TN240 April - May 2015 Vol.42 No.240

Page 1

ANNIVERSARY 42th

Technology Promotion and Innomag Magazine

Techno

logy

Leadership of all Industrial Enterprise Magazine

April - May 2015 Vol.42 No.240

www.tpaemagazine.com

INNOMag Gates to Inspiration of Innovation

Amazing Thai Food

อาหารไทย...ไมธรรมดา

Hot Issue:

Food Valley Model  เสริม “แกรง” ใหอาหารไทยดวยนวัตกรรม  เริ่มแลว...สงคราม Internet of Thing  Social Lab หองเรียนชุมชนเขตทุงครุ 

ราคา 70 บาท


เคร�องมือวัดดานสิ่งแวดลอม, อุตสาหกรรม และวิทยาศาสตรเพ�อคุณภาพชีวิต (Life Science)

เช�อถือไดอันดับหนึ่ง

Vaisala เปนผูนำเคร�องมือวัดดานสิ่งแวดลอมและอุตสาหกรรมระดับโลก ที่ทุกคนลวนไดสัมผัสกับผลงานและเทคโนโลยีจาก Vaisala ในชีวิตประจำวัน มีเคร�องมือวัดครอบคลุมทุกงานอุตสาหกรรมและสิ่งแวดลอม มีความแมนยำ ทนทานสูง เช�อถือไดระยะยาว นานนับ 10 ป Vaisala GMW90

วัดกาซคารบอนไดออกไซด, อุณหภูมิ และความชื้น แบบติดผนัง

Vaisala GMW80

วัดกาซคารบอนไดออกไซด, อุณหภูมิ แบบทรานสมิตเตอร

Vaisala MT140

เคร�องวัดและบันทึก (Data Logging) อุณหภูมิและความชื้น เช�อมตอดวย WiFi

Vaisala HM40

วัดความชื้นอากาศ และอุณหภูมิ แบบมือถือ จอแสดงผลเปนกราฟ

Vaisala DL2000

Vaisala DM70

Data Logging อุณหภูมิและความชื้น ไดพรอมกันหลายจุด เช�อมตอดวย LAN

Vaisala HMT330

เคร�องวัดความชื้นและอุณหภูมิแบบทรานส มิตเตอร สำหรับงานอุตสาหกรรม

เคร�องวัด dew point แบบมือถือ ความแมนยำสูง

Vaisala PTU300

วัดความดัน, ความชื้น และอุณหภูมิ แบบทรานสมิตเตอร สำหรับงานหนัก

Vaisala DMT340

เคร�องวัดจุดกลั่นตัวเปน หยดน้ำ และวัดอุณหภูมิ สำหรับบริเวณแหงจัด

สนใจติดตอ : คุณวิชัย 08-1934-2570, wichai@measuretronix.com ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ vaisala


เคร�องมือทดสอบการติดตั้งและบำรุงรักษา ระบบผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย หากคุณทำงานกับเกี่ยวของกับการผลิตไฟฟาจากโซลาเซลล นี่คือผูชวยมืออาชีพทีจัดการงานใหคุณไดอยางครบถวน และมีประสิทธิภาพ

กลุมเคร�องมือวัดแผงเซลลแสงอาทิตย (PV Panel or String) SEAWARD รุน PV150

Installation/Maintenance ใชตรวจวัดแรงดันไฟฟา (Voc) กระแสไฟฟา (Isc) ความตานทานฉนวน (Riso) การเช�อมตอระบบกราวด จากแผงโซลารเซลในระดับ string ที่กระแสไมเกิน 15A รายงานการตรวจวัดตาม มาตรฐาน IEC62446 ได

METREL รุน MD 9250

METREL รุน MI 3108 PV

Installation and Electrical Safety Tester ใชตรวจวัดคุณสมบัติแผงโซลารเซล เชน แรงดันไฟฟา (Voc) กระแสไฟฟา (Isc) ประสิทธิภาพ (Efficiency), แสดงคา คุณสมบัติแบบ VI Curve, Irradiance, และใชตรวจสอบความปลอดภัยในงานติดตั้งไฟฟา

AC/DC Voltage/Current Clamp Meter ใชตรวจวัดแรงดันไฟฟา (Voc) กระแสไฟฟา (Isc) จากแผงโซลารเซลโดยตรงหรือวัดคา ในระดับ String/Array ที่กระแสไมเกิน 1000V/2000A วัดความตานทาน, ความตอเน�อง, ทดสอบไดโอด

กลุมเคร�องมือคุณภาพไฟฟา (Power Quality)

METREL รุน MI 2492

METREL รุน MI 2592

Power Quality Analyser and Logger ใชตรวจวัดคากำลังไฟฟา ของเคร�องอินเวอรเตอร บันทึกและวิเคราะหคุณภาพ ไฟฟา 3 เฟส วัดกำลังไฟฟา ไดทั้ง P, Q, S, PF, DPF, THD, Voltage Unbalance

Power Quality Analyser and Logger ใชตรวจวัดคากำลังไฟฟา ของเคร�องอินเวอรเตอร ประสิทธิภาพของเคร�อง อินเวอรเตอร วัดคา P, Q, S, PF, DPF, Unbalance, Harmonics, THD

กลุมเคร�องมือวัดอุณหภูมิ (Temperature) FLUKE รุน Ti-200-300-400

Thermal Imager ตรวจวัดภาพความรอนตรงจุด DC Switch Box ปองกันไฟใหม, ภาพความรอนที่แผงโซลารเซล เพ�อตรวจหาแผงที่ผิดปกติ, ภาพความรอนที่เคร�องอินเวอรเ ตอรและหมอแปลงไฟฟา

METREL รุน MD 9060

Heavy Duty Digital Multimeter มิเตอรอเนกประสงค สมบุกสมบัน วัดอุณหภูมิได 2 แชนเนล มีฟงคชั่น VFD วัดแรงดันในวงจรอินเวอร ไดถูกตอง และวัดความถี่, วัดแรงดันและกระแส AC DC Tru-RMS

METREL รุน MI 2892

Three Phase Power Quality Analyser วัดแรงดันและกระแสไดอยางละ 4 แชนเนล ทั้ง Tru-RMS, peak, crest factor วัดและบันทึกคากำลังไฟฟา ฮารโมนิกส (50th), Flicker, Dip, Swell ไดในเวลาเดียวกัน

กลุมเคร�องมือวัดกราวด (Earth Rod Resistance & Loop Impedance)

กลุมเคร�องมือวัดฉนวน (Insulation Tester) METREL รุน MI 3121H

Insulation/Continuity Tester วัดคาความตานทานฉนวนที่สาย DC Cable ระหวางแผงโซลารเซลลและ DC Switch หนาเคร�องอินเวอรเตอร ทดสอบฉนวนดวยแรงดันไฟฟา 50 – 1000 V ยานความตานทาน ฉนวน 30 GΩ

METREL รุน MI 3210

10 kV Insulation Tester วัดคาคาความตานทานฉนวนที่สาย AC Cable ระหวางเคร�องอินเวอรเตอร และหมอแปลง ทดสอบฉนวนที่ใชกับ งานแรงดันสูง เชนคา PI, DAR, DD ดวยแรงดันไฟฟา DC – 10 kV ยานความตานทานฉนวน 20 TΩ

METREL รุน MI 3123

Earth/Clamp Ground Tester วัดคาความตานของหลักดิน (Erath Rod Resistance) แบบ 3 หรือ 4 หลัก, วัดแยกหลักเฉพาะแบบไมตอง ปลดสายดวยวิธีการ Selective, วัดความตานทาน Loop Resistance หรือระบบ Mesh Ground ดวยวิธีการแบบ 2 Clamps

สนใจติดตอ : คุณเฉลิมพร 08-5489-3461, คุณธีระวัฒน 08-1555-3877, คุณจิรายุ 08-3823-7933, คุณสารกิจ 08-1641-8438 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ solar-metrel


&

April-May 2015, Vol.42 No.240

Activity Talk

36

8

21 COCO Easy สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์กบั

นวัตกรรมทีต่ อบโจทย์ โดย: กองบรรณาธิการ

25 “แม่เอย” ส่งต่อวัฒนธรรมผ่านขนมไทย

โดย: กองบรรณาธิการ

29 เปิดไอเดีย “คนท�ำขนม” ทีเ่ ป็นมากกว่า

ของกินเล่น โดย: กองบรรณาธิการ

Research

33 Value Creation โจทย์ทา้ ทาย

สถาบันอาหาร โดย: กองบรรณาธิการ

Bio & Nano

36 เสริม “แกร่ง” ให้อาหารไทยด้วย

นวัตกรรม โดย: ดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา

Management

40 เครือ่ งมือบริหารการตัดต้นทุน (ตอนที่ 1)

(management tools for cutting costs) โดย: พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์ ที่ปรึกษาอิสระและนักวิจัยแห่งชาติ

40

44 Open Source ERP ส�ำหรับ SMEs

(ตอนจบ) เรียบเรียงโดย: สนั่น เถาชารี

Electrical & Electronic

48 การทดสอบและทวนสอบการติดตัง้

ระบบไฟฟ้าแรงดันต�ำ่ เพือ่ ความปลอดภัย (ตอนที่ 1)

แปลและเรียบเรียงโดย: สุพจน์ ตุงคเศรวงศ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายเครื่องมือมาตรวิทยา และผู้จัดการวิชาการแผนกสอบเทียบ เครื่องมือวัด บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

Computer & IT

50 “IRPC” เพิม่ ขีดความสามารถทางการแข่งขัน

ด้วยไอที

เรียบเรียงโดย : กองบรรณาธิการ

48


Group

Leaping Ahead from Yamatake’s 100 Years Human-centered Automation

Smart Valve Positioner

700 series

1. Durable and Rugged Design ออกแบบมาแยกสวนระหวาง Pneumtic / Electronics / Wiring ใชเซ็นเซอรแบบไมสัมผัส (MR VTD sensor) 2. Advanced Control Valve Diagnostics มากขึ้นดวยฟงคชั่น diagnostics แบบใหม จากการมีเซ็นเซอร ที่หลากหลาย 3. Universal Access to the Device เขาถึงไดงายดวยหลากหลายชองทางการส�อสาร 4. Sophisticated System Integration เชน HART 7, Foundation Fieldbus ITK6.1, FDT/DTM Plug in Vastaff, 3rd DCS 5. Improvement of Control Performance Single / Double ในตัวเดียวกัน 6. Lowered Energy Consumption ใชลมนอยที่สุด หรือ 20% ต่ำกวาเดิม

Azbil (Thailand) Co., Ltd. Head office : 209/1 K Tower 19-20th Fl., Sukhumvit 21 Road (Asoke), Klongtoey-Nua, Wattana, Bangkok 10110 Tel : (66) 0-2664-1900 Fax : (66) 0-2664-1912

Rayong Branch : 143/10 Mapya Road. T.Map Ta Phut, A.Muang, Rayong 21150 Tel : 0-3868-2453 Fax: 0-3868-2454

http://th.azbil.com

Amata Branch : Amata Service Center Bld. Unit No. 405, 4th Fl., 700/2 Moo 1  Amata Nakorn Industrial Estate, Bangna-Trad Km.57 Road, T.Klong Tumru, A.Muang, Chonburi 20000 Tel : 0-3845-7076-7 Fax : 0-3845-7078


&

April-May 2015, Vol.42 No.240

Production

53 ระบบสนับสนุนผลิตภาพการผลิต

โดย: โกศล ดีศีลธรรม

Focus

57 Food Valley Model กับการพัฒนา

อุตสาหกรรมอาหารของไทย

โดย: ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

Worldwide

65

60 สงคราม Internet of Things เริม่ ขึน้ แล้ว

โดย: ดร. อดิสร เตือนตรานนท์ นักวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญ สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ขั้นสูง ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

Travel

65 เตรียมพร้อมอุตสาหกรรมอะไหล่

ยานยนต์ไทย บุกแอฟริกาใต้

73 Universal Studio in Japan

เรียบเรียงโดย: กองบรรณาธิการ

Knowledge

Report

67 เทคนิควิธเี ลือกซือ้ เครือ่ งกรองน�ำ ้

Visit

63 เรียนรูก้ ารผลิตพลังงานใช้เองในครัวเรือน

กับห้องเรียนชุมชน (social lab) เขตทุง่ ครุ เรียบเรียงโดย: กองบรรณาธิการ

69 เยือนถิน่ “กะทิชาวเกาะ” วันนีม้ ดี ี

57

โดย: สตีเบล เอลทรอน

มากกว่ากะทิ โดย: กองบรรณาธิการ

โดย: @Trip

Show & Share 75 Books Guide 77 Buyer Guide 79

73


Artwork Sumipol for ForQuality(10-02-58).pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

3/24/2558 BE

10:07


Editor

Message from

&

April - May 2015, Vol.42 No.240

Published by: สวัสดีคะ่ คุณผูอ้ า่ นทุกท่าน นิตยสาร Techno & InnoMag ฉบับทีท่ า่ นอ่าน อยู่หน้าจอนี้ เป็นฉบับที่ 240 และเป็นฉบับครบรอบ 42 ปีพอดี ซึ่งก็นับว่ามีอายุไม่ น้อยเลยทีเดียว หากเป็นคนก็ย่างเข้าสู่วัยกลางคนค่อนไปทางสูงวัยนิด ๆ อย่างไร ก็ตาม สิ่งที่ท�ำให้เรายังคงยืนหยัดน�ำเสนอข้อมูลข่าวสารด้านเทคโนโลยีและ นวัตกรรมมาได้ยาวนานขนาดนี้ ต้องยกคุณความดีให้กบั สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ซึ่งเป็นทั้งผู้ริเริ่มและอุปถัมภ์นิตยสารเล่มนี้มาอย่างยาวนาน ด้วยยึด มั่นในปณิธานที่เรามี คือ “เผยแพร่วิทยาการ สร้างฐานเศรษฐกิจ” ในยุคทีอ่ ตุ สาหกรรมต้องเร่งปรับตัวกันขนานใหญ่ จะด้วยกระแส AEC หรือ กระแสอื่นใดก็ตาม ท�ำให้อุตสาหกรรมไทยไม่สามารถท�ำและเดินต่อไปได้ด้วย แนวทางเดิม ๆ การแข่งขัน ก่อให้เกิดการพัฒนา ฉันใดก็ฉันนั้น อุตสาหกรรมไทยก็ ต้องทั้ง “ปรับและเปลี่ยนกระบวนทัพใหม่” เพื่อให้แข่งขันได้เช่นเดียวกัน นิตยสารฯ ฉบับนี้เราให้ความส�ำคัญกับอุตสาหกรรมอาหาร และโฟกัสไป ที่อุตสาหกรรมขนาดเล็ก ที่เรียกว่าเอสเอ็มอี ซึ่งปัจจุบันมีจ�ำนวนเอสเอ็มอีเกิดขึ้น มากมาย และเอสเอ็มอีเหล่านีจ้ ะกลายเป็นพลังทีก่ ล้าแกร่งของระบบเศรษฐกิจไทย ต่อไป หากเพียงเขาได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนให้ท� ำและพัฒนาในสิ่งที่ เอสเอ็มอี แต่ละรายถนัด โดยฉบับนีเ้ ราจะพาคุณผูอ้ า่ นไปเรียนรู้ วิธเี อาตัวรอดของ เอสเอ็มอีว่าเขามีวิธีคิด วิธีการจัดการอุตสาหกรรมอาหารอย่างไรให้มีจุดเด่นและ แตกต่าง และทีส่ ำ� คัญต้องขายได้ดว้ ย หากอยากรู.้ ..เชิญติดตามอ่านได้ในฉบับค่ะ นิตยสารฉบับนี้ น�ำเสนอเฉพาะในรูปแบบออนไลน์เท่านั้น ทุกท่าน สามารถอ่านและดาวน์โหลดเนือ้ หาบทความจากนิตยสารทัง้ ฉบับปัจจุบนั และฉบับ ย้อนหลังได้ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ดังนี้ 1. www.tpaemagazine.com 2. www.tpa.or.th/publisher/journal.php 3. TPAemagazine Application โดยสามารถดาวน์โหลด App. ได้ทาง App Store พร้อมกันนี้เรายังเปิดช่องทางการสื่อสารใหม่ “TPAeMagazine” ผ่านทาง Facebook เพื่อให้ท่านสามารถติดตามข่าวสารข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็วมาก ยิ่งขึ้นค่ะ อ่านหรือดาวน์โหลดบทความฉบับปัจจุบันและย้อนหลังได้ที่ www.tpa.or.th/publisher และ www.tpaemagazine.com

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2258-0320-5, 0-2259-9160-9 แฟกซ์: 0-2662-1096, 0-2662-1016 http.//www.tpa.or.th

Advisors:

ศ.ดร. วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์ รศ.ดร. วุฒิชาติ สุนทรสมัย คุณพิมลพร ยุติศรี คุณธัญญา ผลอนันต์ คุณธงชัย กัณฑานนท์

Executive Editor: สมใจ วัฒนบรรเจิด

Editorial Assistant:

รถจณา เถาว์พันธ์ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1710 e-mail: technology@tpa.or.th

Member:

จารุภา ม่วงสวย โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1740 e-mail: maz_member@tpa.or.th

Art Director:

เชิดศักดิ์ ศรีเมือง โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1731 e-mail: chirtsak@tpa.or.th

Production Design:

ประครอง ไชยศรีทา นระ บุญตา โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1732, 1708 e-mail: prakrong@tpa.or.th, nara@tpa.or.th

PR & Advertising Supervisor: ฬียากร ขุพินิจ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th

Advertising:

บุษบา ปั้นงาม โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th



&

Activity

โซลาร์ เ ซลล์ พัฒนาโรงเรียนชายแดนไทย-เมียนมาร์

มอบ

เมื่อเร็ว ๆ นี้ นายมาซามิ โออุเอะ กรรมการผู้จัดการบริษัท ชาร์ปไทย จ�ำกัด ร่วมกับสถานฑูต ญี่ปุ่นในประเทศไทย น�ำโดย ฯพณฯ นาย ชิเกะคะสุ ซะโต เอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจ�ำประเทศไทย และ ร.ต.อ.ณรงค์ หุ้มขาว ครูใหญ่ประจ�ำโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านคลิตี้ล่าง ได้ลงนามความร่วม มือเพือ่ ให้ความช่วยเหลือผ่านความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจแบบให้เปล่าเพือ่ พืน้ ฐานและความมัน่ คง ของมนุษย์ (GGP) โดยในครั้งนี้ บริษัท ชาร์ปไทย จ�ำกัด ได้รับผิดชอบช่วยเหลือในส่วนของการวางแผน ติดตั้งแผงเซลล์แสงอาทิตย์ การตรวจเช็ครักษาสภาพ ความร่วมมือดังกล่าว จะช่วยสร้างระบบไฟฟ้าและปรับปรุงสภาพการเรียนการสอนแก่โรงเรียน และช่วยเพิม่ โอกาสทางการศึกษา อีกทัง้ ยังช่วยยกระดับมาตรฐานความเป็นอยูใ่ ห้แก่เด็กในถิน่ ทุรกันดาร กว่า 100 คน โครงการนีย้ งั สามารถเป็นโครงการตัวอย่างในการพัฒนาเพือ่ แก้ไขปัญหาในบริเวณชายแดน ไทย-เมียนมาร์ได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ บริษัท ชาร์ปไทย จ�ำกัด ยังได้เชิญเด็กนักเรียนจากโรงเรียนไป ทัศนศึกษายังเมกา โซล่าร์ ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์อีกด้วย

250 ในเกาหลีใต้

ฉลองเปิดสาขาครบ

สาขา

ตอกย�้ำความเป็นผู้น�ำธุรกิจกระดาษในประเทศเกาหลีใต้ นายฐีระวิตต์ ลี้ถาวร Senior Executive Vice President ดั๊บเบิ้ล เอ ได้ท�ำการเปิด ดั๊บเบิ้ล เอ ก๊อปปี้ เซ็นเตอร์ ศูนย์ถ่าย เอกสาร และงานพิมพ์แบบครบวงจร สาขาที่ 250 ในกรุงโซลได้สำ� เร็จ ดับ๊ เบิล้ เอ ตัง้ เป้าทีจ่ ะขยาย ดั๊บเบิ้ล เอ ก๊อปปี้ เซ็นเตอร์ ในเกาหลีใต้ให้ได้ถึง 300 สาขา ภายในปี พ.ศ.2558 เพื่อเป็นการ อ�ำนวยความสะดวกแก่ลูกค้า และเพิ่มช่องทางการจัดจ�ำหน่ายในต่างประเทศ

มอบรางวัล

ซัพพลายเออร์

ดีเด่น

จอห์นสัน คอนโทรลส์ มอบรางวัลซัพพลายเออร์ดีเด่น หรือ Supplier Excellence Award ให้แก่บริษัทคู่ค้า ในงานประชุมซัพพลายเออร์แห่งเอเชีย ประจ�ำปี ครั้งที่ 15 ซึ่งจัดขึ้นที่เมืองกว่างโจว ประเทศจีน ทั้งนี้ บริษัทได้มอบรางวัลให้แก่ซัพพลายเออร์ทั้ง 9 แห่ง ได้แก่ บริษัท เชเจียง ยิลิดา เวนติเลชั่น จ�ำกัด บริษัท โวลอง อิเล็กทริค กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท เชเจียง ซันวา เทรดดิ้ง จ�ำกัด บริษัท แอลลี แมชชีนเนอรี่ (หางโจว) จ�ำกัด บริษัท เอคิว อิเล็ก ทริค (ซูโจว) จ�ำกัด บริษัท ซีชวง เชงฟา พริมา แมชชีนเนอรี่ จ�ำกัด บริษัท เจียงซู กุ้ย หลง คอปเปอร์ อินดัสทรี จ�ำกัด บริษัท วินเซล (เจียงซู) อินซูเลชั่น จ�ำกัด และบริษัท ซูโจวซินไทตง ไฮ เอฟฟิเชียนซี ทูบ จ�ำกัด เพื่อเป็นเกียรติแด่ความส�ำเร็จอันโดดเด่นในด้านการควบคุมคุณภาพ การรักษาต้นทุน การบริการ การบริหาร จัดการซัพพลายเชน การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน และความรับผิดชอบต่อสังคม โดยการประชุมครัง้ นี้ มีตวั แทนจากบริษทั ต่าง ๆ ทัว่ ทัง้ ภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ เข้า ร่วมกว่า 250 คน >>>8

April-May 2015, Vol.42 No.240



&

Activity

เปิดตัวเครื่องจักรยุคใหม่

และตัวอย่างโรงงานแห่งอนาคต

เมื่อปลายเดือนมกราคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา ดร.อรรชกา สีบุญเรือง ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม นายพสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ร่วมเปิดตัว เครื่องจักรผลิตกระดาษบรรจุภัณฑ์ PM16 นวัตกรรมระดับโลก สามารถควบคุมสัดส่วนในกระบวนการผลิตได้อย่างแม่นย�ำ พร้อมเทคโนโลยี ที่ทันสมัย ใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน ตอกย�้ำ นโยบาย “อุตสาหกรรมสีเขียว” เมือ่ เร็ว ๆ นี้ ณ โรงงานบ้านโป่ง บริษทั ผลิตภัณฑ์ กระดาษไทย จ�ำกัด

แถลงข่าวเตรียมความพร้อม งาน

สถาปนิก’58“ASA NEXT | ตัวตน คนไทย” นายพิชัย วงศ์ไวศยวรรณ นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม ราชูปถัมภ์ ร่วมกับ นายชนะ สัมพลัง ประธานจัดงานสถาปนิก’58 และ นายชาตรี มรรคา กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ทีทเี อฟ อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด แถลงข่าวการเตรียมความพร้อมการจัด งานสถาปนิก ’58 งานแสดงศักยภาพ ทางการออกแบบของสถาปนิกไทย ASA NEXT | ตัวตน คนไทย และ งานแสดงเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมใหญ่ที่สุดในอาเซียน ระหว่างวันที่ 28 เมษายน - 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ณ ชาเลนเจอร์ฮอลล์ 1-3 ศูนย์แสดงสินค้า อิมแพค เมืองทองธานี โดยมี ม.ล.วรุตม์ วรวรรณ นายถวัลย์ วงษ์สวรรค์ นายอนุชา ยูสานนท์ และนางสาวสุรัสดา นิปริยาย ให้เกียรติร่วมงาน ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

เยี่ยมชม

บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

เมื่อเร็ว ๆ นี้ Mr.Blaz Godina Product Manager ของ Metrel dd. ประเทศสโลวาเนีย เข้าเยี่ยมชมบริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด เพื่ออบรม การขายและการใช้งานผลิตภัณฑ์เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า ของ Metrel แก่ทมี วิศวกรของบริษทั ฯ เพือ่ การน�ำเสนอเครือ่ งวัดและทดสอบ แก่ลูกค้าของบริษัทฯ อย่างเต็มขีดความสามารถของเครื่องต่อไป ทั้งนี้ METREL ผู้ผลิตเครื่องวัดและทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้าชั้นน�ำจาก ทวีปยุโรป แพร่หลายทัง้ ในอังกฤษ เยอรมันและทัว่ โลก โดยเมเชอร์โทรนิกซ์ ภูมิใจเสนอมาตรฐานใหม่แห่งเครื่องวัดไฟฟ้าที่มีมาตรฐานคุณภาพสูง แม่นย�ำ ทนทาน ใช้งานง่าย จากโรงงาน METREL ทีม่ มี าตรฐาน ISO9001 สู่ลูกค้าชาวไทยที่ต้องการเครื่องระดับมืออาชีพคู่กาย ในความคุ้มค่า คุ้มราคากว่าเดิม

>>>10

April-May 2015, Vol.42 No.240



&

Activity

เฮงเค็ ล ประเทศไทย

หนึ่งในความภูมิใจของ

บริษัท เฮงเค็ล ประเทศไทย ได้รับรางวัลแสดงความชื่นชมจากโอสถสภา โดยตัง้ แต่ปี พ.ศ.2549 เป็นต้นมา บริษทั โอสถสภาได้ใช้โซลูชนั่ กาวละลายร้อนจากบริษทั เฮงเค็ล ประเทศไทย ในการติดกล่องบรรจุสินค้าและกาวติดฉลากสินค้าในกระบวนการ ผลิ ต เครื่ อ งดื่ ม ชู ก� ำ ลั ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ สุ ข ภาพ ตลอดจนผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย าชนิ ด ต่ า ง ๆ ประกาศนียบัตรที่ได้รับเป็นการแสดงความพึงพอใจที่ เฮงเค็ล ประเทศไทย ได้ร่วมเป็น ซัพพลายเออร์ในการสนับสนุนธุรกิจในกลุ่มสินค้าของโอสถสภาให้ประสบความส�ำเร็จ ไม่ว่าจะเป็นด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์และการสนับสนุนบริการด้านเทคนิค

เปิดแคมเปญ

“โมเดิร์นอีสาน”

นายมาณพ ชิวธนาสุนทร รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม และ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมคณะผู้บริหาร ร่วมเปิดแคมเปญ “โมเดิร์นอีสาน (Modern I-San)” กลยุทธ์ผลักดันอุตสาหกรรมโอทอป ประเภท ผ้าและเครื่อง แต่งกาย พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตลอดจนการรวมกลุ่มของผู้ประกอบการ อีสานรุ่นใหม่ ในการสร้างสรรค์ตราสินค้าประเภทผ้าและเครื่องแต่งกายสู่ตลาด สากล เมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ หอศิลป์ร่วมสมัยราชด�ำเนิน กรุงเทพฯ ส�ำหรับผูป้ ระกอบการหนึง่ ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์หรือวิสาหกิจชุมชน ทีส่ นใจ เข้าร่วมโครงการต่าง ๆ ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม สามารถติดตามข่าวสาร กิจกรรม รวมถึงโครงการต่าง ๆ ภายใต้กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้ที่ www. dip.go.th หรือ www.facebook.com/dip.pr

งานเกษตรและของดีเมืองอ่างทอง

นายมนตรี บุญจรัส ประธานกรรมการชมรมเกษตรปลอดสารพิษ ร่วมออกบูธในงานเกษตรและของดีเมืองอ่างทอง ครั้งที่ 3 เพื่อร่วมรณรงค์ และส่งเสริมภาพลักษณ์ทดี่ ใี ห้จงั หวัดอ่างทอง ด้วยการเป็นเมืองเกษตรไร้สาร พิษ และเป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยสู่ตลาด พร้อมแนะน�ำวิธีลดต้นทุน ในการท�ำเกษตร ด้วยวัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติที่สามารถน�ำไปปรับใช้ใน การเพิ่มผลผลิตและรายได้ โดยทีมงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ณ วัดขุนอินทประมูล อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง

>>>12

April-May 2015, Vol.42 No.240



ผลิต ออกแบบ และติดตัง้ เฟอร์ นิเจอร์ /อุปกรณ์ ช่าง

• โต๊ ะซ่ อม โต๊ ะประกอบอุปกรณ์ ประจ�ำห้ องแลป และ ห้ อง MAINTENANCE TOO • ตู้แขวนเครื่ องมือ • ตู้เก็บกล่ องอุปกรณ์ ส�ำหรั บอุตสาหกรรมยานยนต์ L STORAGE SYSTEM • ระบบระบายควันกรด ฝุ่ น และชุดก�ำจัดในโรงงานอุตสาหกรรม เฟอร์ นิเจอร์ งานช่ าง คุณภาพเหนือราคา พร้ อมบริ การหลังการขาย SERVICE BENCH

TOOL MOBILE CABINET

TS-6410

TS-858

ขนาด: 640x460x900 mm.

ขนาด: 640x460x900 mm.

PTH 10565130

PRH 9030180

ขนาด: 1050x650x1300 ม.ม.

ขนาด: 900x300x1800 mm.

ตู้-ชันเก็ ้ บเครื่ องมือช่างแบบเคลื่อนที่มีล้อส�ำหรับ เคลื่อนย้ ายได้ เพื่อสะดวกในการท� ำงานในพืน้ ที่ มีหลายขนาด ที่เหมาะสมกับลักษณะงานทุกชนิด

ST-150

ขนาด: 1500x600x1400mm.

ST-180

ขนาด: 1800x600x1400mm.

TOOL HANGING RACK CABINET

REF-753520 ตู้สูง

ขนาด: 640x460x900 mm.

THC 9045145

THC 903072

ตู้เก็บอุปกรณ์ ส�ำหรับแขวน เครื่ องมื อช่าง, ตู้เก็ บกล่อง อุปกรณ์ ส�ำหรั บชิน้ เล็กที่มี หลายขนาด เหมาะสมกับ ลักษณะงานทุกชนิด โครง สร้ าง ท�ำด้ วย เหล็กแผ่น พ่นสี แข็งแรง

ขนาด: 900x450x1450 mm. ขนาด: 900x300x720 mm.

จัดจ�ำหน่ ายโดย

โต๊ ะปฏิบตั กิ ารช่ างซ่ อม • พื ้นโต๊ ะไม้ ปิดผิวด้ วยฟอร์ ไมก้ า, ไม้ จริง, หรือแผ่นเหล็ก • แผงแขวนอุปกรณ์ 3 ด้ านขนาดสูง 600 mm. • ตู้เหล็กขนาด 600x500x800 mm. พ่นสีพอ็ กซี่ • กล่อ งไฟคู่พ ร้ อมสายดิ น ขนาด 19AMP.220V.1 PHASE แสงสว่าง FLUORESCENCE 18 WATT

OFFICIAL EQUIPMENT MANUFACTURING CO.,LTD.

บริษทั ออฟฟิ เชียล อีควิปเม้ นท์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด

70 หมู่7 ซอยเพชรเกษม 130 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลไร่ ขงิ อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 70 Moo7, Phetkasem Road Soi 130, T.Raikhing, A.Sampran, Nakornpathom 73210 Tel. : 0-2420-5999,0-2420-5021-2 Fax.: 0-2420-4997-8 E-mail :sales@official.co.th www.officail.co.th




ªøÍàæČàÃøÒ蟧÷ÒŸÇÑ´’›◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷ČÆ∑≤Úfi´ Non-Contact Temperature

Gas Detection

Raytek MI3 Non-Contact Temperature àÃøÒ蟧ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fiá≥≥ä÷ž’Ñ÷ˆÑ’ ¢Úfl´àÅç∑ ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fi’‚§¶Ö§ 1800 Ÿ§ÿflà∫Åà∫¿‘’ ◊ÑÇÇÑ´ČÚÃÇfl÷ø¦ŸÚ’‚§¶Ö§ 180 Ÿ§ÿflà∫Åà∫¿‘’ øflÃfl¶‚∑ à◊÷flÍ’ífl◊øÑ≥§flÚªøÍàæČ ˆÅfićŸfl◊flø ˆÅfić¢Ú÷, ćøǨ’Ÿ≥≥Ñ’≥fløÝ ãÚ悦 MDB, 悦Ÿ≥, àćflŸfiÚ´Ñê∑≤ÑèÚ, ˆÅfićá∑¦Ç ∑øͨ∑, Gear Box áÅͧflÚªøÍàæČ◊ÅžŸ◊ÅŸ÷âÅ◊Í

NEW

NEW

àÃøÒ蟧ÇÑ´á∑ç’á≥≥˜∑˜fl’›◊øÑ≥˜ÒéÚČ¿èŸÑ≥Ÿfl∑flÿáÅ͘ÒéÚČ¿èŸÑÚćøfl‘ ÷¿ČÑé§á≥≥ Single Gas , Multi Gas (4 Gas) , Multi Gas (6 Gas) Čífl§flÚ§žfl‘´¦Ç‘à˜¿‘§ªÆŁ÷à´¿‘Ç Úéífl◊ÚÑ∑à≥fl, ČÚČflÚ Audible Alarm Automatic pump àćÒŸÚ´¦Ç‘à’¿‘§ áÅÍ∑flø’ÑèÚà∫Úà∫ŸøÝ IP65/67 Č´’Ÿ≥∑ÑÚ∑øÍáČ∑’‚§¶Ö§ 6 ∂Æć

ÿ‚Ú‘ÝøÇ÷àÃøÒ蟧÷ÒŸÇÑ´áÅÍČ´’Ÿ≥¨fl∑ Fluke Ti105 ∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚøÆžÚČÚČflÚ ã≤¦§flÚ§žfl‘ ¢Úfl´àÅç∑ Úéífl◊ÚÑ∑à≥fl ÷¿’÷øø¶ÚÍćø§ ćfl÷ÃÇfl÷ć¦Ÿ§∑flø¢Ÿ§ ˆ‚¦ã≤¦ ’ífl◊øÑ≥§flÚ∫žŸ÷≥ífløƧŸÆć’fl◊∑øø÷

Fluke CNX 3000 Series ≤Æ´àÃøÒ蟧÷ÒŸÇÑ´äø¦’fl‘Č¿è≤žÇ‘ã◊¦§flÚ∫žŸ÷≥ífløƧ§žfl‘ ¢ÖéÚ´¦Ç‘∑fløÇѴÞflČfl§ä∂∂łfláÅÍŸÆÙ◊æ‚÷fiä´¦˜ø¦Ÿ÷∑ÑÚ ¶Ö§ 10 ¨Æ´

Fluke 434, 435 Series II àÃøÒ蟧ÇfiàÃøflÍ◊Ý∑fløã≤¦˜Åѧ§flÚ áÅÍá∑¦ä¢ÃÆÙæfl˜ä∂∂łfl 3 à∂’ ÇfiàÃøflÍ◊ݪ½ş◊flÃÆÙæfl˜ä∂∂łflä´¦ ÅÍàŸ¿‘´‘fi觢ÖéÚ ˜ø¦Ÿ÷∂½§ÃÝ≤ÑèÚ ÇfiàÃøflÍ◊Ý∑fløã≤¦˜Åѧ§flÚ ’fl÷flø¶ á¨∑ᨧ∑flø’‚şà’¿‘¨fl∑’flà◊ćÆćžfl§¥ áÅÍÃíflÚÇÙć¦ÚČÆÚČ¿è’‚şàªÅžfl Fluke 1555/1550C àÃøÒèŸ§Č´’Ÿ≥ÃÇfl÷ć¦flÚČflÚ©ÚÇÚ Č¿è÷¿áø§´ÑÚČ´’Ÿ≥’‚§¶Ö§ 10 kV ÷¿‘žflÚáø§´ÑÚČ´’Ÿ≥Ãø≥ÃøŸ≥ÃÅÆ÷ Ãø≥¶¦ÇÚćfl÷¢¦Ÿ∑ífl◊Ú´ãÚ÷flćø°flÚ IEEE 43-2000 ´¿Č¿è’Æ´ãÚàÃøÒ蟧÷ÒŸ øÍ´Ñ≥à´¿‘Ç∑ÑÚ, ˜ø¦Ÿ÷ÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ CAT IV 600 V ≥ÑÚČÖ∑ˆÅ ∑fløÇÑ´ áÅÍà≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ PC ä´¦

Honeywell H_EC-F2 àÃøÒ蟧ćøǨÇÑ´∑fløøÑèÇä◊Å¢Ÿ§ áŸ÷â÷àÚ¿‘ áÅÍ ’fløČíflÃÇfl÷ à‘çÚ˜ø¦Ÿ÷’ž§’ÑşşflÙàćÒŸÚ à˜ÒèŸÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ãÚâø§§flÚ ŸÆć’fl◊∑øø÷ÇѴÞflä´¦ 100 ppm ◊øÒŸ÷fl∑∑Çžflà∫Úà∫ŸøÝ÷¿Ÿfl‘Æ ∑fløã≤¦§flÚ‘flÇ 3 - 4 ª¸

Honeywell XCD àÃøÒ蟧ćøǨ¨Ñ≥á∑ç’ćfi´ä∂ŸçŸ∑∫fià¨Ú áÅÍá∑ç’˜fiÉá≥≥ćfi´ćÑé§ ã≤¦’ífl◊øÑ≥øÍ≥≥ ÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ãÚâø§§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷, âø§§flÚà∑¿è‘Ç∑Ñ≥ª˚âćøàÃ÷¿,◊¦Ÿ§à‘çÚ, øÍ≥≥≥ífl≥Ñ´Úéíflà’¿‘, â∑´Ñ§à∑ç≥’fløàÃ÷¿, âø§§flÚˆÅfić’fløàÃ÷¿, ◊¦Ÿ§ćfi´ćÑé§ àÃøÒ蟧‘Úć݈Åfić˜Åѧ§flÚ

Raytek Pi20 Thermal Imaging Camera ∑fløªøÑ≥ªøƧã◊÷žČfl§àČÃâÚâÅ‘¿ÃøÑé§ã◊şžČ¿èČíflã◊¦∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ Raytek ∑¦flÇÅéífl∑Çžfl‘¿é◊¦ŸŸÒèÚŸ‘žfl§à◊ÚÒŸ≤ÑéÚ ≤žÇ‘ã◊¦∑flø¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ ’Í´Ç∑§žfl‘´fl‘ áÅÍ’fl÷flø¶ÇfiàÃøflÍ◊Ý¢¦Ÿ÷‚Åä´¦ČÑÚČ¿ãÚćÑÇàŸ§ ∑ŦŸ§¶žfl‘ æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ ÷¿ÃÇfl÷â´´à´žÚ´¦flÚ ÃÇfl÷ČÚČflÚ, ã≤¦§flÚ§žfl‘, ’÷øø¶ÚÍ’‚§ 䴦ાÚ∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ’÷øø¶ÚÍ’‚§ãÚČÆ∑øÍ´Ñ≥ Raytek EMS (EQUIPMENT MONITORING SYSTEM) øÍ≥≥àÃøÒ蟧ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fiá≥≥ä÷ž’Ñ÷ˆÑ’’ífl◊øÑ≥ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fi≥Ñ’≥fløÝ ãÚ悦 MDB, circuit breakers, Gear Box, øÍ≥≥ÃÇ≥ÃÆ÷àćflŸ≥ćžŸ˜žÇ§◊ÑÇÇÑ´ä´¦ - ’‚§¶Ö§ 32 ◊ÑÇÇÑ´ - ÷¿’ÑşşflÙà’¿‘§àćÒŸÚ - ÷¿ software Data Temp Multidrop - øflÃfl¶‚∑ - ćfi´ćÑ駧žfl‘

Honeywell IAQPoint2 Touch screen indoor air quality Monitoring Číflä÷¶Ö§ć¦Ÿ§ã≤¦ IAQ Point2 ćøǨ’Ÿ≥ÞflÃfløÝ≥ŸÚä´ŸçŸ∑ä∫´Ý ãÚŸflÃflø ∑fløà∑fi´Ÿflø÷ÖÚ§§ãÚ¢ÙÍČ¿èČžflÚČífl§flÚ ¨ÍČíflã◊¦Å´ªøÍ’fiČÊfiæfl˜ãÚ∑fløČífl§flÚ ’flà◊ćÆ◊ÅÑ∑ÚÑéÚà∑fi´¨fl∑ªøfi÷flÙÃfløÝ≥ŸÚä´ŸçŸ∑ä∫´Ý ãÚŸfl∑flÿ÷fl∑à∑fiÚäª ∑fløá∑¦ª½ş◊fl’žÇÚã◊şžˆ‚¦´‚áÅŸflÃflø¨ÍàÅÒŸ∑ã≤¦øÍ≥≥øÍ≥fl‘Ÿfl∑flÿá≥≥ćžŸàÚÒ蟧∫Ö觨Íà∑fi´Ãžflã≤¦¨žfl‘¨íflÚÇÚ÷fl∑ áćž’ífl◊øÑ≥ IAQ point2 ÚÑéÚ’fl÷flø¶≤žÇ‘ČžflÚªøÍ◊‘ѴÞflã≤¦¨žfl‘ä´¦Ÿ‘žfl§´¿ â´‘∑fløÇÑ´áŦǒfl÷flø¶Čífl§flÚøžÇ÷∑Ñ≥ øÍ≥≥øÍ≥fl‘Ÿfl∑flÿà÷ÒèŸ÷¿ªøfi÷flÙÃfløÝ≥ŸÚä´Ÿç-Ÿ∑ä∫´Ý÷fl∑à∑fiÚÞflČ¿è∑ífl◊Ú´

ã◊÷žá∑Í∑ÅžŸ§ Fluke 805 àÃøÒèŸ§Č´’Ÿ≥ÃÇfl÷’ÑèÚ’ÍàČÒŸÚ Č¿èã◊¦ÃíflćŸ≥ à˜ÒèŸá∑¦ª½ş◊flä´¦ČÑÚČ¿≤žÇ‘ÃÇ≥ÃÆ÷∑flø◊‘Æ´ ¢≥ÇÚ∑fløˆÅfićâ´‘ä÷žćÑé§ã¨, ªłŸ§∑ÑÚ∑fløà∑fi´ ª½ş◊fl∫éífl, ¨Ñ´Åífl´Ñ≥ÃÇfl÷’íflÃÑş§flÚ∫žŸ÷ áÅͨѴ∑flČøј‘fl∑ø´¦Ç‘áÚÇČfl§ã◊÷ž â´‘ÇfiÊ¿Č´’Ÿ≥ÃÇfl÷’ÑèÚ’ÍàČÒŸÚ

Fluke 1630 áÃÅ÷ªŽ÷fiàćŸøÝ’ífl◊øÑ≥ÇÑ´∑øflÇ´Ý◊Å‚ª¢Ÿ§´fiÚ â´‘ã≤¦ÇfiÊ¿ Č´’Ÿ≥á≥≥ä÷žć¦Ÿ§ª½∑áČž§âÅ◊Í (Stakeless) ∫Öè§àª¾Ú àČÃÚfiÃČ¿è≤žÇ‘◊Å¿∑àſ葧ŸÑÚćøfl‘ áÅÍÅ´∑flø’‚şà’¿‘àÇÅfl ãÚ∑fløćžŸ’fl‘∑øflÇ´Ý ◊Åfl‘¥à’¦Ú øÇ÷¶Ö§àÇÅflČ¿èã≤¦ãÚ∑flø ◊flćíflá◊Úž§ª½∑áČž§â◊Í Číflã◊¦ÃÆÙ’fl÷flø¶Č´’Ÿ≥∑øflÇ´Ý ä´¦ãÚČÆ∑Č¿è ◊øÒŸãÚ¨Æ´Č¿èä÷ž’fl÷flø¶à¢¦fl¶Ö§´fiÚ䴦ⴑćø§

Fluke 62 Max, Fluke 62 Max+ ŸfiÚ∂øflàø´àČŸøÝ â÷÷fiàćŸøÝøÆžÚČÚČø◊´ ∑ÑÚÚéífl ∑ÑÚıÆŁÚ ČÚáø§∑øÍáČ∑ ¢Úfl´ ∑øÍČÑ´øÑ´ á÷žÚ‘ífl’‚§ ã≤¦§flÚ§žfl‘ à◊÷flÍ’ífl◊øÑ≥§flÚãÚ’æfl˜áǴŦŸ÷ ČfløÆÙ ’÷≥Æ∑’÷≥ÑÚ ã≤¦ªøͨífl ČÑ駧flÚ ´¦flÚä∂∂łfl, §flÚ≥øfi∑flø, §flÚ HVAC, §flÚ∑øÍ≥ÇÚ∑fløˆÅfić

Fluke Ti32, Ti29, Ti27 ∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ’ífl◊øÑ≥§flÚ ŸÆć’fl◊∑øø÷ã◊¦æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚÃÆÙæfl˜’‚§ ã≤¦§flÚ´¦Ç‘÷ÒŸà´¿‘ÇŸfiÚàćŸøÝà∂’ã≤¦§žfl‘ ˆžflÚ∑fløČ´’Ÿ≥’Æ´â◊´ Fluke IR-Fusion? Č¿èà◊ÚÒŸ∑ÇžflàªÅ¿è‘ÚàÅÚ’Ý ä´¦

Fluke 37X Series áÃÅ÷ªŽ÷fiàćŸøÝćøÍ∑‚Åã◊÷žČ¿èćŸ≥’ÚŸ§ ÃÇfl÷ć¦Ÿ§∑fløä´¦’‚§’Æ´ ãÚ˜ÒéÚČ¿èÃÑ≥áÃ≥ áÅÍ÷¿÷Ñ´’fl‘ä∂Č¿è‘fl∑á∑ž∑fløÇÑ´´¦Ç‘ áÃŦ÷ªŽČÑèÇ¥äª ÷¿’fl‘ä∂¢Úfl´âć÷fl∑ ◊øÒŸ÷¿ø‚ªøžfl§Č¿èáÃÅ÷ªŽ÷fiàćŸøÝČÑèÇäª ä÷ž’fl÷flø¶ÃŦŸ§øŸ≥ä´¦

Fluke 287, 289 ´fi¨fićŸÅ÷ÑÅćfi÷fiàćŸøݘø¦Ÿ÷´flć¦fl ÅçŸ∑à∑ŸøÝ á≥≥ True-rms ÃÇfl÷ ’fl÷flø¶øÍ´Ñ≥’‚§ ’ífl◊øÑ≥ČÆ∑ ÃÇfl÷ć¦Ÿ§∑fløŸ‘žfl§÷ÒŸŸfl≤¿˜ øÆžÚ 287 ’ífl◊øÑ≥§flÚŸfiàÅç∑ČøŸÚfi∑’Ý øÆžÚ 289 ’ífl◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷

Coating Thickness Gages

Fluke 190 Series II ŸŸ’∫fiÅâÅ’âêá≥≥˜∑˜fl’÷øø¶ÚÍ’‚§àª¾Ú ŸŸ’∫fiÅâÅ’âê˜∑˜fl¢Úfl´ 2 áÅÍ 4 á≤ÚàÚÅ ćÑÇáø∑Č¿è÷¿˜fi∑Ñ´ÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ CAT III 1000V/ CAT IV 600 V ’‚§’Æ´ Č¿è÷¿ŸfiÚ˜Æćá‘∑¢fl´¨fl∑∑ÑÚ Čfl§ä∂∂łflાڒâÃªČ¿èøÇ÷ÃÇfl÷á¢ç§áø§ČÚČflÚ áÅÍ’Í´Ç∑˜∑˜flࢦfl∑Ñ≥’÷øø¶ÚÍ¢ÑéÚ’‚§¢Ÿ§ ’âêćÑé§âćÐÍ à◊÷flÍ’ífl◊øÑ≥§flÚćøǨ∫žŸ÷ćÑé§áćžøÍ´Ñ≥ä÷âÃø ŸfiàÅç∑ČøŸÚfi∑’Ý¢ÖéÚ䪨ڶ֧§flÚà˜flàÇŸøÝŸfiàÅç∑ČøŸÚfi∑’Ý

Ultrasonics Thickness Gages PosiTest DFT,6000 Series,200 Series àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷◊ÚflˆfiÇàÃÅÒŸ≥øÍ´Ñ≥’‚§â´‘ä÷žČíflÅfl‘˜ÒéÚˆfiÇ¢Ÿ§≤fiéÚ§flÚ ’ífl◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷ Č¿èć¦Ÿ§∑fløÃÇfl÷’Í´Ç∑øÇ´àøçÇ áÅÍ ÃÇfl÷Úžflà≤Ò蟶ҟ䴦¢Ÿ§Ãžfl∑fløÇÑ´ ∫Ö角fl÷flø¶ã≤¦ÇÑ´ÃÇfl÷◊Úfl ¢Ÿ§ˆfiÇàÃÅÒŸ≥Č¿èàÃÅÒŸ≥≥Ú≤fiéÚ§flÚ≤fiéÚ§flÚä´¦ČÑé§Č¿èાÚâÅ◊ÍáÅÍŸÍâÅ◊ÍøÇ÷¶Ö§â˜ø≥◊Åfl∑◊Åfl‘ ≤Úfi´à˜ÒèŸÃÇfl÷à◊÷flÍ’÷¢Ÿ§§flÚÇÑ´ÃÇfl÷◊ÚflˆfiÇàÃÅÒŸ≥ãÚáćžÅÍá≥≥ ćÑÇàÃøÒ蟧ŸŸ∑á≥≥ã◊¦ã≤¦ §flÚ§žfl‘’Í´Ç∑ćžŸ∑flø˜∑˜fløÇ÷¶Ö§∫Ÿ∂ČÝáÇøČ¿è’fl÷flø¶´‚Þfl∑fløÇÑ´á≥≥ćžfl§¥

