TN241 June - July 2015 Vol.42 No.241

Page 1

Technology Promotion and Innomag Magazine

Techno

logy

Leadership of all Industrial Enterprise Magazine

June - July 2015 Vol.42 No.241

www.tpaemagazine.com

INNOMag Gates to Inspiration of Innovation

Biomedical Test Equipment เคร�องทดสอบเคร�องมือทางการแพทย

รางวัล The Queen’s Award ป 2012

RIGEL เคร�องมือสอบเทียบ ทางการแพทย ที่ ได มาตรฐาน IEC 60601 & IEC 62353

รับประกันคุณภาพ และความเช�อมั่น

ครอบคลุมการทดสอบที่สำคัญเหลานี้ เคร�องวิเคราะหความปลอดภัยทางไฟฟา Electrical Safety Analyzer  เคร�องวิเคราะหพารามิเตอรทางไฟฟา Performance Analyzer 

เคร�องจำลองคาออกซิเจนในเลือด Vital Sign Simulator  เคร�องวิเคราะหการไหลของแกส Gas Flow Analyzer 

ใหม

ชุดสอบเทียบ แบบเคล�อนที่ Rigel Med eKit

RIGEL อีกไลนผลิตภัณฑเคร�องมือวัดและทดสอบใหมดานการแพทย จากบริษัท เมเชอรโทรนิกซ จำกัด ประสบการณกวา 30 ป เช�อมั่นไดในคุณภาพ และบริการหลังการขาย

สนใจติดตอ : คุณเฉลิมพร 08-5489-3461, คุณมนัสนันท 08-7714-3630, คุณอิทธิโชติ 08-0927-9917

Hot Issue:

พิชิตสุขภาพดีดวยไอซีที อยูอยางไรใหไกลมะเร็ง  ทางเลือกใหมเพ�อการรักษาโรคขอเส�อม

www.measuretronix.com/ rigel-biomedical

ความเสี่ยงและอนาคตของการดูแลสุขภาพ กราฟน นำสิ่งที่ดีสูชีวิต  ยุทธศาสตรจัดการกากอุตสาหกรรม

ราคา 70 บาท


เพ�อ ความปลอดภัย ของผูปฏิบัติงาน SENSIT® P400 Multi Gas Personal Monitor เคร�องตรวจวัดกาซอันตรายแบบพกติดตัว

Technologies

แจงเตือนผูปฏิบัติงานทันทีเม�อปริมาณกาซสูงถึงระดับอันตราย สำหรับการทำงานในพื้นที่เสี่ยงภัย จากกาซติดไฟ, กาซพิษ หรือ การระเบิด รองรับเซ็นเซอรสำหรับ ตรวจวัดกาซได 9 ชนิด คือ • ออกซิเจน (O2) • คารบอนมอนอกไซด (CO) • ไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) • ไฮโดรเจนไซยาไนด (HCN) • ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) • ฟอสฟน (PH3) • ซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) • เอทิลีนออกไซด (ETO ) • และกาซที่ติดไฟได

SENSIT® P100 Single Gas Personal Monitor

ขนาดกระทัดรัด ใชงานงาย วัดและแสดงผลพรอมกัน 5 ชนิด

รุนเล็ก ใชงาย ราคาประหยัด วัดกาซเฉพาะอยาง เลือกได • ออกซิเจน (O2) • คารบอนมอนอกไซด (CO) • ไฮโดรเจนซัลไฟด (H22) • ไฮโดรเจนไซยาไนด (HCN) • ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) • ซัลเฟอรไดออกไซด (SO2)

เคร�องวัดอากาศรุนอ�นๆ..

Vaisala GMW90

Vaisala HM40

วัดกาซคารบอนไดออกไซด, อุณหภูมิ และความชื้น แบบติดผนัง

วัดความชื้นอากาศ และอุณหภูมิ แบบมือถือ จอแสดงผลเปนกราฟ

Fluke 975

วัดไดทั้ง อุณหภูมิ, ความชื้น, ความเร็ว อากาศ, CO2, และ CO สำหรับงาน HVAC

Fluke 985 วัดฝุนละออง ในอากาศ ขนาดมือถือ สำหรับหอง ปลอดฝุน ปลอดเชื้อ

Anemomaster LITE 6006 วัดความเร็วลมแบบ hot wire และ เคร�องวัดอุณหภูมิในตัวเดียวกัน ราคาประหยัด

TABMaster 6710

วัดปริมาณอากาศ supply และ return ของระบบปรับอากาศ

สนใจติดตอ : คณ ุ เนตรนภางค 089-895-4866, คุณวชิ ัย 08-1934-2570, คณ ุ สารกิจ 08-1641-8438 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ iaq-environment


เมตเทรล

เครื่องมือวัดไฟฟาคุณภาพสูง

เครื่องมือทดสอบการติดตั้ง เพื่อความปลอดภัยทางไฟฟา

สำหรับผูรับเหมาติดตั้งไฟฟา, ผูตรวจสอบรับรอง, ผูรับมอบงาน, ชางซอมบำรุงไฟฟา คุณภาพมาตรฐานยุโรป ไดรับความนิยมในอังกฤษและเยอรมัน ฟงคชั่นครบ ความละเอียดและแมนยำสูง ทนทาน ในราคาที่คุมคากวา

Metrel MI 3102 BT: Eurotest XE

Installation Safety Tester with AUTO SEQUENCE

• ทดสอบ Voltage, Line/Loop Impedance, IPSC, RCD, Insulation, Continuity 200mA, Leakage Current, Earth Resistance, Phase Sequence • สามารถโปรแกรมการทำงานแบบ AUTO SEQUENCE • เชื่อมตอกับ Computer ผาน PC Software Eurolink Pro • เชื่อมตอกับ PDA หรือมือถือผาน Bluetooth • เชื่อมตอกับ PDA ผาน App EuroLink Android • สามารถสงรายงานจากภาคสนามไดรวดเร็ว ทันใจ

Metrel MI 3105 :

EurotestXA :Installation Safety Tester with AUTO SEQUENCE

• ทดสอบ Voltage, Line/Loop Impedance, IPSC, RCD, Insulation, Continuity 200mA, Leakage Current, Earth Resistance, Phase Sequence • สามารถโปรแกรมการทำงานแบบ AUTO SEQUENCE • เชื่อมตอกับ Computer ผาน PC Software Eurolink Pro

Metrel MI 3125 BT : Eurotest COMBO Multifunction Tester

• ทดสอบ Voltage, Line/Loop Impedance, IPSC, RCD, Insulation, Continuity 200mA, Leakage Current, Earth Resistance, Phase Sequence • สามารถโปรแกรมการทำงานแบบ AUTO SEQUENCE • เชื่อมตอกับ Computer ผาน PC Software Eurolink Pro

Metrel MI 3109 :

Metrel MI 3123 :

EurotestPV Lite Photo Voltaic (PV) Tester and Installation Safety

• ทดสอบการติดตั้งระบบไฟฟาในสถานีไฟฟาพลังงานแสง อาทิตย ระบบพลังงานแสงอาทิตยที่ติดตั้งบนหลังคา และยังสามารถทดสอบ ในอาคาร โรงงาน เพื่อความปลอดภัยไดอีกดวย • ทดสอบ Uoc (Open Circuit Voltage) and Isc (Short Circuit Current), I – V curve of PV module and strings, Irradiance and module temperature, STC ได

Metrel MI 3121 :

Insulation/Continuity Tester

• ทดสอบฉนวน ดวยแรงดันไฟฟา 50 – 1000 V • ยานความตานทานฉนวนดวย 30 GΩ • ทดสอบความตอเนื่อง (7mA/200mA)

Earth/Clamp Ground Tester (3/4 poles)

• ทดสอบแทงหลักดินแบบ 3 หรือ 4 หลักตามมาตรฐาน IEC61557-5 ได • คำนวณหาคาความตานทานดินจำเพาะ (Earth Specific) แบบ 4 หลักไดอยางอัตโนมัติ • สามารถแยกวัดเฉพาะแทงหลักดินแบบไมตองปลดสาย ดวยวิธีการ Selective • สามารถวัดความตานทาน Loop Resistance หรือระบบ Mesh Ground ดวยวิธีการแบบ 2 Clamps ได

Metrel MI 3122 : Z Line-Loop/RCD

• ทดสอบ Line-Loop impedance • ทดสอบ RCD Test and Phase Sequence

Metrel MI 2126 :

Earth Ground Tester (3 poles)

• ทดสอบแทงหลักดินแบบ 3 หลัก ตามมาตรฐาน IEC61557-5 ได

สนใจติดตอ : คุณจิรายุ 08-3823-7933, คุณเฉลิมพร 085-489-3461, คุณเนตรนภางค 089-895-4866 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ metrel




&

June-July 2015, Vol.42 No.241

Activity Cover Story

10

61

20 เครือ่ งทดสอบเครือ่ งมือทางการแพทย์

Biomedical Test Equipment โดย: บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

Talk

29 พิชติ สุขภาพดีดว้ ยไอซีท ี

33 อยูอ่ ย่างไรให้ไกลมะเร็ง

โดย: กองบรรณาธิการ โดย: กองบรรณาธิการ

37 “แผ่นเซลล์กระดูกอ่อน”

ทางเลือกเพือ่ การรักษาโรคข้อเสือ่ ม โดย: กองบรรณาธิการ

41 มิติใหม่ในการดูแลสุขภาพ ด้วยแนวคิด

“ภูมสิ มดุล” (BIM: Balancing Immunity) โดย: กองบรรณาธิการ

Electrical & Electronic

Research

53 การทดสอบและทวนสอบการติดตั้ง

45 สุดยอด!! นักวิจยั ไทย

สร้างชือ่ ในเวทีนานาชาติ

โดย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Management

49 เครือ่ งมือบริหารการตัดต้นทุน (ตอนจบ)

45 49

(management tools for cutting costs) โดย: พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์ ที่ปรึกษาอิสระและนักวิจัยแห่งชาติ

ระบบไฟฟ้าแรงดันต�ำ ่ เพือ่ ควาปลอดภัย (ตอนที่ 2) แปลและเรียบเรียงโดย: สุพจน์ ตุงคเศรวงศ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายเครื่องมือมาตรวิทยา บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

Production

Energy & Environmental 61 ไพโรไลซิส (Pyrolysis)

56 เครือ่ งปัม๊ เซอร์โว ส่งเสริมให้การผลิต เป็นระบบได้อย่างดีทสี่ ดุ โดย: อ�ำนาจ แก้วสามัคคี

โดย: กุลนันทน์ วีรณรงค์กร และ ดร.อมรชัย อาภรณ์วิชานพ หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิศวกรรมกระบวนการ เชิงค�ำนวณ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

56


Group

Leaping Ahead from Yamatake’s 100 Years Human-centered Automation

Smart Valve Positioner

700 series

1. Durable and Rugged Design ออกแบบมาแยกสวนระหวาง Pneumatic / Electronics / Wiring ใชเซ็นเซอรแบบไมสัมผัส (MR VTD sensor) 2. Advanced Control Valve Diagnostics มากขึ้นดวยฟงคชั่น Diagnostics แบบใหม จากการมีเซ็นเซอรที่หลากหลายขึ้น 3. Universal Access to the Device เขาถึงไดงายดวยหลากหลายชองทางการส�อสาร 4. Sophisticated System Integration เชน HART 7, Foundation Fieldbus ITK6.1, FDT/DTM Plug in Valstaff, 3rd DCS 5. Improvement of Control Performance Single / Double ในตัวเดียวกัน 6. Lowered Energy Consumption ใชลมนอยที่สุด และต่ำกวาเดิม 20%

Azbil (Thailand) Co., Ltd. Head office : 209/1 K Tower 19-20th Fl., Sukhumvit 21 Road (Asoke), Klongtoey-Nua, Wattana, Bangkok 10110 Tel : (66) 0-2664-1900 Fax : (66) 0-2664-1912

Rayong Branch : 143/10 Mapya Road. T.Map Ta Phut, A.Muang, Rayong 21150 Tel : 0-3868-2453 Fax: 0-3868-2454

http://th.azbil.com

Amata Branch : Amata Service Center Bld. Unit No. 405, 4th Fl., 700/2 Moo 1  Amata Nakorn Industrial Estate, Bangna-Trad Km.57 Road, T.Klong Tumru, A.Muang, Chonburi 20000 Tel : 0-3845-7076-7 Fax : 0-3845-7078


&

June-July 2015, Vol.42 No.241

65

Energy & Environmental 65 แนวปฏิบตั ิ 10 ประการ

ส�ำหรับกิจการน�ำ้ มันและก๊าซ โดย: อินทิรา เหล่ามีผล กรรมการผู้จัดการ กลุ่มธุรกิจทรัพยากรและพลังงาน เอคเซนเชอร์ ประเทศไทย

Focus

69 ความเสีย่ งทีโ่ ลกต้องเผชิญ

65

กับอนาคตของการดูแลสุขภาพ

โดย: ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

Worldwide

Report

72 กราฟีน น�ำสิง่ ทีด่ สี ชู่ วี ติ

โดย: ดร. อดิสร เตือนตรานนท์ นักวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญ สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ขั้นสูง ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

69

76 ผนึกก�ำลังจัดงาน SETA 2016

ครัง้ แรกในไทย โดย: กองบรรณาธิการ

Knowledge

78 ยุทธศาสตร์จดั การกากอุตสาหกรรม 92 อุทยานพันท้ายนรสิงห์

ยกระดับสูอ่ ตุ สาหกรรมสีเขียว โดย: กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Visit

82 นวัตกรรมตูจ้ า่ ยไฟ ตอบโจทย์ทกุ ระบบ

ไฟฟ้าของโรงงานและอาคาร โดย: กองบรรณาธิการ

82 72

Show & Share 85 Books Guide 88 Buyer Guide 90 Travel

โดย: หมูดิน

92


Ads Sumipol for E-magazine Fullpage 8.5x11.5 inch.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/19/2558 BE

09:51


Editor

Message from

&

June - July 2015, Vol.42 No.241

Published by: สวัสดีค่ะ คุณผู้อ่านทุกท่าน พบกับนิตยสาร Techno ฉบับ ออนไลน์ ได้ทุกต้นเดือนของเดือนคู่ เป็นนิตยสารอ่านฟรี!! ส�ำหรับทุกท่านที่รักการ อ่าน และรักการเรียนรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ในโลกอุตสาหกรรม ส�ำหรับ Techno & InnoMag Online ฉบับประจ�ำเดือนมิถนุ ายน-กรกฎาคม นี้ พร้อมเสิรฟ์ เรือ่ งราวน่ารูเ้ กีย่ วกับสุขภาพและการแพทย์ ในมิตขิ องเทคโนโลยีและ นวัตกรรมที่จะเข้ามาเป็นผู้ช่วยในการดูแลรักษาสุขภาพของท่าน อโรคยา ปรมาลาภา “ความไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ” เป็นหนึ่งสิ่ง ที่มนุษย์โหยหาในยามที่เจ็บป่วย แต่ในขณะที่อยู่ดีมีสุข เรามักจะไม่นึกถึงค�ำ ๆ นี้ เท่าใดนัก อีกทั้งโรคทุกวันนี้พัฒนาไปเร็วมาก ยากที่วิทยาการทางการแพทย์จะ ก้าวตามได้ทนั สิง่ หนึง่ ทีเ่ ป็นเทรนด์สขุ ภาพทีส่ นใจ คือ การน�ำเครือ่ งมือหรืออุปกรณ์ สมัยใหม่ เช่น การใช้ Smart Watch มาใช้ในการตรวจเช็คอัตราการเต้นของหัวใจ การน�ำแอปพลิเคชั่นมาใช้ในการประเมินหรือควบคุมการรับประทานอาหารและ การออกก�ำลังกาย เป็นต้น ทั้งหมดนี้เป็นรูปแบบการดูแลสุขภาพเชิงป้องกันที่เรา จะค่อย ๆ เห็นภาพเด่นชัดมากขึ้นในอนาคต ส�ำหรับประเทศไทย เรื่องสุขภาพก็เป็นประเด็นร้อนหนึ่งที่นักวิจัยและ นักพัฒนาไทยใช้เป็นโจทย์ในการแสวงหาและน�ำไปสู่การค้นพบเทคโนโลยีและ นวัตกรรมใหม่ ๆ ที่จะช่วยให้คุณภาพชีวิตของคนไทยดีขึ้น ดังตัวอย่างองค์กรและ บุคคลที่น�ำเสนอใน คอลัมน์ “Talk” นอกจากประเด็นด้านสุขภาพและการแพทย์ที่ถูกหยิบยกให้เป็นประเด็น เด่นแล้ว ภายในเล่มยังมีเรื่องราวเทคโนโลยี นวัตกรรมน่ารู้อีกมากที่รอให้ท่านได้ ติดตามอ่านผ่านช่องทางต่าง ๆ ทั้งเว็บไซต์ และแอปพลิเคชั่น 1. www.tpaemagazine.com 2. www.tpa.or.th/publisher/journal.php 3. www.isuu.com/tpaemagazine 4. TPAeMagazine Application (ดาวน์โหลด App. ได้ทาง App Store) logy

ติดตามความเคลื่อนไหวของนิตยสารในเครือ ส.ส.ท. ได้ที่ Facebook Fanpage “TPAeMagazine”

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2258-0320-5, 0-2259-9160-9 แฟกซ์: 0-2662-1096, 0-2662-1016 http.//www.tpa.or.th

Advisors:

ศ.ดร. วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์ รศ.ดร. วุฒิชาติ สุนทรสมัย คุณพิมลพร ยุติศรี คุณธัญญา ผลอนันต์ คุณธงชัย กัณฑานนท์

Executive Editor: สมใจ วัฒนบรรเจิด

Editorial Assistant:

รถจณา เถาว์พันธ์ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1710 e-mail: technology@tpa.or.th

Art Director:

เชิดศักดิ์ ศรีเมือง โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1731 e-mail: chirtsak@tpa.or.th

Production Design:

ประครอง ไชยศรีทา นระ บุญตา โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1732, 1708 e-mail: prakrong@tpa.or.th, nara@tpa.or.th

PR & Advertising Supervisor: ฬียากร ขุพินิจ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th

Advertising:

บุษบา ปั้นงาม โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th


page TN.indd 1

23/5/2557 19:40


&

Activity

เยี่ยมชม โรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม (คนกลาง) เข้า เยี่ยมชมโรงงานตัวอย่างในการจัดการกากอุตสาหกรรมอย่างมีคุณภาพ ณ บริษัท อัคคีปราการ จ�ำกัด (มหาชน) จังหวัดสมุทรปราการ พร้อมเปิด เผยแผน 4 ยุทธศาสตร์จัดการกากอุตสาหกรรม ใน 5 ปี อาทิ การควบคุม และก�ำกับดูแลให้ทุกโรงงานปฏิบัติตามกฎหมาย สร้างความร่วมมือและ แรงจูงใจ ส่งเสริมการจัดการกากอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบ สร้างเครือข่าย ภายในประเทศที่ให้การสนับสนุนกระทรวงอุตสาหกรรม การปรับปรุง กฎหมายเพื่อติดตามผู้กระท�ำผิดและอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัติ ตามกฎหมาย ตั้งเป้าโรงงานที่มีใบอนุญาต ร.ง. 4 เข้าสู่ระบบการจัดการ กากฯ ไม่น้อยกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ ภายในปี พ.ศ.2563

ให้ใจ ให้แรงบันดาลใจลูกหลาน ชาวนาไทย

นายชาญวิทย์ จารุสมบัติ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ดั๊บเบิ้ล เอ มอบทุน การศึกษา ภายใต้โครงการ “Double A Better Tomorrow ปลูกฝันปลูกปัญญา” ให้ใจ ให้แรงบันดาลใจแก่น้อง ๆ ลูกหลานชาวนาก้าวสู่อนาคตที่ดี มูลค่ารวม 10 ล้านบาท จ�ำนวน 5,000 ทุน แก่ 684 โรงเรียนทัว่ ประเทศ โดยมี นายเดชา ใจยะ รองผูว้ า่ ราชการ จังหวัดฉะเชิงเทรา และนายสง่า ศรีราม ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 ร่วมมอบทุนการศึกษา พร้อมเปิดเยี่ยมชม “บ้านคุณ กิตติ ด�ำเนินชาญวนิชย์” มรดกแห่งการเรียนรู้ สู่ความส�ำเร็จระดับโลก ในฐานะ ต้นแบบพี่ A (ใหญ่) ในแคมเปญ A to a เพื่อถ่ายทอดเรื่องราว ประสบการณ์ การท�ำงานและข้อคิดชีวติ กระตุน้ แรงบันดาลใจให้กบั น้อง a (เล็ก) คือ ลูกหลานชาวนา น�ำไปเป็นแนวคิดในการด�ำเนินชีวติ และต่อยอดสูอ่ นาคต ณ ศูนย์การเรียนรู้บ้านคุณกิตติฯ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา เมื่อไม่นานมานี้

รับรางวัล

“ฉลากเขียว”

เมื่อเร็ว ๆ นี้ นายโคจิ เทสึกะ ประธาน บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (ขวามือ) รับมอบรางวัล“Thailand Green Label Award” จาก ศ.ดร.สนิท อักษรแก้ว สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานกรรมการบริหารสถาบันสิง่ แวดล้อมไทย (คนกลาง) เนือ่ งใน โอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี ของสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย โดยรางวัล ดังกล่าวมอบให้กบั บริษทั ทีม่ ผี ลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และ ได้รบั การรับรองฉลากเขียวมากว่า 10 ปี ซึง่ ผลิตภัณฑ์ของฟูจิ ซีรอ็ กซ์ ผ่านการรับรองมาตรฐานฉลากเขียวครั้งแรกในปี พ.ศ.2547 เพื่อให้

>>>10

June-July 2015, Vol.42 No.241

ลูกค้ามั่นใจในตัวผลิตภัณฑ์ว่า ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตั้งแต่ กระบวนการผลิต การใช้งาน ตลอดจนการก�ำจัดทิ้งเมื่อหมดอายุการ ใช้งาน



&

Activity

แคมเปญใหม่

ส�ำหรับอุตสาหกรรม

เมื่อเร็ว ๆ นี้ นายจีรวุฒิ วงศ์พิมลพร (ซ้าย) กรรมการผู้จัดการ ประจ�ำประเทศไทย เลอโนโว แถลงข่าวเปิดตัวแคมเปญ Lenovo Think Forward 2015 (เลอโนโว ธิงค์ ฟอร์เวิร์ด 2015) เพื่อตอกย�้ำจุดยืนของ เลอโนโวที่จะผลิตเทคโนโลยีและโซลูชั่นส์เพื่อช่วยให้การท�ำงานของ ธุรกิจขนาดใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจในเชิงอุตสาหกรรมการผลิต มีประสิทธิภาพ ประหยัดเวลา และสร้างผลก�ำไร แคมเปญ Think Forward เป็นการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์และโซลูชนั่ ส์ตา่ ง ๆ ของเลอโนโวให้ผปู้ ระกอบการได้เข้าใจว่าสามารถช่วยพัฒนาธุรกิจ ให้เติบโตได้อย่างไร นวัตกรรม คือ หัวใจ และ DNA ของเลอโนโวทีไ่ ม่เคยหยุดพัฒนานวัตกรรมทีจ่ ะช่วยเพิม่ ศักยภาพการท�ำงานให้กบั ผูใ้ ช้

มาตรฐาน มอก. ๙๙๙๙ กลุ่มมิตรผล น�ำโดย นายด�ำรง อินทรเสนา ผู้อ�ำนวยการโรงงาน น�้ำตาลมิตรผล ภูเวียง (ขวา) รับมอบเกียรติบัตรรับรองมาตรฐานแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรม หรือ มอก.๙๙๙๙ จาก นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช (ซ้าย) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อยืนยันมาตรฐาน การจั ด การธุ ร กิ จ ตามแนวทางเศรษฐกิ จ พอเพี ย งภาคอุ ต สาหกรรม โดย มาตรฐานดังกล่าว มุ่งเน้นการพัฒนาบนหลักการของการมีส่วนร่วมของ บุคลากร การเคารพต่อผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การบริหารแบบ องค์รวม และการบริหารเชิงระบบ อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาที่สมดุล มั่นคง ยัง่ ยืนและมีความสุข พร้อมรับการเปลีย่ นแปลง รวมทัง้ ความไม่แน่นอนทีอ่ าจ เกิดขึ้นในอนาคต

บริการใหม่ ด้านกฎ ระเบียบ มาตรฐานอาหารส่งออก-น�ำเข้า

สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม โดย ฝ่ายวิจยั และข้อมูล เปิด ให้บริการใหม่ ด้านกฎ ระเบียบ และมาตรฐานอาหารเพื่อการส่งออก และน�ำเข้า แก่ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมอาหาร (food legislation advice service) 3 ด้าน ได้แก่ 1) บริการที่ปรึกษาด้านกฎ ระเบียบ และมาตรฐาน อาหารทัว่ ไป โดยให้คำ� ปรึกษาด้านกฎหมายเชิงลึกส�ำหรับผลิตภัณฑ์อาหาร ส่งออก 2) บริการทีป่ รึกษาด้านกฎ ระเบียบ มาตรฐานฉลากอาหาร และ 3) บริการที่ปรึกษาด้านค่ามาตรฐาน/ ตรวจวิเคราะห์ตามกฎ ระเบียบและ มาตรฐานความปลอดภัยอาหาร ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมอาหารทีส่ นใจ สามารถขอรับบริการได้ที่สถาบันอาหาร >>>12

June-July 2015, Vol.42 No.241



ศูนยรวมเคร�องมือวัดและทดสอบจาก Fluke Thermal Imager

Fluke Ti400, Ti300, Ti200 กลอง อิ น ฟาเรดถายภาพความรอนรุ นใหม พัฒนาที่ล้ำหนา

NEW

Fluke 1623-2 KIT, 1625-2 KIT เคร�องมือ ทดสอบสายดิน

3 รุนใหมลาสุดจาก Fluke กลองอินฟราเรดถายภาพ ความรอนทีม่ าพรอมระบบออโตโฟกัสใหม LaserSharpTM ใชแสงเลเซอรวัดระยะตรงไปยังวัตถุทต่ี องการวัดแสง ทำการปรับระยะโฟกัสทีร่ ะยะดังกลาวอยางแมนยำ จึงให ภาพความรอนที่คมชัดทุกรายละเอียดมองเห็นและ วิเคราะหปญหาไดชัดเจนกวา

Fluke Ti105 กลองถายภาพความรอน รุนทนทาน ใชงานงาย

NEW

ขนาดเล็ก น้ำหนักเบา มีสมรรถนะตรงตามความตองการ ของผูใช สำหรับงานซอมบำรุงอุตสาหกรรมใชเซ็นเซอร VOx (Vanadium Oxide) ที่มีใชในเคร�องระดับสูง ระบบ IR-Fusion® ซอนภาพความรอนลงบนภาพแสงปกติ ชวยในการชี้จุดและทำความเขาใจปญหาไดงายดาย พรอมไฟฉายชวยสองสวางในที่แสงนอย

ในการตรวจคนปญหาความรอนผิดปกติ กอนสราง

ความเสียหายรายแรงมีนวัตกรรมและฟงคชั่นที่ชวยให การตรวจสอบรังสีความรอนอินฟราเรดทำไเอยางรวด เร็วและมีประสิทธิภาพ ทั้งยังอำนวยความสะดวกในการ ทำเอกสารรายงานปญหาสำหรับติดตามงาน

Power Meter

Fluke 1621-KIT เคร�องทดสอบและวัด ความตานทานกราวดดิน

วิเคราะหปญหาคุณภาพไฟฟาไดละเอียด ยิ่งขึ้น พรอมฟงคชั่นวิเคราะหการใชพลังงาน สามารถแจกแจงการสูญเสียจาก สาเหตุตางๆ และคำนวณตนทุนที่สูญเปลา

Portable Oscilloscope

Fluke 62 Max, Fluke 62 Max+ อินฟราเรดเทอรโมมิเตอรรุนทนทรหด กันน้ำ กันฝุน ทนแรงกระแทก

ขนาดกระทัดรัด แมนยำสูง ใชงานงายเหมาะสำหรับงาน สมบุกสมบัน ใชประจำ ทั้งงานดานไฟฟา งานบริการ งาน HVAC งานกระบวนการผลิต

ซอฟตคีย 3 ปุม เขาถึงเมนูการวัดที่ซับซอนไดอยาง งายดาย ปรับคาอีมิสซีฟวิตี้ บันทึกขอมูลแบบดาตาล็อกกิ้ง เปดปดสัญญาณเตือน รูปทรงกระชับมือ แข็งแรง ทนทาน เหมาะกับงานอุตสาหกรรม งาน อิเล็กทรอนิกส และงานเคร�องกล

Installation Tester

Fluke 1555/1550C เคร�องทดสอบความตานทานฉนวน ที่มีแรงดันทดสอบสูงถึง 10 kV

Fluke 190-502 ออสซิลโลสโคปพกพา ขนาด 500 MHz 2 แชนเนล NEW

แบนดวิ ด ธสู ง ถึ ง 500 MHz ขนาด 2 แชนเนล ทนนทานสูง กันฝุนและกันน้ำระดับ IP 51 มาตรฐาน ความปลอดภัยสูง CAT III 1000 V/CAT IV 600 V เหมาะสำหรับงานซอมบำรุงทางดานอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรม ในสภาพแวดลอมที่รุนแรง สมบุกสมบัน

Fluke 190 Series II ออสซิลโลสโคปแบบพกพาสมรรถนะ สูง สำหรับสภาพแวดลอม สมบุกสมบันโดยเฉพาะ

Fluke CNX 3000 Series ชุดเคร�องมือวัดไรสายที่ชวย ใหงานซอมบำรุงงายขึ้น

ดวยการวัดคาทางไฟฟาและอุณหภูมิ ไดพรอมกันถึง 10 จุด

Fluke 37X Series แคลมปมิเตอรตระกูลใหม ที่ตอบสนองความตองการ ไดสูงสุด

ในพื้นที่คับแคบและมีมัดสายไฟที่ยากแกการวัดดวยแคลมปทั่วๆ ไป มีสายไฟ ขนาดโตมาก หรือมีรูปรางที่แคลมป มิเตอรทั่วไปไมสามารถคลองรอบได

Fluke 320 Series แคลมปมิเตอรแบบ True-rms

โดยใชวิธีทดสอบแบบไมตองปกแทงโลหะ (Stakeless) ซึ่งเปน เทคนิ ค ที ่ ช วยหลี ก เลี ่ ย งอั น ตราย และลดการสู ญ เสี ย เวลา ในการตอสายกราวด หลายๆ เสน รวมถึงเวลาที่ ใชในการหา ตำแหนงปกแทงโหะ ทำใหคุณสามารถทดสอบกราวดไดในทุกที่ หรือในจุดที่ ไมสามารถเขาถึงดินไดโดยตรง

Fluke 1735 เคร�องวิเคราะห Fluke 566, 568 วัดไดทั้งแบบ และบันทึกคุณภาพไฟฟา 3 เฟส อินฟราเรดและแบบสัมผัส จอแสดงผลด็อตรแมตทริกซ ใชงานงาย ดวยปุ ม พรอมจอสี เหมาะอยางยิ่งสำหรับงานประหยัดพลังงานไฟฟาและการตรวจวิเคราะหศึกษา เกี่ยวกับโหลด สามารถเซ็ตอัพไดในเวลา อันสั้น มีโพรบวัดที่ยืดหยุน

NEW

Fluke 1630 แคลมปมิเตอรสำหรับวัดกราวด หลูปของดิน

Infrared Thermometer

Fluke 434, 435 Series II เคร�องวิเคราะหการใชพลังงาน และแกไขคุณภาพไฟฟา 3 เฟส

Clamp Meter

สำหรับงานตรวจซอมและแกไขปญหา ระบบกราวดของไฟฟา สามารถวัด ความตานทาน ดินไดโดยไมตองตัด วงจรเพิ ่ ม ความสะดวก และความ ปลอดภัยในการทำงาน

สำหรับงานตรวจวัดคาความตานทานดิน และทดสอบ ความเช�อถือไดของขั้วตอกราวดดิน มีความสามารถ ในการทดสอบ

Fluke Ti125, Ti110 สำหรับงาน อุตสาหกรรม เล็ก เบา ทน ใชงานงาย สะดวกสุดๆ

NEW

Earth Ground Testers

มียานแรงดันทดสอบครบครอบคลุมครบถวนตามขอกำหนดในมาตรฐาน IEEE 43-2000 ดีที่สุดในเคร�องมือ ระดับเดียวกัน พรอมความปลอดภัย CAT IV 600 V

บันทึกผลการวัด และเช�อมตอกับ PC ได

Fluke 1507, 1503 เคร�องทดสอบความเปนฉนวน

มีขนาดกะทัดรัด เช�อถือไดสูงและใชงานงาย มีแรงดัน ทดสอบหลายระดับเหมาะกับงานตรวจซอมแกไขปญหา การตรวจสอบ ความปลอดภัยและงานบำรุงรักษาเชิง เปนออสซิลโลสโคปพกพาขนาด 2 และ 4 แชนเนล ปองกัน มีฟงกชัน เสริมเพ�อใหงานทดสอบตางๆ ทำได ตัวแรกที่มีพิกัดความปลอดภัย CAT III 1000 V รวดเร็ว และประหยัด คาใชจายใหสมรรถนะที่ยอดเยี่ยม /CAT IV 600 V สู ง ที ่ ส ุ ด ที ่ ม ี อ ิ น พุ ต แยก ขาดจากกันทางไฟฟา มีพิกัดความปลอดภัยเพ�องานอุตสาหกรรม เปนสโคปที่ ไมมีใครเทียบ รวมความแข็งแรงทนทานและสะดวกพกพา เขากับสมรรถนะขัน้ สูงของสโคปตัง้ โตะ เหมาะสำหรับงานตรวจซอมตั้งแตระดับไมโครอิเล็กทรอนิกสขึ้นไปจนถึงงาน เพาเวอรอิเล็กทรอนิกส

สำหรับงานหนักในสภาพแวดลอมสมบุกสมบัน ทนทานตอสัญญาณรบกวน เหมาะอยางยิ่ง สำหรับชางเทคนิคในงานตรวจซอมไฟฟาทุก ประเภท

Vibration Meter NEW

Fluke 805 เคร�องวัดความสั่นสะเทือน ขนาดเล็ก

สำหรับงานตรวจสอบคัดกรองความผิดปกติของแบริ่ง สภาพ มอเตอรและเคร�องจักรหมุนตางๆ อยางรวดเร็ว เหมาะสำหรับ ชางเทคนิคทีอ่ ยูหนางานทีต่ องการเคร�อง- มือทีเ่ ช�อถือได วัดซ้ำได เพ�อการตัดสินใจวาเคร�องจักรหมุน ยังสามารถทำงานตอไปได หรือจำเปนตองซอมบำรุงแลว

Fluke 810เคร�องทดสอบ ความสั่นสะเทือนที่ ใหคำตอบ เพ�อแกปญหาไดทันที

ชวยควบคุมการหยุดขบวนการผลิตโดย ไมตัง้ ใจ ปองกันการเกิดปญหาซ้ำ จัดลำดับ ความสำคัญงานซอม และจัดการทรัพยากร ดวยแนวทางใหม โดยวิธีทดสอบความ สั่นสะเทือน

Thermometer Fluke 51, 52, 53, 54 Series II ดิจิตอลเทอรโมมิเตอรแบบสัมผัส ขนาดมือถือ

ใหผลตอบสนองในการวัดที่รวดเร็ว โดยมีความ ถู ก ตองแมนยำระดั บ หองทดลองที ่ ส ามารถ พกไปใชงานไดทุกที่ และมีความแข็งแรงทนทาน ตอสภาพแวดลอมตางๆ

Fluke 971 เคร�องวัดอุณหภูมิและความชื้น ภายในเคร�องเดียวกัน

สำหรั บ งานควบคุ ม คุ ณ ภาพอากาศในอาคารโดยเฉพาะ เพ�อการตรวจแกไขปญหา งานบำรุงรักษาคุณภาพอากาศ และงานตรวจรับรองเพ�อใหไดคุณภาพอากาศตามมาตรฐาน ที่ถูกตองในงาน HVACมีขนาดกะทัดรัด เหมาะมือ แข็งแรง ทนทาน ออกแบบมาสำหรับงานภาคสนาม จอแสดงผลสวาง ชัดเจน แสดงผล 2 บรรทัด พรอมกันทั้งอุณหภูมิและความชื้น ไมตองใชชารตในการคำนวณคาอีกตอไป สามารถคำนวณ อุณหภูมิแบบ wet bulb และ dew point ใหไดทันที

Digital Multimeter Fluke 287, 289 ดิจิตอล มัลติมิเตอรพรอมดาตาล็อกเกอร

เปนดิ จ ิ ต อลมั ล ติ ม ิ เ ตอรแบบ True-rms ความสามารถระดั บ สู ง สำหรั บ ทุ ก ความ ตองการในงานมืออาชีพโดยเฉพาะ รุน 287 สำหรับงานอิเล็กทรอนิกสรุน 289 สำหรับ งานอุตสาหกรรม

Fluke 175, 177, 179 ดิจิตอลมัลติมิเตอรความทนทานสูง Best Seller

นอกจากคุณสมบัตพิ น้ื ฐานเชนวัด V, A ทัง้ AC และ DC และความตานทานแลว ฟลุค 170 ซีรสี ยังมีฟงกชัน่ พิเศษ เพิ่มเติมอำนวยความสะดวกและรวดเร็วในการทำงาน ของทาน

Fluke 117 ดิจิตอลมัลติมิเตอร สำหรับชางเทคนิคงานบริการดานไฟฟา

True-rms ขนาดกะทัดรัด สำหรับงานซอมไฟฟาทั่วๆไป มีฟงคชัน่ ตรวจวัดแรงดันไฟฟาโดยไมตองสัมผัส ชวยให ทำงานไดสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย

มีสินคาอีกมายมากหลายรุน สามารถติดตอสอบถามเพิ่มเติมไดที่ :

บริษัท อุลตรา เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด 2/7 Soi Mooban Settakit 6, Bangka nua, Bangkae, Bangkok 10160 Tel : 0-2444-0844 FAX: 0-2444-1019 e-mail : Sales@ultraengineering.co.th


ªøÍàæČàÃøÒ蟧÷ÒŸÇÑ´’›◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷ČÆ∑≤Úfi´ Non-Contact Temperature

Gas Detection

Raytek MI3 Non-Contact Temperature àÃøÒ蟧ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fiá≥≥ä÷ž’Ñ÷ˆÑ’ ¢Úfl´àÅç∑ ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fi’‚§¶Ö§ 1800 Ÿ§ÿflà∫Åà∫¿‘’ ◊ÑÇÇÑ´ČÚÃÇfl÷ø¦ŸÚ’‚§¶Ö§ 180 Ÿ§ÿflà∫Åà∫¿‘’ øflÃfl¶‚∑ à◊÷flÍ’ífl◊øÑ≥§flÚªøÍàæČ ˆÅfićŸfl◊flø ˆÅfić¢Ú÷, ćøǨ’Ÿ≥≥Ñ’≥fløÝ ãÚ悦 MDB, 悦Ÿ≥, àćflŸfiÚ´Ñê∑≤ÑèÚ, ˆÅfićá∑¦Ç ∑øͨ∑, Gear Box áÅͧflÚªøÍàæČ◊ÅžŸ◊ÅŸ÷âÅ◊Í

NEW

NEW

àÃøÒ蟧ÇÑ´á∑ç’á≥≥˜∑˜fl’›◊øÑ≥˜ÒéÚČ¿èŸÑ≥Ÿfl∑flÿáÅ͘ÒéÚČ¿èŸÑÚćøfl‘ ÷¿ČÑé§á≥≥ Single Gas , Multi Gas (4 Gas) , Multi Gas (6 Gas) Čífl§flÚ§žfl‘´¦Ç‘à˜¿‘§ªÆŁ÷à´¿‘Ç Úéífl◊ÚÑ∑à≥fl, ČÚČflÚ Audible Alarm Automatic pump àćÒŸÚ´¦Ç‘à’¿‘§ áÅÍ∑flø’ÑèÚà∫Úà∫ŸøÝ IP65/67 Č´’Ÿ≥∑ÑÚ∑øÍáČ∑’‚§¶Ö§ 6 ∂Æć

ÿ‚Ú‘ÝøÇ÷àÃøÒ蟧÷ÒŸÇÑ´áÅÍČ´’Ÿ≥¨fl∑ Fluke Ti105 ∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚøÆžÚČÚČflÚ ã≤¦§flÚ§žfl‘ ¢Úfl´àÅç∑ Úéífl◊ÚÑ∑à≥fl ÷¿’÷øø¶ÚÍćø§ ćfl÷ÃÇfl÷ć¦Ÿ§∑flø¢Ÿ§ ˆ‚¦ã≤¦ ’ífl◊øÑ≥§flÚ∫žŸ÷≥ífløƧŸÆć’fl◊∑øø÷

Fluke CNX 3000 Series ≤Æ´àÃøÒ蟧÷ÒŸÇÑ´äø¦’fl‘Č¿è≤žÇ‘ã◊¦§flÚ∫žŸ÷≥ífløƧ§žfl‘ ¢ÖéÚ´¦Ç‘∑fløÇѴÞflČfl§ä∂∂łfláÅÍŸÆÙ◊æ‚÷fiä´¦˜ø¦Ÿ÷∑ÑÚ ¶Ö§ 10 ¨Æ´

Fluke 434, 435 Series II àÃøÒ蟧ÇfiàÃøflÍ◊Ý∑fløã≤¦˜Åѧ§flÚ áÅÍá∑¦ä¢ÃÆÙæfl˜ä∂∂łfl 3 à∂’ ÇfiàÃøflÍ◊ݪ½ş◊flÃÆÙæfl˜ä∂∂łflä´¦ ÅÍàŸ¿‘´‘fi觢ÖéÚ ˜ø¦Ÿ÷∂½§ÃÝ≤ÑèÚ ÇfiàÃøflÍ◊Ý∑fløã≤¦˜Åѧ§flÚ ’fl÷flø¶ á¨∑ᨧ∑flø’‚şà’¿‘¨fl∑’flà◊ćÆćžfl§¥ áÅÍÃíflÚÇÙć¦ÚČÆÚČ¿è’‚şàªÅžfl Fluke 1555/1550C àÃøÒèŸ§Č´’Ÿ≥ÃÇfl÷ć¦flÚČflÚ©ÚÇÚ Č¿è÷¿áø§´ÑÚČ´’Ÿ≥’‚§¶Ö§ 10 kV ÷¿‘žflÚáø§´ÑÚČ´’Ÿ≥Ãø≥ÃøŸ≥ÃÅÆ÷ Ãø≥¶¦ÇÚćfl÷¢¦Ÿ∑ífl◊Ú´ãÚ÷flćø°flÚ IEEE 43-2000 ´¿Č¿è’Æ´ãÚàÃøÒ蟧÷ÒŸ øÍ´Ñ≥à´¿‘Ç∑ÑÚ, ˜ø¦Ÿ÷ÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ CAT IV 600 V ≥ÑÚČÖ∑ˆÅ ∑fløÇÑ´ áÅÍà≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ PC ä´¦

Honeywell H_EC-F2 àÃøÒ蟧ćøǨÇÑ´∑fløøÑèÇä◊Å¢Ÿ§ áŸ÷â÷àÚ¿‘ áÅÍ ’fløČíflÃÇfl÷ à‘çÚ˜ø¦Ÿ÷’ž§’ÑşşflÙàćÒŸÚ à˜ÒèŸÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ãÚâø§§flÚ ŸÆć’fl◊∑øø÷ÇѴÞflä´¦ 100 ppm ◊øÒŸ÷fl∑∑Çžflà∫Úà∫ŸøÝ÷¿Ÿfl‘Æ ∑fløã≤¦§flÚ‘flÇ 3 - 4 ª¸

Honeywell XCD àÃøÒ蟧ćøǨ¨Ñ≥á∑ç’ćfi´ä∂ŸçŸ∑∫fià¨Ú áÅÍá∑ç’˜fiÉá≥≥ćfi´ćÑé§ ã≤¦’ífl◊øÑ≥øÍ≥≥ ÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ãÚâø§§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷, âø§§flÚà∑¿è‘Ç∑Ñ≥ª˚âćøàÃ÷¿,◊¦Ÿ§à‘çÚ, øÍ≥≥≥ífl≥Ñ´Úéíflà’¿‘, â∑´Ñ§à∑ç≥’fløàÃ÷¿, âø§§flÚˆÅfić’fløàÃ÷¿, ◊¦Ÿ§ćfi´ćÑé§ àÃøÒ蟧‘Úć݈Åfić˜Åѧ§flÚ

Raytek Pi20 Thermal Imaging Camera ∑fløªøÑ≥ªøƧã◊÷žČfl§àČÃâÚâÅ‘¿ÃøÑé§ã◊şžČ¿èČíflã◊¦∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ Raytek ∑¦flÇÅéífl∑Çžfl‘¿é◊¦ŸŸÒèÚŸ‘žfl§à◊ÚÒŸ≤ÑéÚ ≤žÇ‘ã◊¦∑flø¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ ’Í´Ç∑§žfl‘´fl‘ áÅÍ’fl÷flø¶ÇfiàÃøflÍ◊Ý¢¦Ÿ÷‚Åä´¦ČÑÚČ¿ãÚćÑÇàŸ§ ∑ŦŸ§¶žfl‘ æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ ÷¿ÃÇfl÷â´´à´žÚ´¦flÚ ÃÇfl÷ČÚČflÚ, ã≤¦§flÚ§žfl‘, ’÷øø¶ÚÍ’‚§ 䴦ાÚ∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ’÷øø¶ÚÍ’‚§ãÚČÆ∑øÍ´Ñ≥ Raytek EMS (EQUIPMENT MONITORING SYSTEM) øÍ≥≥àÃøÒ蟧ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fiá≥≥ä÷ž’Ñ÷ˆÑ’’ífl◊øÑ≥ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fi≥Ñ’≥fløÝ ãÚ悦 MDB, circuit breakers, Gear Box, øÍ≥≥ÃÇ≥ÃÆ÷àćflŸ≥ćžŸ˜žÇ§◊ÑÇÇÑ´ä´¦ - ’‚§¶Ö§ 32 ◊ÑÇÇÑ´ - ÷¿’ÑşşflÙà’¿‘§àćÒŸÚ - ÷¿ software Data Temp Multidrop - øflÃfl¶‚∑ - ćfi´ćÑ駧žfl‘

Honeywell IAQPoint2 Touch screen indoor air quality Monitoring Číflä÷¶Ö§ć¦Ÿ§ã≤¦ IAQ Point2 ćøǨ’Ÿ≥ÞflÃfløÝ≥ŸÚä´ŸçŸ∑ä∫´Ý ãÚŸflÃflø ∑fløà∑fi´Ÿflø÷ÖÚ§§ãÚ¢ÙÍČ¿èČžflÚČífl§flÚ ¨ÍČíflã◊¦Å´ªøÍ’fiČÊfiæfl˜ãÚ∑fløČífl§flÚ ’flà◊ćÆ◊ÅÑ∑ÚÑéÚà∑fi´¨fl∑ªøfi÷flÙÃfløÝ≥ŸÚä´ŸçŸ∑ä∫´Ý ãÚŸfl∑flÿ÷fl∑à∑fiÚäª ∑fløá∑¦ª½ş◊fl’žÇÚã◊şžˆ‚¦´‚áÅŸflÃflø¨ÍàÅÒŸ∑ã≤¦øÍ≥≥øÍ≥fl‘Ÿfl∑flÿá≥≥ćžŸàÚÒ蟧∫Ö觨Íà∑fi´Ãžflã≤¦¨žfl‘¨íflÚÇÚ÷fl∑ áćž’ífl◊øÑ≥ IAQ point2 ÚÑéÚ’fl÷flø¶≤žÇ‘ČžflÚªøÍ◊‘ѴÞflã≤¦¨žfl‘ä´¦Ÿ‘žfl§´¿ â´‘∑fløÇÑ´áŦǒfl÷flø¶Čífl§flÚøžÇ÷∑Ñ≥ øÍ≥≥øÍ≥fl‘Ÿfl∑flÿà÷ÒèŸ÷¿ªøfi÷flÙÃfløÝ≥ŸÚä´Ÿç-Ÿ∑ä∫´Ý÷fl∑à∑fiÚÞflČ¿è∑ífl◊Ú´

ã◊÷žá∑Í∑ÅžŸ§ Fluke 805 àÃøÒèŸ§Č´’Ÿ≥ÃÇfl÷’ÑèÚ’ÍàČÒŸÚ Č¿èã◊¦ÃíflćŸ≥ à˜ÒèŸá∑¦ª½ş◊flä´¦ČÑÚČ¿≤žÇ‘ÃÇ≥ÃÆ÷∑flø◊‘Æ´ ¢≥ÇÚ∑fløˆÅfićâ´‘ä÷žćÑé§ã¨, ªłŸ§∑ÑÚ∑fløà∑fi´ ª½ş◊fl∫éífl, ¨Ñ´Åífl´Ñ≥ÃÇfl÷’íflÃÑş§flÚ∫žŸ÷ áÅͨѴ∑flČøј‘fl∑ø´¦Ç‘áÚÇČfl§ã◊÷ž â´‘ÇfiÊ¿Č´’Ÿ≥ÃÇfl÷’ÑèÚ’ÍàČÒŸÚ

Fluke 1630 áÃÅ÷ªŽ÷fiàćŸøÝ’ífl◊øÑ≥ÇÑ´∑øflÇ´Ý◊Å‚ª¢Ÿ§´fiÚ â´‘ã≤¦ÇfiÊ¿ Č´’Ÿ≥á≥≥ä÷žć¦Ÿ§ª½∑áČž§âÅ◊Í (Stakeless) ∫Öè§àª¾Ú àČÃÚfiÃČ¿è≤žÇ‘◊Å¿∑àſ葧ŸÑÚćøfl‘ áÅÍÅ´∑flø’‚şà’¿‘àÇÅfl ãÚ∑fløćžŸ’fl‘∑øflÇ´Ý ◊Åfl‘¥à’¦Ú øÇ÷¶Ö§àÇÅflČ¿èã≤¦ãÚ∑flø ◊flćíflá◊Úž§ª½∑áČž§â◊Í Číflã◊¦ÃÆÙ’fl÷flø¶Č´’Ÿ≥∑øflÇ´Ý ä´¦ãÚČÆ∑Č¿è ◊øÒŸãÚ¨Æ´Č¿èä÷ž’fl÷flø¶à¢¦fl¶Ö§´fiÚ䴦ⴑćø§

Fluke 62 Max, Fluke 62 Max+ ŸfiÚ∂øflàø´àČŸøÝ â÷÷fiàćŸøÝøÆžÚČÚČø◊´ ∑ÑÚÚéífl ∑ÑÚıÆŁÚ ČÚáø§∑øÍáČ∑ ¢Úfl´ ∑øÍČÑ´øÑ´ á÷žÚ‘ífl’‚§ ã≤¦§flÚ§žfl‘ à◊÷flÍ’ífl◊øÑ≥§flÚãÚ’æfl˜áǴŦŸ÷ ČfløÆÙ ’÷≥Æ∑’÷≥ÑÚ ã≤¦ªøͨífl ČÑ駧flÚ ´¦flÚä∂∂łfl, §flÚ≥øfi∑flø, §flÚ HVAC, §flÚ∑øÍ≥ÇÚ∑fløˆÅfić

Fluke Ti32, Ti29, Ti27 ∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ’ífl◊øÑ≥§flÚ ŸÆć’fl◊∑øø÷ã◊¦æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚÃÆÙæfl˜’‚§ ã≤¦§flÚ´¦Ç‘÷ÒŸà´¿‘ÇŸfiÚàćŸøÝà∂’ã≤¦§žfl‘ ˆžflÚ∑fløČ´’Ÿ≥’Æ´â◊´ Fluke IR-Fusion? Č¿èà◊ÚÒŸ∑ÇžflàªÅ¿è‘ÚàÅÚ’Ý ä´¦

Fluke 37X Series áÃÅ÷ªŽ÷fiàćŸøÝćøÍ∑‚Åã◊÷žČ¿èćŸ≥’ÚŸ§ ÃÇfl÷ć¦Ÿ§∑fløä´¦’‚§’Æ´ ãÚ˜ÒéÚČ¿èÃÑ≥áÃ≥ áÅÍ÷¿÷Ñ´’fl‘ä∂Č¿è‘fl∑á∑ž∑fløÇÑ´´¦Ç‘ áÃŦ÷ªŽČÑèÇ¥äª ÷¿’fl‘ä∂¢Úfl´âć÷fl∑ ◊øÒŸ÷¿ø‚ªøžfl§Č¿èáÃÅ÷ªŽ÷fiàćŸøÝČÑèÇäª ä÷ž’fl÷flø¶ÃŦŸ§øŸ≥ä´¦

