา่ คือความรูท้ ไี่ ด้ศกึ ษาเล่าเรียนมา ความเข้าใจเช่นนี้อาจไม่ถูกต้องทั้งหมด ถ้า ถามว่าข้อมูลสารสนเทศและความรู้ต่างกัน อย่างไร ชักไม่แน่ใจว่าที่บอกว่าเข้าใจความรู้ มาก่อนหน้านั้นเอาเข้าจริงเข้าใจหรือไม่ ยัง เป็นที่สงสัยอยู่ ผู ้ เ ขี ย นจึ ง อยากชวนท่ า นท� ำ ความ เข้ า ใจความรู ้ ที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ องค์ ก ารที่ ต ้ อ ง จัดการ และมิใช่ง่ายนักที่จะจัดการ เนื่องจาก พนักงานมีความเข้าใจในความรู้ไม่เท่ากัน พนักงานบางคนแยกแยะไม่ได้ว่าสิ่งใดเป็น ความรู้ สิ่งใดเป็นสารสนเทศ (information) สิ่งใดเป็นข้อมูล (data) หากไม่เข้าใจความ


People แตกต่างของค�ำเหล่านี้การจัดการองค์การ การท�ำงานร่วมกัน การสือ่ สารในองค์การอาจ มีปัญหาตามมา และเป็นความเสี่ยงในการ ด�ำเนินงานขององค์การอย่างหนึง่ ไม่ได้กล่าว เกินเลย ลองจินตนาการถึงการประชุมทีม่ กี าร ถกเถียงปัญหา ถ้าเสียงส่วนใหญ่ในที่ประชุม แยกแยะไม่ได้ว่าสิ่งใดเป็นข้อมูล สิ่งใดเป็น สารสนเทศ และสิง่ ใดเป็นความรู้ ผลสรุปทีไ่ ด้ จึงมิใช่ข้อสรุปที่ดีที่สุด หากคิดขยายผลไปถึง การวางแผนธุรกิจ การวางแผนกลยุทธ์ ผล ที่ ต ามมาจะได้ แ ผนที่ ข าดความแหลมคม เนื่องจากการตัดสินใจมีฐานคิดมาจากข้อมูล สารสนเทศ หาใช่ความรูไ้ ม่ เห็นไหมล่ะ ความ เข้าใจความรู้ไม่ตรงกันกระเทือนถึงความ ส�ำเร็จขององค์การเลยทีเดียว ความรู้มีความแตกต่างจากข้อมูล สารสนเทศอย่างไร จ�ำเป็นต้องมาท�ำความ เข้าใจความหมายของความรู้ ความรู้ของ องค์การและจะจัดการความรูเ้ หล่านัน้ อย่างมี ประสิทธิภาพท�ำได้อย่างไร มาดูกัน

(model) “ความเชี่ ย วชาญ” (expertise) หมายถึง การให้ค�ำแนะน�ำได้เร็วและถูกต้อง การอธิบายความได้ถูกต้อง การตัดสินว่าสิ่งใดเป็นผลลัพธ์และความมีเหตุผล ระดับที่มี คุณค่าสูงสุด คือ “ความสามารถ” (capability) ซึ่ งหมายถึง การจั ด ระบบความเชี่ ยวชาญ การบู ร ณาการผลงานเพื่ อ สร้ า งระบบหรื อ ความสามารถหลัก (core competence) การจัดการองค์การไม่วา่ จะเป็นหน้าที่ งานผลิต (line function) เช่น งานวิศวกรรม งานผลิต งานคุณภาพ ฯลฯ หรืองานหน้าที่ สนับสนุน (staff function) เช่น งานบุคคล งาน บัญชี งานพัสดุ งานธุรการ ฯลฯ ล้วนเป็นการ จัดการความรูท้ งั้ สิน้ และการจัดการความรูไ้ ด้ ดีต้องรู้จักความรู้คืออะไรก่อน (know-what) เมือ่ รูแ้ ล้วจึงคิดต่อว่าจะจัดการอย่างไร (knowhow) ที่ไหน (know-where) ท�ำไมจึงต้อง จัดการ (know-why) ในชีวิตการท�ำงานจริง จะพบเห็นพนักงานชอบจัดการข้อมูลและ สารสนเทศมากกว่าที่จะจัดการความรู้ ท�ำให้

การด�ำเนินงานองค์การไม่มปี ระสิทธิภาพเท่าที่ ควรจะเป็น ดังสุภาษิตที่ว่า “เกาไม่ถูกที่คัน”

ความหมายของการจัดการความรู้

การจั ด การความรู ้ เ ป็ น การจั ด การ อย่างเป็นระบบ แสดงออกมาโดยการประยุกต์ ใช้ความรู้เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญในการ ปฏิบตั งิ านให้ได้ผลตอบแทนจากการใช้ความ รู้ ผลตอบแทนทีไ่ ด้มากหรือน้อยบ่งชีถ้ งึ การใช้ ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นกัน หรือ อาจหมายถึ ง กระบวนการในการน� ำ ความ เชี่ยวชาญที่มีอยู่ในองค์การมาจัดการงาน หน้ า ที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบ หรื อ มาจากสมองของ พนักงานและมีการใช้ความรูน้ นั้ เพือ่ ช่วยสร้าง ผลลัพธ์ให้ได้มากที่สุด (Hibbard,1997) หรือ เป็นการใช้ความรูท้ ถี่ กู ต้องเหมาะสมกับคนใน เวลาที่ต้องการส�ำหรับการตัดสินใจที่คิดว่า เป็ น วิ ธี ก ารดี ที่ สุ ด (Petrash,1996) หรื อ เป็นการประยุกต์ใช้อย่างเป็นระบบเพือ่ ค้นหา เพือ่ ความเข้าใจและเพือ่ ใช้ความรูใ้ นการสร้าง

