QM212 November-December 2015 Vol.22 No.212

Page 1

www.tpaemagazine.com

For

Quality Management

November-December 2015 Vol.22 No.212 Magazine for Executive Management

Metrel MI3152 EurotestXC

โปรโรมงชสั่นงทายป สุดรอในนรุนแ MI 3152 C

EurotestX

เคร�องตรวจสอบระบบไฟฟาในอาคาร รุนใหมจอสีทำงานอัตโนมั ติ ใน 3 ขั้นตอน ตรวจสอบระบบไฟฟาตามมาตรฐาน BS7671, IEC60364, IEC61557 สำหรับชางไฟฟา ที่ซอมบำรุงระบบไฟฟาตามโรงงานอุตสาหกรรม อาคารสูง สำนักงาน บาน และโรงงาน

รุนใสหุดม ลา

แมนยำ ปลอดภัย มั่นใจเม็ตเทรล

MI 3152 EurotestXC มี 2 รุนคือ รุนมาตรฐาน

MI 3152ST

ราคา 97,000.- บาท*

รุนครบเคร�อง

MI 3152EU

ที่มาพรอมแคลมปวัดกระแส และแคลมปกราวด

ในราคา 135,000.- บาท*

พิเศษสำหรับรุน MI 3152EU แถมฟรี

Samsung Galaxy Tab S2 เอาไปใชออก report จำนวน 1 เคร�อง** ตั้งแตวันนี้ จนถึง 31 ธันวาคม 2558

หมายเหตุ * ราคายังไมรวม Vat 7% ** ขอสงวนสิทธิ์ ในการเปลี่ยนของแถมที่มีมูลคาเทาเทียมกัน ในกรณีสินคาหมด

1 AUTO TEST SEQUENCE ที่สามารถโปรแกรมลำดับ การทดสอบไดลวงหนาแบบอัตโนมัติ

2

3

ทำงานรวมกับเคร�องอานบารโคดได โดย กำหนดหมายเลขตำแหนงของเตารับไฟฟา แตละจุด (asset ID) โปรแกรมการทดสอบ จะปรากฏทันที

สามารถ link กับมือถือระบบ Android ดูขอมูล ผลการทดสอบ สงรายงาน ผานอีเมลจากหนางาน จัดทำรายงานผานคอมพิวเตอร ไดในรูปแบบ ตามมาตรฐาน BS7671

แคกดปุม Test เคร�องดำเนินขั้นตอน การทดสอบใหอัตโนมัติ และกดปุม MEM เพ�อบันทึกผลการทดสอบ ตามตำแหนง ที่ระบุในบารโคด

สนใจติดตอ : คุณจิรายุ 083-823-7933 คุณเนตรนภางค 089-895-4866 คุณเฉลิมพร 085-489-3461 คุณมนัสนันท 087-714-3630 www.measuretronix.com/ metrel

 

การปรับระบบ ISO 9001:2008 เขาสูมาตรฐาน ISO 9001:2015 หลักการปฏิบัติที่ดี เพ�อการจัดเก็บ และกระจายสินคา ตามแนวทางของ AIB

  

จีน vs ญี่ปุน บนเวทีเศรษฐกิจโลก กลยุทธจัดการหวงโซอุปทานดวยบูรณาการฉบับกระเปา Marketing New Trend update from Japan : กลยุทธการขึ้นราคาแลวมีชัยชนะในยุคเศรษฐกิจไมดี


Fluke 2638A Hydra Series III เคร�องบันทึกขอมูล (Data Acquisition) อเนกประสงค เปนดิจิตอลมัลติมิเตอร ในตัว สำหรับงานเก็บขอมูลทางไฟฟาและ อุณหภูมิจำนวนมากในอุตสาหกรรม  วัดและบันทึกคา แรงดัน DC/AC, กระแส DC/AC, ความตานทาน, ความถี่, RTD, เทอรโมคัปเปล และเทอรมิสเตอร  อินพุตดิฟเฟอเรนเชียลเลือกได 22, 44, 66 แชนเนล  เปน DMM ขนาด 6½ หลักในตัว อีก 1 แชนเนล  แสดงกราฟขอมูลไดพรอมกัน 4 ชอง บนจอแสดงผลสี  ความแมนยำ DC 0.0024%  เก็บขอมูลได 57,000 ชุดขอมูล  มีเวบเซิรฟเวอรในตัวสำหรับดูขอมูลจากระยะไกลได

   

  

 

  

I F I C AT I O

N

ME A

ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย

สอบเทียบ DMM ตั้งแต 8.5 หลักลงมา ไดครบ 5 ฟงคชั่น : แรงดัน/กระแส ac, แรงดัน/กระแส dc และความตานทาน คา 1 year, 95% Confidence spec : 3.5 ppm dc voltage, 42 ppm ac voltage, 35 ppm dc current, 103 ppm ac current, และ 6.5 ppm resistance กำเนิด ac/dc voltage ถึง 1100 V, ac/dc current ถึง 2.2 A และความตานทาน 18 คา ไดถึง 100 MOhm สอบเทียบ RF millivoltmeters ไดถึง 30 MHz (อุปกรณเสริม) จำลองตัวเองเปน Fluke 5700A หรือ 5720A ได ใช MET/CAL เวอรชั่นเกาได อินเตอรเฟส GPIB (IEEE-488), RS-232, Ethernet, USB 2.0 มีอินเตอรเฟสเฉพาะสำหรับตอกับ Fluke 52120A และ 5725A ได มีชองตอ USB ดานหนาสำหรับดาวนโหลดไฟลสอบเทียบ .cvs ดวย USB แฟลชไดรฟได

Fluke 6105A Electrical Power Standard เครื่องสอบเทียบดานไฟฟากำลัง จายกำลังไดทั้ง 1, 2, 3 หรือ 4 เฟส แยกจากกันและพรอมกัน ฟลุค 6100A สามารถจายแรงดันแบบ Pure sine ไดถงึ 1000V กระแส สูงสุด 80A ความแมนยำขนาด 100ppm (0.01%) และวัด phase shift (phase adjustment) ไดละเอียดถึง 1 millidegree หรือ 10 ไมโครเรเดียน นอกจากนี้ฟลุค 6100A ยังมีความสามารถพิเศษอื่น ๆ อีกดังนี้  Fluctuation Harmonics  Dips and Swells  Multi Phase Operation

Compatible

ดิจิตอลมัลติมิเตอรคุณภาพสูงสำหรับ Calibration Lab ดวยฟงกชัน และความแมนยำยอดเยี่ยม

ER

Compatible

เครื่องสอบเทียบเครื่องมือวัดทางไฟฟาหลากชนิด มีระบบปองกันอินพุตที่ตอบสนองรวดเร็ว ใชสอบเทียบเครื่องมือเหลานี้ อะนาล็อกมิเตอรและดิจิตอลมิเตอร ไดถึง 6½ หลัก แคลมปวัดกระแส และแคลมปมิเตอร เทอรโมคัปเปลและ RTD เทอรโมมิเตอร เครื่องสอบเทียบกระบวนการผลิต ดาตาล็อกเกอร, สตริป และชารตเรคอรดเดอร วัตตมิเตอร, พาเนลมิเตอร เครื่องวิเคราะหเพาเวอรและฮารมอนิก ออสซิลโลสโคปทั้งชนิดอะนาล็อกและดิจิตอล

PASSED

Fluke 5730A Multifunction Calibrator ความแมนยำสูงขึ้น จอสีระบบสัมผัส ควบคุมสั่งการงายขึ้น

Fluke 5522A Multi-Products Calibrator

V

D. LT

เคร�องมือสอบเทียบมาตรฐานของเคร�องมือวัด สำหรับจัดทำหองสอบเทียบเปนของตัวเอง

R RE T ONIX SU

Compatible

Fluke 5320A

Multifunction Electrical Tester Calibrator Compatible

Fluke 96270A 27 GHz Low Phase Noise Reference Source

Compatible

Compatible

DC Volts

 

DC Current

  

AC Volt

 

ยานวัดจาก 200mV ถึง 1000V AC Current  ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A ความละเอียด 5.5 หลัก แบนดวิดช 100 kHz  ความละเอียด จาก 5.5 หลัก ถึง 8.5 หลัก ความไวสูงสุด 1nV ถึง 6.5 หลัก ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A  ความไวสูงสุด 100pA ความละเอียด 5.5 ถึง 7.5 หลัก Ohms  ยานการวัดจาก 2Ω ถึง 20 GΩ ความไวสูงสุด 10pA  ความละเอียดจาก 5.5 ยานวัดจาก 200mV หลักถึง 8.5 หลัก  ความไวสูงสุด 10nΩ ถึง 1000V แบนดวิดช 1 MHz ความละเอียดจาก 5.5 หลัก อุณหภูมิ  วัดไดทั้งแบบ two-wires, ถึง 6.5 หลัก three-wires และ four-wires ความไวสูงสุด 100nV  อานคาเปน ํC, ํF, K หรือ Ω ได

Fluke 8845A/8846A ดิจิตอลมัลติมิเตอรความแมนยำสูง

เครื่องสอบเทียบมัลติฟงกชันสำหรับเครื่องมือทดสอบทางไฟฟา รวมฟงกชนั มากมายไวในเครือ่ งเดียว สามารถจาย หรือ เปลีย่ นแปลง คาความตานทาน หรือการกำหนดคาอื่น ๆ ที่ใชทั่วไป เพื่อการ สอบเทียบเครื่องมือวัดไฟฟา ซึ่งมีความยืดหยุนและแมนยำ เพียงพอ ตอการสอบเทียบเครื่องมือวัด ทดสอบตาง ๆ ไดอยางหลากหลาย ใชสอบเทียบ  Multifunction insulation tester  Portable appliance tester  Insulation resistance testers  Continuity testers and earth resistance testers  Ground bond testers and loop/line impedance testers  Hipot testers  เครื่องมือทดสอบทางไฟฟาอื่น ๆ

เครื่องกำเนิดความถี่อางอิงขนาด 27 GHz ที่ใชงานงาย มีความแมนยำสูง และราคาคุม คา ใชสอบเทียบไดทง้ั สเปกตรัม อะนาไลเซอร, RF เพาเวอรเซ็นเซอร และอื่นๆ ปรับระดับ สัญญาณและการลดทอนไดอยางแมนยำ, สัญญาณมีความ บริสุทธิ์สูงและแมนยำ ความผิดเพิ้ยนทางมอดูเลชั่นต่ำ

Fluke 6003A Three Phase Electrical Power Calibrator Compatible

มัลติมิเตอรความแมนยำสูงขนาด 6.5 หลัก ที่มีความสามารถหลากหลาย ตอบสนอง ทุกความตองการของการวัดคาทางไฟฟาไดมากที่สุด เปน เครื่องแบบตั้งโตะที่ใชงาน งาย ประกอบไปดวย ฟงกชันตาง ๆ มากมาย และยังสามารถ วัดอุณหภูมิ คาความจุ คาบเวลา และความถี่  วัด Vdc ที่ความแมนยำ 0.0025%  ยานการวัดกระแส 10 mA ถึง 10 A  ยานการวัดโอหม 10Ω ถึง 1 GΩ  เทคนิคการวัด 2 x 4 แบบ 4-wire  มีพอรต USB เชื่อมตอกับคอมพิวเตอร (รุน 8846A)  แสดงผลแบบกราฟก  โหมดการบันทึก Trendplot ใหขอมูลเปนสถิติและกราฟ  พิกัดความปลอดภัย CAT I 1000V, CAT II 600V

เครือ่ งสอบเทียบคุณภาพไฟฟา 3 เฟส ทีม่ สี มรรถนะและความแมนยำสูง ในราคาคุม คา ควบคุมแตละเฟสไดอยางอิสระ เหมาะสำหรับหองปฏิบัติการสอบเทียบ, โรงงานผลิตเครื่องมือวัดทางไฟฟา และหนวยงานที่ตองดูแลเครื่องมือวัด ทางดานพลังงาน, เครื่องวิเคราะหคุณภาพไฟฟา และเครื่องมือประเภทเดียวกัน

สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 061-626-9958, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar สนใจโปรดติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่

บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จำกัด

2425/2 ถนนลาดพราว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 0-2514-1000, 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001, 0-2514-0003 อีเมล : info@measuretronix.com เวบไซต : http://www.measuretronix.com

http://www.measuretronix.com/electrical-calibrator


เคร�องทดสอบเคร�องมือทางการแพทย

Biomedical Test Equipment

RIGEL เปนผูผลิตเคร�องมือสอบเทียบทางการแพทย ที่ ไดมาตรฐาน IEC 60601 & IEC 62353 ที่มีประสบการณยาวนาน 44 ป ไดรับรางวัล The Queen’s Award ในป 2012 รับประกันในคุณภาพและความเช�อมั่น Rigel Uni-Pulse Defibrillator Analyzer เคร�องสอบเทียบเคร�องกระตุกหัวใจ เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราหเครื่องกระตุกหัวใจ ซึ่งสามารถสอบเทียบไดทั้ง Mono-phasic, Bi-phasic, Standard and Pulsating waveform และ Automated external defibrillator (AED) สามารถพิมพผล Pass/Fail Label ไดทันทีผานเครื่องพิมพที่เชื่อมตอผาน Bluetooth

Rigel UNI-SIM : Vital Signs Simulator เคร�องวิเคราะหการทำงานเคร�องวัด สัญญาณชีพ 6 พารามิเตอร 1. 2. 3. 4.

คาออกซิเจนในเลือด (SPO2) คาสัญญาณแรงดันไฟฟาหัวใจ (ECG) คาความดันโลหิตในหลอดเลือด (IBP) คาความดันโลหิต (NIBP)

5. คาอุณหภูมิรางกาย (Temperature) 6. คาอัตราการหายใจ (Respiration)

Rigel Uni-Therm : High Current Electrosurgical Analyzer เคร�องวิเคราะหการทำงาน เคร�องจี้ดวยไฟฟา

เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราะหเครื่องตัดจี้ ดวยไฟฟา สามารถวัดคาพลังงานที่เครื่องตัดจี้ ที่ปลอยออกมา ทั้งในรูปแบบของ CUT, COAG และ CQM ตามมาตรฐาน IEC 60601-2-2 บันทึกขอมูล ในตัวเครื่องได

Rigel 288 : Electrical Safety Analyzer เคร�องทดสอบวิเคราะหความปลอดภัยทางไฟฟา เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟาประสิทธิภาพสูง สามารถรองรับการทดสอบไดหลายมาตรฐาน โดยเฉพาะ มาตรฐาน EN/IEC 62353, NFPA-99 และ EN/IEC 60601-1 ทดสอบ Ground bond โดยใช dual current high intensity

Rigel Multi-Flo : Infusion Pump Analyzer เคร�องวิเคราะหการทำงาน เคร�องใหสารละลายทางหลอดเลือด

เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราะหเครื่องจายสารละลาย ทางหลอดเลือดทั้งที่เปนแบบ Infusion Pump และ Syringe Pumpเครื่องมือเหลานี้จะสามารถสอบเทียบ ไดทั้ง Flow/Volume Test และ Occlusion Test

IMT FlowAnalyzer Set V : Gas Flow Analyzer (PF300) เคร�องวิเคราะหการทำงานของเคร�องชวยหายใจ

เปนเครื่องทดสอบเครื่องชวยหายใจแบบตั้งโตะ สามารถวิเคราะหแกสไดทั้ง อัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณอ็อกซิเจน ที่มีความแมนยำสูง สามารถทดสอบเครื่องมือ ทางการแพทย ไดดังนี้ 1. Ventilators CPAP/Bilevel 2. Ventilators ICU 3. Ventilators Infant 4. Ventilators High Frequency 5. Blood Pressure Analyzer 6. Oxygen Concentrators 7. Vacuum Pumps 8. Spirometers 9. Pipe Gases

IMT FlowAnalyzer Set VA : Anesthesia and Gas Flow Analzer (PF300 with OR-703)

เคร�องวิเคราะหการทำงานของเคร�อง เคร�องรมยาสลบและเคร�องชวยหายใจ เปนเครื่องวิเคราะหเครื่องรมยาสลบ ที่สามารถวิเคราะหแกสรมยาสลบ เชน CO2, N2O, Halothane, Enflurane, Isoflurane, Sevoflurane และ Desfluraneไดและยังวิเคราะห เครื่องชวยหายใจไดทั้ง อัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณอ็อกซิเจน ที่มีความแมนยำสูง สามารถทดสอบเครื่องมือ ทางการแพทยไดดังนี้ 6. Blood Pressure Analyzer 1. Anesthesia Vaporizer 7. Oxygen Concentrators 2. Ventilators CPAP/Bilevel 8. Vacuum Pumps 3. Ventilators ICU 9. Spirometers 4. Ventilators Infant 10. Pipe Gases 5. Ventilators High Frequency

สนใจติดตอ: คุณเฉลิมพร 08-5489-3461, คุณมนัสนันท 08-7714-3630 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ rigel-biomedical


ศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. ไดผานการรับรองหองปฏิบัติการสอบเทียบมาตรฐาน มอก. 17025 ในสาขาไฟฟาทั่วไป และสาขาความดันจากระดับความดัน -1 บาร ถึง 5000 บาร และมุงมั่นที่จะขยายขอบขาย การรับรองในอุณหภูมิ และแรงบิดตอไปในอนาคต อีกทั้งยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาเพิ่ม ขอบขาย ความสามารถในการใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของทานผูใชบริการ ในการสอบเทียบสาขาอื่น ๆ ตอไป

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035

Electrical / Electronics Pressure / Vacuum Temperature Dimension / Torque Gas Detector

2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035


2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035


MTX_2015_EXH_ADS_8.5x11.5.indd 1

7/6/58 BE 5:00 PM




&=5=D5 #ď 9 :!

ĸĭĩ ŘŚōśōŖŜś ĭŋŗĴőŏŐŜļōŋŐ ĩśőʼn b`ae +@ /" b :!G3 ĉ īųļōŋŐ b`ae E-8 ĻŗŔʼnŚųļōŋŐ b`ae

(:*G ĊE!/ < ß!/9 ++)E-8D F!F-*=#+83*9 &-9 :!D&?L5$AĊ#+8 5" :+à #+8 :009 *(:& &+Ċ5)#ď!ē H *D#đ!0A!*č -: !/9 ++)#+83*9 &-9 :! 5 F- G3 ĉE-8 +"/ + =L2@ G!D5D =*

:+H''ą:2ĉ/!(A)(< : Ů&=5D= 5ů +ĉ/) 9""+<1 9 D5K!Ŵ =Ŵ =Ŵ D5K <" < !L9 55 :H!D 5+č ; 9 Ů!=F5ů D +=*)&+Ċ5)-@* :! ĸĭĩ ŘŚōśōŖŜś ĭŋŗĴőŏŐŜļōŋŐ ĩśőʼn b`ae 3+?5 :!E2 !/9 ++)#+83*9 &-9 :! Ċ:!E2 2/ĉ: +9 M = L c > L )= ;3! 9 >!M +83/ĉ: /9! = L aiųba &,0 < :*! &Ŵ0Ŵ beeh 0A!*č :+#+8 @)E3ĉ : <2+< < < P< (:*G ĊE!/ < ß!/9 ++)E-8D F!F-*=#+83*9 &-9 :!D&?5L $A#Ċ +8 5" :+à F * 9 +ĉ/) 9" b :!G3 ĉ ?5 īųļōŋŐ b`ae :!E2 !/9 ++)E-8D F!F-*= Ċ:!+8"" ; /:)D*K!E-8#+9"5: :0 E-8 ĻŗŔʼnŚųļōŋŐ b`ae :!E2 !/9 ++) E-8D F!F-*= :Ċ !&-9 :!E2 5: < *č )9!L G H * +5 E )#Ĉ$ ĊA 9 :!E2 !/9 ++) #+83*9 &-9 :! =LG3 ĉE-8 +"/ + =L2@ G!D5D =* !:* += /@ P< /9 + < H&0:- $A Ċ /ĉ *$A/Ċ :ĉ :+/: E$!E-8&9 !:+8""H''ą: :+H''ą: 2ĉ/!(A)(< : -ĉ://ĉ: ßE!/F!Ċ)2 :! :+ č/ < , H''ą:H *G!#ā beeh - - D)?5L D =*" 9"#ā $L= :ĉ !): F * : :+ č#+<): :+G ĊH''ą:#ā! M= *:* 9/+Ċ5*-8 cųd : #ā ĉ5! =L *:* 9/+Ċ5*-8 dųe >L 2ĉ/!3!>L ): : (:/8D0+1 < =L 8-5 9/ ;G3Ċ (: 5@ 2:3 ++)E-8#+8 : !G ĊH''ą:!Ċ5*- 2ĉ/! :+ *:* 9/ 5 #+<): :+ G ĊH''ą:G!&?!M = L f D)?5 =)L = :*E ! < 9"#+8D 0G! -@)ĉ 5:D =*! : /ĉ: D)?5L )= :+D#Ā ĩĭī 8 ;G3ĊD < *:* 9/ 5 5@ 2:3 ++)H#*9 &?!M = L 9 -ĉ:/ > L 8 ;G3Ċ#+<): :+G ĊH''ą:G!&?M! =LD <"F >M! > +Ċ5*-8 a` D)?L5D =*" 9"#ā ĉ5! 9M !=M ĸĭĩ *9 D <!3!Ċ: :)E$!&9 !:+8""H''ą: G!E$!&9 !:D0+1 < E-8 29 )E3ĉ : < "9" = L aa D <!- @!+/) aŴ`c E2!-Ċ:!": 5: < E$!F + ĉ:* H''ą:59 +<*8 3+?5 ĸĭĩ ĻŕʼnŚŜ įŚőŌ D&?5L +5 +9" :+D ?5L ) ĉ5 5 +8""H''ą: : E3-ĉ &-9 :! : D-?5 =2L 85: E-8 :+"+<3:+ 9 :+ :+G ĊH''ą:$ĉ:!F + ĉ:* $ĉ:!)<D 5+č59 +<*8 F * /:) ?"3!Ċ:2;3+9"F + :+!;+ĉ5 =L&9 *: Ŵ -"@+= )A- ĉ: aŲ`fi -Ċ:!": 8!=M5*Aĉ+83/ĉ: :+ 9 Ċ: "+<19 =L#+> 1:D&?L5): ĉ/* ;E$!#+8 / +: : > L : /ĉ: 8D#Ā #+8 / +: :+9"D3):H ĊG! ĉ/ -: #ā beei D#đ!H# :) +5"D/-: =/L : H/Ċ 2ĉ/!E$!&9 !:&-9 :! E !G! +5" a` #ā ?5 #ā beee ų befe 8!=M :++9" ?M5&-9 :!E2 5: < *č > D#ą:3):* =L/: H/Ċ =L cŲ``` D) 8/9 č E-8+529 : : +9 ":-/ĉ: 8)=!F*":* *:*D& :!D&<)L D <) 3+?5H)ĉ 8 = L :Ċ ! :++9" ?5M &-9 :! =/)/- =*L 9 H)ĉ > D#ą:3):* dŲf`` D) 8/9 č F * 8!=M+9" ?M5H ĊD&=* aŲb`` D) 8/9 č 8D =*/ 9! K 9 :!D&?L52ĉ D2+<)G3Ċ D < :+# <"9 <D#đ!+A# ++)5*ĉ: E Ċ +< G! :! ĸĭĩ ŘŚōśōŖŜś ĭŋŗĴőŏŐŜļōŋŐ ĩśőʼn b`ae +ĉ/) 9" "+<19 D5K!Ŵ =Ŵ =Ŵ D5K <"< 9L! 55 :H!D 5+č ; 9 à !: "@1*: #+8 5" 5 $A Ċ 9 :+ 9/L H# "+<1 9 D5K!Ŵ =Ŵ =Ŵ D5K <" < !L9 55 :H!D 5+č ; 9 -ĉ://ĉ: ßĸĭĩ ŘŚōśōŖŜś ĭŋŗĴőŏŐŜļōŋŐ ĩśőʼn b`ae D#đ! :!E2 !/9 ++)

E-8D F!F-*=#+83*9 &-9 :! Ċ:!E2 2/ĉ: D&?5L $A#Ċ +8 5" :+ = L :+H''ą:2ĉ/!(A)(< :

H ĊG3Ċ :+2!9"2!@!D#đ!#ā L= b F *G!#ā $L= :ĉ !): D+:#+82" /:)2;D+K G! :+ 9 :! H Ċ :)D#ą:3):* =/L : H/Ċ F *G! Ċ:! :+D + : +@ < D <"F >!M +Ċ5*-8 ed D)?5L D =*" 9" #ā &Ŵ0Ŵ beef ;-:*2 < < :+D Ċ: ) :! 9 M : $ADĊ Ċ: ) :!G!#+8D 0E-8 ĉ: #+8D 0 D <"F >!M +Ċ5*-8 a` E-8 ac :)-; 9" +/) 9 M H Ċ+"9 :+ 5"+9"D#đ!5*ĉ: = : $AĊ#+8 5" :+D Ċ:+ĉ/)E2 :!D&<L) >M!+Ċ5*-8 h : i #+8D 0 9L/F- ;G3Ċ :+ 9 :!D K)&?!M = L cŲ``` :+: D) + E-8D < :+D + : +@ < D&<)L >!M : D <) +Ċ5*-8 ed 2+Ċ: )A- ĉ: :+ ?5M :*H Ċ): > b`` -Ċ:!": /:)2;D+K 9 -ĉ:/ 2ĉ $-G3Ċ ĸĭĩ ŘŚōśōŖŜś ĭŋŗĴőŏŐŜļōŋŐ ĩśőʼn b`ae D <"F >M!D#đ!3!>L G!2:) :!G3 ĉ :Ċ !E2 2/ĉ: E3ĉ 5:D =*! D#đ!0A!*č -: -: 2<! Ċ:E-8"+< :+ Ċ:!!/9 ++) E-8D F!F-*= Ċ:!E2 2/ĉ: #+83*9 &-9 :!D&?L5$AĊ#+8 5" :+G!+8 9"5:D =*!à ßD+:)9L!G /ĉ: :! ĸĭĩ ŘŚōśōŖŜś ĭŋŗĴőŏŐŜļōŋŐ ĩśőʼn b`ae G!#ā!=M 8H Ċ+9" :+ 5"+9" =L =): : $AĊ#+8 5" :+5@ 2:3 ++) D!?L5 : :+ *:*&?M! =L :+ 9 :! +/) > :+ > b E!/ < H5D =* :+#+83*9 &-9 :! Ċ:! īųļōŋŐ E-8 ĻŗŔʼnŚųļōŋŐ D Ċ:):+ĉ/)G! :+ 9 :! +9 M != M -ĉ:/ ?5 :! īųļōŋŐ b`ae :!E2 !/9 ++)E-8D F!F-*= :Ċ !+8"" ; /:)D*K!E-8#+9"5: :0 +/"+/)$-< (9 č E-8"+< :+ Ċ:!+8"" ; /:)D*K! D +?5L E ĉD*K! D +?5L #+9"5: :0 D +?5L /" @) 5@ 3(A)< =LD!Ċ! :+#+83*9 &-9 :!D&?L5$AĊ#+8 5" :+(: 5@ 2:3 ++) E-8 ĻŗŔʼnŚļōŋŐ b`ae :!E2 !/9 ++)E-8D F!F-*= Ċ:!&-9 :!E2 5: < *č 8D#đ!D/ = =L!;D2!52<! Ċ: "+< :+ E-8 :+G3Ċ ;#+> 1: Ċ:!&-9 :!E2 5: < *č 2;3+9"(: 5@ 2:3 ++) +/"+/)$AĊ$-< E$ &-9 :!E2 5: < *čE-8D +?L5 )?5 D&?L5 :+$-< : $AĊ#+8 5" :+ 9M!!; : 9L/F- ): 9 E2 > !9"H Ċ/ĉ: 9M 2:) :!!= M 8D#đ! :++/"+/)2@ *5 !/9 ++)E-8D F!F-*=#+83*9 &-9 :!5*ĉ:

+" Ċ/! E-8D#đ!F5 :22; 9 =$L #ĊA +8 5" :+ 9 M :/H *E-8 ĉ: #+8D 0 8H Ċ): &"#8D + : :+ Ċ: +9 M 2; 9 D&?5L ĉ5 +@ < 5 5@2:3 ++)#+83*9 &-9 :! 5 H *G3ĊD <"F ĉ5D!?5L H Ċ5 = *:/H - E-82:):+ "++-@D#ą:3):*$ADĊ Ċ: ) :!#+8): eŲ```ųhŲ``` +:* E-82+Ċ: )A- ĉ: :+ ?5M :*(:*G! :!H Ċ): > c`` -Ċ:!": à !:* =+/@ <P /9 + < H&0:- -ĉ:/2+@# ĸĭĩ ŘŚōśōŖŜś ĭŋŗĴőŏŐŜļōŋŐ ĩśőʼn b`ae 9 &+Ċ5) 9" īųļōŋŐ b`ae E-8 ĻŗŔʼnŚļōŋŐ b`ae +83/ĉ: /9! = L aiųba &,0 < :*! beeh D/-: a`Ŵ``ųahŴ`` !Ŵ 0A!*č :+#+8 @)E3ĉ : <2+< < < P< +@ D &7 2:):+ < :)+:*-8D5=* D&<L)D <)H Ċ =L şşşŴōŋŗŔőŏŐŜųŜōŋŐŴŋŗŕ 3+?525" :)+:*-8D5=* H Ċ =LF +09& č `b b`c dbfaųfb


Quality Management Vol.22 No.212 November-December 2015

Contents Quality of Life 33

ไข้เลือดออก...โรคระบาดที่มากับฤดูฝน โดย โรงพยาบาลหัวเฉียว 34 วิธีป้องกันตัวเองจากโลกแห่งสารพิษ โดย ศูนย์สง่ เสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์

Advertorial 36 ลีนส�ำหรับงานบริการ

ตอน ลีนในโรงพยาบาลศิริราช โดย แผนกออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ นุ่ )

Special Issue 41

เกษตรไทยก้าวไกลในอาเซียน โดย กองบรรณาธิการ

26 Cover Story 13 Metrel MI3152 EurotestXC เครื่องตรวจสอบระบบไฟฟ้าในอาคาร รุ่นใหม่จอสี ท�ำงานอัตโนมัติใน 3 ขั้นตอน

โดย บริษทั เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด Quality System

Quality Trend 23 การปรับระบบ ISO 9001:2008 เข้าสู่มาตรฐาน ISO 9001:2015

โดย นายคุณภาพ 26 มาตรฐานสากล IEC TC65 ต่ออนาคตอุตสาหกรรมประเทศไทย โดย ศรีนคร นนทนาคร

Quality for Food 30 หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้าตามแนวทางของ AIB

AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices ตอนที่ 7 โดย สุวมิ ล สุระเรือ่ งชัย

Quality Management Quality Finance 46 จีน vs ญี่ปุ่น บนเวทีเศรษฐกิจโลก

โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์

Quality Strategy 48 กลยุทธ์จัดการห่วงโซ่อุปทานด้วยบูรณาการ ฉบับกระเป๋า

โดย พัชรนันท์ กลัน่ แก้ว

46



Quality Management Vol.22 No.212 November-December 2015

51

Contents Quality Marketing & Branding 51 Marketing New Trend update from Japan: กลยุทธ์การขึ้นราคาแล้วมีชัยชนะในยุคเศรษฐกิจไม่ดี โดย ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์

54

การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ในหน่วยบริการปฐมภูมิ: บทเรียนจากกรณีศึกษา Best Practice โดย ผศ.ดร.พัลลภา ปีตสิ นั ต์

Quality People 56 Job Description ใครควรเป็นคนเขียน โดย ธ�ำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์

58

แผนกลยุทธ์บนเกมการแข่งขัน

โดย ดร.ประเวศน์ มหารัตน์สกุล

Quality Movement

54

63 Quality Book Guide 64 Quality Movement 68 Advertiser Index

58


นิตยสาร

CREATIVE & IDEA KAIZEN

จัดโปรแรงส...ฉลองสูปที่ 10

สมาชิก 1 ป 790.-

SUBSCRIPTION CREATIVE & IDEA KAIZEN

รับเพิ่ม 3 ฉบับ (ฉบับยอนหลัง)

สมาชิก 2 ป 1,550.รับเพิ่ม 6 ฉบับ (ฉบับยอนหลัง) วิธีการชำระเงิน

 เช็คสั่งจายในนาม “สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)”  โอนเงิน เขาบัญชี ในนาม “สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)”  ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 เลขที่บัญชี 172-0-239233 บัญชีสะสมทรัพย  ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 เลขที่บัญชี 009-2-233-25-3 บัญชีออมทรัพย

ประเภท  บุคคล  นิติบุคคล | สมัครสมาชิก  1 ป  2 ป ขอมูลสมาชิก

ชื่อ-นามสกุล......................................................................................................... ตำแหนง.................................................. แผนก................................................... ชื่อบริษัท............................................................................................................... ที่อยู .................................................................................................................... ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ โทรศัพท........................................... ตอ........ โทรสาร........................................... Email ……………………………………………………..………………………........

