Technology Promotion and Innomag Magazine
Techno
February - March 2015 Vol.41 No.239
www.tpaemagazine.com
logy
INNOMag Gates to Inspiration of Innovation
Leadership of all Industrial Enterprise Magazine
รวมเคร�องมือตรวจสอบ
ความปลอดภัยทางไฟฟา
Technology Promotion and Innomag Magazine | February - March 2015 Vol.41 No.239
สำหรับงานติดตั้งระบบไฟฟาและระบบกราวด ในอาคาร เคร�องใช ไฟฟา เคร�องมือชางไฟฟา และเคร�องมือทางการแพทย
เช�อมตอไรสายกับ Smart phone และ Tablet ระบบ Android
Auto Sequence Function วัดพารามิเตอรตางๆ พรอมกัน โดยโปรแกรมไดลวงหนา
MD 310x Series Multi Function Electrical Installation Safety Tester มีฟงคชั่นทดสอบครบตามมาตรฐาน EN 61557, IEC/EN 60364, EN 61008, EN 61009, EN 60755 และอ�นๆ
ออกรายงานผลการทดสอบตามมาตรฐาน ผานซอฟตแวร
MI 3123 SMARTEC Earth/Clamp
เคร�องทดสอบหลักดิน (Earth Resistance) ตามมาตรฐาน IEC61557-5
MI 2094 CE MultiTester
เคร�องทดสอบเคร�องจักรกล ไฟฟาและเมนสวิตซไฟฟา เพ�อความปลอดภัย ตามมาตรฐาน IEC60439-1
MI 3305 OmegaGT Plus
เคร�องทดสอบเคร�องใชไฟฟาเพ�อ ความปลอดภัย (Portable Appliance Safety) ตามมาตรฐาน IEC60335, IEC60598, IEC60745
สนใจติดตอ : คุณจิรายุ 083-823-7933, คุณเนตรนภางค 089-895-4866, คุณเฉลิมพร 085-489-3461, คุณมนัสนันท 087-714-3630
Hot Issue:
เศรษฐกิจฐานความรูอาเซียน กับบทเรียนจากเกาหลี ใต สถานะใหม ไทย “หุนสวนเพ�อการพัฒนา” “โนเบล” รางวัลที่ ไมตองรอนานอีกตอไป
www.measuretronix.com/ metrel
Open Source ERP สำหรับเอสเอ็มอี อินซูลินจากเซลลลำไสมนุษย แฟลช เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก
ราคา 70 บาท
เคร�องทดสอบเคร�องมือทางการแพทย
Biomedical Test Equipment
RIGEL เปนผูผลิตเคร�องมือสอบเทียบทางการแพทย ที่ ไดมาตรฐาน IEC 60601 & IEC 62353 ที่มีประสบการณยาวนาน 44 ป ไดรับรางวัล The Queen’s Award ในป 2012 รับประกันในคุณภาพและความเช�อมั่น Rigel Uni-Pulse Defibrillator Analyzer เคร�องสอบเทียบเคร�องกระตุกหัวใจ เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราหเครื่องกระตุกหัวใจ ซึ่งสามารถสอบเทียบไดทั้ง Mono-phasic, Bi-phasic, Standard and Pulsating waveform และ Automated external defibrillator (AED) สามารถพิมพผล Pass/Fail Label ไดทันทีผานเครื่องพิมพที่เชื่อมตอผาน Bluetooth
Rigel UNI-SIM : Vital Signs Simulator เคร�องวิเคราะหการทำงานเคร�องวัด สัญญาณชีพ 6 พารามิเตอร 1. 2. 3. 4.
คาออกซิเจนในเลือด (SPO2) คาสัญญาณแรงดันไฟฟาหัวใจ (ECG) คาความดันโลหิตในหลอดเลือด (IBP) คาความดันโลหิต (NIBP)
5. คาอุณหภูมิรางกาย (Temperature) 6. คาอัตราการหายใจ (Respiration)
Rigel Uni-Therm : High Current Electrosurgical Analyzer เคร�องวิเคราะหการทำงาน เคร�องจี้ดวยไฟฟา
เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราะหเครื่องตัดจี้ ดวยไฟฟา สามารถวัดคาพลังงานที่เครื่องตัดจี้ ที่ปลอยออกมา ทั้งในรูปแบบของ CUT, COAG และ CQM ตามมาตรฐาน IEC 60601-2-2 บันทึกขอมูล ในตัวเครื่องได
Rigel 288 : Electrical Safety Analyzer เคร�องทดสอบวิเคราะหความปลอดภัยทางไฟฟา เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟาประสิทธิภาพสูง สามารถรองรับการทดสอบไดหลายมาตรฐาน โดยเฉพาะ มาตรฐาน EN/IEC 62353, NFPA-99 และ EN/IEC 60601-1 ทดสอบ Ground bond โดยใช dual current high intensity
Rigel Multi-Flo : Infusion Pump Analyzer เคร�องวิเคราะหการทำงาน เคร�องใหสารละลายทางหลอดเลือด
เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราะหเครื่องจายสารละลาย ทางหลอดเลือดทั้งที่เปนแบบ Infusion Pump และ Syringe Pumpเครื่องมือเหลานี้จะสามารถสอบเทียบ ไดทั้ง Flow/Volume Test และ Occlusion Test
IMT FlowAnalyzer Set V : Gas Flow Analyzer (PF300) เคร�องวิเคราะหการทำงานของเคร�องชวยหายใจ
เปนเครื่องทดสอบเครื่องชวยหายใจแบบตั้งโตะ สามารถวิเคราะหแกสไดทั้ง อัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณอ็อกซิเจน ที่มีความแมนยำสูง สามารถทดสอบเครื่องมือ ทางการแพทย ไดดังนี้ 1. Ventilators CPAP/Bilevel 2. Ventilators ICU 3. Ventilators Infant 4. Ventilators High Frequency 5. Blood Pressure Analyzer 6. Oxygen Concentrators 7. Vacuum Pumps 8. Spirometers 9. Pipe Gases
IMT FlowAnalyzer Set VA : Anesthesia and Gas Flow Analzer (PF300 with OR-703)
เคร�องวิเคราะหการทำงานของเคร�อง เคร�องรมยาสลบและเคร�องชวยหายใจ เปนเครื่องวิเคราะหเครื่องรมยาสลบ ที่สามารถวิเคราะหแกสรมยาสลบ เชน CO2, N2O, Halothane, Enflurane, Isoflurane, Sevoflurane และ Desfluraneไดและยังวิเคราะห เครื่องชวยหายใจไดทั้ง อัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณอ็อกซิเจน ที่มีความแมนยำสูง สามารถทดสอบเครื่องมือ ทางการแพทยไดดังนี้ 6. Blood Pressure Analyzer 1. Anesthesia Vaporizer 7. Oxygen Concentrators 2. Ventilators CPAP/Bilevel 8. Vacuum Pumps 3. Ventilators ICU 9. Spirometers 4. Ventilators Infant 10. Pipe Gases 5. Ventilators High Frequency
สนใจติดตอ: คุณเฉลิมพร 08-5489-3461, คุณมนัสนันท 08-7714-3630 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar
www.measuretronix.com/ rigel-biomedical
เพ�อ ความปลอดภัย ของผูปฏิบัติงาน SENSIT® P400 Multi Gas Personal Monitor เคร�องตรวจวัดกาซอันตรายแบบพกติดตัว
Technologies
แจงเตือนผูปฏิบัติงานทันทีเม�อปริมาณกาซสูงถึงระดับอันตราย สำหรับการทำงานในพื้นที่เสี่ยงภัย จากกาซติดไฟ, กาซพิษ หรือ การระเบิด รองรับเซ็นเซอรสำหรับ ตรวจวัดกาซได 9 ชนิด คือ • ออกซิเจน (O2) • คารบอนมอนอกไซด (CO) • ไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) • ไฮโดรเจนไซยาไนด (HCN) • ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) • ฟอสฟน (PH3) • ซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) • เอทิลีนออกไซด (ETO ) • และกาซที่ติดไฟได
SENSIT® P100 Single Gas Personal Monitor
ขนาดกระทัดรัด ใชงานงาย วัดและแสดงผลพรอมกัน 5 ชนิด
รุนเล็ก ใชงาย ราคาประหยัด วัดกาซเฉพาะอยาง เลือกได • ออกซิเจน (O2) • คารบอนมอนอกไซด (CO) • ไฮโดรเจนซัลไฟด (H22) • ไฮโดรเจนไซยาไนด (HCN) • ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) • ซัลเฟอรไดออกไซด (SO2)
เคร�องวัดอากาศรุนอ�นๆ..
Vaisala GMW90
Vaisala HM40
วัดกาซคารบอนไดออกไซด, อุณหภูมิ และความชื้น แบบติดผนัง
วัดความชื้นอากาศ และอุณหภูมิ แบบมือถือ จอแสดงผลเปนกราฟ
Fluke 975
วัดไดทั้ง อุณหภูมิ, ความชื้น, ความเร็ว อากาศ, CO2, และ CO สำหรับงาน HVAC
Fluke 985 วัดฝุนละออง ในอากาศ ขนาดมือถือ สำหรับหอง ปลอดฝุน ปลอดเชื้อ
Anemomaster LITE 6006 วัดความเร็วลมแบบ hot wire และ เคร�องวัดอุณหภูมิในตัวเดียวกัน ราคาประหยัด
TABMaster 6710
วัดปริมาณอากาศ supply และ return ของระบบปรับอากาศ
สนใจติดตอ : คณ ุ เนตรนภางค 089-895-4866, คุณวชิ ัย 08-1934-2570, คณ ุ สารกิจ 08-1641-8438 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar
www.measuretronix.com/ iaq-environment
&
February-March 2015, Vol.41 No.239
Activity Cover Story
8
34
18 METREL® รวมเครือ่ งมือตรวจสอบ
ความปลอดภัยทางไฟฟ้า
โดย: บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จำ�กัด
Talk
26 Automatic Parking Innovation นวัตกรรมผ่าทางตัน ปัญหาทีจ่ อดรถ โดย: กองบรรณาธิการ 30 “ดร.กฤษณ์ จงสฤษดิ”์ แชร์ประสบการณ์
อยูอ่ ย่างไรให้รอด ในสังเวียนการแข่งขัน โดย: กองบรรณาธิการ
Inspiration
34 BRIGHT ระบบควบคุมไฟฟ้าอัจฉริยะ โดย: มูลนิธิสยามกัมมาจล
Research
36 ต่อยอดงานวิจยั สูก่ ารผลิตเชิงพาณิชย์ โดย: สาธิต ปิยนลินมาศ
ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Bio & Nano
39 อินซูลนิ จากเซลล์ลำ� ไส้มนุษย์ โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
45 Case Study: Smart City Hall @ Nagahama Japan เรียบเรียงโดย : กองบรรณาธิการ
Management
48 แฟลช: เทคโนโลยีเปลีย่ นโลก โดย: นฐกร พจนสัจ
ธนบุรี (มจธ.)
41 Open Source ERP ส�ำหรับ SMEs (ตอนที่ 1) เรียบเรียงโดย: สนั่น เถาชารี
36
Computer & IT
48
ผู้จัดการประจ�ำประเทศไทย บริษัท อีเอ็มซี อินฟอร์เมชั่น ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
Website: www.teokhunheng.com E-mail: sales@teokhunheng.com
&
February-March 2015, Vol.41 No.239
Production
51 มิตรผล เสริมทัพด้วยกระบวนการ ผลิตแบบ Full Automation เรียบเรียงโดย: กองบรรณาธิการ
53 เทคนิคการวัดความชืน้ (humidity
measurement techniques) ตอนที่ 6
แปลและเรียบเรียงโดย: สุพจน์ ตุงคเศรวงศ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายเครื่องมือมาตรวิทยา และผูจ้ ดั การวิชาการแผนกสอบเทียบเครือ่ งมือวัด บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด
51
Focus
56 การก้าวสูเ่ ศรษฐกิจฐานความรูข้ อง
อาเซียน และบทเรียนจากเกาหลีใต้
โดย: ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
Worldwide
60 “โนเบล” รางวัลทีไ่ ม่ตอ้ งรอนาน อีกต่อไป โดย: ดร. อดิสร เตือนตรานนท์
นักวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญ สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ขั้นสูง ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
Report
Travel
63 ODA ยกไทยเป็น
73 พิพธิ ภัณฑ์เหรียญ (coin museum)
Show & Share Technology 76
“หุน้ ส่วนเพือ่ การพัฒนา” โดย: กองบรรณาธิการ
Knowledge
66 คุณสมบัตกิ ารบริหารทีด่ ขี อง
คนญีป่ นุ่ (ตอนจบ) โดย: พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์ ที่ปรึกษาอิสระและนักวิจัยแห่งชาติ
Visit
70 ติดปีกอาหารฮาลาลไทย
Books Guide 79 Buyer Guide 81
บินไกลสูอ่ าเซียน
โดย: กองบรรณาธิการ
73
63
โดย: หมูดิน
Artwork Sumipol for ForQuality(10-02-58).pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
2/12/2558 BE
10:29
Editor
Message from
&
February - March 2015, Vol.41 No.239
Published by: ยินดีต้อนรับผู้อ่านทุกท่าน เข้าสู่นิตยสาร ใน & รูปแบบออนไลน์ ที่ทุกท่านสามารถอ่านและดาวน์โหลดเนื้อหาบทความจาก นิตยสารได้ทงั้ ฉบับปัจจุบนั และฉบับย้อนหลังโดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ยใด ๆ ได้ทาง www. tpaemagazine.com และ www.tpa.or.th/publisher/journal.php รวมทั้งยังมี TPA Bookshelf อีก 1 ช่องทางที่ท่านสามารถเข้าถึงเนื้อหาของนิตยสารได้ แต่ก่อนใช้ งาน TPA Bookshelf ต้องดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน ทาง App store และ Play Store ก่อนค่ะ ส�ำหรับนิตยสารออนไลน์ ฉบับเปิดศักราชใหม่นี้ จะพาท่านไปเรียนรู้จาก ประสบการณ์ของตัวอย่างผู้ประกอบการไทยที่เขาก�ำลังจะก้าวไปสู่การเป็น ผู้ประกอบการเทคโนโลยี (Technopreneur) ด้านระบบอัตโนมัติ มุมมองแนวคิด ของ 2 ผู้ประกอบการนี้ เป็นสิ่งที่น่าสนใจว่า กว่าจะก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบ เทคโนโลยีแบบคนไทยนั้น จะต้องท�ำอย่างไร แน่นอนสิ่งที่เราสัมผัสได้ถึงปัจจัยที่ ท�ำให้ธรุ กิจเติบโต คือ เรือ่ งการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ (cooperation) และการ มีโนว์ฮาวเป็นของตัวเองเป็นสิ่งส�ำคัญ หลายแห่งเลือกที่จะเริ่มต้นจากการเลียน แบบและพัฒนา (copy and development) ก่อนจะขยับขยายกลายเป็นการวิจัย และพัฒนา (research and development) เพือ่ ให้มโี นว์ฮาวเป็นของตนเอง อย่างไร ก็ตาม การท�ำ C&D ได้ ต้องได้รับการอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์แล้วเท่านั้น นอกจากนี้ในเล่ม ยังอัดแน่นด้วยบทความด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ทีน่ า่ สนใจ ร่วมเปิดมุมมองใหม่ไปกับเราได้ที่ www.tpaemagazine.com, www.tpa. or.th/publisher/journal.php และแอปพลิเคชัน TPA Bookshelf ได้ทุกที่ ทุกเวลา ส�ำหรับฉบับนี้ สวัสดีค่ะ ขอขอบคุณแฟน ๆ นิตยสาร ที่กรุณาตอบแบบสอบถามเข้ามาร่วมสนุก ประจ�ำปี 2557 ทางทีมงานขอมอบของทีร่ ะลึก “เสือ้ แจ็คเกต” ให้กบั 2 ผูโ้ ชคดี ได้แก่ 1. คุณอิศราวดี ทองอินทร์ สมาชิกนิตยสาร Techno & InnoMag 2. คุณวีระชัย ทิพเจริญ สมาชิกนิตยสาร QM Management ทางทีมงานได้ท�ำการจัดส่งของที่ระลึกดังกล่าวไปให้ท่าน ณ ที่อยู่ที่แจ้ง ไว้แล้ว อ่านหรือดาวน์โหลดบทความฉบับปัจจุบันและย้อนหลังได้ที่ www.tpa.or.th/publisher และ www.tpaemagazine.com
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2258-0320-5, 0-2259-9160-9 แฟกซ์: 0-2662-1096, 0-2662-1016 http.//www.tpa.or.th
Advisors:
ศ.ดร. วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์ รศ.ดร. วุฒิชาติ สุนทรสมัย คุณพิมลพร ยุติศรี คุณธัญญา ผลอนันต์ คุณธงชัย กัณฑานนท์
Executive Editor: สมใจ วัฒนบรรเจิด
Editorial Assistant:
รถจณา เถาว์พันธ์ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1710 e-mail: technology@tpa.or.th
Member:
จารุภา ม่วงสวย โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1740 e-mail: maz_member@tpa.or.th
Art Director:
เชิดศักดิ์ ศรีเมือง โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1731 e-mail: chirtsak@tpa.or.th
Production Design:
ประครอง ไชยศรีทา นระ บุญตา โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1732, 1708 e-mail: prakrong@tpa.or.th, nara@tpa.or.th
PR & Advertising Supervisor: ฬียากร ขุพินิจ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th
Advertising:
บุษบา ปั้นงาม โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
Group
Leaping Ahead from Yamatake’s 100 Years Human-centered Automation
SECURE-SEAL™ Packing (Low Emission Packing)
To reduce VOCs leak from Control Valve
จากประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ งกำหนดหลักเกณฑ และวิ ธ ี ก ารปฏิ บ ั ต ิ ใ นการตรวจสอบและควบคุ ม การรั ่ ว ซึ ม ของ สารอินทรียระเหยจากอุปกรณในโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ.2555 ขอ 4 เกี่ยวกับตัววาลว มิใหความเขมขนของสารอินทรียระเหยทั้งหมด เกินเกณฑควบคุมที่ 500 สวนตอลานสวนโดยปริมาตร (ppmv) ใหใชบังคับเมื่อพนกำหนด 2 ป นับแตวันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา
เพ�อไมกอ ใหเกิดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมในชุมชน และสุขภาพของผูค น
azbil ขอนำเสนอ
เทคโนโลยี ใหม
ทีส่ ามารถลดการรัว่ ซึมของ VOC ไดดว ย SECURE SEALTM เทคนิค ใหสามารถรักษาระดับการรัว่ ซึม ใหไมเกิน 100 ppmv ไดจากตัวคอนโทรลวาลว อีกทัง้ ยังลดคาใชจา ยในการบำรุงรักษา (LDAR) ได นอกจากคอนโทรลวาลว ที่ผลิตและนำเขาใหมจากโรงงาน แลว เรายังสามารถนำเทคโนโลยี SECURE SEAL TM ไปใชกับ คอนโทรลวาลวเดิมที่มีใชอยูได ภายใตทีมผูชำนาญงานที่ผานการ ฝกอบรมจากโรงงานผลิตในประเทศญี่ปุน Produce In Japan
Maintenance in Thailand
Azbil (Thailand) Co., Ltd. Rayong Branch : 143/10 Mapya Road. Head office : 209/1 K Tower 19-20th Fl., T.Map Ta Phut, A.Muang, Rayong 21150 Sukhumvit 21 Road (Asoke), Tel : 0-3868-2453 Fax: 0-3868-2454 Klongtoey-Nua, Wattana, Bangkok 10110 Tel : (66) 0-2664-1900 Fax : (66) 0-2664-1911-12
http://th.azbil.com
Amata Branch : Amata Service Center Bld. Unit No. 405, 4th Fl., 700/2 Moo 1 Amata Nakorn Industrial Estate, Bangna-Trad Km.57 Road, T.Klong Tumru, A.Muang, Chonburi 20000 Tel : 0-3845-7076-7 Fax : 0-3845-7078
&
Activity
ฉลองความส�ำเร็จ
&
หัวเจาะอุโมงค์รถไฟฟ้าลอดแม่นำ�้ เจ้าพระยา
เมื่อเร็ว ๆ นี้ พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ให้เกียรติเป็นประธานใน งาน “พิธฉี ลองความส�ำเร็จหัวเจาะอุโมงค์รถไฟฟ้าลอดแม่นำ�้ เจ้าพระยา” โครงการรถไฟฟ้าสายสีนำ�้ เงินส่วนต่อ ขยาย สัญญาที่ 2 ช่วงสนามไชย – ท่าพระ พร้อมด้วย คุณสร้อยทิพย์ ไตรสุทธิ์ ปลัดกระทรวงคมนาคม โดยมี คุณรณชิต แย้มสะอาด รองผู้ว่าการ (บริหาร) รักษาการแทนผู้ว่าการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และคุณปลิว ตรีวิศวเวทย์ ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ช.การช่าง จ�ำกัด (มหาชน) ให้การต้อนรับและร่วมพิธี
“น�ำตลับหมึกกลับคืนมา น�ำผืนป่ากลับสู่ชุมชน”
บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผนึกก�ำลังร่วมกับ บริษัท ออฟฟิศเมท จ�ำกัด (มหาชน) และดีลเลอร์ทั่วประเทศ จัด โครงการ “น�ำตลับหมึกกลับคืนมา น�ำผืนป่ากลับสู่ชุมชน” เชิญชวน ลูกค้าให้นำ� ตลับหมึกที่ผ่านการใช้งานแล้วส่งคืนบริษัทฯ โดยหนึ่งตลับ หมึกทีน่ ำ� คืนสูโ่ ครงการจะเท่ากับต้นไม้หนึง่ ต้น ทีจ่ ะน�ำไปปลูกหลังจาก สิ้นสุดโครงการนี้ ส�ำหรับโครงการ “น�ำตลับหมึกกลับคืนมา น�ำผืนป่ากลับสู่ ชุมชน” ได้ด�ำเนินการตั้งแต่เดือนธันวาคม 2557 – กุมภาพันธ์ 2558 และเมื่อครบก�ำหนดระยะเวลา 3 เดือน ทางฟูจิ ซีร็อกซ์ จะน�ำตลับหมึกที่ได้จากกล่องรับคืนมานับจ�ำนวน เมื่อทราบจ�ำนวนตลับหมึกที่ได้คืนแล้ว จะ ด�ำเนินการปลูกต้นไม้ ณ ศูนย์ศึกษาธรรมกองทัพบก (บางปู) จ. สมุทรปราการ ส่วนตลับหมึกที่ได้จากกล่องรับคืนจะถูกส่งไปยังบริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ อีโค่-แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด โดยจะท�ำการคัดแยกเป็นตลับหมึกที่สภาพยังใช้ งานได้ไปสู่กระบวนการและน�ำมาบรรจุนำ�้ หมึกอีกครั้ง โดยมีการควบคุมการผลิตตามมาตรฐาน ISO 9001 เพื่อน�ำกลับไปจ�ำหน่ายในประเทศญี่ปุ่น เพื่อ เป็นการน�ำตลับหมึกกลับมาใช้ใหม่ (reuse) ส่วนตลับหมึกที่ไม่สามารถน�ำมา Reuse ได้จะน�ำไปแยกชิ้นส่วน จากนั้นจะน�ำชิ้นส่วนที่ได้ไปสู่กระบวนการ รีไซเคิล เพื่อลดปริมาณของเสียในสิ่งแวดล้อมต่อไป
ธุรกิจยานยนต์ยอดนิยมแห่งปี
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ร่วมกับ บริษัท คัสต้อม เอเชีย จ�ำกัด หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ และ บริษัท สื่อสากล จ�ำกัด ท�ำการมอบรางวัล “ธุรกิจยานยนต์ยอดนิยม” ประจ�ำปี 2557 (TAQA-Thailand Automotive Quality Award 2014) ให้กับผู้ประกอบการธุรกิจยานยนต์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการ พัฒนาในอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยอย่างต่อเนือ่ ง และน�ำไปสูก่ ารยกระดับมาตรฐานของประเทศสูม่ าตรฐาน สากล โดยในปี 2557 ที่ผ่านมา บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้รับ 3 รางวัล ได้แก่ รางวัลด้านภาพลักษณ์ดเี ด่นประเภทยีห่ อ้ ทีน่ า่ เชือ่ ถือ ซึง่ ได้รบั รางวัลติดต่อกันถึง 3 ปีซอ้ น นอกจากนี้ ฮอนด้า แจ๊ซ ยังคว้ารางวัลด้านคุณภาพแรกใช้ผลิตภัณฑ์ ประเภทรถยนต์นั่งส่วนบุคคล-ซิตี้คาร์ และฮอนด้า แอคคอร์ด คว้ารางวัลด้านคุณภาพแรกใช้ผลิตภัณฑ์ประเภทรถยนต์นั่งส่วนบุคคลขนาดกลาง ตอกย�ำ้ พันธสัญญาในการมุ่งมั่นสร้างสรรค์ยนตรกรรมล�้ำสมัย เพื่อร่วมสร้างความสุขให้แก่ลูกค้าชาวไทย และเติบโตเคียงข้างสังคมไทย
SIM ฟรี! ส�ำหรับ Tourist
ทรูมูฟ เอช ร่วมกับ ธนาคารไทยพาณิชย์ มอบข้อเสนอสุดพิเศษเอาใจนักท่องเที่ยวเพียงแลก เงินมูลค่า 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ ขึ้นไปที่บูธธนาคารไทยพาณิชย์ รับ “ทัวร์ริส อินเตอร์ ซิม” ซิมทรูมูฟ เอช แบบเติมเงิน ส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ใช้ได้ทันที พร้อมค่าโทร 10 บาท อินเทอร์เน็ต 20 MB และ WiFi 1 ชั่วโมง มูลค่ากว่า 90 บาท ฟรี! ให้นักท่องเที่ยวติดต่อสื่อสารและใช้อินเทอร์เน็ตได้ตลอดการเดินทาง ท่องเที่ยวในประเทศไทย ผ่านเครือข่ายทรูมูฟ เอช 3G และ WiFi กว่า 100,000 จุดทั่วประเทศ เริ่มต้นเปิด ให้บริการที่บูธบริการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ สาขาสนามบินสุวรรณภูมิ และสนามบินดอนเมือง >>>8
February-March 2015, Vol.41 No.239
OMRON SAFETY SENSOR OMRON SAFETY SENSOR SYSDRIVE XX Series Series SYSDRIVE
Selection SelectionBased BasedononFunctions Functions
Versatilein inApplication Application Versatile
Environmentallyfriendly friendlyand and Environmentally easy-to-use Invertersforfor easy-to-use Inverters simple applications. simple applications.
SYSDRIVE SYSDRIVE
TheMX2 MX2isis the the child child of aa true The true leaderininmachine machine automation. automation. leader
SYSDRIVE SYSDRIVE
JXSeries Series MX2 MX2Series Series JX control V/fV/f control NEWNEW
200% starting starting torque 200% (0.5 Hz) Hz) (0.5
Point KeyKeyPoint
function PIDPID function
Torquecontrol control in open loop Torque loop Oneparameter parameter auto-tuning auto-tuning One
Advanced diverse AdvancedInverters Invertersthat thathandle handle diverse applications environapplicationswhile whileremaining remaining environmentally to to use.use. mentallyfriendly friendlyand andeasy easy
SYSDRIVE SYSDRIVE
RX RXSeries Series Vector a PG Vectorcontrol controlwith with a PG NEW NEW
0-Hz 0-Hzdomain domainsensorless sensorless vector vectorcontrol control KeyKey Point Point High Highstarting startingtorque torque (0.3(0.3HzHz 200%) 200%)
PID PIDfunction function :A function or performance availableininprevious previousOMRON OMRON Series Series of the same or performance thatthat waswas notnotavailable same level. level. NEWNEW:A function Key Point Key Point :A
:A new function or performance improvedcompared comparedtotoprevious previous OMRON OMRON Series new function or performance thatthat waswasimproved Series ofof the thesame samelevel. level.
ø∑Ñ≥’fiè§áǴŦŸŸ÷÷ §ž§žflfl‘ćž §flÚ àª¾àª¾ÚÚ÷fi÷fiććø∑Ñ ‘ćžŸŸ∑fløćfi ∑fløćfi´´ćÑćÑé§áÅÍã≤¦ é§áÅÍã≤¦ §flÚ 3627/37 ćøŸ∑ÚŸ∑à¢ć ćøŸ∑ÚŸ∑à¢ć ¶ÚÚà¨øfi ¶ÚÚà¨øfişşøflÉĆøÝ 10120 3627/37 øflÉĆøÝá¢Ç§≥fl§âÃÅž á¢Ç§≥fl§âÃÅžà¢ć≥fl§ÃŸá◊Å÷ à¢ć≥fl§ÃŸá◊Å÷∑øƧ∑øÆàČ˜¤ §àČ˜¤ 10120 TEL:0-2687-2222 0-2687-2222 (Auto Line) TEL: Line) FAX: FAX: 0-2211-8973, 0-2211-8973,0-2211-8983, 0-2211-8983,0-2673-2278 0-2673-2278 www.torterakit.com E-mail: www.torterakit.com E-mail: saletta@torterakit.com saletta@torterakit.com
&
Activity
รางวัลส�ำหรับผู้ประกอบการพลังงานปลูกได้
&
คุณอภิชัย ซอปิติพร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เนชั่นแนล เพาเวอร์ ซัพพลาย จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็นพีเอส ประกาศความส�ำเร็จในฐานะผู้ผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานปลูกได้ ด้วยการรับรางวัลทัง้ ในเวทีระดับอาเซียน และระดับประเทศมาครองถึง 5 รางวัล ส�ำหรับรางวัล ASEAN Energy Awards 2014 คว้ามา 2 รางวัล ได้แก่ โครงการ พลังงานความร้อนร่วมจากพลังงานหมุนเวียนของโรงไฟฟ้าชีวมวล และโครงการผลิตก๊าซ ชีวภาพจากน�้ำเสียจากโรงงานผลิตเอทานอลทดแทนน�้ำมันเตา ในส่วนรางวัลระดับ ประเทศ Thailand Energy Awards 2014 คว้ามา 3 รางวัล ได้แก่ โครงการพลังงานความ ร้อนร่วมจากพลังงานหมุนเวียนของโรงไฟฟ้าชีวมวล โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากน�ำ้ เสีย จากโรงงานผลิตเอทานอล และโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนจากน�ำ้ มันยางไม้ที่ เป็นของเหลือใช้ในการผลิตเยื่อกระดาษ จากรางวัลที่ได้รับเป็นการตอกย�้ำการเป็นผู้น�ำด้านพลังงานทดแทนแถวหน้าของเมืองไทยที่ใช้เชื้อเพลิงปลูกได้ จากเกษตรกรที่ปลูกพืชพลังงาน เป็นการสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร หลังจากนี้เอ็นพีเอสยังคงมุ่งมั่นที่จะพัฒนาธุรกิจไฟฟ้าจากพลังงานปลูกได้ให้มีความก้าวหน้าต่อไป และเติบโตเทียบ เท่าในระดับสากล
Don’t Drive Drunk เมาไม่ขับ
ตามทีส่ ถาบันวิชาการสือ่ สาธารณะ ร่วมกับ มูลนิธเิ มาไม่ขบั และสถานีโทรทัศน์ ไทยพีบีเอส (Thai PBS) จัดโครงการประกวดแอนิเมชัน ในหัวข้อ “Don’t Drive Drunk – เมาไม่ขับ” ชิงทุนการศึกษารวมมูลค่ากว่า 100,000 บาทนั้น เมื่อปลายเดือนธันวาคม 2557 ที่ผ่านมา นักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (MT) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวแทนสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น จ�ำนวน 2 ทีม คว้ารางวัลชนะเลิศ และรองชนะเลิศ อันดับ 1 มาครองได้เป็นผลส�ำเร็จ โดยทีมชนะเลิศ ได้รับเกียรติบัตรและเงินรางวัล 50,000 บาท ได้แก่ ทีม “คนไร้ โชค” นักศึกษาชัน้ ปีที่ 2 และรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1 ได้รบั เกียรติบตั รและเงินรางวัล 30,000 บาท ได้แก่ ทีม “Atomate” นักศึกษาชั้นปีที่ 1
ชื่นชมนักวิจัยไทย สร้างชื่อในต่างแดน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดความส�ำเร็จนักวิจยั ไทยที่ได้สร้างชื่อในต่างแดน ได้แก่ ผศ.ดร.เขียนศักดิ์ แสงเกลีย้ ง จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ได้ รั บ รางวั ล เหรี ย ญทอง เกียรติยศ Special Award จาก TPIA (Taiwan Prominent Inventor Association) และเหรียญเงินจาก Brussels Eureka 2014 ของประเทศเบลเยีย่ ม จากผลงาน Anywhere Retreat ผลงาน Anywhere Retreat โดย ผศ.ดร. เขียนศักดิ์ แสงเกลีย้ ง เป็นผลงานนวัตกรรมทางสถาปัตยกรรมด้านทีอ่ ยูอ่ าศัย ทีม่ แี นวคิดในการลดผลกระทบสิง่ แวดล้อม โดยใช้พลังงานจากธรรมชาติทงั้ หมด (zero energy consumption) ลดการเกิดขยะ ใช้พลังงานและวัสดุหมุนเวียน สามารถติดตัง้ ได้ใน ทุกสภาพพืน้ ที่ สามารถดัดแปลงใช้งานได้อย่างหลากหลาย เช่น ทีพ่ กั ฉุกเฉินส�ำหรับผูป้ ระสบภัย รีสอร์ทเคลือ่ นที่ รีสอร์ทลอยน�ำ้ และบ้านต้นไม้ เป็นต้น >>>10
February-March 2015, Vol.41 No.239
ผลิต ออกแบบ และติดตัง้ เฟอร์ นิเจอร์ /อุปกรณ์ ช่าง
• โต๊ ะซ่ อม โต๊ ะประกอบอุปกรณ์ ประจ�ำห้ องแลป และ ห้ อง MAINTENANCE TOO • ตู้แขวนเครื่ องมือ • ตู้เก็บกล่ องอุปกรณ์ ส�ำหรั บอุตสาหกรรมยานยนต์ L STORAGE SYSTEM • ระบบระบายควันกรด ฝุ่ น และชุดก�ำจัดในโรงงานอุตสาหกรรม เฟอร์ นิเจอร์ งานช่ าง คุณภาพเหนือราคา พร้ อมบริ การหลังการขาย SERVICE BENCH
TOOL MOBILE CABINET
TS-6410
TS-858
ขนาด: 640x460x900 mm.
ขนาด: 640x460x900 mm.
PTH 10565130
PRH 9030180
ขนาด: 1050x650x1300 ม.ม.
ขนาด: 900x300x1800 mm.
ตู้-ชันเก็ ้ บเครื่ องมือช่างแบบเคลื่อนที่มีล้อส�ำหรับ เคลื่อนย้ ายได้ เพื่อสะดวกในการท� ำงานในพืน้ ที่ มีหลายขนาด ที่เหมาะสมกับลักษณะงานทุกชนิด
ST-150
ขนาด: 1500x600x1400mm.
ST-180
ขนาด: 1800x600x1400mm.
TOOL HANGING RACK CABINET
REF-753520 ตู้สูง
ขนาด: 640x460x900 mm.
THC 9045145
THC 903072
ตู้เก็บอุปกรณ์ ส�ำหรับแขวน เครื่ องมื อช่าง, ตู้เก็ บกล่อง อุปกรณ์ ส�ำหรั บชิน้ เล็กที่มี หลายขนาด เหมาะสมกับ ลักษณะงานทุกชนิด โครง สร้ าง ท�ำด้ วย เหล็กแผ่น พ่นสี แข็งแรง
ขนาด: 900x450x1450 mm. ขนาด: 900x300x720 mm.
จัดจ�ำหน่ ายโดย
โต๊ ะปฏิบตั กิ ารช่ างซ่ อม • พื ้นโต๊ ะไม้ ปิดผิวด้ วยฟอร์ ไมก้ า, ไม้ จริง, หรือแผ่นเหล็ก • แผงแขวนอุปกรณ์ 3 ด้ านขนาดสูง 600 mm. • ตู้เหล็กขนาด 600x500x800 mm. พ่นสีพอ็ กซี่ • กล่อ งไฟคู่พ ร้ อมสายดิ น ขนาด 19AMP.220V.1 PHASE แสงสว่าง FLUORESCENCE 18 WATT
OFFICIAL EQUIPMENT MANUFACTURING CO.,LTD.