MX Series, PX, PVX àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷◊Úfl≤fiéÚ§flÚøÍ´Ñ≥’‚§ â´‘ä÷žČíflÅfl‘˜ÒéÚˆfiÇ¢Ÿ§≤fiéÚ§flÚ’ífl◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷ Č¿èć¦Ÿ§∑fløÃÇfl÷’Í´Ç∑øÇ´àøçÇáÅÍÃÇfl÷Úžflà≤Ò蟶ҟ䴦¢Ÿ§Ãžfl∑fløÇÑ´ ∫Ö角fl÷flø¶ã≤¦ÇÑ´ÃÇfl÷◊Úfl ¢Ÿ§≤fiéÚ§flÚä´¦◊Åfl∑◊Åfl‘ªøÍàæČ ’‚§’Æ´¶Ö§ 32 ≤Úfi´≤fiéÚ§flÚ (âÅ◊Íćžfl§¥øÇ÷¶Ö§˜Åfl’ćfi∑) ćÑÇàÃøÒ蟧ŸŸ∑á≥≥ã◊¦àª¾ÚŸÍÅ‚÷fiàÚ¿‘÷á¢ç§áø§ČÚČflÚાژfiàÿÉøÇ÷¶Ö§â˜ø≥◊Åfl∑◊Åfl‘≤Úfi´à˜ÒèŸ ÃÇfl÷à◊÷flÍ’÷ ¢Ÿ§§flÚÇÑ´ÃÇfl÷◊ÚflãÚáćžÅÍá≥≥ ∫Öè§ćÑÇàÃøÒ蟧ˆÅfićãÚªøÍàČÿŸà÷øfi∑fl

Laser Distance Meter

Temperature Datalogger

àÃøÒ蟧ÇÑ´øÍ‘ÍČfl§´¦Ç‘á’§àÅà∫ŸøÝ ÇÑ´ä´¦ä∑Ŷ֧ 200 à÷ćø ÃÇfl÷á÷žÚ‘ífl’‚§ ÃÆÙæfl˜à‘¿è‘÷ ¨fl∑ªøÍàČÿ’Çfićà∫ŸøÝáÅÚ´Ý àÃøÒ蟧÷ÒŸÚ¿é÷¿ªøÍâ‘≤ÚÝ÷fl∑’ífl◊øÑ≥§flÚÇÑ´˜ÒéÚČ¿è øÍ‘ÍČfl§ ∑flø◊flÃÇfl÷◊ÚflÇÑć¶Æ ∑fløªøÍ÷flÙ ÃÇfl÷’‚§∑Ǧfl§¢Ÿ§ÇÑć¶Æ ∑flø◊flªøfi÷flćø ∑Ǧfl§ x ‘flÇ x ’‚§ ∑flø◊fløÍ‘ÍáÚÇøfl≥¢¦fl÷ ’fiè§∑¿´¢Çfl§ ∑fløÃíflÚÇÙ˜ÒéÚČ¿è’¿èà◊Å¿è‘÷´¦flÚä÷žàČžfl ∑fløã≤¦§flÚã≤¦ä´¦ČÑé§flÚæfl‘ãÚáÅÍæfl‘ÚŸ∑ ∑fløÃíflÚÇÙ˜ÒéÚČ¿è’¿èà◊Å¿è‘÷Ãfl§◊÷‚áÅÍ÷Æ÷Åfl´àŸ¿‘§ ∑fløà≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ß÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ ’fl÷flø¶ ∑ÑÚÚéífl∑ÑÚıÆŁÚä´¦ à◊÷flÍ∑Ñ≥§flÚ’÷≥Æ∑’÷≥ÑÚ÷¿øŸ§∑ÑÚ∑øÍáČ∑ãÚćÑÇàÃøÒ蟧 ć∑◊ÅžÚãÚøÍ‘Í ÃÇfl÷’‚§ 2 à÷ćøä´¦

SK-L200TH-II àÃøÒ蟧≥ÑÚČÖ∑ŸÆÙ◊æ‚÷fiáÅÍÃÇfl÷≤ÒéÚãÚŸfl∑flÿ ˆÅfićæÑÙØÝÃÆÙæfl˜à‘¿è‘÷ ¨fl∑ªøÍàČÿàČÿş¿èªÆŁÚ ∫Öè§÷¿ÃÇfl÷á÷žÚ‘ífl’‚§ ’fl÷flø¶ŸžflÚÞflŸÆÙ◊æ‚÷fiáÅÍÃÇfl÷≤ÒéÚ¢ÙÍ≥ÑÚČÖ∑ ’fl÷flø¶ªøÑ≥ àČ¿‘≥ä´¦à÷ÒèŸÃžflä÷ž¶‚∑ć¦Ÿ§ćfl÷’ા∑ ˜ø¦Ÿ÷∫ŸøÝ∂áÇøÝ ãÚ∑fløà∑ç≥¢¦Ÿ÷‚Å ∑fløŸžflÚÞflČíflä´¦ČÑé§≥ÑÚČÖ∑ ÞflČfié§äǦ áÅÍ≥ÑÚČÖ∑Þflá≥≥ RealTime≥Úß÷˜fiÇàćŸøÝ ’fl÷flø¶Úífl¢¦Ÿ÷‚ÅČ¿è≥ÑÚČÖ∑áªÅ§àª¾Úä∂ÅÝ Excel ä´¦ ’fl÷flø¶ćÑé§Ãžfl∑fløàćÒŸÚä´¦ČÑé§ Ãžfl’‚§áÅÍÞflćèífl ÷¿ã◊¦àÅÒŸ∑ä´¦ČÑé§à∫Úà∫ŸøÝá≥≥’ÑéÚ áÅÍá≥≥à∫Úà∫ŸøÝ÷¿’fl‘

Instruments Environmental systems HDV640: HD Video Scope with Handset ä´¦øÑ≥∑fløŸŸ∑á≥≥∑fløã≤¦§flÚãÚČfl§ªĆfi≥Ñćfi§flÚ Č¿è’÷≥Æ∑’÷≥ÑÚ ćfl÷’æfl˜áǴŦŸ÷ ä÷žÇžfl¨Íàª¾Ú Č¿è¢øÆ¢øÍ ãÚ’žÇÚČ¿è÷Ò´ àÃøÒ蟧ڿé∑ÑÚÚéíflä´¦ ã◊¦æfl˜ áÅÍÇ¿´¿âŸČ¿èÃ÷≤ÑÚŸÑÚâ´´à´žÚ à˜fiè÷ÃÇfl÷‘flÇ¢Ÿ§ ’fl‘ÇÑ´ä´¦÷fl∑’Æ´¶Ö§ 50 à÷ćø

NEW

SDL300Airflow Meters àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷àøçÇÅ÷ ã≥˜Ñ´Čífl¨fl∑âÅ◊ÍČ¿è÷¿á¢ç§áø§ ČÚČflÚ’‚§ ČÚŸÆÙ◊æ‚÷fiä´¦¶Ö§ 70 C ાÚá≥≥≥ÑÚ÷ČÖ∑Þflä´¦ ãÚćÑÇàÃøÒ蟧à∑ç≥¢¦Ÿ÷‚Åŧ SD Card à≤ÒèŸ÷ćžŸÃŸ÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ àª¾Ú Excel Format ÷¿software ÷flãÚ≤Æ´

HD450: Datalogging Heavy Duty Light Meter àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷ࢦ÷¢Ÿ§á’§’Çžfl§ ÷¿à∫çÚà∫ŸøÝÃÆÙæfl˜´¿ äÇćžŸ∑fløŸžflÚÇѴÞfl á¢ç§áø§ ČÚČflÚ àª¾ÚDatalogger à∑ç≥¢¦Ÿ§÷‚Åŧ SD Card à≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ß÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ àª¾Ú Excel Format ÷¿software ÷flãÚ≤Æ´

HD600: Datalogging Sound Level Meter àÃøÒ蟧ÇÑ´à’¿‘§ ’fl÷flø¶ÇÑ´ä´¦¶Ö§ 130dB á¢ç§áø§ ČÚČflÚ’‚§àª¾Úá≥≥≥ÑÚ÷ČÖ∑Þflä´¦ ãÚćÑÇàÃøÒ蟧à∑ç≥ ¢¦Ÿ÷‚Åŧ SD Card à≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ß÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ àª¾Ú Excel Format ÷¿ software ÷flãÚ≤Æ´

39240: Waterproof Stem Thermometer àÃøÒ蟧ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fiá≥≥à¢ç÷ ÇÑ´ä´¦¶Ö§ 200 C á¢ç§áø§ČÚČflÚ’‚§ øflÃfl¶‚∑ ˆ∑˜fl’Í´Ç∑ RPM10: Combination Laser Tacho+ IR Thermometer ÇÑ´ÃÇfl÷àøçÇøŸ≥áÅÍ≥Ÿ∑ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fi á≥≥ä÷ž’Ñ÷ˆÑ’ãÚàÃøÒ蟧ി‘Ç á¢ç§áø§ ČÚČflÚ’‚§ øflÃfl¶‚∑ ˆ∑˜fl’Í´Ç∑

ÁÕÊÔ¹¤ŒÒÍÕ¡ÁÒÂÁÒ¡ËÅÒÂÃØ‹¹ ÊÒÁÒöµÔ´µ‹ÍÊͺ¶ÒÁà¾ÔèÁàµÔÁä´Œ·Õè :

ºÃÔÉÑ· ÍØŵÌÒàÍ繨Ôà¹ÕÂÃÔè§ ¨íÒ¡Ñ´ 2/7 «ÍÂËÁÙ‹ºŒÒ¹àÈÃÉ°¡Ô¨ 6 á¢Ç§ºÒ§á¤à˹×Í à¢µºÒ§á¤ ¡ÃØ§à·¾Ï 10160

â·Ã. 02 444 0844 á¿š¡« . 02 444 1019 E-mail: sales@ultraengineering.co.th


ศูนยรวมเคร�องมือวัดและทดสอบจาก Fluke Thermal Imager

Fluke Ti400, Ti300, Ti200 กลอง อิ น ฟาเรดถ า ยภาพความร อ นรุ  น ใหม พัฒนาที่ล้ำหนา

NEW

Fluke 1623-2 KIT, 1625-2 KIT เคร�องมือ ทดสอบสายดิน

3 รุน ใหมลา สุดจาก Fluke กลองอินฟราเรดถายภาพ ความรอนทีม่ าพรอมระบบออโตโฟกัสใหม LaserSharpTM ใชแสงเลเซอรวัดระยะตรงไปยังวัตถุทต่ี อ งการวัดแสง ทำการปรับระยะโฟกัสทีร่ ะยะดังกลาวอยางแมนยำ จึงให ภาพความรอนที่คมชัดทุกรายละเอียดมองเห็นและ วิเคราะหปญหาไดชัดเจนกวา

Fluke Ti105 กลองถายภาพความรอน รุนทนทาน ใชงานงาย

NEW

ขนาดเล็ก น้ำหนักเบา มีสมรรถนะตรงตามความตองการ ของผูใช สำหรับงานซอมบำรุงอุตสาหกรรมใชเซ็นเซอร VOx (Vanadium Oxide) ที่มีใชในเคร�องระดับสูง ระบบ IR-Fusion® ซอนภาพความรอนลงบนภาพแสงปกติ ชวยในการชี้จุดและทำความเขาใจปญหาไดงายดาย พรอมไฟฉายชวยสองสวางในที่แสงนอย

NEW

Fluke CNX 3000 Series ชุดเคร�องมือวัดไรสายที่ชวย ใหงานซอมบำรุงงายขึ้น

Fluke 1621-KIT เคร�องทดสอบและวัด ความตานทานกราวดดิน

ดวยการวัดคาทางไฟฟาและอุณหภูมิ ไดพรอมกันถึง 10 จุด

Fluke 37X Series แคลมปมิเตอรตระกูลใหม ที่ตอบสนองความตองการ ไดสูงสุด

ในพื้นที่คับแคบและมีมัดสายไฟที่ยากแกการวัดดวยแคลมปทั่วๆ ไป มีสายไฟ ขนาดโตมาก หรือมีรูปรางที่แคลมป มิเตอรทั่วไปไมสามารถคลองรอบได

ในการตรวจคนปญหาความรอนผิดปกติ กอนสราง

ความเสียหายรายแรงมีนวัตกรรมและฟงคชั่นที่ชวยให การตรวจสอบรังสีความรอนอินฟราเรดทำไเอยางรวด เร็วและมีประสิทธิภาพ ทั้งยังอำนวยความสะดวกในการ ทำเอกสารรายงานปญหาสำหรับติดตามงาน

Power Meter

Fluke 1630 แคลมปมิเตอรสำหรับวัดกราวด หลูปของดิน

Fluke 434, 435 Series II เคร�องวิเคราะหการใชพลังงาน และแกไขคุณภาพไฟฟา 3 เฟส

Fluke 62 Max, Fluke 62 Max+ อินฟราเรดเทอรโมมิเตอรรุนทนทรหด กันน้ำ กันฝุน ทนแรงกระแทก

ขนาดกระทัดรัด แมนยำสูง ใชงานงายเหมาะสำหรับงาน สมบุกสมบัน ใชประจำ ทั้งงานดานไฟฟา งานบริการ งาน HVAC งานกระบวนการผลิต

Fluke 1735 เคร�องวิเคราะห Fluke 566, 568 วัดไดทั้งแบบ และบันทึกคุณภาพไฟฟา 3 เฟส อินฟราเรดและแบบสัมผัส จอแสดงผลด็อตรแมตทริกซ ใชงานงาย ดวยปุม พรอมจอสี เหมาะอยางยิ่งสำหรับงานประหยัดพลังงานไฟฟาและการตรวจวิเคราะหศึกษา เกี่ยวกับโหลด สามารถเซ็ตอัพไดในเวลา อันสั้น มีโพรบวัดที่ยืดหยุน

Portable Oscilloscope

ซอฟตคีย 3 ปุม เขาถึงเมนูการวัดที่ซับซอนไดอยาง งายดาย ปรับคาอีมิสซีฟวิตี้ บันทึกขอมูลแบบดาตาล็อกกิ้ง เปดปดสัญญาณเตือน รูปทรงกระชับมือ แข็งแรง ทนทาน เหมาะกับงานอุตสาหกรรม งาน อิเล็กทรอนิกส และงานเคร�องกล

Installation Tester Fluke 1555/1550C เคร�องทดสอบความตานทานฉนวน ที่มีแรงดันทดสอบสูงถึง 10 kV

Fluke 190-502 ออสซิลโลสโคปพกพา ขนาด 500 MHz 2 แชนเนล

แบนด ว ิ ด ธ ส ู ง ถึ ง 500 MHz ขนาด 2 แชนเนล ทนนทานสูง กันฝุนและกันน้ำระดับ IP 51 มาตรฐาน ความปลอดภัยสูง CAT III 1000 V/CAT IV 600 V เหมาะสำหรับงานซอมบำรุงทางดานอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรม ในสภาพแวดลอมที่รุนแรง สมบุกสมบัน

Fluke 190 Series II ออสซิลโลสโคปแบบพกพาสมรรถนะ สูง สำหรับสภาพแวดลอม สมบุกสมบันโดยเฉพาะ

Fluke 320 Series แคลมปมิเตอรแบบ True-rms

โดยใชวิธีทดสอบแบบไมตองปกแทงโลหะ (Stakeless) ซึ่งเปน เทคนิ ค ที ่ ช  ว ยหลี ก เลี ่ ย งอั น ตราย และลดการสู ญ เสี ย เวลา ในการตอสายกราวด หลายๆ เสน รวมถึงเวลาที่ ใชในการหา ตำแหนงปกแทงโหะ ทำใหคุณสามารถทดสอบกราวดไดในทุกที่ หรือในจุดที่ ไมสามารถเขาถึงดินไดโดยตรง

Infrared Thermometer

วิเคราะหปญหาคุณภาพไฟฟาไดละเอียด ยิ่งขึ้น พรอมฟงคชั่นวิเคราะหการใชพลังงาน สามารถแจกแจงการสูญเสียจาก สาเหตุตางๆ และคำนวณตนทุนที่สูญเปลา

NEW

Clamp Meter

สำหรับงานตรวจซอมและแกไขปญหา ระบบกราวดของไฟฟา สามารถวัด ความตานทาน ดินไดโดยไมตองตัด วงจรเพิ ่ ม ความสะดวก และความ ปลอดภัยในการทำงาน

สำหรับงานตรวจวัดคาความตานทานดิน และทดสอบ ความเช�อถือไดของขั้วตอกราวดดิน มีความสามารถ ในการทดสอบ

Fluke Ti125, Ti110 สำหรับงาน อุตสาหกรรม เล็ก เบา ทน ใชงานงาย สะดวกสุดๆ

NEW

Earth Ground Testers

มียานแรงดันทดสอบครบครอบคลุมครบถวนตามขอกำหนดในมาตรฐาน IEEE 43-2000 ดีที่สุดในเคร�องมือ ระดับเดียวกัน พรอมความปลอดภัย CAT IV 600 V

บันทึกผลการวัด และเช�อมตอกับ PC ได

Fluke 1507, 1503 เคร�องทดสอบความเปนฉนวน

มีขนาดกะทัดรัด เช�อถือไดสูงและใชงานงาย มีแรงดัน ทดสอบหลายระดับเหมาะกับงานตรวจซอมแกไขปญหา การตรวจสอบ ความปลอดภัยและงานบำรุงรักษาเชิง เปนออสซิลโลสโคปพกพาขนาด 2 และ 4 แชนเนล ปองกัน มีฟงกชัน เสริมเพ�อใหงานทดสอบตางๆ ทำได ตัวแรกที่มีพิกัดความปลอดภัย CAT III 1000 V รวดเร็ว และประหยัด คาใชจายใหสมรรถนะที่ยอดเยี่ยม /CAT IV 600 V สู ง ที ่ ส ุ ด ที ่ ม ี อ ิ น พุ ต แยก ขาดจากกันทางไฟฟา มีพิกัดความปลอดภัยเพ�องานอุตสาหกรรม เปนสโคปที่ ไมมีใครเทียบ รวมความแข็งแรงทนทานและสะดวกพกพา เขากับสมรรถนะขัน้ สูงของสโคปตัง้ โตะ เหมาะสำหรับงานตรวจซอมตั้งแตระดับไมโครอิเล็กทรอนิกสขึ้นไปจนถึงงาน เพาเวอรอิเล็กทรอนิกส

สำหรับงานหนักในสภาพแวดลอมสมบุกสมบัน ทนทานตอสัญญาณรบกวน เหมาะอยางยิ่ง สำหรับชางเทคนิคในงานตรวจซอมไฟฟาทุก ประเภท

Vibration Meter NEW

Fluke 805 เคร�องวัดความสั่นสะเทือน ขนาดเล็ก

สำหรับงานตรวจสอบคัดกรองความผิดปกติของแบริ่ง สภาพ มอเตอรและเคร�องจักรหมุนตางๆ อยางรวดเร็ว เหมาะสำหรับ ชางเทคนิคทีอ่ ยูห นางานทีต่ อ งการเคร�อง- มือทีเ่ ช�อถือได วัดซ้ำได เพ�อการตัดสินใจวาเคร�องจักรหมุน ยังสามารถทำงานตอไปได หรือจำเปนตองซอมบำรุงแลว

Fluke 810เคร�องทดสอบ ความสั่นสะเทือนที่ ใหคำตอบ เพ�อแกปญหาไดทันที

ชวยควบคุมการหยุดขบวนการผลิตโดย ไมตง้ั ใจ ปองกันการเกิดปญหาซ้ำ จัดลำดับ ความสำคัญงานซอม และจัดการทรัพยากร ดวยแนวทางใหม โดยวิธีทดสอบความ สั่นสะเทือน

Thermometer Fluke 51, 52, 53, 54 Series II ดิจิตอลเทอรโมมิเตอรแบบสัมผัส ขนาดมือถือ

ใหผลตอบสนองในการวัดที่รวดเร็ว โดยมีความ ถู ก ต อ งแม น ยำระดั บ ห อ งทดลองที ่ ส ามารถ พกไปใชงานไดทุกที่ และมีความแข็งแรงทนทาน ตอสภาพแวดลอมตางๆ

Fluke 971 เคร�องวัดอุณหภูมิและความชื้น ภายในเคร�องเดียวกัน

สำหรั บ งานควบคุ ม คุ ณ ภาพอากาศในอาคารโดยเฉพาะ เพ�อการตรวจแกไขปญหา งานบำรุงรักษาคุณภาพอากาศ และงานตรวจรับรองเพ�อใหไดคุณภาพอากาศตามมาตรฐาน ที่ถูกตองในงาน HVACมีขนาดกะทัดรัด เหมาะมือ แข็งแรง ทนทาน ออกแบบมาสำหรับงานภาคสนาม จอแสดงผลสวาง ชัดเจน แสดงผล 2 บรรทัด พรอมกันทั้งอุณหภูมิและความชื้น ไมตองใชชารตในการคำนวณคาอีกตอไป สามารถคำนวณ อุณหภูมิแบบ wet bulb และ dew point ใหไดทันที

Digital Multimeter Fluke 287, 289 ดิจิตอล มัลติมิเตอรพรอมดาตาล็อกเกอร

เป น ดิ จ ิ ต อลมั ล ติ ม ิ เ ตอร แ บบ True-rms ความสามารถระดั บ สู ง สำหรั บ ทุ ก ความ ตองการในงานมืออาชีพโดยเฉพาะ รุน 287 สำหรับงานอิเล็กทรอนิกสรุน 289 สำหรับ งานอุตสาหกรรม

Fluke 175, 177, 179 ดิจิตอลมัลติมิเตอรความทนทานสูง Best Seller

นอกจากคุณสมบัตพิ น้ื ฐานเชนวัด V, A ทัง้ AC และ DC และความตานทานแลว ฟลุค 170 ซีรสี  ยังมีฟง กชน่ั พิเศษ เพิ่มเติมอำนวยความสะดวกและรวดเร็วในการทำงาน ของทาน

Fluke 117 ดิจิตอลมัลติมิเตอร สำหรับชางเทคนิคงานบริการดานไฟฟา

True-rms ขนาดกะทัดรัด สำหรับงานซอมไฟฟาทั่วๆไป มีฟง คชน่ั ตรวจวัดแรงดันไฟฟาโดยไมตอ งสัมผัส ชวยให ทำงานไดสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย

มีสินคาอีกมายมากหลายรุน สามารถติดตอสอบถามเพิ่มเติมไดที่ :

บริษัท อุลตรา เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด 2/7 Soi Mooban Settakit 6, Bangka nua, Bangkae, Bangkok 10160 Tel : 0-2444-0844 FAX: 0-2444-1019 e-mail : Sales@ultraengineering.co.th




&

Talk

สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์กบั นวัตกรรมทีต่ อบโจทย์ หาก

คุ ณ คื อ คนหนึ่ ง ที่ ชื่ น ชอบการดื่ ม น�้ ำ มะพร้ า ว ท่ า นจะทราบดี ถึ ง ความยากล� ำ บาก เพราะ กว่าจะดื่มน�้ำมะพร้าวแสนอร่อยให้ชื่นใจ ก็ต้องอาศัยทักษะฝีมือในการลงมีดของพ่อค้าใน การเฉาะมะพร้าวให้เราทาน โดยไม่หกเลอะเทอะ ครั้นอยากจะซื้อหากลับบ้านไว้เฉาะทานเอง ก็ดูช่างล�ำบาก ยากเย็น เพราะนอกจากจะเสี่ยงท�ำมะพร้าวเสียหายแล้ว ยังจะเป็นอันตรายส�ำหรับผู้ไม่ช�ำนาญในการใช้ มีดพร้าอีกด้วย

ปัญ

หาโลกแตกนี้ ถูกแก้โดยบุคคลท่านหนึง่ ทีช่ นื่ ชอบการดืม่ น�ำ้ มะพร้าวเป็นชีวติ จิตใจ เช่นกัน คุณบรรพต เคลียพวงพิทย์ ผู้ที่คิดค้นวิธีการเปิดฝากะลามะพร้าวที่แสน ง่ายดาย โดยเลียนแบบวิธีการเปิดกระป๋องเครื่องดื่มที่เรา ๆ ท่าน ๆ คุ้นชิน “COCO Easy” คือ ปลายทางความคิดของคุณบรรพต ซึ่งมีจุดเริ่มต้นเมื่อ 10 ปีก่อน หน้านี้ และด้วยจิตวิญญาณของความเป็น “วิศวกร” ท�ำให้เขาอยากท�ำความคิดให้เป็นจริง โดย ▲

คุณบรรพต เคลียพวงพิทย์

กรรมการผู้จัดการบริษัท โคโค อีซี่ จ�ำกัด

April-May 2015, Vol.42 No.240

21 <<<


Talk

&

ใช้ เ วลาหลั ง เลิ ก งานในการขบปมปั ญ หา วางแผนการผลิตและโมเดลธุรกิจ จากการ ลองผิ ด ลองถู ก ในวั น นั้ น ท� ำ ให้ วั น นี้ คุ ณ บรรพตสามารถสร้างธุรกิจขนาดเล็ก (SMEs) ขึ้นมาได้ และผลิตภัณฑ์ของเขาก�ำลังดังไกล ไปทั่วโลกแล้ว

ทำ�ความคิดให้เป็นจริง

คุณบรรพต เคลียพวงพิทย์ ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โคโค่ อีซี่ จ�ำกัด แต่กว่าจะมีวนั นีไ้ ด้ คุณบรรพต เล่า ย้อนกลับไปยังจุดเริ่มต้นของธุรกิจว่า โดย พื้นฐานผมไม่เคยท�ำงานทางด้านอาหารหรือ การเกษตรมาก่อนแล้ว ไม่ว่าจะเป็นวัยเรียน หรื อ ท� ำ งานผมคลุ ก คลี อ ยู ่ ใ นอาชี พ วิ ศ วกร ไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคมมาโดยตลอด จนกระทั่งเมื่อประมาณ 10 ปีก่อน มันมีจุด ที่ท�ำให้ผมสนใจในอุตสาหกรรมอาหาร คุณบรรพตออกตัวว่าเขาคือคนหนึ่ง ที่ชื่นชอบมะพร้าวเผาเอามาก ๆ เห็นรถเข็น ขายทีไร อดใจไม่ไหวทุกที “เวลาได้ดื่มน�้ำมะพร้าวเย็น ๆ แล้ว ท�ำให้รู้สึกสดชื่น เหมือนได้ Refresh ร่างกาย เพราะน�้ำมะพร้าวเป็น Energy Drink ที่ดีตัว หนึ่งเลยทีเดียว แต่เวลาที่ซื้อจากรถเข็นเราก็ ต้องให้เขากะเทาะเปลือกให้ และทานเดี๋ยว นั้นเลย แต่พอซื้อกลับบ้าน เวลาจะทานก็ ล�ำบาก และไม่ค่อยสะดวก ผมจึงค่อนข้าง ฝังใจกับเรื่องนี้มาโดยตลอด และคิดหาวิธีที่

>>>22

April-May 2015, Vol.42 No.240

จะท�ำให้สามารถเปิดดืม่ ได้งา่ ยขึน้ ผมใช้เวลา ช่วงวันหยุดคิดหาไอเดีย ลองผิดลองถูก ท�ำ เป็นงานอดิเรก แต่ทสี่ ดุ แล้วก็ไม่ประสบความ ส�ำเร็จ จนเวลาผ่านไปประมาณ 5 ปี ก็เริม่ มอง หาเครือ่ งมือทีจ่ ะเอาเข้ามาช่วย ขณะเดียวกัน ก็เสาะแสวงหาแหล่งมะพร้าวคุณภาพดีไป ด้วย” จากการศึกษามามากพอสมควรทั้ง เรือ่ งวัตถุดบิ แหล่งผลิต ราคา และตลาด รวม ไปถึงการดีไซน์เครื่องจักร และผลิตภัณฑ์จะ ออกมาในรูปแบบไหน รวมทั้งวางแผนธุรกิจ แต่อย่างไรก็ตาม โมเดลธุรกิจนี้ยังมีความ เสี่ยง ทั้งในแง่ของต้นทุนการผลิตที่สูง และ ความเสีย่ งทีว่ า่ เมือ่ ผลิตได้แล้วจะขายได้หรือ ไม่ “ทุกอย่างผมวางแผนไว้ทั้งหมด ผม พยายามหาคนทีร่ หู้ รือคนทีท่ ำ� ได้ แต่ไม่มใี คร ท�ำ หาว่าเราเพ้อฝันในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ ก็ ท�ำให้เลิกคิดทีจ่ ะท�ำไปพัก ๆ เพราะเสียงส่วน ใหญ่ทเี่ ราไปปรึกษาลงความเห็นว่า ท�ำไม่ได้ ถึงท�ำได้ก็ไม่คุ้ม เพราะเครื่องจักรแพง จน สุดท้ายผมก็ตัดสินใจลงทุนซื้อเครื่องจักร ราคาถูกมา Modify ใหม่ ให้เหมาะกับงาน ของเรา และลองผลิตพบว่า ผลงานออก มาใกล้เคียงกับสิง่ ทีค่ ดิ ไว้ และผมก็ศกึ ษา

เรื่ อ งห่ ว งอลู มิ เ นี ย ม ด้ ว ยการซื้ อ น�้ ำ อั ด ลม กระป๋องมานั่งพิจารณา และลองมาท�ำกับ มะพร้าวดู ไม่นานก็สำ� เร็จออกมาเป็นมะพร้าว พร้อมรับประทานอย่างที่เห็นในปัจจุบัน” ส�ำหรับเทคโนโลยีที่ใช้ในการท�ำฝา เปิ ด คื อ เทคโนโลยี เ ลเซอร์ โดยได้ มี ก าร ดัดแปลงเครือ่ งจักรให้เหมาะส�ำหรับการสกัด เป็นรอยบนลูกมะพร้าว ซึ่งความยากของการ ยิงเลเซอร์ลงบนลูกมะพร้าว ท�ำอย่างไรไม่ให้ เกิดรอยตื้นหรือลึกจนเกินไป “เทคนิ ค การยิ ง เลเซอร์ เ พื่ อ สร้ า ง ลวดลายลงบนวัสดุ ไม่มีอะไรซับซ้อนหรือ ยุ่งยาก แต่หากน�ำมาท�ำกับมะพร้าว ซึ่งเป็น ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ค่อนข้างจะมีความ ยากพอสมควร อย่างที่ทราบคือ มะพร้าว แต่ละลูกจะมีกะลาที่หนาบางต่างกัน ดังนั้น การสกัดจึงต้องหาจุดทีพ่ อดี ท�ำอย่างไรให้เกิด ของเสีย (loss) น้อยทีส่ ดุ และเปอร์เซ็นต์ทเี่ ปิด ไม่ออกน้อยทีส่ ดุ ด้วย เพราะหากเราลงเลเซอร์ ลึกไป ก็จะเข้าเนื้อทะลุถึงน�้ำ ท�ำให้มะพร้าว เสียได้ง่าย แต่หากถึงเนื้อนิดหน่อยไม่เป็นไร เพราะรอยเลเซอร์เล็กกว่าเส้นผม และอากาศ ไม่สามารถผ่านได้ หรือหากท�ำรอยตื้นเกินไป ก็เปิดออกยาก โดยเทคนิคนี้ เป็นเทคนิคที่เรา จดสิทธิบตั รเรียบร้อยแล้ว” คุณบรรพต กล่าว


&

สินค้าไทย ขายนวัตกรรม

ภายหลังจากประสบความส�ำเร็จใน การพัฒนาผลิตภัณฑ์แล้ว ล�ำดับต่อไปคือ การหาตลาด และหาแหล่งเงินทุนเพื่อขยาย กิจการ ซึ่ง คุณบรรพต บอกว่า “ยาก” และ ต้ อ งอาศั ย การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง อย่ า ง ต่อเนื่องและตลอดเวลา “COCO Easy ลูกแรก ผมเสนอขาย ให้กับ Max Value และถูกตีกลับโดยฝ่ายจัด ซื้อคนไทย แต่พอฝ่ายจัดซื้อชาวญี่ปุ่นมาเห็น เขาสนใจในไอเดียและให้เอาไปขายใน Max Value ได้ ขณะเดียวกันก็ได้มตี ดิ ต่อไปที่ Food Land และได้รับความสนใจเช่นเดียวกัน” อย่างไรก็ตาม เนื่องจากไม่ได้เตรียม ความพร้อมทางด้านการผลิตทีร่ องรับออเดอร์ จ�ำนวนมาก ท�ำให้เกิดปัญหา ผลิตไม่ทนั และ ไม่ มี เ วลา เนื่ อ งจากท� ำ งานประจ� ำ ขณะ เดียวกันในปีนนั้ มะพร้าวขาดตลาดท�ำให้ตอ้ ง ชะลอการผลิต และหันกลับมาปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องต่าง ๆ และพยายามหาแหล่งเงิน ทุน (funding) ไปพร้อม ๆ กับด�ำเนินการจด สิทธิบัตรทรัพย์สินทางปัญญา “สิ่งที่ท�ำการปรับปรุง คือ อายุในการ เก็บรักษา (shelf-life) จากเดิม หากเก็บไว้ใน ตู้เย็นจะสามารถเก็บไว้ได้ประมาณ 1 เดือน

แต่จากการได้รับความช่วยเหลือในการวิจัย และพั ฒ นาจากอาจารย์ ใ นมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหาร

Talk

ลาดกระบัง โดยได้รับทุนสนับสนุนจากกรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม ท�ำให้เราได้องค์ความรู้ ในการแช่แข็ง (freezing) ท�ำให้สามารถเก็บ ได้นานเป็นปี” ภายหลังท�ำการปรับปรุงและเตรียม ความพร้อมออกสู่ตลาดอีกครั้ง โดยในครั้งนี้ คุณบรรพตเลือกที่ท�ำตลาดในกลุ่มที่มีก�ำลัง ซือ้ สูง และเป็นกลุม่ ทีจ่ ะพาสินค้าออกสูต่ ลาด ต่างประเทศได้ “แม้เราจะปรับปรุงโปรดักส์ให้มีอายุ การเก็บรักษาได้นานขึ้น แต่ก็ยังไม่สามารถ หาเงินทุนเข้ามาขยายกิจการเพื่อรองรับออเดอร์จำ� นวนมากได้ เราจึงมองตลาดใหม่ เน้น ขายจ�ำนวนน้อย ก�ำไรไม่ต้องมาก แต่หวังผล ระยะยาว ตลาดที่ว่าคือ สนามกอล์ฟ เป็นที่ที่ มีนกั ธุรกิจรวมตัวกันอยู่ ภายหลังจากวางขาย แล้วประมาณ 2 อาทิตย์ ก็มีคนติดต่อเข้ามา หลายราย ส่วนใหญ่จะเป็น Trader และ Exporter ผมก็ พ ยายามสกรี น เอาผู ้ ที่ คิ ด ว่ า เหมาะสม จนกระทั่งมารู้จักกับท่านหนึ่งซึ่ง ท่านเป็นอดีตผูว้ า่ การธนาคารแห่งประเทศไทย ท่านสนใจ และซือ้ หุน้ บริษทั เราไป ท�ำให้เรามี เงินทุนส�ำหรับขยายกิจการ เราจึงย้ายจาก บ้านมาตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมแห่งนี้ มี การซื้อเครื่องจักรเพิ่ม จ้างพนักงานเพิ่ม และ

April-May 2015, Vol.42 No.240

23 <<<


Talk

&

ตัวผมเองต้องลาออกจากงานประจ�ำเพื่อมา ดูแลเต็มตัว”

ความเสี่ยงเรื่องวัตถุดิบ

พัฒนาการของ COCO Easy ดูเหมือน จะราบรื่น และค่อยเป็นค่อยไป แต่ในความ เป็นจริงแล้ว ไม่ง่าย เพราะยังมีรายละเอียด เชิงลึกอีกมาก โดยเฉพาะเรื่องของวัตถุดิบ “ผมค่อนข้างท�ำการบ้านเรือ่ งมะพร้าว ค่อนข้างเยอะว่า มะพร้าวเป็นอย่างไร ใครคือ ผู้ซื้อรายใหญ่ การน�ำเข้าส่งออกเป็นอย่างไร และลงลึ ก ถึ ง ตลาดโลกด้ ว ยว่ า ใครคื อ เจ้ า ตลาด ซื้อขายมะพร้าวอย่างไร เราต้องศึกษา เรือ่ งเหล่านี้ เพือ่ ประเมินสถานการณ์ตลาดว่า มีแนวโน้มเป็นอย่างไร อีกทั้งมะพร้าวภายใน ประเทศ ค่อนข้างมีความผันผวน เกษตรกร ส่วนใหญ่จะพึ่งพาตัวเองและธรรมชาติเป็น หลัก ปีไหนฝนแล้ง หรือเจอแมลงศัตรูพืช ผลผลิตก็จะน้อยลง เกษตรกรก็จะล�ำบาก รัฐบาลก็ไม่ได้ช่วยอะไรมาก ฉะนัน้ วิธเี ดียวทีผ่ มจะหามะพร้าวทีม่ ี คุณภาพ ในปริมาณที่ต้องการได้ ต้องอาศัย การพูดคุยกับเกษตรกร ท�ำให้เขาเชื่อโดย การกระท�ำว่า เราพูดจริงท�ำจริง และรักษาค�ำ พูด แม้บางครั้งอาจมีผิดค�ำพูดไปบ้าง เพราะ เราเป็นคนใหม่ในธุรกิจ ไม่ค่อยประสีประสา ออเดอร์มาเป็นพันเป็นหมื่น เราก็ไปหาเขา สุดท้ายไม่มีออเดอร์จริงเข้ามาเลยก็มี เราก็ ต้องมาปรับวิธีการท�ำงานใหม่ หากเราอยาก จะอยู่ร่วมกันนาน ๆ กับเกษตรกรมาระยะ หลัง ๆ ผมไม่ได้เน้นเรื่องปริมาณ แต่เน้นเรื่อง คุ ณ ภาพและความต่ อ เนื่ อ งมากกว่ า โดย

>>>24

April-May 2015, Vol.42 No.240

แหล่งมะพร้าวคุณภาพดีจะอยู่แถบจังหวัด สมุ ท รสาคร นครปฐม และราชบุ รี โดย ผลิตภัณฑ์แต่ละลูกจะสามารถระบุแหล่งทีม่ า ได้”

แผนการตลาด

“เนื่องจากเราเป็นอุตสาหกรรมขนาด เล็ก การวางแผนการตลาดจึงต้องใช้ความ รอบคอบ บนพื้นฐานของวัตถุดิบและก�ำลัง การผลิตที่เรามีอยู่” คุณบรรพต กล่าว พร้อม อธิบายต่อว่า แม้ปีนี้จะเป็นปีที่ 2 ที่ท�ำธุรกิจ อย่างจริงจัง แต่ทุก ๆ ปีที่ผ่านมาได้เรียนรู้ บทเรียนใหม่ ๆ เยอะ ดังนัน้ แผนการตลาดของ เราจึงไม่ได้มุ่งเติบโตก้าวกระโดด แต่เราจะ ค่อย ๆ เติบโต อย่างมีเป้าหมาย เช่น ปีนี้เรา จะส่งออกเฉพาะในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และอาจมี ต ะวั น ออกกลางบ้ า ง เนื่ อ งจาก ตลาดไม่ค่อยหวือหวา ส่วนใหญ่เกิดจากการ เคยทานอร่อย แล้วสั่งเข้ามา เอาไปขาย ขาย ดีก็สั่งเพิ่ม นอกจากวัฒนธรรมในการทาน มะพร้าวของแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน บาง ประเทศนิยมอย่างมาก เช่น ประเทศจีน แต่ กับบางประเทศไม่รู้จักการทานมะพร้าวใน ลักษณะนีเ้ ลย ก็เป็นหน้าทีข่ องผูแ้ ทนจ�ำหน่าย ทีจ่ ะไปบุกเบิกตลาด แล้วน�ำข้อมูลมาบอกกับ เราว่า วัฒนธรรมการทานมะพร้าวของแต่ละ ประเทศเป็นอย่างไร เพื่อที่เราจะได้ปรับปรุง ผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับความต้องการมากยิง่ ขึน้ ส� ำ หรั บ ประเทศไทย เนื่ อ งจาก มะพร้าวหาทานได้ไม่ยากนัก อีกทัง้ ผลิตภัณฑ์ มุ ่ ง เพื่ อ การส่ ง ออกเป็ น หลั ก ท� ำ ให้ มี ว าง จ�ำหน่ายในประเทศเฉพาะในสยามพารากอน ท็อปซูเปอร์มาร์เก็ต และโรงแรมเซนทารา แกรนด์เท่านั้น อย่างไรก็ดี ปัญหาอุปสรรคที่ยังต้อง ปรับแก้กันต่อไป คือ เรื่องคุณภาพ เนื่องจาก มะพร้าวมีความเป็นเอกลักษณ์ (unique) มาก มีอายุในการเก็บรักษา (shelf-life) เป็น ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ การดูแลรักษาดู เหมือนจะง่ายแต่ยาก เพราะกะลาด้านนอก

ขึน้ ราได้งา่ ย จ�ำเป็นต้องเก็บในทีเ่ ย็น ส่วนเรือ่ ง การตลาดที่ยังมองไม่ขาดว่า Position ที่ ชัดเจนควรจะอยู่ตรงไหน เช่น วางตลาดบน ขายจ� ำ นวนน้ อ ย หรื อ วางตลาดล่ า ง ขาย จ�ำนวนมาก หรือหากวางบน Shelf ควรอยู่ใน กลุ่มผลไม้ หรือเครื่องดื่ม ซึ่งแต่ละที่จะมอง ต่างกัน เราไม่สามารถจะเอาโมเดลเดียวกันนี้ จากที่หนึ่ง ไปใช้กับอีกที่หนึ่งได้ นอกจากนี้ เรื่องวัตถุดิบที่มีขาดแคลนในบางช่วงเวลา และเพื่อแก้ปัญหาระยะยาว และลดการน�ำ เข้ามะพร้าว อยากเห็นภาครัฐให้การสนับสนุน และช่วยเหลือแบบบูรณาการเพือ่ ให้เกษตรกร มีแรงจูงใจในการปลูกมะพร้าวมากขึ้น


&

Talk

“แม่เอย” ส่งต่อวัฒนธรรมผ่านขนมไทย กองบรรณาธิการ

มี

คนกล่าวกันว่า “กรุงเทพฯ เป็น เมืองที่ไม่เคยหลับใหล” เป็น เมืองที่อุดมไปด้วย อาหารการกิน และเป็นสวรรค์ของนักชิม รวมไปถึงในแต่ละภูมิภาคมีวัฒนธรรม การกิ น ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะที่ ส ร้ า งความจดจ� ำ ในหมู ่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ และเพื่อเป็นการเผยแพร่เอกลักษณ์อาหารไทยออกสู่นานาประเทศ ก่อให้เกิดธุรกิจส่งออกอาหารไทยสร้างรายได้ ให้กับประเทศ

อย่าง

ไรก็ตาม ธุรกิจส่งออกอาหารยังเกาะกลุม่ อยูเ่ ฉพาะอาหาร ประเภทแปรรูป และแช่เยือกแข็ง ขณะเดียวกันอาหารไทย กับขนมไทยยังมีส่งออกในปริมาณน้อย เนื่องจากยังมีข้อจ�ำกัดในเรื่องอายุ ในการเก็บรักษา (shelf-life) ที่สั้น “ขนมแม่เอย” โดยบริษัท ขนมแม่เอย เปี๊ยะ แอนด์ พาย (2003) จ�ำกัด พัฒนาอีกขั้น โดยเป็นเอสเอ็มอีที่มีไอเดียดี ๆ ต่อยอดขนมไทยเพื่อ การส่งออก ใครจะเชือ่ ว่า “ข้าวต้มมัด” วันนี้ สามารถท�ำให้มอี ายุการเก็บอายุ ได้ยาวนานถึง 1 ปี นั่นแสดงให้เห็นว่า ไม่ว่าคุณจะอยู่ซีกโลกไหนก็สามารถ ทานข้าวต้มมัดจากประเทศไทยได้แล้ว ▲

คุณดิศรณ์ มาริษชัย

กรรมการผู้จัดการ บริษัท ขนมแม่เอย เปี๊ยะ แอนด์ พาย (2003) จ�ำกัด

April-May 2015, Vol.42 No.240

25 <<<


Talk

&

ไอเดียต่ออายุให้ขนมไทยนี้ เป็นของ คุ ณ ดิ ศ รณ์ มาริ ษ ชั ย กรรมการผู ้ จั ด การ บริษัท ขนมแม่เอย เปี๊ยะ แอนด์ พาย (2003) จ�ำกัด ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายขนมไทย ภายใต้ แบรนด์ “แม่เอย” “ผมไม่ได้ขายขนมไทย แต่ผมขาย วัฒนธรรมผ่านขนมไทย” คุณดิศรณ์ ให้นยิ าม ถึงตัวตนที่แท้จริงของขนมแม่เอย ที่นอกจาก จะสะท้อนวิถีชีวิตของคนไทยผ่านภาพพิมพ์ บนแพกเกจจิ้งแล้ว แนวทางการด�ำเนินธุรกิจ ของขนมแม่เอย ยังคงยึดมั่นในแนวทางนี้มา โดยตลอดนับตั้งแต่ก่อตั้งบริษัทมา “เดิมผมเคยเป็นช่างภาพ เคยท�ำงาน ด้านโฆษณาและประชาสัมพันธ์ สนับสนุน นโยบาย Amazing Thailand นอกจากนี้ยัง ผ่านการท�ำงานมาหลายงาน จนกระทั่งปี พ.ศ.2538-2540 บริษทั ของผมก็เจอวิกฤตร้าย แรงเช่นเดียวกันคนอื่น ๆ คนอื่นล้ม เราก็ล้ม และกลายเป็นบุคคลล้มละลาย ขอความช่วย เหลือจากใครไม่ได้ หลังจากล้มแล้ว เราก็ พยายามลุ ก ขึ้ น ใหม่ แ ละท� ำ งานกั บ แบบที่ ปากกัดตีนถีบ เรียกได้วา่ เริม่ ต้นใหม่จากศูนย์ และทุนอีก 7 บาทจริง ๆ” คุณดิศรณ์ เล่าถึง

>>>26

April-May 2015, Vol.42 No.240

อดีตที่เจ็บปวด พร้อมขยายความถึง เงิน 7 บาทสุดท้ายที่เหลืออยู่ในมือว่า “จริง ๆ เงิน 7 บาทสุดท้ายก็ไม่ได้ชว่ ย อะไร เพราะเพียงค่ารถมล์ปรับอากาศในสมัย นั้ น ก็ ยั ง ไม่ พ อจ่ า ยเลย แต่ อ าศั ย ว่ า เรามี ครอบครัว ที่ยังคงเป็นที่พึ่งของเรา ในช่วงที่ สิน้ หวังและยังไม่รจู้ ะเดินต่อไปทางไหนดี เดิน ไป คิดไป เจอร้านหนังสือก็แวะลองหาอ่าน หนังสือดู เผื่อจะเกิดไอเดียอะไรขึ้นมาบ้าง” หนังสือ คือ บ่อเกิดของปัญญา ภาย หลังจากคุณดิศรณ์ได้อา่ นหนังสือ เขาก็พบว่า มีอาชีพมากมายเกิดขึ้นในหนังสือ ขึ้นอยู่กับ ว่า คุณจะไขว้คว้าโอกาสนั้นมาเป็นของคุณ หรือไม่ “ท�ำไมต้องเป็นขนมเปี๊ยะ หลาย คนถามผม ผมขอออกตั ว เลยว่ า ผมไม่ใช่คนเก่งเรื่องท�ำขนม และ ไม่ ไ ด้ มี สู ต รขนมบรรพบุ รุ ษ แต่อย่างใด แต่ทผี่ มเลือกท�ำ ขนมเปี๊ยะเพียงเพราะว่า วิธีท�ำง่าย ต้นทุนน้อย เท่ า นั้ น เอง คื อ เรา เห็นวิธที ำ� ในหนังสือ ก็ เลยอยากจะลองท�ำดู ซึง่ ก็บังเอิญในสมัยที่เป็นเด็ก

เคยช่วยพีส่ าวท�ำขนมไทยขาย ส่งตัวเองเรียน อยูพ่ กั ใหญ่ ก่อนทีจ่ ะได้เรียนต่อทีฝ่ รัง่ เศส จบ มาก็หาอาชีพอื่นท�ำ เราแค่เพียงรื้อฟื้นอาชีพ เดิมของเรากลับคืนมาเท่านั้น ส่วนตัวผมมองว่า คนเราถ้าจะสร้าง อาชีพ จะต้องมีชอ่ งทาง โอกาสในการขาย ใน สมัยนั้นขนมไทยเป็นอะไรที่พิเศษมาก และ ขนมไทยก็ไม่ตอ้ งมีอปุ กรณ์อะไรมาก และท�ำ ไม่ยาก เมื่อเกิดวิกฤตผมก็มองว่า ขนมเปี๊ยะ คือ โอกาส แต่สมัยนัน้ คนนิยมเรียนท�ำเบเกอรี่ กัน เราไม่มีเงินก็ต้องหาอะไรที่ง่าย ๆ ท�ำ จากการที่ เ ราเคยใช้ ชี วิ ต ในต่ า งประเทศ ท�ำให้รู้ว่าอะไร คือ กลุ่มเป้าหมาย (target) และอะไรคือ ความต้องการที่แท้จริง ของลูกค้า ผมก็เริ่มจากการท�ำขนมเปี๊ยะจาก สิ่งที่ลูกค้านิยม คือ ขนมเปี๊ยะไส้ถั่วไข่ขาย หน้าบ้าน เริ่มต้นจาก 100 ลูกก่อน เพื่อหาทุน และค่อย ๆ เพิ่มจ�ำนวนขึ้นเรื่อย ๆ ลูกค้า ต้องการกล่องก็หากล่องใส่ให้ และดีไซน์ กล่องลายไทยขึ้นมากล่องแรก หลังจากนั้นก็ เริม่ ท�ำตลาดเชิงรุก โดยเริม่ ในศูนย์อาหารย่าน คนท�ำงาน และคิดที่จะสร้างแบรนด์ของตัว เองขึ้นมา ขณะเดียวกันก็อยากจะขยับเข้าสู่ ห้างโมเดิร์นเทรด แต่ด้วยต้องจ่ายค่า GP (gross profit) สูง ท�ำให้สู้ไม่ไหว ขายได้เท่า