Fluke 287, 289 ´fi¨fićŸÅ÷ÑÅćfi÷fiàćŸøݘø¦Ÿ÷´flć¦fl ÅçŸ∑à∑ŸøÝ á≥≥ True-rms ÃÇfl÷ ’fl÷flø¶øÍ´Ñ≥’‚§ ’ífl◊øÑ≥ČÆ∑ ÃÇfl÷ć¦Ÿ§∑fløŸ‘žfl§÷ÒŸŸfl≤¿˜ øÆžÚ 287 ’ífl◊øÑ≥§flÚŸfiàÅç∑ČøŸÚfi∑’Ý øÆžÚ 289 ’ífl◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷

Coating Thickness Gages

Fluke 190 Series II ŸŸ’∫fiÅâÅ’âêá≥≥˜∑˜fl’÷øø¶ÚÍ’‚§àª¾Ú ŸŸ’∫fiÅâÅ’âê˜∑˜fl¢Úfl´ 2 áÅÍ 4 á≤ÚàÚÅ ćÑÇáø∑Č¿è÷¿˜fi∑Ñ´ÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ CAT III 1000V/ CAT IV 600 V ’‚§’Æ´ Č¿è÷¿ŸfiÚ˜Æćá‘∑¢fl´¨fl∑∑ÑÚ Čfl§ä∂∂łflાڒâÃªČ¿èøÇ÷ÃÇfl÷á¢ç§áø§ČÚČflÚ áÅÍ’Í´Ç∑˜∑˜flࢦfl∑Ñ≥’÷øø¶ÚÍ¢ÑéÚ’‚§¢Ÿ§ ’âêćÑé§âćÐÍ à◊÷flÍ’ífl◊øÑ≥§flÚćøǨ∫žŸ÷ćÑé§áćžøÍ´Ñ≥ä÷âÃø ŸfiàÅç∑ČøŸÚfi∑’Ý¢ÖéÚ䪨ڶ֧§flÚà˜flàÇŸøÝŸfiàÅç∑ČøŸÚfi∑’Ý

Ultrasonics Thickness Gages PosiTest DFT,6000 Series,200 Series àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷◊ÚflˆfiÇàÃÅÒŸ≥øÍ´Ñ≥’‚§â´‘ä÷žČíflÅfl‘˜ÒéÚˆfiÇ¢Ÿ§≤fiéÚ§flÚ ’ífl◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷ Č¿èć¦Ÿ§∑fløÃÇfl÷’Í´Ç∑øÇ´àøçÇ áÅÍ ÃÇfl÷Úžflà≤Ò蟶ҟ䴦¢Ÿ§Ãžfl∑fløÇÑ´ ∫Ö角fl÷flø¶ã≤¦ÇÑ´ÃÇfl÷◊Úfl ¢Ÿ§ˆfiÇàÃÅÒŸ≥Č¿èàÃÅÒŸ≥≥Ú≤fiéÚ§flÚ≤fiéÚ§flÚä´¦ČÑé§Č¿èાÚâÅ◊ÍáÅÍŸÍâÅ◊ÍøÇ÷¶Ö§â˜ø≥◊Åfl∑◊Åfl‘ ≤Úfi´à˜ÒèŸÃÇfl÷à◊÷flÍ’÷¢Ÿ§§flÚÇÑ´ÃÇfl÷◊ÚflˆfiÇàÃÅÒŸ≥ãÚáćžÅÍá≥≥ ćÑÇàÃøÒ蟧ŸŸ∑á≥≥ã◊¦ã≤¦ §flÚ§žfl‘’Í´Ç∑ćžŸ∑flø˜∑˜fløÇ÷¶Ö§∫Ÿ∂ČÝáÇøČ¿è’fl÷flø¶´‚Þfl∑fløÇÑ´á≥≥ćžfl§¥

MX Series, PX, PVX àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷◊Úfl≤fiéÚ§flÚøÍ´Ñ≥’‚§ â´‘ä÷žČíflÅfl‘˜ÒéÚˆfiÇ¢Ÿ§≤fiéÚ§flÚ’ífl◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷ Č¿èć¦Ÿ§∑fløÃÇfl÷’Í´Ç∑øÇ´àøçÇáÅÍÃÇfl÷Úžflà≤Ò蟶ҟ䴦¢Ÿ§Ãžfl∑fløÇÑ´ ∫Ö角fl÷flø¶ã≤¦ÇÑ´ÃÇfl÷◊Úfl ¢Ÿ§≤fiéÚ§flÚä´¦◊Åfl∑◊Åfl‘ªøÍàæČ ’‚§’Æ´¶Ö§ 32 ≤Úfi´≤fiéÚ§flÚ (âÅ◊Íćžfl§¥øÇ÷¶Ö§˜Åfl’ćfi∑) ćÑÇàÃøÒ蟧ŸŸ∑á≥≥ã◊¦àª¾ÚŸÍÅ‚÷fiàÚ¿‘÷á¢ç§áø§ČÚČflÚાژfiàÿÉøÇ÷¶Ö§â˜ø≥◊Åfl∑◊Åfl‘≤Úfi´à˜ÒèŸ ÃÇfl÷à◊÷flÍ’÷ ¢Ÿ§§flÚÇÑ´ÃÇfl÷◊ÚflãÚáćžÅÍá≥≥ ∫Öè§ćÑÇàÃøÒ蟧ˆÅfićãÚªøÍàČÿŸà÷øfi∑fl

Laser Distance Meter

Temperature Datalogger

àÃøÒ蟧ÇÑ´øÍ‘ÍČfl§´¦Ç‘á’§àÅà∫ŸøÝ ÇÑ´ä´¦ä∑Ŷ֧ 200 à÷ćø ÃÇfl÷á÷žÚ‘ífl’‚§ ÃÆÙæfl˜à‘¿è‘÷ ¨fl∑ªøÍàČÿ’Çfićà∫ŸøÝáÅÚ´Ý àÃøÒ蟧÷ÒŸÚ¿é÷¿ªøÍâ‘≤ÚÝ÷fl∑’ífl◊øÑ≥§flÚÇÑ´˜ÒéÚČ¿è øÍ‘ÍČfl§ ∑flø◊flÃÇfl÷◊ÚflÇÑć¶Æ ∑fløªøÍ÷flÙ ÃÇfl÷’‚§∑Ǧfl§¢Ÿ§ÇÑć¶Æ ∑flø◊flªøfi÷flćø ∑Ǧfl§ x ‘flÇ x ’‚§ ∑flø◊fløÍ‘ÍáÚÇøfl≥¢¦fl÷ ’fiè§∑¿´¢Çfl§ ∑fløÃíflÚÇÙ˜ÒéÚČ¿è’¿èà◊Å¿è‘÷´¦flÚä÷žàČžfl ∑fløã≤¦§flÚã≤¦ä´¦ČÑé§flÚæfl‘ãÚáÅÍæfl‘ÚŸ∑ ∑fløÃíflÚÇÙ˜ÒéÚČ¿è’¿èà◊Å¿è‘÷Ãfl§◊÷‚áÅÍ÷Æ÷Åfl´àŸ¿‘§ ∑fløà≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ß÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ ’fl÷flø¶ ∑ÑÚÚéífl∑ÑÚıÆŁÚä´¦ à◊÷flÍ∑Ñ≥§flÚ’÷≥Æ∑’÷≥ÑÚ÷¿øŸ§∑ÑÚ∑øÍáČ∑ãÚćÑÇàÃøÒ蟧 ć∑◊ÅžÚãÚøÍ‘Í ÃÇfl÷’‚§ 2 à÷ćøä´¦

SK-L200TH-II àÃøÒ蟧≥ÑÚČÖ∑ŸÆÙ◊æ‚÷fiáÅÍÃÇfl÷≤ÒéÚãÚŸfl∑flÿ ˆÅfićæÑÙØÝÃÆÙæfl˜à‘¿è‘÷ ¨fl∑ªøÍàČÿàČÿş¿èªÆŁÚ ∫Öè§÷¿ÃÇfl÷á÷žÚ‘ífl’‚§ ’fl÷flø¶ŸžflÚÞflŸÆÙ◊æ‚÷fiáÅÍÃÇfl÷≤ÒéÚ¢ÙÍ≥ÑÚČÖ∑ ’fl÷flø¶ªøÑ≥ àČ¿‘≥ä´¦à÷ÒèŸÃžflä÷ž¶‚∑ć¦Ÿ§ćfl÷’ા∑ ˜ø¦Ÿ÷∫ŸøÝ∂áÇøÝ ãÚ∑fløà∑ç≥¢¦Ÿ÷‚Å ∑fløŸžflÚÞflČíflä´¦ČÑé§≥ÑÚČÖ∑ ÞflČfié§äǦ áÅÍ≥ÑÚČÖ∑Þflá≥≥ RealTime≥Úß÷˜fiÇàćŸøÝ ’fl÷flø¶Úífl¢¦Ÿ÷‚ÅČ¿è≥ÑÚČÖ∑áªÅ§àª¾Úä∂ÅÝ Excel ä´¦ ’fl÷flø¶ćÑé§Ãžfl∑fløàćÒŸÚä´¦ČÑé§ Ãžfl’‚§áÅÍÞflćèífl ÷¿ã◊¦àÅÒŸ∑ä´¦ČÑé§à∫Úà∫ŸøÝá≥≥’ÑéÚ áÅÍá≥≥à∫Úà∫ŸøÝ÷¿’fl‘

Instruments Environmental systems HDV640: HD Video Scope with Handset ä´¦øÑ≥∑fløŸŸ∑á≥≥∑fløã≤¦§flÚãÚČfl§ªĆfi≥Ñćfi§flÚ Č¿è’÷≥Æ∑’÷≥ÑÚ ćfl÷’æfl˜áǴŦŸ÷ ä÷žÇžfl¨Íàª¾Ú Č¿è¢øÆ¢øÍ ãÚ’žÇÚČ¿è÷Ò´ àÃøÒ蟧ڿé∑ÑÚÚéíflä´¦ ã◊¦æfl˜ áÅÍÇ¿´¿âŸČ¿èÃ÷≤ÑÚŸÑÚâ´´à´žÚ à˜fiè÷ÃÇfl÷‘flÇ¢Ÿ§ ’fl‘ÇÑ´ä´¦÷fl∑’Æ´¶Ö§ 50 à÷ćø

NEW

SDL300Airflow Meters àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷àøçÇÅ÷ ã≥˜Ñ´Čífl¨fl∑âÅ◊ÍČ¿è÷¿á¢ç§áø§ ČÚČflÚ’‚§ ČÚŸÆÙ◊æ‚÷fiä´¦¶Ö§ 70 C ાÚá≥≥≥ÑÚ÷ČÖ∑Þflä´¦ ãÚćÑÇàÃøÒ蟧à∑ç≥¢¦Ÿ÷‚Åŧ SD Card à≤ÒèŸ÷ćžŸÃŸ÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ àª¾Ú Excel Format ÷¿software ÷flãÚ≤Æ´

HD450: Datalogging Heavy Duty Light Meter àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷ࢦ÷¢Ÿ§á’§’Çžfl§ ÷¿à∫çÚà∫ŸøÝÃÆÙæfl˜´¿ äÇćžŸ∑fløŸžflÚÇѴÞfl á¢ç§áø§ ČÚČflÚ àª¾ÚDatalogger à∑ç≥¢¦Ÿ§÷‚Åŧ SD Card à≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ß÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ àª¾Ú Excel Format ÷¿software ÷flãÚ≤Æ´

HD600: Datalogging Sound Level Meter àÃøÒ蟧ÇÑ´à’¿‘§ ’fl÷flø¶ÇÑ´ä´¦¶Ö§ 130dB á¢ç§áø§ ČÚČflÚ’‚§àª¾Úá≥≥≥ÑÚ÷ČÖ∑Þflä´¦ ãÚćÑÇàÃøÒ蟧à∑ç≥ ¢¦Ÿ÷‚Åŧ SD Card à≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ß÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ àª¾Ú Excel Format ÷¿ software ÷flãÚ≤Æ´

39240: Waterproof Stem Thermometer àÃøÒ蟧ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fiá≥≥à¢ç÷ ÇÑ´ä´¦¶Ö§ 200 C á¢ç§áø§ČÚČflÚ’‚§ øflÃfl¶‚∑ ˆ∑˜fl’Í´Ç∑ RPM10: Combination Laser Tacho+ IR Thermometer ÇÑ´ÃÇfl÷àøçÇøŸ≥áÅÍ≥Ÿ∑ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fi á≥≥ä÷ž’Ñ÷ˆÑ’ãÚàÃøÒ蟧ി‘Ç á¢ç§áø§ ČÚČflÚ’‚§ øflÃfl¶‚∑ ˆ∑˜fl’Í´Ç∑

ÁÕÊÔ¹¤ŒÒÍÕ¡ÁÒÂÁÒ¡ËÅÒÂÃØ‹¹ ÊÒÁÒöµÔ´µ‹ÍÊͺ¶ÒÁà¾ÔèÁàµÔÁä´Œ·Õè :

ºÃÔÉÑ· ÍØŵÌÒàÍ繨Ôà¹ÕÂÃÔè§ ¨íÒ¡Ñ´ 2/7 «ÍÂËÁÙ‹ºŒÒ¹àÈÃÉ°¡Ô¨ 6 á¢Ç§ºÒ§á¤à˹×Í à¢µºÒ§á¤ ¡ÃØ§à·¾Ï 10160

â·Ã. 02 444 0844 á¿š¡«#. 02 444 1019 E-mail: sales@ultraengineering.co.th


งานแสดงสินค้านานาชาติ อุตสาหกรรมการบรรจุภัณฑ์ และการพิมพ์แห่งเอเชีย ครั้งที่ 5

26 - 29

สิงหาคม 2558 ไบเทค | กรุงเทพฯ Halls 102 – 104 10.30 – 18.30 น.

PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 พร้อมนำาธุรกิจของท่านก้าวสูค่ วามสำาเร็จยิง่ ขึน้ ผ่านผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีทจ่ี ดั แสดง อย่างหลากหลาย เพือ่ อุตสาหกรรมการพิมพ์ และการบรรจุภณ ั ฑ์ ของเอเชีย การบรรจุภณ ั ฑ์ของเอเชีย เชือ่ มโยงท่านเข้าถึงผูน้ าำ ของอุตสาหกรรม ระดับโลก และคว้าโอกาสทางการตลาด อย่างมหาศาลในภูมภิ าคนี!้

Visitor pre-registration is now available at Concurrent exhibition :

Officially supported by :

For enquiries :

Messe Düsseldorf / Organizer of:

Jointly organized by :

Overseas: Messe Düsseldorf Asia Pte Ltd Tel : (65) 6332 9620 Fax : (65) 6337 4633 Email : ppi@mda.com.sg Within Thailand: Exposis Co., Ltd Tel : (66) 2559 0856-8 Fax : (66) 2559 2893 Email : info@exposis.co.th

The Thai Packaging Association

The Thai Printing Association


สิงหาคม 2558

10.30 - 18.30 น. ไบเทค กรุงเทพฯ

ํา

ํา

าํ



ผลิต ออกแบบ และติดตัง้ เฟอร์ นิเจอร์ /อุปกรณ์ ช่าง

• โต๊ ะซ่ อม โต๊ ะประกอบอุปกรณ์ ประจ�ำห้ องแลป และ ห้ อง MAINTENANCE • ตู้แขวนเครื่ องมือ • ตู้เก็บกล่ องอุปกรณ์ ส�ำหรั บอุตสาหกรรมยานยนต์ L STORAGE SYSTEM • ระบบระบายควันกรด ฝุ่ น และชุดก�ำจัดในโรงงานอุตสาหกรรม เฟอร์ นิเจอร์ งานช่ าง คุณภาพเหนือราคา พร้ อมบริ การหลังการขาย TOO

SERVICE BENCH

TOOL MOBILE CABINET

โต๊ ะปฏิบตั กิ ารช่ างซ่ อม

ตู้ใส่ อปุ กรณ์ เครื่องมือเคลื่อนย้ ายสะดวก ท� ำ ด้ ว ยเหล็ก พ่น สี อี พ๊ อ กซี่ กัน สนิ ม ภายในมี ก ล่อ ง สามารถแบ่งแยกเก็บอุปกรณ์ มีกญ ุ แจล็อค พร้ อมมือ จับแข็งแรง ทนทาน เหมาะส�ำหรับใช้ งานในโรงงาน หรือ งานช่างทัว่ ไป ราคาประหยัด ผลิตในประเทศ บริ การ จัดส่ง พร้ อมบิการจากทีมงานที่มีปรสิทธิภาพ

• พื ้นโต๊ ะไม้ ปิดผิวด้ วยฟอร์ ไมก้ า, ไม้ จริ ง, หรื อแผ่นเหล็ก • แผงแขวนอุปกรณ์ 3 ด้ านขนาดสูง 600 mm. • ตู้เหล็กขนาด 600x500x800 mm. พ่นสีพอ็ กซี่ • กล่องไฟคูพ่ ร้ อมสายดิน ขนาด19AMP.220V.1 PHASE แสงสว่าง FLUORESCENCE 18 WATT

ST-150

ขนาด: 1500x600x1400mm.

ST-180

ขนาด: 1800x600x1400mm.

TOOL HANGING RACK CABINET ตู้เก็บอุปกรณ์ ส�ำหรับแขวนเครื่ องมือช่าง, ตู้เก็บกล่อง อุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ ชิ น้ เล็ ก ที่ มี ห ลายขนาดเหมาะสมกับ ลักษณะงานทุกชนิดโครงสร้ าง ท�ำด้ วย เหล็กแผ่น พ่นสี แข็งแรง ตู้-ชั น้ เก็บเครื่ องมือช่ างแบบเคลื่ อนที่ มีล้อส�ำหรั บ เคลื่อนย้ ายได้ เพื่อสะดวกในการท�ำงานในพื ้นที่มีหลาย ขนาด ที่เหมาะสมกับลักษณะงานทุกชนิด

PTH 10565130 Part-tool hanging rack mix SIZE : 1050x650x1300 mm.

PRH 9030180

THC 9045145 ขนาด: 900x450x1450 mm. ท�ำด้ วย เหล็กแผ่นพ่นสีอีพ๊อกซี่ เจาะรูเพื่อแขวนอุปกรณ์มีหลาย ขนาดให้ เลือก

THC 903072

W/Stand wheel Tool hanging rack cabinet SIZE : 900x300x1800 mm. SIZE : 900x300x720 mm.

REF-753520 ตู้สูง Tool and part cabinet SIZE : 640x460x900 mm.

TS-6410 ขนาด: 640x460x900 mm. น�ำ้ หนัก 50 กก.

TS-858 ขนาด: 640x460x900 mm. น�ำ้ หนัก 39 กก.

ตู้เก็บอะไหล่ และเครื่ องมือต่ างๆ

จัดจ�ำหน่ ายโดย OFFICIAL EQUIPMENT MANUFACTURING CO.,LTD. บริษทั ออฟฟิ เชียล อีควิปเม้ นท์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด

70 หมู่7 ซอยเพชรเกษม 130 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลไร่ ขงิ อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 70 Moo7, Phetkasem Road Soi 130, T.Raikhing, A.Sampran, Nakornpathom 73210 Tel. : 0-2420-5999,0-2420-5021-2 Fax.: 0-2420-4997-8 E-mail :sales@official.co.th www.officail.co.th


&

Cover Story

เครื่องทดสอบ

เครื่องมือทางการแพทย์ Biomedical Test Equipment

ครอบคลุมการทดสอบที่ส�ำคัญเหล่านี้

เครื่องวิเคราะห์ความปลอดภัยทางไฟฟ้า Electrical Safety Analyzer ● เครื่องวิเคราะห์พารามิเตอร์ทางไฟฟ้า Performance Analyzer ● เครื่องจ�ำลองค่าออกซิเจนในเลือด Vital Sign Simulator ● เครื่องวิเคราะห์การไหลของแก๊ส Gas Flow Analyzer ● ใหม่ ชุดสอบเทียบแบบเคลื่อนที่ Rigel Med eKit ●

สนใจติดต่อ: คุณเฉลิมพร 08-5489-3461 บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด www.measuretronix.com

www.measuretronix.com/ rigel-blomedical

คุณมนัสนันท์ 08-7714-3630 คุณอิทธิโชติ 08-0927-9917

RIGEL เป็นผู้ผลิตเครื่องมือสอบเทียบทางการแพทย์ที่ได้มาตรฐาน IEC 60601 & IEC 62353 ที่มีประสบการณ์ ยาวนาน 44 ปี ได้รับรางวัล The Queen’s Award ในปี 2012 รับประกันในคุณภาพและความเชื่อมั่น โดยบริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด เป็นผู้น�ำเข้าและจัดจ�ำหน่าย อีกไลน์ผลิตภัณฑ์เครื่องมือวัดและทดสอบใหม่ ด้านการแพทย์ ด้วยประสบการณ์กว่า 30 ปี ของเมเชอร์โทรนิกซ์ จึงเชื่อมั่นได้ในคุณภาพ และบริการหลังการขาย >>>20

June-July 2015, Vol.42 No.241


&

Cover Story การสาธิตเครื่องทดสอบและสอบเทียบเครื่องมือ ทางการแพทย์ในหน่วยงานต่าง ๆ ผู้เชี่ยวชาญจาก Rigel และเจ้าหน้าที่ฝ่ายขายจากบริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด ได้น�ำเครื่องทดสอบและสอบเทียบเครื่องมือ ทางการแพทย์ไปท�ำการสาธิตการใช้งานและแสดงความสามารถ ของเครื่องมือแก่หน่วยงานทางการแพทย์ และหน่วยงานดูแล มาตรฐาน พร้อมแนะน�ำการดูแลเครื่องมือทางการแพทย์ให้มีความ พร้ อ มและเชื่ อ ถื อ ได้ มี ค วามแม่ น ย� ำ ตามมาตรฐาน ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ประสิทธิภาพในการตรวจรักษาและความปลอดภัยต่อผู้ป่วยและ บุคลากร

ทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า เครื่องวัด สัญญาณชีพและอื่น ๆ

การสาธิตที่โรงพยาบาล

ทดสอบเครื่องจ่ายของเหลวทางหลอดเลือด

ทดสอบเครื่องช่วยหายใจและเครื่องรมยาสลบ

การสาธิตที่หน่วยงานดูแลมาตรฐาน

ทดสอบเครื่องกระตุกหัวใจ

การสาธิตที่บริษัทจ�ำหน่ายเครื่องมือทางการแพทย์

เครื่องวัดสัญญาณชีพและอื่น ๆ

สอบเทียบ (calibration) เครื่องทดสอบเครื่องจ่ายของเหลวทางหลอดเลือด

ทดสอบเครื่องตัดจี้ด้วยไฟฟ้า

ทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า

หากท่านมีความสนใจในผลิตภัณฑ์ เครื่องทดสอบและสอบเทียบเครื่องมือทางการแพทย์ จาก RIGEL และต้องการให้เราเข้าไปสาธิต กรุณาโทรนัดหมายล่วงหน้าได้ที่ คุณเฉลิมพร 08-5489-3461, คุณมนัสนันท์ 08-7714-3630, คุณอิทธิโชติ 08-0927-9917 June-July 2015, Vol.42 No.241

21 <<<


&

Cover Story RIGEL มี เ ครื่ อ งมื อ ที่ ส อบเที ย บและทดสอบพารามิ เ ตอร์ ส� ำ คั ญ เหล่านี้ 1. เครื่องตรวจวัดค่าออกซิเจนในเลือด (SPO2) 2. เครื่องตรวจวัดค่าความดันเลือด (NIBP & IBP) 3. เครื่องตรวจคลื่นวัดค่าคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) 4. เครื่องกระตุกหัวใจ (Defibrillator Analyzer) 5. เครื่ อ งผ่ า ตั ด ด้ ว ยไฟฟ้ า (High Current Electrosurgical Analyzer) 6. เครื่องให้สารละลายทางหลอดเลือด (Multi-Flo Infusion Pump Analyzer) 7. เครื่องวัดระบบการหายใจ (Test Lungs) 8. เครื่องวิเคราะห์ระบบการไหลของแก๊ส (Gas Flow Analyzer) 9. เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า (Electrical Safety)

ใช้ทดสอบและตรวจสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้าของเครื่องมือ ทางการแพทย์ เช่น ● Earth Continuity ● Insulation ● Direct Leakage Measurement ● Differential Leakage Measurement ● Alternative Leakage Measurement ● Power Measurement ● Main Outlet Measurement ● IEC Main Lead Measurement

เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้าของเครื่องมือ ทางการแพทย์ (electrical safety analyzers)

เป็ น เครื่ อ งมื อ ใช้ ส� ำ หรั บ ทดสอบและตรวจสอบความปลอดภั ย ทางไฟฟ้าของเครื่องมือทางการแพทย์ เนื่องจากความปลอดภัยทางไฟฟ้า ของเครื่องมือทางการแพทย์เป็นสิ่งส�ำคัญ ผู้ป่วยและผู้ใช้งานเครื่องมือ ทางการแพทย์ อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ หากเครื่องมือทางการแพทย์ ดังกล่าวไม่ปลอดภัยทางไฟฟ้า เช่น มีกระแสไฟฟ้ารั่ว ซึ่งอาจท�ำผู้ป่วย และผู้ใช้งานเครื่องมือทางการแพทย์ให้เสียชีวิตได้ เป็นต้น การตรวจวัดความปลอดภัยทางไฟฟ้าเป็นเรื่องที่จ�ำเป็นและส�ำคัญ อย่างยิ่ง ผู้จ�ำหน่ายและผู้ใช้เครื่องเครื่องมือทางการแพทย์ ควรตรวจสอบ ความปลอดภัยตามระยะเวลาที่เหมาะสม Rigel 288 Electrical Safety Analyzer ทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า ประสิทธิภาพสูง สามารถรองรับการทดสอบได้ หลายมาตรฐาน โดยเฉพาะมาตรฐาน EN/IEC 62353, NFPA-99 และ EN/IEC 60601-1 Rigel 228 เป็ น เครื่ อ งทดสอบที่ จ ด สิทธิบตั รเทคโนโลยีสำ� หรับการทดสอบ Ground Bond ตามมาตรฐาน EN/IEC 62353 โดย ใช้ Dual Current High Intensity ป้องกัน ความผิดพลาด >>>22

June-July 2015, Vol.42 No.241

ได้มาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้า เช่น ● EN/IEC 62353, EN/IEC 60601-1, AAMI, NFPA 99, AZ/NZS 3551, VDE 0751-1 ● ใช้แบตเตอรี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครือ ่ งได้ 10,000 ค่า ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันที ผ่านเครื่องพิมพ์ที่ เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล Rigel 62353 Electrical Safety Analyzer ทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า เครื่ อ งวิ เ คราะห์ ค วามปลอดภั ย ทางไฟฟ้ า ประสิทธิภาพสูง สามารถรองรับการทดสอบได้ หลายมาตรฐาน โดยเฉพาะมาตรฐาน EN/IEC 62353 ใช้ทดสอบและตรวจสอบความปลอดภัยทาง ไฟฟ้าของเครื่องมือทางการแพทย์ เช่น ● Earth Continuity ● Insulation ● Direct Leakage Measurement ● Differential Leakage Measurement ● Alternative Leakage Measurement ● Power Measurement ● Main Outlet Measurement ● IEC Main Lead Measurement


&

Cover Story Rigel Model PULS-R SpO2 Finger Simulator เครื่องจ�ำลองสัญญาณค่าออกซิเจนในเลือด

ได้มาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้า เช่น ● EN/IEC 62353, AAMI/NFPA 99, AZ/NZS 3551, VDE 0751-1 ● ใช้แบตเตอรี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ 10,000 ค่า ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล

เครื่องสอบเทียบเครื่องตรวจวัดค่าออกซิเจนในเลือด (vital signs simulators) เป็นเครื่องมือใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่อง Pulse Oximeter โดยเครื่อง จะจ�ำลองสัญญาณปริมาณออกซิเจนในเลือด และอัตราการเต้นของหัวใจ โดยการใส่ Pulse Oximeter เข้ากับ Finger Probe ของเครื่อง ด้วยการ ออกแบบทีท่ นั สมัย RIGEL Vital Sign Simulator สามารถสอบเทียบเครือ่ ง Pulse Oximeter ได้สะดวก รวดเร็วและง่ายต่อการใช้งานและโดดเด่นใน เรื่องความทนทาน และมีประสิทธิภาพในการท�ำงานดีเยี่ยม

เป็นนิ้วจ�ำลองของผู้ป่วยที่ปล่อยสัญญาณเทียมค่าความอิ่มตัวของ ออกซิเจนในเลือด ที่ระดับ 30 -100% และค่าอัตราการเต้นของหัวใจได้ ตั้งแต่ 30 - 300% ครั้งต่อนาที สามารถสร้างสัญญาณเทียมของค่าความ อิ่มตัวของออกซิเจนในเส้นเลือดแดงได้หลายรูปแบบ ในเครือ่ งมีคา่ R- curve ของค่าความอิม่ ตัวของออกซิเจนในเส้นเลือด แดงหลายรูปแบบ และผู้ใช้สามารถใส่ค่า R- curve เพิ่มเติมได้อีก ทั้งนี้ Rigel Model PULS-R SpO2 Finger Simulator ยังรองรับ R-curves ของ ผู้ผลิตเครื่องวัดค่าออกซิเจนในเลือดได้อีก 11 แบบ การจ�ำลองนิ้วของผู้ป่วย ● ค่าของออกซิเจนในเลือดที่ระดับ 30 - 100 % ● ค่าการเต้นของหัวใจ 30 - 300% ครั้งต่อนาที ● ค่าความแม่นย�ำไม่เกิน 1% ● รองรับ R-curves ของผู้ผลิตเครื่องวัดค่าออกซิเจนในเลือดได้ 11 แบบ คุณสมบัติเด่น ● มี LED แสดงสถานการณ์ต่อโพรบของเครื่องวัด ● รองรับ R-curves ของผูผ ้ ลิตเครือ่ งวัดค่าออกซิเจนในเลือดได้ เช่น Beijing Choice, Criticare, GE Tuffsat, Masimo, Mindray, Nellcor, Nellcor, Oximax, Nihon Kohden, Nonin, Novametrix, Philips / HP SP-SIM SpO2 Simulator เครื่องจ�ำลองสัญญาณค่าออกซิเจนในเลือด

ตัวเครื่องได้รับการพัฒนาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน สอบเทียบในทุก ๆ รายละเอียด โดยเพิม่ ฟังก์ชนั่ การสอบเทียบเพิม่ เติม เช่น เพิ่มการจ�ำลองสัญญาณชีพผู้ป่วย (Patient Simulator, ECG) และการ จ�ำลองสัญญาณความดันโลหิต (Non-Invasive Blood Pressure Simulator: NIBP) เพิ่มเติม เป็นต้น ตัวเครื่อง RIGEL Vital Sign Simulator ได้รับการพัฒนาเป็นพิเศษ มีขนาดเล็ก น�้ำหนักเบา แบบที่ถือได้เพียงมือเดียว แต่เต็มเปี่ยมด้วย ฟังก์ชั่นการสอบเทียบเพื่อตอบสนองความต้องการการสอบเทียบของผูใ้ ช้ งานในทุก ๆ สถานที่ June-July 2015, Vol.42 No.241

23 <<<


&

Cover Story เป็นเครื่องสร้างสัญญาณเทียมของค่า ความอิ่มตัวของออกซิเจนใน เส้นเลือดแดง เพื่อสอบเทียบเครื่อง Pulse Oximeter โดยเครื่องจะจ�ำลอง สัญญาณปริมาณออกซิเจนในเลือด และอัตราการเต้นของหัวใจ โดยการใส่ Pulse Oximeter เข้ากับ Finger Probe ของเครือ่ ง สามารถจ�ำลองสัญญาณ ปริมาณออกซิเจนในเลือดแบบ Optical หรือ Electronic Simulation การจ�ำลองค่าออกซิเจนในเลือด ● ค่ า ออกซิ เ จนในเลื อ ด ที่ ร ะดั บ 50 - 100% ค่ า ความแม่ น ย� ำ ไม่เกิน ±0.5% ● ค่าการเต้นของหัวใจ 20 - 300% ครั้งต่อนาที ค่าความแม่นย�ำ ไม่เกิน ±1 bpm คุณสมบัติเด่น ● รองรับ R-curves ของผูผ ้ ลิตเครือ่ งวัดค่าออกซิเจนในเลือดได้ เช่น Beijing Choice, Criticare, GE Tuffsat, Masimo, Mindray, Nellcor, Nellcor, Oximax, Nihon Kohden, Nonin, Novametrix, Philips / HP ● ใช้แบตเตอรี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ 10,000 ค่า ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันที ผ่านเครื่องพิมพ์ที่ เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล UNI-SIM Vital Signs Simulator เครื่องจ�ำลองสัญญาณค่าออกซิเจนในเลือด เป็นเครือ่ งสร้างสัญญาณเทียมของค่าความอิม่ ตัว ของออกซิเจนในเลือด เพื่อสอบเทียบเครื่อง Pulse Oximeter โดยเครื่ อ งจะจ� ำ ลองสั ญ ญาณปริ ม าณ ออกซิเจนในเลือด และอัตราการเต้นของหัวใจ โดยการ ใส่ Pulse Oximeter เข้ากับ Finger Probe ของเครื่อง สามารถจ�ำลองสัญญาณปริมาณออกซิเจนในเลือด แบบ Optical หรือ Electronic Simulation Rigel UNI-SiM ได้รบั การพัฒนาเป็นพิเศษมีขนาดเล็ก น�้ำหนักเบา แบบทีถ่ อื ได้เพียงมือเดียว แต่เต็มเปีย่ มด้วยฟังก์ชนั่ การสอบเทียบเพือ่ ตอบ สนองความต้องการการสอบเทียบของผูใ้ ช้งานในทุก ๆ สถานที่ โดยสามารถ สอบเทียบได้ 6 พารามิเตอร์ ได้แก่ ความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด ความ ดันเลือดแบบ NIBP และความดันเลือดแบบ IBP สัญญาณชีวิต (ECG) อุณหภูมิ และอัตราการหายใจ การจ�ำลองค่าออกซิเจนในเลือด ● ค่าออกซิเจนในเลือด ที่ระดับ 50 - 100% ±0.5% ● ค่าการเต้นของหัวใจ 20 - 300% ครั้งต่อนาที ±1 bpm ● ความดันในเลือด (NIBP) 0 - 410 mmHg ±0.5% ● ความดันในเลือด (IBP) 0 - 300 mmHg ● อัตราการหายใจ 5-10-15-30-60-120-180 breaths per sec ● อุณหภูมิ 25, 33, 37, 41 องศาเซลเซียส >>>24

June-July 2015, Vol.42 No.241

คุณสมบัติเด่น ● ใช้แบตเตอรี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครือ ่ งได้ 10,000 ค่า ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันทีผ่านเครื่องพิมพ์ที่ เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล Rigel BP-SIM NIBP Simulator เครื่องสอบเทียบเครื่องวัดความดันเลือดแบบ NIBP เป็ น เครื่ อ งสร้ า งความดั น เลื อ ดเพื่ อ สอบเที ย บ เครื่ อ งวั ด ความดั น เลื อ ดแบบ NIBP โดยเครื่ อ งจะ จ�ำลองปริมาณความดันในเลือดและอัตราการเต้นของ หัวใจ Rigel BP-SIM NIB มีขนาดเล็ก น�้ำหนักเบา แบบที่ถือได้เพียงมือเดียว แต่เต็มเปี่ยมด้วยฟังก์ชั่น การสอบเที ย บเพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการ การสอบเทียบของผู้ใช้งานในทุก ๆ สถานที่ เครื่องสอบเทียบเครื่องวัดความดันเลือดแบบ NIBP ● Waveform Oscillometric ● Manufacture O Curve Update ● Pulse Volume Low, Medium, High, Paediatric ● Heart Rate 1 - 300 bpm ● Integrated Pump 0 - 350 mmHg ● Digital Manometer 0-450 mmHg คุณสมบัติเด่น ● ใช้แบตเตอรี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครือ ่ งได้ 10,000 ค่า ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันที ผ่านเครื่องพิมพ์ที่ เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล Rigel 333 ECG Patient Simulator เครื่องสอบเทียบเครื่องตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

เป็นเครื่องจ�ำลองคลื่นไฟฟ้าหัวใจได้หลายรูปแบบเพื่อสอบเทียบ เครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ใช้ทางการแพทย์ Rigel 333 มีขนาดเล็ก น�้ำหนักเบา แต่เต็มเปี่ยมด้วยฟังก์ชั่นการสอบเทียบเพื่อตอบสนองความ ต้องการการสอบเทียบของผู้ใช้งานในทุก ๆ สถานที่


&

Cover Story เครื่องสอบเทียบเครื่องตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ● Rate 30-60-70-80-90-100-120-150-180-210-250-270-300350 bps ● Amplitude 0.15 to 5 mV ● 12 Leads ECG Signal ● Over 40 Arrhythmias ● ECG Performance Waveform ● Dual Blood Pressure Multiple Static and Dynamic Pressure ● Respiration ● Temperature ● Pacer Waveform ST Segment Change or Both Atrial and Ventricular คุณสมบัติเด่น ● ใช้แบตเตอรี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว

เครื่องวิเคราะห์พารามิเตอร์ทางไฟฟ้า (performance analyzer) Rigel Uni-Pulse Defibrillator Analyzer เครื่องสอบเทียบเครื่องกระตุกหัวใจ

เป็นเครื่องมือใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องกระตุกหัวใจ ซึ่งสามารถ สอบเทียบได้ทั้ง Mono-phasic, Bi-phasic, Standard and Pulsating Waveform และ Automated External Defibrillator (AED) ได้ เครื่องสอบเทียบเครื่องกระตุกหัวใจ ● Energy (Peak Voltage, Peak Current, Pulse Duration) Range 0 - 600 Joules ● Internal Load 50 Ω Non Inductive ● Internal Load 25-200 Ω ● Voltage Range 0 - 6000 V ● Current Range 0 - 120A ● Cardiac Synchronization Time -250ms to +250ms ● ECG with 12 Leads Signal Output ● Waveform NSR, Atrial, Atrial Conduction, Ventricular, Pacer Waveform ● Rate 20 - 300 bps

● ● ● ●

Performance Waveform Sine, Square, Triangle and Pulse Charge Time Display Curve -250 to+250 ms

คุณสมบัติเด่น ● ใช้แบตเตอรี่แบบชาร์จ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครือ ่ งได้ 5,000 ค่า ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันที ผ่านเครื่องพิมพ์ที่ เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล Rigel 344 Defibrillator/Pacemaker Analyzer/ ECG Arrhythmia Simulator เครื่องสอบเทียบเครื่องกระตุกหัวใจ แบบ 3 in 1 เป็นเครื่องมือใช้ส�ำหรับสอบเทียบ แบบ “Three in One” ได้แก่ เครือ่ งกระตุก หัวใจ (defibrillator) เครื่องก�ำหนดจังหวะ การเต้นของหัวใจ (pacemaker) เครือ่ งวัด คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) ซึ่งสามารถสอบเทียบได้ทั้ง Mono-phasic, Bi-phasic, Standard and Pulsating Waveform และ Automated External Defibrillator (AED) ได้ เครื่องสอบเทียบเครื่องกระตุกหัวใจ (defibrillator analyzer) Energy Measurement: ● Load: 50 Ohms ± 1% ● Range (High): 900 Joules, Res. 1J. ● Accuracy: ± 2% of the Reading ● Maximum Voltage: 5200 ● Maximum Current: 100 Amp (H) ● Sync. Time: 0-250 ms. Waveform Output: ● Real Time: Output 1000 : 1 ● Stored: Discharge Waveform Expanded 200:1 and is Repeated 8 Seconds. It can be Viewed Through the Paddles and Through the ECG High Level Output. เครื่องก�ำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ (pacemaker analyzer) Transcutaneous: ● Test Load: 50 Ohms (Fixed) and Variable 100 to 1000 Ω ● Current: 1 to 200 mA ● Pulse Width: 0.5 to 80 ms. June-July 2015, Vol.42 No.241

25 <<<


&

Cover Story ● Refractory: 20 - 500 ms Atrial and Ventricular: ● Test Load: 500 Ohms ±1% ● Current: 1 to 25 mA ● Pulse Rate: 30 to 800 ppm. ● Pulse Width: 0.5 to 80 ms. ● Refractory: 20 - 500 ms ● Immunity Test: 50/60 Hz

เครื่องสอบเทียบเครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) ECG Arrhythmia Simulator: ● ECG: Normal Sinus Rhythm ● Rate: 30, 60, 90, 120, 240 BPM Performance: ● Sine, Square, Triangle and Pulse ● Rate: 0.5 1, 2, 10, 15, 20, 25, 40 Hz. Arrhythmias: ● VFBC, VFBF, VTAC, AFIB ● PVC, PVC1, PVC2, BGY, RBB ● AFIB, ATRFT, NSR. Waveform Output: ● 12 Lead ECG and Paddle and HI level Output Jacks.

เครื่องสอบเทียบเครื่องจี้ผ่าตัดด้วยไฟฟ้า ● Power Measurement True RMS Value of Applied Waveform ● Power Rating 0 - 500W (RMS) ● Duty Cycle 100% up to 60 seconds ● Load Bank 0 - 5115 Ω ● Resolution 5Ω ● Accuracy (1W + 5% of Value) ● Voltage (peak) 0 - 10kV (Peak) - Closed Load Only ● Accuracy ±10% of Value. ● Voltage 0 - 700V (RMS) ● Accuracy (2V + 2% of value) ● Current 0 - 6000mA (RMS) คุณสมบัติเด่น ● Meet all Modern Contact Quality Monitoring (CQM) ● Compliant with IEC 60601-2-2 ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันที ผ่านเครื่องพิมพ์ที่ เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล Rigel Multi-Flo Infusion Pump Analyzer เครื่องสอบเทียบเครื่องให้สารละลายทางหลอดเลือดด�ำ

คุณสมบัติเด่น ● ใช้แบตเตอรี่แบบชาร์จ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว Rigel Uni-Therm High Current Electrosurgical Analyzer เครื่องสอบเทียบเครื่องจี้ผ่าตัดด้วยไฟฟ้า

เป็นเครื่องมือใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องให้สารละลายทางหลอด เลือดด�ำ ทั้งที่เป็นแบบ Infusion Pump และ Syringe Pump เครื่องมือ เหล่านีจ้ ะสามารถสอบเทียบได้ทงั้ Flow/Volume Test และ Occlusion Test เป็นเครื่องมือใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องจี้ผ่าตัดด้วยไฟฟ้า โดย เครือ่ งเหล่านีจ้ ะสามารถวัดค่าพลังงานทีเ่ ครือ่ งจีผ้ า่ ตัดปล่อยออกมา ทัง้ ใน รูปแบบของ CUT, COAG และ CQM >>>26

June-July 2015, Vol.42 No.241

เครื่องสอบเทียบเครื่องให้สารละลายทางหลอดเลือดด�ำ ● Channels 1, 2 or 4 ● Flow Rates 0.100 - 1.000 mL / hour ● Update Rate 1Hz


&

Cover Story ● ● ● ● ● ● ●

Back Pressure -200 to 600 mmHg Occlusion Pressure 0 - 1500 mmHg PCA Bolus 0.10 - 100 mL Basal Flow Rate 1 - 30 mL External Connections Flow In and Out PC Connections Bluetooth + USB Memory Up to 24 Hours Real Time Recording

คุณสมบัติเด่น ● Compliant with IEC 60601-2-24 ● 1, 2 and 4 Individual Channel Configuration ● Compatible with all Infusion Devices ● On-screen Trumpet Curve ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันที ผ่านเครื่องพิมพ์ที่ เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล

เครื่องวิเคราะห์ระบบการไหลของแก๊ส (gas flow analyzer) Rigel PF-300 Gas Flow Analyzer เครื่องวิเคราะห์ระบบการไหลของแก๊ส

เป็นเครื่องสอบเทียบเครื่องช่วยหายใจแบบตั้งโต๊ะ สามารถวิเคราะห์ ได้ทั้งอัตราการไหล (flow) แรงดัน (pressure) ปริมาตร (volume) และ ปริมาณออกซิเจน เครื่องวิเคราะห์ระบบการไหลของแก๊ส ● Compatible with Compatible with 13 Gas Standards and 7 Gas Types. (Air, Air/O2, N2O/O2, Heliox (21 % O2), He/O2, N2 and CO2) ● Accurate Measurement of Flow, Volume, Oxygen, Temperature, Humidity, Dew Point, High and Low Pressure, Differential and Barometric Pressure. ● Extremely Precise, and Low Resistance Bidirectional Flow Measurement Able to Test Virtually all Models of Ventilators (Adult, Pediatric, Neonatal and High Frequency)

คุณสมบัติเด่น ● Flow Bi-directional – Low Resistance ● Graphics Display with Real Time Graphics ● Compatible with 13 Gas Standards and 7 Gas Types ● Low Flow and Vacuum Compatible Variants ● Simple and Intuitive User Interface Provided by a Graphics Display Citrex Hand-Held All-In-One Gas Flow Analyzer เครือ่ งวิเคราะห์ระบบการไหลของแก๊สแบบมือถือ

เป็นเครื่องสอบเทียบเครื่องช่วยหายใจแบบมือถือ สามารถวิเคราะห์ ได้ทั้งอัตราการไหล (flow) แรงดัน (pressure) ปริมาตร (volume) และ ปริมาณออกซิเจน เครื่องวิเคราะห์ระบบการไหลของแก๊ส ● Compatible with Compatible with 13 Gas Standards and 7 Gas Types. (Air, Air/O2, N2O/O2, Heliox (21 % O2), He/O2, N2 and CO2) ● Accurate Measurement of Flow, Volume, Oxygen, Temperature, Humidity, Dew Point, High and Low Pressure, Differential and Barometric Pressure. ● Extremely Precise, and Low Resistance Bidirectional Flow Measurement Able to Test Virtually all Models of Ventilators (Adult, Pediatric, Neonatal and High Frequency) คุณสมบัติเด่น ● ใช้แบตเตอรี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครือ ่ งได้ 5,000 ค่า ● สามารถพิมพ์ ผ ล Pass/Fail Label ได้ทันที ผ่านเครื่องพิมพ์ที่ เชือ่ มต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล Rigel OR-703 Multi Gas Analyzer อุปกรณ์วิเคราะห์การไหลของแก๊ส

June-July 2015, Vol.42 No.241

27 <<<


&

Cover Story เป็นอุปกรณ์ตอ่ พ่วงส�ำหรับเครือ่ งวิเคราะห์อตั ราการไหลและความดัน ของแก๊ส ที่มีส่วนผสมต่างชนิด เช่น Compatible with Compatible with Offering Instant Gas Concentration Measurements of CO2, N2O, Halothane, Enflurane, Isoflurane, Sevoflurane and Desflurane. Rigel-SmartLung Test Lungs อุปกรณ์จ�ำลองระบบหายใจ

เป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงส�ำหรับเครื่องวิเคราะห์อัตราการไหลและ ความดันของแก๊ส ที่ใช้กับเครื่องช่วยหายใจของผู้ป่วย

ใหม่ Rigel Med eKit ชุดสอบเทียบเครื่องมือทางการแพทย์แบบ “เคลื่อนที่”

ด้วยเทคโนโลยีด้วยการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องสอบเทียบ (Tester, Simulator or Analyzer) เครื่องอ่านบาร์โค๊ด (Barcode scanner) และ เครื่องพิมพ์ฉลากผลทดสอบ (Test N Tag Pass/Fail Label Printer) ท�ำให้ การสร้างโค๊ดระบุชื่อตัวเครื่องหรือเบอร์เครื่องของเครื่องที่จะสอบเทียบได้ (ID or Identification) เมื่อท�ำการสแกนโดยเครื่องอ่านบาร์โค๊ด เครื่อง สามารถจะค้นหาประวัติเก่าในระบบได้ ถ้าไม่มีประวัติเก่าในเครื่อง ก็ สามารถจะสร้างโค๊ดขึน้ มาใหม่โดยล�ำดับเบอร์เครือ่ งก็จะใช้ตวั เลขทีเ่ พิม่ ขึน้ แบบอัตโนมัติ

ด้วยโปรแกรม Med eBase PC Software สามารถท�ำให้การจัดการ ข้อมูลเรือ่ งการสอบเทียบ การจัดท�ำประวัติ การพิมพ์รายงาน สามารถท�ำได้ อย่างสะดวก รวดร็ว และแม่นย�ำ ชุดสอบเทียบเครื่องมือทางการแพทย์แบบ “เคลื่อนที่” (Rigel Med eKit) ประกอบด้วย 1. เครื่องสอบเทียบทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า (electrical safety) 2. ชุดสอบเทียบเครื่องสร้างเครื่องวัดค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน ในเลือด (SPO2) 3. ชุดสอบเทียบเครื่องสร้างเครื่องวัดค่าความดันเลือด (NIBP และ IBP) 4. ชุดสอบเทียบเครื่องสร้างเครื่องวัดค่าแรงดันไฟฟ้าหัวใจ (ECG) 5. ชุดสอบเทียบเครื่องกระตุกหัวใจ (defibrillator) 6. ชุดสอบเทียบเครื่องวัดอุณหภูมิ (temperature) 7. ชุดสอบเทียบเครื่องวัดการหายใจ (respiration)

เป็นการรวบรวมเครื่องสอบเทียบเครื่องมือทางการแพทย์มาไว้ใน กระเป๋าแบบล้อเลื่อนที่พร้อมเคลื่อนที่ โดยมีเครื่องสอบเทียบประเภท ต่าง ๆ ผู้สอบเทียบสามารถจัดท�ำ Check List ตรวจสอบความพร้อมใช้ ของเครื่อง สามารถออกภาคสนาม (field calibration) ได้พร้อมทุกเวลา

คุณสมบัติเด่น ● กระเป๋ามีความแข็งแรง กันกระแทก ป้องกันเครือ ่ งมือและอุปกรณ์ ได้อย่างดี ● ใช้แบตเตอรี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● มี เ ครื่ อ งอ่ า นบาร์ โ ค๊ ด สามารถเชื่ อ มต่ อ กั บ เครื่ อ งทดสอบผ่ า น Bluetooth ● มีเครื่องพิมพ์สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันที ผ่าน เครื่องพิมพ์ที่เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล

สนใจติดต่อ: บริษทั เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด 2425/2 ถนนลาดพร้าว ระหว่างซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ์ 0-2514-0001, 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com e-mail: info@measuretronix.com >>>28

June-July 2015, Vol.42 No.241


&

Talk

ด้วยไอซีที

พิชติ สุขภาพดี

เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารที่ พั ฒ นาก้ า วไกลไปมาก และยั ง มี ก ารน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นกิ จ กรรมต่ า ง ๆ มากมาย และหลากหลาย รวมถึ ง เรื่ อ งการแพทย์ แ ละสุ ข ภาพ ที่ ไ อซี ที ไ ด้ เ ข้ า มาช่ ว ยให้ การติดตามและเฝ้าระวังสุขภาพส่วนบุคคลท�ำได้ง่ายขึ้น

Smart

Health เป็นหนึ่งในสาม Flagships ของศูนย์ เทคโนโลยี อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละคอมพิ ว เตอร์ แห่งชาติ (เนคเทค) ที่มีเป้าหมายในการน�ำไอทีมาประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการแพทย์และสุขภาพ สามารถน�ำไปใช้ วิเคราะห์การเกิดโรคอุบัติใหม่ การวางแผนด้านการพัฒนาบุคลากร ทางการแพทย์ รวมถึ ง การน� ำ ไปใช้ ก� ำ หนดกลยุ ท ธ์ แ ละนโยบาย สาธารณสุขเชิงรุก มีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จากการได้รับบริการด้านสุขภาพที่ดีขึ้น การน�ำระบบไอทีมาใช้ในการเฝ้าระวังและการป้องกันเชิงรุก เพื่อลดความเสี่ยงด้านสุขภาพ ยังถือเป็นเรื่องใหม่ส�ำหรับสังคมไทย โดยเฉพาะเรื่องการรับรู้และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดังกล่าว การ ท�ำงานของเนคเทคตลอดหลายปีที่ผ่านมา จึงไม่ได้มีเพียงการคิดค้น วิจัยและพัฒนา แต่ยังรวมถึงการผลักดันให้เกิดการน�ำไปใช้งานจริง โดยมุ่งประสานการท�ำงานร่วมกันกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดร.ศรัณย์ สัมฤทธิ์เดชขจร ผู้อ�ำนวยการศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติคนใหม่แทน ดร.พันธ์ศักดิ์ ศิริรัชตพงษ์ ที่ด�ำรงต�ำแหน่งยาวนานถึง 8 ปี ดร.ศรัณย์ เป็นตัวแทน ของผูบ้ ริหารรุน่ ใหม่ทถี่ กู วางต�ำแหน่งให้เป็น “ต้นหนเรือ” น�ำพาเนคเทค ก้าวให้ทันกับสังคมยุค Digitalization นี้ ▲