บริษทั ออฟฟิ เชียล อีควิปเม้ นท์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด
70 หมู่7 ซอยเพชรเกษม 130 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลไร่ ขงิ อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 70 Moo7, Phetkasem Road Soi 130, T.Raikhing, A.Sampran, Nakornpathom 73210 Tel. : 0-2420-5999,0-2420-5021-2 Fax.: 0-2420-4997-8 E-mail :sales@official.co.th www.officail.co.th
ศูนยรวมเคร�องมือวัดและทดสอบจาก Fluke Thermal Imager
Fluke Ti400, Ti300, Ti200 กลอง อิ น ฟาเรดถ า ยภาพความร อ นรุ น ใหม พัฒนาที่ล้ำหนา
NEW
Fluke 1623-2 KIT, 1625-2 KIT เคร�องมือ ทดสอบสายดิน
3 รุน ใหมลา สุดจาก Fluke กลองอินฟราเรดถายภาพ ความรอนทีม่ าพรอมระบบออโตโฟกัสใหม LaserSharpTM ใชแสงเลเซอรวัดระยะตรงไปยังวัตถุทต่ี อ งการวัดแสง ทำการปรับระยะโฟกัสทีร่ ะยะดังกลาวอยางแมนยำ จึงให ภาพความรอนที่คมชัดทุกรายละเอียดมองเห็นและ วิเคราะหปญหาไดชัดเจนกวา
Fluke Ti105 กลองถายภาพความรอน รุนทนทาน ใชงานงาย
NEW
ขนาดเล็ก น้ำหนักเบา มีสมรรถนะตรงตามความตองการ ของผูใช สำหรับงานซอมบำรุงอุตสาหกรรมใชเซ็นเซอร VOx (Vanadium Oxide) ที่มีใชในเคร�องระดับสูง ระบบ IR-Fusion® ซอนภาพความรอนลงบนภาพแสงปกติ ชวยในการชี้จุดและทำความเขาใจปญหาไดงายดาย พรอมไฟฉายชวยสองสวางในที่แสงนอย
NEW
Fluke CNX 3000 Series ชุดเคร�องมือวัดไรสายที่ชวย ใหงานซอมบำรุงงายขึ้น
Fluke 1621-KIT เคร�องทดสอบและวัด ความตานทานกราวดดิน
ดวยการวัดคาทางไฟฟาและอุณหภูมิ ไดพรอมกันถึง 10 จุด
Fluke 37X Series แคลมปมิเตอรตระกูลใหม ที่ตอบสนองความตองการ ไดสูงสุด
ในพื้นที่คับแคบและมีมัดสายไฟที่ยากแกการวัดดวยแคลมปทั่วๆ ไป มีสายไฟ ขนาดโตมาก หรือมีรูปรางที่แคลมป มิเตอรทั่วไปไมสามารถคลองรอบได
ในการตรวจคนปญหาความรอนผิดปกติ กอนสราง
ความเสียหายรายแรงมีนวัตกรรมและฟงคชั่นที่ชวยให การตรวจสอบรังสีความรอนอินฟราเรดทำไเอยางรวด เร็วและมีประสิทธิภาพ ทั้งยังอำนวยความสะดวกในการ ทำเอกสารรายงานปญหาสำหรับติดตามงาน
Power Meter
Fluke 1630 แคลมปมิเตอรสำหรับวัดกราวด หลูปของดิน
Fluke 434, 435 Series II เคร�องวิเคราะหการใชพลังงาน และแกไขคุณภาพไฟฟา 3 เฟส
Fluke 62 Max, Fluke 62 Max+ อินฟราเรดเทอรโมมิเตอรรุนทนทรหด กันน้ำ กันฝุน ทนแรงกระแทก
ขนาดกระทัดรัด แมนยำสูง ใชงานงายเหมาะสำหรับงาน สมบุกสมบัน ใชประจำ ทั้งงานดานไฟฟา งานบริการ งาน HVAC งานกระบวนการผลิต
Fluke 1735 เคร�องวิเคราะห Fluke 566, 568 วัดไดทั้งแบบ และบันทึกคุณภาพไฟฟา 3 เฟส อินฟราเรดและแบบสัมผัส จอแสดงผลด็อตรแมตทริกซ ใชงานงาย ดวยปุม พรอมจอสี เหมาะอยางยิ่งสำหรับงานประหยัดพลังงานไฟฟาและการตรวจวิเคราะหศึกษา เกี่ยวกับโหลด สามารถเซ็ตอัพไดในเวลา อันสั้น มีโพรบวัดที่ยืดหยุน
Portable Oscilloscope
ซอฟตคีย 3 ปุม เขาถึงเมนูการวัดที่ซับซอนไดอยาง งายดาย ปรับคาอีมิสซีฟวิตี้ บันทึกขอมูลแบบดาตาล็อกกิ้ง เปดปดสัญญาณเตือน รูปทรงกระชับมือ แข็งแรง ทนทาน เหมาะกับงานอุตสาหกรรม งาน อิเล็กทรอนิกส และงานเคร�องกล
Installation Tester Fluke 1555/1550C เคร�องทดสอบความตานทานฉนวน ที่มีแรงดันทดสอบสูงถึง 10 kV
Fluke 190-502 ออสซิลโลสโคปพกพา ขนาด 500 MHz 2 แชนเนล
แบนด ว ิ ด ธ ส ู ง ถึ ง 500 MHz ขนาด 2 แชนเนล ทนนทานสูง กันฝุนและกันน้ำระดับ IP 51 มาตรฐาน ความปลอดภัยสูง CAT III 1000 V/CAT IV 600 V เหมาะสำหรับงานซอมบำรุงทางดานอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรม ในสภาพแวดลอมที่รุนแรง สมบุกสมบัน
Fluke 190 Series II ออสซิลโลสโคปแบบพกพาสมรรถนะ สูง สำหรับสภาพแวดลอม สมบุกสมบันโดยเฉพาะ
Fluke 320 Series แคลมปมิเตอรแบบ True-rms
โดยใชวิธีทดสอบแบบไมตองปกแทงโลหะ (Stakeless) ซึ่งเปน เทคนิ ค ที ่ ช ว ยหลี ก เลี ่ ย งอั น ตราย และลดการสู ญ เสี ย เวลา ในการตอสายกราวด หลายๆ เสน รวมถึงเวลาที่ ใชในการหา ตำแหนงปกแทงโหะ ทำใหคุณสามารถทดสอบกราวดไดในทุกที่ หรือในจุดที่ ไมสามารถเขาถึงดินไดโดยตรง
Infrared Thermometer
วิเคราะหปญหาคุณภาพไฟฟาไดละเอียด ยิ่งขึ้น พรอมฟงคชั่นวิเคราะหการใชพลังงาน สามารถแจกแจงการสูญเสียจาก สาเหตุตางๆ และคำนวณตนทุนที่สูญเปลา
NEW
Clamp Meter
สำหรับงานตรวจซอมและแกไขปญหา ระบบกราวดของไฟฟา สามารถวัด ความตานทาน ดินไดโดยไมตองตัด วงจรเพิ ่ ม ความสะดวก และความ ปลอดภัยในการทำงาน
สำหรับงานตรวจวัดคาความตานทานดิน และทดสอบ ความเช�อถือไดของขั้วตอกราวดดิน มีความสามารถ ในการทดสอบ
Fluke Ti125, Ti110 สำหรับงาน อุตสาหกรรม เล็ก เบา ทน ใชงานงาย สะดวกสุดๆ
NEW
Earth Ground Testers
มียานแรงดันทดสอบครบครอบคลุมครบถวนตามขอกำหนดในมาตรฐาน IEEE 43-2000 ดีที่สุดในเคร�องมือ ระดับเดียวกัน พรอมความปลอดภัย CAT IV 600 V
บันทึกผลการวัด และเช�อมตอกับ PC ได
Fluke 1507, 1503 เคร�องทดสอบความเปนฉนวน
มีขนาดกะทัดรัด เช�อถือไดสูงและใชงานงาย มีแรงดัน ทดสอบหลายระดับเหมาะกับงานตรวจซอมแกไขปญหา การตรวจสอบ ความปลอดภัยและงานบำรุงรักษาเชิง เปนออสซิลโลสโคปพกพาขนาด 2 และ 4 แชนเนล ปองกัน มีฟงกชัน เสริมเพ�อใหงานทดสอบตางๆ ทำได ตัวแรกที่มีพิกัดความปลอดภัย CAT III 1000 V รวดเร็ว และประหยัด คาใชจายใหสมรรถนะที่ยอดเยี่ยม /CAT IV 600 V สู ง ที ่ ส ุ ด ที ่ ม ี อ ิ น พุ ต แยก ขาดจากกันทางไฟฟา มีพิกัดความปลอดภัยเพ�องานอุตสาหกรรม เปนสโคปที่ ไมมีใครเทียบ รวมความแข็งแรงทนทานและสะดวกพกพา เขากับสมรรถนะขัน้ สูงของสโคปตัง้ โตะ เหมาะสำหรับงานตรวจซอมตั้งแตระดับไมโครอิเล็กทรอนิกสขึ้นไปจนถึงงาน เพาเวอรอิเล็กทรอนิกส
สำหรับงานหนักในสภาพแวดลอมสมบุกสมบัน ทนทานตอสัญญาณรบกวน เหมาะอยางยิ่ง สำหรับชางเทคนิคในงานตรวจซอมไฟฟาทุก ประเภท
Vibration Meter NEW
Fluke 805 เคร�องวัดความสั่นสะเทือน ขนาดเล็ก
สำหรับงานตรวจสอบคัดกรองความผิดปกติของแบริ่ง สภาพ มอเตอรและเคร�องจักรหมุนตางๆ อยางรวดเร็ว เหมาะสำหรับ ชางเทคนิคทีอ่ ยูห นางานทีต่ อ งการเคร�อง- มือทีเ่ ช�อถือได วัดซ้ำได เพ�อการตัดสินใจวาเคร�องจักรหมุน ยังสามารถทำงานตอไปได หรือจำเปนตองซอมบำรุงแลว
Fluke 810เคร�องทดสอบ ความสั่นสะเทือนที่ ใหคำตอบ เพ�อแกปญหาไดทันที
ชวยควบคุมการหยุดขบวนการผลิตโดย ไมตง้ั ใจ ปองกันการเกิดปญหาซ้ำ จัดลำดับ ความสำคัญงานซอม และจัดการทรัพยากร ดวยแนวทางใหม โดยวิธีทดสอบความ สั่นสะเทือน
Thermometer Fluke 51, 52, 53, 54 Series II ดิจิตอลเทอรโมมิเตอรแบบสัมผัส ขนาดมือถือ
ใหผลตอบสนองในการวัดที่รวดเร็ว โดยมีความ ถู ก ต อ งแม น ยำระดั บ ห อ งทดลองที ่ ส ามารถ พกไปใชงานไดทุกที่ และมีความแข็งแรงทนทาน ตอสภาพแวดลอมตางๆ
Fluke 971 เคร�องวัดอุณหภูมิและความชื้น ภายในเคร�องเดียวกัน
สำหรั บ งานควบคุ ม คุ ณ ภาพอากาศในอาคารโดยเฉพาะ เพ�อการตรวจแกไขปญหา งานบำรุงรักษาคุณภาพอากาศ และงานตรวจรับรองเพ�อใหไดคุณภาพอากาศตามมาตรฐาน ที่ถูกตองในงาน HVACมีขนาดกะทัดรัด เหมาะมือ แข็งแรง ทนทาน ออกแบบมาสำหรับงานภาคสนาม จอแสดงผลสวาง ชัดเจน แสดงผล 2 บรรทัด พรอมกันทั้งอุณหภูมิและความชื้น ไมตองใชชารตในการคำนวณคาอีกตอไป สามารถคำนวณ อุณหภูมิแบบ wet bulb และ dew point ใหไดทันที
Digital Multimeter Fluke 287, 289 ดิจิตอล มัลติมิเตอรพรอมดาตาล็อกเกอร
เป น ดิ จ ิ ต อลมั ล ติ ม ิ เ ตอร แ บบ True-rms ความสามารถระดั บ สู ง สำหรั บ ทุ ก ความ ตองการในงานมืออาชีพโดยเฉพาะ รุน 287 สำหรับงานอิเล็กทรอนิกสรุน 289 สำหรับ งานอุตสาหกรรม
Fluke 175, 177, 179 ดิจิตอลมัลติมิเตอรความทนทานสูง Best Seller
นอกจากคุณสมบัตพิ น้ื ฐานเชนวัด V, A ทัง้ AC และ DC และความตานทานแลว ฟลุค 170 ซีรสี ยังมีฟง กชน่ั พิเศษ เพิ่มเติมอำนวยความสะดวกและรวดเร็วในการทำงาน ของทาน
Fluke 117 ดิจิตอลมัลติมิเตอร สำหรับชางเทคนิคงานบริการดานไฟฟา
True-rms ขนาดกะทัดรัด สำหรับงานซอมไฟฟาทั่วๆไป มีฟง คชน่ั ตรวจวัดแรงดันไฟฟาโดยไมตอ งสัมผัส ชวยให ทำงานไดสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย
มีสินคาอีกมายมากหลายรุน สามารถติดตอสอบถามเพิ่มเติมไดที่ :
บริษัท อุลตรา เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด 2/7 Soi Mooban Settakit 6, Bangka nua, Bangkae, Bangkok 10160 Tel : 0-2444-0844 FAX: 0-2444-1019 e-mail : Sales@ultraengineering.co.th
ªøÍàæČàÃøÒ蟧÷ÒŸÇÑ´’›◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷ČÆ∑≤Úfi´ Non-Contact Temperature
Gas Detection
Raytek MI3 Non-Contact Temperature àÃøÒ蟧ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fiá≥≥ä÷ž’Ñ÷ˆÑ’ ¢Úfl´àÅç∑ ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fi’‚§¶Ö§ 1800 Ÿ§ÿflà∫Åà∫¿‘’ ◊ÑÇÇÑ´ČÚÃÇfl÷ø¦ŸÚ’‚§¶Ö§ 180 Ÿ§ÿflà∫Åà∫¿‘’ øflÃfl¶‚∑ à◊÷flÍ’ífl◊øÑ≥§flÚªøÍàæČ ˆÅfićŸfl◊flø ˆÅfić¢Ú÷, ćøǨ’Ÿ≥≥Ñ’≥fløÝ ãÚ悦 MDB, 悦Ÿ≥, àćflŸfiÚ´Ñê∑≤ÑèÚ, ˆÅfićá∑¦Ç ∑øͨ∑, Gear Box áÅͧflÚªøÍàæČ◊ÅžŸ◊ÅŸ÷âÅ◊Í
NEW
NEW
àÃøÒ蟧ÇÑ´á∑ç’á≥≥˜∑˜fl’›◊øÑ≥˜ÒéÚČ¿èŸÑ≥Ÿfl∑flÿáÅ͘ÒéÚČ¿èŸÑÚćøfl‘ ÷¿ČÑé§á≥≥ Single Gas , Multi Gas (4 Gas) , Multi Gas (6 Gas) Čífl§flÚ§žfl‘´¦Ç‘à˜¿‘§ªÆŁ÷à´¿‘Ç Úéífl◊ÚÑ∑à≥fl, ČÚČflÚ Audible Alarm Automatic pump àćÒŸÚ´¦Ç‘à’¿‘§ áÅÍ∑flø’ÑèÚà∫Úà∫ŸøÝ IP65/67 Č´’Ÿ≥∑ÑÚ∑øÍáČ∑’‚§¶Ö§ 6 ∂Æć
ÿ‚Ú‘ÝøÇ÷àÃøÒ蟧÷ÒŸÇÑ´áÅÍČ´’Ÿ≥¨fl∑ Fluke Ti105 ∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚøÆžÚČÚČflÚ ã≤¦§flÚ§žfl‘ ¢Úfl´àÅç∑ Úéífl◊ÚÑ∑à≥fl ÷¿’÷øø¶ÚÍćø§ ćfl÷ÃÇfl÷ć¦Ÿ§∑flø¢Ÿ§ ˆ‚¦ã≤¦ ’ífl◊øÑ≥§flÚ∫žŸ÷≥ífløƧŸÆć’fl◊∑øø÷
Fluke CNX 3000 Series ≤Æ´àÃøÒ蟧÷ÒŸÇÑ´äø¦’fl‘Č¿è≤žÇ‘ã◊¦§flÚ∫žŸ÷≥ífløƧ§žfl‘ ¢ÖéÚ´¦Ç‘∑fløÇѴÞflČfl§ä∂∂łfláÅÍŸÆÙ◊æ‚÷fiä´¦˜ø¦Ÿ÷∑ÑÚ ¶Ö§ 10 ¨Æ´
Fluke 434, 435 Series II àÃøÒ蟧ÇfiàÃøflÍ◊Ý∑fløã≤¦˜Åѧ§flÚ áÅÍá∑¦ä¢ÃÆÙæfl˜ä∂∂łfl 3 à∂’ ÇfiàÃøflÍ◊ݪ½ş◊flÃÆÙæfl˜ä∂∂łflä´¦ ÅÍàŸ¿‘´‘fi觢ÖéÚ ˜ø¦Ÿ÷∂½§ÃÝ≤ÑèÚ ÇfiàÃøflÍ◊Ý∑fløã≤¦˜Åѧ§flÚ ’fl÷flø¶ á¨∑ᨧ∑flø’‚şà’¿‘¨fl∑’flà◊ćÆćžfl§¥ áÅÍÃíflÚÇÙć¦ÚČÆÚČ¿è’‚şàªÅžfl Fluke 1555/1550C àÃøÒèŸ§Č´’Ÿ≥ÃÇfl÷ć¦flÚČflÚ©ÚÇÚ Č¿è÷¿áø§´ÑÚČ´’Ÿ≥’‚§¶Ö§ 10 kV ÷¿‘žflÚáø§´ÑÚČ´’Ÿ≥Ãø≥ÃøŸ≥ÃÅÆ÷ Ãø≥¶¦ÇÚćfl÷¢¦Ÿ∑ífl◊Ú´ãÚ÷flćø°flÚ IEEE 43-2000 ´¿Č¿è’Æ´ãÚàÃøÒ蟧÷ÒŸ øÍ´Ñ≥à´¿‘Ç∑ÑÚ, ˜ø¦Ÿ÷ÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ CAT IV 600 V ≥ÑÚČÖ∑ˆÅ ∑fløÇÑ´ áÅÍà≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ PC ä´¦
Honeywell H_EC-F2 àÃøÒ蟧ćøǨÇÑ´∑fløøÑèÇä◊Å¢Ÿ§ áŸ÷â÷àÚ¿‘ áÅÍ ’fløČíflÃÇfl÷ à‘çÚ˜ø¦Ÿ÷’ž§’ÑşşflÙàćÒŸÚ à˜ÒèŸÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ãÚâø§§flÚ ŸÆć’fl◊∑øø÷ÇѴÞflä´¦ 100 ppm ◊øÒŸ÷fl∑∑Çžflà∫Úà∫ŸøÝ÷¿Ÿfl‘Æ ∑fløã≤¦§flÚ‘flÇ 3 - 4 ª¸
Honeywell XCD àÃøÒ蟧ćøǨ¨Ñ≥á∑ç’ćfi´ä∂ŸçŸ∑∫fià¨Ú áÅÍá∑ç’˜fiÉá≥≥ćfi´ćÑé§ ã≤¦’ífl◊øÑ≥øÍ≥≥ ÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ãÚâø§§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷, âø§§flÚà∑¿è‘Ç∑Ñ≥ª˚âćøàÃ÷¿,◊¦Ÿ§à‘çÚ, øÍ≥≥≥ífl≥Ñ´Úéíflà’¿‘, â∑´Ñ§à∑ç≥’fløàÃ÷¿, âø§§flÚˆÅfić’fløàÃ÷¿, ◊¦Ÿ§ćfi´ćÑé§ àÃøÒ蟧‘Úć݈Åfić˜Åѧ§flÚ
Raytek Pi20 Thermal Imaging Camera ∑fløªøÑ≥ªøƧã◊÷žČfl§àČÃâÚâÅ‘¿ÃøÑé§ã◊şžČ¿èČíflã◊¦∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ Raytek ∑¦flÇÅéífl∑Çžfl‘¿é◊¦ŸŸÒèÚŸ‘žfl§à◊ÚÒŸ≤ÑéÚ ≤žÇ‘ã◊¦∑flø¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ ’Í´Ç∑§žfl‘´fl‘ áÅÍ’fl÷flø¶ÇfiàÃøflÍ◊Ý¢¦Ÿ÷‚Åä´¦ČÑÚČ¿ãÚćÑÇàŸ§ ∑ŦŸ§¶žfl‘ æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ ÷¿ÃÇfl÷â´´à´žÚ´¦flÚ ÃÇfl÷ČÚČflÚ, ã≤¦§flÚ§žfl‘, ’÷øø¶ÚÍ’‚§ 䴦ાÚ∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ’÷øø¶ÚÍ’‚§ãÚČÆ∑øÍ´Ñ≥ Raytek EMS (EQUIPMENT MONITORING SYSTEM) øÍ≥≥àÃøÒ蟧ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fiá≥≥ä÷ž’Ñ÷ˆÑ’’ífl◊øÑ≥ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fi≥Ñ’≥fløÝ ãÚ悦 MDB, circuit breakers, Gear Box, øÍ≥≥ÃÇ≥ÃÆ÷àćflŸ≥ćžŸ˜žÇ§◊ÑÇÇÑ´ä´¦ - ’‚§¶Ö§ 32 ◊ÑÇÇÑ´ - ÷¿’ÑşşflÙà’¿‘§àćÒŸÚ - ÷¿ software Data Temp Multidrop - øflÃfl¶‚∑ - ćfi´ćÑ駧žfl‘
Honeywell IAQPoint2 Touch screen indoor air quality Monitoring Číflä÷¶Ö§ć¦Ÿ§ã≤¦ IAQ Point2 ćøǨ’Ÿ≥ÞflÃfløÝ≥ŸÚä´ŸçŸ∑ä∫´Ý ãÚŸflÃflø ∑fløà∑fi´Ÿflø÷ÖÚ§§ãÚ¢ÙÍČ¿èČžflÚČífl§flÚ ¨ÍČíflã◊¦Å´ªøÍ’fiČÊfiæfl˜ãÚ∑fløČífl§flÚ ’flà◊ćÆ◊ÅÑ∑ÚÑéÚà∑fi´¨fl∑ªøfi÷flÙÃfløÝ≥ŸÚä´ŸçŸ∑ä∫´Ý ãÚŸfl∑flÿ÷fl∑à∑fiÚäª ∑fløá∑¦ª½ş◊fl’žÇÚã◊şžˆ‚¦´‚áÅŸflÃflø¨ÍàÅÒŸ∑ã≤¦øÍ≥≥øÍ≥fl‘Ÿfl∑flÿá≥≥ćžŸàÚÒ蟧∫Ö觨Íà∑fi´Ãžflã≤¦¨žfl‘¨íflÚÇÚ÷fl∑ áćž’ífl◊øÑ≥ IAQ point2 ÚÑéÚ’fl÷flø¶≤žÇ‘ČžflÚªøÍ◊‘ѴÞflã≤¦¨žfl‘ä´¦Ÿ‘žfl§´¿ â´‘∑fløÇÑ´áŦǒfl÷flø¶Čífl§flÚøžÇ÷∑Ñ≥ øÍ≥≥øÍ≥fl‘Ÿfl∑flÿà÷ÒèŸ÷¿ªøfi÷flÙÃfløÝ≥ŸÚä´Ÿç-Ÿ∑ä∫´Ý÷fl∑à∑fiÚÞflČ¿è∑ífl◊Ú´
ã◊÷žá∑Í∑ÅžŸ§ Fluke 805 àÃøÒèŸ§Č´’Ÿ≥ÃÇfl÷’ÑèÚ’ÍàČÒŸÚ Č¿èã◊¦ÃíflćŸ≥ à˜ÒèŸá∑¦ª½ş◊flä´¦ČÑÚČ¿≤žÇ‘ÃÇ≥ÃÆ÷∑flø◊‘Æ´ ¢≥ÇÚ∑fløˆÅfićâ´‘ä÷žćÑé§ã¨, ªłŸ§∑ÑÚ∑fløà∑fi´ ª½ş◊fl∫éífl, ¨Ñ´Åífl´Ñ≥ÃÇfl÷’íflÃÑş§flÚ∫žŸ÷ áÅͨѴ∑flČøј‘fl∑ø´¦Ç‘áÚÇČfl§ã◊÷ž â´‘ÇfiÊ¿Č´’Ÿ≥ÃÇfl÷’ÑèÚ’ÍàČÒŸÚ
Fluke 1630 áÃÅ÷ªŽ÷fiàćŸøÝ’ífl◊øÑ≥ÇÑ´∑øflÇ´Ý◊Å‚ª¢Ÿ§´fiÚ â´‘ã≤¦ÇfiÊ¿ Č´’Ÿ≥á≥≥ä÷žć¦Ÿ§ª½∑áČž§âÅ◊Í (Stakeless) ∫Öè§àª¾Ú àČÃÚfiÃČ¿è≤žÇ‘◊Å¿∑àſ葧ŸÑÚćøfl‘ áÅÍÅ´∑flø’‚şà’¿‘àÇÅfl ãÚ∑fløćžŸ’fl‘∑øflÇ´Ý ◊Åfl‘¥à’¦Ú øÇ÷¶Ö§àÇÅflČ¿èã≤¦ãÚ∑flø ◊flćíflá◊Úž§ª½∑áČž§â◊Í Číflã◊¦ÃÆÙ’fl÷flø¶Č´’Ÿ≥∑øflÇ´Ý ä´¦ãÚČÆ∑Č¿è ◊øÒŸãÚ¨Æ´Č¿èä÷ž’fl÷flø¶à¢¦fl¶Ö§´fiÚ䴦ⴑćø§
Fluke 62 Max, Fluke 62 Max+ ŸfiÚ∂øflàø´àČŸøÝ â÷÷fiàćŸøÝøÆžÚČÚČø◊´ ∑ÑÚÚéífl ∑ÑÚıÆŁÚ ČÚáø§∑øÍáČ∑ ¢Úfl´ ∑øÍČÑ´øÑ´ á÷žÚ‘ífl’‚§ ã≤¦§flÚ§žfl‘ à◊÷flÍ’ífl◊øÑ≥§flÚãÚ’æfl˜áǴŦŸ÷ ČfløÆÙ ’÷≥Æ∑’÷≥ÑÚ ã≤¦ªøͨífl ČÑ駧flÚ ´¦flÚä∂∂łfl, §flÚ≥øfi∑flø, §flÚ HVAC, §flÚ∑øÍ≥ÇÚ∑fløˆÅfić
Fluke Ti32, Ti29, Ti27 ∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ’ífl◊øÑ≥§flÚ ŸÆć’fl◊∑øø÷ã◊¦æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚÃÆÙæfl˜’‚§ ã≤¦§flÚ´¦Ç‘÷ÒŸà´¿‘ÇŸfiÚàćŸøÝà∂’ã≤¦§žfl‘ ˆžflÚ∑fløČ´’Ÿ≥’Æ´â◊´ Fluke IR-Fusion? Č¿èà◊ÚÒŸ∑ÇžflàªÅ¿è‘ÚàÅÚ’Ý ä´¦
Fluke 37X Series áÃÅ÷ªŽ÷fiàćŸøÝćøÍ∑‚Åã◊÷žČ¿èćŸ≥’ÚŸ§ ÃÇfl÷ć¦Ÿ§∑fløä´¦’‚§’Æ´ ãÚ˜ÒéÚČ¿èÃÑ≥áÃ≥ áÅÍ÷¿÷Ñ´’fl‘ä∂Č¿è‘fl∑á∑ž∑fløÇÑ´´¦Ç‘ áÃŦ÷ªŽČÑèÇ¥äª ÷¿’fl‘ä∂¢Úfl´âć÷fl∑ ◊øÒŸ÷¿ø‚ªøžfl§Č¿èáÃÅ÷ªŽ÷fiàćŸøÝČÑèÇäª ä÷ž’fl÷flø¶ÃŦŸ§øŸ≥ä´¦
Fluke 287, 289 ´fi¨fićŸÅ÷ÑÅćfi÷fiàćŸøݘø¦Ÿ÷´flć¦fl ÅçŸ∑à∑ŸøÝ á≥≥ True-rms ÃÇfl÷ ’fl÷flø¶øÍ´Ñ≥’‚§ ’ífl◊øÑ≥ČÆ∑ ÃÇfl÷ć¦Ÿ§∑fløŸ‘žfl§÷ÒŸŸfl≤¿˜ øÆžÚ 287 ’ífl◊øÑ≥§flÚŸfiàÅç∑ČøŸÚfi∑’Ý øÆžÚ 289 ’ífl◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷
Coating Thickness Gages
Fluke 190 Series II ŸŸ’∫fiÅâÅ’âêá≥≥˜∑˜fl’÷øø¶ÚÍ’‚§àª¾Ú ŸŸ’∫fiÅâÅ’âê˜∑˜fl¢Úfl´ 2 áÅÍ 4 á≤ÚàÚÅ ćÑÇáø∑Č¿è÷¿˜fi∑Ñ´ÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ CAT III 1000V/ CAT IV 600 V ’‚§’Æ´ Č¿è÷¿ŸfiÚ˜Æćá‘∑¢fl´¨fl∑∑ÑÚ Čfl§ä∂∂łflાڒâÃªČ¿èøÇ÷ÃÇfl÷á¢ç§áø§ČÚČflÚ áÅÍ’Í´Ç∑˜∑˜flࢦfl∑Ñ≥’÷øø¶ÚÍ¢ÑéÚ’‚§¢Ÿ§ ’âêćÑé§âćÐÍ à◊÷flÍ’ífl◊øÑ≥§flÚćøǨ∫žŸ÷ćÑé§áćžøÍ´Ñ≥ä÷âÃø ŸfiàÅç∑ČøŸÚfi∑’Ý¢ÖéÚ䪨ڶ֧§flÚà˜flàÇŸøÝŸfiàÅç∑ČøŸÚfi∑’Ý
Ultrasonics Thickness Gages PosiTest DFT,6000 Series,200 Series àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷◊ÚflˆfiÇàÃÅÒŸ≥øÍ´Ñ≥’‚§â´‘ä÷žČíflÅfl‘˜ÒéÚˆfiÇ¢Ÿ§≤fiéÚ§flÚ ’ífl◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷ Č¿èć¦Ÿ§∑fløÃÇfl÷’Í´Ç∑øÇ´àøçÇ áÅÍ ÃÇfl÷Úžflà≤Ò蟶ҟ䴦¢Ÿ§Ãžfl∑fløÇÑ´ ∫Ö角fl÷flø¶ã≤¦ÇÑ´ÃÇfl÷◊Úfl ¢Ÿ§ˆfiÇàÃÅÒŸ≥Č¿èàÃÅÒŸ≥≥Ú≤fiéÚ§flÚ≤fiéÚ§flÚä´¦ČÑé§Č¿èાÚâÅ◊ÍáÅÍŸÍâÅ◊ÍøÇ÷¶Ö§â˜ø≥◊Åfl∑◊Åfl‘ ≤Úfi´à˜ÒèŸÃÇfl÷à◊÷flÍ’÷¢Ÿ§§flÚÇÑ´ÃÇfl÷◊ÚflˆfiÇàÃÅÒŸ≥ãÚáćžÅÍá≥≥ ćÑÇàÃøÒ蟧ŸŸ∑á≥≥ã◊¦ã≤¦ §flÚ§žfl‘’Í´Ç∑ćžŸ∑flø˜∑˜fløÇ÷¶Ö§∫Ÿ∂ČÝáÇøČ¿è’fl÷flø¶´‚Þfl∑fløÇÑ´á≥≥ćžfl§¥
MX Series, PX, PVX àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷◊Úfl≤fiéÚ§flÚøÍ´Ñ≥’‚§ â´‘ä÷žČíflÅfl‘˜ÒéÚˆfiÇ¢Ÿ§≤fiéÚ§flÚ’ífl◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷ Č¿èć¦Ÿ§∑fløÃÇfl÷’Í´Ç∑øÇ´àøçÇáÅÍÃÇfl÷Úžflà≤Ò蟶ҟ䴦¢Ÿ§Ãžfl∑fløÇÑ´ ∫Ö角fl÷flø¶ã≤¦ÇÑ´ÃÇfl÷◊Úfl ¢Ÿ§≤fiéÚ§flÚä´¦◊Åfl∑◊Åfl‘ªøÍàæČ ’‚§’Æ´¶Ö§ 32 ≤Úfi´≤fiéÚ§flÚ (âÅ◊Íćžfl§¥øÇ÷¶Ö§˜Åfl’ćfi∑) ćÑÇàÃøÒ蟧ŸŸ∑á≥≥ã◊¦àª¾ÚŸÍÅ‚÷fiàÚ¿‘÷á¢ç§áø§ČÚČflÚાژfiàÿÉøÇ÷¶Ö§â˜ø≥◊Åfl∑◊Åfl‘≤Úfi´à˜ÒèŸ ÃÇfl÷à◊÷flÍ’÷ ¢Ÿ§§flÚÇÑ´ÃÇfl÷◊ÚflãÚáćžÅÍá≥≥ ∫Öè§ćÑÇàÃøÒ蟧ˆÅfićãÚªøÍàČÿŸà÷øfi∑fl
Laser Distance Meter
Temperature Datalogger
àÃøÒ蟧ÇÑ´øÍ‘ÍČfl§´¦Ç‘á’§àÅà∫ŸøÝ ÇÑ´ä´¦ä∑Ŷ֧ 200 à÷ćø ÃÇfl÷á÷žÚ‘ífl’‚§ ÃÆÙæfl˜à‘¿è‘÷ ¨fl∑ªøÍàČÿ’Çfićà∫ŸøÝáÅÚ´Ý àÃøÒ蟧÷ÒŸÚ¿é÷¿ªøÍâ‘≤ÚÝ÷fl∑’ífl◊øÑ≥§flÚÇÑ´˜ÒéÚČ¿è øÍ‘ÍČfl§ ∑flø◊flÃÇfl÷◊ÚflÇÑć¶Æ ∑fløªøÍ÷flÙ ÃÇfl÷’‚§∑Ǧfl§¢Ÿ§ÇÑć¶Æ ∑flø◊flªøfi÷flćø ∑Ǧfl§ x ‘flÇ x ’‚§ ∑flø◊fløÍ‘ÍáÚÇøfl≥¢¦fl÷ ’fiè§∑¿´¢Çfl§ ∑fløÃíflÚÇÙ˜ÒéÚČ¿è’¿èà◊Å¿è‘÷´¦flÚä÷žàČžfl ∑fløã≤¦§flÚã≤¦ä´¦ČÑé§flÚæfl‘ãÚáÅÍæfl‘ÚŸ∑ ∑fløÃíflÚÇÙ˜ÒéÚČ¿è’¿èà◊Å¿è‘÷Ãfl§◊÷‚áÅÍ÷Æ÷Åfl´àŸ¿‘§ ∑fløà≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ß÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ ’fl÷flø¶ ∑ÑÚÚéífl∑ÑÚıÆŁÚä´¦ à◊÷flÍ∑Ñ≥§flÚ’÷≥Æ∑’÷≥ÑÚ÷¿øŸ§∑ÑÚ∑øÍáČ∑ãÚćÑÇàÃøÒ蟧 ć∑◊ÅžÚãÚøÍ‘Í ÃÇfl÷’‚§ 2 à÷ćøä´¦
SK-L200TH-II àÃøÒ蟧≥ÑÚČÖ∑ŸÆÙ◊æ‚÷fiáÅÍÃÇfl÷≤ÒéÚãÚŸfl∑flÿ ˆÅfićæÑÙØÝÃÆÙæfl˜à‘¿è‘÷ ¨fl∑ªøÍàČÿàČÿş¿èªÆŁÚ ∫Öè§÷¿ÃÇfl÷á÷žÚ‘ífl’‚§ ’fl÷flø¶ŸžflÚÞflŸÆÙ◊æ‚÷fiáÅÍÃÇfl÷≤ÒéÚ¢ÙÍ≥ÑÚČÖ∑ ’fl÷flø¶ªøÑ≥ àČ¿‘≥ä´¦à÷ÒèŸÃžflä÷ž¶‚∑ć¦Ÿ§ćfl÷’ા∑ ˜ø¦Ÿ÷∫ŸøÝ∂áÇøÝ ãÚ∑fløà∑ç≥¢¦Ÿ÷‚Å ∑fløŸžflÚÞflČíflä´¦ČÑé§≥ÑÚČÖ∑ ÞflČfié§äǦ áÅÍ≥ÑÚČÖ∑Þflá≥≥ RealTime≥Úß÷˜fiÇàćŸøÝ ’fl÷flø¶Úífl¢¦Ÿ÷‚ÅČ¿è≥ÑÚČÖ∑áªÅ§àª¾Úä∂ÅÝ Excel ä´¦ ’fl÷flø¶ćÑé§Ãžfl∑fløàćÒŸÚä´¦ČÑé§ Ãžfl’‚§áÅÍÞflćèífl ÷¿ã◊¦àÅÒŸ∑ä´¦ČÑé§à∫Úà∫ŸøÝá≥≥’ÑéÚ áÅÍá≥≥à∫Úà∫ŸøÝ÷¿’fl‘
Instruments Environmental systems HDV640: HD Video Scope with Handset ä´¦øÑ≥∑fløŸŸ∑á≥≥∑fløã≤¦§flÚãÚČfl§ªĆfi≥Ñćfi§flÚ Č¿è’÷≥Æ∑’÷≥ÑÚ ćfl÷’æfl˜áǴŦŸ÷ ä÷žÇžfl¨Íàª¾Ú Č¿è¢øÆ¢øÍ ãÚ’žÇÚČ¿è÷Ò´ àÃøÒ蟧ڿé∑ÑÚÚéíflä´¦ ã◊¦æfl˜ áÅÍÇ¿´¿âŸČ¿èÃ÷≤ÑÚŸÑÚâ´´à´žÚ à˜fiè÷ÃÇfl÷‘flÇ¢Ÿ§ ’fl‘ÇÑ´ä´¦÷fl∑’Æ´¶Ö§ 50 à÷ćø
NEW
SDL300Airflow Meters àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷àøçÇÅ÷ ã≥˜Ñ´Čífl¨fl∑âÅ◊ÍČ¿è÷¿á¢ç§áø§ ČÚČflÚ’‚§ ČÚŸÆÙ◊æ‚÷fiä´¦¶Ö§ 70 C ાÚá≥≥≥ÑÚ÷ČÖ∑Þflä´¦ ãÚćÑÇàÃøÒ蟧à∑ç≥¢¦Ÿ÷‚Åŧ SD Card à≤ÒèŸ÷ćžŸÃŸ÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ àª¾Ú Excel Format ÷¿software ÷flãÚ≤Æ´
HD450: Datalogging Heavy Duty Light Meter àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷ࢦ÷¢Ÿ§á’§’Çžfl§ ÷¿à∫çÚà∫ŸøÝÃÆÙæfl˜´¿ äÇćžŸ∑fløŸžflÚÇѴÞfl á¢ç§áø§ ČÚČflÚ àª¾ÚDatalogger à∑ç≥¢¦Ÿ§÷‚Åŧ SD Card à≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ß÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ àª¾Ú Excel Format ÷¿software ÷flãÚ≤Æ´
HD600: Datalogging Sound Level Meter àÃøÒ蟧ÇÑ´à’¿‘§ ’fl÷flø¶ÇÑ´ä´¦¶Ö§ 130dB á¢ç§áø§ ČÚČflÚ’‚§àª¾Úá≥≥≥ÑÚ÷ČÖ∑Þflä´¦ ãÚćÑÇàÃøÒ蟧à∑ç≥ ¢¦Ÿ÷‚Åŧ SD Card à≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ß÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ àª¾Ú Excel Format ÷¿ software ÷flãÚ≤Æ´
39240: Waterproof Stem Thermometer àÃøÒ蟧ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fiá≥≥à¢ç÷ ÇÑ´ä´¦¶Ö§ 200 C á¢ç§áø§ČÚČflÚ’‚§ øflÃfl¶‚∑ ˆ∑˜fl’Í´Ç∑ RPM10: Combination Laser Tacho+ IR Thermometer ÇÑ´ÃÇfl÷àøçÇøŸ≥áÅÍ≥Ÿ∑ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fi á≥≥ä÷ž’Ñ÷ˆÑ’ãÚàÃøÒ蟧ി‘Ç á¢ç§áø§ ČÚČflÚ’‚§ øflÃfl¶‚∑ ˆ∑˜fl’Í´Ç∑
ÁÕÊÔ¹¤ŒÒÍÕ¡ÁÒÂÁÒ¡ËÅÒÂÃØ‹¹ ÊÒÁÒöµÔ´µ‹ÍÊͺ¶ÒÁà¾ÔèÁàµÔÁä´Œ·Õè :
ºÃÔÉÑ· ÍØŵÌÒàÍ繨Ôà¹ÕÂÃÔè§ ¨íÒ¡Ñ´ 2/7 «ÍÂËÁÙ‹ºŒÒ¹àÈÃÉ°¡Ô¨ 6 á¢Ç§ºÒ§á¤à˹×Í à¢µºÒ§á¤ ¡ÃØ§à·¾Ï 10160
â·Ã. 02 444 0844 á¿š¡« . 02 444 1019 E-mail: sales@ultraengineering.co.th
&
Cover Story
รวมเครื่องมือตรวจสอบ ความปลอดภัยทางไฟฟ้า
สำ�หรับงานติดตั้งระบบไฟฟ้าและระบบกราวด์ ในอาคาร เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องมือช่างไฟฟ้า และเครื่องมือทางการแพทย์ MD 310x Series
Multi Function Electrical Installation Safety Tester มีฟังก์ชันทดสอบครบตามมาตรฐาน EN 61557, IEC/EN 60364, EN 61008, EN 61009, EN 60755 และอื่น ๆ
MI 3123 SMARTEC Earth/Clamp
เครื่องทดสอบหลักดิน (earth resistance) ตาม มาตรฐาน IEC61557-5
MI 3305 OmegaGT Plus
MI 2094 CE MultiTester
เครื่องทดสอบเครื่องใช้ไฟฟ้า เพื่อความปลอดภัย ตามมาตรฐาน IEC60335, IEC60598, IEC60745
เครื่องทดสอบเครื่องจักรกลไฟฟ้าและ เมนสวิตซ์ไฟฟ้าเพื่อความปลอดภัย ตามมาตรฐาน IEC60439-1
สนใจติดต่อ: คุณจิรายุ 083-823-7933, คุณเนตรนภางค์ 089-895-4866,
บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด www.measuretronix.com
www.measuretronix.com/metrel
ระบบไฟฟ้างานด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน ที่จ�ำเป็นส�ำหรับ อาคาร เช่น บ้านเรือน โรงเรียน โรงแรม โรงพยาบาล สถานทีส่ าธารณะ โรงงานอุตสาหกรรม ทีส่ ำ� คัญคือ ระบบ การวางระบบไฟฟ้าทีด่ รี วมทัง้ การเดินสายไฟอย่างประณีตถูกหลัก จะท�ำให้ปลอดภัยแก่ผู้คนและ ผู้อยู่อาศัยไปได้นาน >>>18
February-March 2015, Vol.41 No.239
คุณเฉลิมพร 085-489-3461, คุณมนัสนันท์ 087-714-3630
ปัญหาของความไม่ปลอดภัยของระบบไฟฟ้าในบ้าน และอาคาร
การวางระบบไฟฟ้าในอาคารบ้านเรือนส่วนใหญ่จะเกีย่ วข้อง กับการเดินสายไฟ ไม่ว่าจะเป็นการเดินสายไฟแบบลอยหรือแบบฝัง การวางต�ำแหน่งของดวงโคม สวิตซ์ไฟ ปลัก๊ ไฟ ตลอดจนการเดินสาย ไฟเตรียมไว้ส�ำหรับการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ เช่น เครื่องปรับ อากาศ เครื่องท�ำน�้ำร้อน เครื่องดูดควัน รวมถึงการติดตั้ง อุปกรณ์ ควบคุม เช่น ตู้เบรกเกอร์ (circuit breaker) หรือเครื่องตัดไฟอัตโนมัติ เมื่อเกิดไฟฟ้ารั่วหรือไฟฟ้าลัดวงจร
&
Cover Story การตรวจสอบด้วยการตรวจสภาพการท�ำงาน โดยการ ตรวจดูสภาพของอุปกรณ์ไฟฟ้า ➲ ตรวจสอบด้ ว ยเครื่ อ งมื อ ทดสอบการตรวจสอบจะมี มาตรฐาน เพื่อใช้ในการตัดสินใจว่า สิ่งที่เราทดสอบนั้น อยู่ในสภาพ ที่สามารถใช้งานต่อได้หรือไม่ ในการตรวจสอบมักนิยมใช้เครื่องมือ เฉพาะทางที่มีมาตรฐานรับรอง ➲
การถูกไฟดูด เสี่ยงต่อการเสียชีวิต
ระบบไฟฟ้าอาคารเป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่ง หากการติดตั้งไม่ ถูกต้อง ไม่ได้มาตรฐานจะน�ำอันตรายไปสูผ่ ใู้ ช้ เช่น การถูกไฟดูด เสีย่ ง ต่อการเสียชีวิต การเกิดไฟไหม้ท�ำให้สูญเสียอันเนื่องจากไฟฟ้าตก ไฟฟ้าเกิน เกิดความความเสียหายอันเนื่องมาจากการท�ำงานของ เครือ่ งจักรทีผ่ ดิ ปกติหรืออายุการใช้งานสัน้ ลง ท�ำงานด้วยประสิทธิภาพ ที่ต�่ำลง
การตรวจสอบระบบไฟฟ้าเพื่อความปลอดภัยที่เต้ารับ
1. วัดแรงดันและความถี่ (V) ➲ การตรวจวัดแรงดันไฟฟ้า ค่าแรงดันไฟฟ้าและความถี่ ที่วัดได้จะแสดงความปลอดภัยทางไฟฟ้าที่ถูกต้องหรือผิดปกติ
2. การสลับขั้ว (polarity) ➲ การตรวจวัดแรงดันไฟฟ้า ค่าแรงดันไฟฟ้าและความถี่ ที่วัดได้จะแสดงความปลอดภัยทางไฟฟ้าที่ถูกต้องหรือผิดปกติ
ไฟไหม้เกิดจากการลัดวงจร
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดไฟไหม้
การตรวจสอบระบบไฟฟ้าในอาคารเบื้องต้น
อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในระบบไฟฟ้าเมือ่ ใช้งานไประยะเวลาหนึง่ ย่อม มีการเสือ่ มสภาพ หรือเกิดการช�ำรุดเสียหายขึน้ ได้จากหลาย ๆ สาเหตุ การหมัน่ สังเกตอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในระบบไฟฟ้าอย่างสม�ำ่ เสมอ จะท�ำให้ เราสามารถพบความผิดปกติทกี่ ำ� ลังเกิดขึน้ เพือ่ แก้ไขได้อย่างทันท่วงที เพื่อความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า เราควรมีการตรวจสอบ อุปกรณ์ไฟฟ้าให้มสี ภาพพร้อมใช้งาน โดยเราสามารถใช้หลักการทาง ซ่อมบ�ำรุงมาเป็นหลักปฏิบัติ โดยก�ำหนดหัวข้อ ระยะเวลาในการ ทดสอบ การบันทึกผลและวิเคราะห์ผลการทดสอบ แล้วน�ำมาจัดแผน ซ่อมบ�ำรุง เป็นประวัติในการซ่อมบ�ำรุง โดยมีการตรวจสอบสามารถ แบ่งออกได้เป็นการตรวจสอบด้วยประสาทสัมผัส และตรวจสอบด้วย เครื่องมือตรวจวัดทางไฟฟ้า
3. วัดความต้านทานฉนวน (RISO) เป็นการทดสอบความ ต้านทานฉนวนระหว่างตัวน�ำและฉนวน ➲ เป็นการทดสอบความต้านทานฉนวนระหว่างตัวน�ำและ ฉนวนด้วยแรงดัน 50, 100, 250, 500 และ 1,000 V
February-March 2015, Vol.41 No.239
19 <<<
&
Cover Story 4. วัดความต่อเนื่อง (PE continuity) ➲ เป็นการทดสอบความต่อเนื่องของตัวน�ำสายดิน
5. วัดค่า Line and Loop Impedance (ZI) ➲ เป็นการทดสอบค่าอิมพีแดนซ์ของดินในแบบลูปในการ วัดค่าอิมพีแดนซ์โดยไม่ทำ� ให้ RCD ทริป และค่าทีไ่ ด้เกิดจะแสดงเป็น ค่าความต้านทาน ➲ ตรวจวัดค่ากระแสไฟฟ้าการลัดวงจรและกระแสผิดปกติ (PSC/PF) เป็นการวัดค่าแรงดันและกระแสที่ผิดปกติระหว่างเฟส/ นิวตรอล และเฟส/ดิน
Loop Impedance
Line Impedance
6. Residual Current Operate Device (RCD) ➲ เป็นการทดสอบการทริป และระดับกระแสทริปของ RCD ➲ ทดสอบความไวทาง DC และความหน่วงในการตอบ สนองของ RCD
7. วัดล�ำดับเฟส ➲ ทดสอบล� ำ ดั บ ของเฟสใน ระบบ 3 เฟส ได้อย่างรวดเร็ว >>>20
February-March 2015, Vol.41 No.239
การตรวจสอบแท่งหลักดินเพือ่ ความปลอดภัยทางไฟฟ้า
ระบบสายดินในระบบไฟฟ้าของบ้านพักอาศัย หรือแม้แต่ อาคารอื่น ๆ จะเป็นสายดินที่สมบูรณ์ก็ต่อเมื่อมีการต่อลงพื้นดินด้วย วิธีการและรูปแบบที่ถูกต้องตามมาตรฐานสากล ซึ่งผู้ใช้ไฟฟ้าทั่วไป มักไม่ค่อยให้ความส�ำคัญ เพราะเมื่อติดตั้งเสร็จแล้วจะมองไม่เห็น และสามารถใช้งานได้อยู่ แม้ระบบสายดินจะถูกต่ออย่างไม่ถูกต้อง ก็ตาม แต่เมือ่ มีอบุ ตั เิ หตุผถู้ กู ไฟดูดเกิดขึน้ ก็จะน�ำมาซึง่ โศกนาฏกรรม และความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน การตรวจสอบหรือบ�ำรุงรักษาแท่งหลักดิน หลักดินทีถ่ กู ตอก ลงไปในดินนั้น แม้จะถูกตอกลงไปให้อยู่กับที่ก็ตาม แต่ในระยะยาว การทรุดตัวที่เป็นไปอย่างช้า ๆ ระดับพื้นดินก็จะมีความแตกต่างกัน กับระดับพื้นที่เดิม หากการติดตั้งมีความบกพร่องก็อาจจะท�ำให้สาย ต่อหลักดินขาดออกจากหลักดิน โดยเฉพาะกรณีที่ใช้แคลมป์เป็นตัว ยึดสายเข้ากับหลักดิน
เพือ่ เป็นการสะดวกในการตรวจสอบสภาพหลักดินในอนาคต ส�ำหรับบ้านพักอาศัยหรืออาคารที่มีพื้นที่รอบตัวบ้าน หากเป็นไปได้ ควรท�ำเป็นบ่อพักหรือหลุมทีข่ ดุ ลึกลงไปจากระดับพืน้ ปกติเล็กน้อย ซึง่ มีผนังของหลุมและฝาปิดปากหลุมเป็นคอนกรีต เพื่อใช้เป็นจุดตรวจ สอบและจุดเซอร์วิสในภายหลัง ซึ่งจะสะดวกส�ำหรับการตรวจสอบ ในระยะยาว การใช้เครือ่ งทดสอบและวิธกี ารทดสอบเพือ่ บ�ำรุงรักษาแท่ง หลักดิน เป็นการวัดค่าความต้านทานดินที่ขั้วหลักดินหรือที่ตะแกรง ดินด้วยวิธีการทดสอบแบบ 3 หรือ 4 หลัก และเลือกแรงดันทดสอบ ได้ที่ 50 หรือ 25 V
การทดสอบแท่งหลักดิน แบบ 3 หลัก
&
Cover Story เครื่องทดสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าเพื่อความปลอดภัย (appliance safety) เครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือนและเครื่อง มือช่าง จ�ำเป็นต้องมีความปลอดภัยทางไฟฟ้า ทีพ่ อเพียง ตัง้ แต่โรงงานผูผ้ ลิต จนกระทัง่ ถึงมือ ลูกค้า รวมทัง้ หากเครือ่ งใช้ไฟฟ้าและเครือ่ งมือ เหล่านั้นผ่านการซ่อมบ�ำรุง ก็จะต้องคงสภาพ ความปลอดภัยทางไฟฟ้าในระดับทีก่ ำ� หนดไว้ อีกด้วย
ความไม่ปลอดภัยทางไฟฟ้าคืออะไร?
ความไม่ ป ลอดภั ย ทางไฟฟ้ า คื อ อันตรายอย่างหนึ่งที่เกิดจากความบกพร่อง ทางไฟฟ้า เช่น เกิดกระแสไฟฟ้ารั่วที่บริเวณ เปลือกหุม้ หรือบริเวณทีจ่ บั ต้องได้ หรือมีระดับ แรงดั น ไฟฟ้ า บริ เ วณดั ง กล่ า วสู ง กว่ า ค่ า ที่ ก�ำหนด ซึง่ การเกิดกระแสไฟฟ้ารัว่ หรือแรงดัน ไฟฟ้าสูงเกิด อาจท�ำให้ผู้ที่ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า และเครือ่ งมือช่าง ถูกไฟฟ้าดูด และผลจากการ ถูกไฟฟ้าดูดดังกล่าว อาจท�ำให้เกิดการสูญเสีย ชีวิตได้ จากที่กล่าวข้างต้น เราคงไม่อยากให้ คนในครอบครั ว ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความไม่ ปลอดภัยทางไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าและ เครือ่ งมือช่างต่าง ๆ ทีอ่ ยูร่ อบตัว ท�ำอย่างไรเรา จึงจะป้องกันคนในครอบครัวให้ปลอดภัยจาก เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและเครือ่ งมือช่างทีไ่ ม่ปลอดภัย เหล่านั้นได้ ?