&

ไหร่ เหลือส่วนต่างนิดเดียว จึงเลิกไป” แม้ขนมแม่เอยจะเริม่ ต้นจากศูนย์ แต่ จากการคิดทีไ่ ม่หยุดนิง่ ของผูบ้ ริหาร ส่งผลให้ แม่เอย มีโรงงานท�ำขนมเป็นของตัวเอง และ แม้จะเป็นโรงงานไม่ใหญ่นัก แต่ที่นี่ให้ความ ส�ำคัญกับงาน R&D เพราะคือหัวใจของธุรกิจ “ในยุคเริ่มต้น เราก็ให้ความสนใจ เรื่องงานวิจัยและพัฒนาแล้ว เนื่องจากว่า มี คนสนใจน� ำ สิ น ค้ า ของเราไปส่ ง ออก แต่ เนื่องจากอายุการเก็บรักษาขนมเปี๊ยะนั้นสั้น ท�ำให้ส่งออกล�ำบาก ก็ต้องมีการปรับสูตร ปรับแพ็คเกจจิ้งให้ตอบสนองความต้องการ ของตลาด จนเป็นทีม่ าว่า เรามีโรงงานท�ำขนม ที่ไม่ใหญ่ แต่เรามุ่งท�ำ R&D เรามีพนักงาน ที่ท�ำ R&D โดยเฉพาะ เราตั้งโจทย์กับตัวเอง ว่ามีอะไรที่เราต้องพัฒนาอีกบ้าง เราก็ไปขอ ความช่วงเหลือจากกระทรวงอุตสาหกรรม ใน สมัยนั้น ภาครัฐเองก็ยังไม่รู้ว่าจะให้การช่วย เหลือกับเอกชนอย่างไรดี โชคดีที่มีสถาบัน อาหาร เข้ามาช่วยในการพัฒนาสูตรขนม ใหม่ ๆ ขึ้นมา” นอกจากการพัฒนาสูตรขนมใหม่ ๆ แล้ว สิ่งหนึ่งที่ต้องท�ำควบคู่กันไปคือ การ ค้นหาความต้องการทีแ่ ท้จริงของผูบ้ ริโภค ซึง่ จากการสัมผัสกับลูกค้า ท�ำให้จับเคล็ดได้ว่า

คนมีความแตกต่าง หลากหลาย และมีความ ฉาบฉวยมากขึ้น คือ เห็นอะไรก็อยากซื้อมา ลองทาน ทานและชอบก็ซื้อต่อ ไม่ชอบก็เลิก ซื้อ ดังนั้นสิ่งที่คนต้องการ คือ ความแปลก ใหม่ และความเป็นวาไรตี้ ในยุคนั้นแม่เอยมีขนมเปี๊ยะออกมา หลายไส้มาก ทั้งที่เป็นสูตรดั้งเดิมและสูตร ใหม่ที่ได้รับความนิยมมาก มีไส้ชาเขียว ใบ เตย งาด�ำ รวมทัง้ ไส้ทผี่ ลิตเพือ่ การส่งออกก็มี ไส้เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ไส้เมล็ดทานตะวัน เป็นต้น ปัจจุบันแม่เอยไม่ได้มีแค่ขนมเปี๊ยะ กับขนมพาย แต่ยังได้มีพัฒนาสูตรการท�ำ ขนมหวานไทยอื่น ๆ เพื่อการส่งออกอีกด้วย “จะว่าไปแล้ว ขนมไทยก็คือวัฒนธรรมอย่างหนึง่ ของเรา ผมอยากให้สอื่ มวลชน ช่วยส่งเสริมว่า นี่คือวัฒนธรรมขนมของไทย ที่ต่างชาติชอบมาก แต่กับคนไทยเราไม่ค่อย จะเหลียวแล คอยแต่ละกินขนมเค้ก ขนม ญีป่ นุ่ ดังนัน้ เราจึงอยากจะใช้ขนมไทยเป็นสือ่ ในการส่งเสริมวัฒนธรรมให้ตา่ งชาติ และคน ไทยได้รู้จัก ว่านี่คือ อัตลักษณ์ คือ ตัวตนของ คนไทย เช่นเดียวกับทีเ่ ขารูจ้ กั อาหารไทย หรือ มวยไทย ผมจึงมีแนวคิดที่จะท�ำให้กล้วย บวชชี ข้าวต้มมัด ข้าวเหนียวทุเรียน และขนม หวานไทยอีกมากมาย ที่สามารถเก็บไว้ได้

Talk

เป็นปี ขณะที่รสชาติไม่เปลี่ยน” ขนมหวานไทย ทานสดจึงจะอร่อย วันนี้คุณดิศรณ์ก�ำลังเปลี่ยนมุมมองแนวคิด นั้นเสียใหม่ ขนมหวานไทยต่อให้เก็บไว้นาน เป็นปีก็สามารถอร่อยได้เช่นกัน “โปรเจกต์นี้ผมเริ่มจากการคุยกันกับ สถาบันอาหาร เราท�ำขนมหวานไทยที่เก็บไว้ นานสุดเพียงแค่สามเดือน ก็เริม่ มีกลิน่ หืนแล้ว จากการค้ น หาสาเหตุ ก็ พ บว่ า เกิ ด จาก แพ็คเกจจิ้งไม่ดีพอ คือ มันสามารถป้องกัน การเน่าเสียได้ แต่ป้องกันรสชาติไม่ได้ เมื่อ แพ็คเกจจิ้งไม่ดี เราแก้ปัญหาด้วยการน�ำเข้า แพ็คเกจจิง้ จากต่างประเทศ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ในการป้องกันทัง้ ในเรือ่ งการรัว่ ซึม การป้องกัน อากาศที่จะเข้าไปท�ำปฏิกิริยากับอาหารได้ ดีกว่า ไม่เพียงเท่านั้นจะต้องท�ำควบคู่กับ กรรมวิธีอื่น ซึ่งเป็นสูตรเฉพาะของเราที่ไม่ สามารถเปิดเผยได้ อย่างไรก็ตาม ต้องเข้าใจเรื่องของ วัตถุดิบ ไม่ว่าจะเป็นกะทิว่ามีคุณลักษณะ อย่างไร ธัญพืชแต่ละชนิดไม่ว่าจะเป็นเผือก มัน ถัว่ แดง ถัว่ เขียว กล้วย จะมีความแตกต่าง กัน บางชนิดมียาง บางชนิดไม่มยี าง บางชนิด ขั้ น ตอนการผลิ ต จะต้ อ งเป็ น อี ก แบบหนึ่ ง ฉะนั้นขนมหวานแต่ละชนิดก็มีสูตรการผลิต ที่แตกต่างกัน

April-May 2015, Vol.42 No.240

27 <<<


Talk

&

จากการเรียนรู้ แก้ไข และพัฒนามา เรื่อย ๆ จนเป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์ส่งออก เช่น ข้าวต้มมัด สามารถเก็บไว้ได้ 1 ปี โดยไม่ต้อง แช่ตู้เย็น ขณะที่รูปลักษณ์ภายนอกก็ยังคง เอกลักษณ์ของขนมไทยเช่นเดิม นอกจากนี้ ข นมหวานอื่ น ๆ ยั ง สามารถฉีกซองแล้วทาน หรือจะอุ่นก่อนทาน ก็จะได้กลิ่นหอมของกะทิด้วย จุดส�ำคัญของ การถนอมอาหารในรูปแบบนี้ นอกจากจะยืด อายุการเก็บรักษา (shelf-life) แล้ว รสชาติ และกลิน่ ของอาหารยังคงใกล้เคียงกับอาหาร ทีป่ รุงสดใหม่ รวมถึงรูปร่างของอาหารยังต้อง คงรูปสวยเหมือนเดิม สิ่งเหล่านี้คือนวัตกรรม ทางความคิดทีผ่ มคิดว่าเอสเอ็มอีอย่างเราควร ต้องมี เพื่อสร้างความต่างให้กับผลิตภัณฑ์ ของเรา” ส�ำหรับช่องทางการตลาด คุณดิศรณ์ เปิดเผยว่า ปัจจุบันขนมแม่เอยมีจ�ำหน่ายทั้ง ขนมเปี๊ยะ ขนมพาย และขนมหวาน ซึ่งจะ เจาะกลุ่มโรงแรม ร้านอาหาร ภัตตาคาร และ รีสอร์ท ที่มีเมนูขนมหวานให้บริการกับลูกค้า เรามองว่าตลาดนี้ยังมีโอกาสเติบโตได้ค่อน ข้างสูง ผลิตภัณฑ์ของเราจะช่วยลดภาระใน การท�ำขนมหวาน ซึง่ ปกติคอ่ นข้างต้องใช้เวลา >>>28

April-May 2015, Vol.42 No.240

ให้สามารถฉีกซอง และอุ่นได้เลย ส่วนตลาด ต่างประเทศเราไม่ได้เปิดตลาดด้วยตัวเอง แต่ เราขายผ่านตัวแทนจ�ำหน่าย ใครสนใจก็มา รับไปจ�ำหน่ายต่อ ซึ่งแต่ละประเทศก็จะชอบ ขนมหวานที่ไม่เหมือนกัน อาทิ ประเทศจีน ชอบข้าวเหนียวทุเรียน เวียดนาม ชอบข้าว เหนียวมะม่วง ขนมบางอย่างต้องบอกว่า สามารถหาทานได้เฉพาะฤดูกาลเท่านั้น แต่ พอเราท�ำให้มนั สามารถเก็บได้เป็นปี ผูบ้ ริโภค สามารถทีจ่ ะหาทานได้ตลอดทัง้ ปีเช่นกัน รวม ถึงขนมหวานจากธัญพืชต่าง ๆ ก็หาทานได้ สะดวกมากขึ้น นอกจากผลิตภัณฑ์ประเภทขนมแล้ว แม่ เ อยยั ง มี แ ผนที่ จ ะออกผลิ ต อาหารจาน เดียวในรูปของซองเพาซ์ รวมทัง้ ยังเป็นผูผ้ ลิต และจ�ำหน่ายไส้ขนมส่งให้กบั โรงงานทีร่ บั ช่วง ไปผลิตต่อ รวมถึงแม่บ้านที่ต้องการความ สะดวกสบาย ฉะนัน้ วันนีแ้ ม่เอยเริม่ ผันตัวเอง เข้าสูธ่ รุ กิจบริการ (service) ขายความสะดวก ภายใต้กระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน และ ค�ำนึงถึงคุณภาพเป็นหลัก แม่เอย ยุคนี้ก�ำลังก้าวสู่ยุคแห่งการ เติบโต การพัฒนาด้านผลิตภัณฑ์มีทิศทางที่ ชัดเจน ขณะที่ช่องทางการขายในประเทศยัง

คงเป็นปัญหาอยู่ โดยเฉพาะการขายผ่ายช่อง ทางโมเดิร์นเทรด ซึ่งปัจจุบันผู้ผลิตทุกราย ย่ อ มทราบดี ถึ ง ปั ญ หาและข้ อ จ� ำ กั ด โดย เฉพาะการเรียกเก็บค่า GP (gross profit) ที่ ค่อนข้างสูง ส่งผลให้เอสเอ็มอีขาดโอกาส ทางการขาย ในเรื่องนี้ แม่เอยแก้ปัญหาด้วย การสร้างร้านค้าของตนเองขึ้นมา เพื่อเป็นจุด จ�ำหน่ายสินค้าของแม่เอย และสินค้าพืน้ เมือง ของชาวบ้าน รวมทัง้ ยังจัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ที่ ทุ ก คนสามารถแวะเรี ย นรู ้ ไ ด้ ที่ อ.เมื อ ง จ.นครปฐม ขณะเดียวกัน เรื่องการเก็บค่า GP ทางคุณดิศรณ์ กล่าวว่า อยากเรียกร้องให้ ภาครั ฐ หั น มาให้ ค วามสนใจ ควรก� ำ หนด เพดานค่า GP ให้มีมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งจะ ไม่แค่ชว่ ยให้ผปู้ ระกอบการสามารถแข่งขันได้ เท่านัน้ ผูบ้ ริโภคเองก็ไม่ตอ้ งแบกรับค่าใช้จา่ ย ในส่วนนี้ ที่เป็นค่าใช้จ่ายแฝงในราคาสินค้า อีกด้วย นอกจากนี้ ขีดความสามารถทางการ แข่งขันของผู้ประกอบการ ยังขึ้นอยู่กับเรื่อง เครื่ อ งจั ก ร และเทคโนโลยี ก ารผลิ ต ด้ ว ย ปัจจุบันผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาด ใหญ่ ได้รับการสนับสนุนจาก BOI ในการน�ำ เข้าเครือ่ งจักรดอกเบีย้ ต�ำ่ หรือปลอดดอกเบีย้ ขณะที่ เ อสเอ็ ม อี จ ะซื้ อ เครื่ อ งกวนไส้ ข นม สักเครื่อง ต้องจ่ายค่าเครื่องบวกภาษีที่สูงลิ่ว ดั ง นั้ น จึ ง อยากให้ ภ าครั ฐ หรื อ หน่ ว ยงานที่ เกี่ ย วข้ อ ง สนั บ สนุ น คนไทย โดยเฉพาะ นั ก ศึ ก ษา และอาจารย์ ม หาวิ ท ยาลั ย ใน การพัฒนาเครื่องจักร เมื่อพัฒนาส�ำเร็จแล้ว อยากให้มีกระบวนการที่จะท�ำให้ผู้พัฒนา เครื่องจักรได้รับประโยชน์จากผลงานที่เขา คิดค้นขึ้น ขณะเดียวกันภาคเอกชนที่สนใจก็ สามารถใช้ประโยชน์จากเครื่องจักรที่พัฒนา ขึ้นภายในประเทศ ซึ่งเป็นอีกแนวทางที่จะ ท�ำให้เราอยูไ่ ด้อย่างเข้มแข็งขึน้ และพึง่ ตนเอง มากขึ้น


&

Talk

เปิดไอเดีย

“คนท�ำขนม” ทีเ่ ป็นมากกว่าของกินเล่น

กองบรรณาธิการ

ใน

แง่ของอาหารการกินที่เป็น เอกลักษณ์ นอกจากอาหารไทยแล้ว ผลไม้ก็เป็นหนึ่งสินค้าเกษตรที่สร้างชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก การส่งออกผลไม้ไทยเน้นการส่งออกแบบสด ซึ่งโอกาสเน่าเสียมีมาก หากการเก็บรักษา หรือระบบการล�ำเลียงขนถ่ายไม่ได้ มาตรฐาน อีกทั้งผลไม้ไทยบางชนิดหาทานได้เฉพาะในฤดูกาลเท่านั้น

จาก

ข้อจ�ำกัดน�ำมาสู่การมองหาวิธีที่จะท�ำอย่างไรให้ผลไม้ไทยสามารถ หาทานได้ตลอดทั้งปี และในรูปลักษณ์ที่แปลกใหม่ไปจาก เดิม จนน�ำมาสูก่ ารท�ำ “Snack” ขนมขบเคีย้ วทีด่ ธู รรมดา แต่ไม่ธรรมดา เพราะเป็นการแปรรูปผลไม้ให้กลายเป็นขนมเพื่อสุขภาพ (healthy snack) ด้วยเทคโนโลยีการผลิตที่เรียกว่า Vacuum Freeze-dried คุณณัฐวุฒิ เผ่าปรีชา อดีตที่ปรึกษาทางการเงินและลงทุนที่ ผันตัวเองมาเป็นผู้ประกอบการเอสเอ็มอี และ คุณสิทธิศักดิ์ พิพัฒนติกานันท์ สองเพื่อนซี้ ที่ลงขันกันก่อตั้งบริษัท โจ-ลี่ แฟมิลี่ จ�ำกัด เพื่อ ผลิ ต และจั ด จ� ำ หน่ า ยขนมเพื่ อ สุ ข ภาพ ภายใต้ แ บรนด์ Wel•B “เดิมทีผมท�ำงานเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน และการลงทุนให้กับหน่วยงานของรัฐ จับพลัดจับ 1. คุณณัฐวุฒิ เผ่าปรีชา 2. คุณสิทธิศักดิ์ พิพัฒนติกานันท์

2

1 April-May 2015, Vol.42 No.240

29 <<<


Talk

&

ผลู ได้รู้จักและช่วยผู้ประกอบการอาหาร รายหนึ่งท�ำเรื่องการตลาดให้ กระทั่งมีฐาน ลูกค้าจ�ำนวนหนึ่ง ขณะเดียวกันผู้ประกอบ การอาหารรายนั้น เขาเองก็เริ่มมีความเข้ม แข็งขึ้น ขายดีมากขึ้น และเริ่มเป็นที่รู้จักมาก ขึน้ เขาจึงอยากท�ำการตลาดเอง ขณะทีเ่ ราเอง เมื่อผันตัวเองเข้าสู่อุตสาหกรรมอาหารแล้ว ก็เริ่มมองเห็นโอกาสหลายอย่างจากอุตสาหกรรมนี้ เราก็เริม่ สร้างโรงงานผลิต และค่อย ๆ สร้างธุรกิจใหม่ของเราเองขึน้ มา เมือ่ ประมาณ 4 ปีที่ผ่านมา” Wel•B คือ ตราสินค้าของ บริษัท โจลี่ แฟมิลี่ จ�ำกัด ที่สองเพื่อนซี้ คือ คุณณัฐวุฒิ และคุณสิทธิศกั ดิ์ ได้วางจุดยืนทางการตลาด ให้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องเขาว่ า เป็ น ขนมเพื่ อ

>>>30

April-May 2015, Vol.42 No.240

สุขภาพ (healthy snack) โดยเขาเริ่มต้นจาก การผลิ ต ขนมจากผลไม้ ไ ทย ส่ ง ขายต่ า ง ประเทศ และผลิตขนมจากผลไม้น�ำเข้า เพื่อ ขายในเมืองไทย “จากการศึกษาตลาดของเราพบว่า ธุรกิจแปรรูปผลไม้มีคนท�ำเยอะมาก เช่น อบ กวน หรือทอดกรอบเพือ่ ส่งออก ส่วนใหญ่เป็น ผลไม้ที่หาทานได้ในบางฤดูกาล เช่น ทุเรียน มะม่วง มังคุด ส�ำหรับเรา เราอยากท�ำสิ่งที่ แตกต่างออกไป เราไม่ได้มองแค่เรื่องธุรกิจ หรือของทีผ่ ลิตจะขายได้หรือไม่ แต่เรามองใน ภาพการแข่งขันของประเทศ อะไรที่คนอื่น เลียนแบบไม่ได้ คือ สินค้าเกษตร หากเป็น ขนมที่ผลิตจากแป้ง น�้ำตาลทั่วไป โอกาสถูก ลอกเลียนแบบมีสูง และเราก็มองว่า ขนม

ประเภทนี้มันคือ ขนมที่ไม่มีประโยชน์ (junk food) หากผลิตจากสินค้าเกษตรไทย โอกาส ถู ก ลอกเลี ย นแบบยาก นอกจากนี้ เ รายั ง สามารถท�ำขนมทีม่ ปี ระโยชน์ออกมาขาย และ ยังช่วยเกษตรกรไทยได้ด้วย” อย่างไรก็ตาม การจะแปรรูปด้วย กระบวนการผลิตแบบเดิม ๆ ในฐานะที่เป็น ผูผ้ ลิตหน้าใหม่ โอกาสแข่งขันทางด้านต้นทุน และราคาเป็นไปได้ยาก ผู้บริหารหนุ่มทั้งสอง จึงคิดหาวิธที จี่ ะเอาชนะต้นทุน ด้วยการหนีไป หาเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูง “เดิมทีก็มองว่า คนจีนชอบทุเรียน มาก เราจะน�ำทุเรียนมาอบ หรือแช่แข็งดี เรา ก็มองว่า หากท�ำอย่างนั้นเราคงสู้กับคนที่อยู่ ในแหล่งวัตถุดิบไม่ได้ เพราะเขามีต้นทุน ขนส่งที่ถูกกว่า เราก็เลยหาวิธีที่จะเอาชนะ ต้นทุนขนส่งทีแ่ พง ก็ไปเจอเทคโนโลยี Freezedried (Vacuum Freeze-dried Technology) หรือที่เรียกว่า ระบบการท�ำแห้งเยือกแข็ง สุญญากาศ เดิมเป็นเทคโนโลยีที่นิยมใช้ใน อุตสาหกรรมผลิตยาและเครื่องส�ำอาง และ เป็ น วิ ธี ก ารเดี ย วกั น กั บ การเตรี ย มเสบี ย ง อาหารส�ำหรับนักบินอวกาศ ขององค์การ นาซา เพราะกระบวนการถนอมอาหารนี้ จะ สามารถคงคุณค่า และรสชาติอาหารได้อย่าง ครบถ้วน” คุณณัฐวุฒิ กล่าว พร้อมอธิบาย กระบวนการผลิตแบบคร่าว ๆ ให้ฟังว่า “กระบวนการถนอมอาหารแบบ Freeze-dried อธิบายหลักการท�ำงานง่าย


& มาก แต่เทคโนโลยีแพงมากและใช้เวลานาน กระบวนการเริ่มต้นจากน�ำเอาผลไม้ที่จะน�ำ มาท�ำขนม โดยผลไม้ที่จะน�ำมาท�ำต้องเลือก พันธุ์ที่เหมาะสม ในความหวานที่เหมาะสม หั่นเป็นชิ้นในขนาดที่เหมาะสม เสร็จแล้วน�ำ ไปแช่แข็งที่อุณหภูมิ -40 องศาเซลเซียส เพื่อ ท�ำให้น�้ำในเนื้อผลไม้กลายเป็นเกล็ดน�้ำแข็ง เสร็จแล้วก็น�ำเข้าเครื่องที่มีความดันต�่ำมากๆ ความลั บ ของเทคโนโลยี นี้ มี อ ยู ่ ว ่ า ยิง่ ความดันต�ำ่ เท่าไหร่ จุดเดือดของน�ำ้ ก็ตำ�่ ลง เท่านัน้ อธิบายได้งา่ ย ๆ คือ เราต้มน�ำ้ ทีพ่ นื้ ดิน ปกติ น�ำ้ จะเดือดทีอ่ ณ ุ หภูมิ 100 องศาเซลเซียส หากต้มน�ำ้ บนภูเขาสูง น�ำ้ จะเดือดที่ 80 องศาเซลเซียส เนือ่ งจากความดันบรรยากาศต�ำ่ ลง ส�ำหรับความดันภายในเครื่องถือว่าต�่ำมาก ท�ำให้น�้ำสามารถเดือดได้ด้วยอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะท�ำให้ผลไม้ทอี่ ยูภ่ ายในแห้ง กรอบ ขณะที่วิตามิน และสารอาหารต่าง ๆ ยังอยู่ครบ อย่างไรก็ตาม แม้กระบวนการจะ ดูเหมือนง่าย แต่ค่อนข้างมีความละเอียดอยู่ มาก โดยเฉพาะช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมในการให้ ความร้อน ควรเป็นเท่าไหร่อย่างไร ซึ่งผลไม้ แต่ละชนิดมีวธิ หี รือสูตรในการให้ความร้อนที่ แตกต่างกัน” หลายคนอาจมองว่า การที่เอสเอ็มอี จะเข้าถึงเทคโนโลยีการผลิตขัน้ สูงได้นนั้ ไม่ใช่

Talk

เรื่องง่าย แต่ส�ำหรับคุณณัฐวุฒิแล้ว เขาเห็น ต่าง เพราะการเริ่มต้นธุรกิจอาจไม่ต้องการ การลงทุนสูงมาก หากเรารูจ้ กั มองหา “ผูช้ ว่ ย” ในการเริ่มต้นธุรกิจ “ผมโชคดีที่เคยท�ำงานเป็นที่ปรึกษา ให้กับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท� ำ ให้ เ ราทราบว่ า ที่ นี่ มี ง านวิ จั ย เยอะแยะ มากมาย และรวมถึงเครื่องจักรที่ทันสมัย ที่เอกชนสามารถไปเช่าใช้ได้ ในช่วงแรกที่ เราก�ำลังพัฒนาผลิตภัณฑ์ เราก็ไปเช่าใช้ เครื่องจักรที่สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) จนกระทั่ง พัฒนาแล้วเสร็จ น�ำไปเสนอลูกค้า ลูกค้า สนใจ มีออเดอร์เข้ามามากพอสมควร ค่อย ลงทุนเรื่องเครื่องจักร ปัจจุบันเราลงทุนเรื่อง เครื่องจักรและอุปกรณ์ต่อเติมอื่น ๆ ไปแล้ว กว่า 100 ล้านบาท มีก�ำลังการผลิตประมาณ 400 ตันต่อปี ใช้วัตถุดิบประมาณ 2,000 ตัน ต่อปี และในปี พ.ศ.2558 เรามีแผนที่จะเพิ่ม ก�ำลังการผลิต ขึน้ อีกประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์” ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ผลไม้อบกรอบมี ทั้งผลไม้ไทยอบกรอบเพื่อส่งออก และผลไม้ น� ำ เข้ า อบกรอบ เพื่ อ ขายภายในประเทศ นอกจากนี้ ยั ง เพิ่ ม มู ล ค่ า ด้ ว ยการท� ำ ผลไม้ กรอบเคลือบช็อกโกแลต ปัจจุบันผลิตผลไม้ อบกรอบแล้วกว่า 20 ชนิด บรรจุในแพ็คเกจจิง้ ประมาณ 40 ผลิตภัณฑ์ มีวางจ�ำหน่ายใน ซูเปอร์มาร์เก็ต ได้แก่ ท็อป เดอะมอลล์ และ ร้านสะดวกซือ้ อย่าง 7-Eleven และ Lawson April-May 2015, Vol.42 No.240

31 <<<


Talk

&

108 และยังมีส่งออกต่างประเทศไปแล้วกว่า 20 ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฮ่องกง สิงคโปร์ ฯลฯ ในนามสินค้าแบรนด์ไทย เกรด พรีเมี่ยม “เราตั้ ง เป้ า หมายไว้ ว ่ า อยากเป็ น แบรนด์ไทยในระดับเอเชีย ดังนั้นการออกสู่ ตลาดต่างประเทศ เราพยายามจะออกในนาม ตราสินค้าของเราเป็นหลักก่อน เราจึงได้ดไี ซน์ แพ็คเกจให้ดูทันสมัย มีฉลากทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ในโรงงานผลิต เราได้รับการรับรองมาตรฐาน เช่น GMP, HACCP, BRC และ Halal ส่วนในตลาดประเทศไทย หากใครที่ ก�ำลังมองหาขนมเพื่อสุขภาพอยากให้นึกถึง เรา เราเริม่ ต้นออกสูต่ ลาดโดยเจาะกลุม่ วัยรุน่ ภายใต้แบรนด์ Wel•B และค่อย ๆ ขยายฐาน เข้าสูล่ กู ค้ากลุม่ เด็กเล็ก ด้วยขนมเพือ่ สุขภาพ ส�ำหรับเด็กเล็ก Wel•B baby และอนาคตเรา มองไปถึงขนมเพื่อสุขภาพส�ำหรับผู้สูงอายุ ปัจจุบันเราก�ำลังพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มนี้อยู่ และคาดว่าประมาณต้นปีหน้าจะสามารถ ออกสู่ตลาดได้” บริษัท โจ-ลี่ แฟมิลี่ จ�ำกัด เป็นตัว อย่างเอสเอ็มอีทเี่ กิดขึน้ ภายใต้แนวคิดของคน รุ่นใหม่ ที่พยายามสร้างความแปลกใหม่ให้ กับผลิตภัณฑ์และบริการ บนพืน้ ฐานของการ ตีโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคให้แตก “วันนี้ผมมองว่า หมดยุคของถูกแล้ว ทัง้ ค่าแรงและวัตถุดบิ หากใครทีย่ งั ชืน่ ชอบกับ

>>>32

April-May 2015, Vol.42 No.240

ของราคาถูก และแข่งขันกันที่ราคา ไม่ใช่ ทิศทางที่ถูกต้อง เราต้องท�ำให้สินค้าให้มี มูลค่า ภาษาของนักการเงิน คือ Value for Money ในฐานะผู้ประกอบการท�ำอย่างไรให้ ลูกค้าซื้อของ 1 บาท และได้มูลค่ามากกว่า

เงิน 1 บาท เปรียบเทียบง่าย ๆ คือ ข้าวมันไก่ จานละร้ อ ยบาท รู ้ สึ ก ว่ า แพงมาก แต่ กั บ หูฉลามชามละพันกลับมองว่าถูก นั่นเป็น ความรู้สึกของคนที่พร้อมจะจ่ายให้กับสิ่งที่ เขามองว่ามันคุม้ ค่า ส�ำหรับเงินทีเ่ ขาต้องจ่าย ไป ดังนั้นในฐานะเคยเป็นที่ปรึกษาทางการ เงินทีผ่ นั ตัวเองมาเป็นผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอี ก็ได้นำ� หลักการดังกล่าวมาใช้ เพราะในฐานะ ผู้ผลิตแล้ว เราจึงจะผลิตของออกมาขายใน ราคาที่คุ้มค่ากับเงินที่ผู้บริโภคต้องจ่าย เรื่อง ของนวัตกรรมและการน�ำเทคโนโลยีเข้ามา ช่วยสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผลิตภัณฑ์ ก็ถอื เป็น อีกแนวทางหนึ่งที่น่าสนใจ อย่างไรก็ตาม อย่างที่กล่าวข้างต้น เอสเอ็มอีเองก็ยงั ต้องการความช่วยเหลือจาก ภาครัฐในการสร้างความเข้มแข็ง หลาย ๆ เอสเอ็มอี ยังต้องการความช่วยเหลือ แต่ไม่ ทราบว่ า จะขอความช่ ว ยเหลื อ จากที่ ไ หน อย่างไร และใครทีส่ ามารถช่วยเหลือเราได้ ผม อยากให้ภาครัฐเน้นการท�ำประชาสัมพันธ์ หน่วยงานออกไปให้ผู้ประกอบการทราบว่า เขาสามารถใช้บริการอะไรได้บา้ ง โดยท�ำเป็น Services Solution ที่ผู้ประกอบการสามารถ เข้าถึงได้ง่าย ฝั่งผู้ประกอบการเองควรศึกษา หาข้อมูลว่ามีทไี่ หนทีเ่ ราสามารถขอรับบริการ จากภาครัฐได้” คุณณัฐวุฒิ กล่าวทิ้งท้าย


&

Research

Valueโจทย์ทCreation ้าทาย สถาบันอาหาร กองบรรณาธิการ

ปี

นี้จะเป็นอีกปีทองของอุตสาหกรรมอาหารไทย เนื่องจากมีการคาดการณ์การส่งออกอาหารไทย ในปี พ.ศ.2558 นี้ว่า มีแนวโน้มที่จะขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 และคาดว่าจะมีมูลค่าสูงถึง 1,080,000 ล้านบาท* โดยมีปัจจัยบวกจากเศรษฐกิจโลกก�ำลังขยายตัว เงินบาทอ่อนค่า ราคาน�้ำมันลดลง ส่งผลดีต่อ ต้ น ทุ น การผลิ ต และขนส่ ง รวมทั้ ง มี แ รงหนุ น จากนโยบายกระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ของรั ฐ บาลที่ ส ่ ง ผลดี ต ่ อ อุตสาหกรรมอาหาร ไม่ว่าจะเป็นการสานต่อโครงการครัวไทยสู่ครัวโลก และการส่งเสริมอุตสาหกรรม อาหารฮาลาล อย่างไรก็ตาม อาจมีปัจจัยเสี่ยงที่จะกระทบต่อการส่งออกในปีนี้ ได้แก่ ราคาสินค้าเกษตรตกต�่ำ ท�ำให้รายได้จากการส่งออกสินค้าอาหารลดลง ภาวะเงินฝืดที่เกิดขึ้นทั่วโลก ท� ำให้ผู้บริโภคระมัดระวังใน การใช้จ่าย รวมถึงการที่ไทยถูกสหภาพยุโรปตัด GSP ทั้งประเทศทุกสินค้าตั้งแต่ปี พ.ศ.2558 เป็นต้นไป จะ กระทบต่อผู้ประกอบการส่งออกที่พึ่งพิงการส่งออกไปยังสหภาพยุโรป โดยกลุ่มสินค้าอาหารทะเลและกลุ่ม ผักผลไม้แปรรูปมีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบชัดเจนกว่าอาหารประเภทอื่น ๆ เนื่องจากเป็นสินค้าส่งออก หลักในตลาดสหภาพยุโรป ทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่ผู้ประกอบอุตสาหกรรมอาหารไทยต้องเผชิญและเตรียมพร้อม รับกับวิกฤตและโอกาสที่ก�ำลังผ่านเข้ามาในปีนี้

สถาบันอาหาร ในฐานะองค์กรเครือ ข่ า ยภายใต้ ก ระทรวงอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง มี ภารกิจโดยตรงในการส่งเสริมและพัฒนา อุตสาหกรรมอาหาร เปิดบ้านต้อนรับสื่อมวลชนเป็นครั้งแรกในรอบ 18 ปี พร้อมอวด โฉมด้วยรูปลักษณ์ที่ทันสมัย หลังปรับปรุง ใหม่ทั้งอาคารส�ำนักงาน อาคารจัดแสดง สินค้าและผลิตภัณฑ์ รวมทัง้ ศูนย์บริการห้อง ปฏิบตั กิ ารอุตสาหกรรมอาหาร (laboratory) เตรียมพร้อมรองรับภารกิจสร้างความเข้ม แข็งอย่างยั่งยืนและครบวงจรตลอดห่วงโซ่ อุตสาหกรรมอาหารของไทย

April-May 2015, Vol.42 No.240

33 <<<


&

Research

โชว์ผลงาน Renovate องค์กร

ที่ ผ ่ า นมาภาพลั ก ษณ์ ข องสถาบั น อาหารในสายตาผู้ประกอบการ คือ การเป็น หน่ ว ยงานของรั ฐ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารกั บ เอกชนที่ สนใจด้วยเครื่องมือและการบริการที่มีอยู่ อย่างจ�ำกัด แต่ปัจจุบันนี้สถาบันอาหารไป ปรับกลยุทธ์ใหม่โดยมุ่งเน้นไปที่การท�ำงาน เชิงรุกมากขึ้น มีการเพิ่มการบริการที่หลาก หลาย และครบวงจร ท�ำให้เอกชนสามารถ รับบริการได้อย่างสะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้น “มิติใหม่ของสถาบันอาหารในวันนี้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงศักยภาพที่เติบโต อย่างเข้มแข็งในการท�ำ Right Sizing องค์กร ตลอด 4 ปีทผี่ า่ นมา โดยเราได้มกี ารปรับปรุง พั ฒ นาให้ ส ถาบั น อาหารมี ภ าพลั ก ษณ์ ที่ เปลี่ยนไป ทั้งในแง่ของภูมิทัศน์ การบริหาร จัดการภายใน รวมถึงการให้บริการ ส่งผลดี ต่อการด�ำเนินงานทีส่ ามารถล้างบัญชีสะสม ทีต่ ดิ ลบมาในอดีตมาเป็นรายได้มากกว่าราย จ่ายในปัจจุบนั ได้อย่างมีคณ ุ ภาพ” คุณเพ็ชร ชินบุตร ผู้อ�ำนวยการสถาบันอาหาร กล่าว ถึงผลงานที่ผ่านมา พร้อมกับเปิดเผยถึงการ ด�ำเนินงานทีผ่ า่ นมาและแผนงานในอนาคต ปัจจุบนั สถาบันอาหารได้ดำ� เนินงาน มาจนขึ้นสู่ปีที่ 18 แล้ว โครงการส�ำคัญ ๆ ที่ ได้รับมอบหมายจากกระทรวงอุตสาหกรรม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ด�ำเนินการนั้น ประสบผลส�ำเร็จลุลว่ งด้วยดี ทัง้ ยังเป็นปัจจัย เกื้อหนุนให้ผู้ประกอบการไทย โดยเฉพาะ

>>>34

April-May 2015, Vol.42 No.240

ผู ้ ป ระกอบการเอสเอ็ ม อี มี ศั ก ยภาพการ แข่งขันทัดเทียมนานาประเทศในเวทีการค้า โลกได้ อ ย่ า งน่ า พอใจ โดยเฉพาะการยก ระดั บ บุ ค ลากรและมาตรฐานการผลิ ต อุตสาหกรรมอาหารสู่สากล หนุนผู้ประกอบ การเอสเอ็มอีวจิ ยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ออกสู่ตลาด ทั้งในรูปแบบ Ready to Eat และ Ready to Cook โดยตลอด 3 ปีที่ผ่าน มา สถาบันอาหารได้สง่ เสริมให้มกี ารพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่ตลาด รวมทั้งสิ้น 270 ผลิตภัณฑ์ และในปี พ.ศ.2557 ที่ผ่านมา สถาบั น อาหารได้ จั ด ตั้ ง “ศู น ย์ วิ จั ย และ พัฒนาผลิตภัณฑ์” ขึ้น รวมทั้งมุ่งเน้นการ เปิดตลาดอาหารไทยสู่อาเซียน ด้วยการจัด Business Matching, Business Creation and Networking ในประเทศเป้าหมาย เพื่อ สนับสนุนผู้ประกอบการของไทย โดยเฉพาะ กลุ่มเอสเอ็มอีให้สามารถเข้าสู่สนามการค้า โลกได้อย่างยั่งยืน ขณะเดียวกัน ในมิตขิ องการส่งเสริม สถาบันอาหารได้สนับสนุนการใช้วัตถุดิบ

อาหารไทยในร้านอาหารและวงการเชฟทั่ว โลกผ่านการแข่งขันปรุงอาหารไทยทั้งใน ระดับประเทศและระดับนานาชาติ เพื่อให้ เกิดการยอมรับ ตลอดจนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และการประยุกต์ใช้วัตถุดิบ อาหารไทยกับเมนูอาหารต่างชาติ การสร้างสรรค์เมนูอาหารไทยใหม่ ๆ โดยการจัดอบรม ให้ แ ก่ พ ่ อ ครั ว ในร้ า นอาหารไทยในต่ า ง ประเทศ รวมถึงการเข้าร่วมจัดแสดงอาหาร ไทยในประเทศเป้าหมายทั่วโลก

พร้อมเติบโตอย่างก้าวกระโดด

นอกจากภารกิ จ ด้ า นการรณรงค์ ส่งเสริมอาหารไทยให้เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก แล้ว สถาบันอาหารยังผลักดันให้การบริการ ห้องปฏิบตั กิ ารเติบโตอย่างก้าวกระโดด โดย นับตัง้ แต่ปี พ.ศ.2554 เป็นต้นมา ห้องปฏิบตั -ิ การของสถาบั น อาหารให้ บ ริ ก ารโรงงาน อุตสาหกรรมอาหารและหน่วยงานภาครัฐ จ�ำนวนเฉลี่ยปีละไม่น้อยกว่า 1,200 แห่ง และมีจ�ำนวนรายการให้บริการเพิ่มสูงขึ้น ทุกปี โดยในปี พ.ศ.2557 ให้บริการไปกว่า 127,000 รายการ มากกว่าปี พ.ศ.2556 ทีใ่ ห้ บริการไป 100,521 รายการ ปัจจุบนั มีการให้ บริการที่หลากหลายและครอบคลุมถึง 760 บริการงานทดสอบและสอบเทียบ และ 44 โปรแกรมทดสอบความช�ำนาญ ในปี พ.ศ.2555 ที่ ผ ่ า นมา ศู น ย์ บริการห้องปฏิบตั กิ ารอุตสาหกรรมอาหารได้ เปิดให้บริการใหม่ ได้แก่ การประเมินอายุ การเก็ บ รั ก ษาของผลิ ต ภั ณ ฑ์ (shelf-life evaluation) เพื่อรองรับการให้บริการร้าน


&

Research

สะดวกซื้อที่ก�ำหนดให้สินค้าอาหารที่วาง จ� ำ หน่ า ยต้ อ งประเมิ น อายุ ก ารเก็ บ รั ก ษา ปัจจุบันมีผู้ใช้บริการแล้วกว่า 150 ราย และ คาดว่ า จะเพิ่ ม สู ง ขึ้ น เรื่ อ ย ๆ เนื่ อ งจาก ประเทศไทยยังขาดแคลนบริการนี้ ทั้ ง นี้ ห ้ อ งปฏิ บั ติ ก ารของสถาบั น อาหาร เป็นแห่งเดียวที่มีบริการด้านการ ทดสอบความช� ำนาญ สาขาเคมีและจุลชีววิทยา ทีไ่ ด้รบั การรับรองคุณภาพ ISO/IEC 17043 และเป็นแห่งแรกและแห่งเดียวใน ประเทศทีจ่ ดั โปรแกรมทดสอบความช�ำนาญ ผ่านระบบออนไลน์ รวมทัง้ มีจำ� นวนโปรแกรม ที่ ไ ด้ รั บ รองความสามารถผู ้ จั ด โปรแกรม ทดสอบความช�ำนาญ (PT provider) ตาม มาตรฐาน ISO/IEC 17043 สาขาจุลชีววิทยา และมีสว่ นแบ่งการตลาดสูงทีส่ ดุ ทีจ่ ะเอือ้ ให้ เกิดการพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการการ ทดสอบของประเทศ ให้สอดคล้องมาตรฐาน สากล ISO/IEC17025 อย่างรวดเร็ว นอกจากนีย้ งั มีบริการตรวจวิเคราะห์ คุณภาพสินค้า เพื่อยืนยันคุณภาพว่าเป็นไป ตามข้ อ ตกลงและมี ค วามปลอดภั ย ต่ อ ผู้บริโภคหรือไม่ รวมทั้งมีความร่วมมือกับ สหกรณ์ผู้บริโภคประเทศญี่ปุ่น (Japanese Consumer’s Co-operation Union หรือ JCCU) ในการทดสอบคุณภาพอาหารของ ลูกค้า JCCU ก่อนส่งออกไปประเทศญี่ปุ่น

มุ่งสร้างคุณค่า (value creation) ให้อาหารไทย

ในระยะเวลาที่ผ่านมา การด�ำเนิน งานของสถาบันอาหารอยูภ่ ายใต้ยทุ ธศาสตร์ ส�ำคัญ 4 ประการ ดังนี้ 1. การสร้างนวัตกรรมและส่งเสริม การน�ำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพผูป้ ระกอบการ โดยเฉพาะเอสเอ็มอี และ วิสาหกิจชุมชน 2. การพั ฒ นาระบบข้ อ มู ล สนั บ สนุนอุตสาหกรรมอาหารที่ล�้ำสมัย เข้าถึงได้ ง่าย และตอบสนองทันต่อเหตุการณ์

3. การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการผลิตตลอดห่วงโซ่อาหารสู่สากล 4. การพัฒนาสมรรถนะสถาบันเพือ่ สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารไทย ส�ำหรับในปี พ.ศ.2558 การด�ำเนิน งานของสถาบั น อาหารยั ง คงจะกระท� ำ ภายใต้ยุทธศาสตร์ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ผ่านโครงการส�ำคัญ ๆ อาทิ โครงการพัฒนา อุตสาหกรรมอาหารไทยให้เป็นครัวอาหาร คุณภาพของโลก หรือ Thailand Food Quality to the World โครงการเสริมสร้างมูลค่า ทางเศรษฐกิจแก่อุตสาหกรรมอาหารของ ไทย หรือ Thailand Food Forward และ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม อาหารฮาลาล ทั้ง 3 โครงการ เป็นโครงการที่ มุ่งสนองนโยบาย “ครัวไทยสู่ครัวโลก” โดย

เน้นให้ครัวไทยเป็น “ครัวคุณภาพของโลก” นอกจากภารกิ จ ในการขั บ เคลื่ อ น 3 โครงการใหญ่แล้ว ในปีนี้สถาบันอาหาร ริเริม่ ด�ำเนินการ “โครงการเทิดพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ” เพื่อส�ำนึกในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ที่ ท รงปฏิ บั ติ พ ระราชกรณียกิจในการพัฒนาประเทศมาอย่างต่อ เนื่องยาวนาน ในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะด้าน โภชนาการ จนได้รับพระสมญานามว่า “เจ้า ฟ้านักโภชนาการ” โดยโครงการที่จะด�ำเนิน การ ได้แก่ 1. โครงการส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ อุตสาหกรรมอาหารของไทย โดยจะจัดตั้ง ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ อ าหารไทย (Thai Food Heritage)

2. โครงการพั ฒ นาเกณฑ์ ก าร บริหารสู่ความเป็นเลิศด้านความสามารถ ในการด�ำเนินการอย่างยั่งยืน (Thailand Sustainability Award: TSA) และการมอบ รางวัล Thailand Sustainability Award 2015 ให้แก่อุตสาหกรรมบริการอาหาร 3. โครงการยกระดั บ 600 ครั ว อาหารของไทย ก้าวไกลสู่มาตรฐานอาหาร สากล (600 Thai Mass Catering for International Standard) ด้วยวิสัยทัศน์ของสถาบันอาหารที่ มุง่ สร้างคุณค่า (value creation) ให้อตุ สาหกรรมอาหารไทยเป็นที่ยอมรับในเวทีการค้า โลก และเพือ่ ให้ภาคอุตสาหกรรมอาหารไทย เติบโตไปในทิศทางที่สอดรับกับการเข้าสู่ AEC อย่ า งเต็ ม รู ป แบบ ถื อ เป็ น โจทย์ ที่ ท้าทายของสถาบันอาหาร การจัดวางภาพ ลักษณ์ใหม่ของสถาบันอาหารในวันนี้ ก็เพื่อ สร้างความแข็งแกร่งให้กบั องค์กร และพร้อม ทีจ่ ะเป็นแรงหนุนให้อตุ สาหกรรมอาหารไทย พัฒนาก้าวไกลในทุก ๆ ด้าน ไม้ว่าจะเป็น รสชาติ ความสะอาด ปลอดภัย และความ แปลกใหม่ แต่ยังคงเอกลักษณ์ความเป็น อาหารไทยที่ ถู ก ปาก ถู ก ใจคนไทยและ ต่างชาติ * รายงาน “การส่งออกอาหารไทย 11 เดือนแรก ปี 2557 และแนวโน้มปี 2558”. สถาบันอาหาร.