นักวิชาการให้ความหมายความรูต้ า่ ง กันขึน้ อยูก่ บั มุมมองของแต่ละคน นักวิชาการ บางคนมองในเชิงโครงสร้าง บางคนมองใน เชิงวัตถุประสงค์ในการใช้ความรู้ ดังค�ำอธิบาย ความหมายของความรู้ ข้อมูล สารสนเทศ ดังนี้ “ข้อมูล” หมายถึง ข้อเท็จจริง จินตนาการ เสียง ฯลฯ “สารสนเทศ” หมายถึง การจัด รูปแบบข้อมูล การประมวลข้อมูล หรือการ สรุปข้อมูล ฯลฯ กล่าวคือ น�ำข้อมูลดิบ (raw data) มาประมวลผลและจัดระเบียบระบบ ให้สืบค้น เข้าใจได้ง่าย “ความรู้” หมายถึง ความคิด กฎกติกา กระบวนการ แนวปฏิบัติ หรือการตัดสินใจ ฯลฯ เบกแมน (Beckman, 1997) ให้ความ หมายความรู้สามารถแบ่งออกเป็น 5 ระดับ จากที่ มี คุ ณ ค่ า น้ อ ยถึ ง มี คุ ณ ค่ า มาก ดั ง นี้ “ข้อมูล” หมายถึง ข้อความ ข้อเท็จจริง รหัส จินตนาการ เสียง “สารสนเทศ” หมายถึง การ จัดระบบข้อมูล โครงสร้างข้อมูล การแปล ความหมาย การสรุป “ความรู”้ หมายถึง กรณี ศึกษา กฎกติกา กระบวนการ และรูปแบบ

Vol.22 No.213 January-February 2016

ความหมายของความรู้

51


People คุณค่า (O’Dell,1996) หรือการใช้ประสบการณ์ ความรูแ้ ละความเชีย่ วชาญในการสร้าง ความสามารถใหม่ สร้างผลงานที่ดีกว่า หรือ สร้างนวัตกรรมและคุณค่าให้แก่ลกู ค้า (Beckman,1997) ดังกล่าวเป็นการอธิบายความ หมายของการจัดการความรู้ ทีนมี้ าดูวา่ ความ รู ้ ที่ ม าจากความคิ ด สมองของพนั ก งานที่ องค์การอยากให้พนักงานน�ำออกมาใช้ได้ ทันทีในการท�ำงานควรจะเป็นความรู้ในการ ก�ำหนดเป้าหมาย ความรู้ที่เป็นระบบ ความรู้ ที่ปฏิบัติได้ และความรู้แบบอัตโนมัติหรือ ความฉลาดไหวพริบในการท� ำงาน โอเดล (O’Dell,1996) อธิบายว่า โดยทั่วไปการน�ำ ความรู้ไปใช้ในการท�ำงานมีขั้นตอนดังนี้ การ ระบุให้ได้ว่าสิ่งใดเป็นความรู้ แล้วจึงรวบรวม ปรับใช้ จัดการอย่างเป็นระบบและประยุกต์ ใช้ให้ถกู กับงาน อธิบายและแบ่งปันความรูใ้ ห้ เพือ่ นพนักงานเข้าใจ มีขอ้ สังเกตประการหนึง่ ความรู้ที่ใช้อย่างต่อเนื่องเป็นการทั่วไป (generization) จึงมีสภาพเป็นองค์ความรู้ (body of knowledge) ซึ่งอาจอยู่ในรูปของทฤษฎี หลักการ หลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติ ฯลฯ

การจัดการความรู้ขององค์การ

Vol.22 No.213 January-February 2016

การจัดการองค์การเป็นการท�ำหน้าที่ ของคนตั้งแต่สองคนขึ้นไปเพื่อให้บรรลุเป้า หมายขององค์การ คือ มุง่ ก�ำไรสูงสุดและสร้าง