ขั้ น ตอนการออกแบบจนกระทั่ ง เสร็ จ สิ้ น กระบวนการผลิต ซึ่งส่วนสุดท้ายคือ แผนกรับ ประกันคุณภาพ ต้องตรวจสอบความปลอดภัย ครั้งสุดท้ายก่อนส่งถึงมือลูกค้าด้วย
ตัวอย่างการทดสอบความปลอดภัย เครื่องใช้ไฟฟ้าด้วย PAT Tester
การทดสอบ Bond Test 200 mA (RPE) เป็นการตรวจสอบค่าความต้านทานระหว่างขา กราวด์ (earth pin) กับเปลือกนอกของเครื่อง ใช้ไฟฟ้า Class I (เครื่องใช้ฟ้าที่มีปลั๊ก 3 ขา ได้แก่ L, N, GND ได้แก่ แอร์ ตู้เย็น เครื่องซัก ผ้า เตารีด และอื่น ๆ) ซึ่งเปลือกนอกจะเป็น โลหะหรือวัสดุอนื่ ๆ โดยค่าความต้านทานต้อง มีค่าไม่เกิน 0.1Ω
การทดสอบ Insulation Test (RISO) เป็ น การทดสอบคุ ณ สมบั ติ ข องฉนวนที่ อ ยู ่ ระหว่าง ➲ จุดต่อกราวด์ (earth pin) กับ L และ N (Live and Neutral) โดย L และ N นั้น ต่อเข้าด้วยกัน (connected together) ส�ำหรับ เครื่องใช้ไฟฟ้า Class I ➲ ต�ำแหน่งที่โพรบสัมผัสกับ L และ N กับจุดต่อกราวด์ (earth pin) ค่าความต้านทานของฉนวนจะต้องไม่ น้อยกว่า 2MΩ ส�ำหรับ Class I และต้องไม่ น้อยกว่า 7MΩ ส�ำหรับ Class II
รูปการทดสอบ Insulation Class II
การทดสอบ Touch Current (ITC) เป็นการทดสอบกระแสไฟฟ้ารั่ว ผ่านค่าความ ต้านทาน 2 kΩ ระหว่างจุดต่อกราวด์ (earth pin) กับเปลือกหุ้มเครื่องใช้ไฟฟ้า ดังนี้ ➲ จุดต่อกราวด์ (earth pin) กับส่วน ที่เป็นโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้า Class II ➲ จุดต่อกราวด์ (earth pin) กับส่วน ที่เป็นโลหะแต่ไม่ได้ต่อลงกราวด์ของเครื่องใช้ ไฟฟ้า Class I ค่ากระแสไฟฟ้า Touch Current ไม่ ควรเกิน 0.25 mA
รูปการทดสอบ Touch Current Class II
การทดสอบ Load Current เป็นการ ทดสอบความถูกต้องของค่ากระแสไฟฟ้าขณะ ใช้งาน เทียบกับฉลากที่แสดงสเปคของเครื่อง หากค่าที่วัดได้ มากกว่าฉลากที่แสดงจนผิด ปกติ ต้องตรวจสอบและแก้ไข
การตรวจสอบคุณสมบัติทางไฟฟ้า
การตรวจสอบคุณสมบัติทางไฟฟ้า ของเครือ่ งใช้ไฟฟ้าและเครือ่ งมือช่างต่าง ๆ นัน้ จะต้องตรวจสอบมาจากโรงงานผู้ผลิต ตั้งแต่
รูปการทดสอบ Load Current Test รูปการทดสอบ Insulation Class I
การทดสอบ Function Test เป็นการ ทดสอบความถูกต้องของค่าก�ำลังไฟฟ้า ทัง้ แรง February-March 2015, Vol.41 No.239
21 <<<
&
Cover Story ดันและกระแสไฟฟ้าขณะใช้งาน เทียบกับ การทดสอบ Insulation Test (RISO) ฉลากที่แสดงสเปคของเครื่อง หากค่าที่วัดได้ เป็ น การทดสอบคุ ณ สมบั ติ ข องฉนวนที่ อ ยู ่ มากกว่าฉลากที่แสดงจนผิดปกติ ต้องตรวจ ระหว่าง สอบและแก้ไข ➲ จุดต่อกราวด์ (earth pin) กับ L และ N (line and neutral) โดย L และ N นั้น ต่อเข้าด้วยกัน ส�ำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้า Class I ไม่มีภาพในกล่อง ➲ ต�ำแหน่งที่โพรบสัมผัสกับ L และ N กับจุดต่อกราวด์ (earth pin) รูปการทดสอบ Function Test รูปการทดสอบเครื่องป้องกันไฟดูดของสว่านแท่น
เครื่องทดสอบเครื่องจักรไฟฟ้าแบบ ติ ด ตั้ ง กั บ ที่ เพื่ อ ความปลอดภั ย (machine & switchboard safety)
เครื่องใช้ไฟฟ้าแบบติดตั้งกับที่ (stationary) เช่น แอร์ เครื่องท�ำน�ำ้ ร้อนขนาดใหญ่ สว่านแท่น เครื่องอัดลม เครื่องท�ำความเย็น ขนาดใหญ่ สายพานล�ำเลียง เครื่องจักรกล ไฟฟ้าขนาดใหญ่ เครื่องซักผ้าและอบผ้า ตาม โรงแรม โรงพยาบาล ต้องมีผลกระทบหรือ รูปการทดสอบฉนวนของสว่านแท่น อันตรายกับผูใ้ ช้อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ เนือ่ งจาก ติดตัง้ อยูก่ บั ที่ ดังนัน้ การทดสอบความปลอดภัย การทดสอบการทนแรงดันไฟฟ้าสูง (withstanding voltage) เป็นการทดสอบ จะต้องท�ำตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ การทดสอบความต่อเนื่อง (Conti- คุณสมบัตขิ องฉนวนทีอ่ ยูร่ ะหว่างจุดต่อกราวด์ nuity Test 200 mA (RPE)) เป็นการตรวจสอบ (earth pin) กับ L และ N (Line and Neutral) ค่าความต้าน ทานระหว่างขากราวด์ (earth pin) กับเปลือกนอกของเครื่องใช้ไฟฟ้า Class I (เครื่องใช้ฟ้าที่มีปลั๊ก 3 ขา ได้แก่ L, N, GND ได้แก่ แอร์ ตูเ้ ย็น เครือ่ งซักผ้า เตารีด และอืน่ ๆ) ซึ่งเปลือกนอกจะเป็นโลหะหรือวัสดุอื่น ๆ
รูปการทดสอบการทนแรงดันไฟฟ้าสูงของสว่านแท่น
การทดสอบเครือ่ งป้องกันไฟดูด (RCD Test) เป็นการทดสอบเครือ่ งป้องกันไฟดูด หาก มีกระแสไฟฟ้ารั่วไหล หากเกิดความผิดปกติ รูปการทดสอบความต่อเนือ่ งสายกราวด์ของสว่านแท่น จากการท�ำงานของเครื่องจักรกลไฟฟ้า >>>22
February-March 2015, Vol.41 No.239
METREL เครือ่ งตรวจสอบระบบไฟฟ้า และเครือ่ งใช้ไฟฟ้าเพือ่ ความปลอดภัย METREL เป็นผู้ผลิตเครื่องวัดและ ทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้าชั้นน�ำจาก ทวีปยุโรป แพร่หลายทั้งในอังกฤษ เยอรมัน และทั่วโลก บัดนี้เมเชอร์โทรนิกซ์ภูมิใจเสนอ มาตรฐานใหม่ แ ห่ ง เครื่ อ งวั ด ไฟฟ้ า ที่ มี มาตรฐานคุณภาพสูง แม่นย�ำ ทนทาน ใช้งาน ง่าย จากโรงงาน METREL ที่มีมาตรฐาน ISO9001 สู่ลูกค้าชาวไทยที่ต้องการเครื่อง ระดับมืออาชีพคู่กาย ในความคุ้มค่า คุ้มราคา กว่าเดิม METREL รุ่น MI-3105 EurotestXA : Installation Safety Tester with AUTO SEQUENCE
&
Cover Story ทดสอบการติดตั้งระบบไฟฟ้าใน อาคาร โรงงาน เพื่อความปลอดภัย ➲ ทดสอบ Voltage, Line/Loop Impedance, IPSC, RCD, Insulation, Continuity 200mA, Leakage Current, Earth Resistance, Phase Sequence ➲ สามารถโปรแกรมการท�ำงานแบบ AUTO SEQUENCE ➲ บั น ทึ ก ผลการทดสอบลงหน่ ว ย ความจ�ำในตัวเครื่องได้ ➲ เชื่อมต่อกับ Computer ผ่าน PC Software Eurolink Pro ➲
METREL รุ่น MI-3102 BT Eurotest XE
ทดสอบการติดตั้งระบบไฟฟ้าใน อาคาร โรงงาน เพื่อความปลอดภัย ➲ ทดสอบ Voltage, Line/Loop Impedance, IPSC, RCD, Insulation, Continuity 200mA, Leakage Current, Earth Resistance, Phase Sequence ➲ สามารถโปรแกรมการท�ำงานแบบ AUTO SEQUENCE ➲ บั น ทึ ก ผลการทดสอบลงหน่ ว ย ความจ�ำในตัวเครื่องได้ ➲ เชื่อมต่อกับ Computer ผ่าน PC Software Eurolink Pro หรือเชือ่ มต่อกับ PDA ➲
หรือมือถือผ่าน Bluetooth และเชื่อมต่อกับ ➲ เครื่องทดสอบฉนวน ด้วยแรงดัน PDA ผ่าน App EuroLink Android สามารถ ไฟฟ้า 50 – 1000 V ส่งรายงานจากภาคสนามได้รวดเร็ว ทันใจ ➲ ย่ า นความต้ า นทานฉนวนด้ ว ย 30 GΩ METREL รุ่น MI-3109 EurotestPV Lite ➲ ทดสอบความต่ อ เนื่ อ ง (7mA/ 200mA) METREL รุน่ MI-3122 : Z Line-Loop Impedance
ทดสอบการติดตั้งระบบไฟฟ้าใน สถานีไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ระบบพลังงาน แสงอาทิตย์ทตี่ ดิ ตัง้ บนหลังคา และยังสามารถ ทดสอบในอาคาร โรงงาน เพือ่ ความปลอดภัย ได้อีกด้วย ➲ ทดสอบ Uoc (Open Circuit Voltage) and Isc (Short Circuit Current), ทดสอบ I – U curve of PV Module and Strings, ทดสอบ Irradiance and Module Temperature, ค�ำนวณค่า STC ได้ ➲ ทดสอบค่า Voltage, Line/Loop Impedance, IPSC, RCD, Insulation, Continuity 200mA, Leakage Current, Earth Resistance, Phase Sequence ➲ สามารถโปรแกรมการท�ำงานแบบ AUTO SEQUENCE ➲ บั น ทึ ก ผลการทดสอบลงหน่ ว ย ความจ�ำในตัวเครื่องได้ ➲ เชื่อมต่อกับ Computer ผ่าน PC Software Eurolink Pro หรือเชื่อมต่อกับ PDA หรือมือถือผ่าน Bluetooth และเชื่อมต่อกับ PDA ผ่าน App EuroLink Android สามารถ ส่งรายงานจาก ภาคสนามได้รวดเร็ว ทันใจ ➲
➲
pedance
เครื่องทดสอบ Line-Loop Im-
เครื่องทดสอบ RCD Test and Phase Sequence ➲
METREL รุ่น MI-3123 : Earth Ground Tester
ทดสอบแท่งหลักดินแบบ 3 จุด ตามมาตรฐาน IEC61557 ได้ ➲ ค�ำนวณหาค่าความต้านทานดิน จ�ำเพาะ (earth specific) แบบอัตโนมัติด้วย การวัดแบบ 4 Pole METREL รุ่น MI-3121 : ➲ วั ด แยกเฉพาะแท่ ง กราวด์ ร อด Insulation/Continuity แบบไม่ต้องปลดสายด้วยวิธีการ Selective ➲ วัดความต้านทาน Loop Resistance หรือระบบ Mesh Ground ด้วยวิธีการ แบบ 2 Clamps ➲
February-March 2015, Vol.41 No.239
23 <<<
&
Cover Story METREL รุ่น MI-2126 : Earth Ground Tester
ทดสอบแท่งหลักดินแบบ 3 หรือ 4 จุดตามมาตรฐาน IEC61557 ได้ ➲
METREL รุ่น MI-3252 : MicroOhm 100A
METREL รุ่น MI-3242 : MicroOhm 2A
เครื่องทดสอบฉนวนที่ใช้กับงาน แรงดันสูง เช่นค่า PI, DAR, DD, Step Voltage ➲ ฟังก์ชน ั การทดสอบครอบคลุมการ ท�ำงานในเครื่องเดียว ➲ ทดสอบค่ า ฉนวนด้ ว ยแรงดั น ไฟฟ้า DC – 10 kV ➲ ย่ า นความต้ า นทานฉนวนด้ ว ย 10 TΩ ➲
เครื่องทดสอบความต่อเนื่องหรือ ความต้านทานที่ใช้กับงานแรงดันต�่ำ METREL รุ่น MI-3201 TeraOhm 5 kV Plus ➲ ฟังก์ชน ั การทดสอบครอบคลุมการ ท�ำงานในเครื่องเดียว ➲ ตรวจวั ด ค่ า ความต้ า นทานด้ ว ย กระแสย่าน 2 A ➲
METREL รุ่น MI-3210 TeraOhmXA 10 kV เครื่องทดสอบฉนวนที่ใช้กับงาน แรงดันสูง เช่น ค่า PI, DAR, DD, Step Voltage ➲ ฟั ง ก์ ชั น การทดสอบครอบคลุ ม การท�ำงานในเครื่องเดียว ➲ ทดสอบค่ า ฉนวนด้ ว ยแรงดั น ไฟฟ้า DC – 5 kV ➲ ย่ า นความต้ า นทานฉนวนด้ ว ย 10 TΩ ➲
เป็นเครื่องทดสอบความต่อเนื่อง ในงานซ่อมบ�ำรุงระบบไฟฟ้าแรงสูงเพื่อความ ปลอดภัย ➲ ฟังก์ชน ั การทดสอบครอบคลุมการ ท�ำงานในเครื่องเดียว ➲ ตรวจวั ด ค่ า ความต้ า นทานด้ ว ย กระแสย่าน 100 mA – 100 A ➲
METREL รุ่น MI-3250 : MicroOhm 10 A
เป็นเครื่องทดสอบความต้านทาน ในงานซ่อมบ�ำรุงระบบไฟฟ้าแรงสูงเพื่อความ ปลอดภัย ➲ ฟังก์ชน ั การทดสอบครอบคลุมการ ท�ำงานในเครื่องเดียว ➲ ตรวจวั ด ค่ า ความต้ า นทานด้ ว ย กระแสย่าน 100mA – 10 A ➲
>>>24
February-March 2015, Vol.41 No.239
เครื่องทดสอบฉนวนที่ใช้กับงาน แรงดันสูง เช่นค่า PI, DAR, DD, Step Voltage METREL รุ่น MI-2077 TeraOhm 5 kV ➲ ฟังก์ชน ั การทดสอบครอบคลุมการ ท�ำงานในเครื่องเดียว ➲ ทดสอบค่ า ฉนวนด้ ว ยแรงดั น ไฟฟ้า DC – 10 kV ➲ ย่ า นความต้ า นทานฉนวนด้ ว ย 20 TΩ ➲ เครื่องทดสอบฉนวนที่ใช้กับงาน METREL รุ่น MI-3200 TeraOhm 10 kV แรงดันสูง เช่นค่า PI, DAR, DD, Step Voltage ➲ ฟั ง ก์ ชั น การทดสอบครอบคลุ ม การท�ำงานในเครื่องเดียว ➲ ทดสอบค่ า ฉนวนด้ ว ยแรงดั น ไฟฟ้า DC – 5 kV ➲ ย่ า นความต้ า นทานฉนวนด้ ว ย 5 TΩ ➲
&
Cover Story METREL รุ่น MI-3202 GegaOhm 5 kV
METREL รุ่น MI-3305 OmegaGT Plus
เชื่อมต่อกับ PDA หรือมือถือผ่าน Bluetooth และเชื่อมต่อกับ PDA ผ่าน App PAT Android สามารถส่งรายงานจากภาค สนามได้รวดเร็ว ทันใจ ➲
METREL รุ่น MI-2094 CE Multi Tester เครื่องทดสอบฉนวน ด้วยแรงดัน ไฟฟ้า DC – 5 kV ➲ เป็นเครือ ่ งทดสอบความปลอดภัย ➲ ย่ า นความต้ า นทานฉนวนด้ ว ย ของเครื่องใช้ไฟฟ้า แบบตั้งโต๊ะ 1 TΩ ➲ ฟังก์ชน ั การทดสอบครอบคลุมการ ท�ำงานในเครื่องเดียว METREL รุ่น MI-3121H SmartTEC 2.5 kV ➲ ทดสอบ Continuity 200mA/ ➲ เป็นเครือ ่ งทดสอบความปลอดภัย Insulation/Continuity 10A/25A, Insulation 250Vdc/500Vdc ของเครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีต่ ดิ ตัง้ ถาวรและตูค้ วบคุม ➲ ทดสอบ SubStitute, Differential ➲ ฟังก์ชน ั การทดสอบครอบคลุมการ and Touch Leakage Current ท�ำงานในเครือ่ งเดียว ➲ ทดสอบ Flash and PRCD Test ➲ ทดสอบ Withstanding test, In➲ ทดสอบ IEC Lead and Function sulation 250Vdc/500Vdc/1000Vdc Test ➲ ทดสอบ Continuity 200mA/ 10A/25A, ➲ เครื่องทดสอบฉนวน เช่น ค่า PI, METREL รุ่น MI-3309 BT DeltaGT ➲ ทดสอบ SubStitute, Differential DAR ด้วยแรงดันไฟฟ้า DC – 2.5 kV and Touch Leakage Current ➲ ย่ า นความต้ า นทานฉนวนด้ ว ย ➲ ทดสอบ Line/Loop Impedance 1 T? Test ➲ ทดสอบความต่ อ เนื่ อ ง (200mA) ➲ ทดสอบ RCD, PRCD, Disในงานซ่อมบ�ำรุงเพื่อความปลอดภัย charge Time Test ➲ ทดสอบ IEC Lead and Function METREL รุ่น MI-3295 Step Contact Voltage ➲ เป็นเครือ ่ งทดสอบความปลอดภัย Test ของเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบมือถือ ด้วยมาตรฐานการบริการทั้งก่อนการ ➲ ฟังก์ชน ั การทดสอบครอบคลุมการ ขาย เช่น การให้ค�ำปรึกษาในการเลือกรุ่นของ ท�ำงานในเครื่องเดียว เครื่องวัดให้ตรงกับความต้องการใช้งานโดย ➲ ทดสอบ Continuity 200mA, In- วิศวกรมืออาชีพผู้ทรงคุณวุฒิ และหลังการ sulation 250Vdc/500Vdc ขายทั้งการซ่อมบ�ำรุงที่ครบวงจร รวดเร็ว รวม ➲ ทดสอบ SubStitute, Differential ถึ ง การสอบเที ย บเพื่ อ ให้ ค วามแม่ น ย� ำ ตาม and Touch Leakage Current สเปคโดย LAB ISO17025 ของเราเอง ท่านจึง ➲ เป็นเครื่องทดสอบความต้านของ ➲ ทดสอบ PRCD, IEC Lead and อุน ่ ใจได้ตลอดอายุการใช้งานเครือ่ งวัดส�ำหรับ ระบบกราวด์ในงานซ่อมบ�ำรุงระบบไฟฟ้าเพื่อ Function Test มืออาชีพจากเมเชอร์โทรนิกซ์ ความปลอดภัย ➲ ฟั ง ก์ ชั น การทดสอบครอบคลุ ม สนใจติดต่อ: บริษทั เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด 2425/2 ถนนลาดพร้าว ระหว่างซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ์ 0-2514-0001, 0-2514-0003 ความปลอดภัยตามมาตรฐาน RAT 2008, HD Internet: http://www.measuretronix.com e-mail: info@measuretronix.com 673 N4, ANSI/IEEE std 81, EN61557-5 ➲
February-March 2015, Vol.41 No.239
25 <<<
&
Talk
&
Automatic Parking Innovation
นวัตกรรมผ่าทางตัน ปัญหาทีจ่ อดรถ กองบรรณาธิการ
ใน
ประเทศที่ก�ำลังพัฒนาอย่างประเทศไทย การเดินทางด้วยรถยนต์ส่วนบุคคลถือเป็นทางเลือกอันดับต้น ๆ ที่คนเมืองนิยมเลือกใช้ เพราะสะดวก สบาย แม้บาง ครั้งจะไม่รวดเร็วทันใจเท่าใดนัก เนื่องจากปัญหาจราจรที่ติดขัด ขณะที่การขนส่งมวลชนยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควรจะเป็น เหล่านี้ส่งผลให้การจราจร ติดขัด ซึ่งไม่ใช่เฉพาะในกรุงเทพฯ เท่านั้นที่ประสบปัญหานี้ เมืองใหญ่ ๆ ทั่วโลกก็ล้วนอยู่ในสภาวะที่ไม่แตกต่างกัน เพราะนอกจากการจราจรที่ติดขัดแล้ว ปัญหาที่ ตามมาคือ ที่จอดรถมีไม่เพียงพอ ส�ำหรับรองรับจ�ำนวนรถยนต์ที่เพิ่มขึ้นทุกปี
ส�ำ
หรั บ ประเทศไทย แม้ ว ่ า วั น นี้ จ ะ ประสบปัญหานั้นอยู่บ้าง แต่ก็เป็น เฉพาะในเมืองใหญ่อย่างในกรุงเทพฯ แต่ก็ ยังไม่ถึงขั้นที่เรียกได้ว่าวิกฤต อย่างไรก็ตาม การเตรี ย มพร้ อ มส� ำ หรั บ รั บ มื อ ปั ญ หาใน อนาคตจึงเป็นสิง่ ทีผ่ บู้ ริหารระดับสูงของเมือง และรวมถึงผู้ประกอบการอาคารสูงในเมือง ใหญ่ต้องตระหนักและหาวิธีรับมือ ระบบทีจ่ อดรถอัตโนมัติ (automatic parking system) นั บ เป็ น ทางออกของ ปัญหาที่เกิดขึ้นในหลายเมืองทั่วโลกที่เคย ประสบปัญหาความแออัดของจ�ำนวนประชากรรถยนต์มาแล้ว และก�ำลังจะเป็นปัญหา ของประเทศทีก่ ำ� ลังพัฒนาอย่างประเทศไทย บริษัท เอ็มพีเม็ก จ�ำกัด บริษัทผู้น�ำ เข้าและให้บริการระบบที่จอดรถอัตโนมัติ >>>26
February-March 2015, Vol.41 No.239
▲
คิด...เพื่อแก้ปัญหาอนาคต
รายต้น ๆ ในประเทศไทย เป็นบริษัทที่มี วิสัยทัศน์ไกล มองเห็นปัญหาที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต บริ ษั ท แห่ ง นี้ เ ริ่ ม ต้ น จากการเป็ น ผูน้ ำ� เข้าระบบทีจ่ อดรถอัตโนมัตทิ งั้ ระบบเข้า มาติดตั้งและใช้งาน แต่ปัจจุบันนี้ บริษัท สามารถที่จะพัฒนาระบบที่จอดรถอัตโนมัติ ฝี มื อ คนไทยได้ เ องบางส่ ว นแล้ ว เพื่ อ ลด ต้นทุน และสร้างผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีขึ้นใช้ เองภายในประเทศ พลเรื อ เอกไพบู ล ย์ ช้ อ ยเพ็ ง ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอ็มพีเม็ก จ� ำ กั ด ให้ สั ม ภาษณ์ พิ เ ศษกั บ นิ ต ยสาร ถึงที่มาที่ไปในการ & น�ำระบบดังกล่าวเข้ามาในประเทศไทยว่า เมื่อประมาณ 7-8 ปีที่ผ่านมา บริษัทประสบ พลเรือเอกไพบูลย์ ช้อยเพ็ง ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอ็มพีเม็ก จ�ำกัด
&
ปัญหาด้านการออกแบบอาคารสูงบนพื้นที่ จ�ำกัดใจกลางเมือง ขณะเดียวกันกฎหมาย ก็ได้มีการก�ำหนดให้อาคารแต่ละแห่งต้องมี พื้นที่ส�ำหรับรองรับที่จอดรถที่เหมาะสมกับ จ�ำนวนผูอ้ ยูอ่ าศัย ดังนัน้ เจ้าของอาคารก็ตอ้ ง มองหาวิธที จี่ ะท�ำอย่างไร จึงจะท�ำให้จอดรถ ได้ในจ�ำนวนมากขึ้นในพื้นที่ที่จ�ำกัด เอ็มพีเม็กเราได้เริ่มท�ำการศึกษาระบบที่จอดรถ อัตโนมัติตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ซึ่งในตอน นั้นระบบนี้ยังไม่เป็นที่รู้จักแพร่หลาย และมี เพียงบริษัทไม่กี่แห่งในโลกที่เป็นผู้ผลิต ซึ่งก็ เป็นการยากมากที่เราจะหาข้อมูล และสาว ไปจนเจอคนที่ท�ำจริงๆ แต่ ณ วันนี้ ด้วย ปัญหาที่เกิดขึ้น คือ พื้นที่จ�ำกัด ที่จอดรถ ขาดแคลน น�ำมาสูค่ วามต้องการ (demand) ที่มากขึ้น ท�ำให้มีผู้สนใจผลิตระบบที่จอดรถ อัตโนมัติ (supply) มากขึ้นด้วย แม้เอ็มพีเม็กจะเป็นบริษทั ทีม่ องเห็น โอกาสทางธุรกิจเป็นรายต้น ๆ แต่ก็ไม่ใช่ รายแรก เนื่องจากก่อนหน้านีม้ ีบริษัทเอกชน หลายรายที่พยายามน�ำระบบนี้เข้ามาท�ำ ตลาด แต่ ด ้ ว ยเวลานั้ น ยั ง ไม่ ใ ช่ จั ง หวะที่ เหมาะสม จึงไม่ประสบความส�ำเร็จเท่าทีค่ วร แต่อย่างไรก็ตาม ก็นบั เป็นข้อดีทที่ ำ� ให้ลกู ค้า ได้รับรู้ว่ามีเทคโนโลยีเหล่านี้อยู่ แต่ยังไม่ ตั ด สิ น ใจ แต่ นั บ จากนี้ เ ป็ น ต้ น ไปคาดว่ า แนวโน้มจะมีผู้ใช้เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
“เมืองไทย โดยเฉพาะตามหัวเมือง ใหญ่ อย่างกรุงเทพฯ เชียงใหม่ หาดใหญ่ ขอนแก่น หรือเมืองท่องเที่ยวอย่างภูเก็ต เรา เริม่ มองเห็นโอกาสมากขึน้ เรือ่ ย ๆ เพราะเป็น เมืองที่มีพื้นที่จ�ำกัด และมีสิ่งปลูกสร้างที่ เป็นอาคารสูงเกิดขึ้น เพราะฉะนั้นสิ่งเหล่านี้ เป็นปัจจัยที่ท�ำให้เจ้าของอาคารที่พักอาศัย อาคารชุด คอนโดมิเนียม หรืออาคารส�ำนักงานให้เช่าต้องหันกลับมาดูเทคโนโลยีตัวนี้ มากขึ้นว่า จะสามารถน�ำระบบอัตโนมัติเข้า มาช่วยเสริมได้อย่างไร เพื่อลดข้อจ�ำกัดใน เรือ่ งพืน้ ที่ และรวมถึงอาคารทีม่ รี ะบบจอดรถ แบบเดิ ม ที่ เ รี ย กว่ า Conventional Car Parking คือ แบบวนหาทีจ่ อดรถ ซึง่ เสียเวลา และเกิดมลพิษ (pollution) สูง ก็มีความ ต้ อ งการที่ จ ะเปลี่ ย นเป็ น ระบบที่ จ อดรถ อัตโนมัตทิ สี่ ามารถจอดรถเพิม่ ขึน้ ได้กว่า 100 เปอร์เซ็นต์ กล่าวคือ ทีจ่ อดรถแบบ Conven-
Talk
tional จอดรถได้ 50 คัน หากเปลี่ยนเป็น ระบบอัตโนมัตจิ ะสามารถจอดเฉลีย่ ได้สงู ถึง 100 คัน ในพื้นที่ที่เท่ากัน อย่างไรก็ตามขึ้น อยู่กับแบบและระบบจอดรถที่เลือกน�ำมา ใช้” พลเรือเอกไพบูลย์ กล่าว
จาก C&D สู่ R&D เพื่อให้มี นวัตกรรมเป็นของตัวเอง
ส� ำ หรั บ ระบบจอดรถอั ต โนมั ติ มี หลายรูปแบบ เพื่อให้สอดรับกับพื้นที่ และ จ�ำนวนรถยนต์ รวมถึงบางระบบยังสามารถ เพิม่ จ�ำนวนชัน้ จอดได้อกี ด้วย ทัง้ นีเ้ อ็มพีเม็ก มี น วั ต กรรมระบบที่ จ อดรถอั ต โนมั ติ แ บบ Rotary และแบบ TD/TOR Parking หลาก หลายรูปแบบและการดีไซน์ที่เหมาะสม “เราท� ำ งานร่ ว มกั บ บริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต และพัฒนาระบบที่จอดรถอัตโนมัติสัญชาติ เกาหลีใต้ โดย เอ็มพีเม็ก เป็นบริษัทตัวแทน
February-March 2015, Vol.41 No.239
27 <<<
Talk
& ทีมวิศกรไทยสามารถพัฒนาเองได้แล้ว และ เราก็จะสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เอง อย่างไรก็ตาม ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ต้องท�ำงานสอด ประสานกัน ลิน้ ตัวนีก้ จ็ ะเป็นฮาร์ดแวร์ ทีต่ อ้ ง ใช้ซอฟแวร์ในการสัง่ การให้ลนิ้ ท�ำงาน ซึง่ เรา เองก็พยายามที่จะท�ำทั้งฝั่งฮาร์ดแวร์ และ เขียนโปรแกรมของเราเองด้วย” ปัจจุบนั เอ็มพีเม็ก ก�ำลังก้าวจากการ ท�ำ C&D ไปสู่การท�ำ R&D (Research and Development) โดยมุ่งเน้นเรื่องการต่อยอด สิ่ ง ที่ มี อ ยู ่ เ ดิ ม ให้ ดี ขึ้ น เรื่ อ ย ๆ รวมถึ ง การ พัฒนาระบบที่จอดรถรูปแบบใหม่ ๆ ส�ำหรับ อนาคต ขณะเดียวกันก็ยังท�ำงานเป็น Partnership ร่วมกับบริษัทเกาหลีใต้อยู่
ประโยชน์หลายสถานของระบบ จอดรถอัตโนมัติ
จ�ำหน่ายเพียงรายเดียวของ “SIMMATEC” และเราก็ได้รบั ดิวพิเศษในเรือ่ งการถ่ายทอด เทคโนโลยีให้กับเราด้วย โดยในโปรเจ็กต์ แรก ๆ ทางบริษัทเจ้าของเทคโนโลยีจะเป็น ผู ้ อ อกแบบให้ แ ละเราน� ำ มาติ ด ตั้ ง ให้ กั บ ลูกค้าในประเทศไทย ภายใต้การควบคุม ดูแลอย่างใกล้ชดิ จากทีมวิศวกรชาวเกาหลีใต้ ที่ท�ำงานร่วมกันกับทีมโปรแกรมเมอร์ที่ ดูแลเรื่องซอฟต์แวร์ด้วย ภายหลังจากโปรเจ็กต์แรกส�ำเร็จ ด้วยดี โปรเจ็กต์ทสี่ องทางเกาหลีใต้ก็ เป็นผูอ้ อกแบบให้เช่นเดิม ขณะทีท่ มี วิศวกรของเราก็เริ่มเรียนรู้งานทั้งทาง ด้านเครื่องกล ไฟฟ้า และซอฟต์แวร์ เพราะ ฉะนั้นทุก ๆ โปรเจ็กต์ที่เราท�ำ เราจะรู้ทุกอณู ของเครื่องจักร และระบบ ขณะเดียวกันเรา พัฒนาตัว Robotic Trolley ควบคูก่ นั ไปด้วย ภายใต้ค�ำแนะน�ำของวิศวกรชาวเกาหลีใต้ >>>28
February-March 2015, Vol.41 No.239
ปัจจุบันสามารถพัฒนาตัว Robotic Trolley ได้แล้ว โดยใช้วิธี C&D (Copy and Development) โดยได้รับการอนุญาตจากบริษัท เจ้าของเทคโนโลยี Robotic Trolley เป็นลิ้นส�ำหรับพา รถไปเก็บยังที่จอด และเป็นลิ้นที่จะน�ำรถที่ จอดในทีจ่ อดมาคืนให้กบั เจ้าของ ขณะนีท้ าง
“ปัจจุบันต้องยอมรับว่า ระบบจอด รถอัตโนมัติ เป็นการประยุกต์ใช้งานระบบ ออโตเมชั่ น ส� ำ หรั บ งานด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ที่ มอบความสะดวกสบายให้กบั ผูม้ าใช้บริการ เพราะเมือ่ ขับเข้ามาถึงประตูทางเข้า เราก็จะ มีจอมอนิเตอร์ที่แสดงข้อมูลให้ทราบว่า มี ว่างกีท่ ี่ เจ้าของรถสามารถจอดรถในจุดจอด ดับเครื่อง ลงจากรถ และแตะบัตรตรงช่อง แตะบัตร หลังจากนั้น ระบบก็จะล�ำเลียงรถ ไปจอดยังช่องจอดรถทีว่ า่ งอยู่ โดยทีร่ ถจะไม่ โดนแดด โดนฝน และของในรถไม่ ห าย เพราะคนไม่สามารถเข้าไปในระบบนั้นได้
& ความเสียหายของรถก็ไม่มี และทีส่ ำ� คัญก็คอื ลดมลพิษจากท่อไอเสีย ลดเวลา ไม่ต้องขับ รถวนหาที่จอด ลดค่าใช้จ่าย จากการเผา ผลาญน�ำ้ มัน และทีส่ ำ� คัญลดความเสีย่ งจาก การถูกโจรกรรม จี้ปล้น บนลานจอดรถ รวม ถึงลดอุบัติเหตุ ดังเช่นกรณีที่เกิดขึ้นเมื่อไม่ นานมานี้ คือ ขับรถตกลานจอดรถ ส�ำหรับรูปแบบในการสือ่ สารระหว่าง คนขับกับรถยนต์ จะสื่อสารผ่านทางการ์ด และการ์ดรีดเดอร์ โดยที่ในระหว่างน�ำรถมา จอดเจ้าของรถจะแตะการ์ดให้ระบบน�ำรถไป เก็บในช่องทีว่ า่ งอยู่ และเมือ่ เจ้าของต้องการ รับรถคืน ก็สามารถใช้การ์ดใบเดิมแตะ ระบบ ก็จะอ่านค่า และหาจุดจอด แล้วน�ำกลับมา คืนให้เจ้าของได้ถูกคัน” ปั จ จุ บั น เอ็ ม พี เ ม็ ก มี ผ ลงานการ ออกแบบและติดตั้งระบบที่จอดรถอัตโนมัติ แล้วหลายแห่ง และแห่งทีถ่ อื ได้วา่ เป็นความ ภาคภูมใิ จ และเป็นแห่งทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในเอเชีย คือ โครงการที่จอดรถและอาคารเอนกประสงค์ ความจุ 840 คัน ใช้ระบบจอดรถอัตโนมัติแบบ TOR ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัย รามค� ำ แหง และโครงการอาคารจอดรถ อัตโนมัติ ความจุ 417 คัน ใช้ระบบจอดรถ อัตโนมัติแบบ TD ตั้งอยู่ใกล้ ๆ แหลมบาลีฮาย เทศบาลเมืองพัทยา ซึง่ คาดว่าจะเปิดให้ บริการเร็ว ๆ นี้ “ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย รามค� ำ แหงกั บ ที่ พัทยา เป็นผลงานทีเ่ ราภาคภูมใิ จ เพราะเป็น ตัวอย่างของโครงการขนาดใหญ่ทชี่ ว่ ยแก้ไข ปัญหาที่จอดรถส�ำหรับหน่วยงานด้านการ ศึกษา และเมืองท่องเทีย่ ว ส�ำหรับกลยุทธ์ใน การท�ำการตลาดระบบทีจ่ อดรถอัตโนมัตขิ อง เอ็มพีเม็ก เราจะมุง่ ไปยังกลุม่ ก่อสร้างคอนโด ทีพ่ กั อาศัยเป็นส่วนใหญ่ รองลงมาก็คอื กลุม่ อาคารก่อสร้างที่มีอยู่แล้วแต่ขาดแคลนที่ จอดรถ และมีความต้องการระบบที่จอดรถ รวมทั้งศูนย์การค้าที่มีที่จอดรถไม่เพียงพอ กับการให้บริการ รวมไปถึงกลุม่ โรงพยาบาล หน่วยงานราชการที่ต้องการมีที่จอดรถไว้
ส�ำหรับประชาชนที่มาใช้บริการ อย่ า งไรก็ ต าม การตลาดก็ ต ้ อ ง ค่อย ๆ เป็นค่อย ๆ ไป เพราะการจะท�ำระบบ จอดรถอั ต โนมั ติ ค ่ อ นข้ า งเป็ น ต้ น ทุ น ที่ สู ง อยู่ ประกอบกับความไม่เข้าใจในเรื่องของ เทคโนโลยี ตลอดจนความเชื่อมั่นในการใช้ บริการ ส่งผลให้ปจั จุบนั ยังมีผใู้ ช้บริการระบบ นี้มีจ�ำนวนน้อย แต่อย่างไรก็ตาม หากมีการ ติดตั้งระบบจอดรถอัตโนมัติแพร่หลายมาก ขึน้ เชือ่ ว่าน่าจะได้รบั ความนิยมจากผูใ้ ช้มาก ขึ้น” ส� ำ หรั บ ต้ น ทุ น ในการติ ด ตั้ ง ระบบ พลเรือเอกไพบูลย์ กล่าวว่า เนือ่ งจากระบบ มีความหลากหลาย และมีความซับซ้อนของ เทคโนโลยีที่แตกต่าง ส่งผลให้แต่ละแบบ มีราคาที่ไม่เท่ากัน นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับ ลั ก ษณะการติ ด ตั้ ง และใช้ ง านด้ ว ย ยก ตัวอย่าง หากน�ำไปใช้เพือ่ ประกอบธุรกิจ หรือ ท�ำทีจ่ อดรถอัตโนมัตใิ ห้เช่า มีรถหมุนเวียนเข้า ออกอยู่ตลอดเวลา ผู้ลงทุนสามารถคืนทุน ทัง้ หมดภายในระยะเวลา 3 ปีเท่านัน้ นอกจาก นี้ในปีนี้ จะเป็นปีแรกที่บริษัทจะสามารถให้ บริการระบบโรตารีท่ ผี่ ลิตเองภายในประเทศไทย ท�ำให้ราคาถูกลง และผูล้ งทุนสามารถถึง จุดคุม้ ทุนได้ในระยะเวลาทีไ่ ม่นาน ทั้งนี้ พลเรือเอกไพบูลย์ กล่าวย�้ำ ด้วยความมั่นใจว่า โดยส่วนตัวมีความเชื่อ มั่นว่าแนวโน้มในอนาคตของระบบจอดรถ อัตโนมัติน่าจะไปได้อีกไกล และจะเกิดเป็น
Talk
ความจ�ำเป็นที่ต้องมีระบบนี้เข้ามาเสริมใน ทุก ๆ ที่ พื้นที่ที่มีความแออัดของรถยนต์ นั่นหมายถึงกฎหมายในประเทศไทยต้องมี ความเข้มงวดกวดขันเรื่องการห้ามจอดรถ บนถนน หรือทางเดินเท้า ระบบนี้ก็จะเข้ามา ช่วยเสริมได้ทันที ยกตัวอย่าง ระยะทาง 1 กิโลเมตร ห้ามจอดตลอดแนวทัง้ สองข้างทาง คิดเป็นจ�ำนวนรถเกือบพันคัน ดังนั้นใน 1 กิโลเมตร สามารถแบ่งเป็นจุดจอด ห่างกัน ประมาณ 200-300 เมตร เป็นต้น ซึ่งผมเคย เสนอหน่วยงานราชการท�ำเป็นจุดส�ำหรับ จอดรถ คนก็เดินน้อยลง ใครอยากจะจอด ตรงไหนก็ไปจอดตรงนั้น ทุกอย่างในถนนก็ จะคลีนหมด พอถนนคลีน การจราจรก็ไม่ ติดขัด ยกตัวอย่างที่ต่างประเทศ เวลาจอด รถข้างถนนเขาจะมีจุดให้จอดแล้วหยอด เหรียญ แต่ปัจจุบันระบบหยอดเหรียญเริ่ม หายไป และถูกแทนที่ด้วยระบบจอดรถ อัตโนมัติแทน หรือตามสถานีรถไฟฟ้าก็ควร ที่จะต้องมีสถานที่จอดรถให้เพียงพอส�ำหรับ คนที่จะมาใช้รถไฟฟ้า ก็จะช่วยลดปริมาณ รถยนต์บนถนนลงได้ ผมเองเชือ่ ว่าในอนาคต ทีจ่ ะมีรถไฟฟ้าหลายสายเกิดขึน้ หากมีระบบ จอดรถอัตโนมัติ หรือแบบผสมผสานกันแบบ ลานจอดรถ ก็จะท�ำให้รถในถนนโล่งขึ้น การ จราจรก็จะคล่องตัวมากขึ้น เมืองก็จะน่าอยู่ มากขึ้น
February-March 2015, Vol.41 No.239
29 <<<
&
Talk
&
Mobilis Automata Co., Ltd.
“ดร.กฤษณ์ จงสฤษดิ”์ แชร์ประสบการณ์
Select View 150% on Adobe Illustrator
“อยูอ่ ย่างไรให้รอด ในสังเวียนการแข่งขัน” “จาก
หิ้งสู่ห้าง” เป็นค�ำที่มักกล่าวถึงกัน เสมอในแวดวงการศึกษา วิจัย และพัฒนา เมื่อนักวิจัย สามารถคิดค้นนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์สักชิ้นขึ้นมา เป้าหมายสูงสุด คือ ต้องการเห็น เป็น ผลิตภัณฑ์ที่ขายได้ จึงจะเรียกได้ว่า ประสบความส�ำเร็จอย่างแท้จริง แต่อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมามีเพียงงาน วิจัยนับชิ้นได้เ ท่านั้นที่สามารถพัฒนาต่อยอดไปสู่พาณิชย์ได้
ดร.
>>>30
February-March 2015, Vol.41 No.239
สามารถตอบสนองตรงนี้ได้ ก็ขายสินค้าได้” ดร.กฤษณ์ กล่าว
เริ่มต้นจากศูนย์
จากแนวโน้มดังกล่าว น�ำมาสู่การ ปลุกปัน้ โมเดลธุรกิจใหม่ของ “โมบิลสิ ออโต มาต้า” ที่ผันตัวเองจากการเป็นผู้รับจ้างมา เป็นผู้พัฒนาและผลิตผลิตภัณฑ์เทคโนโลยี ฝีมือคนไทย และผลิตภัณฑ์ไฮไลท์ตัวล่าสุด ที่เพิ่งเปิดตัวไปเมื่อไม่นานมานี้คือ e-Delicious เครือ่ งวัดมาตรฐานรสชาติอาหารไทย “โมบิ ลิ ส ออโตมาต้ า เป็ น บริ ษั ท เล็ก ๆ ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2546 ด้วยคน เพียง 4 คน เดิมผมเป็นนักวิจัยสังกัดศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. ดูแลส่วนงาน วิจยั ทางด้านระบบการผลิตอัตโนมัติ (manufacturing automation) ดร.พั น ธ์ ศั ก ดิ์ ▲
กฤษณ์ จงสกฤดิ์ อดีตนักวิจัยที่ ผันตัวเองมาเป็นผู้ประกอบการ เทคโนโลยี และเป็นกรรมการผูจ้ ดั การบริษทั โมบิลิส ออโตมาต้า จ�ำกัด เขาใช้เวลามาก กว่าทศวรรษในการปั้นธุรกิจเทคโนโลยีของ คนไทยให้สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับระบบ อัตโนมัติ (automation) ที่ขณะนี้ก�ำลังได้รับ ความสนใจจากผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ที่เริ่มมองหาเทคโนโลยีที่จะเข้ามาทดแทน แรงงานคน เพิม่ ประสิทธิภาพในกระบวนการ ผลิต และเหนือสิง่ อืน่ ใด คือ สร้างความแตกต่างเหนือคู่แข่งขัน “แนวโน้มอุตสาหกรรมทั่วโลกก�ำลัง ผันเข้าสู่ระบบอัตโนมัติมากขึ้น ด้วยปัจจัย ทางด้านค่าจ้างแรงงานที่สูงขึ้นประการหนึ่ง อีกประการหนึง่ คือ ลูกค้าของลูกค้าก็มคี วาม คาดหวังมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราคาต่อ หน่ ว ยที่ ถู ก ลง ประสิ ท ธิ ภ าพที่ ดี ขึ้ น เป็ น แรงผลักดันให้ผู้ประกอบการต้องปรับตัว และรวมถึงหลายโรงงานก�ำลังจะก้าวไปสู่ การสร้างความแตกต่างในผลิตภัณฑ์ ใครที่
ดร.กฤษณ์ จงสกฤดิ์
กรรมการผู้จัดการ บริษัท โมบิลิส ออโตมาต้า จ�ำกัด
กองบรรณาธิการ
& ศิรริ ชั ตพงษ์ รองผูอ้ ำ� นวยการเนคเทคในสมัย นัน้ เป็นผูจ้ ดุ ประกายให้นกั วิจยั คิดและท�ำใน สิ่งที่แตกต่างและท้าทาย นั่นคือ การเปลี่ยน ตัวเองจากนักวิจยั เป็นผูป้ ระกอบการ (entrepreneur) เพือ่ ทีจ่ ะให้เห็นบางมุมมองในการ ท�ำธุรกิจที่นักวิจัยมองไม่เห็น นักวิจัยจะได้รู้ และเข้าใจบทบาทการท�ำธุรกิจมากขึ้น ผมเป็นคนหนึ่งที่สนใจอยากลองท�ำ ดู จึงออกมาตั้งบริษัท โมบิลิส ออโตมาต้า จ� ำ กั ด ขึ้ น มา ช่ ว งแรกเราอยู ่ ใ นอุ ท ยาน วิทยาศาสตร์ (science park) มาระยะหลัง ๆ บริษัทเริ่มเติบโตมากขึ้น คนเยอะขึ้น และ ต้องการพื้นที่ในการท�ำโปรดักส์ชั่นมากขึ้น เราจึ ง ขยั บ ขยายออกมาอยู ่ ข ้ า งนอกเพื่ อ ความสะดวก” ในช่วงเริ่มต้นยอมรับว่า เราเองก็ยัง ไม่ทราบเหมือนกันว่าจะท�ำอะไร เราจึงเริ่ม จากการรับจ้างท�ำงานด้านเอ็นจิเนียริ่ง เช่น ให้บริการปรับปรุงระบบเก็บข้อมูลในไลน์ การผลิต ปรับปรุงเครื่องจักรภายในโรงงาน ในลักษณะเป็นโปรเจกต์เบส ซึ่งตรงนี้ถือว่า เรามีจุดแข็งอยู่ที่มีสายสัมพันธ์ที่ดีกับบริษัท เอกชน หลายบริษัทเราเคยท�ำงานร่วมกัน ตั้งแต่สมัยที่ผมเป็นนักวิจัย พอออกมาตั้ง บริ ษั ท เอง บริ ษั ท อยากพั ฒ นาระบบไหน อย่างไร เขาก็เรียกใช้บริการ เราก็เข้าไปช่วย ดูให้ ในเบือ้ งต้นอาจเข้าไปในฐานะทีป่ รึกษา และหลังจากนั้นก็มีการดีไซน์ระบบให้”
ให้คำ� ปรึกษาออกแบบและพัฒนาระบบตาม ความต้องการของโรงงาน ภายหลั ง จากบริ ษั ท พั ฒ นาและ เติบโต มีจำ� นวนพนักงานเพิ่มขึ้น บริษัทเริ่ม มองหาช่ อ งทางในการท� ำ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง ตนเองขึ้นมา “ทุกวันนี้ในวงการอุตสาหกรรม งาน ประเภท System Integration มีเยอะมากขึน้ เดิมเรามีการพัฒนาและออกแบบขึ้นมาเอง เช่ น ออกแบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ฮาร์ ด แวร์ ซอฟต์แวร์ แต่หลายครัง้ เราก็ใช้วธิ ซี อื้ อุปกรณ์ มาประกอบกั น และเอาไปติ ด ตั้ ง ให้ กั บ โรงงาน ซึง่ เราก็ทำ� แบบนัน้ เรือ่ ยมา จนกระทัง่ มองว่า หากยังคงยึดติดกับแนวทางนี้เป็น ธุรกิจหลัก (core business) ก็ไม่ได้สร้าง อะไรใหม่ ๆ จึ ง เป็ น ที่ ม าของการพั ฒ นา โปรดักส์ของเราเองขึ้นมา”
Talk
พลังแห่งความร่วมมือ
โปรดักส์แรก ๆ ที่ โมบิลิส ออโตมาต้ า พั ฒ นาและถู ก น� ำ ไปใช้ ใ นโรงงาน อุตสาหกรรมทั่วประเทศแล้วมากกว่า 70 แห่ง คือ เครื่องวิเคราะห์คุณภาพน�้ำแบบ ออนไลน์พร้อมระบบเชือ่ มต่อเพือ่ ส่งข้อมูลไป ยังกรมโรงงานอุตสาหกรรม “โปรดักส์นี้ เกิดขึ้นจากการที่สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (สอท.) มี ความต้องการเครือ่ งมือส�ำหรับการวิเคราะห์ คุณภาพน�้ำก่อนทิ้งส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรม เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามที่ ก ฎหมายสิ่ ง แวดล้อมก�ำหนด ขอเล่าย้อนกลับไป ประเทศไทยมี พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 ซึ่งกฎหมายนี้ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องต้องออกกฎหมายลูกเพื่อก�ำกับ ดูแล กรมโรงงานอุตสาหกรรมก็เช่นเดียวกัน ทางกรมฯ มี ค วามพยายามที่ จ ะควบคุ ม คุณภาพน�้ำทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรม โดย ปกติ โ รงงานอุ ต สาหกรรมต่ า ง ๆ จะต้ อ ง ส่งรายงานเข้ากรมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ซึ่งไม่เพียงพอ เขาจึงได้ออกกฎหมายลูกขึ้น มาเพื่อเตรียมบังคับใช้ภายในปี พ.ศ.2551”
ต่อยอดงานวิจัยสู่โปรดักส์ใหม่
จากประสบการณ์การท�ำงานร่วมกับ เอกชน น�ำมาสู่การสั่งสมความรู้และความ เชี่ยวชาญด้านเครื่องตรวจวิเคราะห์ (analyzer) ระบบติดตามผลและควบคุม (monitoring and control) ระบบเก็บข้อมูล (data logger) ระบบสกาด้า (SCADA) การผลิต และคุณภาพแบบออนไลน์ (online Production and Quality Monitoring system) การ เคลื่อนที่ (motion control) เครื่องจักรกล อัตโนมัติ (CNC machine) และยังสามารถ February-March 2015, Vol.41 No.239
31 <<<
Talk
& ซึง่ หากเราไม่ได้รบั การสนับสนุนหรือผลักดัน จากหลายภาคส่วนก็ไม่สามารถเกิดได้ เพราะ ถึงแม้วา่ เราสามารถพัฒนาเครือ่ งได้แล้ว คง ไม่มใี ครอยากเป็นรายแรกทีต่ ดิ แต่เนือ่ งจาก เราได้รับความร่วมมือจากสมาคมฟอกย้อม และได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากกระทรวง อุตสาหกรรมในการซือ้ เครือ่ งไปทดลองติดตัง้ ฟรี พอฟรีก็มีคนอยากได้ จุดประกายให้เกิด ความต้องการในตลาด และปัจจุบนั เรายังคง จ�ำหน่ายโปรดักส์นี้อยู่เรื่อย ๆ เพราะยังมี โรงงานอุตสาหกรรมที่ยังไม่ได้ติดตั้งระบบนี้ อยู่อีกมาก”
มุง่ สูก่ าร Solve และ Serve โรงงาน
เนือ่ งจากเครือ่ งวิเคราะห์คณ ุ ภาพน�ำ้ ที่มีอยู่ตามท้องตลาด ณ ขณะนั้น เป็นเครื่อง น�ำเข้า และมีราคาแพง สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ในฐานะที่อยู่ตรงกลาง ระหว่างรัฐกับเอกชน มุมหนึ่งก็อยากจะช่วย ผลักดันกฎหมาย ขณะเดียวกับภาคเอกชน เองก็ยังไม่มีความพร้อมในด้านการลงทุน ดังนั้นสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยจึง พยายามที่จะชะลอการบังคับใช้กฎหมาย จากปี พ.ศ.2551 เป็นปี พ.ศ.2553 ขณะ เดียวกันก็หาหน่วยงานทีจ่ ะพัฒนาเครือ่ งทีม่ ี ราคาถูกกว่าต่างประเทศ เพื่อใช้เองภายใน ประเทศ เครื่ อ งวิ เ คราะห์ คุ ณ ภาพน�้ ำ แบบ ออนไลน์ (BOD/COD Online Water Analyzer) ถือเป็นนวัตกรรมของคนไทยที่เกิด จากความร่วมมือของหลายภาคส่วนที่ช่วย สนับสนุนทัง้ ในส่วนงบวิจยั โนว์ฮาว และการ ท�ำให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถใช้งานได้ จริง “ภายหลังจากมีความต้องการเกิด ขึ้น ทางสภาอุตสาหกรรมได้หางบประมาณ ในการวิ จั ย และพั ฒ นามาให้ ซึ่ ง ได้ จ าก กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ่าน >>>32
February-March 2015, Vol.41 No.239
ทางส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติบ้าง จาก กระทรวงอุตสาหกรรมบ้าง เราก็ใช้งบส่วนนี้ พัฒนาขึ้นมา ในระหว่างท�ำเราก็ไม่ได้ทำ� คน เดียว เราร่วมกับ 2 มหาวิทยาลัย คือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และเอไอที ในการวิจัย และพัฒนาร่วมกัน และเราก็ร่วมกับสมาคม ฟอกย้อม สมาคมสิง่ ทอทีช่ ว่ ยกันผลักดัน เมือ่ พัฒนาและผลิตเสร็จก็ติดตั้งไปเยอะ ส่วน ราคาก็สามารถแข่งขันได้กับต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมีข้อดีอีกประการหนึ่ง คือ เมื่อ เราสามารถผลิตได้เองภายในประเทศแล้ว ต่ า งประเทศเขาก็ ล ดราคาลงมาเพื่ อ ให้ แข่งขันได้ ท�ำให้ผู้ประกอบการโรงงานมีทาง เลือกมากขึ้น จริง ๆ ธุรกิจแนวนี้ก็มีความเสี่ยงอยู่ มาก ทัง้ ในประเด็นทีว่ า่ ท�ำได้จริงหรือ ท�ำแล้ว แข่งขันได้หรือไม่ และจะมีคนซื้อหรือเปล่า
นอกจากประสบความส�ำเร็จในการ พัฒนาและผลิตเครื่องวิเคราะห์คุณภาพน�้ำ แบบออนไลน์แล้ว ดร.กฤษณ์ และทีมงานยัง ไม่หยุดที่จะพัฒนาโปรดักส์เทคโนโลยีอื่น ๆ ขึ้นมา อาทิ เครื่องตรวจไวรัสในกุ้ง เครื่องวัด ความเผ็ด (capsella) เครื่องวัดความเค็ม (salt analyzer) เครื่องวัดรสอูมามิ (umami analyzer) เครื่องวิเคราะห์กลิ่น (e-nose) และเครื่องวัดมาตรฐานรสชาติอาหารไทย (e-delicious) โปรดั ก ส์ ที่ พั ฒ นาแล้ ว เสร็ จ พร้ อ ม จ�ำหน่าย ส่วนมากโมบิลิส ออโตมาต้า จะใช้ วิธีร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ในการพัฒนา และต่อยอด เช่น ร่วมกับมหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ (มอ.) ในการพั ฒ นาเครื่ อ งวั ด ฟอร์มาลดีไฮด์ วัดฟอร์มาลีน และเราก็ไป License น�ำ้ ยาส�ำหรับตรวจโรคในกุง้ มาเพือ่ ผลิตและจ�ำหน่าย นอกจากนี้ เราก็ไปช่วย มหาวิทยาลัยพัฒนาเครือ่ งวัดความเผ็ด เพือ่ ใช้ในโรงงานอาหาร ส่วนหน่วยงานที่ให้ทุน ก็จะเป็นกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยส�ำนักงาน นวัตกรรมแห่งชาติ และมีโรงงานอุตสาหกรรมเป็นลูกค้าหลัก ซึ่งส่วนมากโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดใหญ่เป็นลูกค้ามากกว่า 1 ผลิตภัณฑ์
& “เราท�ำงานโดยเน้นที่การต่อยอด จากงานวิจัย ซึ่งแตกต่างจากเดิมสมัยที่ตั้ง บริษัทใหม่ ๆ เราท�ำเองอยู่เยอะมาก เช่น ไป เข้าช่วยแก้ไขปัญหาและพัฒนาระบบให้กับ โรงงาน แต่มาในระยะหลัง ๆ มองว่า ระบบ เหล่านี้สามารถน�ำมาบูรณาการ (integrate) เองก็ได้ ขณะที่งานวิจัยมีอยู่มากมาย ท�ำ อย่างไรเราจึงจะสามารถน�ำมาใช้ได้จริง เรา ก็ ม องว่ า ถ้ า อย่ า งนั้ น เราก็ ไ ปท� ำ Value Added ดีกว่า คือ มีงานวิจยั อยู่ เราก็ไปท�ำให้ มันเป็นผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้ได้จริง และพยายามที่ จะเชื่อมซัพพลายเชนไปให้ถึงผู้ใช้ให้ได้ เดิมเราท�ำเรื่อง Automation ซึ่งก็จะ มีเรื่องของ Instrument รวมอยู่ด้วย ไม่ว่าจะ เป็นระบบเซนเซอร์ ระบบเครื่องมือตรวจวัด แทนที่เราจะท�ำออโตเมชั่นแบบเต็มระบบ เราก็ท�ำในเรื่องของ Analyzer ที่เป็นแอปพลิเคชันเฉพาะให้กับลูกค้า ที่เราสามารถ ผลิตขายได้ในจ�ำนวนมาก อนาคตเราก็มี แผนทีจ่ ะพัฒนาโปรดักส์อกี หลายตัว ขณะนี้ ยังอยู่ในระหว่างการพัฒนา โดยโปรดักส์ที่ พัฒนาจะซัพพอร์ทให้กบั 3 กลุม่ อุตสาหกรรม คือ สิ่งแวดล้อม อาหาร และการเกษตร และ จะมี เ พิ่ ม เข้ า มาอี ก 1 กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรม คือ ชีวการแพทย์ ซึ่งเมื่อเดือนพฤศจิกายนปี ที่ผ่านมา ได้มีการลงนาม MOU ร่วมกัน ระหว่างกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บริษัท โมบิลิส ออโตมาต้า จ�ำกัด และ
Talk
บริษัท แปซิฟิค ไบโอเทค จ�ำกัด ในการ พัฒนาเครือ่ งตรวจเบาหวานแบบเฉลีย่ สะสม (ฮี โ มโกลบิ น เอวั น ซี HbA1C) ขนาดเล็ ก ส�ำหรับพกพา คาดว่าประมาณปลายปี พ.ศ. 2558 จะได้เห็นโปรดักส์ใหม่นี้ในตลาด”
สร้างความเชือ่ มัน่ “ไทยใช้ของไทย”
ส�ำหรับปัญหาอย่างหนึ่งของผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีฝีมือคนไทย ที่อาจจะเป็น อุปสรรคในการเข้าสู่ตลาด คือ ความเชื่อมั่น ของผู้ใช้งาน ในเรื่องนี้ ดร.กฤษณ์ กล่าวว่า เรื่ อ งนี้ ก็ เ ป็ น ประเด็ น เช่ น กั น ว่ า เราจะท� ำ อย่างไรให้คนไทยมัน่ ใจใช้ของไทย เราโชคดี ที่ไม่ได้คิดและท�ำคนเดียว เราท�ำงานแบบ ไตรภาคี คือ ร่วมกับภาครัฐและเอกชน ภาค รัฐ นอกจากสนับสนุนเรื่องทุนแล้ว ยังช่วย โปรโมทให้ด้วย ยกตัวอย่างเครื่องวัดมาตรฐานรสชาติอาหารไทย ที่เพิ่งเปิดตัวไปไม่ นานมานี้ ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติก็ กรุณาจัดงานกาลาดินเนอร์เปิดตัวให้ มีการ เชิญผู้แทนการค้า นักธุรกิจ ตลอดจนสื่อมวลชนทั้ ง ไทยและต่ า งประเทศเข้ า ร่ ว ม ท�ำให้ผลงานของเราปรากฏตามสื่อต่าง ๆ หลั ง จากข่ า วถู ก เผยแพร่ อ อกไป บรรดา ผู้ประกอบการโรงงานก็สนใจติดต่อเข้ามา อย่ า งบริ ษั ท อาหารยั ก ษ์ ใ หญ่ ใ นบ้ า นเรา ยกทีมผู้บริหารและเจ้าหน้าที่มาดูผลงาน และยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น ทางบริ ษั ท ยั ง ได้ จั ด ส่ ง
ทีมงานเข้ามาเพื่อช่วยท�ำการตลาดในต่าง ประเทศอีกด้วย “จริ ง ๆ ยั ง มี ง านวิ จั ย ดี ๆ อยู ่ อี ก มากมาย แต่ยังขาดคนที่จะเข้ามาช่วยเติม เต็มให้มันกลายเป็นของที่ใช้ได้จริง และมี Supply Chain ครบ ทั้งเรื่องการพัฒนาให้ เป็นโปรดักส์ การขาย การดูแลหลังการขาย และการซ่อมบ�ำรุง อยากฝากถึงนักพัฒนารุน่ ใหม่ที่มีความสามารถอยู่แล้ว อยากให้เสริม เรื่องทักษะทางด้านการตลาดเข้าไปด้วย เพราะของดีอย่างเดียวขายไม่ได้ แต่มันต้อง เป็นของดีที่ถูกใจคนอื่นด้วย เพราะฉะนั้น ก่อนพัฒนาเราต้องรู้ความต้องการของผู้ที่ จะใช้ด้วยว่าต้องการอะไร อย่างไร และใน บรรดาคู่แข่ง มีใครคิดหรือท�ำแล้วหรือยัง นอกจากนี้ความรู้ด้านธุรกิจและการตลาดก็ ต้องมีดว้ ย และท้ายทีส่ ดุ ของบางอย่างมีคน อยากได้จริง แต่มจี ำ� นวนน้อยไป ก็อยูไ่ ม่รอด ต้องเป็นความต้องการของคนส่วนมากด้วย ของจึ ง จะขายได้ ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ” ดร.กฤษณ์ กล่าว “โมบิลิส ออโตเมต้า” เป็นตัวอย่าง บริษัทด้านเทคโนโลยีที่มีรูปแบบธุรกิจที่น่า สนใจส�ำหรับผู้ประกอบการไทยที่อยากจะ เริม่ ต้นท�ำธุรกิจ อย่างไรก็ตาม เรือ่ งเทคโนโลยี อาจเป็นความช�ำนาญเฉพาะตัว แต่เรือ่ งการ แสวงหาความร่วมมือที่แข็งแกร่งและสร้าง สายสั ม พั น ธ์ ที่ แ นบแน่ น เป็ น สิ่ ง ที่ ทุ ก คน สามารถแสวงหา เพือ่ สร้างฐานทีม่ นั่ คงให้กบั ธุรกิจของตัวเองได้ February-March 2015, Vol.41 No.239
33 <<<
&
Inspiration
&
BRIGHT
ระบบควบคุมไฟฟ้าอัจฉริยะ มูลนิธิสยามกัมมาจล
3
นิสิตจุฬาฯ สุดเจ๋ง พัฒนาต่อยอดผลงานโครงการระบบห้องเรียนอัจฉริยะ Magic Classroom เป็น ระบบควบคุมไฟฟ้าอัจฉริยะ “BRIGHT” การบริหารจัดการพลังงาน เพื่อแก้ปัญหาการลืมปิดอุปกรณ์ ไฟฟ้าหลังใช้งาน และระบบความปลอดภัยของสถาบันการศึกษาผ่านการใช้กล้องความละเอียดสูง ล�ำโพง ขนาดเล็ก และไมโครโฟน หากมีความผิดปกติเกิดขึ้นระบบจะแจ้งเตือน บันทึกภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่งแบบ เต็มตัว และภาพเฉพาะใบหน้าส่งไปยังเจ้าหน้าที่ทันที โดยใช้อุปกรณ์สวิตซ์ไฟฟ้าที่สามารถควบคุมได้ผ่าน ระบบเครือข่าย
ใน
ยุ ค สมั ย ปั จ จุ บั น ที่ เ พี ย บพร้ อ มไป ด้วยเทคโนโลยีอันล�้ำสมัยได้ช่วย อ�ำนวยความสะดวกสบาย และก่อให้เกิด พัฒนาการอย่างก้าวกระโดดในหลากหลาย ด้าน เช่น ธุรกิจ การแพทย์ และอุตสาหกรรม เป็นต้น ทีมพัฒนาซึ่งประกอบด้วย นายธนวุฒิ อนันต์พริ ยิ ะกุล นายธีรวัจน์ อนันต์พิ ริ ย ะกุ ล และนายณั ฐ ณพั ช ร์ ก วิ พ รรธน์ นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี ดร.พีรพล เวทีกลู เป็นทีป่ รึกษา โครงการ เล็งเห็นว่า ถึงเวลาแล้วที่ประเทศ>>>34