ขอมูลออกใบเสร็จ

เลขที่ประจำตัวผูเสียภาษี (13 หลัก) ........................................................................ ชื่อบริษัท............................................................................................................... ที่อยู ..................................................................................................................... ตัวแทนรับใบเสร็จ (ชื่อ-นามสกุล)............................................................................ (ปองกันการสูญหายในการจัดสงใบเสร็จ)

ขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ เจาหนาที่งานสมาชิกสัมพันธ

โทรศัพท 0 2258 0320 ตอ 1740 (คุณจารุภา) โทรสาร 0 2662 1096 E-mail: maz_member@tpa.or.th


Editor’s Talk การ

เกษตรเป็นภาคการผลิตที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย แต่ ทัง้ นีด้ ว้ ยสภาวะสิง่ แวดล้อมทีผ่ า่ นมาอาจส่งผลต่อการพัฒนาและต่อยอดการ ผลิต ดังนั้น ผู้ประกอบการจึงต้องมีการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาประยุกต์ใช้ ให้การด�ำเนินงานประสบผลสัมฤทธิ์ นอกเหนือจากระบบการผลิตทีท่ นั สมัยและเหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมแล้ว การ บริหารจัดการโดยเฉพาะการจัดการทางด้านการตลาดในผลิตผลเพาะปลูกให้แก่เกษตรกร และผู้ประกอบการเป็นเรื่องที่ส�ำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าเรื่องใด เพราะจะเป็นการสร้าง โอกาสแก่ภาคการเกษตรให้สามารถขยายขีดความสามารถและสร้างรายได้ได้อย่างเป็น รูปธรรม

ฉบั บ ที่ 212 เดื อ นพฤศจิ ก ายน-ธั น วาคม 2558 ขอเสนอสกู๊ปเกี่ยวกับ การเกษตรในประเด็นเรื่องการจัดจ�ำหน่ายมาน�ำเสนอแก่ท่านผู้อ่าน นอกจากนี้ยังมี บทความที่คัดสรรมาเพื่อทุกท่านอีกเช่นเคย อาทิ Quality System เสนอบทความเรื่อง การปรับระบบ ISO 9001:2008 เข้าสู่มาตรฐาน ISO 9001:2015 บทความเรื่อง หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า ตามแนวทางของ AIB ตอนที่ 7 Quality Management เสนอ บทความเรื่อง จีน vs ญี่ปุ่น บนเวทีเศรษฐกิจโลก บทความเรื่อง กลยุทธ์จัดการห่วงโซ่อุปทานด้วย บูรณาการฉบับกระเป๋า บทความเรื่อง Marketing New Trend update from Japan กลยุทธ์การ ขึ้นราคาแล้วมีชัยชนะในยุคเศรษฐกิจไม่ดี บทความเรื่อง แผนกลยุทธ์บนเกมการแข่งขัน ขอให้ ทุกท่านเต็มอิ่มกับบทความคุณภาพของเรา พบกันใหม่ฉบับหน้า

Published by

Advisors คุณมนตรี ชูนามชัย คุณญาณพัฒน อูทองทรัพย

Executive Editor สมใจ วัฒนบรรเจิด

Editorial Assistant พรามร ศรีปาลวิทย จารุภา มวงสวย

Graphics Art Director Production Design โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1731, 1732, 1708

PR & Advertising Supervisor: ฬ�ยากร ขุพินิจ โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th

Marketing Service

บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

Advertising

บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

Member

จารุภา มวงสวย โทร. 0-2259-9160 ตอ 1740 ภาพประกอบบางสวนโดย www.shutterstock.com

วัตถุประสงค บทความและขอมูลในนิตยสารฉบับนี้เปนความคิดเห็นสวนตัว และลิขสิทธิ์ของผูเขียน จึงไมมีสวนผูกพันกับสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) แตอยางใด อีกทั้งขอมูลตาง ๆ อาจผิดพลาดเน�องจากกระบวนการพิมพ จึงมิควรใชอางอิงกอนที่จะตรวจสอบใหชัดเจน และในกรณีมีบทความใดที่ผูอานเห็นวาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิงหรือทำให เขาใจผิดวาเปนผลงานของผูเขียน กรุณาแจงใหทางสมาคมฯ ทราบ จักเปนพระคุณอยางยิ่ง


Q

Cover Story for

uality

Metrel MI3152 EurotestXC

เครือ่ งตรวจสอบระบบไฟฟ้าในอาคาร

แม่นยำ� ปลอดภัย มั่นใจเม็ตเทรล

รุน่ ใหม่จอสี ท�ำงานอัตโนมัตใิ น 3 ขัน้ ตอน

ตรวจสอบระบบไฟฟ้าตามมาตรฐาน BS7671, IEC60364, IEC61557 สำ�หรับ ช่างไฟฟ้าที่ซ่อมบำ�รุงระบบไฟฟ้าตามโรงงาน อุตสาหกรรม อาคารสูง สำ�นักงาน บ้าน และ โรงงาน

1 AUTO TEST SEQUENCE ที่สามารถโปรแกรม ลำ�ดับการทดสอบได้ล่วงหน้าแบบอัตโนมัติ

2

3

ทำ�งานร่วมกับเครื่องอ่านบาร์โค้ดได้ โดยกำ�หนด หมายเลขตำ�แหน่งของเต้ารับไฟฟ้าแต่ละจุด (asset ID)

สามารถ Link กับมือถือระบบ Android ดูข้อมูลผลการทดสอบ ส่งรายงานผ่านอีเมลจากหน้างาน จัดทำ�รายงานผ่านคอมพิวเตอร์ได้ในรูปแบบตามมาตรฐาน BS7671

แค่กดปุ่ม Test เครื่องดำ�เนินขั้นตอน การทดสอบให้อัตโนมัติ และกดปุ่ม MEM เพื่อบันทึกผลการทดสอบ

บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด www.measuretronix.com

www.measuretronix.com /metrel

สนใจติดต่อ : คุณจิรายุ 083-823-7933 คุณเนตรนภางค์ 089-895-4866 คุณเฉลิมพร 085-489-3461 คุณมนัสนันท์ 087-714-3630 เรามักได้ยินข่าวอยู่เสมอในเรื่องของอันตรายของระบบไฟฟ้าที่ มีอันตรายถึงชีวิต ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์ไฟรั่ว ไฟฟ้าลัดวงจร รวมถึง การเกิดเหตุเพลิงไหม้ต่าง ๆ ทั้ง ๆ ที่ระบบไฟฟ้าส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่มี การออกแบบวงจรป้ อ งกั น ทั้ ง สิ้ น แล้ ว สาเหตุ อ ะไรที่ ยั ง ท� ำ ให้ เ กิ ด เหตุการณ์ที่เศร้าสลดใจอยู่เสมอ

การติดตัง้ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการบ�ำรุงรักษาอย่างต่อเนือ่ ง จึงมีความส�ำคัญเป็นอย่างมากทีจ่ ะต้องท�ำการตรวจสอบ เครือ่ งทดสอบ ระบบไฟฟ้าและการติดตั้งจึงเข้ามามีบทบาทส�ำคัญเป็นอย่างมาก เพื่อ ให้การตรวจสอบง่ายขึ้น และที่ส�ำคัญคือเป็นไปตามมาตรฐาน เพื่อ พิสูจน์ทราบพร้อมท�ำรายงานผล

for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

13


Cover Story

Metrel MI3152 EurotestXC เครือ่ งตรวจสอบระบบไฟฟ้าในอาคาร รุน่ ใหม่จอสี

Vol.22 No.212 November-December 2015

สามารถตรวจสอบระบบไฟฟ้ า ตามมาตรฐาน BS7671, IEC60364, IEC61557 ส�ำหรับช่างไฟฟ้าที่ซ่อมบ�ำรุงระบบไฟฟ้าตาม โรงงานอุตสาหกรรม อาคารสูง ส�ำนักงาน บ้าน และโรงงาน ทีว่ างแผนการ ซ่อมบ�ำรุง ทีม่ ปี ริมาณงานมาก หมดกังวลไปได้เลยกับฟังก์ชนั่ พิศษดังนี้ ● AUTO TEST SEQUENCE ที่สามารถโปรแกรมล�ำดับการ ทดสอบแบบอัตโนมัติ ● สามารถท�ำงานร่วมกับเครื่องอ่านบาร์โค้ดได้ โดยสามารถ ก�ำหนดหมายเลขต�ำแหน่งของเต้ารับทางไฟฟ้าแต่ละจุด (asset ID) และสามารถเขียนโปรแกรมล�ำดับการทดสอบให้สอดคล้องได้แบบ อัตโนมัติ เมื่อเครื่องอ่านบาร์โค้ด โปรแกรมการทดสอบจะปรากฏโดย อัตโนมัติทันที ● แค่ ก ดปุ ่ ม Test เครื่ อ งด� ำ เนิ น ขั้ น ตอนการทดสอบให้ อัตโนมัติ

14

อุปกรณ์ในชุดมาตรฐานของ Metrel MI 3152

เมื่ อ เครื่ อ งด� ำ เนิ น การทดสอบส� ำ เร็ จ แค่ ก ดปุ ่ ม MEM (memory) เครื่องจะบันทึกผลการทดสอบให้โดยอัตโนมัติ โดยใช้ ต�ำแหน่งที่ระบุไว้ด้วยบาร์โค้ด ● สามารถท� ำ รายงานผ่ า นคอมพิ ว เตอร์ ไ ด้ ใ นรู ป แบบตาม มาตรฐาน BS7671 ● สามารถ Link กั บ มื อ ถื อ ระบบแอนดรอยได้ สามารถ ดูข้อมูลผลการทดสอบได้อย่างง่ายดาย และสามารถส่งรายงาน ผ่านอีเมลจากหน้างานได้อย่างง่ายดาย Metrel MI3152 เป็นเครื่องตรวจสอบระบบไฟฟ้าที่สามารถใช้ งานได้อย่างครอบคลุมการท�ำงานที่หลากหลาย ทั้งตรวจสอบแบบ ผู้ตรวจสอบอาคาร (auditor) หรือตรวจสอบแบบงานซ่อมบ�ำรุง

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าในตู้ควบคุม

การทดสอบระบบไฟฟ้าที่เต้ารับ แบบ 1 เฟส

การทดสอบระบบกราวด์

การทดสอบเต้ารับไฟฟ้าแบบ 3 เฟส

การทดสอบฉนวนที่ตู้ควบคุม

การทดสอบฉนวนของตัว ตัดป้องกันลัดวงจร

ทดสอบหลักดินแบบ 3 Pols


Cover Story

มาตรฐานการติดตัง้ ไฟฟ้า BS7671

L E N

อย่างไรก็ตาม หากจะตรวจวัดให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ขออ้างอิงกับมาตรฐาน BS7671 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่เหมาะสมที่สุด มาตรฐานหนึ่ง และเป็นที่นิยมใช้ในยุโรป และน่าจะมีความสอดคล้อง กับมาตรฐานที่ใช้ติดตั้งในประเทศไทยมากที่สุด ล�ำดับการตรวจสอบการติดตัง้ ระบบไฟฟ้าจะสามารถท�ำได้ดงั นี้ ● ตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนจ่ายไฟจริง ● ตรวจสอบระบบไฟฟ้าขณะจ่ายไฟ ก่อนติดตั้งเครื่องใช้ ไฟฟ้า ● ตรวจสอบเพื่อท�ำการซ่อมบ�ำรุงรักษาตามช่วงเวลา

L E N

L E N

N

L

“wandering lead” main switch off all fuses removed circuit-breakers off

test instrument

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนจ่ายไฟจริง

การตรวจสอบในขั้นตอนนี้จะใช้การตรวจวัดในเรื่องของความ ต้านทานเป็นหลัก ซึ่งมีอยู่ 2 ส่วน คือ ความต่อเนื่องของสายไฟฟ้า และความต้านทานฉนวน ความต่อเนื่องของสายไฟฟ้า (continuity) มีความจ�ำเป็นที่จะ ต้องเลือกเครื่องมือที่สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้า 200mA ขึ้นไปในการ ทดสอบ (ตามมาตรฐาน IEC60364, BS7671 และ EN61557) เพื่อให้ ได้ค่าความต้านทานที่ละเอียด L E N

L E N

L E N

Method 2: ตรวจวัดความต่อเนือ่ งระหว่างจุดลงกราวด์ทตี่ ู้ MDB กับจุดเชื่อมต่อกราวด์ที่ Outlet (รวมไปถึงโครงเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ด้วย) ซึง่ ในทางปฏิบตั จิ ดุ วัด 2 ขัว้ จะมีระยะทีห่ า่ งกัน จึงต้องใช้สายม้วน ยาวซึ่งเราจะเรียกว่าสาย Wonder Lead ร่วมด้วย ความต้านทานฉนวน เป็นการวัดความต้านทานฉนวนของ สายไฟฟ้าเพื่อสร้างฐานข้อมูล Base Line เก็บไว้เพื่อให้มีเกณฑ์ใน การตัดสินใจได้หากฉนวนมีการเสื่อมสภาพลง

temporary link N

L

main switch off all fuses removed circuit-breakers off Note: remember to remove link after test

Method 1: ท�ำการเชื่อมต่อสาย Jump ระหว่าง L – PE ที่ MDB แล้วจึงท�ำการวัดความต่อเนื่องระหว่าง L- PE ที่ขั้วของ Outlet แต่ละ จุด ความต้านทานทีว่ ดั ได้ควรมีคา่ ต�ำ่ ทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ตาม Spec ของความต้านทานต่อความยาวของสายไฟฟ้า

การตรวจวัดฉนวนอาจมีการวิเคราะห์ตวั แปรอืน่ ทีส่ ามารถช่วย วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงฉนวนตามเวลา ซึ่งเครื่องมือจะจ่ายแรงดัน ต่อเนื่องตามเวลามาตรฐานที่ก�ำหนด คือ ค่า 1. Polarization Index (PI) 2. Dielectric Absorb (DAR)

Vol.22 No.212 November-December 2015

test instrument

15


Cover Story อย่างไรก็ตาม ความผิดพลาดส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้น คือ การไม่ เชือ่ มต่อสายดิน (PE) มายังเต้ารับ ซึง่ นัน่ หมายความว่าแม้เราจะมีระบบ หลักดิน แต่เครื่องใช้ไฟฟ้าใด ๆ ก็ตามที่จะมาเชื่อมต่อกับเต้ารับหรือ แหล่งจ่ายไฟจุดนี้ จะไม่มรี ะบบป้องกันไฟฟ้ารัว่ ไหลซึง่ อาจเกิดอันตราย ได้

ตัวอย่างการเชื่อมต่อสายไฟที่ผิดพลาดในรูปแบบต่าง ๆ ที่จุด Outlet ดัชนีชวี้ ดั ดังกล่าวสามารถช่วยท�ำให้วเิ คราะห์ความเป็นฉนวน ได้ง่ายขึ้น ( MI 3152H เท่านั้น)

การตรวจสอบระบบไฟฟ้าขณะจ่ายไฟ ก่อนติดตัง้ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า

ดังนั้น สิ่งที่ควรระวังทุกครั้งก่อนน�ำเครื่องใช้ไฟฟ้าไปต่อใช้งาน ร่ ว มกั บ เต้ า รั บ เราควรตรวจวั ด ความถู ก ต้ อ งของค่ า ดั ง กล่ า วเพื่ อ ปลอดภัย เต้ารับที่เราเห็นมี 3 รู อาจมีเพียงสายแค่ 2 เส้นต่อร่วมเข้ามา เท่านั้น ปัญหาความผิดพลาดส่วนใหญ่ที่เกิดจากการเชื่อมต่อที่ไม่ สมบูรณ์ที่ Outlet ตามรูป

ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้า ที่เต้ารับหรือที่ตู้ MDB ระบบไฟฟ้าในประเทศไทยจะใช้การเชือ่ มต่อแบบ TN-C-S ซึง่ จะมีการเชื่อมต่อกันระหว่าง Protective Earth หรือ PE กับ Neutral Bar ที่ตู้ Main Circuit Breaker (MDB) และจะมีการเดินสายดิน (PE) คู่ไปกับสายนิวทรัล แยกกันจนถึง Outlet

Vol.22 No.212 November-December 2015

ตัวอย่าง รูปแสดงการสลับสายระหว่าง L-N

16

แสดงระดับแรงดันปกติ ดังนัน้ การวัดแรงดันระหว่าง L-N และ L-PE ควรมีคา่ ใกล้เคียง กัน หากเป็นระบบไฟฟ้า 3 เฟส ก็ควรมีการตรวจวัดระดับแรงดัน Line to Line และการตรวจวัดล�ำดับเฟสร่วมด้วย แรงดันที่วัดได้ระหว่าง L- PE และ L-N ควรจะอยู่ประมาณ 230V และแรงดันที่วัดระหว่างสาย Netral เทียบกับ PE (สายดิน) เมื่อ วัดที่เต้ารับแล้วแรงดันตัวนี้ก็ควรอยู่ในช่วง 0-3V


Cover Story นอกจากนี้การตรวจวัดระดับแรงดันแบบ 3 เฟส เพื่อยืนยัน ความถูกต้องในการเชือ่ มต่อเพือ่ ก�ำหนดทิศทางการหมุนของ Load ก็มี ความส�ำคัญด้วย ตัวเครื่องจะท�ำการตรวจวัดแรงดันอัตโนมัติว่าเป็นแบบ 1 เฟส หรือ 3 เฟส (โดยเครื่องมือสามารถเปลี่ยนการแสดงผลได้อัตโนมัติ) เมื่อวัดแรงดัน 1 เฟส และ 3 เฟส แล้วความต้านทาน Loop Impedance มีความส�ำคัญอย่างไร ? ความต้านทานที่สูงขึ้นในสายหรือความต้านทานที่เกิดขึ้นที่ จุดต่อ ล้วนแล้วแต่ท�ำให้เกิดความร้อนสูงขึ้นทั้งสิ้น

ระดับแรงดันแบบ 1 เฟส

ภาพความร้อนที่จุดเชื่อมต่อหลวม

ตรวจวัดความต้านทานทางไฟฟ้ากระแสสลับ Line Impedance และ Loop Impedance

เป็นการตรวจวัดความต้านทาน Impedance ในขณะจ่ายไฟฟ้า ซึ่งความยาวของสายไฟฟ้า จุดเชื่อมต่อที่หลวม การขดม้วนของสาย รวมไปถึงขนาดของสายไฟฟ้า ล้วนแล้วแต่มีผลเรื่องความต้านทานใน สายสูงขึ้นทั้งสิ้น ค่า Impedance นี้จะช่วยยืนยันความถูกต้องในการวิเคราะห์ เพิ่มเติมอีกขึ้นหลังจากวัดแรงดัน โดยจะมีการวิเคราะห์ค่าความ ต้านทาน 2 ส่วน นั่นคือ ● Loop Impedance คือ ความต้านทานวงรอบที่วัดระหว่าง L-PE ● Line Impedancde คือ ความต้านทานวงรอบทีว ่ ดั ระหว่าง L- N

ตัวอย่างการวัดที่ให้ผลลัพธ์ Impedance และ Ipsc ปกติ

Vol.22 No.212 November-December 2015

ระดับแรงดันแบบ 3 เฟส

นอกจากนีค้ วามต้านทาน Impedance ทีส่ งู ขึน้ ยังส่งผลต่อเนือ่ ง ไปยังอุปกรณ์ปอ้ งกันกระแสไฟฟ้าเกิน ซึง่ หากค่าความต้านทานทีส่ งู ขึน้ เกิดการลัดวงจร ก็จะท�ำให้เกิดกระแสไฟฟ้าลัดวงจรแบบนี้ต่อเนื่อง ตลอดเวลา โดยเครื่องป้องกันกระแสไฟฟ้าเกินไม่ท�ำการตัดวงจร ซึง่ อาจเกิดอันตรายต่อเครือ่ งใช้ไฟฟ้าตัวอืน่ และสายไฟฟ้าอาจ ร้อนจนถึงสายไฟไหม้ได้ ซึ่งเป็นสาเหตุส�ำคัญสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้เกิด เพลิงไหม้ เราจะเรียกค่ากระแสทีว่ ดั ได้จากเครือ่ งว่า Prospective Short Circuit Current ซึง่ การลัดวงจรดังกล่าวสามารถเกิดขึน้ ได้ทงั้ L-N และ L-PE

17


Cover Story Power & Harmonics หากมีการเชือ่ มต่อเครือ่ งใช้ไฟฟ้าเข้ากับเต้ารับและมีการใช้งาน Load เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีการกินกระแสแบบไม่เป็นเชิงเส้น อาจท�ำให้ เกิดปัญหารบกวนกับเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวอื่นได้

ตัวอย่างผลการวัดทีใ่ ห้คา่ Loop Impedance ทีส่ งู และค่า Ipsc ต�ำ่ กว่าพิกดั การตัดวงจรของอุปกรณ์ชนิด Fuse ในระบบ Ipsc: Prospective Short Circuit Current คือ ค่ากระแสทีอ่ าจ จะเกิดขึ้นหากมีการลัดวงจรของ L-PE รวมถึงวิเคราะห์ปัญหาความ ต้านทาน ทั้ง Resistance และ Inductance แรงดันไฟฟ้าตกอันเกิดจาก Line Impedance ทีส่ งู ขึน้ (Delta U) ในกรณีทเี่ กิดปัญหาความต้านทานในสายและจุดต่อสูงขึน้ อาจ มีผลไปถึงแรงดันไฟฟ้าที่ปลายจุด Outlet ตกลง ซึ่งนอกจากจะเกิด ปัญหาความร้อนที่จุดต่อและสายไฟที่สูงขึ้นแล้ว ยังมีผลไปถึงแรงดัน ที่จ่ายให้ Load ต�่ำลงด้วย ซึ่งเป็นผลท�ำให้ Load เครื่องใช้ไฟฟ้าดึงกระแสสูงขึ้น และ อาจเกิดความร้อนที่สูงขึ้นตามล�ำดับ โดยปกติแล้วเราไม่ควรปล่อยให้ แรงดันไฟที่ Outlet ตกเกิน 5% เมื่อเทียบกับแรงดันที่ MDB

การวัดความต้านทานดิน

Vol.22 No.212 November-December 2015

นอกจากนี้เครื่อง Metrel MI 3152 ยังสามารถตรวจวัดความ ต้านทานดินได้ 3 แบบ คือ วัดค่า Soil Resistivity ประเมินสภาพดินเพื่อออกแบบระบบ รากสายดิน รวมทัง้ ขนาดและความยาวของสายและแท่ง Ground Rod (ใช้ร่วมกับอุปกรณ์เสริม เป็น Option)

18


Cover Story

วัดค่ากราวด์ดินแบบ Fall of Potential ตรวจวัดความต้านทาน ดินแบบ 3 จุด (ปัก Ground Rod เพิ่มอีก 2 จุด)

วัดกระแสรั่วไหล (leakage current) การตรวจสอบปัญหา กระแสไฟฟ้ารั่วไหลที่อาจเกิดจากฉนวนไฟฟ้าเสียหาย ซึ่งปริมาณ กระแสไฟฟ้ารั่วไหลอาจท�ำให้เกิดอันตราย และการสูญเสียพลังงาน ไฟฟ้า

Vol.22 No.212 November-December 2015

การตรวจความต้านทานดินแบบ Loop ● เป็ น การวั ด ความต้ า นทานดิ น แบบไม่ ต ้ อ งปั ก แท่ ง Rod สามารถใช้เพียง Clamp เสริม 2 ตัว วัดความต้านทานแบบวงรอบ ● ใช้วด ั ความต้านทานดินของระบบรวม (ทัง้ ระบบไฟฟ้า และ สายล่อฟ้า) ● ใช้วัดความต่อเนื่องของสายดิน (above ground)

19


Cover Story การสร้างฐานระบบข้อมูลให้เป็นระเบียบ

ทา้ ยปี ่ ง ส ง ร แ น ้ อ ร ุ ด โปรโมชนั่ ส EurotestXC ในรุ่น MI3152

การสร้าง Work Space ผู้ใช้งานเครื่องมือสามารถก�ำหนดเอง ได้ตามความต้องการของจ�ำนวนวัด

MI3152 EurotestXC มี 2 รุ่น คือ 1. รุ่นมาตรฐาน MI3152ST ในราคา 97,000.- บาท*

ผูใ้ ช้งานสามารถสร้าง Structure ในการตรวจวัดตาม Connection ต่าง ๆ ในระบบได้

2. รุ่นครบเครื่อง MI3152EU ที่มาพร้อมแคล้มป์วัดกระแส และแคล้มป์กราวด์ ในราคา 135,000.- บาท* พิเศษส�ำหรับรุ่น MI3152EU แถมฟรี Samsung Galaxy Tab S2 เอาไปใช้ออก Report จ�ำนวน 1 เครื่อง** ตั้งแต่วันนี้จนถึง 31 ธันวาคม 2558 หมายเหตุ * ราคายังไม่รวม Vat 7% ** ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนของแถมที่มีมูลค่าเท่าเทียมกัน ในกรณีสินค้าหมด

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่:

คุณจิรายุ 083-823-7933 คุณเนตรนภางค์ 089-895-4866 คุณเฉลิมพร 085-489-3461 คุณมนัสนันท์ 087-714-3630 หน้าจอสัมผัสพร้อม Virtual Keyboard ที่สามารถพิมพ์ชื่อ ได้ตามที่ผู้ใช้งานเครื่องต้องการ

Vol.22 No.212 November-December 2015

บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

20

2425/2 ถนนลาดพร้าว ระหว่างซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2514-1000; 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail: info@measuretronix.com

ผูใ้ ช้งานสามารถท�ำการตรวจวัดตาม Structure ทีส่ ร้างขึน้ และ ดาวน์ โ หลดข้ อ มู ล ลงคอมพิ ว เตอร์ ไ ด้ เพื่ อ ท� ำ รายงานในรู ป แบบ มาตรฐาน และสร้างฐานข้อมูลให้เป็นระบบ


ผลิตสินคาใหมีมากกวาคุณภาพ

ไดอยางไร?

ับรอง

ผานการร ณ ุ ค  ให น ั ะก ร ป บ ั ร T CC

ในทุกคำถามที่เกี่ยวกับ “Quality” CCT มี ใหคุณทุก “คำตอบ”

Consultancy Services and Training 

ISO 9001

ISO 14001

ISO/TS 16949

ISO/IEC 17025

HACCP 

TQM

 

5S

Pre-assessment Audit

Consult

QS 9000

TIS 18001

QCC

In-house Training

ติดตอสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณมัลลิกา

CCT SQUARE CO., LTD.

1570 Phaholyothin Rd., Ladyaw, Jatujak, Bangkok 10900 Tel. 0-29397717-20 (6 Automatic Line) Fax: 0-25121475 1570 ถนนพหลโยธ�น แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-29397717-20 (6 คูสายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-25121475 http://www.cctsquare.com e-mail: service@cctsquare.com


Q

System for

uality

Trend for Food of Life Advertorial


Q

Trend for

uality

การปรับระบบ ISO 9001:2008 เข้าสู่มาตรฐาน ISO 9001:2015 มาตรฐาน

ISO 9001:2015 ฉบับมาตรฐาน สากล (IS) ได้ประกาศใช้ในเดือน กันยายน 2015 นี้ โดยปัจจุบนั จะมีการเวียนมาตรฐาน ISO 9001:2015 ฉบับร่างครั้งสุดท้าย (FDIS) เพื่อขอความเห็นชอบจากสมาชิก ซึ่งจะ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในเนื้อหาส�ำคัญ ดังนั้น องค์การที่ประยุกต์ใช้ มาตรฐาน ISO 9001:2008 สามารถเตรียมพร้อมในการปรับปรุงระบบ เข้าสู่มาตรฐาน 9001:2015 ได้ตั้งแต่ปัจจุบัน โดยแนวทางในการปรับ เข้าสู่มาตรฐาน ISO 9001:2015 ในรายละเอียดของกิจกรรมการ ประยุกต์ใช้แต่ละข้อก�ำหนด สามารถด�ำเนินการได้ดังนี้ 1. การประชุมระดมความคิดเห็นโดยผู้บริหาร และทีมงาน ระบบบริ ห ารคุ ณ ภาพ เพื่ อ พิ จ ารณาการก� ำ หนดและการบั น ทึ ก รายละเอียดผลการระดมสมอง ดังนี้ ➲ การวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบันขององค์การ การ พิจารณาถึงบริบทองค์การ (context of organization) ตามข้อก�ำหนด 4.1 คือ การพิจารณาบทบาทหน้าที่ปัจจุบันขององค์การที่สร้างคุณค่า (value) ให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (interest party) ตัวอย่างเช่น บริษทั ผูผ้ ลิตเครือ่ งดืม่ น�ำ้ ผลไม้จะระบุคณ ุ ค่าของ องค์การ คือ การผลิตน�ำ้ ผลไม้ทมี่ คี ณ ุ ค่า มีประโยชน์ ถูกสุขลักษณะและ สร้างความสดชืน่ ต่อผูบ้ ริโภค และการสร้างคุณค่าในการแปรรูปสินค้า ทางการเกษตร สร้างรายได้ให้เกษตรกรหรือบริษัท ผู้ให้บริการขนส่ง สินค้าก็จะระบุคณ ุ ค่าขององค์การ คือ การขนส่งสินค้าให้ถงึ ทีห่ มาย โดย เก็บรักษาสินค้าให้ลกู ค้าตลอดเวลาอย่างปลอดภัย และตรงตามก�ำหนด เวลา ➲ การก�ำหนดทิศทางกลยุทธ์องค์การ (strategic direction) ซึง่ นิยามความหมายของ Strategic Direction หมายถึง ทิศทางกลยุทธ์ ขององค์การทีต่ อ้ งการมุง่ สูผ่ ลลัพธ์ทตี่ อ้ งการของพันธกิจ (mission) และ วิสัยทัศน์ (vision) ซึ่งเป็นสิ่งที่องค์การมุ่งหวังให้บรรลุในอนาคต ➲ การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (external issue) และปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน (internal issue) โดยปัจจัย สภาพแวดล้อมภายนอก ได้แก่ Politic, Economic, Social, Techno-

นายคุณภาพ

logy, Environment, Legal หรือเราเรียกย่อ ๆ คือ PESTEL และปัจจัย สภาพแวดล้อมภายใน (internal issue) ได้แก่ วัฒนธรรม คุณค่า ความรู้และผลการด�ำเนินงานขององค์การ ➲ การท�ำความเข้าใจความต้องการและความคาดหวังของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (interested party) ตามข้อก�ำหนด 4.2 ได้แก่ วิธกี ารชีบ้ ง่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย การประเมินอ�ำนาจควบคุม การมีอทิ ธิพล และผลกระทบต่อองค์การ และการวิเคราะห์ความต้องการและความ คาดหวังผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยองค์การทั่วไปนั้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ขั้นต�่ำสุด คือ ลูกค้า (customer) ผู้ส่งมอบ (supplier) ขณะที่บาง องค์การ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับองค์การมีหลายราย ได้แก่ ตัวแทนจัดจ�ำหน่าย (dealer) ตัวแทนลูกค้า (broker) ภาคสังคม (social) ภาครัฐ (government) เป็นต้น ตัวอย่างเช่น กิจกรรมโรงงานผลิตไฟฟ้า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ ลูกค้าผู้ใช้ไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตที่เป็นผู้ก�ำกับดูแล การผลิตไฟฟ้าให้เป็นไปตามสัญญา ชุมชน และภาคสังคมที่อาจได้รับ ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมจากการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยหาก เชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตเป็นเชื้อเพลิงชนิดที่อาจก่อให้เกิดมลพิษ เช่น ถ่านหิน ขยะ ก็จะมีความเสี่ยงจากการร้องเรียนในชุมชนมากกว่า เชือ้ เพลิงสะอาด หรือผูป้ ระกอบกิจกรรมการแปรรูปอาหารทะเลส่งออก ยุโรป ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องที่ส�ำคัญ ได้แก่ ลูกค้า ภาครัฐของ ลู ก ค้ า กฎหมายการต้ า นการค้ า มนุ ษ ย์ การประมงที่ ถู ก ต้ อ งตาม กฎหมาย ระบบการสอบกลับทางการประมง ➲ การก�ำหนดขอบข่ายของระบบบริหารคุณภาพ ตามข้อก�ำหนด 4.3 เพื่อเป็นการพิจารณาชี้บ่งประเด็นด้านสภาพแวดล้อม ภายในและภายนอกและข้อก�ำหนดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อน�ำไป ออกแบบระบบบริหารคุณภาพและการพิจารณาข้อก�ำหนดที่จ�ำเป็น ต้องประยุกต์ใช้ตอ่ ไป โดยการก�ำหนดขอบข่าย ควรพิจารณาบริบทของ องค์การเพื่อสร้างคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ➲ การทบทวนนโยบายคุณภาพที่ตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย สอดคล้องกับบริบทและทิศทางขององค์การ for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

23


Trend 2. การด�ำเนินการประเมินความเสี่ยง ตามข้อก�ำหนด 6.1 โดยอาจใช้หลักเกณฑ์การก�ำหนดระดับความรุนแรง และโอกาสในการ เกิด มาประเมินระดับความเสีย่ งทีม่ นี ยั ส�ำคัญและต้องการระดับในการ ควบคุม ตัวอย่างของการประเมินความเสีย่ ง ซึง่ สามารถประยุกต์ใช้ได้ ตามแนวทางดังนี้ แต่ไม่มีข้อจ�ำกัด ➲ ความรุนแรง (severity of hazards) 3 = มีความรุนแรงสูงมาก เช่น มีผลต่อความต่อเนื่องทาง ธุรกิจขององค์การ ธุรกิจขององค์การอาจจะหยุดชะงักถาวร หรือมีความ เสียหายต่อบริษัทมูลค่าสูง (มากกว่าห้าแสนบาท) ได้แก่ การเรียกร้อง ค่าเสียหายจากลูกค้า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเสียหายที่จ�ำเป็นต้อง เรียกคืน ข้อก�ำหนดลูกค้าหรือกฎระเบียบใหม่ที่ปฏิบัติตามได้ยาก 2 = มีความรุนแรงปานกลาง เช่น มีผลต่อการหยุดธุรกิจ ชะงักชั่วคราว หรือมีมูลค่าความเสียหายของบริษัทมูลค่าปานกลาง (ระดับสูงเกินห้าหมืน่ บาทแต่ไม่เกินห้าแสนบาท) เช่น ข้อร้องเรียนลูกค้า ที่ต้องมีการจัดการเป็นกรณีพิเศษ การคัดเลือกหรือเปลี่ยนสินค้าให้ ลูกค้า ความต้องการของลูกค้าที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปรับปรุง กระบวนการ เป็นต้น 1 = มีความรุนแรงเล็กน้อย เช่น เป็นข้อมูลจากลูกค้าสือ่ สาร เพื่อการป้องกัน การเกิดผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อก�ำหนด (มูลค่า ความเสียหายไม่เกินห้าหมื่นบาท) การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อ ระบบบริหารคุณภาพ แต่ระบบการควบคุมไม่ซบั ซ้อน เช่น การฝึกอบรม ใคร ฝ่าย QA ฝ่ายผลิต

กิจกรรมอะไร ➣ การลดของเสียในกระบวนการผลิต ➣ การลดของเสียจาก Human Error ➣ การปรับปรุงเครื่องจักร