ด้วย

กองบรรณาธิการ

ดร.ศรัณย์ สัมฤทธิ์เดชขจร

ผู้อ�ำนวยการศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

June-July 2015, Vol.42 No.241

29 <<<


Talk

&

ปรับกระบวนทัพ มุ่ง “CARE” กัน มากขึ้น

แม้เนคเทคจะเปลี่ยนผู้อ�ำนวยการ คนใหม่ แต่นโยบายไม่เปลี่ยน ยังคงสานต่อ แนวนโยบายเดิมทีม่ งุ่ เน้นการสร้างความเป็น เลิศด้านงานวิจัย และการท�ำงานร่วมกันมาก ขึ้น ภายใต้ทิศทางการด�ำเนินงานที่ “มุ่งสู่ ผลงานทีม่ คี วามหมาย ด้วยความใส่ใจซึง่ กัน และกัน” “การท�ำงานให้ประสบความส�ำเร็จ และเกิด Impact กับสังคม เนคเทคคงไม่ สามารถท�ำคนเดียวได้ส�ำเร็จ จ�ำเป็นต้องมี พั น ธมิ ต รที่ เ ข้ า มาท� ำ งานร่ ว มกั น ดั ง นั้ น การท�ำงานของเนคเทคนับจากนี้ไปเราจะ CARE กันมากขึ้น” ค� ำ ว่ า CARE ในความหมายของ เนคเทค ดร.ศรัณย์ ได้อธิบายต่อเพือ่ ให้เข้าใจ ความหมายของค�ำนี้ที่มาจาก Co-creation การวิจัยและพัฒนา ทีม่ งุ่ สูก่ ารร่วมสร้างสรรค์คณ ุ ค่ากับลูกค้าและ ผู้ใช้งาน Agility มี ค วามคล่ อ งตั ว ในการ ด�ำเนินงาน เพื่อสร้างผลิตภาพให้สูงขึ้น Relevance การวิจัยและพัฒนาที่มี

>>>30

June-July 2015, Vol.42 No.241

ความสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ และประชาคมโลก น�ำไปสู่การแก้ไขปัญหา ยกระดับการพัฒนา และก่อเกิดผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจและสังคมในทุกระดับ Excellence การวิจัยและพัฒนาที่ มีความเป็นเลิศ ยกระดับขีดความสามารถ ด้านเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ ก่อเกิด นวัตกรรม มุ่งสู่การยอมรับในระดับภูมิภาค และระดับโลก โดยมีกลยุทธ์การท�ำงานที่มุ่งสร้าง ความแตกต่าง (differentiate) ของผลงาน และการประยุกต์ใช้งานก่อนน�ำไปสู่ความ เป็นเลิศในด้านนั้น และให้ความส�ำคัญกับ โครงการภายใต้ Flagship ของเนคเทค ได้แก่ Smart Health, Smart Farm, Digitized Thailand และ Smart Service “สิ่งส�ำคัญที่สุดของนโยบาย CARE คือ การสร้างการรับรู้และเข้าใจที่ตรงกันของ บุคลากรภายใน ด้วยการสือ่ สารอย่างต่อเนือ่ ง เพื่อให้ทุกคนเห็นภาพและเป้าหมายเดียวกัน ซึ่งจะช่วยลดความรู้สึกด้านลบ และหันกลับ มาท�ำงานเสริมกันมากขึ้น

ทุกวันนีโ้ จทย์วจิ ยั จากภายนอกวิง่ เข้า มารอบทิศ หน่วยวิจัยแต่ละหน่วยมุ่งท�ำงาน เพือ่ ตอบสนองกับปัญหาแบบเบ็ดเสร็จภายใน หน่วยวิจัยนั้น ๆ แต่อย่าลืมว่า คนเราไม่ได้ เก่งทุกเรื่อง และการแก้โจทย์วิจัยต้องอาศัย ความเชี่ยวชาญในหลายทักษะเข้ามาช่วย นี่ เป็นเหตุผลหนึง่ ทีท่ ำ� ให้เราต้องท�ำงานร่วมกัน มากขึน้ อีกเหตุผลหนึง่ คือ เนคเทคเป็นหน่วย วิจยั ทีไ่ ด้รบั ยอมรับและไว้วางใจ ท�ำให้มโี จทย์ วิจยั วิง่ เข้ามามากมาย การทีจ่ ะรับและช่วยท�ำ วิจัยให้นั้น ต้องใช้เวลาและความทุ่มเทของ บุคลากร ท�ำให้หน่วยวิจยั แต่ละหน่วยใช้เวลา นานกว่าจะผลิตงานวิจัยได้สักชิ้น แต่หาก สามารถรับและกระจายงานไปยังหน่วยวิจัย ต่าง ๆ ภายในเนคเทค หรือ สวทช. เอง หรือ หน่วยงานภายนอกที่เป็นพันธมิตร นอกจาก จะได้ความเชี่ยวชาญที่หลากหลายแล้ว ยัง ท�ำให้งานวิจัยเดินหน้าไปได้เร็วขึ้น นี่คือภาพ ที่อยากให้เกิดขึ้นนับจากนี้ไป แม้ในอดีตที่ ผ่ า นมาจะมี ก ารท� ำ งานร่ ว มกั น อยู ่ แ ล้ ว แต่ อ ยากให้ เ กิ ด มากขึ้ น และแรงยิ่ ง ขึ้ น ” ดร.ศรัณย์ กล่าว


&

Talk

มากขึ้น

นอกจากการพั ฒ นาด้ า นฟั ง ก์ ชั่ น การใช้งานแล้ว เรื่องรูปลักษณ์ต้องสวย ดูดี น่าใช้ งานทางด้านนี้จะมีทีมวิศวกร นักออกแบบมาช่วยท�ำงานด้วย เพราะฉะนั้นจะเห็น ได้ว่างานทุกงานเนคเทคไม่สามารถเดินไป คนเดียวได้ ต้องมีทมี ทีเ่ ข้ามาเสริมกัน เนคเทค เป็นเพียงเฟืองอันหนึ่งของระบบทั้งหมดที่จะ ช่วยให้ทุกอย่างเดินต่อไปได้

ไปให้สุดทาง

เทรนด์เทคโนโลยีทตี่ อบโจทย์สขุ ภาพ

อย่างทีก่ ล่าวไว้ในตอนต้นว่า เนคเทค มุ ่ ง คิ ด ค้ น พั ฒ นางานวิ จั ย ด้ า นเทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ เพื่อตอบ สนองด้านเกษตร ด้านสุขภาพ และด้านความ มั่นคง โดยมีโครงการภายใต้ Flagship ได้แก่ Smart Health, Smart Farm, Digitized Thailand และ Smart Service ส�ำหรับโครงการวิจัยด้านการแพทย์ และสุขภาพ เป็นโครงการที่เนคเทคด�ำเนินการมาอย่างต่อเนือ่ ง และเกิดผลงานทีส่ ามารถ น�ำไปใช้ประโยชน์จริงในปัจจุบนั หลายผลงาน ในเรื่องนี้ ดร.ศรัณย์ เปิดเผยว่า เนื่องจาก อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์เป็น Knowledge Base ของเนคเทค เราจะใช้เทคโนโลยีนี้ เป็นฐานในการต่อยอดงานวิจัยไปสู่การพัฒนา เครื่องมือเพื่อการแก้ปัญหาต่าง ๆ และงาน ด้านการแพทย์และสุขภาพก็เป็นงานที่เนค เทคสนใจและให้ความส�ำคัญ ทีผ่ ่านมามีผลงานเกิดขึ้นมากมาย ทั้งในส่วนของอุปกรณ์

ทางการแพทย์ทเี่ ป็นฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ที่เป็นแอปพลิเคชั่น ตัวอย่างอุปกรณ์การแพทย์ทเี่ นคเทค พัฒนาขึน้ มา เช่น เครือ่ งซีทสี แกน เครือ่ งช่วย ฟัง และเก้าอี้ท�ำฟัน เป็นต้น การวิจัยและ พัฒนาของเทคเนค ไม่ได้มงุ่ สร้างของใหม่ แต่ มุ่งที่การพัฒนาฟังก์ชั่นการท�ำงานที่ดีขึ้น ใช้ งานง่ายขึ้น และราคาถูกลง โดยใช้จุดแข็ง ที่ เ นคเทคมี อ ยู ่ คื อ ระบบซอฟต์ แ วร์ แ ละ การควบคุมให้สามารถใช้งานได้หลากหลาย

“เมือ่ พัฒนาเสร็จ ถามว่าใครใช้? หาก วิ จั ย และพั ฒ นาบนพื้ น ฐานความต้ อ งการ และความร่วมมือแล้ว ก็ยอ่ มจะมีคนอย่างน�ำ ไปทดลองใช้” ดร.ศรัณย์ กล่าว พร้อมยก ตัวอย่างเครือ่ งช่วยฟังว่า ภายหลังพัฒนาเสร็จ และผ่านเกณฑ์การรับรองมาตรฐาน ทาง ส� ำ นั ก งานหลั ก ประกั น สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ (สปสช.) ก็ยินดีเอาไปน�ำร่องให้ โดยแจกจ่าย ให้ กั บ ผู ้ พิ ก ารที่ มี ป ั ญ หาเรื่ อ งการได้ ยิ น ใน ระดับปานกลาง จ�ำนวน 1,000 เครือ่ ง และได้ รับเสียงตอบรับกลับมา ในเรื่องคุณภาพเสียง ดีมาก เดนตีสแกน 1.1 (DentiiScan 1.1) เป็นอีกหนึ่งผลงานที่พิสูจน์ฝีมือนักวิจัยไทย ที่ไม่ใช่เฉพาะทีมเนคเทค แต่มีหลายทีมที่ เข้ามาช่วยจนเกิดผลงานที่มีประสิทธิภาพดี ใช้ ง านได้ ไ ม่ แ พ้ ใ คร ภาพที่ ไ ด้ ค มชั ด มาก และมีการน�ำไปทดลองใช้ที่โรงพยาบาลใน เชี ย งใหม่ และโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ มีผปู้ ว่ ยใช้บริการแล้วพันกว่า คน นอกจากนี้ ยั ง ได้ พั ฒ นา CephSmile เครือ่ งมือช่วยวิเคราะห์คา่ มุมและระยะต่าง ๆ บนภาพรังสีเพื่อวิเคราะห์แบบจ�ำลองฟัน

เตรียมพร้อมสำ�หรับยุค Internet of Thing

หากมองเทรนด์ในอนาคตจะพบว่า เราก�ำลังเคลื่อนเข้าสู่ยุค Internet of Thing เป็นยุคทีอ่ นิ เทอร์เน็ตจะเข้ามามีบทบาทในทุก June-July 2015, Vol.42 No.241

31 <<<


Talk

&

สรรพสิ่ง ต่อไปอุปกรณ์ทุกชนิดจะเชื่อมต่อ และสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างเช่น เครื่องวัดความดันจะถูกพัฒนาให้สามารถ ส่งข้อมูลเข้ามือถือของผู้ป่วย เพื่อเก็บเป็น สถิติ ไว้เป็นข้อมูลส�ำหรับพยากรณ์สุขภาพ ส่วนบุคคลได้ และยุคใหม่นี้เทคโนโลยีด้าน คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์จะเข้าไปเกีย่ ว พันด้วยอย่างมาก เนคเทคในฐานะหน่วยงาน วิ จั ย ด้ า นคอมพิ ว เตอร์ แ ละอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ระดับชาติเอง ก็มองเห็นแนวโน้มและขับเคลื่อนงานไปในทิศทางนี้เช่นเดียวกัน ปัจจุบันงานวิจัยของเนคเทคมีส่วน ผสมกั น ระหว่ า งงานด้ า นฮาร์ ด แวร์ แ ละ ซอฟต์แวร์อยู่แล้ว แต่รูปแบบจะเปลี่ยนไป จากเดิมซอฟต์แวร์จะอยู่ในเครื่องมือ แต่ ปัจจุบันซอฟต์แวร์จะอยู่ในมือถือที่สามารถ เชื่อมกับเครื่องมืออื่น ๆ ได้ และพัฒนาเป็น ซอฟต์แวร์ส�ำหรับวิเคราะห์ข้อมูล เช่น เครื่อง วัดความดัน เดิมทีว่ ดั และจดลงในสมุดบันทึก ประวัติคนไข้ พัฒนาสู่การส่งข้อมูลมายัง มือถือ ในมือถือสามารถเก็บสถิติข้อมูล และ สามารถวิเคราะห์แนวโน้มสุขภาพได้วา่ เสีย่ ง หรือไม่เสี่ยงที่จะเป็นโรคความดัน ทั้งหมดนี้ จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีการท�ำงานร่วมกัน ระหว่างฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ อินเทอร์เน็ต และระบบสมองกล จากแนวโน้มดังกล่าว เนคเทคต้อง วิเคราะห์จุดแข็งของตัวเองว่า เก่งและแข็งแกร่งในเรื่องอะไร และเราจะเดินหน้าต่อไป อย่างไร เราคงไม่มุ่งไปที่การพัฒนาของใหม่ เพราะบทบาทเหล่านั้น มีบริษัทเอกชนราย ใหญ่ท�ำอยู่แล้ว แต่เราจะมองข้ามขั้นไปสู่ การพัฒนาต่อยอด เช่น อุปกรณ์ประเภทสวมใส่ (wearable devices) จะต่อยอดอย่างไร เพื่ อ ให้ ส ามารถใช้ ค าดการณ์ สุ ข ภาพส่ ว น บุคคลนั้น ๆ ได้ อีกงานหนึ่งที่เนคเทคสนใจ คือ การ พัฒนาแอปพลิเคชั่นเพื่อสุขภาพ จากการ เห็นปัญหา เวลาทีไ่ ปโรงพยาบาล สิง่ ทีค่ นป่วย ต้องการ คือ ความสะดวกสบาย การรอคอย >>>32

June-July 2015, Vol.42 No.241

คือ ปัญหาที่ผู้ป่วยมักพบเสมอจนเกิดความ เบื่อหน่าย หงุดหงิด เนคเทคได้พัฒนาแอปพลิเคชั่น “Easy Host” ขึ้นบนหลักการที่ว่า เวลาที่ผู้ป่วยไปใช้บริการโรงพยาบาลของรัฐ ต้องรอคิวตรวจ และแต่ละคิวจะรอและไม่รู้ จะถูกเรียกเมื่อไหร่ แอปพลิเคชั่นนี้จะเป็น ผู้ช่วยให้คนไข้ได้ทราบว่า ต้องรอคิวตรวจ นานแค่ไหนอย่างไร เป็นการสื่อสารที่ท�ำให้ ผูป้ ว่ ยได้ทราบและเข้าใจ จะท�ำให้เขารอด้วย ความสบายใจมากขึ้น

แอปพลิเคชั่นนี้ ถูกพัฒนาและน�ำไป ทดลองใช้ในสถานพยาบาลแห่งหนึง่ เบือ้ งต้น ผลตอบรับอยูใ่ นเกณฑ์ใช้ได้ ในขัน้ ตอนต่อไป หากโรงพยาบาลมีการเก็บข้อมูลไปเรื่อย ๆ ก็ จะสามารถน� ำ ข้ อ มู ล นั้ น ไปใช้ ใ นการปรั บ กระบวนการท�ำงานและบริหารจัดการเรือ่ งคิว ของผู้ป่วยได้ดีขึ้น นอกจากแอปพลิเคชั่นดังกล่าวแล้ว เนคเทคยังพัฒนาแอปพลิชั่นด้านสุขภาพขึ้น มาอีกหลายแอปพลิเคชั่น อาทิ “FoodiEat, What I Do” แอปพลิเคชั่นวิเคราะห์พลังงาน จากอาหารที่รับประทานเข้าไปในแต่ละวัน “KidDiary” โปรแกรมบันทึกการเจริญเติบโต และพัฒนาการของเด็กปฐมวัย “Khunlook” แอปพลิเคชัน่ ส�ำหรับส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย “Ya and You” แอปพลิเคชั่นที่จะท�ำให้คน

ไทยรู้จักยาที่กินมากขึ้น เป็นต้น นอกจากนีเ้ นคเทคยังพัฒนา “MoPHDC” ชุดซอฟต์แวร์วิเคราะห์และประมวลผล ข้ อ มู ล สุ ข ภาพในคลั ง ข้ อ มู ล สุ ข ภาพระดั บ จังหวัด โดยมีโจทย์วา่ ท�ำอย่างไรให้ขอ้ มูลของ โรงพยาบาลต่าง ๆ ในระดับจังหวัด หรือข้อมูล ระดับต�ำบล วิ่งมาที่ระดับจังหวัดได้ และจาก จังหวัดวิง่ ไปทีเ่ ขตได้ และจากเขตวิง่ มาทีส่ ว่ น กลางได้ และส่วนกลางสามารถมองเห็นภาพ รวมทั้ ง หมด ปั จ จุ บั น ประสบความส� ำ เร็ จ ตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข และ ต่อจากนีข้ นึ้ อยูก่ บั กระทรวงสาธารณสุขว่า จะ ขยายผลหรือผลักดันให้เกิดการใช้งานต่อไป อย่างไร ส� ำ หรั บ ทิ ศ ทางการวิ จั ย ในอนาคต ดร.ศรัณย์ กล่าวว่า เนคเทคจะมุ่งเน้นงาน วิ จั ย ในสิ่ ง ที่ จ ะเกิ ด ผลกระทบต่ อ สั ง คมใน วงกว้างก่อน ขณะเดียวกันต้องดูความพร้อม และทรัพยากรที่เรามีอยู่ประกอบด้วย โดย งานวิจัยที่เนคเทคจะด�ำเนินการต่อไป คือ พัฒนาเครือ่ งมือส�ำหรับวิเคราะห์ขอ้ มูลขนาด ใหญ่ (big data analytic) เนื่องจากก�ำลังเข้า สู่ยุค Personalized Medicine หรือ การ แพทย์ส่วนบุคคล จะเห็นว่า ประชาชนเริ่ม รับรู้ข้อมูลสุขภาพของตนเองมากขึ้น อันจะ น� ำ ไปสู ่ ก ารบริ ห ารจั ด การสุ ข ภาพตั ว เอง ด้วยการเลือกรับประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ ออกก�ำลังกาย และพบแพทย์อย่างสบายใจ มากขึ้น อย่างไรก็ตาม Big Data Analytic ยัง สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในทุกเรื่อง ไม่เพียง เฉพาะเรื่องการแพทย์เท่านั้น และเชื่อว่าเกิด ประโยชน์มหาศาลกับสังคมส่วนรวม “เรื่อง Big Data Analytic เป็นสิ่งที่ ส�ำคัญส�ำหรับเมืองไทย ทุกวันนี้มีการเก็บ ข้อมูลไว้เยอะมาก แต่ยังไม่มีการน�ำข้อมูล เหล่านั้นมาวิเคราะห์เพื่อใช้ประโยชน์ Big Data Analytic จะช่วยให้เราสามารถน�ำข้อมูล มหาศาลเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น” ดร.ศรัณย์ กล่าวทิ้งท้าย


&

Talk

ะ ก ะ

มะเร็ง

อยูอ่ ย่างไร

ให้ไกล

“มะเร็ง”

กองบรรณาธิการ

ภัยคุกคามสุขภาพอันดับหนึ่งของคนไทย เป็นภัยเงียบที่ทุกคนหวาดกลัว และเป็นภัยที่หลายคน ยังคิดและเชื่อว่าเป็น “โรคเวรโรคกรรม” แท้จริงแล้ว มะเร็ง เป็นโรคที่เราสามารถห่างให้ไกลจาก มันได้ หากมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง

วันนี้

มะเร็ ง เป็ น ปั ญ หาด้ า นสาธารณสุ ข ของทุ ก ประเทศทั่ ว โลก จากสถิ ติ จ ะพบว่ า จ� ำ นวน ผูป้ ว่ ยรายใหม่กบั จ�ำนวนผูเ้ สียชีวติ จากมะเร็งเพิม่ ขึน้ ทุกปี ส�ำหรับประเทศไทยมะเร็งเป็นสาเหตุ การตายอันดับหนึ่งมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 เฉลี่ยประมาณ 100 คน ต่อประชากร 100,000 คน ขณะที่จ�ำนวน ผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 10,200 คน อันดับสอง คือ อุบัติเหตุ อันดับสาม คือ โรคหลอดเลือดสมอง และอันดับสี่ คือ โรคหัวใจ มะเร็ง 5 อันดับที่พบมากในเพศชาย คือ มะเร็งตับและท่อน�้ำดี มะเร็งปอด มะเร็งล�ำไส้ใหญ่ และทวารหนัก มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งต่อมน�้ำเหลืองตามล�ำดับ ส่วนมะเร็ง 5 อันดับที่พบ มากในเพศหญิง คือ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งตับ มะเร็งปอด และมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ และทวารหนัก ส่วนผลกระทบในแต่ละอวัยวะก็มีความแตกต่างกัน บางอวัยวะมีแนวโน้มลดลง เช่น มะเร็งปากมดลูก ขณะที่บางอวัยวะมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น เช่น มะเร็งเต้านม และมะเร็ง ล�ำไส้ใหญ่และทวารหนัก ความเข้าใจผิดของคนไทยเกี่ยวกับโรคมะเร็ง เรามักจะเชื่อกันว่า “เป็นโรคเวรโรคกรรม” ผู้ที่ป่วยเป็นมะเร็งเกิดจากพันธุกรรม เป็นมรดกทางสายเลือดที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แต่แท้จริงแล้ว เป็น “โรคที่เกิดจากพฤติกรรมส่วนตัว” ของแต่ละบุคคลมากกว่า ▲

นายแพทย์วีรวุฒิ อิ่มส�ำราญ ผู้อ�ำนวยการสถาบันมะเร็งแห่งชาติ

June-July 2015, Vol.42 No.241

33 <<<


Talk

&

พฤติกรรมเสี่ยงมะเร็ง นายแพทย์ วี ร วุ ฒิ อิ่ ม ส� ำ ราญ ผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น มะเร็ ง แห่ ง ชาติ ให้ สัมภาษณ์กับนิตยสาร Technology & InnoMag Online ถึงสภาพการณ์ของโรคมะเร็ง ในประเทศไทย และการดูแลรักษาผูป้ ว่ ยสมัย ใหม่ที่สามารถลดจ�ำนวนผู้เสียชีวิตลงได้ “ปัจจัยที่ท�ำให้จ�ำนวนผู้ป่วยรายใหม่ เพิ่มจ�ำนวนขึ้นทุก ๆ ปี ส่วนใหญ่เกิดจาก พฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไป อาทิ การ รับประทานอาหารไขมันสูง การไม่ออกก�ำลัง กาย สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอร์ ทาน เนื้อมาก ไม่ทานผักผลไม้ เหล่านี้เป็นปัจจัย เสีย่ งทีท่ ำ� ให้เกิดมะเร็งในล�ำไส้ใหญ่และทวาร หนัก ส่วนมะเร็งเต้านมในเพศหญิง สาเหตุ เกิดจาก ผูห้ ญิงสมัยใหม่ไม่นยิ มแต่งงาน หรือ แต่งงานมีบตุ รแต่ไม่ให้บตุ รดืม่ นมแม่ เหล่านี้ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ท�ำให้เกิดมะเร็งเต้านมได้ เช่นกัน นอกเหนือจากปัจจัยแวดล้อมอื่น ในส่ ว นของมะเร็ ง ปากมดลู ก ที่ มี แนวโน้มลดลง เนือ่ งจากทราบสาเหตุคอ่ นข้าง แน่ชัดว่า เกิดจากไวรัส HPV (Human Papilloma Virus) และมีวคั ซีนส�ำหรับป้องกัน มีการ ตรวจคัดกรองมากขึน้ ท�ำให้สามารถตรวจพบ ได้ตั้งแต่ระยะเริ่มต้น โอกาสหายมีมากขึ้น” นายแพทย์วีรวุฒิ กล่าว ทั้งนี้ นายแพทย์วีรวุฒิ ยังบอกอีก ด้วยว่า มะเร็งบางชนิดรู้สาเหตุ บางชนิดไม่รู้

>>>34

June-July 2015, Vol.42 No.241

สาเหตุ แต่โดยรวมแล้วเกิดจากปัจจัยเสี่ยง 3 ประการ คือ พฤติกรรมส่วนบุคคล สิง่ แวดล้อม และกรรมพันธุ์ “สมัยก่อนบ้านเมืองไม่มีมลพิษ แต่ ปัจจุบันมลพิษมีมากมายทั้งในอากาศ ในดิน ในน�้ำ และไปสะสมในพืชและอาหารที่เรา รับประทาน ส่วนพฤติกรรมก็มีส่วนส�ำคัญ การเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถหลีกเลี่ยงได้ ดังนั้นความเชื่อที่ว่า มะเร็งเป็นโรคเวรโรค กรรม ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้ เป็น ความเชื่อที่ผิด เพราะแท้จริงแล้ว กรรมพันธุ์ มีผลเพียง 10 เปอร์เซ็นต์ ที่เหลือเป็นสิ่งแวดล้ อ มและพฤติ ก รรม โดยเฉพาะเรื่ อ ง พฤติกรรมมีผลอย่างมาก และเราสามารถ เลี่ยงได้ ด้วยการปฏิบัติตัวให้ห่างไกลจาก มะเร็ง” ปั จ จุ บั น มี ห ลายหน่ ว ยงานที่ อ อก เอกสาร หรื อ สื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ เ ผยแพร่ สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็ง รวมถึงให้ค�ำแนะน�ำวิธีปฏิบัติตัวให้ห่างไกล จากมะเร็ง ที่สถาบันมะเร็งแห่งชาติก็เช่น

เดียวกัน ได้ออกสโลแกนรณรงค์ให้คนไทย ห่างไกลมะเร็งด้วยหลัก “5 ท�ำ 5 ไม่” 5 ท�ำ คื อ ออกก� ำ ลั ง กายเป็ น นิ จ ท� ำ จิ ต แจ่ ม ใส กินผักผลไม้ให้ได้ครึ่งของอาหาร กินอาหาร หลากหลาย และตรวจร่างกายเป็นประจ�ำทุก ปี ส่วน 5 ไม่ คือ ไม่สูบบุหรี่ ไม่มั่วเซ็กส์ ไม่ดื่ม สุรา ไม่ตากแดดจ้า และไม่กินปลาน�้ำจืดดิบ เป็นหลักปฏิบัติง่าย ๆ ที่ท�ำให้ลดความเสี่ยง ในการเป็นมะเร็งได้

วิทยาการในการตรวจคัดกรองมะเร็ง

ปัจจุบันด้วยการแพทย์ที่ก้าวหน้า ท� ำ ให้ ผู ้ ป ่ ว ยสามารถรู ้ ตั ว ล่ ว งหน้ า ก่ อ นมี อาการ ซึ่ ง วิ ท ยาการที่ ว ่ า นั้ น แองโจลี่ น ่ า โจลี ดาราฮอลีวู้ดผู้โด่งดัง ก็ได้ใช้วิทยาการ ดังกล่าวในการค้นหาปัจจัยเสี่ยงในการเป็น มะเร็งของเธอ จนน�ำมาสู่การตัดสินใจตัดเต้า นมทิ้ ง ในที่ สุ ด ซึ่ ง สิ่ ง ที่ เ ธอท� ำ นั้ น เป็ น แรง บันดาลใจให้หลายคนคิดอยากตัดไฟแต่ต้น ลม แต่แท้จริงแล้วท�ำได้หรือไม่ได้อย่างไร นายแพทย์วรวุฒิ ไขข้อข้องใจว่า


&

“ณ วันนี้แม้วิทยาการทางการแพทย์ จะก้าวหน้าไปมา แต่ส�ำหรับมะเร็งแล้ว ยัง ไม่มีเครื่องมือใดที่สามารถบอกได้ชัดเจนว่า คนนีค้ นนัน้ เสีย่ งหรือไม่เสีย่ งในการเป็นมะเร็ง การตรวจทีด่ เู หมือนจะน่าเชือ่ ถือทีส่ ดุ คือ การ ตรวจหาความผิ ด ปกติ ข องยี น หรื อ รหั ส ดีเอ็นเอ ก็ยังมีข้อด้อยอยู่มากพอสมควรว่า เรารู้ แต่ไม่รู้ทั้งหมด รู้เพียงบางประเภทที่มี ฐานข้อมูลเก็บไว้ หรือที่วิทยาการก้าวไปถึง แล้ว ในยีนบางตัว ฝรั่งผิวขาว อาจรู้ว่ามันมี ความสัมพันธ์กับมะเร็งเต้านม มะเร็งรังไข่ หรือมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ เพราะเขามีการเก็บ รวบรวมฐานข้ อ มู ล ยี น ไว้ จ� ำ นวนมาก แต่ อย่ า งไรก็ ต าม ก็ เ ป็ น เพี ย งการคาดการณ์ แนวโน้มความน่าจะเป็นเท่านัน้ แต่ในคนไทย ความสัมพันธ์เหล่านี้ค่อนข้างน้อย เนื่องจาก ฐานข้อมูลของเรายังมีน้อยอยู่ อย่างไรก็ตาม ต้องแยกกันระหว่าง การตรวจสุขภาพระดับยีน ตรวจไปเพื่ออะไร เป้าหมายก็เพื่อการวางแผนป้องกัน ดูแลตัว เอง กับการตรวจยีนในคนที่ป่วยแล้ว เพื่อหา

ว่า มี Receptor ที่มียีนตัวนั้นหรือไม่ในเซลล์ มะเร็ง เพือ่ ทีจ่ ะได้ให้ยาทีเ่ ฉพาะเจาะจงลงไป ฆ่าเซลล์นนั้ ยาทีเ่ ขาเรียกว่า Target Therapy เป็นวิธีการรักษาที่จ�ำเพาะเจาะจงที่เซลล์ ร้าย ซึ่งให้ผลดีกว่าการให้ยาแบบหว่านแห สรุปว่าการใช้วิทยาการตรวจระดับ ยีน เพือ่ ค้นหาแนวโน้มว่าคน ๆ นัน้ จะมีความ เสี่ยงเป็นมะเร็งหรือไม่ ปัจจุบันยังมีการใช้

Talk

น้อยมาก เหตุผลเพราะไม่ใช่เรื่องง่ายที่เราจะ เดินเข้าไปในโรงพยาบาลและขอเจาะเลือด เพื่ อ ดู ว ่ า ตั ว เองมี โ อกาสเป็ น มะเร็ ง หรื อ ไม่ เพราะวิทยาการไปไม่ถึง แต่จะใช้กับกรณี ผู้ที่ป่วยแล้วมากกว่า เช่น การตรวจหารหัส พันธุกรรมของเซลล์มะเร็งว่า เป็นบวกกับยีน ตัวนัน้ หรือไม่ ถ้าเป็น การให้ยาทีพ่ งุ่ การรักษา ไปที่ยีนตัวนั้นเลยก็จะได้ประโยชน์มากกว่า” นายแพทย์วรวุฒิ กล่าว อย่างไรก็ตาม เรื่องเทคนิคหรือวิธี การรักษาทั้งหมดขึ้นอยู่กับการวินิจฉัยของ แพทย์เป็นหลัก การรักษาโรคมะเร็ง จ�ำเป็น ต้องมีกระบวนการรักษาแบบเป็นขัน้ เป็นตอน โดยปกติการรักษาโรคมะเร็งจะมี 3 วิธีหลัก ได้แก่ การผ่าตัด ให้ยา และฉายแสง ส่วนวิธี ไหนให้ ผ ลดี ที่ สุ ด ขึ้ น อยู ่ กั บ สภาพร่ า งกาย ผู้ป่วยกับระยะของการเป็นมะเร็งเป็นหลัก “การผ่าตัด ให้ยา และฉายแสง เป็น วิธีการรักษามาตรฐาน โดยในแต่ละวิธีก็มี เทคนิครายละเอียดปลีกย่อยอีกมาก การ เลือกใช้เทคนิควิธกี ารรักษาของแพทย์ ขึน้ อยู่ กับว่าเป็นมะเร็งที่อวัยวะใด ก็จะมีวิธีการ รักษาทีแ่ ตกต่างกัน นอกจากอวัยวะอะไรแล้ว ต้องด้วยว่าระยะการเป็นด้วยว่าอยู่ในระยะ ไหน และสภาพร่างกายคนป่วยเป็นอย่างไร ปัจจุบันแม้ว่าจะมีการคิดค้นเทคนิค วิธีการรักษาโรคมะเร็งหลากหลายรูปแบบ

June-July 2015, Vol.42 No.241

35 <<<


Talk

&

เช่น การผ่าตัด ทั้งการผ่าตัดแผลใหญ่ปกติ หรือผ่าตัดผ่านกล้อง การให้ยาคีโม เดิมจะให้ ทางหลอดเลือดที่แขน มีการพัฒนาเป็นการ ให้ยาเฉพาะจุด ส่วนการฉายแสง หรือการใช้ รังสีในการรักษา ก็มีหลายวิธี ฉายรังสี จาก รั ง สี ภ ายนอก โดยใช้ เ ครื่ อ งฉายแสงแบบ ธรรมดาทัว่ ไป กับเครือ่ งฉายแสงทีจ่ ำ� เพาะไป ทีก่ อ้ นมะเร็ง ส่วนรังสีภายในก็มกี ารใช้เทคนิค การฝังแร่ ในร่างกายเพื่อให้แร่แผ่รังสีออกมา ท�ำลายเนือ้ ร้ายในร่างกาย หรือแม้กระทัง่ การ ใช้สารกัมมันตภาพรังสีละลายน�้ำดื่ม การใช้ ความร้อน ความเย็น หรือแม้กระทั่งคลื่นวิทยุ ในการรักษา แต่ต้องเข้าใจว่า วิธีส่วนใหญ่ที่ กล่าวมานัน้ ล้วนอยูใ่ นขัน้ การทดลอง ยังไม่ใช่ วิธีการรักษามาตรฐาน”

ปัจจัยที่ทำ�ให้หายขาดจากโรคมะเร็ง

ผู้ที่เป็นโรคมะเร็งโดยส่วนมากแล้ว มักเสียชีวติ แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีผทู้ สี่ ามารถ รอดชีวติ หรือหายขาดจากโรคมะเร็งได้เช่นกัน ในเรื่องนี้ นายแพทย์วรวุฒิ อธิบายว่า ผู้ป่วย จะรอดชีวิตหรือหายขาดจากมะเร็งได้นั้น มี ตัวแปรส�ำคัญอยู่ 2 ประการ ได้แก่ ประการ แรก สภาพร่างกายของผูป้ ว่ ย หากยังแข็งแรง สภาพจิตใจดี และให้ความร่วมมือในการ รักษาเป็นอย่างดี มีชัยไปกว่าครึ่ง ประการที่ สอง ตัวของเนื้อร้าย หากเจอในระยะเริ่มต้น และได้รบั การรักษาอย่างทันท่วงที ก็มโี อกาส รอดสูง ประกอบกับเทคโนโลยีในการรักษา และวินิจฉัยโรคที่ดีขึ้น แต่ที่ส�ำคัญที่สุด คือ การตรวจสุขภาพเป็นประจ�ำ ก็จะช่วยให้รู้ตัว ก่อนที่จะมีอาการ ในหลายประเทศที่มีผลการรักษาที่ดี และมีอัตรารอดสูงเกิดจากผู้ป่วยได้รับการ ตรวจสุขภาพตามระยะ ตามนโนบายรัฐที่ สนับสนุนด้านงบประมาณ บางประเทศทีไ่ ม่มี การสนับสนุนเลย อย่างประเทศไทย ส่วนมาก มักรอให้มอี าการก่อนค่อยเข้ามารักษา แต่จะ มีการท�ำเฉพาะกับมะเร็งบางตัวทีเ่ ขาค�ำนวณ แล้วว่า คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ เช่น มะเร็งปาก-

>>>36

June-July 2015, Vol.42 No.241

มดลูก จากเดิมทีเ่ คยครองอันดับหนึง่ ปัจจุบนั หล่นมาอันดับสอง เนือ่ งจากมีการคัดกรองฟรี ตรวจง่าย เป็นก็รักษา ท�ำให้โอกาสหายมีสูง อย่างไรก็ตาม ธรรมชาติของมะเร็งมี ความดุร้ายต่างกัน บางอวัยวะรักษาเท่าไหร่ ก็ไม่ค่อยได้ผลดี เช่น ตับอ่อนและปอด ต่อม น�ำ้ เหลืองหรือเม็ดเลือดขาว ขณะทีม่ ะเร็งปาก มดลูก มะเร็งเต้านม เป็นมะเร็งที่โตช้า ตรวจ พบง่าย แต่หากเป็นมะเร็งล�ำไส้ ตับ ปอด ต้อง ใช้วิธีส่องกล้อง ฉีดสี โอกาสตรวจพบจึงยาก ส่งผลให้การรักษายิ่งยากขึ้น ในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นมะเร็งรักษาหาย แล้วกลับมาเป็นใหม่อีกครั้งนั้น นายแพทย์ วรวุ ฒิ ให้ เ หตุ ผ ลว่ า การจะยื น ยั น ได้ ว ่ า หายขาดจากมะเร็งต้องใช้เวลาในการติดตาม รักษาอย่างน้อย 5 ปีขึ้นไป บางอวัยวะต้อง รอ 10 ปี แต่ทบี่ อกหายแล้ว ไม่หายจริง แต่อยู่ ในระยะการติดตามรักษา บางรายมะเร็งกลับ มาใหม่ บางครัง้ ไม่ได้เป็นทีจ่ ดุ เดิม แพทย์ตอ้ ง ตรวจวินิจฉัยใหม่ว่าเป็นมะเร็งตัวเก่าหรือ ตัวใหม่ เพื่อจะได้วางแผนการรักษาอีกครั้ง ดังนั้นหากไม่อยากให้มะเร็งกลับมา ในระยะ ติ ด ตามการรั ก ษาผู ้ ป ่ ว ยต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม ค�ำแนะน�ำของแพทย์อย่างเคร่งครัด ส่วนใหญ่แล้ว ผู้ป่วยมักจะมีความ อ่ อ นไหวทางการรั บ รู ้ ม าก เวลาที่ มี ก าร โฆษณาเรื่องอาหารเสริม หรือแนวทางการ รักษาใหม่ ๆ ทีม่ กี ารอวดอ้างสรรพคุณก็อยาก ลอง แต่ต้องเข้าใจว่า มะเร็งในแต่ละคนมี ความแตกต่างทั้งปัจจัยทางด้านร่างกายของ ผูป้ ว่ ย อวัยวะ ลักษณะ และระยะของการเกิด เนื้อร้าย หากจะคาดหวังว่า ใช้วิธีเดียวกันนี้ รักษาให้หายเหมือนกันไม่ได้ เพราะการรักษา โรคมะเร็ง เป็นการรักษาเฉพาะบุคคล วิธีการ รักษาแบบหนึ่งอาจจะเหมาะกับมะเร็งชนิดนี้ แต่ไม่เหมาะกับมะเร็งชนิดอื่น เป็นต้น ดังนั้น จึงอยากแนะน�ำให้ผู้ป่วยรักษาแผนปัจจุบัน เป็นหลัก ส่วนการแพทย์ทางเลือกหากอยาก ท�ำคู่ขนานก็สามารถท�ำได้ แต่อย่าทิ้งการ แพทย์แผนปัจจุบัน

ภัยคุกคามผู้ป่วยโรคมะเร็ง

สถาบันมะเร็งแห่งชาติ นอกจากจะ ให้บริการในด้านการตรวจรักษามะเร็งให้กับ ประชาชนแล้ว บทบาทหนึ่งของสถาบัน คือ การสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ผ่าน กิจกรรมรณรงค์ตลอดทัง้ ปี และการสือ่ สารใน หลากหลายรูปแบบ อีกมุมหนึ่งยังมีการจัด อบรมให้ ค วามรู ้ กั บ ประชาชนทั่ ว ไป และ บุคลากรทางการแพทย์ เพื่อตามให้ทันกับ เทคโนโลยีและการรักษามะเร็งในรูปแบบ ใหม่ ๆ ซึ่งปัจจุบันทั้งโรงพยาบาลเครือข่าย รัฐบาลและเอกชน ให้ความส�ำคัญกับโรค ดังกล่าว มีการจัดตั้งศูนย์บริการเฉพาะทาง เพื่อให้บริการ อย่ า งไรก็ ต าม ปั ญ หาที่ ก� ำ ลั ง เป็ น ภัยคุกคามระบบสาธารณสุขของชาติอยู่ใน ขณะนี้ คือ มีสถาบันการแพทย์ทางเลือกจาก ต่างประเทศเข้ามาท�ำการตลาดในไทย โดยมี การโฆษณาชวนเชื่อในเรื่องการรักษาโรค มะเร็งวิถีใหม่ ซึ่งเป็นวิธีที่ยังไม่ได้การยอมรับ ว่าเป็นวิธีการรักษามาตรฐาน ซึ่งนอกจากจะ เป็นอันตรายต่อตัวผู้ป่วยเองแล้ว ยังเป็น อันตรายต่อคนรอบข้าง โดยล่าสุด กระทรวงสาธารณสุขออก มาประกาศเตือนผู้ป่วยที่จะเดินทางไปฝังแร่ รักษาโรคมะเร็งแบบถาวรที่ต่างประเทศ ให้ ศึกษาข้อมูลให้ดกี อ่ นตัดสินใจ ในกรณีผปู้ ว่ ย มะเร็งทีเ่ ดินทางไปรักษาทีต่ า่ งประเทศมาแล้ว ขอให้ปฏิบตั ติ วั ตามค�ำแนะน�ำของแพทย์อย่าง เคร่งครัด เพือ่ ป้องกันการแผ่รงั สีให้คนใกล้ชดิ โดยเฉพาะหญิงมีครรภ์และเด็กอันตรายมาก หากไม่แน่ใจว่าได้รบั การฝังแร่ไอโอดีน-125 มา หรือไม่ ขอให้ตดิ ต่อเพือ่ รับการตรวจสอบได้ที่ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ และโรงพยาบาลมะเร็ง ภูมิภาคทั้ง 7 แห่ง ทั่วประเทศฟรี ในกรณีที่ ผู้ป่วยได้รับการฝังแร่มาแล้ว และต้องเข้ารับ การรักษาต่อเนือ่ งในโรงพยาบาลในประเทศไทย ขอให้แจ้งข้อมูลให้โรงพยาบาลทราบด้วย เพือ่ ประโยชน์ในการดูแลรักษา


&

Talk

“แผ่นเซลล์กระดูกอ่อน”

ทางเลือกเพือ่ การรักษาโรคข้อเสือ่ ม กองบรรณาธิการ

โรค

ข้อเสื่อม เป็นโรคที่มักพบได้บ่อยในผู้สูงอายุ สาเหตุเนื่องมาจากข้อมีการเสื่อมไปตามอายุ หรือบางกรณีเกิด การเสียหายจากอุบัติเ หตุ สร้างความเจ็บปวดทรมานให้กับผู้ป่วยเป็นอย่างมาก วิธีการรักษาที่ได้รับความ นิยม คือ การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า โดยใช้ข้อเทียมที่ท�ำจากไทเทเนียมเข้าไปใส่แ ทน แต่นั่นคือ การรักษาที่ปลายเหตุ ขณะที่ การรักษาที่กลางเหตุ คือ การฉีดเซลล์กระดูกอ่อนลงไปที่เข่าโดยตรง ซึ่งวิธีนี้ก็พบว่า ยังไม่สามารถควบคุมให้เซลล์เกาะ ตรงจุดที่ต้องการได้

จาก

อุปสรรคดังกล่าว น�ำมาสู่การพัฒนาเทคนิคใหม่ในการรักษาโรคข้อเสื่อม โดยทีมนักวิจัยไทย น�ำโดย รศ.ดร.ขวัญชนก พสุวัต แห่งภาควิชาวิศวกรรมชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ที่ได้ทุ่มเทพัฒนาเทคนิคการสร้างเซลล์กระดูกอ่อนแบบแผ่น เพื่อใช้ในการรักษา โรคข้อเสื่อม ซึ่งทีมวิจัยเชื่อว่าวิธีนี้จะช่วยให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น และคาดว่าจะสามารถทดลองในคน ได้ในอีก 2 ปีข้างหน้า รศ.ดร.ขวัญชนก พสุวัต อาจารย์นักวิจัยฝีมือดีอีกท่านหนึ่ง ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานหลักสูตรวิศวกรรมชีวภาพ และอาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มจธ.ให้สัมภาษณ์กับทีมนิตยสาร ถึงเส้นทางการเป็นอาจารย์นักวิจัยที่ น�ำมาสู่การคิดค้นเทคนิคการรักษาโรคข้อเสื่อมแบบใหม่ที่อาจารย์ภูมิใจและมุ่งหวังว่า ผลงานนี้จะถูกน�ำไปใช้เพื่อสร้างประโยชน์ให้กับสังคม และเศรษฐกิจชาติโดยรวม “ตัง้ แต่เด็กมาแล้ว อาจารย์ฝนั อยากเป็น หมอ แต่กช็ อบค�ำนวณมาก ท�ำให้ลงั เลว่าจะเรียน หมอดีไหม เพราะถ้าเรียนหมอก็ต้องทิ้งค�ำนวณ ▲

รศ.ดร.ขวัญชนก พสุวัต

ประธานหลักสูตรวิศวกรรมชีวภาพ ภาควิชาวิศวกรรมชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)

June-July 2015, Vol.42 No.241

37 <<<


Talk

&

ไป” รศ.ดร.ขวัญชนก เปิดประเด็นการพูดคุย ด้วยการเล่าย้อนถึงการตัดสินใจครัง้ ส�ำคัญใน วัยเด็กทีเ่ ปลีย่ นแปลงชีวติ และน�ำมาสูก่ ารเป็น ทั้งอาจารย์และนักวิจัยในวันนี้ “จ�ำได้ว่าในช่วงที่เรียนมัธยมศึกษา ปีที่ 5 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เปิดสอบทุนในสาขาใหม่ คือ สาขาวิศวกรรม ชีวภาพ (bio engineering) จึงไปสมัครสอบ เพราะมองว่ า น่ า จะเป็ น อะไรที่ เ หมาะกั บ ตัวเอง คือ ได้เรียนค�ำนวณด้วย และยังมีเรือ่ ง ของชีวภาพทางการแพทย์รวมอยู่แล้ว และ ปรากฏว่าสอบติด ได้ทุนเรียนต่อปริญญาตรี โท และเอก ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา” ในช่วงทีเ่ รียนอยูต่ า่ งประเทศ เป็นช่วง ชีวติ ทีท่ ำ� ให้ รศ.ดร.ขวัญชนก ได้เรียนรูว้ า่ งาน ทางด้านวิศวกรรมเป็นศาสตร์ที่น่าทึ่งมาก สามารถน�ำไปใช้ได้กบั ทุก ๆ สาขา เป็นต้นทาง ที่ท�ำให้เกิดเทคโนโลยีใหม่ ๆ ขึ้นมากมาย “ในช่ ว งที่ เ รี ย นปริ ญ ญาตรี ก็ ไ ด้ มี โอกาสช่วยอาจารย์ท�ำงานวิจัยทางด้านวิศวกรรมเนื้อเยื่อ (tissue engineering) โดย การน�ำเอาเซลล์กับเจลมาผสมกัน เพื่อท�ำให้ เกิดเป็นเนือ้ เยือ่ ขึน้ มา นอกจากนีย้ งั ได้รว่ มท�ำ วิจัยเรื่องระบบการน�ำส่งยารักษาโรคมะเร็ง (drug delivery) ท�ำวิจัยเรื่องเทคนิคการ ทดสอบยาโดยใช้เซลล์หลายเซลล์มาต่อกัน >>>38

June-July 2015, Vol.42 No.241

เพือ่ เลียนแบบสภาพแวดล้อมภายในร่างกาย มนุษย์ แต่เนื่องจากงานวิจัยทางด้านการ ทดสอบยา โดยใช้ เ ซลล์ เ ป็ น งานวิ จั ย ที่ ใ ช้ เทคโนโลยีขั้นสูง และจะต้องท�ำภายในห้อง ปลอดเชื้ อ (clean room) ซึ่ ง ในสมั ย นั้ น ประมาณ 10 กว่าปีที่ผ่านมา ประเทศไทยยัง ไม่มี ดังนั้นเมื่อเรียนจบกลับมาเป็นอาจารย์

ที่นี่ จึงหันมาท�ำวิจัยเรื่องการน�ำส่งยา (drug delivery) เนือ่ งจากสามารถท�ำได้โดยใช้ทรัพยากรภายในประเทศ และเราก็เริ่มต้นพัฒนา ในส่วนที่เป็นพอลิเมอร์ที่ใช้ในการน�ำส่งยา” การวิจัยและพัฒนาระบบน�ำส่งยา ถือได้ว่าประสบความส�ำเร็จระดับหนึ่ง กล่าว คือ ทีมวิจัยสามารถพัฒนาระบบน�ำส่งยา ธรรมดา มาเป็นระบบน�ำส่งยาที่เน้นที่จุดเป้า หมายโดยเฉพาะ แต่ด้วยปัญหาอุปสรรคที่ เกิดขึ้นระหว่างทาง ท�ำให้ทีมวิจัยต้องกลับไป ทบทวนแก้ไข “เราศึกษาเรื่องระบบน�ำส่งยารักษา มะเร็งเต้านม ซึง่ เป็นโรคทีผ่ หู้ ญิงไทยเป็นเยอะ มาก เราท�ำการศึกษาว่า เซลล์มะเร็งเต้านมมี Receptor อะไรบ้างที่อยู่ในเซลล์นั้น และเรา ก็เอาโปรตีนที่จะจับกับ Receptor นั้น มาใส่ ในตัวน�ำส่งยา มันก็จะสามารถจับกันได้ เป็น Antigen-Antibody ซึ่งเราพิสูจน์แล้วว่าด้วย วิธีนี้จะช่วยให้การน�ำส่งยา ไปสู่เป้าหมายได้ ดีขึ้น และไม่เกิดผลกันเซลล์อื่นที่เป็นเซลล์ดี ปัจจุบันงานวิจัยนี้พัฒนาจนถึงขั้นการน�ำไป ทดลองในสั ต ว์ ท ดลอง แต่ เ นื่ อ งจากการ ทดลองในสัตว์ให้ผลไม่ดีเท่าที่ควร เราจึง จ� ำ เป็ น จะต้ อ งกลั บ มาปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขใหม่ ท�ำให้ตอ้ งชะลอโครงการวิจยั นีไ้ ว้กอ่ น รวมทัง้ เรื่องทุนวิจัยก็เป็นอีกอุปสรรคหนึ่งที่ท�ำให้เรา เดินหน้าต่อไปได้ยาก”


&

ภายหลั ง จากชะลอโครงการวิ จั ย ระบบการน� ำ ส่ ง ยาไว้ ชั่ ว คราว เพื่ อ ค้ น หา ปัญหา ทีมวิจัยก็ได้รับโจทย์วิจัยใหม่จาก ศ.นพ.สารเนตร์ ไวคะกุล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ด้านออร์โธปิดิกส์ แห่งโรงพยาบาลศิริราช เกี่ยวกับการพัฒนาแผ่นเซลล์กระดูกอ่อน “เนื่องจากในปัจจุบัน เวลาที่คนเล่น กีฬาหนัก ๆ แล้วเป็นโรคข้อเสื่อม และอาการ ข้อเสื่อมในผู้สูงอายุ สิ่งที่หายไป คือ กระดูก อ่อน และร่างกายไม่สามารถผลิตใหม่มา ทดแทนได้ วิธีการรักษาอย่างหนึ่งคือ การฉีด เซลล์กระดูกอ่อนกลับเข้าไปใหม่ ปัญหาของ การฉีดเข้าไป คือ เกิดการกระจายตัวของเซลล์ กระดูกอ่อนท�ำให้ไม่สามารถควบคุมให้อยูใ่ น พืน้ ทีท่ ตี่ อ้ งการได้ ศ.นพ.สารเนตร์ จึงให้ไอเดีย ว่า หากเราสามารถท�ำเป็นแผ่นเนื้อเยื่อแปะ ลงไปเลยจะให้ผลที่ตรงเป้าหมายดีกว่า นี่จึง เป็นที่มาของการที่เราเริ่มหันมาศึกษาเรื่อง