February-March 2015, Vol.41 No.239
ไทยควรน�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการ ศึกษาอย่างเต็มรูปแบบ จึงได้จดั ท�ำโครงการ ระบบควบคุมไฟฟ้าอัจฉริยะ BRIGHT ขึ้น นายธนวุฒิ อนันต์พิริยะกุล หนึ่งใน ที ม ผู ้ พั ฒ นาโครงการระบบควบคุ ม ไฟฟ้ า อัจฉริยะ BRIGHT ให้ข้อมูลว่า โครงการ ระบบควบคุ ม ไฟฟ้ า อั จ ฉริ ย ะ BRIGHT เป็ น การพั ฒ นาต่ อ ยอดผลงานเดิ ม จาก โครงการระบบห้องเรียนอัจฉริยะ Magic Classroom ซึ่งที่ผ่านมาได้ท�ำการพัฒนา แล้ ว เสร็ จ ไป 2 ส่ ว น คื อ 1. ส่ ว นบั น ทึ ก กระดานโดยเทคนิ ค การซ้ อ นภาพกั บ สื่ อ
ดิจิทัลต้นฉบับที่มีความสามารถในการแจก จ่ายแบบทันกาล (real time) ให้ภาพคุณภาพ สูงโดยไม่ขึ้นกับสภาพแวดล้อม ซึ่งสามารถ ลดภาระในการจดบันทึกของผู้เรียน รวมถึง ยังสามารถใช้ในการอ้างอิงเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการสื่อสารระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง และผู้สอน และ 2. ส่วนห้องท�ำงานเสมือน จริงสามมิติ เป็นการจ�ำลองสภาพห้อง ทีว่ ตั ถุ สิ่งของนั้นจะถูกต่อระบบไปยังซอฟต์แวร์ ต่างๆ และสามารถเคลือ่ นย้ายการท�ำงานไป ควบคุมจากคอมพิวเตอร์ได้ทุกเครื่อง ท�ำให้ ผูเ้ รียนสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ของสถาบัน การศึกษาได้เสมือนเป็นเครื่องของตนเอง “ส�ำหรับการพัฒนาโครงการระบบ ควบคุมไฟฟ้าอัจฉริยะ BRIGHT นี้ ได้รับการ สนับสนุนจากโครงการ “ต่อกล้าให้เติบใหญ่” ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างศูนย์เทคโนโลยี และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) และ มูลนิธิสยามกัมมาจล ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเน้นไปที่ส่วนการบริหาร จัดการพลังงานและระบบความปลอดภัย ของสถาบั นการศึ กษา โดยจะใช้ อุ ป กรณ์ สวิตซ์ไฟฟ้าที่สามารถควบคุมได้ผ่านระบบ เครือข่าย และมีระบบตรวจจับบุคคลผ่าน กล้องสามารถควบคุมการเปิดใช้งานอุปกรณ์
&
Inspiration ส่องสว่างและปรับอากาศเฉพาะจุดที่มีการ ใช้งานจริง ในกรณีที่ห้องเรียนมีขนาดใหญ่ เกินกว่าจ�ำนวนผู้เรียนหรือห้องสมุด ที่มักจะ มีการใช้งานเฉพาะจุด ระบบนีจ้ ะช่วยประหยัด พลังงานได้มาก รวมทั้งยังแก้ไขปัญหาการ ไม่ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าหลังเลิกใช้งานอีกด้วย ในส่วนของระบบความปลอดภัยจะใช้กล้อง ความละเอี ย ดสู ง ล� ำ โพงขนาดเล็ ก และ ไมโครโฟน เมื่อเกิดความผิดปกติจะมีการ แจ้งเตือน บันทึกภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง แบบเต็มตัว และภาพเฉพาะใบหน้า ส่งไปยัง เจ้าหน้าที่ทันที นอกจากนี้ จ ะมี ก ารเปิ ด สั ญ ญาณ เสียงเตือนและอุปกรณ์ส่องสว่างในจุดที่พบ ความผิดปกติ เพื่อให้เจ้าหน้าที่บริเวณใกล้ เคียงเข้ามาระงับเหตุ และการเปิดอุปกรณ์ ส่องสว่างจะช่วยให้ภาพที่บันทึกได้มีความ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยการพัฒนาจะมุ่งเน้น ให้ ร ะบบมี คุ ณ สมบั ติ 3 ประการ คื อ 1.อุปกรณ์ทใี่ ช้จะต้องได้มาตรฐาน ปลอดภัย และมีราคาถูก 2.ระบบจะต้องมีความน่าเชือ่ ถือและเกิดความผิดพลาดต�่ำ 3. ระบบจะ ต้องสามารถใช้งานได้ง่าย โดยไม่จ�ำเป็น ต้องฝึกใช้งาน” นายธนวุฒิ กล่าว แม้กลุ่มเป้าหมายหลักของโครงการ จะเป็ น สถาบั น การศึ ก ษา แต่ ร ะบบนี้ ยั ง
สามารถใช้งานได้กบั บ้านพักอาศัย ส�ำนักงาน และสถานทีต่ า่ ง ๆ อีกด้วย โดยในการพัฒนา ทีมได้มีการทดลองใช้งานจริงในห้องหลาย ขนาดในหน่วยเมตร ได้แก่ 3.5 × 34.5 × 45.5 × 48 × 4.5 และ 14.5 × 4 โดยในแต่ละห้อง จะประกอบด้วยหลอดไฟจ�ำนวนตั้งแต่ 2 ถึง 16 หลอด และมีการจัดวางวัตถุสิ่งของใน รูปแบบที่แตกต่างกันออกไป เช่น ห้องเรียน ห้องสมุด ห้องนั่งเล่น ห้องท�ำงาน และทาง เดิน เพื่อให้การทดสอบระบบมีความครอบคลุมต่อการใช้งานจริงมากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็น ไปได้ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากผลงานที่จะ พัฒนาขึน้ มีความยุง่ ยากและซับซ้อนมากทัง้ ในส่วนของซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ จึงต้อง มีการค้นคว้าและอ้างอิงงานวิจัยในระดับ นานาชาติ เพื่อให้ได้มาซึ่งเทคนิคอัลกอริทึม และเทคโนโลยี ดังนั้นหน่วยงานแรกที่ทีม อยากร่วมพัฒนาผลงานด้วย คือ สถาบันการ ศึกษาที่เพียบพร้อมไปด้วยผู้ช�ำนาญเฉพาะ ทาง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านการประมวลผล ภาพและระบบเครือข่าย รวมถึงหน่วยงาน ต่าง ๆ ที่ให้ความสนใจ และพร้อมที่จะให้ ความช่วยเหลือทางด้านนวัตกรรมรวมถึง การทดลองใช้งานจริง
ในช่วงทดสอบการใช้งานจะเป็นการ ใช้งานในบ้านพักอาศัย โดยติดตั้งในห้อง ต่างๆ เช่น ห้องท�ำงาน ห้องหนังสือ ห้องนั่ง เล่น และทางเดิน ซึ่งมีขนาดรวมถึงการจัด วางวัตถุสิ่งของที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งจะ ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ 1. ส่วนการบริหาร จัดการพลังงาน 2. ระบบความปลอดภัย โดย กลุ่มเป้าหมายแรก คือ สถาบันการศึกษา เนือ่ งจากตรงกับวัตถุประสงค์ของการพัฒนา อีกทัง้ ยังเป็นสถานทีส่ าธารณะทีจ่ ะเป็นแบบ อย่างให้กับประชาชนรวมถึงองค์กรที่สนใจ เข้าไปศึกษาดูงานได้ ส� ำ หรั บ การน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ง าน นอกจากจะใช้ควบคุมอุปกรณ์สอ่ งสว่างและ ปรับอากาศแล้ว ยังสามารถน�ำไปควบคุม อุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นได้อย่างกว้างขวาง ขึ้นอยู่ กั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องผู ้ ใ ช้ ง าน ซึ่ ง ระบบ สามารถรองรับการใช้งานขนาดใหญ่ได้ตาม ทรัพยากรที่มี และในส่วนของระบบความ ปลอดภัยสามารถน�ำไปติดตัง้ ได้ทกุ ทีท่ งั้ บ้าน พักอาศัย อาคารส�ำนักงาน สถานที่ราชการ ลานจอดรถ และอื่น ๆ โดยเมื่อการทดสอบ สมบูรณ์พร้อมทีจ่ ะน�ำไปใช้งานจริงแล้วจะมี การเปิดให้ผทู้ สี่ นใจสามารถน�ำไปใช้งานโดย ไม่เสียค่าใช้จ่ายต่อไป
February-March 2015, Vol.41 No.239
35 <<<
&
Research
&
ต่อยอดงานวิจัยสู่การผลิตเชิงพาณิชย์ สาธิต ปิยนลินมาศ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การ
เติบโตและเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมการผลิตที่มีสินค้าและบริการใหม่ ๆ เกิดขึ้นในโลกปัจจุบัน ส่วนใหญ่ได้จากการวิจัยในห้องปฏิบัติการของบริษัทแม่ที่มีอยู่ในต่างประเทศและในประเทศไทย ที่มีนักวิจัยที่มีความช�ำนาญเฉพาะ (expertise) หรือร่วมวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัย (collaborative research) ที่มีอาจารย์ นักศึกษา นักวิจัยในมหาวิทยาลัยท�ำวิจัยร่วมกัน โดยมีโจทย์วิจัยจากบริษัทที่ให้ทุนวิจัย จาก ในและนอกประเทศ จนสุดท้ายได้ผลลัพธ์งานวิจัยที่ต้องการ ซึ่งบริษัทสามารถน�ำไปต่อยอดผลิตในโรงงาน ได้ทันที หรือปรับปรุงเล็กน้อย ซึ่งเป็นการลดเวลาและต้นทุนการวิจัย อีกทั้งยังท�ำให้เกิดองค์ความรู้ที่ เข้มแข็งของประเทศได้อีกด้วย สร้างนักวิจัยของประเทศ ทดแทนการน�ำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศได้ อีกด้วย
ความสำ�คัญของการวิจัย ต่ออุตสาหกรรมการผลิตและบริการ
การวิจัย คือ ขั้นตอนส�ำคัญส�ำหรับ หาค�ำตอบเฉพาะกับปัญหาเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ ในงานวิชาการ อุตสาหกรรม และธุรกิจ ที่ อาจมีโอกาสเชิงพาณิชย์ได้ โดยใช้ความรู้ สาขาเดียวและหลายสาขา และทักษะการ บริหารงานวิจัย จากนักวิจัยหรือทีมวิจัยที่มี หลายคนทีม่ กี ารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ ทีม่ าของปัญหามาจากความต้องการของ
1a) Thumb Drive ▲ ภาพที่ 1 ตัวอย่างสินค้าที่เกิดจากการวิจัย >>>36
February-March 2015, Vol.41 No.239
ผู้ประกอบการ เช่น โรงงาน เจ้าของธุรกิจ องค์การนานาชาติ โดยมีทนุ วิจยั จากผูใ้ ห้ทนุ ทีเ่ ป็นองค์กรภายในประเทศ เช่น สกว.(www. trf.co.th) วช. (www.nrct.or.th) ปตท. หรือ องค์กรระหว่างต่างประเทศ เช่น UNESCO, NASA, DuPont, 3M, ฯลฯ ส่วนโปรแกรม เฉพาะด้านที่ใช้ในงานวิจัย เช่น Aspen Plus, Solid World, SciFinder ฯลฯ และ เครื่องมือวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ทีซ่ บั ซ้อนราคาแพง เช่น XPS, XAS, GC-MS,
1b) Google Glass
XRD, SEM, Tensiometry ที่มีหลักการและ วิธใี ช้งานเฉพาะ มีราคาแพง และน�ำเข้าจาก ต่างประเทศ เนือ่ งจากการวิจยั แต่ละครัง้ เป็นการ ลงทุนที่ใช้เงินจ�ำนวนมากที่ประเทศพัฒนา แล้วส่วนใหญ่ท�ำกัน เพื่อเป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา และเมื่อได้ผลลัพธ์จากการ วิจัย ก็สามารถผลิตเป็นสินค้าและบริการที่ เห็นได้ชัดเจน ท�ำรายได้มหาศาลแก่คนวิจัย และผู้ให้ทุนวิจัย เช่น โทรทัศน์ HDTV เครื่อง เล่น DVD โทรศัพท์สมาร์ทโฟน เครื่องฟอก อากาศ ระบบควบคุมไฟฟ้าแรงสูง เซลล์ เชื้อเพลิง ตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีเพื่อผลิตสาร ปิโตรเคมี และการกลัน่ น�ำ้ มันทีจ่ งั หวัดระยอง รวมถึงยาและหลักสูตรการผลิตเครือ่ งส�ำอาง อุปกรณ์ทางการแพทย์ตา่ งๆ เช่น MRI หัวใจ เทียม ผิวหนังเทียมหุ่นยนต์ผ่าตัด เป็นต้น
1c) Smart Phone
&
Research
ซึ่งการวิจัยจะเกิดจากปัญหาของ ผู้ผลิตสินค้าเดิม หรือบริการเดิม วิธีการเดิม ที่ต้องการเปลี่ยนแนวคิดสร้างสินค้าใหม่ บริการใหม่ เช่น เครื่องเล่น CD เปลี่ยนเป็น Blu Ray หรือใช้ Thumb Drive แทน Optical Disk ความต้ อ งการของผู ้ ใ ช้ สิ น ค้ า และ บริการที่เสนอมายังฝ่ายขาย หรือฝ่ายการ ส�ำรวจตลาด เช่น จากกล้องถ่าย VDO เป็น Google Glass หรื อ ใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ใน โทรศัพท์ 3G หรือ Wearable Computer เป็นต้น ในภาพที่ 1 เป็นเพียงตัวอย่างบาง ส่วน ส�ำหรับกระบวนการวิจัย ประกอบ ด้วยการรวบรวมข้อมูลที่เคยมีมาก่อน (reviews) ก� ำ หนดขอบเขตการวิ จั ย และตั้ ง สมมุติฐาน ผลลัพธ์ที่จะได้ ตารางเวลาและ งบประมาณ ในแต่ละขั้นตอนนี้ มีผู้ให้ทุน วิจัยเสนอความคิดเห็นหรือผู้ท�ำวิจัยเสนอ โครงการวิ จั ย แข่ ง ขั น เพื่ อ ให้ ไ ด้ ทุ น วิ จั ย
(funding) ส่วนข้อคิดที่ผู้เขียนจะกล่าวถึงยัง มีงานวิจยั ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทยที่ ยังไม่ได้น�ำไปใช้เชิงพาณิชย์ หรือผู้ประกอบ การไม่ได้มาพบปะกับนักวิจยั หรือมีงานวิจยั ทีม่ ขี อ้ ตกลงกับผูใ้ ห้ทนุ ไว้เป็นความลับ (confidential agreement) เพื่ อ การผลิ ต เชิ ง พาณิชย์ดว้ ย งานวิจยั ร่วมกับต่างประเทศกับ
▼ ตารางที่ 1 SWOT ของอาจารย์มหาวิทยาลัยสำ�หรับงานวิจัยกับบริษัท
Opportunity
Threat
ความรู้ วิ ช าการจากคณาจารย์ ข อง ● มีขนั้ ตอนของเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องมากมาย มหาวิทยาลัยที่มาจากต่างประเทศที่ได้ เช่ น ความร่ ว มมื อ (MOU) ในระดั บ มหาวิทยาลัย ไปศึกษาและวิจัย ● นักวิจย ั เครือ่ งมือวิทยาศาสตร์ตา่ ง ๆ ของ ● อาจารย์มีภาระงานสอน และงานที่ ศูนย์วิจัย ของมหาวิทยาลัย รับผิดชอบ ● อาจารย์ไม่ถนัดงานเชิงการต่อยอด การผลิตพาณิชย์
Strong
●
Weak
● ●
ไม่ถนัดการประสานงานเชิงธุรกิจ ไม่ค่อยทราบความต้องการของบริษัท และการติดต่อกับบริษัทที่จะใช้งานวิจัย ไปต่อยอด
● ●
โอกาสพบผู้ประกอบการมีน้อย งบประมาณงานวิ จั ย จำ�กั ด และการ ทดสอบของระบบขนาดอุตสาหกรรมทำ� ไม่ได้
หน่วยงานและมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ซึ่ง โอกาสที่ผู้วิจัยจะพบกับผู้ที่ให้ทุน เช่น การ ติ ด ต่ อ รายบุ ค คล การประชุ ม นานาชาติ สมาชิกในกลุม่ ทีส่ นใจงานวิจยั เช่น Innovation Design, Green Production, TQM เป็นต้น จาก เว็บไซต์ เช่น IISTE ในปัจจุบัน มีจ�ำนวนข้อมูลของหน่วยงานวิจัยที่รวบรวม ไว้ เช่น Google.Scholar, LinkedIn, ResearchGate ฯลฯ ซึ่งงานวิจัยในมหาวิทยาลัยจากอาจารย์มหาวิทยาลัยโดยทั่วไป มีทั้งข้อดี ข้อเสีย จากการวิเคราะห์ SWOT บางส่วนได้ในตารางที่ 1 จาก SWOT ของอาจารย์มหาวิทยาลัย มีประเด็นที่ท�ำให้เข้มแข็งมากขึ้นได้ เพราะการวิจัยต้องการทั้งนักวิจัยที่มีความรู้ ทั้งด้านลึกและกว้าง และผู้ประกอบการที่มี ประสบการณ์เพือ่ ต่อยอดงานวิจยั ได้ ร่วมกับ นักลงทุนทีม่ แี นวคิดต่อยอดงานวิจยั ทีจ่ ะได้ ผลลัพธ์งานวิจัย ส่วนงานวิจัยและขีดจ�ำกัด ของหน่วยธุรกิจเอกชน อาจมีความแตกต่าง จากมหาวิทยาลัยแต่ละแห่ง และการจัดการ เช่ น ศู น ย์ วิ จั ย ศู น ย์ บ ่ ม เพาะทางธุ ร กิ จ ศูนย์กลางการวิเคราะห์ ศูนย์ให้ค�ำปรึกษา ทางเทคนิคต่าง ๆ แต่ละมหาวิทยาลัยใน ประเทศก็มีการแบ่งงานที่ต่างกันไป ซึ่งใน ตารางที่ 2 เป็นการแบ่งจุดแข็ง-จุดอ่อนของ งานวิจัยของบริษัทเอกชน
February-March 2015, Vol.41 No.239
37 <<<
&
Research
▼ ตารางที่ 2 จุดแข็งและจุดอ่อนของงานวิจัยในบริษัทเอกชน
จุดแข็งของงานวิจัยในบริษัทเอกชน จุดอ่อนของงานวิจัยในบริษัทเอกชน 1. มีบุคลากรหลายสาขาที่ทำ�งานเป็นระบบและมีทุนวิจัยมาก 1. บางหน่วยงานในบริษัทไม่มีนักวิจัยเฉพาะด้าน 2. ต้องการผลงานวิจัยที่ใช้เวลาสั้น เร็ว เพื่อแก้ปัญหาในโรงงานและผลิตสินค้า 2. มุง่ ผลวิจยั ประเด็นเดียว แต่บางครัง้ มีหลายประเด็นเกีย่ วข้องกันข้ามสาขาวิชา ที่ต้องการให้ทันกับตลาด 3. สามารถให้ตัวอย่างและการทดลองจริงกับเครื่องจักรของโรงงานได้ 3. การกำ�หนดขอบเขตของงานวิจัย และเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญาที่ได้รับ ไม่ชัดเจน 4. การสื่อสารทางเทคนิคชัดเจน และมีเครือข่ายกับบริษัทต่าง ๆ ใน 4. ข้อกำ�หนดขององค์กรและการบริหารที่ทำ�ให้การทำ�งานของอาจารย์ที่ เครือทั่วโลก มหาวิทยาลัยล่าช้า
เมื่อประมวลความคิดโดยรวม งาน วิจยั ในมหาวิทยาลัยของประเทศ มีจดุ แข็งใน ตารางที่ 1 คือ วิชาการ อาจารย์เคยศึกษา วิจยั ในต่างประเทศและเครือข่ายนักวิชาการ ทั้งในประเทศ นอกประเทศ แต่มีจุดอ่อน คือ การต่อยอดงานวิจัยพาณิชย์ โอกาสพบปะ ผู้ประกอบการ ส่วนภาคเอกชนมีจุดแข็งใน ตารางที่ 2 ด้านการท�ำธุรกิจและการท�ำงาน ที่กระชับ ว่องไว ที่มีจุดอ่อน คือ ส่วนสนับสนุนทางวิชาการทัง้ พืน้ ฐานและเชิงประยุกต์ ดังนั้นถ้ามีการประสานงานอย่าง เป็นระบบทั้งสองฝ่าย จะเสริมโอกาสทาง ธุรกิจอีกมากมายแก่ประเทศไทย และกลุ่ม ประเทศ AEC และได้น�ำผลงานวิจัยออกสู่ ผู้ใช้โดยตรง เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา มี บริษทั IBM, Boeing, หรือ ประเทศญีป่ นุ่ เช่น Toyota, Honda, Sony ฯลฯ แม้กระทั้ง อุปกรณ์กฬี า เช่น Adidas Mizuno Nike ฯลฯ หรือ โทรศัพท์มือถือ เช่น Samsung, Apple, Acer ฯลฯ ล้ ว นแต่ เ กิ ด จากการต่ อ ยอด งานวิจัยของบุคลากรในมหาวิทยาลัยของ ประเทศนั้น ซึ่งอาจมีความลับงานวิจัยด้วย จึงท�ำให้การสืบค้นและหาข้อมูลยากมาก ๆ และการร่วมงานของนักวิจัยที่มีของบริษัท ขนาดใหญ่ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งที่ ผ ลิ ต สิ น ค้ า และ บริการทั้งสิ้น
สรุป
จะเห็นได้ว่านักวิจัย คณาจารย์ใน ประเทศไทยได้ทุ่มเทเวลาท�ำงานวิจัยทั้งใช้ >>>38
February-March 2015, Vol.41 No.239
ความรู ้ ความตั้ ง ใจร่ ว มกั บ ทั ก ษะความ ช�ำนาญเพื่อให้ได้ผลงานวิจัยตามเป้าหมาย มีผลงานวิจัยตามเป้าหมาย มีผลงานตีพิมพ์ และเสนอผลงานวิจัย ในขณะที่ส่วนธุรกิจ ภาคเอกชนก็ได้ผลิตสินค้าและบริการต่าง ๆ จากบริษัทแม่ในต่างประเทศ ให้สอดคล้อง ความต้องการของคนหรือลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไปในสภาวะที่ต้องจัดสรรทรัพยากรที่ มีอยูอ่ ย่างจ�ำกัด และมีวกิ ฤตพลังงาน อาหาร และสิ่งแวดล้อมเข้ามาพร้อม ๆ กับการเปิด กว้างของโลกปัจจุบนั ทีไ่ ร้พรมแดน ท�ำให้การ เปลี่ยนแปลงเกิดได้อย่างรวดเร็วกว่าที่เคย เป็นมาในอดีต ดั ง นั้ น เมื่ อ นั ก วิ จั ย คณาจารย์ ใ น ประเทศไทยทัง้ ในมหาวิทยาลัย สถาบันวิจยั ต่าง ๆ และในบริษัทเอกชนต่าง ๆ ได้พบกับ นักธุรกิจที่มีปัญหาในการวิจัยและแนวคิด พัฒนาต่อยอดงานวิจยั ไปสูพ่ าณิชย์ จะท�ำให้ อนาคตของประเทศไทยเปลี่ยนแปลงจาก สภาวะน�ำเข้าเทคโนโลยี และสินค้าบริการ จากต่ า งประเทศ กลายเป็ น ผู ้ ผ ลิ ต เป็ น เจ้าของทรัพย์สินทางปัญญาสิทธิบัตร และ ความลับทางการค้า การผลิต และส่งออก เทคโนโลยีให้กับประเทศเพื่อนบ้าน AEC และประเทศในตะวันตกแทนได้มากขึ้น ใน เวลาอันใกล้นี้ และยังท�ำให้เกิดการพัฒนา อย่างยั่งยืนด้วยเศรษฐกิจฐานเทคโนโลยีได้ ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือหลายฝ่ายและ นโยบายของวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ที่ ชัดเจนระยะยาว
เอกสารอ้างอิง 1. Shreefal Mehta. “The Emerging Role of Academia in Commercializing Innovation,” Nature Biotech., vol.22, No1, 2004, p.21-24 2. Sigvald J. Harryson, “Entrepreneurship Through Relationships Navigating from Creativity To Commercialization,” R&D Management 38, 3, 2008. 3. C. Shotika and S. Phiyanalinmat, “Catechol Photodegradation by Sn-doped TiO2 photocatalyst,” Franco-Thai Symposium, 1-3 Feb. 2012, Bangkok, proceeding on p. 124. 4. โกสินทร์ จ�ำนงไทย, “ระเบียบและวิธี การวิจัย–Research Methodology,” พิมพ์ครั้งที่ 2, ส�ำนักพิมพ์ ส.ส.ท., 2548, กรุงเทพฯ 5. ปรีดา ยังสุขสถาพร, “Innovation, คิด จริง ท�ำได้” บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด มหาชน, 2555, กรุงเทพฯ 6. ศณพงษ์ ธงไชย, “คิดค้นไว Quick Innovation,” ส�ำนักพิมพ์ขวัญข้าว 98, กรุงเทพฯ, 2556 7. ประวัติ เพียรเจริญ, “Quick Win, ทางด่วนแห่งชัยชนะ,” ส�ำนักพิมพ์ ส.ส.ท. กรุงเทพฯ, 2552
&
อินซูลิน
▲
ดร.ฌีวาตรา ตาลชัย
ผู้เชี่ยวชาญด้านชีววิทยา ประจ�ำส�ำนักคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)
จากเซลล์ล�ำไส้มนุษย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)
โรค
เบาหวานเป็นหนึ่งในโรคที่มีจ�ำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งตอนนี้ทั่วโลกมีผู้ป่วยโรคเบาหวานแล้ว เกือบ 400 ล้านคน และ 20 ล้านคน เป็น เบาหวานชนิดที่ 1 ในอดีตโรคนี้มักจะเป็นในกลุ่มคนที่ มีอายุมาก แต่ทุกวันนี้ตัวเลขอายุของผู้ป่วยโรคเบาหวานลดลงเรื่อยๆ ในเรื่องการรักษานั้นผู้ป่วยส่วนใหญ่ ต้องกินยาเพื่อควบคุมอาการ หรือฉีดอินซูลิน เข้าสู่ร่างกายไปตลอดชีวิต
ดร.
ฌี ว าตรา ตาลชั ย ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ ด้านชีววิทยา ประจ�ำส�ำนักคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) เติบโตมาในหมู่ ญาติพี่น้องที่ล้วนเสียชีวิตจากโรคเบาหวาน ดังนั้น ดร.ฌีวาตรา จึงให้ความส�ำคัญกับ แนวทางการรักษาโรคเบาหวานอย่างมาก และได้ ท� ำ การศึ ก ษาวิ จั ย ในหั ว ข้ อ “การ
Bio & Nano
สังเคราะห์เซลล์ผลิตอินซูลินจากเซลล์ล�ำไส้” มาอย่างต่อเนื่อง “ถ้ า เกิ ด คุ ณ มี ลู ก หลานที่ เ ป็ น เบา หวาน ชนิดที่ 1 ซึง่ ส่วนมากพบในเด็กลองคิด สภาพที่ต้องใช้เข็มฉีดอินซูลินให้เด็กทารก ขวบ สองขวบ เช้า กลางวัน เย็น และเด็กตัว เล็ ก ๆ เขายั ง ไม่ มี วิ ธี สื่ อ สารว่ า ปริ ม าณที่ ฉีดมันมากหรือน้อยเกินไป และพ่อแม่ก็ต้อง
ลองผิด ลองถูก และไม่รวู้ า่ ท�ำให้ลกู ดีขนึ้ หรือ แย่ลง มันเป็นสิ่งที่สะเทือนใจมาก คนเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 1 เกิด จากตับอ่อนที่เป็นแหล่งผลิตอินซูลินซึ่งเป็น ฮอร์โมนที่มีหน้าที่ควบคุมน�้ำตาลในร่างกาย ไม่ ท� ำ งาน ซึ่ ง ตั บ อ่ อ นก็ มี ลั ก ษณะเหมื อ น สมองที่ไม่มีอะไหล่ที่สามารถซ่อมแซมหรือ เปลี่ยนถ่ายใหม่ได้ เสื่อมแล้วเสื่อมเลย จึง ต้องพึ่งยาหรือฉีดอินซูลินเข้าร่างกายเพื่อ เป็นการรักษา แต่เรามองว่า มันควรมีแนวทาง รักษาทีใ่ ห้ผลดีกว่านี้ ด้วยการหาอวัยวะอืน่ ใน ร่างกายทีม่ เี ซลล์ทสี่ ามารถผลิตฮอร์โมนได้ มา ท�ำหน้าที่ในการผลิตอินซูลินแทนตับอ่อน นั่นก็คือ เซลล์ล�ำไส้ ซึ่งเหมาะสมมาก เพราะ ผู้ป่วยไม่ต้องฉีดอินซูลิน และเป็นอินซูลินที่ หลั่งตรงความต้องการของร่างกาย ซึ่งเป็น หัวใจของการรักษาที่ดีที่สุด” ดร.ฌีวาตรา กล่าว ดร.ฌีวาตรา ได้กล่าวถึงล�ำดับขั้น การทดลองว่า โครงการนี้เริ่มท�ำร่วมกับ Professor Domenico Accili ที่ Columbia University ที่ เมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ใน ระยะแรกพบว่า อินซูลินที่หลั่งออกมาจาก February-March 2015, Vol.41 No.239
39 <<<
&
Bio & Nano เซลล์ล�ำไส้นั้น สามารถท�ำให้ร่างกายของ สัตว์ทดลองทีเ่ ป็นโรคเบาหวานมีอาการดีขนึ้ ได้ และจากการทดลองนั้นได้ผลที่ทำ� ให้รู้ว่า มียีนตัวหนึ่งในเซลล์ล�ำไส้ของสัตว์มีกระดูก สันหลังท�ำหน้าที่ยับยั้งไม่ให้เซลล์ล�ำไส้ผลิต อินซูลนิ แต่จดุ ประสงค์ของงานวิจยั นีต้ รงกัน ข้ามเพราะต้องการให้เซลล์ลำ� ไส้ผลิตอินซูลนิ ได้ ทีมวิจัยจึงได้ทดลองพิสูจน์ต่อเนื่องว่า อิ น ซู ลิ น จากล� ำ ไส้ อ อกฤทธิ์ แ ละลดระดั บ น�้ ำ ตาลในเลื อ ดจริ ง และเซลล์ ล� ำ ไส้ ห ลั่ ง อิ น ซู ลิ น ในปริ ม าณที่ ส อดคล้ อ งกั บ ระดั บ น�ำ้ ตาลในเลือด ไม่มากเกินไป เพราะถ้ามาก เกินไป น�้ำตาลในเลือดจะต�่ำเกิน และเป็น อั น ตรายต่ อ ผู ้ ป ่ ว ยได้ เ ช่ น เดี ย วกั น และที่ ส�ำคัญเซลล์อินซูลินในล�ำไส้ สามารถสร้าง ตัวเองทดแทนใหม่เรื่อย ๆ เหมือนกับเซลล์ ล�ำไส้ทวั่ ไป จึงสามารถใช้ได้กบั ผูป้ ว่ ยทีเ่ ซลล์ ผลิตอินซูลินในตับอ่อนได้ตายไป หรือ เสื่อม สภาพ ดังนั้น ที่ มจธ. งานวิจัยที่ก�ำลังด�ำเนิน การอยู่ จึงเป็นการต่อยอดว่า สิ่งที่พิสูจน์ใน สัตว์ทดลองจะใช้ได้ในคนจริงหรือไม่ จึงได้ เริ่มการทดลองกับเซลล์ล�ำไส้ของมนุษย์แต่ เป็นการทดลองในระดับหลอดทดลองเท่านัน้ “สิ่ ง ที่ เ ราต้ อ งศึ ก ษา คื อ การตั้ ง สมมติฐานจับสารเคมีที่มีฤทธิ์ไปหยุดการ ท�ำงานของยีนตัวนี้ ในเซลล์ล�ำไส้ที่มันยับยั้ง การผลิตอินซูลินเพื่อเปลี่ยนให้เซลล์ล�ำไส้ กลายเป็นเซลล์ทผี่ ลิตอินซูลนิ ได้ ซึง่ ตอนนีเ้ รา
>>>40
February-March 2015, Vol.41 No.239
ก�ำลังเร่งศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ผล อย่างเป็นทางการว่าสารใดที่มีคุณสมบัติ ดั ง กล่ า วและสามารถเปลี่ ย นเซลล์ ใ ห้ สามารถผลิตอินซูลนิ ได้มากน้อยอย่างไร เพือ่ พั ฒ นาต่ อ และน� ำ ไปผลิ ต เป็ น ยาส� ำ หรั บ รักษาโรคเบาหวานต่อไปในอนาคต แต่ยัง ต้ อ งใช้ เ วลาอี ก ระยะหนึ่ ง เนื่ อ งจากการ จะผลิ ต ยาเพื่ อ ใช้ กั บ มนุ ษ ย์ นั้ น ต้ อ งผ่ า น กระบวนการรั บ รองผลทางการแพทย์ อี ก หลายขั้นตอน” อย่ า งไรก็ ต าม ในอนาคตหาก กระบวนการวิ จั ย จบและยาตั ว นี้ ส ามารถ ผลิตออกมาใช้ในวงการแพทย์ได้แล้ว จะถือ เป็นเรื่องน่ายินดีและพลิกโฉมอุตสาหกรรม ยาโรคเบาหวานอย่างมาก เพราะการออก
ฤทธิ์ของยาต่างออกไปจากเดิม ไม่ได้ไป ควบคุ ม ปริ ม าณน�้ ำ ตาลในร่ า งกายเพี ย ง ชั่วคราวเหมือนกับยาในปัจจุบัน แต่เปรียบ เสมือนการสร้างอวัยวะชิน้ ใหม่ขนึ้ มา เพือ่ ให้ ท�ำหน้าทีห่ ลัง่ อินซูลนิ แทนตับอ่อนทีเ่ สือ่ มไป และยังท�ำหน้าที่ได้เหมือนกัน เพราะโดย ปกติแล้วอวัยวะที่ผลิตฮอร์โมนได้จะมีเซนเซอร์เพือ่ ควบคุมปริมาณการผลิตฮอร์โมนให้ เหมาะสมกับสภาวะในร่างกาย เช่นเดียวกัน ตั บ อ่ อ นและล� ำ ไส้ ก็ มี เ ซนเซอร์ ที่ ค อยส่ ง สัญญาณให้เซลล์หลั่งอินซูลินออกมาอย่าง เหมาะสมกั บ ปริ ม าณน�้ ำ ตาลในร่ า งกาย เช่นกัน ดังนั้นหากงานวิจัยชิ้นนี้ส�ำเร็จผู้ป่วย โรคเบาหวานก็สามารถใช้ยานี้ เพื่อฟื้นฟู ความบกพร่องของกลไกในร่างกายได้อย่าง เป็นธรรมชาติ และเนื่องจากล�ำไส้คล้ายกับ ผิวหนังของมนุษย์ที่มีการผลัดเปลี่ยนเซลล์ ใหม่ทกุ ๆ หนึง่ สัปดาห์ ถ้าโชคดีผปู้ ว่ ยอาจไม่ ต้องทานยาทุกวัน วันละ 3 มือ้ เหมือนปัจจุบนั แต่ทานแค่สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เพื่อให้เข้ากับ กระบวนการผลัดเซลล์ของล�ำไส้ก็เป็นได้ อีกทั้งลูกหลานตัวเล็ก ๆ ไม่ต้องทรมานกับ การฉีดอินซูลินอีกต่อไป
&
Management
ตอนที่ 1
Open Source ERP ส�ำหรับ SMEs วิ
สาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Small and Medium Enterprises: SMEs) เป็นวิสาหกิจประเภทอุตสาหกรรมที่ส�ำคัญ คือ อุตสาหกรรมการ ผลิต การบริการ การค้าส่ง และการค้าปลีกที่ใช้เงินลงทุนในจ�ำนวนที่ต�่ำกว่า วิสาหกิจขนาดใหญ่ โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 30–200 ล้านบาท
SMEs
ช่วยรองรับแรงงานจาก ภาคเกษตรกรรมเมื่ อ หมดฤดูกาลเพาะปลูก รวมทั้งเป็นแหล่งที่ สามารถรองรับแรงงานทีเ่ ข้ามาใหม่เป็นการ ป้องกันการอพยพของแรงงานเข้ามาหางาน ท�ำในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ซึ่งช่วย กระจายการกระจุกตัวของโรงงาน กิจการ วิสาหกิจในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลไปสู่ ภูมิภาค ก่อให้เกิดการพัฒนาความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจทั้งในส่วนภูมิภาคและ ของประเทศ กล่าวโดยสรุป SMEs มีความ ส� ำ คั ญ ต่ อ ระบบเศรษฐกิ จ และสั ง คมของ ประเทศ
เนื่องจากการด� ำเนินกระบวนการ ทางธุ ร กิ จ ของ SMEs ในสภาวะปั จ จุ บั น เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทที่ ส�ำคัญในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ ผู้ประกอบการ SMEs ในการบริหารงานของ องค์ ก รวิ ส าหกิ จ กระบวนการทางธุ ร กิ จ รู ป แบบใหม่ ถู ก สร้ า งและควบคุ ม โดยใช้ ระบบคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลักในการ เชื่ อ มโยงสารสนเทศระหว่ า งฝ่ า ย แผนก ภายในและภายนอกองค์กร ส่งผลให้ความ สามารถในการสือ่ สาร ควบคุม ตลอดจนการ ประมวลผลเพือ่ ตัดสินใจเป็นไปอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และองค์กรวิสาหกิจขนาดกลางและ
เรียบเรียงโดย: สนั่น เถาชารี
ขนาดย่อม ยังสามารถสร้างความแตกต่างให้ กั บ สิ น ค้ า ของตน ตลอดจนสามารถสร้ า ง คุ ณ ค่ า และลดต้ น ทุ น การผลิ ต ซึ่ ง หนึ่ ง ใน เทคโนโลยีทนี่ ยิ มน�ำมาใช้ในการบริหารจัดการ ทรัพยากรภายในองค์กรวิสาหกิจให้เป็นไป อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ คื อ การวางแผน ทรัพยากรวิสาหกิจ (Enterprise Resource Planning: ERP) การวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจเป็น โปรแกรมทีร่ องรับข้อมูลการท�ำงานประจ�ำวัน (transaction) เช่น การขายในแต่ละครั้ง น�ำ ข้อมูลเชือ่ มโยงกับรายการของฝ่ายบัญชี เพือ่ บันทึกลงสมุดประจ�ำวัน สร้างเอกสารเพื่อรอ February-March 2015, Vol.41 No.239
41 <<<
&
Management ตัดสินค้าออกจากคลังสินค้า สร้างค�ำสั่งการ ผลิตในกรณีที่ไม่มีสินค้าในคลังสินค้า สร้าง ค�ำสัง่ ซือ้ วัตถุดบิ ในกรณีทไี่ ม่มวี ตั ถุดบิ ในคลัง สินค้า ทัง้ นีเ้ อกสารจะเชือ่ มโยงโดยการตัง้ ค่า การท�ำงานต่าง ๆ เช่น ผังบัญชี การเชื่อมโยง บัญชีการลูกค้า สูตรการผลิต ระยะเวลาทีใ่ ช้ ในการผลิต ดังนั้นการวางแผนทรัพยากร วิสาหกิจจึงเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการ และวางแผนการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ของ องค์กรวิสาหกิจ โดยเป็นระบบที่เชื่อมโยง ระบบงานต่าง ๆ ขององค์กรวิสาหกิจเข้าด้วย กั น ตั้ ง แต่ ร ะบบงานทางด้ า นการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง การผลิ ต การเงิ น และการบั ญ ชี การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริหารสินค้า คงคลั ง ตลอดจนระบบการขนส่ ง และ กระจายสินค้า เพื่อช่วยให้การวางแผนและ บริหารทรัพยากรขององค์กรวิสาหกิจเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งยังช่วยลดเวลาและ ขั้นตอนการท�ำงานขององค์กรวิสาหกิจลง เป็นระบบที่จ�ำเป็นส�ำหรับผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมทุกขนาดในปัจจุบนั ซึง่ หากไม่มี ระบบ ERP ผู้ประกอบการอาจไม่สามารถที่ จะแข่งขันได้อีกในอนาคตอันใกล้ ดังผลการ วิ จั ย ของพั ช ริ น ทร์ อิ น ทนั น ท์ (2546) ได้ พัฒนาระบบการวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ (ERP) เพื่ อ ช่ ว ยในการตั ด สิ น ใจด้ า นการ วางแผนความต้องการวัสดุ บริษทั อินโนเวกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด โดยมีขนั้ ตอนการศึกษา คื อ การวิ เ คราะห์ ร ะบบ การศึ ก ษาและ ปรับปรุงระบบ การทดสอบระบบ รวมไปถึง การประเมินผลการใช้งานระบบ ระบบถูก ประเมิ น ผลโดยผู ้ ใ ช้ ป ระเมิ น 3 คน จาก พนั ก งานฝ่ า ยจั ด ซื้ อ บริ ษั ท อิ น โนเวกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผลการประเมินสรุปได้ว่า ภายหลัง จากการพัฒนาระบบ ERP แล้ว ระบบ ERP สามารถลดขั้นตอนและความผิดพลาดใน การท�ำงานของฝ่ายจัดซือ้ ได้ โดยอยูใ่ นเกณฑ์ ที่มีประสิทธิภาพมาก สอดคล้องกับความ ต้องการของผู้ใช้ ซึ่งการตัดสินใจเลือก ERP >>>42
February-March 2015, Vol.41 No.239
ของผู้บริหารควรเลือก ERP ที่เป็นรหัสเปิด (open source ERP) เพราะใช้งานง่าย มี ฟังก์ชนั รองรับกับเทคนิคการบริหารการผลิต ทั้งแบบผลัก (push) และแบบดึง (pull)
สาเหตุที่ต้องมีการประยุกต์ใช้ ERP ใน SMEs
สาเหตุที่วิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมต้องมีการประยุกต์ใช้ ERP เนื่อง มาจากปัญหาหลายอย่างที่วิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่ อ มก� ำ ลั ง ประสบอยู ่ ใ น ปัจจุบัน ยกตัวอย่างเช่น 1. การด� ำ เนิ น กระบวนการทาง ธุรกิจแยกเป็นฝ่าย เป็นแผนก ขาดการจัด เก็ บ บริ ห ารและใช้ ข ้ อ มู ล ร่ ว มกั น อย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความล่ า ช้ า และ ความผิดพลาดสูง ซึง่ ก่อให้เกิดค่าใช้จา่ ยทีไ่ ม่ เพิ่มมูลค่าจากกระบวนงานเหล่านี้ ท�ำให้ ต้ น ทุ น สิ น ค้ า ขายสู ง ขึ้ น ส่ ง ผลให้ ค วาม สามารถในการแข่งขันของวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมลดลง อีกทั้งยังท�ำให้ วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มต้ อ ง ท� ำ การผลิ ต และขายในปริ ม าณที่ ม ากขึ้ น เพื่อท�ำให้คุ้มทุน 2. ความไม่สามารถควบคุมหรือ ตรวจสอบทรัพยากรของวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม ไม่ว่าจะเป็นพนักงาน เครื่องจักร วัตถุดิบ สินค้าระหว่างการผลิต และสินค้าคงคลังได้อย่างครอบคลุม ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ เนื่องจากพนักงานที่มี ความเชี่ยวชาญเป็นทรัพยากรที่ส�ำคัญและ จ�ำเป็นส�ำหรับบริษัทฯ ดังนั้นหากวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมสามารถตรวจ สอบทักษะและปริมาณงานของพนักงานได้ จะเป็นประโยชน์อย่างมากในการวางแผน การพัฒนาบุคลากร ส่วนในภาคการผลิตนัน้ หากไม่ ส ามารถตรวจสอบถึ ง การบริ ห าร เครือ่ งจักรในสายการผลิต ซึง่ รวมถึงเวลาการ ผลิต ระยะเวลาการซ่อมบ�ำรุงได้แล้ว ธุรกิจ อาจประสบปัญหาจากรายได้ที่สูญเสียไป
จากการซ่อมบ�ำรุงเครื่องจักร แรงงานที่ว่าง งาน และอาจสูญเสียลูกค้าในที่สุด และ สุดท้ายหากไม่สามารถติดตามหรือตรวจ สอบวัตถุดิบ สินค้าระหว่างการผลิต และ สินค้าคงคลังได้ วิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมอาจประสบปัญหาในการบริหาร ทุนหมุนเวียน ซึ่งเป็นตัวช่วยในการวางแผน การผลิตสินค้าเพื่อส่งมอบให้ทันตามความ ต้องการของลูกค้า 3. ขาดการวางแผนและระบบที่มี ประสิ ท ธิ ภ าพ ท�ำให้ธุรกิจอาจจะเจอกับ ปัญหาหากต้องแข่งขันกับธุรกิจที่มีขนาด ใหญ่กว่า เนื่องจากระบบงานเป็นระบบเก่า ทีไ่ ม่เหมาะสมกับรูปแบบการผลิตและความ ต้องการของลูกค้าสมัยใหม่ 4. เกิ ด การสู ญ เปล่ า ในกิ จ กรรม และความรวดเร็วในการท�ำงานลดลง เมื่อ ความเชือ่ มโยงของกิจกรรมต่าง ๆ ขยายใหญ่ และซับซ้อนขึ้น จะท�ำให้เกิดก�ำแพงระหว่าง แผนก เกิดการสูญเปล่าของกิจกรรม ความ สัมพันธ์ในแนวนอนของกิจกรรมจะช้าลง ท�ำให้ประสิทธิภาพในการเชื่อมโยงกิจกรรม ทั้งหมดในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมลดต�ำ่ ลงด้วย 5. การรับรูส้ ภาพการเชือ่ มโยงของ กิจกรรมท�ำได้ยาก เมื่อการเชื่อมโยงของ กิจกรรมต่าง ๆ ขยายขอบเขตใหญ่ขึ้น เกิด ความซับซ้อนในการเชื่อมโยงกิจกรรม จะ ท�ำให้การรับรู้สภาพหรือผลของกิจกรรมใน แผนกต่าง ๆ ท�ำได้ยากขึ้น ไม่สามารถส่ง ข้อมูลให้ผู้บริหารรับรู้ได้ทันที ผลก็คือ ท�ำให้ ผู ้ บ ริ ห ารสามารถรั บ รู ้ ถึ ง ข้ อ มู ล ที่ บ ่ ง บอก สภาพความเป็นจริงของกิจกรรมต่าง ๆ ที่ ก�ำลังด�ำเนินอยู่อย่างทันทีทันการณ์ได้ยาก ขึ้น 6. การลงทุนและบริหารทรัพยากร เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดท�ำได้ยาก ผลก็ คือ ท�ำให้ผู้บริหารไม่สามารถตัดสินใจอย่าง รวดเร็ว หรือทันเวลาในการลงทุนและบริหาร ทรัพยากรขององค์กร เพือ่ ให้ลกู ค้าเกิดความ
&
Management พึ ง พอใจสู ง สุ ด ในสิ น ค้ า และบริ ก ารของ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แต่เนื่องจากในปัจจุบันซอฟต์แวร์ ERP ส�ำเร็จรูป (ERP package) ยังมีราคา ที่ค่อนข้างสูง ประกอบกับวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (SMEs) มีข้อจ�ำกัดใน ด้านเงินลงทุน ดังผลการวิจัยของกาญจนา กาญจนสุนทร (2549) ได้ศึกษาเบื้องต้นเพื่อ พัฒนาระบบ ERP ทีเ่ หมาะสมส�ำหรับ SMEs ในจังหวัดปราจีนบุรี พบว่าปัจจัยส�ำคัญที่ ผู ้ ป ระกอบการไม่ มี ค วามต้ อ งการใช้ ง าน ระบบ ERP คือ ปัญหาในเรือ่ งการขาดแคลน บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถที่จะดูแล รักษาระบบ ERP ปัญหาในเรือ่ งค่าใช้จา่ ยใน การลงทุนท�ำระบบ เนื่องจากซอฟต์แวร์ของ ระบบ ERP ทีม่ กี ารใช้งานอยูท่ วั่ ไป มีฟงั ก์ชนั การท�ำงานมาก และซับซ้อนเกินความจ�ำเป็น ท�ำให้ต้นทุนของการจัดท�ำระบบค่อนข้างสูง และใช้งานยาก ในส่วนของโมดูลหรือระบบ หลักที่เกือบทุกองค์กรจากกลุ่มตัวอย่างต้อง มีการน�ำมาใช้งานคือ ระบบการจัดการสินค้า คงคลัง ระบบการจัดซื้อ ระบบการวางแผน การผลิต และระบบงานขาย/งานวิเคราะห์ งานขาย ระบบงานบัญชีการเงิน ส�ำหรับโมดูล อืน่ ๆ มีการเลือกใช้งานตามความจ�ำเป็นหรือ ความต้ อ งการของแต่ ล ะองค์ ก ร แต่ ไ ม่ มี ความส�ำคัญเท่าโมดูลหลักดังที่กล่าวมา สอดคล้ อ งกั บ ผลการวิ จั ย ของ ฐฏิณฏั ฐ์ หลักชัยกุล (2550) ได้ศกึ ษาการน�ำ ซอฟต์แวร์การวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจ (ERP) มาใช้ในองค์การ : กรณีศกึ ษาผูบ้ ริหาร ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี พบว่าปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับระบบ ERP ใน องค์การโดยทั่วไปมีความคล้ายคลึงกันคือ การบูรณาการระบบโดยใช้ข้อมูลร่วมกัน ระหว่างแผนกหรือฝ่ายยังไม่เป็นหนึ่งเดียว กันนัก หากจะท�ำให้สมบูรณ์จริง ๆ แนวทาง การแก้ไข คือ ต้องเขียนโปรแกรมขึ้นมาใหม่ เพื่อข้อมูลจะได้เป็นหนึ่งเดียวกันร้อยเปอร์เซ็นต์ การพิจารณาเรื่องเทคนิคการติดตั้ง
และรักษาระบบ เงินลงทุน การสนับสนุนจาก ผู้บริหารหรือเจ้าของเป็นสิ่งส�ำคัญมาก การ ที่จะน�ำระบบ ERP มาใช้ครบทุกโมดูลเป็น เรือ่ งของการลงทุนที่สงู มากและมุมมองของ ผูบ้ ริหารมักพิจารณาความจ�ำเป็นและความ คุ้มค่าในการเลือกซอฟต์แวร์โมดูลที่จะใช้ สนับสนุนการท�ำงานขององค์การได้มากน้อยเป็นหลัก ส่วนเจ้าหน้าทีพ่ ฒ ั นาและดูแล ระบบจะพิจารณาความยืดหยุ่นในการปรับ แก้ไขซอฟต์แวร์ (customization) การให้ค�ำ ปรึกษาของผู้ขายหรือผู้จ�ำหน่ายซอฟต์แวร์ ต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการรักษาระบบและ ผลตอบแทนจากการลงทุน โดยสิ่งหนึ่งที่ องค์กรควรพิจารณา คือ เรือ่ งความปลอดภัย และการเก็บรวบรวมข้อมูลการใช้งานของ ระบบด้วย และเนื่องจากได้มีการพัฒนา ซอฟต์แวร์ให้เป็นรหัสเปิดมากยิ่งขึ้นกว่าใน อดีต ดังนัน้ จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีว่ สิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จะต้องมีการ ประยุกต์ใช้ ERP ที่เป็นแบบซอฟต์แวร์รหัส เปิด (Opens Source Software :OSS) ข้อดีของซอฟต์แวร์รหัสเปิด (Open Source Software: OSS) ทีส่ ำ� คัญมีดงั ต่อไป นี้ 1. ผู้ใช้งานสามารถลดค่าใช้จ่าย เนื่องจากผู้ใช้งานไม่ต้องลงทุนจัดซื้อผลิตภัณฑ์ แต่จะลงทุนจ่ายเฉพาะค่าฝึกอบรม ค่าสนับสนุน และในส่วนของผู้ขายโซลูชัน พบว่า ขายง่ายขึน้ แต่สว่ นต่าง (ก�ำไร) เท่าเดิม 2. ส่งเสริมการเรียนรู้ กล่าวคือ สามารถเรียนรู้เทคนิคการเขียนโปรแกรม จากรหัสต้นฉบับ (source code) ท�ำให้ ติดตามเทคโนโลยีการพัฒนาเป็นระยะ และ ค้นหาแนวทางในการพัฒนาต่อยอด 3. ลดการละเมิดลิขสิทธิ์ เนือ่ งจาก ผูใ้ ช้มสี ทิ ธิใช้งาน แจกจ่าย แก้ไข และขายได้ อย่างอิสระ 4. ช่วยให้กลุม่ อุตสาหกรรมแต่ละ ประเภท สามารถน�ำซอฟต์แวร์ ERP ไป ท�ำให้เหมาะสม (customize) โดยการแก้ไข
ปรับปรุง หรือจ้างพัฒนาโปรแกรมได้เอง ตามความต้องการ เพื่อให้เข้ากับระบบการ ท�ำงานในแต่ละประเภทอุตสาหกรรม 5. Open Design คือ มีอิสระทาง ด้าน Hardware เพราะสามารถใช้งานได้กบั เครื่องฮาร์ดแวร์หลายประเภท และมีอิสระ ทางด้านซอฟต์แวร์ เพราะสามารถใช้งาน ร่วมกับระบบซอฟต์แวร์ตัวอื่น ๆ ได้ 6. ท�ำให้เกิดการแข่งขันระหว่าง ผู้พัฒนาและการเติบโตของอุตสาหกรรม ซอฟต์ แ วร์ เนื่ อ งจากผู ้ พั ฒ นาโปรแกรม สามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ในการแก้ไขจุด บกพร่ อ ง และพั ฒ นาโปรแกรม เป็ น การ ลดภาวะการผูกขาด ส่งผลให้อุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์เจริญเติบโต ข้อจ�ำกัดของซอฟต์แวร์รหัสเปิด (Open Source Software: OSS) ที่ส�ำคัญมี ดังต่อไปนี้ 1. โปรแกรมหลายชนิ ด ยั ง มี คุณภาพไม่ดีเท่า Proprietary แต่โปรแกรม บางชนิดก็มีคุณภาพมากกว่า Proprietary 2. ต้องเรียนรูก้ ารใช้งานโปรแกรม ใหม่ เนื่ อ งจากเป็ น ซอฟต์ แ วร์ ร หั ส เปิ ด ที่ อนุญาตให้แก้ไขรหัสต้นฉบับได้อย่างเสรี จึง ต้องเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อท�ำให้ เหมาะสม (customize) กั บ รู ป แบบการ ด�ำเนินกระบวนการทางธุรกิจของวิสาหกิจ 3. เอกสารและผู้เชี่ยวชาญในการ พัฒนาโปรแกรมรหัสเปิดยังมีจำ� นวนจ�ำกัด เพราะเป็นการรวมกลุ่มกันของบุคลากรที่ มี ค วามรู ้ ความสามารถในการพั ฒ นา โปรแกรม ความแตกต่างระหว่างซอฟต์แวร์ ERP ส� ำ เร็ จ รู ป (ERP package) และ ซอฟต์แวร์ ERP รหัสเปิด (open source ERP) สามารถอธิบายดังแสดงในตารางที่ 2 และสามารถแสดงเหตุผลที่องค์กรวิสาหกิจ เลือกประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์รหัสเปิด (Open Source Software: OSS) และไม่ เ ลื อ ก ประยุ ก ต์ ใ ช้ ซ อฟต์ แ วร์ ร หั ส เปิ ด (Open February-March 2015, Vol.41 No.239
43 <<<
&
Management ▼ ตารางที่ 2 เปรียบเทียบระหว่างซอฟต์แวร์ ERP Package และ Open Source ERP
ERP Package ผู้ ใ ช้ มี สิ ท ธิ์ แ ค่ ใ ช้ ง านโปรแกรมเท่ า นั้ น ไม่ มี สิ ท ธิ์ แ ก้ ไ ขรหั ส ต้ น ฉบั บ (source code) การปรับปรุงโปรแกรม ต้องรอบริษัทผู้ผลิตเพียงเจ้าเดียว มีต้นทุนในการจัดซื้อ-จัดหาที่ค่อนข้างสูง เกิดการผูกขาดในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์
Open Source ERP เป็นซอฟต์แวร์ที่มีเสรีภาพในการใช้งาน ศึกษา แจกจ่าย และปรับปรุงแก้ไขรหัสต้นฉบับ (source code) ได้ สามารถปรับปรุงได้ โดยทีมงานที่มีความรู้ความสามารถ มีต้นทุนในการจัดซื้อ-จัดหาที่ตำ�่ เกิดการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ใช้งาน และผู้ผลิตซอฟต์แวร์
▼ ตารางที่ 3 แสดงเหตุผลที่องค์กรวิสาหกิจเลือกประยุกต์ใช้ OSS และไม่เลือกประยุกต์ใช้ OSS
เหตุผลที่เลือกประยุกต์ใช้ OSS
เหตุผลที่ไม่เลือกประยุกต์ใช้ OSS
เข้าใจแนวคิด และสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดของ OSS
ไม่เข้าใจแนวคิด และ/หรือ ไม่สามารถประยุกต์ใช้แนวคิดของ OSS
มีความสามารถด้านการพัฒนาต่อยอด
ไม่มีทีมงานด้านเทคนิค
มีผู้ให้การสนับสนุนในลักษณะขององค์กร
ขาดผู้สนับสนุนเมื่อเริ่มใช้งาน
มีโซลูชันที่ตรงตามความต้องการ
ขาดผู้เสนอโซลูชัน
Source Software: OSS) ดังตารางที่ 3
อ่านต่อฉบับหน้า เอกสารอ้างอิง 1. พั ช ริ น ทร์ อิ น ทนั น ท์ . (2546). การ พัฒนาระบบการวางแผนทรัพยากรกิจการเพือ่ ช่วย ในการตัดสินใจด้านการวางแผนความต้องการวัสดุ บริษัท อินโนเวกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด. การ ค้นคว้าแบบอิสระปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการจั ด การ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2. กาญจนา กาญจนสุนทร. (2549). การ ศึกษาเบื้องต้นเพื่อพัฒนาระบบ ERP ที่เหมาะสม ส�ำหรับ SMEs ในจังหวัดปราจีนบุรี. Industrial Technology Review, 12(158), 157-161. 3. ฐิฏิณัฏฐ์ หลักชัยกุล.(2550). การ ศึกษาการน�ำซอฟต์แวร์การวางแผนทรัพยากรทาง ธุรกิจมาใช้ในองค์การ: กรณีศกึ ษาผูบ้ ริหารในนิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี. Industrial Technology Review, 13(168), 174-175. 4. ธนสิ ท ธิ นิ ต ยะประภา และ อรสา เตตวัฒน. “การพัฒนาระบบจัดการการส่งออกปลา
>>>44
February-March 2015, Vol.41 No.239
สวยงามโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม ERP Open Source”, Journal of Community Development Research. 4(1) : 14 – 27, 2011. 5. สนัน่ เถาชารี. การปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการกระบวนการทางธุรกิจของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมโดยใช้ระบบ ERP กรณี ศึกษาโรงงานผลิตขนมปังและเบเกอรี.่ วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 2552. 6. สนั่น เถาชารี. (2551). การประยุกต์ ใช้ Open Source Tiny ERP เพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการกระบวนการทางธุรกิจของ SMEs. Industrial technology review,14 (181), 148-154. 7. สนั่น เถาชารี. (2552). เพิ่มศักยภาพ การแข่งขันของ SMEs ด้วย Open Source ERP. Industrial technology review,15 (197), 132-138. 8. http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=1236&pageid=3 2&read=true&count=true#sthash.SiIK4NGS. dpuf 9. http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=1236&pageid=3 3&read=true&count=true#sthash.CZGmM2w3. dpuf
10. http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=1236&pageid=3 4&read=true&count=true#sthash.8gEfkE1P. dpuf 11. http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=1236&pageid=2 8&read=true&count=true#sthash.6N32VjTf.