52

ความพึงพอใจให้กับลูกค้า ประการหลังมี ความส�ำคัญอาจส�ำคัญมากกว่าก�ำไรด้วยซ�้ำ เพราะความพึ ง พอใจของลู ก ค้ า เป็ น หั ว ใจ ส�ำคัญในการประกอบกิจการ ถ้าลูกค้ามีความ พึงพอใจในคุณภาพสินค้าและบริการจะมีผล โดยตรงต่อการสั่งซื้อสินค้าและบริการอย่าง ต่อเนื่อง นั่นหมายถึง องค์การมีก�ำไรต่อเนื่อง ผลถัดมาท�ำให้องค์การเติบโตอย่างต่อเนื่อง เช่นกัน การพูดโดยรวมดูเหมือนง่ายแต่เอาเข้า จริงไม่ได้ง่ายอย่างที่คิด เพราะการที่จะท�ำให้ องค์การเติบโตมีก�ำไรต้องยุ่งเกี่ยวกับคนใน องค์การซึง่ แต่ละคนมีความรูค้ วามสามารถไม่ เหมื อ นกั น หรื อ แม้ พื้ น ฐานการศึ ก ษาสาขา เดียวกันแต่ระดับความรู้ความเข้าใจในความ รูท้ เี่ รียนมาไม่เท่ากัน ความรูใ้ นงานก็ไม่เท่ากัน อีก นี่คือความจริงที่ไม่ค่อยจะพูดถึงกัน ด้วย เหตุดงั กล่าวจึงได้มกี ารศึกษาค้นคว้าหาความ รู้ ทฤษฎี และเทคนิคในการจัดการมาตลอด เวลานับตั้งแต่การปฏิวัติอุตสาหกรรม เช่น หลักการแบ่งงานกันท�ำตามแนวคิดของอดัม สมิธ (Adam Smith,1776) หลักการบริหาร แบบวิทยาศาสตร์ หลักการจัดการคุณภาพทัว่ ทัง้ องค์การ หลักการบริหารแบบมีธรรมาภิบาล เป็นต้น นักวิชาการบางคนให้ความสนใจใน การจัดการทรัพยากรมนุษย์ บางคนให้ความ สนใจทีโ่ ครงสร้างและกลไกทีจ่ ะท�ำให้องค์การ

ประสบผลส�ำเร็จ ดังกรณีนอร์ตันและแคปแลนด์ (Norton & Kaplan, 2001) ให้ความ ส�ำคัญกับการจัดการโครงสร้างและกลไกของ องค์การโดยเสนอให้มีการจัดการความรู้ใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา ด้านกระบวนการภายใน ด้านลูกค้า และด้าน การเงิน พนักงานต้องวิเคราะห์ให้ได้ว่าความ รู้องค์การคืออะไร เมื่อรู้แล้วจึงใช้ความรู้และ ประสบการณ์ (intellectual capital) หรือใช้ ความฉลาดของตนเองจัดการความรูน้ นั้ ซึง่ ผล จากการความฉลาดในการใช้ความรู้จะบ่งชี้ ถึงความถูกต้องแม่นย�ำ งานมีคุณภาพและ รู้จักเลือกใช้ข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง ไม่ สะเปะสะปะหาข้อมูลที่ไม่จ�ำเป็น (pertinent data) เป็นการใช้ความฉลาดพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้ดีขึ้น หรือการให้ค�ำแนะน�ำปรึกษาที่ดีขึ้น กล่าวโดยสรุปการจัดการความรูเ้ ป็นเรือ่ งของ การอ�ำนวยความสะดวกในการเรียนรูแ้ ละการ แบ่งปันความรูเ้ พือ่ ให้เกิดความคิดทีถ่ กู ต้อง มี การออกแบบกระบวนการและผลิตภัณฑ์ที่มี ประโยชน์ในการด�ำเนินงานขององค์การ ทีนี้มาดูว่าความรู้ขององค์การที่เป็น รูปธรรมอาจอยูใ่ นรูปแบบความรูท้ ตี่ อ้ งจัดการ เช่น นโยบายองค์การ โครงสร้างองค์การ กระบวนการ โปรแกรมงานและเทคโนโลยีทมี่ ี ผลต่อการตัดสินใจที่จะท�ำให้การด�ำเนินงาน มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล หรื อ เป็ น ศิลปะในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลสารสนเทศ และความฉลาด (intellectual asset) เพื่อ สร้างคุณค่าให้แก่องค์การและผู้มีส่วนได้เสีย กล่าวโดยสรุปการจัดการความรู้ในองค์การ เป็นการจัดการเกีย่ วกับเนือ้ หางาน สารสนเทศ เทคโนโลยี ก� ำ ลั ง คนซึ่ ง รวมถึ ง การเรี ย นรู ้ วัฒนธรรม ความรับผิดชอบของบุคคล ตลอด จนกระบวนการและมาตรการในการวัดความ ส�ำเร็จของงาน คน และองค์การ การจัดการความรู้เป็นเรื่องของการ จัดการความรูใ้ นงาน (job knowledge) ทีเ่ ป็น การบูรณาการความรู้ทั้งงาน คน และเทคโนโลยี การจัดการความรู้ในงานเป็นเรื่องของ ศิลปะ ที่กล่าวว่าเป็นศิลปะนั้นเนื่องจากเป็น การให้ความส�ำคัญคนมาก่อน พนักงานที่มี


ความรูใ้ นงานดีแต่ขาดศิลปะในการจัดการคน ก็ไม่อาจจะได้รับความร่วมมือจากเพื่อนร่วม งาน การจัดการความรู้ขององค์การได้ดี เพียงใด ก่อนอื่นต้องจ�ำแนกให้ได้ว่าความรู้ ขององค์การมีอยู่ตรงส่วนใดส่วนหนึ่งหรือ หลายส่ ว นในด้ า นดั ง ต่ อ ไปนี้ 1. ลั ก ษณะ เฉพาะของกิจการองค์การ (organization characteristics) 2. ขีดความสามารถของ องค์การ 3. ความเก่งและเด่นขององค์การ 4. รูปแบบองค์การ 5. เครือข่ายหรือพันธมิตร 6. สินทรัพย์ทมี่ คี า่ ขององค์การ 7. บทบาทและ ความรับผิดชอบ 8. วัฒนธรรมองค์การ ความ เข้าใจความรู้ดังกล่าวจะท�ำให้เกิดผลลัพธ์ได้ ต้องอาศัยความรู้ในทางปฏิบัติประกอบด้วย โดยจะต้องอาศัยมาตรการในการวัดความ ส�ำเร็จ ระบบการให้รางวัล ค่าตอบแทน และ วิธีการจูงใจพนักงาน