April-May 2015, Vol.42 No.240

35 <<<


&

Bio & Nano

“แกร่ง”

เสริม

ให้อาหารไทยด้วยนวัตกรรม ดร. ณัฐพันธุ์ ศุภกา

“อาหารไทย”

เป็นหนึ่งในเอกลักษณ์ของประเทศไทยที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกัน ดีไปทั่วโลก เพราะทุกครั้งที่มีการจัดอันดับอาหารยอดนิยมใน ระดับโลกนั้น เรามักจะพบว่า อาหารไทยของเราจะต้องติดอันดับอาหารยอดนิยมในอันดับแรก ๆ ทุกครั้ง ไม่ว่าจะเป็น “แกงมัสมั่น” “ต้มย�ำกุ้ง” “น�้ำตกหมู” หรือเมนูแซ่บ ๆ อย่าง “ส้มต�ำ” อันโด่งดังของไทย เป็นต้น

นอก

จากนี้ในแต่ละปีประเทศไทย มี สิ น ค้ า ในหมวดอาหารส่ ง ออกไปยังทั่วโลกท�ำรายได้จ�ำนวนมหาศาล เฉลี่ยปีละกว่า 20,000 ล้านเหรียญสหรัฐ นอกจากนี้ยังมีเป้าหมายส�ำคัญในอีก 2 ปี ข้างหน้า (ปี พ.ศ.2560) ทีว่ า่ กันว่ามูลค่าการ ส่งออกอาหารไทยจะสูงขึ้นถึง 2 ล้านล้าน >>>36

April-May 2015, Vol.42 No.240

บาทต่อปี ซึ่งเมื่อเราพิจารณาจากจุดแข็ง และขี ด ความสามารถของอุ ต สาหกรรม อาหารไทยที่มีอยู่ในขณะนี้ก็จะเห็นได้ว่า ประเทศไทยของเรามีความหลากหลายทาง ชีวภาพ และมีศักยภาพสูงในด้านการผลิต สินค้าทางการเกษตรและผลิตภัณฑ์อาหาร รวมทั้งมีพื้นฐานความรู้ทางด้านเทคโนโลยี

ชีวภาพทีค่ อ่ นข้างแข็งแกร่งรองรับอยูแ่ ล้ว ซึง่ สามารถน�ำมาใช้เป็นจุดแข็งให้กับอุตสาหกรรมอาหารไทยและอุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่มี ความเกี่ยวข้องต่อไปได้ ยิง่ ไปกว่านัน้ ในปัจจุบนั นีเ้ ทคโนโลยี ใหม่ ๆ ยังได้ก้าวเข้ามามีบทบาทอย่างมาก ในอุตสาหกรรมอาหาร สิง่ ทอ ยางพารา บรรจุ ภัณฑ์อาหาร ฯลฯ ซึง่ อุตสาหกรรมเหล่านีล้ ว้ น แล้วแต่เป็นอุตสาหกรรมที่ท�ำรายได้หลักให้ กับประเทศไทยทั้งสิ้น นอกจากนี้เทคโนโลยี ใหม่ ๆ ยังสามารถน�ำมาใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสินค้าทางการเกษตรและอาหาร ให้ ไ ด้ ต รงตามมาตรฐานสากล เพื่ อ ที่ จ ะ สามารถส่งสินค้าเหล่านีอ้ อกไปขายในตลาด โลกได้ โดยไม่ถูกกีดกันเหมือนที่เป็นอยู่ใน ปัจจุบัน และเพื่อใช้ในการคุ้มครองความ ปลอดภั ย ของผู ้ บ ริ โ ภคภายในประเทศได้ อย่างมีประสิทธิภาพไปในเวลาเดียวกัน เพื่อ เป็นการมุ่งสู่เป้าหมายในการที่จะผลักดันให้ ประเทศไทยเป็นครัวของโลกต่อไปในอนาคต ดังนั้น บทความนี้จะกล่าวถึงภาพ รวมของเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมใหม่ ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อุ ต สาหกรรมอาหารที่ เ คย มี ร ายงานไว้ ทั้ ง ภายในประเทศไทยและ ต่างประเทศ ดังนี้

นวัตกรรมด้านอาหารทะเลและประมง

ปัจจุบนั กุง้ แช่แข็งนับว่าเป็นอุตสาหกรรมอาหารที่มีความส�ำคัญเป็นอันดับต้น ๆ ที่ มี ย อดการส่ ง ออกเป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ของ ประเทศและของโลก สามารถน�ำเงินตราจาก ตลาดโลกเข้าประเทศได้ไม่ต�่ำแสนล้านบาท ต่อปี แต่อย่างไรก็ตาม ในระหว่างการเพาะ เลี้ ย งกุ ้ ง มั ก มี ก ารสู ญ เสี ย ผลผลิ ต กุ ้ ง เป็ น จ�ำนวนมหาศาลเกิดขึ้นทุกปี อันมีสาเหตุมา จากการระบาดของเชื้อไวรัสชนิดต่าง ๆ เช่น เชือ้ ไวรัสหัวเหลือง (yellow head virus) และ เชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว (white spot syndrome virus) ซึง่ ในปัจจุบนั ยังไม่มหี นทางใน การรักษาได้ ดังนั้นการเฝ้าระวังและป้องกัน ก่อนที่เชื้อไวรัสจะแพร่กระจายออกไปในวง กว้างจึงเป็นเพียงหนทางเดียวที่จะสามารถ ลดการสูญเสียผลผลิตกุ้งได้


&

Bio & Nano ในปัจจุบันการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัสดังกล่าวสามารถกระท�ำได้โดยการใช้เทคนิคพีซี อาร์ (PCR) แต่ในอนาคตมีความเป็นไปได้ที่จะมีการน�ำเอานาโนเซนเซอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง กว่ามาใช้ในการตรวจจับเชือ้ ไวรัส หรือแม้กระทัง่ การท�ำลายเชือ้ ไวรัสโดยอาศัยเทคนิคทางนาโน เทคโนโลยี

ภาพแสดง การใช้เทคนิควัดการเรืองแสงของคลอโรฟิลล์ (chlorophyll fluorescence) ในการบ่งชี้และ เปรียบเทียบคุณภาพของน�ำ้ มันพืช (ซ้าย) เปรียบ เทียบกับน�้ำมันมะกอกบริสุทธิ์พิเศษ (ขวา)

ภาพแสดง เทคนิคการวิเคราะห์สมัยใหม่ที่ใช้ในการตรวจวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพในระดับจุลภาคและองค์ประกอบทาง เคมีของสารอาหาร และส่วนประกอบต่าง ๆ ที่อยู่ในผลิตภัณฑ์อาหาร

สถาบันความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี อุ ต สาหกรรมของ ประเทศญี่ ปุ ่ น (National Institute of Advanced Industrial Science and Technology: AIST) ได้ประสบความส�ำเร็จในการ ค้นพบวิธีในการสร้าง “ฟองนาโน” (nanobubbles) ทีม่ คี วามคงตัวสูงมาก แตกตัวยาก ในน�ำ้ สามารถเก็บกักก๊าซโอโซน (ozone) ไว้ ภายในฟองได้นาน ท�ำให้สามารถน�ำเอาฟอง นาโน มาใช้ในการฆ่าเชื้อก่อโรคในน�้ำได้ อย่างมีประสิทธิภาพเป็นระยะเวลานาน และ ยังสามารถเก็บกักก๊าซออกซิเจนทีจ่ �ำเป็นต่อ การด�ำรงชีวติ ของสัตว์นำ�้ ได้เป็นเวลานาน ใน ขณะนี้ คณะผูว้ จิ ยั จากสถาบันดังกล่าว ก�ำลัง พยายามทีจ่ ะน�ำเอาฟองนาโนมาประยุกต์ใช้ ในอุตสาหกรรมการประมง และการเพาะ เลี้ยงสัตว์น�้ำเศรษฐกิจ เช่น ปลา หอย และ กุ้ง เป็นต้น

นวัตกรรมด้านบรรจุภัณฑ์อาหาร

พอลิเมอร์เป็นวัสดุทถี่ กู น�ำไปใช้ผลิต เป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ ทีเ่ กีย่ วข้องกับชีวติ ประจ�ำวันของมนุษย์ อาทิ ภาชนะบรรจุภณ ั ฑ์อาหาร อุปกรณ์การแพทย์ อุปกรณ์ภายในที่อยู่อาศัย เป็นต้น จากผล ดั ง กล่ า ว การพั ฒ นาให้ วั ส ดุ พ อลิ เ มอร์ มี สมบัติต้านทานการเจริญของจุลินทรีย์จึง เป็นสิ่งที่น่าสนใจ

ภาพแสดง การออกแบบและการน�ำวัสดุนาโนชนิดใหม่ ๆ มา ใช้เป็นส่วนประกอบของเซนเซอร์จะท�ำให้เซนเซอร์ มีความไวสูงขึ้นและสามารถตรวจจับสารต่าง ๆ ที่อยู่ในผลิตภัณฑ์อาหารได้อย่างเฉพาะเจาะจง มากขึ้น

April-May 2015, Vol.42 No.240

37 <<<


&

Bio & Nano ส�ำหรับวิธีการที่สะดวกและเป็นที่ นิยม ซึ่งท�ำให้พอลิเมอร์มีสมบัติต้านการ เจริญของจุลนิ ทรียไ์ ด้ คือ การผสมสารยับยัง้ จุลินทรีย์ (antimicrobial agent) ลงไป โดยตรงในพอลิ เ มอร์ ทั้ ง นี้ ใ นส่ ว นมู ล ค่ า ทางการตลาดของความนิยมใช้สารยับยั้ง เชื้อจุลินทรีย์ พบว่า ในปี พ.ศ.2544 มีสูงถึง 130 ล้านเหรียญสหรัฐ และมูลค่าของการ ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสารยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์พบ ว่า มีค่าสูงประมาณ 231 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยอัตราการเติบโตของการใช้ผลิตภัณฑ์ พลาสติกที่มีความสามารถในการต้านการ เจริญเติบโตมีค่าประมาณร้อยละ 3.4 – 4.0 ต่อปี โดยในปัจจุบันได้มีการน�ำวัสดุนาโน ชนิดต่าง ๆ มาใช้ในการผลิตพอลิเมอร์คอมพอสิตที่มีคุณสมบัติในการยับยั้งการเจริญ เติบโตและก�ำจัดเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ เช่น แบคทีเรีย ยีสต์ และเชื้อรา ได้เป็นอย่างดี สามารถน�ำไปใช้เป็นสารเติมแต่ง (additive) ในเม็ดพลาสติกหลากหลายชนิด ไม่ว่าจะ เป็นเอบีเอส (Acrylonitrile-ButadieneStyrene: ABS) พอลิสไตรีน (Polystyrene: PS) หรือพอลิโพรไพลีน (Polypropylene: PP) เพื่อเพิ่มคุณสมบัติด้านการยับยั้งเชื้อ จุ ลิ น ทรี ย ์ ในผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ ดยไม่ ส ่ ง ผลต่ อ คุณสมบัติเดิมของเม็ดพลาสติกโดยทั่วไป เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการพยายามค้นหา วัสดุที่มีคุณสมบัติประกอบตัวเองได้ (self-

assembling materials) เช่น กรดไขมัน หรือ การพัฒนาเทคนิคในการเคลือบผิววัสดุ เพือ่ น�ำมาใช้ในการสร้างบรรจุภัณฑ์ที่สามารถ ป้ อ งกั น ผลผลิ ต ทางการเกษตรและผลิ ต ภัณฑ์อาหารจากการปนเปื้อนด้วยเชื้อโรค หรือการพัฒนาฟิล์มพอลิเมอร์คอมพอสิต ที่สามารถควบคุมอัตราการผ่านของก๊าซ ออกซิเจนและไอน�้ำ เพื่อรักษาความสดของ ผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ ตลอดจนการพัฒนา บรรจุภณ ั ฑ์ทมี่ ตี วั ตรวจจับอัจฉริยะ (smart detectors) ที่สามารถตรวจจับจุลินทรีย์ที่

ท�ำให้อาหารเน่าเสียได้ เช่น บรรจุภัณฑ์ใส่ เนื้อสัตว์ที่เปลี่ยนสีได้หากมีจุลินทรีย์ก่อโรค หรื อ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ น มที่ ส ามารถ เปลี่ ย นสี ไ ด้ เ มื่ อ นมเริ่ ม เสี ย โดยการท� ำ ปฏิกิริยาระหว่างอนุภาคนาโนที่ถูกฝังไว้ใน ตัวบรรจุภัณฑ์กับปริมาณโมเลกุลของสาร ที่เกิดขึ้นระหว่างการเน่าเสียของนม หรือ บรรจุภัณฑ์อาหารที่สามารถเปลี่ยนสีได้เมื่อ อาหารเริ่มจะเสีย เพื่อเตือนผู้บริโภคและ ท�ำให้สามารถยืดระยะเวลาในการเก็บผลิตภัณฑ์อาหารไว้ได้นานขึ้น

ภาพแสดง บรรจุภัณฑ์ที่สามารถบอกระยะการสุกของผลไม้โดยการใช้เซนเซอร์ตรวจจับปริมาณก๊าซอะเซธิลีนที่ผลไม้ปล่อย ออกมา ซึ่งผู้บริโภคสามารถรู้ระยะการสุกของผลไม้ได้จากการเปลี่ยนสีของฉลาก

นวัตกรรมด้านบรรจุภณ ั ฑ์ทนี่ า่ สนใจ อีกตัวอย่างหนึ่ง คือ การที่บริษัทนาโนคอร์ (Nanocor) ของสหรัฐอเมริกา ซึง่ เป็นผูน้ ำ� ใน การผลิตนาโนคอมพอสิตชั้นแนวหน้าของ โลก ก�ำลังน�ำนวัตกรรมนาโนคอมพอสิตไป ใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์อาหารและ เครื่องดื่ม เช่น การใส่ผลึกนาโน (nanocrystals) เข้าไปในพอลิเมอร์เพือ่ ใช้ปอ้ งกันการรัว่ ซึมของโมเลกุลออกซิเจน และน�ำไปสร้างเป็น ขวดเบียร์พลาสติกที่เก็บเบียร์ได้นานกว่า หกเดือน บรรจุภัณฑ์ที่ผลิตโดยใช้พอลิเมอร์ คอมพอสิตจะมีข้อดี คือ ป้องกันการซึมของ >>>38

April-May 2015, Vol.42 No.240


&

Bio & Nano ก๊าซต่าง ๆ ได้ดี เช่น การป้องกันการสูญเสีย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทบี่ รรจุไว้ในขวดน�ำ้ อัดลม และเบียร์ หรือการควบคุมอัตราการ ผ่านของออกซิเจน และไอน�้ำ เพื่อรักษา ความสดของผัก ผลไม้ และเนือ้ สัตว์ นอกจาก นี้ บรรจุภัณฑ์พอลิเมอร์คอมพอสิตยังมีน�้ำ หนักเบา และมีคุณสมบัติในการน�ำกลับมา ใช้ใหม่ทดี่ ี ท�ำให้ผผู้ ลิตสามารถลดค่าใช้จา่ ย ในการขนส่งและการผลิตลงได้เป็นอย่าง มาก

นวัตกรรมด้านความปลอดภัยของ อาหาร

เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่ ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่มีความจ�ำเป็นและมีความ ส� ำ คั ญ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ต่ อ การพั ฒ นาวิ ธี ก าร ก�ำหนด ส่งเสริม และรับรองมาตรฐานสินค้า เกษตรและอาหาร เช่น ข้อก�ำหนดด้านความ ปลอดภัยของอาหาร ข้อก�ำหนดด้านการผลิต และคุณลักษณะของสินค้าเกษตร เช่น ระบบ ไอพี (Identity Preservation: IP) และ มาตรฐานระบบคุณภาพ เช่น ระบบเกี่ยวกับ การจัดการด้านคุณภาพ การประกันคุณภาพ (Quality Assurance: QA) และระบบการ จัดการสิ่งแวดล้อม ตัวอย่างของวิทยาการ ใหม่ ๆ ที่น�ำมาใช้ในกรณีนี้ ได้แก่ การสร้าง อุปกรณ์นาโนที่สามารถตรวจวัด และบันทึก การเปลี่ ย นแปลงอุ ณ หภู มิ และความชื้ น ในขณะที่ท�ำการบรรจุ เก็บ และขนส่งสินค้า การเกษตรและอาหาร หรือใช้บนั ทึกประวัต-ิ การใช้ยาปราบศัตรูพชื หรือการใส่ปยุ๋ ระหว่าง การเพาะปลู ก พื ช และการใช้ อุ ป กรณ์ เซนเซอร์ในการตรวจจับสินค้าทีเ่ ป็นพืช หรือ สัตว์ทผี่ า่ นการดัดแปรพันธุกรรม และรวมทัง้ การตรวจจับเชือ้ ก่อโรคทุกชนิดทีป่ นเปือ้ นอยู่ ในสินค้าการเกษตร และอาหาร เป็นต้น การศึกษาและวิจัยของประเทศไทย ที่ อ าจเกี่ ย วข้ อ งกั บ แนวทางนี้ คื อ การที่ นักวิจัยจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ก�ำลัง ด� ำ เนิ น การวิ จั ย และพั ฒ นาเกี่ ย วกั บ ไบโอ เซนเซอร์ ห ลายชนิ ด เช่ น เตเตราไซคลิ น เซนเซอร์ เพือ่ วัดปริมาณเตตราไซคลินในเนือ้ สัตว์ การพัฒนาเซนเซอร์มาใช้ในการตรวจ

ตรวจจับสารเคมีตกค้าง เช่น สารอะฟลาท็ อ กซิ น ในเมล็ ด ธั ญ พื ช สารเร่ ง เนื้ อ แดง ซึง่ เป็นสารกลุม่ เบต้าแอดเวนเนอร์จกิ อะโกรนิสท์ (Beta-advenergic Agonist) ที่พบใน เนื้อหมู สารฟอกขาว หรือสารโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ในผักและผลไม้แปรรูป บอแร็กซ์ ที่ปนเปื้อนในเนื้อหมู ลูกชิ้น และผลไม้ดอง ฟอร์มาลีนทีป่ นเปือ้ นในอาหารทะเลและเนือ้ สัตว์ และโลหะหนัก เช่น แคดเมียมในอาหาร ทะเล ยาปฏิชีวนะที่ตกค้างในเนื้อสัตว์ เช่น คลอแรมเฟนิคอล ในเนื้อไก่และกุ้ง สารไนโตรฟูแรนส์ในกุ้ง หรือจุลินทรีย์ก่อโรคที่ปน เปื้อนในสินค้าการเกษตรและอาหาร เช่น E. coli Listeria monocytogenes Campylobacter sp. Salmonella sp. Clostridium sp. ตลอดจนเชื้อรา และไวรัสต่าง ๆ การพัฒนา “ห้องทดลองบนแผ่น ชิ ป ” (laboratory-on-a-chip) เพื่อใช้ใน การประเมิ น วิ ถี เ มตาบอลิ ส (metabolic pathways) ที่ ต อบสนองต่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชีวินทรีย์ (biopesticides) ชนิดต่าง ๆ เช่น Bacillus thuringiensis และรา Tricoderma spp. เป็นต้น การใช้ความรูท้ างเทคนิคการวิเคราะห์ ทดสอบและเครื่องมือวิเคราะห์ทดสอบสมัย ใหม่ ใ นการตรวจวิ เ คราะห์ ลั ก ษณะทาง กายภาพและองค์ประกอบทางเคมีของสาร อาหาร และส่วนประกอบที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ อาหาร เป็นต้น โดยที่ตัวอย่างงานวิจัยและ พั ฒ นาเหล่ า นี้ ส ามารถที่ จ ะพั ฒ นาต่ อ ไป เพื่อน�ำมาใช้ประโยชน์ในด้านการควบคุม คุณภาพสินค้าได้อย่างแน่นอน ถ้าได้รับการ สนับสนุนอย่างเพียงพอจากรัฐบาล

บทสรุป

ถ้าประเทศไทยประสบความส�ำเร็จ ในการน�ำเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ เหล่านีม้ าประยุกต์ใช้ในการพัฒนาและเสริม สร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ให้ กั บ อุ ต สาหกรรม อาหารไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วย ตอกย�้ำถึงความเป็นผู้น�ำและศูนย์กลางใน การผลิตและการค้าสินค้าอาหารของไทย ประเทศไทยจะเป็ น ครั ว เอกที่ ผ ลิ ต และ สร้างสรรค์สินค้าอาหารไทยได้มาตรฐาน ระดับโลก และยกระดับอาหารไทยให้เป็น อาหารจานโปรดคนทั้งโลก ความได้เปรียบ ในด้านของรสชาติอาหารทีไ่ ด้รบั การยอมรับ ในเวทีโลกเป็นปัจจัยส�ำคัญ ประกอบกับหาก มีการด�ำเนินนโยบายและโครงการสนับสนุน เพือ่ ขับเคลือ่ นให้อาหารไทยกลายเป็นอาหาร จานโปรดของคนทั่วโลก ก็เป็นสิ่งที่สามารถ จะเป็นจริงได้ในอนาคตอันใกล้นี้ แหล่งข้อมูลอ้างอิงและภาพประกอบ 1. http://www.nyserda.org/industry/ CEA.html 2. http://www.fnrf.science.cmu.ac.th/ 3. http://www.smalltimes.com/document_display.cfm?document_id=7266 4. http://textileinfo.com/en/tech/ three/05.html 5. http://www.aist.go.jp/aist_e/latest_rsearch/2004/ 20040325/ 20040325.html

April-May 2015, Vol.42 No.240

39 <<<


&

Management

ตอนที่ 1

เครือ่ งมือบริหารการตัดต้นทุน

(management tools for cutting costs) พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์

ที่ปรึกษาอิสระและนักวิจัยแห่งชาติ

จาก

ประสบการณ์ที่คลุกคลีอยู่กับวงการปรับปรุงคุณภาพมานานนับ 30 ปี พบว่า หลาย ๆ บริษัท ทั้งภาครัฐและเอกชนต่างมีการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง แต่ส่วนใหญ่การปรับปรุง มุ่งเน้นการปรับปรุงแบบไคเซ็น หรือ การปรับปรุงแบบต่อยอด (incremental) ปัจจุบันมีเครื่องมือบริหาร เพื่อใช้ตัดทุนต่าง ๆ ลง เช่น เศรษฐศาสตร์เชิงวิศวกรรม การวิเคราะห์คุณค่า (Value Analysis = VA) การ ประกันคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (total quality assurance) กลุ่มควบคุมคุณภาพ (quality control circles) งบประมาณฐานศูนย์ (zero based budgeting) และ Optimization เครื่องมือเหล่านี้เป็น เครื่องมือที่ใช้กัน อย่างแพร่หลายจริงหรือไม่? และสามารถน�ำไปใช้ได้จริงหรือไม่? ค�ำตอบคือ สามารถน�ำไปใช้ได้จริง และยัง ก่อให้เกิดผลลัพธ์ออกมาได้อย่างน่าอัศจรรย์จริง ๆ ภูมิหลังของการพูดคุยในครั้งนี้อยู่ที่ผลของการศึกษาในอดีตเกี่ยวกับวิศวกรรมคุณค่า (Value Engineering = VE) โดยมีค�ำถามต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ ความแตกต่างระหว่างวิศวกรรมคุณค่ากับการ ประกันคุณภาพ กลุ่มควบคุมคุณภาพคืออะไร? งบประมาณฐานศูนย์คืออะไร? การประกันคุณภาพทั่วทั้ง องค์ ก รคื อ อะไร? และอะไรคื อ ความแตกต่ า งระหว่ า งการประกั น คุ ณ ภาพทั่ ว ทั้ ง องค์ ก รกั บ การประกั น คุณภาพ?

หลาย

ปี ที่ ผ ่ า นมา ได้ มี ก าร ห ยิ บ ย ก ผ ล ข อ ง ก า ร ศึกษาวิศวกรรมคุณค่าขึ้นมา ซึ่งผลของการ ศึกษาท�ำให้เราพบว่า ผลลัพธ์ทดี่ ี ๆ ทีเ่ กิดจาก การท�ำวิศวกรรมคุณค่าเกิดขึ้นมากมายใน ช่วงที่มีการจัดประชุม มีการอธิบายถึงหลัก การและวิธกี ารต่าง ๆ ตลอดจนผลลัพธ์ทเี่ กิด >>>40

April-May 2015, Vol.42 No.240

ขึ้น (ซึ่งบางครั้งเรียกว่าการวิเคราะห์คุณค่า หรือการบริหารคุณค่า (value management)) พนั ก งานภายในองค์ ก รมั ก จะมี ค� ำ ถามต่ า ง ๆ เกี่ ย วกั บ การเปรี ย บเที ย บ วิศวกรรมคุณค่ากับแนวคิดอื่น ๆ ที่หลาย องค์กรนิยมใช้กันอยู่ ซึ่งค�ำถามต่าง ๆ เช่น วิศวกรรมคุณค่าเหมือนกับ Optimization

หรื อ ไม่ ? อะไรคื อ ความแตกต่ า งระหว่ า ง วิศวกรรมคุณค่ากับกลุ่มควบคุมคุณภาพ? อะไรคือการประกันคุณภาพ? และอะไรคือ การประกันคุณภาพทั่วทั้งองค์กร? เป็นต้น ค�ำตอบของค�ำถามเหล่านี้สามารถ จั ด ล� ำ ดั บ การตอบให้ เ ป็ น ไปตามแนวคิ ด แต่ละแนวคิดได้อย่างชัดเจน กล่าวคือ เครือ่ ง มือทัง้ หมดเหล่านีม้ สี ว่ นละม้ายคล้ายคลึงกัน เพียงแต่เวลาน�ำไปใช้งานต้องระบุวา่ จะน�ำไป ใช้งานทีไ่ หน อย่างไรจึงจะก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ความส�ำเร็จขัน้ ต้นของความต้องการ อยู่ที่ความจ�ำเป็นและบุคลากรต้องมีความ ตระหนักถึงความจ�ำเป็นในการใช้งาน รวมทัง้ ฝ่ายบริหารมีการให้รางวัลกับกลุ่มต่าง ๆ ที่ สร้างผลลัพธ์ได้อย่างน่าทึ่ง ประเด็นของ ความจ�ำเป็น อยู่ที่ต้นทุนและการตัดต้นทุน ซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้องเอาใจใส่เป็นอย่างดีกับ ประเด็นของการตัดต้นทุน โดยมีการชีน้ ำ� ของ


&

Management คณะกรรมการของบริษัทหรือผู้จัดการทั่วไป หรือธุรกิจต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กับความ จ�ำเป็นต่อความอยูร่ อดของบริษทั หรือความ ต้องการท�ำก�ำไรให้กับผู้ถือหุ้น เป็นต้น ประเด็นของความจ�ำเป็น จึงเป็นแรง กดดันในการขับเคลือ่ นให้ทกุ หน่วยงานมีการ ใช้เครือ่ งมือบริหารเหล่านี้ ส่วนพนักงานต้อง มี ค วามตระหนั ก ถึ ง ความจ� ำ เป็ น ต่ อ ผล สัมฤทธิ์ในการตัดต้นทุนอยู่ที่ทุกคนภายใน องค์กรต้องใช้ความเพียรพยายามอย่างเต็ม ที่ โดยทุกคนต้องมีความตระหนักถึงความ จ�ำเป็นและมีการบริหารจัดการที่ดีเยี่ยมใน การตัดต้นทุน ส�ำหรับฝ่ายบริหาร ต้องจัดให้ มีการมอบรางวัลให้กบั กลุม่ ต่าง ๆ ทีม่ ผี ลงาน ยอดเยี่ยม ส่วนใหญ่พนักงานจะรู้ว่าการตัด ต้นทุน ผลประโยชน์ที่ได้รับจะตกอยู่กับผู้ถือ หุน้ หรือเจ้าของกิจการ ดังนัน้ รูปแบบของการ ให้รางวัล อาจมีอยูด่ ว้ ยกันหลายรูปแบบ เช่น โบนัสหรือการส่งเสริมความก้าวหน้าในสาย วิชาชีพ หรือการยกย่องสรรเสริญหรือเป็น การกระตุ้นให้พวกเขาต้องท�ำอย่างต่อเนื่อง สิง่ เหล่านีจ้ ะเป็นการสร้างแรงจูงใจทีด่ ใี ห้กบั พนักงาน นอกจากนีโ้ ปรแกรมในการตัดต้นทุน ต้องมีระบบการบริหารจัดการที่ดี อาทิ การ ก�ำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน มีการวางแผน และงบประมาณไว้ลว่ งหน้า มีการจัดการทีด่ ี คนในองค์กรต้องเป็นคนเก่งและคนดี (talents) รวมทั้งมีการจดบันทึกและรายงาน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น การตั ด ต้ น ทุ น บริ ษั ท จะมี ก าร ก�ำหนดโครงการต่าง ๆ ขึ้น โดยมีการใช้ วิศวกรรมคุณค่าในการตัดต้นทุนลง10-25 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้การปฏิบัติงานในส�ำนักงาน ต้องตัดต้นทุนลง 10-25 เปอร์เซ็นต์ (โดยใช้ งบประมาณฐานศูนย์) และฝ่ายผลิต จะต้อง ตัดต้นทุนทางด้านของเสียและปรับปรุงการ เพิ่มผลผลิตด้วยกิจกรรม QCC รวมถึงการ สร้างความพึงพอใจที่ดีทางด้านผลิตภัณฑ์ มีการใช้การประกันคุณภาพทั่วทั้งองค์กรใน การลดต้นทุนให้ต�่ำที่สุด โครงการต่าง ๆ จากประสบการณ์ที่ ได้รับจากการศึกษาวิศวกรรมคุณค่าแสดง

ให้เห็นว่า โครงการต่าง ๆ จะมีการบริหาร วิศวกรรมคุณค่าเป็นไปด้วยดี จนน�ำไปสูร่ อบ อายุ ข องการประหยั ด ต้ น ทุ น ได้ ม ากกว่ า 10 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งบางครั้งอาจสูงกว่า 25 เปอร์เซ็นต์ การปฏิบัติงานในส�ำนักงาน มีส่วน ละม้ายคล้ายคลึงกัน คือ การตัดต้นทุนจะมี การก� ำ หนดนโยบายทางด้ า นการตั้ ง งบ ประมาณฐานศูนย์ (zero base budgeting) หรือการใช้เทคนิควิศวกรรมคุณค่า การผลิต จะมีการใช้กลุ่มควบคุม คุณภาพ ซึ่งในประเทศญี่ปุ่นประสบความ ส�ำเร็จอย่างมากในการปรับปรุงกระบวนการ ผลิต ลดของเสียและเพิ่มการผลิต เป็นต้น ผลลัพธ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นมีส่วนลดต้นทุนต่อ หน่วยการผลิต ความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ การ ประกันคุณภาพทัว่ ทัง้ องค์กรจะเริม่ ต้นทีก่ าร ก�ำหนดความจ�ำเป็นและความต้องการของ ลูกค้า รวมไปถึงระดับความต้องการของ ต้นทุน ลูกค้าอาจจะเป็นลูกค้าภายนอกหรือ ลูกค้าภายในองค์กร การประกันคุณภาพทั่ว ทัง้ องค์กร เป็นโปรแกรมการประกันคุณภาพ ที่ทุกหน่วยงานภายในองค์กรจะต้องท�ำงาน ร่วมกัน เพื่อผลิตสินค้าให้เป็นไปตามความ ต้องการของลูกค้าโดยต้องมีระดับคุณภาพ ของสินค้าและบริการอยู่ที่ต้นทุนต�่ำสุด

ท� ำ ไมต้ น ทุ น เหล่ า นั้ น จึ ง สู ง และ จ�ำเป็นต้องตัดต้นทุนเหล่านั้นให้ลงได้มาก ที่สุด? ปัญหาส่วนใหญ่อยู่ที่การออกแบบ การปฏิบัติการ ท�ำให้เกิดต้นทุนในการออกแบบที่ไม่มีความจ�ำเป็นอยู่ในกระบวนการ ท�ำงาน ท�ำอย่างไรจึงจะมีการออกแบบที่ดี หรื อ มี ที ม บริ ห ารที่ ดี หากปราศจากการ วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ การออกแบบหรือ การบริหารจัดการ ย่อมจะไม่กอ่ ให้เกิดความ สมดุลระหว่างต้นทุน สมรรถนะและความน่า เชื่อถือได้ ซึ่งจะเป็นอุปสรรคหนึ่งในการเริ่ม ต้นโปรแกรม เช่น วิศวกรรมคุณค่า การที่จะ ดึงเอานักออกแบบ วิศวกร และหัวหน้าหน่วย งานต่าง ๆ เข้าสูโ่ ครงการปรับปรุงต้นทุนย่อม จะเกิดขึ้นได้ยาก ท�ำให้ไม่สามารถเริ่มต้น โครงการได้เสียที เพราะพวกเขาคิดว่ามันจะ สะท้อนให้เห็นถึงขีดความสามารถของพวก เขา ทุกคนจึงค่อนข้างจะสงวนท่าที การ พูดคุยจึงเป็นไปอย่างระมัดระวังและมีการ ชักชวนด้วยค�ำพูดที่สุภาพเรียบร้อย เพื่อเข้า สูเ่ ส้นทางแห่งความร่วมมือร่วมใจกันของทุก ฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องกัน เหตุ ผ ลท� ำ ไมจึ ง เกิ ด ต้ น ทุ น ที่ ไ ม่ จ�ำเป็นขึน้ เช่น เวลาน้อยไปต้องการเวลามาก ขึน้ ต้องการสารสนเทศมากขึน้ ไม่มคี วามคิด ที่ถูกต้อง มีแนวคิดที่ผิด ๆ อุปนิสัย สภาพที่

April-May 2015, Vol.42 No.240

41 <<<


&

Management เกิดขึ้นเป็นครั้งคราวแต่นานไปจะเปลี่ยน จากสภาพที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น ครั้ ง คราวไปเป็ น สภาพที่ถาวร ทัศนคติ การเมืองและความ ต้ อ งการเงิ น ทุ น สิ่ ง เหล่ า นี้ เ ป็ น ต้ น ทุ น ที่ ไ ม่ จ�ำเป็นแทบทั้งสิ้น

วิศวกรรมคุณค่า หรือการวิเคราะห์ คุณค่า หรือการบริหารคุณค่า

ความหมายของค� ำ ว่ า วิ ศ วกรรม คุณค่า เป็นการพิสูจน์เทคนิคการบริหาร จัดการวิธีการหนึ่งในการสร้างความสมดุล ระหว่างต้นทุน ความน่าเชือ่ ถือ และสมรรถนะ ในการด�ำเนินงานอย่างเป็นระบบ ความ หมายแบบกระชับและกินความหมาย คือ วิ ศ วกรรมคุ ณ ค่ า เป็ น เครื่ อ งมื อ บริ ห าร จัดการเครือ่ งมือหนึง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดมูลค่าเพิม่ ทางด้านการเงินให้กับคุณ และวิศวกรรม คุณค่า เป็นแนวทางหนึ่งที่บ่งชี้และขจัด ต้นทุนที่ไม่จ�ำเป็นทิ้งไปอย่างเป็นระบบ การพิสูจน์ทางด้านเทคนิค ประวัติ ความเป็นมาของวิศวกรรมคุณค่าได้ประสบ ความส�ำเร็จมายาวนานกว่า 40 ปี มีการใช้ได้ ผลเป็นอย่างดีในประเทศญีป่ นุ่ สหรัฐอเมริกา ยุโรป และประเทศก�ำลังพัฒนา เช่น อินโดนี เ ซี ย และอิ น เดี ย เป็ น ต้ น ในประเทศ สหรัฐอเมริกามีการบังคับให้โครงการขนาด ใหญ่ของหน่วยงานราชการมีการใช้วิศวกรรมคุณค่าเช่นเดียวกับภาคเอกชน อย่าง เช่น General Electric, General Motors, General Dynamics, Hughes, Honywell และบริษัทอื่น ๆ วิศวกรรมคุณค่า จึงเป็นสหวิทยาการ ที่ ที ม งานต้ อ งมี ค วามรอบรู ้ ที่ ห ลากหลาย โดยให้ความส�ำคัญกับวงจรอายุของต้นทุน วิศวกรรมคุณค่า ไม่ใช่เป็นการทบทวนการ ออกแบบ โดยไม่ได้มองไปที่ความผิดพลาด ของการออกแบบ และไม่ ไ ด้ เ น้ น ไปที่ กระบวนการที่ท�ำให้ต้นทุนถูกสุด แต่ต้นทุน ที่ลดลงกลับให้ความส�ำคัญกับความน่าเชื่อ ถือได้และสมรรถนะเสียมากกว่า รวมทั้ง ไม่ใช่เป็นการควบคุมคุณภาพ แต่วิศวกรรม คุณค่าให้ความส�ำคัญกับการทบทวนความ >>>42

April-May 2015, Vol.42 No.240

น่าเชื่อถือทางด้านการออกแบบที่ปลอดภัย กับความล้มเหลว ความส� ำ คั ญ – วิ ศ วกรรมคุ ณ ค่ า ไม่ใช่เป็นการวิพากษ์วิจารณ์นักออกแบบ วิ ศ วกรรมคุ ณ ค่ า ต้ อ งการให้ นั ก ออกแบบ สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ โดยการค้นหา วิ ธี ก ารลดต้ น ทุ น และนั ก ออกแบบจะน� ำ ปัจจัยการผลิตเข้าไปใช้ในการศึกษา ซึ่งเป็น องค์ประกอบที่มีความส�ำคัญต่อวิศวกรรม คุณค่า การประหยัดต้นทุน – โดยคาดหวัง จะลดให้ได้มากกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ และอาจ ประหยัดได้มากว่า 25 เปอร์เซ็นต์ ในกรณีที่ ไม่ปกติ วิศวกรรมคุณค่า เป็นเครื่องมือที่มี ประสิทธิผลเป็นอย่างมากในระหว่างขัน้ ตอน การวางแผนและการออกแบบล่วงหน้า แต่ วิศวกรรมคุณค่ามักจะใช้อยู่ในขั้นตอนของ แนวคิดหรือการจัดท�ำหรือขั้นตอนในการ ด�ำเนินงาน

ขั้นตอนการศึกษาวิศวกรรมคุณค่า

1. ขั้ น เตรี ย มการศึ ก ษา – สร้าง ความคุน้ เคยโครงการวิศวกรรมคุณค่ากับทีม ทีป่ รึกษาวิศวกรรมคุณค่า สร้างความคุน้ เคย วิ ศ วกรรมคุ ณ ค่ า กั บ สมาชิ ก ในที ม งาน วิ ศ วกรรมคุ ณ ค่ า (โดยใช้ เ วลาในการฝึ ก อบรม 40 ชั่วโมง) และบ่งชี้ถึงสารสนเทศที่ จ�ำเป็นในการศึกษา 2. ขั้นศึกษาโครงการ – ระยะของ สารสนเทศ ระยะของความคิดสร้างสรรค์ ระยะของการตัดสิน ระยะของการพัฒนา และการให้ข้อคิดเห็นต่าง ๆ 3. ขั้ น สุ ด ท้ า ยของการศึ ก ษา – การน�ำเสนอและรายงานผล การน�ำไปปฏิบตั ิ การติดตามและประเมินผลตามข้อคิดเห็น ต่าง ๆ การศึ ก ษาโครงการ – ระยะของ สารสนเทศ มี ก ารรวบรวมภู มิ ห ลั ง ของ สารสนเทศ เช่น เกณฑ์ที่ใช้ในการออกแบบ เงื่อนไขต่าง ๆ ในสถานที่ท�ำงานจริง องค์ ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการออกแบบและ

ประวัติความเป็นมาของโครงการ ข้อจ�ำกัด ของโครงการ และการใช้คอมพิวเตอร์ในการ ออกแบบและข้อมูลของต้นทุน การสร้างความคุ้นเคยกับสมาชิกใน ทีมงานเกี่ยวกับการทบทวนภูมิหลังของการ ออกแบบ และสารสนเทศทางด้านต้นทุนที่ ถูกต้องและท�ำการวิเคราะห์ประโยชน์ใช้สอย เช่น ค้นหาประโยชน์ใช้สอยขั้นปฐมภูมิและ ขั้นทุติยภูมิ ยกตัวอย่างเช่น ในโรงไฟฟ้า เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าที่ใช้ผลิตไฟฟ้า จะถือว่า เป็นขั้นปฐมภูมิ การเดินสายไฟฟ้าเข้าไปสู่ ถนนหนทางต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการจราจร ถือว่าเป็นขั้นทุติยภูมิ ระยะของความคิดสร้างสรรค์ – เป็นการพัฒนาความคิดใหม่ ๆ กฎขัน้ พืน้ ฐาน คื อ ความคิ ด ทั้ ง หมดจะถู ก เขี ย นไว้ และ ท�ำการตัดสินความคิดทั้งหมดในภายหลัง ระยะของการตั ด สิ น – ประเมิ น ความคิดต่าง ๆ โดยตัดสินใจว่าความคิดใด บ้างทีส่ ามารถน�ำไปพัฒนาได้บา้ ง ทัง้ นีใ้ ห้ใช้ ค�ำถาม อาทิ ต้นทุนเหล่านีม้ ปี ระโยชน์หรือไม่ มันจะบรรลุความต้องการได้จริงหรือไม่ มัน น่าเชื่อถือได้จริงหรือไม่ มันสามารถน�ำไป ปรับปรุงได้จริงหรือไม่ เป็นความคิดที่เคยใช้ มาก่ อ นหรื อ ไม่ หากใช่ อะไรคื อ ความมี สมรรถนะ ระยะของการพั ฒ นา – หลังจาก ตัดสินความคิดต่าง ๆ ได้แล้ว ให้นำ� ความคิด ต่าง ๆ ไปพัฒนาเพือ่ น�ำไปสูก่ ารแก้ไขปัญหา ว่า ความคิดต่าง ๆ ทีน่ ำ� ไปใช้สามารถใช้งาน ได้จริงหรือไม่ โดยท�ำการเปรียบเทียบทาง ด้านการออกแบบและสเก็ตช์ภาพดัง้ เดิมกับ ข้อเสนอทางด้านการออกแบบ รวมทัง้ เตรียม การเปรียบเทียบต้นทุนวงจรอายุ และมีการ อภิปรายข้อดีและข้อเสีย ระยะของการให้ขอ้ เสนอแนะ – ขัน้ ตอนในการจัดท�ำเป็นเอกสาร การสรุปผล การค้นหาและการจัดท�ำข้อเสนอแนะ รวม ทัง้ การน�ำเสนอผลงานและการเขียนรายงาน ตัวอย่างวิศวกรรมคุณค่า ในปี พ.ศ.2530 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้จดั ท�ำ วิศวกรรมคุณค่าโครงการระบบสายส่งระยะ


&

Management ที่ 7 โดยมีการก่อสร้างสายส่งความยาว 750 กิโลเมตร และมีสถานีไฟฟ้า จ�ำนวน 16 แห่ง ลงทุนเป็นเม็ดเงิน 2,300 ล้านบาท ภายใน ระยะเวลา 3 ปี บทสรุปของการด�ำเนินงาน – มีการ ฝึ ก อบรมวิ ธี ก ารวิ ศ วกรรมคุ ณ ค่ า ให้ กั บ พนักงานของ กฟผ.จ�ำนวน 50 คน มีการคัด เลื อ กที ม งานจ� ำ นวน 7 ที ม แต่ ล ะที ม มี พนักงาน 5-6 คน แต่ละทีมงานจะประกอบ ไปด้วย วิศวกรโยธา วิศวกรไฟฟ้า วิศวกร สื่อสาร และวิศวกรทางด้านต้นทุน เป็นต้น การศึกษามีอยู่ด้วยกัน 2 รูปแบบ คือ 1. พื้นที่ที่มีต้นทุนสูงโดยคาดคะเน เปอร์เซ็นต์ขนั้ ต�ำ่ ในการประหยัดต้นทุนได้อยู่ ที่ 5-10 เปอร์เซ็นต์ 2. พืน้ ทีท่ มี่ ตี น้ ทุนต�ำ่ แต่คาดการณ์ ว่าจะประหยัดต้นทุนได้สูงถึง 40 เปอร์เซ็นต์ หรือมากกว่านี้ ต้นทุนประมาณการทั้งหมดจะอยู่ที่ 7 ล้านบาท ซึ่ง กฟผ.คาดว่าจะประหยัด ต้นทุนได้ 100 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วน ที่ประหยัดต้นทุนได้มากกว่า 16 เท่า

การประกั น คุ ณ ภาพทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ร การควบคุมคุณภาพเป็นการตรวจสอบเช่น เดี ย วกั น ส่ ว นการประกั น คุ ณ ภาพ เป็ น งานการจัดการและการจัดท�ำเอกสาร ที่อยู่ ในขั้นตอนของการบริหารที่มีประสิทธิผลใน การแนะแนวให้ พ นั ก งานรู ้ จั ก การใช้ เครื่องจักรต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง เพื่อสร้าง หลักประกันคุณภาพทางด้านความพึงพอใจ ให้กับลูกค้า การประกั น คุ ณ ภาพทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ร เป็ น งานการจั ด การงานหนึ่ ง ที่ ส ร้ า งหลั ก ประกั น ความพึ ง พอใจให้ กั บ ลู ก ค้ า แบบ เบ็ดเสร็จ รวมไปถึงการสร้างความพึงพอใจ ให้ เ ป็ น ไปตามความต้ อ งการคุ ณ ภาพ สมรรถนะ ราคา และความน่าเชือ่ ถือได้อย่าง เหมาะสม ทุกฝ่ายภายในองค์กรจะต้องทุม่ เท ความพยายาม การออกแบบ การผลิต การ ตลาดและการขายกันอย่างเต็มที่ เป็นต้น การประกันคุณภาพทั่วทั้งองค์กร มี เรือ่ งราวและแนวคิดทีผ่ ดิ ๆ อาทิ การประกัน คุ ณ ภาพทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ร ไม่ ใ ช่ ก ารควบคุ ม คุ ณ ภาพหรื อ การตรวจสอบ การประกั น

คุณภาพทัว่ ทัง้ องค์กรไม่ใช่กจิ กรรมการตรวจ สอบที่ ดี ที่ สุ ด การประกั น คุ ณ ภาพทั่ ว ทั้ ง องค์กรไม่ใช่ความรับผิดชอบในการตัดสินใจ ของวิศวกร การประกันคุณภาพทัว่ ทัง้ องค์กร ไม่ ใ ช่ ก ารจั ด ท� ำ เอกสารจ� ำ นวนมาก การ ประกันคุณภาพทั่วทั้งองค์กรไม่ใช่พื้นที่ของ ต้นทุนหลัก และการประกันคุณภาพทั่วทั้ง องค์กรไม่ใช่ยารักษาโรคได้แบบสารพัดนึก การประกั น คุ ณ ภาพทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ร เป็นการใช้ต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิผลและ เพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้นรวมทั้งเป็นวิธีการที่จะ ท�ำให้การท�ำงานถูกต้อง ตั้งแต่ต้นและถูก ต้ อ งอยู ่ เ สมอ ตลอดจนยั ง เป็ น ระบบการ บริหารจัดการทีด่ ี และถือว่าเป็นหน้าทีค่ วาม รับผิดชอบของทุกคน

อ่านต่อฉบับหน้า

ตารางแสดงผลลัพธ์

ลำ�ดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8

รายการ Tower FDNS แบบแปลนสายส่ง Tower วงจรไฟฟ้า Dampers ระบบ Grounding Insulators ถนน

ข้อเสนอในการเปลี่ยนแปลง มีการตัดเซาะดินที่อัดแน่น เปลี่ยนเป็น Tower ขนาดเล็กในบางพื้นที่ ใช้ Step Bolts และเหล็กฉากที่ทำ�มุมไม่เท่ากัน เปลี่ยนในบางพื้นที่จาก Insulators เป็น Double Strings to Singles ลดจำ�นวนลง 40 เปอร์เซ็นต์ ไม่ใช้วัสดุที่มีราคาแพง ใช้ Insulator แบบแก้วใสทั้งหมด ติดตั้งในบางพื้นที่ และลดขนาดความกว้าง ความหนา และเปลี่ยนเป็น ถนนคอนกรีตด้วยการใช้หินคลุกอัดแน่น ใช้รางน�้ำแบบเปิดแทนการใช้ท่อน�้ำ เป็นแบบเรียบง่าย เปลี่ยน Configurations

9 Storm Drains 10 Cable Trench 11 Single Lines ต้นทุนทั้งหมดที่ประหยัดได้ ต้นทุนประมาณการไว้ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ = 100 ล้านบาท

คาดว่าจะประหยัดได้ (ล้านบาท) 8.5 11.4 6.0 3.0 5.8 5.0 6.5 3.5 3.5 5.0 36.0 123.0

รายงานทีป่ ระหยัดได้ (10-20 เท่าของการลงทุน และสูงมากกว่าร้อยละ 15 ของต้นทุนของโครงการ) April-May 2015, Vol.42 No.240

43 <<<


&

Management

ตอนจบ

ตัวอย่างความส�ำเร็จของการประยุกต์ใช้

Open Source ERP ใน SMEs

เรียบเรียงโดย สนั่น เถาชารี

ความ

เดิ ม ตอนที่ แ ล้ ว ได้ มี ก ารกล่ า วถึ ง เหตุ ผ ลและความส� ำ คั ญ ของการประยุ ก ต์ ใ ช้ ERP (Enterprise Resource Planning) ในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และ รวมถึงการน�ำเสนอถึงข้อดีและข้อด้อยของการเลือกใช้ซอฟต์แวร์รหัสเปิด (Open Source Software: OSS) ส�ำหรับ ERP ในฉบับนี้จะกล่าวถึงตัวอย่างและผลส�ำเร็จของการประยุกต์ใช้ Open Source ERP ใน SMEs ที่ ส�ำคัญโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

นสิทธิ นิตยะประภา และ อรสา เตตวัฒน (2011) ได้พัฒนาระบบจัดการส่งออก ปลาสวยงามโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม ERP Open Source ของ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด New Place พบว่า การประเมินประสิทธิภาพ ของระบบด้ า นความต อ งการของผู ้ ใ ช้ มี ประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก การประเมิน ประสิทธิภาพของระบบด้านความง่ายตอ การใช้มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับปานกลาง การประเมินประสิทธิภาพของระบบ ด้าน ประสิทธิภาพของการแสดงผล มีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก การประเมินประสิทธิภาพของระบบด้ า นความปลอดภั ย มี ประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก การประเมิน >>>44

April-May 2015, Vol.42 No.240

ประสิทธิภาพด้านการใช้งานต่อหน้า ทีก่ ารทาํ งานมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก และยัง สามารถเพิม่ ประสิทธิภาพในการทาํ งานได้ด ี สามารถลดขั้นตอนในการดําเนินงานของ ระบบ ลดต้นทุนในการดําเนินกิจการและ สามารถใช้งานผ่านเว็บเทคโนโลยีที่มีความ สะดวก รวดเร็วในการใช้งานของระบบ สนั่น เถาชารี (2552) ได้ปรับปรุง ประสิทธิภาพการจัดการกระบวนการทาง ธุรกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยใช้ระบบ ERP ของโรงงานผลิตขนมปัง และเบเกอรี่ เนือ่ งจากการด�ำเนินกระบวนการ ทางธุรกิจของโรงงานใช้วิธีการท�ำงานแบบ แยกกันเป็นแผนก ท�ำให้เกิดความล่าช้าและ

ความผิดพลาดสูง โดยเฉพาะใน 4 แผนกหลัก คือ แผนกขาย ผลิต จัดซื้อ และคลังสินค้า เนือ่ งจากการจัดเก็บข้อมูลด้อยประสิทธิภาพ จัดสรรงานไม่เหมาะสม ไม่มกี ารประสานงาน ขัน้ ตอนการท�ำงานไม่ชดั เจน และการสัง่ งาน ซ�ำ้ ซ้อน เพราะบุคลากรในโรงงานขาดการรับ รูข้ อ้ มูลของโรงงานทีเ่ ป็นเวลาจริง (real time) จึงได้มกี ารประยุกต์ใช้การวางแผนทรัพยากร วิสาหกิจ (Enterprise Resource Planning: ERP) ทีเ่ ป็นแบบบูรณาการกระบวนการหลัก เข้าด้วยกัน เพือ่ ให้บคุ ลากรในโรงงานสามารถ รับรู้ข้อมูลของโรงงาน ณ ขณะเวลานั้น และ ตัดสินใจในการด�ำเนินกระบวนการทางธุรกิจ ได้อย่างรวดเร็ว โดยโปรแกรมที่จะประยุกต์ ใช้กบั บริษทั เป็น Open Source ชือ่ Tiny ERP ที่ครอบคลุมการท�ำงาน 4 แผนกหลัก ผลจากการประยุกต์ใช้พบว่า ดัชนีวดั ประสิทธิภาพการจัดการกระบวนการทาง ธุรกิจในแผนกขาย คือ อัตรารับคืนสินค้าจาก