dpuf
12. http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=1236&pageid=2 9&read=true&count=true#sthash.KHkMA6xb. dpuf 13. http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=1236&pageid=6 &read=true&count=true#sthash.U5lPYWBP. dpuf 14. http://www.novabizz.com/Business 15. http://www.frontware.com/OpenERP_th.php
&
Computer&IT
กลางแห่ ง นี้ จึ ง ต้ อ งการผสานรวมระบบ สารสนเทศและระบบโทรศัพท์ผา่ นเครือข่าย ไอพี (VoIP) ของตนเข้าไว้ในเครือข่ายเดียว
Case Study: Smart City Hall @ Nagahama Japan เรียบเรียงโดย กองบรรณาธิการ
การ
บริการที่สะดวกรวดเร็ว คือ หัวใจของการให้บริการของส่วนงานราชการที่ต้องค�ำนึงถึง ศาลากลางเมืองนากาฮาม่า ในประเทศญี่ปุ่น เป็นตัวอย่างของส่วนราชการที่มีการน�ำ ระบบ เทคโนโลยีเครือข่ายที่มีเสถียรภาพมาใช้ ในการบริหารจัดการภายในได้โดยอัตโนมัติ เป็นระบบเครือข่าย อัจฉริยะ ที่ไม่เพียงให้บริการที่สะดวกรวดเร็วแล้ว ยังสามารถลดค่าใช้จ่ายการลงทุน และการด�ำเนินงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น
ศา
ลากลาง เมืองนากาฮาม่า ตัง้ อยูใ่ น จังหวัดชิงะ ประเทศญีป่ นุ่ โดยในปี พ.ศ.2549 เมืองนากาฮาม่า ต�ำบลอาซาอิ และต�ำบลบิวะ ได้ผนวกรวมกันเป็นเมือง เดียว จากนัน้ ในปี พ.ศ.2553 เมืองแห่งนีก้ ไ็ ด้ ผนวกรวมเข้ากับเทศบาลอีก 6 แห่ง และได้ ก่อตั้งขึ้นเป็นเมืองนากาฮาม่าในปัจจุบัน การผนวกรวมดั ง กล่ า วเป็ น ผลมา จากความจ� ำ เป็ น บางประการ โดยฝ่ า ย ปกครองต้องการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในด้าน การบริหารราชการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการใช้ทรัพยากรเฉพาะทางที่ดียิ่งขึ้น มี ความสมดุลด้านการพัฒนาครอบคลุมทั้ง เมือง และมี แ ผนการป้ อ งกั น ภั ย พิ บั ติ ที่ มี ประสิทธิภาพ ปัจจุบันเมืองนากาฮาม่าได้ติดตั้ง เครือข่ายเฉพาะบริเวณ (LAN) ใหม่ในศาลากลางที่สร้างขึ้นใหม่ และเพื่อลดค่าใช้จ่าย
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีท)ี ท�ำให้การด�ำเนินงานและการจัดการ เครือข่ายไม่ยุ่งยาก รวมทั้งสร้างโครงข่าย พืน้ ฐานไอซีทที มี่ เี สถียรภาพยาวนาน ศาลา-
ความต้องการด้านระบบเครือข่าย
จากการที่เมืองนากาฮาม่าต้องการ ลดค่าใช้จา่ ยด้านไอซีที และปรับเปลีย่ นการ ด�ำเนินงานและการจัดการเครือข่ายให้ง่าย ขึ้น โดยหนึ่งในแผนงานด้านการอัปเกรด เครือข่ายใหม่จึงได้วางแผนรวมระบบสารสนเทศและระบบโทรศั พ ท์ ผ ่ า นเครื อ ข่ า ย ดิจิทัล (VoIP) เข้าไว้ในเครือข่ายเดียว โดย เฉพาะอุปกรณ์ส่วนบุคคลที่ถูกน�ำมาใช้ เพื่อ เข้าถึงสารสนเทศออนไลน์ เช่น สมาร์ทโฟน และคอมพิวเตอร์ แทบเล็ต มีการพัฒนา อย่ า งรวดเร็ ว อุ ป กรณ์ ดั ง กล่ า ว บริ ก าร สารสนเทศ และการผสานรวมระบบจัดเก็บ ข้อมูลและระบบโสตทัศนูปกรณ์เข้าไว้ด้วย กัน ถือเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่จะต้องถูกรวมไว้ใน เครือข่ายธุรกิจใหม่ทมี่ คี วามพร้อมใช้งานสูง และรองรับอนาคต
February-March 2015, Vol.41 No.239
45 <<<
&
Computer&IT ลดค่าใช้จา่ ย 30 เปอร์เซ็นต์ จากการ รวมสามระบบไว้ ในเครือข่ายเดียว เดิมทีเมืองนากาฮาม่าขยายขอบข่าย ของระบบไอซี ที ส่ ง ผลให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ต ่ า ง ประสบกับปัญหานานัปการ ทัง้ นีค้ ณะบริหาร จั ด การเมื อ งนากาฮาม่ าเลือ กที่ จ ะใช้ ง าน เครือข่ายหลัก (แบ็คโบน) เครือข่ายสารสนเทศ และเครือข่าย VolP แยกกันต่างหาก ด้ ว ยเหตุ ผ ลด้ า นความปลอดภั ย แม้ ว ่ า แนวทางดังกล่าวจะมีประสิทธิภาพในด้าน การรักษาความปลอดภัย แต่ก็มาพร้อมกับ ค่าใช้จ่ายที่สูง เนื่องจากจ�ำเป็นต้องใช้ชุด อุปกรณ์เครือข่ายทีแ่ ตกต่างกันส�ำหรับแต่ละ เครือข่ายที่มีทั้งหมด 3 เครือข่าย เครือข่ายเดิมมีสวิตช์หลักอยูด่ ว้ ยกัน 6 ตัว แต่ละเครือข่ายจะมีสวิตช์หลักทีใ่ ช้งาน หนึ่ ง ตั ว และสแตนด์ บ ายไว้ อี ก หนึ่ ง ตั ว นอกจากนี้ยังมีสวิตช์เชื่อมต่ออีกสามตัวซึ่ง ติดตัง้ ไว้ทแี่ ต่ละชัน้ ของอาคาร 6 ชัน้ (หนึง่ ตัว ต่อหนึ่งเครือข่าย)
“การติดตัง้ สวิตช์แยกส่วนกันส�ำหรับ ทั้งสามระบบไม่เพียงแต่ก่อให้เกิดค่าใช้จ่าย ทีส่ งู ทัง้ ในด้านการจัดซือ้ และการด�ำเนินการ เท่ า นั้ น แต่ ยั ง เพิ่ ม ความเสี่ ย งของปั ญ หา อันเนื่องมาจากอุปกรณ์ใช้งานที่มีอยู่เป็น จ�ำนวนมาก” นายฟูมิฮิโกะ ทสึดะ ผู้ช่วย หัวหน้าฝ่ายนโยบายสารสนเทศ กองวาง ผังเมืองนากาฮาม่า กล่าว
คณะบริหารจัดการเมืองจึงตัดสินใจ น�ำรูปแบบใหม่เข้ามาใช้เพื่อผสานรวมทั้ง สามระบบให้เป็นเครือข่ายเดียว โดยพวกเขา วางแนวทางด้านการรักษาความปลอดภัย ด้ ว ยการแบ่ ง เครื อ ข่ า ยดั ง กล่ า วออกเป็ น VLAN การตั ด สิ น ใจในครั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ ลด ค่าใช้จ่ายด้านการลงทุน (Capex) และค่า ใช้จา่ ยด้านการด�ำเนินงาน (Opex): “การลด จ� ำ นวนอุ ป กรณ์ ด ้ ว ยการหั น มาใช้ ร ะบบ เครือข่ายและระบบเซิร์ฟเวอร์เสมือนท�ำให้ ค่าใช้จ่ายลดลงได้ประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์ เลยทีเดียว” นายทสึดะ กล่าว “การน�ำเอาระบบไอซีทเี ข้ามาใช้งาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพไม่เพียงแต่ช่วยเพิ่ม ความมีประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการ และคุณภาพของบริการเท่านั้น แต่ยังช่วย ยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับพลเมืองและ ชุมชนต่าง ๆ ด้วย เราได้ผลักดันแผนงานที่ จะช่วยระบุมาตรการด้านการบริหารจัดการ ที่เกี่ยวข้องกับระบบไอซีทีที่เราต้องด�ำเนินการในช่วงสามปีนี้ ซึ่งเริ่มต้นแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ.2556” นายทสึดะ กล่าว
ลดช่วงเวลาเครือข่ายหยุดทำ �งาน และเพิ่มความมีเสถียรภาพ
ก่อนที่จะมีแนวคิดออกแบบระบบ ใหม่ การจั ด การปั ญ หาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อุปกรณ์เครือข่ายเป็นสิ่งที่พบกันบ่อยมาก >>>46
February-March 2015, Vol.41 No.239
&
Computer&IT ฝ่ายไอซีทีจะเข้ามาช่วยจัดการปัญหาที่ไม่ ร้ายแรงต่าง ๆ ให้ แต่หากเกิดปัญหาทีย่ งุ่ ยาก มากขึ้น พวกเขาก็จะติดต่อเจ้าหน้าที่ฝ่าย บ�ำรุงรักษา ซึ่งส่งผลให้เกิดช่วงเวลาที่ระบบ เครือข่ายต้องหยุดท�ำงานอันเนือ่ งมาจากการ รอเจ้าหน้าที่ให้เข้ามาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น นั้น ๆ
ศาลากลางเมืองนากาฮาม่าเลือกใช้ บริการเครือข่ายจากบริษทั สัญชาติ ญี่ปุ่นด้วยกัน
ศาลากลางเมื อ งนากาฮาม่ า ตั ด สิ น ใจเลื อ กใช้ บ ริ ก ารจากบริ ษั ท สั ญ ชาติ ญี่ปุ่น นั่นคือ บริษัท อัลไลด์ เทเลซิส ให้ช่วย ด�ำเนินการจัดหาโซลูชนั เครือข่ายใหม่ให้ โดย เครือข่ายแบบผสานรวมดังกล่าว ใช้เทคโนโลยี อัลไลด์ เทเลซิส แมเนจเม้นท์ เฟรมเวิรค์ หรือ เอเอ็มเอฟ (Allied Telesis Management Framework (AMF)) ส�ำหรับสวิตช์หลัก ที่น�ำมาใช้คือ สวิตช์ SwitchBlade x8100 Series Next Generation Intelligent Layer 3+ Chassis ส่วนสวิตช์เชื่อมต่ออัจฉริยะ (Edge Switch) คือ สวิตช์ x510 Series Stackable Gigabit Layer 3 การน�ำ AMF เข้ามาใช้งานสามารถ ลดภาระด้านการด�ำเนินงานและการจัดการ เครือข่ายของเมืองผ่านการก�ำหนดค่าสวิตช์ แบบอัตโนมัติและการรวมการจัดการเครือข่ายเข้าด้วยกันเป็นหนึ่งเดียว
คุ ณ ประโยชน์ สำ � คั ญ ของโซลู ชั น AMF
การจัดการเครือข่ายแบบอัตโนมัติ : AMF สามารถตอบสนองความต้องการด้าน การจัดการที่เพิ่มขึ้นส�ำหรับเครือข่ายแบบ ผสานรวมใหม่ของศาลากลางแห่งนี้ และยัง ช่วยให้งานบริหารจัดการประจ�ำวันที่มีอยู่ เป็นจ�ำนวนมาก กลายเป็นระบบอัตโนมัติ ด้ ว ย ทั้ ง นี้ AMF มาพร้ อ มกั บ คุ ณ สมบั ติ ชั้นเยี่ยม เช่น การจัดการแบบรวมศูนย์ การ
ส�ำรองข้อมูลอัตโนมัติ การอัปเกรดอัตโนมัติ การจัดเตรียมทรัพยากรอัตโนมัติ และการกู้ คืนระบบอัตโนมัติ SwitchBlade x8100 เป็นอุปกรณ์ หลั ก ของ AMF โดยจะท� ำ หน้ า ที่ จั ด เก็ บ เฟิร์มแวร์และส�ำเนาส�ำรองของการก�ำหนด ค่าสวิตช์เชื่อมต่อ x510 Series ไว้ทั้งหมด รวมทั้ ง จั ด เตรี ย มไฟล์ ที่ เ หมาะสมให้ กั บ สมาชิกของเครือข่ายใหม่หรือเครือข่ายที่ เปลี่ยนใหม่ด้วย การจัดการแบบรวมศูนย์ชว่ ยให้การ ปฏิ บั ติ ง านและการบ� ำ รุ ง รั ก ษาสามารถ ด�ำเนินการด้วยค�ำสั่งเดียวบนอุปกรณ์หลัก ของ AMF แทนที่จะต้องไปด�ำเนินการกับ อุปกรณ์เครือข่ายทีละตัวที่มีอยู่เป็นจ�ำนวน มาก
ลดระยะเวลาหยุ ด ท� ำ งานของ เครือข่าย : ศาลากลางแห่งนี้มีสวิตช์ส�ำรอง ทีส่ นับสนุน AMF พร้อมใช้ตลอดเวลาในกรณี ทีเ่ กิดปัญหาใด ๆ ขึน้ “ก่อนหน้านีอ้ าจต้องใช้ เวลานานสองถึงสามชั่วโมงกว่าที่จะคืนค่า ระบบได้ หลังจากท�ำการเปลี่ยนสวิตช์ แต่ ด้วย AMF การคืนค่าระบบสามารถด�ำเนินการให้เสร็จได้อย่างง่ายดาย สิ่งที่ต้องท�ำมี เพียงแค่เชื่อมต่ออุปกรณ์สแตนด์บายกับ ระบบ LAN จากนั้ น ซอฟต์ แ วร์ แ ละการ ก�ำหนดค่าจะถูกจัดส่งจากอุปกรณ์หลักของ
AMF โดยอัตโนมัติ” นายยาซูฮิโก คาวามูระ ฝ่ายนโยบายสารสนเทศ กล่าว
แผนงานอนาคต
เมืองนากาฮาม่ามีส�ำนักงานย่อย 8 แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่ นอกเหนือ จากส�ำนักงานหลักของศาลากลาง เนือ่ งจาก ไม่สามารถจัดเตรียมเจ้าหน้าที่ไอซีทีเฉพาะ ส� ำ หรั บ แต่ ล ะส� ำ นั ก งานย่ อ ยได้ ดั ง นั้ น เจ้ า หน้ า ที่ ข องฝ่ า ยนโยบายสารสนเทศที่ ส�ำนักงานของศาลากลางจึงต้องด�ำเนินการ และจั ด การเครื อ ข่ า ยของส� ำ นั ก งานย่ อ ย ดังกล่าวเอง เมื่ อ มี ป ั ญ หาเกิ ด ขึ้ น กั บ อุ ป กรณ์ เครือข่ายที่ส�ำนักงานย่อย เจ้าหน้าที่จาก ส�ำนักงานใหญ่จะต้องใช้เวลาเดินทางร่วม ชั่ ว โมงเพื่ อ เข้ า ไปท� ำ การเปลี่ ย นหรื อ ซ่ อ ม อุปกรณ์นั้น ๆ แม้ว่าส�ำนักงานใหญ่และ ส�ำนักงานย่อยจะเชื่อมต่อกันผ่านเราเตอร์ AR แล้วในขณะนี้ ซึ่งนายคาวามูระ เชื่อว่า “ในอนาคต หากน�ำสวิตช์ที่ให้การสนับสนุน AMF ไปติดตั้งไว้ที่ส�ำนักงานย่อย ก็จะท�ำ ให้ ส� ำ นั ก งานหลั ก สามารถบริ ห ารจั ด การ ส�ำนักงานย่อยได้จากระยะไกล แนวทางนี้ ช่วยให้การกู้คืนระบบอัตโนมัติของ AMF ส�ำหรับการเปลีย่ นชุดอุปกรณ์เกิดขึน้ ได้อย่าง รวดเร็ว และเรายังสามารถยกระดับคุณภาพ การใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้ได้อีกด้วย” ดั ง นั้ น จึ ง ไม่ แ ปลกที่ จ ะมี เ ทศบาล จ�ำนวนมากแสดงความสนใจในแนวทางที่ เมืองนากาฮาม่าก�ำลังด�ำเนินอยู่ นั่นคือการ ท�ำให้การด�ำเนินงานและการจัดการเครือข่ายของตนมีประสิทธิภาพและเกิดความ เหมาะสมสูงสุด ข้อมูลจาก : บริษัท อัลไลด์ เทเลซีส จ�ำกัด
February-March 2015, Vol.41 No.239
47 <<<
&
Computer&IT
แฟลช: เทคโนโลยีเปลีย่ นโลก จาก
แนวคิดในการน�ำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร หรือการคิดค้น นวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ก็ตาม สิ่งส�ำคัญที่ควรค�ำนึงถึง คือ ความรวดเร็ว ต้องรวดเร็วทั้ง ในแง่ ก ารคิ ด ค้ น โซลู ชั น ออกสู ่ ต ลาด การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและความเร็ ว ให้ ร ะบบ ในขณะเดี ย วกั น การ สร้างสรรค์นวัตกรรมคู่ขนานไปกับการด�ำเนินธุรกิจก็เกิดขึ้นมากมายแบบที่ไม่เคยมีมาก่อน
โม
บาย คือ หนึ่งในเทรนด์ทรงพลังที่ ก� ำ ลั ง พลิ ก โฉมโลกเทคโนโลยี สารสนเทศ จะเห็นได้จากการใช้สมาร์ทโฟน แทบเล็ต และคอมพิวเตอร์รูปแบบใหม่ ๆ เพื่อเข้าถึงแอปพลิเคชัน และข้อมูลต่าง ๆ จากทุ ก หนทุ ก แห่ ง โมบายจึ ง มี บ ทบาท ส�ำคัญในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนผ่าน สู ่ แ พลตฟอร์ ม ที่ ส ามของโลกไอที ม ากขึ้ น เรือ่ ย ๆ โมบายเป็ น เทรนด์ ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ชีวิตประจ�ำวัน และเกี่ยวพันอย่างใกล้ชิดกับ วิถชี วี ติ ของเรา ไม่วา่ จะเป็นพฤติกรรม ความ ชอบ และความคาดหวังทีแ่ ตกต่างกันไปตาม แต่ละคน ซึ่งบางครั้งเราเองก็มองข้ามความ แตกต่างเหล่านี้ไป พฤติกรรม: ในบางวันเราอาจอยาก ไปช้อปปิง้ เร็วกว่าเดิม หรือท�ำธุรกรรมการเงิน ผ่านสมาร์ทโฟนระหว่างเดินทางไปท�ำงาน ความชอบส่วนตัว: เราต้องการให้ คนอื่นรับรู้เรื่องของเราแบบไหน ท�ำไมเรา >>>48
February-March 2015, Vol.41 No.239
เจาะจงไปทีร่ า้ นโปรดร้านเดิมก่อนไปร้านอืน่ เพื่ อ หาเสื้ อ ผ้ า ส� ำ หรั บ ใส่ ไ ปงานในโอกาส พิเศษ ความคาดหวัง: เราคาดหวังว่าการ เข้าถึงข้อมูลทีต่ อ้ งการได้ทนั ทีจะช่วยจัดการ ธุระส�ำคัญ ๆ ของเราได้ ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการ เงิน สุขภาพ หรือการติดต่อกับเพื่อนฝูง
นฐกร พจนสัจ ผู้จัดการประจำ�ประเทศไทย อีเอ็มซี อินฟอร์เมชั่น ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย)
เทคโนโลยีน่าทึ่งวนเวียนอยู่ในทุก ๆ จังหวะชีวิตของเราและอีกหลายพันล้านคน ทั่วโลก โดยที่เราแทบจะไม่ได้สังเกตเห็น ปั จ จุ บั น แฟลชได้ ก ลายมาเป็ น องค์ประกอบเชิงกลยุทธ์ของดาต้าเซ็นเตอร์ รุ่นใหม่ ๆ เนื่องจากแฟลชเป็นเทคโนโลยี ส�ำคัญทีถ่ อื ก�ำเนิดขึน้ ในยุคผูบ้ ริโภคเป็นใหญ่
&
Computer&IT และมีการพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว จนกระทั่ง องค์กรต่าง ๆ สามารถหาซื้อมาใช้งานได้ใน ราคาทีเ่ อือ้ มถึง แฟลชช่วยให้โลกส่วนตัวของ เรามีพื้นที่เฉพาะที่ไม่ซ�้ำกับใคร และส�ำหรับ บางคน แฟลชอาจผูกพันกับชีวิตพวกเขาจน กลายเป็นเพื่อนผู้ซื่อสัตย์ที่อยู่ด้วยกันตลอด เวลา ไม่วา่ จะวิง่ หลับ ตืน่ พูด กินข้าว นัง่ หรือ เดิน แฟลชช่วยให้ทุกสิ่งเป็นไปได้ท่ามกลาง การใช้ชีวิตที่เร่งรีบในปัจจุบัน
ความโดดเด่นของเทคโนโลยีแฟลช ➲
แฟลช ท� ำ ให้ เ ข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ได้ รวดเร็วอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ไม่ว่าจะเป็น ข้อมูลแบบสุ่ม หรือข้อมูลที่จัดเรียงแล้ว ทั้ง ยังช่วยให้ใช้งานแอปพลิเคชันได้อย่างเหนือ ชัน้ และใช้เวลาตอบสนองทีเ่ ร็วกว่า ในสภาพ แวดล้อมเสมือนจริง ➲ แฟลชเป็นเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์ที่ไม่มีชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเข้ามา เกี่ยวข้อง ➲ แฟลชใช้ พ ลั ง งานน้ อ ยมาก เนื่องจากไม่ต้องหมุนดิสก์ ไม่มีแกนที่ต้อง เคลื่อนไหวไปมา และไม่ต้องระบายความ ร้อนมาก ซึ่งช่วยลดภาระการท�ำงานของ ดาต้าเซ็นเตอร์ลงได้ เทคโนโลยีแฟลชสตอเรจเป็นหนึ่ง ในเทคโนโลยีที่ส�ำคัญที่สุดที่จะมาลบภาพ การใช้คอมพิวเตอร์แบบเก่าๆ ไปอย่างสิ้น เชิง ทั้งในระดับผู้บริโภคไปถึงระดับองค์กร ไม่วา่ จะเป็นชิปขนาดเล็กที่ชว่ ยเร่งประสิทธิ-
ภาพการท�ำงานในกล้องถ่ายรูปหรือโทรศัพท์ หรือไดรฟ์คุณภาพระดับองค์กรที่ช่วยเพิ่ม ความรวดเร็วแบบเทอร์โบชาร์จให้แก่การ ท�ำงานของแอปพลิเคชันในฐานข้อมูล แฟลช เป็นเสมือนศูนย์กลางส่งผ่านค�ำสั่งส�ำคัญที่ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานไปยังฐาน ข้ อ มู ล สภาพแวดล้ อ มเสมื อ นจริ ง และ กระบวนการวิเคราะห์ต่าง ๆ ซึ่งช่วยส่งเสริม ประสบการณ์การเข้าถึงข้อมูลที่ “ผสานเป็น หนึ่งเดียว” ให้กับผู้ใช้งาน ในยุคของบิ๊กดาต้า โมบายยังหมาย ถึง “โมบายเสมือนเป็นเซนเซอร์” ข้อมูล ต่างๆ ทีเ่ กิดจากอุปกรณ์หลากหลายประเภท ซึ่ ง เพิ่ ม จ� ำ นวนขึ้ น จะถู ก ส่ ง กลั บ เข้ า มาที่ “หน่วยวิเคราะห์ระดับโลก” เพื่อให้องค์กร ต่าง ๆ ได้วเิ คราะห์การใช้งานเครือ่ งจักรนัน้ ๆ อย่างละเอียด เพื่อเป็นข้อมูลในการเสริม สร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้า สิ่งเหล่านี้มีความส�ำคัญต่อองค์กร อย่างไร? ความส�ำคัญอยู่ที่ว่าปริมาณงาน ด้ า นไอที ข องแต่ ล ะองค์ กรต้ อ งการระบบ จัดการทีม่ ขี นาด ประสิทธิภาพ และสมรรถนะ ที่แตกต่างกัน ผู้ประกอบการล้วนกระหายที่ จะใช้ประโยชน์จากแฟลช งานที่ต้องการ ประสิทธิภาพการท�ำงานสูง ๆ ดังกล่าวยัง ต้องได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งในแง่ของ การใช้งาน และยังต้องพึ่งพาแฟลชคุณภาพ ระดับองค์กรอีกด้วย นอกจากแฟลชสตอเรจจะเป็นหนึง่ ในเทคโนโลยีส� ำคัญที่จะมาลบล้างภาพ
เก่ า ๆ ของการใช้ ง านคอมพิ ว เตอร์ โ ดย สิ้ น เชิ ง แล้ ว ยั ง ช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การ สร้างสรรค์นวัตกรรมในวงการสตอเรจด้วย ความคิดเก่า ๆ เกีย่ วกับสตอเรจทีเ่ รา เคยรับรู้มาก�ำลังถูกพลิกโฉมด้วยเทคโนโลยี แฟลช มีการใช้แฟลชอย่างแพร่หลายใน ดาต้าเซ็นเตอร์ทุกระดับ ซึ่งท�ำให้เกิดนวัตกรรมในทุกภาคส่วนของไอที การคิดค้นนวัตกรรมและกลยุทธ์ใน การควบรวมกิจการด้านเทคโนโลยีต่าง ๆ ท� ำ ให้ อี เ อ็ ม ซี ส ามารถพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แฟลชที่มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมครบถ้วน ตามความต้องการของลูกค้ามากที่สุดเป็น อันดับต้น ๆ ในอุตสาหกรรม ซึง่ ประกอบด้วย ไฮบริด อาร์เรย์ ทีส่ ามารถอัปเกรดเป็นแฟลช ได้ (flash-optimized hybrid arrays) โซลูชนั แฟลชเซิร์ฟเวอร์ และออล-แฟลช อาร์เรย์ โดยน� ำ เสนอโซลู ชั น แฟลชที่ ห ลากหลาย สามารถรองรับทุก ๆ แอปพลิเคชันทีต่ อ้ งการ รวมไปถึงการใช้งาน สมรรถนะ ผลการปฏิบัติงาน ประสิทธิภาพการใช้งาน และงบประมาณที่ก�ำหนดไว้ได้
▲
นฐกร พจนสัจ
ผู้จัดการประจ�ำประเทศไทย อีเอ็มซี อินฟอร์เมชั่น ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย)
February-March 2015, Vol.41 No.239
49 <<<
&
Computer&IT
ออล-แฟลช อาเรย์...ความสมบูรณ์ แบบของความเร็วที่เหนือกว่า
เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิต ประจ�ำวันของเรามากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งในเรื่อง ส่วนตัวและการท�ำงาน เราจึงคาดหวังที่จะ น�ำเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ในโลกธุรกิจให้ มากขึ้นด้วย ในช่วงไม่กที่ ศวรรษทีผ่ า่ นมา ผลการ ปฏิบัติงานของเทคโนโลยีการประมวลผล และระบบเครือข่ายจะเพิ่มขึ้นถึงสองเท่าใน ทุกๆ 18 เดือน แต่ข้อจ�ำกัดด้านกลไกของ ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ กลับเป็นอุปสรรคที่ท�ำให้ ประสิทธิภาพของสตอเรจต้องหยุดอยู่กับที่ ด้วยความเร็วเท่าเดิม การออกแบบสถาปั ต ยกรรมจึ ง ได้รับการพัฒนา เพื่อลดช่องว่างของผลการ ปฏิบตั งิ าน ผ่านวิธกี ารต่าง ๆ เช่น การพัฒนา รูปแบบของการอ่านและการแคชดาต้าใน เมมโมรี่หลัก และการประเมินการอ่านค่า อย่างต่อเนื่อง
สมรรถนะเด่ น ของ ออล-แฟลช อาร์เรย์ ➲
เพิ่มประสิทธิภาพระหว่างการ ประมวลผล เครือข่าย และการจัดเก็บข้อมูล
>>>50
February-March 2015, Vol.41 No.239
ขจัดความท้าทายของ Input/Output ➲ ตอบสนองความต้องการเข้าถึง ข้อมูลแบบสุ่มของแอปพลิเคชันเชิงกลยุทธ์ เช่น เวอร์ชวลไลซ์ เวิร์กโหลด โครงสร้างพื้นฐานเดสก์ท็อปแบบเสมือน ฐานข้อมูลและ การวิเคราะห์ และช่วยให้สามารถปรับขนาด ได้ ➲ สามารถปรับการออกแบบบริการ สตอเรจทั้ ง ชุ ด ได้ โ ดยใช้ เ ทคโนโลยี แ ฟลช ซึ่งน�ำไปสู่สตอเรจ อาเรย์ยุคใหม่ ด้วยการ เริ่มต้นใช้ ออล-แฟลช อาเรย์
แฟลชยังคงเป็นแรงผลักส�ำคัญใน การเปลี่ยนแปลง และสามารถสร้างโอกาส ทางการตลาดให้กบั สตอเรจได้อย่างมหาศาล โดยมีเวิร์กโหลดในดาต้าเซ็นเตอร์รุ่นใหม่ ๆ ทัง้ แบบจับต้องได้และแบบเวอร์ชวล เป็นตัว ขับเคลื่อนความต้องการประสิทธิภาพการ ท�ำงานที่ไม่สิ้นสุด อีเอ็มซีวางกลยุทธ์ในการ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีแฟลชกับโครงสร้างพื้นฐานการจัดเก็บข้อมูลทั้งหมด ด้วย กลุ่มผลิตภัณฑ์ที่คัดสรรมาแล้วว่าดีที่สุด ซึ่ง ช่วยให้เราสามารถตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าได้อย่างหลากหลาย
&
Production
“มิตรผล”
เสริมทัพด้วยกระบวนการผลิตแบบ
Full Automation เรียบเรียง: กองบรรณาธิการ
นับ
ถอยหลังเคาท์ดาวน์เปิดเออีซี ปลายปี 2558 อุตสาหกรรมไทยเริ่มขยับปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลง ใหม่ นี้ ที่ จ ะกลายเป็ น ได้ ทั้ ง โอกาสและวิ ก ฤตส� ำ หรั บ คนที่ พ ร้ อ มและไม่ พ ร้ อ ม โดยล่ า สุ ด กลุ ่ ม มิตรผล ประกาศเปิดสายการผลิตน�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ที่ทันสมัยที่สุดในประเทศไทย ณ โรงงานน�้ำตาล มิตรผล ภูเวียง เพื่อเสริมศักยภาพความเป็นผู้น�ำด้านน�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์คุณภาพสูง พร้อมรองรับ ตลาดพรีเ มียม และตลาดเออีซีอย่างแข็งแกร่ง
ทั้ง
มั่นใจด้านความปลอดภัยของอาหาร สร้าง ความเชื่อมั่นตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าตลาดพรีเมียม และรองรับตลาดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้อย่างแข็งแกร่ง
▲
นี้ สายการผลิ ต น�้ ำ ตาลทราย ขาวบริสุทธิ์แห่งใหม่ ณ โรงงาน น�ำ้ ตาลมิตรผล ภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ใช้ เครื่องจักรและเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดใน ประเทศไทย ด้วยกระบวนการผลิตอัตโนมัติ อย่างเต็มรูปแบบ (full automation) ที่ช่วย เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และให้ความ คุณอัมพร กาญจนก�ำเนิด
ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจน�ำ้ ตาลประเทศไทย กลุ่มมิตรผล
February-March February-March2015, 2015,Vol.41 Vol.41No.239 No.239
51 <<<
&
Production คุณอัมพร กาญจนก�ำเนิด ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ก าร กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ น�้ ำ ตาล ประเทศไทย กลุ่มมิตรผล กล่าวว่า “กลุ่ม มิตรผล มีการวางกลยุทธ์ทางธุรกิจที่สอดรับ กับความต้องการของตลาดทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป อยู่เสมอ โดยปัจจุบันกลุ่มลูกค้าโดยเฉพาะ ในตลาดต่างประเทศมีความต้องการผลิตภัณฑ์น�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์เกรดพิเศษ และน�้ำตาลที่มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น มิตรผลจึงได้ริเริ่มสายการผลิตน�้ำตาลทราย ขาวบริสทุ ธิ์ ณ โรงงานน�ำ้ ตาลมิตรผล ภูเวียง ซึ่งนับเป็นอีกหนึ่งความภาคภูมิใจของกลุ่ม มิตรผล เนื่องจากเป็นโรงงานน�้ำตาลทราย ขาวแห่งแรกในประเทศไทยที่มีระบบการ ผลิ ต อั ต โนมั ติ เ ต็ ม รู ป แบบ ควบคุ ม ด้ ว ย คอมพิวเตอร์นับตั้งแต่กระบวนการละลาย ต้ม เคี่ยว ปั่น ไปจนถึงการบรรจุหีบห่อด้วย หุ่นยนต์และเครื่องจักร โดยใช้งบประมาณ ลงทุนกว่า 2,500 ล้านบาท สามารถผลิต น�้ำตาลทรายขาวได้ 2,000 ตันต่อวัน หรือ 600,000 ตันต่อปี ซึ่งนับว่าสูงที่สุดในกลุ่ม มิตรผล และในประเทศไทย” ส�ำหรับสายการผลิตน�้ำตาลทราย ขาวบริสทุ ธิ์ ณ โรงงานน�ำ้ ตาลมิตรผล ภูเวียง ให้ประสิทธิภาพในการผลิต การบรรจุหบี ห่อ และการจัดการด้านโลจิสติกส์ในขั้นสูง และ
>>>52
February-March 2015, Vol.41 No.239
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้วยเทคโนโลยีจาก ประเทศออสเตรเลีย ที่ได้รับการยอมรับใน ระดับสากล โดยมีจุดเด่น ดังนี้ เป็นแห่งแรกในประเทศไทยที่ใช้ ระบบการผลิตอัตโนมัติเต็มรูปแบบ ซึ่งมี ข้อดี คือ 1. ควบคุมกระบวนการท�ำงานได้ อย่างแม่นย�ำ และให้คุณภาพของผลผลิตที่ สม�ำ่ เสมอ 2. ลดข้อผิดพลาด (breakdown) ในกระบวนการผลิต จึงสามารถด�ำเนินงาน ได้อย่างต่อเนื่อง 3. พนั ก งานใช้ เ วลาในการดู แ ล เครื่องจักรน้อยลง และสามารถท�ำงานส่วน อื่นให้กับองค์กรได้มากขึ้น ใช้เทคโนโลยี Activated Carbon ใน การกรองน�้ำเชื่อม เป็นแห่งแรกในประเทศไทย โดยเป็นวัสดุที่ประกอบด้วยคาร์บอนที่ มีรูพรุนเล็ก ๆ จ�ำนวนมาก จึงมีคุณสมบัติใน
การดูดซับและมีประสิทธิภาพในการลดค่าสี น�้ำเชื่อมสูงกว่าการกรองด้วยเรซิ่นแบบเดิม นอกจากนี้ ยั ง เป็ น เทคโนโลยี ที่ ประหยัดพลังงานมากขึ้น โดยใช้ไอน�้ำและ ไฟฟ้ า ในกระบวนการผลิ ต ลดลงราว 30 เปอร์เซ็นต์ และกระบวนการผลิตได้รับการ รับรองมาตรฐาน ISO 9001 และมาตรฐาน ระบบจั ด การความปลอดภั ย ของอาหาร FSSC 22000 ทั้งนี้ การเปิดสายการผลิตน�้ำตาล ทรายขาวบริสุทธิ์แห่งใหม่ จะท�ำให้โรงงาน น�้ำตาลมิตรผล ภูเวียง สามารถผลิตน�้ำตาล ได้อย่างหลากหลายมากขึ้น ได้แก่ น�้ำตาล ทรายขาวบริสุทธิ์พิเศษ น�้ำตาลทรายขาว บริสุทธิ์ น�้ำตาลทรายขาวธรรมดา น�้ำตาล อ้อยธรรมชาติ และน�ำ้ ตาลทรายแดง ซึง่ นับ เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าที่เหนือ กว่าการจ�ำหน่ายเพียงน�้ำตาลทรายดิบ ซึ่ง เป็นสินค้าขั้นต้น นอกจากนี้รายได้จากการ จ�ำหน่ายน�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ที่เพิ่มขึ้น ยังช่วยเพิม่ รายได้ให้กบั เกษตรกรชาวไร่ออ้ ย ในทางอ้อมอีกด้วย “การเปิ ด ตั ว สายการผลิ ต น�้ ำ ตาล ทรายขาวบริ สุ ท ธิ์ คุ ณ ภาพสู ง ณ โรงงาน น�ำ้ ตาลมิตรผล ภูเวียง จะช่วยให้กลุม่ มิตรผล สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า ทุกกลุม่ ได้อย่างหลากหลายและรวดเร็วมาก ยิ่งขึ้น ซึ่งเราเชื่อมั่นว่าจะมีส่วนผลักดันการ เติบโตของกลุ่มธุรกิจน�้ำตาลไทยได้ราว 10 เปอร์เซ็นต์ต่อปี รวมทั้งช่วยเสริมศักยภาพ ของกลุ่มมิตรผลในการรุกตลาดประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น เพื่ อ ก้ า วไปสู ่ ก ารเป็ น แบรนด์ ร ะดั บ ภู มิ ภ าคได้ อ ย่ า งแข็ ง แกร่ ง ด้วยประสิทธิภาพการผลิตทัง้ ในเชิงคุณภาพ และปริมาณทีเ่ พิม่ มากขึน้ ” คุณอัมพร กล่าว ทิ้งท้าย
&
เทคนิคการวัดความชื้น
Production
ตอนที่ 6
(humidity measurement techniques)
แปลและเรียบเรียงโดย สุพจน์ ตุงคเศรวงศ์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายเครื่องมือมาตรวิทยา และผู้จัดการวิชาการแผนกสอบเทียบเครื่องมือวัด บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จำ�กัด
การใช้ประโยชน์จากการวัดจุดน�้ำค้าง (dewpoint)
ความชื้นในอากาศเป็นเรื่องธรรมชาติ ในทางกายภาพเป็น สิ่งจ�ำเป็น และเป็นองค์ประกอบส�ำคัญต่อสิ่งมีชีวิต การใช้งานหลาย ๆ อย่างในอุตสาหกรรมนัน้ ความชุม่ ชืน้ เป็น สิ่งเดียวที่ยอมรับได้ เมื่อมันมีการควบคุมและลดลงอย่างเหมาะสม กรณีตวั อย่างของการเสีย-ทิง้ ผลิตภัณฑ์ทที่ ำ� การผลิตหรือกับ อุปกรณ์การผลิต ➲ เกิดการกัดกร่อน ➲ อุปกรณ์ที่จะสึกหรอก่อนเวลาอันสมควร ➲ เกิดการบวมของสีและพลาสติก ➲ เกิดการติดกันของบรรจุภัณฑ์ในการขนส่ง
➲
เกิดเชื้อราและแบคทีเรีย ➲ เกิดปฏิกิริยาทางเคมีและเกิดสิ่งที่ไม่ต้องการ ผลเสียที่ตามมา คือ ➲ เกิดการท�ำงานผิดปกติของผลิตภัณฑ์ ➲ เกิดการหยุดชะงักของสายงานผลิต ➲ อัตราการคัดทิ้งสูงขึ้น ตัวอย่างการใช้งานการวัด Dewpoint เพื่อควบคุมความชื้น จากเหตุผลข้างต้น เราจึงมีการวัดและควบคุมความชื้นใน กระบวนการต่าง ๆ ดังนี้ ➲ ระบบอัดอากาศ ➲ ระบบอบแห้งเม็ดพลาสติก February-March 2015, Vol.41 No.239
53 <<<
&
Production ➲
ก๊าซในกระบวนการผลิตยา ➲ ระบบการบ�ำบัดด้วยความร้อน ➲ โรงงานผลิตแบตเตอรี่ Lithium และอื่น ๆ ระบบอัดอากาศ เป็นระบบทีใ่ ช้กนั อย่างกว้างขวางในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น ➲ ลมระบบเครื่องมือวัดคุมกระบวนการผลิต (instrument air) ➲ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ระบบลม ➲ สายพานล�ำเลียงที่ใช้ระบบลม ➲ ระบบเคลือบผงสี ➲ การท�ำความสะอาดระบบที่ใช้แสง ➲ เป่าแห้งชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ➲ การพ่นสี ผลที่เกิดจากความชื้นที่มีในระบบอัดอากาศ ➲ ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพต�่ำ ➲ อุปกรณ์เกิดการกัดกร่อน ➲ เกิดเป็นน�ำ้ แข็งในระบบห้องเย็นหรือในประเทศทีม ่ อี ากาศ หนาวเย็น ระบบอัดอากาศต้องการความแห้งในระบบ
ระบบอบแห้งในการผลิตที่ใช้พลาสติก
การป้อนวัสดุโพลิเมอร์ต้องแห้งพอ ➲ ความชื้นที่มากเกินไปจะลดความเหนียวของผลิตภัณฑ์ ➲ ความชืน ้ ทีม่ ากเกินไปเป็นสาเหตุให้พนื้ ผิวของผลิตภัณฑ์ >>>54
February-March 2015, Vol.41 No.239
ด้อยคุณภาพ ➲ ความชื้ น ที่ ม ากเกิ น ไปเป็ น สาเหตุ ใ ห้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง พลาสติกใสมีความขุ่นมัว ก๊าซ (Gas) ที่ใช้ในทางการแพทย์
นิยาม : ระบบอัดอากาศหรือก๊าซอื่น ๆ ที่ใช้ในการใช้งานใน ทางการแพทย์ คือ ➲ ช่วยในการหายใจขณะหมดสติ บ�ำบัดโรคและอุปกรณ์ ทางการแพทย์ส�ำหรับปฏิบัติงาน ความชื้นถือเป็นสิ่งปนเปื้อน ที่ก่อเกิดปัญหาดังนี้ ➲ เกิดการควบแน่น (condensation) หรือแม้กระทัง่ การเกิด น�้ำแข็งขึ้นในอุปกรณ์ ➲ ปัญหาการกัดกร่อนและเกิดปัญหาขณะปฏิบัติงานใน อุปกรณ์ฉุกเฉิน
&
Production ➲
เป็นตัวเร่งให้เกิดเชื้อราและแบคทีเรีย ข้ อ ก� ำ หนดส� ำ หรั บ การดู แ ลคุ ณ ภาพของก๊ า ซในทางการ แพทย์
➲
จ�ำนวนความชืน้ มากทีส่ ดุ ทีย่ อมรับได้ = ขีดจ�ำกัดอุณหภูมิ จุดน�้ำค้าง (dewpoint) ➲ ปริมาณคาร์บอนมอนออกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ น�ำ้ มัน
กระบวนการผลิตเกี่ยวกับโลหะ
การอัดหลอม (sintering) ➲ การอัดแน่นของผงเหล็กเข้าด้วยกันโดยการท�ำความร้อน ที่อุณหภูมิใกล้ถึงจุดหลอมเหลวของส่วนประกอบหลัก การผสมคาร์บอนในเนื้อโลหะ (carburizing) ➲ โลหะซึง่ ประกอบด้วยเหล็กถูกน�ำมาอยูใ่ นสภาวะแวดล้อม ที่มี Carbon อย่างพอเพียงที่จะเกิดการสร้างสภาพ Carbon ที่มีความเข้มข้นที่ระหว่างผิวหน้าและภายในของ โลหะ
โรงงานผลิตแบตเตอรี่ Lithium
จะมีการดูแลเฝ้าระวังให้ก๊าซแห้ง ➲ ในแต่ ล ะตู ้ (ดั ง ภาพ) ที่ มี ช ่ อ งถุ ง มื อ ส� ำ หรั บ ท� ำ งานกั บ ลิเธียมแบตเตอรี่ (Lithium Battery)
ประกอบด้วยกระบวนการต่าง ๆ คือ การชุบแข็ง (annealing) ➲ การท�ำร้อนและการท�ำเย็นของวัสดุเพือ ่ ให้ไม่เปราะหักง่าย ➲ การลดสภาวะแวดล้อม, H2 หรือ H2/N2 การเชื่อม (brazing) ➲ การปฏิบัติร่วมกันที่อุณหภูมิสูง ๆ ➲
ในห้องสะอาดพิเศษ (clean room for lithium ion battery) ต้องมีการวัดอุณหภูมิจุดน�้ำค้าง (dewpoint) เพื่อควบคุม ความชืน้ เพราะวัสดุของแบตเตอรีไ่ ม่สามารถยอมให้เกิด ความชื้นได้ ➲ ต้องมีรายงานผลตามข้อก�ำหนดของระบบคุณภาพ อ้างอิง : แปลและเรียบเรียงจากเอกสารที่ได้รับอนุญาตแล้ว จาก VAISALA Oyj. Finland
อ่านต่อฉบับหน้า February-March 2015, Vol.41 No.239
55 <<<
&
Focus สร้างสถาบัน (institutional-building phase) ขั้นตอนก้าวตามให้ทัน (catch up stage) และขั้ น ตอนภายหลั ง จากตามทั น แล้ ว (post-catch up stage) ภายหลั ง สงครามโลกครั้ ง ที่ 2 เกาหลีใต้ประสบกับภาวะยากจนอย่างหนัก มี GDP เท่ากับประเทศที่ยากจนที่สุดใน แอฟริกาและยากจนกว่าบางประเทศในแถบ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ช่วงเวลานัน้ ยังไม่มี อาเซียน) แต่เมือ่ ผ่านไป 4 ทศวรรษ เกาหลีใต้ เติบโตจนมีฐานะเทียบเท่ากับประเทศที่มี
การก้าวสูเ่ ศรษฐกิจฐานความรู้ ของอาเซียน และบทเรียนจาก
เกาหลีใต้
ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
ก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สมาคมประชาชาติ แ ห่ ง เอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน (ASEAN) มี แผนที่จะรวมตัวกันเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน หรือ ASEAN Economic Community (AEC) ในปี พ.ศ. 2558 นี้ ทั้งนี้ อาเซียน จัดเป็นภูมิภาคที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจ รวดเร็ว เมื่อเทียบกับภูมิภาคอื่น ๆ ของโลก โดยมีการเติบโตถึงร้อยละ 7.1 ในปี พ.ศ. 2553 ท่ามกลางวิกฤตที่เกิดขึ้นทั่วโลกใน ขณะนั้น ขณะเดียวกันอาเซียนมีประชากร ราว 600 ล้านคน และมี GDP รวม 2,600 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี พ.ศ.2554 ซึ่งมี ขนาดเท่ากับ 1 ใน 5 ของสหรัฐอเมริกา และ 1 ใน 3 ของจีน อย่างไรก็ตาม อาเซียนต้อง เผชิญกับความท้าทายบนความแตกต่างกัน >>>56
February-March 2015, Vol.41 No.239
ค่อนข้างมากของเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศสมาชิก อาเซี ย นตั้ ง เป้ า หมายไว้ ว ่ า จะ สามารถเพิ่ม GDP per Capita ของภูมิภาค นี้เป็น 10,000 เหรียญสหรัฐ ภายในปี พ.ศ. 2573 ซึง่ เป็น 3 เท่าของปัจจุบนั โดยผ่านการ ปรับปรุงนโยบายในด้านต่าง ๆ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) และน�ำไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง นโยบาย วทน. ของประเทศสมาชิก อาเซียนมีความหลากหลาย สะท้อนให้เห็น ความก้าวหน้าที่แตกต่างกันของประเทศ เหล่านั้น และหากเปรียบเทียบกับเส้นทางที่ เกาหลีใต้ผ่านมานับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1960 สามารถแบ่งความก้าวหน้าด้าน วทน. ออก เป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการก่อร่าง
ฐานะเศรษฐกิจปานกลางของสหภาพยุโรป และเป็นสมาชิกของกลุ่ม G20 และ OECD ปัจจุบันเกาหลีใต้เป็นผู้สนับสนุนหลักของ หน่วยงานพหุภาคีหลายแห่ง และเป็นผู้บริ จ าคให้ แ ก่ ป ระเทศก� ำ ลั ง พั ฒ นาหลาย ประเทศ รวมทั้ ง บางประเทศในอาเซี ย น ค�ำถามคือ เกาหลีใต้ก้าวจากขั้นตอนการก่อ ร่างสร้างสถาบัน ซึ่งเน้นการเลียนแบบ ไป สู ่ ขั้ น ตอนภายหลั ง จากตามทั น แล้ ว ได้ อย่างไร
โมเดลนวัตกรรมของเกาหลีใต้ (Korean Innovation Model)
ในทศวรรษ 1960 และ 1970 นั้น เป็นช่วงการ “ก่ อร่ า งสร้ า งสถาบั น” ของ เกาหลีใต้ ซึ่งนโยบาย วทน. ถูกพัฒนาขึ้น
& เศรษฐกิจฐานความรู้
เศรษฐกิจฐานความรู้เป็นเศรษฐกิจ ที่องค์ความรู้มีความส�ำคัญในการพัฒนา เศรษฐกิจมากกว่าทรัพยากรธรรมชาติ ต้นทุน ทางกายภาพ และแรงงานที่มีทักษะขั้นต�่ำ โดยองค์ความรู้นั้นได้มาจากการลงทุนด้าน การวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และ วิศวกรรม รวมทั้งการใช้ประโยชน์จากความ รู้ที่จับต้องไม่ได้ (intangible capital) ผ่าน การลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานเพือ่ การวิจยั การ สร้างทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพสูง และ การให้ทุนแก่โครงการวิจัยริเริ่มใหม่ ๆ การวัดความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี ของประเทศ สามารถวัดโดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ เช่น บุคลากรวิจยั และพัฒนา เม็ดเงินทีใ่ ช้ใน การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา จ�ำนวน สถาบั น วิ จั ย ผลงานตี พิ ม พ์ แ ละสิ ท ธิ บั ต ร เป็นต้น จ�ำนวนสิทธิบตั รนอกจากใช้วดั ความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีแล้ว ยังเป็นตัวบ่งชี้ กิ จ กรรมวิ จั ย และพั ฒ นาเชิ ง ปริ ม าณและ ความรู้ที่สะสมไว้ด้วย
6.33%
5.07%
GNI per Capita (PPP)
1.33%
4.16%
รายงานของธนาคารโลกในปี พ.ศ. 2554 แสดงให้เห็นว่า จ�ำนวนผลงานวิจยั ทาง วิทยาศาสตร์กับความเป็นเศรษฐกิจฐาน ความรู้มีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจน ซึ่ง สามารถวัดได้โดย “ดัชนีเศรษฐกิจฐานความ รู้” (Knowledge Economy Index, KEI)
แนวโน้มด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมของอาเซียน
เศรษฐกิจของอาเซียนมีความแตก ต่างกันอย่างมาก ดังแสดงในภาพที่ 1 ซึ่ง แต่ ล ะประเทศมี GDP และ GNI 1 per Capita ต่างกัน โดยสิงคโปร์มี GDP per Capita สูงสุด และมี GNI สูงกว่ากัมพูชา กว่า 27 เท่า ส่วนอินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ และเวี ย ดนาม จั ด อยู ่ ใ นกลุ ่ ม ประเทศรายได้ปานกลาง หากต้องการให้ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนประสบผลส�ำเร็จ ต้องลดความแตก ต่างของระดับฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนให้ได้ก่อน