การสื่อสาร ก็สามารถควบคุมได้ ➲ โอกาสในการเกิด (likely occurrence of hazards) 1 = ความถีข่ องเหตุการณ์นาน ๆ ครัง้ (0-1 ครัง้ ต่อ 12 เดือน) 2 = ความถี่ของเหตุการณ์เกิดเป็นบางครั้ง (2-6 ครั้งต่อ 12 เดือน) 3 = ความถี่ของเหตุการณ์เกิดบ่อย ๆ ครั้ง (มากกว่า 6 ครั้ง ต่อ 12 เดือน) โดยโอกาสในการเกิดอาจจะใช้ขอ้ มูลการตรวจพบในอดีต และ ประสบการณ์ ข้อมูลทางวิชาการ หรือผู้เชี่ยวชาญ การระดมสมอง ประกอบการพิจารณา และการประเมินความเสีย่ ง คือ การน�ำคะแนนจากความรุนแรง คูณกับโอกาสในการเกิด เพือ่ พิจารณาค่าคะแนนและก�ำหนดระดับการ ควบคุม โดยองค์การอาจก�ำหนดนิยาม คือ คะแนน 1-3 ความเสี่ยงต�่ำ ซึ่งองค์การอาจยอมรับความ เสี่ยงนี้ และใช้การเฝ้าติดตาม ตรวจวัด คะแนน 4-6 ความเสี่ยงปานกลาง องค์การสามารถพิจารณา จัดท�ำเอกสาร ข้อมูล การอบรม คะแนน 6 ขึ้นไป ความเสี่ยงสูง องค์การควรจัดท�ำแผนบริหาร ความเสี่ยงขึ้น 3. การวางแผนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์คุณภาพ องค์การ ต้องมีการก�ำหนดการวางแผนงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์คุณภาพ โดยก�ำหนดรายละเอียดตามข้อก�ำหนด 6.2

ทรัพยากรที่ต้องการ ➣ การฝึกอบรม ➣ การป้องกัน Human Error ➣ การปรับปรุงแผนการตรวจสอบ ➣ การบริหารความเสี่ยง ➣ งบประมาณปรับปรุงเครื่องจักร

ระยะเวลา ภายใน 1 ปี

การประเมินผล แนวโน้มของเสียลดลง 10% เมื่อเทียบปีที่ผ่านมา

Vol.22 No.212 November-December 2015

4. การจัดท�ำแผนการสือ่ สารภายในและภายนอก องค์การต้องมีการก�ำหนดแผนการสือ่ สาร โดยก�ำหนดรายละเอียดตามข้อก�ำหนด 7.4 ตัวอย่าง: แผนการสื่อสารภายนอก

24

ผู้รับผิดชอบ ฝ่ายจัดซื้อ

หัวข้อสื่อสาร ข้อกำ�หนด ของวัตถุดิบเดิม

ฝ่ายจัดซ ื้อ/QA ฝ่ายจัดซื้อ/R&D

การประเมินผู้ขาย ข้อกำ�หนด ของวัตถุดิบใหม่

ฝ่ายขาย

ทบทวนคำ�สั่งซื้อ สินค้าเดิม การตรวจรับรองมาตรฐาน

ฝ่าย R&D/QA

เมื่อใด เมื่อติดต่อซื้อขาย วัตถุดิบรายการเดิม

สื่อสารกับใคร ฝ่ายขาย Supplier

ปีละครั้ง ฝ่ายขาย/QA ของ Supplier เมื่อติดต่อซื้อขาย ฝ่าย R&D เสนอตัวอย่างวัตถุดิบรายการใหม่ ของ Supplier เมื่อต้องการรับ PO ลูกค้า

ฝ่ายจัดซื้อลูกค้า

ครบรอบการประเมิน

หน่วยงานราชการ/CB

วิธีการ ➣ E:mail/Line ➣ Mobile Phone Supplier Visit/Audit ➣ E:mail/Line ➣ Mobile Phone ➣ Supplier Visit/Audit ➣ Fax ➣ E: mail/Line ➣ จดหมาย ➣ E: mail ➣


Trend ตัวอย่าง: แผนการสื่อสารภายใน

ฝ่าย QA, R&D ฝ่ายบุคคล

หัวข้อสื่อสาร แผนการผลิตรายสัปดาห์

ข้อร้องเรียนลูกค้า ความต้องการพิเศษลูกค้า

กฎระเบียบ ปฐมนิเทศน์

เมื่อใด ➣ ทุกวันพฤหัสฯ ➣ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ➣

เมื่อได้รับข้อมูลลูกค้า เมื่อมีพนักงานใหม่

5. การศึกษาข้อก�ำหนดเฉพาะที่ลูกค้าหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ก�ำหนดขึ้น และความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์และบริการ ทีม่ ผี ลการจัดท�ำระบบบริหารคุณภาพ เพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการ และความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ➲ การศึ ก ษาสภาพแวดล้ อ มเพื่ อ การจั ด การกระบวนการ (environment for the operation of processes) ตามข้อก�ำหนด 7.1.4 โดยการพิจารณากรณีปัจจัยต่าง ๆ ทั้งสังคม กายภาพ และจิตวิทยา เช่น การพิจารณาเพิ่มเติมด้านการประเมินและลดความเครียดในการ ท�ำงาน การพิจารณาจ�ำนวนชั่วโมงและความปลอดภัยในการท�ำงาน การบริหารจัดการที่เป็นธรรม โดยไม่เลือกปฏิบัติ การพิจารณาสภาพ แวดล้อมด้านกายภาพการผลิตและการบริการ เช่น ความสะอาดและ สุขลักษณะของโรงพยาบาล โรงงานอาหาร เป็นต้น ➲ การบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉิน ตามข้อก�ำหนด 8.2.1 e ในกรณีทผี่ มู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียมีขอ้ ก�ำหนดเฉพาะในเรือ่ งการจัดการกรณี ฉุกเฉิน จนไม่สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการได้ตามข้อก�ำหนด ซึง่ สามารถใช้วิธีการ Business Continuity Management: BCM ตาม มาตรฐาน ISO 22313:2012 ได้แก่ การประเมินสภาวะฉุกเฉินทีม่ โี อกาส เกิดขึ้นและการก�ำหนดมาตรการควบคุม ป้องกัน และมาตรการฟื้นฟู ต่าง ๆ เช่น การเกิดภัยพิบตั ิ ไฟไหม้ น�ำ้ ท่วม ปัญหาในระบบ Supply Chain เป็นต้น ➲ การควบคุ ม ผู ้ จั ด หาจากภายนอก ตามข้ อ ก� ำ หนด 8.4 ข้อก�ำหนดนี้มีความคล้ายคลึงกับข้อก� ำหนดเดิมของระบบบริหาร คุณภาพฉบับเดิม แต่จะมีรายละเอียดวิธีการควบคุมที่สามารถน�ำไป ประยุกต์ใช้ที่ชัดเจนมากขึ้น และควรมีการน�ำระบบการประเมินความ เสีย่ งมาประยุกต์ใช้เพิม่ เติมขึน้ ตามข้อก�ำหนด 6.1 ซึง่ เป็นข้อก�ำหนดการ ระบุความเสี่ยงและโอกาสในการวางแผนระบบบริหารคุณภาพ ➲ การชีบ ้ ง่ การสอบกลับ ตามข้อก�ำหนด 8.5.2 กรณีทมี่ คี วาม ต้องการของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทีเ่ พิม่ มากขึน้ ในการชีบ้ ง่ สอบกลับแบบ เฉพาะเจาะจง (unique identification) ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรม ประมงที่ มี ข ้ อ ก� ำ หนดด้ า นการประมงอย่ า งยั่ ง ยื น ซึ่ ง มี ข ้ อ ก� ำ หนด การบันทึกในเรื่องการสอบกลับแหล่งจับปลา การขึ้นทะเบียนเรือและ เครื่องมือที่ใช้ในการจับปลา เป็นต้น ➲ การควบคุมทรัพย์สินลูกค้าและผู้ส่งมอบจากภายนอก ตามข้อก�ำหนด 8.5.3 โดยก�ำหนดให้มีการควบคุมดูแลทรัพย์สินของ

สื่อสารกับใคร ➣ ฝ่าย QA ➣ ฝ่ายผลิต ➣ ฝ่ายจัดซื้อ ➣ ฝ่ายคลังสินค้า ➣ ฝ่าย QA ➣ ฝ่ายผลิต ➣ ฝ่ายจัดซื้อ พนักงานใหม่

วิธีการ ➣ นัดประชุม/E: mail /Line ➣ สรุปแผนการผลิต ➣ ➣

นัดประชุม/E: mail /Line สรุปผลการปฏิบัติการ บันทึกประวัติอบรม

ลูกค้าและเพิ่มเติมเรื่องการดูแลทรัพย์สินจากผู้ส่งมอบจากภายนอก โดยรวมถึงทรัพย์สินทางปัญญาร่วมด้วย 6. การจัดท�ำระบบการควบคุมการเปลี่ยนแปลง (change management) ตามข้อก�ำหนด 6.3 การวางแผนการเปลีย่ นแปลง เมือ่ องค์การก�ำหนดความจ�ำเป็นในการเปลีย่ นแปลงระบบบริหารคุณภาพ โดยการเปลี่ยนแปลงต้องด�ำเนินการตามแผนและอย่างเป็นระบบ องค์การต้องพิจารณาวัตถุประสงค์การเปลีย่ นแปลงความสมบูรณ์ของ QMS ทรัพยากรที่เพียงพอ การจัดสรรหรือจัดสรรอ�ำนาจหน้าที่ความ รับผิดชอบใหม่ และ 8.5.6 การควบคุมการเปลี่ยนแปลง คือ การ พิจารณาการเปลีย่ นแปลงในระบบบริหารคุณภาพและการเปลีย่ นแปลง ในระดับการควบคุมการผลิตและการบริการ โดยองค์การต้องจัดท�ำ เอกสารข้อมูล (documented information) อธิบายรายละเอียดผลของ การเปลี่ยนแปลง บุคลากรที่มีอ�ำนาจในการเปลี่ยนแปลง และการ ด�ำเนินการใด ๆ ตัวอย่างการเปลีย่ นแปลงนี้ เช่น การมีผสู้ ว่ นได้สว่ นเสียรายใหม่ หรือความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีการ เปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อมภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไป ส่วนการ เปลี่ยนแปลงในระดับการควบคุมการผลิตและบริการ ได้แก่ การ เปลี่ยนแปลง 4 M+1E (Man, Machine, Method, Material, Environmental) โดยเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอาจใช้เทคนิคการ Validation of Process หรือเทคนิคทางสถิติในการประเมิน การทดสอบสมมติฐาน (test of hypothesis) หรือเทคนิคระบบ Engineering Change Notice เพื่อประเมินความสอดคล้องกับระบบเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง 7. การทบทวนฝ่ายบริหาร ตามข้อก�ำหนด 9.3 โดยการ พิจารณาปัจจัยข้อมูลการน�ำเข้าทีเ่ พิม่ เติมขึน้ ได้แก่ ข้อมูลป้อนกลับจาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง หรือข้อมูลที่ได้รับจากการสื่อสารผู้มี ส่วนได้สว่ นเสีย (ลูกค้า ผูส้ ง่ มอบ กฎหมาย กฎระเบียบใหม่จากภาครัฐ) ประสิทธิผลจากผูจ้ ดั หาจากภายนอก หรือผลการควบคุม การประเมิน ประสิทธิผลของผูจ้ ดั หาจากภายนอกทัง้ Supplier และ Outsource 8. การก�ำหนดระบบการวัดผลความส�ำเร็จของการน�ำระบบ บริหารคุณภาพไปปฏิบตั ิ โดยการตรวจติดตามภายในตามข้อก�ำหนด ใหม่ ซึ่งองค์การต้องด�ำเนินการสื่อสารอบรม ถ่ายทอดความรู้ให้ทีม ผูต้ รวจติดตามภายในและผูท้ เี่ กีย่ วข้อง เพือ่ ประเมินความมีประสิทธิผล และการปรับปรุงของระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015

Vol.22 No.212 November-December 2015

ผู้รับผิดชอบ ฝ่ายวางแผนผลิต

25


Q

Trend for

uality

มาตรฐานสากล IEC TC65

ต่ออนาคตอุตสาหกรรมประเทศไทย

ศรีนคร นนทนาคร อนุกรรมการวิชาการ คณะ 1015/1 มาตรฐานการวัด การควบคุม และระบบอัตโนมัติในขบวนการอุตสาหกรรม ผู้จัดการทั่วไป บริษัท อัซบิ้ว (ประเทศไทย) จำ�กัด

ทุก

โรงงานล้วนแต่ตอ้ งการมีมาตรฐานทีเ่ ป็นสากล และต้องการ ได้รบั การรับรองหรือยอมรับจากลูกค้า ในขณะนีม้ กี ารจัดท�ำ เพื่ อ ก� ำ หนดมาตรฐานของกลุ ่ ม คนจากประเทศต่ า ง ๆ เพื่ อ สร้ า ง มาตรฐานใหม่ ภายใต้หน่วยงานสากล หรือปรับปรุงมาตรฐานเดิมเพื่อ รองรับความเปลี่ยนแปลงที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นในปัจจุบันและต่อเนื่องใน อนาคต เช่น หน่วยงาน IEC, ISO, ITU ลองมาดูกันว่าเขามีทิศทางของ มาตรฐานทางด้านเครื่องมือวัด และควบคุมกันอย่างไรในอนาคตที่ ก�ำลังจะมาถึง IEC ย่อมาจาก International Electrotechnical Commission ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1906 ปัจจุบันเป็นองค์กรสากล 1 ใน 3

26

for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

เช่นเดียวกับอีกสององค์กรคือ ISO และ ITU ทีพ่ ฒ ั นาทางด้านมาตรฐาน สากลทางด้าน Electrical, Electronics และเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีที่ เรียกกันทั่วไปว่า Electrotechnology TC65 คือ Technical Committee ที่ 65 เกี่ยวกับ IndustrialProcess Measurement, Control and Automation เป็นคณะท�ำงาน ที่มุ่งเน้นพัฒนามาตราฐานสากลให้กับระบบการวัด ควบคุม อัตโนมัติ ทางอุตสาหกรรมการผลิตทั้งแบบ Continuous และ Batch เน้นการ ประสานงานกับหน่วยงานมาตรฐานอืน่ มีการแบ่งเป็น 4 กลุม่ ย่อย และ คณะท�ำงาน Working Group (WG) ต่าง ๆ (ดูรูปแสดงผังประกอบ) ได้แก่ ➲ IEC TC65 A System Aspect เกี่ยวกับความปลอดภัย


Trend (functional safety, batch control, alarm management เป็นต้น) ➲ IEC TC65 B Device เกี่ยวกับเครื่องมือวัด (transmitter) เครื่องวิเคราห์ PLC, Control Valve และ Analyzer ➲ IEC TC65 C Industrial Network เกี่ยวกับการสื่อสาร รวมถึงระบบเชื่อมต่อแบบไร้สาย (fieldbus, industrial ethernet, network, wireless) ➲ IEC TC65 E Integration เกี่ยวกับคุณลักษณะของ LOP (enterprise control system, function block, EDDL FDT/DTM, FDI, OPC) ➲ IEC TC65 WG Digital Factory เกี่ ย วกั บ การเพิ่ ม ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน Cyber Security และอื่น ๆ

แชร์และการใช้ข้อมูลซึ่งกันและกันเป็นไปได้อย่างสะดวกภายใต้ มาตรฐานสากล ไม่วา่ จะเป็นรุน่ /ยีห่ อ้ ของอุปกรณ์ คุณสมบัตเิ ฉพาะของ การวัดนั้น ๆ อันเป็นข้อมูลเฉพาะตัว (device profile) ของเครื่องมือวัด นัน้ ๆ ภายใต้การก�ำหนดมาตรฐานเดียวกัน ในลักษณะ Function Block ตามมาตรฐาน ISA88 และ ISA95 ที่ ไ ด้ มี ก ารก� ำ หนดทิ ศ ทางไว้ และปัจจุบันได้ตีพิมพ์เผยแพร่ใน IEC 61512 และ IEC 62264 แล้ว ยกตัวอย่างเช่น มีการก�ำหนดการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางธุรกิจระหว่าง การผลิตและการขนส่ง หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลแต่ละขบวนการผลิต (ตามรูป)

IEC TC65 T.N.C. Experts (TC65 Thai National Committee) Advisory Group Product Safety Requirements

TC65

Energy Efficiency & FEMS Digital Factory Cyber Security

EMC/EMF Functional Safety Magmt. of Alarms Cont.System Model

SC65B Device

SC65C

SC65E

Industrial Networks

Device & Integration

Measuring Devices

Fieldbus & Safety

PLC/Function Block

Real-Time Ethernet Enterprise/Control System Model Wireless Networks Function Block(PA)

• Flow/Temperature • Pressure/Level • Valves

Process Analytics

▲ รูปที่

List of Property

Integration Tools

1 แสดงผังของคณะท�ำงาน IEC TC65

ปัจจุบัน IEC TC65 มีสมาชิกทั้งหมด 46 ประเทศ รวมถึง ประเทศไทยที่เพิ่งเข้าเป็นสมาชิกเมื่อปลายปี 2014 ที่ผ่านมา จาก จ�ำนวนสมาชิกทั้งหมด มีสมาชิกแบบ Participating (P-Member) จ�ำนวน 27 ประเทศ และแบบ Observer (O-Member) จ�ำนวน 19 ประเทศ ที่ประเทศไทยโดย ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม ได้สมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิก รูปแบบนี้ (O-Member) ซึ่งคณะตัวแทนของประเทศไทยได้เข้าร่วม ประชุมกับคณะ IEC TC65 จากทั่วโลก ณ เมืองโอซากา ประเทศญี่ปุ่น เมือ่ ปลายปีทผี่ า่ นมา ภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาลญีป่ นุ่ พร้อมทัง้ มี การอบรมและดูงานในประเทศญี่ปุ่น เพื่อเป็นองค์ความรู้พื้นฐานให้ คณะท�ำงาน IEC TC65 ของไทยต่อไป การพัฒนาในอนาคตอันใกล้นี้ได้มีการพูดถึงกันอย่างมาก ในระดับสากลถึงการเปลี่ยนแปลง ที่มองว่าเป็นย่างก้าวของ Next Generation อันเป็นการปฎิวัติอุตสาหกรรมครั้งใหม่ คือ Industry 4.0 หรือ Smart Manufacturing ที่มีแก่นการพัฒนาอยู่ที่การพัฒนาระบบ คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตให้มีการเชื่อมต่อกันได้มากขึ้น ท�ำให้การ

▲ รูปที่

2 โครงสร้างการเชื่อมต่อ Enterprise Control System

การติดต่อแบบ Top-down จาก Enterprise System (level 4) ผ่านระบบควบคุมสู่ตัวอุปกรณ์ (level 0) และ Bottom-up จากตัว อุปกรณ์ (Level 0) ผ่านระบบควบคุมสู่ Enterprise System (level 4) ด้วย โครงสร้างของอุปกรณ์เครื่องมือวัดแบบ Digital ตามพัฒนาการ ของคอมพิวเตอร์ และ IT ต่อตัวอุปกรณ์และระบบทีเ่ รียกว่า Digitalization และมี LOP (List of Properties) เป็นพื้นฐานส�ำคัญ ส่งผลให้ Cyber Security ต้องเข้ามามีบทบาทเพื่อให้มีความปลอดภัย ไม่ว่าจะ เป็นการรักษาข้อมูล ไม่ให้ถูกโจรกรรม ไม่ให้ใครเข้ามาเปลี่ยนแปลง แก้ไขข้อมูล เป็นต้น

▲ รูปที่

3 โครงสร้าง IEC TC65 Control System Enterprise Model

Vol.22 No.212 November-December 2015

SC65A System Aspect

27


Trend

Digital Factory เป็นการสร้างข้อมูล และเชื่อมโยงข้อมูล ทางอิเล็กทรอนิกส์ของระบบ Enterprise ระบบการผลิต และผลิตผลที่ ผลิตได้ ท�ำให้สามารถติดตามวงจรชีวิต (life cycle of plant) ของการ ผลิตในแต่ละช่วง (phase) และความชื่อมโยงของผลิตภัณท์ที่ผลิตได้ ต่อการผลิต รวมถึงการเก็บฐานข้อมูลร่วมเป็นแบบอิเล็กโทรนิกส์ตาม รูปด้านล่าง ➲ IoT (Internet of Thing) ถือเป็นความท้าทายใหม่ของ อุตสาหกรรม ที่จัดเป็นตัวแปรส�ำคัญในการเพิ่มประโยชน์ในระบบการ วัด และควบคุมให้ผปู้ ระกอบการการผลิต อันเนือ่ งมาจากข้อมูลจ�ำนวน มหาศาล ความซับซ้อน ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล ตามแบบของยุค ดิจทิ ลั และตอบโจทย์ตอ่ การเปลีย่ นแปลงสภาพแวดล้อมในธุรกิจ เช่น 1) การเพิ่มความซับซ้อนขึ้นในขบวนการผลิต เพื่อตอบสนอง ความต้องการและการแข่งขันในตลาด

Vol.22 No.212 November-December 2015

28

2) การให้ความส�ำคัญด้านความปลอดภัย สุขภาพของผูค้ นที่ เกี่ยวข้องต่อสภาพแวดล้อมมากยิ่งขึ้น 3) ปัญหาด้านบุคลากร อันเนือ่ งมาจากรูปแบบการใช้ชวี ติ ของ คนรุ่นใหม่ ประสบการณ์ของผู้ด�ำเนินการผลิต 4) ต้องเพิ่มศักยภาพของการจัดการข้อมูล และความเร็วใน การส่งถ่ายข้อมูล เพื่อรองรับการเพิ่มขึ้นของข้อมูล ➲ ระบบ Automation ในอนาคตจะเกี่ยวข้องกับ Industrial IoT หรือทีเ่ รียกกันว่า IIoT มากขึน้ ด้วยข้อมูลทีเ่ พิม่ มากขึน้ จากอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในระบบที่สามารถติดต่อทางอินเทอร์เน็ต (internet) ไม่ว่าจะ ผ่านสาย (wired) หรือผ่านระบบไร้สาย (wireless) ผ่านเครือข่ายต่างๆ ได้ ด้วย IPv6 (Internet Protocol Version 6) 128 Bits Address ส่ง ผลให้ Cyber Physical System เป็นเรื่องส�ำคัญตามมา เพราะหมาย ถึงทุกสิ่งทุกอย่าง (everything) ต้องการการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

▲ รูปที่

4 แสดง Digital Factory ในมุมมองของ IOT ทางอุตสาหกรรม (IIOT)


Trend Cyber Physical System เป็นระบบการเชื่อมต่อของ เซ็นเซอร์ต่าง ๆ รวมกับ Cyber Space ➲ Industry 4.0 หรือ Smart Manufactuer เป็นเป้าหมาย ในการเปลี่ยนแปลงระบบโรงงานการผลิตแบบเดิม ไม่ว่าจะเป็นการ ผลิตแบบ Mass Production จาก Industry 2.0 หรือ Electronics Automation จาก Industry 3.0 สู่ระบบ Digitalization Manufacturer หรือ Smart Manufacturer โดยใช้พื้นฐานจาก Cyber Physical System ร่วมกับ IoT เทคโนโลยี ถือเป็นอุตสาหกรรมยุคใหม่ หรือยุคที่ 4 นั่นเอง ที่ค�ำนึงถึงการใช้พลังงานในการผลิต และอาจจะง่ายหากต้อง เปลี่ยนรูปแบบการผลิตจาก Mass Production เป็น Customize Production เพือ่ ตอบสนองความต้องการทีเ่ ปลีย่ นไปและหลากหลาย ขึ้น ใน Industry 4.0 นั้นจะมีการใช้ประโยชน์จากข้อมูลต่าง ๆ มากขึ้น รวมถึงการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องจักรกับเครื่องจักรด้วยกัน ซึ่ง แน่นอนว่ามาตรฐานการสือ่ สารต้องเป็นมาตรฐานสากล มีการร่วมมือ กันของทีมเครื่องกล ไฟฟ้า และ IT ➲

การปฏิวัติทางอุตสาหกรรมใน 3 ครั้งที่ผ่านมา

ยุค Industry 1.0 เริ่มต้นขึ้นเมื่อเกือบ 250 ปีที่แล้ว ในช่วง ก่อนศตวรรษที่18 จากการที่เจมส์ วัตต์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ที่ ได้พฒ ั นาเครือ่ งจักรไอน�้ำของโทมัส นิวโคแมนให้มปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ 2 เท่า โดยปรับปรุงให้แกนลูกสูบหมุนเร็วขึ้นแล้วน�ำมาใช้กับการผลิต ในอุตสาหกรรมสิง่ ทอ ท�ำให้เพิม่ ก�ำลังการผลิตขึน้ ได้ 3 เท่าจากเดิม จน ได้แพร่หลายไปทุกอุตสาหกรรมการผลิต รวมถึงระบบการขนส่งที่ รวดเร็วขึ้นและได้จ�ำนวนมาก เช่น รถไฟหัวรถจักรไอน�้ำ จนได้ชื่อว่า เป็นผู้ริเริ่มใช้เครื่องจักรช่วยในการผลิตของอุตสาหกรรมอันเป็นจุด เริ่มต้นของการปฎิวัติอุตสาหกรรมขึ้นเป็นครั้งแรก บางคนขนานนาม ยุคนี้ว่ายุคเครื่องจักรกลอัตโนมัติ (mechanical automation) ➲ ยุค Industry 2.0 เป็นช่วงเวลาการปฎิวัติอุตสาหกรรมขึ้น เป็นครั้งที่ 2 เมื่อราว 100 กว่าปีที่แล้ว หรือก่อนศตวรรษที่ 20 เมื่อ เฮนรี่ ฟอร์ด ผู้ก่อตั้ง Ford Motor ชาวอเมริกัน ได้น�ำระบบสายพาน ล�ำเลียงมาใช้ในการผลิต เพื่อให้ผลิตได้จ�ำนวนมากในเวลาที่เร็วขึ้น จากอุตสาหกรรมรถยนต์ จนแพร่หลายไปยังอุตสาหกรรมการผลิต อืน่ ๆ อีกทัง้ ยังช่วยลดต้นทุนการผลิตสิง่ ของทีเ่ หมือนกันลงได้จนได้รบั การขนานนามยุคนี้ว่าเป็นยุคการผลิตแบบ Mass Production หรือ Industriallization ➲ ยุค Industry 3.0 เป็นยุคการปฎิวต ั อิ ตุ สาหกรรมในช่วง 50 ปีก่อนหน้านี้ จากการน�ำระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุมเครื่องจักร การผลิตให้เป็นการผลิตแบบอัตโนมัติ จากเดิมทีม่ กี ารใช้แต่เครือ่ งจักร และใช้คนควบคุม เป็นการน�ำระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมแทนคน และ ใช้คนควบคุมระบบคอมพิวเตอร์อกี ที เช่น การใช้ Distributed Control System: DCS หรือ (Programmable Logic Control: PLC ควบคุม ➲

กระบวนการผลิต หรือการน�ำหุ่นยนต์มาใช้ ท�ำให้ลดการใช้คนลงโดย การใช้ระบบควบคุมอัตโนมัติ เรียกยุคปัจจุบนั นีว้ า่ Electronics Automation ISO ย่อมาจาก International Organization Standardization ก่อตั้งเมื่อปี 1947 ในชื่อเดิมคือ ISA (The International Federation of the National Standardizing Associations) มีสมาชิก อยู่ 164 ประเทศ เป้าหมายมุ่งสร้างมาตรฐานนอกเหนือจาก IEC และ ITU

เอกสารอ้างอิง 1. เอกสารอบรมของ Mr.Hisashi Sasajima 2. Chairman of IEC TC65 Japan National Committee, 2012 3. Chairman of Society of Instrument and Control Engineers, 2012-2015 4. Chairman of Japanese Electric Measuring Instruments Manufacture, 1999-2001

Vol.22 No.212 November-December 2015

ITU ย่อมาจาก International Telecommunication Union ก่อตั้งเมื่อปี1932 มีสมาชิกอยู่ 193 ประเทศ เป้าหมายมุ่งสร้าง มาตรฐานด้านการสื่อสาร (Information, Communication Technology)

29


Q

for Food for

uality

หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า

ตามแนวทางของ AIB

ตอนที่ 7 AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices แปลและเรียบเรียงโดย สุวิมล สุระเรืองชัย System Development Consultant Co., Ltd. sdcexpert@sdcexpert.com, suwimol.su@gmail.com

30

ต่อจากฉบับที่แล้ว

4.9 การวิเคราะห์แนวโน้ม เอกสาร ของการพบเห็นและร่องรอยสัตว์พาหะต้อง ถูกทบทวนและใช้เพือ่ การชีบ้ ง่ และจ�ำกัดพืน้ ที่ ที่พบร่องรอยสัตว์พาหะและน�ำไปสู่เอกสาร การปฏิบัติป้องกันและแก้ไข ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 4.9.1.1 บันทึกการเข้าบริการต้องมี ความถู ก ต้ อ งและความสมบู ร ณ์ เ กี่ ย วกั บ ร่องรอยสัตว์พาหะ และข้อแนะน�ำเพิม่ เติมใน การป้องกันและแก้ไข 4.9.1.2 เมื่อมีการใช้ ต้องมีการจัดfor Quality Vol.22 No.212 November-December 2015


for Food

4.10.1.4 ต้องมีบันทึกการด�ำเนินการให้ บ ริ ก ารทั้ ง หมด ของทุ ก ต� ำ แหน่ ง เครื่องดักจับ 4.10.1.5 ต้ อ งมี เ อกสารการให้ บริการด้วยกลไกในการบันทึก เช่น บัตรเจาะ บาร์โค้ด หรือ Ledger คงไว้ทั้งที่เป็นเอกสาร หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 4.10.1.6 บันทึกการให้บริการต้อง ตรงกับเอกสารของโรงงาน 4.11 อุ ป กรณ์ ต รวจสอบหนู ภ ายนอก มีการจัดการของอุปกรณ์ตรวจสอบหนู ภายนอก เพือ่ สกัดกัน้ การเข้ามาในโรงงาน ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 4.11.1.1 ขึน้ อยูก่ บั รายละเอียด ของการส� ำ รวจพื้ น ที่ อุ ป กรณ์ ดั ก จั บ ภายนอกจะอยู ่ ต ามแนวก� ำ แพง ภายนอกโรงงาน 4.11.1.2 การตรวจสอบ อุ ป กรณ์

ภายนอกทั้งหมดต้องถูกตรวจสอบอย่างน้อย เดือนละครัง้ อุปกรณ์ตอ้ งถูกตรวจเช็คมากขึน้ เมื่อพบร่องรอยในระดับที่สูงขึ้น 4.11.1.3 กั บ ดั ก ภายนอกที่ มี เ หยื่ อ พิษจะต้องถูกล็อคด้วยสายรัดพลาสติกที่ใช้ แล้วทิ้ง กุญแจล็อค หรืออุปกรณ์ที่โรงงาน ก�ำหนด เช่น Key Systems

Vol.22 No.212 November-December 2015

ท�ำข้อมูล Pest-Sighting Log ที่เกี่ยวกับการ ตอบสนองโดยพนั ก งานที่ จั ด การกั บ สั ต ว์ พาหะ 4.9.1.3 บั น ทึ ก ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ จัดการสัตว์พาหะทั้งหมดต้องพร้อมใช้ทั้งใน รูปแบบเอกสารหรืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ใน การทบทวนหากจ�ำเป็น ข้อก�ำหนดรอง 4.9.2.2 ต้องมี Pest-Sighting Log ในพื้นที่ที่ก�ำหนด 4.9.2.2 Pest-Sighting Log ต้อง ประกอบด้วย ➣ วันที่ ➣ เวลา ➣ ประเภทของสัตว์พาหะที่พบ ➣ การด�ำเนินการแก้ไข ➣ ชื่อผู้รายงาน 4.9.2.3 พนักงานที่จัดการด้านสัตว์ พาหะต้องท�ำการทบทวนบันทึกทุกไตรมาส เพื่ อ ชี้ บ ่ ง แนวโน้ ม ของร่ อ งรอยสั ต ว์ พ าหะ รายงานผลการทีต่ รวจพบไปยังพนักงานทีไ่ ด้ รับมอบหมาย 4.10 เอกสารที่ เ กี่ ย วกั บ อุ ป กรณ์ ดักจับ (monitoring device documentation) คงไว้ ซึ่ ง เอกสารที่ เ กี่ ย วกั บ อุ ป กรณ์ ดั ก จั บ ที่ ท� ำ ให้ มั่ น ใจว่ า อุ ป กรณ์ ถู ก วางไว้ อ ย่ า ง เหมาะสมและถูกตรวจสอบ และน�ำไปสู่การ วิเคราะห์แนวโน้มของกิจกรรม ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 4.10.1.1 ส� ำ รวจรายละเอี ย ดของ โรงงานทัง้ หมดและผลลัพธ์ทเี่ ป็นเอกสารและ ใช้ในการก�ำหนดต�ำแหน่งของอุปกรณ์ดกั จับ 4.10.1.2 มีเอกสารแผนผังที่ถูกต้อง และเป็นปัจจุบนั ทีม่ รี ายละเอียดของต�ำแหน่ง อุปกรณ์ดักจับที่ใช้ในการควบคุมหนูและ แมลง 4.10.1.3 ต�ำแหน่งจุด วางกั บ ดั ก ชั่ ว คราวใด ๆ ต้ อ งเป็ น การวางใน ระยะสั้ น และมี แผนผังแยก

31


for Food

Vol.22 No.212 November-December 2015

4.11.1.4 กับดักภายนอกต้องคงทน และอยู่ในต�ำแหน่งที่เหมาะสม ยึดติดกับ พื้นที่ ถูกล็อค และถูกติดป้าย 4.11.1.5 ใช้เฉพาะเหยื่อที่ได้รับการ อนุ ญ าตโดยองค์ ก รที่ ก� ำ กั บ ดู แ ลที่ ไ ด้ รั บ อนุญาตส�ำหรับ IPM (เช่น EPA in the United States) หรือที่ถูกระบุในฉลากให้ใช้งานกับ อุตสาหกรรมอาหารและใช้กบั กับดักภายนอก 4.11.1.6 เหยื่ อ ต้ อ งปลอดภั ย อยู ่ ภายในกับดัก อยู่ในสภาพที่ดี และมีการ

32

ทดแทนหากจ� ำ เป็ น ขึ้ น อยู ่ กั บ ฉลากหรื อ ค� ำ แนะน� ำ ของผู ้ ผ ลิ ต เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งการ เสื่อมสภาพ ข้อก�ำหนดรอง 4.11.2 มีอุปกรณ์ตรวจจับในพื้นที่ที่ ระยะ 50-100 ฟุต หรือ 15-30 เมตร ในพื้นที่ ทีพ่ บร่องรอยหนูในปริมาณมากอาจมีเพิม่ เติม จ�ำนวนของอุปกรณ์ได้ 4.12 อุปกรณ์ตรวจสอบหนูภายใน อุปกรณ์ตรวจสอบหนูภายใน ต้องถูกชีบ้ ง่ และ

ดักจับหนูที่เข้าถึงภายในโรงงาน ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 4.12.1.1 เหยื่อทางการค้าที่มีและ ไม่มีสารพิษ (blocks, liquids, etc.) จะไม่ใช้ ส�ำหรับการตรวจจับภายใน 4.12.1.2 ขึ้นอยู่กับรายละเอียดของ การส�ำรวจโรงงาน อุปกรณ์ในการตรวจสอบ ภายในจะอยู ่ ใ นพื้ น ที่ ที่ อ ่ อ นไหวที่ มี ค วาม เฉพาะต่อสายพันธุ์ของหนูและร่องรอยสัตว์ พาหะอื่น ๆ ในพื้นที่ ซึ่งรวมถึง ➣ คลังวัตถุดิบรับเข้า หรือพื้นที่จัด เก็บขั้นต้น ➣ พื้นที่ซ่อมบ�ำรุงที่สามารถเข้าถึง ได้ ➣ บริ เ วณที่ มี ก ารจั ด วางวั ต ถุ ดิ บ หลังจากส่งมอบจากคลังสินค้า ➣ พื้นที่คลังผลิตภัณฑ์ ➣ พื้นที่ที่มีโอกาสที่หนูจะเข้าถึงอัน เนือ่ งจากการจราจรหรือกิจกรรมทีเ่ กิดภายใน พื้นที่ ➣ พื้นที่เหนือศีรษะเมื่อพบร่องรอย ของหนูบนหลังคาหรือลักษณะที่คล้ายกัน ➣ พื้นที่ที่มีการจราจรสูง ➣ ประตู ที่ เ ปิ ด ออกสู ่ ภ ายนอก โดยตรง

อ่านต่อฉบับหน้า


Q

of Life for

ไข้โรคระบาด เลือดออก

uality

...