&

Management ลูกค้ามีค่าไม่ลดลง เนื่องจากพนักงานขาย ยั ง คงยึ ด ติ ด อยู ่ กั บ ค� ำ สั่ ง ซื้ อ จากลู ก ค้ า ใน ปัจจุบนั และประมาณการเบิกโดยใช้ประสบการณ์เป็นหลัก ดัชนีวัดประสิทธิภาพการ จัดการกระบวนการทางธุรกิจในแผนกผลิต คือ Production Order Fulfillment Lead Time ลดลง 1.23 ชัว่ โมง เนือ่ งจากโปรแกรม Tiny ERP จะรายงานเวลาทีจ่ ำ� เป็นต้องใช้ใน แต่ละสถานีงาน ท�ำให้หัวหน้าแผนกผลิต สามารถวางแผน จั ด สรรก� ำ ลั ง คน และ จ�ำนวนเครื่องจักรที่ต้องใช้ต่อสถานีงานได้ อย่างเหมาะสม ตลอดจนสามารถจัดล�ำดับ การผลิต เพื่อไม่ให้เกิดคอขวด (bottleneck) และเวลาสูญเปล่า (Idle time) ในกระบวนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดัชนีวัด ประสิทธิภาพการจัดการกระบวนการทาง ธุรกิจในแผนกจัดซื้อ คือ อัตราความรวดเร็ว ในการจัดซื้อมีค่าไม่ลดลง เนื่องจากหัวหน้า แผนกจัดซื้อใช้ประสบการณ์ในการออกค�ำ สั่งซื้อเป็นหลัก ดัชนีวัดประสิทธิภาพการ จัดการกระบวนการทางธุรกิจในแผนกคลัง สินค้า คือ อัตราสินค้าคงเหลือมีค่าไม่ลดลง เนื่องจากโรงงานมีนโยบายที่จะต้องส�ำรอง สินค้าไว้ในปริมาณหนึง่ เพือ่ รองรับกับค�ำสัง่ ซือ้ ของลูกค้าทีม่ าสัง่ ซือ้ สินค้าภายในโรงงาน เมื่อวิเคราะห์ต้นทุนจะพบว่า ต้นทุน แรงงานทางตรงลดลง 27,720 บาท/เดือน ต้นทุนแรงงานทางอ้อมลดลง 14,430 บาท/ เดือน และต้นทุนโสหุ้ยการผลิตอื่น ๆ ลดลง 42,722 บาท/เดื อ น คิ ด เป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ย เนื่องจากความล่าช้า และความผิดพลาดที่ ลดลงต่อยอดขาย 3.56 เปอร์เซ็นต์ เป็นเงิน จ�ำนวน 84,872 บาท/เดือน หรือ 1,018,464 บาท/ปี แต่ตอ้ งลงทุนเป็นค่าใช้จา่ ยครัง้ เดียว เพือ่ เป็นค่าใช้จา่ ยในการได้มาของระบบเป็น เงินจ�ำนวน 3,270,084 บาท ลงทุนเป็นค่าใช้ จ่ายรายปี เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแล ระบบสารสนเทศ เป็นเงินจ�ำนวน 520,150 บาท/ปี และจากการเปรี ย บเที ย บผลเชิ ง เศรษฐศาสตร์พบว่า การติดตั้งประยุกต์ใช้ Open Source Tiny ERP ที่มีระยะเวลาของ โครงการ 10 ปี จะมีระยะเวลาคืนทุน (PB) ประมาณ 6.56 ปี และมีผลตอบแทนของ โครงการ (IRR) เท่ากับ 8.40 เปอร์เซ็นต์

บริษัท กฟผ. จ�ำกัด (มหาชน) เป็น องค์กรแรกทีน่ ำ� ซอฟต์แวร์แบบเปิดมาใช้งาน อย่างจริงจังนับตัง้ แต่ปี พ.ศ.2537 เป็นต้นมา โดยเริ่ ม จากการใช้ ลี นุ ก ซ์ บ นอิ น ทราเน็ ต เซิร์ฟเวอร์ที่มีทั้งเมล์ ftp และเว็บเซิร์ฟเวอร์ ต่าง ๆ บนลีนุกซ์ จากนั้นก็มีความพยายาม สนับสนุนให้เกิดการใช้งานโอเพ่นซอร์สบน เดสก์ท็อป แต่ไม่ประสบความส�ำเร็จเท่าที่ ควร จนกระทั่งมีซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สที่ ท�ำงานบนวินโดวส์ออกมา ภายใต้การท�ำงาน ของคณะท�ำงานชุดหนึ่งที่ กฟผ. ตั้งขึ้นมา เพือ่ ดูแลเรือ่ งซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สโดยตรง และติดตามความคืบหน้าเกีย่ วกับซอฟต์แวร์ โอเพ่นซอร์สบนวินโดวส์ทั้งหมด ส่งผลให้ กฟผ. สามารถลดต้นทุนที่ต้องจ่ายเป็นค่า ลิขสิทธิซ์ อฟต์แวร์แบบปิดได้หลายล้านบาท นอกจากนี้ กฟผ. ยังใช้ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ต่าง ๆ เช่น ระบบ e-Learning และระบบ Search Engine ที่ ก�ำลังพัฒนาต่อยอดให้สามารถค้นภาษา ไทยได้ ค้นค�ำพ้องได้ และใช้ Artificial Intelligence (AI) ช่วยในการสืบค้น รวมถึงการ พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ (knowledge management) ให้เป็นโอเพ่นซอร์ส ทั้งหมด ไทยประกันชีวิต เป็นองค์กรของคน ไทยที่มีการน�ำเอาซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส มาใช้อย่างอย่างจริงจังเช่นกัน จนกระทั่งใน ปัจจุบันซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สถือเป็นตัว ขับเคลื่อนระบบไอทีของไทยประกันชีวิตให้

มีความแข็งแกร่ง และมีเสถียรภาพสูง โดย ไทยประกันชีวิตได้พัฒนาโปรแกรมใช้เอง ทัง้ หมดครบวงจรด้วยบุคลากรของบริษทั มา ตั้งแต่เริ่มต้น โดยหลังจากปี พ.ศ.2543 ไทย ประกันชีวติ ตระหนักว่า ระบบไอทีของบริษทั เริ่ ม ล้ า สมั ย ไม่ ส ามารถตอบสนองความ ต้องการใหม่ ๆ ได้ และยังมีความหลากหลาย ของระบบ ทีท่ ำ� ให้ดแู ลรักษายาก ไม่สามารถ คงอยู่ในสภาพนี้ได้ต่อไป สมควรต้องมีการ เปลี่ยนแปลงโดยสิ้นเชิง โซลูชั่นที่เป็นอยู่ใน ปัจจุบนั มิได้เกิดจากความคิดในชัว่ วัน เดือน หรือปีเดียว แต่ใช้เวลายาวนานกว่า 3 ปี โดย มีลำ� ดับขัน้ ตอนและเหตุผลประกอบดังต่อไป นี้คือ ➲ เลือกเครือ ่ งมือทีใ่ ช้ในการพัฒนา งาน ซึง่ เดิมเป็นภาษา C แล้วเปลีย่ นใหม่เป็น Java แม้ว่า Java จะไม่ใช่โอเพ่นซอร์ส แต่ Java มีข้อดี 2 ประการ คือ เป็นเครื่องมือ พัฒนาระบบที่ครบถ้วน ใช้พัฒนางานได้ แทบทุกรูปแบบ ทุกขนาด และรหัสของ Java วิ่งได้แทบทุกแพลตฟอร์ม เมื่อตัดสินใจใช้ Java แล้ว ก็เริม่ ท�ำการพัฒนางานได้เลยโดย ไม่ต้องค�ำนึงว่าจะไปวิ่งบนแพลตฟอร์มไหน ➲ เลือกฮาร์ดแวร์ที่จะใช้ โดยไทย ประกันชีวิตเลือกใช้ฮาร์ดแวร์ตระกูลอินเทล ซึ่งก็คือเครื่องพีซีที่ถือว่าเป็นฮาร์ดแวร์ระบบ เปิดที่แพร่หลายที่สุด มีผู้ผลิตอยู่หลายราย ไม่มีใครผูกขาด มีหลายขนาด หลายราคา และยังมีระบบปฏิบัติการให้เลือกอีกหลาย ตัว

April-May 2015, Vol.42 No.240

45 <<<


&

Management ➲

เลื อ กระบบปฏิ บั ติ ก าร ไทย ประกันชีวิตเลือกใช้ลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการเดี ย ว ทั้ ง เซิ ร ์ ฟ เวอร์ แ ละเวิ ร ์ ค สเตชั่ น ยกเว้นในระบบที่จัดซื้อจัดหาจากภายนอก และก�ำหนดให้ใช้วินโดวส์ และในเครื่องที่ ใช้งานเดี่ยว ๆ ซึ่งใช้งานวินโดวส์อยู่แล้ว ปัจจุบันซอฟต์แวร์ทั้งหมดที่เป็นระบบแกน หลักทางธุรกิจไทยประกันชีวติ ล้วนแล้วแต่ใช้ ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สทัง้ สิน้ เมือ่ เลือกลีนกุ ซ์ ก็จะได้โปรแกรมโอเพ่นซอร์สทีว่ งิ่ ในลีนกุ ซ์มา ใช้อีกมาก ไทยประกันชีวิตได้ประโยชน์จาก ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สดังต่อไปนี้ คือ Open Office, Lexitron, Xsane, FireFox, Xming, Wildfire & Gaim, sugarCRM Vega III, kfax, Evolution, Borg, ganttProject และซอฟต์แวร์ยูทิลิตี้ เช่น Calculator, Gedit บริษัท ดิจิแลนด์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้มีการวิเคราะห์ความต้องการและ ปัญหาด้านซอฟต์แวร์ทบี่ ริษทั ประสบอยู่ จน ในที่สุดได้ข้อสรุปเบื้องต้นในการน�ำโซลูชั่น โอเพ่นซอร์สมาใช้งานในองค์กร ประกอบ ด้วยโซลูชั่น 3 ระบบ ได้แก่ ระบบอีเมล การ หาโปรแกรมเข้ามาทดแทนโปรแกรม MS Office และการน�ำโซลูชั่นโอเพ่นซอร์สเข้า มาสร้างเว็บไซต์และระบบอินทราเน็ตของ บริษทั ขณะทีใ่ นส่วนของระบบปฏิบตั กิ ารบน เครื่องเดสก์ท็อปนั้น ทางดิจิแลนด์ยังคงใช้ ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวส์เหมือนเดิม เนือ่ งจาก เป็ น ระบบปฏิ บั ติ ก ารที่ แ ถมมาพร้ อ มกั บ เครื่องคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว 1. ระบบเมล บริษัทได้เปลี่ยนจาก โปรแกรม Lotus Note มาเป็นโปรแกรม โอเพ่นซอร์สเมล์เซิรฟ์ เวอร์ทที่ ำ� งานบนระบบ ปฏิบตั กิ ารลีนกุ ซ์ และใช้โปรแกรม Thunderbird เป็นซอฟต์แวร์ Mail Client การปรับ เปลี่ ย นจาก Lotus Note ไปสู ่ โ ปรแกรม โอเพ่นซอร์สนัน้ สิง่ ทีน่ ำ� มาใช้พจิ ารณาในการ ปรับเปลี่ยน คือ เดิมบริษัทใช้ฟังก์ชันอะไร อยู่บ้าง และศึกษาเปรียบเทียบว่ามีโซลูชั่น ไหนใช้แทนได้บ้าง ซึ่งจากที่วิเคราะห์พบว่า ดิจิแลนด์ไม่ได้ใช้ความสามารถของ Note Application Workflow ดังนั้นจึงมีการมอง หาระบบเมลเซิร์ฟเวอร์แบบโอเพ่นซอร์ส ซึ่ง ก็มีอยู่มากมายหลายโปรแกรม แต่ปัจจัย >>>46

April-May 2015, Vol.42 No.240

หลักก็คือ เลือกโปรแกรมที่มีผู้ให้บริการเมื่อ เกิดปัญหาได้ ซึง่ ใช้งบประมาณในการจัดซือ้ ซอฟต์แวร์ใหม่เป็นลีนุกซ์ พร้อมติดตั้ง Config ไปประมาณ 80,000 บาท ในส่วนของ โปรแกรมอีเมลบนเครื่องพีซีแต่ละเครื่องที่มี การปรับมาใช้โปรแกรม Thunderbird แทน โปรแกรม MS Outlook Express ที่มาพร้อม กับวินโดวส์ เพื่อลดปัญหาเกี่ยวกับไวรัสที่ Outlook Express เปราะบางกว่า เนื่องจาก บริ ษั ท เน้ น เรื่ อ งระบบความปลอดภั ย ของ อีเมลเป็นพิเศษ โดยการปรับเปลี่ยนระบบ เมลขององค์กรไปสูโ่ ปรแกรมโอเพ่นซอร์สนัน้ ใช้เวลาเปลี่ยนไม่นานนัก ซึ่งฝ่ายไอทีของ บริษัทท�ำหน้าที่เป็นหัวเรือใหญ่ในการอบรม การใช้งานให้กับผู้ใช้ และสร้างไฟล์ Email Address Book ของเครื่องแต่ละเครื่องเพื่อ อิมพอร์ตเข้า Thunderbird 2. โปรแกรม Microsoft Office การ ปรับเปลี่ยนโปรแกรม MS Office ซึ่งเป็น โปรแกรมด้านเอกสารในส่วนงานอื่น ๆ ของ บริษัทจาก Microsoft Office เปลี่ยนมาใช้ เป็น Office PlaDao หรือ Office TLE ซึ่ง สามารถใช้งานทดแทนโปรแกรม MS Office ได้ ขณะที่ระบบคอมพิวเตอร์ในแผนบัญชี ยังคงใช้โปรแกรม MS Office เหมือนเดิม เนือ่ งจากมีจำ� นวนไลเซนส์เพียงพอต่อการใช้ งานอยูแ่ ล้ว โดยก่อนการปรับเปลีย่ นได้มกี าร วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการน�ำมาใช้ งาน ด้วยการตรวจสอบระบบงานเอกสาร แบบเดิมของบริษัท พบว่าส่วนใหญ่แล้วจะ เป็นการส่งไฟล์ใบเสนอราคาให้กบั ลูกค้าเป็น หลัก ไม่ได้มีการใช้งานเอกสารร่วมกัน ไม่มี การใช้ฟเี จอร์ SharePoint หรือความสามารถ ระดับสูงของ MS Office แต่อย่างใด โปรแกรม ทีเ่ ลือกใช้งาน คือ Office Pladao และ Office TLE ซึ่งพัฒนามาจากซอร์สโค้ดของ Open Office.0rg รองรับการใช้งานเอกสารภาษา ไทย และมีขอบเขตความสามารถใช้งาน ทดแทน MS Office ได้เต็มความต้องการของ ผู้ใช้ การเปลี่ยนจาก MS Office ไปสู่ โปรแกรมโอเพ่นซอร์ส มีอุปสรรคค่อนข้าง มาก เนื่องจากต้องปรับเปลี่ยนความเคยชิน ของผู้ใช้ แก้ปัญหาการใช้งาน และการจัด

ฝึกอบรม ใช้เวลาประมาณ 6 เดือน - 1 ปี กว่าทุกอย่างจะเข้ารูปเข้ารอย โดยปราศจาก การต่อต้านจากผู้ใช้ และต้องท�ำหลายส่วน พร้อม ๆ กัน เช่น การฝึกอบรม การให้บริการ แก้ปัญหาของฝ่าย MIS การออกนโยบาย จากผู้บริหาร และการเข้มงวดเรื่องลิขสิทธิ์ 3. เว็ บ ไซต์ แ ละอิ น ทราเน็ ต ของ องค์กร บริษทั ได้นำ� โซลูชนั่ การจัดการเนือ้ หา โอเพ่นซอร์ส อย่าง Mambo CMS เข้ามาใช้ พัฒนาเว็บไซต์ขององค์กร รวมทั้งพัฒนา ระบบอินทราเน็ตในองค์กรด้วยจุดประสงค์ คือ เพือ่ แก้ปญ ั หาอีเมลทีเ่ สียไปกับการส่งหา กันเองภายในองค์กร ลดปริมาณข้อมูลที่ แนบไปในเมล เช่น โปรโมชั่นของฝ่ายขาย ประกาศของฝ่ายบุคคล หรือการแจกจ่าย คู่มือการใช้งานของฝ่ายไอที หากแนบไฟล์ pdf ขนาด 1MB ให้แก่พนักงานทุกคน อาจ ต้องใช้พื้นที่ถึง 100MB และเสีย Traffic อินเทอร์เน็ตไปโดยใช่เหตุ แต่หากเป็นการส่ง ผ่านระบบอินทราเน็ตช่วยให้การสื่อสารใน องค์กรสะดวกและรวดเร็วขึ้น การพั ฒ นาและจั ด การกั บ ปั ญ หา การปรั บ ปรุ ง ระบบที่ ดิ จิ แ ลนด์ ม าเป็ น โปรแกรมโอเพ่นซอร์สต่าง ๆ นั้น ต้องได้รับ การเห็นชอบและสนับสนุนจากผู้บริหารของ บริษัทในส่วนงานต่าง ๆ เพื่อให้การพัฒนา สัมฤทธิผล ไม่วา่ จะเป็นการก�ำหนดนโยบาย และการตอกย�ำ้ เมือ่ มีประชุมเรือ่ งลิขสิทธิ์ ซึง่ จุดหลักทีท่ ำ� ให้การน�ำโอเพ่นซอร์สมาใช้งาน จนประสบผลส�ำเร็จ หลัก ๆ คงต้องยกให้ ผูบ้ ริหารทีเ่ อาจริงกับเรือ่ งลิขสิทธิแ์ ละยอมรับ การเปลี่ ย นแปลง เพราะถ้ าผู ้ บ ริ ห ารหรื อ หัวหน้าแผนกไม่ให้ความร่วมมือก็คงส�ำเร็จ ยาก โดยบริษัทใช้เวลาประมาณ 3 เดือน ใน การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการลงทุนซื้อ ไลเซนส์ โ ปรแกรมเพิ่ ม เติ ม กั บ การน� ำ โอเพ่นซอร์สมาใช้งาน เพือ่ ประเมินความเป็น ไปได้เปรียบเทียบความคุ้มค่า จากนั้นก็จะ ท�ำแผนการเปลี่ยนแปลงน�ำเสนอต่อคณะ ผูบ้ ริหารของบริษทั เมือ่ บวกกับความเชือ่ มัน่ ที่มีต่อผู้ให้บริการที่มีประสบการณ์ในการ พัฒนาระบบโอเพ่นซอร์สมานาน จึงมีความ เห็นตรงกันว่า การน�ำโอเพ่นซอร์สมาใช้งาน เป็นทางเลือกที่ดีที่สุดขององค์กร โดยระยะ


&

Management เริม่ ต้นของการพัฒนา บริษทั ดิจแิ ลนด์ได้นำ� โซลูชนั่ เป้าหมายทีต่ อ้ งการใช้งาน มาทดลอง ใช้งานกลุม่ ย่อย ๆ ในฝ่ายไอทีรวมถึงผูบ้ ริหาร ทุกคน เพื่อประเมินรูปแบบการใช้งานและ แนวทางการแก้ไขปัญหา พบว่า การน�ำ โอเพ่นซอร์สมาใช้งาน ไม่ได้แตกต่างจากการ ใช้โปรแกรมไลเซนส์ และมีผลกระทบต่อ พฤติกรรมการใช้งานเดิมไม่มากนัก ไม่วา่ จะ เป็น MS Office หรือระบบเมลจากนัน้ ก็เข้าสู่ การจัดท�ำแผนในการเริ่มต้นน�ำโซลูชั่นเหล่า นั้นมาใช้งานจริงทั่วทั้งองค์กร ตั้งแต่การจัด ซื้อโซลูชั่น การปรับแต่งเข้ากับระบบของ บริษัท การฝึกอบรมพนักงาน ในระหว่างขั้น ตอนการพัฒนาระบบ ฝ่ายไอทีของดิจแิ ลนด์ จะเป็นผู้ที่บทบาทหลักในการแก้ปัญหาให้ กับผู้ใช้งาน โดยเฉพาะการใช้งาน Office Pladao และ Office TLE ซึ่งผู้ใช้งานจะมี ปัญหาการใช้งาน เช่น ไม่คุ้นเคย หรือใช้ไม่ เป็น นอกจากนี้ฝ่ายไอทียังรับผิดชอบการ อบรมการใช้งานให้กับพนักงานด้วย ความคุ้มค่า การปรับเข้าสู่โซลูชั่น โอเพ่นซอร์สของดิจิแลนด์นี้ ช่วยให้องค์กร ประหยัดงบประมาณไปเกือบล้านบาท นับ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่คุ้มค่ากับการลงทุน เป็นอย่างยิ่ง ขณะที่การปรับเปลี่ยนจาก MS Office ไปเป็น Office Pladao และ Office TLE แม้จะใช้เวลาปรับเปลี่ยนค่อนข้างนาน แต่ก็ถือว่าคุ้มค่า เพราะสามารถประหยัดงบ ประมาณค่ า ไลเซนส์ ใ นแผนกอื่ น ๆ ไป ประมาณ 50 ไลเซนส์ ราคา 33,000 บาทต่อ ไลเซนส์ รวมเป็นตัวเงินกว่า 1,650,000 บาท ตลอดระยะเวลากว่า 2 ปี ของการน�ำ โอเพ่นซอร์สมาใช้งาน มาถึงวันนี้ดิจิแลนด์มี ความพึงพอใจอย่างมากกับการน�ำโซลูชั่น โอเพ่นซอร์สต่าง ๆ มาใช้ในองค์กร เพราะ พนักงานในส่วนงานต่าง ๆ สามารถใช้งาน ได้อย่างราบรืน่ ทีส่ ำ� คัญคือ การลดค่าใช้จา่ ย ด้านซอฟต์แวร์ให้บริษัทได้อย่างมาก

ปัจจัยสูค่ วามสำ�เร็จของการประยุกต์ ใช้ Open Source ERP สำ�หรับ SMEs

จากที่กล่าวมาข้างต้นเกี่ยวกับตัวอย่ า งและผลส� ำ เร็ จ ของการประยุ ก ต์ ใ ช้ Open Source ERP ใน SMEs สามารถสรุป

ปั จ จั ย สู ่ ค วามส� ำ เร็ จ ของการประยุ ก ต์ ใ ช้ Open Source ERP ส�ำหรับ SMEs ที่ส�ำคัญ คือ 1. ผูบ้ ริหารระดับสูงขององค์กรทีจ่ ะ ประยุกต์ใช้ Open Source ERP ต้องก�ำหนด แนวทางในการด�ำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง ตลอดจนติดตาม ผลการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2. เนื่องจากซอฟต์แวร์ที่ประยุกต์ ใช้กับบริษัท เป็น Open Source ERP ดังนั้น จึ ง มี ค วามจ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ งมี ที่ ป รึ ก ษาที่ มี ความรู้ ความสามารถในการปรับแก้รหัส ต้นฉบับ (source code) 3. บุคลากรในองค์กรต้องไม่ยดึ ติด กับการท�ำงานที่ขาดการสื่อสารโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ภายในองค์กรควรมีระบบการ สอนงาน คู่มือการใช้งานโปรแกรม Open Source ERP ตลอดจนการดู แ ลรั ก ษา เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ เอกสารอ้างอิง 1. พั ช ริ น ทร์ อิ น ทนั น ท์ . (2546). การ พัฒนาระบบการวางแผนทรัพยากรกิจการเพือ่ ช่วย ในการตัดสินใจด้านการวางแผนความต้องการวัสดุ บริษัท อินโนเวกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด. การ ค้นคว้าแบบอิสระปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการจั ด การ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2. กาญจนา กาญจนสุนทร. (2549). การ ศึกษาเบื้องต้นเพื่อพัฒนาระบบ ERP ที่เหมาะสม ส�ำหรับ SMEs ในจังหวัดปราจีนบุรี. Industrial Technology Review, 12(158), 157-161 3. ฐิฏิณัฏฐ์ หลักชัยกุล.(2550). การ ศึกษาการน�ำซอฟต์แวร์การวางแผนทรัพยากรทาง ธุรกิจมาใช้ในองค์การ: กรณีศกึ ษาผูบ้ ริหารในนิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี. Industrial Technology Review, 13(168), 174-175. 4. ธนสิ ท ธิ นิ ต ยะประภา และ อรสา เตตวัฒน. “การพัฒนาระบบจัดการการส่งออกปลา สวยงามโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม ERP Open Source”, Journal of Community Development Research. 4(1) : 14 – 27, 2011.

5. สนัน่ เถาชารี. การปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการกระบวนการทางธุรกิจของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมโดยใช้ระบบ ERP กรณี ศึกษาโรงงานผลิตขนมปังและเบเกอรี.่ วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 2552. 6. สนัน่ เถาชารี.(2551).การประยุกต์ใช้ Open source tiny ERP เพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพ การจัดการกระบวนการทางธุรกิจของ SMEs. Industrial technology review,14 (181), 148-154. 7. สนั่น เถาชารี.(2552). เพิ่มศักยภาพ การแข่งขันของ SMEs ด้วย Open Source ERP. Industrial technology review,15 (197), 132-138 8. http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=1236&pageid=3 2&read=true&count=true#sthash.SiIK4NGS. dpuf 9. http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=1236&pageid=3 3&read=true&count=true#sthash.CZGmM2w3. dpuf 10. http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=1236&pageid=3 4&read=true&count=true#sthash.8gEfkE1P. dpuf 11. http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=1236&pageid=2 8&read=true&count=true#sthash.6N32VjTf. dpuf 12. http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=1236&pageid=2 9&read=true&count=true#sthash.KHkMA6xb. dpuf 13. http://www.tpa.or.th/writer/read_ this_book_topic.php?bookID=1236&pageid=6 &read=true&count=true#sthash.U5lPYWBP. dpuf 14. http://www.novabizz.com/Business 15. http://www.frontware.com/OpenERP_th.php

April-May 2015, Vol.42 No.240

47 <<<


&

Electrical & Electronic

ตอนที่ 1

การทดสอบและทวนสอบ การติดตั้งระบบไฟฟ้าแรงดันต�่ำเพื่อความปลอดภัย แปลและเรียบเรียงโดย สุพจน์ ตุงคเศรวงศ์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายเครื่องมือมาตรวิทยา บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จำ�กัด

มาตรฐานการติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ้ า ตาม มาตรฐาน IEC 60364

เอกสารบทความที่จะกล่าวต่อไป เป็นตอน ๆ จะเป็นแนวทางส�ำหรับช่างไฟฟ้า หรื อ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ระบบไฟฟ้ า ที่ จ ะต้ อ ง ท�ำการวัดค่าทางไฟฟ้าต่าง ๆ ของระบบ ไฟฟ้าแรงดันต�่ำที่ติดตั้งใช้งานว่ามีความถูก ต้องเหมาะสม มีความปลอดภัยต่อคน สัตว์ และสิง่ ของทีใ่ ช้ หรือเกีย่ วข้องกับระบบไฟฟ้า โดยมีวัตถุประสงค์หลัก ๆ คือ

เพื่อเน้นความส�ำคัญของการ ทดสอบความปลอดภัยของการติดตั้งระบบ ไฟฟ้า แนวโน้มการเกิดอันตราย และระบบ ป้องกัน ➲ อธิบายวิธีทดสอบ การทดสอบ แบบต่าง ๆ (ครั้งแรก การซ่อมบ�ำรุง ท�ำเป็น ระยะ ๆ การตรวจพินิจ การวัด) ซึ่งจะได้ กล่าวต่อ ๆ ไป ➲ เอกสาร หลักการสนับสนุนการ ทดสอบต่าง ๆ

เอกสารนี้สัมพันธ์และอ้างอิงกับมาตรฐานสากล IEC 60364 และ IEC 61557 ที่ตีพิมพ์ใช้เมื่อ พ.ศ.2550 >>>48

April-May 2015, Vol.42 No.240

เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ เครื่ อ งมื อ ทดสอบทันสมัยชนิดต่าง ๆ ที่มีให้ใช้ในการ ทดสอบ 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการติดตั้ง ระบบไฟฟ้า บทความนีจ้ ะกล่าวถึงระบบแรง ดันไฟฟ้าต�่ำเป็นหลัก ซึ่งก็คือ ระบบไฟฟ้า ตามอาคาร บ้านเรือน โรงพยาบาล โรงแรม โรงเรียน โรงงาน ฯลฯ ใกล้และอยูร่ อบตัวเรา ภาพที่ 1 จะแสดงให้เห็นว่า ระบบไฟฟ้าที่มี มาให้เราใช้นั้น มีขั้นตอนอย่างไร


&

Electrical & Electronic

ภาพที่ 1 ระบบพลังงานไฟฟ้า ค�ำอธิบายรูป ระบบจ่ายไฟฟ้าที่สมบูรณ์ ประกอบด้วย ① สถานีผลิตไฟฟ้า เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ② สถานีไฟฟ้าแรงดันสูง (แปลงแรงดันไฟฟ้าให้สูงขึ้น) ③ ระบบสายส่งไฟฟ้า (ส่งกระจายพลังงานไฟฟ้าไปยังพื้นที่ที่ต้องการใช้ไฟฟ้า ส่วนใหญ่เป็นส่วนของ กฟผ. ในกรณีของประเทศไทย) ④ สถานีไฟฟ้าช่วงกลาง (แปลงแรงดันสูงเป็นแรงดันระดับปานกลาง) ในไทยอาจเป็นของ กฟผ. การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค (กฟภ.) การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) ⑤ หม้อแปลงกระจายไฟฟ้า (แปลงไฟฟ้าแรงดันปานกลางเป็นแรงดันต�่ำ ทั่วไปที่ประมาณ 400V, 600V) มี สายไฟฟ้าส่งที่อยู่เหนือศีรษะ หรือใต้ดิน ที่จะกระจายส่งไฟฟ้าสู่บ้าน อาคาร โรงงาน และอื่น ๆ ⑥ อาคาร บ้านเรือน โรงงาน ผู้ใช้ไฟฟ้า

1.1 รูปแบบการติดตัง้ ระบบไฟฟ้าที่ เกีย่ วกับชนิดของแรงดันไฟฟ้า เกีย่ วกับชนิด ของแรงดันไฟฟ้าที่ท�ำการติดตั้งใช้งานนั้น สามารถแบ่งเป็น 1. การติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ้ า แรงดั น กระแสสลับ (AC: Alternating Current) 2. การติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ้ า แรงดั น กระแสตรง (DC: Direct Current) โดยทัว่ ไปแล้ว การติดตัง้ ระบบไฟฟ้า จะสามารถใช้ได้ทงั้ ระบบไฟฟ้า AC หรือ DC สัญลักษณ์ทใี่ ช้แทนการบอกระบบ ดังแสดง ในภาพที่ 2 และ 3

ภาพที่ 2 แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง (DC: Direct Current)

ระบบ AC สามารถแปลงแรงดัน ไฟฟ้าสูงขึน้ หรือต�ำ่ ลงได้งา่ ย และสร้างสนาม ไฟฟ้าแบบหมุนเวียนในระบบหลายเฟสได้

ภาพที่ 3 แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับ (AC: Alternating Current)

ระบบ DC ส่วนใหญ่ใช้เฉพาะที่ เช่น ระบบพลังงานแสงอาทิตย์ ตัวเก็บพลังงาน ไฟฟ้า ไม่ค่อยมีใช้ ในระบบใหญ่ 1.2 รูปแบบการติดตัง้ ระบบไฟฟ้าที่ เกีย่ วกับระบบการต่อลงดิน ระบบไฟฟ้าใดๆ จะต้องมีระบบวัดและป้องกันทีเ่ หมาะสมต่อ การเกิ ด กระแสไฟฟ้ า รั่ ว ไหล และแรงดั น ไฟฟ้าทีอ่ าจสัมผัสได้ในกรณีเกิดการผิดพร่อง ขึ้น ระบบจ่ายไฟฟ้าใด ๆ ที่มีแรงดันไฟฟ้า ปกติสูงกว่า 50V จะต้องรวมการมีระบบต่อ ลงดินด้วย มาตรฐาน IEC 60364-1 นิยาม และ อธิบายรูปแบบต่าง ๆ ของการติดตั้งระบบ ไฟฟ้า โดยค�ำนึงถึงการติดตั้งระบบต่อลงดิน

อักษรย่อที่ใช้ในการอธิบายระบบ ติดตั้งทางไฟฟ้า อักษรตัวแรก จะบอกถึงการต่อลง ดินที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า คือ T คือ มีการต่อลงดินที่แหล่งจ่าย ไฟฟ้า (ในภาษาละติน ค�ำว่า Terra คือ โลก หรือที่เราเรียกดินโดยทั่วไป) I คือ ตัวน�ำสายเฟส (ไฟฟ้า) ถูก แยกออกจากดิน หรือถูกต่อกับดินผ่านตัว ความต้านทาน (impedance) อักษรตัวทีส่ อง จะบอกถึงวิธกี ารต่อ ลงดินของส่วนตัวน�ำเปิดโล่งในพื้นที่การติด ตั้งระบบไฟฟ้า T คือ มีการต่อลงดินโดยตรงกับ เสาหลักดิน N คือ ส่วนตัวน�ำไฟฟ้าที่เปิดโล่ง (exposed conductive parts) ถูกต่อกับ สายดิ น (PE) หรื อ สายดิ น ร่ ว มสายศู น ย์ (PEN) ที่แหล่งจ่ายไฟฟ้า 1.2.1 ระบบ TT ระบบ TT จะถูกต่อลงดินทีแ่ หล่งจ่าย ไฟฟ้า ส่วนตัวน�ำที่เข้าถึงได้ (accessible conductive parts) จะถูกต่อลงดิน ณ จุดที่ ถู ก ติ ด ตั้ ง (เช่ น ที่ จุ ด เข้ า ไปติ ด ตั้ ง ) ดั ง ไดอะแกรมแสดงในภาพที่ 4

ภาพที่ 4 ระบบ TT

(อ่านต่อฉบับหน้า) แปลและเรียบเรียงจากเอกสาร : Guide for Testing and Verification of Low Voltage Installations ของ METREL

April-May 2015, Vol.42 No.240

49 <<<


&

Computer&IT

กองบรรณาธิการ

เพิ่มขีดความสามารถ หาก

ทางการแข่งขันด้วยไอที

เปรียบธุรกิจ คือ ร่างกาย ไอที คือ เส้น เลือด และ ดาต้า เซนเตอร์ คือ หัวใจ แล้วหล่ะก็ หาก ต้องการให้ธุรกิจมีความคล่องตัว และมีขีดความสามารถทางการแข่งขันกับนานาประเทศได้ จ�ำเป็นจะต้องดูแลและบริหารจัดการระบบไอทีและดาต้าเซ็น เตอร์ให้สามารถท�ำงานได้อย่างลื่นไหล ไม่สะดุด และต้องเป็นระบบที่ประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย

บริษัท

ไ อ อ า ร ์ พี ซี จ� ำ กั ด (มหาชน) เป็นองค์กร อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขนาดใหญ่ที่เล็งเห็น ความส�ำคัญด้านการเพิ่มประสิทธิภาพด้าน ไอทีภายในองค์กร โดยมุง่ ทีก่ ารปรับปรุงและ ใช้ ท รั พ ยากรไอที ที่ มี อ ยู ่ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ สูงสุด และทีส่ ำ� คัญยังช่วยลดการใช้พลังงาน

ที่สิ้นเปลืองโดยเปล่าประโยชน์ลงได้ ไออาร์พีซี เป็นธุรกิจในเครือบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ที่ด�ำเนินธุรกิจไปใน ทิศทางเดียวกัน ภายในแนวคิด Big, Long, Strong โดยมุ่งเน้นสร้างการเติบโตให้กับ ธุรกิจ (big) พัฒนาโรงกลั่นปิโตรเคมีแบบ ครบวงจร ไปพร้อมกับการด�ำเนินธุรกิจแบบ

ยั่งยืน (long) และต้องมีผลการด�ำเนินงานที่ แข็งแกร่ง (strong) โดยมีเป้าหมาย คือ การ สร้างผลตอบแทนของเงินลงทุน (return on investment capital) เพื่อให้ไออาร์พีซีเป็น บริษัทที่มีผลก�ำไรอยู่ในอันดับต้น ๆ ของ บริษัทแม่ ปตท. หั ว ใจส� ำ คั ญ ที่ จ ะขั บ เคลื่ อ นธุ ร กิ จ ไออาร์พีซี คือ ระบบไอที ที่เปรียบเสมือน เส้นเลือดของธุรกิจ ดังนั้น ไออาร์พีซี จะต้อง ด�ำเนินการเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ โดยหนึง่ ใน ภารกิจส�ำคัญของฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การเพิ่มประสิทธิภาพดาต้าเซ็นเตอร์ ให้สามารถรองรับการเติบโตของข้อมูลที่จะ หลั่งไหลเข้ามายังระบบในปริมาณมากจาก การขยายตัวของธุรกิจ

เพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานของดาต้า เซ็นเตอร์

ทั้ ง นี้ จ ากการประมาณการพบว่ า จ�ำนวนข้อมูลที่จะมีการขยายตัวน่าจะสูงถึง 10 เปอร์เซ็นต์ต่อปี ท�ำให้บริษัทฯ ต้องเพิ่ม ประสิทธิภาพของดาต้าเซ็นเตอร์ให้สามารถ รองรับการเติบโตที่จะตามมา ซึ่งวิธีการที่ดี ที่สุด เร็วที่สุด และประหยัดค่าใช้จ่ายมาก >>>50

April-May 2015, Vol.42 No.240


&

Computer&IT ทีส่ ดุ คือการปรับปรุงดาต้าเซ็นเตอร์ทใี่ ช้งาน อยู่เดิมให้สามารถท�ำงานได้เต็มประสิทธิภาพยิ่งขึ้น คุณสุวรรณ ศรีนวล ผู้จัดการฝ่าย เทคโนโลยีสารสนเทศ สายงานแผนธุรกิจ องค์กร บริษทั ไออาร์พซี ี จ�ำกัด (มหาชน) เปิด เผยว่า จากแนวคิดการด�ำเนินงานของกลุ่ม ธุรกิจในเครือ ปตท. ท�ำให้ไอที กลายเป็น หัวใจของธุรกิจ โดยเรามีเป้าหมาย คือ จะ ขับเคลือ่ นธุรกิจ ด้วย ICT Innovation Excellence กล่าวคือ เราจะท�ำอย่างไรให้ธุรกิจ สามารถแข่งขันได้ โดยมีไอซีทีเป็นเครื่องมือ และเราจะท�ำอย่างไรให้ข้อมูลจากข้อมูล ทัว่ ไป (information) กลายเป็นข้อมูลทีฉ่ ลาด (intelligence) เพื่อสนับสนุนธุรกิจ ที่คือมุม มองในภาพของธุรกิจ ในเชิงปฏิบัติเราต้อง ท�ำในเรื่องของระบบพื้นฐาน (foundation) และโครงสร้างพืน้ ฐาน (infrastructure) ให้มี ความคุม้ ค่าต่อการลงทุน อาทิ ดาต้าเซ็นเตอร์ ก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่ต้องมีการปรับตัว บนพื้นที่กว่า 6,000 ไร่ ที่จังหวัด ระยอง เราจะเห็นว่าในกระบวนการผลิตของ โรงกลัน่ ปิโตรเคมี มีหน่อยผลิตย่อย ๆ เกิดขึน้ มากมาย นับตั้งแต่กระบวนการต้นน�้ำ การ วางแผนการผลิ ต กระบวนการกลางน�้ ำ กระทั่งกระบวนการปลายน�้ำ รวมถึงหน่วย สนับสนุนธุรกิจ ถูกกระท�ำภายใต้ฐานข้อมูล เดียวกัน และทุก ๆ กระบวนการได้มีการน�ำ เอาไอซีทเี ข้ามาช่วยในทุกกระบวนการ ดังนัน้

ดาต้าเซ็นเตอร์ จะต้องมีเสถียรภาพสูงมาก ถูกต้องแม่นย�ำ (accuracy) เชื่อถือได้ (reliability) และรวดเร็ว (speed) “ปัจจุบนั ไออาร์พซี ี มีดาต้าเซ็นเตอร์ อยู่ 2 แห่ง คือ ที่อาคาร Enco เป็นไซท์หลัก (main side) และที่ระยองเป็นไซท์ส�ำรอง (DR side) เดิ ม เราวางแผนไว้ ว ่ า ดาต้ า เซ็นเตอร์ที่อยู่ระยองจะเป็นไซน์หลัก จึงได้มี การดีไซน์ขนาดและระบบส�ำหรับรองรับการ ขยายตัวในอนาคต อย่างไรก็ตามปัจจุบัน ดาต้าเซ็นเตอร์ที่ระยองไม่ได้ถูกใช้งานแบบ เต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ (full load) ตามที่ ไ ด้ ออกแบบไว้แต่เดิม ท�ำให้เกิด Over Sizing ส่งผลให้การควบคุมอุณหภูมิ และระบบ ไฟฟ้าภายในค่อนข้างเกิดปัญหา และมีคา่ ใช้ จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าค่อนข้างสูง”

ประเมินประสิทธิภาพดาต้าเซ็นเตอร์

จากปัญหาดังกล่าว ทางไออาร์พีซี จึงได้มีการปรึกษากับทีมประเมินประสิทธิภาพดาต้าเซ็นเตอร์ของ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค

▲ คุณสุวรรณ ศรีนวล

(Data Center Assessment Service) ท�ำให้ บริษัทฯ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ในการ เพิ่มประสิทธิภาพดาต้าเซ็นเตอร์ และลดค่า ใช้จ่ายในการด�ำเนินการลงได้ ทั้งนี้ บริการประเมินประสิทธิภาพ ดาต้าเซ็นเตอร์ หรือ Data Center Assessment Service เป็นบริการที่ช่วยให้ผู้ดูแล ดาต้าเซ็นเตอร์สามารถรับรู้และท�ำความ เข้าใจถึงประสิทธิภาพการท�ำงานของดาต้า เซ็นเตอร์ที่เป็นอยู่ ณ ปัจจุบัน พร้อมกับน�ำ เสนอข้อมูลเพือ่ สนับสนุนการตัดสินใจในการ ปรับปรุงดาต้าเซ็นเตอร์ให้ท�ำงานได้อย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น โดยช่ ว ยตรวจสอบ และประเมินโครงสร้างและการท�ำงานของ อุปกรณ์พนื้ ฐาน รวมถึงปัจจัยหลักทีเ่ กีย่ วข้อง ได้แก่ อุปกรณ์แหล่งจ่ายไฟส�ำรองฉุกเฉิน ระบบจัดการและท�ำความเย็น ระบบตรวจวัด ต่าง ๆ โครงสร้างการจัดวางอุปกรณ์ในห้อง และประสิ ท ธิ ก ารใช้ พ ลั ง งานของดาต้ า เซ็นเตอร์ ที่ช่วยให้ผู้จัดการดาต้าเซ็นเตอร์ ได้ ท ราบถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานของ อุปกรณ์ต่าง ๆ โดยอ้างอิงและเปรียบเทียบ ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม การบริการดัง กล่าวมุ่งเน้นเรื่องการปรับปรุงประสิทธิภาพ การท�ำงานให้ดีขึ้น ช่วยให้ผู้จัดการดาต้า เซ็นเตอร์มั่นใจได้ถึงความพร้อมท�ำงานของ ดาต้าเซ็นเตอร์ในระดับสูงสุด April-May 2015, Vol.42 No.240

51 <<<


&

Computer&IT

ในระยะยาวอีกด้วย

เตรี ย มความพร้ อ มไอที ร องรั บ การ ขยายตัวธุรกิจ

“ในการประเมินประสิทธิภาพดาต้า เซ็นเตอร์ของไออาร์พีซี ทางทีมประเมินของ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ใช้เวลาเพียง 2 สัปดาห์ ในการประเมินสภาพแวดล้อมภายในดาต้า เซ็นเตอร์ พร้อมทั้งหาโซลูชั่นเพื่อมาตอบ โจทย์ ค วามต้ อ งการของเราได้ ซึ่ ง ถื อ ว่ า รวดเร็วมากกับการเพิ่มศักยภาพของดาต้า เซ็นเตอร์ภายในระยะเวลาอันสั้น อีกทั้งยัง ช่วยให้ไออาร์พซี ี สามารถวางแผนจัดการงบ ประมาณในส่วนของดาต้าเซ็นเตอร์ได้ดียิ่ง ขึน้ ช่วยให้ใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุด จากเดิมเรามีการใช้แอร์ในการท�ำ ความเย็นในห้องดาต้าเซ็นเตอร์ถงึ 3 ตัว เพือ่ ส่งผ่านความเย็นไปยังตูเ้ ซิรฟ์ เวอร์ตา่ ง ๆ เพือ่ ให้อปุ กรณ์ไอทีไม่เกิดความร้อนจนเกินไปจน ระบบล่ม ซึ่งโดยปกติ ระบบท�ำความเย็นนี้ นับเป็นส่วนที่ใช้พลังงานไฟฟ้ามากที่สุดใน ดาต้าเซ็นเตอร์ ปัจจุบัน หลังจากที่ได้มีการ

>>>52

April-May 2015, Vol.42 No.240

ประเมินและวางระบบใหม่โดย ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ท�ำให้เราสามารถลดการใช้แอร์ลง เหลื อ แค่ เ พี ย ง 1 ตั ว ในการท� ำ ความเย็ น เท่านัน้ ท�ำให้ชว่ ยประหยัดค่าไฟฟ้าในระบบ ท�ำความเย็นได้ถึง 66 เปอร์เซ็นต์เลยทีเดียว นับเป็นการช่วยลดต้นทุนการใช้พลังงานที่ สามารถวัดผลได้ในระยะเวลาอันสั้นเพียง 1 เดื อ นเท่ า นั้ น สามารถตอบสนองความ ต้ อ งการทางธุ ร กิ จ และเป้ า หมายในแง่ นโยบายทางการเงินได้อย่างดี” คุณสุวรรณ กล่าว ทั้ ง นี้ ผ ลที่ เ กิ ด ขึ้ น ในรู ป ของตั ว เงิ น ไออาร์พซี ี สามารถลดค่าไฟฟ้าจากเดิมทีจ่ า่ ย ประมาร 3 แสนบาทต่อเดือน ภายหลังจาก ปรับปรุงดาต้าเซ็นเตอร์แล้ว สามารถลดค่า ไฟฟ้าลงได้ถึง 1 แสนบาท สามารถตอบ โจทย์ธรุ กิจในเรือ่ งของการค่าใช้จา่ ย และทีม งานยังสามารถสร้างนวัตกรรมที่สามารถแก้ ปัญหาและสร้างเสถียรภาพให้กับระบบได้

ทั้งนี้ไออาร์พีซีมีแผนที่จะขยายฐาน การผลิตในพื้นที่จังหวัดระยองเพิ่มเติมบน พืน้ ที่ประมาณ 3,000 ไร่ โดยในปี พ.ศ.2556 ที่ผ่านมา ได้ด�ำเนินโครงการฟีนิกซ์ และ โครงการอื่น ๆ แล้วเสร็จไปหลายโครงการ ได้แก่ โครงการ EURO IV, TDAE, EBSM, Lube Blending, CHP I และ PRP เป็นต้น ต่อมาในปี พ.ศ.2557 มีการเร่งรัดผลักดัน โครงการ UHV และมีการท�ำโครงการ DELTA เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้มีความเป็นเลิศ ในด้ า นการผลิ ต การตลาด การบริ ห าร ทรัพยากรบุคคลและการจัดซือ้ จัดจ้าง อีกทัง้ ศึกษาโอกาสในการใช้ประโยชน์สินทรัพย์ ที่ดินของบริษัทฯ และในปี พ.ศ.2558 นี้ โครงการ UHV จะแล้วเสร็จ ส่งผลให้เพิ่ม ประสิทธิภาพของโรงกลั่น และสามารถเพิ่ม ก� ำ ลั ง การผลิ ต ได้ ม ากขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง สามารถท� ำ ให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ มู ล ค่ า ต�่ ำ เป็ น ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีที่สร้างมูลค่าเพิ่มได้สูง ขึ้น รวมทั้งมีแผนต่อยอดด�ำเนินโครงการ DELTA พร้ อ มเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ เสถียรภาพของการผลิต และเร่งรัดจัดท�ำ คู ่ มื อ กระบวนการผลิ ต ขณะเดี ย วกั น ได้ ด�ำเนินโครงการที่รองรับผลิตภัณฑ์โพรพิลีน จากโครงการ UHV โดยน�ำไปท�ำผลิตภัณฑ์ โพลิโพรพิลีน ดังนั้นจ�ำเป็นต้องเตรียมความ พร้อมด้านระบบไอทีและดาต้าเซ็นเตอร์เพือ่ รองรับการขยายตัวของธุรกิจด้วย