ประโยชน์ ในการจัดการความรู้

คงไม่มใี ครปฏิเสธว่าวัน ๆ หนึง่ พนักงาน ใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการจัดการในสิง่ ทีม่ ใิ ช่ ความรู้ ท�ำให้เสียเวลา สูญทรัพยากรและเป็น ภาระแก่องค์การในระยะยาว พนักงานประเภท นี้ชอบอ้างว่างานเยอะ คนไม่พอ ต้องการคน เพิม่ หากจัดการความรูเ้ ป็นก็ไม่มคี วามจ�ำเป็น

ต้องใช้คนมาก ความเข้าใจว่าสิง่ ใดเป็นความ รู้ สิ่งใดไม่เป็นความรู้จะท�ำให้การท�ำงานได้ เร็วถูกต้องแม่นย�ำและมีคุณภาพไม่ต้องลอง ผิดลองถูกหรือเสียเวลาแก้ไขตรวจสอบจาก ผูบ้ งั คับบัญชา งานจึงลืน่ ไหลไม่ตดิ ขัดให้ตอ้ ง แก้ไข ดังกรณีตวั อย่างทีม่ กี ารวางแผนจัดการ ความเสีย่ งในการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ (compliance risk) ผู้วางแผนไม่เข้าใจในประเด็น นี้จึงน�ำเอาปัญหามาเป็นประเด็นความเสี่ยง เช่น กฎเกณฑ์ไม่ชัดเจน ไม่มีกฎกติกา ไม่มี กระบวนการที่ชัดเจน เหล่านี้มิใช่ประเด็น ความเสีย่ งแต่เป็นปัญหาทีต่ อ้ งแก้ไข ประเด็น ความเสี่ยงในด้านนี้ คือ การที่พนักงานไม่ ปฏิบัติตามกฎกติกาแล้วอาจจะเกิดความ เสียหาย กรณีตัวอย่างดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า พนักงานที่ไม่เข้าใจความรู้ในงาน จึงเป็นการ ท�ำงานที่สิ้นเปลืองไม่คุ้มค่า กล่าวโดยสรุป การจัดการความรู้ควร เริ่มต้นว่าอะไรคือความรู้ขององค์การแล้ว จึงออกแบบขั้นตอนในการปฏิบัติงานและ ต้องคิดต่อว่าการจะท�ำให้งานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลต้องอาศัยเทคโนโลยีอะไร รองรับ ด้วยหลักการอะไร แล้วจึงลงมือปฏิบัติ เห็นไหมละ พนักงานทีเ่ ข้าใจความรู้ ในงาน ท�ำงานจึงได้งาน ส่วนพนักงานที่ไม่ เข้าใจความรู้ในงาน ท�ำงาน จึงเสียงาน

เอกสารอ้างอิง 1. Beckman,T. (1997). A Methodology for Knowledge Management. International Association of Science and Technology for Development (IASTED) AI and Soft Computing Conference. Canada: Banff. 2. Davenport,T.H. & Prusak, L. (1998). Working Knowledge: How Organization Manage What They Know. Boston: Harvard Business School Press. 3. Hibbard, J. (1997). Knowing what We know; Information Week. October 20, 1997. 4. Norton, D.P. &Kaplan, R.S. (2001). The Strategy Focused Organization. Boston: Harvard Business School Press. 5. O’Dell, C. (1996). A Current Review of Knowledge Management Best Practice. Conference on Knowledge Management and the Transfer of Best Practices. Lonlon: Business Intelligence. 6. Petrash, G. (1996). Managing Knowledge Asset for Value. Knowledge –Based Leadership Conference. Boston: Linkage, Inc.

Vol.22 No.213 January-February 2016

People

53


Q

Movement for

uality

Book Guide Movement


Q

Book Guide for

uality

คะตะคะนะ ไม่ยาก หากเรา สู้ สู้ ! ผู้แต่ง อาภาพร เนาสราญ/โยโกะ อาเบะ/ประภา แสงทองสุข ISBN 978-974-443-577-4 ราคา 99 บาท