ที่มากับฤดูฝน

ใน

ช่ ว งเดื อ นกรกฎาคมที่ ผ ่ า นมาถื อ เป็นการเข้าสูฤ่ ดูฝนของประเทศไทย ซึ่งมักมีโรคที่เป็นภัยเงียบ และเป็นที่น่าเป็น ห่วงยิ่งส�ำหรับประชาชน นั่นคือ โรคไข้เลือดออก ซึ่งมียุงลายเป็นพาหะน�ำโรค และเป็น โรคติดต่อที่ควรเฝ้าระวังเป็นอันดับต้น ๆ มี การแพร่ระบาดของโรคอย่างกว้างขวาง พบ ผู ้ ป ่ ว ยได้ ใ นทุ ก จั ง หวั ด และทุ ก ภาคของ ประเทศผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูงติดต่อกัน 2-7 วัน ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว ปวดเบ้าตา บางรายมีปวดท้อง อาเจียน เบื่ออาหาร มี จุดแดงเล็ก ๆ ตามแขน ขา ล�ำตัว รักแร้ อาการ ทัว่ ไปมักไม่ไอ และไม่มนี ำ�้ มูก ปัจจุบนั ยังไม่มี วัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออก ผูป้ ว่ ยอาจหมด สติหรือเสียชีวติ ได้จากภาวะช็อก อีกทัง้ ยุงลาย มักจะเพาะพันธุ์ตามแหล่งน�้ำขังต่าง ๆ ท�ำให้ ประชากรและเด็กเสี่ยงต่อการเป็นไข้เลือด ออกได้งา่ ย ดังนัน้ ควรศึกษาและใส่ใจสุขภาพ เพื่อพร้อมรับมือได้อย่างเต็มที่

ไข้เลือดออกเกิดขึ้นได้อย่างไร

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อทีเ่ กิด จากยุงลายบ้านและเป็นตัวเมีย บินไปกัดคน ที่ป่วยเป็นไข้เลือดออก โดยเฉพาะช่วงที่มี

ไข้สูง เชื้อไวรัสแดงกีจะเพิ่มจ�ำนวนในตัวยุง ประมาณ 8-10 วัน เชือ้ ไวรัสแดงก็จะไปทีผ่ นัง กระเพาะและต่อมน�ำ้ ลายของยุง เมือ่ ยุงกัดคน ก็จะแพร่เชื้อสู่คน เชื้อจะอยู่ในร่างกายคน ประมาณ 2-7 วันในช่วงที่มีไข้ หากยุงกัด คนในช่วงนี้ก็จะรับเชื้อไวรัสมาแพร่ให้กับคน อื่น ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นเด็ก และจะระบาด หนั ก ในช่ ว งฤดู ฝ น อี ก ทั้ ง ยุ ง ลายชอบออก หากินในเวลากลางวัน

แนวทางการรักษาเบื้องต้น

โรคไข้เลือดออก ไม่มกี ารรักษาเฉพาะ การรักษาเป็นเพียงการประคับประคองอย่าง ใกล้ชดิ โดยการเฝ้าระวังภาวะช็อก เลือดออก และการให้สารน�้ำอย่างเหมาะสมก็จะท�ำให้ อัตราการเสียชีวิตลดลง โดยทั่วไปการดูแล ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกมีแนวทางการดูแล เบื้องต้น โดยให้ยาลดไข้คือ Paracetamol และเช็ดตัวลดไข้อย่างสม�ำ่ เสมอ ไม่ควรใช้ยา จ�ำพวกแอสไพริน เนือ่ งจากจะท�ำให้เลือดออก ผิดปกติและระคายเคืองกระเพาะอาหาร ให้ สารน�้ำชดเชย เนื่องจากผู้ป่วยมักมีภาวะขาด น�้ำ จากที่มีไข้สูง เบื่ออาหาร และอาเจียน ใน รายที่พอทานได้ให้ดื่มน�้ำเกลือแร่บ่อย ๆ และ

นายแพทย์อัครพงศ์ แสนเรือง อายุรแพทย์โรคเลือด โรงพยาบาลหัวเฉียว

ควรติดตามดูอาการอย่างใกล้ชิด ถ้ามีอาการ ปวดท้อง ปัสสาวะน้อยลง กระสับกระส่าย มือ เท้าเย็น โดยเฉพาะในช่วงไข้ลด ต้องรีบน�ำส่ง โรงพยาบาลทันที

รู้หลัก...ป้องกันโรคไข้เลือดออก

ไข้เลือดออก สามารถป้องกันได้ โดย การหลีกเลีย่ งไม่ให้โดนยุงลายกัด อาจป้องกัน ได้หลายวิธี อาทิ ใช้มุ้ง มุ้งลวด ทาโลชั่น ท� ำ ความสะอาดบ้ า นให้ ป ลอดโปร่ ง หรื อ ท�ำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง โดยเฉพาะตาม แหล่งน�้ำขังต่าง ๆ บริเวณรอบ ๆ บ้าน หรือ ฉีด พ่น ยาฆ่ายุง ใช้กลิ่นสมุนไพรในการไล่ยุ่ง คือ ตระไคร้ เปลือกส้ม เป็นต้น เมื่อทราบแล้วว่า โรคไข้เลือดออก เป็นโรคระบาดที่มาพร้อมกับช่วงฤดูฝน และ มีอาการร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิต แต่อย่าวิตก กังวลจนเกินไป เพราะเราสามารถใส่ใจดูแล และมีวิธีป้องกันได้หลายวิธี หากสงสัยว่าเริ่ม มีอาการดังกล่าว ควรรีบไปปรึกษาแพทย์เพือ่ ตรวจหาสาเหตุและรักษาได้อย่างถูกต้อง เพือ่ สุขภาพที่ดีต่อไป

for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

33


Q

of Life for

uality

วิธจากโลกแห่ ปี อ้ งกันงสารพิ ตัวเองษ

ดร.เทอรี่ กรอสแมน ผู้อำ�นวยการด้านการแพทย์นานาชาติ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์อินเตอร์แนชั่นแนล

เรา

อาศั ย อยู ่ ใ นโลกที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย มลพิษ อากาศที่เราหายใจ น�้ำที่ เราดืม่ อาหารทีเ่ รารับประทาน หรือแม้กระทัง่ สบู่ที่เราใช้ล้วนแล้วแต่น�ำพาสารพิษเข้าสู่ ร่ า งกายได้ ทั้ ง สิ้ น สารพิ ษ เหล่ า นี้ ท� ำ ให้ ประสิทธิภาพการท�ำงานของร่างกายลดต�ำ่ ลง เจ็บป่วยง่ายขึ้น และเร่งให้เราร่วงโรยก่อนวัย อันควร การหลี ก เลี่ ย งไม่ ใ ห้ ส ารพิ ษ เข้ า สู ่ ร่างกายนั้นแทบเป็นไปไม่ได้เลย แต่ด้วย ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและองค์ความรู้ ใหม่ ๆ ด้านพิษวิทยาช่วยให้การตรวจหาและ ขับสารพิษออกจากร่างกายนั้นเป็นไปได้ใน ปัจจุบัน

34

for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

สารพิษคืออะไร

ค�ำจ�ำกัดความทีง่ า่ ยทีส่ ดุ ส�ำหรับสารพิษ ก็คือ สิ่งแปลกปลอมที่ปกติแล้วจะไม่พบ ในร่างกายมนุษย์และสามารถก่อให้เกิดโรค หรือสร้างความเสียหายต่อเนื้อเยื่อได้ โดย ทัว่ ไปเมือ่ เราได้ยนิ ค�ำว่า “สารพิษ” ก็มกั จะนึก ไปถึงสารเคมีอย่างยาฆ่าแมลง โลหะหนักหรือ มลพิษจากอุตสาหกรรมต่าง ๆ แต่สารเคมีอีก นับแสนชนิดที่ใช้ในกระบวนการผลิตสินค้า อุปโภคบริโภค ไม่วา่ จะเป็นอาหาร ผลิตภัณฑ์ ในครัวเรือน หรือข้าวของเครื่องใช้ในชีวิต ประจ�ำวันต่างก็นับเป็นสารพิษเช่นเดียวกัน การรับพิษเข้าไปด้วยไม่รตู้ วั จึงเป็นสิง่ ที่ง่ายมาก เรารับสารตะกั่วจากรถยนต์และ

รถเมล์ รับอะลูมเิ นียมทีห่ อ่ มาพร้อมกับอาหาร รับสารปรอททีอ่ าจปนเปือ้ นมากับอาหารทะเล เช่ น เดี ย วกั บ ที่ เ รารั บ ชิ้ น ส่ ว นขนาดจิ๋ ว ของ พลาสติกทีบ่ รรจุนำ�้ และอาหาร หรือแม้แต่สบู่ หรือแชมพูก็สามารถน�ำพลาสติกเข้าไปใน ร่างกายผ่านทางผิวหนังได้เช่นเดียวกัน

สัญญาณของสารพิษ

สารพิษทีส่ ะสมในร่างกายจะบัน่ ทอน ทัง้ สุขภาพกายและใจ โดยอาจก่อให้ความผิด ปกติต่อร่างกายได้หลายอย่าง เช่น อาการล้า เรื้อรัง น�้ำหนักเพิ่ม นอนไม่หลับ ความไวต่อ การตอบสนองต่ออาหารหรือสารเคมีเพิ่มขึ้น อาหารไม่ย่อย มีปัญหาสุขภาพผิว ความจ�ำ


of Life

ร่างกายคุณมีสารพิษมากแค่ไหน ดร.เทอรี่ กรอสส์แมน ผู้อ�ำนวยการ ด้านการแพทย์นานาชาติของศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ แนะน�ำว่า “ทางทีด่ เี ราควร จ�ำกัดการรับสารพิษเข้าสู่ร่างกายให้ได้มาก ที่สุด และควรเข้ารับการตรวจว่าร่างกายมี สารพิษชนิดใดอยู่บ้างเพื่อที่จะด�ำเนินการ ขับออกได้อย่างทันท่วงที การตรวจนั้ น มี ทั้ ง การตรวจเลื อ ด เส้นผม และปัสสาวะ การตรวจเลือดก็เพื่อจะ ดูวา่ คุณมีเซลเม็ดเลือดแดง เซลเม็ดเลือดขาว และเซลเกล็ดเลือดเพียงพอหรือไม่ เพราะการ สั่งสมของสารพิษนั้นจะส่งผลต่อไขกระดูกซึ่ง มีหน้าที่ในการผลิตเลือด ขั้นตอนการตรวจนี้ ยังช่วยให้เราระบุโรคได้อีกหลายโรค เช่น โรค โลหิตจาง ภาวะเลือดออกผิดปกติ และมะเร็ง เม็ดเลือดขาว” ดร.กรอสส์แมน ยังกล่าวอีกว่า “การ

ตรวจนี้จะตามด้วยการทดสอบฮีโมโกลบิน A1c ซึ่งจะวัดสิ่งที่เรียกกันว่า Advanced Glycosylated End Products หรือ AGEs ซึ่ ง เป็ น ตั ว บ่ ง ชี้ ท างชี ว ภาพส� ำ หรั บ การวั ด กระบวนการชราวัยโดยรวม นอกจากนี้การ ทดสอบฮีโมโกลบิน A1c ยังสามารถบอกได้ อีกด้วยว่าใน -4 เดือนที่ผ่านมานี้ร่างกาย สามารถควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดได้ดี เพียงใด ซึ่งนับเป็นตัวทดสอบอย่างดีส�ำหรับ โรคเบาหวาน” นอกจากนี้แล้วยังมีการวัดระดับของ จุลสารอาหาร (micronutrients) ในเลือด ซึ่ง จุลสารอาหาร เช่น แร่ธาตุอย่างแคลเซียม ทองแดง และแมกนีเซียม รวมไปถึงกรดโฟลิก วิตามินบีและซี ฯลฯ นั้นเป็นส่วนส�ำคัญใน ระบบการท�ำงานหลายอย่างของร่างกาย “เราจะตรวจการท�ำงานของตับและ ไตเพื่อดูว่ามีการอักเสบภายในเกิดขึ้นหรือไม่ โดยการตรวจเลื อ ดจะบอกเราได้ ว ่ า ระบบ ต่ า ง ๆ ของร่ า งกายท� ำ งานผิ ด ปกติ โ ดยมี สาเหตุจากสารพิษหรือไม่ และในการตรวจ ขั้นตอนต่อไปก็จะเป็นการระบุว่าเป็นสารพิษ ชนิดใดกันแน่ เส้นผมบริเวณใกล้หนังศีรษะสามารถ บ่งบอกได้ว่าคุณรับสารเสี่ยงต่อการเป็นพิษ อะไรเข้ามาบ้าง เช่น ปรอทสารหนู ตะกั่ว แคดเมี่ยม และอะลูมิเนียม ในการตรวจนี้เรา ใช้หลักการที่ว่าสารพิษเหล่านี้จะพยายามหา

ทางออกจากร่างกายผ่านทางผิวหนังและ เส้นผม การตรวจผมจึงเป็นวิธีที่ง่ายและมี ประสิ ท ธิ ภ าพที่ สุ ด ในการตรวจหาสารพิ ษ นั้น ๆ” ส�ำหรับการตรวจปัสสาวะนั้น ก็เพื่อ จะช่วยให้ทราบว่าคุณสัมผัสกับมลพิษอะไร มาบ้าง เช่น สารพทาเลทในพลาสติก สาร พาราเบนส์ในโลชั่นส�ำหรับทาผิว สารสไตรีน จากโฟม สารเบนซีน และสารโทลูอีน เป็นต้น “ทั้งนี้กระบวนการทดสอบทั้งหมดใช้ เวลาประมาณ 3 - 4 สัปดาห์ “เมือ่ เราได้รบั ผล การทดสอบกลับมา เราก็จะทราบได้ทนั ทีวา่ มี สารพิษอะไรบ้างอยู่ในร่างกายของคุณ ก่อน จะเริม่ ขัน้ ตอนการก�ำจัดสารพิษนัน้ ๆ ออกไป” ดร.กลอสส์แมน กล่าว

ล้างพิษจากร่างกาย

โดยปกติร่างกายของเรามีกระบวนการขับสารพิษผ่านระบบต่าง ๆ อยูแ่ ล้ว แต่จะ เป็นการดีต่อสุขภาพยิ่งขึ้นหากเราจะช่วยให้ ระบบเหล่านี้ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กว่าเดิม ค�ำแนะน�ำทีเ่ รามักจะได้ยนิ โดยทัว่ ไป คือ ดืม่ น�ำ้ ให้เพียงพอ รับประทานอาหารอย่าง ถู ก สุ ข อนามั ย และออกก� ำ ลั ง กายอย่ า ง สม�่ำเสมอ อย่างไรก็ตาม ยังมีวิธีก�ำจัดสารพิษ อื่น ๆ อีก เช่น การบ�ำบัดโดยคีเลชั่น หรือการ ล้างสารพิษทางหลอดเลือด ซึ่งเป็นกระบวน การทางการแพทย์ที่มีทั้งการรับประทานและ ฉีดกรดอะมิโนที่เรียกว่า EDTA เข้าไปใน กระแสเลือดเพื่อก�ำจัดโลหะหนักอันเป็นพิษ นอกจากนี้ยังมีการใช้ผลิตภัณฑ์อื่นร่วมด้วย เพื่อให้กระบวนการก�ำจัด และขับสารพิษที่ สั่งสมมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การใช้ชีวิตของคนในยุคปัจจุบันนั้น หลีกเลี่ยงการรับสารพิษได้ยาก แต่การตรวจ หาและขจั ด สารพิ ษ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากจะช่วยให้คุณสุขภาพดี รู้สึกอ่อน เยาว์และสดชื่นแล้ว ยังช่วยให้ผิวพรรณและ รูปลักษณ์ภายนอกดูเปล่งประกายมากขึน้ อีก ด้วย

Vol.22 No.212 November-December 2015

บกพร่อง และปวดศีรษะ ในกระบวนการก� ำ จั ด สารพิ ษ นั้ น ร่างกายยังมีความเสี่ยงต่ออาการอักเสบอีก ด้วย สารพิษบางชนิดท�ำให้ฮอร์โมนเสียความ สมดุล ซึ่งอาจท�ำให้เกิดอาการปวดประจ�ำ เดือนและเกิดโรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ ในผู้หญิง ส่วนในผู้ชายนั้นอาจท�ำให้ฮอร์โมน เอสโตรเจนเพิ่มมากขึ้นจนจ�ำนวนสเปิร์มลด น้อยลง

35


Q

Advertorial for

uality

สำตอน�หรัลีนในโรงพยาบาลศิ บงานบริกราร ิราช ต่อจากฉบับที่แล้ว

แผนกออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม่ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

จากบทความเรื่อง “ลีนส�ำหรับงานบริการ” ที่ลงตีพิมพ์ใน ฉบับเดือนกันยายน-ตุลาคม 2558 ที่ผ่านมา ผู้อ่านได้ทราบ แนวทางของหลักการคร่าว ๆ ของ Lean for Service กันไปพอสมควรในฉบับนี้ ในฉบับนี้จึงขอน�ำเสนอบทความเกี่ยวกับการน�ำลีนมา ประยุกต์ใช้กับการบริการสุขภาพ เช่น โรงพยาบาล ซึ่งคัดมาจากเอกสารการน�ำเสนอผลงาน Thailand Lean Award 2015 ส่วนของ โรงพยาบาลศิริราชพยาบาล

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล วิสัยทัศน์: เป็นสถาบันทางการแพทย์ของแผ่นดิน มุ่งสู่ความ เป็นเลิศระดับสากล พันธกิจ: คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมีพันธกิจที่จะ จัดการศึกษาเพือ่ ผลิตบัณฑิตและบุคลากรทางการแพทย์ทกุ ระดับ และ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ท�ำการวิจัย สร้างบรรยากาศทางวิชาการ ให้บริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ คุณธรรม ทันสมัย ได้มาตรฐาน สากล สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ และน�ำมาซึง่ ศรัทธาและ ความนิยมสูงสุดจากประชาชน รวมทั้งชี้น�ำสังคมไทยในด้านสุขภาพ อนามัยและคุณภาพชีวิต

36

for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

วัฒนธรรมองค์กร: SIRIRAJ ประกอบด้วย S = Seniority = รักกันดุจพี่น้อง I = Integrity = ซื่อสัตย์ ถูกต้อง เชื่อถือได้ R = Responsibility = รับผิดชอบ มีประสิทธิภาพ ตรงต่อเวลา I = Innovation = คิดสร้างสรรค์ R = Respect = ให้เกียรติ เอาใจเขามาใส่ใจเรา A = Altruism = ค�ำนึงถึงประโยชน์ของผูอ้ นื่ และส่วนรวมเป็น ที่ตั้ง J = Journey to Excellence and Sustainability = มุ่งมั่นพัฒนาสู่ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน


Advertorial

tracer), RCA, Risk Management (RM) การพัฒนางานประจ�ำสู่การ วิจยั Routine to Research (R2R) 4. พัฒนาสูอ่ งค์กรทีม่ ชี วี ติ และเรียน รู้สู่นวัตกรรม (พ.ศ.2551-2554) Siriraj KM Strategy, Lean, TQA 5. พัฒนาสู่การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย วัฒนธรรมคุณภาพ วัฒนธรรมการเรียนรู้ และความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน (พ.ศ.25552558) Concurrent Trigger Tool, Siriraj Clinical Tracer Plus (Lean R2R) ทัง้ นีใ้ นระยะที่ 4 ผูบ้ ริหารให้ความส�ำคัญในการ ลดความสูญเปล่า

Vol.22 No.212 November-December 2015

โรงพยาบาลศิริราช มีคณบดีเป็นผู้บริหารสูงสุด มีผู้อ�ำนวยการฯ และรองผู้อ�ำนวยการฯ ท�ำการบริหารจัดการโรงพยาบาลระดับ ตติยภูมิขั้นสูง ขนาด 2,110 เตียง มีบุคลากรทั้งหมด 15,317 คน และ เทคโนโลยีทที่ นั สมัย ให้บริการผูป้ ว่ ยนอก (OPD) เฉลีย่ 2,924,098 ราย ต่อปี และให้บริการผู้ป่วยในโรงพยาบาล (IPD) เฉลี่ย 81,718 ราย ต่อปี มีวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ส�ำคัญ 3 ด้าน คือ 1.ให้การรักษาและ การบริการที่มีคุณภาพและความน่าไว้วางใจสูงตามมาตรฐานสากล 2.จัดระบบการให้บริการผู้ป่วยอย่างมีผลิตภาพสูง 3.บูรณาการและ สร้างเครือข่ายของการรักษาพยาบาลผูป้ ว่ ยโรคซับซ้อนอย่างครบวงจร ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ในการเป็นระบบ บริการสุขภาพที่มีคุณค่า และได้มาตรฐานสากล (high value international healthcare system) มีระบบการน�ำกลยุทธ์ไปปฏิบัติผ่านทาง คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล กรรมการคร่อมสายงาน ทีมน�ำทาง คลินคิ โดยมอบหมายให้รองผูอ้ �ำนวยการเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดท�ำ แผนปฏิบัติการณ์ การสื่อสารถ่ายทอดสู่ทีมด�ำเนินการ ซึ่งก�ำหนด เป้าหมาย และระยะเวลาอย่างชัดเจน ศิริราชมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ.2542 เป็นต้นมา โดยจัดแบ่งเป็นระยะการพัฒนา 5 ระยะ คือ 1. พัฒนาระบบ คุณภาพ (พ.ศ.2542-2544) 5ส ESB, PDCA 2. พัฒนากระบวนการ ดูแลผูป้ ว่ ย (พ.ศ.2545-2547) Utilization Management, KM 3. พัฒนา สู่ความเป็นเลิศ (พ.ศ.2548-2550) การตามรอยทางคลินิก (clinical

37


Advertorial

Vol.22 No.212 November-December 2015

และเพิ่มคุณค่าแก่ผู้รับบริการ โดยไม่เพิ่มต้นทุนการผลิต จึงได้เข้าร่วม โครงการน�ำร่องของสถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ สถาบันรับรองคุณภาพ โรงพยาบาล (มหาชน) และ Asian Productivity Organization (APO) ในการประยุกต์ใช้แนวคิด Lean ในระบบสุขภาพ โดยเริ่มโครงการ น�ำร่อง 3 กลุ่ม คือ 1. การบริการผู้ป่วยนอก 2. การบริการผู้ป่วยใน 3. งานสนับสนุน จนได้ผลลัพธ์เป็นที่น่าพอใจ สามารถลดระยะเวลา การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากจุดลงทะเบียนไปตามหน่วยตรวจต่าง ๆ จาก 23 นาที เหลือ 10 นาที ในช่วงเวลาเร่งด่วน ลดระยะเวลาการรอคอย

38

ของผู้ป่วยนอก แผนกศัลยกรรมกระดูกลงได้ 55% ลดระยะเวลาวัน นอนโรงพยาบาลในหอผู้ป่วยเคมีบ�ำบัดลงได้ 1 วัน และเพิ่มความพึง พอใจทัง้ ผูร้ บั และผูใ้ ห้บริการ จากผลความส�ำเร็จดังกล่าวผูบ้ ริหารคณะ จึงมีนโยบายให้จัดการขยายผลการพัฒนากระบวนการท�ำงานตาม แนวคิดแบบลีนทั่วทั้งองค์กร ดังนัน้ จึงได้แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารทรัพยากรตามแนวคิด Lean (Lean Task Force) โดยมีผู้อ�ำนวยการเป็นประธาน และแต่งตั้ง ให้งานบริหารทรัพยากรสุขภาพ (UM) ท�ำหน้าที่สนับสนุนการพัฒนา งานตามแนวคิด Lean โดยก�ำหนดภาระงานส�ำคัญ 3 ประการ คือ 1. การให้ความรู้ (education and training) 2. การส่งเสริม (facilitate) 3. การจัดการความรู้ (knowledge management) โดยยึดหลักการ “สร้างคนให้คนสร้างงาน” จึงจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารแก่บคุ ลากรซึง่ เป็น ตัวแทนทุกหน่วยงาน เพื่อให้มีความรู้และทักษะการพัฒนางานตาม แนวคิด Lean และสามารถกลับไปด�ำเนินการพัฒนาต่อได้ในหน่วยงาน ตนเอง โดยมีทมี UM ท�ำหน้าทีใ่ ห้คำ� แนะน�ำ Facilitator และติดตามใน การแก้ไขปัญหาในระหว่างด�ำเนินการหน้างานจนกระทั่งโครงการ นัน้ ๆ ประสบความส�ำเร็จ และบุคลากรสามารถด�ำเนินการต่อไปได้ดว้ ย ตนเอง โดยใช้แนวคิด Sandwich Model ในการสนับสนุนให้เกิดการน�ำ แนวคิด Lean มาปรับใช้ทวั่ ทัง้ องค์กร กล่าวคือ มีการสนับสนุนโครงการ 2 ระดับ ในแนวคู่ขนาน คือ 1. โครงการที่เกิดขึ้นจากหน่วยงานย่อย (bottom up projects) ที่เป็นสายธารการให้บริการ VSM ภายใน


Advertorial

Myocardial Infarction “STEMI”) UM สนับสนุนการสร้างขวัญและก�ำลังใจแก่บคุ ลากร โดยสร้าง บรรยากาศการเรียนรูแ้ ละเชิดชูเกียรติ และท�ำการเผยแพร่ขา่ วสารและ ข้อมูลด้านการพัฒนางานตามแนวคิด Lean ในทุกสื่อ ให้บุคลากร เข้าถึงได้ง่าย นอกจากนั้นยังท�ำการจัดกลุ่มงานท�ำการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ (community of practice) เช่น Si Cell Concept, Si Kanban จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากทีมที่ประสบความ ส�ำเร็จ เช่น Quality Conference, Lean Day Quality Fair รวมทั้งรับ ดู ง านทั้ ง ภายในและต่ า งสถาบั น และจั ด การรวบรวมความรู ้ จ าก โครงการพัฒนางานตามแนวคิด Lean ที่ได้รับรางวัลโครงการติดดาว จัดท�ำเป็นหนังสือนวัตกรรมดีเด่นโครงการติดดาวประจ�ำปีของคณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลเผยแพร่ทั้งภายในและภายนอกคณะฯ นอกจากนีย้ งั ประสานให้หน่วยงานได้มโี อกาสน�ำเสนอผลงานแพร่ขยาย ไปภายนอกสถาบัน และได้รับค�ำชื่นชมจากรางวัลในระดับชาติ เช่น รางวัลประเภทบริการประชาชนของ กพร. รางวัลประเภทการบริการ ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางของสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย เป็นต้น นอกจากนีผ้ บู้ ริหารยังได้รบั เกียรติให้บรรยายการน�ำแนวคิดลีนมาปรับ ใช้ในโรงพยาบาลทั้งในประเทศและต่างประเทศ ฉบับต่อไปโปรดติดตามบทความเกี่ยวกับองค์การที่ให้การ บริการทางด้านการเงินอย่างธนาคาร ซีไอเอ็มบี จ�ำกัด (มหาชน) แล้ว พบกัน

อ่านต่อฉบับหน้า หากท่านใดสนใจเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ Lean for Service ติดต่อสอบถามได้ที่แผนกออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม่ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) โทร. 0-2717-3000-29 ต่อ 751 คุณอังค์วรา e-mail: ungwara@tpa.or.th หรือ 0-2717-3000-29 ต่อ 81 Call Center

Vol.22 No.212 November-December 2015

หน่วยงานไม่ซับซ้อน สามารถเห็นผลได้ภายใน 1 ถึง 3 เดือน (quick win projects) ผู้ปฏิบัติเป็นคนริเริ่มโครงการ เช่น การใช้ 5ส Visual Management การปรับปรุงมาตรฐานงาน การป้องกันความผิดพลาด ด้วย Error Proof เป็นต้น 2. โครงการทีเ่ กิดขึน้ จากหน่วยงานหลัก (top down projects) เป็นโครงการที่ริเริ่มจากทีมบริหารที่เป็นสายธารการ ให้บริการ VSM ที่มีความซับซ้อน ตอบสนองพันธกิจวิสัยทัศน์และ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ซึ่งส่งผลให้แนวคิด Lean แพร่ขยายอย่าง รวดเร็วภายใน 1-2 ปี ถึงแม้ระยะแรกของโครงการเป็น VSM สั้น ๆ ใน ระดับหน่วยงาน ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจและจุดประเด็นให้บุคลากร สามารถขยายการพัฒนาด้วยการแลกเปลีย่ นเรียนรูซ้ งึ่ กันและกันได้ทงั้ องค์กร นอกจากนี้ยังได้มีการจัดตั้ง Lean Clinic เพื่อให้บุคลากร/ทีม พัฒนาที่มีข้อติดขัด หรือไม่แน่ใจในการด�ำเนินการพัฒนาได้ปรึกษา โดย Lean Clinic ท�ำหน้าที่วิเคราะห์ปัญหา และให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ หรือช่วยเหลือด้านการให้ความรู้ การแก้ไขทางด้านเทคนิคการด�ำเนิน การให้เหมาะกับปัญหาของทีมด�ำเนินงาน ท�ำให้เกิดโครงการ Lean ขยายกว้างขวางทุกหน่วยงาน ในขณะเดียวกัน UM เป็นพี่เลี้ยงและ ผู้ประสานโครงการเชิงนโยบาย เช่น โครงการ Siriraj Lean Hospital ซึ่งจัดเป็น Rapid Improvement Event (RIE) ในกระบวนการบริการ หลักของโรงพยาบาล (top down projects) โดยมีทมี ทีป่ รึกษาจากคณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมด�ำเนินการท�ำการศึกษา วิจัยเชิงปฏิบัติการ (operation research) เพื่อหาทางเลือกให้ผู้บริหาร ได้ตดั สินใจก่อนการลงทุนพัฒนา นอกจากนีไ้ ด้มกี ารประยุกต์ใช้แนวคิด Lean เข้ากับเครื่องมือคุณภาพที่มีอยู่เดิม เช่น CQI, Clinical Tracer ในการพัฒนาระบบการรักษาเฉพาะโรค เช่น การดูแลผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน (acute stroke care) การดูแลกลุม่ ผูป้ ว่ ยทีม่ ภี าวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (acute ST Segment Elevation

39


Q

Special Issue for

uality

Special Issue

Special Issue


Q

Special Issue for

uality

เกษตรไทยก้าวไกล อาเซียน ใน

กองบรรณาธิการ

กรีนเนท

เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนที่ท�ำหน้าที่ด้านการ ตลาด เชือ่ มประสานระหว่างเกษตรกรในเครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก กลุม่ ธุรกิจชุมชน และผูบ้ ริโภค โดยเน้นการส่งเสริม และเผยแพร่แนวทางเกษตรกรรมอินทรียแ์ ละพัฒนากระบวนการตลาดทางเลือก สร้างความมีสว่ นร่วมของทัง้ ผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภค ส่งเสริมการผลิตในลักษณะของการ รวมกลุ่มธุรกิจชุมชนเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่ปลอดภัยต่อ ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการรวบรวมและคัดสรรผลิตภัณฑ์เหล่านี้มาจ�ำหน่ายในราคาที่ เป็นธรรม (fair trade) โดยด�ำเนินงานในรูปแบบของศูนย์กระจายสินค้า (distribution center) ซึง่ มีผลิตภัณฑ์หลากหลาย อาทิ ข้าว ธัญพืช ผักผลไม้ ชาสมุนไพร อาหารแปรรูปต่าง ๆ รวมทั้ง ผ้าทอพื้นเมืองเพื่อสิ่งแวดล้อม

คุณบุญจิรา ตันเรือง

ผู้จัดการสหกรณ์กรีนเนท จำ�กัด for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

41


Special Issue องค์ความรู้และเทคโนโลยีแก่เกษตรกรค่อนข้าง น้อย ซึ่งในความเป็นจริงแล้วประเทศไทยน่าจะ ต้องมีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีก่อนเป็น อันดับแรก โดยเฉพาะการเริ่มมองหาเครื่องจักร และเครื่องกลที่จะมาช่วยผ่อนแรงการท�ำงาน เกษตรกร และช่วยให้ประหยัดต้นทุนและค่าแรง มากขึ้น