&

ระบบสนับสนุน ผลิตภาพการผลิต โกศล ดีศีลธรรม

ปัจ

จุ บั น เทคโนโลยี ไ ด้ เ ข้ า มามี บ ทบาทสนั บ สนุ น ให้ ก ารด� ำ เนิ น งานเกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ ในยุ ค ปฏิ รู ป ที่ มี แผนพัฒนามุ่งสู่ระบบเศรษฐกิจดิจิทัล ท�ำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับกระบวนทัศน์ที่ไม่เพียง แค่ มุ ่ ง ลดต้ น ทุ น แต่ ต ้ อ งสามารถตอบสนองอุ ป สงค์ ห รื อ ความต้ อ งการที่ ห ลากหลายของลู ก ค้ า ที่ มี ความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง รวมถึงความรวดเร็วในการเข้าสู่ตลาดที่ถือเป็นปัจจัยหลักสนับสนุนให้เกิด ความสามารถในการแข่งขัน ทั้งยังมีผลกระทบต่อภาคการผลิตให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองแรง กดดันดังกล่าว โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมยุคใหม่ต้องเร่งพัฒนาสู่ระบบการผลิตที่มีความยืดหยุ่น ในการตอบสนองการเปลี่ยนแปลง และสามารถติดตามข้อมูลสถานะกระบวนการเพื่อใช้วิเคราะห์ปัญหา และพัฒนาผลิตภาพที่แข่งขันได้

บทบาทเทคโนโลยีสารสนเทศ

การวางแผนและควบคุมการผลิต (manufacturing planning and control) เป็นองค์ประกอบส�ำคัญส�ำหรับองค์กรภาค การผลิต โดยมีการให้ข้อมูลสนับสนุนการ บริหารกิจกรรมการผลิต ได้แก่ การไหลของ ปัจจัยการผลิตที่ก่อให้เกิดประสิทธิผล การ ใช้ทรัพยากร และการประสานกิจกรรมที่ เชือ่ มโยงผูส้ ง่ มอบกับลูกค้า โดยรายละเอียด แผนงานจะต้องสอดรับกับนโยบาย แผน

กลยุทธ์หรือความสามารถหลักของธุรกิจ เพือ่ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของธุรกิจ โดยทั่วไป ระบบวางแผนและควบคุมการผลิตจะขึน้ อยู่ กับปัจจัย และความซับซ้อนของกิจกรรมการ ผลิต ทั้งในรูปของปริมาณ ชิ้นส่วนย่อย และ รูปแบบการผลิต บางองค์กรอาจใช้ระบบ วางแผนความต้องการวัสดุ หรือ MRP เพื่อ จั ด ท� ำ แผนวั ส ดุ แ ละตารางเดิ น เครื่ อ งจั ก ร แต่ ล ะหน่ ว ยผลิ ต โดยตารางจะแสดงถึ ง การด�ำเนินงานที่เกิดขึ้นเป็นประจ�ำตั้งแต่

Production

กระบวนการเริ่มต้นจวบจนเสร็จสิ้นค� ำสั่ง ผลิ ต ส่ ว นการจั ด ซื้ อ ชิ้ น ส่ ว นจะต้ อ งระบุ ก�ำหนดการสั่งซื้อ เพื่อให้เกิดต้นทุนรวมที่ เหมาะสม รวมถึงระบุกำ� หนดการผลิตในสาย การผลิตเพื่อติดตามผลลัพธ์เทียบเคียงกับ แผนงานที่ระบุไว้ โดยเฉพาะการจัดการกับ งาน ที่ประกอบด้วยชิ้นงานซับซ้อน โดยมุ่ง ปรับปรุงก�ำลังการผลิตระดับโรงงานด้วย กลยุทธ์อัตโนมัติ ได้แก่ ➲ ความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติ การ ถือเป็นกลยุทธ์แรกที่มุ่งใช้อุปกรณ์เพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตและการใช้แรงงานที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ผลิ ต ภาพ แรงงาน ท�ำให้เกิดการลดรอบเวลาท�ำงาน ➲ การรวมขั้ น ตอนท� ำ งาน โดย บูรณาการกระบวนการหลัก เพื่อลดความ ซับซ้อนของขัน้ ตอนการท�ำงาน และมุง่ ทีก่ าร ท�ำงานมากกว่าหนึ่งขั้นตอนภายในเครื่องจักรเดียวกัน ท�ำให้ลดจ�ำนวนเครือ่ งจักรและ ความสูญเปล่าในกิจกรรมที่ไม่สร้างผลผลิต อาทิ การตั้งเครื่อง การขนถ่ายวัสดุ ➲ การปฏิบต ั กิ ารพร้อมกัน โดยใน หนึ่ ง หน่ ว ยการผลิ ต สามารถด� ำ เนิ น การ พร้อมกันในหลายกิจกรรม ท�ำให้ลดรอบเวลา กระบวนการ ➲ การบู ร ณาการปฏิ บั ติ ง าน คื อ การเชื่อมโยงหลายหน่วยผลิตให้เป็นหน่วย April-May 2015, Vol.42 No.240

53 <<<


&

Production ➲

การควบคุ ม การปฏิ บั ติ ง าน ระดั บ โรงงาน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ น การประสานกิ จ กรรมภายในโรงงานให้ มี ประสิ ท ธิ ภ าพ ด้ ว ยเทคโนโลยี เ ครื อ ข่ า ย คอมพิวเตอร์ (computer network) เพื่อการ ควบคุมระดับโรงงาน ➲ การบูรณาการคอมพิวเตอร์เพือ ่ การผลิต (computer integrated manufacturing) หรื อ CIM เป็ น การประยุ ก ต์ ใ ช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบฐานข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อบูรณาการระบบ ปฏิบัติงานฝ่ายวิศวกรรมและการผลิตใน การสนับสนุนกิจกรรมทั้งโรงงาน ส่วนระบบ คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต (computer aided manufacturing) หรือ CAM ถูกเชื่อม ต่อระหว่างเซลล์การผลิตกับอุปกรณ์ขนถ่าย วัสดุอัตโนมัติ (automated material handling) ควบคุมการท�ำงานจากคอมพิวเตอร์ ส่ ว นกลาง ซึ่ ง เหมาะกั บ การผลิ ต ที่ ห ลาก หลายและปริมาณการผลิตปานกลาง ท�ำให้ ลดปริมาณการจัดเก็บสต็อกและช่วงเวลาน�ำ การผลิต รวมทัง้ ปรับเปลีย่ นรูปแบบการผลิต ให้สามารถตอบสนองกับความเปลีย่ นแปลง ทางด้านอุปสงค์ของตลาด การตลาด

สารสนเทศสายการผลิต

ออกแบบ การวางแผน การผลิต การประกอบสุดท้าย ควบคุมคุณภาพ แผนผัง การเชื่อมโยงสารสนเทศ >>>54

April-May 2015, Vol.42 No.240

การวางแผน ทรัพยากรการผลิต

สารสนเทศการบริหาร

ผลิตหลัก โดยเฉพาะการใช้อปุ กรณ์อตั โนมัติ ขนถ่ายชิ้นงานระหว่างกระบวนการ เพื่อลด เวลาขนถ่ายและเวลาที่ไม่สร้างผลผลิต ➲ การเพิ่มความยืดหยุ่น โดยใช้ เครื่องจักรผลิตเต็มก�ำลังในการผลิตสินค้าที่ มีความหลากหลายเพื่อลดเวลาตั้งเครื่อง ท�ำให้เวลาน�ำการผลิตและงานระหว่างผลิต ลดลง ➲ การใช้อุปกรณ์ขนถ่ายและจัด เก็บแบบอัตโนมัติ เพื่อลดเวลาที่ไม่สร้าง ผลิตผลและงานค้างระหว่างผลิต ➲ การตรวจสอบกระบวนการ โดย ทั่ ว ไปการตรวจสอบคุ ณ ภาพผลิ ต ผล มั ก ด�ำเนินการหลังจากชิน้ งานได้ผา่ นทุกขัน้ ตอน แล้ว ซึง่ มีความเป็นไปได้วา่ อาจเกิดชิน้ งานที่ ไม่ได้คุณภาพ ดังนั้นการรวมกิจกรรมตรวจ สอบภายในสายการผลิตจะช่วยลดอัตราการ เกิดของเสีย และยังส่งผลให้คุณภาพของ ผลผลิตตรงตามข้อก�ำหนดการออกแบบ ➲ ก า ร ค ว บ คุ ม ก ร ะ บ ว น ก า ร กลยุทธ์ดังกล่าวครอบคลุมถึงการควบคุม ปัจจัยแต่ละกระบวนการและใช้เครื่องจักร อย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้เวลาในกระบวนการลดลง ทั้งยังลดจ�ำนวนของเสีย

องค์ ก รภาคการผลิ ต ได้ มี ก ารน� ำ เทคโนโลยีสารสนเทศและระบบอัตโนมัติ เพือ่ สนับสนุนกิจกรรมทัว่ ทัง้ องค์กรโดยเชือ่ ม โยงข้อมูลระหว่างฝ่ายงานด้วยเครือข่าย คอมพิวเตอร์และฐานข้อมูล ท�ำให้เกิดผลิต ภาพและความยืดหยุ่นในสายการผลิตมาก ขึ้น โดยระบบวางแผนและควบคุมการผลิต จะมีรูปแบบการตอบสนองด้วยระบบการ ผลิตแบบทันเวลาพอดี (JIT) และ MRP โดย JIT จะมุ่งความรวดเร็วการเคลื่อนย้ายชิ้น งานตลอดสายการผลิต และไม่จำ� เป็นต้องมี ระบบติ ด ตามระดั บ สายการผลิ ต ดั ง นั้ น ประสิทธิผล ระบบวางแผน และควบคุมการ ผลิตจะสร้างความสามารถในการแข่งขัน ด้ ว ยต้ น ทุ น ต�่ ำ กว่ า และตอบสนองความ เปลี่ยนแปลงด้านอุปสงค์ของตลาด รวมทั้ง เชื่อมโยงกระบวนการภายในกับเครือข่าย ห่วงโซ่อุปทาน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระยะ ยาว โดยกิจกรรมควบคุมสายการผลิตได้มี การติดตามควบคุมการใช้ทรัพยากรที่ถูก ใช้ ใ นกิ จ กรรมการผลิ ต รวมทั้ ง กิ จ กรรม สนับสนุน อาทิ การขนถ่ายชิ้นงาน การรับ ของ และการประสานงานระดับโรงงาน เพื่อ ให้เกิดการไหลของงานต่อเนื่อง และจ�ำแนก ปัญหาเพื่อก�ำหนดแนวทางป้องกันการเกิด ปัญหาเดิมขึ้นอีก

การติดตามและควบคุมกิจกรรมการ ผลิต

ส�ำหรับโรงงานที่ก�ำลังปรับเปลี่ยน เข้ า สู ่ รู ป แบบการผลิ ต แบบทั น เวลาพอดี ที่ เ น้ น ผลิ ต ตามค� ำ สั่ ง ซื้ อ โดยสมรรถนะ กระบวนการผลิตจะมีผลกระทบจากก�ำลัง การผลิตแต่ละหน่วย และภาระค�ำสั่งผลิตที่ มีการวางแผนเพื่อส่งต่อไปสู่ส่วนปฏิบัติงาน ท�ำให้การควบคุมกิจกรรมการผลิตมุง่ จัดเก็บ ข้อมูลก�ำหนดการท�ำงานและความคืบหน้า ของงาน เพื่ อ แจ้ ง กลั บ ข้ อ มู ล ไปยั ง ฝ่ า ย วางแผน ดังนัน้ การควบคุมกิจกรรมการผลิต หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า Shop Floor Control ครอบคลุมถึงกิจกรรมหลัก ได้แก่ การจัด ท�ำตารางปฏิบัติงานและภาระงาน ล�ำดับ ความส�ำคัญการควบคุม (priority control)


&

Production การประเมินผลิตภาพกระบวนการด้วยปัจจัย แรงงาน วั ต ถุ ดิ บ และค่ า ใช้ จ ่ า ยระบบ สนับสนุนรวมถึงการจัดเตรียมแผนการใช้ วัสดุที่มีการเชื่อมโยงกับผู้ส่งมอบด้วยระบบ EDI เพื่อให้มีการส่งมอบปัจจัยการผลิตที่ สอดคล้องกันทั้งปริมาณ คุณภาพและช่วง เวลาส่งมอบ โดยทัว่ ไประบบควบคุมกิจกรรม การผลิตถูกพัฒนาจากแผนการผลิตหลัก ถือเป็นการด�ำเนินกิจกรรมระยะสั้น ส่วน เป้าหมายระบบควบคุมกิจกรรมการผลิต สามารถจ�ำแนก ดังนี้ ➲ งานระหว่ า งผลิ ต โดยมุ ่ ง ลด ระดับการลงทุนงานระหว่างผลิต การจัด สมดุล ภาระงาน การปรับปรุงอัตราการส่ง มอบให้ทันเวลา และลดระยะเวลาน�ำการ ผลิต ➲ คุณภาพ โดยเฉพาะการลดค่า ใช้จ่าย งานแก้ไข และปริมาณของเสียใน กระบวนการ ➲ แรงงาน โดยพั ฒ นาผลิ ต ภาพ การท�ำงาน และสร้างความพึงพอใจให้กับ แรงงาน ➲ เครื่องจักร การเพิ่มอัตราการใช้ งานเครือ่ งจักร (utilization) และความพร้อม ในการเดินเครื่องจักร (availability) เมื่อจะ ใช้งาน รวมทั้งลดค่าใช้จ่ายการตั้งเครื่อง แผนผัง การจัดลำ�ดับภาระงาน

ดังนั้นเพื่อให้การด�ำเนินการในสาย การผลิตเป็นไปอย่างต่อเนือ่ ง กิจกรรมต่าง ๆ จะถูกจ�ำแนกออกเป็นกลุ่ม โดยระบบจะจัด เก็ บ ข้ อ มู ล และแสดงให้ กั บ บุ ค ลากรที่ ต้องการใช้ขอ้ มูลเหล่านี้ ซึง่ เหมาะส�ำหรับการ เข้ า ถึ ง สารสนเทศการผลิ ต ที่ ห ลากหลาย รูปแบบ โดยมีหน้าที่งานหลักระดับโรงงาน ดังนี้ ➲ การตรวจติ ด ตามสถานะกระบวนการ โดยระบบควบคุมกิจกรรมการผลิต จะจัดเก็บข้อมูลพื้นที่ปฏิบัติงาน และแสดง สถานะสายการผลิต อาทิ สภาพการไหลของ

งาน เครือ่ งจักรในกระบวนการ และแสดงผล บนจอ ➲ การติดตามคุณภาพ โดยสนับสนุนระบบประกันคุณภาพ ระบบจะรับข้อมูล สายการผลิตและแสดงผลด้วยกราฟิกที่มี การออนไลน์จากสายการผลิตเพื่อรับข้อมูล จากหน่วยทดสอบ ข้อมูลทีถ่ กู จัดเก็บทัง้ หมด จะถูกน�ำมาใช้วิเคราะห์ทางคุณภาพและ สนับสนุนระบบประกันคุณภาพ ➲ การติ ด ตามสต็ อ ก โดยจะให้ รายละเอียดข้อมูลที่จ�ำเป็นเกี่ยวกับสต็อก วัตถุดบิ ในกระบวนการและปริมาณทีจ่ ดั เก็บ แต่ละแห่ง เพื่อใช้วางแผนการผลิตต่อไป รวมถึงวัสดุหบี ห่อ งานระหว่างผลิตและวัสดุ รีไซเคิล ท�ำให้ทราบปริมาณสต็อกที่ถูกจัด เก็บในคลังแต่ละแห่ง ➲ การติดตามสินค้าส�ำเร็จรูป นอก เหนือจากการติดตามวัตถุดิบแล้ว ระบบยัง ต้องติดตามสถานะปริมาณผลผลิต รวมทั้ง ควบคุมการขนส่งและกระจายสินค้า ➲ ก�ำหนดการผลิต โดยแปลงข้อมูลค�ำสัง่ ผลิตให้เป็นรายละเอียดก�ำหนดการ แต่ละสายการผลิต ➲ การประสานกระบวนการ คื อ ส่วนหนึ่งในการจัดท�ำก�ำหนดการผลิต ที่จะ แปลงก� ำ หนดการผลิ ต รวมและระบุ ร ายละเอียดก�ำหนดการแต่ละสายการผลิต ส่วน April-May 2015, Vol.42 No.240

55 <<<


&

Production หน้ า ที่ ก ารประสานงานกระบวนการจะมี บทบาทในการประสานงานระหว่างพื้นที่ ปฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ให้ แ ต่ ล ะสายการผลิ ต สามารถด�ำเนินกิจกรรมที่จ�ำเป็นให้บรรลุผล ส�ำเร็จตามก�ำหนดการและแจ้งข้อมูลสถานะ กับผูใ้ ช้งาน ซึง่ เป็นประโยชน์ตอ่ การปรับสาย การผลิต

ระบบป้องกันและแจ้งเตือนปัญหา

ตามแนวคิดระบบการผลิตแบบลีน ได้มงุ่ ป้องกันความบกพร่องด้วยการใช้กลไก ป้องกัน (poka yoke) และระบบแจ้งเตือน แบบอัตโนมัติ หรือ Jidoka เมือ่ เกิดความผิด ปกติขึ้น ดังนั้นเพื่อป้องกันการเกิดปัญหา เหล่านี้ ควรระบุรายละเอียดไว้ชัดเจนด้วย เอกสารขั้นตอนปฏิบัติงานที่มีการประสาน งานกับผูเ้ กีย่ วข้อง อาทิ ลูกค้า วิศวกรออกแบบ ผู ้ ส ่ ง มอบและหั ว หน้ า งาน เพื่ อ ใช้ ป รั บ กระบวนการให้เกิดความสูญเสียน้อยที่สุด แม้ความบกพร่องไม่สามารถขจัดออกให้ หมดสิ้นได้ แต่การมุ่งตรวจจับในช่วงต้นจะ สร้ า งประสิ ท ธิ ผ ลมากกว่ า การตรวจพบ ปัญหาหลังจากตรวจสอบขั้นสุดท้าย (final inspection) การตรวจพบปัญหาช่วงต้นจะ สามารถลดความสูญเปล่าที่มีประสิทธิผล สูงสุด และเกิดการลดต้นทุนระยะยาว ส่วน การตรวจจับและแก้ไขปัญหาคุณภาพอาจ ใช้ระบบควบคุมกระบวนการเชิงสถิติ (SPC)

ภาพ การใช้สัญญาณไฟแจ้งเตือน (andon) >>>56

April-May 2015, Vol.42 No.240

เพื่อติดตามความสามารถกระบวนการและ ตรวจจับความผิดปกติ รวมทั้งขจัดความ ผันแปรตั้งแต่ช่วงต้น เพื่อสร้างกระบวนการ ให้เกิดความเสถียร (process stability) โดย มอบหมายให้บคุ ลากรสามารถตัดสินใจและ ด�ำเนินการแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที โดยไม่ตอ้ งรอการอนุมตั ติ ามขัน้ ตอน เพือ่ ลด ความล่าช้าในการค้นหาสาเหตุปัญหาและ ด�ำเนินการแก้ไข ส�ำหรับกรณีโตโยต้าได้มอบหมายให้ พนั ก งานสายการผลิ ต สามารถหยุ ด เดิ น เครื่องจักรได้ทันที หากตรวจพบความผิด ปกติ และใช้สัญญาณแสงไฟบนบอร์ดแจ้ง เตือน เพื่อให้หัวหน้างานหรือผู้ควบคุมงาน ด�ำเนินการแก้ไขปัญหาทีจ่ ดุ เกิดเหตุ การแจ้ง สถานะกระบวนการด้วยสัญญาณไฟดังกล่าว บ่งบอกถึงปัญหาเครื่องจักรขัดข้องหรือการ เกิดของเสีย รวมถึงการแจ้งเตือนพนักงานใน การจัดเตรียมกิจกรรมสนับสนุน อาทิ การตัง้ เครือ่ ง การถอดเปลีย่ นเครือ่ งมือ โดยสายการ ผลิตโตโยต้าจะใช้สญ ั ญาณไฟแจ้งเตือนเมือ่ เกิดปัญหาเพื่อสนับสนุนแนวคิด Quality at the Source ท�ำให้ผู้ปฏิบัติงานทราบสถานะ เครือ่ งจักรแต่ละจุด โดยไฟสัญญาณทีถ่ กู ติด ตั้งในแต่ละเครื่อง (andon) จะแสดงผลทาง แผงไฟที่ติดตั้งอยู่ระดับเหนือศีรษะ ท�ำให้ ผู้ปฏิบัติงานทุกคนสามารถมองเห็นปัญหา ได้ชัดเจน

ระบบการผลิ ต แบบโตโยต้ า ได้ บูรณาการ Andon ร่วมกับ Jidoka เพื่อให้ เกิดการพัฒนาระบบควบคุมด้วยการมอง เห็น ดังนัน้ เมือ่ เกิดปัญหาขึน้ ทางผูป้ ฏิบตั งิ าน หรือผูค้ วบคุมงานทราบต�ำแหน่งและด�ำเนิน การแก้ปัญหาได้ทันที โดยโรงงานผู้ผลิต รถยนต์ ชั้ น น� ำ หลายแห่ ง ติ ด ตั้ ง ระบบไฟ สัญญาณเหนือสถานีงาน เมื่อเกิดปัญหาก็ จะแสดงสัญญาณไฟแจ้งเตือนไปยังพื้นที่ ปฏิบัติงาน ซึ่งแสดงต�ำแหน่งปัญหาบนแผง ไฟ เพื่อให้ผู้ควบคุมงานและวิศวกรไปยังจุด เกิดเหตุได้ถกู ต้อง โดยไม่ตอ้ งเสียเวลาค้นหา จุดเกิดเหตุ เอกสารอ้างอิง 1. Groover, M. P, Automation Production Systems & Computer-Integrated Manufacturing, Prentice-Hall, 1992. 2. Hobbs, Dennis P., Lean Manufacturing Implementation: A Complete Execution Manual for Any Size Manufacturer, J. Ross Publishing, 2003. 3. Roberta S. Russsell, Bernard W. Taylor, Operations Management, Pearson Education, 2003. 4. Seiji Tsuchiya, Quality Maintenance: Zero Defects Through Equipment Management, Productivity Press, 1992. 5. Steven A. Melnyk, Morgan Swink, Value-Driven Operations Management : an Integrated Modular Approach, McGraw-Hill, 2002. 6. โกศล ดีศีลธรรม, การจัดการบ�ำรุง รักษาส�ำหรับงานอุตสาหกรรม, บ. เอ็มแอนด์อี จ�ำกัด, 2547. 7. โกศล ดีศลี ธรรม, การวางแผนปฏิบตั ิ การโลจิสติกส์ส�ำหรับโลกธุรกิจใหม่, ส�ำนักพิมพ์ ฐานบุ๊คส์, 2551. 8. โกศล ดีศีลธรรม, พัฒนาสู่ความเป็น เลิศตามวิถีไคเซ็น, ส�ำนักพิมพ์เพื่อนอุตสาหกรรม, 2557.


&

Focus

มุง่ เน้นเรือ่ งอาหารเพือ่ สุขภาพและสภาพแวดล้ อ มในการด� ำ รงชี วิ ต ที่ ดี รวมทั้ ง เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ชื่ อ เสี ย งด้ า นเทคโนโลยี การเกษตร 3. มีศูนย์วิจัยกว่า 20 แห่ง 4. เป็ น ที่ ตั้ ง ของบริ ษั ท ชั้ น น� ำ ด้ า น อาหารจากทั่ ว โลกกว่ า 70 บริ ษั ท และมี บุ ค ลากรที่ มี ทั ก ษะด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ก าร อาหารและเทคโนโลยีทเี่ กีย่ วข้องกว่า 15,000 คน

Food Valley Model

กับการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของไทย ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

“F

ood Valley NL” กรณีตัวอย่าง ของความส�ำเร็จที่เนเธอร์แลนด์

นั บ ตั้ ง แต่ Silicon Valley ของ สหรัฐอเมริกาได้รับการกล่าวขานถึงความ ส� ำ เร็ จ ในอุ ต สาหกรรมคอมพิ ว เตอร์ แ ละ เทคโนโลยีสารสนเทศ จึงมีประเทศต่าง ๆ พยายามถอดบทเรียนแล้วหาแนวทาง เจริญรอยตาม Food Valley NL ตั้งอยู่ที่ เมื อ ง Wageningen ของ เนเธอร์แลนด์จึงเกิดขึ้น เพราะ มี ป ั จ จั ย ต่ า ง ๆ ที่ ส มบู ร ณ์ พร้อม ปัจจัยทีว่ า่ นัน้ ประกอบ ด้วย 1. เมือง Wageningen เป็ น เมื อ งที่ ถู ก รายล้ อ ม ด้ ว ยภาคการเกษตร ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง ผลิ ต วั ต ถุ ดิ บ ชั้ น ดี ส� ำ หรั บ อุตสาหกรรมเกษตร 2. เป็ น ที่ ตั้ ง ของ Wageningen University ซึ่งการเรียนการสอนและการวิจัย

5. มี บ ริ ษั ท ผลิ ต เครื่ อ งจั ก รกลที่ เกีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมอาหารมากกว่า 200 บริษัท ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลเนเธอร์แลนด์จึง ก�ำหนดทิศทางระดับชาติ โดยต่อยอดจากจุด แข็งของประเทศที่มีอยู่เดิม คือ ความเป็น ประเทศอุ ต สาหกรรมและส่ ง ออกเนื้ อ สั ต ว์ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ โดยมีโลจิสติกส์ซึ่ง ได้รบั การพัฒนาให้สามารถสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้าง นวั ต กรรมด้ า นอาหารจะช่ ว ยสร้ า งความ สามารถในการแข่งขันของประเทศเนเธอร์แลนด์ ดังนั้นจึงให้ความส�ำคัญกับอาหารเพื่อ สุขภาพ (organic) ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือ จากทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนในการวิจยั และ พัฒนาเพือ่ สร้างนวัตกรรม ทีน่ ำ� ไปสูก่ ารเกิดขึน้ ของผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ Food Valley NL ของเนเธอร์แลนด์ จึงถูกตั้งขึ้น เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร แปรรูปและอาหารแบบครบวงจร โดยมีบทบาท ในการท�ำหน้าที่ประสานงานระหว่างมหาApril-May 2015, Vol.42 No.240

57 <<<


Focus

&

วิทยาลัยและศูนย์วิจัย ซึ่งเป็นเจ้าขององค์ ความรู้กับภาคเอกชน ซึ่งเป็นผู้ใช้องค์ความรู้ ในการสร้างผลิตภัณฑ์ น�ำไปสู่เครือข่ายองค์ ความรู้ที่เข้มแข็งจากการท�ำงานร่วมกัน รวม ทั้ ง การสนั บ สนุ น การจั ด ตั้ ง บริ ษั ท เกิ ด ใหม่ (start-ups) และสนั บ สนุ น การลงทุ น ของ นักลงทุนต่างชาติในพื้นที่ดังกล่าว ตัวอย่างบริษทั อาหารชัน้ น�ำทีต่ งั้ อยูใ่ น Food Valley ของเนเธอร์แลนด์ เช่น Kikkoman, Heinz, Unilever, Mead Johnson เป็นต้น นอกจากนี้ Food Valley NL ยังมีกลไก ในการสร้างเครือข่ายนวัตกรรมกับต่างประเทศ เช่น ➲ Food Valley Society เปิ ด รั บ สมาชิกหน่วยงานในประเทศต่าง ๆ เพื่อแลก เปลี่ยนแนวคิดและเจรจาธุรกิจ โดยในปี พ.ศ. 2556 มี 134 หน่วยงานเป็นสมาชิก ➲ Leaders in Ambition เป็ น โปรแกรมการสร้างนวัตกรรมด้านอาหารที่มุ่ง เน้นอาหารเพื่อสุขภาพและการสร้างความ ยัง่ ยืน เช่น การบริหารจัดการขยะ การใช้พลังงาน อย่างยั่งยืน การออกแบบผลิตภัณฑ์อาหารที่ มีไขมันต�่ำ หรือเกลือต�่ำ เป็นต้น ➲ Food Valley Award ให้รางวัล แก่หน่วยงานที่สร้างนวัตกรรมอาหาร โดย ค�ำนึงถึงความแปลกใหม่ ความร่วมมือระหว่าง หน่วยงาน ความยั่งยืน และความรับผิดชอบ ทางสังคมของธุรกิจ ➲ Food Valley Expo เป็นที่รวมตัว ของหน่วยงานต่าง ๆ ทั่วโลก กิจกรรมภายใน งาน ประกอบด้วย การบรรยาย การแสดง สินค้า การจับคู่ธุรกิจ โดยการจัดงานครั้งที่ 9 ในปี พ.ศ.2556 มีหน่วยงานเข้าร่วมกว่า 700 หน่วยงานจากทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย

ครัวไทยสู่ครัวโลก

ประเทศไทยมี ต ้ น ทุ น เดิ ม คื อ เป็ น แหล่งผลิตอาหารทีส่ มบูรณ์เป็นทีน่ ยิ มของชาว ต่างชาติ เนื่องจากอาหารไทยมีความโดดเด่น ด้านรสชาติและมีรูปลักษณ์ที่แสดงถึงความ ประณีตบรรจง รวมทัง้ มีสารอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ ต่อสุขภาพ ในปี พ.ศ.2545 รัฐบาลจึงมีนโยบาย ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก (kitchen of the world) โดยมุง่ เน้นการผลิตอาหาร

และผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารที่ มี คุ ณ ภาพสู ง ใน ราคาที่สามารถแข่งขันได้ มีมาตรฐานความ ปลอดภัยระดับสากล เพื่อยกระดับวัตถุดิบ อาหารและเครื่องปรุงรสของไทยให้ส่งออกได้ มากขึ้น สร้างมูลค่าเพิ่ม ขยายช่องทางการ ส่งออก และมีส่วนแบ่งการตลาดมากขึ้น โดย มุ่งขยายช่องทางการส่งออกอาหารส�ำเร็จรูป การขนส่ง การผลิต การสร้างมูลค่าเพิ่ม และ ศูนย์กระจายสินค้า ซึง่ มีเป้าหมายเพือ่ ผลักดัน ให้ไทยเป็นผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่ ติด 1 ใน 5 ของโลก และให้ อ าหารไทยเป็ น หนึ่ ง ใน อาหารที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มไปทั่ ว โลกภายใน ปี พ.ศ.2550 แนวทางการขับเคลื่อนโครงการครัว ไทยสู ่ โ ลกเน้ น การส่ ง เสริ ม การพั ฒ นา 4R ประกอบด้วย 1. วัตถุดิบ (raw material) 2. อาหารพร้อมปรุง (ready to cook) 3. อาหารพร้อมทาน (ready to eat) 4. การพั ฒ นาร้ า นอาหารในต่ า งประเทศ (restaurant) และส่งออกผูป้ รุงอาหาร (chef) ชาวไทย

Thailand Food Valley (TFV)

ในปี พ.ศ.2556 มี ก ารจั ด ตั้ ง คณะ กรรมการ Thailand Food Valley ขึน้ ประกอบ ด้วย คณะกรรมการจากภาครัฐ 7 กระทรวง ได้แก่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวง มหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง สาธารณสุข และจากภาคเอกชน โดยสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รวมถึงผู้แทน จากสถาบันการศึกษา TFV ประกอบด้ ว ย 4 ยุ ท ธศาสตร์ ได้แก่ 1. การบูรณาการเครือข่ายคลัสเตอร์ เกษตรและอาหารในเครือข่ายทุกระดับ 2. การวิจัยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจาก วิทยาการและเทคโนโลยีดา้ นเกษตรอาหารให้ รองรับความต้องการของตลาด 3. การสร้างขีดความสามารถของ เครือข่ายในการวิจัยถ่ายทอดประยุกต์ใช้งาน วิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม 4. การบริหารจัดการและถ่ายทอด

1 นโยบายรัฐบาลและข้อเสนอปฏิรูปวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ, 2557

>>>58

April-May 2015, Vol.42 No.240

องค์ความรู้ เพื่อประยุกต์ใช้งานวิจัยในเชิง พาณิชย์

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่ อ พั ฒ นาธุ ร กิ จ เกษตรและอาหาร แปรรูปไทย

ธุรกิจเกษตรและอาหารแปรรูปเป็น อุตสาหกรรมหลักสาขาหนึ่งของไทยที่อาศัย ต้นทุนพื้นฐานของประเทศ โดยมีวัตถุดิบจาก ภาคเกษตร ปศุสตั ว์ และประมง อย่างไรก็ตาม ศักยภาพของธุรกิจเกษตรและอาหารไทยใน ด้านการแปรรูปวัตถุดิบให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มี มูลค่าสูงนั้น ยังมีข้อจ�ำกัดหลายประการโดย เฉพาะอย่างยิ่งการขาดการสนับสนุนในด้าน องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมทั้ง เครื่องจักรที่ใช้ในการแปรรูปส่วนใหญ่มีราคา สูงและต้องน�ำเข้า จึงส่งผลให้อุตสาหกรรม อาหารไทยยังคงเน้นการส่งออกสินค้าเกษตร ในลั ก ษณะวั ต ถุ ดิ บ และสิ น ค้ า ที่ ผ ่ า นการ แปรรูปขั้นต้น โดยมีการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ สินค้าเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ ภาครัฐ จึงพยายามผลักดันการพัฒนาอุตสาหกรรม อาหารโดยค�ำนึงถึงตลอดห่วงโซ่คุณค่าของ กระบวนการผลิ ต อาหาร ซึ่ ง มี ห น่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้องมากกว่า 11 กระทรวง 30 หน่วยงาน และกฎหมายที่เกี่ยวข้องมากกว่า 30 ฉบับ อุปสรรคที่ส�ำคัญ คือ การท�ำงานเชื่อมโยง ระหว่างหน่วยงานมีคอ่ นข้างจ�ำกัด การบริหาร จัดการในระดับนโยบายและการส่งเสริมการ ลงทุ น เพื่ อ สนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรมอาหาร แปรรูป โดยการใช้วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและ นวัตกรรม (วทน.) เป็นเครือ่ งมือสนับสนุนอย่าง ชัดเจนและเป็นรูปธรรม จึงน่าจะสามารถช่วย ให้ธุรกิจเกษตรและอาหารแปรรูปได้รับการ พัฒนาให้มขี ดี ความสามารถในการแข่งขันใน ระดับโลกได้ ทั้งนี้ การพัฒนา วทน. เพื่อสนับสนุน ธุรกิจเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป มีเป้าหมายดังนี้ 1. ประเทศไทยจะก้ า วสู ่ ก ารเป็ น ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายในปี พ.ศ.2564 โดยเพิ่มรายได้ให้กับผู้ที่อยู่ในห่วงโซ่ธุรกิจ เกษตรและอาหารให้มรี ายได้ 32,500 บาทต่อ คนต่อเดือน (รายได้ปจั จุบนั เฉลีย่ 13,000 บาท ต่อคนต่อเดือน)1


& 2. ประเทศไทยมีความมัน่ คงปลอดภั ย และมี ค วามยั่ ง ยื น ทางอาหารโดยสร้ า ง มูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ส่งออกของธุรกิจ เกษตรและอาหารแปรรูปจาก 1 ล้านล้านบาท ในปี พ.ศ.2556 เพิ่มขึ้นเป็น 2 ล้านล้านบาท ในปี พ.ศ.2564 โดยผลิตสินค้าเป้าหมายใน แต่ละพืน้ ที่ 2 เช่น อาหารอินทรีย์ อาหารคุณค่า สูง อาหารทะเล และอาหารเพื่อสุขภาพ 3. ยกระดั บ ระบบวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในกลุ่มธุรกิจเกษตร และอาหารของประเทศให้มปี ระสิทธิภาพ และ สามารถเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน ผ่านกลไกดัง ต่อไปนี้ ➲ มีการลงทุนร่วมระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชน เป็นร้อยละ 1 ของมูลค่าการ ส่งออกผลิตภัณฑ์อาหาร ภายในปี พ.ศ.2559 ➲ มีการลงทุนร่วมระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชน เป็นร้อยละ 2 ของมูลค่าการ ส่งออกผลิตภัณฑ์อาหาร ภายในปี พ.ศ.2564 ➲ ภาครัฐและเอกชนลงทุนในสัดส่วน 30 : 70 ภายในปี พ.ศ.2564 โดยภาค เอกชนลงทุนในอัตราเร่งด้วยแรงจูงใจและ การสนับสนุนจากภาครัฐ (ภาครัฐลงทุนเพิ่ม ขึน้ ทุกปี แต่ดว้ ยอัตราเร่งน้อยกว่าภาคเอกชน) ➲ เพิ่ ม การลงทุ น ด้ า น วทน. ใน โครงการขนาดใหญ่ (mega projects) พันธกิจหลักในการพัฒนา วทน. เพื่อ สนับสนุนอุตสาหกรรมดังกล่าว ประกอบด้วย 1. สนับสนุนให้เกิดการจัดตั้งเครือ ข่ายการท�ำงานร่วมกันในรูปแบบ Triple Helix (การท�ำงานร่วมกัน 3 ฝ่าย คือ ภาครัฐ ภาค เอกชน และสถาบันการศึกษา) ทั้งในและต่าง ประเทศ 2. เสริ ม สร้ า งและผลั ก ดั น ให้ ภ าค ผลิ ต ธุ ร กิ จ การค้ า และธุ ร กิ จ บริ ก ารสาขา อาหาร น�ำองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยและ พัฒนาไปใช้ในพัฒนาธุรกิจ 3. ภาคเอกชนเข้าถึงสิทธิประโยชน์ และมาตรการต่าง ๆ ของภาครัฐที่สนับสนุน การต่อยอดผลงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรม 4. สร้ า งความตระหนั ก ถึ ง ความ ส�ำคัญของการพัฒนา วทน. ในอุตสาหกรรม อาหาร จนก่ อ ให้ เ กิ ด การวิ จั ย และพั ฒ นา

ในอุตสาหกรรมอาหารให้มากยิ่งขึ้น 5. เผยแพร่องค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสารและบริ ก ารต่ า ง ๆ ด้ า น วทน. ที่ เ ป็ น ประโยชน์ต่อการอุตสาหกรรมอาหาร 6. เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ผลิ ต ภาพ มูลค่า และขีดความสามารถให้กับอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารแปรรูปด้วย วทน.เพื่อ ให้สามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงและ การกีดกันทางการค้า

แนวทางในการขับเคลื่อนธุรกิจเกษตร และอาหารแปรรูปด้วย วทน. ในระยะ 10 ปี

ประเทศไทยควรเร่งปรับตัวด้วยการ ผลิตสินค้าให้มคี ณ ุ ภาพมากขึน้ สอดคล้องกับ มาตรฐานในระดับสากล ในราคาที่แข่งขันได้ โดยการสร้างเครือข่ายในการวิจัยพัฒนาและ ส่ ง เสริ ม การประยุ ก ต์ ผ ลงานวิ จั ย เพื่ อ เพิ่ ม มูลค่าให้สนิ ค้าและพัฒนากระบวนการผลิตให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยมี แ นวทางในการขั บ เคลื่อน 3 ด้าน ได้แก่ 1. การขับเคลื่อนเชิงวาระ (agenda-based) เป็นการขับเคลือ่ นทีส่ อดคล้องกับ ภารกิจหลักของหน่วยงานในภาครัฐ โดยควร มีหน่วยงานกลางในการประสานงานเพือ่ เชือ่ ม โยงและก�ำกับทิศทางในการขับเคลื่อน มีการ ส่งเสริมและสนับสนุนซึ่งกันและกัน เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาอุตสาหกรรม อาหารในภาพรวม 2. การขับเคลื่อนเชิงพื้นที่ (areabased) โดยคัดเลือกพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพมีความ เข้มแข็ง มีความพร้อมแล้วก�ำหนดเป็นพื้นที่ เป้าหมายในการพัฒนา ซึ่งต้องอาศัยความ ร่วมมือและเห็นพ้องร่วมกันทัง้ จากภาคเอกชน และภาครัฐในพื้นที่ 3. การขับเคลือ่ นเชิงสินค้าเป้าหมาย (product-based) โดยคัดเลือกสินค้าเป้าหมายที่มีศักยภาพในการผลิต และการท�ำ ตลาดมีความพร้อมของปัจจัยการผลิตในพืน้ ที่ สูง โดยให้การสนับสนุนการพัฒนาเชื่อมโยง ตลอดห่วงโซ่อปุ ทาน ตัง้ แต่การผลิตวัตถุดบิ ใน ภาคการเกษตร (ต้นน�้ำ) อุตสาหกรรมแปรรูป ขัน้ ต้น (กลางน�ำ้ ) และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ อาหารและบรรจุภัณฑ์ (ปลายน�้ำ) โดยการใช้ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม

Focus

การขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ดา้ นอาหาร ด้วย วทน. เป็นความร่วมมือตามบันทึกข้อ ตกลงร่วมกันระหว่างกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงอุตสาหกรรม และสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย เพือ่ พัฒนาการท�ำงานร่วมกัน แบบ Public Private Partnership โดยมีคณะ กรรมการ Thailand Food Valley ประกอบ ด้วย ผู้แทนจากภาครัฐ สถาบันการศึกษา และผู้แทนจากภาคเอกชน ทั้งนี้ ส�ำนักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ได้ร่วม กับหน่วยงานเครือข่ายด้าน วทน. กลุ่มเกษตร และอาหารทั่ ว ประเทศ พั ฒ นาแผนงาน/ โครงการเพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการ Thailand Food Valley และได้มีการพัฒนาโครงการขับ เคลื่อนน�ำร่องร่วมกันของเครือข่ายท�ำให้เกิด เครือข่ายนวัตกรรมอาหารทั่วประเทศ มีการ แลกเปลีย่ นองค์ความรูท้ งั้ ภายในและระหว่าง เครือข่ายเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ในทุกภาคส่วน น�ำไปสู่การพัฒนาเครือข่าย นวัตกรรมอาหารของประเทศเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ต่อไป ที่มา: 1. จิต ผลิญ (2555) Food Valley NL พิมพ์เขียวหุบเขาอาหารโลก, อุตสาหกรรมสาร ปีที่ 54 (กันยายน - ตุลาคม 2555), หน้า 17-20. 2. โชติกา ชุ่มมี (2557) ถอดรหัส “Food Valley Model” ... จากเนเธอร์แลนด์สู่ไทยแลนด์, วารสารธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 155 (มี.ค.-เม.ย. 2557), หน้า 13-15. 3. ระบบวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรม (วทน.) ส�ำหรับธุรกิจเกษตรและอาหารไทย จากนโยบายและพัฒนา วทน. แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555-2564) สู่แนวทางการขับเคลื่อน: สาขาอาหาร แปรรูป (2557) ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ. 4. นโยบายรัฐบาลด้านโครงการครัวไทยสู่ ครัวโลก. เว็บไซต์ Thai Food to the World (http:// www.thaifoodtoworld.com/home/governmentpol. php) 5. Food Valley NL 2013 Annual report.