ของตัวแผ่นเซลล์กระดูกอ่อน” งานวิจัยชิ้นนี้ เป็นการพัฒนาเทคนิค วิธกี ารเติมเซลล์กระดูกอ่อนส่วนทีส่ กึ หรอด้วย การแปะเข้าไปแทนการผ่าตัดข้อเข่าทั้งหมด ทิ้ง โดยการสร้างเป็นแผ่นเซลล์กระดูกอ่อน ซึ่งทางทีมวิจัยได้คิดค้นวิธีการสร้างเนื้อเยื่อ สามมิติจากแผ่นเซลล์หลายชั้น เรียกว่า Cell Sheet Engineering โดยขั้นตอนแรก แพทย์ จะตัดเนื้อเยื่อจากกระดูกอ่อนบางส่วนของ ผูป้ ว่ ยออกมาเล็กน้อย เพือ่ น�ำไปเพาะเลีย้ งใน ห้องปฏิบัติการเพื่อเพิ่มจ�ำนวนในระดับเซลล์ ตามขนาดที่ต้องการ หรือตามอาการของ ผูป้ ว่ ย ใช้เวลาในการเพาะเลีย้ งประมาณ 2-3 สัปดาห์ “การเลีย้ งเซลล์กระดูกอ่อนนัน้ เราจะ ท�ำการเลี้ยงเซลล์บนพอลิเมอร์ที่ตอบสนอง ต่ อ อุ ณ หภู มิ (temperature-responsive polymer) ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็น

Talk

ระดับอุณหภูมิที่จะท�ำให้เซลล์เจริญเติบโต เมื่อเซลล์โตเต็มที่เรียงตัวเป็นชั้นเดียวแล้วจึง ลดอุณหภูมลิ ง 20 องศาเซลเซียส เพือ่ ให้เซลล์ หลุดออกมาเป็นแผ่น โดยใช้เจลาตินมาช่วย ในการลอกเซลล์เพื่อให้หลุดออกมาเป็นแผ่น อย่างสมบูรณ์ จากนั้นน�ำแผ่นเซลล์หลาย ๆ แผ่นมาประกบกัน ท�ำให้เกิดเป็นแผ่นเซลล์ที่ มีความหนา สามารถน�ำไปปลูกถ่ายได้ เพราะ โดยธรรมชาติแล้วตามสรีระของกระดูกอ่อน นั้นมีความบางเพียง 2-3 มิลลิเมตร ซึ่งเซลล์ แต่ละแผ่นจะบอบบางมาก จึงต้องน�ำมา ประกบกันอย่างน้อย 3 ชั้นก็เพียงพอที่แพทย์ จะสามารถหยิบหรือจับ เพื่อน�ำไปแปะตรง บริเวณเนื้อเยื่อที่ถูกท�ำลายได้ จากนั้นแผ่น เซลล์กจ็ ะสร้างโปรตีนขึน้ มาเพิม่ จนกลายเป็น เนื้อเดียวกัน” ด้วยวิธีการปลูกถ่ายด้วยแผ่นเซลล์นี้ จะช่วยท�ำให้จ�ำนวนเซลล์กระดูกอ่อนที่ดีมี

June-July 2015, Vol.42 No.241

39 <<<


Talk

&

ปริมาณมากขึ้น และแผ่นเซลล์ที่ลอกออกมา มีโปรตีนที่ส�ำคัญที่ช่วยท�ำให้แผ่นเซลล์เกาะ ติ ด กั บ เนื้ อ เยื่ อ ได้ ง ่ า ยขึ้ น เกิ ด เป็ น เนื้ อ เยื่ อ กระดูกอ่อนทีม่ คี ณ ุ สมบัตใิ กล้เคียงกับกระดูก อ่อนปกติ ซึ่งวิธีการรักษาแบบนี้จะช่วยแก้ ปัญหาเรื่องอาการปวดเข่าและท�ำให้กระดูก อ่อนกลับมาท�ำงานได้เหมือนเดิม ท�ำให้ผปู้ ว่ ย สามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ ซึ่งจะเป็นทาง เลือกใหม่ส�ำหรับการรักษาในอนาคต “การผ่าตัดเปลีย่ นข้อเป็นการรักษาที่ ปลายเหตุแล้ว การทีเ่ ริม่ มีอาการปวดแสดงว่า ก�ำลังมีปัญหาเรื่องของกระดูกอ่อน ตอนแรก ทีร่ สู้ กึ ปวดน้อย เพราะกระดูกอ่อนหลุดออกมา น้อย ซึ่งถ้าหากไม่ได้รับการรักษาตั้งแต่ตอน เริ่มปวด ก็จะค่อย ๆ ลามไปเรื่อย ๆ จนถึงจุด ที่ไม่สามารถรักษาได้แล้ว แพทย์ก็จะแนะน�ำ ให้ผา่ ตัดเปลีย่ นข้อ เวลาผ่าตัด แพทย์กจ็ ะตัด กระดูกออกรวมทัง้ กระดูกอ่อนด้วย แล้วใส่ขอ้ เทียมลงไปแทนที่ อย่างไรก็ตาม ข้อเทียม มีอายุการใช้งานประมาณ 10-15 ปี เพราะ

>>>40

June-July 2015, Vol.42 No.241

ฉะนั้นหากว่าเราเปลี่ยนข้อกระดูกเร็วเกินไป เรามีโอกาสที่จะเปลี่ยนอีกรอบหนึ่ง จุดนี้เป็น จุดที่เราต้องสื่อสารให้ผู้ป่วยได้ทราบ และหัน มาดูแลตนเองตัง้ แต่เนิน่ ๆ การผ่าตัดเพือ่ แปะ แผ่นเซลล์กระดูกอ่อนเข้าไปจะเป็นทางเลือก หนึ่งในการรักษาโรคข้อเสื่อมในอนาคต” ส�ำหรับงานวิจัยที่ทีมวิจัยนี้มองว่าจะ ด�ำเนินการในอนาคต คือ การการน�ำเอาเซลล์ ต้นก�ำเนิด (stem cell) มาเพาะเลีย้ งและสร้าง เป็นแผ่นเซลล์กระดูกอ่อน เพือ่ น�ำไปแปะทีเ่ ข่า ก็จะสามารถควบคุมความเสี่ยงได้ “การผ่าตัดเพือ่ แปะเซลล์กระดูกอ่อน จะให้ผลดีหรือไม่ ขึน้ อยูก่ บั ร่างกายของผูป้ ว่ ย ด้วย คือ ร่างกายต้องยอมรับ อีกประการหนึ่ง คือ เซลล์ที่เอามาท�ำเป็นเซลล์อ่อนหรือเซลล์ แก่ หากเป็นเซลล์อ่อนก็จะสามารถท�ำงานได้ ดี แต่หากเป็นเซลล์แก่ โอกาสที่จะกลับมาดู เหมือนเดิมค่อนข้างเป็นไปได้ยาก อีกทาง เลือกหนึ่ง คือ เราจะเอาสเต็มเซลล์มาใช้ โดยทีเ่ ราจะไม่แปะเป็นแผ่นสเต็มเซลล์ แต่จะ เอาสเต็มเซลล์มาเพาะเลี้ยงในห้องแล็ปให้ กลายเป็นกระดูกอ่อนก่อน แล้วแปะกลับ

เข้าไปในลักษณะเป็นกระดูกอ่อนไป ซึ่งจะ สามารถควบคุมความเสี่ยงได้ เพราะรู้ว่า แปะอะไรเข้าไป แนวคิดนีก้ เ็ ป็นงานทีเ่ รามอง ว่าจะท�ำวิจัยในอนาคต ส่วนงานวิจัยที่ก�ำลัง ท�ำอยู่นี้เราพยายามที่จะเข้าสู่งานวิจัยทาง คลินิกให้ได้ เพราะหากเราสามารถท�ำให้งาน วิจัยนี้ประสบความส�ำเร็จและถูกน�ำไปใช้ใน การรักษาจะสร้างประโยชน์ให้กับประชากร ไทยเป็นอย่างมาก ในฐานะนักวิจัยเราคงไม่ หวังผลหรือมองสิ่งที่จะเกิดขึ้นในระยะ 2-3 ปี แต่เรามองไปในอนาคต 5-10 ปี ที่งานวิจัย ทางการแพทย์จะเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของประเทศไทยด้วยซ�้ำไป เพราะนั่นคือสิ่งที่ เกิดขึ้นแล้วในทวีปยุโรป และสหรัฐอเมริกา งานด้ า นการแพทย์ เ ป็ น งานที่ ส� ำ คั ญ ใน การผลั ก ดั น เรื่ อ งจี ดี พี ข องประเทศ อี ก ทั้ ง มีรีเทิร์นที่สูงมาก เพราะไม่จ�ำเพาะคนใน ประเทศเท่านั้นที่จะได้ประโยชน์ แต่จะเป็น ประโยชน์ต่อระบบสาธารณสุขของโลกด้วย” จากผลงานวิจัยดังที่กล่าวไว้ข้างต้น นี้ ท�ำให้ รศ.ดร.ขวั ญ ชนก พสุ วั ต ได้รับ ทุนวิจัยลอริอัลเพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์ (for woman in Science) ในสาขาวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ ถือเป็นหนึ่งในห้านักวิจัยหญิงของ ไทยที่ได้รับทุนดังกล่าว แม้ปัจจุบันผลงาน วิจัยนี้จะสามารถแยกเซลล์กระดูกอ่อนที่มี คุณภาพออกมาและน�ำไปเลีย้ งเพิม่ จ�ำนวนใน ห้องปฏิบัติการสร้างเป็นแผ่นเซลล์ได้หลาย ชั้นและเซลล์ที่ได้สามารถผลิตคอลลาเจน ชนิดที่ 2 ทีเ่ ป็นโปรตีนส�ำคัญในการสร้างความ แข็งแรงให้กับกระดูกอ่อนได้ แต่ยังต้องมี การศึกษาต่อไปถึงความเป็นไปได้ของการ ปลูกถ่ายแผ่นเซลล์กระดูกอ่อนเพิม่ อาทิ เรือ่ ง ของความสะอาด การปนเปือ้ นของแบคทีเรีย การเคลื่อนย้ายเซลล์ และความสามารถของ เซลล์ในการเกาะติดกับเนื้อเยื่อกระดูกอ่อน ที่ ส� ำ คั ญ ต้ อ งน� ำ ไปวิ จั ย ต่ อ ทางคลิ นิ ก ซึ่ ง คาดว่าจะเกิดขึ้นได้จริงในอีก 2 ปีข้างหน้า


&

Talk

มิตใิ หม่ในการดูแลสุขภาพ ด้วยแนวคิด“ภูมส ิ มดุล”(BIM: กองบรรณาธิการ

Balancing Immunity)

“Hippocrater”

ปราชญ์ชาวกรีก เคยกล่าวไว้เมื่อกว่า 2,500 ปีที่แล้ว ว่า “Let Food be thy Medicine : ให้อาหารเป็นยาของท่าน” และจากความรู้ ในปัจจุบันท�ำให้เราเข้าใจได้ว่า พื้นฐานของค�ำกล่าวนี้มาจากผลของสารอาหารที่มีต่อการท�ำหน้าที่ของอวัยวะ ต่าง ๆ ภายในร่างกายนั่น เอง ในหลายทศวรรษต่อมา นักภูมิคุ้มกันวิทยาเริ่มศึกษาหน้าที่ของเม็ดเลือดขาว ในการดูแลสุขภาพ และจากการศึกษาเม็ดเลือดขาวอย่างลึกซึ้ง พบว่า ธรรมชาติได้สร้างเม็ดเลือดขาว 2-5 หมื่น ห้าพันล้านเม็ด เพื่อท�ำหน้าที่หลั่งสารที่ท�ำหน้าที่ต่าง ๆ ภายในร่างกาย และจากองค์ความรู้ดังกล่าวนี้ถูกพัฒนา ต่อยอด จนกระทั่งกลายเป็นศาสตร์ด้าน “ภูมิคุ้มกันบ�ำบัด” (immunotherapy)

จาก

ปรัชญาของ Hippocrater บวกกับความรู้ด้านภูมิคุ้มกันวิทยา ท�ำให้มีการค้นหาว่า องค์ประกอบของพืชชนิดใด ท�ำหน้าที่อย่างไร และจะมีวิธีไหนบ้าง ที่สามารถสกัดเอาสาร เหล่านั้นออกมาใช้ประโยชน์ได้บ้าง และมังคุดก็เป็นพืชชนิดหนึ่งที่ถูกค้นพบว่ามีสารที่เป็น ประโยชน์ต่อการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย โดยเป็นผลที่เกิดจากการทุ่มเทศึกษาวิจัย พืชสกุลมังคุดและอื่น ๆ มายาวนานกว่า 40 ปี ของนักวิทยาศาสตร์ไทย จนค้นพบ วิธีการสกัดสารที่มีคุณค่าจากธรรมชาติมาสร้างภูมิคุ้มกันแก่ร่างกาย ทั้งยังช่วย บรรเทาโรคร้ายแรง เป็นมิตใิ หม่ในการดูแลสุขภาพด้วยแนวคิด “ภูมสิ มดุล” (BIM: Balancing Immunity) ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ วิริยะจิตรา ประธานกรรมการบริหารและ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอเชียนไฟย์โตซูติคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ APCO อดีตอาจารย์นักวิจัยในมหาวิทยาลัยชั้นน�ำหลายแห่ง ปัจจุบันผันตัวเองสู่ ▲

ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ วิริยะจิตรา ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการ บริษัท เอเชียนไฟย์โตซูติคอลส์ จ�ำกัด (มหาชน)

June-July 2015, Vol.42 No.241

41 <<<


Talk

&

เส้นทางธุรกิจ ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารและความงามจากธรรมชาติครบ วงจร โดยทัง้ หมดเกิดจากความเพียรพยายาม มุ่งมั่น จดจ่อ และกัดไม่ปล่อยกับงานวิจัย เพียงหนึ่งเดียว คือ มังคุด มานานร่วม 40 ปี

การบรรจบกันของนักวิทยาศาสตร์ กับภูมิปัญญาชาวบ้าน

ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ วิริยะจิ ต รา อดีตนักเรียนทุนโคลอมโบ ที่สนใจ ศึกษาด้านเคมีอินทรีย์ ด้วยหวังว่าสักวันหนึ่ง จะมี โ อกาสใช้ ค วามรู ้ ด ้ า นนี้ ใ นการพั ฒ นา สมุนไพรไทย ภายหลังจบปริญญาเอก ได้กลับ มาท� ำ งานใช้ ทุ น ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น (มข.) เป็นแห่งแรก ก่อนทีจ่ ะย้ายไปรับราชการ ที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มอ.) ที่นี่เอง ที่ท�ำให้ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ ได้เริ่มต้น ศึ ก ษาเรื่ อ งมั ง คุ ด อย่ า งจริ ง จั ง โดยการจุ ด ประกายของภารโรงประจ�ำห้องแล็ป “ชาวบ้านที่ภาคใต้เขารู้กันโดยทั่วไป ว่า มังคุดใช้เป็นยาได้ แต่คนที่จุดประกายให้ ผมเดินในทิศทางนี้จริง ๆ คือ ลุงเขียว พัฒนจรินทร์ คนท�ำความสะอาดประจ�ำห้องแล็ป วัยใกล้เกษียณ ที่บอกกับผมว่า เปลือกมังคุด ฝนกับน�้ำปูนใสใช้ทาแผล แผลหายเร็วหรือ ต้มน�้ำกินแก้ท้องร่วงได้ ซึ่งองค์ความรู้นี้มีใน ต�ำราแพทย์แผนโบราณอยู่บ้าง เมื่อลุงเขียว พูดท�ำให้ฉุกคิดได้ว่า ในมังคุดน่าจะมีสารฆ่า เชือ้ แบคทีเรียหรือสารต้านการอักเสบ จึงลอง เอาสารสกัดจากมังคุดมาทดสอบคุณสมบัติ โดยปกตินกั เคมีจะไม่มคี วามสามารถ ตรวจเชือ้ ด้วยตัวเอง จึงต้องพึง่ นักจุลชีววิทยา เป็นผู้ทดสอบให้ ซึ่งก็พบว่า สารในมังคุด สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ดี จึงได้ท�ำครีมมังคุดเพื่อทดลองทาแผล ซึ่งก็พบว่าประสิทธิภาพดีมาก เป็นเครื่องยืนยันว่า ความรู้ ชาวบ้านหากน�ำมาพัฒนาต่อด้วยกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ก็สามารถสร้างผลิตภัณฑ์ ที่มีประสิทธิภาพได้” ภายหลั ง จากผลงานชิ้ น แรกจาก ห้องแล็ปประสบความส�ำเร็จ ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ ได้สร้างเครือข่ายนักวิจัยสาขา ต่ า ง ๆ ขึ้ น มาในเขตภาคใต้ ต่ อ มาด้ ว ย >>>42

June-July 2015, Vol.42 No.241

เหตุการณ์บางอย่างท�ำให้ต้องตัดสินใจย้าย มารับราชการที่เชียงใหม่ ส่วนงานวิจัยมังคุด ก็ถูกน�ำมาสานต่อที่เชียงใหม่ด้วย “ผมตั้งใจไว้ว่า งานวิจัยที่ท�ำต้องใช้ ให้เกิดประโยชน์ให้ได้ ถ้าหยุดแค่การวิจยั เรา จะได้ แ ต่ ผ ลงานวิ ช าการ หากเป็ น เช่ น นั้ น เหมื อ นเราถลุ ง ทรั พ ยากรเพื่ อ หาต� ำ แหน่ ง วิชาการไปเรื่อย ๆ นักวิจัยคนอื่นท�ำวิจัยชิ้นนี้ เสร็จก็เริ่มงานชิ้นใหม่ แต่ผมยังท�ำแต่มังคุด เป็นหลัก เพราะเห็นช่องทางว่าสามารถท�ำต่อ ไปได้เรื่อย ๆ และอีกอย่างผมมีความผูกพัน ทางใจกับมังคุด เพราะเป็นงานแรกทีผ่ มทุม่ เท ท�ำและสร้างเครือข่ายงานวิจัยขึ้นมา หากทิ้ง ไป งานคงถูกวางบนหิง้ คงยังไม่มใี ครรูจ้ กั และ น�ำไปใช้ประโยชน์”

จากห้องทดลองสู่ตลาด

ภายหลังจากรับต�ำแหน่งศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ ตั้งค�ำถามกับตัวเองว่า เขา พอใจกับต�ำแหน่งและผลงานวิชาการนีห้ รือ? ค�ำตอบคือ ไม่ เพราะยังสามารถท�ำประโยชน์ ต่อไปได้อีก และด้วยพื้นฐานครอบครัวที่มี อาชีพค้าขาย ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ จึงเริม่ ท�ำอุตสาหกรรมเล็ก ๆ คือ ผลิตเครื่องส�ำอาง ขึ้นมา “ตอนแรกตั้งใจจะสกัดมังคุดเป็นยา แต่ดูจากสถานการณ์และกฎเกณฑ์ตามที่ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ก�ำหนดไว้พบว่า การผลิตยาต้องใช้ เงินนับพันล้านบาท เมื่อได้ตัวยาแล้วก็ต้อง ทดสอบหลายชัน้ โอกาสทีจ่ ะหาเงินทุนส�ำหรับ

ผลิตยาได้แทบไม่มี ผมจึงเปลีย่ นแนวคิดจาก ยาเป็นเครื่องส�ำอาง ซึ่งผ่านเกณฑ์ง่ายกว่า เร็วกว่า เข้าถึงผู้คนได้ง่ายกว่า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ด แรกที่ ผ ลิ ต ออกมา ประกอบด้วย สบู่ล้างหน้า ครีมล้างหน้า ครีม บ�ำรุงผิว ครีมกันแดด เราผลิตได้แต่ขายไม่ ออก เพราะเราก�ำลังฝืนกระแสตลาด เราใช้ มังคุดที่ไม่เคยมีใครรู้จัก เราเป็นผลิตภัณฑ์ ที่ท�ำโดยคนไทยให้คนไทยใช้ และยังเป็น ผลิตภัณฑ์ที่ท�ำจากสารสกัดจากธรรมชาติ ตัวแรกของประเทศไทย จากบทเรียนครั้งนั้น ท� ำ ให้ ต ้ อ งดู ค วามต้ อ งการของตลาดมาก ยิ่งขึ้น โชคดีที่ช่วงนั้นมีส้มแขกเข้ามาช่วย ต่ออายุให้ธุรกิจ สิ่งนี้เป็นจุดเปลี่ยนส�ำคัญทางธุรกิจ ท�ำให้เราเฟื่องฟูอย่างมากกับการเปลี่ยนแปลงชนิดพลิกหลังมือเป็นหน้ามือในเวลาไม่ นาน เพราะในขณะนั้นคนส่วนใหญ่ยังลด ความอ้วนโดยพึง่ ยาลดน�ำ้ หนักทีเ่ ป็นสารเคมี ที่มีผลข้างเคียงสูง เมื่อเราประกาศออกไปว่า ของเรามาจากธรรมชาติ 100 เปอร์เซ็นต์ ไม่มี ผลข้างเคียง ท�ำให้สินค้าประสบความส�ำเร็จ มากในด้านยอดขาย และเป็นตัวกู้ชีพธุรกิจ ให้ฟื้นกลับมาได้” ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ เล่า กว่าจะมาถึงจุดนั้นได้ ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ต้องฝ่าฟันทดสอบผลิตภัณฑ์ของ ตัวเองอย่างหนักหน่วงเพื่อให้ผู้บริโภคเกิด ความเชื่อมั่น จนกระทั่งได้ผลลัพธ์จากห้อง ปฏิบัติการที่พิสูจน์ได้จริงว่า ผลิตภัณฑ์จาก ส้มแขกสามารถลดไขมันส่วนเกินได้อย่าง


&

Talk

ปลอดภัย ท�ำให้ธุรกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว ถึง ขั้นมีบริษัทต่างประเทศ 7 แห่ง ติดต่อขอน�ำ ไปจ�ำหน่ายในทันที

ทำ�งานวิจัยคู่ขนานธุรกิจ

ภายหลั ง จากส้ ม แขกพลิ ก ชี วิ ต ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ ก็หันมาเอาดีกับ การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ล ดความอ้ ว นจาก ส้มแขก มีการท�ำแผนการตลาดและวิจัยทาง ด้านวิทยาศาสตร์ควบคู่กันไปด้วย “ความจริงแล้วเราท�ำวิจัยกันตลอด เวลา เพราะความตั้ ง ใจแรก คื อ การท� ำ อุตสาหกรรมขึ้นมาเพื่อรองรับงานวิจัยที่เรา สร้างขึ้นมา แม้ว่าผมจะลาออกจากการเป็น อาจารย์ ม หาวิ ท ยาลั ย แล้ ว ก็ ยั ง ท� ำ วิ จั ย ต่อเนื่อง สร้างห้องแล็ปในโรงงาน ชักชวน นักวิทยาศาสตร์ที่เคยท�ำงานร่วมกับเราทั้ง นักศึกษาปริญญาตรี ปริญญาโทมาช่วยท�ำ วิจัยต่อ เขาส่งเสริมเราในลักษณะให้ข้อมูล วิชาการ เราส่งเสริมเขาด้วยการให้เงินวิจัย”

ต่ อ ยอดงานวิ จั ย เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ หลากหลาย

ส�ำหรับงานวิจัยด้านมังคุดนั้น ยังคง ท�ำต่อเนื่องเรื่อยมา เพราะสามารถท�ำวิจัยได้ ลึ ก ลงไปอย่ า งไม่ มี ที่ สิ้ น สุ ด และสามารถ ค้นคว้าเรื่องใหม่ ๆ ได้ตลอด “โดยทั่วไปอาจมองว่า มังคุดกินแล้ว อร่อย ทิ้งเปลือกไป จบ หรือ เอาเปลือกมา สกัด สกัดแล้วเป็นผลงาน จบ หรือ เอาผลงาน หรือสารตัวนั้นมาทาสิว สิวหาย จบ ถ้าท�ำแค่

นั้นไม่ลึก แต่ถ้าเมื่อใดที่เราเจาะไปถึงวิทยาศาสตร์ของมัน แล้วเอาไปทดสอบหลาย ๆ สิ่ง หลาย ๆ อย่าง ก็จะเกิดความรู้เพิ่มพูนขึ้น เรือ่ ย ๆ แล้วถ้าสารสกัดทีไ่ ด้มามีฤทธิท์ ำ� อย่าง ใดอย่างหนึ่งได้ เราก็ต้องไปเรียนรู้กลไกการ ท�ำงานของมันว่าเป็นอย่างไร มีโอกาสทีจ่ ะน�ำ ไปใช้อย่างไรบ้าง ถ้าใช้แล้วมีประโยชน์ ลอง เอาไปพัฒนาต่อ เปลี่ยนอะไรเล็ก ๆ น้อย ๆ แล้วจะดีขึ้นไหม ด้ ว ยลั ก ษณะเช่ น นี้ ท� ำ ให้ ง านวิ จั ย มังคุดของผมไม่มีที่สิ้นสุด ผมได้ศึกษางาน วิจัยเกี่ยวกับมังคุดในทุก ๆ ด้านจากทั่วโลก พบว่า เมื่อหลายสิบปีก่อนมีการค้นพบว่าใน มั ง คุ ด มี ส ารชนิ ด หนึ่ ง เรี ย กว่ า แซนโทนส์ (Xanthones) ลักษณะเป็นผลึกสีเหลืองใส พบในธรรมชาติแล้วกว่า 200 ชนิด และใน มังคุดมีแซนโทนส์มากกว่า 40 ชนิด ก่อนหน้านีย้ งั ไม่มกี ารศึกษาวิจยั การ ใช้ประโยชน์จากมังคุด แต่เนื่องจากผมเป็น คนกัดไม่ปล่อย จึงศึกษาลงลึกไปเรือ่ ย ๆ เพือ่ หาโครงสร้างคุณสมบัติและการเรียงตัวของ อะตอม และได้สกัดสารแซนโทนส์ตวั ทีด่ ที สี่ ดุ ออกมาจากมังคุดตัวหนึง่ และให้ชอื่ ว่า GM-1 (GM ย่อมาจาก Garcinia Mangostana) เป็น สารที่มีฤทธิ์ต้านอักเสบและระงับปวดได้ดี กว่าแอสไพริน 3 เท่า มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย ไวรัส ต้านภูมิแพ้ ต้านอนุมูลอิสระ ต้านเนื้อ งอก และต้านมะเร็งในหลอดทดลอง มีการ ทดลองใช้ GM-1 ในปริ ม าณมากในหนู ทดลอง พบว่า หนูมีอาการซึมเล็กน้อยจาก ฤทธิ์กดประสาท แต่ไม่มีอาการผิดปกติใด ๆ

จึงนับว่า GM-1 มีความปลอดภัยกับมนุษย์” จากความส�ำเร็จดังกล่าว ศาสตราจารย์ ดร. พิเชษฐ์ จึงได้หันไปร่วมมือกับ นักวิจยั ในรูปแบบสหวิชาการ รวบรวมทีมงาน ทีม่ คี วามช�ำนาญในสาขาต่าง ๆ ทัง้ เคมี เภสัชวิทยา จุลชีววิทยา และชีวเคมี ท�ำงานบูรณา การร่วมกัน สร้างนวัตกรรมใหม่ขนึ้ มา คือ ส่วน ผสมที่ได้สัดส่วนจากสารสกัดธรรมชาติจาก พืช 5 ชนิด คือ มังคุด งาด�ำ ถั่วเหลือง บัวบก และฝรั่ ง ที่ มี ฤ ทธิ์ ใ นการสร้ า งภู มิ คุ ้ ม กั น ร่ า งกายให้ มี ค วามสมดุ ล จนสามารถต้ า น มะเร็งได้โดยมีผลช่วยเพิ่มการผลิตเม็ดเลือด ขาวชนิด Th1 ที่ท�ำหน้าที่ในการก�ำจัดเซลล์ มะเร็ง เชื้อรา แบคทีเรีย รวมถึงไวรัส และเม็ด เลือดขาวชนิด Th17 ที่ท�ำหน้าที่ช่วยป้องกัน การเกิดเซลล์มะเร็ง โดยไม่มีผลข้างเคียงใดๆ ตามมา “การค้ น พบประสิ ท ธิ ผ ลของสาร GM-1 ในมังคุด ท�ำให้ผมยิ่งมีพลังใจที่จะน�ำ ผลการค้ น คว้ า ทางวิ ท ยาศาสตร์ นี้ มาใช้ ประโยชน์ให้ได้ผลจริงกับมนุษยชาติ ผมว่า สิ่งนี้ควรเป็นเป้าหมายส�ำคัญของนักวิทยาศาสตร์ ผมจึงมุ่งมั่นปรับปรุงสูตรเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือ่ น�ำออกจ�ำหน่าย พร้อม กับฟอร์มทีมนักวิจัยที่เคยวิจัยมังคุดด้วยกัน มาเป็นกลุ่มวิจัยอย่างชัดเจน และตั้งชื่อทีม วิจัยและสินค้าที่ผลิตขึ้นตามประสิทธิภาพ ใหม่ของมังคุดที่ค้นพบว่า “Operation BIM” แปลว่า “ปฏิบตั กิ ารสร้างภูมคิ มุ้ กันทีส่ มดุล” (BIM ย่อมาจาก Balancing Immunity) มีผม เป็นหัวหน้าทีม และผู้ร่วมทีมที่เป็นอาจารย์ June-July 2015, Vol.42 No.241

43 <<<


Talk

&

จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์” ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ กล่าว ผลงานจากความตั้งใจของทีมนักวิจัยไทยกลุ่มนี้ไม่ได้หยุดอยู่แค่นั้น โดยได้ ค้นพบนวัตกรรมล่าสุด “LIV” (LIVe Happily with HIV) ผลิตภัณฑ์ทชี่ ว่ ยให้ผตู้ ดิ เชือ้ HIV ได้ ใช้ชวี ติ อย่างมีความสุขมากขึน้ โดยผลิตภัณฑ์ ตัวนี้สามารถเพิ่มเม็ดเลือดขาวชนิด Th17 และ Th1 ให้ตรงเข้าจัดการกับเชื้อ HIV ช่วย รักษาโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นและลดผลข้าง เคียงจากการใช้ยาต้านไวรัส HIV ทั้งยังช่วย เพิ่มจ�ำนวนเม็ดเลือดขาว CD4 ในอัตราที่ สูงขึ้นด้วย ท�ำให้ผู้ติดเชื้อ HIV มีคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น

สร้างช่องทางหลากหลายลดความ เสี่ยง

ในวั น นี้ APCO ได้ น� ำ บริ ษั ท เข้ า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ MAI ซึ่ ง ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์บอกว่า เหตุผลหลัก ไม่ใช่เพื่อต้องการระดมเงินแต่เป็นเรื่องของ การสร้างความน่าเชือ่ ถือ เพราะต้องการขยาย ตลาดไปต่างประเทศ โดยตัง้ เป้าทีจ่ ะเผยแพร่ ผลิตภัณฑ์ที่คนไทยคิดค้นให้เป็นที่รู้จักไป ทั่วโลก “ในระยะแรก ๆ ที่ APCO เข้าตลาด หุ้น รายได้หลักของบริษัทกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ มาจากการขายตรง ซึ่งผมมองว่าไม่สามารถ สร้างความน่าเชือ่ ถือให้กบั ผลิตภัณฑ์เกีย่ วกับ การดูแลสุขภาพได้มากนัก หากดันทุรงั ใช้ชอ่ ง ทางการขายตรงในการท� ำ ตลาดเป็ น หลั ก ต่อไป ก็มแี ต่จะบัน่ ทอนโอกาสการเติบโตของ ผู้จ�ำหน่ายธุรกิจขายตรง และท�ำให้ยอดขาย ขยายตัวได้ชา้ จึงตัดสินใจน�ำหุน้ บางส่วนของ ตัวเองขายให้กบั ผูจ้ ำ� หน่ายธุรกิจขายตรง เพือ่ ให้พวกเขามีรายได้สองทาง ทั้งจากการขาย ตรงและจากการท�ำธุรกิจของ APCO ด้วย ที่ส�ำคัญยังช่วยให้พวกเขารู้สึกเป็นเจ้าของ บริษัทนี้ร่วมกันอีกด้วย” นอกจากจะใช้การขายตรงท�ำตลาด แล้ว ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ได้เพิม่ ช่องทาง ใหม่เข้ามา คือ การขายทางโทรศัพท์ (Tele >>>44

June-July 2015, Vol.42 No.241

Marketing) และเปิดศูนย์ BIM Health Care Center เพื่อให้ค�ำปรึกษาด้านสุขภาพและ แนะน�ำผลิตภัณฑ์ให้กับผู้บริโภคอย่างครบ วงจร และล่าสุดได้รว่ มมือกับผูเ้ ชีย่ วชาญด้าน Digital Marketing จากประเทศสิงคโปร์ น�ำ รูปแบบการขายผ่านอีคอมเมิร์ซมาใช้ เพื่อให้ ผลิตภัณฑ์เข้าถึงผูบ้ ริโภคในต่างประเทศ ผ่าน ช่องทาง Digital Marketing จ�ำนวน 3 แห่ง ที่ ท� ำ หน้ า ที่ ร องรั บ การจั ด ส่ ง สิ น ค้ า ให้ กั บ ผู้บริโภคโดยตรง จุดแรก คือ ลอสแองเจลิส ท�ำหน้าทีก่ ระจายสินค้าให้กบั ลูกค้าในสหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก จุดที่ 2 คือ ฮ่องกง รองรับการบริการลูกค้าในจีน ไต้หวัน เกาหลี ญีป่ นุ่ และจุดที่ 3 คือ สิงคโปร์ ให้บริการลูกค้า ในมาเลเซีย อินโดนีเซีย “ทุกวันนีส้ นิ ค้าของ APCO ครอบคลุม ทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยทางขายตรงเน้นลูกค้า กลุ่ม C ขายทางโทรศัพท์เน้นลูกค้ากลุ่ม B และศูนย์บริการเน้นลูกค้ากลุ่ม A” ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ กล่าว พร้อมระบุอีกว่า กลยุทธ์การขยายตลาดนี้จะด�ำเนินการต่อไป อีก 3-5 ปีข้างหน้า โดยเฉพาะตลาดต่าง ประเทศที่จะเป็นไปอย่างเข้มข้น “จากการ ด�ำเนินธุรกิจ ในฐานะนักวิทยาศาสตร์ ผมต้อง รู้ว่าผลิตสินค้าอะไรให้ตรงกับความต้องการ และมีตลาดรองรับด้วย” ด้วยความพยายามทุกวิถีทางทั้งการ คิดค้นวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ การเจาะ ตลาดใหม่ ๆ รวมถึงการให้ความรูแ้ ก่ผบู้ ริโภค ในรูปแบบต่าง ๆ ประกอบกับพฤติกรรมของ ผู้บริโภคที่มีความนิยมสินค้าเพื่อสุขภาพเพิ่ม ขึน้ ได้กลายเป็นแรงผลักดันทีส่ ร้างโอกาสทีด่ ี ท�ำให้วันนี้ APCO เติบโตอย่างต่อเนื่อง และ ขณะนี้ยังก�ำลังมุ่งเป้าต่อไปยังตลาดต่างประเทศ ซึ่งภายหลังจากการเปิดประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เขามั่นใจว่า ยอด ขายน่าจะเพิ่มขึ้นได้ไม่ยากและในอนาคต หากกลยุทธ์การเจาะตลาด Digital Marketing ประสบความส�ำเร็จ บริษัทจะทยอยน�ำ สินค้าไปขายผ่านรูปแบบเหล่านี้มากขึ้น จาก ปัจจุบนั ทีบ่ ริษทั มีสนิ ค้าทัง้ หมดอยูร่ าว 30-40 ผลิตภัณฑ์ ซึ่งเชื่อว่าจะผลักดันให้รายได้ของ APCO เติบโตได้อีกมากในอนาคต นอกจากนี้ ถึงแม้จะประสบความ ส�ำเร็จในเชิงธุรกิจและท�ำงานหนักจนแทบ ไม่มีเวลาเป็นของตัวเอง แต่ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ ก็ยงั ไม่ทงิ้ อุดมการณ์ทจี่ ะอยากจะ ช่วยเหลือสังคม ยังหาเวลาน�ำผลิตภัณฑ์ไป ช่วยเหลือผู้ป่วยมะเร็งและผู้ป่วยโรคเอดส์ ที่ด้อยโอกาสในที่ต่าง ๆ ด้วยตัวเองอยู่เป็น ประจ�ำ เช่น โรงพยาบาลดอยสะเก็ด โรงพยาบาลแม่ออน จ.เชียงใหม่ และสถาน รับเลีย้ งเด็กทีต่ ดิ เชือ้ เอดส์ของหมูบ่ า้ นแกร์ดา้ จ.ลพบุ รี อี ก ทั้ ง ยั ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ผู ้ มี อุปการคุณต่อบริษัท ล่าสุดจัดสรรหุ้นสามัญ เพิ่มทุน 280 ล้านหุ้น ให้กับผู้ที่ซื้อผลิตภัณฑ์ APCO เพียงเพราะอยากให้ APCO เป็นบริษทั มหาชนทีร่ ว่ มสร้างโดยมหาชนและให้มหาชน ร่วมรับประโยชน์จากการสร้างบริษัทต่อไป อ้างอิงข้อมูลบางส่วนจาก หนังสือ เส้นทางชีวิตสู่ ภูมิคุ้มกันที่สมดุลของ ศาสตราจารย์ ดร.พิเชษฐ์ วิริยะจิตรา


&

Research

สุดยอด!!

นักวิจัยไทย สร้างชื่อในเวทีนานาชาติ นักประดิษฐ์

ตาม

ไทยโชว์ฝีมือในเวทีนานาชาติอีกครั้ง ครั้งนี้สามารถคว้า 19 รางวัล จาก การประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ ณ กรุงเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์

ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ ส ่ ง ผลงานสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ของนักวิจัยธรรมศาสตร์ร่วมงานประกวด สิ่งประดิษฐ์นานาชาติครั้งที่ 43 “The 43rd International Exhibition of Inventions of Geneva” ณ กรุงเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส เมื่อวันที่ 15-19 เมษายน 2558 ที่ผ่านมา โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ส่งผลงาน

เข้าประกวดทั้งสิ้น 14 ผลงาน ปรากฏว่า ผลงานของมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ได้รับรางวัล รวมทั้งสิ้น 19 รางวัล แบ่งเป็น 3 เหรียญทองเกียรติยศ 4 เหรียญทอง 3 เหรียญเงิน 3 เหรียญทองแดง และ 6 รางวัล พิเศษ นับเป็นความภาคภูมิใจที่ได้สร้าง ชื่ อ เสี ย งให้ กั บ ประเทศไทยบนเวที ที่ มี ความส�ำคัญระดับโลก

กองบรรณาธิการ

ศ.ดร.ผดุงศักดิ์ รัตนเดโช อาจารย์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ และเมธีวิจัยอาวุโส สกว. หนึ่ง ในทีมนักวิจัยที่น�ำผลงานเข้าร่วมประกวด ครั้งนี้ เปิดเผยว่า การเข้าร่วมการประกวด สิ่งประดิษฐ์นานาชาติ ณ กรุงเจนีวา ในครั้ง นี้ ทีมนักวิจยั มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้รบั การสนับสนุนอย่างดียิ่งจากมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ โดยอธิการบดี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ ตลอดจนส�ำนักงานคณะกรรมJune-July 2015, Vol.42 No.241

45 <<<


&

Research

การวิจัยแห่งชาติ ทั้งด้านทุนสนับสนุนการ ประกวดสิ่งประดิษฐ์และงานสร้างสรรค์ใน ระดับนานาชาติเป็นการเฉพาะ ตลอดจนการ ส่ ง เสริ ม นั ก วิ จั ย ที่ เ ป็ น พั น ธมิ ต รวิ จั ย ต่ า ง สถาบั น และการวิ จั ย เพื่ อ การผลิ ต สู ่ เ ชิ ง พาณิชย์ นับเป็นการเปิดโลกกว้างของงาน วิจัยไทยสู่ระดับสากลมากยิ่งขึ้น ส�ำหรับการประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์นานาชาติแห่งเจนีวาเป็นการประกวด ผลงานสิง่ ประดิษฐ์ทสี่ ำ� คัญงานหนึง่ ของโลก ในแต่ละปีมีนักประดิษฐ์จากนานาประเทศ ทั่วโลกส่งผลงานเข้าร่วมการประกวดเป็น จ�ำนวนมาก โดยในปีนี้ จัดขึ้นเป็นครั้งที่ 43 และมีการมอบรางวัลแยกตามประเภทกลุ่ม ผลงาน (class) ทัง้ นี้ การเข้าร่วมการประกวด ของที ม นั ก ประดิ ษ ฐ์ ไ ทยด� ำ เนิ น การโดย ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

3 ผลงานที่ ได้รับเหรียญทอง เกียรติยศ ได้แก่

1. เบ้ า หล่ อ ส� ำ หรั บ ซี เ มนต์ ผ สม ยาปฏิ ชี ว นะเพื่ อ รั ก ษาข้ อ สะโพกติ ด เชื้ อ (spacer mold for mobile spacer in infected total knee arthroplasty) โดย รศ.นพ.ปิยะ ปิ่นศรศักดิ์ และคณะ จาก คณะแพทยศาสตร์ มธ. เบ้าหล่อส�ำหรับ ซีเมนต์ผสมยาปฏิชีวนะเพื่อรักษาข้อสะโพก ติดเชือ้ เป็นเบ้าหล่อทีใ่ ช้ขนึ้ รูปซีเมนต์ผสมยา ฆ่าเชือ้ ให้มลี กั ษณะเหมือนข้อเทียมใส่ในข้อ สะโพกทีต่ ดิ เชือ้ เพือ่ ฆ่าเชือ้ โรคบริเวณรอบข้อ และสามารถขยับข้อต่อได้เหมือนข้อจริง มี ลักษณะพิเศษ คือ สามารถปรับเปลีย่ นรูปร่าง ให้เหมาะสมกับลักษณะข้อของแต่ละบุคคล ได้ ลดการสึกกร่อนของกระดูกทีเ่ กิดจากขนาด ของข้อที่ไม่เหมาะสม (Class M: Medicine - Surgery - Orthopedics - Material for the Handicapped) 2. ระบบย่อเชิงความหมายจาก เอกสารภาษาไทยหลายเอกสารแบบอัตโนมัติ โดย ศ.ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคงและ คณะ จากสถาบั น เทคโนโลยี น านาชาติ สิรินธร มธ. ระบบย่อความเชิงความหมาย จากเอกสารจะช่วยให้ผใู้ ช้ได้อา่ นข่าวสรุปย่อ >>>46

June-July 2015, Vol.42 No.241

เพื่อประหยัดเวลาและรับรู้ความแตกต่าง ของข่าวจากต่างส�ำนักพิมพ์ได้ภาษาไทย หลายเอกสารแบบอัตโนมัติ โดยระบบย่อ ความฯ นี้ จะน�ำเอกสารข่าวจากหลายแหล่ง มาหาความสัมพันธ์เพือ่ จัดว่า ข่าวชุดใดเป็น ข่าวเดียวกันแต่ต่างส�ำนักพิมพ์ ข่าวชุดใด เป็นข่าวที่น�ำเสนอต่อเนื่องกัน ข่าวชุดใดมี ความสัมพันธ์เชิงความหมายแต่ไม่ได้เป็น ข่าวเดียวกัน หลังจากนั้น น�ำข่าวแต่ละชิ้น ของชุดข่าวนัน้ มาท�ำการสกัดใจ ความเพือ่ ให้ ทราบว่าใคร ท�ำอะไร กับใคร ทีไ่ หน เมือ่ ใดเวลา ใด แล้วน�ำใจความส�ำคัญเหล่านัน้ มาประติด ประต่อกัน โดยตัดความซ�้ำ ตัดส่วนเสริมทีไ่ ม่ ส�ำคัญประติดประต่อใจความทีเ่ หลือแล้วท�ำ เป็นสรุปข่าวขึ้น (Class C: Computer Sciences-Software-Electronic-ElectricityMethod of Communication) 3. ระบบตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรค หลอดเลื อ ดสมองอย่ า งอั ต โนมั ติ ด ้ ว ย สัญญาณ Transcranial Doppler Ultrasound (automatic stroke screening system using transcranial doppler ultrasound) โดย รศ.ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. ระบบตรวจคัดกรอง ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอย่างอัตโนมัติ โดยใช้สัญญาน Transcranial Doppler Ultrasound สามารถตรวจจับสิ่งหลุดอุด หลอดเลือด (cerebral emboli) ซึ่งเป็น สาเหตุหลักมากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ ของการ เกิดโรคหลอดเลือดสมองทั้งหมด มีค่าความ ไว 99 เปอร์เซ็นต์ และค่าความจ�ำเพาะ 90

เปอร์เซ็นต์ สามารถใช้สนับสนุนการท�ำงาน ของแพทย์ในการเฝ้าระวังสิ่งหลุดอุดหลอด เลือดที่เกิดขึ้นระหว่างการขยายหลอดเลือด หัวใจด้วยบอลลูน (cerebral angiography) และสามารถใช้สนับสนุนแพทย์ในการตรวจ คัดกรองสิง่ หลุดอุดหลอดเลือดในผูท้ มี่ คี วาม เสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ ง กั บ หน่ ว ยแพทย์ ห ่ า งไกลที่ ข าดแคลน บุคลากร (Class M: Medicine - Surgery Orthopedics - Material for the Handicapped)

4 ผลงานที่ ได้รับเหรียญทอง ได้แก่

1. เตี ย งพลิ ก ตะแคงตั ว ระบบ ไฟฟ้า โดย ผศ.จิณพิชญ์ชา มะมม และคณะ จากคณะพยาบาลศาสตร์ มธ. เตียงนอน พลิกตะแคงตัวระบบไฟฟ้าจะท�ำงานโดยใช้ ไฟฟ้ามีคณ ุ สมบัติ 1) สามารถพลิกตะแคงตัว ซ้ายและขวาระหว่าง 0-30 องศา กับแนว ระนาบเพือ่ ป้องกันการเกิดแรงกดทับบริเวณ ปุ่มกระดูก 2) สามารถยกหัวเตียงระหว่าง 0-60 องศา กับแนวระนาบเพื่อป้องกันการ เกิดแรงกดทับบริเวณท้ายทอย ใบหู ใบหน้า และเพื่อยกศีรษะสูงเวลารับประทานอาหาร หรือเวลาเปลีย่ นอิรยิ าบถ 3) สามารถยกส่วน ข้อพับเข่า 0-45 องศา กับแนวระนาบเพื่อ ป้องกันการเกิดแรงกดทับบริเวณใต้เข่า ข้อ เข่า ส้นเท้า ตาตุ่ม เตียงพลิกตะแคงจะช่วย อ�ำนวยความสะดวกในการพลิกตะแคงอย่าง ถูกต้องแก่ผู้ป่วย ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีข้อจ�ำกัด การเคลื่อนไหวหรือช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ที่


&

Research

กลับไปอาศัยอยู่ที่บ้าน ลดภาระงานของ พยาบาลหรือผู้ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน และส่งผล ท� ำ ให้ คุ ณ ภาพการดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยดี ม ากขึ้ น (Class M: Medicine - Surgery - Orthopedics - Material for the Handicapped) 2. เตียงปรับระดับเพื่อการจัดท่า ส�ำหรับทารกและเด็กเล็ก (pediatric posture-gyro) โดย อ.สุภาวดี ทับกล�ำ่ และคณะ จากคณะพยาบาลศาสตร์ มธ. เตียงปรับ ระดับเพือ่ การจัดท่าส�ำหรับทารกและเด็กเล็ก เป็ น เตี ย ง Multi-function เพื่ อ ใช้ ใ นการ พยาบาลเพื่อการจัดท่า Postural Drainage ส�ำหรับผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดิน หายใจ และทารกที่ มี ป ั ญ หาทางระบบ ประสาท เพื่อใช้ในการจัดท่าให้ทารกและ เด็ ก เล็ ก เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการระบาย เสมหะได้ดีขึ้น ลดเวลาในการรบกวนทารก/ เด็กเล็กจากการจัดท่า ลดการใช้ออกซิเจน เพื่ อ ใช้ ใ นการจั ด ท่ า ผู ้ ป ่ ว ยเด็ ก /ทารกที่ มี ปัญหาในระบบทางเดินอาหาร Gastroesophageal Reflux Disease (GERD) โดย เตียงสามารถปรับระดับ สูง-ต�่ำ ซ้าย-ขวา ใน องศาที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับทารกและเด็กเล็ก โดยสามารถเคลือ่ นย้ายได้งา่ ย และสามารถ ติดตั้งบนชุดเตียงทั่วไปได้ โดยเตียงนี้จะมี ทีน่ อนรองรับตัวเด็ก ซึง่ ถูกออกแบบให้รองรับ ตัวเด็กพร้อมทั้งมีส่วนนูนด้านเพิ่มขึ้นจาก แนวระนาบเพื่อป้องกันการเลื่อนไถล ขณะ เดียวกันเด็กจะถูกผูกยึดโดย Safety-belt ซึง่ ถูกออกแบบมาให้มีลักษณะคล้ายผ้าห่อตัว เด็ก มีสีสันสดใส สามารถยึดเด็กไว้ในขณะ ที่เตียงถูกปรับเอียงด้านซ้าย-ขวา หรือบนล่าง เพื่อป้องกันตัวเด็กเลื่อนไถลไปตาม มุมองศา (Class M: Medicine - Surgery Orthopedics - Material for the Handicapped) 3. เครื่องตรวจจับประจุไฟฟ้าบน วัสดุอนุภาคนาโน (nanoparticle material charge detector) โดย ศ.ดร.ผดุ ง ศั ก ดิ์ รัตนเดโช คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. และ รศ.ดร. พานิช อินต๊ะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภายใต้โครงการเมธี วิจัยอาวุโส สกว. เครื่องตรวจจับประจุวัสดุ

อนุภาคนาโนต้นแบบนี้ จะท�ำงานโดยการดูด ตัวอย่างวัสดุอนุภาคนาโนที่ต้องการวัดผ่าน ท่อเก็บตัวอย่างและถูกอัดประจุด้วยชุดให้ ประจุไฟฟ้าอนุภาคแบบโคโรนา จากนัน้ วัสดุ อนุ ภ าคนาโนจะผ่ า นเข้ า ไปยั ง ชุ ด ดั ก จั บ ไอออน เพื่ อ ก� ำ จั ด ไอออนอิ ส ระที่ มี ค วาม สามารถในการเคลื่อนตัวทางไฟฟ้าสูงออก ก่ อ น เมื่ อ ออกจากชุ ด ดั ก จั บ ไอออนแล้ ว วัสดุอนุภาคนาโนที่มีประจุจะผ่านเข้าไปยัง ชุดตรวจจับประจุไฟฟ้าอนุภาคเชิงไฟฟ้า เพือ่ ตรวจวัดระดับประจุไฟฟ้าสถิตของอนุภาค โดยวัสดุอนุภาคนาโนทัง้ หมดจะถูกสะสมตัว บนแผ่ น ตกกระทบด้ ว ยวิ ธี ก ารตกกระทบ เนือ่ งจากความเฉือ่ ยและแรงทางไฟฟ้าทีจ่ า่ ย ให้กับขั้วอิเล็กโทรด ซึ่งแผ่นตกกระทบจะ ถูกเชื่อมต่อเข้าเครื่องวัดกระแสต�่ำอิเล็กโทรมิเตอร์เพือ่ การวัดระดับกระแสไฟฟ้า โดย ค่ากระแสไฟฟ้าทีว่ ดั ได้จะมีความสัมพันธ์กบั ประจุไฟฟ้าสถิตของวัสดุอนุภาคนาโน และ ค่ า กระแสไฟฟ้ า ที่ วั ด ได้ จ ากชุ ด ตรวจจั บ ประจุ ไ ฟฟ้ า อนุ ภ าคเชิ ง ไฟฟ้ า จะถู ก น� ำ ไป ประมวลผลข้ อ มู ล ด้ ว ยหน่ ว ยประมวลผล ข้อมูลภายใน เพื่อแสดงกราฟความเข้มข้น เชิงจ�ำนวนของวัสดุอนุภาคนาโนเครือ่ งตรวจ จับต้นแบบที่พัฒนาขึ้นสามารถวัดจ�ำนวน ความเข้มข้นของวัสดุอนุภาคนาโนได้ในช่วง 7.45 × 108 และ 7.45 × 1011 particles/m3 สอดคล้องกับค่ากระแสไฟฟ้าของอนุภาคใน ช่วง 10 fA ถึง 10 pA ใช้เวลาในการประมวล ผลน้อยกว่า 200 ms (Class C: Computer Sciences-Software-Electronic-Electricity-Method of Communication) 4. ระบบเพาะเลีย้ งสาหร่ายขนาด เล็ ก เพื่ อ ผลิ ต ปุ ๋ ย ชี ว ภาพ โดย ผศ.ดร. สุเปญญา จิตตพันธ์ และคณะ จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ระบบ เพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็กเพื่อผลิตปุ๋ย ชีวภาพ ประกอบด้วย ถังน�้ำขนาด 18.9 ลิตร วางบนขาตัง้ เหล็กซึง่ ออกแบบมาให้สามารถ ปรับเอียงองศาได้ และให้อากาศโดยใช้ปั๊ม ระบบนี้ มีขอ้ ดี คือ เป็นระบบทีเ่ คลือ่ นย้ายได้ ประกอบได้ง่ายและสามารถเพาะเลี้ยงใน ภาคสนามได้ ลดการปนเปื้อนจากภายนอก