Vol.22 No.212 November-December 2015

สร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกรไทย

42

สหกรณ์กรีนเนท จ�ำกัด เดิมชื่อ “ร้าน สหกรณ์อาหารธรรมชาติ จ�ำกัด” ซึง่ ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2537 ต่อมามีการขยาย กิจการด�ำเนินงานให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น จึงเปลี่ยน ชื่อเป็น “สหกรณ์กรีนเนท จ�ำกัด” ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 สหกรณ์ ก รี น เนท จ� ำ กั ด ท� ำ หน้ า ที่ ใ น การจั ด จ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ กษตรอิ น ทรี ย ์ ผลิตภัณฑ์ผ้าเพื่อสิ่งแวดล้อม และผลิตภัณฑ์ ธรรมชาติ ที่ มี ม าตรฐานและมี คุ ณ ภาพสู ง ใน ลักษณะของศูนย์กระจายสินค้า (distribution center) และมีนโยบายในการด�ำเนินการค้าทีเ่ ป็น ธรรม (fair trade) โดยท�ำการตลาดทั้งภายใน ประเทศและต่างประเทศ การเกษตรถือว่าเป็นจุดแข็งของประเทศ โดยเฉพาะการส่งออกผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ เป็นกิจกรรมที่น่าจับตามอง เพราะเมื่อมีการเปิด ประชาคมอาเซียนแล้ว ประเทศไทยจะต้องเริ่ม ตระหนักถึงการแข่งขันและการผลิตเพื่อส่งออก ให้เพียงพอกับผู้บริโภคมากที่สุด คุณบุญจิรา ตันเรือง ผูจ้ ดั การสหกรณ์กรีนเนท จ�ำกัด ผูค้ ลุกคลีและคร�ำ่ หวอดอยูก่ บั วงการเกษตรอินทรียข์ อง ไทย ได้กล่าวกับ ฉบับนี้ถึงบรรยากาศ ของเกษตรอินทรียใ์ นบ้านเรา การแข่งขันทีเ่ กิดขึน้ รวมไปถึงความเจริญก้าวหน้าในอนาคต

ภาพรวมการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ ในประเทศไทย

คุณบุญจิรา กล่าวถึงการเกษตรอินทรีย์ ของไทยว่า “ที่ผ่านมาการเกษตรอินทรีย์ของไทย พบกับอุปสรรคมากมาย แต่อปุ สรรคทีส่ ำ� คัญและ ส่งผลกระทบอย่างยิ่ง นั่นคือ การขาดแคลน แรงงาน นัน่ เป็นเพราะเกษตรกรปัจจุบนั ส่วนใหญ่ จะมีอายุใกล้วัยเกษียณมากขึ้น ลูกหลานก็ไม่ได้ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รวมไปถึงลูกหลาน เองยังบอกให้เกษตรกรเลิกท�ำด้วย เพราะฉะนั้น เกษตรกรจึงมีจำ� นวนลดลง อีกทัง้ พืน้ ทีก่ ารเกษตร ก็ ถู ก รุ ก รานจากการขยายเมื อ ง จึ ง ส่ ง ผลให้ ปริมาณผลผลิตและพื้นที่การเกษตรลดลงอย่าง เห็นได้ชัดในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ดังนั้น หากต้องมีการว่าจ้างแรงงาน นั่น หมายถึง การมีต้นทุนที่เพิ่มขึ้น และค่าแรงที่ต้อง แบกรับ เพราะแรงงานขาดแคลนท�ำให้ค่าแรงมี ราคาสูงกว่า 300 บาทต่อวัน ท�ำให้เกษตรกรไม่ คุ้มทุน” นี่คือภาพรวมของสภาวการณ์ทางการ เกษตรของประเทศไทยในขณะนี้ ที่ ผ ่ า นมาภาครั ฐ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรในประเด็นเรื่องการอุดหนุนเงินกู้ต่าง ๆ ซึง่ ในความเป็นจริงแล้วการให้เงินกูถ้ อื ว่าเป็นเรือ่ ง ที่ดี แต่ทั้งนี้ก็เป็นการก่อหนี้ในระยะยาวที่อาจ ส่งผลต่อสภาพคล่องทางการเงินแก่เกษตรกร นอกจากนี้ภาครัฐยังให้การสนับสนุนทางด้าน

“ทุกวันนี้องค์ความรู้ทางด้านการเกษตร ของประเทศไทยมีอยู่มาก เกษตรกรไทยมีการ เรียนรู้และปรับตัวได้ดี แต่ก็ยังมีประเด็นที่ต้อง ปรับปรุง คือ เกษตรกรรมเป็นอาชีพที่ต้องพึ่งพา ดินฟ้าอากาศ เมื่อไม่มีระบบการจัดการน�้ำและ เทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมเข้ า ไปช่ ว ย อาจท� ำ ให้ การเกษตรไม่ได้ผลผลิตตามเป้าหมาย ดังนั้น จึง ต้องมีการพัฒนาด้านการหาแหล่งน�้ำ การสร้าง ระบบน�้ำเข้าไปในแปลงเพาะปลูกให้มากที่สุด เกษตรกรก็ไม่จ�ำเป็นที่จะต้องพึ่งพาฝนมากเกิน ไป” การหาแหล่งน�้ำในพื้นที่แห้งแล้งนั้น ภาครัฐ มีส่วนช่วยได้มาก เพียงแต่ที่ผ่านมาภาครัฐกลับ มองเห็นความส�ำคัญในเรือ่ งของเงินกูม้ ากกว่า จึง ท�ำให้เกษตรกรต้องพึ่งพาตนเองในเรื่องของการ หาแหล่งน�้ำเพื่อเพาะปลูก นอกจากนี้ยังมีเรื่อง ของการบ�ำรุงดินที่ต้องมีการส่งเสริมสนับสนุน มากกว่าที่เป็นอยู่ จึงจะท�ำให้ผลผลิตในประเทศ ดีขนึ้ ได้อย่างต่อเนือ่ ง “ส�ำหรับกรีนเนท กิจกรรมที่ ด�ำเนินอยู่เน้นหนักในเรื่องของเกษตรอินทรีย์ ซึ่ง จะเกีย่ วเนือ่ งกับการพัฒนาปรับปรุงบ�ำรุงดิน การ ส่งเสริมและให้ความรูใ้ นการท�ำปุย๋ อินทรียด์ ว้ ยตัว เอง และการไม่ใช้สารเคมีในการเพาะปลูก ดังนัน้ กิจกรรมที่ท�ำจึงเป็นการประหยัดต้นทุนในเรื่อง ของสารเคมี และสร้างเสริมองค์ความรู้เพื่อให้ เกษตรกรพึ่งพาตัวเองได้ในระดับหนึ่ง”

เกษตรอินทรีย์ ในอาเซียน

คุณบุญจิรา ยังได้แสดงทัศนะในมุมมอง ที่ ก ว้ า งขึ้ น นั่ น คื อ เกษตรอิ น ทรี ย ์ ใ นประเทศ อาเซียน “เกษตรอินทรียห์ ากจะพัฒนาได้ตอ้ งเข้า สู่มาตรฐาน ทั้งนี้เกษตรอินทรีย์ในประเทศไทยมี หลายมาตรฐานมากแต่หากต้องการส่งออกหรือ พัฒนาไปสู่ตลาดอื่นก็ต้องให้อิงมาตรฐานสากล เป็นส�ำคัญ ซึ่ง ส�ำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ (มกอช.) เป็นหน่วยงานที่ มีหน้าที่ตรวจสอบและควบคุมหน่วยตรวจสอบ รับรองอยู่แล้ว แต่ความรู้ความเข้าใจเรื่องมาตร-


ฐานของเกษตรกรไทยมีนอ้ ยมาก รวมถึงผูบ้ ริโภค ที่ยังไม่เข้าใจว่าเกษตรอินทรีย์คืออะไร และเป็น แบบไหน ซึ่งถ้าเราจะส่งออกไปยังต่างประเทศก็ จะต้องได้รับการรับรองแบบสากล ที่เรียกว่า IFOAM Accredited ซึ่งเป็นระบบที่พัฒนาขึ้นโดย สหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movements: IFOAM) โดยได้ ริ เ ริ่ ม จั ด ตั้ ง โครงการ รับรองระบบงานเกษตรอินทรีย์ IFOAM (IFOAM Accreditation Programme) ขึ้นในปี พ.ศ.2535 เพื่อให้บริการรับรองระบบงานแก่หน่วยตรวจ รับรองเกษตรอินทรีย์ต่าง ๆ ทั่วโลก ต่อมาในปี พ.ศ.2540 สหพันธ์ฯ ได้จัดตั้ง IOAS (International Organic Accreditation Service) ขึ้น เพื่อท�ำหน้าที่ในการให้บริการรับรองระบบงาน นี้ ภายใต้กรอบของโครงการรับรองระบบงาน เกษตรอินทรีย์ IFOAM โดย IOAS จดทะเบียนเป็น องค์กรไม่แสวงก�ำไร มีส�ำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ใน ประเทศสหรัฐอเมริกา” ทั้งนี้ต่อไปหากมีการติดต่อทางการค้า มากขึ้น ทุกประเทศก็จะต้องให้ความส�ำคัญกับ มาตรฐานมากยิง่ ขึน้ ดูวา่ ประเทศไทยมีมาตรฐาน อะไรบ้างทีเ่ ป็นมาตรฐานพืน้ ฐานเบือ้ งต้น โดยใน ปัจจุบันเกษตรไม่ค่อยผ่านการรับรองในเรื่อง เหล่ า นี้ เพราะที่ ผ ่ า นมาด� ำ เนิ น กิ จ กรรมแบบ เกษตรดัง้ เดิม ซึง่ การผ่านมาตรฐานการเกษตรจะ ต้องมีการจดบันทึก การตรวจสอบย้อนกลับได้ แต่ เ กษตรกรในบ้ า นเราไม่ ถ นั ด และท� ำ ไม่ ไ ด้ เพราะความรู้มีจ�ำกัด “ปัจจุบันกรีนเนทเป็นที่ ปรึกษาให้แก่เกษตรกรทีท่ ำ� เกษตรแบบอินทรีย์ ที่ ผ่านมาจึงเล็งเห็นว่าสิง่ ทีค่ วรจะต้องเร่งด�ำเนินการ

มากที่สุด นั่นคือ เกษตรกรจะต้องมีการรวมตัว กันให้เป็นกลุ่ม เพื่อการมีอ�ำนาจต่อรอง มีการ ถ่ายทอดและแลกเปลีย่ นความรูซ้ งึ่ กันและกัน นี่ จะท�ำให้เกิดพลังที่จะแข่งขันกับประเทศเพื่อน บ้านได้”

เกษตรอินทรีย์ไทยกับการแข่งขัน

หากพู ด ถึ ง เกษตรอิ น ทรี ย ์ ใ นอาเซี ย น ประเทศเพื่อนบ้านของไทยก็มีอัตราความเจริญเติบโตที่น่ากลัว แล้วเราจะต้องมีการปรับตัว อย่างไรเพื่อให้ก้าวหน้าและโดดเด่นเหนือคู่แข่ง คุณบุญจิรา กล่าวถึงประเด็นนี้ว่า “ที่ผ่านมา เกษตรอินทรีย์ในภูมิภาคอาเซียนถือว่าประเทศไทยเป็นผู้น�ำ และเป็นไปตามมาตรฐานสากล แต่หากพูดถึงประเด็นการท�ำเกษตรอินทรีย์ที่ ไม่ได้ผ่านมาตรฐานนั้น ประเทศเวียดนามและ เมียนม่าร์น่าจะได้เปรียบเรา เนื่องจากทั้งสอง ประเทศมีพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์มากกว่า

แต่ประเทศไทยก็มกี ารเข้าสูร่ ะบบมาตรฐานที่ น ้ อ ย เพราะพื้ น ที่ ค ่ อ นข้ า งพั ฒ นายาก เนื่องจากใช้เคมีเป็นจ�ำนวนมากมาตั้งแต่ในอดีต และกว่าจะพัฒนาเป็นเกษตรอินทรีย์ได้ก็ต้องใช้ เวลา และเมือ่ เปิดเสรีทางการค้าอย่างเต็มรูปแบบ เชื่อมั่นได้เลยว่า ประเทศไทยจะต้องมีคู่แข่ง ส�ำคัญ คือ ประเทศเวียดนามและเมียนม่าร์อย่าง แน่นอน โดยเฉพาะข้าว (ไทยส่งออกอันดับทีห่ นึง่ เวียดนามส่งออกอันดับที่สอง) ที่ผ่านมาสินค้า เกษตรส่งออกทีส่ ำ� คัญของไทยคือ ข้าว ยางพารา และน�้ำตาล แต่ประเทศคู่แข่งมีสินค้าข้าวที่มี คุณภาพและปริมาณดีไม่แพ้เราเลย หากมีการ เปิดเสรีแล้วประเทศคูแ่ ข่งหากเข้าระบบอินทรียท์ ี่ ได้มาตรฐานสากลก็จะเป็นคู่แข่งที่น่ากลัวมาก” ประเทศกัมพูชา และ สปป.ลาว จัดว่า เป็นประเทศที่มีการพัฒนาที่น่าสนใจ ส�ำหรับ สปป.ลาว เป็นคู่แข่งรองลงมาจากคู่แข่งสอง ประเทศข้างต้น ส่วนกัมพูชาก็จะมีสนิ ค้าบางตัวที่ น่าสนใจ และประเทศไทยไม่มี อีกทั้งรัฐบาลของ ทัง้ สองประเทศได้มกี ารออกนโยบายทีส่ ำ� คัญทีจ่ ะ สนับสนุนให้มีการพัฒนาและส่งเสริมการลงทุน ด้วยเป้าหมายในการพัฒนาประเทศในระยะยาว แม้แต่บริษัทใหญ่ในประเทศไทยเองก็ได้มีการ เปลี่ ย นฐานการลงทุ น ไปยั ง สปป.ลาว แล้ ว เช่นเดียวกัน

ภารกิจของสหกรณ์กรีนเนท จำ�กัด

กรีนเนท เริ่มท�ำเกษตรอินทรีย์มากว่า 22 ปีแล้ว โดยมีภารกิจดูแลด้านการส่งเสริม การเกษตรที่เป็นอาชีพหลักของคนในประเทศ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีเพื่อให้ ความรู้เพิ่มเติมระหว่างเกษตรกรในเครือข่าย เกษตรกรรมทางเลือก กลุ่มธุรกิจชุมชน และ

Vol.22 No.212 November-December 2015

Special Issue

43


Vol.22 No.212 November-December 2015

Special Issue

44

ผู้บริโภค ส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันเป็น ธุรกิจชุมชนเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคและ สิ่งแวดล้อม ในระยะแรกเริ่มด�ำเนินการเกิดขึ้น จากการรวมตัวเกษตรกรไทยเพียง 10 กว่าคน ในจังหวัดสุรนิ ทร์และยโสธร โดยเริม่ ต้นทีก่ ารปลูก ข้าว มีการสร้างองค์ความรู้ในการบริหารจัดการ ผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน เช่น การเลือกเมล็ดพันธุ์ การตรวจสอบ การจดบั น ทึ ก เป็ น ต้ น โดยมี ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาเป็นผู้ตรวจสอบ และประเมินผลตามมาตรฐานสากล ผ่านพ้น การน�ำร่องกว่า 10 ปีจึงได้รับการยอมรับจาก ชุมชนต่าง ๆ จากนั้นจึงได้ต่อยอดการด�ำเนินงาน ทางด้านการตลาดขึน้ จนกระทัง่ ในวันนีม้ สี มาชิก กว่า 1 พันครัวเรือนทั่วประเทศที่เข้ามารวมกลุ่ม กับสหกรณ์ฯ โดยเน้นที่กลุ่มข้าวในจังหวัดยโสธร ฉะเชิงเทรา เชียงใหม่เป็นหลัก นอกจากนี้ยังมี กลุม่ เกษตรกรมะพร้าวอินทรียใ์ นจังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ผลิตภัณฑ์ชาใบหม่อนทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานี ขอนแก่น และเกษตรกรที่ปลูกผักในจังหวัด สุพรรณบุรี “ในเบื้องต้นกรีนเนทมีการอบรมให้ ความรู้กับเจ้าหน้าที่ที่ต้องออกไปปฏิบัติภารกิจ กับเกษตรกรไทยในเรื่องเกษตรอินทรีย์ และช่วย เหลื อ ชาวบ้ า นได้ แต่ ใ นเรื่ อ งองค์ ค วามรู ้ ที่ เกีย่ วข้องกับเกษตรกรรมจริง ๆ เรากลับต้องพึง่ พิง ชาวบ้ า น เพราะชาวบ้ า นมี ป ระสบการณ์ จ ริ ง มากกว่า ดังนัน้ การท�ำงานจึงเป็นการรวมกลุม่ กัน แล้วมีการแลกเปลี่ยนความรู้และเทคนิคทาง ทฤษฎี ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ า ง ๆ ร่ ว มกั น ดั ง นั้ น กรีนเนทจึงมีการจัดตั้ง “โรงเรียนเกษตรกร” ขึ้น ใน 11 กลุ่มทั่วประเทศ ได้แก่ จังหวัดยโสธร 3

กลุ่ม ฉะเชิงเทรา 1 กลุ่ม ประจวบคีรีขันธ์ 2 กลุ่ม เชียงใหม่ 2 กลุ่ม ขอนแก่น 1 กลุ่ม อุบลราชธานี 2 กลุ่ม ซึ่งถือว่าเราเป็นหน่วยงานที่มีการด�ำเนินการทดลองและพัฒนากิจกรรมทางเกษตรอินทรีย์ จนกระทั่ ง ประสบผลส� ำ เร็ จ และใช้ ง านได้ จ ริ ง อีกทั้งกิจกรรมต่าง ๆ ที่กรีนเนทด�ำเนินการเพื่อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละการลด ต้นทุนเป็นส�ำคัญ”

การส่งเสริมทางการจัดจำ�หน่าย สินค้าเกษตรอินทรีย์ของกรีนเนท

สหกรณ์กรีนเนท จะมีการรวบรวมและ คัดสรรผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรียข์ องเกษตรกรไทย ออกสูต่ ลาด โดยมีการจ�ำหน่ายในประเทศร้อยละ 40 ส่วนทีเ่ หลือร้อยละ 60 จะเป็นการส่งออก ด้วย แนวทางการจัดจ�ำหน่ายที่เน้นราคาที่เป็นธรรม ภายใต้หลักการค้าที่เป็นธรรม (แฟร์เทรด) โดย ส่งออกไปยังประเทศแถบยุโรปที่มีความสนใจ จะช่วยเหลือประเทศที่ก�ำลังพัฒนา โดยกรีนเนท ก็จะมีผลรายงานการด�ำเนินงานส่งไปยังประเทศ ที่ยินดีช่วยเหลือและสนใจรับซื้อผลิตภัณฑ์ว่า เงินทีส่ นับสนุนเหล่านัน้ ได้นำ� มาท�ำกิจกรรมทีเ่ ป็น ประโยชน์ต่อส่วนร่วมอย่างไรบ้าง และยังมีการ เชิญเกษตรกรของไทยไปร่วมงานเทรดแฟร์ของ แต่ละประเทศเพือ่ เป็นกรณีศกึ ษาทีบ่ รรลุเป้าหมาย และท�ำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของเกษตรไทยดีขึ้น ดังนั้น ผู้บริโภคจึงมีความเชื่อมั่นว่าเงินที่ช่วย เหลือได้ถึงมือกลุ่มเป้าหมายจริง ๆ กล่าวได้ว่า สหกรณ์กรีนเนทเป็นผูบ้ กุ เบิกตลาดเกษตรอินทรีย์ ในประเทศไทย จนปั จ จุ บั น ตลาดอิ น ทรี ย ์ ในประเทศมีอัตราการเติบโตถึงร้อยละ 15 ต่อปี

ทัง้ นีผ้ ลิตภัณฑ์เกือบทัง้ หมดของสหกรณ์ กรีนเนทได้รบั การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จากส�ำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์สากล ภายใต้การรับรองระบบงาน IFOAM (IFOAM Accredited Organic Programme) ประกอบด้วย 1. ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ อาทิ ข้าว ข้าวโพดฝักอ่อน ล�ำไย ถั่วเหลือง มะตูม รางจืด มะพร้าว และผักต่าง ๆ 2. ผลิตภัณฑ์เกษตร อินทรีย์แปรรูปอื่น ๆ เช่น กะทิเกษตรอินทรีย์ น�้ำมันมะพร้าวเกษตรอินทรีย์ ซีอิ๊วเกษตรอินทรีย์ และชาใบหม่อนเกษตรอินทรีย์ 3. ผลิตภัณฑ์จาก ผ้าเกษตรอินทรีย์ เช่น ผ้าอ้อมฝ้ายเกษตรอินทรีย์ ผ้าเช็ดตัวฝ้าย เสื้อเด็กจากฝ้ายเกษตรอินทรีย์ และผ้าห่มไหม 4. จ� ำ หน่ า ยหนั ง สื อ เกี่ ย วกั บ เกษตรอินทรีย์ เช่น ความรูเ้ บือ้ งต้นเกษตรอินทรีย์ สถานการณ์เกษตรอินทรีย์ไทย-เกษตรอินทรีย์ โลก และตลาดเกษตรอินทรีย์

ฝากถึงเกษตรกร และผู้บริโภคถึงผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์

คุณบุญจิรา ยังได้กล่าวฝากถึงเกษตรกร และผูบ้ ริโภคว่า “กรีนเนทเริม่ มีการขยายขอบข่าย การส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรอย่างต่อเนือ่ ง โดยการขยายความรู้เรื่องเทคนิคการท�ำเมล็ด พันธุ์อินทรีย์ จนกระทั่งปัจจุบันเริ่มมีการท�ำเพื่อ วางจ�ำหน่ายได้แล้ว ซึ่งที่ผ่านมาผู้สนใจสามารถ สั่งซื้อได้ทางเว็บไซต์และอีเมลของกรีนเนท และ งานแสดงสินค้าต่าง ๆ เพราะปัจจุบันเริ่มมีสังคม เมืองทีม่ คี วามต้องการทีจ่ ะปลูกพืชเกษตรอินทรีย์ เพือ่ รับประทานเอง แต่หาเมล็ดพันธุอ์ นิ ทรียแ์ บบ เปิดที่เก็บรักษาได้ระยะยาวและไม่มีการคลุกยา ได้ยากแต่ที่กรีนเนทมี ในอนาคตกรีนเนทน่าจะมี การร่วมมือกับสถาบันการศึกษาเพื่อคิดค้นและ ประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องจักรที่พอจะทุ่นแรงการ ท�ำงานของเกษตรกรไทยด้วย ทัง้ นีข้ อฝากว่าเกษตรกรไทยจะอยูร่ อดได้ ก็ตอ้ งมีการรวมกลุม่ กันให้เกิดความเข้มแข็ง และ เพื่อให้มีอ�ำนาจในการต่อรองมากขึ้น ต่อยอดสู่ การท�ำการตลาดได้ดว้ ยตัวเอง เพราะเรามีกลุม่ ที่ ใหญ่ขึ้น และขยายไปสู่การขายเพื่อส่งออกได้ ส�ำหรับผู้บริโภคจะต้องเริ่มศึกษา เรียนรู้ และ ท�ำความเข้าใจว่าเกษตรอินทรีย์ที่แท้จริงเป็น อย่างไร เพื่อจะได้เลือกบริโภคผลิตภัณฑ์ที่เป็น ประโยชน์ตอ่ สุขภาพได้อย่างแท้จริง” คุณบุญจิรา กล่าวสรุป


Q

Management for

uality

Finance Strategy Marketing & Branding People


Q

Finance for

uality

จีน VS ญี่ปุ่น บนเวทีเศรษฐกิจโลก

รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์

อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

ความ

ได้เปรียบส�ำคัญของญี่ปุ่นที่มีต่อจีนประการหนึ่ง ก็คอื ญีป่ นุ่ สามารถด�ำเนินมาตรการ “Abenomics” โดยการใช้ “Q.E” ได้ง่าย และเป็น “เครื่องมือ” ส�ำคัญทั้งต่อการพลิก ฟืน้ เศรษฐกิจ และการเพิม่ ศักยภาพของภาคการเงิน (financial sector) ของญี่ปุ่นทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ด้านภายในประเทศ “Q.E” ทีท่ ำ� ให้ธนาคารกลางญีป่ นุ่ (Bank of Japan: BOJ) อัดฉีดปริมาณเงินออกมาได้อย่างต่อเนื่องและมากมาย นัน้ ได้สง่ ผลให้ญปี่ นุ่ สามารถใช้ “กระสุน” ทางการเงินดังกล่าว ในการ พลิกฟื้นตลาดเงินและตลาดทุน (เช่น ตลาดหุ้น) ที่ตกต�่ำซบเซามาช้า

46

for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

นานให้ฟื้นตัวขึ้นได้เป็นอย่างมาก ดังที่ปรากฏ “รูปธรรม” ออกมาให้ เห็นจากการฟื้นและขยายตัวของตลาดหุ้น “Nikkei” ที่ส่งผลให้มูลค่า สินทรัพย์ของญีป่ นุ่ ได้โป่งพอง (inflated) และเพิม่ มูลค่าขึน้ มาได้อย่าง มากมาย ทั้งนี้ยังไม่นับรวมมูลค่าสินทรัพย์ (assets value) อื่น ๆ เช่น อสังหาริมทรัพย์ที่ได้ฟื้นและขยายตัวอย่างเด่นชัดด้วยเช่นกัน ด้านระหว่างประเทศ “Q.E” ญีป่ นุ่ ได้สง่ ผลให้เงินเยนอ่อนค่าลง มาก อันมีผลท�ำให้ทงั้ ภาคเศรษฐกิจจริง (real sector economy) และ ภาคการเงินกระเตื้องตัวขึ้น เช่น ท�ำให้ญี่ปุ่นสามารถส่งออกได้มาก และง่ายขึ้น


ในขณะเดียวกันญี่ปุ่นสามารถใช้ประโยชน์จากการที่ค่าเงิน อ่อนลงมากเป็นประโยชน์ต่อการปรับฐานและเปลี่ยนโครงสร้าง เศรษฐกิจญีป่ นุ่ ให้มงุ่ สูก่ ารเป็นเศรษฐกิจทีอ่ งิ กับภาคบริการ (servicebased economy) และภาคการเงิน (finance-based economy) ได้ มากและง่ายขึ้น ดังตัวอย่างที่ปรากฏออกมาให้เห็นจากการขยายตัว ของธุรกิจการท่องเทีย่ วในญีป่ นุ่ ทีม่ นี กั ท่องเทีย่ วจากต่างประเทศเข้าไป เที่ยวในญี่ปุ่นถึง 13.4 ล้านคน ในปี 2014 อันเป็นการเพิ่มกว่า 30% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้านั้น ภายใต้มาตรการ “Q.E” ญีป่ นุ่ สามารถเพิม่ อุปทานเงินเยนเพือ่ ไล่ซอื้ เงินตราสกุลหลัก (key currencies) ของโลก เช่น ดอลล่าร์สหรัฐฯ ซึ่งนอกจากไม่เพียงท�ำให้ค่าเงินเยนอ่อนลงตามที่ “BOJ” ตั้งใจเท่านั้น หากแต่ยังท�ำให้ญี่ปุ่นระดมเงินตราสกุลหลักของต่างประเทศ เช่น ดอลล่าร์สหรัฐฯ ได้เพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันก็สามารถท�ำให้เงินเยน “Go Inter” ได้มากและง่ายขึ้น เมื่อญี่ปุ่นสามารถระดม “กระสุน” ดอลล่าร์ได้มากขึ้น (จาก การ “พิมพ์” เงินเยนไปไล่ซื้อมา) ก็สามารถ “หมุน” เงินดอลล่าร์ เหล่านั้นไปหาประโยชน์จากเศรษฐกิจโลก เช่น การลงทุนทั้งใน ภาคเศรษฐกิจจริง ภาคบริการ และภาคการเงินอย่างต่อเนื่องและ มากมายดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน มีข้อที่น่าสังเกตว่า ในช่วงที่ผ่านมา แม้ว่าญี่ปุ่นได้ประสบ ความส�ำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจมาก และได้ทะยานขึน้ เป็นประเทศ ที่มีขนาดของมูลค่า GDP ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของโลก ตั้งแต่ช่วงครึ่ง หลังของทศวรรษที่ 1960’s (ช่วงหลังจากทีญ ่ ปี่ นุ่ ได้เป็นเจ้าภาพจัดกีฬา โอลิมปิคฤดูรอ้ นในเดือนตุลาคม 1964) และญีป่ นุ่ เองก็ได้ขยายทัง้ เรือ่ ง การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศไปทั่วโลก แต่ถึงกระนั้นแดน ซามูไร ก็ไม่อาจท�ำให้เงินเยนกลายเป็นตราสกุลหลักที่ส�ำคัญของโลก ได้ ทัง้ ๆ ทีญ ่ ปี่ นุ่ เองด�ำรงความเป็นเศรษฐกิจทีใ่ หญ่เป็นอันดับที่ 2 ของ โลกและเป็นรองเฉพาะสหรัฐเท่านั้นติดต่อกันกว่าสี่ทศวรรษ กว่าที่จะ เสียต�ำแหน่ง “รองแชมเปี้ยนโลก” ดังกล่าวให้แก่จีนในช่วงครึ่งหลัง ของทศวรรษที่ 2000’s อันเป็นช่วงทีจ่ นี ได้เป็นเจ้าภาพจัดกีฬาโอลิมปิค ฤดูร้อนเช่นกัน (สิงหาคม 2008) เท่าที่เป็นอยู่ ญี่ปุ่นต้องเร่งสปีดการ “โกอินเตอร์” ให้มากและ รวดเร็วยิ่งขึ้น ก่อนที่จีนจะมีพัฒนาการและ “โกอินเตอร์” ได้มากกว่า ปัจจุบัน

ภายหลังจากทีจ่ นี ได้เปิดประเทศมากว่าสามทศวรรษนับตัง้ แต่ ประมาณปี 1979 เป็นต้นมา แผ่นดินมังกรก็ได้แปรเปลีย่ นจากประเทศ ปิด ไปเป็นประเทศที่ใช้นโยบายเปิดตัวสู่โลกภายนอก (open-door policy) โดยการน�ำของ “เติ้งเสี่ยวผิง” แต่ในช่วง 2-3 ทศวรรษแรก “เข็มมุง่ ” การพัฒนาเศรษฐกิจของ จีน ยังอยู่ที่จะยกระดับการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศ ที่เคยอยู่ ในระดับต�ำ่ เพราะ “ติดกับ” อยูใ่ ต้เศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (socialism) เพื่อมุ่งสู่เส้นทางเป็นคอมมิวนิสต์มาเป็นเวลาประมาณ 3 ทศวรรษ ภายหลังที่จีนได้แปรเปลี่ยนระบบการปกครองเป็นสังคมนิยมภายใต้ การน�ำของ “เหมาเจ๋อตุง” ในวันที่ 1 ตุลาคม 1949 เป็นต้นมา สภาวการณ์ดังกล่าวท�ำให้ระบบจีน (China’s Systems) ไม่ ว่าจะเป็นระบบเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง แตกต่างจากประเทศ ที่ใช้ระบบเศรษฐกิจสังคมเปิด (open society) โดยทั่วไป ตัวอย่างเช่น เรือ่ งเศรษฐกิจ วิสาหกิจอุตสาหกรรมทีม่ บี ทบาทอยู่ ในระดับแนวหน้าหรือเป็น “ทัพหลวง” ของจีน ยังเป็นรัฐวิสาหกิจ (State Owned Enterprises: SOE’s) ที่มีรัฐบาลและพรรคคอมมิวนิสต์จีน เป็น “เจ้าของ” ที่แท้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งบรรดาธุรกิจจีนที่มีขนาด ใหญ่โตและโลดแล่นออกสู่สนามเศรษฐกิจโลกทั้งหลายในปัจจุบัน ในขณะเดียวกันภาคการเงินของจีนก็ยงั ถูกก�ำกับและควบคุม จากทางการอยู่มาก ไม่ว่าจะเป็นตลาดเงิน (money market) และ ตลาดทุน (capital market) และยังมีระบบค่อนข้างปิดเช่นกัน สภาวการณ์ดังกล่าว ท�ำให้พญามังกรที่แม้จะมีสรีระล�่ำสัน ใหญ่โต และ “อิ่มเอม” ไปด้วย “กระสุน” เงินทุน ที่ “สะสม” ได้จากการ ด�ำเนินนโยบายเปิดประเทศมาเป็นเวลากว่าสามทศวรรษ และถึงเวลา ที่จีนจะต้องโลดแล่นสู่สากลแล้ว แต่ดูประหนึ่งว่า “ท้องฟ้า” เศรษฐกิจโลก นอกจากจะมีพญา อินทรีบินคุมเชิงอยู่แล้ว ปัจจุบันยังมี “ซามูไร” ที่ “กวัดแกว่งดาบ” บิน ออกสู่สากลด้วยกระแสเร่งที่มากและรุนแรงกว่าเดิม โดยที่ “ซามูไร” มีโอกาสทีจ่ ะผนึกก�ำลังร่วมมือกับพญาอินทรี เพือ่ สกัด “ดาวรุ่ง” พุง่ แรง ไม่ให้กลายเป็น “ดาวฤกษ์” ที่ “ทอแสง” เหนือดาวดวงอื่น ๆ ในห้วงจักรวาลนี้

Vol.22 No.212 November-December 2015

Finance

47


Q

Strategy for

uality

กลยุทธ์จัดการห่วงโซ่อุปทาน ด้วยบูรณาการฉบับกระเป๋า พัชรนันท์ กลั่นแก้ว klankaew_9@hotmail.com

สภาวะ

ที่ธุรกิจภาคอุตสาหกรรมมีการแข่งขันอย่าง รุนแรงในช่วงหลายสิบปี มาจนถึงยุคของการ ปรับตัวทีผ่ บู้ ริหารต้องรับมือกับการบริหารความเปลีย่ นแปลง (change management) ทั้งจากสภาวะการขาดเสถียรภาพทางการเงินโลกของ กลุ่มประเทศในแถบยุโรป เช่น กรีซ สเปน เป็นต้น ส่งผลต่อการขาด ก�ำลังซื้อทางเศรษฐกิจ การเกิดความผันผวนในอัตราค่าเงิน การเกิด อุบัติภัยร้ายแรงต่าง ๆ ทั่วโลก เช่น เขตอุตสาหกรรมเมืองเทียนจิน ประเทศจีน ต้องใช้งบจ�ำนวนมหาศาลในการบูรณะซ่อมแซมให้กลับคืน สภาพ จะเห็นว่าสิ่งเหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อการส่งออกของธุรกิจใน ภาคอุตสาหกรรมทีส่ ร้างแรงกดดันให้ทกุ ภาคส่วนธุรกิจทีต่ อ้ งเร่งปฏิวตั ิ ตนเอง เพือ่ ให้เกิดความได้เปรียบทางการแข่งขันและให้องค์กรอยู่รอด การให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การจั ด การห่ ว งโซ่ อุ ป ทานจั ด เป็ น เครื่องมือทางการบริหารที่เหมาะสมยิ่งต่อการน�ำมาใช้แก้ปัญหาใน ธุรกิจภาคอุตสาหกรรมที่อยู่ในสภาวะการแข่งขันดังเช่นปัจจุบัน ทั้งนี้ เพราะการบริหารห่วงโซ่อุปทาน Supply Chain Management: SCM สามารถช่วยลดต้นทุนทางการผลิต ช่วยสร้างคุณค่าในตัวสินค้า/บริการ และสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน สามารถคาดคะเนยอดขาย