5.51%
4.88%
7.16%
7.36%
7.96%
60 000 50 000 40 000 30 000 20 000 10 000
800 700 600 500 400 200 100 Singapore Brunei Malaysia Thailand Indonesia Philippines Vietnam GNI per Capita
GDP
GDP (billion US$)
เพื่อสนับสนุนการเข้าสู่ความเป็นประเทศ อุตสาหกรรมและการเติบโตทางเศรษฐกิจ อย่างรวดเร็ว ในขณะนั้นผู้น�ำประเทศเริ่มมี แนวคิดในการพัฒนาประเทศอย่างมัน่ คงใน ระยะยาว ทศวรรษ 1970 และ 1980 เป็นช่วง “ก้าวตามให้ทันเทคโนโลยี” นโยบาย วทน. จึงถูกปรับให้เป็นยุทธศาสตร์การใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาประเทศ เนื่องจากต้องการ แก้ปัญหาที่ประเทศประสบก่อนหน้านี้ จาก การที่เศรษฐกิจพึ่งพาการส่งออกเป็นหลัก ท�ำให้ในช่วงเวลานั้นเกาหลีใต้มีการพัฒนา อุตสาหกรรมเทคโนโลยีขนั้ สูง เช่น อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ การสื่อสาร เป็นต้น ปัจจุบันเกาหลีใต้อยู่ในฐานะหลัง จาก “ตามทันแล้ว” ซึ่งต้องการบุคลากรที่ สามารถใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนา ประเทศ ซึ่งหมายความว่ากิจกรรมที่เกิดขึ้น ต้ อ งเป็ น กิ จ กรรมเชิ ง นวั ต กรรมมากกว่ า เป็นการใช้เทคโนโลยีชนั้ น�ำ (state-of-the-art technology) เท่านั้น อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าประเทศจะอยู่ที่ ขั้นตอนไหนของการพัฒนาก็ตาม นโยบาย วทน. คือ หัวใจส�ำคัญของกิจกรรมทั้งมวล ด้วยเหตุที่เกาหลีใต้ตั้งเป้าหมายว่า จะเป็นประเทศเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (creative economy) จึงท�ำให้มีความพยายาม ท�ำให้ผ่านการเป็นประเทศเศรษฐกิจฐาน ความรู้เกิดใหม่ (emerging knowledgebased economy) ก่อน ดังจะเห็นได้จาก การจัดตั้งกระทรวงการค้าอุตสาหกรรมและ พลังงาน (Ministry of Trade, Industry and Energy, MTIE) เพื่อรับผิดชอบการสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่โครงสร้างอุตสาหกรรม ที่ มี อ ยู ่ เ ดิ ม และพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมเชิ ง นวัตกรรมขึน้ ใหม่ ด้วยเหตุนี้ ในช่วงทศวรรษ ทีผ่ า่ นมา เราจึงเห็นการน�ำองค์ความรูใ้ หม่ ๆ ไปสู่การสร้างผลิตภาพขึ้นในเกาหลีใต้อย่าง มากมาย
Focus
Laos Cambodia
10-year Average GDP Growth (2002-2011)
▲ ภาพที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานด้านเศรษฐกิจและสังคมของอาเซียนในปี พ.ศ.2554 (Oconet al. 2013)
1 Gross National Income
February-March 2015, Vol.41 No.239
57 <<<
Focus
&
การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา
ละ 84.7 และ 62.6 ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม ส่ ว นหนึ่ ง เป็ น ผลจากการด� ำ เนิ น งานของ บริ ษั ท ข้ า มชาติ ข นาดใหญ่ ดั ง นั้ น ความ ท้าทายของประเทศสมาชิกอาเซียนจึงอยู่ที่ การเพิ่มขีดความสามารถด้าน วทน. ของ แต่ละประเทศและใช้การลงทุนของต่างชาติ ในการสนับสนุนเศรษฐกิจ
การลงทุ น ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีของสิงคโปร์สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยสั ด ส่ ว นการใช้ จ ่ า ยด้ า นการวิ จั ย และ พัฒนา (Gross Expenditure on Research and Development, GERD) สูงเป็น 2 เท่า ในช่วงปี พ.ศ.2543-2550 ส่วนมาเลเซียและ ไทย แม้จะมีการลงทุนด้านการวิจัยเพิ่มขึ้น แต่สดั ส่วน GERD/GDP ยังคงต�ำ่ กว่าร้อยละ 1 อย่ า งไรก็ ต าม มาเลเซี ย มี ก ารลงทุ น มากกว่าร้อยละ 0.5 ของ GDP ในขณะทีไ่ ทย (ร้อยละ 0.3 ของ GDP) อินโดนีเซีย และ ฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศรายได้ปาน กลาง ยังมีอัตราการเติบโตของการลงทุนใน เรื่องนี้ไม่ทันกับการเติบโตของ GDP ตัวบ่งชี้ที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่ง คือ การลงทุนของภาคเอกชนในการวิจัยและ พัฒนา ซึง่ มาเลเซียและฟิลปิ ปินส์มสี งู ถึงร้อย
ผลงานตีพิมพ์สิทธิบัตร และดัชนี เศรษฐกิจฐานความรู้
มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย มีผลงาน ตีพิมพ์การวิจัยและพัฒนามากที่สุดในกลุ่ม อาเซียน (ภาพที่ 2) คิดเป็นร้อยละ 86 ของ ผลงานตีพิมพ์ของอาเซียนในปี พ.ศ.2554 อย่างไรก็ตาม อินโดนีเซียและเวียดนามมี ผลงานตีพิมพ์เพิ่มขึ้นอย่างน่าสนใจในช่วง 5 ปีหลัง
ช่ อ งว่ า งทางนโยบายกั บ บทเรี ย น จากเกาหลีใต้
20 000 29.6%
Publications
15 000 10 000
30.1%
23.4%
12.6%
15.2%
23.4%
1996
15.4%
11.9% 8.4%
5 000 Indonesia
>>>58
ส่วนจ�ำนวนสิทธิบตั รอาจไม่สามารถ ใช้เป็นตัวบ่งชี้ขีดความสามารถ ด้าน วทน. ได้ดีนัก เนื่องจากผู้รับสิทธิบัตรที่ได้รับส่วน ใหญ่เป็นบริษทั ต่างชาติ หากพิจารณาเฉพาะ ผู้รับสิทธิบัตรที่เป็นคนของประเทศนั้น ๆ พบ ว่า 3 อันดับแรก ได้แก่ สิงคโปร์ (ร้อยละ 56) มาเลเซีย (ร้อยละ 22.3) และไทย (ร้อยละ 15.2) หากเปรียบเทียบกับสิทธิบัตรที่ชาว เกาหลีใต้ ได้รับในช่วงเวลาเดียวกัน พบว่า สูงกว่าทั้งภูมิภาคอาเซียนถึง 87 เท่า ดัชนีเศรษฐกิจฐานความรู้ (KEI) เป็น ตัววัดความสามารถของประเทศในการสร้าง ใช้ และกระจายองค์ความรู้ รวมทัง้ การสร้าง สภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการใช้องค์ความรูใ้ น การพั ฒ นาเงื่ อ นไขทางเศรษฐกิ จ โดยมี ตัวแปร 4 ประการ ได้แก่ 1) แรงจูงใจทาง เศรษฐกิจและการจัดการเชิงสถาบัน 2) การ ศึ ก ษาและทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ 3) ระบบ นวัตกรรม 4) เทคโนโลยีการสื่อสารและ สารสนเทศ ดั ช นี เ ศรษฐกิ จ ฐานความรู ้ จึ ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ดี ที่ สุ ด ประการหนึ่ ง ในการวั ด ประสิทธิภาพของนโยบาย วทน. ของประเทศ สมาชิกอาเซียน ในปี พ.ศ.2555 สิงคโปร์มีค่าดัชนี เศรษฐกิ จ ฐานความรู ้ ที่ โ ดดเด่ น ในกลุ ่ ม อาเซียน (อันดับที่ 23, ค่า KEI = 8.26) อินโดนีเซียสามารถก้าวขึ้นจากอันดับที่ 117 มาเป็น 108 โดยใช้เวลา 17 ปี ส่วนไทยอยู่ อันดับที่ 66 (ค่า KEI = 5.21)
Thailand Malaysia Singapore Philippines Vietnam 2003
2011
11.6%
Brunei
15-year Average of Rate of Increase in Publications
February-March 2015, Vol.41 No.239
Cambodia
Laos
Myanmar
ประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศของ อาเซียน มีความแตกต่างกันของระดับการ พัฒนาคุณภาพชีวิต และขีดความสามารถ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยความ ก้าวหน้าทางเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์อย่าง ใกล้ชิดกับตัวบ่งชี้ด้าน วทน. บรูไน กัมพูชา ลาว และเมียนม่าร์ มี
& การพัฒนาที่จัดอยู่ในขั้นตอน “การก่อร่าง สร้ า งสถาบั น ” โดยเศรษฐกิ จ ขึ้ น กั บ การ ส่งออกและอุตสาหกรรมต้องพึ่งพาทรัพยากรที่มีในประเทศ มีแรงจูงใจและโอกาส ในการเพิ่มขีดความสามารถด้านเศรษฐกิจ และเทคโนโลยี อ ย่ า งจ� ำ กั ด เที ย บได้ กั บ สถานภาพของเกาหลีใต้ในทศวรรษ 1960 ประเทศเหล่านี้ต้องให้ความส�ำคัญกับการ ลงทุนด้านการศึกษาพืน้ ฐานจนถึงอุดมศึกษา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ ไทย และเวี ย ดนาม มี ก ารพั ฒ นาที่ จั ด อยู ่ ใ น ขั้นตอน “ก้าวตามให้ทัน” ซึ่งตรงกับทศวรรษ 1980 ของเกาหลีใต้ โดยเป็นช่วงที่เศรษฐกิจ ถูกขับเคลื่อนโดยเทคโนโลยีมากกว่าการ ส่งออก ในช่วงนี้เองที่มีการส่งเสริมกิจกรรม ของสถาบันวิจัยของรัฐ (ซึ่งตั้งขึ้นก่อนหน้า) อย่างเต็มที่ และที่ส�ำคัญ คือ มีการสร้าง ระบบนวัตกรรมแห่งชาติ (National Innovation System, NIS) ขึ้น โดยมีผู้เล่นหลัก คือ สถาบันอุดมศึกษา สถาบันวิจัย และภาคเอกชน ทั้งนี้ มาเลเซียและไทยมีสัญญาณ ที่ ดี ใ นการพั ฒ นาขี ด ความสามารถด้ า น วทน. แม้ จ ะมี ค วามแตกต่ า งกั น บ้ า งใน รายละเอียด กล่ า วเฉพาะระบบนวั ต กรรมของ ประเทศไทย พบว่ามีลักษณะ “ต่างคนต่าง ท�ำ” (fragmented) โดยความร่วมมือระหว่าง อุตสาหกรรมกับภาควิชาการมีในระดับต�่ำ ขาดแคลนบุคลากรด้าน วทน. ตั้งแต่สาย อาชีพไปจนถึงขัน้ สูง รัฐบาลจ�ำเป็นต้องสร้าง แรงจูงใจอย่างเหมาะสมเพื่อกระตุ้นให้ภาค เอกชนลงทุนวิจัยและพัฒนามากกว่าที่เป็น อยู ่ โดยต้ อ งมี ทิ ศ ทางที่ ชั ด เจน ผ่ า นการ เลือกสาขายุทธศาสตร์ โดยเป็นสาขาที่ใช้ เทคโนโลยีขั้นสูงและสร้างความแตกต่างให้ มีความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง สิ ง คโปร์ มี ก ารพั ฒ นาที่ จั ด อยู ่ ใ น ขั้นตอน “ภายหลังจากตามทันแล้ว” กล่าว คือ จัดเป็นประเทศเศรษฐกิจฐานความรู้ใน ปั จ จุ บั น ปั จ จั ย ที่ ส� ำ คั ญ ประการหนึ่ ง คื อ
สิงคโปร์มคี วามมัน่ คงทางการเมืองเป็นเวลา ยาวนานพอที่ จ ะวางแผนและด� ำ เนิ น การ อย่างเป็นขัน้ ตอนผ่านช่วงเวลาต่าง ๆ มาโดย ตลอด กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของสิงคโปร์มีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งในระบบการ ศึกษาและระบบเศรษฐกิจของประเทศ และ ให้ มุ ่ ง เน้ น การวิ จั ย และพั ฒ นาในสาขา เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีชีวภาพ หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีแสงและเลเซอร์ และ เทคโนโลยี ก ารสื่ อ สาร โดยไม่ ล ะเลยการ พัฒนาก�ำลังคนที่มีความรู้และทักษะขั้นสูง หน่ ว ยงานที่ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ด้ า น วทน. ของสิงคโปร์ ได้แก่ National University of Singapore (NUS), The Nanyang Technological University (NTU), The Agency for Science, Technology and Research (A*STAR) และ National Research Foundation (NRF) สิ ง คโปร์ แ ละเกาหลี ใ ต้ จึ ง มี ค วาม ท้าทายที่ต้องเผชิญคล้ายคลึงกัน คือ การ แสวงหาแนวทางในการพัฒนาใหม่ ๆ ซึง่ ต้อง อาศัยวิธีการใหม่ มุมมองใหม่ และความ สามารถในการท�ำนายเทคโนโลยีในอนาคต สิงคโปร์จงึ มุง่ สร้างประเทศให้เป็น “เมืองแห่ง ทั ก ษะ กิ จ การ และนวั ต กรรมของโลก” (global city of talent, enterprise and innovation) โดยสร้างแรงผลักดัน 5 ด้าน ได้แก่ 1) บุคลากรระดับปริญญาเอก 2) ผูเ้ ชีย่ วชาญ จากต่างประเทศ 3) สภาพแวดล้อมส�ำหรับ วิชาชีพนักวิทยาศาสตร์ชั้นน�ำของโลก 4) เชื่อมโยงภาควิชาการกับภาคอุตสาหกรรม 5) ส่ ง เสริ ม วิ ท ยาศาสตร์ ใ นเยาวชนและ เตรี ย มความพร้ อ มตลอดทางส� ำ หรั บ การ สร้างทักษะในการวิจัยและพัฒนา ส�ำหรับประเทศไทย แม้จะมีนโยบาย และแผน วทน. เป็นส่วนหนึง่ ของแผนในการ พัฒนาประเทศแล้ว แต่ยังคงเผชิญความ ท้าทายอีกมากมาย เช่น ทุนวิจัยและพัฒนา
Focus
ที่มีจ�ำกัด นโยบายต่าง ๆ ที่ขาดความเชื่อม โยงอย่างเป็นรูปธรรม การน�ำนโยบายไปสู่ การปฏิบตั ทิ ยี่ งั ไม่เข้มข้นมากพอ เป็นต้น การ พัฒนาประเทศไปสูป่ ระเทศทีม่ เี ศรษฐกิจขับ เคลื่อนด้วยนวัตกรรมจึงยังคงอีกยาวไกล เว้ น แต่ ว ่ า ผู ้ เ ล่ น ต่ า ง ๆ ด้ า น วทน. และ อุตสาหกรรมจะหันมาจับมือท�ำงานร่วมกัน อย่างจริงจัง ที่มา 1. Choi Y. (2010) Korean Innovation Model, revisited. STI Policy Review, 1(1) 93-109. 2. Durongkaveroj P. (2012) Direction of Science, Technology and Innovation policy in Thailand. (http://nis.apctt.org/PDF/CSNWorkshop_Report_P4S4_Pichet.pdf) 3. Nguyen TV & Pham Lt. (2011) Scientific Output and its Relationship to Knowledge Economy: an Analysis of ASEAN Countries. Scientomatrics, 89, 107-117. 4. Ocon JD, Phihusut D, Rosario JAD, et al. (2013) Lessons from Korean Innovation Model for ASEAN Countries Towards a Knowledge-based Economy. STI Policy Review, 4(2) 19-40. 5. World Bank (2012) Knowledge Economy Index (KEI) 2012 Rankings. 6. ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (2014) ดั ช นี วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ข อง ประเทศไทย ปี 2556. (http://www.sti.or.th)
February-March 2015, Vol.41 No.239
59 <<<
&
Worldwide
“โนเบล”รางวัลที่ไม่ต้องรอนาน
อีกต่อไป ราง
วัลโนเบล หรือ Nobel Prize รางวัลสูงสุดของชีวิตนักวิทยาศาสตร์ ที่ท�ำวิจัยมาตลอดชีวิต เป็นรางวัลแห่งความใฝ่ฝันของนักวิจัยทุกคนที่ประกาศทุกปี มีทั้งหมด 6 สาขา ได้แก่ ฟิสิกส์ เคมี การแพทย์ วรรณกรรม เศรษฐศาสตร์ และสันติภาพ ซึ่งพิจารณาตัดสิน และมอบให้แก่ผลงานวิจัย ค้นพบที่ส�ำคัญ ที่มีผลกระทบต่อมนุษยชาติ มอบให้โดย Royal Swedish Academy ประเทศสวีเดน มา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2444 มีนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงได้รับรางวัลนี้มากมาย ตัวอย่างเช่น อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์, มาดาม คูรี, เจมส์ วัตสัน ฯลฯ โดยรางวัลนี้มีมูลค่าประมาณ 1.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 38 ล้านบาท โดยมีเงื่อนไขที่ส�ำคัญอย่างหนึ่ง คือ จะมอบให้แก่ผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่เ ท่านั้น
ใน
อดีตบางผลงานอาจจะต้องรอกัน เกือบทั้งชีวิตถึงจะได้รับรางวัล ลุ้น กันว่านักวิทยาศาสตร์จะเสียชีวติ ก่อนทีจ่ ะได้ รางวัลหรือไม่ แต่เป็นทีส่ งั เกตว่าในระยะหลัง งานวิ จั ย ใหม่ ๆ ที่ เ พิ่ ง ค้ น พบได้ ไ ม่ น านก็ สามารถพิสูจน์ได้ว่า มีผลกระทบและเป็น ประโยชน์ตอ่ มนุษยชาติได้ ดังเช่น ผลงานการ ค้นพบวัสดุมหัศจรรย์ที่มีชื่อว่า กราฟีน ซึ่ง เป็นวัสดุคาร์บอนที่มีโครงสร้างแบบ 2 มิติ >>>60
February-March 2015, Vol.41 No.239
ดร. อดิสร เตือนตรานนท์
นักวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญ สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
โดย Andre Geim และ Konstantin Novoselov สองนักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซีย ซึ่งได้ รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสกิ ส์ในปี พ.ศ.2553 จากผลงานการค้นพบกราฟีนที่เขาทั้งสอง ท�ำเมื่อปี พ.ศ.2547 ที่ผ่านมาเพียง 6 ปีเอง ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ถ้างานวิจัยค้นพบทาง วิทยาศาสตร์ดี ๆ การที่จะได้รางวัลโนเบลก็ ไม่ตอ้ งรอนานอีกต่อไป ทุกปีและในปีนกี้ เ็ ช่น กัน ผมตั้งตารอคอยการประกาศรางวัลทาง
หน้าจอคอมพิวเตอร์โดยรางวัลโนเบลที่มอบ ให้แก่ สาขาฟิสิกส์ ปี พ.ศ.2557 นี้ให้แก่การ ค้นพบหลอดแอลอีดีสีฟ้า หรือ Blue LED ซึ่งผลการตัดสินก็ไม่ท�ำให้ผิดหวัง เพราะ เป็นการค้นพบทางฟิสิกส์ที่มีประโยชน์ต่อ มวลมนุษยชาติมาก และอีกประการหนึง่ คือ ผู้ได้รับรางวัลล้วนเป็นวิศวกรไฟฟ้าเช่นเดียว กับผม นับเป็นอีกครัง้ หนึง่ ในประวัตศิ าสตร์ที่ วิ ศ วกรก็ ส ามารถพิ ชิ ต รางวั ล โนเบลอั น ยิ่ ง ใหญ่ได้อีกครั้ง นอกจากนีย้ งั เป็นคนญีป่ นุ่ ทัง้ สามคน เป็นอีกครั้งที่ชาวเอเชียได้ภาคภูมิใจและเชิด หน้าชูตาในเวทีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของโลก ซึง่ ผูไ้ ด้รบั รางวัลปีนเี้ ป็นได้แก่ Isamu Akasaki ซึ่งเป็นอาจารย์ที่ Maijo University,
&
Worldwide Hiroshi Amano ซึ่ ง เป็ น อาจารย์ อ ยู ่ ที่ มหาวิทยาลัยนาโงยา และ Shuji Nakamura ซึ่ ง ปั จ จุ บั น เป็ น อาจารย์ ที่ University of California at Santa Barbara แต่ตอนที่ ค้ น พบเป็ น นั ก วิ จั ย อยู ่ ที่ บ ริ ษั ท เอกชนชื่ อ ว่า Nichia Chemical อยูท่ เี่ มือง Tokushima ทั้งสามแบ่งรางวัลกันคนละ 1 ใน 3 โดย รางวัลนี้ให้แก่ทั้งสามในฐานะผู้ประดิษฐ์ คิดค้นหลอดแอลอีดีที่ให้แสงสีฟ้า ซึ่งท�ำให้ เราสามารถได้หลอดไฟแอลอีดที มี่ สี ขี าวและ ประหยัดพลังงาน ผมเชื่อว่าหลายคนคงสงสัยว่าท�ำไม การคิดค้นหลอดไฟแอลอีดีสีฟ้าได้ มันถึง เป็ น การคิ ด ค้ น ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ถึ ง กั บ ได้ ร างวั ล โนเบลเชียวหรือ? ถ้าเราย้อนนึกถึงหลอดไฟ แอลอีดีที่เราคุ้นเคยในอดีตจะมีแต่สีแดง และสีเขียว ซึ่งใช้ได้เพียงเป็นแหล่งก�ำเนิด แสงที่แสดงสัญลักษณ์ เช่น ปุ่มแสดงการ ท�ำงาน หรือ ป้ายโฆษณา เป็นต้น แต่ความ ฝันที่จะผลิตแหล่งก�ำเนิดแสงสีขาวที่ให้แสง ธรรมชาติด้วยเทคโนโลยี LED ยังคงต้องหา จิ๊กซอว์ตัวสุดท้ายนั่นคือ LED ที่ให้แสงสีฟ้า หรือ Blue LED เพราะเมือ่ ผสมกับสีแดงและ เขียว จะได้แสงสีขาว หรือ ถ้าเอา LED สีฟ้า มากระตุ้นสารฟอสฟอร์ (Phosphor) ก็จะได้ แสงสีขาวเช่นกัน ในที่สุดเมื่อปี พ.ศ.2529 นักวิจัยญี่ปุ่นทั้งสามคนก็คิดค้น LED สีฟ้า จาก Gallium Nitride (GaN) ได้สำ� เร็จ ท�ำให้ เราได้ แ หล่ ง ก� ำ เนิ ด แสงสี ข าวที่ ป ระหยั ด พลังงานอย่างมาก เนื่องจากล่าสุด LED สีขาวสามารถ ให้แสงสว่างได้ถึง 300 lumen/watt หรือ สว่างเป็น 4 เท่า เมื่อเทียบกับแสงจากหลอด ไฟแบบฟลูออเรสเซนต์ ซึ่งให้แสงสว่างที่ 70 lumen/watt หรือเกือบ 20 เท่า เมื่อเทียบกับ แสงจากหลอดไฟแบบขดลวดทั่วไป แถม หลอดไฟจาก LED ยั ง มี อ ายุ ก ารใช้ ง าน ยาวนานถึง 100,000 ชั่วโมง ยาวนานกว่า หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนต์ถงึ 10 เท่า และ ยาวนานกว่าหลอดไฟแบบขดลวดถึง 100
เท่า นอกจากนีท้ งั้ โลกเราใช้พลังงานไฟฟ้าถึง 1 ใน 4 ไปกับการให้แสงสว่าง ลองคิดดูนะ ครับว่า หลอดไฟแบบ LED จะช่วยประหยัด พลังงานได้มหาศาลแค่ไหน ถ้าเราทุกคนหัน มาใช้หลอดประหยัดไฟแบบ LED ซึ่งเป็น ผลงานของวิ ศ วกรนั ก วิ จั ย รางวั ล โนเบล ฟิ สิ ก ส์ ล ่ า สุ ด ทั้ ง สามคนนี้ ซึ่ ง ผลงานนี้ มี ประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติเป็นอย่างมาก อี ก รางวั ล หนึ่ ง ราชสมาคมวิ ท ยาศาสตร์แห่งสวีเดน หรือ Royal Swedish Academy of Sciences ประกาศให้ได้แก่ รางวัลโนเบล สาขาเคมี ปี พ.ศ.2557 โดยให้ แก่ Eric Betzig แห่งสถาบันวิจัยการแพทย์ โฮเวิรด์ ฮิวจส์ สหรัฐอเมริกา และ Stefan Hell แห่งสถาบันวิจัยแม็กซ์แพลงค์ เพื่อการวิจัย เคมีชีวกายภาพในเยอรมันนี และ William Moerner แห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย สแตนฟอร์ ด สหรัฐอเมริกา จากผลงานการพัฒนากล้อง จุลทรรศน์ฟลูออเรสเซนท์ก�ำลังแยกสูง (super-resolved fluorescence microscope) นับเป็นคุณูปการที่ท�ำให้เรามี Nanoscope ใช้แทน Microscope ในปัจจุบนั ซึง่ ใช้กนั มา นมนานนั บ ตั้ ง แต่ มี ก ารประดิ ษ ฐ์ ก ล้ อ ง จุลทรรศน์ (microscope) เป็นครั้งแรกโดย นักวิทยาศาสร์ชาวดัชต์นามว่า Leeuwen-
hoek ในปี พ.ศ.2217 ท�ำให้เราค้นพบว่า ยัง มีสิ่งมีชีวิตที่เรามองไม่เห็นอีกมากมายบน โลกเรียกว่า จุลชีพ ไม่ว่าจะเป็น แบคทีเรีย สาหร่าย ฯลฯ หลังจากนั้นอีก 200 ปี คือ ในปี พ.ศ.2416 นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันนาม ว่า Ernst Abbe ก็ได้พิสูจน์ว่า ด้วยหลักการ ทางฟิสกิ ส์แล้ว กล้องจุลทรรศน์ไม่มที างทีจ่ ะ มองเห็นอะไรที่มีขนาดเล็กกว่าครึ่งหนึ่งของ ความยาวคลืน่ แสง ซึง่ ถ้าเป็นกล้องจุลทรรศน์ ทั่วไปที่ใช้คลื่นแสงที่เรามองเห็น (visible light) ทีม่ คี วามยาวคลืน่ ประมาณ 400 นาโน เมตร หรือ 0.4 ไมโครเมตร นัน่ ก็หมายถึง เรา ไม่มที างเห็นหรือแยกแยะอะไรทีม่ ขี นาดเล็ก กว่า 0.2 ไมโครเมตร ถ้าเปรียบเทียบก็เสมือน ว่าเราพยายามมองหาต้นไม้ในป่าจากเครือ่ ง บินทีบ่ นิ อยูท่ อ้ งฟ้า ดังนัน้ มันจึงเป็นข้อจ�ำกัด ที่เรามีมานานแสนนาน มิเช่นนั้น เราก็ต้อง ลดความยาวคลื่นแสงจากแสงที่มองเห็น เป็นแสงในช่วงคลื่นที่สั้นลง เช่น แสงในช่วง อัลตร้าไวโอเล็ต หรือ X-ray แทน จนกระทั่ง เมื่อปี พ.ศ.2543 ที่ผ่านมา เป็นครั้งแรกที่ มนุษย์สามารถเห็นภาพสิง่ ทีเ่ ล็กกว่าข้อจ�ำกัด นั้นด้วยกล้องจุลทรรศน์ทั่วไปด้วยวิธีการ อันชาญฉลาด นั่นคือ การใช้เทคนิคฟลูออเรสเซนท์ ห รื อ การเรื อ งแสงมาใช้ ร ่ ว มกั บ
February-March 2015, Vol.41 No.239
61 <<<
&
Worldwide กล้องจุลทรรศน์ หลักการง่าย ๆ และอัจฉริยะ ซึ่งมีอยู่สองวิธี คือ การย้อมสิ่งที่ต้องการดู ด้วยสารเรืองแสง (fluorescence dye) แล้ว ใช้แสงเลเซอร์มากระตุ้นให้เกิดการเรืองแสง ในบางบริเวณและใช้แสงเลเซอร์อีกคลื่น ความถี่มาท�ำให้แสงบริเวณรอบ ๆ ดับลง ท�ำให้เราได้ภาพทีโ่ ฟกัสในบริเวณจ�ำกัด เมือ่ เรากราดล�ำแสงเลเซอร์นั้นไปทั่วสิ่งนั้น เราก็ จะน�ำภาพทั้งหมดมาซ้อนกันเกิดเป็นภาพ ของสิ่งที่เราต้องการมองมันอย่างละเอียด ระดับนาโนเมตร เรียกวิธีนี้ว่า Stimulated Emission Depletion หรือ STED และอีกวิธี หนึ่งคือ อาศัยการสว่างดับแต่ละช่วงเวลา ของสารเรืองแสงแต่ละโมเลกุลที่ย้อมบนสิ่ง ทีเ่ ราจะมองแล้ว ถ่ายภาพสิง่ นัน้ ทัง้ ภาพซ�ำ้ ๆ กันเป็นภาพนิ่งแต่ละช่วงเวลา แล้วจึงน�ำมา ซ้ อ นกั น กลายเป็ น ภาพที่ ส มบู ร ณ์ แ ละมี ความละเอียดเรียกวิธีนี้ว่า Single Molecule Microscopy ทั้ ง สองวิ ธี ดั ง กล่ า วนั บ ว่ า มี ประโยขน์อย่างมากต่อวงการวิทยาศาตร์ และการแพทย์ ท�ำให้เราสามารถศึกษาการ ท�ำงานของเซลล์สิ่งมีชีวิตได้อย่างละเอียด ถึงระดับภายในเซลล์เลยทีเดียว ท�ำให้เรา เข้าใจกลไกหลาย ๆ อย่างของเซลล์ เช่น การ เจริญเติบโตของเซลล์ประสาท หรือ การแบ่ง ตัวของเซลล์ รวมถึงการเกิดโรคส�ำคัญ ๆ เช่น Pakinson หรือ Alzheimer จะเห็นได้ว่าผล งานการค้นพบเมื่อปี พ.ศ.2543 ที่ผ่านมา เพียง 14 ปี ก็ได้รับรางวัลโนเบลได้ อี ก ผลงานการค้ น พบหนึ่ ง ซึ่ ง เป็ น ตัวอย่างของการค้นพบทีจ่ ะมีผลกระทบและ ประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติอย่างไม่ต้อง สงสัยเลย เพราะเป็นการค้นพบในเรื่องที่ ส�ำคัญต่อไปในอนาคตแน่นอน นั่นคือ เรื่อง Neurosciences หรือศาสตร์ที่เกี่ยวกับสมอง ของเรานัน่ เอง เคยสงสัยกันไหมครับว่า ท�ำไม บางคนจ�ำทางได้ดี บางคนขับรถหลงทาง ตลอด เราเรียกว่า คนเหล่านี้มีแผนที่อยู่ใน สมอง ผมก็เป็นคนหนึ่งที่จดจ�ำเส้นทางได้ดี เหมือนมีแผนทีใ่ นสมอง หรือถ้าจะให้ทนั สมัย >>>62
February-March 2015, Vol.41 No.239
กับเทคโนโลยีหน่อย เราก็เรียกว่า มี GPS ใน สมองนั่นเอง และผมเป็นคนหนึ่งที่เชื่อว่า ทักษะในการสร้างแผนที่ในสมองสามารถ สร้างขึ้นได้ เพราะตั้งแต่เด็ก ผมชอบสังเกต สถานทีต่ า่ ง ๆ รอบ ๆ ตัว เมือ่ นัง่ อยูบ่ นรถยนต์ ดั ง นั้ น ผมเชื่ อ ว่ า สมองผมถู ก ฝึ ก ให้ ส ร้ า ง แผนที่อยู่ภายใน แต่ข้อสงสัยนี้ก็ยังไม่เป็นที่ พิสูจน์และเข้าใจอย่างถ่องแท้มานานแสน นานตั้งแต่เมื่อสองร้อยกว่าปีก่อน ที่เริ่มมี แนวคิดว่า คนเราน่าจะมีความสามารถทาง จิตที่สามารถฝังเอาต�ำแหน่งของสถานที่ไว้ ภายในและถูกน� ำออกมาและรับรู้ได้โดย มนุษย์ จนกระทั่งเมื่อถึงปี พ.ศ.2514 จอห์น โอคี ฟ ซึ่ ง เป็ น นั ก ประสาทสรี ร วิ ท ยาชาว อเมริ กั น ที่ ท� ำงานอยู ่ ส หราชอาณาจั กรได้ ค้นพบว่า มีเซลล์ประเภทหนึ่งในพื้นที่สมอง ส่วนที่เรียกว่า ฮิปโปแคมปัส เรียกว่า Place Cell หรือเซลล์ตำ� แหน่ง จะก่อตัวขึ้นมาเป็น แผนทีอ่ ยูภ่ ายในสมอง โดยเขาได้ทดลองกับ หนูให้หนูวิ่งอยู่ภายในห้อง และพบว่า เซลล์ ประสาทของหนูในสมองส่วนนีจ้ ะถูกกระตุน้ อยู่เสมอเมื่อหนูอยู่ ณ บางต�ำแหน่งภายใน ห้อง ส่วนเซลล์ประสาทเซลล์อื่น ๆ จะถูก กระตุ้นเมื่อหนูอยู่ในที่อื่น ๆ เหมือนเป็นการ สร้างสัญลักษณ์เพื่อจดจ�ำต�ำแหน่งเมื่อเรา เดินทาง และผ่านมาอีกกว่า 30 ปี ในปี พ.ศ. 2548 เมย์-บริตต์ โมเซอร์ และเอ็ดเวิร์ด โมเซอร์ สองสามีภรรยาจากนอร์เวย์ ได้ค้น พบกลไกที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่งของสมอง นั่นคือ พบว่ามีเซลล์ประสาทอีกพวกหนึ่งใน สมองส่วน เอ็นทอร์ไฮนอล คอร์เท็กซ์ จะสร้าง
ขึ้นเป็นรูปแบบที่เป็นระเบียบด้วยระยะห่าง เท่า ๆ กัน แบบตารางกริดหกเหลีย่ ม จึงเรียก เซลล์ชนิดนี้ว่า Grid Cell หรือเซลล์กริด ท�ำ หน้าทีเ่ ป็นตารางแผนทีใ่ นสมองนัน่ เอง ซึง่ จะ ได้รับการกระตุ้นเมื่อหนูเดินผ่านจุดบางจุด ของกริดหกเหลี่ยมนั้น เมื่อประสานงานกับ เซลล์ตำ� แหน่ง และเซลล์กริดนีย้ งั ท�ำงานร่วม กับเซลล์อื่น ๆ ในสมอง เมื่อรับรู้ทิศทางของ ขอบเขตของห้องอีกด้วย ท�ำให้สมองมนุษย์ สามารถสร้างระบบการประสานงานและ ช่วยให้เราสามารถระบุต�ำแหน่งและค้นหา สถานที่นั้นเป็นไปได้โดยง่ายคล้ายกับการที่ เราเดินทางไปโดยใช้แผนที่ GPS จึงเสมือน ว่าเรามีระบบ GPS ในสมองของเรานั่นเอง ดังนั้นจึงไขปัญหาที่ท�ำให้พวกเราสงสัยกัน มานานหลายร้อยปีวา่ สมองสร้างแผนทีข่ อง พืน้ ทีท่ อี่ ยูร่ อบ ๆ ตัวเราได้อย่างไร และเราจะ ค้นหาและจดจ�ำเส้นทางได้อย่างไร จึงเป็น การค้นพบทีย่ งิ่ ใหญ่ ดังนัน้ ในปี พ.ศ.2557 นี้ ทางราชสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดน จึง มอบรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการ แพทย์ให้กับนักวิทยาศาสตร์ทั้งสามคนจาก ผลงานการค้นพบเซลล์เกีย่ วข้องกับการระบุ พิกัดต�ำแหน่งในสมองของมนุษย์ จะเห็นได้ ว่าสมองของมนุษย์ยังมีความลึกลับซับซ้อน เช่นเดียวกันกับจักรวาลที่กว้างใหญ่ไพศาล ที่เรายังไม่รู้อีกมากมายและรอคอยให้เรา ศึกษาและวิจยั กันอีกต่อไป และสักวันรางวัล โนเบลอาจจะเป็นของคนไทยก็ได้ครับ
&
Report
ODA ยกไทยเป็น “หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา” กองบรรณาธิการ
ไจ
ก้าฉลองครบรอบ 60 ปี แห่งความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการ (ODA) และยังคงให้ ความช่วยเหลือแก่ประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในแถบอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขงเพื่อก้าวเข้าสู่การเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 ที่ก�ำลังจะมาถึงนี้
เมื่อ
ปลายเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ที่ผ่านมา รัฐบาลญี่ปุ่น และองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของ ญีป่ นุ่ (ไจก้า) จัดฉลองครบรอบ 6 ทศวรรษ ใน ฐานะองค์กรความร่วมมือระดับทวิภาคีผ่าน ทางความช่วยเหลือเพือ่ การพัฒนาอย่างเป็น ทางการ (ODA) โดยมีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องทั่วโลก
เพื่ อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการฉลอง โอกาสส�ำคัญครั้งนี้ในประเทศไทย ไจก้าจึง ได้จดั งานสัมมนาในหัวข้อ “Thailand-Japan Cooperation, Past and Future” เพื่อเน้นย�้ำ ว่าประเทศไทยเป็นหุ้นส่วนที่แข็งแกร่งและ เป็นที่ไว้วางใจในการพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่ม แม่น�้ำโขง ทั้งนี้ประเทศญี่ปุ่นเริ่มให้ความช่วย
เหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ.2497 โดยญี่ปุ่นได้ให้ปฏิญาณร่วมเป็น ส่วนหนึ่งของแผนโคลัมโบเพื่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชียและแปซิฟกิ (Colombo Plan for Cooperative Economic and Social Development in Asia and the Pacific) ซึ่ ง จะช่ ว ยการพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคม และปรับปรุงสวัสดิการ ของประเทศก�ำลังพัฒนาต่าง ๆ โดยให้การ สนับสนุนเงินทุนและเทคโนโลยี ในเบื้องต้น ความช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ การพั ฒ นาอย่ า งเป็ น ทางการของญีป่ นุ่ นี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ชดใช้ หนี้ค่าปฏิกรรมสงคราม หลังจากนั้นไม่นาน February-March 2015, Vol.41 No.239
63 <<<
Report
&
พ.ศ.2497 โดยคนไทย 21 คนได้ไปอบรมที่ ประเทศญี่ ปุ ่ น หลั ง จากนั้ น ไจก้ า ได้ ตั้ ง ส�ำนักงานในประเทศไทยในปี พ.ศ.2517 เพื่อให้ความช่วยเหลือแบบเงินกู้และแบบ ให้เปล่า เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสั ง คมภายในประเทศ โดยด� ำ เนิ น โครงการความร่ ว มมื อ ที่ ส อดคล้ อ งตาม บริบทและความต้องการของประเทศ ณ ช่วง เวลาดังกล่าว จากความสั ม พั น ธ์ ท างประวั ติ ศาสตร์อนั ยาวนานและมิตรภาพอันดีของทัง้ สองประเทศ รวมถึงความส�ำเร็จของไทยใน การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ไทยและ ญีป่ นุ่ จึงกลายเป็น “หุน้ ส่วนเพือ่ การพัฒนา” โดยทั้งสองประเทศได้ร่วมมือกันให้ความ ช่วยเหลือแก่ประเทศก�ำลังพัฒนาอื่น ๆ โดย เฉพาะในแถบอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขงเพื่อ พัฒนาศักยภาพและเตรียมความพร้อมใน การรวมกันเป็นหนึ่งเดียวเพื่อก้าวเข้าสู่การ เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 นี้ ปัจจุบัน ส�ำนักงาน ไจก้า ประจ�ำประเทศไทยได้ด�ำเนิน โครงการความร่ ว มมื อ กั บ
▲
ในทศวรรษที่ 60 ความช่วยเหลือเพื่อการ พัฒนานี้ ได้กลายเป็นนโยบายต่างประเทศ ของญี่ปุ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความ ช่วยเหลือแก่ประเทศในทวีปเอเชีย ในฐานะทีเ่ ป็นผูน้ ำ� ในด้านความร่วม มือเพื่อการพัฒนาทั้งในระดับภูมิภาคและ ระดับโลก ปัจจุบันประเทศญี่ปุ่นได้ให้ความ ช่วยเหลือหลากหลายรูปแบบแก่ประเทศ ต่าง ๆ ราว 150 ประเทศทั่วทุกภูมิภาคของ โลกโดยประสานความร่วมมือกับผู้ที่มีส่วน ได้ส่วนเสีย ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา ดั ง กล่ า ว ยั ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ใ นด้ า น อืน่ ๆ มากมาย เช่น ช่วยกระชับความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศต่าง ๆ เหล่านี้กับประเทศ ญี่ ปุ ่ น ให้ แ น่ น แฟ้ น ยิ่ ง ขึ้ น เกิ ด การติ ด ต่ อ แลกเปลี่ยนระหว่างผู้คนทั่วทุกมุมโลกกับ ชาวญี่ ปุ ่ น และช่ ว ยส่ ง เสริ ม สถานะของ ประเทศญี่ปุ่นในเวทีประชาคมนานาชาติ ส�ำหรับประเทศไทย ความช่วยเหลือ เพือ่ การพัฒนาอย่างเป็นทางการเริม่ ขึน้ ในปี
นายชูอิจิ อิเคดะ
รัฐบาลไทยใน 3 รูปแบบ ได้แก่ ความร่วมมือ ทางวิชาการ ความร่วมมือแบบเงินกู้ และ ความร่วมมือแบบให้เปล่าทัง้ ในระดับทวิภาคี (ระหว่ า งประเทศไทยกั บ ประเทศญี่ ปุ ่ น ) และระดับภูมภิ าค (ระหว่างเอเชียตะวันออก เฉียงใต้กับญี่ปุ่น) นับจนถึงปี พ.ศ.2556 ประเทศไทยได้รับความช่วยเหลือดังนี้ ● ความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการใน 156 โครงการและการศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ การพัฒนา 216 โครงการ รวมมูลค่า 67,400 ล้านบาท ● ความร่วมมือแบบเงินกู้ส�ำหรับ 242 โครงการ รวมมูลค่า 6.56 แสนล้านบาท ● ความร่วมมือแบบให้เปล่ารวม มูลค่า 52,000 ล้านบาท ● อาสาสมั ค ร (JOCV) จ� ำ นวน 645 คน ● อาสาสมัครอาวุโส (SV) 300 คน (นับเป็นจ�ำนวนอาสาสมัครอาวุโสมากที่สุด ในโลก) ● ผู ้ เ ข้ า รั บ การอบรมในโครงการ ของไจก้า จ�ำนวน 30,437 คน ● ผูเ้ ชีย ่ วชาญ 9,801 คนและคณะ ศึกษา 14,946 คน รวมถึงโครงการระบบขนส่งมวลชน ในกรุงเทพฯ (สายสีมว่ ง) (ระยะ 1 และ ระยะ 2) เชือ่ มพืน้ ทีร่ ะหว่างบางซือ่ ในกรุงเทพฯ กับ บางใหญ่ในจังหวัดนนทบุรี โดยเงินกูจ้ ำ� นวน
หัวหน้าผู้แทนองค์การ ความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น (ไจก้า) ส�ำนักงานประจ�ำประเทศไทย >>>64
February-March 2015, Vol.41 No.239
&
นี้ใช้เพื่องานด้านที่ปรึกษาและงานก่อสร้าง ได้แก่ โครงสร้างทางวิ่งยกระดับ สถานีศูนย์ ซ่อมบ�ำรุงรถไฟฟ้า อาคารจอดรถ ตลอดจน งานระบบราง ประเทศไทยมีความโดดเด่นทางด้าน ภูมิศาสตร์และเศรษฐกิจในแถบอนุภูมิภาค ลุม่ แม่นำ�้ โขง การเชือ่ มโยงระหว่างเศรษฐกิจ ของประเทศไทยกับประเทศเพือ่ นบ้านมีสว่ น ส�ำคัญอย่างยิ่งกับบทบาทของญี่ปุ่นในการ พัฒนาภูมิภาคนี้ ท�ำให้ในหลายปีมานี้ ไจก้า ได้ ป รั บ เปลี่ ย นแนวทางความร่ ว มมื อ ใน ประเทศไทยใน 3 ประเด็น คือ 1. ในประเทศไทย ญี่ปุ่นมีความ แข็ ง แกร่ ง ในเชิ ง พาณิ ช ย์ โ ดยมี ช าวญี่ ปุ ่ น อาศัยอยู่ในไทยกว่า 50,000 คน ที่ให้การ สนับสนุนบริษัทในเครือญี่ปุ่นกว่า 7,000 แห่ง ซึ่งนับว่ามีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนา ตลาดของภูมิภาคแถบนี้ เนื่องจากประเทศไทยเป็นหุ้นส่วนที่แข็งแกร่งและเป็นที่ไว้ วางใจในการพัฒนาอนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ�้ โขง ดังนัน้ ไจก้าจึงสามารถประสานความร่วมมือ กับหน่วยงานต่าง ๆ และประชาชนชาวไทย เพื่อผลักดันให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนใน ภูมิภาคนี้ 2. ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่าน มา สืบเนื่องจากความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้น ใกล้ชิดระหว่างไจก้ากับคนไทยและหน่วยงานต่าง ๆ รวมถึงองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่ไทย สั่งสมมา ได้กลายเป็นทรัพยากรส�ำคัญใน
การพัฒนาประเทศไทยและประเทศเพื่อน บ้านต่อไป จากการที่สถาบันต่าง ๆ ซึ่งได้รับ ประโยชน์จากความช่วยเหลือเพือ่ การพัฒนา เช่น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง (สจล.) และสถาบันมาตรวิ ท ยาแห่ ง ชาติ ท� ำ ให้ ป ระเทศไทยได้ เ ริ่ ม ให้ความร่วมมือทางวิชาการและเงินทุนแก่ ประเทศก�ำลังพัฒนาอืน่ ๆ ผ่านทางส�ำนักงาน ความร่วมมือเพือ่ การพัฒนาระหว่างประเทศ (สพร.) และส�ำนักงานความร่วมมือพัฒนา เศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การ มหาชน) (สพพ.) 3. ในการปรั บ เปลี่ ย นแนวทาง ความร่วมมือของไจก้า คือ ประเทศไทย เผชิญกับปัญหาทีห่ ลากหลายจากการทีไ่ ทย ก้ า วแซงหน้ า ประเทศเพื่ อ นบ้ า นไปอย่ า ง รวดเร็ว โดยเปลี่ยนจากสังคมเชิงคุณภาพ (social qualitative transition) ไปเป็นสังคม ผู้สูงอายุ ด้วยจ�ำนวนประชากรผู้สูงอายุเพิ่ม สูงขึ้นอย่างรวดเร็วและอัตราการเกิดลดลง อีกทั้งประเทศไทยได้ยกระดับเป็นประเทศที่ มีรายได้ปานกลางค่อนข้างสูง (upper mid-
Report
dle income country) นอกจากนี้ระบบ สวัสดิการสังคมยังไม่เอือ้ ต่อการแก้ไขปัญหา ในจุดนี้ได้ สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงปัญหาบาง ส่วนที่ไทยก�ำลังเผชิญอยู่ในขณะนี้ เนื่องจากประเทศญี่ปุ่นมีประสบการณ์อย่างมากในด้านเหล่านี้ ดังนั้น ไจก้า จึงสามารถให้ความช่วยเหลือในการสร้าง ระบบสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมให้แก่ไทย ได้ รวมทั้งช่วยสนับสนุนในการแก้ปัญหา ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนี้ เช่น การค้า มนุษย์ ความมั่นคงทางอาหาร และความ ท้ า ทายในการสร้ า งสั ง คมที่ ส มบู ร ณ์ แ บบ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีความยั่งยืน บทเรี ย นและองค์ ค วามรู ้ ที่ ไ ด้ รั บ จากการ ประสานความร่วมมือในครั้งนี้จะเกิดเป็น ประโยชน์ต่อประเทศก�ำลังพัฒนาอื่น ๆ ซึ่ง ย่ อ มจะต้ อ งเผชิ ญ กั บ ปั ญ หาในลั ก ษณะ เดียวกันนี้ในอนาคตอย่างแน่นอน นายชู อิ จิ อิ เ คดะ หั ว หน้ า ผู ้ แ ทน องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของ ญี่ปุ่น (ไจก้า) ส�ำนักงานประจ�ำประเทศไทย กล่าวเสริมว่า “แม้ว่าแนวทางความร่วมมือ ระหว่างไจก้ากับประเทศไทยจะปรับเปลี่ยน ไป แต่เรายังคงยึดมัน่ เช่นเดิมในการประสาน ความร่วมมือกับประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง ทว่าไม่ใช่ในฐานะประเทศที่ได้รับความช่วย เหลือ หากแต่เป็นหุน้ ส่วนทีแ่ ท้จริงทีม่ บี ทบาท เท่าเทียมกันในการพัฒนาประเทศไทยและ ภูมิภาคแถบนี้ให้เป็นไปอย่างยั่งยืน” February-March 2015, Vol.41 No.239
65 <<<
&
Knowledge
(ตอนจบ)
คุณสมบัติการบริหารที่ดี ฉบับ
ญีป่ นุ่
ของคน
ที่ แ ล้ ว ได้ น� ำ เสนอเกี่ ย วกั บ คุ ณ สมบั ติ ที่ ส� ำ คั ญ ของการบริ ห ารที่ ดี ข องคนญี่ ปุ ่ น ไว้ 3 ข้ อ ประกอบด้วย การบรรยายลักษณะงานที่เขียนไว้กว้าง ๆ และการมอบหมายงานที่ไม่ตายตัว การท�ำงานเป็นทีม และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซึ่งได้น�ำเสนอรายละเอียดไปแล้วนั้น ฉบับนี้มาต่อหัวข้อที่ 4 การแบ่งปันสารสนเทศ
ต่อจากฉบับที่แล้ว
4.