ได้ ลดการระเหยของน�้ำ ไม่เกิดการรั่วซึม ของน�้ำ แสงส่องผ่านได้ทั่วถึง ท�ำให้สาหร่าย เจริญเติบโตได้ดี สามารถเพาะเลีย้ งสาหร่าย ได้ต่อเนื่องถึง 5 รอบ เป็นการลดต้นทุนใน การเพาะเลี้ยงทั้งในเรื่องของค่าใช้จ่ายและ ระยะเวลา และสามารถติดตัง้ เป็นแหล่งผลิต ปุ๋ยชีวภาพเพื่อใช้ครัวเรือนได้ (Class K: Agriculture-Horticulture-Gardening)

3 ผลงานที่ ได้รับเหรียญเงิน ได้แก่

1. แกนเหล็กเพื่อตัดแนวกระดูก ในการท� ำ ผ่ า ตั ด ข้ อ ไหล่ เ ที ย มรายบุ ค คล (patient specific drill-guide for assisting shoulder arthroplasty surgery) โดย รศ.ดร.นพ.บัญชา ชื่นชูจิตต์ นพ.อดินันท์ อภิวัฒน์การุญ นพ.พิงควรรศ คงมาลัย คณะแพทยศาสตร์ มธ. ร่วมกับ ดร.กฤษณ์ ไกรพ์ สิทธิเสรีประทีป ดร.ณัฐพล จันทร์ พาณิ ช ย์ จาก MTEC สวทช. แสดงผล งานการผ่าตัดเปลีย่ นข้อไหล่เทียมในผูป้ ว่ ยที่ มีข้อไหล่เสื่อมโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ โดย ใช้คอมพิวเตอร์วางแผนการผ่าตัดล่วงหน้า ร่วมกับใช้เทคโนโลยีการขึ้นรูปสามมิติจาก เลเซอร์พริ้นเตอร์ ท�ำให้เราสามารถก�ำหนด แกนของหั ว กระดู ก ต้ น แขน และทิ ศ ทาง ต�ำแหน่งการเจาะสกรูที่กระดูกสะบัก ทาง คณะผู้ประดิษฐ์จึงได้พัฒนาแม่แบบการ เจาะรายบุคคล ซึ่งออกแบบโดยใช้ข้อมูล คอมพิวเตอร์เอกซเรย์ของผูป้ ว่ ย และต�ำแหน่ง ทิศทางการเจาะจะค�ำนวณจากโปรแกรม คอมพิวเตอร์ และการผลิตทีใ่ ช้เทคนิคการขึน้ รูปแบบชั้น จึงมีข้อดีในเรื่องของรูปทรงที่รับ กั บ กายวิ ภ าคและมี ค วามแม่ น ย� ำ ในการ

June-July 2015, Vol.42 No.241

47 <<<


&

Research

ก�ำหนดต�ำแหน่ง งานประดิษฐ์ชิ้นนี้จึงนับว่า ช่วยศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ในการผ่าตัดให้ สะดวกมากขึน้ เพิม่ ความมัน่ ใจในการผ่าตัด รวมถึงคนไข้ที่มีผลการรักษาดีขนึ้ (Class M: Medicine - Surgery - Orthopedics - Material for the Handicapped) 2. Ba+BuaLeaf : The Greenshared Products with Integrated Design โดย ผศ.ดร.เขียนศักดิ์ แสงเกลี้ยง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. เป็นนวัตกรรมด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ จากวัสดุจากธรรมชาติ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีเอกลักษณ์ สร้างมูลค่าเพิ่มทางการ ออกแบบและแนวคิดเชิงสร้างสรรค์อย่าง หลากหลาย (Class H: Furnishing-Interior Architecture) 3. โคมไฟ S-Pleating โดย อ.พยัพ ภักดีเหลา และ น.ส.พิไลพร นุ่นมา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. โดยแรงบันดาลใจในการสร้างพื้นผิวของ โคมไฟมาจากหลั ง คาที่ มี ก ารสลั บ ช่ อ ง ของพื้ น ผิ ว และที่ ว ่ า ง รู ป ทรงที่ มี ลั ก ษณะ บิ ด เกลี ย ว ท� ำ ให้ เ กิ ด ช่ อ งว่ า งของพื้ น ผิ ว ภายในท�ำให้แสงและเงาที่ลอดผ่านมีความ หลากหลายแตกต่างกันไป ตามจังหวะและ รูปแบบการบิด (Class H: Furnishing-Interior Architecture)

3 ผลงานที่ ไ ด้ รั บ เหรี ย ญทองแดง ได้แก่

1. ระบบควบคุมแสงแดดอัตโนมัติ ด้วยพฤติกรรมมนุษย์ (automatic daylight control system based on human behavior) โดย ดร.ชาวี บุษยรัตน์ อ.พฤฒิพร ลพเกิด นายพิสัย สีบ�ำรุงสาสน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. ระบบ ควบคุมแสงธรรมชาติแบบอัตโนมัตสิ ามารถ ปรับเปลีย่ นปริมาณแสงธรรมชาติทสี่ อ่ งผ่าน เข้ามาในอาคารให้เหมาะสมกับพฤติกรรม ของผู้ใช้งาน ติดตั้งเข้ากับหน้าต่างอาคาร หรือช่องเปิดอื่น ๆ เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ให้แก่ผู้ใช้งาน ช่วยเหลือผู้พิการ หรือใช้ใน การพัฒนาสมาร์ทโฮม (Class D: Building>>>48

June-July 2015, Vol.42 No.241

Architecture-Civil Engineering-Construction-Material-Woodwork) 2. เครื่องผลิตไบโอดีเซลพลังงาน ต�่ำ (purified biodiesel production unit using a continuous flow multimodesdouble feed microwave heating) โดย ผศ.ดร.มาลี สันติคุณาภรณ์ และคณะ จาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (Class A: Mechanics –Engines-Machinery-Tools-Industrial Processess-Metallurgy) 3. ถุงเลือกผ่านแก๊สและเม็ดขัดผิว จากพอลิ เ มอร์ ชี ว ภาพอลิ แ ลคไทด์ โดย รศ.ดร.ปกรณ์ โอภาประกาศิต และคณะ จากสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มธ. สิ่งประดิษฐ์นี้เป็นผลิตภัณฑ์เม็ดขัดผิว จากโคพอลิเมอร์พอลิแลคไทด์ ซึ่งสามารถ เชื่อมขวางได้ โดยสามารถปรับแต่งขนาด ลักษณะพื้นผิว ความนิ่ม และเก็บกักสาร ส�ำคัญไว้ในเม็ดได้ จึงใช้ทดแทนผลิตภัณฑ์ เดิมที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างสูง นอกจากนี้ ยังมีผลิตภัณฑ์ถุงพลาสติกที่มี ความสามารถเลือกผ่านแก๊ส CO2/O2 ได้ โดยผลิตจากสารเติมแต่ง ที่เป็นผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร ซึ่งเหมาะกับการใช้งานเป็น ทางด้านบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ (Class Q: Food Stuffs-Drinks-Cosmetics-Paramedical-Health-Hygiene)

6 ผลงานที่ ได้รับรางวัลพิเศษ (special prize) ได้แก่

1. แกนเหล็กเพื่อตัดแนวกระดูก ในการท�ำผ่าตัดข้อไหล่เทียมรายบุคคล โดย

รศ.นพ.บัญชา ชื่นชูจิตต์ และคณะ จาก คณะแพทยศาสตร์ มธ. ได้รับรางวัลพิเศษ จากประเทศการ์ตาร์ 2. เตี ย งพลิ ก ตะแคงตั ว ระบบ ไฟฟ้า โดย ผศ.จิณพิชญ์ชา มะมม และ คณะ จากคณะพยาบาลศาสตร์ มธ. ได้รับ รางวัลพิเศษ จากประเทศไต้หวัน 3. ระบบเพาะเลีย้ งสาหร่ายขนาด เล็ ก เพื่ อ ผลิ ต ปุ ๋ ย ชี ว ภาพ โดย ผศ.ดร. สุเปญญา จิตตพันธ์ และคณะ จากคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ได้รับ รางวัลพิเศษ จากประเทศโปแลนด์ 4. Ba+BuaLeaf : The Greenshared Products with Integrated Design โดย ผศ.ดร.เขียนศักดิ์ แสงเกลี้ยง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. ได้รับรางวัลพิเศษ จากประเทศมาเลเซีย 5. เครื่องผลิตไบโอดีเซลพลังงาน ต�่ำ (purified biodiesel production unit using a continuous flow multimodesdouble feed microwave heating) โดย ผศ.ดร.มาลี สันติคุณาภรณ์ และคณะ จาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ.ได้รบั รางวัลพิเศษ จาก ประเทศโปแลนด์ 6. เครื่องตรวจจับประจุไฟฟ้าบน วัสดุอนุภาคนาโน (nanoparticle material charge detector) โดย ศ.ดร.ผดุ ง ศั ก ดิ์ รัตนเดโช คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. และ รศ.ดร.พานิ ช อิ น ต๊ ะ จากมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ภายใต้ โครงการเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ได้รับรางวัล พิเศษจาก ประเทศอิหร่าน


&

Management

ตอนจบ

เครือ่ งมือบริหารการตัดต้นทุน

(management tools for cutting costs) พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์

ต่อจากฉบับที่แล้ว

A.V.

Feigenbaum ได้เขียนไว้ใน หนั ง สื อ TQC ของเขาว่ า “มี บริษัท อิเล็กทรอนิกส์ขนาดกลางบริษัทหนึ่งมี ผลตอบแทนจากการลงทุนโปรแกรม TQC ใน ช่วงปีแรกอยู่ที่ร้อยละ19 ในช่วงปีที่สองมีผล ตอบแทนจากการลงทุน อยู่ที่ร้อยละ 600 และปีทสี่ าม อยูท่ รี่ อ้ ยละ1,200 และในปีทสี่ อี่ ยู่ ทีร่ อ้ ยละ 2,300 และปีทหี่ า้ อยูท่ รี่ อ้ ยละ 5,000 การประกั น คุ ณ ภาพทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ร เป็นการลดต้นทุนทางด้านการตรวจสอบ การทดสอบ และการร้องเรียนของลูกค้า เป็นต้น

ที่ปรึกษาอิสระและนักวิจัยแห่งชาติ

การประกันคุณภาพทั่วทั้งองค์กร มี ส่วนเพิ่มก�ำไรทางด้านส่วนแบ่งตลาด ความ พึงพอใจของลูกค้าท�ำให้ยอดขายเพิ่มสูงขึ้น ตลอดจนยังท�ำให้เกิดการเพิ่มผลผลิตและ การสร้างขวัญก�ำลังใจให้กับพนักงานเป็น อย่างดีอีกด้วย การประกั น คุ ณ ภาพทั่ ว ทั้ ง องค์ ก ร ประวัตคิ วามเป็นมาของการประกันคุณภาพ ทั่วทั้งองค์กรจะสอดคล้องและเชื่อมโยงกับ การออกแบบโครงการ ในโครงการวางท่อปิโตรเคมี ปตท. จะก�ำหนดให้ผู้รับเหมาต้องด�ำเนินการตาม

แผนการประกันคุณภาพทีไ่ ด้ออกแบบไว้ โดย มีสัญญาในการด�ำเนินการเป็นระยะเวลา 6 เดือน และมีวิศวกรออกแบบจ�ำนวน 15 คน เข้ามามีสว่ นร่วมในโครงการนี้ ในระหว่างเริม่ ต้นโครงการ วิศวกรออกแบบจ�ำนวน 15 คน จะเข้ามาร่วมในการจัดท�ำเอกสารการออกแบบ (แบบแปลน ข้อก�ำหนดต่าง ๆ เอกสารทาง ด้ า นข้ อ มู ล ) เอกสารแต่ ล ะชนิ ด จะมี ก าร ทบทวนโดยเฉลี่ย 3 ครั้ง โดยมีการใช้เวลา 2 ชั่ ว โมงต่ อ การทบทวน รวม Man-hours ทั้งหมด (650 x 2 x 3 = 3,900 Man – hours)

June-July 2015, Vol.42 No.241

49 <<<


&

Management การพัฒนาและการน�ำแผนต่าง ๆ ไป ปฏิบัติจะใช้พนักงานจ�ำนวน 3 คน ใน 6 สัปดาห์ หรือ 720 Man-hours เมือ่ สอบทาน แผนที่จัดท�ำไป 2 Man-days ต่อสัปดาห์ ซึ่ง ใช้เวลา 22 สัปดาห์ คิดเป็น Man-hours ได้ 352 Man-hours รวมเป็น 1,072 Man-hours การทบทวนจะลดลงไปครึ่ ง หนึ่ ง ท� ำ ให้ ส ามารถประหยั ด Man-hours ได้ ถึ ง 1,950 Man-hours นอกจากนี้ ก าร ประหยัดยังท�ำให้ฝ่ายผลิตและศูนย์ควบคุม เอกสารสามารถประหยัด Man-hours ได้ถึง 2300 Man-hours คิดเป็นการประหยัดสุทธิ 1,228 Man-hours และงานการออกแบบ สามารถประหยัดได้มากกว่า 14,400 Manhours หรือคิดเป็น 9 เปอร์เซ็นต์ แผนที่ ใ ช้ กั บ ผู ้ รั บ เหมาเป็ น แผน เดียวกันกับแผนการออกแบบ โดยน�ำไปใช้ กับงานส่วนอื่น ๆ จนท�ำให้ผลลัพธ์ที่ออกมา สามารถประหยัดได้มากโขทีเดียว ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน โปรแกรม การประกันคุณภาพทัว่ ทัง้ องค์กรส่วนใหญ่จะ อยู่ในรูปแบบของขั้นตอนท�ำงานแบบเดิม ๆ ยกตัวอย่างเช่น บริษัทออกแบบจะมีการ ตรวจเช็คขั้นตอนท�ำงานโดยมีการค�ำนวณ ดู ว ่ า แต่ ล ะคนมี ขั้ น ตอนการท� ำ งานแต่ ล ะ ขัน้ ตอนในการเขียนแบบแปลนเป็นไปเช่นไร โดยมีการใช้พนักงานทั้งหมด 4 คน คือ 1. นักออกแบบ 2. ผู้ตรวจสอบ จะท�ำหน้าที่ตรวจ เช็คทุก ๆ เส้นทีเ่ ขียนและค�ำนวณเส้นทีเ่ ขียน 3. ช่างเทคนิคอาวุโส จะท�ำหน้าที่ ตรวจเช็คความพอเพียงทางด้านเทคนิค 4. ผู้จัดการโครงการ จะท�ำหน้าที่ ตรวจเช็ ค ว่ า งานทั้ ง หมด ตรงตามความ ต้องการของเจ้าของโครงการ ขัน้ ตอนการท�ำงานหนึง่ ๆ จะป้องกัน จ�ำนวนของการทบทวน การไม่ยอมรับ และ การจัดล�ำดับของการทบทวนผลประโยชน์ เพิ่มเติมที่คาดว่าจะได้รับบางประการจาก โปรแกรมการประกันคุณภาพทั่วทั้งองค์กร อาทิ ผลประโยชน์ที่มุ่งเน้นการสร้างความ พึงพอใจให้กบั ลูกค้า เช่น การปรับปรุงสินค้า (บริการ) การปรับปรุงการไหลของงาน การ >>>50

June-July 2015, Vol.42 No.241

ปรับปรุงขวัญและก�ำลังใจของพนักงานและ จิตส�ำนึกทางด้านคุณภาพ การปรับปรุงการ ประชาสัมพันธ์ การปรับปรุงเศรษฐกิจ การ ลดต้นทุนในการปฏิบัติงาน การลดต้นทุน การให้บริการหน้าเคาน์เตอร์และการลดหนี้ สินที่พบเห็น กลุ่มควบคุมคุณภาพ (QCC) ใน ประเทศญี่ปุ่นประสบความส�ำเร็จอย่างมาก ในขณะทีป่ ระเทศอืน่ ๆ ก็ประสบความส�ำเร็จ เฉกเช่ น เดี ย วกั บ ประเทศญี่ ปุ ่ น รวมทั้ ง ประเทศไทยด้วย กลุ่มควบคุมคุณภาพ จะประกอบ ด้วย กลุ่มคนกลุ่มเล็ก ๆ จ�ำนวน 4-10 คน ทีม่ าจากหน่วยงานเดียวกันและปฏิบตั ภิ าระ งานแบบเดียวกัน โดยมีการประชุมร่วมกัน อย่างสม�ำ่ เสมอเพือ่ บ่งชีแ้ ละวิเคราะห์ปญ ั หา ต่าง ๆ ตลอดจนค้นหาวิธีการแก้ไขปัญหา ต่าง ๆ เหล่านัน้ ใครบ้างทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับ ปัญหาต่าง ๆ เหล่านั้น ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกลุ่ม รวมทั้งคัดเลือกปัญหาต่าง ๆ เพื่อน�ำไปสู่การแก้ไข รู ป แบบความส� ำ เร็ จ ของคนญี่ ปุ ่ น อาจไม่ใช่รูปแบบที่ประสบความส�ำเร็จใน ประเทศอืน่ เพราะคนญีป่ นุ่ มีความแตกต่าง จากคนประเทศอื่น ๆ ยกตัวอย่างเช่น คนใน ประเทศอืน่ ๆ จะต้องสร้างแรงจูงใจ แต่ญปี่ นุ่ จะมีความจงรักภักดีต่อบริษัท ผู้มีส่วนร่วม

จะต้องได้รับการฝึกอบรมที่ดี โดยเฉพาะวิธี การวิเคราะห์แบบง่าย ๆ รวมทั้งกลุ่มต่าง ๆ จะต้องมีพนักงานมีฝีมือหรือมีความเชี่ยวชาญแต่ละด้าน และต้องเป็นนักสังเกตการณ์ และผู ้ น� ำ ที่ ดี ตลอดจนมี ก ารสร้ า งสภาพ แวดล้อมที่ดีในการสร้างความเติบโตและ ความส�ำเร็จของกลุ่มควบคุมคุณภาพ กลุ่มควบคุมคุณภาพ เมื่อหลายปี ที่ผ่านมา มีการเผยแพร่ถ้อยค�ำที่เกี่ยวกับ ความส�ำเร็จอย่างไม่น่าเชื่อของกลุ่มควบคุม คุณภาพที่เกิดขึ้นในประเทศญี่ปุ่น และยัง เป็นสิ่งที่สร้างความฉงนถึงปรากฏการณ์ที่ เกิ ด ขึ้ น ตลอดจนทุ ก ๆ พื้ น ที่ ที่ จั ด ตั้ ง กลุ ่ ม ควบคุมคุณภาพขึน้ ทุกกลุม่ ในประเทศญีป่ นุ่ ประสบความส�ำเร็จแทบทั้งสิ้น แนวคิ ด เบื้ อ งต้ น ของกลุ ่ ม ควบคุ ม คุณภาพอยู่ที่การแบ่งกลุ่ม โดยกลุ่มจะขัน อาสาหรื อ มี จิ ต อาสาที่ จ ะพบปะกั น อย่ า ง สม�่ำเสมอ เพื่อค้นหาสาเหตุของปัญหาที่ เกิดขึน้ ในแต่ละวันทีพ่ วกเขาด�ำเนินงานตาม กระบวนการ สมาชิกในกลุ่ม ๆ หนึ่งจะมาจาก พื้นที่เดียวกัน และท�ำงานที่คล้ายคลึงกัน พวกเขาจะจัดตั้งกลุ่มของพวกเขาขึ้น และ คัดสรรผู้น�ำกลุ่ม เพื่อคัดเลือกปัญหาต่าง ๆ และน�ำปัญหาไปด�ำเนินการศึกษา เช่น การ ผลิตตกต�่ำลงหรือมีการไม่ยอมรับสูงมาก


&

Management หรือมีการหยุดชะงักของเครื่องจักรหรือมี ต้นทุนที่สูงและอื่น ๆ เป็นต้น การทีจ่ ะประสบความส�ำเร็จเช่นนีไ้ ด้ ผู ้ มี ส ่ ว นร่ ว มจะต้ อ งสร้ า งแรงจู ง ใจให้ กั บ ตัวเอง ต้องผ่านการฝึกอบรมที่ดีในการใช้ วิธีการวิเคราะห์แบบเรียบง่ายและวิชาทาง สถิ ติ การใช้ แ ผนภาพการไหลของงาน แผนภาพเหตุและผลและฮิสโตแกรม เป็นต้น รวมทัง้ ต้องได้รบั การสนับสนุนจากฝ่ายบริหาร และต้องมีจติ อาสามากกว่าหวังผลตอบแทน กลุม่ ควบคุมคุณภาพต้องเริม่ ต้นด้วย การลงทุนทัง้ เรือ่ งของเวลาและเงินทอง ก่อน ที่จะได้รับผลพวงแห่งความส�ำเร็จทุก ๆ คน ต้องใช้กลุ่มควบคุมคุณภาพให้มาก เพื่อ เข้าไปศึกษาการท�ำงานของพวกเขา งานทีไ่ ด้ รั บ มอบหมายตลอดจนการวางแผน แต่ ทั้งหมดข้างต้น ทุกคนต้องรู้ว่าผู้ปฏิบัติงาน ต้องได้รับแรงจูงใจอะไรบ้าง กลุม่ คุณภาพ อาจไม่เกิดประสิทธิผล ได้ หากผูป้ ฏิบตั งิ านมีจดั ตัง้ กลุม่ ขึน้ โดยมีการ รวบรวมสมาชิกจากภาระงานที่แตกต่างกัน และบอกให้แต่ละคนไปท� ำงานบางงานที่ ตนเองไม่ถนัด ในแต่ละองค์กร จะมีเหตุผล เริม่ ต้นในการจัดตัง้ กลุม่ ควบคุมคุณภาพและ มีการส่งผ่านการจัดตัง้ กลุม่ ควบคุมคุณภาพ ไปสู่ผู้ใช้แรงงาน * ตั ว อย่ า งความส� ำ เร็ จ ของกลุ ่ ม ควบคุมคุณภาพ การลดต้นทุนการใช้ไฟฟ้า ในโรงงาน Heat Treatment การตอบสนอง ต่อโทรศัพท์ที่เข้ามาอย่างรวดเร็ว และการ ปรับปรุงการให้บริการจากการใช้ไม้ตีกอล์ฟ เพื่อตีลงหลุม กรณีแรกเป็นการลดต้นทุนการใช้ ไฟฟ้าในการ Heat Treatment โดยคนงานที่ ท�ำงานอยู่ในกระบวนการ Heat Treatment ฟันเฟืองเหล็กทีใ่ ช้ทำ� เครือ่ งจักรก่อสร้าง โดย มีเป้าหมายอยู่ที่การลดการใช้ไฟฟ้าลง 10 เปอร์ เ ซ็ น ต์ บริ ษั ท มี ก ารน� ำ นโยบายการ อนุรกั ษ์พลังงานและทรัพยากรเข้ามาใช้ โดย มีการใช้พลังงานไฟฟ้าในกระบวนการชุบ แข็งร้อยละ 52 ของพลังงานไฟฟ้า ทางกลุ่ม ได้ตรวจสอบกระบวนการท�ำงาน เพื่อดูว่ามี

ปัญหาเกิดขึ้นที่ไหนบ้าง พวกเขาจะท�ำการ ศึกษาปัญหาและท�ำการทดสอบ รวบรวม ข้อมูล จุดโจมตีของปัญหาอยู่ที่เครื่องจักร ท�ำงานช้าลง ท�ำให้ต้องขอความช่วยเหลือ จากฝ่ายบ�ำรุงรักษาเครือ่ งจักร ผลลัพธ์สดุ ท้าย การใช้พลังงานไฟฟ้าลดลง 25 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ถึง 2 เท่า กรณี ที่ ส อง การตอบสนองอย่ า ง รวดเร็วเมื่อโทรศัพท์เข้ามา กลุ่มนี้ก่อตั้งขึ้น จากพนักงานรับโทรศัพท์ซึ่งตั้งอยู่ในโรงงาน ทอผ้าขนาดใหญ่ หลังจากกลุ่มประสบกับ ปัญหาความยุ่งยากและท�ำงานหนักตลอด ระยะเวลา 2 เดือน ผลลัพธ์ตา่ ง ๆ เริม่ ปรากฏ ให้เห็น เมื่อเพื่อนร่วมงานได้ตอบสนองกับ เวลาด้วยการตัดเวลาจาก 8 วินาทีลงเหลือ เพียง 4 วินาที พนักงานรับโทรศัพท์จะรับช่วง ต่อรวมเวลาทั้งสิ้นอยู่ที่ 2 วินาที และจะ ต้องใช้เวลาไม่มากกว่านี้ จึงจะท�ำให้ผลลัพธ์ สุดท้ายออกมาดีที่สุด กรณีสดุ ท้าย เป็นการปรับปรุงการให้ บริการจากการส่งไม้ตีกอล์ฟเพื่อตีลูกกอล์ฟ ลงหลุม กลุ่มก่อตั้งขึ้นจาก Caddies ที่มา จากคลับ Lake Hakuryu Country โดยกลุ่ม ได้ก�ำหนดเป้าหมายไว้ดังนี้ ➢ ลดการสูญหายหรือตัง้ ลูกกอล์ฟ ผิดที่ลง 10 เปอร์เซ็นต์ จาก 25 เปอร์เซ็นต์ ➢ ลดความล่ า ช้ า ในการตี แ ต่ ล ะ รอบลง 20 เปอร์เซ็นต์ จาก 28 เปอร์เซ็นต์ ➢ ลดจ�ำนวนก้นบุหรี่ที่ทิ้งลงในถัง ขยะ 5 เปอร์เซ็นต์ จาก 17 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มสามารถบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ * ข้อมูลมาจากงานกลุ่มควบคุมคุณภาพ ซึง่ จัดโดย Asian Productivity Organization, Tokyo

งบประมาณฐานศูนย์ (zero base budgeting) ค�ำว่า “ฐานศูนย์” หมายถึง ระดับ ล่างสุดของกิจกรรมทีห่ น่วยงานระดับฝ่าย ยัง คงด�ำเนินไปอย่างเหมาะสมและเป็นไปได้ ด้วยดี หลังจากค้นหาฐานศูนย์ได้ ผู้จัดการ แต่ละคนจะต้องท�ำการบ่งชี้และประเมิน ประสิ ท ธิ ผ ลทางด้ า นต้ น ทุ น ของแต่ ล ะ

กิจกรรม เพื่อให้เกิดความเห็นชอบร่วมกัน เสียก่อน ซึ่งคล้ายคลึงกับวิศวกรรมคุณค่า เว้นเสียแต่ว่าวิศวกรรมคุณค่าส่วนใหญ่จะ น�ำไปประยุกต์ใช้กับกระบวนการผลิตและ โครงการก่อสร้าง ในขณะทีง่ บประมาณฐาน ศูนย์สว่ นใหญ่จะน�ำไปประยุกต์ใช้กบั องค์กร และขั้นตอนต่าง ๆ โดยเริม่ จาก เมือ่ ฝ่ายบริหารตัดสินใจ ที่จะน�ำงบประมาณฐานศูนย์เข้ามาใช้ ซึ่ง เป็นเครือ่ งมือบริหารจัดการเครือ่ งมือหนึง่ แต่ เครื่องมือดังกล่าวกลับไม่ได้รับความสนใจ เพราะไม่ ไ ด้ ส ร้ า งความประทั บ ใจให้ กั บ ผู ้ จั ด การ เพราะพวกเขาต้ อ งเริ่ ม ท� ำ งบประมาณจากฐานศูนย์ จริง ๆ แล้ว “ฐานศูนย์” ถูกอ้างอิงไป ที่การค้นหาระดับล่างสุดของกิจกรรมตั้งแต่ ต้น (ฐานศูนย์) เพือ่ ดูวา่ กิจกรรมระดับล่างสุด ทีเ่ ป็นไปได้ของหน่วยงานระดับฝ่าย สามารถ น�ำไปใช้ในการด�ำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง จากฐานศูนย์นี้ ผู้จัดการจะด�ำเนินการบ่งชี้ และใช้ดุลยพินิจไปที่กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อดู ต้นทุนของกิจกรรมแต่ละกิจกรรม ในทางตรงข้าม หากไม่มจี ติ ส�ำนึกใน การตัดต้นทุนทางด้านงบประมาณที่ใช้อยู่ เดิม การจัดท�ำงบประมาณฐานศูนย์ ผู้จัดการแต่ละคนจ�ำเป็นต้องประเมินผลทางด้าน ประสิทธิผลของต้นทุนแต่ละกิจกรรมเช่น เดี ย วกั บ วิ ศ วกรรมคุ ณ ค่ า เว้ น เสี ย แต่ ว ่ า วิศวกรรมคุณค่าส่วนใหญ่จะประยุกต์ใช้กับ กระบวนการผลิต หรืองานก่อสร้างในหน้า งาน งบประมาณฐานศูนย์มักจะประยุกต์ใช้ กับองค์กรและขั้นตอนต่าง ๆ งบประมาณฐานศูนย์เป็นเครื่องมือ บริหารที่ดีเครื่องมือหนึ่งที่จะท�ำให้องค์กร ประสบความส� ำ เร็ จ ได้ ตั้ ง แต่ ต ้ น ดั ง นั้ น งบประมาณฐานศูนย์ จึงจ�ำเป็นต้องมีการ ประเมินผลกิจกรรมต่าง ๆ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ จะดู ว ่ า กิ จ กรรมไหนเป็ น กิ จ กรรมที่ ไ ม่ มี ประสิทธิภาพและต้องท�ำซ�้ำ ๆ กัน นอกจากนี้ งบประมาณฐานศูนย์ ยัง เปิดช่องทางในการสื่อสารระหว่างผู้บริหาร ระดับสูงกับผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการ ตลอด June-July 2015, Vol.42 No.241

51 <<<


&

Management

จนยังเป็นการสร้างแรงจูงใจ และท�ำให้เกิด ค� ำ สั ญ ญาใจซึ่ ง กั น และกั น การจั ด ท� ำ งบ ประมาณฐานศู น ย์ ผู ้ จั ด การควรจะถาม ค�ำถาม “ท�ำไม” และ “เท่าไร” อย่างต่อเนื่อง และค�ำถามเหล่านั้นไม่ใช่เป็นค�ำถามที่ไม่ดี ในสายตาของทุก ๆ คนนะครับ เครื่ อ งมื อ สุ ด ท้ า ย เป็ น เครื่ อ งมื อ เศรษฐศาสตร์เชิงวิศวกรรม (engineering economics) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่จะก่อให้เกิด ผลลัพธ์ที่เหมาะสมเครื่องมือหนึ่ง เพียงแต่ ต้ อ งออกแบบให้ มี ค วามเหมาะสมจึ ง จะ ท�ำให้เกิดความน่าเชื่อถือได้จะเห็นว่าเครื่อง มือเศรษฐศาสตร์เชิงวิศวกรรม ไม่ใช่จะเป็น เพี ย งแค่ เ ครื่ อ งมื อ บริ ห ารการตั ด ต้ น ทุ น เท่านั้น แต่ยังเป็นเครื่องมือการตัดต้นทุนให้ กับวิศวกรอีกด้วย ทัง้ นีฝ้ า่ ยบริหารจ�ำเป็นต้อง ให้การสนับสนุนในการประยุกต์ใช้เครือ่ งมือ บริหารเศรษฐศาสตร์เชิงวิศวกรรม อย่างไรก็ตามเนือ้ หาข้างต้นไม่ได้ถกู จัดกลุม่ เหมือนกับกลุม่ อืน่ ๆ โดยคิดว่าเครือ่ ง มือข้างต้นไม่ใช่เครื่องมือบริหาร แต่เป็น เครื่องมือที่ทุก ๆ พื้นที่ต้องน�ำไปใช้ในการ ออกแบบทางด้านเทคนิค จริง ๆ แล้วเครื่อง มือนี้เป็นเครื่องมือตัดต้นทุนที่มีความส�ำคัญ เป็ น อย่ า งยิ่ ง กล่ า วคื อ จะไม่ ป ล่ อ ยปละ ละเลยสิ่งที่เป็นอวิชชาทิ้งไป ซึ่งนักออกแบบ วิศวกร นักวางแผน จะมีความคุน้ เคยกับการ >>>52

June-July 2015, Vol.42 No.241

ใช้เครือ่ งมือดังกล่าว เพียงแต่ฝา่ ยบริหารต้อง มีบทบาทในการให้การสนับสนุนและส่งเสริม การศึกษาและการประยุกต์ใช้อย่างมีนัย ส�ำคัญ เศรษฐศาสตร์เชิงวิศวกรรม มีความ ส�ำคัญก็ต่อเมื่อมีการออกแบบ (หรือการ ก�ำหนดข้อก�ำหนดและการจัดซื้อ) อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโรงงาน ซึ่งอาจไม่เกี่ยวข้องกับ ต้นทุนในเบื้องต้น แต่ส่วนใหญ่จะมีผลต่อ ต้นทุนในรอบระยะเวลา 1 ปี อย่างเช่น ต้นทุน ในการปฏิบัติงานหรือการสูญเสียพลังงาน ไฟฟ้า ยกตัวอย่าง การตัดสินใจเลือกใช้ Conductor ขนาดทีเ่ หมาะสมกับการจ่ายไฟ ในหม้อแปลงหรือการประเมินผลการประมูล การจ่ายไฟของหม้อแปลง และการประเมิน ผลต้นทุนในเบื้องต้น และต้นทุนของการ สูญเสียต่าง ๆ (losses) เป็นต้น ฝ่ายบริหาร จะต้ อ งมี ก ารจั ด ท� ำ ตั ว ชี้ วั ด ระบบไฟฟ้ า อย่ า งสม�่ ำ เสมอ เช่ น เดี ย วกั บ ต้ น ทุ น การ สูญเสียต่าง ๆ อาทิ kW-hrs, kW., และ VARs เม็ดเงินของต้นทุนและปัจจัยต้นทุนอื่น ๆ ที่ อยู่ในสมการ ความเหมาะสม (optimization) ความเหมาะสมในที่ นี้ จ ะใช้ ไ ด้ แ คบกว่ า เศรษฐศาสตร์เชิงวิศวกรรม เช่น ความเหมาะ สมจะมีชว่ งพิกดั จากคานรับน�ำ้ หนักพืน้ ทีท่ มี่ ี ความสูงโดยจะค�ำนวณคานที่ใช้รับน�้ำหนัก

ต้องไม่เผื่อน�้ำหนักมากจนเกินไป (กล่าวคือ ต้องมีความประหยัด) โดยมีช่วงระยะห่าง ของความยาวของเหล็กที่ใช้ท�ำถนนและมี กลุ่มขนาดของเหล็กที่ใช้ต้องเป็นไปอย่าง ประหยัดเป็นต้น การออกแบบที่อิงกับความน่าเชื่อ ถื อ ได้ (reliability based design) การ ออกแบบส่วนใหญ่จะอิงอยูบ่ นความต้องการ ที่ตายตัว (เช่น สเปคของถนน การก�ำหนด ความสูงไว้อย่างเพียงพอ) คูณด้วยปัจจัย ความปลอดภัย (ช่วงพิกัดตั้งแต่ค่าที่น้อย ทีส่ ดุ 1.1 ไปจนถึงค่าสูงสุด 4.5 หรือมากกว่า นี)้ ทัง้ นีไ้ ม่ได้อยูท่ เี่ งือ่ นไขของปัจจัยทางด้าน โหลดหรื อ การรั บ ภาระและการออกแบบ ความแข็งแรง (strengths) แต่ต้องมีการสุ่ม ตัวแปรต่าง ๆ ที่มีผลต่อการรับภาระและ ความแข็งแรงของการออกแบบ การค�ำนวณความน่าจะเป็นไปได้ (probability) (เดีย๋ วนีก้ ารค�ำนวณสามารถใช้ คอมพิวเตอร์ค�ำนวณได้ง่ายมากขึ้น) ท�ำให้ สามารถลดขนาดของโรงงานและลดล�ำดับ ขั้นตอนของต้นทุนและบวกความน่าจะเป็น ไปได้ในการออกแบบที่ปลอดภัยและดีที่สุด จะเห็นว่าเครือ่ งมือบริหารต่าง ๆ ทีไ่ ด้ อธิบายไปแล้วข้างต้น เป็นเครื่องมือในการ บริหารการตัดต้นทุนทัง้ สิน้ เพียงแต่เครือ่ งมือ เหล่านีต้ อ้ งใช้ให้ถกู ทีถ่ กู ทาง จึงจะก่อให้เกิด ความประหยัดและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อย่างไรก็ดี บทบาทของ ฝ่ายบริหารมีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อ ความส�ำเร็จในการใช้เครือ่ งมือดังกล่าว ทัง้ นี้ ฝ่ายบริหารจะต้องเปลี่ยนผ่านองค์กรจาก ความเคยชิ น หรื อ การท� ำ งานแบบดั้ ง เดิ ม (traditional) ไปสูก่ ารใช้เครือ่ งมือบริหารการ ตัดต้นทุน จึงจะท�ำให้องค์กรสามารถสร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขันได้ ซึ่งจะสอดคล้องกับยุคของการจัดการความรู้ (knowledge management) และองค์ ก รแห่ ง การเรียนรู้ (learning organization) ได้ใน ที่สุดนะครับ


&

Electrical & Electronic

ตอนที่ 2

การทดสอบและทวนสอบ การติดตั้งระบบไฟฟ้าแรงดันต�่ำเพื่อความปลอดภัย แปลและเรียบเรียงโดย สุพจน์ ตุงคเศรวงศ์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายเครื่องมือมาตรวิทยา บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จำ�กัด

(ต่อจากฉบับที่แล้ว) รูปแบบการติดตั้งระบบไฟฟ้าที่เกี่ยวกับระบบการต่อลงดิน ความหมายของตัวย่อ T = Terre N = Neutral PE = Protective Earth I = Isolate C = Combine S = Separate

ระบบ TT

ระบบ TT จะถูกต่อลงดินทีแ่ หล่งจ่ายไฟฟ้า ส่วนตัวน�ำทีเ่ ข้าถึง ได้ (accessible conductive parts) จะถูกต่อลงดิน ณ จุดที่ถูกติดตั้ง (เช่น ที่จุดเข้าไปติดตั้ง) ดังไดอะแกรมแสดงในภาพที่ 1

เส้นสายไฟทุกเส้นจะถูกป้องกันด้วยฟิวส์ ระบบสามารถติดตัง้ เครือ่ งตัดไฟฟ้าเมือ่ รัว่ (RCD) ป้องกันเพิม่ เติม ถ้าไม่มกี ารติดตัง้ RCD สายดิน (PE) จะต้องมีความต้านทานต�่ำมากพอที่จะกระตุ้นให้ ฟิวส์ขาดเมือ่ เกิดการผิดพร่องขึน้ ความต้านทานการต่อลงดินสามารถ มีค่าแตกต่างกันตั้งแต่ 0 โอห์ม ถึงหลายร้อยโอห์ม ขึ้นอยู่กับคุณภาพ การติดตั้งระบบสายดินป้องกัน (PE) และระบบป้องกันเมื่อผิดพร่อง (fault)

ระบบ TN

ระบบ TN จะถูกต่อลงดินที่ต้นแหล่งจ่ายไฟฟ้า และ/หรือจุด กระจายการจ่ายไฟฟ้า (distribution points) ส่วนตัวน�ำเปิดโล่งจะถูก ต่อ (ลงดิน) กับจุดต่าง ๆ กับลวดตัวน�ำป้องกัน (PE) หรือสายตัวน�ำ ร่วมศูนย์ (N) กับการป้องกัน (PEN) สายตัวน�ำที่ท�ำหน้าที่ร่วมกัน (PEN) นี้ จะท�ำหน้าที่ทั้งเป็นระบบจ่ายไฟฟ้าและตัวน�ำป้องกันใน เวลาเดียวกัน ตัวน�ำเส้นไฟฟ้าทุกเส้นจะถูกป้องกันด้วยฟิวส์

ภาพที่ 1 ระบบ TT June-July 2015, Vol.42 No.241

53 <<<


&

Electrical & Electronic ระบบ TN-S

เส้นตัวน�ำไฟฟ้าทุกเส้นจะมีฟิวส์ป้องกัน ระบบสามารถมีการ ติดตัง้ RCD ป้องกันเพิม่ เติม ความต้านทานการต่อลงดินมักจะต�ำ่ มาก พอ เพราะสายดินป้องกัน (PE) จะมีความต้านทานต�่ำและต่อลงดิน อย่างดีทแี่ หล่งจ่ายไฟฟ้าและจุดกระจายไฟฟ้า การติดตัง้ การป้องกัน เพิ่มด้วย RCD จะไม่มีประสิทธิผล

ระบบ TN-C-S

ภาพที่ 2 แสดงระบบติดตั้งไฟฟ้าแบบ TN-S

ภาพที่ 2 แสดงระบบติดตั้งไฟฟ้าแบบ TN-S (S คือ แยกจาก กัน) ตัวน�ำแยกเป็นเส้นสายดินป้องกัน (PE) กับเป็นเส้นสายศูนย์ (N) เส้น PE ท�ำหน้าที่ป้องกันอย่างเดียว เส้นตัวน�ำไฟฟ้าทุกเส้นจะมีฟิวส์ ป้องกัน ระบบสามารถมี การติดตั้ง RCD ป้องกันเพิ่มเติม ความต้านทานการต่อลงดินมักจะ ต�่ำมากพอ เพราะสายดินป้องกัน (PE) จะมีความต้านทานต�่ำและ ต่อลงดินอย่างดีที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าและจุดกระจายไฟฟ้า

ระบบ TN-C

ภาพที่ 3 ระบบ TN-C

ภาพที่ 3 เป็นระบบ TN-C (C คือ ร่วมกัน) จะประกอบด้วย สายตัวน�ำรวมหน้าที่กัน (PEN) ในการท�ำให้ระบบจ่ายไฟฟ้าสมบูรณ์ สายตัวน�ำ PEN นี้ จะท�ำหน้าที่ป้องกันและให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน คือ เป็นสายศูนย์ (neutral) ด้วย >>>54

June-July 2015, Vol.42 No.241

ภาพที่ 4 ระบบ TN-C-S

ภาพที่ 4 เป็นระบบ TN-C-S ส่วนตัวน�ำทีเ่ ปิดโล่งจะมีบางส่วน ทีถ่ กู ต่อกับเส้นตัวน�ำ PE และบางส่วนต่อกับตัวน�ำ PEN และในระบบ บางส่วนจะเป็นสายตัวน�ำร่วม PEN บางส่วนสาย N กับ PE จะแยก เส้นกัน


&

Electrical & Electronic เส้นตัวน�ำไฟฟ้าทุกเส้นจะมีฟิวส์ป้องกัน ระบบสามารถมี การติดตั้ง RCD ป้องกันเพิ่มเติม ความต้านทานการต่อลงดินมักจะ ต�่ำมากพอ เพราะสายดินป้องกัน (PE) จะมีความต้านทานต�่ำและ ต่อลงดินอย่างดีที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าและจุดกระจายไฟฟ้า การติดตั้ง RCD ป้องกันเพิ่มเติมท�ำได้ในต�ำแหน่งที่ติดตั้งสาย N กับสาย PE แยกจากกันในการท�ำหน้าที่

สายตัวน�ำไฟฟ้าทุกเส้นจะถูกต่อฟิวส์ป้องกัน ระบบ IT มักจะ มีอปุ กรณ์เฝ้าระวังฉนวนไฟฟ้า (Insulation Monitor Devices : IMDs) และอุปกรณ์เฝ้าระวัง (Residual Current Monitors : RCMs) ทีต่ ดิ ตัง้ เพื่อตรวจสอบการผิดพร่องของฉนวนและเพื่อกระตุ้นเครื่องเตือนให้ เตือนก่อนการจ่ายไฟฟ้าจะต้องถูกตัดตอน เครื่อง RCDs สามารถใช้ งานได้เพียงบางส่วน

ระบบ IT

ระบบ RLV

ภาพที่ 5 แสดงการติดตั้งระบบ IT

ภาพที่ 5 แสดงการติดตัง้ ระบบ IT ทีม่ สี ว่ นของแหล่งจ่ายไฟฟ้า ถูกแยกออกจากดินหรือถูกต่อลงดินผ่านตัวอิมพีแดนซ์ที่มีค่าสูงมาก พอทีแ่ หล่งจ่ายไฟฟ้า ส่วนตัวน�ำเปิดโล่งจะถูกต่อลงดินอย่างอิสระหรือ ถูกต่อกับสายดิน ป้องกัน PE และถูกต่อลงดินที่จุดใช้งานที่ต�ำแหน่ง ขาเข้าของการติดตั้ง ระบบ IT มักจะถูกใช้ในห้องทางการแพทย์ อุตสาหกรรมเคมี พื้นที่ระเบิดได้และอื่น ๆ ข้อดีหลัก ๆ ก็คือ ในกรณีของการผิดพร่อง ครั้งแรก (ระหว่างเฟสกับดิน) ระบบจะยังคงท�ำงานอย่างปลอดภัย

ภาพที่ 6 แสดงระบบ RLV (Reduce Low Voltage) แบบ 3 เฟส และ 2 เฟส

ในภาพที่ 6 แสดงระบบ RLV (Reduce Low Voltage) ซึง่ เป็น ระบบลดแรงดันให้ต�่ำลง สายเส้น PE จะถูกต่อในต�ำแหน่งตรงกลาง ของแหล่งจ่ายไฟ ผลที่ได้คือ ในระบบ 110 V RLV แรงดันไฟฟ้าใด ๆ จะใกล้เคียงกับขีดจ�ำกัดการสัมผัสทีป่ ลอดภัย (63.5 V ในระบบ 3 เฟส และ 55 V ในระบบ 2 เฟส) โดยทั่วไปแล้ว ระบบ RLV สามารถ พิจารณาเป็นระบบที่ปลอดภัยมาก สายเส้นไฟฟ้าทุกเส้นจะปกป้องด้วยฟิวส์ ระบบ RLV สามารถ ติดตั้งเครื่องป้องกันชนิด RCD เพิ่มเติมได้

(อ่านต่อฉบับหน้า) แปลและเรียบเรียงจากเอกสาร : Guide for Testing and Verification of Low Voltage Installations ของ METREL

June-July 2015, Vol.42 No.241

55 <<<


&

Production

เครื อ ่ งปั ม ๊ เซอร์ โ ว ส่งเสริมให้การผลิตเป็นระบบได้อย่างดีที่สุด

(servo press serves best as a system) อำ�นาจ แก้วสามัคคี

เครื่อง

ปั๊มเซอร์โว หรือเครื่องปั๊มแบบมีมอเตอร์ช่วยควบคุม (servo press) ถือว่าเป็น เครื่องปั๊มที่มีเ ทคโนโลยีที่ทันสมัยส�ำหรับใช้ท�ำการตัดเฉือนขึ้นรูปวัสดุในปัจจุบันนี้ ซึ่งอาจจะกล่าวได้ว่า เป็น เทคโนโลยีที่จะก้าวมาทดแทนเครื่องปั๊มที่ใช้เ ทคโนโลยีแบบดั้งเดิมเพิ่มมากขึ้น เรื่อย ๆ และทุก ๆ โรงงานที่ผลิตชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปจะต้องมีไว้ ใช้ ในอนาคตอันใกล้ ราวกับว่าเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญในการด�ำรงชีวิตของโรงงานปั๊มนั้นอย่างที่จะขาดไปไม่ได้

โดย

เฉพาะอย่างยิ่งในโรงงานของผู้ผลิตอุปกรณ์-ชิ้นส่วน ยานยนต์แท้ดั้งเดิม (Original Equipment Manufacturer : OEM) และผูร้ บั จ้างผลิตรายย่อย ๆ ต่อเนือ่ งกันไปนัน้ จะได้รบั อิทธิพลโดยตรงจากการที่ผู้ผลิตยานยนต์ชั้นน�ำได้ตระหนักถึงความ แข็งแรง ปลอดภัย การลดน�้ำหนักยานยนต์เพื่อให้การใช้เชื้อเพลิงมี ความประหยัดมากยิ่งขึ้น และให้สอดคล้องกับมาตรฐานการปล่อย ของเสียออกสู่บรรยากาศ จึงได้มีการพิจารณาน�ำวัสดุชนิดความ แข็งแรงสูง (high strength materials) และวัสดุที่มีคุณสมบัติพิเศษ (exotic materials) ต่าง ๆ มาเป็นวัตถุดิบในการผลิตยานยนต์ ซึ่ง วัสดุเหล่านี้ยากต่อการปั๊ม ตัดเฉือน-ขึ้นรูปให้มีคุณภาพได้ด้วยเครื่อง ปัม๊ แบบดัง้ เดิมเช่นในอดีตทีผ่ า่ นมา หรือในกรณีทผี่ ผู้ ลิตชิน้ งานปัม๊ ตัด เฉือน-ขึน้ รูป ซึง่ ได้ใช้เครือ่ งปัม๊ แบบเทคโนโลยีดงั้ เดิมมานานแล้ว และ มีแนวโน้มว่า ต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ำรุง-ซ่อมแก้ไขเพิ่ม

>>>56

June-July 2015, Vol.42 No.241

มากขึ้นอยู่เรื่อย ๆ รวมทั้งยังมีต้นทุนการผลิตต่อหนึ่งชิ้นงานที่สูงอีก ด้วยนั้น ก็ควรที่จะได้พิจารณาท�ำการลงทุนในเทคโนโลยีเครื่องปั๊ม เซอร์โวนี้ เพื่อสร้างโอกาสในการลดต้นทุนการผลิตที่ต�่ำกว่า ซึ่งจะ ท�ำให้บริษัทยังคงความสามารถที่จะอยู่ในสนามการแข่งขันอย่างมี ชีวิตชีวาต่อไป เทคโนโลยีชว่ ยควบคุมหรือเทคโนโลยีเซอร์โวนี้ ได้มกี ารน�ำมา ใช้งานเป็นระบบขับเคลื่อนของเครื่องปั๊มกลไกแบบมีมอเตอร์ช่วย ควบคุมนับตัง้ แต่ปี พ.ศ.2543 เป็นต้นมา ซึง่ ในปัจจุบนั นีผ้ ผู้ ลิตชิน้ งาน ปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูป (stampers) จ�ำเป็นต้องหันมาสนใจในการทีจ่ ะน�ำ เอาเครื่องปั๊มแบบมีมอเตอร์ช่วยควบคุม หรือเครื่องปั๊มเซอร์โวไปเป็น ส่วนหนึง่ ของระบบการผลิตมากกว่าทีจ่ ะเพียงจัดวางเครือ่ งเอาไว้แบบ เดีย่ ว ๆ เช่นทีผ่ า่ นมา เพือ่ ก่อให้เกิดผลประโยชน์สงู สุดต่อการประหยัด ค่าใช้จ่ายให้ลดลงได้