48

for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

ช่วยจัดกระบวนการจัดซื้อและบริหารจัดการกับคู่ค้า Supplier ช่วยจัด สภาพคล่องทางการเงินด้วยการมีระบบคลังสินค้าและการขนส่งที่ รวดเร็ว และมีการจัดระบบสารสนเทศที่มีการสร้างเครือข่ายข้อมูล

ความหมายของ Supply Chain Management: SCM

การจัดการห่วงโซ่อุปทาน Supply Chain Management หมายถึง การสร้างความร่วมมือของกระบวนการทางธุรกิจ Collaborative Commerce ได้แก่ การควบคุม จัดหา ปรับปรุงการไหลของวัตถุดบิ


Strategy การไหลของข้อมูลและเงินทุน จากผู้จัดส่งไปยังผู้บริโภคขั้นสุดท้าย ให้ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้รวดเร็ว โดยใช้ตน้ ทุนทีต่ ำ�่ ซึ่งต้องประกอบด้วยการวิเคราะห์ถึงห่วงโซ่คุณค่า Value Chain Analysis ว่าต้องมีความเชือ่ มโยงกันอย่างมีประสิทธิภาพ ตัง้ แต่การจัด ซื้อ การผลิต การจัดเก็บ การจัดจ�ำหน่ายและการขนส่ง แผนภาพการควบคุมการเชื่อมโยงของห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain Analysis) การผลิต

การจัดเก็บ

การ จัดจำ�หน่าย

ลูกค้า

การขนส่ง

นอกจากนีธ้ รุ กิจทีม่ กี ารใช้ผจู้ ดั หาวัตถุดบิ หลายราย (supplier) การจัดการห่วงโซ่อุปทานจะต้องน�ำระบบโลจิสติกส์ Logistics เข้ามา ใช้ เ พื่ อ ควบคุ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลด้ า นต้ น ทุ น ในการ หมุ น เวี ย นของข้ อ มู ล และการจั ด เก็ บ วั ต ถุ ดิ บ จากจุ ด เริ่ ม ต้ น ไปยั ง ผู้บริโภคให้มีการเชื่อมต่อกันอย่างเป็นระบบ แผนภาพการควบคุมการเชื่อมต่อของระบบโลจิสติกส์ ผู้ส่งมอบ

ผู้ผลิตสินค้า

คลังสินค้า

ผู้กระจาย สินค้า

ลูกค้า

ผู้ค้าปลีก

ตัวอย่างของธุรกิจประกอบรถยนต์ นับเป็นธุรกิจทีม่ กี ารใช้ Supplier ที่หลากหลายและใช้ผู้ให้บริการด้านการผลิตจากภายนอก (outsources) แทบทั้งสิ้น เช่น ผู้ผลิตเครื่องยนต์ ผู้ผลิตตัวถัง ผู้ผลิต เบาะนัง่ ผูผ้ ลิตเครือ่ งเสียงรถยนต์ ผูผ้ ลิตล้อแมกซ์ และผูผ้ ลิตยางรถยนต์ เป็นต้น ในทุก Supplier จะต้องมีการคาดคะเนความต้องการจากยอด การขายรถยนต์ โดยน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์เพือ่ ประกอบการตัดสินใจการ จัดซื้อ (purchasing) อุปกรณ์/วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ใช้วางแผนการ เคลือ่ นย้ายสินค้าทีผ่ ลิตเสร็จ (moving) จัดการกระจายสินค้า (distribution) จัดการขนส่ง (transportation) เพื่อส่งไปยังโรงงานผลิตรถยนต์ ซึง่ ถือเป็นลูกค้าของทัง้ 6 Suppliers และห่วงโซ่อปุ ทานของโรงงานผลิต รถยนต์ ก็คือ Supplier ทั้ง 6 กลุ่มดังกล่าว ซึ่งต่างก็ต้องมีการวางระบบ เทคโนโลยีการสือ่ สารในเครือข่าย ให้เชือ่ มต่อกันซึง่ กันและกันในแต่ละ ห่วงโซ่อุปทาน โดยมีการจัดระบบสารสนเทศที่สร้างเครือข่ายข้อมูล ถึงกัน เพือ่ ให้สามารถจัดวางระบบการขนส่งและการกระจายสินค้าทีม่ ี ความคล่องตัว แก้ปญ ั หาได้ทนั ท่วงที ถือว่าเป็นตัวอย่างของการจัดการ ห่วงโซ่อุปทานที่มีประสิทธิภาพ

แต่ในการด�ำเนินธุรกิจอาจมีความสูญเปล่าในด้านการจัดซื้อ การผลิต การจัดเก็บ การจัดจ�ำหน่าย และการขนส่ง เกิดขึน้ ได้ จึงจ�ำเป็น อย่างยิ่งที่ต้องมีการน�ำระบบการผลิตแบบลีน Lean Production System เข้ามาใช้ร่วมกัน เพื่อขจัดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการ ผลิตอย่างต่อเนื่องและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้น้อยลง แต่ได้ผลงานมาก และตรงตามความต้องการของลูกค้ามากที่สุด (holistic sustainable approach) ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด (lean thinking) ของ James Womack and Daniel Jones ที่ยึดหลักการส�ำคัญ 7 ประการดังนี้ 1. Specify Value ก�ำหนดคุณค่าของผลิตภัณฑ์โดยพัฒนา สินค้าและบริการ ให้สนองตอบความต้องการขอลูกค้ามากที่สุด 2. Identify the Value Stream จัดท�ำแผนภาพ Value Stream Mapping: VSM สายธารคุณค่าการไหลของข้อมูลและวัตถุดิบใน ขั้นตอนการผลิต ระบุกิจกรรมที่จ�ำเป็นลงไปอย่างชัดเจน 3. Flow ท�ำให้สายการผลิตไหลอย่างต่อเนื่องไม่มีการถูก ขัดจังหวะ ขจัดอุปสรรคในการไหลของงานโดยแยกติดตั้งเครื่องจักร/ อุปกรณ์ จัดทีมงานเฉพาะกิจตรวจเช็ค ซ่อมบ�ำรุงเครื่องจักรในกรณี ฉุกเฉิน 4. Pull Stream การก�ำหนดตารางการผลิตสินค้า ก�ำหนดให้ ใช้วตั ถุดบิ ในปริมาณทีพ่ อดี เพือ่ ไม่เป็นการสิน้ เปลืองพืน้ ทีใ่ ช้งานในการ ผลิตแต่ละครั้ง 5. Perfection สร้างวัฒนธรรมการลดความสูญเสียในการผลิต ให้แก่พนักงาน โดยมีการประเมินผลการปฏิบัติตามสายธารการผลิต เพื่อน�ำผลการประเมินมาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (kaizen) มีการใช้ เครื่องมือลดความผิดพลาดของผู้ปฏิบัติงาน เช่น เครื่องตรวจเช็ค ชิ้นงานด้วยแท่นเซ็นเซอร์ เป็นต้น

Vol.22 No.212 November-December 2015

การจัดซื้อ

49


Strategy

Vol.22 No.212 November-December 2015

ประโยชน์จากการนำ�ระบบการผลิตแบบลีนมาใช้ในการผลิต

50

1. เกิดผลดีตอ่ การลดเวลาในการส่งมอบสินค้า/บริการ (lead time) ที่สั้นและรวดเร็วขึ้น 2 การผลิตแบบทันเวลา (Just in Time: JIT) จัดส่งได้ทนั เวลา จ�ำนวนที่พอดีแก่ความต้องการของลูกค้า 3. เกิดการประหยัดตามขนาด (economy of scales) ลดความ สิ้นเปลืองในต้นทุนวัตถุดิบ ช่วยลดพื้นที่ในระหว่างท�ำการผลิตและ พื้นที่ในการจัดเก็บสินค้า 4. ส่ ง ผลดี ต ่ อ การลดของเสี ย เป็ น ศู น ย์ (zero defect) เครือ่ งจักรเสียเป็นศูนย์ (zero break down) และการเกิดอุบตั เิ หตุเป็น ศูนย์ (zero accident) ในระหว่างการด�ำเนินการผลิตยังจ�ำเป็นต้องมีการก�ำจัดความ สูญเปล่า 7 ประการ (waste) ที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตให้หมดไป ให้เหลือแต่กจิ กรรมทีเ่ พิม่ คุณค่า ช่วยลดต้นทุนการผลิตมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1. ความสูญเปล่าจากการเคลื่อนไหว (motion) เกิดจาก การออกแบบสภาพวิธกี ารท�ำงานทีไ่ ม่เหมาะสม เช่น การก้ม หยิบ การ เอียงล�ำตัว หรืองอมือในท่าทีท่ ำ� ให้เกิดการเมือ่ ยล้า จึงต้องมีการจัดวาง วัสดุ อุปกรณ์ โต๊ะ เก้าอี้ ปรับทิศทางให้เหมาะสม สะดวกแก่ผู้ปฏิบัติ ในการใช้งาน 2. ความสูญเปล่าจากงานเสีย (defect) พบว่า งานขาด คุณภาพ ไม่ตรงกับมาตรฐานเป็นจ�ำนวนมากที่ต้องท�ำการแก้ไข ซ่อมงาน (rework) และมีงานคั่งค้างที่แก้ไขไม่ได้ จึงต้องน�ำระบบการ ตรวจสอบมาใช้ป้องกันความผิดพลาดตามวิธีการ Poka Yoke ของ Dr.Shingo 3. ความสูญเปล่าจากการรอคอย (waiting) เช่น การรอส่ง มอบงานจากหน่วยงานก่อนหน้าที่ล่าช้า การรอซ่อมเครื่องจักรที่เสีย แยกงานที่เป็นกระบวนการภายในออกจากกระบวนการผลิต 4. ความสูญเปล่าจากพัสดุคงคลัง (inventory) จากสินค้าที่ ต้องจัดเก็บในคลังสินค้าจ�ำนวนมาก ท�ำให้สูญเสียพื้นที่ในการจัดเก็บ มีสินค้ารอการจ�ำหน่ายท�ำให้ เกิด Dead Stock สูญเสียค่าเช่าโกดัง เพิ่ม จึงจ�ำเป็นต้องน�ำระบบโลจิสติกส์มาใช้ในการวางแผน 5. ความสูญเปล่าจากการขนส่ง (transportation) การไหล ของการส่งต่อชิน้ งานติดขัด ขาดการวางแผนการขนย้ายในระหว่างการ ผลิต ขาดการบริหารโซนในการขนส่ง เกิดการท�ำงานซ�้ำซ้อนในการ จัดส่ง ต้องวางแผนการจัดส่งในเขตพื้นที่เดียวกัน ตรวจเช็คสภาพรถ และน�้ำหนักบรรทุก 6. ความสูญเปล่าจากผลิตมากเกินพอดี (over production) เกิดความสูญเปล่าในต้นทุนวัตถุดิบที่ใช้ผลิตมากเกินจ�ำเป็น และเกิด ปัญหาสินค้าหมดอายุจากการรอจ�ำหน่าย จึงต้องน�ำระบบการผลิต

แบบลีน มาใช้โดยผลิตแบบทันเวลาพอดี Just in time: JIT ผลิตตาม ค�ำสั่งซื้อ 7. ความสูญเปล่าจากกระบวนการท�ำงานขาดประสิทธิภาพ (over processing) เช่น กระบวนการทีล่ า่ ช้าจากการรอซ่อมเครือ่ งจักร ทีเ่ ก่า และอุปกรณ์ชำ� รุดขาดประสิทธิภาพ การสูญเสียจากการเกิดรอย รั่วซึมของเครื่องจักร/อุปกรณ์ แก้โดยวางระบบการป้องกันความ ปลอดภัย (safety system) ขึ้น หรือผลผลิตต�่ำกว่ามาตรฐานเกิดของ เสีย (defect) ต้องวางระบบตรวจสอบความผิดพลาดในระหว่างการ ผลิตอย่างต่อเนื่อง (kaizen) สรุปได้ว่ากลยุทธ์การจัดการห่วงโซ่อุปทานที่ครบวงจรแบบ เบ็ดเสร็จ ต้องบูรณาการจากหลายสิ่ง ได้แก่ การวิเคราะห์ถึงห่วงโซ่ คุณค่า ให้เกิดความเชื่อมโยงกันอย่างมีประสิทธิภาพ และน�ำระบบ โลจิสติกส์มาควบคุมประสิทธิภาพและประสิทธิผลของต้นทุนการผลิต พร้อมกับการใช้ระบบการผลิตแบบลีน ช่วยให้เกิดการประหยัดตาม ขนาด โดยเน้นการขจัดความสูญเปล่า 7 ประการ จากกระบวนการ ผลิตออกไป ช่วยลดต้นทุนในการผลิต แล้วจึงเพิ่มการป้องกันความ ผิดพลาดและปรับปรุงคุณภาพสินค้าและบริการให้มีความต่อเนื่อง หากธุรกิจภาคอุตสาหกรรมได้ค�ำนึงถึงสิ่งที่กล่าวมานี้ พร้อมน�ำไป ปฏิบตั อิ ย่างต่อเนือ่ ง ย่อมสามารถสร้างความแข็งแกร่งให้แก่องค์กรใน การรับมือกับความเปลี่ยนแปลงในทุกสถานการณ์อย่างยั่งยืน


Q

Marketing & Branding for

uality

New Trend-Update from

กลยุทธ์การขึ้นราคาแล้วมีชัยชนะ ในยุคเศรษฐกิจไม่ดี การลดต้นทุนเพียงอย่างเดียวเริ่มมีขีดจ�ำกัด

ภายใต้สภาวการณ์ที่เลวร้ายทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นที่ธุรกิจสินค้าอุปโภคทั้งหลายต้อง เผชิญกับเงินเยนถูก และต้นทุนวัตถุดิบที่สูงขึ้น (บางส่วนที่น�ำเข้ามีผลโดยตรงจากเงินเยนถูก) สินค้าอุปโภคทั้งหลายต้องเผชิญกับภาวะกดดัน ให้ต้องขึ้นราคา แต่การปรับราคาเพียงอย่าง เดียวคงไม่สามารถรับการสนับสนุนจากผูบ้ ริโภคได้อย่างแน่นอน ต้องมีกลยุทธ์การขึน้ ราคาแล้ว ให้มีชัยชนะในการแข่งขันด้วย ตัวอย่างสินค้าต่าง ๆ ในญี่ปุ่นที่ต้องปรับราคาขึ้นมีมากมายหลากหลาย เช่น เสื้อผ้าของ Uniqlo ปรับขึ้น 10% Nisshin Cup Noodle ปรับขึ้น 5-8% วิสกี้ Suntory ปรับขึ้น 20% Nichirei Food ปรับขึ้น 10% นม Meiji ปรับขึ้น 5% เป็นต้น สินค้าอุปโภคเข้าแถวปรับราคาขึ้นอย่างถ้วนหน้า ครั้งสุดท้าย คือ ในปี 2008 แต่ในปีนี้ ผลกระทบจากเศรษฐกิจทั้งในประเทศและต่างประเทศหนักหน่วงกว่าปี 2008 มากนัก ราคา วัตถุดบิ ทีม่ าจากต่างประเทศขึน้ อย่างไม่หยุดยัง้ เนือ่ งจากเงินเยนทีต่ ำ�่ ลงมาเรือ่ ย ๆ ตัง้ แต่ปี 2012 และค่าจ้างแรงงานก็เพิม่ ขึน้ อีกต่างหาก ต้นทุนจึงเพิม่ ขึน้ มากกว่าความสามารถในการลดต้นทุน ของบริษัท

ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์

คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น E-mail: orbusiness@hotmail.com

ในอีกด้านหนึง่ ผูบ้ ริโภคก็ตอ้ งรับภาระ จากการเพิ่มขึ้นของภาษีบริโภคท�ำให้ต้อง ระมัดระวังในการบริโภคในชีวิตประจ�ำวัน และต้องประหยัดอย่างที่สุด ภาวะเงินฝืดยัง แก้ ไ ขไม่ ไ ด้ ม ากดั ง เจตนารมณ์ ข องนายก รัฐมนตรีอาเบะ ดังนัน้ การทีผ่ ปู้ ระกอบการซึง่ เคยแข่งขันกันลดราคาเพราะภาวะเงินฝืด จึง มีแต่ความหวาดกลัวในการต้องขึ้นราคา ทั้งนี้การขึ้นราคาจึงต้องมีกลยุทธ์ที่ ให้ “ผู้บริโภคที่ชาญฉลาด” ยอมรับความ สมดุลของคุณค่ากับราคา กลยุทธ์ที่ส�ำคัญ นั่ น คื อ อะไร อาจจะเป็ น การสร้ า งความ แข็งแกร่งของแบรนด์โดยการพัฒนา Product Power การปรับปรุงความสามารถทางการ ขายให้เป็นที่จูงใจคู่ค้า หรือการก�ำหนดราคา ที่มีประสิทธิภาพต่าง ๆ เป็นต้น

กรณี Nisshin Food

ปลายปีที่แล้ว บริษัทได้ประกาศขึ้น ราคาสิ น ค้ า Discount Store ท้ อ งถิ่ น ที่ ต้องการขายของราคาถูก ไม่ยอมรับราคา นั้น ๆ การเจรจาการค้าไม่ประสบผลส�ำเร็จ ท�ำให้สินค้าหายไปจากร้านค้า แต่ Nisshin แสดงท่าทีทไี่ ม่ยอมอ่อนข้อเช่นเดียวกัน บริษทั ได้ขึ้นราคา Cup Noodle ต่างๆ สินค้ากว่า 250 ชนิด ในระดับ 5-8% เช่น Cup Noodle for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

51


Marketing & Branding

Vol.22 No.212 November-December 2015

ขึน้ ราคาจาก 170 เยน ขึน้ เป็น 180 เยน (ไม่รวม ภาษี) เพราะต้นทุนวัตถุดิบทั้งหลายไม่ว่าเนื้อ หรือกุ้ง ในปี 2014 ต้นทุนวัตถุดิบบริษัทเพิ่ม ขึ้นถึง 4,000 ล้านเยน ถึงแม้ว่าจะพยายาม ลดต้นทุนก็ตาม แต่เงินเยนที่อ่อนตัวอย่าง รวดเร็ว ท�ำให้ไม่สามารถควบคุมต้นทุนได้ สินค้าบะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูปเหล่านี้เป็นสินค้าที่ ขายดีของซุปเปอร์มาร์เก็ต ราคาขายส่งอยู่ที่ 90 เยน แต่ร้านค้าอาจจะขายที่ระดับ 60 เยน ก็มี ท�ำให้ขึ้นราคาไม่ได้ง่ายนัก ต้องใช้เวลา มากพอสมควรในการเจรจาท�ำความเข้าใจกับ ร้านค้า ประสบการณ์นี้เคยมีมาแล้วเมื่อขึ้น ราคาปี 2008 ท�ำให้ลูกค้า ผู้บริโภคหลีกลี้ ท�ำให้ทั้งยอดขายและก�ำไรลดลง แต่ครั้งนี้ได้ ไปเยีย่ มเยียนร้านค้าล่วงหน้าเพือ่ อธิบายและ พยายามไม่ให้ร้านค้าปลีกขายในราคาต�่ำ จนเกินไป อย่างไรก็ตาม ในต้นปีนี้ ถึงแม้วา่ ใน ช่วง 1-2 เดือน จะมียอดขายลดลงไปบ้างเมื่อ เทียบกับปีก่อน แต่หลังจากนั้นก็เข้าสู่สภาวะ ปกติ ประเด็นปัญหาก็คอื ท�ำให้ผบู้ ริโภคซือ้ ต่อ ไปได้เรื่อย ๆ หรือไม่ ความส�ำเร็จนี้มาจาก Brand Power ของ Nisshin นัน่ เอง สินค้าบะหมีส่ ำ� เร็จรูปเป็น สินค้าที่ขายดีของร้านค้าปลีก ซึ่งจะขาดมิได้ และยิ่งเป็นสินค้าที่มี Brand Power เป็นที่ นิยมและชื่นชอบของผู้บริโภค Brand Power

52

ก�ำหนดขึ้นได้โดยค�ำนวณจากคุณภาพและ ปริมาณ อย่างไรก็ตาม ในการปรับราคาขึน้ ได้ มี Renewal คือ การน�ำเอา Dice Mince เป็น เนื้อสับที่เป็นก้อน ผสมด้วยเนื้อหมูและผัก ซึ่ ง ได้ รั บ การต้ อ นรั บ จากลู ก ค้ า ประจ� ำ เป็ น อย่างดี การใช้ Dice Mince ท�ำให้ปริมารเพิ่ม ขึ้นประมาณ 5% ผู้บริโภครู้สึกถึง “ความเต็ม เปี่ยม” ของวัตถุดิบ เมื่อเปิดฝาออกมาจะ รับประทาน ถึงแม้วา่ จะมี Renewal แต่กม็ เี สียง วิจารณ์จากร้านค้าปลีกว่า ถ้ามี Renewal แล้ว ขึ้นราคา สู้ไม่ต้องมี แล้วไม่ต้องขึ้นราคาจะ ดีกว่า การขึ้นราคาจึงต้องท�ำความเข้าใจให้ เป็นที่ยอมรับกับทั้งร้านค้าปลีก และผู้บริโภค

กรณี Netsle’ Japan

เดือนเมษายนที่ผ่านมา เนสกาแฟ กาแฟผงส�ำเร็จรูป รวม 22 ชนิดสินค้า ได้ปรับ ขึ้นราคา 17-22% ถือว่าเป็นการขึ้นราคาที่ มากที่สุดในกลุ่มสินค้าประเภทอาหาร แต่ ยอดขายในเดือนเมษายนเมื่อเทียบกับเดือน เดียวกันของปีที่แล้ว ที่มีการขึ้นภาษีผู้บริโภค ยอดขายกลับลดลงมากกว่า 10% สาเหตุแห่ง ความส�ำเร็จมาจาก “การหลุดพ้น” 2 ประการ ได้แก่ การหลุดพ้นจาก Category สินค้าที่มี อยู่ และการหลุดพ้นจากการพึง่ พาร้านค้าปลีก เพียงอย่างเดียว ซึ่งเป็นการพัฒนา Business

Model ของเนสเล่ สิง่ ทีน่ ำ� เสนอใหม่ คือ “ผูบ้ ริโภคได้ลมิ้ ลองกาแฟรสชาติ ที่ ห ลากหลายมากขึ้ น ” บริษทั ได้ทดลองจัด Event ให้ทดลองชิม โดย ท�ำกาแฟจากเครื่อง Barista ที่สามารถกด เลือกด้วยตัวเอง โดยเลือกได้ตงั้ แต่เอสเพรสโซ ลาเต้ หรือแม้แต่กาแฟเย็น เป้าหมายของ Event นี้ ก็คือ น�ำเสนอ “ความแปลกใหม่” หลังการขึน้ ราคา มีการให้ทายราคาว่าถ้วยละ เท่าไร ส่วนใหญ่จะทายว่า 50-60 เยน แต่ แท้จริงแล้วเพียงแก้วละ 14-20 เยนเท่านั้น Nestle’ Japan ได้ Appeal ให้ลูกค้า ได้ยอมรับก่อนที่จะขึ้นราคา นั่นคือ การหลุด พ้น 2 ประการ ประการแรกคือ การพัฒนา แผนสินค้าขึ้นใหม่ เพื่อให้หลุดพ้นจากความ รู้สึกว่าเป็น Instant Coffee ที่มีภาพลักษณ์ มากว่า 50 ปี ให้เป็นภาพลักษณ์ทวี่ า่ “Regular Soluble Coffee” โดยส่งข้อความว่า “ลาก่อน Instant” สร้างสรรค์ Category ใหม่ เหตุผล หลักของการต้องหลุดพ้นจากภาพลักษณ์นั้น ก็เพราะว่ากาแฟทีร่ า้ นสะดวกซือ้ หรือ Coffee Shop มีการเติบโตอย่างมาก แต่ตลาดของ กาแฟส�ำเร็จรูปที่บริโภคในบ้านก็คงที่ เมื่อ เที ย บกั บ Regular Coffee แล้ ว กาแฟ ส�ำเร็จรูปมีภาพลักษณ์เหมือน “ของปลอม” ท�ำให้ความต้องการไม่เพิ่มขึ้น ดังนั้น ตั้งแต่ปี 2010 เป็นต้นมา จึงได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ให้มีรสชาติไม่แพ้ Regular Coffee ได้ชื่อว่า Regular Soluble (ละลายได้) พร้อมกับได้นำ� เอาพรีเซนเตอร์ที่เป็นเชฟอาหารอิตาเลี่ยนมา ให้การรับรอง และแสดงให้เห็นว่าการดื่ม กาแฟที่บ้าน แก้วละไม่ถึง 20 เยน Branding ที่ Appeal ความดีของ Cost Performance สามารถท�ำยอดขายได้เพิ่มขึ้นถึง 30% เมื่อ เทียบกับเดือนเดียวกันในปีก่อน อีกหนึ่งหลุดพ้น คือ การไม่พึ่งพาร้าน สะดวกซื้อ มีการพัฒนา Business Model ใหม่ โดยการท�ำอย่างเป็นขัน้ ตอน ท้ายสุด คือ การสร้างระบบขายตรง ไม่พึ่งพาร้านค้าปลีก ซึง่ เริม่ ต้นจากในปี 2010 ได้วางจ�ำหน่ายเครือ่ ง ท�ำกาแฟส�ำหรับกาแฟส�ำเร็จรูป Barista ใน ช่วงแรกได้รบั การต้อนรับอย่างดีจนสินค้าขาด นอกจากนีเ้ มือ่ ใช้เครือ่ งนีก้ ต็ อ้ งใช้ผงกาแฟของ


เนสกาแฟ ผู้บริโภคจึงไปใช้แบรนด์อื่นไม่ได้ นอกจากนี้ในปี 2012 ยังได้มี Campaign ให้ ยืมเครื่องให้กับส�ำนักงานได้ โดยบริการเรียก ว่า “Nescafe Ambassador” (สมัครเป็น สมาชิก) โดยท�ำหน้าที่ให้บริการ และเก็บค่า กาแฟเพียงแก้วละ 20 เยน เงินทีไ่ ด้กน็ ำ� ไปซือ้ ผงกาแฟต่อไป ผู้บริโภคก็สามารถดื่มด�่ำกับ การดื่มเนสกาแฟได้โดยไม่ต้องผ่านร้านขาย ปลีก ซึง่ นอกจะท�ำให้ได้อตั ราก�ำไรทีส่ งู ขึน้ แล้ว ยังสามารถสร้างช่องทางการขายของตนเอง ได้อีกด้วย ปัจจุบันมี Ambassador อยู่กว่า 1.6 แสนคน ตั้งเป้าหมายว่าจะเพิ่มเป็น 5 แสนคนในปี 2020 นอกจากนี้การขายผ่าน อินเทอร์เน็ต หรือขายตรงมีสัดส่วนประมาณ 10% และตั้งเป้าหมายเพิ่มขึ้นเป็น 20% สินค้าเกี่ยวกับอาหารทั่วไป มีก�ำไร จากการประกอบการเพียงไม่กี่เปอร์เซ็นต์ เท่านั้น แต่เนสเล่ ซึ่งมีโครงสร้างการท�ำก�ำไร สูงกว่า 10% มาจาก Branding ที่ได้เปรียบ ผู้อื่น และการก�ำหนดราคาที่สร้างก�ำไรได้ นั่นเอง ประการส�ำคัญ คือ ท�ำอย่างไรให้ ผูบ้ ริโภคตัง้ ใจซือ้ สินค้าทีเ่ ป็น National Brand และไม่ต้องวางที่ร้านค้าก็ขายได้

กรณี Meiji

ตัวอย่างที่อธิบายมาแล้วได้แสดงให้ เห็นว่า การขึ้นราคาจะประสบความส�ำเร็จ ต้องท�ำให้ผู้บริโภคหรือร้านค้าปลีก ค้าส่ง เข้าใจถึงความเป็นมาและประโยชน์ทจี่ ะได้รบั และต้องท�ำให้ไม่รสู้ กึ ว่าขึน้ ราคา แต่ทผี่ า่ นมา ส่วนใหญ่แล้ว การขึ้นราคาเป็นเพียงการย้าย ส่วนที่เพิ่มขึ้นของต้นทุนไปให้ผู้บริโภคหรือ ลูกค้ารับผิดชอบแทน ดังนั้น ในเบื้องต้นจึง ต้องใช้ความพยายามในการลดต้นทุนการ ผลิต และโลจิสติกส์ให้ได้เสียก่อน จึงจะท�ำให้ ผู้บริโภค ลูกค้ายอมรับการขึ้นราคา ตัวอย่างทีด่ ตี วั อย่างหนึง่ คือ Meiji ซึง่ มีสินค้า คือ นมโค โยเกิร์ต เนยแข็ง ไอศครีม หรือช็อกโกแลต ส่วนใหญ่ขึ้นราคาประมาณ 2-10% Meiji ได้รับผลกระทบอย่างมากต่อ การเพิ่มขึ้นของต้นทุน ดังนั้น ในขณะที่ขึ้น ราคาก็ ต ้ อ งเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของธุ ร กิ จ ไป พร้ อ มกั น ด้ ว ย ที่ ผ ่ า นมาจากการควบรวม

บริษัทผลิตนมกับผลิตขนมเข้าด้วยกัน ท�ำให้ ฐานการผลิตกระจายอยู่ที่ต่าง ๆ คลังสินค้าก็ มีหลากหลายทัง้ แบบแช่เย็นส�ำหรับผลิตภัณฑ์ นม และแบบทั่วไปส�ำหรับขนม การจัดการที่ แตกต่างกันท�ำให้มีประสิทธิภาพที่ต�่ำ ดังนั้น จึงได้มกี ารรวมศูนย์โลจิสติกส์ไว้ทโี่ รงงานไอจิ โดยลงทุนสร้างโรงงานใหม่นี้ ด้วยเงิน 2 หมื่น ล้านเยน รวบรวมศูนย์โลจิสติกส์ 5 แห่งเข้ามา อยู ่ ที่ เ ดี ย วกั น สามารถรวบรวมและจั ด ส่ ง สินค้าได้ทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์นม หรือขนม รถบัสทีข่ นส่ง ก็สามารถแบ่งส่วนให้ ขนส่งได้ทงั้ 2 อย่าง เรียกว่า รถบรรทุกไฮบริด การใช้พนื้ ทีว่ า่ งเปล่าให้เป็นประโยชน์ ในขณะที่ ป ริ ม าณการบริ โ ภคนมโคลดลง ท�ำให้พนื้ ทีบ่ นรถบรรทุกส�ำหรับส่งสินค้าไปยัง ร้านค้ามีทวี่ า่ งเพิม่ ขึน้ นอกจากนีก้ ารมีพนักงาน ขับรถให้เพียงพอก็ยากขึ้น จึงใช้รูปแบบการ บรรทุกร่วมระหว่างของทีต่ อ้ งการอุณหภูมติ ำ�่ กว่า 7 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิสูงกว่า 30 องศาเซลเซียส การบรรทุกร่วมของนมโคกับ ช็อคโกแลต ท�ำให้ใช้ประโยชน์ทั้งรถบรรทุก และคนขับรถได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้น จ�ำนวนรถบรรทุกร่วมนี้ปัจจุบันมีประมาณ 10% อนาคตก็ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น ท� ำ ให้ ใ นปี ห น้ า สามารถลดต้นทุนได้ 1.32 หมื่นล้านเยน

ดีสนีย์แลนด์ก็ไม่พ้น

ในเดือนพฤษภาคม แม้แต่อายิโนะโมะโตะ ยักษ์ใหญ่วงการผลิตภัณฑ์อาหาร ของญี่ปุ่นก็ไม่พ้นที่จะต้องประกาศขึ้นราคา หนังสือพิมพ์นิคเคชิมบุน ได้ท�ำการส�ำรวจ ปรากฏว่าในเดือนเมษายนมีกว่า 80 ผลิตภัณฑ์ทปี่ ระกาศขึน้ ราคาถึง 60% ผูบ้ ริโภคก็ได้ รับรู้แล้ว ปัญหา ก็คือ อนาคต เพราะการขึ้น ราคามาได้ครั้งหนึ่ง และผู้บริโภคได้รับรู้แล้ว จากการแข่งขันที่รุนแรงก็อาจจะต้องกลับไป สูก่ ารลดราคาแข่งกันอีกก็เป็นได้ เพราะเคยมี ตัวอย่างมาแล้ว ในปี 2008 ที่มีการขึ้นราคา แข่งขันกัน หนสุดท้ายก็กลับมาสู่ระดับราคา เดิ ม ท� ำ ให้ ผู ้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า อาหารของญี่ ปุ ่ น สามารถรักษาระดับก�ำไรได้เฉลี่ยเพียง 5% เท่ า นั้ น เที ย บกั บ ตะวั น ตกที่ มี อั ต ราก� ำ ไร เกินกว่า 10%