การแบ่ ง ปั น สารสนเทศ ความมี ประสิทธิผลในการแบ่งปันสารสนเทศ ย่อมท�ำให้การท�ำงานเป็นทีมมีประสิทธิผลตามไปด้วย สมาชิกในกลุ่มมีส่วน ช่ ว ยเหลื อ คนอื่ น ๆ ในที ม เพื่ อ ให้ ค นอื่ น ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิผลเช่นเดียวกัน ทุก ๆ คนในกลุม่ จะมีสารสนเทศทีจ่ �ำเป็นเพือ่ ใช้กบั กิจกรรมต่าง ๆ ภายในกลุม่ และสมาชิก กลุ่มอื่นๆ การแบ่งปันสารสนเทศ จะพบเห็น กันมากในคนสิงคโปร์ โดยคนสิงคโปร์จะให้ ความสนใจในการแบ่งปันสารสนเทศ และ การแบ่งปันสารสนเทศมีส่วนเกี่ยวข้องกับ องค์กรธุรกิจ ในทีน่ กี้ ารแบ่งปันสารสนเทศไม่ ได้คำ� นึงถึงว่าพวกเขาจะเป็นผูน้ ำ� หรือสมาชิก แต่พวกเขาตัง้ ใจทีจ่ ะมีการแบ่งปันสารสนเทศ >>>66
February-March 2015, Vol.41 No.239
เพื่อผลประโยชน์ต่อคนอื่น ๆ และสมาชิกใน กลุม่ เนือ่ งจากมีความยุง่ ยากและความสลับ ซั บ ซ้ อ นในการสื่ อ สารในสั ง คมที่ มี ห ลาย เชื้อชาติในคนสิงคโปร์ สมาชิกทุกคนในกลุม่ จะแจ้งข่าวสาร ทีด่ ใี ห้กบั ผูน้ ำ� ผูซ้ งึ่ มีความรับผิดชอบสูงมาก ผูน้ ำ� กลุม่ จะจัดให้มกี ารประชุมอย่างสม�ำ่ เสมอ โดยมีการสรุปสัน้ ๆ และแจ้งให้สมาชิกทุกคน ได้รับรู้นโยบายและการตัดสินใจจากฝ่าย บริหารและผู้น�ำกลุ่ม โดยจะร่วมพูดคุยกับ สมาชิกเกีย่ วกับความก้าวหน้าและผลสัมฤทธิ์ ของกลุม่ รวมทัง้ ปัญหาต่าง ๆ ทีก่ ลุม่ เผชิญอยู่ ผู้น�ำกลุ่มจ�ำเป็นต้องสร้างบรรยากาศในการ สื่ อ สารแบบเปิ ด เพื่ อ สนั บ สนุ น และรั ก ษา สมาชิกทุกคนในกลุม่ ไม่ให้เกิดความแตกแยก หรือทะเลาะเบาะแว้งกัน
พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์
ที่ปรึกษาอิสระและนักวิจัยแห่งชาติ
5. ความเอาใจใส่และความกระฉั บ กระเฉง เป็ น ทั ศ นคติ ท างด้ า นจิ ต ใจ เพื่อดูแลคนอื่น ๆ บริษัทต้องด�ำเนินการโดย ผลักดันให้ทุกฝ่าย ทุกกองและทุกแผนกรวม ทัง้ ทุกคนต้องท�ำงานร่วมกัน สมาชิกทุกคนใน กลุม่ จะต้องร่วมกันรับผิดชอบ ซึง่ แต่ละคนไม่ สามารถรับผิดชอบเพียงล�ำพังได้ ความเอาใจ ใส่ จะช่วยให้สมาชิกคนอืน่ ๆ ในกลุม่ สามารถ ปฏิ บั ติ ง านและยั ง สร้ า งสายสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ระหว่ า งพนั ก งานกั บ แผนกต่ า ง ๆ ส่ ง ผล ให้การปฏิบตั งิ านเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ยกตัวอย่างเช่น ผูป้ ฏิบตั งิ าน ในสายการผลิตท่านหนึ่ง จะปฏิบัติงานของ เขาโดยเขามีมารยาทที่จะเข้าไปช่วยเหลือ ผูป้ ฏิบตั งิ านคนอืน่ ๆ ซึง่ อยูใ่ นกระบวนการถัด ไป เพือ่ ให้งานทีป่ ฏิบตั อิ อกมาดีทสี่ ดุ การผลิต
&
Knowledge
ชิ้นส่วนต่าง ๆ ให้ถูกต้องและมีคุณภาพดี ที่สุดในช่วงเวลานั้น เขาจ� ำเป็นต้ องผลิต ชิ้นส่วนต่าง ๆ และจัดวางชิ้นส่วนต่าง ๆ ให้ ง่ายและสะดวกในการท�ำงานของพวกเขา การเอาใจใส่ไม่ใช่เป็นการชี้น�ำไปที่ สมาชิกของกลุ่มและแผนกอื่น ๆ ของบริษัท เท่านัน้ แต่ยงั ชีน้ ำ� ไปยังลูกค้า การเอาใจใส่ที่ ดีกบั ลูกค้า เป็นหลักการขัน้ พืน้ ฐานทีม่ คี วาม ส�ำคัญกับทุก ๆ ธุรกิจ และท�ำไมสิ่งเหล่านี้ จึ ง มี ส ่ ว นเชื่ อ มโยงกั บ กิ จ กรรมขั้ น พื้ น ฐาน (basics) จริง ๆ แล้วการเอาใจใส่พนักงาน จะมีสว่ นช่วยกระตุน้ และเร่งเร้าในการเรียนรู้ ว่าพวกเขาต้องการอะไร ขอย้อนกลับมาทีต่ วั อย่างทีเ่ กิดขึน้ ไม่ บ่ อ ยนั ก กั บ การเอาใจใส่ แ ละการกระตุ ้ น เร่งเร้าในการปรับปรุงการด�ำเนินงานของ บริษัท หากความเอาใจใส่และการกระตุ้น เร่งเร้ากลายเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ การท�ำงาน ของพนักงานทุกคน 6. กิจกรรมขั้นพื้นฐาน (กิจกรรม 5ส) ประกอบไปด้ ว ย SEIRI, SEITON, SEISO, SEIKETSU และ SHITSUKE ซึ่ง เป็นภาษาญี่ปุ่น โดยใช้ค�ำย่อว่า “S” ● สะสาง - การขจัดสิ่งของที่ไม่ จ�ำเป็นทิ้งไป ● สะดวก – จัดวางสิ่งของต่าง ๆ ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
สะอาด – ท�ำความสะอาด ● สร้างมาตรฐาน – รักษาความ สะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยอยู่ เสมอ ● สร้างนิสัย – มีวินัยเป็นพื้นฐาน ในการปฏิบัติงาน สาม “ส” แรก เช่น สะสาง สะดวก และสะอาด จะเรียกว่า “3S” ซึ่งถูกน�ำไปใช้ บ่อยมาก และถือว่าเป็นหัวใจส�ำคัญของ กิจกรรม 5ส อุ ต สาหกรรมของคนญี่ ปุ ่ น จะใช้ กิจกรรม 5ส ในการด�ำเนินงานโดยเชื่อว่า กิจกรรม 5ส เป็นกุญแจส�ำคัญที่มีผลต่อ คุณภาพสูงสุดของผลิตภัณฑ์และบริการ นอกจากนี้กิจกรรม 5ส ยังมีส่วนส�ำคัญต่อ ความปลอดภั ย และการปฏิ บั ติ ง านที่ มี ประสิทธิภาพ การที่บริษัทมีการน�ำกิจกรรม 5ส ไปใช้ ก็เพือ่ ชีใ้ ห้เห็นว่าสถานทีท่ ำ� งานตรง จุดไหนไม่มคี ณ ุ ภาพสูงสุดเกิดขึน้ บ้าง ในอีก แง่มุมหนึ่งสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ สูงสุดจะแสดงให้เห็นได้ว่าสถานที่ท�ำงาน ภายในบริษัทยังคงปล่อยปละละเลยจน ท�ำให้สกปรกและรกรุงรังในระยะยาวได้ หรือไม่ สถานที่ท�ำงานที่รกรุงรังจะมี ผลกระทบในแง่ลบต่อคุณภาพ รวม ทั้งยังส่งผลกระทบต่อการส่งมอบ ●
และต้นทุน ยกตัวอย่างเช่น เมื่ออัตราส่วน การไม่ยอมรับเพิม่ สูงขึน้ เนือ่ งมาจากสถานที่ ท�ำงานปล่อยให้รกรุงรัง บริษัทจ�ำเป็นต้องมี การปรับรื้อการวางแผนการผลิตใหม่ โดย ต้องรือ้ เอาสิง่ ทีไ่ ม่เป็นระเบียบเรียบร้อยทิง้ ไป เพื่อไม่ให้กระทบต่อการส่งมอบ นอกจากนี้ ยังต้องดูว่ามีพัสดุต่าง ๆ กองวางไว้มากจน เกินไปหรือไม่ สิง่ เหล่านีม้ ผี ลท�ำให้ตน้ ทุนการ ผลิตสูงเพิ่มขึ้น บ่อยครั้งที่บริษัทจ�ำเป็นต้อง ท�ำงานให้หนักขึ้นเพื่อผลิตสินค้าออกมาให้ มากขึ้น และส่งมอบ แต่ผลลัพธ์อาจกลับกัน คือ ท�ำให้สถานที่ท�ำงานรกรุงรัง ซึ่งคุณอาจ เรียกมันว่า วัฏจักรแห่งความเลวร้าย (vicious cycle) กิจกรรม 3ส หรือกิจกรรม 5ส เป็น กิ จ กรรมที่ ไ ม่ มี อ ะไรยุ ่ ง ยากเลย และเป็ น
February-March 2015, Vol.41 No.239
67 <<<
&
Knowledge กิจกรรมทีบ่ ง่ บอกถึงแนวโน้มภายในอุตสาหกรรมได้เป็นอย่างดี ท�ำให้กิจกรรมเหล่านี้ เป็นกิจกรรมขั้นพื้นฐานที่ไม่ได้สร้างความ เคร่งเครียด ทุก ๆ คนรู้ดีว่า กิจกรรม 5ส เป็น กิจกรรมหนึง่ และเป็นกิจกรรมทีท่ กุ ๆ คนต้อง ด�ำเนินการโดยจัดเก็บสถานที่ท�ำงานให้เป็น ระเบียบเรียบร้อยและสวยงาม กิจกรรม 5ส ยังแสดงให้เห็นถึงความสะอาดของสถานที่ ท�ำงาน โดยการท�ำความสะอาดและเก็บ กวาดไม่ ใ ช่ ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบของนั ก การ ภารโรง แต่เป็นความรับผิดชอบของทุก ๆ คน ภายในบริษัท การสร้างนิสยั เป็นวินยั ขัน้ พืน้ ฐานใน การปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยและมี ประสิทธิภาพ นอกเหนือจากความสะอาดใน สถานที่ท�ำงาน พนักงานจะสวมชุดเครื่อง แบบทีด่ ี รวมทัง้ สวมรองเท้านิรภัย ไม่วา่ พวก เขาจะท�ำงานอยู่ที่ตรงจุดไหนก็ตาม ส่วน พนักงานขายที่อยู่ในร้านจะเอาใจใส่ดูแล ลูกค้าอย่างสม�่ำเสมอ และให้การต้อนรับ ลูกค้าด้วยรอยยิ้ม ตลอดจนใช้ค�ำพูดที่ดีใน การต้อนรับลูกค้า รวมทั้งในขณะที่ลูกค้ารอ คอยการให้บริการ พนักงานจะดูแลเอาใจใส่ ลูกค้าทันทีโดยให้บริการอย่างรวดเร็วเพือ่ ไม่ ให้ลูกค้ารอนาน เป็นต้น ในหลาย ๆ กรณี จะพบว่าในบางจุด ต้องมีการปรับปรุงอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะ ทางด้านคุณภาพและความมีประสิทธิภาพ
>>>68
February-March 2015, Vol.41 No.239
ซึง่ การปรับปรุงอย่างเร่งด่วน คือ การปรับปรุง การท�ำความสะอาดสถานทีท่ ำ� งาน กิจกรรม ขั้ น พื้ น ฐานมี ผ ลกระทบอย่ า งมากต่ อ การ ปฏิบัติงาน กิจกรรม 5ส แท้ที่จริงเป็นวิธีการ จัดการหนึง่ หรือเทคนิคหนึง่ ทีถ่ กู น�ำไปใช้งาน จนกระทั่งการปฏิบัติงานในสถานที่ท�ำงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งในอีกแง่มุมหนึ่งคือบริษัทต่าง ๆ จะต้อง ท�ำการเปลี่ยนแปลงในการท�ำกิจกรรม 5ส ซ�ำ้ ๆ โดยสังเกตถึงการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ 7. จรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน การบริหารทีด่ ขี องคนญีป่ นุ่ ต้องการให้พนักงานทุก ๆ คนมีจิตส�ำนึกที่เข้มแข็งทางด้าน ความมี วิ นั ย พนั ก งานระดั บ ล่ า งที่ มี วิ นั ย สามารถสังเกตเห็นได้จากกฎข้อบังคับต่าง ๆ ของบริษัทที่มีการก�ำหนดให้พนักงานทุกคน ต้องท�ำงานตรงต่อเวลา ความตรงต่อเวลา เป็นปัจจัยขัน้ พืน้ ฐานของความมีวนิ ยั ทัง้ หมด ซึง่ ธุรกิจส่วนใหญ่จะมีการวัดเวลาในการผลิต เวลาในการขายและเวลาทีใ่ ห้บริการ เป็นต้น แท้ที่จริงแล้วในธุรกิจถือว่าเวลา คือ เงิน นอกจากนี้ยังมีขอบข่ายอื่น ๆ ทาง ด้านจรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน นั่นก็คือ จิตส�ำนึกต่อความรับผิดชอบของพนักงาน ซึง่ ถือว่าเป็นก้าวหนึ่งที่มีความส�ำคัญสูงกว่า วินยั ในการท�ำงาน ถึงแม้วา่ คุณจะท�ำงานใด งานหนึ่ง แล้ วเสร็ จ คุ ณก็ ยังคงอยู ่จ นกว่า ชั่วโมงการท�ำงานจะสิ้นสุดลง และคุณต้อง
ตระเตรียมการท�ำงานในวันพรุง่ ขึน้ ก่อนทีค่ ณ ุ จะเดินทางกลับบ้าน คุณพยายามท�ำงานล่วง เวลากับเพื่อน ๆ หากเกิดสาเหตุจากความ ล่าช้าจนท�ำให้กลุ่มต้องท�ำงานล่าช้าตามไป ด้วย แต่ละคนคิดว่าเรื่องเหล่านี้ไม่ใช่เรื่อง ใหญ่โตอะไร แต่อย่างไรก็ดี มันเกิดจากมุม มองที่แตกต่างกันกล่าวคือ ทุก ๆ คนขาด จิตส�ำนึกทีเ่ ข้มแข็งทางด้านความรับผิดชอบ ร่วมกัน หรือทุก ๆ คนขาดการใส่ใจซึง่ กันและ กัน รายละเอียดขั้นตอนในการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอน จ�ำเป็นต้องมีการใช้ กิจกรรม 5ส จรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน ร่วมกัน ถึงแม้ว่าการปฏิบัติงานเพียงล�ำพัง คนเดียวก็ตาม มันมีผลต่อสมรรถนะโดยรวม ของบริษัท ดังนั้นบริษัทต่าง ๆ ของคนญี่ปุ่น จึงใส่ใจในรายละเอียดต่าง ๆ เหล่านี้ โดยเชือ่ ว่าสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ มีส่วนท�ำให้การท�ำงาน ภายในบริษัทมีรสชาติ ท�ำให้บริษัทของคน ญีป่ นุ่ ก้าวไปสูต่ �ำแหน่งสูงสุดเหนือกว่าคูแ่ ข่ง 8. ความไว้วางใจร่วมกัน สังคมใน ประเทศสิงคโปร์เป็นสังคมที่มีหลายเชื้อชาติ หลายวัฒนธรรม แต่ความไว้วางใจร่วมกันใน ประเทศสิงคโปร์ มีเหตุผลที่ดีด้วยกันหลาย ประการ โดยมีการใช้หลักการเดียวกันกับ องค์กรธุรกิจ ไม่วา่ จะเป็นฝ่ายบริหาร แรงงาน ผูจ้ ดั การและผูใ้ ต้บงั คับบัญชารวมทัง้ พนักงาน ระดับเสมียน ความไว้วางใจร่วมกันก่อตัวขึน้ อย่าง ช้า ๆ แต่คอ่ นข้างจะมีเสถียรภาพ ซึง่ สามารถ มองเห็นได้จากการปฏิบตั งิ านประจ�ำวัน ฝ่าย บริหารจะดูแลสหภาพแรงงานเหมือนเป็น หุ้นส่วนโดยให้ค�ำปรึกษาสหภาพแรงงาน อย่างสม�่ำเสมอ เนื้อหาที่ส�ำคัญ ๆ ส่วนใหญ่ จะเป็ น เรื่ อ งความเป็ น อยู ่ ข องเหล่ า มวล สมาชิกของสหภาพแรงงาน และมีการแบ่ง ปั น สารสนเทศการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ผู้จัดการจะให้ค�ำมั่นสัญญาต่อการปฏิบัติงานก่อนโดยคิดว่าพวกเขาก็คือผู้ใต้บังคับ บัญชาเช่นเดียวกับพนักงานคนอื่น ๆ
&
Knowledge 9. การมองการณ์ ไ กล บ่ อ ยครั้ ง อุตสาหกรรมของคนญี่ปุ่นมักจะได้รับข้อคิด เห็ น ว่ า เป็ น บริ ษั ท ที่ ช อบมองการณ์ ไ กล มากกว่าบริษัทของคนตะวันตก ซึ่งมักจะ ชอบท�ำก�ำไรระยะสั้น สิ่งเหล่านี้มักจะถูก อ้างอิงไปที่บริษัทของคนญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่ คนญี่ปุ่นมักจะลงทุนไปกับระบบอัตโนมัติ และกิจกรรมการวิจัยและพัฒนาโดยมีผลกระทบในแง่ลบต่อสมรรถนะทางด้านการ เงินในช่วงระยะสั้น ๆ เท่านั้น มีเหตุผลที่เป็นไปได้เหตุผลหนึ่ง คือ อุตสาหกรรมของคนญี่ปุ่นจะก�ำหนดคุณสมบัติในการผลิต โดยใช้เวลาในการติดตั้ง เครือ่ งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในการผลิต รวมทั้ ง การปรั บ ปรุ ง และผลิ ต สิ น ค้ า ให้ มี คุณภาพทีด่ อี ยูเ่ สมอ ตลอดจนสร้างก�ำไรเมือ่ เปรี ย บเที ย บกั บ การด� ำ เนิ น การให้ บ ริ ก าร นอกจากนี้ยังมีอีกเหตุผลหนึ่งคือ อุตสาหกรรมของคนญี่ปุ่นจะให้ความส�ำคัญอย่าง ใกล้ชิดกับตลาดแรงงาน และความเจริญ เติบโตและการขยายตัวของภาคแรงงาน ความส�ำเร็จทางด้านความเจริญเติบโตของ พนักงานจะขึ้นอยู่กับเวลาที่ท�ำงานอยู่กับ บริษัท
การมุ่ ง เน้ น ไปที่ ส ถานที่ ทำ � งาน คุ ณ ภาพ และรายละเอี ย ดต่ า ง ๆ รวมไปถึงพนักงาน
การบริ ห ารของคนญี่ ปุ ่ น สามารถ ตรวจสอบได้จากคุณสมบัตขิ นั้ พืน้ ฐานทีเ่ กิด จากการลงมือปฏิบัติจริง ผลพวงที่เกิดขึ้นได้ ชีใ้ ห้เห็นถึงบริษทั ต่าง ๆ จ�ำเป็นต้องมีการแบ่ง ปัน โดยให้ความส�ำคัญกับสถานที่ท�ำงาน คุณภาพ รายละเอียดต่าง ๆ และพนักงาน โดยมีการน�ำคุณสมบัติที่สำ� คัญ ๆ ข้างต้นไป ใช้ในการด�ำเนินงานให้ประสบความส�ำเร็จ คุณสมบัติต่าง ๆ เหล่านี้ดูแล้วคล้ายคลึงกัน มาก แต่อาจจะมีมุมมองที่แตกต่างกันไป บ้าง เช่น การมุ่งเน้นไปที่คุณภาพ คนญี่ปุ่น ส่วนใหญ่ประสบความส�ำเร็จจนได้รับการ
ยอมรับกระบวนการในการปรับปรุงสมรรถนะ ทางด้านคุณภาพ ซึง่ ถือว่าเป็นกุญแจส�ำคัญ ส�ำหรับคนญี่ปุ่น ผลลัพธ์ของการปรับปรุง คุณภาพอยูท่ กี่ ารปรับปรุงการส่งมอบให้เกิด ความถูกต้อง เที่ยงตรง และลดต้นทุนให้ต�่ำ สุด โดยเกิดจากการปรับปรุงของพนักงาน ระดับล่างสุด พวกเขาจะถูกครอบง�ำให้มกี าร ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพและใช้ ค วามพยายาม ทั้งหมดของพวกเขามุ่งไปสู่เป้าหมายเหล่า นั้นให้จงได้ นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นไปยังสถานที่ ท�ำงาน คุณภาพของสินค้าและบริการจะถูก ผลิตขึน้ ในสถานทีท่ ำ� งาน ระดับของคุณภาพ จะถูกค้นพบได้จากกระบวนการท�ำงาน นั่น หมายความว่า บริษัทต่าง ๆ จะต้องมีการ ปรับปรุงคุณภาพโดยใส่ใจให้มากกับการ ปรับปรุงการท�ำงาน เช่น ในสถานที่ท�ำงาน แต่อย่างไรก็ตาม บริษัทของคนญี่ปุ่นยังให้ ความส�ำคัญกับรายละเอียดต่าง ๆ ในการ ปรับปรุงการท�ำงาน จะเป็นการปรับปรุงราย ละเอียดต่าง ๆ แบบสะสมทีละเล็กทีละน้อย มากกว่าการปรับปรุงแบบถอนรากถอนโคน ท�ำไมสิ่งเหล่านี้จึงท�ำให้บริษัทต่าง ๆ ของคน ญีป่ นุ่ ประสบความส�ำเร็จ โดยไม่มวี นั ประสบ ความล้มเหลว เพราะการปรับปรุงแบบค่อย เป็นค่อยไปเป็นการสะสมทีละเล็กทีละน้อย
จนน�ำไปสู่การสร้างความแตกต่างที่ดีเยี่ยม ในระยะยาว นอกจากนี้บริษัทของคนญี่ปุ่น ยังให้ค วามส� ำ คั ญ กั บ คนในองค์ ก รธุ ร กิ จ ระบบต่าง ๆ เป็นสิ่งที่ต้องได้รับการดูแลให้ ดี แ ละต้ อ งมี ก ารจั ด การที่ ดี กั บ คนภายใน องค์กร การปรับปรุงคุณภาพต้องมีการเปลีย่ นแปลงความนึกคิดของพนักงาน โดยทุกคน ต้องมีความรับผิดชอบร่วมกันในการปรับปรุง คุณภาพของสินค้าและบริการให้ดียิ่ง ๆ ขึ้น ไป ระบบต่าง ๆ มักจะถูกมองข้ามในรายละเอียดต่าง ๆ ในการปฏิบัติงาน ดังนั้น พนักงานต้องใส่ใจดูแล และกระตือรือร้นให้ ดีกับรายละเอียดต่าง ๆ ในการปฏิบัติงาน การบริหารของคนญีป่ นุ่ เน้นให้สร้างจิตส�ำนึก ให้เกิดขึ้นกับพนักงานทุกคน จากภาพรวมทั้งหมดที่กล่าวมา จะ พบว่าคุณสมบัติที่โดดเด่นของการบริหาร ของคนญีป่ นุ่ เป็นสิง่ ทีท่ า้ ทายส�ำหรับหลาย ๆ องค์กร หากองค์กรใดสามารถประยุกต์ใช้ แนวคิดดังกล่าวได้ ย่อมส่งผลให้องค์กร นั้น ๆ ประสบความส�ำเร็จได้อย่างยั่งยืน ตลอดจนท�ำให้องค์กรนั้น ๆ เจริญรุดหน้าไป อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะในศตวรรษที่ 21
February-March 2015, Vol.41 No.239
69 <<<
&
Visit
ติดปีกอาหารฮาลาลไทย
กองบรรณาธิการ
บินไกลสู่อาเซียน
ไม่
เพียงแต่คนมุสลิมเท่านั้นที่เข้าถึงรสชาติอาหารฮาลาลได้ ปัจจุบันผู้บริโภคทั่วไปก็สามารถซื้อหา อาหารฮาลาลมารับประทานได้แสนง่ายดายเช่นกัน แต่เราจะมั่นใจได้อย่างไรว่า เป็นอาหารฮาลาลแท้ 100 เปอร์เซ็นต์
จะ
ว่าไปแล้ว อาหารฮาลาล (Halal Food) เป็นอาหารที่แชร์ส่วนแบ่ง ตลาดอาหารโลกมากที่สุด ด้วยมูลค่าตลาด ที่สูงถึง 6-8 ล้านล้านบาท และมีแนวโน้มที่ จะขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แรงหนุนที่ ส�ำคัญ คือ จ�ำนวนประชากรมุสลิมที่มีอยู่ ทั่วโลกมากกว่า 2,000 ล้านคน และรวมถึง ผู้บริโภคทั่วไปที่ชื่นชอบอาหารฮาลาลด้วย อย่างไรก็ตาม เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับ อาหารฮาลาล ผู้ประกอบการที่ต้องการผลิต อาหารฮาลาลจ�ำหน่ายแก่ผู้บริโภคมุสลิม จ�ำเป็นต้องให้ความสนใจอย่างจริงจัง และ ด�ำเนินกระบวนการผลิตอาหารฮาลาลให้ ถูกต้องตามหลักบัญญัตศิ าสนาอิสลาม และ ระเบียบคณะกรรมการกลางอิสลามแห่ง ประเทศไทยว่า ด้วยการรับรองฮาลาล พ.ศ. 2544 และฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 โดยอาหาร >>>70
February-March 2015, Vol.41 No.239
ฮาลาลเหล่านั้น จะต้องผ่านการตรวจสอบ และรับรองจากคณะกรรมการกลางอิสลาม แห่งประเทศไทย หรือคณะกรรมการอิสลาม ประจ�ำจังหวัดแล้วแต่กรณี และหากผู้ขอ รับรองฮาลาลประสงค์จะใช้ “เครื่องหมาย รั บ รองฮาลาล” จะต้ อ งรั บ อนุ ญ าตให้ ใ ช้ เครื่องหมายดังกล่าวจากคณะกรรมการ กลางอิสลามแห่งประเทศไทยเสียก่อน เครือ่ งหมายรับรองฮาลาล ทีป่ ระทับ ลงบนหีบห่ออาหาร เป็นเครือ่ งหมายการันตี ได้ว่า อาหารนั้น เป็นอาหารที่มีคุณค่าทาง โภชนาการ ถูกสุขอนามัย ปลอดภัยจาก สิ่งต้องห้ามทางศาสนาอิสลาม (ฮารอม) และสิ่งปนเปื้อนต่าง ๆ และรวมถึงผู้บริโภค ทั่วไปที่จะได้รับประทานอาหารที่มีความ สะอาด ปลอดภัย
โรงงานมาตรฐานอาหารฮาลาล
เพื่อตอกย�้ำความเชื่อมั่นในอาหาร ฮาลาลของคนไทย ส� ำ นั ก งานมาตรฐาน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม (สมอ.) ร่ ว มกั บ สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม จัด ทริปเยือนแหล่งผลิตอาหารฮาลาลที่ผ่าน การรับรองมาตรฐานอาหารฮาลาลเป็นที่ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว และเราก็ เ ป็ น หนึ่ ง คนที่ มี โอกาสได้เห็นกระบวนการผลิตอาหารฮาลาล เป็นครั้งแรก เป้าหมายการเดินทางไปเยี่ยมชม กิจกรรมการผลิตอยู่ที่ บริษัท ไอบีเอฟ ฮาลาล ฟูด้ ส์ จ�ำกัด ตัง้ อยูท่ จี่ งั หวัดสมุทรปราการ โรงงานแห่งนีเ้ ป็นโรงงานทีม่ ขี นาดก�ำลังพอดี ไม่เล็ก ไม่ใหญ่จนเกินไป ท�ำให้การบริหาร จัดการเป็นไปด้วยความคล่องตัว สามารถ ดูแลตรวจสอบได้อย่างทั่วถึง โดยโรงงาน แห่งนี้เป็นโรงงานผลิตอาหารฮาลาล เพื่อ ชาวมุสลิมโดยแท้
▲
& คุณวิรุตม์ ทรัพย์พจน์
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไอบีเอฟ ฮาลาล ฟู้ดส์ จ�ำกัด
การเข้ า ถึ ง จิ ต วิ ญ ญาณของความ เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต อาหารฮาลาล ย่ อ มไม่ มี ใ คร สามารถท� ำ ได้ ดี ก ว่ า คนมุ ส ลิ ม ซึ่ ง โรงงาน อาหารแห่งนี้เองก็เช่นกัน นับตั้งแต่ระดับ บริหาร กระทัง่ ถึงพนักงานระดับผูป้ ฏิบตั กิ าร ล้วนแล้วแต่เป็นผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม ที่ เข้าใจ และเข้าถึงแก่นการผลิตอาหารตาม หลักบัญญัติของศาสนาอิสลาม และปฏิบัติ ตามอย่างเคร่งครัด คุณวิรุตม์ ทรัพย์พจน์ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท ไอบีเอฟ ฮาลาล ฟู้ดส์ จ�ำกัด ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรงงานแห่งนี้ว่า เดิมที โรงงานแห่งนี้มีชื่อว่า อิบรอฮีม ฮาลาลฟู้ดส์ ต่อมาคุณสามารถ ทรัพย์พจน์ ได้เข้ามา ด�ำเนินกิจการต่อ และเปลี่ยนชื่อบริษัทใหม่ เป็น ไอบีเอฟ ฮาลาลฟู้ดส์ และให้นิยาม ไอบีเอฟใหม่วา่ เป็น International Business Food โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะก้าวสูก่ ารเป็นผูน้ ำ� การผลิตสินค้าฮาลาลอย่างแท้จริง และมี มาตรฐานสากล โดยสิ น ค้ า มี คุ ณ ภาพ ปลอดภัย ได้รับการยอมรับจากคนมุสลิม และผู้บริโภคทั่วไป
ฮาลาลแน่...อร่อยจริง
ต้องได้รับความน่าเชื่อถือด้วย ตลอดจน สถานทีผ่ ลิต ต้องสะอาด สามารถเปิดเผยได้ ตามปกติแล้วกระบวนการผลิตอาหารไม่ว่า จะเป็นโรงงานอุตสาหกรรมใด จะมีหลักการ ที่คล้ายคลึงกัน ส�ำหรับโรงงานผลิตอาหาร ฮาลาลแห่งนี้ สิ่งที่แตกต่างคือ เป็นอาหาร ฮาลาลแท้ หากถามว่า ฮาลาลเริ่มต้นจาก ตรงไหน ฮาลาลของเราเริม่ จากกระบวนการ คิดของคน วิถีปฏิบัติที่ต้องยึดมั่นตามหลัก ศาสนาอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้พนักงานที่ เข้ามาในโรงงานไม่ว่าจะนับถือศาสนาใด ๆ เมื่อเข้ามาสู่โรงงานแล้ว จะต้องปฏิบัติตาม กฎของโรงงาน และต้องไม่น�ำอาหารต้อง ห้ามเข้ามาในพื้นที่โรงงาน การคั ด เลื อ กวั ต ถุ ดิ บ เนื่ อ งจาก โรงงานแห่งนีไ้ ม่มกี ระบวนการในการเตรียม วัตถุดบิ เอง จึงต้องซือ้ วัตถุดบิ จากแหล่งทีเ่ ชือ่ ถือได้ โดยคัดเลือกจากซัพพลายเออร์ที่มี มาตรฐานรับรองว่าเป็นอาหารฮาลาล และ ต้องสามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ ก่อนเข้าสู่กระบวนการผลิต กระบวนการแรกที่ส�ำคัญ และถือว่าเป็นหลัก ปฏิ บั ติ อ ย่ า งหนึ่ ง ของศาสนาอิ ส ลาม คื อ การล้างเพื่อช�ำระสิ่งสกปรก (นายิส) ด้วยวิธี การล้างโดยให้น�้ำไหลผ่าน นอกจากนี้ใน กระบวนการปรุ ง สุ ก การอบ การต้ ม ซึ่ ง กระบวนการเหล่านี้จะมีการควบคุมเรื่อง อุณหภูมิ ระยะเวลาในการท�ำให้สุก เพื่อให้ ได้สินค้าที่ดี มีคุณภาพ และก่อนที่จะท�ำมา
กระบวนการผลิตอาหารฮาลาล
การทีจ่ ะท�ำให้ฮาลาลทีผ่ ลิตมีความ น่าเชือ่ ถือตลอดเวลา แน่นอนว่าระบบการ ผลิต ตลอดจนซัพพลายเชนที่เกี่ยวข้อง ▲
การจะสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ ผูบ้ ริโภค โดยเฉพาะชาวมุสลิมทีถ่ อื หลักทาง ศาสนาอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะการเลือก อาหารการกินที่ต้องไม่ขัดกับหลักบัญญัติ
ทางศาสนา และอาหารนั้ น ต้ อ ง ปลอดภัยจากสิ่งต้องห้ามทางศาสนา อิสลาม (ฮารอม) ดังนั้นการจะสร้าง ความเชื่อมั่นเหล่านั้นให้เกิดกับผู้บริโภค ผู้ผลิตจะต้องได้รับการรับรองมาตรฐานที่ ไม่เพียงมาตรฐานอาหารฮาลาลเท่านั้น แต่ ต้องรวมไปถึงการได้รบั การรับรองมาตรฐาน อาหารที่เป็นสากลด้วย อาทิ GMP,HACCP เป็นต้น “โรงงานผลิตอาหารฮาลาลของเรา ได้ รั บ ความมั่ น ใจจากพี่ น ้ อ งชาวมุ ส ลิ ม เนือ่ งจากบริษทั มุง่ มัน่ ผลิตอาหารฮาลาลแท้ และได้มาตรฐานระดับสากล นั่นแสดงให้ เห็นว่า นับตั้งแต่ผู้บริหารซึ่งเป็นเจ้าของ โรงงาน และเป็นคนมุสลิม ที่มีความมุ่งมั่น ใส่ใจ และตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อ ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น เป็ น ที่ ม าของการ ผลิตอาหารที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน” คุณรอซีดยี ์ บ่าวเบ็ญหมัด ผูจ้ ดั การฝ่ายขาย ภาคใต้ กล่าว และอธิบายต่อว่า “มาตรฐาน ที่ โ รงงานได้ รั บ ทั้ ง HALAL GMP และ HACCP ล้วนแต่เป็นมาตรฐานที่ทั่วโลก ให้การยอมรับ วันนี้เราคิดว่าสิ่งหนึ่งที่เรา ควรจะยกระดับสินค้าฮาลาลเพิ่มขึ้น คือ ท�ำอย่างไรให้มีมาตรฐานมากยิ่งขึ้น และ ปราศจากสารที่เป็นพิษ มีรูปลักษณ์ที่น่า ซื้อหารับประทาน มีรสชาติอร่อย”
Visit
คุณรอซีดีย์ บ่าวเบ็ญหมัด ผู้จัดการฝ่ายขายภาคใต้
February-March 2015, Vol.41 No.239
71 <<<
Visit
&
บรรจุหีบห่อ ก็ต้องมีการลดอุณหภูมิ เพื่อให้ สิง่ มีชวี ติ อย่างจุลนิ ทรียห์ รือเชือ้ โรคต่าง ๆ ไม่ สามารถเติบโตได้ ที่นี่เราอาจจะเป็นโรงงานเล็ก ๆ แต่ เราได้มีการลงทุนในการน�ำเครื่องจักรทัน สมัยเข้ามาใช้ เช่น เครื่องตรวจจับโลหะ เพื่อ ให้ผู้บริโภคมั่นใจว่าสินค้าที่ออกจ�ำหน่าย ไม่มีการปนเปื้อนทั้งโลหะ และสารอันตราย ทัง้ นีอ้ าหารทีผ่ ลิตเสร็จจะถูกน�ำไปเก็บรักษา ไว้ในห้องทีม่ กี ารควบคุมอุณหภูมทิ เี่ หมาะสม เพื่อรอการจัดส่งต่อไป ในกระบวนการจั ด ส่ ง สิ น ค้ า เป็ น อีกกระบวนการหนึ่งที่ต้องได้รับการใส่ใจ ที่ โรงงานแห่งนี้ จะไม่ใช้บริการรถขนส่งจากที่ อืน่ เพือ่ หลีกเลีย่ งสิง่ ปนเปือ้ น แต่จะใช้เฉพาะ รถยนต์ของบริษัทเท่านั้นในการขนส่งสินค้า ไปยังผู้บริโภคปลายทาง ทัง้ นี้ ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปทีผ่ ลิต จากโรงงานแห่งนี้ ประกอบด้วย กลุ่มลูกชิ้น ไก่ ลูกชิน้ เนือ้ กลุม่ ไส้กรอกไก่ ไส้กรอกอีสาน ไก่ เ ชี ย ง ไส้ ก รอกเนื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหาร กระป๋อง อาทิ พะแนงไก่/เนือ้ แกงเขียวหวาน ไก่/ เนื้อ ผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรส อาทิ ซุปผง ปรุงรสไก่ น�้ำปลา น�้ำจิ้มไก่ เป็นต้น ปั จ จุ บั น ตลาดส่ ว นใหญ่ อ ยู ่ ใ น กรุงเทพฯ และจังหวัดในภาคใต้ โดยกระจาย ผ่านศูนย์กระจายสินค้าที่ตั้งอยู่ในจังหวัด
>>>72
February-March 2015, Vol.41 No.239
ยะลา และอ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ส� ำ หรั บ จุ ด แข็ ง ของการผลิ ต อาหารให้ ไ ด้ มาตรฐานฮาลาลของไอบีเอฟนั้น นอกจาก เจ้าของจะเป็นคนมุสลิมแล้ว พนักงานส่วน ใหญ่ ก็ เ ป็ น คนมุ ส ลิ ม รวมทั้ ง บริ ษั ท ยั ง มี รถขนส่งกระจายสินค้าเป็นของตนเอง ที่
สามารถควบคุมคุณภาพได้ตลอดกระบวนการนับตัง้ แต่จากฟาร์มจนถึงโต๊ะอาหารบ้าน คุณ (from farm to table) นอกจากนีย้ อดขายส่วนใหญ่ราว 95 เปอร์เซ็นต์ ยังเป็นตลาดภายในประเทศ มี เพียง 5 เปอร์เซ็นต์ ในกลุม่ สินค้าอาหารบรรจุ กระป๋องทีส่ ง่ ออกต่างประเทศ และมีแนวโน้ม ที่ จ ะเพิ่ ม สั ด ส่ ว นการผลิ ต อาหารพร้ อ ม รับประทานในบรรจุภณ ั ฑ์ทที่ นั สมัยในหลาก หลายเมนูมากขึ้น ทั้งอาหารบรรจุกระป๋อง บรรจุถุง และอาหารแช่แข็งซึ่งตลาดก�ำลังมี ความต้องการสูง เพื่อรองรับการบุกตลาด อย่างจริงจังในอนาคต ขณะเดียวกันบริษทั มี แผนที่จะเพิ่มไลน์การผลิตไก่สดแปรรูปเพื่อ การส่งออกด้วย ส� ำ หรั บ สถานการณ์ อุ ต สาหกรรม อาหารฮาลาลของไทยในภาพรวมยั ง มี แนวโน้มเติบโตได้อีกมาก แต่อย่างไรก็ตาม การที่ประเทศไทยไม่ได้เป็นประเทศมุสลิม ท�ำให้ประเทศคู่แข่งและคู่ค้าน�ำมาใช้เป็น เงื่อนไขในการกีดกันทางการค้าได้ ดังนั้น หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องควรด�ำเนินมาตรการสาน สัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่ดูแลในเรื่องกิจการ ฮาลาล เพื่อท�ำความเข้าใจและให้เกิดการ ยอมรับมาตรฐานสินค้าฮาลาลระหว่างกันให้ มากขึน้
&
Travel
พิวิ พิธภัณฑ์เหรียญ ถีแ ห่งเงินตรา สินล�้ำค่าของแผ่นดิน เงินตราไม่เพียงเป็น สื่อกลางที่ใช้ ในการแลกเปลี่ยนหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ หากยังเปรียบเสมือนนักเดินทางผู้ท�ำหน้าที่บันทึกเรื่องราวของ มนุษยชาติในทุกยุคทุกสมัย
(coin museum)
คอ
ลัมน์ Travel ฉบับนี้จะพาท่านไปชม พิพิธภัณฑ์ เหรี ย ญ ตั้ ง อยู ่ ที่ ถ นนจั ก รพงษ์ เป็ น อาคารปู น สีเหลืองทีต่ งั้ ตระหง่านอยูบ่ นเกาะรัตนโกสินทร์แห่งนี้ นับเป็น แหล่งท่องเทีย่ วทางวัฒนธรรม ทีร่ วบรวมองค์ความรูใ้ นหลาก หลายแง่มุมเกี่ยวกับ “เหรียญ” เอาไว้ โดยกรมธนารักษ์ได้ ท�ำการปรับปรุงอาคารส�ำนักงานบริหารเงินตราเดิม ให้กลาย เป็นพิพิธภัณฑ์เหรียญ ภายในพืน้ ทีจ่ ดั แสดงจะน�ำทุกคนย้อนกลับไปสูจ่ ดุ เริม่ ต้นของเงินตรา ก่อนการก�ำเนิดของเหรียญ โดยเริม่ ต้นเล่าจาก ภาพรวมทั่วโลก ก่อนจะขยับแคบลง เพื่อเข้าไปตามหาที่มา ของเงินตราจากแต่ละพื้นที่ แต่ละทวีป และเข้าไปเจาะลึกที่ เงินตราของประเทศไทย มีการแสดงแอนิเมชั่น 4D ฉายบน ผนังถ�ำ้ แบบ 360 องศา บอกเล่าจุดเริม่ ต้นแห่งการแลกเปลีย่ น ของสังคมมนุษย์ ตัง้ แต่ยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์กอ่ นแปรเปลีย่ น สู่การใช้สื่อกลางและปรับปรุงวัสดุที่ใช้เป็นสื่อกลาง เมื่อโลก ค้นพบโลหะ February-March 2015, Vol.41 No.239
73 <<<
Travel
&
ส�ำหรับประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว: พระผู้ปฏิรูป เหรียญกษาปณ์ไทย ในการปฏิรูปการค้า และระบบเงินตราในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เป็น ผลให้ประเทศสยามมีเหรียญกษาปณ์ใช้ สืบเนื่องมาร่วม 2 ศตวรรษ ห้องส่วนจัดแสดงนิทรรศการ ดังนี้ ➲ เงิ น ตรา นั ก เดิ น ทางแห่ ง สุวรรณภูมิ จัดแสดงเหรียญเงินสมัยฟูนันทวารวดี และศรีวิชัย เหรียญในสมัยเริ่มแรก ทีป่ รากฏในพืน้ ทีป่ ระเทศไทย ซึง่ เคยเป็นส่วน หนึง่ ในดินแดนทีถ่ กู เรียกขานว่า “สุวรรณภูม”ิ แหล่งการค้าที่รุ่งเรืองในสมัยโบราณ ➲ พดด้วงภูมิปัญญาของบรรพบุรษุ ไทย วิวฒ ั นาการทางด้านรูปร่างของเงิน พดด้วงในแต่ละยุคสมัย มีการจัดแสดงเงิน จ�ำลองชนิดต่าง ๆ เช่น เงินก�ำไล เงินวงแหวน และจัดแสดงขัน้ ตอนการผลิตพดด้วงในสมัย รัตนโกสินทร์ ทั้งอุปกรณ์ วิธีการผลิต ผ่าน >>>74
February-March 2015, Vol.41 No.239
อุปกรณ์จ�ำลอง และการจ�ำลองการท�ำงาน ในโรงผลิต ➲ เหรี ย ญกษาปณ์ ส มั ย รั ต นโกสิ น ทร์ จัดแสดงพระราชกรณียกิจของ พระมหากษัตริยไ์ ทยในด้านการปฏิรปู ระบบ เงินตราที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ปฏิรูป เงินตราไทย โดยเปลี่ยนผ่านจากเงินพดด้วง สู ่ เ หรี ย ญกษาปณ์ ไ ทยให้ ทั ด เที ย มนานา อารยประเทศ ➲ นิ ท รรศการเหรี ย ญนานาชาติ ท�ำความรูจ้ กั ประเทศต่าง ๆ กว่า 40 ประเทศ ผ่านเรื่องราวที่พวกเขาบันทึกไว้บนเหรียญ
กษาปณ์หมุนเวียน และเรียนรู้เทคนิคอัน ตระการตาของการผลิตเหรียญกษาปณ์ที่ ระลึกของแต่ละชนชาติทจี่ ะท�ำให้ผชู้ มได้พบ ประสบการณ์ครั้งใหม่เกี่ยวกับเหรียญ ➲ เหรี ย ญของพ่ อ เรื่ อ งราวของ เหรียญสมัยรัชกาลปัจจุบัน ที่ได้รับการเรียง ร้อยเพื่อบอกเล่าเรื่องราวตั้งแต่ต้นรัชกาล จนถึงปัจจุบัน โดยเน้นพระราชกรณียกิจ ต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์แก่แผ่นดินและ พสกนิกรชาวไทยทุกคน ➲ ห้ อ งนานาอาณาจั ก รเหรี ย ญ เหรียญเริม่ แรกทีป่ รากฏในพืน้ ทีป่ ระเทศไทย ซึ่ ง เคยเป็ น หนึ่ ง ในดิ น แดนที่ ถู ก เรี ย กว่ า “สุวรรณภูม”ิ โดยจัดแสดงเหรียญสมัยฟูนนั ทวารวดี เหรียญศรีวชิ ยั ซึง่ แพร่หลายไปตาม เส้นทางการค้าในสุวรรณภูมิ โดยจัดแสดง เหรียญจริง ในบรรยากาศการหลุมขุดค้น พร้อมการน�ำเสนอผ่านการฉาย Projector รอบห้อง เพื่อย้อนวันเวลาของ “สุวรรณภูมิ” ให้กลับมามีชีวิตอีกครั้ง ➲ ห้องเริ่มต้นอาณาจักรไทย เข้า สูย่ คุ สมัยเงินตราไทยแท้ ทีเ่ รียกว่า “พดด้วง” โดยจะเล่าเรือ่ งราวของพดด้วงในแต่ละสมัย ผ่านบรรยากาศ ตลาดการค้าโบราณ ทีค่ อ่ ยๆ วิวัฒนาการจาก สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี มา จนถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น รวมถึงเงินตราใน อาณาจักรอื่น ๆ อย่างล้านนา ล้านช้าง รวม ทัง้ เงินตราทางภาคใต้ โดยจ�ำลองบรรยากาศ “ตลาดโบราณ” ให้ผู้ชมเข้าถึงการค้าในยุค ก่อน ผ่านการจ�ำลองและแอนิเมชั่นเล่าเรื่อง ➲ ห้องกษาปณ์ในรัตนโกสินทร์ ใน ส่วนห้องจัดแสดงนี้จะน�ำเสนอความเฟื่องฟู