&

Production

เซอร์โวนีท้ มี่ อี ยูท่ งั้ หมด เพือ่ ทีจ่ ะส่งเสริมและยกระดับกระบวนการผลิต โดยรวมของเขาเหล่านัน้ ซึง่ ในปัจจุบนั นีผ้ ผู้ ลิตชิน้ งานปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปก็ได้หันมาสนใจ และเห็นถึงความจ�ำเป็นในการที่จะน�ำเอาเครื่อง ปั๊มเซอร์โวไปผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของระบบการผลิตมากกว่าที่จะ จัดวางเครื่องเอาไว้เพียงเครื่องเดียวเดี่ยว ๆ ดังจะได้อธิบายต่อไปนี้

เครื่องปัม๊ แบบมีมอเตอร์ชว่ ยควบคุม หรือเครื่องปัม๊ เซอร์โว ในระบบการผลิต (servo presses in a system)

ภาพที่ 1 เครื่องปั๊มพร้อมด้วยเทคโนโลยีเซอร์โว โดยที่เทคโนโลยีนี้ ได้เริ่มมีการนำ�มาใช้งาน นับตัง้ แต่ปี พ.ศ.2543 ซึง่ จะมีระบบขับเคลือ่ นของเครือ่ งปัม๊ กลไกเป็นแบบมีมอเตอร์ ช่วยควบคุม หรือเครื่องปั๊มกลไกแบบเซอร์โว (servo mechanical presses) เป็น องค์ประกอบสำ�คัญ

ถึงแม้ว่าในช่วงเริ่มต้นนั้นผู้ผลิตชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป (รวมทั้งที่พบในโรงงานของผู้ผลิตในประเทศไทยด้วย) จะได้มีการน�ำ เครือ่ งปัม๊ เซอร์โวมาใช้งานในรูปแบบลักษณะเดียวกันกับทีเ่ คยใช้งาน ด้วยเครื่องปั๊มเชิงกลแบบเดิมอยู่ กล่าวคือ เป็นการใช้แต่เพียงใน รูปแบบที่ให้ความเร็วสูงอย่างเต็มที่ และการเคลื่อนที่หมุนแบบเต็ม รอบอย่างสมบูรณ์แบบเท่านัน้ ดังนัน้ จึงถือว่ายังคงเป็นการใช้งานโดย ไม่ได้รับผลประโยชน์ที่เป็นจุดเด่นอันเป็นคุณลักษณะเฉพาะของ เครื่องปั๊มเซอร์โวนี้มากนัก อย่างไรก็ตามผู้ผลิตชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปส่วนใหญ่แล้ว จะเริม่ รูส้ กึ ว่าได้ใช้ประโยชน์จากขีดความสามารถเครือ่ งปัม๊ กลไกแบบ เซอร์โวหรือแบบทีม่ มี อเตอร์ชว่ ยควบคุมนี้ เมือ่ วัสดุชนิดความแข็งแรง สูงได้เข้ามามีบทบาท และกลายมาเป็นวัสดุที่น�ำมาใช้กันอย่างแพร่ หลายมากยิง่ ขึน้ ในเวลาต่อมา และด้วยเหตุทเี่ ครือ่ งปัม๊ เซอร์โวมีความ สามารถในการช่วยควบคุมความเร็ว การเคลือ่ นที่ และการหยุดพักรอ ของแรมหรือสไลด์ เครื่องปั๊มนั้นท�ำให้ความต้องการเป็นจริงขึ้นมาได้ จึงท�ำให้ผู้ผลิตชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปค้นพบวิธีการเปลี่ยน-ติดตั้ง แม่พิมพ์ที่ต้องมีการท�ำซ�้ำ ๆ กันอยู่นั้นจะท�ำให้รวดเร็วขึ้นได้อย่างไร โดยทีส่ ว่ นแรมหรือสไลด์กบั แผ่นโบลสเตอร์หรือโต๊ะงานของเครือ่ งปัม๊ ยังคงรักษาความขนานกันเอาไว้ได้โดยอัตโนมัติ อย่างไรก็ดี ถึงแม้วา่ ในทุกวันนีจ้ ะได้มคี วามเข้าใจถึงขีดความ สามารถของเครือ่ งปัม๊ เซอร์โวอย่างกว้างขวางมากยิง่ ขึน้ และมีการใช้ งานอย่างแพร่หลายมากขึ้นกว่าในอดีตแล้วก็ตาม แต่สิ่งส�ำคัญที่ กระตุ ้ นให้ผู ้ผ ลิต ชิ้ นงานปั ๊ ม ตั ด เฉื อ น-ขึ้น รู ป พยายามที่ จ ะหาผล ประโยชน์จากเทคโนโลยีเซอร์โวนีใ้ นด้านต้นทุนและผลผลิตให้มากยิง่ ขึน้ ไปอีก เนือ่ งจากความเคลือ่ นไหวและเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วใน ตลาดโลกนั้นได้ส่งผลกระทบและสร้างแรงกดดันในเรื่องต้นทุนใน การผลิตเป็นอย่างมากนั่นเอง ดั ง นั้ น ผู ้ ผ ลิ ต ชิ้ น งานปั ๊ ม ตั ด เฉื อ น-ขึ้ น รู ป ก็ ค วรที่ จ ะหาผล ประโยชน์อย่างเต็มทีจ่ ากความยืดหยุน่ เปลีย่ นแปลงได้ของเทคโนโลยี

อุปกรณ์อัตโนมัติ (automation equipment) วิธีหนึ่งที่ผู้ผลิต ชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปสามารถที่จะใช้เครื่องปั๊มเซอร์โวเป็นส่วน หนึ่งของระบบการผลิตเพื่อให้ได้ผลดีที่สุดนั้น ท�ำได้ด้วยการรวมการ เขียนชุดค�ำสั่งหรือโปรแกรมก�ำหนดการเคลื่อนที่ของแรม หรือสไลด์ ของเครือ่ งปัม๊ ให้ทำ� งานรวมเข้าด้วยกันกับอุปกรณ์อตั โนมัติ เพือ่ ให้ได้ ผลทีด่ ที สี่ ดุ ของกระบวนการโดยรวมทัง้ หมด แล้วท�ำให้ได้ความเร็วใน การท�ำงานต่อนาที (Strokes Per Minute : SPM) เพิ่มมากยิ่งขึ้น และ ท�ำการก�ำจัดกระบวนการทีต่ อ้ งสูญเสียเวลามากระท�ำในภายหลังการ ปัม๊ ชิน้ งานเสร็จออกจากแม่พมิ พ์แล้วออกไปได้ดว้ ย จึงส่งผลท�ำให้ได้ ปริมาณงานมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม การส่งผ่าน (transfers) ในการปฏิบตั งิ านลักษณะทีม่ กี ารป้อน ชิน้ งานแบบส่งผ่านนัน้ สิง่ แรกทีผ่ ผู้ ลิตชิน้ งานปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปจะรับ ประโยชน์ที่เป็นจริงอย่างเป็นรูปธรรมขึ้นมาได้นั้น ก็ด้วยการประสาน งานการเคลื่อนที่ของแรมหรือสไลด์ของเครื่องปั๊มให้เข้ากันกับการส่ง ผ่านได้โดยอัตโนมัติ เพราะว่าในเครื่องปั๊มกลไกแบบที่ไม่มีมอเตอร์ ช่วยควบคุมนั้น เครื่องจะต้องมีรูปแบบลักษณะของช่วงชักที่ยาวพอ ส�ำหรับให้สไลด์หรือแรมของเครื่องปั๊มเคลื่อนที่สูงขึ้นได้อย่างเพียง พอที่จะท�ำให้พ้น-ห่างจากส่วนจับยึด (grippers) หรือส่วนที่เรียกว่า นิ้วจับชิ้นงาน (fingers) ซึ่งส่วนดังกล่าวนี้จะท�ำหน้าที่ในการจับยึดเคลือ่ นย้ายน�ำชิน้ งานจากสถานีงานหนึง่ ไปยังอีกสถานีงานหนึง่ และ ด้วยผลดีของวิธีการท�ำงานที่กล่าวมานี้ก็สามารถท�ำให้การเคลื่อนที่ และยกชิ้นงานแบบ 3 แนวแกนเป็นจริงขึ้นมาได้

ภาพที่ 2 กลไกสำ�หรับการเคลื่อนที่ป้อนชิ้นงานแบบส่งผ่านแบบ 3 แนวแกน ซึ่งใช้กับชิ้นงาน ดึงขึ้นรูปลึก (deeper drawn part) หรือมีความสูงมากกว่า และชิ้นงานที่ตื้น (shallower part) หรือมีความสูงน้อยกว่า

ในอดีตนั้นการด�ำเนินการเพื่อให้ได้ปริมาณงานสูงสุดใน ลักษณะที่กล่าวมานี้ ผู้ผลิตชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปมักจะใช้วิธีเดิน เครื่องปั๊มให้ผลิตชิ้นงานอย่างต่อเนื่อง ด้วยความเร็วแบบปกติใน การส่งผ่านชิ้นงาน ซึ่งจะมีความเร็วสูงสุดได้เพียง 14 ชิ้นงานต่อนาที June-July 2015, Vol.42 No.241

57 <<<


&

Production (14 Parts Per Minute : PPM) ส�ำหรับการผลิตชิ้นงานในระดับเกรด เอ แต่ในทุกวันนีท้ มี่ กี ารน�ำเทคโนโลยีเซอร์โวมาใช้ในการท�ำงานแล้ว นั้น ช่วยท�ำให้ผู้ผลิตชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปสามารถที่จะเพิ่ม ความเร็วในการท�ำงานเพิ่มขึ้นได้ ด้วยการประสานการเคลื่อนที่ของ แรมหรือสไลด์ของเครื่องปั๊มให้เข้ากันกับการเคลื่อนที่ของส่วนนิ้วจับ ชิน้ งาน และท่อน-ราวป้อนส่งชิน้ งาน (transfer bars) จึงท�ำให้ปริมาณ การผลิตชิ้นงานเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย

ส่วนแรมหรือสไลด์ของเครือ่ งปัม๊ ก็จะไม่มกี ารหยุดอยูก่ บั ทีใ่ น ระหว่างเคลื่อนที่ตลอดช่วงชัก ดังนั้นจึงเป็นการก�ำจัดการเคลื่อนที่ที่ สูญเปล่าออกไปและได้ปริมาณงานที่ให้ผลดีที่สุด จึงท�ำให้เครื่องปั๊ม และการเคลื่อนที่ป้อนชิ้นงานแบบส่งผ่านมีการท�ำงานร่วมกันอย่าง เป็นระบบ ดังตัวอย่างในภาพต่อไปนี้

1) แม่พิมพ์เริ่มเคลื่อนที่ลงปั๊มภายหลัง 2) แม่พิมพ์เคลื่อนลงสู่จุดศูนย์ตายล่าง จากที่กลไกป้อนส่งผ่านชิ้นงานได้วาง ในขณะเดียวกันที่กลไกป้อนส่งผ่าน ชิ้นงานลงในแต่ละสถานีงานที่อยู่ถัด ชิน้ งานคลายการจับยึดแล้วเลือ่ นถ่าง ไป ออกจากกัน

ภาพที่ 3 การขับเคลือ่ นแบบมีตวั ช่วยควบคุม (servo drive) จะยอมให้ความเร็วของเครือ่ งปัม๊ เปลี่ยนแปลงได้ โดยจะลดความเร็วในช่วงมุมจาก 0 ถึง 120 องศา ให้น้อยลง และ หลังจากนัน้ ก็จะเคลือ่ นทีท่ �ำ งานด้วยความเร็วในการทำ�งานตามทีไ่ ด้มกี ารกำ�หนดไว้ แล้วก็เพิม่ ความเร่งขึน้ ไปสูค่ วามเร็วสูงสุดเต็มทีอ่ กี ครัง้ ในตอนทีแ่ รมหรือสไลด์ของ เครื่องปั๊มเคลื่อนที่กลับสู่ส่วนบนของช่วงชัก

3) แม่พิมพ์ชุดบนเคลื่อนลงปั๊มตัดเฉือน- 4) กลไกป้ อ นส่ ง ผ่ า นชิ้ น งานเคลื่ อ นที่ ขึ้นรูปชิ้นงานเข้ากับแม่พิมพ์ชุดล่าง เข้าไปจับยึดชิ้นงานโดยส่วนนิ้วจับ ในขณะเดียวกันที่กลไกป้อนส่งผ่าน ในขณะเดียวกันทีแ่ ม่พมิ พ์ชดุ บนเลือ่ น ชิ้นงานเคลื่อนที่กลับ ขึ้นสู่จุดศูนย์ตายบน ภาพที่ 4 กลไกการส่งกำ�ลังแบบข้อต่อ (ซ้ายมือ) และการเปรียบเทียบการเคลื่อนที่ของแรม หรือสไลด์เครื่องปั๊มที่มีการส่งกำ�ลังแบบข้อต่อหรือแบบลิงก์ (link motion) กับ การเคลื่อนที่ส่งกำ�ลังแบบข้อเหวี่ยง (crank motion) ที่มีระยะชักเท่ากัน (ขวามือ)

ตัวอย่างเช่น ถ้าหากรูปแบบความเร็วของแรมหรือสไลด์ของ เครือ่ งปัม๊ มีการลดลงเล็กน้อยในขณะทีจ่ ะเริม่ มีการปะทะเข้ากับวัสดุ ที่จะปั๊มให้กลายเป็นชิ้นงานนั้น ก็จะเป็นรูปแบบที่มีลักษณะคล้าย ๆ กันกับการเคลือ่ นทีส่ ง่ ก�ำลังแบบข้อต่อหรือแบบลิงก์ ณ ทีจ่ ดุ ศูนย์ตาย ล่างของการปั๊มนั่นเอง หลังจากนั้น ณ ที่มุม 185 องศา (หรือมุมที่เพิ่ง จะผ่านพ้นมาจากจุดศูนย์ตายล่างไปแล้ว) แรมหรือสไลด์ของเครื่อง ปั๊มก็จะกลับมาเพิ่มความเร็วให้สูงขึ้นอย่างเต็มที่แล้วก็คงรักษา ความเร็วนีเ้ อาไว้จนกระทัง่ เคลื่อนทีไ่ ปยังมุม 359 องศา (ดังภาพที่ 3) หลังจากนั้นแรมหรือสไลด์ของเครื่องปั๊มก็จะลดความเร็วลง ตามที่ผู้ปฏิบัติงานได้เขียนโปรแกรมหรือชุดค�ำสั่งไว้ เพื่อให้ภายหลัง จากเคลือ่ นทีผ่ า่ นจุดศูนย์ตายบนไปแล้วมีความเร็วลดลงจนเพียงพอที่ จะยอมให้ส่วนนิ้วจับชิ้นงาน (fingers) นั้น พ้น-ห่างจากการกีดขวาง ไปได้ และภายหลังจากทีส่ ว่ นนิว้ จับชิน้ งานไม่กดี ขวางการท�ำงานแล้ว ความเร็วของแรมหรือสไลด์ของเครือ่ งปัม๊ ก็จะเพิม่ ขึน้ และเคลือ่ นผ่าน ส่วนที่เป็นช่วงท�ำงานของช่วงชักไปอีกครั้ง >>>58

June-July 2015, Vol.42 No.241

5) กลไกป้อนส่งผ่านชิ้นงานยกชิ้นงาน 6) กลไกป้อนส่งผ่านชิ้นงานเลื่อนลงวาง ขึ้ น เล็ ก น้ อ ย ขึ้ น อยู่ กับ ความสู ง ของ ชิ้นงานในแม่พิมพ์แล้วเลื่อนถ่างออก ชิ้นงานนั้น แล้วเคลื่อนที่ป้อนส่งผ่าน จากกัน ในขณะทีแ่ ม่พมิ พ์ชดุ บนเลือ่ น ไปยังสถานีงานที่อยู่ถัดไป ลงปัม๊ ชิ้นงานอีกครั้ง ภาพที่ 5 กลไกสำ�หรับการเคลือ่ นทีป่ อ้ นชิน้ งานแบบส่งผ่าน ทีม่ กี ารเคลือ่ นทีท่ �ำ งานอย่างสอด ประสานร่วมกันกับการเคลือ่ นทีข่ องแม่พมิ พ์ชดุ บนซึง่ ยึดอยูก่ บั ส่วนแรม หรือสไลด์ ของเครื่องปั๊มเซอร์โว “โคะมัทซึ (komatsu)”

จากในภาพที่ 3 ถึงภาพที่ 5 นั้น ผู้ผลิตชิ้นงานปั๊มตัดเฉือนขึน้ รูป สามารถทีจ่ ะใช้เครือ่ งปัม๊ เซอร์โวเป็นส่วนหนึง่ ของระบบการผลิต เพื่อให้ได้ผลดีที่สุด ด้วยการรวมการเขียนโปรแกรมก�ำหนดการ เคลื่อนที่ของแรมหรือสไลด์ของเครื่องปั๊มให้ท�ำงานรวมเข้ากันกับ อุปกรณ์อตั โนมัติ โดยในตัวอย่างนี้ คือ การเคลือ่ นทีข่ องแรมหรือสไลด์ ของเครื่องปั๊มจะไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่ แต่จะเลื่อนไหลผ่านจุดศูนย์ตาย


&

Production บนไป แล้วก็จะมีการเพิ่มความเร็วมากยิ่งขึ้น เมื่อได้เคลื่อนที่ผ่านพ้น ส่วนที่เป็นช่วงท�ำงานของช่วงชักไปแล้ว ข้อสังเกตในทีน่ ี้ คือ แม้วา่ แม่พมิ พ์จะอยูใ่ กล้ชดิ กับส่วนจับยึด (grippers) เพียงใดในขณะทีอ่ ยูใ่ นช่วงชักด้านศูนย์ตายล่างก็ตาม ส่วน จับยึดชิ้นงานก็คงยังสามารถที่จะเคลื่อนที่ย้อนกลับไปเริ่มต้นท�ำงาน ใหม่ได้ในขณะที่แม่พิมพ์ชุดบนเริ่มประกบเข้ากับแม่พิมพ์ชุดล่าง จึง เป็นการท�ำงานอย่างต่อเนื่องไม่เกิดการหยุดชะงักแต่อย่างใด อีกวิธีการหนึ่งที่เป็นประโยชน์ในการประยุกต์ใช้การควบคุม การเคลือ่ นทีข่ องสไลด์หรือแรมของเครือ่ งปัม๊ ในการผลิตแบบป้อนส่ง ผ่านชิ้นงานนี้ที่สามารถท�ำได้ คือ การลดความยาวของระยะชักหรือ ช่วงชักลงได้ โดยอาจกล่าวได้วา่ ในเครือ่ งปัม๊ ส่งผ่านเชิงกลแบบดัง้ เดิม ซึ่งมีลักษณะช่วงชักยาว ๆ นั้น จะไม่มีความเหมาะสมและไม่เป็นที่ ต้องการในการน�ำมาใช้กบั งานลักษณะนี้ เนือ่ งจากความยาวของช่วง ชักที่ต้องการน�ำมาใช้งานจริงนั้นจะต้องขึ้นอยู่กับแต่ละลักษณะงาน ที่น�ำไปประยุกต์ใช้ ซึ่งการที่ระยะชักหรือช่วงชักของเครื่องปั๊มเซอร์โว ที่น�ำมาใช้ในการปั๊มจะลดลงเหลือเพียง 610 มิลลิเมตร (24 นิ้ว) ก็ไม่ ถือว่าเป็นเรือ่ งผิดปกติแต่อย่างใด เพราะนอกจากจะท�ำให้เกิดผลลัพธ์ ที่เห็นได้อย่างชัดเจน คือ ได้ผลผลิตของกระบวนการที่ดีกว่าแล้วก็ยัง ท�ำให้มตี น้ ทุนในการปัม๊ ขัน้ ต้นทีต่ ำ�่ กว่า รวมทัง้ ความสูงในการปัม๊ โดย รวมก็ลดลงไปได้อีกด้วย การปัม๊ ตีซำ�้ หลาย ๆ ครัง้ (multi-stroke) ความสามารถเฉพาะ อย่างอืน่ อีกของเทคโนโลยีเซอร์โวนีเ้ รียกว่า “การปัม๊ ตีซำ�้ หลาย ๆ ครัง้ ” ซึ่งการท�ำงานของรูปแบบ หรือโหมดนี้จะท�ำให้สไลด์หรือแรมของ เครือ่ งปัม๊ สามารถทีจ่ ะปัม๊ ตีขนึ้ รูปซ�ำ้ ๆ เพิม่ ขึน้ ได้หลายเท่า หรือหลาย ๆ ช่วงก่อนทีแ่ รมหรือสไลด์ของเครือ่ งปัม๊ จะเคลือ่ นทีถ่ งึ จุดศูนย์ตายล่าง จึงเป็นประโยชน์อย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบวนการตีกระแทก (striking) และการตีกระแทกซ�ำ้ (re-striking) ในวัสดุทมี่ กี าร ดีดตัวกลับคืนภายหลังจากทีผ่ า่ นการขึน้ รูปไปแล้วสูง เช่น ไทเทเนียม แผ่นบาง และแผ่นเหล็กความแข็งแรงสูงมาก (advanced high strength steels)

โดยปกติแล้ว การตีกระแทกวัสดุซำ�้ ๆ กันในแม่พมิ พ์โปรเกรสซีฟว์นั้น จะท�ำได้ด้วยการใช้หลาย ๆ สถานีงานหรือหลาย ๆ ขั้นตอน กระท�ำในแม่พิมพ์นั้น แต่ส�ำหรับในแม่พิมพ์ที่ใช้เครื่องปั๊มแบบมี มอเตอร์ช่วยควบคุมหรือเครื่องปั๊มเซอร์โวนั้น สามารถที่จะท�ำการตี กระแทกวัสดุซ�้ำ ๆ กันภายในสถานีงาน หรือขั้นตอนเดียวกันได้ โดย การเลือกใช้ลกั ษณะเด่นของรูปแบบ “การปัม๊ ตีซำ�้ หลาย ๆ ครัง้ ” ซึง่ วิธี นี้จะช่วยท�ำให้ต้นทุนของแม่พิมพ์ลดลงได้ เนื่องจากมีจ�ำนวนของ สถานีงานของแม่พมิ พ์ทลี่ ดน้อยลง หรือมีจ�ำนวนขัน้ ตอนทีน่ อ้ ยกว่าวิธี ปกตินั่นเอง นอกจากนี้ยังท�ำให้ต้นทุนการผลิตลดลงได้อีก เนื่องจาก แม่พิมพ์ที่มีขนาดเล็กลงนี้ ก็สามารถน�ำไปติดตั้งและปั๊มตัดเฉือนขึน้ รูปชิน้ งานได้ดว้ ย เครือ่ งปัม๊ เซอร์โวทีม่ ขี นาดเล็กกว่าและมีคา่ เสือ่ ม ราคาที่ถือเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตที่ต�่ำกว่าได้อีกด้วย ภายหลังที่ผ่านช่วงสุดท้ายของช่วงชักไปแล้ว แรมหรือสไลด์ ของเครื่องปั๊มจะเคลื่อนที่กลับสู่จุดศูนย์ตายบนอย่างรวดเร็ว แล้วส่ง สัญญาณไปยังอุปกรณ์อัตโนมัติส�ำหรับควบคุมวัสดุ เพื่อที่จะน�ำวัสดุ เข้าไปภายในแม่พมิ พ์และหรือเคลือ่ นย้ายน�ำชิน้ งานออกจากแม่พมิ พ์ โดยอาศัยการหยิบจับด้วยแขนกล อุปกรณ์ป้อนส่งวัสดุ กลไกแบบ กระสวยและอุปกรณ์แบบอื่น ๆ ให้ท�ำงานต่อไป การประยุกต์ใช้ “การปัม๊ ตีซำ�้ หลาย ๆ ครัง้ ” บางรูปแบบจ�ำเป็น ต้องท�ำงานประสานไปกับการป้อนส่งวัสดุเป็นการเฉพาะ ยกตัวอย่าง เช่น การประยุกต์ใช้งานอย่างหนึ่งซึ่งใช้กับแม่พิมพ์ที่มีอยู่เพียงสอง สถานีงานหรือสองขั้นตอน โดยแถบวัสดุจากที่ขดเป็นม้วนอยู่จะเริ่ม ถูกป้อนส่งเข้าสูส่ ถานีงานแรกของแม่พมิ พ์ และส�ำหรับสองช่วงแรกที่ ตีหรือท�ำการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปนั้น ชิ้นงานก็จะถูกปั๊มบางส่วนด้วย กระบวนการขึ้นรูป และกระบวนการตัดเจาะรูส�ำหรับเอาไว้สอดเข้า กับสกรูหรือตัวยึด (fastener) หลังจากนัน้ ม้วนวัสดุกจ็ ะป้อนย้อนกลับ ไปข้างหลัง เพือ่ ทีจ่ ะท�ำให้เกิดช่องว่างส�ำหรับการสอดใส่สกรูเข้าไปใน รูทตี่ ดั เจาะไว้แล้ว ต่อจากนัน้ ม้วนวัสดุกจ็ ะกลับมาป้อนส่งไปข้างหน้า อีกครั้งหนึ่งไปสู่สถานีงานที่สอง เพื่อตีหรือท�ำการปั๊มครั้งที่สาม ซึ่งจะ เป็นกระบวนการย�้ำสกรูให้ยึดติดกับชิ้นงาน แล้วจากนั้นจึงท�ำการตัด ชิ้นงานแยกออก (cut off) มาจากแถบวัสดุ ซึ่งการปั๊มตีซ�้ำทั้งสามครั้ง นี้ จะกระท�ำอยูภ่ ายในหนึง่ วัฏจักรท�ำงานเดียวกันก่อนทีแ่ รมหรือสไลด์ ของเครื่องปั๊มจะเลื่อนลงปะทะอย่างเต็มที่ ณ ที่จุดศูนย์ตายล่างด้วย อัตราความเร็วในการผลิตที่ 35 ชิน้ งานต่อนาที (35 Parts Per Minute: PPM) (ดังแสดงในภาพที่ 6) การใส่สกรูหรือตัวยึดเข้าไปประกอบกับชิน้ งานปัม๊ ได้ในขณะ ที่อยู่ภายในแม่พิมพ์นี้ ก็จะช่วยให้สามารถก�ำจัดกระบวนการที่ต้อง ท�ำงานในล�ำดับถัดมา (กระบวนการท�ำงานในล�ำดับถัดมาในที่นี้ คือ การประกอบสกรูเข้าไปในชิ้นงานภายหลังจากที่ได้ปั๊มขึ้นรูป-เจาะรู ชิ้ น งานเสร็ จ สิ้ น และน� ำ ออกจากแม่ พิ ม พ์ ไ ปแล้ ว และส� ำ หรั บ กระบวนการอืน่ ๆ ทีส่ ามารถท�ำได้ภายในแม่พมิ พ์ในลักษณะคล้าย ๆ กันนี้ เช่น กระบวนการต๊าปเกลียวภายในชิ้นงาน กระบวนการเชื่อม June-July 2015, Vol.42 No.241

59 <<<


&

Production ยึดให้ชิ้นงานติดกัน หรือกระบวนการพ่น-ทาสี เป็นต้น) ออกไปได้ จึง ท�ำให้ได้ออกมาเป็นชิ้นงานที่เสร็จส�ำเร็จรูปที่กองเรียงซ้อน ๆ กันและ พร้อมส�ำหรับบรรจุ-หีบห่อได้ทันทีเลย ภายหลังที่เสร็จออกมาจาก แม่พิมพ์และเครื่องปั๊มแล้ว ซึ่งวิธีนี้ช่วยให้อัตราของการจัดส่งชิ้นงาน ต่อหนึ่งกะท�ำงานเพิ่มขึ้นได้มากถึง 40 เปอร์เซ็นต์ สัญญาณควบคุมจากอุปกรณ์สำ� หรับการสอดใส่สกรู สายงาน ในการป้อนส่งม้วนวัสดุ และเครื่องปั๊มต่างก็ได้ท�ำงานอย่างประสานพร้อมเพรียงกันแล้ว ท�ำให้ได้ระบบของกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ ขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 6

ภาพที่ 6 เทคโนโลยีเครือ่ งปัม๊ เซอร์โวไม่เพียงแต่จะยอมให้ท�ำ การเปลีย่ นแปลงความเร็วได้เท่านัน้ แต่ยงั รวมไปถึงการเปลีย่ นแปลงทิศทางได้ดว้ ยเช่นกัน ซึง่ ในตัวอย่างนี้ ม้วนวัสดุจะ ถูกป้อนส่งไปทางด้านหน้า ทำ�การปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูป จากนัน้ จะป้อนย้อนกลับไปข้าง หลังเพือ่ ทีจ่ ะเตรียมสำ�หรับการสอดใส่สกรูหรือตัวยึดเข้าไปในชิน้ งาน แล้วจึงกลับมา เคลือ่ นทีไ่ ปทางด้านหน้าอีกครัง้ หนึง่ ซึง่ อุปกรณ์ปอ้ นส่งผ่านชิน้ งานโดยอัตโนมัตจิ ะ ต้องทำ�งานอย่างสอดประสานกับการเคลื่อนที่ดังกล่าวนี้

ในทุกวันนี้แม้ว่าเครื่องปั๊มเซอร์โวจะได้สร้างการประสาน งานการเคลือ่ นทีข่ องแรมหรือสไลด์เครือ่ งปัม๊ ให้พร้อมเพรียงเข้ากันกับ อุปกรณ์อตั โนมัตติ า่ ง ๆ เช่น อุปกรณ์สง่ ผ่าน การป้อนส่งม้วนวัสดุ และ กลไกประกอบหรือสอดใส่ชิ้นส่วนต่าง ๆ ให้ท�ำงานได้ง่ายยิ่งขึ้นแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อพบว่ามีปัญหาด้านคุณภาพเกิดขึ้น ผู้ผลิตงาน ปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปที่ยังไม่เข้าใจในเทคโนโลยีเซอร์โวนี้ก็มักจะยังคง ถามด้วยค�ำถามที่เป็นที่ถกเถียงกันได้ตลอดกาล ซึ่งนั่นก็คือ “ปัญหา ด้านคุณภาพนีม้ สี าเหตุเกิดขึน้ มาจากเครือ่ งปัม๊ หรือว่าแม่พมิ พ์กนั แน่?” ในปัจจุบนั ด้วยการควบคุมอย่างอัตโนมัตนิ ี้ ทีใ่ ห้ความถูกต้อง อย่างแน่นอนในรูปแบบดิจทิ ลั ของการเคลือ่ นทีข่ องเครือ่ งปัม๊ ทีร่ วมเอา ความแม่นย�ำ ณ จุดศูนย์ตายล่าง และการคงความขนานกันระหว่าง ผิวหน้าแรมหรือสไลด์กับผิวหน้าของแผ่นโบลสเตอร์ ที่สามารถตรวจ วัดออกมาได้ในระดับหน่วยไมโครเมตร (ไมครอน) เข้าไว้ด้วยกันแล้ว จึงท�ำให้เกิดความเสถียรต่อการเปลีย่ นแปลงใด ๆ ทีจ่ ะเกิดจากเครือ่ ง ปัม๊ ดังนัน้ จึงควรไปมุง่ เน้นพิจารณาและใส่ใจสาเหตุของปัญหาทีเ่ กิด ขึ้นจากแง่มุมอื่น ๆ ของกระบวนการผลิตซึ่งมีความเป็นไปได้ที่เหลือ อยู่ ซึ่งสิ่งอื่นที่เป็นสาเหตุตามปกติของปัญหา ได้แก่ แม่พิมพ์ และ หรือวัสดุ เป็นต้น >>>60

June-July 2015, Vol.42 No.241

วิธีที่จะพัฒนากระบวนการผลิตด้วยเทคโนโลยีเซอร์โว ก็คือ ต้องท�ำการสร้างเครื่องปั๊ม แม่พิมพ์ และกระบวนการอัตโนมัติให้ ท�ำงานได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งกระบวนการผลิตส่วนใหญ่มักจะมี พื้นฐานมาจากเทคโนโลยีที่ผ่านมาในอดีตแล้ว ก็อาจจะง่ายต่อการที่ จะพูดค�ำว่าท�ำงานใด ๆ ไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ด้วยเทคโนโลยีเซอร์โว แล้วก็กลับจะสร้างพลังอ�ำนาจให้กับผู้ผลิตงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป พิจารณาและคาดการณ์ได้ว่าสิ่งใหม่ ๆ ใดบ้างที่สามารถท�ำได้ ด้วยเหตุผลข้างต้นทีไ่ ด้ให้ขอ้ มูลพืน้ ฐานบางส่วนไว้นี้ ก็หวังว่า จะเป็นประโยชน์ส�ำหรับผู้รับผลิตชิ้นส่วนยานยนต์และอื่น ๆ ด้วย กระบวนการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปวัสดุ ในการพิจารณาไตร่ตรอง และ หรือศึกษาเพิ่มเติมเพื่อจะท�ำการตัดสินใจลงทุนและน�ำเทคโนโลยี เซอร์โวนี้มาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป ในอนาคตนะครับ แหล่งข้อมูลอ้างอิง 1. Dai-ichi Denshi Kougyou Kabushiki Gaisya No Kensyuu Shiryou. 1992.(第一電子工業 株式会社の研修資料) 2. http://www.thefabricator.com 3. http://www.komatsupress.com 4. http://www.fma-communications.com 5. http://www.metalformingmagazine.com 6. http://www.mate-presse.com 7. http://pb.ko-sakukikai.com 8. http://www.atlastechnologies.com


&

Energy & Environmental

ไพโรไลซิ ส (Pyrolysis) ปัจ จุบนั แนวโน้มการเพิม่ ขึน้ ของประชากรและเทคโนโลยีทมี่ กี ารพัฒนา อย่างรวดเร็ว ท�ำให้แหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด ถูกน�ำมาใช้ประโยชน์อย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้ถา่ นหิน น�ำ้ มันดิบ และก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นแหล่งเชื้อเพลิงหลักของโลก ลดปริมาณลงอย่างรวดเร็ว

การ

ใช้ ท รั พ ยากรหมุ น เวี ย น (renewable resources) จึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่ช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว ชีวมวล (biomass) จึงถูกใช้เป็นแหล่งพลังงานทางเลือกส�ำหรับการผลิต เชื้อเพลิง เทคโนโลยีที่เหมาะสมส�ำหรับใช้ในการเปลี่ยนรูปวัตถุดิบ ประเภทชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงเพื่อใช้ในกระบวนการต่าง ๆ มีหลายวิธี เช่ น วิ ธี ท างกายภาพ วิ ธี ท างชี ว ภาพ และวิ ธี ท างเคมี ค วามร้ อ น กระบวนการไพโรไลซิสเป็นเทคโนโลยีหนึง่ ทีจ่ ดั อยูใ่ นกระบวนการทาง เคมีความร้อน โดยเปลีย่ นวัตถุดบิ ทีอ่ ยูใ่ นสถานะของแข็งเป็นเชือ้ เพลิง ที่มีค่าความร้อนสูงขึ้น ข้อดีของกระบวนการไพโรไลซิส คือ สามารถเปลี่ยนชีวมวล และของเหลือทิ้งที่มีคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบใน สถานะของแข็งให้อยู่ในรูปเชื้อเพลิงในสถานะของเหลวได้ ท�ำให้ สามารถจัดเก็บและขนส่งได้งา่ ยกว่าเชือ้ เพลิงในสถานะอืน่ ๆ บทความ นีจ้ ะอธิบายความหมายและลักษณะของกระบวนการไพโรไลซิส โดย

กุลนันทน์ วีรณรงค์กร และ ดร.อมรชัย อาภรณ์วิชานพ หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิศวกรรมกระบวนการเชิงคำ�นวณ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

น� ำ เสนอรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ หลั ก การทั่ ว ไป และประเภทของ กระบวนการไพโรไลซิส ลักษณะของผลิตภัณฑ์และการน�ำไปใช้ ประโยชน์ สุดท้ายเป็นการน�ำเสนอกระบวนการไพโรไลซิสที่มีการ ศึกษาวิจัยและประยุกต์ใช้ในประเทศไทย

กระบวนการไพโรไลซิส [1]

กระบวนการไพโรไลซิส คือ กระบวนการทางเคมีความร้อนที่ เปลี่ยนรูปของชีวมวล พลาสติก รวมถึงยางที่ใช้แล้ว เป็นเชื้อเพลิงที่มี ค่าทางความร้อนสูงขึ้น ได้แก่ ถ่าน (charcoal) น�้ำมัน (bio-oil) และ ก๊าซไม่กลัน่ ตัว (non-condensable gas) โดยให้ความร้อนทีอ่ ณ ุ หภูมิ ปานกลาง 500-800 องศาเซลเซียส ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน โดย สัดส่วนของผลิตภัณฑ์จากกระบวนการไพโรไลซิสขึ้นอยู่กับปัจจัย หลายประการ ได้แก่ สภาวะในการท�ำปฏิกิริยา ลักษณะของวัตถุดิบ ที่ใช้เป็นสารตั้งต้น ชนิดของเครื่องปฏิกรณ์ เป็นต้น กระบวนการ June-July 2015, Vol.42 No.241

61 <<<


&

Energy & Environmental ไพโรไลซิส แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ ไพโรไลซิสแบบช้า (slow pyrolysis) และไพโรไลซิสแบบเร็ว (fast pyrolysis)

กระบวนการไพโรไลซิสแบบช้า

กระบวนการไพโรไลซิสแบบช้าเป็นกระบวนการที่มีการท�ำ ปฏิกิริยาในอุณหภูมิระหว่าง 400-600 องศาเซลเซียส มีอัตราการให้ ความร้อนต�่ำ (น้อยกว่า 10 องศาเซลเซียสต่อนาที) ขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางของวัตถุดิบที่ใช้ในการท�ำปฏิกิริยามีขนาดใหญ่กว่า 2 มิลลิเมตร ผลิตภัณฑ์จากไพโรไลซิสแบบช้ามีสัดส่วนเป็นของเหลว 30-50 เปอร์เซ็นต์ และถ่าน 25-35 เปอร์เซ็นต์ ไพโรไลซิสแบบช้ายังสามารถแบ่งออกเป็น 2 กระบวนการ ย่อย คือ คาร์บอนไนเซชันไพโรไลซิส (carbonization pyrolysis) และ ไพโรไลซิสแบบดั้งเดิม (conventional pyrolysis) คาร์บอนไนเซชัน ไพโรไลซิสเป็นกระบวนการที่ให้ความร้อนในระยะเวลานาน โดยใช้ เวลาประมาณหนึ่งวัน ได้ผลิตภัณฑ์เป็นถ่านส�ำหรับใช้เป็นเชื้อเพลิง ในการท�ำอาหาร ส่วนผลิตภัณฑ์ในสถานะก๊าซจะถูกปลดปล่อยออก สู่บรรยากาศ กระบวนการไพโรไลซิสแบบดั้งเดิมเป็นกระบวนการที่ ใช้เวลาให้ความร้อนน้อยกว่า คือ 15-30 นาที ได้ผลิตภัณฑ์ครบทั้ง สามสถานะ คือ ถ่าน น�้ำมัน และก๊าซไม่กลั่นตัว เนือ่ งจากกระบวนการไพโรไลซิสแบบช้าได้ผลิตภัณฑ์ในส่วน ของน�ำ้ มันในปริมาณน้อย ดังนัน้ น�ำ้ มันส่วนใหญ่จงึ ถูกใช้เป็นเชือ้ เพลิง ในกระบวนการเผาไหม้ อย่างไรก็ตาม เราสามารถแยกสารเคมีบาง ชนิดออกจากส่วนมีขวั้ หรือส่วนทีล่ ะลายน�ำ้ ของน�ำ้ มันได้ โดยสารเคมี ทีส่ ามารถสกัดได้จากน�ำ้ มันในส่วนนี้ ได้แก่ อะซิโตน คีโตน เมทานอล กรดฟอร์มิก และกรดอะซิติก เป็นต้น

กระบวนการไพโรไลซิสแบบเร็ว

เป็ น กระบวนการที่ ไ ด้ น�้ ำ มั น เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ลั ก โดยท� ำ ปฏิกิริยาที่อุณหภูมิปานกลาง 400 - 650 องศาเซลเซียส มีอัตราการ ให้ความร้อนสูง (มากกว่า 1,000 องศาเซลเซียสต่อวินาที) เส้นผ่าน ศูนย์กลางของวัตถุดิบมีขนาดต�่ำกว่า 2 มิลลิเมตร มีระยะเวลาของ ไอที่อยู่ในเครื่องปฏิกรณ์สั้นมาก (น้อยกว่า 2 วินาที) เมื่อใช้วัตถุดิบ ประเภทชี ว มวลจะได้ สั ด ส่ ว นของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นสถานะของเหลว เรียกว่า น�้ำมันชีวภาพ ประมาณ 60-75 เปอร์เซ็นต์ ของแข็ง 15-25 เปอร์เซ็นต์ และก๊าซไม่กลั่นตัว 10-15 เปอร์เซ็นต์ และมีองค์ประกอบ ของน�้ำในน�้ำมันชีวภาพ 10-30 เปอร์เซ็นต์ ขึ้นอยู่กับปริมาณความชื้น ที่มีในชีวมวลเริ่มต้น นอกจากนีน้ ำ�้ มันชีวภาพยังประกอบด้วยสารประกอบอืน่ ๆ ซึง่ เป็นสารเคมีที่ได้จากการสลายตัวทางความร้อนและการท�ำปฏิกิริยา ของเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนินในชีวมวล องค์ประกอบของ สารเคมีส่วนใหญ่ในน�้ำมันชีวภาพจากวัตถุดิบประเภทชีวมวล แสดง ดังตารางที่ 1 อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากองค์ประกอบส่วนใหญ่ในน�ำ้ มัน ชี ว ภาพเป็ น สารประกอบอิ น ทรี ย ์ ดั ง นั้ น น�้ ำ มั น ชี ว ภาพที่ ไ ด้ จ าก >>>62

June-July 2015, Vol.42 No.241

กระบวนการไพโรไลซิสแบบเร็วจึงสามารถปรับปรุงคุณภาพเป็น เชือ้ เพลิงและสารเคมีได้หลายประเภท โดยสารประกอบทีพ่ บในน�ำ้ มัน ชีวภาพมีมากกว่า 3,000 ชนิด ตารางที่ 1 สารเคมีบางชนิดที่พบในน�้ำมันชีวภาพ [1]

Cellulose/Hemicellulose derived Compound

Levoglucosan Hydroxyacetaldehyde Acetic acid Acetol Furfural Furfuryl alcohol Cellobiosan 2-methyl-2-cyclopenten-1-one 3-methyl-2-cyclopenten-1-one

Lignin-derived Compound

Common derivatives

Isoeugenol 2,6-dimethoxyphenol Phenol 4-ethyl phenol 2-ethyl phenol p-cresol o-cresol m-cresol

Char Water CO, CO2, CH4, C2H6

สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดของกระบวนการไพโรไลซิสแบบเร็ว คือ การ ออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ให้มีอัตราการถ่ายโอนความร้อนสูง และ ออกแบบให้ไอกลั่นตัวเป็นของเหลวโดยเร็วที่สุดเพื่อให้ได้ปริมาณ น�้ำมัน 70-80 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ยังต้องออกแบบให้มีการก�ำจัด ถ่านและเถ้าออกจากผลิตภัณฑ์ให้มากที่สุด เพื่อได้ผลิตภัณฑ์ที่ สะอาด ไม่มีเถ้าเจือปนซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการน�ำไปใช้ประโยชน์ กระบวนการผลิตน�้ำมันจากกระบวนการไพโรไลซิสแบบเร็วประกอบ ด้วยหน่วยต่าง ๆ ได้แก่ หน่วยลดความชื้นและย่อยขนาดชีวมวล (biomass drying and grinding) หน่วยท�ำปฏิกิริยา (fast pyrolysis reactor) หน่วยก�ำจัดถ่านและเถ้า (char removal) หน่วยควบแน่น และเก็ บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น�้ ำ มั น (product collection) ตั ว อย่ า งของ กระบวนการไพโรไลซิสแบบเร็วจากวัตถุดิบประเภทชีวมวลแสดง ดังภาพที่ 1 [2]

▲ ภาพที่ 1 กระบวนการไพโรไลซิสแบบเร็ว [2]

ผลิตภัณฑ์และการนำ�ไปใช้ประโยชน์ [1]

ผลิตภัณฑ์ทเี่ กิดจากกระบวนการไพโรไลซิส ได้แก่ ถ่าน น�ำ้ มัน และแก๊ ส ไม่ ก ลั่ น ตั ว สามารถน� ำ ไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ห ลากหลาย ผลิตภัณฑ์ในส่วนของน�้ำมันสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้หลาย


&

Energy & Environmental รูปแบบ เนื่องจากอยู่ในสถานะของเหลวที่มีข้อดีในด้านการจัดเก็บ และการขนส่ง ภาพที่ 2 แสดงแผนภาพการใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ ที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิส

▲ ภาพที่ 2 ผลิตภัณฑ์จากกระบวนการไพโรไลซิสและการนำ�ไปใช้ประโยชน์ [2]

ถ่าน มักถูกใช้เป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการเผาไหม้ส�ำหรับ ผลิตความร้อน ไอน�ำ้ และไฟฟ้า ถ่านทีผ่ ลิตได้จากกระบวนการไพโรไลซิส จะถูกใช้เป็นเชือ้ เพลิงให้กบั เครือ่ งปฏิกรณ์ภายในกระบวนการ โดย ค่าความร้อนของถ่านมีค่า 15-30 เมกะจูลต่อกิโลกรัม เถ้าที่เกิดจาก การเผาไหม้ถา่ น สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้เช่นกัน โดยน�ำไปใช้ใน กระบวนการผลิตซีเมนต์ นอกจากนี้ถ่านยังมีคุณสมบัติที่ดีเกี่ยวกับ การปรับปรุงคุณสมบัตขิ องดิน ดังนัน้ จึงมีความพยายามในการพัฒนา ถ่านจากกระบวนการไพโรไลซิสเพื่อใช้เป็นสารปรับปรุงดินส�ำหรับ เกษตรกร น�ำ้ มัน จากกระบวนการไพโรไลซิสมีคณ ุ สมบัตทิ สี่ ำ� คัญหลาย ประการ มีความหนาแน่น 1.2 กิโลกรัมต่อลิตร มีความหนืดสูง มีความ เป็นกรดท�ำให้มีคุณสมบัติกัดกร่อน อุณหภูมิจุดติดสูง มีค่าความร้อน 15-18 เมกะจูลต่อกิโลกรัม มีคุณสมบัติไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกันกับ น�้ำมันจากปิโตรเลียม นอกจากนี้หากเติมน�้ำลงไปน�้ำมันจะแยกออก เป็นสองส่วน คือ ส่วนที่ละลายน�้ำ (aqueous phase) และส่วนที่ไม่ ละลายน�ำ้ หรือละลายในสารอินทรีย์ (organic phase) น�ำ้ มันสามารถ น�ำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย วิธกี ารทีง่ า่ ยทีส่ ดุ คือ ใช้เป็นเชือ้ เพลิง ในหม้อต้มไอน�้ำ (boiler) หรือกังหันแก๊ส (gas turbine) ส�ำหรับ เผาไหม้เพื่อผลิตความร้อนและไฟฟ้า นอกจากนี้ยังสามารถใช้เป็น เชื้อเพลิงให้กับเครื่องยนต์ อย่างไรก็ดี การใช้น�้ำมันที่ได้จากกระบวนการไพโรไลซิส โดยตรงโดย ไม่ผ่านการปรับปรุงคุณภาพ จะท�ำให้เกิดปัญหาหลาย ประการ เช่น ปัญหาการกัดกร่อนเนื่องจากคุณสมบัติด้านความเป็น กรด การจุดติดยากเนื่องจากปริมาณน�้ำที่มีมากเกินไป นอกจากนี้ยัง มีปริมาณเถ้าสูง ซึ่งท�ำให้เกิดการอุดตันในเครื่องยนต์

ปริมาณของสารประกอบอินทรียท์ หี่ ลากหลายของน�้ำมันจาก กระบวนการไพโรไลซิส ส่งผลให้มีการน�ำน�้ำมันที่ผลิตได้ไปใช้เป็น เชื้อเพลิงในรถยนต์ทดแทนเชื้อเพลิงจากปิโตรเลียม โดยผ่านการ ปรับปรุงคุณภาพของน�้ำมันให้มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการใช้งาน ในแต่ละประเภท การปรับปรุงคุณภาพน�ำ้ มันป็นการท�ำให้นำ�้ มันกลาย เป็นผลิตภัณฑ์ทมี่ มี ลู ค่ามากขึน้ โดยการเปลีย่ นคุณสมบัตบิ างประการ ของน�้ำมันให้มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับน�้ำมันจากเชื้อเพลิงปิโตรเลียม เช่น ลดปริมาณออกซิเจน ปรับปรุงคุณสมบัติด้านความเป็นกรด ลด ความหนืด เป็นต้น วิธีการปรับปรุงคุณภาพของน�้ำมันมี 6 วิธี ดังนี้ 1. Dilution and Solubilization เป็นวิธปี รับปรุงคุณสมบัตขิ อง น�้ำมันด้านความหนืดและอายุการกักเก็บ โดยการเติมเมทานอลหรือ แอลกอฮอล์ 2. Stabilizing oil คือ การท�ำให้น�้ำมันมีความเสถียรมากขึ้น เนื่องจากเมื่อเก็บน�้ำมันเป็นระยะเวลานาน ท�ำให้น�้ำมันมีความหนืด มากขึ้น ปัญหาดังกล่าวสามารถแก้โดยการก�ำจัดกรดและหมู่คาร์บอนิลโดยท�ำปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน (Esterification) และปฏิกิริยา อะซิทิไลเซชัน (Acetilization) 3. Hot Gas Filtration คือ การกรองด้วยแก๊สร้อน เป็นวิธกี าร ปรับปรุงคุณภาพโดยลดปริมาณเถ้าที่ปนอยู่ในน�้ำมัน 4. Catalytic Hydro-deoxygenation (HDO) คือ การลด ปริมาณออกซิเจนในน�้ำมันโดยท�ำปฏิกิริยากับไฮโดรเจนในสภาวะที่ มีตัวเร่งปฏิกิริยา 5. Catalytic Pyrolysis วิธีนี้เป็นการปรับปรุงคุณภาพน�้ำมัน พร้อมกับการเกิดปฏิกิริยาไพโรไลซิสโดยการเติมตัวเร่งปฏิกิริยาใน กระบวนการไพโรไลซิส 6. Aqueous Phase Fermentation เนื่องจากน�้ำตาลที่พบใน น�ำ้ มันเป็นปัญหาหนึง่ ของการเกิดปฏิกริ ยิ า (catalytic reactions) การ ลดปริมาณน�้ำตาลสามารถท�ำได้โดยใช้กระบวนการกลั่นแยกและ การหมัก (fractional condensation and fermentation) เพื่อเปลี่ยน น�้ำตาลเป็นเอทานอลและลิพิด นอกจากนี้น�้ำมันจากกระบวนการไพโรไลซิสสามารถน�ำไป ผลิตสารเคมีตา่ ง ๆ โดยผ่านกระบวนการแยก เช่น เกลือแคลเซียมเพือ่

June-July 2015, Vol.42 No.241

63 <<<


&

Energy & Environmental ใช้ดักจับซัลเฟอร์ออกไซด์ (SOX) ปุ๋ยจากการท�ำปฏิกิริยาระหว่าง คาร์บอนิลกับแอมโมเนีย ผลิตแอลดีไฮด์ เรซินและพลาสติก รวมถึง เมทานอล กรดอะซิติก และอะซิโตน แก๊สไม่กลั่นตัว แก๊สส่วนใหญ่จากกระบวนการไพโรไลซิส ประกอบด้วย CH4 CO2 CO และ H2 โดยทั่วไปจะน�ำกลับมาเผาไหม้ เพือ่ ให้ความร้อนภายในกระบวนการ หรือส่งไปยังกระบวนการอืน่ เพือ่ ผลิตความร้อนและไฟฟ้า

กระบวนไพโรไลซิสในประเทศไทย

ปัจจุบันประเทศไทยมีการวิจัยและพัฒนากระบวนการไพโรไลซิส เพื่อให้สามารถใช้งานได้จริงในเชิงพาณิชย์ โดยมีการพัฒนา กระบวนการไพโรไลซิสในรูปของเทคโนโลยีก�ำจัดขยะ ประเภทขยะ พลาสติก และยางรถยนต์ใช้แล้ว โดยมีการศึกษาเกี่ยวกับตัวเร่ง ปฏิกิริยาที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์จากกระบวนการไพโรไลซิสส� ำหรับ เปลี่ยนยางรถยนต์ใช้แล้วเป็นน�้ำมัน [3] จากงานวิจัยพบว่า สัดส่วนของผลิตภัณฑ์จากกระบวนการ ไพโรไลซิสยาง ประกอบด้วย ถ่าน 26-49 เปอร์เซ็นต์ น�้ำมัน 25-75 เปอร์เซ็นต์ และแก๊ส 5-57 เปอร์เซ็นต์ โดยน�ำ้ มันทีไ่ ด้จะมีคา่ ความร้อน สูง (44 เมกะจูลต่อกิโลกรัม) มีปริมาณออกซิเจนต�่ำ มีอัตราส่วน ไฮโดรเจนต่อคาร์บอนอะโรมาติกสูง และมีองค์ประกอบของสาร ประกอบ ประเภท อะลิฟาติกและอะโรมาติก [4] นอกจากนี้ยังมีการศึกษาการผลิตน�้ำมัน โดยใช้กระบวนการ ไพโรไลซิสจากวัตถุดิบ ประเภท ขยะพลาสติก [5] โดยมุ่งเน้นที่การ ออกแบบและสร้างโรงงาน เพื่อแปรรูปขยะพลาสติกเป็นน�้ำมัน ทั้งนี้ สามารถผลิตภัณฑ์นำ�้ มันได้ 4,000–5,000 ลิตรต่อวัน นอกจากนีภ้ าค รัฐยังได้ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้กระบวนการไพโรไลซิสส�ำหรับ การก�ำจัดขยะ โดยปัจบุ นั สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ได้มกี ารด�ำเนินการส่งเสริมโครงการแปรรูปขยะพลาสติกเป็นน�ำ้ มันให้ กับชุมชนตัวอย่างที่มีศักยภาพในการก�ำจัดขยะ โดยการคัดเลือก องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ หรือเทศบาลทีม่ ศี กั ยภาพด้านปริมาณขยะ ที่มีจ�ำนวนขยะพลาสติกไม่น้อยกว่า 30 ตันต่อวัน

>>>64

June-July 2015, Vol.42 No.241

ตั ว อย่ า งชุ ม ชนที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ในการเปลี่ ย นขยะ พลาสติกเป็นน�้ำมันโดยกระบวนการไพโรไลซิส ได้แก่ เทศบาลเมือง วารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี เทศบาลนครพิษณุโลก จังหวัด พิษณุโลก เทศบาลนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น และเทศบาลเมือง หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยสามารถผลิตน�้ ำมันจากขยะ พลาสติกได้วนั ละ 4,500, 10,400, 4,500 และ 4,500 ลิตร ตามล�ำดับ [6] เอกสารอ้างอิง [1] Pecha, B. and Garcia-Perez, M. PP 414-442. Bioenergy. London: Elsevier, 2015. [2] Meier D, Beld B, Bridgwater A V., Elliott, D C., Oasmaa, A., Preto, F. State-of-the-art of Fast Pyrolysis in IEA Bioenergy Member Countries. Renewable and Sustainable Energy Reviews 20(2013): 619-641. [3] จุฬาสัมพันธ์. “อาจารย์วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาฯ วิ จั ย ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย าไพโรไลซิ ส ยางรถยนต์ เ ก่ า เพื่ อ ผลิ ต ก๊ า ซและน�้ ำ มั น .” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.research.chula.ac.th/web/cu_online/2556/vol_14_01.html. 2558. [4] Abnisa, F., Wan Dauad, W.M.A. A Review on Co-pyrolysis of Biomass: An Optional Technique to Obtain a High-grade Pyrolysis oil. Energy Conversion and Management 87(2014): 71-85. [5] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. “มทส. โชว์ผลงานการผลิตน�้ำมัน จากเชื้อเพลิงขยะพลาสติกโดยกระบวนการไพโรไลซิส: Pyrolysis process.” [ออนไลน์ ] . เข้ า ถึ ง ได้ จ าก: http://web.sut.ac.th/2012/news/detail/1/ news20140610. 2558. [6] อิสราภรณ์ โล่ห์นารายณ์. แปรรูป “ขยะพลาสติก” เป็นน�้ำมัน. ส�ำนักจัดการคุณภาพน�้ำ กรมควบคุมมลพิษ, กุมภาพันธ์ 2557.