สวัสดีค่ะ

คอลัมน์ฉบับนีข้ อแนะน�ำหนังสือส�ำหรับ ผูเ้ รียนภาษาญีป่ นุ่ ระดับต้นกับหนังสือ “คะตะคะนะ สู้ สู้ !” โดยคณะผู้เขียนหนังสือชุด “เรียนสบาย สไตล์ โคะฮะรุ” ต�ำราเรียนภาษาญีป่ นุ่ พืน้ ฐาน ทีไ่ ด้ตพี มิ พ์หนังสือออกมาแล้ว 3 เล่ม คือ “ฮิระงะนะ เรียนสบาย สไตล์โคะฮะรุ” และ “ภาษาญี่ปุ่น เรียนสบาย สไตล์โคะฮะรุ เล่ม 1-2” ซึง่ ได้รบั เสียงตอบรับจากผูเ้ รียน ภาษาญี่ปุ่นอย่างกว้างขวาง และมีเสียงเรียกร้องให้คณะผู้เขียนจัดท�ำ ต�ำราเรียนตัวอักษรคะตะคะนะขึ้นมาบ้าง ดังนั้น จึงเกิดเป็นหนังสือ “คะตะคะนะ สู้ สู้ !” เล่มนี้ หนั ง สื อ “คะตะคะนะ สู ้ สู ้ !” น� ำ เสนอวิ ธี เ รี ย นตั ว อั ก ษร คะตะคะนะตามวรรคตัวอักษรตั้งแต่วรรค ア (อะ) ถึงวรรค オ (โอะ) โดยใช้ภาพประกอบที่เข้ากับเสียงภาษาไทย (association method) ยกตัวอย่างเช่น เสียง อะ ในวรรค ア มีภาพพระอาทิตย์ที่เขียนตัว อักษร ア อยู่ในภาพ เมื่อผู้เรียนเห็นภาพก็จะนึกถึงตัวอักษร ア และ เสียง “อา” ของค�ำว่า “อาทิตย์” ก็คล้ายคลึงกับเสียง “อะ” ในภาษา ญี่ปุ่น ซึ่งวิธีนี้จะช่วยให้ผู้เรียนจดจ�ำตัวอักษรได้ง่ายขึ้น ดังภาพ

เมือ่ ศึกษาภาพช่วยจ�ำแล้ว แต่ละวรรคตัวอักษรจะมีแบบฝึกหัด การฟัง-อ่าน-เขียนให้ฝึกท�ำครบทุกทักษะ โดยใน แบบฝึกหัดการฟัง ผู้เรียนจะได้ฝึกฟังและเลือกหยิบการ์ดตัวอักษรจากค�ำศัพท์ที่ได้ยิน แบบฝึกหัดการอ่าน ฝึกให้สามารถอ่านและเรียนรู้การออกเสียงภาษา ญีป่ นุ่ จากเครือ่ งหมายแสดงเสียงสูงต�ำ่ ในค�ำศัพท์ แบบฝึกคัดตัวอักษร จะแสดงตัวอย่างวิธีเขียนตามล�ำดับเส้นให้ผู้เรียนฝึกเขียนตามได้ อย่างถูกต้อง แบบฝึกหัดเขียน เป็นการฝึกให้ผู้เรียนลองเติมตัวอักษร คะตะคะนะจากค�ำศัพท์ที่เขียนเป็นอักษรโรมาจิ และหลังจากฝึกครบ ทุกวรรคตัวอักษรแล้ว จะมี แบบฝึกหัดทบทวน ที่น�ำเสนอค�ำศัพท์เป็น หมวดหมู่ให้ฝึกอ่านและเดาความหมายค�ำศัพท์ โดยใช้ค�ำศัพท์ใกล้ตัว กับผู้เรียนชาวไทย เช่น ชื่อคน ชื่อจังหวัดของไทย เพื่อให้เกิดแรงจูงใจ จากการฝึกสะกดชื่อสิ่งรอบตัว และเข้าใจวิธีการถอดเสียงภาษาไทย จากเสียงของชาวญีป่ นุ่ มากขึน้ ท้ายเล่มมีเฉลยแบบฝึกหัดและการ์ดตัว อักษร 2 ชุด ชุดแรกเป็นการ์ดตัวอักษรทีม่ ภี าพช่วยจ�ำ ส�ำหรับใช้ฝกึ อ่าน ส่วนอีกชุดเป็นการ์ดตัวอักษร ส�ำหรับใช้ประกอบการท�ำแบบฝึกหัดการ ฟัง และซีดีประกอบใช้ฝึกฟัง 1 แผ่น เป็นหนังสือที่เหมาะส�ำหรับใช้ ประกอบการสอนภาษาญีป่ นุ่ ทัง้ ทีเ่ ป็นวิชาหลักและวิชาเลือก หรือจะใช้ เรียนด้วยตนเองก็ได้ for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016