&
ทางการค้าและระบบเงินตรา อันน�ำไปสู่ ความเป็ น อารยแห่ ง ประเทศสยาม การ เปลีย่ นผ่านจากเงินพดด้วงสูเ่ หรียญกษาปณ์ ➲ เหรียญกับสังคมไทย น�ำเสนอ เรื่องราวของเหรียญในมุมมองแปลกใหม่ที่ ไม่ใช่แค่เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน แต่ เหรี ย ญกลั บ มี บ ทบาททั้ ง ในด้ า นศาสนา วัฒนธรรม ความเชื่อและประเพณีของคน ไทย เช่น งานบวช งานแต่งงาน การโยน เหรียญเสี่ยงทาย การน�ำเหรียญใส่กระทง เป็นต้น ➲ ห้องเหรียญนานาชาติ ห้องจัด แสดงทีจ่ ะพาผูช้ มทุกคนรูจ้ กั เหรียญกษาปณ์ จากต่ า งประเทศ ผ่ า นเหตุ ก ารณ์ ส� ำ คั ญ ต่าง ๆ ของโลกทีจ่ ำ� ลองขึน้ เหมือนเข้าไปร่วม เหตุการณ์จริง ➲ ห้องกว่าจะมาเป็นเหรียญ น�ำ เสนอเรื่องราวกว่าจะมาเป็นเหรียญอย่างที่ เราใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เหรียญต้องเดินทาง ผ่านอะไรมาบ้าง นับตัง้ แต่รปู ลักษณ์ของการ เป็นสินแร่โลหะ กระทั่งผ่านกระบวนการ รังสรรค์จนเป็นเหรียญอย่างทีเ่ ราใช้กนั อยูใ่ น ปัจจุบันทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทั้งนี้ ผู้ชมสามารถสร้างสรรค์เหรียญในแบบของ คุณน�ำกลับไปเป็นที่ระลึกได้ ➲ ห้ อ งรู ้ ร อบเหรี ย ญ เรื่ อ งราว “ความรู้รอบเหรียญ” ให้ผู้ชมค้นหาความ หมายลวดลายบนหน้ า เหรี ย ญ รวมทั้ ง ลักษณะของกระบวนการผลิต เทคนิคต่าง ๆ ของการผลิตเหรียญ เช่น ท�ำไมเหรียญ 5
บาท ถึงมี 9 เหลี่ยม ซึ่งแตกต่างจากเหรียญ กษาปณ์หมุนเวียนชนิดอื่น ๆ เป็นต้น ➲ ห้ อ งส่ ง ท้ า ยเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ เหรี ย ญ บทสรุ ป ของนิ ท รรศการที่ จ ะทิ้ ง ค�ำถามให้ผู้ชมได้ไขว่าเหรียญมีมากกว่า 2 หน้า เหรียญคือ “สมุดบันทึก” ทีบ่ อกเล่าเรือ่ ง ราวแห่งยุคสมัย ➲ ห้องเหรียญตามวาระ ทุกเหรียญ ที่เกิดขึ้นในรัชสมัยของรัชกาลปัจจุบัน จะ ถูกบรรจุเอาไว้ในห้องนี้ผ่านการย้อนเวลา เพื่อเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของเรื่องราวตั้งแต่ เหรียญแรกที่เกิดขึ้นในรัชกาลจนถึงเหรียญ ล่าสุด ผ่านนาฬิกาเรือนยักษ์ อุโมงค์เวลา และเทคนิคการจัดแสดงที่นำ� สมัย ➲ ห้ อ งสมุ ด เฉพาะทางเกี่ ย วกั บ เหรียญ ห้องสมุดที่จะเป็นสถานที่รวบรวม เรือ่ งราวเฉพาะทางเกีย่ วกับเหรียญ และเป็น สถานที่ส�ำหรับจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้กับผู้ที่
Travel
สนใจในเรื่องราวของเหรียญกษาปณ์ ➲ ห้ อ งกิ จ กรรมส� ำ หรั บ ผู ้ เ ข้ า ชม ห้องที่จะรองรับผู้เข้าชมที่มาชมพิพิธภัณฑ์ เหรียญแบบเป็นครอบครัว โดยห้องนี้จะมี กิ จ กรรมที่ ร องรั บ และเสริ ม สร้ า งความ สัมพันธ์ภายในครอบครัวรวมไปถึงระหว่าง ครอบครัวด้วย ผู้สนใจสามารถเข้าชมพิพิธภัณฑ์ เหรียญได้ทุกวัน ยกเว้นวันจันทร์ ตั้งแต่เวลา 10.00 – 18.00 น. โดยจัดให้เข้าชมเป็นรอบ ทุก ๆ 20 นาที อัตราเข้าชม คนละ 100 บาท เด็ก (สูงไม่เกิน 120 เซนติเมตร) นักเรียน นักศึกษา (ไม่เกินระดับปริญญาตรี) ในเครือ่ ง แบบหรือแสดงบัตร พระภิกษุสามเณรและ นักบวช ผู้สูงอายุมีอายุตั้งแต่ 60 ปีบริบูรณ์ ขึ้นไปและผู้พิการ เข้าชมฟรี สอบถามราย ละเอียดเพิม่ เติมได้ทโี่ ทรศัพท์ 0-2282-0818 โทรสาร 0-2282-0819 www.coinmuseum. treasury.go.th
February-March 2015, Vol.41 No.239
75 <<<
&
Show & Share Technology
กล้องวงจร นวัตกรรมใหม่ล่าสุด จากแอ็กซิส
แอ็กซิส คอมมูนิเคชั่นส์ ผู้น�ำระดับโลกด้าน กล้องวงจร เปิดตัว AXIS F44 Main Unit ภายใต้กลุ่ม ผลิตภัณฑ์ AXIS F Series ซึง่ เป็นกลุม่ ผลิตภัณฑ์แบบ แยกส่วนและมีความยืดหยุน่ โดยใช้แนวคิดของกล้อง เครือข่ายแบบแยกส่วน กล่าวคือ กล้องถูกแยกออก เป็นชุดเซนเซอร์ที่ประกอบด้วย เลนส์และเซนเซอร์ รับภาพ พร้อมสายสัญญาณยาว 12 เมตร (39 ฟุต) และชุดอุปกรณ์หลัก (main unit) ซึง่ เป็นตัวกล้อง และจากการทีแ่ อ็กซิสแยกจ�ำหน่ายชุดอุปกรณ์หลักและชุดเซนเซอร์พร้อมเลนส์ชนิดต่าง ๆ ออก จากกัน ลูกค้าจึงสามารถเลือกส่วนประกอบได้ตามต้องการ และสามารถปรับเปลีย่ นให้เหมาะกับความต้องการใช้งานได้อย่างง่ายดาย ผลิตภัณฑ์ รุ่นนี้รองรับการติดตั้งในลักษณะที่มีการซ่อนกล้องอย่างมิดชิด เพราะชุดเซนเซอร์มีขนาดเล็กมาก สามารถติดตั้งในพื้นที่แคบ ๆ ที่ไม่มีใครมอง เห็น ขณะที่อุปกรณ์หลักสามารถตั้งวางไว้ในจุดที่ไกลออกไปได้ถึง 12 เมตร ทั้งนี้ กล้อง AXIS F Series ท�ำหน้าที่เป็นชุดคอนโทรลหลักประสิทธิภาพสูงที่เชื่อมต่อกับชุดเซนเซอร์ขนาดเล็ก 4 ตัว พร้อม ๆ กัน ช่วยให้ ประหยัดค่าใช้จ่าย และเพิ่มประสิทธิภาพในการเฝ้าระวังที่ครอบคลุมพื้นที่ 4 แห่งที่อยู่ใกล้เคียงกัน ด้วยดีไซน์ที่ทนทาน กล้อง AXIS F44 Main Unit เหมาะส�ำหรับการใช้งานในห้างร้านและธนาคาร รวมไปถึงการติดตั้งในระบบขนส่ง เช่น ในรถกู้ภัย รถบัส และรถบรรทุก และเมื่อเร็ว ๆ นี้ มีการส่งกล้อง AXIS F44 ขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ Stratosphere เหนือพื้นโลก เพื่อบันทึกภาพวิดีโอทั้งในขณะที่กล้องลอยขึ้นสู่ท้องฟ้า และขณะที่ กลับลงมายังพื้นโลก
เทคโนโลยียานยนต์เพื่อความปลอดภัยขั้นสูง จาก
Bosch บริษัทผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ายเทคโนโลยียานยนต์ ชั้นน�ำระดับโลก ก่อตั้งฐานการผลิตระบบความปลอดภัยส�ำหรับ รถยนต์ที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อลดอุบัติเหตุ โดยมีโรงงานผลิตที่ อมตะซิตี้ จังหวัดระยอง นับเป็นครั้งแรกของ Bosch ที่จะด�ำเนินการ ผลิตระบบเบรกเอบีเอส (ABS) และระบบควบคุมการทรงตัวของรถ (ESP) ในประเทศไทย ทั้งนี้ Bosch มุ่งมั่นในการผลิตเทคโนโลยี ดังกล่าวให้กบั ผูผ้ ลิตรถยนต์นงั่ รถกระบะ และรถเอสยูวใี นประเทศไทย และประเทศในภูมิภาคอาเซียน >>>76
February-March 2015, Vol.41 No.239
Bosch
Bosch เป็นผูน้ ำ� ด้านเทคโนโลยีทเี่ ป็นส่วนประกอบส�ำคัญของ ยานยนต์ในปัจจุบัน และยังคงมุ่งมั่นที่จะสร้างระบบมาตรฐานความ ปลอดภัยส�ำหรับรถยนต์ทุก ๆ คัน ระบบเบรกเอบีเอส (ABS) และ ระบบควบคุมการทรงตัวของรถ (ESP) ประสบความส�ำเร็จระดับโลก ในการป้องกันอุบัติเหตุและการเสียชีวิต ในประเทศไทยมีการตระหนักถึงความปลอดภัยบนท้องถนน มากขึ้ น โดยคาดการณ์ ว ่ า เทคโนโลยี ย านยนต์ ที่ ป ระกอบจาก เทคโนโลยีประสิทธิภาพสูงเพือ่ ความปลอดภัยจะได้รบั การตอบรับสูง กว่าที่เคยเป็นมา นับตั้งแต่ที่ Bosch เริ่มต้นพัฒนาระบบควบคุมการทรงตัว ของรถ (ESP) เป็นรายแรกของโลกในปี พ.ศ.2538 พบว่าเทคโนโลยี ดังกล่าว สามารถป้องกันอุบัติเหตุได้ 190,000 ครั้ง และช่วยป้องกัน การเสียชีวิตได้ถึง 6,000 คนทั่วยุโรป ในปัจจุบัน 59 เปอร์เซ็นต์ ของ รถยนต์รนุ่ ใหม่ทวั่ โลกใช้ระบบควบคุมการทรงตัวของรถ (ESP) ผลการ ศึกษาเผยว่า ระบบควบคุมการทรงตัวของรถ (ESP) สามารถป้องกัน การลื่นไถลของรถได้ถึง 80 เปอร์เซ็นต์ และระบบนี้สามารถป้องกัน การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุได้เป็นอันดับ 2 รองจากเข็มขัดนิรภัย
&
Show & Share Technology นอกจากระบบป้องกันการลืน่ ไถลของรถ ฟังก์ชนั่ เสริมทีอ่ ยูใ่ นระบบ ควบคุมการทรงตัวของรถ (ESP) ยังให้ความปลอดภัยในการขับขี่ รวมทั้ง เพิม่ ความสบายและความคล่องแคล่วในการขับขี่ เช่น ระบบ Load Adaptive Control ช่วยให้การหยุดรถที่บรรทุกน�้ำหนักมากมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ขณะที่ระบบ Roll Over Mitigation จะเบรกแต่ละล้อและป้องกันการ พลิกคว�่ำของรถเมื่อประสบอุบัติเหตุ ระบบเบรกเอบีเอส (ABS) ท�ำให้การเบรกปลอดภัยยิง่ ขึน้ โดยป้องกัน การล็อกของล้อ แม้แต่การเบรกที่แรงหรือการขับรถบนถนนลื่น รถยนต์ สามารถทรงตัว เพื่อให้ผู้ขับขี่สามารถหลีกเลี่ยงสิ่งกีดขวางได้ นอกจากนี้ ระบบเบรกเอบีเอส (ABS) ยังช่วยลดระยะการเบรกให้สั้นขึ้น
สตีเบล DX Series
เครื่องท�ำน�้ำอุ่น จิ๋วแต่แจ๋ว สตี เ บล เอลทรอน บริษทั ผูน้ ำ� การผลิตเครือ่ ง ท�ำน�้ำอุ่น น�้ำร้อน เครื่อง กรองน�้ ำ ปั ๊ ม ความร้ อ น และเครื่องเป่ามือชั้นน�ำ ในประเทศไทย เปิ ด ตั ว เครื่องท�ำน�้ำอุ่น สตีเบล DX Series (ดีเอ็กซ์ ซีรีย์) เครื่องท�ำน�้ำอุ่นไซส์มินิ แต่ประสิทธิภาพเกินตัวในราคา สบายกระเป๋า สตีเบล DX Series คือ เครือ่ งท�ำน�ำ้ อุน่ รุน่ ใหม่ลา่ สุด จากสตีเบล เอลทรอน ที่ให้ความปลอดภัยได้มาตรฐาน ระดับเยอรมนี ง่ายต่อการติดตั้งในพื้นที่จ�ำกัด เนื่องจาก เครือ่ งมีขนาดเล็ก ราคาย่อมเยา สตีเบล DX Series มาพร้อมก�ำลังไฟ 2 ขนาด คือ 3.5 และ 4.5 กิโลวัตต์ เพื่อให้ผู้ซื้อเลือกเครื่องท�ำน�้ำอุ่น ตามก�ำลังไฟที่ความเหมาะสมของบ้าน ตัวเครื่องผลิตจากพลาสติก ABS คุณภาพสูง ทนความร้อน ได้ดี แผงวงจรควบคุมการท�ำงานของเครื่องแบบ PCB Set ให้ความ ปลอดภัยสูงสุด หากเกิดไฟฟ้าลัดวงจร ระบบสายดิน ระบบกันไฟฟ้า กระชาก และระบบควบคุมการไหลของน�้ำแบบอัตโนมัติ โดยเครื่อง จะหยุดท�ำงานทันทีหากไม่มีน�้ำไหลผ่านเข้าเครื่อง ระบบตัดกระแส ไฟฟ้าอัตโนมัติสองขั้นตอน เมื่ออุณหภูมิน�้ำสูงเกิน เพื่อป้องกันการ โดนน�ำ้ ลวก เครือ่ งมีขนาดกะทัดรัด สะดวกต่อการติดตัง้ และสามารถ ใช้งานได้ แม้ในบ้านที่มีแรงดันน�้ำต�่ำ
โซลูชั่นปกป้องอุปกรณ์ไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์
จากชไนเดอร์ อิเล็คทริค
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการพลังงาน ระดับโลก เปิดตัวกลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องส�ำรองไฟฟ้า (UPS) ตั้งแต่รุ่น Back-UPS จนถึง Smart UPS ที่ตอบโจทย์ทั้งการใช้งานส่วนบุคคล และในเชิงธุรกิจ เครือ่ งส�ำรองไฟฟ้าของเอพีซี ในเครือ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ตอบ โจทย์การปกป้องด้านระบบไฟฟ้าทุกรูปแบบ ครอบคลุมทัง้ ธุรกิจขนาด เล็กและขนาดกลาง จนไปถึงระดับเอ็นเตอร์ไพรส์ ออกแบบมาเพื่อ ตอบโจทย์ทั้งการใช้งานด้านไอทีและการใช้งานปกติ ภายใต้สภาพ แวดล้ อมที่ แ ตกต่ า งกั นได้อ ย่ างหลากหลาย ครอบคลุ ม อุป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่ระบบโฮมเธียเตอร์ไปจนถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบเวิร์คสเตชันและเบลดเซิร์ฟเวอร์ โซลูชั่นเครื่องส�ำรองไฟฟ้าของเอพีซี ถูกออกแบบให้เน้นจุด ส�ำคัญของการปกป้องระบบไฟฟ้าทีใ่ ช้ได้กบั อุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้านและ ในส�ำนักงานในชีวิตประจ�ำวัน อาทิ คอมพิวเตอร์ พรินเตอร์และ อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ ที่ใช้เชื่อมต่อไฟฟ้าผ่านเต้ารับ รวมถึงโทรทัศน์ที่ February-March 2015, Vol.41 No.239
77 <<<
&
Show & Share Technology เรารับชมในบ้าน ระบบอินเทอร์เน็ตที่เราใช้งาน (โมเด็มที่เสียบ ปลั๊กไฟ) ตู้เอทีเอ็ม และห้องเซิร์ฟเวอร์ที่เก็บข้อมูลส�ำคัญมากมายทั้ง ส่วนบุคคลและธุรกิจ อุปกรณ์ทงั้ หมดถูกเชือ่ มต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าซึง่ นัน่ หมายถึง อุปกรณ์เหล่านีไ้ วต่อความเปลีย่ นแปลงของระบบไฟฟ้า เมือ่ ไฟตก ไฟ กระชาก หรือไฟดับ จึงมีเพียงอุปกรณ์สำ� รองไฟฟ้าหรือยูพเี อสทีจ่ ะช่วย ปกป้องระบบของคุณจากปัญหาเรื่องความไม่เสถียรของไฟฟ้า จน กระทัง่ อาจหมายถึงปัญหาฟ้าผ่าทีอ่ าจสร้างความเสียหายต่ออุปกรณ์ ไฟฟ้าของคุณ
ยกระดับความคุ้มค่าของ เทคโนโลยี บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) ผู้น�ำ ของโลกในด้านโซลูชันส�ำหรับจัดเก็บข้อมูล เปิดตัว ไคเนติค HDD (Kinetic HDD) ไดรฟ์จัดเก็บข้อมูลที่ จะปฏิวัติวงการด้วยเทคโนโลยี Object-based Storage ซึง่ พัฒนาขึน้ จากแพลตฟอร์ม Kinetic Open Storage ของซีเกทเอง ทั้งนี้ ไคเนติค HDD สามารถลดค่าใช้จ่ายในการใช้งาน (TCO) ลงได้อย่างมาก ด้วยการผสมผสาน เทคโนโลยี Object Storage แบบโอเพ่นซอร์สเข้า กับการเชื่อมต่ออีเธอร์เน็ต เพื่อหลีกเลี่ยงการท�ำงานผ่านโครงสร้าง ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ในระบบเก่า จึงท�ำให้ระบบคลาวด์เพื่อการ จัดเก็บข้อมูลมีโครงสร้างที่ลดความซับซ้อนลงอย่างมาก ซีเกทได้เปิดตัวแพลตฟอร์ม ไคเนติค โอเพ่น สตอเรจ ไปเมื่อ ปี พ.ศ.2556 โดยเทคโนโลยีดังกล่าวได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่น จากกลุ่มลูกค้าคลาวด์และเอ็นเตอร์ไพรส์ และคู่ค้าของบริษัทในภาค ระบบซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ ไม่ว่าจะเป็นเอโอแอล ดิจิตอลเซนส์ หรือฮิวเลตต์ แพคการ์ด ซึง่ ได้รว่ มกันให้การสนับสนุนเอพีไอระบบเปิด ของแพลตฟอร์มนีอ้ ย่างเต็มที่ เพือ่ ให้สามารถน�ำเทคโนโลยีการจัดเก็บ ข้อมูลแบบใหม่นี้มาเปิดตัวออกสู่ตลาดได้ แพลตฟอร์ม ไคเนติค โอเพ่น สตอเรจนัน้ ช่วยลดความยุง่ ยาก ในระดับโครงสร้างพื้นฐานของระบบการจัดเก็บข้อมูลได้เป็นอย่างดี โดยระบบที่ใช้งานแพลตฟอร์มนี้จะสามารถตัดการใช้งานเซิร์ฟเวอร์ เก็บข้อมูลออกไปได้หนึ่งระดับ จึงท�ำให้มีค่าใช้จ่ายด้านฮาร์ดแวร์ ลดลง ทัง้ ยังช่วยลดการใช้พลังงานและค่าใช้จา่ ยใน การจ้างพนักงาน มาดูแลระบบ จนน�ำไปสู่ต้นทุนในการด�ำเนินงานที่ลดลงที่อัตราส่วน รวมสูงสุดถึง 50 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การท�ำงานของระบบทัง้ ในระดับไดรฟ์และแร็ค โดยการก้าวข้ามระบบ >>>78
February-March 2015, Vol.41 No.239
คลาวด์ คอมพิวติ้ง จัดการไฟล์แบบเก่า ๆ และผสานคุณสมบัติด้านการ จัดการพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูลไปไว้ในตัวไดรฟ์เอง จึงเกิด เป็นสถาปัตยกรรมระบบที่ลดความซับซ้อนลง เนือ่ งจากแต่ละแอปพลิเคชันจะสามารถท�ำงานร่วม กับไดรฟ์ไคเนติคทีใ่ ช้เทคโนโลยี Object Storage ได้ โดยตรง และเนื่องจากระบบนี้ไม่มีเซิร์ฟเวอร์จัดเก็บ ข้อมูลมาก่อให้เกิดการติดขัดระหว่างกลาง การเชือ่ มต่อ โดยตรงผ่านไอพีแอดเดรสของแต่ละไดรฟ์ จึงน�ำมาซึ่ง ประสิทธิภาพที่ดีขึ้นอย่างทั่วถึงทั้งระบบ นอกจากนี้ แพลตฟอร์มนี้ยังช่วยให้การขยายระบบ เซิร์ฟเวอร์และระบบจัดเก็บข้อมูลแยกจากกันเป็นอิสระและคล่องตัว ยิ่งขึ้น โดยศูนย์ข้อมูลคลาวด์สามารถเลือกติดตั้งเซิร์ฟเวอร์และ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลได้ในอัตราที่แตกต่างกันไปตามความต้องการ จริง ด้วยเหตุนเี้ อง ศูนย์ขอ้ มูลต่าง ๆ จึงสามารถเปิดรับนวัตกรรมใหม่ๆ ด้านเทคโนโลยีฮาร์ดไดรฟ์ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น เนื่องจากเอพีไอแบบ โอเพ่นซอร์สของแพลตฟอร์มไคเนติคสามารถท�ำให้เซิร์ฟเวอร์และ ระบบปฏิบัติการสามารถท�ำงานต่อเนื่องไปได้ แม้จะมีการเปลี่ยน อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลก็ตาม
&
Books Guide
ค�ำกริยาวิเศษณ์ に(นิ)・と(โตะ)・
ผู้เขียน ดร.ณัฏฐิรา ทับทิม ราคา 150 บาท สำ�นักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม
(อิช)ิ
ท�ำไม “82 ค�ำกริยาวิเศษณ์ に(นิ)・と(โตะ)・ (อิชิ)” เป็นคู่มือเรียนค�ำกริยาวิเศษณ์ฉบับกระชับ ลัดทันใจ นั่นเป็นเพราะการเรียน การสอนภาษาญี่ปุ่นในชั้นเรียนมักไม่ค่อยได้อธิบายเรื่อง “ค�ำกริยาวิเศษณ์” อย่างละเอียดเท่าใดนัก เนื่องจากค�ำกริยาวิเศษณ์เป็นค�ำประเภทที่วา่ ไม่ใส่กไ็ ด้ แต่ใส่กด็ ี คือ ถึงจะไม่ใส่กไ็ ม่ทำ� ให้ความหมายของประโยคผิดเพีย้ น แต่ถา้ ใส่กจ็ ะเป็นธรรมชาติมากขึน้ ซึง่ ทีจ่ ริงแล้ว แม้วา่ ค�ำกริยาวิเศษณ์ จะไม่ใช่เรื่องหลักในภาษาญี่ปุ่นแต่ก็ไม่ควรละเลยที่จะพูดถึง เพราะค�ำชนิดนี้มีค�ำศัพท์ให้เลือกใช้มาก เนื่องจากเปลี่ยนแปลงมาจากค�ำชนิดอื่นอย่างค�ำนาม ค�ำคุณศัพท์ ค�ำสันธาน เป็นต้น ดังนั้นย่อมมีค�ำที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน แต่วิธี ใช้อาจต่างกัน หรือค�ำหนึง่ อาจใช้ได้หลายวิธี จนท�ำให้ผเู้ รียนเกิดความสงสัยและไม่มนั่ ใจเวลาน�ำไปใช้ ด้วยเหตุนเี้ อง ส�ำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม จึงได้พิมพ์หนังสือเกี่ยวกับค�ำกริยาวิเศษณ์ออกมาชื่อ 80 ค�ำกริยาวิเศษณ์ลงท้ายด้วย り (ริ) เมื่อสองปีที่แล้ว ซึ่งเป็นผลงานเขียนของ ดร.ณัฏฐิรา ทับทิม แต่อย่างที่กล่าวไปแล้วว่า ค�ำกริยาวิเศษณ์ในภาษาญี่ปุ่นมีอยู่มากมายจึงไม่ได้มีเพียงแค่ค�ำที่ลงท้ายด้วย り (ริ) เท่านั้น ดังนั้น ดร.ณัฏฐิรา จึงได้รวบรวมข้อมูลและเขียนหนังสือออกมาอีกเล่มชื่อ 82 ค�ำกริยาวิเศษณ์ に(นิ)・と(โตะ)・ (อิชิ) ซึ่งได้น�ำมาแนะน�ำกันในหนังสือเล่มนี้
ภาษาจีนโดนใจ
คนวัยไซเบอร์ ผู้เขียน ผศ.ดร.เมชฌ สอดส่องกฤษ ราคา 165 บาท สำ�นักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม
ปัจจุบันนี้ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า โซเชียลมีเดีย หรือ สื่อสังคมออนไลน์ แทบจะกลืนกินวิถีชีวิตเดิม ๆ ของทุกคนไปเกือบจะหมดสิ้น จากที่เคยพูดคุย มองหน้ากัน ก็หันมาพูดคุยผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือแทน มีอะไรก็ไม่พูดกันตรง ๆ ต้องอาศัยสื่อออนไลน์ช่วยแสดงความรู้สึก ไม่ว่าจะสุข เศร้า เหงา หรือ โกรธ ยิ่งถ้าเป็นอารมณ์โกรธนี่นะ อื้อฮือ จัดหนัก...รัวข้อความด่ากันเป็นย่อหน้า ๆ เลยทีเดียว จนเกิดเป็นค�ำว่า “นักเลงคีย์บอร์ด” ขึ้นมา ที่ประเทศจีนเองก็ มีชาวไซเบอร์ในลักษณะนี้เช่นกัน มิหน�ำซ�้ำจะเกรี้ยวกราดกว่าบ้านเราซะอีก ถ้าลองเปิดใจสักหน่อย มองข้ามความไร้สาระในบางอารมณ์ของสื่อสังคมออนไลน์พวกนี้ไปบ้าง จะเห็นสิ่งหนึ่งที่เรียกว่า “วิวัฒนาการทางภาษา” เพราะภาษาเป็นสิ่งมีชีวิต ถ้าหยุดการพัฒนา ภาษานั้น ๆ ก็จะตายไปในที่สุด หนังสือ “ภาษาจีนโดนใจ คนวัยไซเบอร์” ได้รวบรวมค�ำศัพท์ ส�ำนวน ประโยค และเกร็ดความรู้ต่าง ๆ ในภาษาจีนที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ท�ำให้ได้รู้วา่ ภาษาจีนก็มีมุมกวน ๆ อยู่ไม่น้อยเลย มุขตลกบางมุขก็แทบจะเหมือนที่ใช้กัน ในบ้านเรา ในเล่มจะแบ่งสาระความรู้ออกเป็นเรื่องหลัก ๆ เช่น “เกรียนคีย์บอร์ด” เป็นการรวบรวมประโยคและส�ำนวนจากโซเชียลเน็ตเวิร์กต่าง ๆ ที่พวก “เกรียน” ชอบใช้กัน ใครที่ไม่คุ้นเคยมาก่อนอาจจะงงว่าคนพวกนี้ก�ำลังพูดถึงอะไร “ค�ำคมอารมณ์ศิลปิน” เป็นเรื่องของสเตตัสโดน ๆ ที่ชาวจีนโพสต์ลงใน โซเชียลมีเดีย หรือจะเป็น “เรือ่ งนีต้ อ้ งขยาย” รวบรวมประโยคเชิงวัฒนธรรมทีอ่ า่ นเฉย ๆ ไม่รเู้ รือ่ งแน่นอน เพราะเป็นข้อความทีผ่ สมวัฒนธรรมหรือธรรมเนียม แบบจีน ๆ ไว้ในนั้น น�ำมาขยายความให้ได้อ๋อกัน เป็นต้น และแน่นอนว่าโลกออนไลน์จะขาดของคู่กันอย่าง “ค�ำสแลง” ไม่ได้เลย หนังสือเล่มนี้ก็รวบรวมไว้ ที่ท้ายเล่มให้ลองเอาไปใช้กันเก๋ ๆ February-March 2015, Vol.41 No.239
79 <<<
&
Books Guide
พรีเซนต์งาน
ด้วยไอเดียนักโฆษณา ลีลานักมายากล
เขียนโดย ชินยะ อุจิดะ (Shinya Uchida) แปลโดย บรรเจิด ชวลิตเรืองฤทธิ์ ราคา 200 บาท สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท. เปลี่ยนงานน�ำเสนอแบบเดิม ๆ ของคุณ เป็นงานน�ำเสนอที่สร้างสรรค์โดดเด่นสื่อสารตรงจุด ตอบโจทย์ธุรกิจและสะกดใจผู้ฟังจนลืมกะพริบตา ราวกับการแสดงโชว์ ไม่ต้องทุ่มงบประมาณก้อนโตแค่เติมไอเดียเพื่อออกแบบเรื่องราวให้มีเสน่ห์ และผสมผสานลีลาถ่ายทอด จาก 51 แนวคิดในหนังสือเล่มนี้ ซึ่งไม่ เคยมีใครบอกคุณอย่างชัด ๆ และครบถ้วนเท่านี้มาก่อน !! ผลงานโดยผู้เขียนซึ่งมีประสบการณ์ท�ำงานเป็นนักโฆษณานักมายากล iPad และที่ปรึกษาด้านการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตผู้มีผลงานที่โด่งดังใน โลกออนไลน์มาแล้ว
เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
(ALTERNATOR) เขียนโดย ไชยชาญ หินเกิด ราคา 180 บาท สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท.
หนังสือ “เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (ALTERNATOR)” รหัสวิชา 2104-2105 เล่มนี้ ตรงตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เนื้อหาครอบคลุมตามหลักสูตรการเรียนการสอนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างไฟฟ้า เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องเกี่ยวกับ ➲ โครงสร้าง และหลักการท�ำงานของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ➲ วิธีการพันขดลวดอาร์เมเจอร์แบบต่าง ๆ ของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟสและ 3 เฟส ➲ การควบคุมแรงดันไฟฟ้า และการขนานเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ➲ การบ�ำรุงรักษาและถอดประกอบเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ เหมาะส�ำหรับนักศึกษาระดับ ปวช. สาขาช่างไฟฟ้า รวมทั้งบุคคลทั่วไป ที่สนใจศึกษาเรื่องเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
>>>80
February-March 2015, Vol.41 No.239
ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด
&
Buyer Guide
โทรศัพท์: 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ์: 0-2514-0001, 0-2514-0003 เว็บไซต์: www.measuretronix.com อีเมล: info@measuretronix.com
Bird SK-4000-TC SiteHawk Antenna and Cable Analyzer เครื่องวิเคราะห์สายอากาศและสายส่งสัญญาณขนาดมือถือ
Bird SK-4000-TC เป็นเครื่องตรวจวิเคราะห์สายอากาศและสายส่งสัญญาณที่ท�ำงานในช่วงความถี่ 85 MHz ถึง 4 GHz มียูสเซอร์ อินเตอร์เฟสที่เข้าใจง่าย แม้เพิ่งใช้งานครั้งแรก ลดจ�ำนวนการคลิกในการสั่งงานส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญที่ต้องใช้งานทุกวัน มีหน่วยความจ�ำในตัว เหลือเฟือ ไร้กังวล เก็บบันทึกภาพและข้อมูลได้นับพันรายการส�ำหรับวิเคราะห์และท�ำรายงานภายหลัง ใช้งานง่ายใน 2 ขั้นตอน คือ 1. ระบุชนิดปัญหาของสายอากาศ หรือสายส่งสัญญาณก่อนโดยใช้ฟังก์ชัน Measure Match 2. หาต�ำแหน่งที่เกิดปัญหาโดยใช้โหมดการวัด Distance to Fault Bird SK-4000-TC เหมาะส�ำหรับงานระบบโทรศัพท์มือถือทั่วโลกทั้ง Cellular และ PCS/DCS รองรับทุกโปรโตคอล CDMA, GSM, และ LTE รวมถึงการใช้งาน 3G, Broadcast, Government, Tactical Military, Microwave, Paging, Public Safety, Trunking, WLAN, และ TETRA คุณสมบัติเด่น ➲ ใช้งานง่าย แม้เพิ่งใช้ครั้งแรก เหมาะส�ำหรับทั้งผู้ใช้มือใหม่และผู้มีประสบการณ์ ➲ ใช้หลักการวัดแบบ FDR (Frequency Domain Reflectometry) ทีใ่ ห้ผลลัพธ์ทเี่ ชือ ่ ถือได้ แสดงสภาพและจุดทีอ่ าจก่อปัญหาในระบบ ได้อย่างแม่นย�ำ ก่อนเกิดความเสียหาย ➲ โหมด DTF ใช้หาต�ำแหน่งที่บกพร่อง โดยแสดงค่า VSWR หรือระดับ Return Loss ที่แต่ละจุดตลอดความยาวสายส่งสัญญาณและ สายอากาศ ➲ วัดการสูญเสียในสาย โดยการวัด Insertion Loss ของสายในช่วงความถี่ที่กำ� หนด ➲ เครื่องเดียวรองรับตลอดช่วงความถี่ตั้งแต่ 85-4000 MHz ➲ จอแสดงผลสีที่คมชัดสูง สู้แสงแดด แสดงผลได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน ➲ ช่องต่อ USB ส�ำหรับเชื่อมต่อกับอุปกรณ์เก็บข้อมูล และเครื่องชาร์จ February-March 2015, Vol.41 No.239
81 <<<
&
Buyer Guide
ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท คณิตเอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด
โทรศัพท์ : 0-2642-8762-4 แฟ็กซ์ : 0-2248-3006 เว็บไซต์ : www.kanitengineering.com อีเมล : sales1@kanitengineering.com
AMETEK Drexelbrook Wave Guide Nozzle Eliminator
HORSHAM, PA-AMETEK Drexelbrook ผู้น�ำในเทคโนโลยี การวัดระดับได้น�ำเอา Wave Guide Nozzle Eliminator ตัวใหม่ไป รวมเข้าไว้กับ Impulse Series Continuous TDR (time domain reflectometry) level transmitters ของตัวเองเรียบร้อยแล้ว Wave Guide หรือ Probe ตัวใหม่นี้จะช่วยขจัดการรบกวนสัญญาณที่มี สาเหตุมาจาก Tank Nozzle (ท่อสั้น ๆ ที่ต่อยื่นออกมาจากถังเพื่อ ติดตั้ง Transmitter) ที่เคยมีมาก่อนได้ ระบบ Non-coaxial Guide Radar ที่มีอยู่ในปัจจุบันมักจะ ประสบกับปัญหาด้านสมรรถนะเมื่อ Tank Nozzle มีความยาวมาก เกินไป เมือ่ Nozzle ยาวมาก มันจะก่อให้เกิดการรบกวนสัญญาณขึน้ กับลูกคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic pulse) ที่วิ่งไปตาม Probe ได้ ก่อนหน้านี้จะมีการแนะน�ำกันเป็นปกติเสมอว่า อัตราส่วน ระหว่างความยาวต่อเส้นผ่านศูนย์กลางของ Nozzle จ�ำเป็นจะต้อง น้อยกว่า 1:1 (ความยาวจะต้องน้อยกว่าเส้นผ่านศูนย์กลาง) เพื่อ ไม่ให้สมรรถนะเกิดปัญหา Wave Guide ตัวใหม่จะขจัดข้อจ�ำกัด ดังกล่าวนี้ออกไป ท�ำให้การใช้งานกับงานซึ่งเมื่อก่อนนี้ถือว่าไม่ เหมาะกับเทคโนโลยีนี้หมดปัญหาไป AMETEK Drexelbrook Wave Guide Nozzle Eliminator ตัวใหม่นี้ทำ� ให้เกิดทางเดินของสัญญาณที่ดีผ่าน Nozzle โดยไม่ต้อง เสียค่าใช้จ่ายเพื่อซื้อระบบที่เป็นแบบ Coaxial Probe มาใช้เพื่อที่จะ ให้ได้ผลคล้าย ๆ กัน แต่มีค่าใช้จ่ายในการซื้อ ขนส่งและติดตั้งแพง กว่าด้วยลักษณะอันเป็นธรรมชาติของ Probe แบบนี้ Wave Guide Nozzle Eliminator นี้มีความยาวให้เลือกตั้งแต่ 6” ถึง 36” Drexelbrook Impulse Series level transmitter น�ำเอา Guide Wave Radar ที่ได้รับการพิสูจน์ในสภาพการใช้งานจริงแล้ว >>>82
February-March 2015, Vol.41 No.239
มาใช้เพื่อให้ได้การวัดระดับ ระยะทางหรือปริมาตรที่มีความถูกต้อง แม่นย�ำอย่างแท้จริง เทคโนโลยี TDR ของ Transmitter รุ่นนี้ได้ถูกน�ำ มาใช้อย่างกว้างขวางในการวัดระดับ เนื่องจากไม่มีผลกระทบใด ๆ จากการเปลีย่ นแปลงคุณสมบัตทิ างไฟฟ้าของวัสดุทตี่ อ้ งการวัดระดับ Impulse Series Transmitter ทีเ่ ชือ่ ถือได้ และมีความแม่นย�ำ สูง (3 mm) รุ่นนี้สามารถวัดระดับของของเหลวแบบต่อเนื่องได้จนถึง 50 ฟุต (15 เมตร) มี Sensors ให้เลือกถึง 5 แบบและท�ำด้วย 316SS และ Hastelloy C ส�ำหรับใช้ในสภาพแวดล้อมที่ถือว่ามีอันตราย (Class I, Div. 1) ที่ต้องการความปลอดภัยแบบ Intrinsically Safe หรือ Explosion Proof สามารถใช้งานได้กบั อุณหภูมติ งั้ แต่ -40°F จนถึง 392°F (-40 ถึง 200°C) และ Pressure ของ Process สูงจนถึง 580 psig (40 bar). Process Connections มีทั้งแบบเกลียว ¾ʺ NPT หรือ 1-½ʺ NPT หรือ ANSI Flanged ตั้งแต่ 1ʺ จนถึง 8ʺ Ratings 150# และ 300# Electronics ที่กะทัดรัดพร้อม Display และ Keypad ของ Transmitter รุน่ นี้ ท�ำให้ไม่จำ� เป็นต้องใช้ Hand-held Communicators หรือ PC Software ราคาแพง Software ที่มีอยู่ภายในสนับสนุนการ วัดระดับ ระยะทาง หรือปริมาตร สามารถสร้างตารางเทียบระดับเป็น ปริมาตร (strapping table) ส�ำหรับถังที่มีรูปร่างไม่เป็นมาตรฐานได้ ถึง 21 จุด Drexelbrook Impulse Series เป็น Level Transmitter แบบ ง่าย ๆ เป็นมิตรกับผู้ใช้งาน ปรับตั้งค่าต่าง ๆ ง่าย ไม่จ�ำเป็นต้องมีการ Calibrate หรือการปรับเปลีย่ นระดับ Housing แบบแยกเป็นสองส่วน ท�ำให้ใช้งานได้อย่างมั่นใจด้วยการแยก Wiring Terminals ออกไป จากวงจรอิเล็กทรอนิกส์ Display และ Keypad ซึ่งเป็นแบบ Intrinsically Safe
&
Buyer Guide
ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท ไฟฟ้าอุตสาหกรรม จ�ำกัด โทรศัพท์ : 0-2642-6700 แฟกซ์: 0-2642-4250 เว็บไซต์ www.ie.co.th อีเมล: sale@ie.co.th
Model IR3/IR4
เครื่องวัดอุณหภูมิ แบบอินฟราเรด ➢ ย่านการวัดอุณหภูมิ IR3: -60 ถึง 500 ํC IR4: -70 ถึง 760 ํC ➢ ค่าอัตราส่วนระหว่างระยะทางกับจุดการวัด (distance to target Ratio) IR4: 20:1 IR3: 12:1 ➢ เลเซอร์แสดงต�ำแหน่งการวัดอุณหภูมิ 1 ต�ำแหน่ง ➢ สามารถปรับค่าการสะท้อนรังสีอินฟราเรดตามชนิด ของวัสดุได้ (emissivity) ●
●
Model IR6/IR7
เครื่องวัดอุณหภูมิ แบบอินฟราเรด ➢ ย่านการวัดอุณหภูมิ IR6: -60 ถึง 900 ํC IR7: -60 ถึง 1000 ํC ➢ ค่าอัตราส่วนระหว่างระยะทางกับจุดการวัด (distance to target ratio) IR7: 50:1 IR6: 30:1 ➢ เลเซอร์แสดงต�ำแหน่งการวัดอุณหภูมิ 2 ต�ำแหน่ง ➢ สามารถปรับค่าการสะท้อนรังสีอินฟราเรดตามชนิด ของวัสดุได้ (emissivity)
●
●
●
●
●
●
ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท อุลตร้า เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด
โทรศัพท์ 0-2444-0844 แฟกซ์ 0-2444-1019 เว็บไซต์ www.ultraengineering.co.th อีเมล sales@ultraengineering.co.th
PosiTector® 200 Series
Coating Thickness Gages for wood, concrete, plastic and more…
เครื่องวัดความหนาสีผิวเคลือบบนเนื้อไม้ คอนกรีต ➣ เก็บข้อมูลได้ถึง 1,000 ข้อมูล ใช้งานง่าย ราคาไม่แพง ให้ความแม่นย�ำสูง ➣ ช่วงวัด 13-1500 Microns
➣ วัดความหนาแลกเกอร์ที่เคลือบบนไม้ได้ ➣ วัดความหนาของสีที่ทาบนคอนกรีตได้ ➣ วัดความหนาสีเคลือบบนพลาสติกได้ ➣ มีเสถียรภาพต่อการใช้งาน
➣ ได้มาตรฐาน ASTM D6132, ISO 2808
February-March 2015, Vol.41 No.239
83 <<<
ศูนยรวมการออกแบบ
ผลิตส�อสรางสรรคครบวงจร *สิ่งพิมพ รับออกแบบและผลิต Company Profile, Newsletter, Catalogue, Brochure, Pocket Book, Annual Report, etc. *มัลติมีเดีย รับออกแบบและผลิต e-Catalogue, e-Newsletter, e-Company Profile, Company Presentation, Website, ผลิตรายการโทรทัศน, etc. *Seminar & Event รับจัดงานสัมมนากลุมใหญและยอย ดวยทีมงานมืออาชีพ *รองรับ 3 ภาษา ไทย อังกฤษ ญี่ปุน
เราพรอมสงมอบผลงานคุณภาพ ไดมาตรฐาน รวดเร็ว ในราคาเปนกันเอง ทุกส�อสรางสรรคไวใจเรา
0-2258-0320#1750 สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)