2 นโยบายคณะกรรมการ Thailand Food Valley

April-May 2015, Vol.42 No.240

59 <<<


&

Worldwide

สงคราม Internet of Things ผม เริ่มขึ้นแล้ว

อยากเริ่มต้นเปิดศักราชใหม่ ปีใหม่ ด้วย การพยากรณ์ถึงเทคโนโลยีที่จะมาแรงใน ปีนี้ เริ่มต้นด้วยเทคโนโลยีที่มาแรงตั้งแต่ปีที่แล้วใน ต่างประเทศ และเริ่มมีความเคลื่อนไหวมาสู่เมืองไทย เราในปีที่ผ่านมา นั่นคือ เทคโนโลยีอิน เทอร์เน็ต ส�ำหรับทุกสิ่ง หรือ Internet of Things (IoT)

ที่

บอกว่าจะมาแรงเป็นพายุเนื่องจากมี ปั จ จั ย เกื้ อ หนุ น ที่ ส� ำ คั ญ คื อ การขั บ เคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) จากรัฐบาลท่านประยุทธ์ ทีจ่ ะผลักดันให้ไทย ก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง หรือ Middle Income Trap (หรือคนในวงการ มักเรียกย่อ ๆ ว่า MIT แต่ไม่ได้หมายความ >>>60

April-May 2015, Vol.42 No.240

ดร. อดิสร เตือนตรานนท์

นักวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญ สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

ถึง Massachusetts Institute of Technology แต่อย่างใด) ได้ด้วยการใช้เทคโนโลยี ICT อย่างเต็มรูปแบบ และบูรณาการมา ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ทั้ ง ในภาคการผลิ ต และภาคบริการ ในปีทผี่ า่ นมาเทคโนโลยี Internet of Things ได้เริ่มมีการพูดถึงกันมากขึ้นใน

วงการไอทีบ้านเรา บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านไอที อย่าง Intel ก็มาเปิดตัวเทคโนโลยี Internet of Things ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก เมื่อ เดื อ นพฤศจิ ก ายนปี ที่ ผ ่ า นมา เพื่ อ แสดง ศักยภาพและความพร้อมของเทคโนโลยีที่ บริษัทมีในการเข้าสู่ยุค IoT ที่ก�ำลังจะมาถึง ไทยเร็ว ๆ นี้ ส่วนหน่วยงานภาครัฐเอง อย่าง


&

Worldwide เช่น สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้ น สู ง ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่ง ชาติ (สวทน.) สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ก็ มี ก ารจั ด ประชุ ม และ สัมมนาเทคโนโลยี IoT กับเศรษฐกิจดิจิทัล เมื่อกลางเดือนธันวาคมในปีที่ผ่านมา เพื่อ รวบรวมผูเ้ ชีย่ วชาญด้านไอทีทเี่ กีย่ วข้อง และ หาแนวทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี IoT กับบ้านเรา เริ่มต้นจากการผลักดันต้นแบบ Smart City หรือเมืองอัจฉริยะ ให้เกิดขึ้นใน ประเทศไทยเราสักแห่ง ในปีนี้เราน่าจะเริ่มเห็น Internet of Things มีการน�ำมาประยุกต์ใช้งานอย่าง แพร่หลาย เช่น ระบบการขนส่งสินค้า ระบบ รักษาความปลอดภัย ระบบตรวจติดตาม สภาพแวดล้อม ระบบเตือนอัคคีภัยอัจฉริยะ ระบบตรวจสอบในอุตสาหกรรม ระบบบ้าน อัจฉริยะ (smart homes) เพื่อการดูแลผู้สูง อายุ บ้านอัจฉริยะเพื่อการดูแลสุขภาพ โดย ในบ้านอัจฉริยะจะน�ำเอาเทคโนโลยี Internet of Things มาใช้ร่วมกับการเก็บข้อมูลแบบ กลุ่มเมฆ เช่น การเก็บข้อมูลการใช้ไฟฟ้าใน แต่ละเดือน เพื่อจะน�ำมาวิเคราะห์ปริมาณ การใช้ไฟได้ เป็นต้น ในปีนี้ Gartner บริษทั วิจยั การตลาด และเทคโนโลยีดา้ นไอทีทมี่ ชี อื่ เสียงก็ได้ยกให้ Internet of Things ว่าจะเป็นหนึ่งในสิบ เทคโนโลยียุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญในปี พ.ศ. 2558 นี้ ร่วมกับเทคโนโลยีทสี่ ำ� คัญอืน่ ๆ เช่น 3D Printing และ Smart Machines เป็นต้น ผมหวังว่าความแรงของเทคโนโลยี Internet of Things จะเป็นแรงกระตุ้นให้ทางรัฐบาล สนใจน�ำไปใช้ในระบบต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นใน ไม่ชา้ ตัวอย่างเช่น ระบบการบริหารจัดการน�ำ้ ระบบขนส่งทางรางและรถไฟฟ้ารางคู่ และ ระบบห้องเรียนอัจฉริยะในอนาคตอันใกล้ นอกจากนี้ในงาน 2015 International Consumer Electronics Show หรือ เรียกสัน้ ๆ ว่า CES 2015 ซึง่ เป็นงานโชว์และ เปิดตัวผลิตภัณฑ์ด้านไอทีและเทคโนโลยีที่ ยิ่งใหญ่ที่สุดในรอบปี จัดที่เมืองลาสเวกัส

สหรัฐอเมริกา โดยมีสโลแกนว่า The Global Stage for Innovation ปีนี้ก็เช่นเดียวกันที่ บริษทั ยักษ์ใหญ่ดา้ นเทคโนโลยีตา่ งก็ตงั้ หน้า ตัง้ ตามาเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ลา่ สุดของตน ซึ่งเหล่านักเทคโนโลยีทั่วโลกก็ใช้งานนี้เป็น ตัวดูแนวโน้มของการพัฒนาเทคโนโลยีใน สาขาต่าง ๆ ว่า ในปีนจี้ ะไปในทิศทางใด และ ในปีต่อ ๆ ไปในอนาคต โดยในปีนี้จะเห็นได้ ว่า แนวโน้มของเทคโนโลยีหนึ่งที่จะมาสู่มือ เราอย่างแน่นอน นั่นคือ Internet of Things หรือ IoT ตั้งแต่เปิดงานแล้ว โดยผู้บริหารของบริษัท Samsung BK Yoon กล่าวเปิดงานด้วยการประกาศว่า Samsung จะเป็นผูน้ ำ� ในเทคโนโลยี Internet of Things ซึ่งจะเปลี่ยนโฉมหน้าของสังคม และเศรษฐกิจของโลก และจะลงทุนเป็นเงิน 100 ล้านเหรียญสหรัฐ ภายในปี พ.ศ.2560 ประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ ของผลิตภัณฑ์จะ พร้อมเชือ่ มต่อกับ IoT และในอีก 5 ปีตอ่ จาก นี้ 100 เปอร์เซ็นต์ ของผลิตภัณฑ์ของบริษัท จะเป็นส่วนหนึ่งของ IoT ซึ่งจะเชื่อมต่อและ คุยกัน ซึ่งคาดการณ์ว่าจะเชื่อมต่อกันเป็น โครงข่ายมหึมาทั่วโลก เพราะจะมีการเชื่อม ต่อกันมากถึง 20 ตัวต่อวินาที Samsung กล้าประกาศเปิดตัวในงานนี้ หลังจากปีที่ แล้วบริษัทได้ซื้อกิจการของบริษัท Smart

Things ซึง่ จะใช้เป็นแพลตฟอร์มคลาวด์แบบ เปิด (cloud-based open platform) ให้บริษทั อื่น ๆ ที่ผลิตอุปกรณ์ IoT ทั้งหลายภายใน บ้านอัจฉริยะสามารถเชือ่ มต่อและสือ่ สารกัน ได้ไม่วา่ จะเป็นค่ายไหนก็ตาม ท�ำให้อปุ กรณ์ หลากหลายยีห่ อ้ สามารถเชือ่ มต่อและพูดคุย กันได้ โดยขายบริการแบบพรีเมี่ยมเป็นราย เดือนให้แก่ผู้สมัครใช้งานหรือเจ้าของบ้าน สามารถได้รบั การแจ้งเตือนและควบคุมการ ท�ำงานของอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าภายใน บ้านผ่าน Smart Phone และสร้างสังคมกลุม่ ของนักพัฒนา (developer community) ซึ่ง จะเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น ๆ ในอนาคต เป็นฐาน ของนักพัฒนาอุปกรณ์ IoT ให้แก่ Samsung นอกจาก Samsung แล้ว ยังมีอีก หลายบริษัทที่ยืนยันแนวโน้มอันสดใสของ IoT ในปีนี้ และแน่นอนคูแ่ ข่งของ Samsung นัน่ คือ Apple ก็ประกาศขยายเครือข่ายความ ร่ ว มมื อ กั บ อี ก หลายบริ ษั ท ที่ ผ ลิ ต Home Automation ผ่านแพลตฟอร์มซอฟต์แวร์ HomeKit ไม่ว่าจะเป็นบริษัท Insteon, Elgato, iDevices และ Chamberlain ผู้ผลิต ประตูโรงรถอัจฉริยะ เป็นต้น Home Automation ด้วย IoT หรือ บ้านอัตโนมัติ ก�ำลังเป็นกระแสที่มาแรงใน ยุคนี้ แนวคิดในการออกแบบบ้านอัจฉริยะ

April-May 2015, Vol.42 No.240

61 <<<


&

Worldwide นั้น ต้องการให้เจ้าของบ้านสามารถควบคุม อุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในบ้าน เช่น ระบบปรับ อากาศภายในบ้าน ซึง่ จะต้องท�ำงานร่วมกับ เซนเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิ สามารถควบคุม อุณหภูมิได้ตามสภาพอากาศ ระบบส่อง สว่างจะท�ำงานร่วมกับเซนเซอร์ตรวจวัดแสง เมื่อแสงสว่างในบริเวณนั้น ๆ ไม่เพียงพอ สามารถสั่งให้เปิดไฟได้ทันที ระบบควบคุม หน้าต่าง สามารถควบคุมให้หน้าต่างเปิดเพือ่ รับลมในตอนเช้าและให้หน้าต่างปิดในตอน กลางวันทีม่ แี สงแดดแรง ระบบควบคุมประตู จะเหมาะกับบ้านที่มีผู้สูงอายุที่ไม่สามารถ ช่วยเหลือตัวเองได้ ก็จะท�ำให้สามารถใช้ชวี ติ อยูต่ ามล�ำพังได้ ระบบตรวจดูสภาพแวดล้อม ภายในบ้านเวลากลางคืนเพือ่ ตรวจผูบ้ กุ รุกที่ จะเข้ามาในบริเวณบ้านผ่านกล้องวงจรปิด ได้ดว้ ยเซนเซอร์ตรวจจับการเคลือ่ นไหว อาจ จะให้ท�ำงานร่วมกับระบบปรับอากาศ และ ระบบส่องสว่างให้เปิดและปิดระบบดังกล่าว เมื่อมีหรือไม่มีผู้อยู่อาศัยภายในบ้าน และ สุดท้าย คือ ระบบการจัดการพลังงานภายใน บ้าน (home energy management) จะท�ำ หน้าที่บริหารจัดการเกี่ยวกับการใช้พลังงาน ของเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ซึ่งอุปกรณ์ ดังกล่าวทัง้ หมดจะเชือ่ มต่อกันเป็นเครือข่าย เข้าสู่ตัวควบคุมกลาง และสามารถสั่งงาน ผ่านรีโมทได้ และสามารถควบคุมอุปกรณ์ ต่าง ๆ ได้ด้วยสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ต ด้วยแนวคิดการเชื่อมต่อทุกสิ่งผ่าน

>>>62

April-May 2015, Vol.42 No.240

ระบบอินเทอร์เน็ตด้วยอุปกรณ์เซนเซอร์ที่ ฉลาดและคุยกันเองได้แบบ Machine to Machine นอกจากนั้นแล้ว เทคโนโลยี IoT ยั ง สามารถใช้ ง านร่ ว มกั บ การเก็ บ บั น ทึ ก ข้อมูลแบบกลุ่มเมฆ (cloud storage) เช่น การเก็บข้อมูลการใช้ไฟฟ้าในแต่ละเดือน เพื่อจะน�ำมาวิเคราะห์ปริมาณการใช้ไฟได้ หรือสามารถวัดสัญญาณชีพ และส่งข้อมูล เข้าไปเก็บไว้ใน Cloud โดยที่คุณหมอที่โรง พยาบาลก็สามารถ Access เข้ามาดูข้อมูล เพื่อน�ำไปวิเคราะห์ได้ทันที และไม่ต้องเสีย เวลาไปโรงพยาบาลอีกด้วย ดังนั้นจะเห็นได้ว่าเทคโนโลยี IoT ก�ำลังเปลีย่ นบ้านอัตโนมัติ เป็น บ้านอัจฉริยะ (smart home) แต่ Apple ใช้สถาปัตยกรรม แบบปิด ซึ่งตรงกันข้ามกับ Samsung หมาย ถึง อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อ IoT ด้วย HomeKit ของ Apple จะมีข้อจ�ำกัดว่า ต้องผ่านการ รับรองจาก Apple เช่นเดียว กับ Application บน iOS และอีกค่ายคู่แข่ง คือ Google ที่ซื้อ กิจการของบริษทั Nest ซึง่ ผลิต Smart Thermostat ก็มแี พลตฟอร์มซอฟต์แวร์ของตัวเอง เช่นกัน และเป็นสถาปัตยกรรมเปิด เหมือน กับ Android ดังนัน้ ในปีนจี้ ะเห็นสงครามการ แข่งขันทีด่ เุ ดือดของยักษ์ใหญ่ทงั้ สามค่าย จึง เสมือนสงครามระหว่าง iOS และ Android ในระดั บ ที่ ใ หญ่ ขึ้ น จากโทรศั พ ท์ Smart Phone

ในปีที่ผ่านมา สถาบันวิจัยจูนิเปอร์ (Juniper Research) ซึ่งเป็นบริษัทวิจัย ได้ ส�ำรวจแนวโน้มและการตลาดของเทคโนโลยี บ้านอัจฉริยะไว้วา่ ขนาดตลาดบ้านอัจฉริยะ จะเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง จนกระทัง่ ถึง 72,000 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 2.3 ล้าน ล้านบาท ภายในปี พ.ศ.2561 โดยที่ส่วน ใหญ่ ร ายได้ จ ะมาจากค่ า บริ ก ารสมาชิ ก รายการบันเทิงต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น รายการ โทรทัศน์หรือภาพยนตร์ตามสั่ง เช่น Netflix, LOVEFiLM, Amazon Instant Video เป็นต้น รองลงมาเป็นรายได้จากระบบการตรวจตรา ความปลอดภัยภายในบ้าน และระบบการ ตรวจสุ ข ภาพของผู ้ อ ยู ่ อ าศั ย ภายในบ้ า น (health monitoring) ดั ง นั้ น ธุ ร กิ จ บ้ า น อัจฉริยะด้วยเทคโนโลยี IoT จึงเป็นธุรกิจทีน่ า่ จับตามองเป็นอย่างยิ่งครับ และผมเชื่อมั่น ว่า เราก�ำลังจะก้าวข้ามผ่านยุค “Internet of Me” นั่นคือ การเชื่อมต่อมนุษย์เราสู่โลก อินเทอร์เน็ตด้วยโทรศัพท์ Smart Phone ไป สูย่ คุ “Internet of Things” หรืออาจจะไปสูย่ คุ “Internet of Everything” ก็เป็นไปได้


&

Report

เรียนรู้การผลิตพลังงานใช้เองในครัวเรือน กับห้องเรียนชุมชน (social lab) เขตทุ่งครุ เรียบเรียง: กองบรรณาธิการ

เมื่อ

พลั ง งานกลายเป็ น เรื่ อ งใกล้ ตั ว การเรี ย นรู ้ ที่ จ ะน� ำ ไปสู ่ ก ารผลิ ต และใช้ พ ลั ง งานเองภายใน ครอบครัว จึงเป็นประเด็นที่น่าสนใจโดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทห่างไกล แต่ใครจะรู้ว่าในเมืองหลวง เองก็มีความต้องการที่อยากจะพึ่งพาตนเองด้านพลังงานด้วยเช่น เดียวกัน

ล่า

สุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ร่วมกับ ส�ำนักงานเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร และ ส� ำ นั ก งานเกษตรกรุ ง เทพมหานคร เปิ ด “แหล่งเรียนรูพ้ ลังงานชุมชนและการเกษตร เขตทุง่ ครุ” เป็นตัวอย่างของคนกรุงทีส่ ามารถ ผลิตพลังงานใช้เองภายในครอบครัว ทีพ่ ร้อม จะแบ่งปันประสบการณ์ให้กับผู้ที่สนใจได้ ศึกษาเรียนรู้ร่วมกัน แหล่งเรียนรู้พลังงานแห่งนี้เกิดจาก การทีเ่ กษตรกรภายในพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่มอี าชีพ เลี้ยงแพะ และมักถูกชาวบ้านใกล้เคียงร้อง เรียนเป็นประจ�ำเรื่องกลิ่นและเสียงรบกวน ประกอบกั บ การเลี้ ย งแบบเดิ ม คื อ แบบ

ปล่อยให้แพะหากินวัชพืชทั่วไป ส่งผลไป สร้างความร�ำคาญให้เพือ่ นบ้าน ต่อมาในเขต ทุ่งครุได้รวมตัวกันจัดตั้งเป็นกลุ่มสหกรณ์ เลีย้ งสัตว์ โดยได้รบั การส่งเสริมสนับสนุนจาก ส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัด กรุงเทพมหานคร และกรมส่งเสริมสหกรณ์ ท�ำให้วิธีการเลี้ยง แพะของชาวทุ่งครุพัฒนาไปสู่การเลี้ยงใน ระบบฟาร์ม มีการจัดการกับกลิ่นและของ เสียได้ดีขึ้น ควบคุมโรคได้ทั่วถึง ที่ส�ำคัญคือ มี ก ารพั ฒ นาพั น ธุ ์ ใ ห้ มี ค วามสมบู ร ณ์ ทั้ ง คุณภาพเนือ้ คุณภาพนม จนเป็นทีต่ อ้ งการทัง้ จากเกษตรกรผู้เลี้ยงแพะด้วยกันและยังเป็น ที่ต้องการของกลุ่มบริโภคเนื้อแพะอีกด้วย “กลุ ่ ม ของเราได้ รั บ การถ่ า ยทอด

ความรูท้ งั้ จากกรมปศุสตั ว์ จากมหาวิทยาลัย ต่าง ๆ ที่เข้ามาท�ำงานวิจัยร่วมกับเรา ตั้งแต่ ประมาณ พ.ศ.2545 ถึงปัจจุบนั มีงานวิจยั ทัง้ ด้านพัฒนาเนื้อ พัฒนาพันธุ์ พัฒนาน�้ำนม แปรรูปน�ำ้ นมเป็นชีส การพาสเจอร์ไรซ์ ท�ำให้ มีองค์ความรู้ในหลาย ๆ ด้าน ปัจจุบันเรามี สมาชิกในกลุ่มประมาณ 65 คน มีแพะรวม กันทั้งหมดประมาณ 3,400 ตัว เป็นแพะนม ประมาณ 60-70 เปอร์เซ็นต์ที่เหลือเป็นแพะ เนื้อ ซึ่งที่จริงแล้วแพะก�ำลังเป็นที่นิยมของ ผู้บริโภคอย่างมาก แต่ปัญหาของชาวทุ่งครุ ในปัจจุบันคือกลุ่มผู้เลี้ยงแพะไม่สามารถ ขยายตัวไปได้มากกว่านี้ เนือ่ งจากพืน้ ทีเ่ ขตที่ ถูกประกาศให้เป็นพืน้ ทีส่ เี หลือง คือ เป็นทีอ่ ยู่ อาศัย จะท�ำการเกษตรก็ตอ้ งอยูใ่ นการควบคุม แต่เราก็พยายามปรับตัว คือ เน้นการถ่ายทอดความรู้ให้กับเพื่อนเกษตรกร พัฒนา ระบบฟาร์ม พัฒนาคุณภาพและพันธุ์ จนเป็น April-May 2015, Vol.42 No.240

63 <<<


Report

&

ที่ต้องการของเกษตรกรในพื้นที่อื่น ๆ โดย เฉพาะในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ มักจะสัง่ ซือ้ พันธุแ์ พะจากเราไปเลีย้ ง และน�ำ องค์ ค วามรู ้ จ ากประสบการณ์ ข องเราไป ประยุกต์ใช้ ซึ่งที่ผ่านมาเราไม่เคยหวงและมี การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการเลี้ยงแพะ มาตลอด” คุณเกษม มหันตเกียรติ เลขาธิการ กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ทุ่งครุ และประธาน เครือข่ายเกษตรกรเลี้ยงแพะเขต 1 กล่าว นอกจากองค์ความรู้ด้านเลี้ยงแพะ แล้ว ล่าสุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ยังได้ติดตั้งระบบก๊าซ ชีวภาพให้กับกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ทุ่งครุ โดยน�ำของเสียจากฟาร์มมาใช้ให้เกิดเป็น พลังงานทดแทนก๊าซหุงต้มที่ใช้ในครัวเรือน เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ย และยังสามารถจัดการของ เสียได้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยคณะท�ำงานได้ท�ำ การติดตั้งพร้อมทั้งลงไปให้ค�ำปรึกษากับ เกษตรกรตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ.2557 ที่ผ่านมา โดยสถาบั น พั ฒ นาและฝึ ก อบรม โรงงานต้นแบบ ร่วมกับศูนย์วจิ ัยและบริการ เพือ่ ชุมชนและสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี และกลุม่ เกษตรกรเลีย้ ง สัตว์ทุ่งครุ ได้มีแนวคิดในการบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมให้กับชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยพื้นที่บางมด ได้ท�ำการก่อสร้างระบบ บ่อก๊าซชีวภาพแบบถุงพีวซี จี ากมูลแพะ โดย

▲ คุณเกษม มหันตเกียรติ >>>64

April-May 2015, Vol.42 No.240

ใช้ฐานความรูแ้ ละเทคโนโลยีทมี่ หาวิทยาลัย มีความถนัดไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ผลการด�ำเนินงานก่อให้เกิดต้นแบบ ระบบบ่อก๊าซชีวภาพจากมูลแพะ ที่น�ำไปสู่ การสร้างความสามารถในการพึง่ ตนเองด้าน พลั ง งานทดแทนก๊ า ซหุ ง ต้ ม ในครั ว เรื อ น นอกจากนี้ ส�ำนักงานเขตท่งครุและส�ำนักงานเกษตรกรุงเทพมหานคร ได้สนับสนุนให้ ฟาร์มแห่งนี้เป็นศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตรประจ�ำเขตทุ่งครุ เพื่อ เป็นตัวอย่างของการเลี้ยงสัตว์ที่ให้ความ ส� ำ คั ญ กั บ การจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มภายใต้ สภาพสังคมเมืองหลวงอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ผล การด�ำเนินงานยังก่อให้เกิดองค์ความรู้และ แนวคิดทีส่ อดคล้องกับวิถชี วี ติ ของผูท้ นี่ บั ถือ ศาสนาอิสลามและประกอบอาชีพเกษตรกร ภายในชุมชน “ก่อนหน้านี้ มจธ.ซึ่งท�ำงานส่งเสริม พัฒนาและติดตั้งระบบก๊าซชีวภาพให้กับ เกษตรกรมาหลายปี แต่ ส ่ ว นใหญ่ จ ะท� ำ ให้กับเกษตรกรในพื้นที่ห่างไกล หรือต่าง จังหวัดเท่านั้น เนื่องจากไม่คิดว่าคนในพื้นที่ กรุ ง เทพฯ จะมี ค วามต้ อ งการพลั ง งาน ทดแทนเช่นกัน แต่เมื่อได้มีโอกาสมาเรียนรู้ กับกลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ทุ่งครุก็พบว่า

เกษตรกรในเขตเมืองก็ให้ความส�ำคัญกับ เรื่องนี้ และก๊าซชีวภาพก็ส�ำคัญมากกับเขา ทั้งเรื่องลดค่าใช้จ่ายและการจัดการของเสีย จากฟาร์ ม ” คุ ณ อรณั ท ปฐพี จ� ำ รั ส วงศ์ ตัวแทนคณะท�ำงานโครงการ กล่าว “แหล่งเรียนรู้พลังงานชุมชนและ การเกษตร เขตทุ่งครุ” เป็นตัวอย่างของการ เลี้ยงสัตว์ที่ให้มีความส�ำคัญกับการจัดการ สิ่งแวดล้อม ภายใต้สภาพสังคมเมืองหลวง อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ผลการด�ำเนินงาน ยังก่อให้เกิดองค์ความรู้และแนวคิดที่สอดคล้องกับวิถชี วี ติ ของผูท้ นี่ บั ถือศาสนาอิสลาม และประกอบอาชีพเกษตรกรภายในชุมชน เป็นการสร้างเวทีเสวนาให้กลุ่มคนที่เกี่ยวข้องได้มาพบกัน รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ แหล่งเรียนรู้พลังงานชุมชนนี้ให้เป็นแหล่ง เรียนรู้ของนักเรียน เกษตรกร และบุคคล ทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งห้องเรียนชุมชน (Social Lab) ให้กบั นักศึกษา อาจารย์ นักวิจยั และบุคลากรของมหาวิทยาลัย ตลอดจน ผู้สนใจทั่วไปได้เป็นอย่างดี


&

Report

เตรียมพร้อมอุตสาหกรรมอะไหล่ยานยนต์ไทย

บุกแอฟริกาใต้

กองบรรณาธิการ

นายอาทิตย์ วุฒิคะโร

อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

เป็น

อี ก ครั้ ง ที่ ตั ว แทนภาครั ฐ ของ ประเทศไทย และประเทศญีป่ นุ่ จับมือกันเพือ่ ส่งเสริมและผลักดันผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมบุกตลาดแอฟริกาใต้ โดยส�ำนัก พัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (สพส.) กรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม จับมือกับส�ำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลและ อุตสาหกรรมแห่งประเทศญี่ปุ่น หรือ HIDA (The Overseas Human Resources and Industry Development Association) พร้อมลุยขยายตลาดยานยนต์และชิ้นส่วน

ยานยนต์ในแอฟริกาใต้ ประเภท อะไหล่ทดแทน (Replacement Equipment Manufacturing: REM) อาทิ เกียร์ ระบบเบรก ระบบกันสะเทือน เพลา โช้คอัพ พวงมาลัย เข็มขัดนิรภัย ยาง อะไหล่ และกระจกรถยนต์ เป็นต้น ตลอดจน กิจกรรมแลกเปลี่ยนศึกษาดูงาน ภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ของแอฟริกาใต้ในไทย ภายใต้ โ ครงการ “การศึ ก ษาดู ง านเพื่ อ สนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์แอฟริกาใต้” เนื่องจากประเทศไทย เป็นตัวอย่าง ความส�ำเร็จด้านอุตสาหกรรมยานยนต์แห่ง ภู มิ ภ าคอาเซี ย นในอุ ต สาหกรรมรถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ทัง้ นีอ้ ตุ สาหกรรม ดังกล่าวเป็นสินค้าส่งออกอันดับแรกของ ไทยไปแอฟริกาใต้ ด้วยมูลค่า กว่า 785.28

ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ โดยในปี พ.ศ.2556 แอฟริกาใต้เป็นประเทศคูค่ า้ อันดับที่ 23 ของ ไทย มีมูลค่าการค้า รวมกว่า 4.84 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งไทยส่งออกไปแอฟริกาใต้ 2.61 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และน�ำเข้าจาก แอฟริกาใต้ 2.23 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ท�ำให้ไทยได้เปรียบดุลการค้าแอฟริกาใต้ 3.72 ร้อยล้านดอลลาร์สหรัฐ นายอาทิตย์ วุฒิคะโร อธิบดีกรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า อุตสาหกรรม ยานยนต์ในประเทศแอฟริกาใต้เรียกได้ว่า เป็นอุตสาหกรรมหลักที่มีความส�ำคัญเป็น อย่างมาก เนื่องจากชาวแอฟริกาใต้นิยม ซื้อรถยนต์ส่วนตัวเพราะเป็นสิ่งจําเป็นใน การดํารงชีวิตและเป็นเครื่องบ่งชี้ฐานะทาง สังคม อีกทั้งแอฟริกาใต้มีจ�ำนวนประชากร กว่า 45.7 ล้านคน ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ของ April-May 2015, Vol.42 No.240

65 <<<


Report

&

แอฟริกาใต้ยังชื่นชอบการเดินทางท่องเที่ยว และทํากิจกรรมกลางแจ้งกับครอบครัวหรือ เพื่อนสนิท ในวันหยุดสุดสัปดาห์ อาทิ ขับรถ ชมวิวทิวทัศน์และเที่ยวชมสัตว์ป่าที่อาศัย อย่างอิสระตามธรรมชาติ (safari) ในอุทยาน ส�ำคัญ จึงท�ำให้เกิดความต้องการรถยนต์ทมี่ ี สมรรถนะสูง และสามารถใช้ในพื้นที่ทุรกันดารได้ ประกอบกับภูมิประเทศของแอฟริกาใต้เป็นป่าและทะเลทรายเป็นส่วนใหญ่ ทาํ ให้อายุการใช้งานของชิน้ ส่วนยานยนต์สนั้ จึงเป็นโอกาสของไทยในการส่งออกชิ้นส่วน ยานยนต์ ประเภท REM อาทิ เกียร์ ระบบ เบรก ระบบกันสะเทือน เพลา โช้คอัพ พวง มาลัย เข็มขัดนิรภัย ยางอะไหล่ และกระจก รถยนต์ เป็นต้น นอกจากนี้ อุ ป กรณ์ แ ต่ ง รถยนต์ จ� ำ พวกบั น ไดส� ำ หรั บ ก้ า วขึ้ น รถ กั น ชนที่ ออกแบบสวยงามเข้ากับตัวถัง เป็นทีต่ อ้ งการ มากทั้ ง ในแง่ อ� ำ นวยความสะดวกและ ประดับตกแต่งในด้านการใช้งานเพื่อเหมาะ ส�ำหรับไลฟ์สไตล์ ทั้งนี้ กสอ. และส�ำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลและอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ญี่ปุ่น หรือ HIDA (The Overseas Human Resources and Industry Development Association) ได้ร่วมกับคณะผู้บริหารจาก หน่วยงานภาครัฐและองค์กรภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ ข องแอฟริ ก าใต้ ด� ำ เนิ น โครงการ “การศึกษาดูงานเพือ่ สนับสนุนการ พัฒนาทรัพยากรบุคคลของกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์แอฟริกาใต้” โดยมีเป้าหมาย เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐและองค์กรภาค อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ข องแอฟริ ก าใต้ มี ความเข้าใจในรูปแบบการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนของไทย ภายใต้ กิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การบังคับใช้ชิ้นส่วนที่ ผลิตภายในประเทศ และการตัง้ ก�ำแพงภาษี การน�ำเข้าชิน้ ส่วนยานยนต์เพือ่ เป็นการพยุง เวลาให้อตุ สาหกรรมชิน้ ส่วนยานยนต์ภายใน ประเทศสามารถพัฒนาได้ทนั รวมทัง้ การตัง้ สถาบันยานยนต์ เพือ่ เป็นองค์กรหลักในการ พัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน ของไทยโดยเฉพาะ ตลอดจนการจัดท�ำแผน >>>66

April-May 2015, Vol.42 No.240

แม่บทในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ ทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว อีกทั้ง โครงการความร่ ว มมื อ กั บ ญี่ ปุ ่ น ด้ า นการ พัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์ (AHRDP) ซึง่ กิจกรรมเหล่านีล้ ว้ นเป็นกุญแจ ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ไทยเป็นผูน้ ำ� ด้านอุตสาหกรรม ยานยนต์ที่ประสบความส�ำเร็จในภูมิภาค อาเซียน เพือ่ เป็นกรณีศกึ ษาอย่างหนึง่ ในการ สนับสนุนความก้าวหน้าของผูผ้ ลิตยานยนต์ รายใหม่ในแอฟริกาใต้ โดยความพยายามที่ จะพัฒนาและดึงดูดอุตสาหกรรมยานยนต์ และเรียนรูต้ วั อย่างความส�ำเร็จของประเทศไทย ตลอดจนโครงสร้ า งพื้ น ฐานระบบ อุตสาหกรรมยานยนต์ในแอฟริกาใต้เพื่อให้ เกิดประโยชน์ และเป็นการจัดเตรียมสภาพ แวดล้อมแก่บริษทั ผูผ้ ลิตรถยนต์หรือชิน้ ส่วน ยานยนต์รายใหม่ ๆ ทีต่ อ้ งการขยายเข้าไปใน แอฟริ ก าใต้ ต ่ อ ไป ทั้ ง ส่ ง ผลให้ ไ ทยมี ช ่ อ ง ทางในการขยายตลาดไปยังแอฟริกาใต้ได้ มากขึ้น โดยปัจจุบนั แอฟริกาใต้เป็นฐานการ ผลิตของกลุม่ ผูผ้ ลิตรถยนต์ถงึ 7 รายด้วยกัน อาทิ โตโยต้า และนิสสัน ที่มีก�ำลังการผลิต รถยนต์ประมาณ 6 แสนคันต่อปี และบริษัท ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์จ�ำนวนหนึ่งก็ทยอย

เข้าไปขยายการลงทุนในแอฟริกาใต้ แต่การ เข้ามาของบริษัทผู้ผลิตยานยนต์หรือผู้ผลิต ชิ้ น ส่ ว นรายใหม่ ไ ม่ ส ามารถด� ำ เนิ น ต่ อ ไป ได้ เนื่องจากยังขาดความรู้ด้านการบริหาร จัดการอุตสาหกรรมดังกล่าว โดยแอฟริกาใต้ ตั้งเป้าหมายยกระดับประสิทธิภาพการผลิต รถยนต์ให้ได้ 1.2 ล้านคัน ภายในปี พ.ศ. 2563 อย่ า งไรก็ ต าม ในปี พ.ศ.2556 แอฟริกาใต้เป็นประเทศคูค่ า้ อันดับที่ 23 ของ ไทย มีมูลค่าการค้ารวมกว่า 4.84 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ โดยไทยส่งออกไปแอฟริกาใต้ 2.61 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และน�ำเข้าจาก แอฟริกาใต้ 2.23 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ท�ำให้ไทยได้เปรียบดุลการค้าแอฟริกาใต้ 3.72 ร้อยล้านดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ อุตสาหกรรมรถยนต์ อุ ป กรณ์ แ ละส่ ว นประกอบ ถือว่าเป็นสินค้าส่งออกอันดับแรกของไทยไป แอฟริกาใต้ ด้วยมูลค่ากว่า 785.28 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ รองลงมาเป็นเครื่องรับวิทยุ โทรทัศน์ และส่วนประกอบ และเครื่องจักร กลและส่วนประกอบ มีมูลค่า 311.37 และ 305.29 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ ตามล� ำ ดั บ (ข้อมูล : ระบบฐานข้อมูลสถิติการค้าไทย กระทรวงพาณิชย์และกรมศุลกากร)


&

Knowledge

เทคนิค

วิธเี ลือกซือ้ เครือ่ งกรองน�ำ้ เพราะ

2 ใน 3 ของร่างกาย ของคน หรือราว 70 เปอร์เซ็นต์ มีน�้ำเป็นส่วนประกอบ การดื่ม สะอาดในปริมาณทีพ่ อเพียงจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญ ต่อร่างกาย ข้อมูลจากวารสาร Biological Chemistry 158 โดย H.H. Mitchell ระบุวา่ สมอง ของมนุ ษ ย์ มี น�้ ำ เป็ น ส่ ว นประกอบถึ ง 73 เปอร์เซ็นต์ ปอดมีนำ�้ เป็นส่วนประกอบถึง 83 เปอร์เซ็นต์ กล้ามเนื้อและไตมีน�้ำเป็นส่วน ประกอบถึง 79 เปอร์เซ็นต์ และแม้กระทั่ง กระดูกของคนยังมีน�้ำเป็นส่วนประกอบถึง 31 เปอร์เซ็นต์ สรุปก็คือคนเราอยู่ไม่ได้ถ้า ขาดน�ำ้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ น�ำ้ สะอาด สตีเบล เอลทรอน ขอแนะน�ำ 6 ข้อง่าย ๆ เมือ่ จะเลือก ซือ้ เครือ่ งกรองน�ำ้ ไว้ใช้ภายในบ้าน

สตีเบล เอลทรอน

1. แหล่ ง น�้ ำ ที่ น� ำ มากรอง น�้ำใน แต่ละครัวเรือนมีที่มาต่างกัน ก่อนซื้อเครื่อง กรองน�ำ้ ควรพิจารณาก่อนว่า แหล่งน�ำ้ ในบ้าน ของเรานัน้ คืออะไร อาทิ น�ำ้ ประปา น�ำ้ บาดาล หรือน�ำ้ ฝน เพราะสารปนเปือ้ นจากน�ำ้ ในแต่ละ แหล่งทีม่ ามีความแตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น น�ำ้ บาดาลอาจมีปริมาณสารปนเปือ้ นมากกว่า น�ำ้ ประปา ดังนัน้ เครือ่ งกรองน�ำ้ ทีใ่ ช้จงึ จ�ำเป็น ต้องมีสารกรองที่สามารถขจัดสิ่งเจือปนได้ มากกว่า 2. ประเภทของเครือ่ งกรองน�ำ้ เมือ่ เปรียบเทียบจากในท้องตลาด เครือ่ งกรองน�ำ้ ทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มมีอยู่ 3 ประเภท ได้แก่ เครือ่ งกรอง น�ำ้ แบบ RO (Reverse Osmosis) เครือ่ งกรอง น�ำ้ แบบ UV (Ultra Violet) และเครือ่ งกรองน�ำ้ แบบ UF (Ultrafiltration)

ลักษณะการท�ำงานของเครื่องกรอง น�ำ้ แต่ละชนิดมีดงั นี้ เครือ่ งกรองน�ำ้ แบบ RO คือ เครือ่ ง กรองน�ำ้ ทีส่ ามารถกรองสารปนเปือ้ นน�ำ้ ได้มาก ถึง 95 เปอร์เซ็นต์ โดยมีระดับการกรองอยูท่ ี่ 0.0001 ไมครอน จึงสามารถกรองสารปนเปือ้ น ได้มากกว่า แต่ในขณะเดียวกันก็กรองแร่ธาตุ ออกจากน�้ำดื่มเช่นกัน ในส่วนขั้นตอนการ กรอง เครือ่ งกรองน�ำ้ ชนิดนีจ้ ะมีการสูญเสียน�ำ้ มากถึง 40-70 เปอร์เซ็นต์ของน�้ำที่กรองได้ (หรือทุก ๆ 1 แกลลอนของน�ำ้ สะอาดทีไ่ ด้ จะ มีนำ�้ อีก 4 แกลลอนทีเ่ ป็นน�ำ้ ทิง้ ) เครือ่ งกรอง น�้ำแบบ RO ต้องอาศัยไฟฟ้าในการท�ำงาน เนือ่ งจากต้องใช้ปม๊ั น�ำ้ เพือ่ ช่วยเพิม่ แรงดันน�ำ้ ให้ผา่ นเนือ้ เยือ่ กรอง หรือทีเ่ รียกว่า Membrane นอกจากนีย้ งั ต้องมีแทงค์นำ�้ เพือ่ กักเก็บน�ำ้ April-May 2015, Vol.42 No.240

67 <<<


&

Knowledge

ทีจ่ ะน�ำมาใช้กรองส่งผลให้การติดตัง้ โดยรวม มีราคาค่อนข้างสูง เนื่องจากมีขั้นตอนการก รองน�ำ้ และอุปกรณ์ทตี่ อ้ งใช้หลายขัน้ ตอน อีก ทัง้ มีการบ�ำรุงรักษาเครือ่ งทีค่ อ่ นข้างซับซ้อน เครือ่ งกรองน�ำ้ แบบ RO มีคณ ุ สมบัตเิ ด่นคือ สามารถใช้กรองน�ำ้ บาดาลได้ เครื่องกรองน�้ำระบบ UV เป็นการ ฆ่าเชื้อโรคในน�้ำโดยใช้แสงอัลตร้าไวโอเล็ต หรือแสง UV ฉายลงในน�้ำโดยแบคทีเรียจะ ถูกฆ่าหรือหยุดการเจริญเติบโตแต่ยังคงอยู่ ในน�ำ้ ดืม่ เครือ่ งกรองน�ำ้ ระบบ UV จ�ำเป็นต้อง ใช้กระแสไฟในการท�ำงานของเครื่อง และ เหมาะส�ำหรับใช้กรองน�้ำประปามากกว่าน�้ำ จากแหล่งอืน่ เครื่ อ งกรองน�้ ำ ระบบ UF (Ultra Filtration) หรือเทคโนโลยี Ultrafiltration ที่ สตีเบล เอลทรอนเลือกใช้ในเครื่องกรองน�้ำ เป็นการใช้เยือ้ กรองทีส่ ามารถกรองสิง่ เจือปน >>>68

April-May 2015, Vol.42 No.240

ขนาดเล็ก 0.01 ไมครอน จึงให้ความปลอดภัย จากแบคทีเรีย และยังคงรักษาแร่ธาตุใน น�้ำดื่มให้คงเดิม เครื่องกรองน�้ำแบบ UF มี ขั้นตอนการติดตั้งที่ง่าย เนื่องจากไม่ต้องใช้ ไฟฟ้า ไม่ต้องใช้ปั๊มหรือแทงค์น�้ำเนื่องจาก สามารถต่อกับท่อประปาและใช้แรงดันของ น�้ำประปาภายในบ้านโดยตรง เครื่องกรอง ชนิดนี้จะไม่มีน�้ำทิ้งจากระบบกรอง ทั้งยังมี ขัน้ ตอนการดูแลรักษาทีท่ ำ� ได้งา่ ยกว่าเครือ่ ง กรองน�ำ้ ระบบ UV และ RO 3. วัสดุไส้กรองและสารกรอง สาร ทีน่ ำ� มาใช้และวัสดุไส้กรอง คือ อีกหนึง่ ปัจจัย ทีค่ วรค�ำนึงถึงเมือ่ ซือ้ เครือ่ งกรองน�ำ้ เพราะสาร ทีน่ ำ� มาใช้ในไส้กรองแต่ละชนิดช่วยคัดกรอง สิ่งสกปรกและสารปนเปื้อนแตกต่างกัน ยก ตัวอย่างเช่น ไส้กรองทีท่ ำ� ขึน้ จากโพลีเอธีเลน (PE) และโพลีไพลีน (PP) ช่วยแยกตะกอน โคลน ทรายและอนุภาคที่มีขนาดใหญ่กว่า

5 - 10 ไมครอน ออกจากน�ำ้ ถ่านกัมมันต์ชนิด เม็ดช่วยขจัดคลอรีนที่ตกค้าง ขจัดกลิ่นและ รสชาติไม่พึงประสงค์ ขจัดเชื้อราและโลหะ หนักบางส่วน ผงคาร์บอนชนิดเม็ดช่วยป้องกัน ไม่ให้แบคทีเรียที่ถูกกรองทิ้งเจริญเติบโต อยู่ในเครื่องกรอง หินซิลเวอร์ไลท์ช่วยก�ำจัด แบคทีเรียและช่วยป้องกันไม่ให้เชือ้ โรคเข้าสู่ ไส้กรอง 4. มีมาตรฐานรับรอง หากเครื่อง กรองน�้ำที่คุณเลือกมีคุณสมบัติและราคาที่ ใกล้เคียงกัน สิง่ ทีส่ ามารถน�ำมาใช้พจิ ารณา ในการเลือกซื้ออาจเป็นตราสัญลักษณ์จาก องค์กรต่าง ๆ ที่รองรับมาตรฐานของเครื่อง กรองน�ำ้ นัน้ ๆ อาทิ ตราสัญลักษณ์ของ NFS ที่รับรองผลิตภัณฑ์ อาหาร น�้ำและสินค้า อุปโภคบริโภคทีต่ รงตามมาตรฐานสากล 5. การรับประกันเครื่องกรองน�้ำ เลือกเครือ่ งกรองน�ำ้ ทีม่ กี ารรับประกัน 6. การบริการหลังการขาย ควรเลือก ซื้อเครื่องกรองน�้ำที่มีศูนย์บริการที่สามารถ ติดต่อซื้อไส้กรองได้ง่ายและมีบริการส่งถึง บ้าน มีเบอร์โทรศัพท์ตรงส�ำหรับ Call Center เพือ่ ให้คำ� ตอบและแนะน�ำข้อมูลแก่ลกู ค้าได้ อย่างถูกต้อง เพือ่ เป็นการประหยัดเวลาในการ เปลีย่ นไส้กรองด้วยตนเอง นอกจากนีย้ งั ควร มองหาแบรนด์ที่มีความน่าเชื่อถือเพื่อความ สะดวกในการเปลีย่ นและซ่อมแซมอะไหล่ใน การใช้งานระยะยาว


&

Visit

เยือนถิ่น“กะทิชาวเกาะ”

วันนี้มีดีมากกว่ากะทิ

กองบรรณาธิการ

เคล็ด

ด้วย

(ไม่) ลับ อาหารไทยที่ถูกปากถูกใจคนไทยและต่างชาติ เกิดจากการเลือกสรรวัตถุดิบที่มีคุณภาพ เมื่อประกอบเข้ากับเครื่องปรุงที่ให้รสกลมกล่อม แฝงความจัดจ้านในที ตกแต่งความหอมและมันด้วยกะทิ นี่จึงเป็น เสน่ห์อย่างหนึ่งของอาหารไทย ที่ใครได้ชิมแล้วต้องติดใจ

อาหารไทยจะขาดกะทิไม่ได้ เพราะ “กะทิ” เป็น ส่วนประกอบหลักในอาหารคาวหวาน รวม ถึงเครื่องปรุงรส และน�้ำจิ้มต่าง ๆ ดังนั้นยิ่งอาหารไทยได้ รับความนิยมมากเท่าไหร่ อุตสาหกรรมกะทิบรรจุกระป๋อง ก็เติบโตเป็นเงาตามตัว อย่างไรก็ตาม จุดส�ำคัญของ แปรรูปกะทิ คือ ท�ำอย่างไรให้สามารถ คงกลิน่ สี และรสชาติ ที่ใกล้เคียงกับธรรมชาติมากที่สุด และด้วยเทคโนโลยีการ ถนอมอาหารทีท่ นั สมัยในปัจจุบนั ท�ำให้การแปรรูปกะทิ ไม่ใช่เรือ่ งยากอีกต่อไป แต่สงิ่ ทีส่ ำ� คัญยิง่ กว่า คือ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย และโดดเด่น ดังตัวอย่าง ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมทีเ่ รา

1

2

1. คุณอภิศักดิ์ เทพผดุงพร 2. คุณเกียรติศักดิ์ เทพผดุงพร April-May 2015, Vol.42 No.240

69 <<<


Visit

&

จะพาท่านไปรู้จักในวันนี้ “กะทิชาวเกาะ” โดย บริษัท เทพผดุงพรมะพร้าว จ�ำกัด เป็นหนึ่งในบริษัท ผู ้ ค ร�่ ำ หวอดในวงการแปรรู ป มะพร้ า วมา อย่างยาวนาน ปัจจุบันบริษัทฯ สามารถ พัฒนากระบวนการผลิตที่สามารถแปรรูป มะพร้าวให้เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ออกสู่ ตลาดอย่างต่อเนือ่ ง อาทิ กะทิสำ� เร็จรูปบรรจุ กระป๋อง และบรรจุกล่อง กะทิสำ� เร็จรูปแบบ ผง น�้ำมะพร้าวเพื่อสุขภาพ น�้ำมันมะพร้าว บริ สุ ท ธิ์ และมะพร้ า วอบกรอบ รวมถึ ง ผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้บรรจุกระป๋อง ตรา “ชาวดอย” และผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งปรุ ง รส อาหารไทย ตรา “แม่พลอย”

4 ทศวรรษ กับการพัฒนาอุตสาหกรรม แปรรูปมะพร้าว

ย้อนกลับไปเมือ่ ประมาณ 50 ปีกอ่ น “ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัดอุดมพรมะพร้าว” ก่อตั้ง โดยคุณอ�ำพล และคุณจรีพร เทพผดุงพร เพือ่ ด�ำเนินธุรกิจค้าส่ง-ปลีกมะพร้าวลูก แถว ถนนมหาราช ริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา จาก ประสบการณ์ที่สั่งสมในธุรกิจเกษตร ท�ำให้ คุณอ�ำพลตระหนักและมองเห็นแนวโน้ม ความต้องการในตลาดว่า อาหารแปรรูป คือ ค�ำตอบส�ำหรับอนาคต คุณอ�ำพล จึงเริ่ม เตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรม

แปรรูปด้วยการส่งบุตรธิดาไปศึกษาต่อด้าน การผลิตและแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร ทีต่ า่ งประเทศ ขณะเดียวกันก็ได้กอ่ ตัง้ บริษทั เทพผดุงพรมะพร้าว จ�ำกัด ขึ้นในปี พ.ศ. 2519 และได้เริ่มวางรากฐานโรงงานแปรรูป อาหารที่ทันสมัย ได้มาตรฐานนับแต่บัดนั้น เป็นต้นมา ปัจจุบันฐานการผลิตที่ส�ำคัญของ “กะทิชาวเกาะ” คือ โรงงานชาวเกาะ ตั้งอยู่ ที่ถนนพุทธมณฑล สาย 4 ผลิตสินค้าหลัก ตราชาวเกาะ แม่พลอย และยอดดอย โดย ผลิตสินค้าชาวเกาะและแม่พลอยในสัดส่วน 97 เปอร์เซ็นต์ ยอดดอยและอื่น ๆ 3 เปอร์เซ็นต์ ส่วนโรงงานแม่พลอย ที่ตั้งอยู่แถว ถ.พุทธมณฑล สาย 4 เช่นเดียวกัน เป็น โรงงานผลิตสินค้าตราแม่พลอย ประเภท น�้ำจิ้ม น�้ำพริกแกง และเครื่องปรุงรสอาหาร ต่าง ๆ จากแนวโน้มอาหารไทยก�ำลังได้รับ ความนิยมจากตลาดต่างประเทศในปัจจุบนั ส่งผลให้ในปี พ.ศ.2557 ทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ ได้ ลงทุนกว่า 300 ล้านบาทในการสร้างไลน์การ ผลิตควบ 2 ไลน์ เพื่อผลิตสินค้าใหม่ “กะทิ บรรจุกล่องยูเอชที” และ “น�ำ้ มะพร้าวบรรจุ กล่องยูเอชที” โดยวางต�ำแหน่งให้ผลิตภัณฑ์ ทั้ง 2 ชนิดอยู่ในระดับพรีเมี่ยม

คุณอภิศักดิ์ เทพผดุงพร กรรมการ ผู้จัดการบริษัท เทพผดุงพรมะพร้าว จ�ำกัด ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า การเพิ่มไลน์การผลิต สินค้าทั้ง 2 ประเภทนี้ เป็นไปตามความ ต้องการของตลาดโลก โดยเฉพาะฐานลูกค้า เดิมที่ต้องการผลิตภัณฑ์พรีเมี่ยม ประเภท กะทิบรรจุกล่องยูเอชที เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและเบเกอรี่ที่ต้องการความสด ใหม่ หอมมัน เหมือนกะทิคั้นสดที่มากกว่า สินค้าที่มีอยู่ในท้องตลาด รวมถึงผลิตภัณฑ์ น�ำ้ มะพร้าวทีจ่ ดั ว่าเป็นน�้ำเกลือแร่จากธรรมชาติ (mineral water) ซึง่ ใช้เป็นเครือ่ งดืม่ เพือ่ สุขภาพ เพิ่มความสดชื่น ก�ำลังเป็นที่นิยม และมีความต้องการสูงในตลาดต่างประเทศ บริษัทฯ จึงได้เพิ่มไลน์การผลิตน�้ำมะพร้าว บรรจุกล่องยูเอชทีดว้ ยเช่นกัน นอกเหนือจาก ผลิตภัณฑ์น�้ำมะพร้าวบรรจุกระป๋องที่มีอยู่ เดิม “สินค้าทั้ง 2 ชนิดนี้ เป็นผลิตภัณฑ์ ใหม่ภายใต้แบรนด์ “ชาวเกาะ” ที่เน้นผลิต เพื่อการส่งออก มีตลาดหลักอยู่ในสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป โดยเฉพาะน�้ำ มะพร้าวบรรจุกล่องยูเอชทีนั้น มุ่งจับกลุ่ม ผู้รักสุขภาพ รวมถึงในธุรกิจฟิตเนสที่นิยม จ�ำหน่ายน�้ำมะพร้าวเพื่อเพิ่มความสดชื่น และชดเชยการสูญเสียเหงื่อจากการออก ก�ำลังกายให้กบั ผูม้ าใช้บริการ และสอดคล้อง กับนโยบายขององค์การอาหารและเกษตร แห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO) ที่ส่งเสริมให้มีการพัฒนาน�้ำมะพร้าวให้เป็น “เครื่องดื่มเกลือแร่” (sport drink) เนื่องจาก มีปริมาณแร่ธาตุส�ำคัญที่ร่างกายต้องการ โดยเฉพาะโพแทสเซียมในปริมาณสูง รวมถึง กลูโคสที่ร่างกายดูดซึมได้ง่าย” คุณอภิศักดิ์ กล่าว

กระบวนการผลิตด้วยระบบยูเอชที

ส� ำ หรั บ ไลน์ ก ารผลิ ต ใหม่ นี้ คุ ณ เกียรติศักดิ์ เทพผดุงพร กรรมการบริหาร บริษัท เทพผดุงพรมะพร้าว จ�ำกัด ให้ข้อมูล ว่า เป็นไลน์การผลิตด้วยระบบยูเอชที (UHT หรือ Ultra High Temperature) แล้วบรรจุ >>>70

April-May 2015, Vol.42 No.240


& ด้วยกระบวนการและสภาวะที่ปลอดเชื้อ (aseptic processing and packaging) ปั จ จุ บั น ได้ ท� ำ การติ ด ตั้ ง เครื่ อ งจั ก รและ ด�ำเนินการผลิตกะทิ และน�้ำมะพร้าวบรรจุ กล่องเพื่อส่งออกแล้ว ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2557 ที่ผ่านมา “เราพยายามทีจ่ ะพัฒนากะทิยเู อชที ให้มีกลิ่นและรสชาติใกล้เคียงกะทิสดจาก ธรรมชาติมากที่สุด โดยไม่มีการแต่งกลิ่น แต่งสีใด ๆ ส่วนน�ำ้ มะพร้าวเดิมมีผลิตอยูแ่ ล้ว แต่เป็นบรรจุกระป๋อง ไลน์ใหม่นี้จะเป็นน�้ำ มะพร้าวบรรจุกล่องยูเอชที ซึ่งจะมีทั้งน�้ำ มะพร้าวล้วน น�้ำมะพร้าวผสมวุ้น และน�้ำ มะพร้าวผสมเนื้อมะพร้าว” คุณเกียรติศักดิ์ กล่าว ในกระบวนการแปรรูปมะพร้าว ภาย หลังจากรับซือ้ มะพร้าวลูกจากเกษตรกรแล้ว มะพร้าวจะถูกจัดเก็บในตะกร้า ขนาดบรรจุ 800-1,000 ลูก มีระบบการจัดการวัตถุดิบ แบบ First in – First Out ทุกตะกร้าจะมี บาร์โค้ดก�ำกับ สามารถสอบย้อนกลับได้ถึง แหล่งผลิตวัตถุดิบ กระบวนการผลิต เริ่มต้น จากการรับมะพร้าวลูกเข้าสู่กระบวนการ กะเทาะมะพร้าว เดิมใช้มีดและทักษะของ คนงานในการกะเทาะเปลือก แต่ปัจจุบันมี เครือ่ งมือช่วยในการกะเทาะแล้ว คนงานทีม่ ี ความช�ำนาญจะสามารถกะเทาะได้เฉลี่ย 2,000 ลูก/ 8 ชั่วโมงท�ำงาน ภายหลังจาก กะเทาะเปลือกออกแล้ว จะเหลือผิวสีนำ�้ ตาล ที่จะต้องขูดผิวสีน�้ำตาลออกให้เหลือแต่เนื้อ