55


Q

Movement for

uality

E vent

เมื่อเดือนตุลาคม 2558 ที่ผ่านมา สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) หรือ ส.ส.ท. เปิดงาน “TPA Grand Open House 2015” ร่วมกันก้าวสู่ “Automation Age” ณ ห้อง Grand Ballroom โรงแรมจัสมินซิตี้ สุขุมวิท 23 โดยได้รับเกียรติจาก ดร.อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธานในพิธีเปิด พร้อมกล่าวปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ “การขับเคลือ่ น ผลักดัน และการสนับสนุนจากภาครัฐให้อตุ สาหกรรมก้าวสูก่ ารผลิตด้วยระบบ อัตโนมัติ” โดยมี รศ.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ นายกสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) และ คุณถาวร ชลัษเฐียร อุปนายกสมาคมฯ พร้อมด้วยคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ให้ การต้อนรับ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2558 ที่ผ่านมา สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) โดย ฝ่ายโรงเรียนภาษาและวัฒนธรรม เปิดงานมหกรรมภาษาและวัฒนธรรม ประจ�ำปี 2558 เรียนรู้ดูวัฒนธรรมประจ�ำภาษา และต่อยอดความรู้ด้านภาษาสู่ความก้าวหน้า และอาชีพ ในอนาคต ภายใต้แนวคิด “Language Toward The Future” ณ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทยญี่ปุ่น) ซอยสุขุมวิท 29 โดยได้รับเกียรติจาก คุณธีติธร จุลละพราหมณ์ อุปนายก (ด้านกลยุทธ์ และแผน) สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) และ Mr.Yuta Genda ผู้อ�ำนวยการฝ่าย ภาษาญี่ปุ่น Japan Foundation เป็นประธานในพิธีเปิดงาน โดยภายในงานมีสัมมนาจากวิทยากรระดับแนวหน้า และกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย อาทิ สัมมนาพัฒนาตนเอง ห้องเรียนจ�ำลอง การแข่งขันท�ำข้าวกล่อง “TPA Bento Champion 2015” การประกวดสุนทรพจน์ภาษาไทย ประจ�ำปี 2558 กิจกรรมวัฒนธรรม การแสดงอื่น ๆ และการออกร้านอาหาร ของที่ระลึกจากร้านค้าและอาจารย์โรงเรียนภาษา ส.ส.ท. กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม เดินหน้าลุยปั้นคลัสเตอร์ อุตสาหกรรมสนับสนุน เพือ่ ส่งเสริม 6 ซุปเปอร์คลัสเตอร์ทใี่ ช้เทคโนโลยีขนั้ สูงและเป็นอุตสาหกรรม แห่งอนาคตที่มีมูลค่าเพิ่มสูง ได้แก่ 1. คลัสเตอร์ยานยนต์และชิ้นส่วน 2. คลัสเตอร์เครื่องใช้ ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์โทรคมนาคม 3. คลัสเตอร์ปโิ ตรเคมีและเคมีภณ ั ฑ์ทเี่ ป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม 4. คลัสเตอร์ดิจิทัล 5. คลัสเตอร์นวัตกรรมด้านอาหาร 6. คลัสเตอร์เครื่องมือและ อุปกรณ์ทางการแพทย์ (Medical Hub) พร้อมเตรียมทุ่มงบกว่า 37 ล้านบาท วางแผนส่งเสริม ผู้ประกอบการและบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมสนับสนุน โดยจะนำ�ร่องพัฒนา 2 คลัสเตอร์ สำ�คัญแบบครบวงจร คือ คลัสเตอร์ยานยนต์และชิน้ ส่วน และคลัสเตอร์เครือ่ งมือทางการแพทย์และสุขภาพ ภายใต้โครงการหลัก อาทิ โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีแห่งอนาคต โครงการพัฒนาการรวมกลุ่มและเชื่อมโยงอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ ซึ่งคาดว่า จะมีอตุ สาหกรรมใหม่ ๆ เข้าสูอ่ ตุ สาหกรรมสนับสนุนไม่นอ้ ยกว่า 150 ราย หรือคิดเป็นมูลค่าการลงทุนไม่นอ้ ยกว่า 2,000 ล้านบาท

สามค่ายโทรศัพท์ยักษ์ใหญ่ของประเทศไทย ได้แก่ เอไอเอส ดีแทค และทรู มูฟ เอช ได้จับมือกับมาสเตอร์การ์ดและธนาคารธนชาต ร่วมเปิดตัวการให้บริการการโอนเงินข้าม กระเป๋าเงินออนไลน์ (e-Wallet) ได้โดยไม่จำ� กัดค่าย เพียงแค่มเี บอร์มอื ถือ เพือ่ มอบความสะดวก สบายให้ลูกค้าโอนเงินและใช้จ่ายค่าสินค้าและบริการต่าง ๆ ได้เพียงปลายนิ้ว ในทุกที่ทุกเวลา และยั ง ช่ ว ยตอบสนองนโยบายเศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล ของภาครั ฐ อย่ า งแท้ จ ริ ง โดยงานนี้ จั ด ขึ้ น ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์

56

for Quality Vol.22 No.213 January-February 2016


Movement

E vent คุณจุฬาพร กรธรทรัพย์ (ที่ 2 จากขวา) ประธานกรรมการบริษทั ไทยสมาร์ทไลฟ์ จ�ำกัด ในฐานะประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร และประธานคลัสเตอร์อุตสาหกรรมเกษตร อินทรียไ์ ทยของสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางการค้ากับ ทางผู้บริหาร บริษัท บรอนสัน แอนด์ จาคอบส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด โดยมี คุณสนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ (ที่ 3 จากขวา) ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในฐานะประธาน สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย พร้อมด้วย คุณสมชาย หาญหิรัญ (ที่ 1 จากขวา) อธิบดีกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และ คุณสมประสงค์ พยัคฆพันธ์ (ที่ 1 จากซ้าย) ประธาน กลุ่มคลัสเตอร์เครื่องส�ำอาง สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย เข้าร่วมในพิธีลงนามบันทึกความเข้าใจระหว่างคลัสเตอร์เครื่องส�ำอางไทยในครั้งนี้ ซึ่ง จัดขึ้นภายในงานแถลงข่าวยุทธศาสตร์บูรณาการ SMEs อุตสาหกรรมเครื่องส�ำอางไทยสู่ตลาดโลก ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค

คุณวิชติ พยุหนาวีชยั (ที่ 4 จากขวา) ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริการ บริษทั ซัมมิท แคปปิตอล ลีสซิ่ง จ�ำกัด พร้อมทีมผู้บริหารระดับสูง เข้าร่วมงานสัมมนาประจ�ำปี “Annual Management Team Synergy 2015” ณ ราชาคีรี รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อเร็ว ๆ นี้ โดย งานสัมมนาดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับประสิทธิภาพการท�ำงานของทีมให้มีความ แข็งแกร่ง และสือ่ สารวิสยั ทัศน์ขององค์กรไปยังผูบ้ ริหารทุกคนให้เป็นหนึง่ เดียว อันเป็นส่วนส�ำคัญ ในการผลักดันแผนยุทธศาสตร์ของบริษัทที่ตั้งเป้าจะก้าวขึ้นเป็นผู้น�ำธุรกิจภายใน 5 ปี