&

Energy & Environmental

แนวปฏิบัติ 10 ประการ ส�ำหรับกิจการน�้ำมันและก๊าซ ส�ำ

หรับหลาย ๆ ประเทศ กิจการน�้ำมันและก๊าซ ท�ำหน้าที่จัดหา เก็บรายได้ และขับเคลื่อน อินทิรา เหล่ามีผล การพัฒนามาได้อย่างมัน่ คง อย่างไรก็ดี ในสภาวการณ์ทรี่ าคาน�ำ้ มันตกต�ำ่ ทัง้ ตัวธุรกิจ กรรมการผู้จัดการ กลุ่มธุรกิจทรัพยากรและพลังงาน และภาครัฐก็ต้องเผชิญกับศึกใหญ่หลวงทีเดียว ด้วยความจ�ำเป็นที่จะต้องลดต้นทุนและเพิ่ม เอคเซนเชอร์ ประเทศไทย ประสิทธิภาพในการใช้เงินลงทุน องค์กรหลายแห่งจึงหันมาลดค่าใช้จ่าย และหยุดจ้างงานเอาไว้ ก่อน อีกหลายแห่งก็ชะลอการบ�ำรุงรักษาและการฟืน้ ฟู เพือ่ ทีจ่ ะลดค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินงานลง

การ

ปรับตัวครั้งนี้มิใช่แค่เพียงใน ระยะสั้น แต่ธุรกิจน�้ำมันและ ก๊าซจ�ำเป็นต้องใช้มาตรการที่ให้ประโยชน์ ยั่ ง ยื น จากสิ่ ง ที่ ไ ด้ เ รี ย นรู ้ ใ นช่ ว งวิ ก ฤต พลังงานที่เกิดขึ้น ปี พ.ศ.2551-2552 ปี พ.ศ.2540 ปี พ.ศ.2535 และปี พ.ศ.25292530 ผู ้ สั ง เกตการณ์ ใ นอุ ต สาหกรรม ตระหนักดีวา่ การทีธ่ รุ กิจในกลุม่ นีจ้ ะสามารถ ผ่านพ้นวิกฤตในปัจจุบันไปได้ จะต้องมีการ

ด�ำเนินการในเชิงยุทธศาสตร์ และการลงทุน ที่มีเป้าหมายชัดเจน การประสานความร่วม มื อ กั น ทั้ ง อุ ต สาหกรรม การเปลี่ ย นแปลง โครงสร้ า ง และพั ฒ นาศั ก ยภาพภายใน องค์กรให้เต็มที่ จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ และความคล่องตัวให้แก่องค์กร สิง่ เหล่านีจ้ ะ ท�ำให้องค์กรสามารถรับมือกับสถานการณ์ ได้อย่างมั่นคงและมีความสามารถในการ แข่ ง ขั น มากขึ้ น เอคเซนเชอร์ ข อแนะน� ำ

แนวคิดที่สามารถน� ำไปปรับใช้ได้ส� ำหรับ ธุรกิจน�้ำมันและก๊าซ 10 ประการ ดังนี้

1. จัดระบบความร่วมมือกับ ซัพพลายเออร์หลัก

วิกฤตการณ์ในอดีตท�ำให้ซัพพลายเออร์ถกู กดดันให้ลดราคา ในครัง้ นีซ้ พั พลายเออร์หลายรายก็เตรียมใช้แนวทางเดียวกัน แต่ส�ำหรับกิจการน�้ำมันแล้ว ควรมีแนวทาง June-July 2015, Vol.42 No.241

65 <<<


&

Energy & Environmental

ที่ซับซ้อนกว่านี้ เพื่อให้ธุรกิจได้ประโยชน์ จากตลาดของซัพพลายเออร์ด้วย ขั้นแรก คือ การก�ำหนดซัพพลายเออร์เชิงยุทธศาสตร์ส�ำหรับผลิตภัณฑ์หรือ บริการประเภทหลัก เช่น การขุดเจาะและ กลบ ด้านวิศวกรรม การก่อสร้าง บริการซ่อม บ�ำรุง วัตถุดบิ และโลจิสติกส์ ควรมีการเจรจา ต่อรองรายละเอียดในการท�ำสัญญาระยะ ยาวกับซัพพลายเออร์เหล่านี้ เพื่อให้ได้รับ ประโยชน์มากขึ้นจากสถานการณ์เฉพาะ หน้า แลกกับการขยายธุรกิจร่วมกันต่อเนื่อง ไปในอนาคต สัญญาหรือข้อตกลงทีค่ วรปรับ ใหม่ อาจครอบคลุมถึงประเด็นความเสี่ยงที่ รับร่วมกัน การลงทุนและนวัตกรรม รวมทั้ง เป้าหมายผลงานที่มีร่วมกัน และอินเซนทีฟ เพื่อสร้างแรงจูงใจ การสร้างพันธมิตรที่มี ความส�ำคัญในเชิงยุทธศาสตร์จะท�ำให้ธรุ กิจ น�้ำมันและก๊าซ รวมทั้งซัพพลายเออร์ของ ธุรกิจ มีความสามารถในการรับมือ ปรับตัว ได้ตามสถานการณ์ และพัฒนาฟื้นตัวได้ใน ระยะยาว

การที่ผู้ประกอบการแต่ละรายมีประสิทธิภาพ หรือความสามารถไม่สอดคล้องกัน ก็ ท�ำให้ความสามารถในการแข่งขันโดยรวม ลดลง ธุรกิจน�้ำมันและก๊าซจึงควรท�ำงาน ร่วมกับบริษทั ท้องถิน่ ให้มากขึน้ เพือ่ ลดความ แตกต่างของพื้นฐานโครงสร้างต้นทุน ควรมี การท�ำงานร่วมกันอย่างโปร่งใส (เช่น การจัด ซื้ อ จั ด หาที่ เ ปิ ด เผย แข่ ง ขั น ได้ ) การมี มาตรฐานเปรียบเทียบระหว่างผูป้ ระกอบการ ในอุตสาหกรรม ช่วยกันลดความแตกต่าง ขณะที่ยังคงมาร์จิ้นของอุตสาหกรรมเอาไว้ ได้ ผลประโยชน์อย่างยัง่ ยืนเหล่านีจ้ ะเกิดขึน้ ได้ดว้ ยแพลตฟอร์มดิจทิ ลั ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ที่ เชือ่ มโยงทุกฝ่ายในระบบนิเวศของซัพพลายเออร์ทงั้ หมดในอุตสาหกรรม การแลกเปลีย่ น ระหว่างธุรกิจในอุตสาหกรรมเกิดขึ้นได้ด้วย เทคโนโลยี ล ่ า สุ ด ที่ ท� ำ ให้ เ ห็ น ปฏิ สั ม พั น ธ์ ชัดเจนขึ้น พัฒนากระบวนการท�ำงานให้ สอดคล้องกับกฎระเบียบ และส่งผลต่อผล ประกอบการโดยรวม

2. ปรับโครงสร้างต้นทุนในทุกภาค ส่ ว นของอุ ต สาหกรรมด้ ว ยการ พัฒนาวัตถุดิบภายในประเทศ

3. การปรั บ ปรุ ง ความร่ ว มมื อ กั น เพื่อให้การลงทุนในโครงการต่าง ๆ มีประสิทธิภาพมากขึ้น

นโยบายการพัฒนาวัตถุดิบภายใน ประเทศ (LCD: Local Content Development) มี ก ารน� ำ มาใช้ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นา อุตสาหกรรมภายในประเทศ แต่ในบางกรณี

>>>66

June-July 2015, Vol.42 No.241

ทีมงานในโครงการต่าง ๆ มักท�ำงาน บนพื้นฐานความคิดเหมือนกับนักบินฝึกหัด คือ สันนิษฐานว่าโครงการลงทุนแต่ละโครงการมีความเฉพาะตัว ท�ำให้ไปจ�ำกัดแนวทาง

การปฏิบัติงานที่ดีที่สุดที่อาจจะน�ำมาใช้ได้ หลาย ๆ โครงการจึงมีการใช้งบประมาณเกิน กว่าประมาณ รวมถึงใช้เวลามากกว่าก�ำหนด โครงการที่ต้องใช้เงินลงทุนหลาย โครงการมีลักษณะร่วมคล้ายกัน ดังนั้นจึง สามารถบริหารประสิทธิภาพของต้นทุนได้ ด้วยการออกแบบโครงการ ระบบ อุปกรณ์ และองค์ประกอบทีเ่ กีย่ วข้องตามแบบมาตรฐานทั่วไป ซึ่งผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม ก็ได้ปฏิบัติตามแนวนี้ดังที่มีการอภิปรายใน การประชุม World Economic Forum ซึ่ง ธุรกิจน�ำ้ มันและก๊าซส่วนใหญ่จะได้ประโยชน์ ในการลดงบประมาณลงทุนลงได้ นอกจาก นี้ การก�ำกับดูแลกิจการจากส่วนกลางยัง ช่วยให้มีมาตรฐานการเปรียบเทียบผลของ โครงการที่ ด� ำ เนิ น การโดยผู ้ ป ระกอบการ แต่ ล ะรายได้ ควรมี ก ารแลกเปลี่ ย นแนว ปฏิบัติที่ดีระหว่างกันเพื่อไม่ให้ต้นทุนและ เวลาด�ำเนินโครงการเกินเลยกว่าก�ำหนด รวม ทั้ ง สามารถวั ด ประสิ ท ธิ ภ าพของผู ้ จั ด หา ผลิตภัณฑ์หรือบริการโดยเปรียบเทียบกับ เกณฑ์ เพือ่ ควบคุมต้นทุนให้มคี วามสามารถ ในการแข่งขันได้

4. ใช้ สิ น ทรั พ ย์ ด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละ ความสามารถของทรัพยากรร่วม กันระหว่างผู้ประกอบการมากขึ้น

ผู้ประกอบการหลายรายที่ท�ำธุรกิจ ใกล้ๆ กัน ต่างซื้ออุปกรณ์ สินทรัพย์ และ จัดหาทรัพยากรต่างๆ มาใช้เพื่อประโยชน์ คล้ายๆ กัน ซึ่งเป็นแนวทางที่ท�ำให้อัตรา ประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรและก�ำลัง การผลิตลง การน�ำความต้องการของธุรกิจมา รวมกัน หรือท�ำงานประสานกัน แบ่งปันใช้ สินทรัพย์ด้านโลจิสติกส์และทรัพยากรร่วม กันระหว่างผู้ประกอบการ จะท�ำให้เกิดการ ประหยัดจ�ำนวนมาก ตัวอย่างเช่น ศูนย์ควบ คุมโลจิสติกส์ระดับภูมิภาคจะสามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพในการใช้ประโยชน์จากเรือเดิน สมุทรและเฮลิคอปเตอร์ได้ โดยการพัฒนา ฐานรองรับการใช้ซพั พลายร่วมกันขึน้ มา รวม ศูนย์โกดังเก็บสินค้าเพื่อให้ผู้ประกอบการ


&

Energy & Environmental สามารถลดต้นทุนการขนส่งได้ นอกจากนี้ การมีทมี หมุนเปลีย่ นท�ำงานจะช่วยสนับสนุน กิจกรรมของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5. จัดเวลาการบำ�รุงรักษาสินทรัพย์ ให้ สมดุลกับโอกาสที่เสียไป

เมือ่ ราคาต่าง ๆ ลดลง โอกาสการได้ ผลก�ำไรเมื่อเทียบกับสิ่งที่เสียไปในการใช้ สินทรัพย์ก็ลดลงด้วย ตารางเวลาการบ�ำรุง รักษาและฟืน้ ฟูจงึ สามารถเลือ่ นไปได้จนกว่า จะเป็นจังหวะที่เหมาะสม โดยพิจารณาให้ สอดคล้องกับโอกาสที่สูญเสียไป กิจการทีม่ ปี ระสิทธิภาพจะมีกลยุทธ์ บ�ำรุงรักษาสินทรัพย์ตามล�ำดับความส�ำคัญ ของผลกระทบที่เกิดขึ้นในเชิงพาณิชย์ การ ปรับปรุงและบ�ำรุงรักษาในจังหวะที่เหมาะ สม จะท�ำให้การบริหารต้นทุนเกิดประโยชน์ สูงสุด และเพิ่มอัตราการท�ำก�ำไรโดยรวม ธุรกิจน�ำ้ มันและก๊าซสามารถบริหารการผลิต ในพื้ น ที่ ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เน้ น ไปที่ ใ ช้ สิ น ทรั พ ย์ แ ละอุ ป กรณ์ ส� ำ คั ญ ๆ เพื่ อ ให้ สินทรัพย์เหล่านัน้ ท�ำประโยชน์ให้คมุ้ ค่าทีส่ ดุ เมื่อราคาปรับตัวดีขึ้น

6. ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเพิ่ม ผลิตภาพ

ช่วงการชะลอตัวทางเศรษฐกิจถือ เป็นช่วงที่ดีที่สุดที่จะลงทุนไปกับการพัฒนา เครื่องมือที่ทันสมัยและโซลูชันใหม่ๆ เพื่อ เตรียมการส�ำหรับอนาคต ยิ่งน�ำเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้เร็วเท่าไร ก็จะยิ่งท�ำให้ธุรกิจมี ความแตกต่าง สร้างข้อได้เปรียบให้เห็นชัด มากขึ้น การน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ ท�ำให้เกิดโอกาสทีห่ ลากหลายในอุตสาหกรรม ตัวอย่างเช่น ศูนย์ปฏิบตั กิ ารระยะไกล เครือ่ ง มือวิเคราะห์บกิ๊ ดาต้า ก�ำลังแรงงานทีท่ ำ� งาน กั บ อุ ป กรณ์ เ คลื่ อ นที่ การติ ด ตามข้ อ มู ล วัตถุดิบและอุปกรณ์ เป็นต้น เทคโนโลยี เหล่านี้จะมีบทบาทเปลี่ยนแปลงการท�ำงาน ของธุรกิจน�้ำมันและก๊าซ ผลประโยชน์ที่จับ ต้องได้ คือ ประสิทธิภาพของคนที่เพิ่มขึ้น

ประสิทธิภาพการใช้สินทรัพย์ ความโปร่งใส และได้อตั ราก�ำไรสูงสุดจากสินทรัพย์ทใี่ ช้ใน การผลิต องค์กรทีล่ งทุนตอนนีจ้ งึ มีโอกาสลด ฐานต้นทุนการปฏิบัติการในอนาคตได้มาก และได้รับผลก�ำไรกลับคืนมาเร็วกว่าคู่แข่ง

7. บูรณาการฝ่ายสนับสนุนงานภายใน เพื่อประหยัดต้นทุนลง

จัดโครงสร้างฝ่ายการเงิน ทรัพยากร บุคคล จัดซื้อ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้มีการปฏิบัติงานร่วมกันได้ เพื่อท�ำให้ ประสิทธิภาพสูงขึ้น ต้นทุนต�่ำลง บริษัทสามารถบูรณาการหน้าที่งาน ต่าง ๆ เพื่อรวมเอาความรู้ความช�ำนาญที่ คล้ายกันมาไว้ด้วยกัน สามารถตัดทอนการ ท�ำงานในหลาย ๆ สถานที่ ซึ่งต่างให้บริการ เหมือน ๆ กัน เพื่อลดความไม่ต่อเนื่องและ บริ ก ารที่ ซ�้ ำ ซ้ อ นกั น บริ ก ารส่ ว นหลั ง และ กลางสามารถให้บริการแก่ผปู้ ระกอบการใน พื้นที่ได้ หรือโอนไปให้บุคคลที่สามท�ำแทน การบู ร ณาการงานเข้ า ด้ ว ยกั น จะท� ำ ให้ ผู้ประกอบการใช้ประโยชน์จากการลงทุน ด้านไอทีคมุ้ ค่ามากขึน้ สามารถเปิดให้เข้าถึง โครงสร้างไอทีมาตรฐานในลักษณะเดียวกับ การให้บริการใช้ซอฟต์แวร์ หลายองค์ ก รได้ ด� ำ เนิ น การใน แนวทางนี้ แ ล้ ว ปั จ จุ บั น ถึ ง เวลาส� ำ หรั บ

กิจการน�ำ้ มันและก๊าซธรรมชาติในอาเซียนที่ จะจัดโครงสร้างการบริการในแนวนี้ และ เนื่องจากมีการทดสอบโมเดลมาแล้ว การ เปลี่ยนผ่านไปสู่โมเดลใหม่จะท�ำได้รวดเร็ว กว่าและท�ำให้ส่งผลต่อกิจกรรมทางธุรกิจ น้อยที่สุด

8. บริหารทรัพยากรมนุษย์อย่าง ชาญฉลาดมากขึ้น

ทุนมนุษย์และการพัฒนาศักยภาพ ยังคงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญในล�ำดับต้น ๆ ส�ำหรับ ทุกกิจการน�้ำมันและก๊าซ เอคเซนเชอร์จึง แนะน�ำให้องค์กรใช้ประโยชน์จากโซลูชัน ทางนวัตกรรมให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพของการฝึกอบรม ท�ำให้ ต้นทุนที่ลงทุนไปเกิดประโยชน์สูงสุด ทุ น มนุ ษ ย์ เ ป็ น สิ น ทรั พ ย์ ส� ำ คั ญ ส�ำหรับกิจการน�้ำมันและก๊าซ องค์กรชั้นน�ำ ยังคงมีการพัฒนาทักษะด้านเทคนิค ทักษะ งานเฉพาะ และทักษะในการบริหารงาน อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ในด้ า นเทคโนโลยี เ ช่ น ห้องเรียนเฉพาะ การเรียนรู้เคลื่อนที่ การฝึก อบรมด้ ว ยระบบคอมพิ ว เตอร์ วิ ท ยาลั ย ออนไลน์ และการสอนงาน ต่างท�ำให้การ ลงทุ น คุ ้ ม ค่ า และมี ก ารฝึ ก อบรมตรงตาม เป้าหมาย

June-July 2015, Vol.42 No.241

67 <<<


&

Energy & Environmental

9. ประเมินพอร์ตใหม่เพื่อเพิ่มมูลค่า

บริษัทน�้ำมันและก๊าซหลายแห่งได้ ขยายพอร์ตไปยังต่างประเทศ และเข้าสู่ อุตสาหกรรมน�้ำมันที่ต่างจากแบบดั้งเดิม ควรมีการประเมินผลได้ทางเศรษฐกิจที่เกิด จากการขยายกิจการเพือ่ ให้แน่ใจว่า แนวทาง และเป้ า หมายการเติ บ โตจะสร้ า งมู ล ค่ า ที่สูงขึ้น การมีวิกฤตเป็นโอกาสที่ดีส�ำหรับ การเติบโตอย่างมีเป้าหมาย ท่ามกลางภาวะน�ำ้ มันถูก บริษทั ต่าง แข่งกันประเมินแนวทางการขยายธุรกิจและ โครงการที่ ต ้ อ งใช้ ก ารลงทุ น ต่ า ง ๆ การ ประเมิ น หรื อ ทบทวนใหม่ ควรกระท� ำ กั บ ทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ด้วย การทบทวนในเชิงลึกเข้มข้น ควร ทบทวนด้านต่าง ๆ รวมถึงวิศวกรรม การเงิน เครื่องมือและความสามารถในการบริหาร โครงการ เมตริกตัวชี้วัดผลงานหลัก การจัด ซื้อ กลยุทธ์การจ้างช่วงวัตถุดิบและบริการ ต่าง ๆ เมื่อมีแนวปฏิบัติใหม่เกิดขึ้น การ ทบทวนก็ขยายไปถึงการระบุและวัดมูลค่า ความเสี่ยงจากการด�ำเนินงาน เพื่อประเมิน ผลกระทบว่ า การขยายตั ว และโครงการ ลงทุนนั้นส่งผลต่อพอร์ตองค์กรอย่างไร เมื่อ ประเมินเชิงปริมาณถูกต้องแล้ว ก็จะท�ำให้ การตัดสินใจเกี่ยวกับพอร์ตบนพื้นฐานของ ข้อเท็จจริงง่ายขึ้น และสมเหตุสมผลที่สุด >>>68

June-July 2015, Vol.42 No.241

เช่น การตัดสินใจว่าควรท�ำโครงการใดต่อ ควรชะลอหรือยกเลิกหรือไม่ ควรตัดทรัพย์สนิ ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ชิ้นใดออกไป เป็นต้น

10. เพิ่มขีดความสามารถในการทำ�ให้ ต้นทุนโปร่งใส ตรวจสอบได้

บริษัทจะได้ประโยชน์จากการมอง เห็นต้นทุนสินทรัพย์ทั้งพอร์ตชัดเจน อีกทั้ง ยังเป็นอินเซนทีฟกระตุ้นให้ผู้ประกอบการ ลดต้นทุนให้ต�่ำลง ผู้ประกอบการน�้ำมันและก๊าซหลาย แห่งได้ร่วมกันท�ำให้ต้นทุนมีการประหยัด สูงสุด แต่ทว่า ยังมีกิจการจ�ำนวนไม่มากที่ สามารถจัดการเรือ่ งความโปร่งใสของต้นทุน ได้ อ ย่ า งคงเส้ น คงวาส� ำ หรั บ สิ น ทรั พ ย์ ทั้ ง พอร์ต การมีความโปร่งใสในเรื่องต้นทุนจะ ท�ำให้เจ้าของทรัพย์สินสามารถเพิ่มสัดส่วน การแชร์ ต ้ น ทุ น ระหว่ า งกั น ในทุ ก รายการ ทรัพย์สินได้

ช่ ว งยากลำ � บากอาจเป็ น ยาแรงช่ ว ย กระตุ้น

ขณะที่สภาพแวดล้อมทางธุรกิจนั้น ยากล� ำ บากและคาดการณ์ ไ ม่ ไ ด้ บริ ษั ท น�้ำมันและก๊าซสามารถด�ำเนินการในหลาย ด้านเพื่อลดผลที่จะท�ำให้งบเตี้ยติดดิน และ ท�ำให้มีความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น

แทนที่จะลดต้นทุนอย่างง่าย ๆ หรือ ลดต้นทุนทัง้ กระดานซึง่ จะท�ำให้สถานะระยะ ยาวสั่นคลอนและบริษัทอ่อนแอลง กิจการ ชัน้ น�ำต่างมุง่ เน้นไปทีก่ ารท�ำให้ตน้ ทุนมีความ โปร่งใสในระยะยาว เพิม่ ขีดความสามารถใน การบริหารและใช้ต้นทุนให้เกิดประโยชน์ สูงสุด บริษัทยังสามารถใช้ประโยชน์จาก ภาวะน�้ำมันราคาตก ในการลงทุนด้านฝึก อบรมพนักงาน และน�ำโซลูชันดิจิทัลเข้ามา ใช้ เพื่อพัฒนาอัตราผลิตภาพ และการท�ำ ก�ำไร ในช่วงทีร่ าคาน�ำ้ มันดิบตกต�ำ่ กิจการ น�ำ้ มันและก๊าซเจ็บปวดแน่นอน ผูบ้ ริหารควร ใช้ความเจ็บปวดในวันนี้เป็นแรงบันดาลใจ ในการพัฒนาศักยภาพในด้านต่าง ๆ ซึ่งจะ ท�ำให้กิจการน�้ำมันและก๊าซมีความยืดหยุ่น และรับมือต่อความผันผวนของวัฏจักรราคา น�้ำมันดิบได้ดีขึ้น


&

Focus

ความเสี่ยงที่โลกต้องเผชิญกับ

อนาคตของการดูแลสุขภาพ World

Economic Forum (WEF) ได้จัดท�ำรายงาน Global Risk เป็นประจ�ำทุกปี รายงาน ดังกล่าวแสดงความเสี่ยงต่าง ๆ ที่โลกต้องเผชิญในแต่ละปี โดยแสดงใน 2 มิติ ได้แก่ โอกาสที่จะเกิดขึ้น (likelihood) และผลกระทบที่จะเกิดขึ้น (impact) ส�ำหรับรายงาน Global Risk 2015 ได้ระบุว่า ในปี พ.ศ.2558 ปัจจัยที่มีโอกาสเกิดสูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ความขัดแย้งระหว่างประเทศ (interstate conflict) สภาพภูมิอากาศแบบสุดขั้ว (extreme weather events) และความล้มเหลวของ การบริหารประเทศ (failure of national governance)

▲ ภาพที่ 1 ความเสี่ยงที่โลกต้องเผชิญในปี พ.ศ.2558

ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

ส่วน

ปั จ จั ย ที่ ห ากเกิ ด แล้ ว จะสร้ า งผล กระทบสู ง 3 อั น ดั บ แรก ได้ แ ก่ วิกฤตเกีย่ วกับน�ำ้ (water crises) การระบาดของโรค ติดเชื้อ (spread of infectious diseases) และอาวุธ ท�ำลายล้างสูง (weapons of mass destruction) ดังแสดงในภาพที่ 1 อย่างไรก็ตาม มีปจั จัยเสีย่ งอีกหลายปัจจัยที่ มีโอกาสเกิดขึน้ สูงกว่าค่าเฉลีย่ เช่น ความล้มเหลวใน การปรับตัว เพือ่ รับมือกับการเปลีย่ นแปลงของสภาพ ภูมิอากาศ การโจมตีในโลกไซเบอร์ ความไร้เสถียรภาพในสังคมทีห่ ยัง่ รากลึก เป็นต้น ซึง่ หากเกิดขึน้ แล้ว จะส่ ง ผลกระทบต่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คมไม่ น ้ อ ย เช่นเดียวกัน หากถามว่ า แต่ ล ะภู มิ ภ าคเตรี ย มพร้ อ ม ส�ำหรับความเสี่ยงเหล่านี้มากน้อยเพียงใด พบว่า ภูมิภาคแถบเอเชียใต้มีการเตรียมตัวเพื่อรับมือกับ ความล้มเหลวในการวางแผนการเติบโตของเมือง (failure of urban planning) น้อยที่สุด รองลงมา ได้แก่ การก่อการร้าย และวิกฤตเกี่ยวกับน�้ำ ตาม ล�ำดับ (ภาพที่ 2) June-July 2015, Vol.42 No.241

69 <<<


Focus

& ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของคนไทย

▲ ภาพที่ 2 ปัจจัยเสี่ยงที่ภูมิภาคเอเชียใต้เตรียมตัวรับมือน้อยที่สุด

ทั้งนี้ เมืองใหญ่หลายเมืองในโลกจะมีจ�ำนวนประชากรเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเมืองใหญ่ในประเทศก�ำลังพัฒนา ส�ำหรับ ประเทศไทย พม่า และมาเลเซียนั้น มีการพยากรณ์ว่า จะมีจ�ำนวน ประชากรในเมืองใหญ่เพิม่ ขึน้ ไม่เกิน 2 เท่าตัว ในปี พ.ศ.2593 (เมือ่ เทียบ กับปี พ.ศ.2553) ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ คือ การเกิดโรคระบาดจากการ อาศัยอยู่กันอย่างหนาแน่น โดยเฉพาะกลุ่มคนที่ “ตกส�ำรวจ” ซึ่งยากแก่ การดูแลให้ทั่วถึง โรคที่ควรเฝ้าระวัง ได้แก่ มาลาเรีย ไข้เลือดออก และวัณโรค นอกจากนี้ การเดินทางของผู้คนที่เป็นไปอย่างคับคั่งและรวดเร็วใน ปัจจุบัน อาจท�ำให้โรคติดเชื้อกระจายไปสู่เมืองอื่นได้อย่างรวดเร็ว และ ส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากกรณีการระบาดของ โรคอีโบล่า ที่ก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจแก่ประเทศที่เกิด การระบาดของโรคและประเทศข้างเคียง รวมแล้วสูงถึง 3 หมืน่ 2 พันล้าน เหรียญสหรัฐ เพื่อให้สามารถรับมือกับสถานการณ์ไม่พึงประสงค์ดังกล่าว รัฐควรจัดให้มีกลไกเพื่อการเตรียมพร้อม ดังนี้ 1. สร้างความร่วมมือระหว่างองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน และหน่วยงานของรัฐในส่วนกลาง 2. ประสานข้อมูลจากการเฝ้าระวัง การรวบรวมข้อมูล การ แบ่งปันข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับโรคติดเชื้อตามเวลาจริง (real time) 3. สร้างแรงจูงใจให้เอกชนลงทุนพัฒนาและผลิตยา วัคซีนและ ชุดตรวจ ส�ำหรับโรคติดเชื้อที่มีโอกาสเกิดสูง 4. ตั้งเครือข่ายสถาบันวิจัยเพื่อสนับสนุนให้สถาบันเหล่านี้ มุ่งวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่มีโอกาสก่อโรคสูง 5. สนับสนุนให้ห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับโรคติดเชื้อด�ำเนินงาน ให้สอคล้องกับมาตรฐานห้องปฏิบัติการในระดับสากล ในปัจจุบนั นี้ การรับมือกับโรคระบาดมิใช่อยูใ่ นความรับผิดชอบ ของหน่วยงานด้านสาธารณสุขอีกต่อไป หากแต่เป็นความร่วมมืออย่าง เข้มแข็งระหว่างภาครัฐและเอกชนในหลาย ๆ มิติ เช่น การผลิตอาหาร การบริหารจัดการน�้ำ การสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบขนส่งมวลชน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังอาจต้องสร้างความร่วมมือกับประเทศข้างเคียงใน มิติเหล่านี้เพื่อเตรียมความพร้อมด้วย >>>70

June-July 2015, Vol.42 No.241

รายงานสุขภาพคนไทย 2556 ซึง่ จัดท�ำโดยสถาบันวิจยั ประชากร และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ระบุว่า ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของ คนไทยต่อหัวเพิ่มขึ้นจาก 3,354 บาท ในปี พ.ศ.2546 เป็น 6,142 บาท ในปี พ.ศ.2553 ซึ่งสูงขึ้นถึง 1.8 เท่า โดย 3 ใน 4 เป็นค่าใช้จ่ายจาก ภาครัฐ เพือ่ พิจารณาค่าใช้จา่ ยด้านสุขภาพโดยรวม เทียบกับผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ พบว่า เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3.6 ในปี พ.ศ.2546 เป็น ร้อยละ 4.2 ในปี พ.ศ.2552 ก่อนจะลดลงเป็นร้อยละ 3.9 ในปี พ.ศ.2553 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับผลการพัฒนาของระบบบริการ สุขภาพและระบบประกันสุขภาพของไทยทีเ่ กิดขึน้ ในช่วง 10 ปีทผี่ า่ นมา ในมุมมองทางด้านประสิทธิภาพ นับว่าระบบสุขภาพของประเทศอยู่ใน เกณฑ์ที่น่าพอใจ แรงกดดันด้านค่าใช้จา่ ยด้านสุขภาพทีเ่ พิม่ ขึน้ อาจเนือ่ งมาจาก ปัจจัยดังต่อไปนี้ ➲ สัดส่วนของประชากรที่เปลี่ยนแปลงไป (demographic change) คือ มีผสู้ งู อายุมากขึน้ ถึงร้อยละ 14.57 ของประชากรทัง้ ประเทศ (ข้อมูลปี พ.ศ. 2556) ซึง่ เป็นแนวโน้มทีเ่ กิดขึน้ เช่นเดียวกับหลายประเทศ เช่น จีน ญี่ปุ่น เป็นต้น ➲ รายได้ของกลุ่มเป้าหมายสูงขึ้น ท�ำให้มีก�ำลังจ่ายในการ ป้องกันและรักษาสุขภาพมากขึ้น สามารถเข้าถึงข้อมูลและบริการ สุขภาพที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งเข้าถึงเทคโนโลยี สมัยใหม่ เช่น เซนเซอร์แบบสวมใส่หรือฝังตัว (wearable or implantable sensors) ซึ่งช่วยให้ผู้คนมีและใช้เทคโนโลยีด้านสุขภาพแบบเป็นส่วน หนึ่งของชีวิตประจ�ำวันแบบไร้รอยต่อ (ภาพที่ 3) ➲ มีผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจ�ำนวนมาก อันเกิดจาก แนวทางการใช้ชีวิต (lifestyle) ที่เปลี่ยนไป เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอด เลือด โรคหัวใจ เส้นเลือดในสมองตีบ ต้อกระจก มะเร็ง เป็นต้น ซึ่งล้วน เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ ไม่ออก ก�ำลังกาย รับประทานอาหารไม่สมดุล และคาดการณ์ว่า ท�ำให้เกิด ค่าใช้จ่ายถึงร้อยละ 75 ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ

▲ ภาพที่ 3 เซนเซอร์แบบสวมใส่หรือฝังตัวที่ปรากฏในท้องตลาดในปัจจุบัน


&

Focus

รัฐบาลของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกก�ำลังปรับระบบสุขภาพโดยมี เป้าหมาย 3 ประการ ได้แก่ การควบคุมค่าใช้จ่ายไม่ให้บานปลายมาก เกินความจ�ำเป็น การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ และการขยาย โอกาสให้การเข้าถึงการบริการ

ฐานข้อมูลขนาดใหญ่กับการดูแลสุขภาพ

จากการที่ในปัจจุบันมีฐานข้อมูลด้านสุขภาพขนาดใหญ่ถึง 20 เพทาไบต์ (1 เพทาไบต์ เท่ากับ 1 ล้านกิกะไบต์ หรือ 1 เทอราไบต์) และ จะเพิ่มขึ้นเป็น 25,000 เพทาไบต์ ในปี พ.ศ.2563 รวมทั้งมีเทคโนโลยีให้ บริการข้อมูลด้านสุขภาพบนโทรศัพท์เคลือ่ นทีม่ ากกว่า 20,000 โปรแกรม (และจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ) ท�ำให้ผู้คนสามารถเข้าถึงข้อมูลและวิเคราะห์ รวมทัง้ ได้รบั ค�ำแนะน�ำในการดูแลตนเองได้อย่างทันท่วงที ทุกที่ ทุกเวลา บริษัทต่าง ๆ ที่แต่เดิมไม่ได้จัดอยู่ในตลาดด้านการดูแลสุขภาพเริ่มเข้า มาอยู่ในสนามแข่งขันนี้ ทั้งในฐานะคู่แข่งและพันธมิตรทางธุรกิจ ตลาดด้านการวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพ (health data analytics) ขยายตัวร้อยละ 23.7 ในช่วงปี พ.ศ.2555-2560 อันเป็นผลจากข้อมูลที่ ได้จากการสะสมข้อมูลสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลเรียกร้องสินไหม ทดแทนจากการประกันสุขภาพ ข้อมูลจากโปรแกรมสุขภาพบนโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ ท�ำให้มผี เู้ ล่นหลากหลายเข้ามาเกีย่ วข้อง ทัง้ ในฐานะผูใ้ ห้บริการ ข้อมูลและผู้ใช้ข้อมูล ตั้งแต่บริษัทเกิดใหม่ (startups) หุ้นส่วนหรือกลุ่ม ผลประโยชน์ (consortiums) ไปจนถึงบริษัทขนาดใหญ่ โดยมองว่าการ ใช้ประโยชน์จากการวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านี้จะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพ ในหลาย ๆ ด้าน ตั้งแต่การวิจัยและพัฒนาไปจนถึงการประสานความ ร่วมมือในการดูแลรักษาผู้ป่วย การวิจยั และพัฒนาด้านชีวการแพทย์สามารถช่วยเพิม่ ผลิตภาพ (productivity) ด้านการดูแลสุขภาพได้ โดยการใช้การวิเคราะห์ข้อมูล เพือ่ ช่วยระบุความล้มเหลวของการทดลอง เพือ่ การออกแบบการทดสอบ ทางคลินิกให้มีความกระชับ รวมทั้งเพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการค้นหา และรับรองยาใหม่ ทั้งนี้เพราะขีดความสามารถในการสร้างและวิเคราะห์ข้อมูล ขนาดใหญ่ ประกอบด้วย ข้อมูลด้านพันธุกรรม การแสดงออกของยีน การสั่งยา ผลการรักษา ลักษณะประชากร และอื่น ๆ จะท�ำให้การดูแล รักษาสุขภาพประสบความส�ำเร็จ ไม่ว่าจะเป็นการป้องกันหรือรักษา ก็ตาม เทคโนโลยีการสือ่ สารทีแ่ ทรกซึมอยูท่ วั่ ทุกหนแห่ง ท�ำให้การดูแล สุขภาพเกิดขึ้นที่บ้าน มากกว่าจะเป็นที่โรงพยาบาล ซึ่งหมายความว่า ปฏิสมั พันธ์ระหว่างแพทย์และคนไข้จะย้ายไปอยูบ่ นโลกเสมือน (virtual world) มากขึ้นกว่าปัจจุบันที่จ�ำเป็นต้องพบหน้าค่าตากันโดยตรง อุตสาหกรรมเทคโนโลยีทางการแพทย์มแี นวโน้มขยายตัวอย่าง ต่อเนื่อง จากมูลค่า 363.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี พ.ศ.2556 เป็น 513.5 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี พ.ศ.2563 โดยอุตสาหกรรมชุดตรวจ ภายนอกร่างกาย (in vitro diagnostics) มีส่วนแบ่งขนาดใหญ่ที่สุด

การแพทย์ส่วนบุคคล (personalized medicine)

ข้อมูลทั้งระดับยีนและระดับจีโนม ท�ำให้การพัฒนาการรักษา ผูป้ ว่ ยเปลีย่ นไปอย่างมากมาย ก่อให้เกิดความรูแ้ ขนงใหม่ เรียกว่า เภสัช พันธุศาสตร์ (pharmacogenetics และ pharmacogenomics) ท�ำให้

แต่ละคนรูว้ า่ ตนเองก�ำลังเป็นโรคอะไร หรือมีความเสีย่ งจะเป็นโรคอะไร ในอนาคต ช่วยให้สามารถวางแผนในการด�ำรงชีวิตได้อย่างมั่นใจ นอกจากนี้ ทัง้ ตัวยีนเองและผลผลิตของยีน (เช่น โปรตีน) ซึง่ มอง กันว่ามีบทบาทส�ำคัญในกลไกทีท่ ำ� ให้เกิดความผิดปกติของร่างกายหรือ เกิดโรค เป็นเป้าหมายของการรักษารูปแบบใหม่ ซึ่งน�ำไปสู่การพัฒนา ยาชนิดใหม่ ทั้งนี้เพราะข้อมูลการวิเคราะห์การแสดงออกของยีนหลาย ยีนพร้อมกัน (gene expression profiling) ท�ำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ เกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างยากับโรค การตอบสนองของเซลล์ต่อการ รักษา การใช้เทคนิคต่าง ๆ เหล่านี้ ร่วมกันช่วยให้สามารถพัฒนายาใหม่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งช่วยลดต้นทุนในการพัฒนายาได้ราว 200-300 ล้านเหรียญสหรัฐด้วย ปัจจุบนั ค่าใช้จา่ ยในการให้ได้มาซึง่ ข้อมูลระดับจีโนมส่วนบุคคล ลดลงเหลือไม่ถงึ 1,000 เหรียญสหรัฐต่อจีโนม นัน่ คือ ใบเบิกทางส�ำหรับ การแพทย์ส่วนบุคคล (personalized medicine) คาดการณ์ว่ามูลค่า ตลาดด้านการวินจิ ฉัยส�ำหรับการแพทย์สว่ นบุคคลจะเติบโตอย่างรวดเร็ว แนวโน้มดังกล่าวก�ำลังจะน�ำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ จากที่แต่เดิมเป็นการรักษาอาการป่วยไข้ โดยบริษัทที่เกี่ยวข้องกับ การรักษาพยาบาลโดยตรง มาเป็นการบริหารจัดการเพือ่ ดูแลสุขภาพ ซึง่ มีผู้เล่นหลากหลาย โดยมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนเป็นพฤติกรรมที่ใส่ใจ สุขภาพและการป้องกันโรคมากกว่าจะเป็นการรักษาภายหลังเกิดความ ผิดปกติแล้ว ซึ่งจะเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพลง และท�ำให้ ชีวิตมีความเป็นปกติสุขอย่างยั่งยืน แหล่งที่มาข้อมูล 1. Global Risk 2015. 10th Edition. World Economic Forum, 2015. 2. Healthcare and Life Sciences Predictions 2020: A Bold Future? The Deloitte Centre for Health Solutions, 2014. 3. Megatrends 2015: Making Sense of a World in Motion. Ernst & Young Global Limited, 2015. 4. Fast-Forward to 2025: New Mega Trends Transforming the World as we Know it. Frost & Sullivan, 2014. 5. สถานการณ์ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ. กรมสุขภาพจิต, 2556. 6. สุขภาพคนไทย 2556: ปฏิรปู ประเทศไทย ปฏิรปู โครงสร้างอ�ำนาจเพิม่ พลังพลเมือง. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556.

June-July 2015, Vol.42 No.241

71 <<<


&

Worldwide

“กราฟีน”น�ำสิ่งที่ดีสู่ชีวิต

ใน

ช่ ว งระยะเวลาประมาณ 5 ปี ที่ ผ ่ า นมานี้ ท่านที่ติดตามเทคโนโลยีคงจะเคยได้ยินค�ำว่า “กราฟีน” (Graphene) ซึ่งได้รับการเรียกขานว่า เป็น วัสดุมหัศจรรย์แห่งทศวรรษนี้มาบ้าง กราฟีน เป็นวัสดุที่มีโครงสร้างอัน เกิดจากการจัดเรียงกัน ของคาร์บอนอะตอมแบบวงหกเหลี่ยม (hexagonal configuration) ในแนวระนาบ 2 มิ ติ (two dimension : 2-D) หลาย ๆ วงต่อกันคล้ายกับ ตาข่ายกรงไก่เกิดเป็น แผ่นกราฟีนขนาดนาโน

กราฟีน

นับเป็นวัสดุแบบ 2 มิตชิ นิดแรกของโลก และเป็นวัสดุมหัศจรรย์ที่มีคุณสมบัติพิเศษ และสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย หลากหลาย ปัจจุบันได้มีการศึกษาและน�ำ กราฟีนมาใช้ประโยชน์กันอย่างกว้างขวาง ด้วย เพราะความสามารถทางการน�ำไฟฟ้า (conductivity) ที่ดีกว่าโลหะอย่างทองแดง >>>72

June-July 2015, Vol.42 No.241

ดร.อดิสร เตือนตรานนท์

นักวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญ สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

แข็งแรงกว่าเหล็กกล้าถึง 200 เท่า และมี ความหนาแน่นต่อพื้นที่มหาศาล มากถึง 2,630 m2/g ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับหลอด คาร์บอนนาโนแบบวงเดี่ยว (single wall carbon nano tube) แล้วถือว่ามากกว่าถึง สองเท่า กราฟีนน�ำความร้อนได้ดี และใน การสังเคราะห์ก็มีต้นทุนที่ถูกกว่าและง่าย กว่า ดังนั้นกราฟีนจึงถูกน�ำมาประยุกต์ ใช้กบั งานทางด้านอิเล็กทรอนิกส์หลายด้าน อาทิ ทรานซิสเตอร์ (transistor) อุปกรณ์ บันทึกความจ�ำ (memory device) เซลล์แสง

อาทิตย์ (solar cell) และเซนเซอร์ทางเคมี ไฟฟ้า (electrochemical sensor) เป็นต้น วัสดุกราฟีนถูกเตรียมขึ้นได้เป็นครั้ง แรกในปี พ.ศ.2547 โดยนักวิทยาศาสตร์ ชาวรัสเซียนามว่า ดร.อังเดร ไกม์ (Andre Geim) และ ดร.คอน สแตนติน โนโวเซลอฟ (Konstantin Novoselov) โดยไกม์ แ ละ โนโวเซลอฟ ค้นพบวิธีการท�ำให้กราไฟต์บาง ลงจนเหลือเพียงชั้นเดียว มีความหนาเท่ากับ อะตอมเพียงอะตอมเดียว โดยใช้การลอกด้วย สก็อตเทป อีกทั้งยังมีความเสถียรได้สภาวะ ธรรมชาติ


&

Worldwide กราฟีนกับไอที

การค้ น พบนี้ ท� ำ ให้ ไ กม์ แ ละโนโวเซลอฟ ได้รางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี พ.ศ.2553 ทีผ่ า่ นมา หลังจากนัน้ จะว่าไปองค์ ความรูส้ าขาวัสดุศาสตร์ (material science) ก็ได้พฒ ั นามาอย่างต่อเนือ่ ง มีการค้นพบสาร ใหม่ ๆ เพิ่มมากขึ้น เราก็พัฒนาวัสดุต่าง ๆ ได้มากขึ้น โดยใช้กราฟีนเป็นองค์ประกอบ เพื่อตอบสนองกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ โดย เฉพาะเทคโนโลยีไอทีที่อยู่ในชีวิตประจ�ำวัน ของเรา ตัวอย่างเช่น จอภาพแสดงผล (Display) ตั้งแต่การปฏิวัติวงการโทรศัพท์มือถือ Smartphone โดยค่าย Apple ท�ำให้เทคโนโลยี จ อภาพแสดงผลได้ รั บ การพั ฒ นา ก้าวหน้าเป็นอันมาก จะเป็นอย่างไรถ้าเรา เอาวัสดุกราฟีนมาเคลือบบนเส้นลวดขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางระดับนาโนเมตร หรือเรียก ว่า ลวดทองแดงนาโน (copper nanowires) ค�ำตอบ คือ มันจะท�ำให้ลวดทองแดงนาโน สามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สูง ขึน้ โดยจะสามารถเป็นสือ่ กลางกระแสไฟฟ้า ได้ โดยไม่ท�ำให้เส้นลวดทองแดงนาโนร้อน ขึ้น ท�ำให้การส่งสัญญาณเร็วขึ้น 15 เปอร์เซ็นต์ และลดอุณหภูมลิ งไปได้ 27 เปอร์เซ็นต์ จากงานวิจยั นีจ้ ะเห็นได้วา่ จะสามารถ เพิ่มความเร็วในการส่งสัญญาณผ่านเส้น ลวดและลดการสูญเสียพลังงานลง ท�ำให้เรา สามารถเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของอุ ป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ได้มากมาย เช่น วงจรในชิป อิเล็กทรอนิกส์ และจอภาพแสดงผล เป็นต้น ซึง่ มันจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่ออุตสาหกรรมซิ ลิ ก อนชิ ป และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบ โค้งงอได้ สาเหตุที่กราฟีนน�ำความร้อนได้ดี เพราะกราฟีนเป็นวัสดุแบบราบแบบ 2 มิติ ความร้อนที่ถูกน�ำพาจะมีพฤติกรรมเดินทาง แบบคลื่น (wave propagation) แตกต่าง จากความร้อนในวัสดุ 3 มิติทั่วไป ที่จะท�ำให้ อะตอมสัน่ สะเทือนในทุกมิติ ในเมือ่ เส้นลวด มีกราฟีนเคลือบอยู่จึงสามารถลดความร้อน ที่จะเกิดขึ้นและท�ำให้มีค่าความต้านทาน ไฟฟ้าต�่ำ จึงแก้ปัญหาเกี่ยวกับวงจรบนชิปที่ มีขนาดเล็กและหนาแน่นมาก ที่มักจะเกิด ความร้อนสูงจนละลาย

นอกจากนี้ ส ายทองแดงนาโนที่ เคลือบด้วยกราฟีนยังต้านทานการเป็นสนิม ท�ำให้สามารถน�ำไปใช้เป็นจอภาพโปร่งแสง และสามารถโค้งงอได้ วิธีการเคลือบวัสดุ กราฟีนบนทองแดงใช้วิธีที่เรียกว่า เทคนิค การเคลือบแบบไอระเหย หรือ Chemical Vapor Deposition (CVD) ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 1,000 องศาเซลเซียส ซึง่ ความร้อนมากขนาดนี้ มัน สามารถท�ำลายทัง้ เส้นลวดทองแดงได้งา่ ย ๆ แต่ ที ม วิ จั ย จากมหาวิ ท ยาลั ย Purdue ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ประสบความส�ำเร็จ ในการใช้เทคโนโลยี Plasma-enhanced CVD ทีใ่ ช้ความร้อนเพียง 650 องศาเซลเซียส ท�ำให้สามารถเคลือบกราฟีนบนผิวเส้นลวด ทองแดงขนาดนาโนได้ ในอนาคตถ้างานวิจัยนี้ส�ำเร็จออก มาเป็นผลิตภัณฑ์ เราคงสามารถสร้างจอที่ สามารถโค้ ง งอได้ ม ากขึ้ น และเมื่ อ จอนี้