อย่างไรก็ตาม ญี่ปุ่นก็ยังคงมีบริษัท หนึ่งที่ประสบความส�ำเร็จและเจริญเติบโต พร้อมกับการขึน้ ราคาได้อย่างต่อเนือ่ ง แต่เป็น ตัวอย่างที่มีน้อยมาก นั่นคือ โตเกียวดีสนีย์ รีสอร์ท ซึง่ บริหารโดยโอเรียนตัลแลนด์ บริษทั นี้ในเดือนเมษายนที่ผ่านมาได้ปรับขึ้นราคา บัตรผ่านประตูส�ำหรับผู้ใหญ่ 500 เยน เป็น 6,900 เยน เมือ่ เทียบกับ 3,900 เยน ในปี 1983 ที่เปิดให้บริการ นั่นคือ ราคาเพิ่มขึ้นเป็น 1.8 เท่า และมีการขึ้นราคา 4 ครั้งในรอบ 10 ปีที่ ผ่านมา แต่ทว่าสามารถท�ำลายสถิติจ�ำนวน ผูเ้ ข้าสูงสุด 2 ปีตอ่ เนือ่ ง นัน่ เพราะนโยบายของ บริษทั มีความชัดเจน น�ำ Cash Flow จากการ ประกอบการมาลงทุนเพื่อการเติบโต และ สร้างคุณค่าใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้น รวมไปถึงการ สร้างความมีเสน่ห์ที่ท�ำให้ผู้เข้าชม ยอมที่จะ จ่ายเงินเพิ่มขึ้น ถ้าไม่สร้างระดับความพึงพอใจของ ลู ก ค้ า ที่ ม าให้ สู ง ขึ้ น ลู ก ค้ า ก็ จ ะหลี ก หนี นโยบายก็เปรียบเสมือนกับขนมบนรูปภาพ แต่บริษทั นีไ้ ด้สร้างความดึงดูดใจทีโ่ ดดเด่น มี กิจกรรม หรือสินค้าและบริการทีเ่ กีย่ วข้องตาม ฤดูกาล และเน้นการเพิ่ม Repeater การใช้จ่ายต่อผู้เข้าชมแต่ละคนจึงเพิ่มสูงขึ้นได้ ใน ปี 2023 จะสร้างสิ่งดึงดูดใจ คือ “Anna กับ เจ้าหญิงหิมะ” จากภาพยนตร์ เป็นการลงทุน ขนาด 5แสนล้านเยน การตอบรับจากตลาด ก็ ดี ม าก คาดว่ า ยอดมู ล ค่ า ตลาดจะเป็ น 5 เท่าของ 10 ปีกอ่ น ทีม่ มี ลู ค่า 3 ล้านล้านเยน อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ส�ำคัญ คือ การใช้ Disney Character ทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างสูงสุด เป็น สิ่ ง บั น เทิ ง ที่ มี ค วามแข็ ง แกร่ ง แห่ ง เดี ย วใน ประเทศญี่ปุ่น แต่บริษัทจะหยิ่งยโส เพราะ Brand Power เพียงเท่านั้นคงไม่ได้ เพราะ ผู้บริโภคคงไม่ยอมรับอะไรง่าย ๆ บริษัทจึง ต้องสร้าง Brand Power ให้มีความแข็งแกร่ง ยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ ไป ดังนัน้ ผูบ้ ริโภคทีช่ อบการขึน้ ราคา คง ไม่มี ยุคนี้เป็นยุคที่การขึ้นราคาจะต้องสอดคล้องกับการเพิม่ คุณค่าสินค้า ผูป้ ระกอบการ จึงต้องปฏิรูปจิตส�ำนึกให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของ Consumer Mind อยู่เสมอ

Vol.22 No.212 November-December 2015

Marketing & Branding

53


Q

Marketing & Branding for

uality

การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ในหน่วยบริการปฐมภูมิ: บทเรียนจากกรณีศึกษา

ตอนที่

Best Practice 1

ผศ.ดร.พัลลภา ปีติสันต์

วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

จาก

แนวคิ ด ในการพั ฒ นาระบบ สาธารณสุขของประเทศ เพื่อ เพิ่มโอกาสให้ประชาชนได้มีสุขภาพดี ระบบ การบริการปฐมภูมิ (primary care) ถือเป็น รูปแบบของการให้บริการทางการแพทย์และ สาธารณสุข ที่ประยุกต์ความรู้อย่างผสม ผสานทั้งทางด้านการแพทย์ จิตวิทยา และ สังคม เพื่อให้บริการทั้งที่เป็นการส่งเสริมสุข ภาพ การป้องกันโรค การรักษาโรค และการ ฟื้นฟูสภาพ เป็นบริการที่ดูแลผู้เข้ารับบริการ ครอบครัว และชุมชนอย่างต่อเนื่อง ด้วย แนวคิดแบบองค์รวม โดยมีระบบการส่งต่อ และเชือ่ มโยงกับโรงพยาบาลอย่างเหมาะสม รวมทัง้ สามารถประสานกับองค์การชุมชนใน

54

for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

ท้องถิ่นเพื่อพัฒนาความรู้ของประชาชนใน การดูแลตนเองได้ในยามเจ็บป่วย รวมถึง ส่งเสริมสุขภาพเพื่อน�ำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี ได้ ต ่ อ ไป (ส� ำ นั ก งานวิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นา หลั ก ประกั น สุ ข ภาพไทย, 2552; สุ พั ต รา ศรีวณิชชากร และคณะ, 2545) อันจะเป็น การน�ำไปสู่การเสริมเพิ่มประสิทธิภาพของ โลจิสติกส์และโซ่อุปทานในโรงพยาบาลใน ทีส่ ดุ จากการเล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการ พัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศไทย สกว. และ วช. จึงสนับสนุนทุนวิจัย เพื่อให้ เป็ น การถอดบทเรี ย นจากกรณี ศึ ก ษาของ หน่ ว ยบริ ก ารปฐมภู มิ ใ นการจั ด การลู ก ค้ า สัมพันธ์ ซึง่ เป็นทีม่ าของเนือ้ หาของบทความนี้

ทั้งนี้เพราะหน่วยบริการปฐมภูมิเป็น หน่วยงานบริการสาธารณสุขที่เป็นเสมือน ด่านแรกในการเข้าถึงประชาชน การท�ำความ เข้าใจบริบทของชุมชน สังคม และประชาชน ผู้รับบริการ ระบบบริการปฐมภูมิจึงจ�ำเป็นที่ จะต้องมีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง ผู้ให้บริการและผู้รับบริการ เพื่อให้เกิดความ เข้าใจร่วมกัน (พัฒนา แสงเรียง, 2555) โดย มุ่งเน้นแนวคิดที่ว่าเป็นการด�ำเนินการที่เน้น ผู้เข้ารับบริการเป็นศูนย์กลาง (customer centric) (ส�ำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบ สุขภาพชุมชน, 2555) ซึ่งถือเป็นแนวคิดหลัก อย่างหนึง่ ของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (customer relationship management) โดยในปัจจุบันการบริหารงานของ หน่วยงานบริการด้านสาธารณสุข จ�ำเป็นต้อง เน้นถึงการให้ความส�ำคัญของการให้บริการ ระหว่างผู้ให้บริการ (healthcare provider) และผูเ้ ข้ารับบริการ (Archaryulu, 2012; Fox, et al. 2003; Kanibir and Nart, 2012) เพื่อ ก่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน (mutual understanding) อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งผู้ให้ บริการ และผูร้ บั บริการ ไม่วา่ จะเป็นการสร้าง ความเชื่อถือระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับ บริการ (Kim, et.al., 2008) การมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจของผู้เข้ารับบริการ (Anshari and Almuawar, 2012) การสื่ อ สารที่ มี


Marketing & Branding

เอกสารอ้างอิง 1. สุ พั ต รา ศรี ว ณิ ช ชากร และคณะ (2545) บริการปฐมภูมิ: บริการสุขภาพใกล้ใจและ ใกล้บ้าน.นนทบุรี:ส�ำนักงานโครงการปฏิรูประบบ บริการสาธารณสุขกระทรวงสาธารณสุข 2. ส� ำ นั ก งานวิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นาหลั ก ประกันสุขภาพไทย (2552). ระบบบริการปฐมภูมิ (primary care).เข้าถึงเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2556 จาก http://www.hisro.or.th/main/?name=knowle dge&file=readknowledge&id=18 3. ส�ำนักงานวิจยั และพัฒนาระบบสุขภาพ ชุมชน (2555). การพัฒนาระบบคุณภาพปฐมภูมิ. เข้าถึงเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2556 จากhttp://www. aihd.mahidol.ac.th/sites/default/files/images/ new/chn/Primary_Care_Expo2nd/006/ 006-13. pdf 4. Acharyulu, G. V. R. K. (2012). Leveraging customer relationship management (CRM) in corporate hospital supply chain, The IUP Journal of Supply Chain Management, 9 (1), 72-87. 5. Anshari, M. and Almuawar, M. N. (2012). Framework of social customer relation-

อ่านต่อฉบับหน้า

อ่านต่อฉบับหน้า

Vol.22 No.212 November-December 2015

ประสิทธิภาพ รวมไปถึงก่อให้คุณภาพชีวิตที่ ดีขึ้นของผู้รับบริการ (Arora, 2003) แม้การบริการปฐมภูมิจะเน้นการให้ ความส�ำคัญและการมีส่วนร่วมระหว่างผู้ให้ บริการและผู้เข้ารับบริการ แต่ด้วยลักษณะ รูปแบบ และแนวคิดของการจัดการลูกค้า สัมพันธ์ในบริบทของหน่วยงานให้บริการด้าน สาธารณสุขนัน้ มีความแตกต่างกับธุรกิจการ ให้บริการในแบบรูปอื่น ๆ เพราะเป็นการให้ บริการที่มีความเกี่ยวข้องสูง (high involvement service) มี ป ระเด็ น เกี่ ย วกั บ ความ เปราะบางทางอารมณ์สูง (high emotional vulnerability) มีความเสี่ยง (risk) รวมไปถึง มีความไม่สมดุลกัน (imbalance) ของข้อมูล (information) และองค์ความรู้ (knowledge) ระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการเข้ามา เกี่ยวข้องในขบวนการ (Srivoravilai, et al, 2011) ดังนั้น การจัดการลูกค้าสัมพันธ์จะ ประสบความส�ำเร็จได้จ�ำเป็นต้องอาศัยการ บูรณาการกันระหว่างการก�ำหนดกลยุทธ์ และการบริหารจัดการความสัมพันธ์ระหว่าง บุคลากร และอาจหมายรวมไปถึงเทคโนโลยี ที่องค์การเลือกที่จะน�ำมาใช้ (Reddy and Acharyulu, 2002) ทัง้ นีเ้ พราะในเรือ่ งการของ บริหารจัดการความสัมพันธ์ของโลจิสติกส์ และโซ่อปุ ทานของหน่วยงานด้านสาธารณสุข เช่น โรงพยาบาลมีความซับซ้อนในระหว่าง เรือ่ งของผูใ้ ห้บริการและผูร้ บั บริการแตกต่าง จากอุตสาหกรรมอื่น (Archaryulu, 2012; Chahal, 2010)

ship management in E-health services, Journal of e-Health Management, 2012 (2012), 1-15. 6. Arora, N.K. (2003). Interacting with cancer patients: the significant of physicians communication behavior, Social Science& Medicine, 57 (2003), 791-806. 7. Chahal, H. (2010). Two component customer relationship management model for healthcare services. Managing Service Quality, 20(4), 343-365. 8. Kanibir, H. and Nart, S. (2012). The effects of internal relationship marketing on superior customer relations as competitive performance: evidence from healthcare industry, Procedia Social and Behavioral Sciences, 58(2012), 1378-1385. 9. Kim, K.H, Kim, K.S., Kim, D.Y., Kim, J.H. and Kang, S.H. (2008). Brand equity in hospital marketing, Journal of Business Research, 61(2008), 75-82. 10. Reddy, B.K. and Acharyulu, G.V.R.K. (2002). Customer relationship management (CRM) in health care sector-A case study on master health check, Journal of the Academy of Hospital Administration, 14 (1). 11. Srivoravilai, N., Melewar, T. C., Liu, M. J., and Yannopoulou, N. (2011). Value marketing through corporate reputation: An empirical investigation of Thai hospitals. Journal of Marketing Management. 27 (3/4), 243-268.

55


Q

People for

uality

ใครควรเป็นคนเขียน ธำ�รงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์

http://tamrongsakk.blogspot.com

Job

Description หรือมักจะเรียกกัน ย่อ ๆ ว่า JD หรือบางแห่งอาจ จะเรียกว่า Job Profile หรือ Job & Role ซึ่ง แปลเป็นไทยว่าใบก�ำหนดหน้าที่งาน หรือใบ พรรณนางานก็ว่ากันไป เป็นที่รู้กันดีว่า JD เป็นเอกสารที่บอก ให้ “ผูท้ จี่ ะมาด�ำรงต�ำแหน่งนี”้ รูว้ า่ ต�ำแหน่งนี้ มีขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบอะไร บ้าง งานในต�ำแหน่งนี้ส�ำคัญต่อองค์กรยังไง มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับต�ำแหน่งและ หน่ ว ยงานอื่ น ๆ อย่ า งไร และคนที่ จ ะมา

56

for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

ท�ำงานในต�ำแหน่งนี้จะ ต้องมีคุณสมบัติยังไง โปรดสั ง เกตค� ำ ใน เครื่องหมายค�ำพูดข้างต้นนะ ครับ.... เพราะผมอยากจะเน้นใน เรื่องนี้ว่า JD จะต้องเขียนเพื่อให้ผู้ ที่จะมาด�ำรงต�ำแหน่งแทนคนเดิม ได้ รู ้ ว ่ า ตั ว เองจะต้ อ งท� ำ งานอะไร หรือจะต้องรับผิดชอบอะไรบ้าง ดังนั้น คนที่เขียน JD จะต้อง ค�ำนึงถึงคนอ่าน (ที่จะมาด�ำรงต�ำแหน่ง

แทน) ว่าเขาจะอ่านรู้เรื่องหรือไม่ จริงไหม ครับ คนเขียน JD จึงไม่ควรเขียนแบบตัวเอง เข้าใจเอง (เพราะตัวเองด�ำรงต�ำแหน่งนี้อยู่ แล้ว) แถมไปคิดต่ออีกว่าคนที่จะมาด�ำรง ต�ำแหน่งนีค้ งต้องมีประสบการณ์ทำ� งานบ้าง แล้วก็ต้องรู้สิว่าควรจะท�ำอะไรบ้าง ก็เลย เขียน JD ชนิดทีพ่ อคนมาด�ำรงต�ำแหน่งแทน อ่านแล้วสับสนงงมากขึ้นไปอีก ดังนั้น หากเขียน JD ไว้ไม่ดีจะเกิด ปัญหาท�ำนองนี้ครับ 1. ผูม้ าด�ำรงต�ำแหน่งแทนจะสับสน กับสายการบังคับบัญชาที่เขียนไว้ไม่ชัดเจน 2. คนที่เข้ามาท�ำงานใหม่แทนคน เดิมไม่รู้ว่าจะต้องท�ำอะไรบ้าง เพราะอ่าน JD แล้วไม่เข้าใจ 3. เกิดการท�ำงานที่ซ�้ำซ้อนกัน ขัด แย้งกัน หรือเรียกศัพท์ยอดนิยมวันนี้ คือ “มี พื้นที่ทับซ้อนกันในงาน”


ยาก

4. วางแผนฝึกอบรมหรือพัฒนาได้

5. เกิดปัญหาในการสรรหาคัดเลือก คนเข้าท�ำงานเพราะไม่ทราบว่าต้องมีคุณสมบัติที่ชัดเจนอย่างไร 6. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านไม่ตรง กับงานที่รับผิดชอบ 7. ขาดข้อมูลในเรื่องงานและความ รับผิดชอบที่ชัดเจนเมื่อจะเลื่อนต�ำแหน่ง 8. ฯลฯ แล้วถ้าอย่างงัน้ ควรจะเขียน JD ยังไง ดีล่ะ....ผมแนะน�ำดังนี้ครับ 1. เขี ย นงานโดยค� ำ นึ ง ถึ ง ผู ้ ที่ ม า ปฏิบัติงานในต�ำแหน่งนี้ ไม่ใช่เขียนในฐานะ ผู้ที่ครองต�ำแหน่งนี้ 2. เขียนงานที่ปฏิบัติอยู่จริงในปัจจุบัน และงานที่ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งนี้จะต้องท�ำ 3. เขียนให้ผทู้ จี่ ะมาด�ำรงต�ำแหน่งนี้ เข้าใจว่าตนเองจะต้องท�ำหรือรับผิดชอบใน เรื่องใดบ้าง

4. หลีกเลีย่ งการเขียนทีเ่ ยิน่ เย้อ ควร เขียนให้ได้ใจความและเข้าใจง่าย 5. ใช้ค�ำหรือข้อความที่ชัดเจนตรง ประเด็นเข้าใจง่าย ไม่หว้ นสัน้ จนอ่านแล้วต้อง ตีความกันเอาเอง 6. เขียนให้ถูกต้องตรงกับงานที่ท�ำ จริง ไม่เขียนงานติดตัวคนหรืองานฝาก แต่ให้ เขียนงานทีใ่ ครจะมาท�ำงานในต�ำแหน่งนัน้ จะ ต้องท�ำ 7. เขียนให้สมบูรณ์ ครอบคลุมงาน ที่ผู้มาด�ำรงต�ำแหน่งนั้นจะต้องรับผิดชอบ ทั้งหมด 8. ศั พ ท์ เ ทคนิ ค ตั ว อั ก ษรย่ อ หรื อ ภาษาต่างประเทศซึ่งแปลเป็นภาษาไทยแล้ว เข้าใจได้ยากควรมีค�ำอธิบายหรือมีวงเล็บ อธิบายด้วยภาษาไทยที่ท�ำให้เข้าใจชัดเจน 9. ถ้าจ�ำเป็นต้องอ้างถึงบุคคล ให้ใช้ ชือ่ ต�ำแหน่งของบุคคล หรือหน่วยงานทีบ่ คุ คล นั้นสังกัด จากที่ผมเล่ามาทั้งหมดนี้ ท่านคงจะ

เห็นความส�ำคัญของการเขียน JD มากขึน้ แล้ว นะครับ คราวนีก้ ม็ าถึงค�ำตอบของค�ำถามทีว่ า่ แล้วใครล่ะควรจะเป็นคนที่เขียน JD ? คราวนี้คงตอบได้ไม่ยากแล้วใช่ไหม ครับว่า.... ผู้ที่เหมาะสมจะเขียน JD ก็คือ “ผู้ ด�ำรงต�ำแหน่งนั้น ๆ” หรือเจ้าของต�ำแหน่ง นั่นแหละครับ หรือจะบอกว่าการเขียน JD เป็น หน้าทีข่ องผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งในแต่ละหน่วยงาน เป็นคนเขียน ไม่ใช่ให้ฝ่ายบุคคลเป็นคนมา นั่งเขียน JD แทนผู้ด�ำรงต�ำแหน่งต่าง ๆ ทุก ฝ่ายในองค์กรนะครับ !! ทุกวันนี้เมื่อผมไปบรรยายในองค์กร ต่าง ๆ ยังได้ยินได้ฟังอยู่เสมอ ๆ ว่าแต่ละ หน่วยงานจะโยนหน้าที่การเขียน JD มาให้ ฝ่ายบุคคลเขียนแทน โดยอ้างว่าไม่รู้หลักการ เขียน JD บ้าง ไม่มีเวลาบ้าง ฯลฯ ก็อ้างกันไป แต่ ป ระเด็ น ก็ คื อ ฝ่ า ยบุ ค คลไม่ ใ ช่ เจ้าของงาน ไม่ใช่ผดู้ ำ� รงต�ำแหน่งทุกต�ำแหน่ง ในองค์กร แม้จะรูว้ า่ ต�ำแหน่งไหนท�ำงานอะไร แต่ก็เป็นการรู้แบบคร่าว ๆ เมื่อให้ฝ่ายบุคคล เขียน JD มันจะไปถูกต้องครบถ้วนเหมือนกับ เจ้าของงานเขียนได้ยงั ไงล่ะครับ แถมเมือ่ เกิด ปัญหาในเรือ่ ง JD เช่น เวลาสรรหาผูส้ มัครงาน แล้วคุณสมบัติเกิดไม่ตรงกับที่ Line Manager ต้องการ ก็จะโทษว่าเพราะฝ่ายบุคคล เขียน JD ไว้ไม่ดเี ลยท�ำให้ Spec การรับคนไม่ ตรง ฯลฯ เกิดปัญหาดราม่าในองค์กรขึน้ มาอีก ดังนัน้ งานใครงานมัน ใครเป็นเจ้าของ ต�ำแหน่งคนนั้นเป็นคนเขียน JD น่ะถูกต้อง ที่สุดแล้วครับ เมื่อเขียนเสร็จก็เป็นหน้าที่ของ ผู้บริหาร (ผู้จัดการฝ่าย) ในแต่ละฝ่ายจะต้อง อ่านตรวจสอบความถูกต้อง ถ้าไม่รู้วิธีการ เขียน ฝ่ายบุคคลก็ควรจะเป็นคนสอนหรือ แนะน�ำหลักการหรือวิธกี ารเขียนให้กบั หน่วยงานต่าง ๆ แล้วเป็นคนคอยช่วยดูชว่ ยเกลา JD ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ จะดีกว่า หวังว่าเราคงเข้าใจหลักการและคนที่ จะต้องรับผิดชอบในการเขียน JD ตัวจริงเสียง จริงกันเสียทีนะครับ

Vol.22 No.212 November-December 2015

People

57


Q

People for

uality

แผนกลยุทธ์บน ดร.ประเวศน์ มหารัตน์สกุล

ผู้จัดการฝ่ายบริหารงานกลาง สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ

ปัจ

จุบนั การวางแผนกลยุทธ์กลายเป็น เครื่องมือที่ส�ำคัญในการท�ำงาน การบริหารจัดการงาน คนและองค์การ โดย เชือ่ ว่าถ้ามีการวางแผนกลยุทธ์แล้วจะท�ำให้ดู ทันสมัยบางคนยังเชื่อว่าเป็นความส�ำเร็จของ การบริหารจัดการ แต่ผลในทางปฏิบตั จิ ะเป็น อย่างไรเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ทั้ง ๆ ที่ความส�ำเร็จ ที่แท้จริงประเมินกันที่ผลของการปฏิบัติ การกล่ า วเช่ น นี้ เพราะมี ห ลายคน เข้ า ใจไม่ ถู ก ต้ อ งในกระบวนการวางแผน กลยุทธ์ ที่ว่าเข้าใจไม่ถูกต้องเนื่องจากเข้าใจ ว่าการวางแผนกลยุทธ์จะต้องมีการประชุม ระดมสมอง ต้ อ งมี ก ารวิ เ คราะห์ จุ ด แข็ ง

58

for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

(strength) จุดอ่อน (weakness) อุปสรรค (threat) และโอกาส (opportunity) ที่รู้จักกัน ดีว่าเป็นการวิเคราะห์ SWOT ภายใต้มุมมอง ของ Balanced Scorecard ได้แผนแล้วเรียก แผนนั้นว่าเป็น “แผนกลยุทธ์” อย่างนั้นหรือ ไม่น่าจะใช่ เป็นข้อสงสัยที่ต้องพิจารณาต่อ จากนี้ไป หลายหน่วยงานใช้เครื่องมือ SWOT Analysis ในการก�ำหนดกลยุทธ์โดยคิดว่ามี อยูเ่ ครือ่ งมือเดียวในการวางแผนกลยุทธ์ ทัง้ ๆ ที่ในทางปฏิบัติมีหลายเครื่องมือ เช่น PEST Analysis (politics, economics, social และ technology) การสร้างภาพหมายในอนาคต

(scenario planning) และการวิเคราะห์พลัง 5 ด้านของพอร์ทเตอร์ (Porter, 1980) ได้แก่ การสร้างผลิตภัณฑ์ที่น่าใช้ อ�ำนาจต่อรอง ระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย สินค้าที่สามารถใช้ ทดแทนกันได้ และคู่แข่งหน้าใหม่ บางคนวางแผนกลยุทธ์โดยจ�ำกัดวง ขอบไว้ที่มุมมอง Balanced Scorecard และ พยายามหากลยุทธ์จัดการให้เกิดผลลัพธ์ใน 4 ด้านตามแนวคิดของนอร์ตนั และแคปแลนด์ (Norton & Kaplan,1996: 31) ที่เสนอว่า องค์การจะเข้มแข็งต้องท�ำให้องค์ประกอบทัง้ 4 ด้านเข้มแข็ง ไม่ว่าจะเป็นด้านการเรียนรู้ และพัฒนา กระบวนการภายใน ลูกค้าและ


การเงิน นัยว่าจะท�ำให้องค์กรแข่งขันกับคูแ่ ข่ง ได้ ได้ผลเพียงเท่านีแ้ ล้วบอกว่าองค์กรมีความ เข้มแข็ง ก็ไม่นา่ จะใช่อกี นัน่ แหละ ผูเ้ ขียนเห็น ว่าการจะสร้างความเข้มแข็งไม่ได้ขึ้นอยู่กับ 4 มุมมองเท่านั้นยังขึ้นอยู่กับโลกทัศน์ของ ผู้วางแผนอีกด้วย ที่สามารถจะมองไกลคาดการณ์เกี่ยวกับธุรกิจของตนได้อย่างแม่นย�ำ และเห็นยังว่าการวางแผนกลยุทธ์ภายใต้ กรอบคิดของการแข่งขันทางการค้าและการ ลงทุน ที่ขลุกอยู่กับปัญหาในรูปของจุดอ่อน และอุปสรรค แล้วจะก้าวข้ามปัญหาในอดีต ได้อย่างไร จริงหรือ ? การวางแผนกลยุทธ์บน เกมการแข่งขันท�ำให้องค์กรเข้มแข็ง นี่เป็น ค�ำถามที่น่าคิด บทความนี้ ผู ้ เ ขี ย นอยากชวนท่ า น วิเคราะห์ผลดีผลเสียในเชิงมหภาคของการ วางแผนกลยุทธ์ภายใต้กรอบความคิดของ การแข่ ง ขั น โดยจะขออธิ บ ายการแข่ ง ขั น องค์กรระดับประเทศในเวทีการค้าของโลก แม้ เป็นการแข่งขันระดับประเทศ แต่มีอิทธิพล โดยตรงต่ อ การประกอบธุ ร กิ จ น้ อ ยใหญ่ ภายในประเทศ และชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า เกมการ แข่งขันมีแพ้มีชนะ ถ้าต้องการจะเป็นผู้ชนะ ตลอดกาลต้องก้าวออกจากเกมการแข่งขัน (think out of competitive box) ท�ำได้อย่างไร ตามมาดูกัน

แนวคิดการแข่งขัน

การแข่งขัน (competitiveness) เป็น ความขัดแย้งชนิดหนึ่ง เพียงแต่เป็นความ ขัดแย้งที่ตั้งอยู่บนกติกาเดียวกัน เช่น การ แข่งขันทางการค้า การลงทุน จะมีระเบียบการ เงินและการค้าระหว่างประเทศก�ำกับอยู่ ซึ่ง เป็ น การแข่ ง ขั น ภายใต้ ร ะบบทุ น นิ ย มเสรี (capitalism) และต้องเข้าใจด้วยว่าปรัชญา ของการแข่งขันแบบเสรีคู่แข่งต้องมีความ เข้ ม แข็ ง พอ ๆ กั น ประโยชน์ จึ ง จะตกแก่ ผูบ้ ริโภค การแข่งขันทางการค้าการลงทุนมิใช่ เป็นการประเมินเฉพาะคู่แข่งธุรกิจด้วยกันยัง ต้องประเมินภาวะแวดล้อมทีม่ ผี ลทัง้ ทางบวก

และลบต่อภาวะการแข่งขัน ทีเ่ ป็นการแข่งขัน ท่ามกลางพลังที่เป็นอุปสรรคอีกหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นคู่แข่งหน้าใหม่ (new entrants) ผู้วางแผนต้องวิเคราะห์ให้เข้าใจว่าตลาดมี ข้อจ�ำกัดอะไรบ้างที่เป็นของคู่แข่งหน้าใหม่ วิเคราะห์ขนาดของเศรษฐกิจใหญ่หรือไม่ โดย ดูว่าประเทศที่เป็นตลาดผลิตภัณฑ์ของตนมี ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมประชาติ ห รื อ ขนาด เศรษฐกิจ (GDP) ใหญ่พอที่จะรองรับสินค้าที่ ส่งไปขายท�ำก�ำไรได้เพียงใด ความแตกต่าง ของผลิตภัณฑ์ ขนาดของทุน ความได้เปรียบ ในต้ น ทุ น ช่ อ งทางในการจ� ำ หน่ า ย และ นโยบายรัฐบาล ก�ำลังซื้อของผู้บริโภค สินค้า ทดแทน ท� ำ เลที่ ตั้ ง พฤติ ก รรมการบริ โ ภค เป็นต้น ทีนี้มาดูว่าเกมการแข่งขันทางการค้า อุตสาหกรรมแบบเสรีนยิ ม ทีเ่ ชือ่ ในเรือ่ งกลไก ตลาดหรือการท�ำก�ำไรในเศรษฐกิจแบบตลาด ภายใต้ แ นวคิ ด นี้ ก ารพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของ ประเทศต้องเปิดกว้างทางการค้าการลงทุน และการเงินให้มีการแข่งขัน ที่ส�ำคัญแนวคิด เสรี ท างการค้ า จะท� ำ หน้ า ที่ ไ ด้ ดี ใ นสั ง คม ประชาธิปไตย ฟังแล้วดูดี แต่ถ้าวิเคราะห์ให้ ละเอียดลึกลงไป การแข่งขันแบบเสรีจะเกิด ประโยชน์กับผู้บริโภคต้องเป็นการแข่งขันที่ คู่แข่งมีก�ำลังความสามารถเท่ากัน และต้อง มีผู้แข่งขันหลายราย เมื่อพิจารณาข้อเท็จจริง ในทางปฏิ บั ติ จ ะมี สั ก กี่ บ ริ ษั ท ที่ อ ยากให้ มี คู ่ แ ข่ ง มาแย่ ง ส่ ว นแบ่ ง ตลาดของตน โดย

Vol.22 No.212 November-December 2015

People

59


People

Vol.22 No.212 November-December 2015

ยั่ ง ยื น คงเป็ น ได้ เ พี ย งค� ำ พู ด ให้ ดู ดี ไ ปวั น ๆ เท่านั้น แต่ไม่ได้เป็นความยั่งยืนในเชิงตรรกะ ทีแ่ ท้จริงทีเ่ ป็นการพัฒนาทีใ่ ห้เหลือทรัพยากร ไว้ให้ลูกหลานอนุชนรุ่นหลังยังมีบริโภคอย่าง เพียงพอ ไทยเราตกอยู ่ ใ นกรอบคิ ด ของการ แข่งขันเพือ่ ต้องการช่วงชิงเอาความมัง่ คัง่ ทีอ่ ยู่ ในตลาดต่างประเทศเข้ามาสร้างความมั่งคั่ง ให้กับประเทศไทย จึงต้องคิดกลยุทธ์เพื่อแก้ จุดอ่อนและเอาชนะอุปสรรค ทีเ่ ห็นว่ามีโอกาส ทีจ่ ะใช้จดุ แข็งของตนช่วงชิงเอาทรัพยากรจาก ต่างชาติเข้ามาสร้างความมัง่ คัง่ ให้กบั ประเทศ โดยผ่ า นกิ จ กรรมการค้ า การขายของภาค เอกชน ถ้าคิดให้ละเอียดลึกลงไปอีก เกมการ แข่งขันต้องมีแพ้มชี นะ มีโอกาสพลาดท่าเสียที กล่าวคือ เราแข่งขันได้ผลตอบแทนสะสมมา

60

ธรรมชาติ ข องบริ ษั ท ธุ ร กิ จ ต้ อ งการผู ก ขาด ตลาด (monopoly) ไม่เชื่อลองถามบริษัท ยักษ์ใหญ่ทั้งหลาย เต็มใจพร้อมที่จะแข่งขัน หรือไม่ เชือ่ ได้เลยว่าไม่พร้อม และไม่อยากให้ มีคู่แข่ง จะกีดกันด้วยซ�้ำถ้ามีโอกาส ในเวที การค้ า การตั ด สิ น ใจว่ า จะแข่ ง ขั น หรื อ ไม่ แข่งขันไม่ได้อยูท่ ปี่ ระเทศไทย ไทยเราในฐานะ สมาชิกขององค์การการค้าระหว่างประเทศ (World Trade Organization) ต้องยอมเปิด กว้างเสรีทางการค้าและการลงทุน ดังกรณีที่ ได้มีการเปิดกว้างการลงทุนเสรีทางการเงิน การธนาคาร ผลทีต่ ามมาธนาคารสัญชาติไทย สู้ไม่ได้ต้องปรับตัวร่วมทุนกับสถาบันการเงิน การธนาคารกับแหล่งทุนต่างประเทศ การแข่งขันบนเกมที่ไทยเราต้องถูก บังคับให้แข่งขัน จึงต้องเลือกประเภทสินค้าที่ คิดว่ามีศักยภาพทางการตลาดดีกว่า ในแง่ ของต้นทุน จึงใช้กลยุทธ์ราคาเป็นแกนหลักใน การแข่งขัน ไม่ได้ใช้ฐานการผลิตที่ใช้เทคโนโลยีและวิทยาการขั้นสูงที่เป็นนวัตกรรมของ ตนเองเป็นฐานในการแข่งขัน ลักษณะการ ผลิตสินค้าอุตสาหกรรมของไทย ส่วนใหญ่จึง ต้องอาศัยวิทยาการและเทคโนโลยีน�ำเข้ามา ประกอบผลิตโดยอาศัยค่าจ้างแรงงานต�ำ่ และ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ยังพอหาประโยชน์

ได้ โดยรัฐบาลคอยประคับประคองอยู่ในรูป ของนโยบายการเงินและการคลังรวมทัง้ สร้าง ระบบสาธารณูปโภคตามแนวคิดของจอห์ เมนาร์ ด เคนส์ (Keynesiam economics,1960-1970) และเมื่อใดที่สินค้าของไทย ไม่สามารถแข่งขันในตลาดต่างประเทศได้ ภาคผลิตเอกชนก็จะเรียกร้องให้รัฐบาลใช้ นโยบายการเงิน คือ ลดค่าเงินบาท เพื่อให้ สินค้าราคาถูกลงในสายตาผู้ซื้อต่างประเทศ วิธคี ดิ วิธกี ารแก้ปญ ั หาท�ำนองนีจ้ ะเป็นวัฎจักร อยู ่ อ ย่ า งนี้ ไ ปอี ก นาน หากไทยยั ง พั ฒ นา เศรษฐกิจ การค้า การลงทุนบนเกมการแข่งขัน