สี ข าวล้ ว น ก่ อ นเข้ า สู ่ ก ระบวนการล้ า ง ท�ำความสะอาดและคัดคุณภาพ มะพร้าวส่วนทีค่ ณ ุ ภาพดี จะส่งเข้าสู่ ขั้นตอนการขูดฝอย ส่วนมะพร้าวที่ไม่ได้ คุณภาพจะถูกคัดออก เพือ่ น�ำเข้าสูก่ ระบวนการผลิตน�้ำมันมะพร้าวดิบ เพื่อสู่ไปโรงงาน ผลิตน�ำ้ มันพืช ให้ทำ� การ Refining เป็นน�ำ้ มัน มะพร้าวต่อไป มะพร้ า วที่ ผ ่ า นการล้ า งท� ำ ความ สะอาดและคัดเกรดแล้ว จะเข้าสู่การขูดให้ เป็ น ฝอย และคั้ น ให้ น�้ ำ กะทิ ไ หลออกมา ปัจจุบนั เราใช้เทคโนโลยีทที่ นั สมัยขึน้ เดิมใช้ เป็นระบบสกรู แต่ปัจจุบันใช้ระบบสายพาน ในการบีบอัดให้นำ�้ กะทิไหลออกมา หากเป็น ไลน์การผลิตกะทิยูเอชที น�้ำกะทิจะเข้าสู่ กระบวนการฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส และลดอุณหภูมิลงอย่างรวดเร็ว ให้ต�่ำกว่า 15 องศาเซลเซียส ส่งต่อไปยัง ถังพัก หลังจากนัน้ จะถูกล�ำเลียงผ่านท่อไปสู่ กระบวนการฆ่าเชื้อด้วยระบบยูเอชที (การ

Visit

ฆ่าเชือ้ ด้วยความร้อนสูง 140 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 20 วินาที แต่เดิมโรงงานผลิต แบบบรรจุกระป๋อง ซึง่ ฆ่าเชือ้ ด้วยอุณหภูมสิ งู เช่นกัน คือ อุณหภูมิ 116 องศาเซลเซียส เป็น เวลา 90 นาที) เมื่อฆ่าเชื้อเสร็จกะทิจะถูก ล�ำเลียงไปเก็บไว้ในถังปลอดเชื้อ (aseptic tank) ก่อนส่งเข้าเครื่องบรรจุ ที่ท�ำภายใน ห้องปลอดเชื้อ (clean room) เมื่อบรรจุเสร็จ จะถูกล�ำเลียงมาอีกห้องหนึ่งเป็นห้องบรรจุ ลงกล่อง ฝ่ายประกันคุณภาพจะท�ำการสุ่ม ตัวอย่างไปตรวจ หากคุณภาพสินค้าไม่มี ปัญหา จึงจะสามารถส่งออกได้ ส่วนไลน์การผลิตน�้ำมะพร้าว จะใช้ วิธีการเจาะที่หัวมะพร้าวให้น�้ำมะพร้าวไหล ออกมา ปัจจุบนั ยังไม่มเี ครือ่ งเจาะ ต้องอาศัย ฝีมือแรงงาน น�้ำมะพร้าวเวลาสัมผัสโดน เปลือก จะท�ำให้เสียรสชาติ เราจ�ำเป็นจะต้อง ฝึกให้คนของเรามีทักษะฝีมือในการเจาะ มะพร้าวโดยทีไ่ ม่ให้นำ�้ มะพร้าวสัมผัสเปลือก มะพร้าวเลย รสชาติกจ็ ะเป็นปกติดี หลังจาก นัน้ น�ำ้ มะพร้าวจะเข้าสูก่ ระบวนการกรองเอา เศษที่ ป ะปนออก ก่ อ นล� ำ เลี ย งเข้ า สู ่ กระบวนการผลิ ต ด้ ว ยระบบยู เ อชที เ ช่ น เดียวกันกระบวนการผลิตกะทิยูเอชที

เติบโตสวนกระแส เศรษฐกิจโลกซบเซา

จากการพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่ง ส่ง ผลให้ในปี พ.ศ.2557 ที่ผ่านมา บริษัทฯ สามารถท�ำยอดขายได้สูงเป็นประวัติการณ์ นับตัง้ แต่กอ่ ตัง้ บริษทั มา โดยผลประกอบการ ยอดขายโตทะลุ เ ป้ า 30 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ส วน กระแสเศรษฐกิจโลกซบเซา และในปี พ.ศ. April-May 2015, Vol.42 No.240

71 <<<


Visiting

&

2558 นี้ บริษัทฯ ได้เพิ่มงบลงทุนอีกราว 300 ล้ า นบาท เพื่ อ ขยายก� ำ ลั ง การผลิ ต และ ปรับปรุงระบบดูแลสิ่งแวดล้อมรอบโรงงาน “ปี พ.ศ. 2557 ที่ผ่านมา บริษัทฯ มี ยอดขายรวมทั้งสิ้น 6,000 ล้านบาท คิดเป็น อัตราการเติบโตกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ ซึง่ สูงกว่า ที่ได้เคยประมาณการไว้ที่ 5,000 ล้านบาท ถึง 20 เปอร์เซ็นต์ นับเป็นยอดขายสูงสุด ตั้งแต่บริษัทเริ่มด�ำเนินธุรกิจมา เนื่องจาก สามารถบริหารวัตถุดิบได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้บริษัทฯ สามารถเพิ่ ม ยอดขายได้ เ กิ น กว่ า เป้ า ที่ ก�ำหนดไว้ โดยในปีที่ผ่านมาสัดส่วนการใช้ วัตถุดิบที่น�ำเข้าจากต่างประเทศต่อการรับ ซื้อวัตถุดิบจากเกษตรกรในประเทศอยู่ใน อัตราร้อยละ 15 : 85 ซึ่งเป็นการน�ำเข้า มะพร้าวจากอินโดนีเซียในช่วงต้นปีเพียงช่วง เดียว จากเดิมทีต่ อ้ งน�ำเข้าเฉลีย่ ทัง้ ปีมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ การบริ ห ารวั ต ถุ ดิ บ ใน ประเทศโดยการประเมินผลผลิตโดยรวมใน แต่ละช่วง จากแปลงทดลองของบริษทั ฯ ร่วม กับการใช้กลไกราคารับซื้อในราคาสูงกว่า ราคาตลาด เพื่อพยุงราคามะพร้าวซึ่งเป็น วัตถุดบิ ส�ำคัญ ทัง้ ในช่วงทีม่ ะพร้าวมีปริมาณ

>>>72

April-May 2015, Vol.42 No.240

มากและช่วงขาดแคลน จึงท�ำให้บริษัทฯ มี วัตถุดิบคงคลังเพื่อการผลิตสินค้าได้อย่าง ต่อ เนื่ อ งตลอดทั้ งปี ขณะที่ เกษตรกรชาว สวนมะพร้าวก็มีรายได้สูงในอัตราที่พอใจ ส�ำหรับในปี พ.ศ.2558 นี้ บริษัทฯ ตั้งเป้าอัตราการเติบโตของยอดขายไว้ที่ 3-5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งไม่สูงมากนัก เนื่องจากผลการ ด�ำเนินงานในปีที่ผ่านมาถือเป็นยอดขายสูง ทีส่ ดุ ทีเ่ คยท�ำได้ โดยปีนบี้ ริษทั ฯ ได้จดั สรรงบ ลงทุนราว 300 ล้านบาทเพื่อการขยายไลน์ การผลิตในหลายผลิตภัณฑ์ ภายใต้แบรนด์ ชาวเกาะ ในสินค้าประเภท กะทิ น�้ำมะพร้าว น�ำ้ มันมะพร้าวบริสทุ ธิ์ และมะพร้าวอบกรอบ เพิ่มขึ้นอีกประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ แบ่ง เป็นซื้อเครื่องจักรทั้งโรงงานชาวเกาะและ แม่พลอย ประมาณ 100 ล้านบาท และการ พัฒนาระบบดูแลสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ โรงงาน ราว 200 ล้านบาท ซึ่งการติดตั้งเครื่องจักร และระบบดูแลสิ่งแวดล้อมเหล่านี้ คาดว่า จะแล้วเสร็จภายในไตรมาส 2/2558” คุณ อภิศักดิ์ กล่าว หลั ง จากติ ด ตั้ ง เครื่ อ งจั ก รใหม่ โรงงานชาวเกาะจะมีก�ำลังการผลิตสูงสุดถึง 120,000 ตันต่อปี แต่จะผลิตที่ 80,000 ตัน ต่อปีกอ่ น โดยจะคงสัดส่วนในการผลิตสินค้า

แบรนด์ชาวเกาะและแม่พลอยไว้ที่ 97 เปอร์เซ็นต์ ยอดดอยและอื่น ๆ อีก 3 เปอร์เซ็นต์ ไม่เปลีย่ นแปลง ทัง้ นี้ สินค้าหลักของแบรนด์ ชาวเกาะ 3 ล�ำดับแรก ได้แก่ กะทิส�ำเร็จรูป น�้ำมะพร้าว และผักผลไม้ ส่วนโรงงานแม่ พลอยจะมีก�ำลังการผลิตสูงสุดเพิ่มเป็นเป็น 20,000 ตันต่อปี โดยน�้ำจิ้มไก่ พริกแกง และ น�้ำพริกเผายังคงเป็นสินค้าหลักในการผลิต ด้านการขยายตลาด บริษัทมีแผนที่ จะเพิ่มมาร์เก็ตแชร์ในตลาดอเมริกา ซึ่งเป็น ตลาดหลักที่มีส่วนแบ่งตลาดสูงสุดเพิ่มขึ้น ด้วยผลิตภัณฑ์น�้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์และ มะพร้าวอบกรอบ ส่วนตลาดในแคนาดา และออสเตรเลี ย จะเน้ น น�้ ำ มะพร้ า วเป็ น ผลิตภัณฑ์หลัก และจะเพิ่มส่วนแบ่งตลาด ในญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตลาดใหม่ต่อเนื่อง ด้วย น�้ ำ มั น มะพร้ า ว ซึ่ ง จากการเปิ ด ตลาด ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพในปีที่ผ่านมาพบว่า ได้รับความสนใจจากลูกค้าเป็นจ�ำนวนมาก ปัจจุบัน บริษัท เทพผดุงพรมะพร้าว จ� ำ กั ด ถื อ เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต และจั ด จ� ำ หน่ า ย ผลิตภัณฑ์อาหาร ประเภท กะทิส�ำเร็จรูปใน รูปแบบต่าง ๆ เพื่อการส่งออกรายใหญ่เป็น อันดับ 1 ของโลก ร่วมด้วยเครื่องปรุงรส น�ำ้ พริกแกง น�ำ้ จิม้ และผักผลไม้แปรรูปชนิด ต่าง ๆ คิดเป็นสัดส่วนการส่งออกต่อการ จ�ำหน่ายในประเทศในอัตราร้อยละ 80 : 20 ครอบคลุมกลุม่ ลูกค้ากว่า 27 ประเทศทัว่ โลก โดยสัดส่วนการจัดจ�ำหน่ายในตลาดหลัก ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกาและแคนาดา ร้ อ ยละ 55 ประเทศในกลุ ่ ม โอเชี ย เนี ย ประกอบด้วย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และ หมู่เกาะ ร้อยละ 16 เอเชียแปซิฟิกรวมจีน และญี่ปุ่น ร้อยละ 15 ประเทศในเขตทวีป ยุโรป ร้อยละ 13


&

Travel

Universal

Studio

ผจญภัยไปกับแฮร์รี่ พอตเตอร์ ใคร ๆ

ก็อยากไปญี่ปุ่น...เพราะญี่ปุ่นมีหลายสิ่งที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวอย่างเรา ๆ ท่าน ๆ ให้ หลั่งไหลเข้าไปเที่ยวชม ไม่ว่าจะเป็นวิถีชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรมประเพณี อาคาร ร้านรวง และสถาปัตยกรรมเก่าแก่ที่ญี่ปุ่นยังคงรักษาไว้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ “อาหารญี่ปุ่น” ก็ขึ้นชื่อใน เรื่องความอร่อยเลิศรส รวมถึงการ “ช้อปปิ้ง” ก็ถือเป็น เป้าหมายหลักของการไปเยือนญี่ปุ่น

ส�ำ

หรับผูท้ ชี่ นื่ ชอบความตืน่ เต้น ผจญภัยไปกับหนังดังฮอลลีวดู้ ไม่ควรพลาด คือ ทีน่ เี่ ลย “Universal Studio Japan” อาณาจักรของคนรักหนังฮอลลีวู้ดแห่งเดียวในญี่ปุ่น และ เป็นแห่งแรกในเอเชียที่รวมเอาเครื่องเล่นสุดมันส์มาให้บริการภายใต้บรรยากาศจ�ำลองจาก ภาพยนตร์ชื่อดังหลายเรื่อง และล่าสุด Universal Studio Japan เปิดโซนใหม่เอาใจคนรัก พ่อมด (หนุ่ม) น้อยแฮร์รี่ พอตเตอร์ เมื่อกลางเดือนกรกฎาคม 2557 ที่ผ่านมา

ภายใน Universal Studio Japan ถูกจัดวางออกเป็นโซน ๆ แต่ละโซนจะจ�ำลอง บรรยากาศของหนังได้แบบเสมือนจริง ใคร ชื่นชอบ และเป็นสาวกหนังเรื่องไหนแวะ ได้เลย เริ่มจาก... The Wizarding World of Harry TM Potter : ดินแดนใหม่ที่เพิ่งเปิดตัวเมื่อ ไม่นานมานี้ ภายในจะได้พบกับโลกแห่ง April-May 2015, Vol.42 No.240

73 <<<


Travel

&

เวทมนตร์ของพ่อมดน้อยแฮร์รี่ พอตเตอร์และ ผองเพื่อน ภายใต้บรรยากาศจ�ำลองเสมือน จริงของโรงเรียนฮอกวอตส์ ชมบรรยากาศ ฉากถ่ายท�ำภาพยนตร์ ทีน่ า่ ตืน่ เต้น สนุก และ ลุน้ ระทึกไปกับ Harry Potter and the Forbidden JourneyTM เครือ่ งเล่นทีจ่ ำ� ลองการหนีสดุ ระทึกของพ่อมดน้อยและผองเพื่อน Hollywood: โซนที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย โรงภาพยนตร์ 4 มิติ ที่มาพร้อมกับสเปเชียล เอฟเฟ็คสุดตระการตา สมจริงรวมกับเข้าไป อยู่ในโลกแห่งภาพยนตร์ ทั้งเชร็ค เซซามิสตรีท หรือใครใคร่อยากจะชมวิวมุมสูงของ สถานที่แห่งนี้ก็สามารถนั่งรถไฟเหาะ Hollywood Dream the Ride ได้ Universal Wonderland: น่ารัก คิกขุ สมวัย เอาใจคุณหนู ๆ และสาวกที่ชื่นชอบ คิตตี้ สนูปปี้ และเซซามิสตรีท

>>>74

April-May 2015, Vol.42 No.240

San Francisco: ร่วมเจาะเวลาหา อดีตไปกับรถไทม์แมชชีนจากภาพยนตร์เรือ่ ง Back to the Future Amity Village: ตื่นเต้นไปกับการ ล่องเรือหลบหนีการตามล่าของฝูงฉลากยักษ์ จากภาพยนตร์ JAWS New York: โซนที่จ�ำลองบรรยากาศ ของเมืองนิวยอร์ก ยุค ค.ศ.1930 มีโรงภาพยนตร์ 3 มิติ เรื่องคนเหล็ก และเครื่องเล่น The Amazing adventure of Spider-Man

ผจญภัยเหล่าร้ายไปกับสไปเดอร์แมน Jurassic Park: จ�ำลองบรรยากาศ แบบในภาพยนตร์เรื่องจิราสสิค ปาร์ค ล่อง แพหนีการตามล่าของเหล่าไดโนเสาร์พร้อม เซอร์ไพรส์ช่วงสุดท้ายสุดตื่นเต้น Water World: การแสดงสุดระทึก ด้ ว ยฉากที่ จ� ำ ลองมาจากภาพยนตร์ เ รื่ อ ง Water World ที่ทั้งสนุกและตื่นเต้น Universal city Walk: ทางเดินเชื่อม ระหว่างสถานีรถไฟ Universal City กับประตู ทางเข้า Universal Studio มีทั้งพลาซ่า ร้ า นอาหาร ร้ า นขายของที่ ร ะลึ ก ต่ า ง ๆ มากมาย ให้เลือกชอปปิ้งก่อนกลับอีกด้วย ส� ำหรับ ท่านใดที่มีโ อกาสไปเยือน ญีป่ นุ่ สักครัง้ อย่าลืมแวะทีน่ ี่ และก่อนไปควร ศึกษารายละเอียดการเดินทาง ค่าตั๋วเข้าชม และอื่น ๆ ได้ที่ www.usj.co.jp


พลัส

&

Show & Share

เครื่องดื่มอัดลมซ่ารูปแบบใหม่ บริษัท ไทยดริ้งค์ จ�ำกัด บริษัทผู้บริหารและพัฒนาธุรกิจเครื่องดื่ม ไม่มีแอลกอฮอล์ในเครือไทยเบฟเวอเรจ เดินหน้าปฏิวัติตลาดเครื่องดื่ม อัดลม เปิดตัวเครื่องดื่มอัดลมซ่ารูปแบบใหม่ “100 พลั ส ” นวัตกรรม เครื่องดื่มที่ตอบสนองต่อไลฟ์สไตล์สุดแอคทีฟของคนรุ่นใหม่ รวมทั้ง สภาพอากาศทีร่ อ้ นในแต่ละวันทีท่ ำ� ให้รสู้ กึ เหนือ่ ย เพลีย อ่อนล้า “100 พลัส” โดดเด่นด้วยรสชาติ “สดชื่น” ในแบบเฉพาะตัวกับกลิ่นผลไม้เบา ๆ พร้อม คุณค่า “แร่ธาตุและเกลือแร่ 6 ชนิด” ช่วยเติมคุณค่ากลับคืนสู่ร่างกายแบบ ไร้คาเฟอีน ให้คุณ “พร้อมไปต่อกับกิจกรรมสุดแอคทีฟ” ตลอดวันได้ทันที ไปต่ อ อย่ า งเต็ ม ที่ กั บ ทุ ก ไลฟ์ ส ไตล์ สุ ด แอคที ฟ กั บ เครื่ อ งดื่ ม “100 พลัส” เครื่องดื่มอัดลมซ่ารูปแบบใหม่ พร้อมเติมความสดชื่นและคืน คุณค่าสู่ร่างกาย ใน 2 รสชาติ ได้แก่ ซิตรัส และเลมอนไลม์ ในหลากหลาย รูปแบบบรรจุภัณฑ์

ลอยน� ำ ้ ทางรอดใหม่จากภัย โลกร้อนและสึนามิ

นวัตกรรมตึก

FDN บริษัทวิศวกรรมและการก่อสร้างสัญชาติดัตช์ น�ำเสนอ ทางออกที่ยั่งยืนเพื่อแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัย ธรรมชาติอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ด้วยการออกแบบบ้านและอาคารลอยน�้ำ ทีส่ ามารถต้านทานระดับน�ำ้ ทะเลเพิม่ สูงและน�ำ้ ท่วม ตลอดจนการออกแบบ สิ่งปลูกสร้างที่ต้านทานสึนามิรุนแรงได้ FDN เป็นบริษทั ทีม่ คี วามก้าวหน้าทางนวัตกรรมมากทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ในเนเธอร์แลนด์ โดยบริษัทสามารถคว้ารางวัลมาแล้วมากมาย และล่าสุด ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล European Business Award การเพิ่มขึ้นของระดับน�้ำทะเลและแม่น�้ำที่เอ่อล้น อันเนื่องมาจาก

ภาวะโลกร้อนและการตัดไม้ท�ำลายป่า ได้ส่งผลกระทบต่อหลายประเทศ ในทวีปเอเชีย อเมริกาใต้ และยุโรป สิง่ ปลูกสร้างลอยน�ำ้ ทีค่ ดิ ค้นโดยบริษทั FDN จะช่วยปกป้องประชาชนและผูท้ ที่ ำ� งานในพืน้ ทีเ่ สีย่ ง ควบคูไ่ ปกับการ พัฒนาพื้นที่ธรรมชาติที่มีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ได้อย่างยั่งยืน ส�ำหรับแถบชายฝัง่ ของเอเชีย FDN ได้ออกแบบบ้านต้านสึนามิขนึ้ ซึ่งสามารถต้านทานสึนามิที่รุนแรงที่สุดได้ ด้วยโครงสร้างคอนกรีตที่มั่นคง และกันน�้ำ อีกทั้งการออกแบบตามหลักอุทกพลศาสตร์ นอกจากนี้ แผง พลังงานแสงอาทิตย์ทตี่ ดิ ตัง้ อยูบ่ นหลังคาและหน้าต่างกันน�ำ้ จะช่วยปกป้อง ผู้อยู่อาศัยให้ปลอดภัย ทั้งในระหว่างถูกคลื่นยักษ์โจมตีและหลังจากนั้น ขณะทีใ่ นประเทศแถบยุโรป FDN ได้ออกแบบสิง่ ปลูกสร้างลอยน�ำ้ หลายรูปแบบ เช่น อาคารลอยน�้ำในกรุงอัมสเตอร์ดัม โรงแรมเรือยอร์ช และอพาร์ตเม้นท์กงึ่ ลอยน�ำ้ ซึง่ ใช้ระบบไฮดรอลิกชนิดพิเศษ เพือ่ ยึดให้บา้ น ตัง้ อยูก่ บั ทีใ่ นระหว่างเกิดพายุ คลืน่ และน�ำ้ ขึน้ น�ำ้ ลง ท�ำให้ผอู้ ยูอ่ าศัยภายใน บ้านรู้สึกอุ่นใจและปลอดภัย ไม่โคลงเคลงเหมือนอยู่บนเรือ สิง่ ปลูกสร้างลอยน�ำ้ ยังสามารถน�ำไปปรับใช้กบั การขยายเมือง เช่น ทีอ่ อสโล หรือรีสอร์ทส�ำหรับนักท่องเทีย่ วในศรีลงั กา ซึง่ FDN อยูใ่ นระหว่าง ออกแบบรีสอร์ทพร้อมเกาะลอยน�้ำแบบส�ำเร็จรูปที่ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ FDN ยังได้ออกแบบบ้านสะเทิ้นน�้ำสะเทิ้นบกให้กับ รัฐบาลโคลัมเบีย โดยบ้านดังกล่าวตั้งอยู่บนพื้นดิน แต่สามารถลอยน�้ำได้ April-May 2015, Vol.42 No.240

75 <<<


&

Show & Share หากเกิดน�ำ้ ท่วม เนือ่ งจากมีสมอยึดไว้ให้อยูก่ บั ที่ ขณะทีม่ พี ลังงานใช้อย่าง เพียงพอจากแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ อีกทั้งขนส่งและประกอบง่าย ใน ราคาไม่ถึง 20,000 ดอลลาร์สหรัฐ อีกหนึ่งประดิษฐกรรมที่ FDN คิดค้นขึ้น ได้แก่ เขื่อนกันคลื่นแบบ ทุน่ ลอย ซึง่ ปัจจุบนั ถูกน�ำไปใช้งานแล้วในการป้องกันท่าเรือทีโ่ มนาโก และ ที่เกาะ Messolonghi ประเทศกรีซ โดยสามารถใช้ร่วมกับอุปกรณ์เปลี่ยน พลังงานคลื่นเป็นพลังงานไฟฟ้า

บลูโค้ท ซีเคียวริตี้ อนาลิติกส์ แพลทฟอร์ม

บริษัท เอ็นฟอร์ซ ซีเคียว จ�ำกัด เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ บลูโค้ท (Blue Coat) แนะน�ำผลิตภัณฑ์ใหม่ “บลูโค้ท ซีเคียวริตี้ อนาลิติกส์ แพลทฟอร์ม” (Blue Coat Security Analytics Platform) ซึ่งท�ำหน้าที่ใน การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงลึกทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงในการรวมเอาความสามารถ ในการมองเห็นภัยคุกคามอย่างเต็มรูปแบบ (full security visibility) การ วิเคราะห์การรักษาความปลอดภัย (security analytics) รวมถึงความฉลาด ในการตรวจสอบภัยคุกคามแบบ Real-time อย่างทันท่วงทีและตอบสนอง ต่อเหตุการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยให้เกิดการป้องกันภัย คุกคามขั้นสูงจากการถูกโจมตีที่เกิดขึ้นในระบบ รวมทั้งสามารถค้นหา ต้นเหตุของปัญหาที่เกิดจากภัยคุกคามที่แท้จริง (root cause) และจัดการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว

Linksys Wi-Fi Router E900

ลิงค์ซิส แนะน�ำ “Linksys Wi-Fi Router E900” ไวร์เลสเราเตอร์ ราคาประหยัด รองรับมาตรฐานการเชือ่ มต่อไร้สายความเร็วสูง ส่งสัญญาณ ได้รวดเร็วบนมาตรฐาน IEEE802.11n ด้วยความเร็วในการสื่อสารข้อมูล สูงสุด 300 Mbps บนย่านความถี่ 2.4 กิกะเฮิร์ต (GHz) ผ่านเสาอากาศที่ ติดตัง้ ภายใน 2 เสา มาพร้อมเทคโนโลยี MIMO ช่วยเพิม่ ความเสถียรในการ ใช้งานไร้สาย มี 4 LAN พอร์ตแบบ 10/100 Mbps และ 1 Internet พอร์ต ส�ำหรับเชื่อมต่อ ADSL Modem, Cable Modem หรือ Fiber Media Con>>>76

April-May 2015, Vol.42 No.240

verter (FTTX) รวมทั้งรองรับเฟิร์มแวร์ DD-WRT ที่ช่วยเพิ่มความสามารถ ให้ Linksys E900 สามารถเปลี่ยนโหมดการท�ำงานเป็น Wireless Repeater เพือ่ ขยายสัญญาณ หรือขยายพืน้ ทีก่ ารใช้งานระบบไวร์เลส, Wireless Bridge เพื่อเชื่อมต่ออุปกรณ์มีสายเข้าสู่โลกการสื่อสารไร้สาย ฯลฯ Linksys E900 สามารถตั้งค่าการรักษาความปลอดภัยแบบ ไร้สายได้ง่ายด้วยปุ่ม WiFi Protected SetupTM (WPS) รองรับการใช้งาน Web Browser ทั้ง IE, FireFox, Safari และ Chrome เหมาะกับการใช้งาน เครือข่ายขนาดเล็กส�ำหรับติดตั้งใช้งานในบ้านหรืออพาร์ทเมนท์

เปิดตัวเครื่องเชื่อมโลหะ

อัลตร้าโซนิก รุ่นใหม่ บ ริ ษั ท นิ ป ป อ น เอวิโอนิคส์ จ�ำกัด หรือ “Avio” บริ ษั ท ในเครื อ ของ เอ็ น อี ซี คอร์ ป เปิ ด ตั ว เครื่ อ งเชื่ อ ม โลหะอัลตร้าโซนิก SW-350020/SH-H3K7 ซึ่ ง ใช้ ก ารสั่ น สะเทือนแบบอัลตร้าโซนิกเพือ่ เชื่อมวัสดุโลหะ เช่น ทองแดง และอลูมิเนียม โดยวัสดุเหล่า นีใ้ ช้สำ� หรับการผลิตชุดสายไฟ แบตเตอรีท่ ตุ ยิ ภูมิ และมอเตอร์ ในอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่เปลี่ยนมาใช้วัสดุน�้ำหนักเบาลง และเร่งพัฒนา ด้ า นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ พื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการรถยนต์ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อมที่ก�ำลังขยายตัว Avio เป็นผู้ผลิตอุปกรณ์การเชื่อมโลหะขนาดเล็กแบบครบวงจร เพียงรายเดียวในโลก น�ำเสนอโซลูชั่นการเชื่อมโลหะขนาดเล็ก 4 ประเภท ได้แก่ การเชื่อมแบบอัด การเชื่อมด้วยเลเซอร์ การบัดกรีอ่อนแบบพัลส์ (hot bar/reflow) และการเชื่อมแบบอัลตร้าโซนิก


&

Books Guide

หนังสือชุด

ค�ำถามตะลุย

JPLT

ผู้เขียน โนริโกะมัทสึโมโตะ และ ฮิโตโกะ ซาซากิ ผู้แปล กองบรรณาธิการ สำ�นักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม ราคา เล่มละ 250 บาท (1 ชุดมี 3 เล่ม) สำ�นักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม

ส�ำหรับท่านที่ก�ำลังเรียนภาษาญี่ปุ่น และก�ำลังเตรียมสอบวัด ระดับภาษาญี่ปุ่น หรือเรียกสั้น ๆ ว่า JLPT ขอแนะน�ำซีรีส์หนังสือขายดี เพื่อใช้เตรียมตัวสอบ หนังสือซีรีย์นี้นอกจากจะเหมาะส�ำหรับใช้ทบทวน ความรู้ภาษาญี่ปุ่นได้ทุกระดับ ตั้งแต่ N1-N5 แล้ว ที่พิเศษยิ่งกว่า คือ เหมาะส�ำหรับคนที่ไม่มีเวลาติวหนังสือสอบมากนัก แต่ต้องการทบทวน ความรู้ให้ครบทุกทักษะ หนังสือชุด 500 ค�ำถามตะลุย JLPT ทั้งชุดมีอยู่ด้วยกัน 3 เล่ม แบ่งเป็น N1, N3 - N2 และ N5 - N4 ภายในเล่มรวบรวมแบบฝึกหัด ทบทวนความรูภ้ าษาญีป่ นุ่ ไว้เพียบ อัดแน่นถึง 500 ข้อ โดยแบ่งแบบฝึกหัด เป็น 3 ด้านคือ ตัวอักษร ค�ำศัพท์ และไวยากรณ์ ที่สามารถทบทวนความรู้ด้านไหนก่อนก็สามารถเลือกได้ตามต้องการ

เก่ง

อย่างมีเทคนิค

ผู้เขียน รศ.ทัศนีย์ เมธาพิสิฐ ราคา 150 บาท สำ�นักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม

เรียนภาษาญี่ปุ่นหลาย ๆ ท่านคงก�ำลังปวดหัวกับการจดจ�ำคันจิใช่ไหมคะ ถ้าเพิ่งเริ่มเรียนในระดับต้นยังไม่เท่าไร เพราะยังพบอักษร คันจินอ้ ย แต่พอยิง่ เรียนสูงขึน้ เจออักษรคันจิมาก ๆ เข้า ก็เริม่ จ�ำสับสนแล้วใช่ไหมคะว่า ตัวไหนออกเสียงอย่างไร มีความหมายอะไร เพราะบางที ลักษณะของคันจิก็คล้ายกันและที่มีเสียงเหมือนกันก็มาก ในฉบับนี้จึงขอแนะน�ำหนังสือ “เก่ง ‘คันจิ’ อย่างมีเทคนิค” ให้ลองไปอ่านกันดีกว่า เพราะนอกจากจะสอนเทคนิคในการจ�ำแล้ว ยังอธิบายให้เราเข้าใจโครงสร้างของอักษรคันจิ ซึ่งมีผลต่อการจดจ�ำด้วย นอกจากนี้ในหนังสือเล่มนี้ก็มีการประยุกต์โดยให้จ�ำแบบอื่นด้วย เช่น การจ�ำค�ำที่พ้องเสียงกัน ค�ำที่มีความหมายตรงกันข้าม ตลอดจน วิธีฝึกอ่านคันจิจากสิ่งรอบตัว อย่างฉลากบนขวดโชยุ หรือคันจิที่เห็นบนเครื่องใช้ไฟฟ้าและนอกจากเนื้อหาหลักที่แบ่งออกเป็น 5 บทใหญ่ ๆ แล้ว ยังมี “เรื่องเล่าคันจิ” ซึ่งเป็นความรู้ท้ายบท และ “เก่ง (คันจิ) ด้วยเกม” ให้ลองทดสอบความสามารถอีกด้วย April-May 2015, Vol.42 No.240

77 <<<


&

Books Guide

วิศวกรไฟฟ้า

คูม่ อื

ฉบับปรับปรุง

ผู้เขียน ลือชัย ทองนิล ราคา 280 บาท สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท. คูม่ อื วิศวกรไฟฟ้า เป็นหนังสือทีไ่ ด้รบั รางวัล “หนังสือยอดนิยม” ของ ส.ส.ท. ทีม่ ยี อดขายมากกว่า 10,000 เล่มมาแล้ว และ “คูม่ อื วิศวกร ไฟฟ้า” เล่มนี้ได้ปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย พ.ศ.2556 ที่มีการปรับปรุงใหม่ และยังคง เนื้อหาที่เป็นประโยชน์ต่าง ๆ เอาไว้แบบครบถ้วนสมบูรณ์ รวบรวมข้อมูลและตารางที่จ�ำเป็นต้องใช้ในงานออกแบบ งานติดตั้ง และการควบคุม งาน ที่วิศวกรไฟฟ้าต้องใช้งานบ่อย ๆ ไว้ในเล่มเดียวกัน เพื่อความสะดวกในการค้นหาและพกติดตัว เป็นข้อมูลที่ทันสมัย สามารถใช้อ้างอิงได้ เนื้อหาในเล่มประกอบด้วย สัญลักษณ์ทางไฟฟ้าการแปลงหน่วยและมาตรฐาน IEC การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้า ระบบแจ้งเหตุ เพลิงไหม้ ระบบป้องกันฟ้าผ่า ระบบไฟฟ้าแสงสว่างและโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน เครื่องป้องกันกระแสเกิน กระแสลัดวงจร การต่อลงดิน ส�ำหรับใช้เป็นคู่มือประกอบการท�ำงานของวิศวกรไฟฟ้า ช่างไฟฟ้า และผู้ที่สนใจ

ฉบั บ การ์ ต น ู Katsuhiro Saito

ผู้เขียน ผู้แปล ดร.อรรณพ เรืองวิเศษ ราคา 235 บาท

“พลังงาน ฉบับการ์ตูน” เป็นหนังสือความรู้พื้นฐานเรื่องพลังงานต่าง ๆ ที่หลากหลาย รอบด้าน อ่านสนุก เข้าใจง่าย ส�ำหรับ นักเรียน นักศึกษา สายวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาถึงมหาวิทยาลัย เรียนรูค้ วามหมายและหลักการพืน้ ฐานเรือ่ งพลังงาน และศึกษา หลักการใช้พลังงานให้เป็นประโยชน์ ทั้งพลังงานแสง ไฟฟ้า ความร้อน เชื้อเพลิงซากดึกด�ำบรรพ์ พลังงานทดแทน พลังงานนิวเคลียร์ ผู้อ่านจะได้รู้จักแหล่งพลังงานดั้งเดิม อย่างดวงอาทิตย์ ความร้อน การเผาไหม้ และพลังงานในธรรมชาติ อย่างแม่น�้ำ มหาสมุทร หิมะบนภูเขา รวมถึงพลังงานสมัยใหม่ อย่างไฟฟ้าและพลังงานนิวเคลียร์ ทบทวนแหล่งพลังงานในปัจจุบันที่ใช้สะดวก แต่ก่อปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น น�้ำมัน ถ่านหิน รู้จักพลังงานสะอาดที่หมุนเวียนได้ เช่น แสงอาทิตย์ น�้ำ ลม ชีวมวล มหาสมุทร ความร้อนใต้พิภพ และค้นหาแหล่งพลังงานที่อาจใช้ได้ในอนาคต เพื่อทางออกที่ยั่งยืนของ ทุกปัญหาพลังงาน

>>>78

April-May 2015, Vol.42 No.240


ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

&

Buyer Guide

โทรศัพท์: 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ์: 0-2514-0001, 0-2514-0003 เว็บไซต์: www.measuretronix.com อีเมล: info@measuretronix.com

ICS 488-USB2 โมดูล GPIB คอนโทรลเลอร์

ICS 488-USB2 เป็นคอนโทรลเลอร์โมดูล ขนาดกะทัดรัดที่แปลง USB 2.0 เป็น GPIB เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปที่มีพอร์ต USB สามารถควบคุมอุปกรณ์ที่ใช้บัส IEEE 488.2 ได้อย่างสมบูรณ์ทุกฟังก์ชัน ตั้งแต่ฟังก์ชันพื้นฐาน เช่น Talker, Listener และ System Controller จนถึงการท�ำ Controller Routines ที่สอดคล้องตามข้อก�ำหนดของ IEEE 488.2 ช่วยให้คุณประหยัดเวลาในการเขียนโปรแกรม โมดูล 488-USB2 มีไดรเวอร์ 488.2V4 ที่ท�ำงานได้กับระบบปฏิบัติการทั้ง 32 บิต และ 64 บิต บน Windows XP, Vista, Windows 7 และ Windows 8 เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยท�ำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถรันโปรแกรมอัตโนมัติผ่าน GPIB ได้อย่างรวดเร็วและประหยัด คุณสมบัติ ➲ แปลงเครื่อง PC ที่มีพอร์ต USB ให้เป็น GPIB Controller ➲ ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง >1 Mbs ➲ ไดรเวอร์ 488.2V4 ที่ท�ำงานได้กับระบบปฏิบัติการทั้ง 32 บิต และ 64 บิต บน Windows XP, Vista, Windows 7 และ Windows 8 ด้วย true 64-bit DLL ➲ เข้ากันได้กับมาตรฐานอุตสาหกรรม ‘ib’ และ ‘488.2’ Command Sets ➲ ท�ำงานกับไลบรารี่ของ Agilent, NI และ Kikisui VISA ได้ ➲ ต่อเข้าเป็นส่วนหนึ่งของระบบหรือเครื่องมือเดิมได้อย่างสมบูรณ์ ➲ ตั้งค่าการใช้งานเข้ากับระบบได้โดยอัตโนมัติ ➲ โปรแกรมด้วยภาษา Visual Basic, C, LabVIEW, Matlab หรือ Agilent VEE ➲ ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วย GPIB-32.dll มาตรฐานอุตสาหกรรม

April-May 2015, Vol.42 No.240

79 <<<


&

Buyer Guide

ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท คณิตเอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด

โทรศัพท์ : 0-2642-8762-4 แฟกซ์ : 0-2248-3006 เว็บไซต์ : www.kanitengineering.com อีเมล : sales1@kanitengineering.com

Konan Jet Cooler (Cold Air Generator) Optimal for spot, Cooling in Various Fields

Jet Cooler คือ อุปกรณ์ผลิตลมเย็นโดยใช้หลักการของ Swirling Theory ซึ่งไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหวใด ๆ Jet Cooler ไม่ต้องการ น�้ำยาส�ำหรับท�ำความเย็น ไม่ต้องการไฟฟ้า แต่ใช้วิธีท�ำให้อากาศ ภายใต้ความดัน (compressed air) ที่อยู่ภายในท่อเกิดการหมุนวน ด้วยความเร็วสูง แล้วถูกแยกออกเป็นลมร้อนกับลมเย็น ลมร้อนจะถูก ปล่อยทิ้งไปทางด้านหนึ่งของท่อ ลมเย็นสามารถน�ำไปใช้งานระบาย ความร้อนแบบเป็นจุดเล็ก ๆ ให้กับงานต่าง ๆ ได้หลายอย่างดังกล่าว แล้ว Jet Cooler อุปกรณ์เป่าพ่นลมเย็นขนาดเล็กกะทัดรัดส�ำหรับ ใช้กับงานหลายอย่าง เช่น ➲ การระบายความร้อนอย่างรวดเร็วให้กับงานบัดกรี ➲ การระบายความร้ อ นในกระบวนการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พลาสติก ➲ การระบายความร้อนให้เข็มเครื่องเย็บ ➲ การระบายความร้อนในงาน Spot Welding ➲ การระบายความร้อนในตู้ควบคุม (control box) ➲ การไล่หมอก ฝ้าให้กับ Monitoring Camera ➲ การเพิ่มสมรรถนะให้กับสายไฟฟ้า ➲ การระบายความร้อนให้แม่พิมพ์เรซิน (resin mold)

>>>80

April-May 2015, Vol.42 No.240

ข้อดี : ➲

ต้องการลมอัด (compressed air) เพียงอย่างเดียว ไม่ต้องใช้ไฟฟ้า ➲ เป็นมิตรกับผู้ใช้งาน ➲ มีอายุการใช้งานยาวนาน มีสองแบบให้เลือก คือ ● N Series – ลดอุ ณ หภู มิ ข องอากาศที่ เ ข้ า มาลงได้ ถึ ง 40 องศาเซลเซียส ● K Series - ลดอุ ณ หภู มิ ข องอากาศที่ เ ข้ า มาลงได้ ถึ ง 60 องศาเซลเซียส


&

Buyer Guide

ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท ไฟฟ้าอุตสาหกรรม จ�ำกัด โทรศัพท์ : 0-2642-6700 แฟกซ์: 0-2642-4250 เว็บไซต์ www.ie.co.th อีเมล: sale@ie.co.th

Model AQH-20

เครื่องวัดค่าคาร์บอนไดออกไซด์ อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์แบบพกพา ➢ ย่านการวัดค่าคาร์บอนไดออกไซด์ 0 ถึง 2000 ppm ➢ ย่านการวัดอุณหภูมิ -10 ถึง 60 องศาเซลเซียส ➢ ย่านการวัดความชื้นสัมพัทธ์ 0 ถึง 99.9 % rh ➢ จอ LCD ขนาดใหญ่แสดงให้เห็นทั้ง 3 พารามิเตอร์ พร้อมกันทั้งหมด

Model 8912

เครื่องวัดความเร็วลม ปริมาตรลม อุณหภูมิ ความชื้น และ BTU ➢ ย่านการวัดความเร็วลม 188 ถึง 6,299 FPM (0.6 ถึง 32 MPS) ➢ ย่านการวัดปริมาตรลม 0 ถึง 99,999 (CFM หรือ m3/s) ➢ แสดงผลได้หลายหน่วย เช่น FPM, MPS, knots, mph และ km/hr

Model 9671

เครื่องวัดความเร็วลม ปริมาตรลม อุณหภูมิ ความชื้น และ BTU ➢ ย่านการวัดความเร็วลม 188 ถึง 6,299 FPM (0.6 ถึง 32 MPS) ➢ ย่านการวัดปริมาตรลม 0 ถึง 99,999 (CFM หรือ m3/s) ➢ แสดงผลได้หลายหน่วย เช่น FPM, MPS, knots, mph และ km/hr

Model MVA-03

เครื่องวัดปริมาตรลม ความเร็วลม อุณหภูมิ และความชื้น ➢ ย่านการวัดความเร็วลม 79 ถึง 4,921 FPM (0.4 ถึง 25 MPS) ➢ ย่านการวัดปริมาตรลม 0 ถึง 9,999 (CFM และ CMM) ➢ ย่านการวัดความชื้นสัมพัทธ์ 0 ถึง 100 %rh ➢ อุณหภูมิใช้งานสูงสุด 60 องศาเซลเซียส ➢ แสดงผลได้หลายหน่วย เช่น FPM, MPS, knots, MPH และ km/hr ➢ หัววัดความเร็วลมแบบใบพัดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 48 mm ➢ สามารถเก็บบันทึกค่าได้ 99 ค่า April-May 2015, Vol.42 No.240

81 <<<


&

Buyer Guide

ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท อุลตร้า เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด

โทรศัพท์ 0-2444-0844 แฟกซ์ 0-2444-1019 เว็บไซต์ www.ultraengineering.co.th อีเมล sales@ultraengineering.co.th

PosiTector® 200 Series

Coating Thickness Gages for wood, concrete, plastic and more…

เครื่องวัดความหนาสีผิวเคลือบบนเนื้อไม้ คอนกรีต ➣ เก็บข้อมูลได้ถึง 1,000 ข้อมูล ใช้งานง่าย ราคาไม่แพง ให้ความแม่นย�ำสูง ➣ ช่วงวัด 13-1500 Microns

➣ วัดความหนาแลกเกอร์ที่เคลือบบนไม้ได้ ➣ วัดความหนาของสีที่ทาบนคอนกรีตได้ ➣ วัดความหนาสีเคลือบบนพลาสติกได้ ➣ มีเสถียรภาพต่อการใช้งาน

➣ ได้มาตรฐาน ASTM D6132, ISO 2808

ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท เอ็นฟอร์ซ ซีเคียว จ�ำกัด โทรศัพท์ : 0-2274-0984 เว็บไซต์ www.nforcesecure.com

อรูบ้า อินสแตนท์ (ไอเอพี) เวอร์ชวล คอนโทรลเลอร์ ประหยัด ติดตั้งง่ายและรวดเร็ว IAP

AP Controller IAP

AP

AP

IAP

IAP

อรูบา้ อินสแตนท์ (ไอเอพี) เวอร์ชวล คอนโทรลเลอร์ (Aruba Instant (IAP) : Virtual Controller) เป็นผลิตภัณฑ์ทตี่ อบโจทย์ความต้องการ ของลูกค้า Next Generation Wireless Access Point มีการท�ำงานแบบก�ำหนดนโยบายความปลอดภัยในการเข้าถึงระดับผูใ้ ช้งาน ตามประเภท ของอุปกรณ์ และชนิดของแอปพลิเคชัน่ ได้ (role-baseAccess policy) มีระบบตรวจจับสัญญาณรบกวนและการบุกรุก และยังมาพร้อมกับ Web Captive Portal ส�ำหรับผู้ใช้งานในการตรวจสอบสิทธ์ (authentication) เพื่อเข้าถึงระบบ การท�ำงานจะเป็นในลักษณะการบริหารจัดการ จากส่วนกลางโดย Virtual Controller ซึ่งการใช้ Virtual Controller เพื่อควบคุม Access Point นั้น โดยไม่จ�ำเป็นต้องลงทุนซื้อ Controller (Appliance) อีกต่อไป ซึ่งจะท�ำให้ประหยัดงบประมาณ รวมถึงติดตั้งง่ายและรวดเร็วอีกด้วย >>>82

April-May 2015, Vol.42 No.240


ใบสมัครสมาชิก รูปแบบ Magazine

Download Form: www.tpaemagazine.com

ในนาม

1 ป (12 ฉบับ) 790 บาท 2 ป (24 ฉบับ) 1,550 บาท เริม่ ฉบับเดือน (ระบุ) .............................

นิติบุคคล บุคคล สมัครสมาชิกใหม ตออายุ (ระบุรหัส) ..............................

จัดสงนิตยสารที่ ช�อ-นามสกุล...................................................................................................... ตำแหน�ง...................................................................... ฝาย/แผนก............................................. ช�อ (หน�วยงาน)........................................................................................................ ที่อยู......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................ รหัสไปรษณีย................................. โทรศัพท........................................................ ตอ..................... โทรสาร........................................................ E-mail (รับขาวสาร) .....................................................................

ระดับการศึกษา

ต่ำกวาปริญญาตรี

จัดสงใบเสร็จรับเงินที่

ปริญญาโท

ปริญญาตรี

จัดสงที่เดียวกับที่สงวารสาร

ปริญญาเอก

จัดสงตามที่อยูดานลาง

ตัวแทน / ผูรับใบเสร็จ (ช�อ-นามสกุล).......................................................................................................................................................... (สำหรับจาหนาซองลงทะเบียน) ที่อยูออกใบเสร็จ (หน�วยงาน)................................................................................................. ที่อยู....................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................

ทานทราบขอมูล-ขาวสาร จากที่ ใด

 เขาชมทางเว็บไซต (www.tpaemagazine.com)  บริษัทเปนสมาชิก ส.ส.ท.  รานคา ....................................  นิทรรศการตาง ๆ (Booth)งาน.......................................................................................................(ระบุ)  อ�น ๆ....................................................................................................................................................(ระบุ)

ประเภทธุรกิจที่ดำเนินการ กรุณาเลือกประเภทกิจการ

อุตสาหกรรมกาซ อุตสาหกรรมการจัดการเพ�อสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑกระดาษ อุตสาหกรรมแกรนิตและหินออน อุตสาหกรรมแกวและกระจก อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลการเกษตร อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลและโลหะการ อุตสาหกรรมเคร�องนุงหม อุตสาหกรรมเคร�องปรับอากาศและเคร�องทำความเย็น อุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต อุตสาหกรรมซอฟตแวร อุตสาหกรรมเซรามิกส

ผูผลิต ผูนำเขา อ�น ๆ (โปรดระบุ)

ผูสงออก

อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมน้ำตาล อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง อุตสาหกรรมผูผลิตไฟฟา อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมไมอัด ไมบาง และวัสดุแผน อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมยานยนต

ผูจัดจำหนาย

หนวยงานราชการ

อุตสาหกรรมเย�อและกระดาษ อุตสาหกรรมรองเทา อุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันปโตรเลียม อุตสาหกรรมโรงเล�อยและโรงอบไม อุตสาหกรรมสมุนไพร อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑหนัง อุตสาหกรรมหลังคาและอุปกรณ อุตสาหกรรมหัตถอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมอะลูมิเนียม อุตสาหกรรมอัญมณีและเคร�องประดับ อุตสาหกรรมอาหาร

วิธีการชำระเงิน เงินสด (กรณีชำระที่สมาคมฯ เทานั้น) โอนเงินเขาบัญชีธนาคาร ช�อบัญชี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 บัญชีสะสมทรัพย เลขที่บัญชี 172-0-239233 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 009-2-23325-3

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม หรือสงใบสมัครมาที่

เจาหนาที่ลูกคาสัมพันธสมาชิก ฝายธุรกิจสิ่งพิมพ ส.ส.ท.

PR_NW

สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 โทรศัพท 0-2258-0320-5 ตอ 1740 โทรสาร 0-2662-1096 หรือ E-mail maz_member@tpa.or.th


ศูนยรวมการออกแบบ

ผลิตส�อสรางสรรคครบวงจร *สิ่งพิมพ รับออกแบบและผลิต Company Profile, Newsletter, Catalogue, Brochure, Pocket Book, Annual Report, etc. *มัลติมีเดีย รับออกแบบและผลิต e-Catalogue, e-Newsletter, e-Company Profile, Company Presentation, Website, ผลิตรายการโทรทัศน, etc. *Seminar & Event รับจัดงานสัมมนากลุมใหญและยอย ดวยทีมงานมืออาชีพ *รองรับ 3 ภาษา ไทย อังกฤษ ญี่ปุน

เราพรอมสงมอบผลงานคุณภาพ ไดมาตรฐาน รวดเร็ว ในราคาเปนกันเอง ทุกส�อสรางสรรคไวใจเรา

0-2258-0320#1750 สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.