พญ.เบญจมาศ วณีสอน (แถวยืนกลาง) ผู้อ�ำนวยการด้านการแพทย์ฯ โรงพยาบาล หัวเฉียว และ คุณเรวดี เชยกลิ่น (แถวยืนที่ 5 จากซ้าย) ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานประกันสังคม กรุงเทพมหานครพื้นที่ 1 ร่วมเป็นประธานเปิดงานวันรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพคนท�ำงานใน เขตชุมชนเมือง ครั้งที่ 6 ภายใต้แนวคิดสุขภาพดี.. เริ่มที่ตัวเรา องค์กรเติบโต..เริ่มที่มีบุคลากร สุขภาพดี

Vol.22 No.213 January-February 2016

คุณชานนท์ เรืองกฤตยา (ที่ 1 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นประธานในพิธียกเสา เอกงานก่อสร้างโครงการแอชตัน อโศก (Ashton Asoke) โดยมี คุณวิชชุธร หงส์ประภัศร (ที่ 3 จากซ้าย) กรรมการบริหารฝ่ายการตลาด บริษทั สีพ่ ระยาก่อสร้าง จ�ำกัด ผูร้ บั เหมางานโครงสร้าง และงานด้านสถาปัตยกรรม พร้อมด้วย คุณรังสรรค์ เกียรติยศ (ที่ 5 จากซ้าย) กรรมการผูจ้ ดั การ บริษัท เอบิวด์ แมเนจเมนท์ จ�ำกัด บริษัทที่ปรึกษาด้านงานการก่อสร้างร่วมพิธี

57


Movement

E vent NEXT เปิดตลาด Adaptive Radio สื่อวิทยุแนวคิดใหม่เน้นการ ปรับรูปแบบให้ตอบโจทย์ทุกความ ต้องการลูกค้า ประเดิมด้วย Interactive In-Store Radio ในโมเดิร์นเทรด และร้านสะดวกซื้อชั้นน�ำ อาทิ บิ๊กซี เซเว่น อีเลฟเว่น แฟมิลี่ มาร์ท แมกซ์แวลู มากกว่า 3,100 สาขาทัว่ ประเทศ หวังกระตุ้นโอกาสการเลือกซื้อ พร้อม นวัตกรรมวัดผลการเข้าถึงสือ่ โฆษณา นอกบ้านแบบ Real Time รายแรก โดยใช้งบลงทุนไปกว่า 100 ล้านบาท

กรมอุ ต สาหกรรมพื้ น ฐาน และการเหมืองแร่ (กพร.) เดินหน้า โครงการส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ผูป้ ระกอบ SMEs ประกาศความส�ำเร็จ ในการสนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม ผู ้ ประกอบการไทยลดต้นทุนโลจิสติกส์ ซัพพลายเชนราว 353 ราย คิดเป็น มูลค่า 2,600 ล้านบาท และเสนอ รั ฐ เพิ่ ม งบในการเสริ ม ศั ก ยภาพ ผู ้ ป ระกอบหวั ง จี ดี พี ภ าพรวมขยาย ชูต้นแบบ “สามพรานโมเดล” จาก โครงการสนับสนุนเชื่อมโยง SMEs เข้าสู่ระบบซัพพลายเชน

บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) หรือ CAT จัดกิจกรรมการแข่งขันเพื่อค้นหาสุดยอดทีม Computer Forensics ที่จะเป็นก�ำลังส�ำคัญของวงการรักษาความปลอดภัยระบบไอทีในประเทศไทยกับ กิจกรรม “CAT Cyfence Cybercop Contest 2015” ซึ่งปีนี้ได้จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 ร่วมกับงานแสดงนวัตกรรม และเทคโนโลยี “CAT Network Showcase 2015” ครั้งที่ 6 ณ รอยัลพารากอนฮอลล์ 1 ศูนย์การค้าสยามพารากอน โดยมี คุณกัณณิกา วรคามิน ผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) ได้ให้เกียรติมาเป็นผู้มอบรางวัลส�ำหรับทีมที่ผ่านเข้ารอบการ แข่งขันในปีนี้

Vol.22 No.213 January-February 2016

C ongratulations

58

ดร.สตีเฟน แมคอดัม ผู้แทนดีเอ็นวี.จีแอล ผศ.นพ.พันธ์ศักดิ์ ศุกระฤกษ์ ผู้อ�ำนวยการ ด้านการแพทย์ศนู ย์สง่ เสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ดร.สุธร ชุตนิ ยิ มการ ผูอ้ ำ� นวยการด้านการบริหาร ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ มร.เวกาด โฮมเมลรี ผู้แทนเจ้าหน้าที่สถานทูตนอร์เวย์ คุณอรนุช กองทอง ผู้อ�ำนวยการด้านเภสัชกรและควบคุมคุณภาพศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ไวทัลไลฟ์) ผู้บริหารศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์ พร้อม ด้วยแขกผู้มีเกียรติ ร่วมแสดงความยินดีกับความส�ำเร็จครั้งส�ำคัญของไวทัลไลฟ์ ซึ่งเป็น ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแห่งแรกของโลกที่ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากล “ดีเอ็นวี.จีแอล” เพื่อผู้ป่วยนอก