จะออกจากเกมการแข่งขันได้อย่างไร

ถ้ายังคิดพัฒนาแบบเดิม โอกาสที่จะ ออกจากเกมการแข่งขันแทบจะเป็นไปไม่ได้ และแทบไม่ มี โ อกาสที่ จ ะมี อิ ท ธิ พ ลในการ ก�ำหนดเกมการแข่งขันทางการค้าการลงทุน ในเวทีการค้าการลงทุนของโลกได้ ความคิดที่ จะออกจากเกมการแข่งขัน ไม่ต้องไปเปรียบเทียบกับประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา จีน เพียงแต่อยากจะชวนคิดว่า ญีป่ นุ่ เยอรมัน เขามีวธิ คี ดิ อย่างไรในการพัฒนาเศรษฐกิจการ ค้า การลงทุน ใช้เวลาไม่กี่สิบปีกลายเป็นผู้มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ เกมการแข่ ง ขั น ทางการค้ า การ

ลงทุนของโลก อันนี้ผู้เขียนต้องการชวนผู้อ่าน คิดหาลู่ทางที่จะเป็นผู้มีบทบาทต่อเกมการ แข่งขันจะไม่เป็นตัวละครบนเกมการแข่งขัน ตลอดไป แต่ไม่ได้หมายความว่าจะกระโดด ออกจากเกมกลการแข่งขันโดยปิดประเทศนะ อันนั้นเป็นวิธีคิดที่ฉลาดน้อยไปหน่อย ทางที่ ควรจะเป็นต้องวางแผนพัฒนาระยะยาวทีม่ ใิ ช่ การพัฒนาภายใต้กรอบเกมการแข่งขันอย่าง ที่เป็นมาและเป็นอยู่ การทีจ่ ะออกจากเกมการแข่งขัน อาจ ต้องตัง้ สมมติฐานว่า เศรษฐกิจไทยยังคงเติบโต ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 5 ต่อปี และภายในเวลา สิบปีไทยต้องลดการพึ่งพิงตลาดต่างประเทศ ลงเหลือร้อยละ 40 คิดกลับหัวกลับหางจาก ปัจจุบันที่เศรษฐกิจไทยต้องพึ่งพิงตลาดต่างประเทศถึงร้อยละ 60 โดยไทยต้องมีความ สามารถในการผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นความสามารถ หลัก (core competency) ทีม่ มี ลู ค่าสูง ดังเช่น เกาหลีใต้มีเครื่องใช้ไฟฟ้าซัมซุง มีรถยนต์ ฮุนได สิงคโปร์มีความสามารถหลักในการ บริหารจัดการในการเดินเรือ ฯลฯ การที่ประเทศไทยส่งสินค้าไปขาย ราคาถูกเพราะต้นทุนแรงงานต�่ำ อาศัยวัตถุดิบจากธรรมชาติสมบูรณ์ ต่อไปสิ่งเหล่านี้จะ หดหายไปเรื่อย ๆ และค�ำว่า การพัฒนาแบบ


People

พึ่งตนเอง คือ ทางออกในระยะยาว

อาจต้องปรับกระบวนทัศน์ใหม่ โดย ไทยจะไม่มุ่งแข่งขันอย่างเดียว แต่จะสร้าง ความมั่งคั่งของตนเอง (wealth creation) คู่ขนานกันไปด้วย วางเป้าหมายระยะสิบปีข้าง หน้าจะมีสดั ส่วนความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจไทย ที่พึ่งตลาดภายในร้อยละ 60 ของ GDP การ จะพัฒนาให้เกิดขึน้ ได้ตอ้ งอาศัยก�ำลังซือ้ ของ ประชาชนส่วนใหญ่ที่ต้องได้รับการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง วิธีการหนึ่ง คือ สร้างงาน สร้าง อาชีพให้กบั ประชาชน (invisible hands) เป็น พลังในการกระตุ้นการพัฒนาอุตสาหกรรม

ภายในประเทศโดยเน้ น อุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ วัตถุดิบภายในประเทศ แต่ถ้าเป็นการน�ำเข้า วั ต ถุ ดิ บ จากต่ า งประเทศมาผลิ ต จะต้ อ ง เป็ น การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม แล้ ว ส่ ง ออก มิ ใ ช่ เป็นการผลิตแบบประกอบทีไ่ ทยได้แต่คา่ แรง ราคาถูกและภาษีบ้างนิดหน่อย ซึ่งไม่ยั่งยืน วันหนึ่งข้างหน้านักลงทุนเขาก็จะย้ายฐาน ผลิตไปยังแหล่งทีต่ น้ ทุนแรงงานต�ำ่ กว่าและมี วัตถุดิบที่สมบูรณ์กว่า การจะพั ฒ นาอย่ า งไรก็ ต าม ต้ อ ง เข้าใจแนวคิดการจัดการผลิตที่เป็นสากลดัง กรณี สหรัฐอเมริกาปัจจุบันได้พัฒนาวิธีการ ผลิ ต แบบลี โ ก (Lego Model) ที่ เ ป็ น การ ออกแบบผลิตภัณฑ์ทสี่ ามารถแยกชิน้ ส่วนได้ โดยให้ผู้อื่นผลิตชิ้นส่วนที่ก�ำหนดเป็นมาตรฐาน แล้วจ้างประกอบ ส่วนตนเองท�ำการ ตลาดส่งไปขายทัว่ โลกแนวคิดการผลิตใหม่นี้

เป็นการทดแทนการผลิตแบบสายพานทีผ่ ลิต คราวละมาก ๆ เพื่อรอค�ำสั่งซื้อ (T- Model) การผลิตแบบลีโกและผลิตเมือ่ มีคำ� สัง่ ซือ้ แบบ ญี่ปุ่น (just in time) ก�ำลังมาแรง อีกแนวคิด หนึง่ ไทยต้องกล้าท้าทายความคิด การพัฒนา เศรษฐกิจตามหลักเศรษฐศาสตร์ทสี่ อนกันมา ว่าเมื่อผลิตของได้ต้นทุนถูกกว่าควรผลิตเพื่อ ขาย การผลิตสินค้าใดทีต่ น้ สูงควรซือ้ หากไทย ยอมรั บ แนวคิ ด นี้ เ ป็ น กรอบในการพั ฒ นา เศรษฐกิจจะท�ำให้เสียโอกาสในการสั่งสม ความรูใ้ นเชิงเทคโนโลยี โอกาสทีจ่ ะพึง่ ตนเอง ในระยะยาวจึงยากทีจ่ ะเป็นไปได้ และโอกาส ที่ประเทศจะเติบโตแบบญี่ปุ่น เยอรมัน เมื่อ เติบโตเข้มแข็งแล้วจึงช่วยเหลือแบ่งปันให้แก่ ประเทศที่ด้อยกว่า แทบจะเป็นไปไม่ได้ การพัฒนาแบบพึง่ ตนเองเป็นแนวคิด ที่อยู่เหนือค�ำว่ากลยุทธ์การแข่งขัน และจะ เป็นไปไม่ได้เลยหากไม่คิดท้าทายออกนอก เกมการแข่งขัน ฝากไว้เป็นข้อคิดนะครับ เอกสารอ้างอิง 1. Kaplan,R.S &Norton,D.P.1996.Balanced Scorecard. Boston: Harvard Business School Press. 2. Porter,M.E. 1980. Competitive Strategy: Techniques for Analysis Industries and Competitors. New York: Free Press.

Vol.22 No.212 November-December 2015

หลายปี หากปี ใ ดเกิ ค วามผิ ด พลาดเสี ย ที ความมั่งคั่งที่สั่งสมมาหลายปีอาจสูญเสียไป ในคราวเดียว ดังกรณีวิกฤตเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2527 และปี พ.ศ.2540 การแข่งขันในปัจจุบนั แม้ดูแล้วจะพอเป็นประโยชน์อยู่บ้างส�ำหรับ ประเทศไทยทีส่ นิ ค้าและบริการบางชนิดยังพอ จะหาประโยชน์ได้อยู่ เช่น อุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยว สินค้าอุตสาหกรรมเกษตร แต่ใช่ว่า จะไม่มีวันหมดและไม่มีคู่แข่ง หลายประเทศ เขาก็พยายามผลิตเพือ่ ขายแย่งตลาดของไทย เช่นกัน การจะออกจากเกมการแข่งขันต้อง เริม่ ทีว่ ธิ คี ดิ ว่าในอนาคตไทยต้องมีอทิ ธิพลต่อ เกมการแข่งขันของโลก มิใช่เป็นผู้วิ่งตามเกม ทีผ่ อู้ นื่ เขาก�ำหนด และมิใช่วธิ คี ดิ ทีจ่ ะไปต่อต้าน กระแสโลกาภิวัตน์ที่มีพลังเหนือกว่า ต้องหา สมดุลให้ได้

61


Q

Movement for

uality

Book Guide Movement


Q

Book Guide for

ศัพท์หมวด ไทย-จีน-อังกฤษ

ผู้เรียบเรียง ผศ.ดร.จุรี สุชนวนิช ราคา 295 บาท ISBN 978-974-443-571-2 หมวด ภาษาจีน สำ�นักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม

จะ

ดีแค่ไหนถ้าอยากรู้ค�ำศัพท์อะไรก็ได้รู้...จะดี แค่ไหนถ้าค�ำศัพท์เหล่านั้นรวมมาเป็น หมวดหมูใ่ ห้ใช้งานง่าย...และจะดีแค่ไหนถ้าเปิดหา ค�ำศัพท์ครั้งเดียวได้รู้มากถึง 3 ภาษา ! ใน ฉบับนี้ขอน�ำเสนอหนังสือซีรีส์ที่จะเป็นประโยชน์ มาก ๆ ส�ำหรับผูเ้ รียนภาษาจีนและภาษาเกาหลีทกุ ระดับ ไว้ใช้ส�ำหรับค้นหาค�ำศัพท์ตามหมวดหมู่ นัน่ ก็คอื หนังสือซีรสี ์ “ศัพท์หมวด” นัน่ เอง ปัจจุบนั มีอยู่ ด้วยกัน 2 เล่ม ได้แก่ “ศัพท์หมวด ไทย-จีน-อังกฤษ” และ “ศัพท์หมวด ไทย-เกาหลี-อังกฤษ” เนื้อหาภายในเล่มเป็นการรวบรวมค�ำศัพท์ต่าง ๆ ที่มีโอกาส พบเห็นหรือใช้งานในชีวติ ประจ�ำวันไว้มากมายกว่า 6,000 ค�ำ ผ่านการ ตรวจสอบจากผูท้ รงคุณวุฒวิ า่ ถูกต้อง ทันสมัย และสามารถน�ำไปใช้ได้ ทันที โดยแบ่งเป็นหมวดหมู่กว่า 48 หมวด ไม่ว่าจะเป็นหมวดทั่ว ๆ ไป อย่างสัตว์ สีสัน ร่างกาย อาชีพ กีฬาและงานอดิเรก เป็นต้น ไปจนถึง หมวดที่เฉพาะทางมากขึ้นอย่าง การบริหารธุรกิจ การเงินและการ ธนาคาร ทรัพยากรธรณี การเมืองการปกครอง เป็นต้น และที่พิเศษสุด ส�ำหรับหนังสือในซีรีส์ “ศัพท์หมวด” ก็คือ ผู้อ่านสามารถเรียนรู้ค�ำศัพท์

uality

ศัพท์หมวด ไทย-เกาหลี-อังกฤษ

ผู้เรียบเรียง ผศ.อุไรวรรณ จิตเป็นธม คิม ราคา 295 บาท ISBN 978-974-443-572-9 หมวด ภาษาเกาหลี สำ�นักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม อาทิตย์ นิ่มนวล ฝ่ายสำ�นักพิมพ์ ได้ถึง 3 ภาษา ทั้งค�ำศัพท์ภาษาไทย ภาษาจีนหรือภาษา เกาหลี และภาษาอังกฤษในเล่มเดียว ซึง่ ในเล่ม “ศัพท์ หมวด ไทย-จีน-อังกฤษ” จะมีเสียงอ่านภาษาจีน หรือที่เรียกว่า “พินอิน” ให้ด้วย เพื่อความสะดวก ในการออกเสียงให้ถูกต้อง ส่วนเล่ม “ศัพท์หมวด ไทย-เกาหลี-อังกฤษ” จะมีถอดเสียงอ่านภาษา เกาหลีเป็นภาษาไทยให้ด้วย (หรือที่เราเรียกว่า ภาษาคาราโอเกะนั่นแหละ) หมดห่วงเรื่องการอ่าน ค�ำศัพท์ใหม่ ๆ ในแต่ละหมวดไปได้เลย นอกจากนี้ผู้อ่าน ทีอ่ าจจะไม่สะดวกนึกว่าค�ำศัพท์คำ� นีจ้ ะอยูใ่ นหมวดอะไร แล้วจะหา ค�ำศัพท์เจอหรือเปล่า ที่ท้ายเล่มก็จะมีดัชนีค�ำศัพท์ที่เรียงตามค�ำศัพท์ ภาษาไทยไว้ให้สำ� หรับการค้นหาได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมากยิง่ ขึน้ ไปอี ก สรรพคุ ณ ดี ง ามมากมายประดามี ข นาดนี้ จะไม่ อ ยากมี ไ ว้ ครอบครองสักเล่มเชียวเหรอ รับรองว่าคุ้มค่าคุ้มราคาแน่นอน ส่วนจะได้ยลโฉมของ “ศัพท์หมวด ไทย-ญี่ปุ่น-อังกฤษ” กัน เมือ่ ไรนัน้ รอติดตามกันให้ดี ๆ กับทุกช่องทางของเรา ไม่วา่ จะ Website (tpapress.com) Facebook (tpapress) หรือ Instagram (@tpapress) สะดวกช่องทางไหนก็ติดตามจากช่องทางนั้นเลย for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015

63


Q

Movement for

uality

E vent

ทีเอ็นที ผู้น�ำด้านบริการขนส่งพัสดุภัณฑ์ด่วนครบวงจรทั้งในและต่างประเทศ และเป็น หนึ่งในด้านการบริการในประเทศไทยมากว่า 35 ปี น�ำโดย จอร์จีนา กัลวิน (ที่ 4 จากขวา) กรรมการผู้จัดการใหญ่ และ คุณจรัสพรรณ แจ่มใส (ที่ 4 จากซ้าย) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายขายและ การตลาด จัดกิจกรรมสัมมนาพิเศษเพื่อลูกค้า ภายใต้หัวข้อ “Asia Road Network Innovative AEC Integrated 2015” โดยมีทีมผู้บริหารระดับสูง อาทิ คุณกุณฑล ศิริไพบูลย์ (ที่ 1 จากซ้าย) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายเทคโนโลยีและการสื่อสาร และ คุณสิทธิชัย มหาจันทนาภรณ์ (ที่ 2 จากซ้าย) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายขายและการตลาดภายในประเทศ คุณนงลักษณ์ พึ่งสม (ที่ 3 จากซ้าย) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบุคคล คุณสุขสันต์ ทรงตั้งสันติกุล (ที่ 1 จากขวา) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ พร้อมด้วย ดร.วิทย์ สิทธิเวคิน (ที่ 2 จากขวา) และ อาจารย์ช้าง ทศพร ศรีตุลา (ที่ 3 จากขวา) ให้เกียรติเข้าร่วมงาน ณ ห้องประชุมแกรนด์บอลรูม โรงแรมฮอลิเดย์อินน์ พัทยา จังหวัดชลบุรี รศ.ดร. สมเจตน์ ทิณพงษ์ (ที่ 2 จากซ้าย) ประธานกรรมการนวัตกรรมแห่งชาติ มอบ หนังสือส่งเสริมสนับสนุนนวัตกรรม APCOcap สูตรสารสกัดพืชไทย 5 ชนิดที่สามารถช่วยเพิ่ม คุณภาพชีวิตผู้ติดเชื้อเอชไอวีแก่ ศ.ดร.พิเชษฐ์ วิริยะจิตรา (กลาง) หัวหน้าคณะนักวิจัยและ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั เอเชียน ไฟย์โตซูตคิ อลส์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยมีคณะผูบ้ ริหาร ร่วมแสดงความยินดี ณ ส�ำนักงานวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ถนนพระราม 6 เมื่อเร็ว ๆ นี้

พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ที่ 4 จากซ้าย) เป็น ประธานการประชุมวิชาการนานาชาติ เรื่อง “ความท้าทายแห่งการพัฒนาภายหลังปี 2558: นั ย ต่ อ การค้ า และการพั ฒ นา ภายในประชาคมอาเซี ย น” (Post-2015 Development Challenges: Implications for Trade and Development for ASEAN Community) โดย ดร.กมลินทร์ พินิจภูวดล ผู้อำ�นวยการ สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน) หรือ ITD (ที่ 5 จากซ้าย) ให้การต้อนรับ ทั้งนี้การประชุมจัดขึ้นเนื่องในโอกาส ก้าวสูป่ ที ี่ 14 ของสถาบันฯ เพือ่ เป็นเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ความคิดเห็นของผูท้ รงคุณวุฒทิ งั้ ในและ ต่างประเทศ โดยมีนักวิชาการ ตัวแทนภาครัฐ และเอกชน เข้าร่วมงาน ณ ห้องบอลรูม โรงแรมแลนด์มาร์ค กรุงเทพฯ เมื่อเร็ว ๆ นี้

คุณชานนท์ เรืองกฤตยา (ที่ 3 จากขวา) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมด้วย คุณจุฑา พรมชินวงศ์ (ที่ 2 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการ บริษัท เฮลิกซ์ จ�ำกัด บริษัทผู้รับเหมางานก่อสร้าง และ งานด้านสถาปัตยกรรม และ คุณนราธิป จันทร์ทอง (ที่ 3 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการ บริษัท มิเนอร์วา แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด บริษัทที่ปรึกษา และควบคุมงานก่อสร้าง ถ่ายภาพร่วมกันบนชั้น ดาดฟ้าโครงการไอดีโอ วุฒากาศ ในโอกาสเข้าตรวจความคืบหน้าการก่อสร้างโครงการ และ ควบคุมการก่อสร้างให้ได้มาตรฐาน

64

for Quality Vol.22 No.212 November-December 2015


Movement

E vent มร.แมทเธียส ฮอฟฟริชเตอร์ (กลาง) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท พรอพเพอร์ตี้ แคร์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด หรือพีซีเอส บริษัทในเครือของ โอซีเอส กรุ๊ป (OCS Group) จากอังกฤษ ให้ขอ้ มูลการบริหารจัดการอาคารแบบครบวงจร (TFM) พร้อมน�ำเสนอ นวัตกรรมส�ำหรับการบริหารจัดการอาคารในงาน BMAM Expo Asia 2015 โดยมี คุณพรพรรณ บุลเนอร์ (ซ้าย) ผูอ้ ำ� นวยการ อิมแพ็ค เอ็กซิบชิ นั่ ออกาไนเซอร์ และ คุณภคมน สุภาพพันธ์ (ขวา) ผู้จัดการงานฉลากคาร์บอนส�ำนักพัฒนาธุรกิจ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์กร มหาชน) ร่วมให้ข้อมูล ที่อิมแพค เมืองทองธานี เมื่อเร็ว ๆ นี้

คุณสรรพงษ์ ชื่นโรจน์ (กลาง) กรรมการผู้จัดการ พร้อมด้วย มร.เซิร์จ ทูรอน (ขวา) ผู้จัดการทั่วไป และ คุณวิศรุต โลจนานนท์ (ซ้าย) ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายบริการหลังการขาย บริษัท ซิตี้ ออโต้โมบิล จ�ำกัด ประกาศทุ่มทุนกว่า 300 ล้านบาท สร้างโชว์รูมและศูนย์บริการ แฟล็กชิพ จากัวร์ แลนด์โรเวอร์ บนถนนพระราม 4 แห่งแรกในเอเชียแปซิฟิก เพื่อมอบ “ประสบการณ์แห่งบริการชั้นเลิศ” แก่ลูกค้าในเมืองไทย ตอกย�้ำสถานะผู้น�ำในตลาดรถหรู ของซิตี้ ออโต้โมบิล

อาร์เอฟเอส (RFS) เดินหน้าต่อยอดโครงการอบรมบุคลากรด้านเครื่องมือแพทย์ (Biomedical Engineering Competency Training: BECT®) ในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง ตอกย�้ำความส�ำเร็จการจัดอบรมในครึ่งปีแรกที่ผ่านมา ล่าสุดประกาศจับมือสถาบันอีซีอาร์ไอ (ECRI Institute) ลุยจัดอบรมอีก 3 หลักสูตรในครึ่งปีหลัง หวังยกระดับทักษะและเสริมศักยภาพ บุคลากรทางการแพทย์ไทยสู่ตลาดแรงงาน พร้อมรองรับอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ใน ระดับสากล ตั้งเป้าผลิตบุคลากรป้อนตลาดอีกกว่า 60 รายใน 3 หลักสูตร

Vol.22 No.212 November-December 2015

จอห์นสัน คอนโทรลส์ จัดแสดงเครื่องลดอุณหภูมิอากาศก่อนเข้ากังหันก๊าซ (Gas Turbine Inlet Air Cooling หรือ GTIAC) ในงานเพาเวอร์ เจน เอเชีย (Power Gen Asia) ถือเป็น ครัง้ แรกทีบ่ ริษทั ผูผ้ ลิตเครือ่ งท�ำความเย็นจะน�ำเสนอโซลูชนั่ ส์ GTIAC ทีส่ มบูรณ์แบบและประกอบ เสร็จพร้อมใช้ซึ่งได้การยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นระบบที่สามารถเพิ่มการส่งออกพลังงานที่ มีประสิทธิภาพมากทีส่ ดุ และช่วยยกระดับประสิทธิภาพการท�ำงานท่ามกลางสภาพแวดล้อมทีม่ ี ความร้อนสูง

65


Movement

E vent คุณวิชิต พยุหนาวีชัย (กลาง) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซัมมิท แคปปิตอล ลี ส ซิ่ ง จ� ำ กั ด เดินหน้ารุกตลาดอีสานอย่างต่อเนื่อง เปิดตัวศูนย์บริการสินเชื่อเช่าซื้อรถ จักรยานยนต์แห่งใหม่ ณ ต�ำบลสามพร้าว อ�ำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี เมือ่ เร็ว ๆ นี้ หลัง การส�ำรวจตลาดช่วง 10 เดือนที่ผ่านมาพบว่า พื้นที่นี้มีลูกค้าให้ความสนใจใช้บริการสินเชื่อ เช่าซื้อรถจักรยานยนต์สูงเฉลี่ยมากกว่า 150 รายต่อเดือน คิดเป็นมูลค่ารวมกว่า 70 ล้านบาท ทั้งนี้อุดรธานีถือเป็นตลาดใหญ่อันดับ 2 ในภาคอีสานตอนบนของซัมมิท แคปปิตอล รองจาก จังหวัดขอนแก่น

C ongratulations กูด๊ เยียร์ ประเทศไทย ได้รบั รางวัลธรรมาภิบาลสิง่ แวดล้อมและอุตสาหกรรมสีเขียวจาก กระทรวงอุตสาหกรรม สะท้อนให้เห็นถึงความพยายามในการปกป้องและอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมใน ทุกขั้นตอนของการด�ำเนินงานของกู๊ดเยียร์ ซึ่งเป็นผู้ผลิตยางรถยนต์ชั้นน�ำ

Vol.22 No.212 November-December 2015

แอ๊พซินท์ เอเชีย บริษัทชั้นน�ำด้านการพัฒนาแอปพลิเคชั่นและการตลาดบนอุปกรณ์ ไอทีพกพา ได้รับรางวัล “ผู้พัฒนาแอปพลิเคชั่นยอดเยี่ยมประเภทองค์กรขนาดใหญ่” (Best Large Studio) พร้อมรางวัลชนะเลิศอีก 3 สาขา ในงาน “เอเชีย แอป ดีไซน์ อะวอร์ดส์ 2015” (2015 Asia App Design Awards) ซึ่งจัดขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่องค์กรที่มีความคิดสร้างสรรค์ ความกล้าหาญ และความก้าวหน้าในการออกแบบแอปพลิเคชั่น

66

คุณสุวรรณ เหรียญเสาวภาคย์ รองผู้อ�ำนวยการสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ สถาบัน เครือข่ายของกระทรวงอุตสาหกรรม (ที่ 4 จากขวา) ประธานในพิธมี อบโล่หร์ างวัล PF+KM และ คุณเดชา จาตุธนานันท์ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงอุตสาหกรรม (ที่ 4 จากซ้าย) พร้อมด้วย คุณฉันทลักษณ์ มงคล ผู้อ�ำนวยการฝ่ายส่งเสริมการเพิ่มผลผลิต (ที่ 3 จากขวา) ถ่ายภาพร่วมกับผูแ้ ทนจาก 5 องค์กรทีเ่ ข้าร่วมโครงการ และได้รบั รางวัล PF+KM ประจ�ำ ปี 2558 โดยแต่ละองค์กรมีความโดดเด่นในการน�ำการจัดการความรู้ไปต่อยอดเพื่อพัฒนาการ เพิ่มผลิตภาพในองค์กรของตน ภายใต้โครงการ “การสร้างและขยายฐานองค์ความรู้การเพิ่ม ผลิตภาพเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน” หรือ PF+KM ณ โรงแรมบางกอกชฎา เมื่อเร็ว ๆ นี้


Movement

S how Lenovo การเดินทางเปรียบเสมือนการเปิดโอกาสให้ตัวเองได้พบสิงใหม่ ๆ เช่น สถานที่ ท่องเทีย่ ว วัฒนธรรม และวิถชี วี ติ ของผูค้ นทีแ่ ตกต่างออกไป ซึง่ การถ่ายรูปนัน้ เป็นสือ่ ส�ำคัญ ในการบันทึกประสบการณ์เหล่านั้นเพื่อแบ่งปันให้กับคนอื่น อีกทั้งยังช่วยให้เราย้อนกลับ ไปสัมผัสประสบการณ์เหล่านั้นภายหลังได้อีกด้วย สมัยก่อน เมื่อเราต้องการถ่ายภาพ เราจะต้องหิ้วกระเป๋ากล้องรวมทั้งอุปกรณ์ พะรุงพะรัง เพียงเพื่อเก็บภาพและความทรงจ�ำจากการท่องเที่ยวของเรา แต่ในปัจจุบัน สมาร์ทโฟนกลายเป็นอุปกรณ์คู่ใจที่ตอบสนองทุกความต้องการ เมื่อเราต้องการจะเก็บ ภาพที่ประทับใจเราเพียงแค่ยกเจ้าสมาร์ทโฟนตัวเก่งขึ้นมาก็สามารถถ่ายภาพคุณภาพ ระดับมืออาชีพได้อย่างง่ายดาย ด้วยเหตุนี้ เลอโนโวจึงภูมิใจน�ำเสนอ เลอโนโว ไวบ์ ช็อต สมาร์ทโฟนที่มาพร้อม ระบบกล้องทีส่ ามารถเก็บภาพความประทับใจได้อย่างมือโปร ด้วยกล้องทีม่ คี วามละเอียด ถึง 16 เมกะพิกเซล ท�ำให้ภาพที่ถ่ายออกทั้งสวยและคมชัด อีกทั้งยังมีเซ็นเซอร์ที่สามารถ ถ่ายภาพที่ชัดได้แม้แต่ในสภาวะแสงน้อยได้อีกด้วย ทั้งหมดนี้ได้ถูกรวบรวมไว้ใน สมาร์ทโฟนดีไซน์หรูเครื่องนี้เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น

แคนนอนเปิดตัวกล้องดิจิทัลคอมแพ็คระดับ พรีเมี่ยมตระกูลซีรี่ส์ G รุ่นใหม่ล่าสุด ‘Powershot g3 x’ มาพร้อมเลนส์จอมพลังคุณสมบัติครบจบใน กล้อง ไม่ตอ้ งพกหรือเปลีย่ นเลนส์เสริมให้ยงุ่ ยาก ด้วย เลนส์เทคโนโลยีเดียวกับเลนส์ EF ของกล้อง DSLR ที่ให้ก�ำลังขยายออปติคอลสูงถึง 25 เท่า ทางยาว โฟกัสจุใจ 24-600 มม. พร้อมมอเตอร์ Micro USM III ความเร็วสูงที่ตัวเลนส์ที่ท�ำให้โฟกัสวัตถุได้รวดเร็ว แม่นย�ำ และเงียบเป็นพิเศษ บันทึกวิดีโอคุณภาพสูง ทั้งภาพและเสียง พร้อมฟังก์ชั่น Zoom Framing Assist ใหม่ ปรับระยะการซูมใกล้-ไกลให้อัตโนมัติ ระบบป้องกันภาพสั่นไหว Dynamic Image Stabilization ใหม่ ช่วยให้ถ่ายภาพเคลื่อนไหวคมชัด สวยงามทุกสถานการณ์ และโหมด Bulb Exposure ส�ำหรับการถ่ายภาพนิง่ แบบ Long Exposure เพือ่ ให้ เห็นการเคลื่อนไหวของวัตถุอย่างชัดเจน เช่น ดอกไม้ ไฟ สามารถเก็บบันทึกความสวยงามน่าอัศจรรย์ใจ ของริ้วแสงดอกไม้ไฟได้อย่างหมดจด

Vol.22 No.212 November-December 2015

Canon

67


Vol.22 No.212 November-December 2015

68

Pressure

Temperature & Huminity

etc.

pH Meter

Mass

Length

Hardness

Force

Electric ✗

TQM

etc.

Six Sigma

5S

etc.

TIS/OHSAS 18001

SA 8000

Training

Cover, Inside Front Cover, 1 5

Testing

Page

ISO/TS 16949

21

ISO 14001

Page

ISO 9001

Software

Sumipol Co., Ltd.

Services

Measuretronix Ltd.

Measurement

Products

Equipment

CCT Square Co., Ltd.

ISO 17025

Consultancy & Training

2, 3 5

Calibration

Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. Sumipol Co., Ltd.

Page

HACCP

Lab Calibrations

Dimension

Advertiser’s Index

หมายเหตุ* Advertiser’s Index ได้จัดทำ�ขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหาชื่อของบริษัทต่าง ๆ ที่ลงโฆษณาในนิตยสารฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด ๆ กับบริษัทที่ลงโฆษณา หากเกิดความผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำ�ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย


PROMOTION

JIS

ตั้งแตวันนี้ จนถึง สิ้นป 58

HANDBOOK Barcode: 9784542136946

HEAT TREATMENT-2014

Terms and Symbols / Methods for Processing / Tests and Measuring Methods / Tests and Measuring Equipments / Processing Materials

Price: 15,700.-

14,915฿ Barcode: 9784542137004

Ferrous Materials & Metallurgy I-2015

Terms / Qualification and Certification / Test Methods of Metallic / Materials / Test Methods of Steel / Raw Materials / Carbon and Alloy Steel for Machine Structural Use / Steel for Special Purpose / Clad Steel

Price: 12,825.-

% 5OFF Barcode: 9784542137035

Fasteners & Screw Threads-2015

Terms Designation and Drawing / Basics (General Use) / Components / Screw Threads Components (including Washers) for General Use

Price: 11,520.-

10,944฿ Barcode: 9784542137042

Piping-2015

Basics / Seals / Pipes / Pipe Fittings / Pipe Flanges / Valves

Price: 14,895.-

14,150.25฿

12,183.75฿ Barcode: 9784542137011

Barcode: 9784542137059

Steel Bars Sections Plates Sheets and Strip / Steel Tubular Products / Wire Rods and Their Secondary Products / Castings and Forgings

Basics / Shafts / Rolling Bearings / Sintered and Journal Bearings / Sprocket Roller Chains Belts / Springs / Seals

12,611.25฿

Price: 15,390.-

14,620.5฿

Barcode: 9784542137028

Barcode: 9784542137066

Ferrous Materials & Metallurgy II-2015 Price: 13,275.-

Non-Ferrous Metals & Metallurgy-2015

Test Methods of Metallic Materials / Inspection and Test Methods of Non-Ferrous Metals and Metallurgy / Raw Materials / Wrought Copper / Wrought Products of Aluminium and Aluminium Alloy / Wrought Products of Magnesium Alloy / Wrought Products of Lead and Lead Alloy / Wrought Products of Titanium and Titanium Alloy / Wrought Products of Other Metal / Powder Metallurgy / Castings

Machine Elements (excluding Fasteners & Screw Threads)-2015

Metal Surface Treatment-2015

Electroplating / Chemical Plating / Vacuum Plating / Thermal Spraying / Hot-dip Galvanizing / Anodic Oxidation Coating/ Surface Preparation of Steel Products

Price: 11,115.-

10,559.25฿

Price: 11,475.-

10,901.25฿

เง�อนไข เปนสมาชิก TPA Bookcentre หรือ ส.ส.ท. รับสวนลดพิเศษทันที 5% สอบถามขอมูลเพิ่มเติม คุณเอมชบา โทร. 02-258-0320 ตอ 1530 หรือ bec@tpa.or.th


ศูนยรวมการออกแบบ

ผลิตส�อสรางสรรคครบวงจร จากประสบการณในการผลิตสิ่งพิมพมานานมากกวา 40 ป ทำใหมีความเชี่ยวชาญในการผลิตสื่อสิ่งพิมพทุกประเภทเพื่อตอบสนอง ทุกความตองการของลูกคา อำนวยความสะดวกสบายใหกับลูกคาสูงสุดแบบ “One Stop Services” นับตั้งแตการสรางสรรค เนื้อหาสิ่งพิมพโดยทีม Creative และกองบรรณาธิการ การออกแบบรูปเลม (design) การจัดวางเนื้อหา (art work) ภาพและเสียง ประกอบจากคลังที่มีลิขสิทธิ์ถูกตองกวา 40 ลานรายการ และรวมทั้งมีชางภาพมืออาชีพ สำหรับรองรับความตองการภาพ ที่มีความเฉพาะเจาะจง กระบวนการพิมพที่ทันสมัยรองรับความตองการงานพิมพตั้งแตระดับมาตรฐานทั่วไปจนถึงสเปคงานพิมพที่ มีความซับซอนได ตลอดจนใหบริการบรรจุและจัดสง จนถึงมือลูกคาทั่วประเทศไดตามเวลาที่กำหนด ตัวอยางสิง่ พิมพท่ี ใหบริการผลิต ไดแก Company Profilefi,fi Annual Report Catalogue, Instruction Manual, Brochure, Poster, Pamphlet, Leaflflet, Magazine, Journal, Newsletter, Text Book, Pocketbook. *** การบริการรองรับ 3 ภาษา (ไทย อังกฤษ ญี่ปุน)

เราพรอมสงมอบผลงานคุณภาพ ไดมาตรฐาน รวดเร็ว ในราคาเปนกันเอง ทุกส�อสรางสรรค ไวใจเรา

0-2258-0320#1750 โครงการผลิตส�อและมัลติมีเดีย สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.