Movement

S how Sorensen ASD FLX Series แหล่งจ่ายก�ำลังไฟฟ้ากระแสตรงโปรแกรมได้ขนาด 10kW-30kW ระบบโมดูล ปรับเปลี่ยนสเปกได้ง่ายตามความต้องการ

Sorensen ASD FLX Series มีโครงสร้างภายนอกขนาด 3U ออกแบบเป็นโมดูลด้านหน้าที่ติดตั้งและถอดเปลี่ยนได้ง่าย เพื่อก�ำหนดขนาด เอาต์พุตได้อย่างยืดหยุ่น สามารถรับแรงดันอินพุตได้กว้าง 324 VAC ถึง 528 VAC จึงใช้ได้กับระบบไฟฟ้าทั่วโลก เหมาะส�ำหรับงานที่ต้องการ ไฟฟ้ากระแสตรงก�ำลังสูงมาก เช่น การเคลือบผิวด้วยไฟฟ้า การ Burn-in จ�ำนวนมาก ในโรงงานผลิต เป็นต้น ด้วยขนาดก�ำลัง 30kW ระบายความร้อนด้วยน�้ำ ในขนาดตัวเครื่อง 3U ถือเป็นแหล่งจ่ายก�ำลังที่มีความหนาแน่นของก�ำลังสูงที่สุดที่ยังคง คุณสมบัติด้าน Ripple และ Noise ที่ยอดเยี่ยม และการระบายความร้อนด้วยน�้ำยังเหมาะกับการใช้งานในสภาพแวดล้อมที่โดยปกติห้ามใช้ การระบายความร้อนด้วยอากาศ คุณสมบัติขั้นสูง ➢ โปรแกรมค่า Slew Rate ของแรงดันและกระแสได้อย่างละเอียดเที่ยงตรง ส�ำหรับโหลดที่มีความอ่อนไหว ➢ มีอินเตอร์เฟส Industrial Field Bus (Modbus-TCP, Modbus-RTU, Ethernet) ส�ำหรับการควบคุมแบบ Real-Time Digital Control ➢ มีระบบมอนิเตอร์ค่าคุณภาพไฟฟ้าและความผิดปกติด้านอินพุต พร้อมเก็บบันทึก ส�ำหรับการวิเคราะห์และตรวจวินิจฉัยภายหลัง ➢ มีอะนาล็อกอินเตอร์เฟสที่โปรแกรมได้ ส�ำหรับการต่อใช้งานกับระบบเดิมได้โดยง่าย ➢ มีมิเตอร์วัดค่าพลังงานในช่วงเวลาที่ใช้งานเครื่อง ➢ มีฟังก์ชั่นเสริม Real Time Clock ส�ำหรับบันทึกเวลาของเหตุการณ์

Vol.22 No.213 January-February 2016

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อ: คุณสารกิจ 08-1641-8438 บริษัท เมเชอร์ โทรนิกซ์ จำ�กัด โทรศัพท์ 0-2514-1000; 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com, E-mail: info@measuretronix.com

59


Vol.22 No.213 January-February 2016

60

Pressure

Temperature & Huminity

etc.

pH Meter

Mass

Testing

Training

etc.

Software

Inside Front Cover, 1

Length

Hardness

Force

Electric

Page

Services

Measuretronix Ltd.

Measurement

Products

2, 3

Equipment

Marske Machine (Thailand) Co., Ltd.

Page

Calibration

Lab Calibrations

Dimension

Advertiser’s Index

หมายเหตุ* Advertiser’s Index ได้จัดทำ�ขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหาชื่อของบริษัทต่าง ๆ ที่ลงโฆษณาในนิตยสารฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด ๆ กับบริษัทที่ลงโฆษณา หากเกิดความผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำ�ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย


ทำเรื่องยากใหเปน เรื่องงายดวย ไอเดีย

KAIZEN

ดาวนโหลดนิตยสาร Creative & Idea KAIZEN Online ไดแลววันนี้ที่

Bookcaze

Booksmile

Nstore

Naiinpann

Bookdose

Ookbee

Meb

สอบถามขอมูลเพิ่มเติม

โทร. 02-259-9160

ตอ 1740 (คุณจารุภา)

โครงการผลิตสื่อและมัลติมีเดีย สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 20150603


ศูนยรวม

การออกแบบผลิตสื่อ สรางสรรคครบวงจร

MMP โครงการผลิตส�อและมัลติมีเดีย

SERVICE *สิ่งพิมพ รับออกแบบและผลิต Company Profile, Newsletter, Catalogue, Brochure, Pocket Book, Annual Report, etc. *มัลติมีเดีย รับออกแบบและผลิต e-Catalogue, e-Newsletter, e-Company Profile, Company Presentation, etc. *Seminar & Event รับจัดงานสัมมนากลุมใหญและยอย ดวยทีมงานมืออาชีพ *รองรับ 3 ภาษา ไทย อังกฤษ ญี่ปุน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่

โทรศัพท 0-2258-0320-5

ตอ 1730 (คุณียากร) ตอ 1750 (คุณบุษบา) โครงการผลิตสื่อและมัลติมีเดีย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.