โปร่งแสง เมื่อเราน�ำเอาจอมาซ้อน ๆ กันจะ สามารถสร้างภาพ 3 มิติได้ มันอาจเป็นการ ปฏิวตั วิ งการจอแสดงผลอีกครัง้ ทีเ่ ราสามารถ ดูภาพยนตร์ 3 มิติ โดยไม่ตอ้ งใส่แว่น เหมือน ที่จ�ำเป็นต้องใช้ในปัจจุบันอีกต่อไป

กราฟีนกับพลังงาน

นอกจากเทคโนโลยีไอทีแล้ว กราฟีน กับการน�ำมาใช้งานเรื่องพลังงานก็น่าสนใจ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ที่เรามีวิกฤตพลังงาน เราได้พยายามน�ำสิง่ รอบ ๆ ตัว มาใช้เพือ่ เป็น พลังงานทดแทนพลังงานจากฟอสซิล ไม่ว่า จะเป็นพลังงานลม พลังงานน�ำ้ พลังงานแสง อาทิตย์ แต่เมื่อเราสามารถแปรรูปพลังงาน ดังกล่าวออกมาเป็นพลังงานไฟฟ้าแล้ว การ เก็บรักษาพลังงาน เพือ่ น�ำมาใช้กเ็ ป็นอีกส่วน ส�ำคัญในกระบวนการดังกล่าว อย่างที่เห็น กันอยูใ่ นทุกวันนีว้ า่ เรามีรถยนต์ทใี่ ช้พลังงาน

June-July 2015, Vol.42 No.241

73 <<<


&

Worldwide ไฟฟ้าออกมาขับกันจริง ๆ บนท้องถนน ไม่วา่ จะเป็นรถยนต์ที่ยังเป็น Hybrid หรือรถยนต์ ไฟฟ้าจริง ๆ 100 เปอร์เซ็นต์ อย่างรถยนต์ ยี่ห้อ Tesla หรือ ล่าสุดรถยนต์ไฟฟ้าค่าย ญีป่ นุ่ อย่าง Toyota Mirai ก็ออกมาใช้งานได้ จริงในทุกวันนี้ ข้อจ�ำกัดของรถยนต์พลังงานไฟฟ้า คือ แบตเตอรี่ เพราะเมือ่ เราต้องการขับรถไป ในระยะทางไกล ๆ หรือในทีท่ รุ กันดาร ไม่มที ี่ ชาร์ จ ไฟฟ้ า เราก็ จ ะไม่ ส ามารถเข้ า ไปได้ เหมือนเมือ่ เวลาเราเข้าป่าไม่มที ชี่ าร์จโทรศัพท์ เราก็ จ ะไม่ ส ามารถใช้ ง านมั น ได้ รถยนต์ พลังงานไฟฟ้าก็เช่นกัน ถ้าเราขับเข้าไปใน กลางทะเลทราย กลางป่าเขา ไม่มีที่ชาร์จ ไฟฟ้า เราคงต้องทิ้งรถยนต์ไว้ที่นั่นแน่นอน แต่ ข ณะนี้ ที ม นั ก วิ จั ย จากมหาวิ ท ยาลั ย แคลิฟอร์เนีย เมืองลอสแองเจลิส ได้ประสบ ความส�ำเร็จในการพัฒนาแบตเตอรี่ แบบ Supercapacitor ที่ เ ก็ บ พลั ง งานได้ ม าก และชาร์จไฟได้รวดเร็ว เรียกว่า ซูเปอร์ชาร์จ (Supercharges) ปกติแบตเตอรี่แบบ Supercapacitor มักจะชาร์จไฟได้เร็วแต่เก็บ พลังงานได้น้อย เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวข้าง ต้ น ทางที ม จึ ง น� ำ แบตเตอรี่ แ บบ Supercapacitor มาใช้ ร ่ ว มกั บ แบตเตอรี่ แ บบ เดิม ๆ เรียกว่าเป็น Hybrid Supercapacitor ก็ ไ ด้ ที่ ท� ำ จากวั ส ดุ ก ราฟี น ซึ่ ง เป็ น วั ส ดุ คาร์บอนที่มีโครงสร้างแบบ 2 มิติ โปร่งแสง โค้งงอได้ และน�ำไฟฟ้าได้ดี มันจึงเป็นวัสดุที่ เหมาะสมในการน�ำมาใช้งานนี้

>>>74

June-July 2015, Vol.42 No.241

ทีมนักวิจัยได้น�ำกราฟีนมาผสมกับ สารแมงกานีสไดออกไซด์ (Manganese Dioxide) ซึ่งสารนี้ใช้อยู่ในถ่านอัลคาไลน์ ทั่วไป มีโครงสร้างคล้ายดอกไม้ขนาดเล็ก ระดับไมโครเมตร จึงท�ำให้มรี พู รุนระดับนาโน จ�ำนวนมาก กราฟีนท�ำหน้าทีเ่ ป็นสือ่ น�ำไฟฟ้า ส� ำ หรั บ แมงกานี ส ไดออกไซด์ โดยมั น มี โครงสร้างเป็นรูพรุนจึงช่วยให้แมงกานีส ไดออกไซด์ ท� ำ ปฎิ กิ ริ ย าเคมี ไ ฟฟ้ า ได้ เ ป็ น อย่างดี ท�ำให้สามารถเก็บประจุไฟฟ้าได้ ยิง่ ยวด โดยเก็บพลังงานไฟฟ้าได้ 42 วัตต์ตอ่ ชั่วโมงต่อลิตร นับว่าสูงพอ ๆ กับตัวเก็บ ประจุไฟฟ้ายิง่ ยวดทีข่ ายอยูใ่ นปัจจุบนั ทีเ่ ป็น แบบแผ่นตะกั่วในน�้ำกรด อย่างไรก็ตาม ด้วยเทคโนโลยีนี้ ทาง ทีมวิจัยตั้งเป้าที่จะพัฒนาไปให้ถึง 10,000 วัตต์ต่อชั่วโมงต่อลิตร ซึ่งจะมากกว่าความจุ ของแบตเตอรี่แบบตะกั่วในกรดถึง 100 เท่า และมากกว่าแบตเตอรีแ่ บบลิเธียมถึง 1,000 เท่าเลยทีเดียว ในขณะที่ต้องสามารถเก็บ รักษาความสามารถในการเก็บประจุได้ แม้ กระทัง่ แบตเตอรีแ่ บบใหม่จะถูกชาร์จและใช้ มากกว่า 10,000 รอบก็ตาม ทีมนักวิจัยตั้ง เป้าจะน�ำมาใช้เก็บพลังงานที่ผลิตได้เซลล์ สุริยะ โดยมันสามารถกักเก็บพลังงานที่ได้ จากเซลล์สุริยะได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้การสร้าง เครื่องประจุไฟฟ้ายิ่งยวดนี้ ไม่จ�ำเป็นต้อง ผลิตในห้องสะอาดทีม่ ตี น้ ทุนการสร้างสูง แต่

มันสามารถประกอบได้ในห้องแล็บปกติ ดัง นัน้ จึงเป็นการลดต้นทุนการผลิตเป็นอย่างยิง่ เมื่อพลังงานทางเลือกรอบ ๆ ตัว สามารถถูก กักเก็บไว้ใช้ได้นาน ๆ ต่อไปเราอาจไม่ต้อง พึ่งพาโรงไฟฟ้า เราอาจผลิตกระแสไฟฟ้า ใช้ได้เองในบ้าน ในรถยนต์ พลังงานที่เราใช้ จะเป็นพลังงานสะอาด ไม่สร้างมลพิษแก่ โลก เทคโนโลยีพลังงานสะอาดจะก้าวต่อไป อย่างไม่หยุดยั้ง ท�ำให้โลกเราน่าอยู่ยิ่งขึ้น

กราฟีนกับสุขภาพ

นอกจากเรื่องของไอทีและพลังงาน แล้ว ชีวิตเราจะมีความสุข เราต้องมีสุขภาพ ดี ปลอดโรคภัยไข้เจ็บด้วย ปัจจุบนั เทคโนโลยี การแพทย์ก้าวหน้าไปมาก เราเปลี่ยนจาก การรักษาเป็นการป้องกัน ดังนัน้ การคัดกรอง ความผิดปกติต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ ยิ่ง ตรวจพบเร็วเท่าไหร่ การรักษาให้หายขาด หรือปลอดภัยจากโรคนั้นยิ่งมีโอกาสสูงขึ้น ตัวอย่างเช่น การคัดกรองมะเร็งในปัจจุบัน ยังต้องใช้เวลานาน และมีหลายขั้นตอนที่ ยุ่งยาก วุ่นวาย การเก็บตัวอย่างก็ต้องมีการ ผ่าตัด เพื่อเอาชิ้นเนื้อมาตรวจพิสูจน์ กว่าจะ ทราบผล ผูป้ ว่ ยและญาติ ๆ ต้องนัง่ ลุน้ กันตัว โก่งอยู่หลายวันว่า ผลจะออกมาอย่างไร ชีวิตจะดีขึ้นมาก ถ้าเราสามารถคัด กรองมะเร็งบางชนิดได้ในเวลาเดียวกันกับ การตรวจร่างกายตามปกติด้วยการเจาะ


&

Worldwide เลือดตรวจ หรือจากสารคัดหลั่งอื่น ๆ เช่น น�้ำลาย หรือปัสสาวะ การเก็บตัวอย่างก็ไม่ ยุ่งยาก ไม่ต้องเจ็บตัวจากการผ่าตัดเก็บชิ้น เนื้ อ ลดความเสี่ ย งและค่ า ใช้ จ ่ า ยในการ ผ่าตัด ทั้งยังสามารถทราบผลได้ในระยะ เวลาอันสั้นอีกด้วย จากแนวคิ ด นี้ ที ม นั ก วิ จั ย จาก Swansea University ประเทศอังกฤษ ได้ ค้ น คว้ า พบคุ ณ สมบั ติ ข องกราฟี น (Graphene) ซึ่งเป็นวัสดุคาร์บอนที่มีโครงสร้าง เป็นแผ่นแบบ 2 มิติ โดยได้พฒ ั นาเทคนิคการ ปลูกวัสดุกราฟีนคุณภาพสูงเป็นแผ่นขนาด ใหญ่ แล้วน�ำไปใช้เป็นอุปกรณ์ตรวจจับทาง ชีวภาพ ในผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร 2D Materials โดย The Institute of Physics ได้เปิดเผยว่า ทีมวิจัยได้ประสบผลส�ำเร็จใน การพัฒนาการปลูกวัสดุกราฟีน ทั้งขนาด พืน้ ทีแ่ ละคุณภาพ โดยไม่ใช้เทคนิคเก่า ๆ ใน การผลิต เทคนิคใหม่ของทีมวิจัยที่กล่าวถึง คือ การใช้เทคนิค Epitaxial Growth กล่าว คือ เป็นการปลูกอะตอมคาร์บอนให้เรียงตัว เป็นโครงสร้างกราฟีน 2 มิติ บนพื้นผิวของ วัสดุซิลิกอนคาร์ไบด์ หลังจากนั้นจึงสร้าง เซนเซอร์ด้วยการสร้างลวดลายของกราฟีน ด้วยเทคนิคกระบวนการที่ใช้สร้างวงจรของ สารกึ่งตัวน�ำ (semiconductor) ต่อจากนั้น ทีมวิจยั ได้นำ� โมเลกุลตัวตรวจจับทางชีวภาพ (bioreceptor molecules) มาติดไว้บนโครง

สร้างกราฟีน โมเลกุลตัวตรวจจับนี้ จะท�ำ หน้าที่จับกับโมเลกุลเป้าหมายที่ต้องการ ตรวจหาที่พบในตัวอย่างเลือด น�้ำลาย และ ปัสสาวะของคนไข้ ล่าสุดทีมวิจยั ได้พยายามใช้เซนเซอร์ ดั ง กล่ า วเพื่ อ ตรวจหาโมเลกุ ล ของ 8hydroxydeoxyguanosine (8-OHdG) ซึ่ง เป็นโมเลกุลที่สร้างขึ้น เมื่อสารพันธุกรรมใน ร่างกายถูกท�ำลายเสียหาย เมือ่ มันแสดงค่าที่ เพิ่มขึ้น จะเป็นตัวบ่งชี้ว่า ผู้ป่วยมีความเสี่ยง ทีจ่ ะเป็นมะเร็งได้ในหลากหลายอวัยวะ จาก วิธกี ารนี้ ทีมวิจยั สามารถตรวจหาโมเลกุลตัว บ่งชี้ได้ในปริมาณที่น้อยมากถึง 0.1 นาโน กรัมต่อมิลลิลิตร ซึ่งนับว่ามีความละเอียด มากกว่าเครื่องมือที่ใช้อยู่ในห้องปฏิบัติการ ในปัจจุบัน ซึ่งใช้เทคนิค Nzyme-linked Immunosorbent Assays (ELISA) ถึง 5 เท่า เลยทีเดียว นอกจากนี้ยังสามารถทราบผลได้ รวดเร็วกว่าอีกด้วย เพราะเซนเซอร์กราฟีน นั้นท�ำให้เราทราบผลการตรวจได้ในเวลา เพียงไม่กี่นาที ทั้งนี้ทีมวิจัยยังมีเป้าหมายที่ จะพัฒนาเซนเซอร์กราฟีนในการตรวจเพื่อ คัดกรองโรคอื่น ๆ ให้อยู่ในอุปกรณ์เดียวกัน อีกด้วยโครงการวิจัยนี้ เมื่อประสบผลส�ำเร็จ ออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถใช้ได้จริง แล้ว จะสามารถช่วยชีวติ ผูป้ ว่ ยได้อกี มากมาย เพราะการตรวจพบมะเร็งในระยะแรก แพทย์

สามารถให้การรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นั บ วั น เทคโนโลยี ก ารรั ก ษาชี วิ ต มนุษย์ให้ยืนยาวนั้น มีการพัฒนาอย่างไม่ หยุ ด ยั้ ง แต่ จ ะท� ำ อย่ า งไรให้ ผู ้ ที่ ใ ช้ ชี วิ ต ที่ ยืนยาวในโลกนี้ ใช้ชวี ติ ให้มปี ระโยชน์กบั โลก และเพื่อนมนุษย์มากขึ้นด้วย จะเห็นได้ว่า กราฟีนสามารถน�ำมาใช้งานได้อย่างกว้าง ขวางมากมาย ทัง้ เรือ่ งของไอที พลังงาน และ สุขภาพการแพทย์ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทย เองก็มนี กั วิจยั ทีพ่ ฒ ั นากระบวนการสังเคราะห์ กราฟี น ได้ ส� ำ เร็ จ และน� ำมาใช้ ง านได้ จ ริ ง ประสบความส�ำเร็จในการสร้างผลิตภัณฑ์ จากกราฟีนมาแล้ว เช่น ผลงานของห้องแล็บ วิจัยที่เรียกตัวเองว่า Graphene Thailand (www.graphenethailand.com) ที่ศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ ก็สามารถสังเคราะห์ กราฟีนได้เป็นผลส�ำเร็จและต่อยอดไปใช้เป็น หมึกน�ำไฟฟ้า เพือ่ สร้างเป็นอุปกรณ์เซนเซอร์ ราคาถูกด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์ หากรัฐบาลไทยต้องการปฏิรปู วงการ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ข องไทยให้ ทัดเทียมกับประเทศทีเ่ คยล้าหลังกว่าเรา แต่ ปัจจุบนั ล�้ำหน้าเราไปมากมายอย่างประเทศ เกาหลีใต้ ก็ควรมีการวางแผนระยะยาว ควร มีการส่งเสริมงานวิจัย การพัฒนาต่อยอด และการขายผลิตภัณฑ์ที่ใช้เทคโนโลยีของ นักวิจยั ไทยให้เป็นทีย่ อมรับในตลาดโลก เช่น เดียวกันกับทีร่ ฐั บาลเกาหลีใต้ยกเอากราฟีน ขึน้ มาเป็นเรือธงในการพัฒนาประเทศต่อไป ขอฝากผู้มีอ�ำนาจพิจารณาด้วยครับ

June-July 2015, Vol.42 No.241

75 <<<


&

Report

ผนึกก�ำลัง

จัดงาน SETA 2016 ครั้งแรกในไทย

กองบรรณาธิการ

รศ.ดร.ธัชชัย สุมิตร

ประธานคณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการพลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแห่งเอเชีย 2559

การ

พั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของโลกอยู ่ บนพื้ น ฐานการใช้ พ ลั ง งานที่ เพียงพอและสมดุล รวมทั้งการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีที่ล�้ำสมัยและเหมาะสมเข้าด้วย กั น จึ ง เป็ น หนึ่ ง ในเหตุ ผ ลให้ เ กิ ด การจั ด ประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ “โครงการพลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืน แห่งเอเชีย 2559” หรือ “SETA 2016” เป็น ครั้งแรกที่ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็น >>>76

June-July 2015, Vol.42 No.241

เจ้าภาพจัดงานนีข้ นึ้ เพือ่ เชือ้ เชิญ ผู้บริหารภาครัฐและภาคเอกชน ผู้ผลิต บริษัทผู้ผลิตไฟฟ้า นักวิชาการ ผูเ้ ชีย่ วชาญ บริษทั ผูผ้ ลิต พลั ง งานทดแทน ธนาคาร นั ก ลงทุนจากทุกภาคส่วน และผู้สนใจ ทั่วไปทั้งในและต่างประเทศ ร่วมกัน ก� ำ หนดนโยบายและการวางแผนด้ า น พลังงาน เทคโนโลยีระบบไฟฟ้า พลังงานเพือ่ การคมนาคมขนส่งและพลังงานทางเลือก และพลังงานยั่งยืนและเทคโนโลยีสีเขียว หวังผลักดันและยกระดับประเทศไทยให้ เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านพลังงานและ เทคโนโลยีในระดับภูมิภาคเอเชีย รศ.ดร.ธัชชัย สุมิตร ประธานคณะกรรมการด�ำเนินงานโครงการพลังงานและ เทคโนโลยีที่ยั่งยืนแห่งเอเชีย 2559 กล่าวว่า งาน SETA 2016 เป็นก้าวย่างที่ส�ำคัญใน ความร่วมมือกันอย่างจริงจังของหน่วยงาน

หลั ก ของประเทศ โดยกระทรวงพลั ง งาน กระทรวงคมนาคม และกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมทัง้ องค์กรภาคเอกชน ผูม้ ี ส่ ว นร่ ว มต่ อ การสร้ า งบทบาทและความ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งหน่ ว ยงานในการผลั ก ดั น ประเทศไทยให้ ก ้ า วสู ่ ค วามเป็ น ผู ้ น� ำ ด้ า น พลังงานในภูมิภาคอาเซียนอย่างแท้จริง “งานนีม้ วี ตั ถุประสงค์ในการสร้างเวที พู ด คุ ย แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ร่ ว มหา ค�ำตอบและแนวทางแก้ปญ ั หา ตัง้ แต่การหา แหล่งพลังงาน ตลอดจนการใช้ระบบผลิต กระแสไฟฟ้า ภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม และภาคครัวเรือน โดยในงานประชุมครัง้ นีจ้ ะ มุ่งเน้นในประเด็นที่ทั้งเอเชียและทั่วโลกล้วน ให้ความส�ำคัญ ในส่วนของประเทศไทย จะเน้นโชว์ ผลงานวิจัยที่ส�ำคัญต่อการพัฒนาพลังงาน และเทคโนโลยี โดยจุดเด่นของงาน คือ การ เชิญวิทยากรซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญระดับโลก


& หลากแขนงมาให้ความรูค้ วามเข้าใจกับผูเ้ ข้า ชมและร่วมงานตลอดทั้ง 3 วัน ตั้งเป้าไว้ที่ จ�ำนวน 5,000 คน จาก 15 ประเทศทั่วโลก ต่างเข้ามาแสวงหาโอกาสทางพลังงานและ เทคโนโลยี ที่ ง านนี้ และตั้ ง ใจจะส่ ง เสริ ม โครงการนี้เกิดขึ้นเป็นประจ�ำ เพื่อให้ทุก ๆ ความเห็นและความร่วมมือมีความต่อเนื่อง และบรรลุผลส�ำเร็จ” เนื่องจากเป็นงานยิ่งใหญ่ระดับชาติ ภาครัฐจึงเข้ามามีบทบาทและเป็นแรงผลัก ดันที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งกระทรวงพลังงาน กระทรวง คมนาคม และกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ถือเป็นเฟืองจักรส�ำคัญส�ำหรับ โครงการนี้ ดร.ทวารั ฐ สู ต ะบุ ต ร รองปลั ด กระทรวงพลังงานกล่าวสนับสนุนโครงการนี้ ว่า “เพราะโลกก�ำลังเข้าสู่ยุคไฮบริด มีการ เชือ่ มโยงระหว่างกัน จึงจ�ำเป็นต้องบูรณาการ ร่ ว มกั น ทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชน ซึ่ ง กระทรวงพลังงานมีหน้าที่วางแผนนโยบาย ด้านพลังงานทีด่ ี เพือ่ ช่วยให้เกิดการปรับปรุง และน�ำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และพร้อม กระตุ้นนโยบาย และพัฒนาด้านเทคโนโลยี รวมถึ ง การส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง ประเทศอย่างแท้จริงผ่านโครงการนี้” เช่นเดียวกับ คุณอลงกรณ์ เหล่างาม ผู ้ ช ่ ว ยปลั ด กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี กล่าวว่า “โครงการ SETA 2016 จะสามารถผลักดัน รวมถึงส่งเสริมนโยบาย และการวางแผนในด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี การคิดสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ของ

ไทย หรืองานวิจัยและนวัตกรรมทางด้าน พลังงานและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพด้ า นการใช้ พ ลั ง งาน อย่างคุ้มค่าและมีคุณภาพ เป็นมิตร ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม และก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ในเชิงการผลิตและการ พาณิชย์ ตลอดจนการเติบโตของ เศรษฐกิจอย่างมั่นคง” นอกจากสององค์กรหลักใน ด้านการวางแผนด้านพลังงานและ เทคโนโลยีแล้ว ทางกระทรวงคมนาคมยัง เล็ ง เห็ น ความส� ำ คั ญ ของการใช้ พ ลั ง งาน และเทคโนโลยีเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์การ ขนส่งที่ยั่งยืนขององค์กร ซึ่ง คุณสมศักดิ์ ห่มม่วง ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการขนส่ง ทางน�้ำ กระทรวงคมนาคม ให้ความเห็นว่า “SETA 2016 ถือเป็นเวทีพูดคุยทั้งในด้าน การใช้พลังงานที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง เพราะ ภายในงานจะจัดแสดงเทคโนโลยี นวัตกรรม และสินค้าใหม่ ๆ รวมทั้งยังสร้างโอกาสให้ ทุกภาคส่วนร่วมกัน ผลักดันทัง้ ด้านนโยบาย และการด�ำเนินงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ครอบคลุม เข้าถึงง่าย ประหยัด และปลอดภัยต่อ สิ่งแวดล้อม” ทั้งนี้ ในด้านองค์กรรัฐวิสาหกิจและ เอกชน ต่ า งก็ ข านรั บ ความน่ า สนใจของ SETA 2016 โดยเฉพาะ กฟผ. ซึ่ง คุณสหรัฐ บุญโพธิภักดี รองผู้ว่าการกิจการสังคม การ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กล่าวว่า “ไทยจ�ำเป็นต้องพัฒนาและด�ำเนินงานด้าน พลังงานอย่างยั่งยืน เพื่อสอดรับเป้าหมาย

Report

ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รองปลัดกระทรวงพลังงาน

ด� ำ เนิ น งานตามนโยบายของรั ฐ บาลในปี พ.ศ.2563 โดยเน้นการวางแผนใช้พลังงาน ขั บ เคลื่ อ นนโยบายการลงทุ น เทคโนโลยี สีเขียวระดับอาเซียน จึงร่วมสนับสนุนทั้ง เงินทุน สรรหาวิทยากร และหัวข้อการบรรยาย ระดับนานาชาติ อาทิ Regional Connectivity and Grids Interconnection เป็นต้น” ด้านเอกชนอย่าง สมาคมนิวเคลียร์ แห่งประเทศไทย โดย รศ.พล.ต.ดร.ชัยณรงค์ เชิดชู นายกสมาคมนิวเคลียร์ฯ กล่าวว่า “งานนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของความท้าทายให้ ชาวไทยและทั่วโลกตระหนักว่า เทคโนโลยี ความปลอดภัยอย่างพลังงานนิวเคลียร์นั้น มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ต่ อ การพั ฒ นาด้ า นพลั ง งาน ของชาติ และเชื่อมั่นว่าภายในงานครั้งนี้จะ ช่วยแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และ ผลงานวิ จั ย เกี่ ย วกั บ วิ ท ยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีนิวเคลียร์ และสนับสนุนการผลิต และพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีนิวเคลียร์ให้เพิ่มมากขึ้น” งานประชุมวิชาการและนิทรรศการ นานาชาติ “โครงการพลังงานและเทคโนโลยี ทีย่ งั่ ยืนแห่งเอเชีย 2559” หรือ “SETA 2016” พร้ อ มเปิ ด โลกใหม่ ข องพลั ง งานและ เทคโนโลยีในระดับนานาชาติให้ผสู้ นใจเข้า ชมได้ ระหว่างวันที่ 23-25 มีนาคม พ.ศ.2559 เวลา 10.00-18.00 น. ณ ฮอลล์ 103 ศูนย์ นิทรรศการ และการประชุมไบเทค บางนา June-July 2015, Vol.42 No.241

77 <<<


&

Knowledge

ยุทธศาสตร์จัดการกากอุตสาหกรรม

ยกระดับสู่อุตสาหกรรมสีเขียว กรมโรงงานอุตสาหกรรม

จาก

แนวโน้มด้านเศรษฐกิจโลกได้เริ่มใช้มาตรฐานความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมมาเป็นมาตรการ กีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (Non Tariff Barrier : NTB) มาเป็น เครื่องมือให้ทุกชาติที่เป็น ผู ้ ผ ลิ ต อยู ่ ใ นบรรทั ด ฐานที่ มี ก ารดู แ ลภาคอุ ต สาหกรรมที่ ทั ด เที ย มกั น ด้ ว ยเหตุ นี้ ประเทศไทยจึ ง มี ค วาม จ�ำเป็นต้องยกระดับอุตสาหกรรมไทยก้าวสู่ยุคสีเขียวอย่างแท้จริง

การ

จั ด การกากอุ ต สาหกรรมถื อ เป็นส่วนส�ำคัญในการส่งเสริม อุตสาหกรรมไทยให้ได้มาตรฐานทัง้ สินค้าและ การบริหารจัดการในการผลิต โดยปัจจุบัน ภาคอุตสาหกรรมสร้างรายได้ให้กบั ประเทศไทยโดยในปี พ.ศ.2557 สร้างมูลค่ามากถึง ร้อยละ 40 ของ GDP หรือผลิตภัณฑ์มวลรวม ของประเทศ หรือประมาณ 5 ล้านล้านบาท จาก GDP รวม 12.14 ล้านล้านบาท ทัง้ นีก้ าร ผลิตในภาคอุตสาหกรรมย่อมเกิดของเสีย >>>78

June-July 2015, Vol.42 No.241

หรือกากจากวัตถุดบิ ต่าง ๆ ทีไ่ ม่สามารถท�ำ ให้เป็นสินค้าได้ทั้งหมด หรือที่เรียกว่ากาก อุตสาหกรรม แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ กาก อันตราย และกากไม่อันตราย ซึ่งทั้งหมด จ�ำเป็นต้องได้รบั การจัดการทีถ่ กู ต้อง กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ใน ฐานะองค์กรทีม่ บี ทบาทในการจัดการปัญหา กากอุตสาหกรรมให้ถูกต้อง จึงก�ำหนดแผน ยุทธศาสตร์ 4 ด้าน ครอบคลุมใน 3 กลุ่ม ผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ กลุ่มโรงงานผู้ก่อก�ำเนิด

กาก กลุม่ ผูข้ นส่ง และกลุม่ โรงงานผูร้ บั บ�ำบัด/ ก�ำจัด/รีไซเคิลกาก โดยมีรายละเอียดดังนี้ ยุทธศาสตร์ ที่ 1 ควบคุมและก�ำกับ ดู แ ลให้ ทุ ก โรงงานปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย เนื่องจากปัญหาใหญ่ของการจัดการกาก อุตสาหกรรม คือ ผู้ประกอบการ เจ้าของ โรงงานผูก้ อ่ ก�ำเนิดกากส่วนใหญ่มากกว่าร้อย ละ 90 ยังไม่ได้มกี ารจัดการกากอุตสาหกรรม อย่างถูกต้องตามกฎหมาย โดยโรงงานทีม่ ใี บ ประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง. 4) ทีไ่ ด้มกี ารแจ้ง ประกอบกิจการแล้วจ�ำนวนทั้งหมด 68,000 โรง (ไม่นบั โรงงานล�ำดับที่ 101, 105 และ 106) มีโรงงานที่แจ้งขนส่งกากฯ ออกไปบ�ำบัด/


&

Knowledge ก� ำ จั ด / รี ไ ซเคิ ล กากอุ ต สาหกรรมเพี ย ง ประมาณ 5,300 โรง หรือคิดเป็น 7 เปอร์เซ็นต์ เท่านัน้ กรอ.เตรียมจัดตัง้ ศูนย์ชว่ ยเหลือและ ติดตามการต่ออายุโรงงานที่ขาดการจัดการ กากอุตสาหกรรมทัว่ ทัง้ 6 ภูมภิ าค มีภารกิจ หลัก คือ ช่วยเหลือผูป้ ระกอบการในการเข้าสู่ ระบบอนุญาตก�ำจัดกากอุตสาหกรรม และ ติดตามการต่ออายุของโรงงานที่ขาดการ จัดการกากอุตสาหกรรม โดยมีการสัง่ การและ เปรียบเทียบปรับ จนถึงการไม่ต่ออายุใบ อนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ร.ง. 4 ส�ำหรับ ผูป้ ระกอบกิจการทีไ่ ม่จดั การกาก ขณะเดี ย วกั น ส่ ง เสริ ม การอ� ำ นวย ความสะดวกให้ผู้ประกอบการสามารถลง ทะเบียนขออนุญาต สก. 1 สก. 2 ได้ ผ่านระบบ อนุญาตแบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-license) พร้อมพัฒนาระบบ Smart Form เข้ามาช่วย ผูป้ ระกอบการ และจัดสร้างระบบฐานข้อมูล และติดตามการขนส่งกาก (GPS) ทัง้ นีม้ รี ถ บรรทุ ก กากอั น ตรายที่ ไ ด้ ขึ้ น ทะเบี ย นกั บ กรมโรงงานอุตสาหกรรมและจะต้องติดตั้ง GPS จ�ำนวน 3,426 คัน ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความร่วมมือ และแรงจู ง ใจ ส่ ง เสริ ม การจั ด การกาก อุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบ โดยศึกษาพืน้ ที่ ทีม่ ศี กั ยภาพในการน�ำกากมาใช้ประโยชน์ใน รูปพลังงาน 10 พื้นที่ทั่วประเทศ โดยสร้าง ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการให้องค์ ความรูแ้ ละพัฒนาบุคลากรทีม่ คี วามสามารถ เพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็น Third Party ในการศึกษา หาพืน้ ทีแ่ ทนเจ้าหน้าทีข่ องรัฐทีม่ จี ำ� นวนจ�ำกัด เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย 10 แห่ง ภายใน ปี พ.ศ. 2558 และปรับปรุงต�ำรากากอุตสาหกรรม ส�ำหรับผู้ควบคุมมลพิษกากอุตสาหกรรม และ Third Party ขณะเดียวกันได้สร้างแรง จูงใจโดยการเพิ่มสัดส่วนเงินรางวัลจากค่า ปรับผู้ลักลอบทิ้งกากให้แก่ประชาชนผู้แจ้ง เบาะแส ร้อยละ 25 เปอร์เซ็นต์ ของค่าปรับ ส่วนทีเ่ ป็นเงินรางวัล ยกตัวอย่าง หากค่าปรับ 200,000 บาท จะถูกแบ่งเป็นเงินรางวัล 60

เปอร์เซ็นต์ ทีเ่ หลือส่งเข้ากระทรวงการคลัง 40 เปอร์เซ็นต์ กรณีดังกล่าวเงินรางวัลเท่ากับ 120,000 บาท โดยผูแ้ จ้งเบาะแสจะได้รบั เงิน 25 เปอร์เซ็นต์ ของเงินรางวัลซึง่ เท่ากับ 30,000 บาท ยุทธศาสตร์ ที่ 3 เครือข่ายภายใน ประเทศที่ให้การสนับสนุนกระทรวงอุตสาหกรรม โดยเพิม่ ความเข้มงวดกับผูข้ นส่ง กากอุตสาหกรรมป้องกันไม่ให้เกิดการลักลอบ ทิ้ง โดยขอความร่วมมือเชิงบูรณาการกับ หน่วยงานที่มีอ�ำนาจดูแลยานพาหนะ (รถ บรรทุก) และถนน ได้แก่ กรมการขนส่งทางบก ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ช่วยตรวจ/ควบคุม รถขนส่งกากอันตรายทีว่ งิ่ ตามท้องถนน โดย เฉพาะรถที่ยังไม่มีการขึ้นทะเบียนกับกรม โรงงาน และไม่มตี ดิ ตัง้ GPS อย่างถูกต้อง

ส่วนเครือข่ายต่างประเทศที่ให้การ สนับสนุนกระทรวงอุตสาหกรรม คือ กระทรวง เศรษฐกิ จ การค้ า และอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศญี่ปุ่น (METI) โดยองค์กร NEDO (New Energy and Industrial Technology Development Organization) ให้การสนับสนุนโครงการพัฒนาเตาเผาขยะร่วมทีท่ นั สมัย ขนาด 500 ตันต่อวัน ระยะเวลา 5 ปี มูลค่ากว่า 2,000 ล้านบาท พร้อมทั้งส่งผู้เชี่ยวชาญมา ช่วยเหลือกรมโรงงานอุตสาหกรรมศึกษา พื้ น ที่ ร องรั บ กาก ที่ ผ ่ า นมากรมโรงงาน อุตสาหกรรมได้ก่อตั้งเตาเผากากอันตราย ด้วยความร้อนสูงแห่งเดียวในประเทศไทย ใช้ งบประมาณการลงทุนถึง 1,408 ล้านบาท ที่ ให้บริการเผาท�ำลายขยะ สิง่ ปฏิกลู และวัสดุที่ ไม่ใช้แล้วทุกชนิด โดยได้มอบสัมปทานสิทธิ บริหาร ให้ บริษทั อัคคีปราการ จ�ำกัด บริหาร ในรูปแบบเอกชน เมือ่ ปี พ.ศ.2551 ยุทธศาสตร์ ที่ 4 ปรับปรุงกฎหมาย เพื่อติดตามผู้กระท�ำผิดและอ�ำนวยความ สะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัติตามกฎหมาย โดย การเข้มงวดกับโรงงานที่ไม่เข้าระบบอย่าง ถูกต้อง แก้ข้อกฎหมายที่เคยเป็นอุปสรรค ทัง้ หมด เช่น เพิม่ บทลงโทษจ�ำคุกกับผูล้ กั ลอบ ขนส่งกากที่มีโทษเพียงปรับ 200,000 บาท โดยขยายอายุความเป็น 10 ปี ซึง่ ในปัจจุบนั มี

June-July 2015, Vol.42 No.241

79 <<<


&

Knowledge อายุ ค วามเพี ย ง 1 ปี ท� ำ ให้ ก รมโรงงาน อุตสาหกรรม ไม่สามารถติดตามผูก้ ระท�ำผิด มาลงโทษได้ทันการณ์ นอกจากนี้ยังออก ประกาศ อก. ไม่ตอ่ อายุใบอนุญาตประกอบ กิจการโรงงาน ร.ง. 4 อีกด้วย ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ให้ ผูป้ ระกอบการทีก่ ำ� ลังจะเข้ามาในงานอุตสาหกรรมรวมถึงผู้ที่อยู่ในอุตสาหกรรมนี้อยู่แล้ว ได้เตรียมความพร้อมในเรื่องการมีส่วนร่วม รับผิดชอบต่อสังคม ที่จะต้องดูแลจัดการ ปัญหากากอุตสาหกรรมอย่างถูกต้อง เพื่อ พัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยไปอย่าง ยัง่ ยืน ส่งเสริมให้ชมุ ชนและโรงงานอยูร่ ว่ มกัน ได้โดยไม่มคี วามขัดแย้ง

หน้าทีข่ องโรงงานผูก้ อ่ กำ�เนิดในการ จัดการของเสีย

การครอบครองของเสีย ➲ ต้ อ งไม่ ค รอบครองของเสี ย ไว้ ภายในโรงงานเกินระยะเวลา 90 วัน หากเกิน กว่าระยะเวลาทีก่ ำ� หนดไว้นี้ ต้องขออนุญาต ตามแบบ สก.1 ➲ กรณี ที่ ค รอบครองของเสี ย อันตรายให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวง อุตสาหกรรม เรื่อง ระบบเอกสารก�ำกับการ ขนส่งของเสียอันตราย พ.ศ.2547 การควบคุม ดูแลการจัดการของเสีย ➲ ต้องจัดท�ำแผนการป้องกันอุบต ั -ิ ภัยเพื่อรองรับเหตุฉุกเฉิน ในกรณีเกิดเหตุ รั่วไหลอัคคีภัย การระเบิดของของเสียหรือ เหตุทคี่ าดไม่ถงึ ตามทีก่ ำ� หนดในภาคผนวกที่ 3 ท้ายประกาศกระทรวงฯ ➲ ต้องแยกเก็บของเสียอันตรายไว้ ในที่รองรับต่างหากที่เหมาะสมและมีฝาปิด มิดชิด และต้องจัดให้มกี ารก�ำจัดของเสียโดย เฉพาะ ด้วยวิธีการที่ปลอดภัยและไม่ก่อให้ เกิดความเดือดร้อนร�ำคาญ ➲ ต้องมีผค ู้ วบคุมดูแลระบบป้องกัน สิ่ ง แวดล้ อ มที่ มี ค วามรู ้ เ ฉพาะด้ า น ตาม ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การ ก�ำหนดชนิดและขนาดโรงงานฯ พ.ศ.2545

>>>80

June-July 2015, Vol.42 No.241

และต้องจัดฝึกอบรมพนักงานที่เกี่ยวข้อง เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั งิ านตามหน้าทีไ่ ด้อย่าง ถูกต้องและปลอดภัย การน�ำของเสียออกไปบ�ำบัด/ก�ำจัด นอกโรงงาน ➲ ต้องขออนุญาตการน�ำของเสีย ออกนอกบริเวณโรงงาน โดยใช้แบบ สก.2 ➲ ต้องส่งของเสียทีเ่ ป็นอันตรายให้ แก่ผู้รวบรวมและขนส่ง หรือผู้บ�ำบัดและ ก�ำจัดของเสียทีไ่ ด้รบั อนุญาตเท่านัน้ ในกรณี ทีจ่ ะใช้บริการของผูอ้ นื่ จัดการของเสียจะต้อง ได้รบั ความเห็นชอบจาก กรอ. การขนส่งของเสียออกนอกโรงงาน ➲ ให้แจ้งข้อมูลการขนส่งของเสีย ทุกชนิดผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์

เมื่อมีการน�ำของเสียอันตราย ออกนอกบริ เ วณโรงงาน ต้ อ งมี ใ บก� ำ กั บ การขนส่ง การบ� ำ บั ด /ก� ำ จั ด ของเสี ย ภายใน บริเวณโรงงาน ➲ ต้องปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการ ของเสียตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ กรอ. ก�ำหนด (ต้องขอความเห็นชอบจาก กรอ. ก่อน ด�ำเนินการ) ➲ ต้องมีขอ ้ มูลผลวิเคราะห์ทางเคมี และกายภาพของของเสียก่อนการบ�ำบัดหรือ ก�ำจัด และเก็บข้อมูลผลวิเคราะห์ไว้อย่างน้อย 3 ปี เพือ่ การตรวจสอบ ➲ ต้องส่งรายงานประจ� ำปีให้แก่ กรอ. ตามแบบ สก.5 ท้ า ยประกาศ กระทรวงฯ ความรับผิดชอบต่อของเสีย ➲ ต้ อ งตรวจสอบของเสี ย และต้องรับผิดชอบต่อภาระความ รับผิด (liability) ในกรณีสญ ู หาย เกิด อุ บั ติ เ หตุ การทิ้ ง ผิ ด ที่ หรื อ การ ลักลอบทิง้ และการรับคืนจนกว่า ผูร้ บั บ�ำบัดและก�ำจัดของเสียจะ รับของเสียนัน้ ไว้ในครอบครอง


&

Knowledge

ร่วมรับผิดกรณีแต่งตั้งผู้รวบรวม และขนส่งของเสียอันตราย การรายงานผล ➲ ต้องส่งรายงานประจ� ำปีให้แก่ กรอ. ตามแบบ สก.3 ภายในวันที่ 1 มีนาคม ของปีถดั ไป ➲

ระบบการขนส่ง

ระบบขนส่งของเสียอันตรายทีจ่ ะน�ำ มาเผาท�ำลายในเตาเผาขยะอุตสาหกรรมนัน้ อยู่ภายใต้เงื่อนไขการควบคุมตามกฎหมาย วัตถุอนั ตราย กฎหมายการขนส่งทางบก และ กฎหมายด้านสาธารณสุข ซึง่ การให้บริการจัด เก็บและขนส่งของเสียอันตรายที่ใช้ความ ระมัดระวังสูง จ�ำเป็นต้องใช้รถขนส่งที่ออก แบบพิเศษเหมาะสมกับของเสียอันตราย แต่ละประเภทเท่านัน้ พร้อมทัง้ ภาชนะบรรจุที่ ได้มาตรฐานตามหลักสากลปลอดภัยต่อ สิ่งแวดล้อม ที่ระบุรายละเอียด เช่น ฉลาก เลขสหประชาชาติ ชื่อวัตถุอันตราย และ เครือ่ งหมาย UN เป็นต้น รวมถึงได้ดำ� เนินการ ด้านเอกสารก�ำกับการขนส่งตามประกาศ กระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ระบบเอกสาร ก�ำกับการขนส่งของเสียอันตราย พ.ศ.2547 นอกจากนี้พนักงานขับรถต้องผ่านการฝึก อบรมจากหน่ ว ยงานราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ตลอดจนการได้รับใบอนุญาตขับขี่ชนิดที่ 4 โดยเฉพาะการขนส่ง มูลฝอยติดเชือ้ ที่ต้องมีลักษณะเป็นรถห้องเย็นที่มิดชิด ไม่ รั่วซึม สามารถควบคุมไม่ให้เกิน 10 องศา เซลเซียส มีข้อความหรือฉลากที่แสดงหรือ

บ่งบอกถึงรถขนส่งขยะติดเชื้อและแสดงชื่อ ของ หน่วยงานที่ท�ำการเก็บขนมูลฝอยติด เชื้อภายนอกตัวถังของรถทั้งสองด้าน ผู้ขับขี่ และผู้ปฏิบัติงานประจ�ำรถขนส่งมูลฝอยติด เชื้อต้องมีความรู้ด้านการจัดการมูลฝอยติด เชื้อเป็นอย่างดี และสวมใส่เครื่องป้องกัน ระงับการแพร่เชื้อขณะปฏิบัติทุกครั้ง คุ ณ ภาพอากาศ มี ร ะบบติ ด ตาม ตรวจสอบแบบต่อเนือ่ ง (Continuous Emission Monitoring System) ระบบติ ด ตามตรวจสอบปริ ม าณ มลสารทีอ่ อกจากปล่อง เป็นระบบตรวจสอบ คุณภาพอากาศแบบต่อเนื่องที่ปล่อง และ แสดงผลบนจอภาพในห้ อ งควบคุ ม ซึ่ ง เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานสามารถตรวจสอบได้ ตลอดเวลา และจะมี สั ญ ญาณเตื อ นเมื่ อ ปริมาณมลสารทีร่ ะบายเกินกว่าค่าทีก่ ำ� หนด ซึง่ ระบบติดตามต่อเนือ่ ง นอกจากจะติดตาม มลสารที่ระบายออกจากปล่องแล้วยังเป็น การตรวจวัดประสิทธิภาพการเผาไหม้ของ เตาเผาอีกด้วย โดยการตรวจวัดค่ามาตรฐาน

คุณภาพอากาศจะต้องเป็นไปตามประกาศ กระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องก�ำหนดปริมาณ สารเจือปนในอากาศทีร่ ะบายออกจากปล่อง เตาเผาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็น อั น ตรายจากอุ ต สาหกรรม พ.ศ.2545 นอกจากระบบติดตามตรวจสอบแบบต่อ เนือ่ งแล้ว เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ คุณภาพอากาศ จะไม่ มี ส ารพิ ษ เจื อ ปน จึ ง มี ก ารน� ำ ระบบ บ�ำบัดคุณภาพอากาศ Air Pollution Control System พร้อมด้วยอุปกรณ์ฟอกอากาศที่มี สมรรถนะสูง สามารถบ�ำบัดไอสารพิษ ไอกรด ไอโลหะหนัก และระบบตรวจวัดคุณภาพไอ เสี ย ที่ ร ะบายออกจากปล่ อ งเพื่ อ อากาศที่ บริสุทธิ์สู่สิ่งแวดล้อมมาใช้ร่วมด้วย ส�ำหรับผู้ประกอบการสามารถลง ทะเบียนเข้าระบบจัดการวัสดุทไี่ ม่ใช้แล้วทาง อิเล็กทรอนิกส์ (E-license) ได้ที่เว็บไซต์ของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ส�ำนักบริหารจัดการ กากอุตสาหกรรม http://www2.diw.go.th/ e-license/login.asp หรื อ สอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วนกรมโรงงาน อุตสาหกรรม 1564

June-July 2015, Vol.42 No.241

81 <<<


&

Visit

นวัตกรรมตู้จ่ายไฟ

ตอบโจทย์ทุกระบบงานไฟฟ้าของโรงงานและอาคาร กองบรรณาธิการ

ใน

ยุ ค สมั ย ที่ ฟ องสบู ่ เ ริ่ ม ก่ อ ตั ว และแตกในช่ ว งปี พ.ศ.2540 อุ ต สาหกรรมไทยในสมั ย นั้ น นิ ย มน� ำ เข้ า เครื่ อ งจั ก รมื อ สองจากต่ า งประเทศมารี โ นเวทใหม่ เพื่อน�ำกลับมาใช้ ในอุตสาหกรรมเป็นจ�ำนวนมาก พฤติกรรมดังกล่าวของนักลงทุนทางด้านอุตสาหกรรมในสมัยนั้นก่อให้เกิดโอกาสใหม่ทางธุรกิจ โดย กลุ่มวิศวกรที่เ ห็นโอกาส ต่างละทิ้งอาชีพลูกจ้างประจ�ำแล้วผันตัวเองมาเป็นผู้ประกอบการ

บริษัท

▼ คุณธงชัย ศิลา

กรรมการผู้จัดการ บริษัท บีทีอี จ�ำกัด >>>82

June-July 2015, Vol.42 No.241

บีทีอี จ�ำกัด ก็เป็นบริษัทหนึ่งที่เกิดและเติบโตมาจาก พื้นฐานดังกล่าว โดยเป็นการรวมตัวกันของกลุ่มวิศวกร ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญด้านระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ก่อตัง้ บริษทั ขึน้ เป็น ครัง้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ.2539 เพือ่ ให้บริการงานวิศวกรรมโดยรวม หรือทีเ่ รียก กันว่า System Integrator ให้กับลูกค้ากลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม จากการสั่งสมประสบการณ์จากการเป็นลูกจ้างประจ�ำมือ อาชีพ ก่อนจะมองเห็นโอกาสและผันตัวเองเข้าสูก่ ารเป็นผูป้ ระกอบการ ตลอดระยะเวลากว่า 19 ปี ที่บีทีอีพัฒนาตัวเองเรื่อยมา จากการเป็น บริษัทเล็ก ๆ มีพนักงานไม่กี่คน กระทั่งสามารถเป็นผู้ให้บริการทาง ด้านวิศวกรรมกับโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อให้อุตสาหกรรมเหล่านั้น สามารถเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีความเหมาะสม โดยเฉพาะอุปกรณ์ ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานทางด้านไฟฟ้า โดยการบริการครอบคลุมถึงงานออกแบบ และประกอบตูค้ วบคุมทีใ่ ช้ในกระบวนการผลิตพร้อมทัง้ ติดตัง้ ในลักษณะงาน Turnkey System ผลิตภัณฑ์เด่น ๆ ได้แก่ LV Switchboard, Motor Control, Industrial Automation


& คุณธงชัย ศิลา กรรมการผู้จัดการ บริษัท บีทีอี จ�ำกัด ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการ ด�ำเนินงานของบริษทั และรวมถึงผลิตภัณฑ์ และบริการของบีทีอี ที่น�ำไปสู่ความร่วมมือ ระหว่างบีทีอีกับบริษัทยักษ์ใหญ่ด้านการ บริหารจัดการพลังงานระดับโลก ในการน�ำ โซลูชันที่ถือเป็นนวัตกรรมที่ช่วยให้ทั้งบีทีเอ และลูกค้าเกิดผลลัพธ์ที่น่าพึงพอใจในด้าน การให้และรับบริการ “บีทอี เี ป็นบริษทั ทีเ่ ริม่ ต้นมาจากการ รวมกลุ่มกันของวิศวกรในยุคก่อนฟองสบู่ แตกในปี พ.ศ.2540 โดยเริ่มจากการให้ บริการในลักษณะ System Integrator Service กล่าวคือ เราใช้ความรู้ความสามารถ ทางด้ า นวิ ศ วกรรมของที ม เข้ า ไปช่ ว ย อุตสาหกรรม ในการให้คำ� ปรึกษาแนะน�ำการ เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีความคุ้มค่าและ เหมาะสม รวมถึงงานทางด้านการออกแบบ ติดตั้ง และบริการหลังการขาย โดยขั้นตอน การท�ำงานคร่าว ๆ เริ่มจากการออกไปพบ ลูกค้า เพือ่ หาความต้องการของลูกค้าว่า เขา มีปัญหาที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างไร หลังจากนั้นเราก็น�ำปัญหาเข้ามาสู่กระบวน แก้ไข มีกระบวนการในการออกแบบอุปกรณ์ เพื่อตอบโจทย์ลูกค้า หลังจากนั้นก็น�ำไปติด ตั้งและบริการหลังการขาย อาจกล่าวได้ว่า ธุรกิจหลัก (core business) ของเราสมัยนั้น

ไม่ได้มงุ่ ขายผลิตภัณฑ์ แต่ขายโซลูชนั ให้กบั ลูกค้า” คุณธงชัย กล่าว อาจกล่าวได้วา่ จากความช�ำนาญใน ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าของบีทีอี ประกอบกับ เทรนด์อตุ สาหกรรมสมัยนัน้ ทีน่ กั ลงทุนนิยม น�ำเข้าเครือ่ งจักรมือสองเข้ามาใช้งาน แทนที่ จะเป็นเครื่องจักรใหม่ เนื่องจากเหตุผลด้าน ราคา เกิดเป็นโอกาสของบีทีอีที่เป็นจุดที่ ท�ำให้สามารถเติบโตได้ในปัจจุบัน “ในช่วง ปี พ.ศ.2539 ธุรกิจหลักของ บีทีอี คือ การรีโนเวทเครื่องจักร เนื่องจากมี ความคุ้นเคยกับการท�ำ Control Panel ที่มี ความซับซ้อน ซึ่งเกิดจากการที่ได้ศึกษาว่า เครื่องจักรแต่ละประเภทมีระบบการท�ำงาน อย่างไร จะเห็นได้วา่ เวลาทีซ่ อื้ เครือ่ งจักรมือ สองมารีโนเวท เขาจะต้องรือ้ ระบบไฟฟ้าออก ทั้งหมด และค่อยท�ำการออกแบบและใส่ ระบบไฟฟ้ากลับเข้าไปใหม่ บีทีอีก็จะเข้าไป

Visit

ให้บริการในส่วน Control Boards ส�ำหรับ เครือ่ งจักร ฉะนัน้ จะเห็นว่า กลุม่ ลูกค้าจึงค่อน ข้างมีความหลากหลาย อาทิ กลุ่มโรงเหล็ก รีดร้อน รีดเย็น กลุ่มโรงงานแป้งมัน โรงงาน น�้ำตาล โรงบ�ำบัดน�้ำดี น�้ำเสีย กลุ่มโรงงาน กระดาษ เป็นต้น” แม้ธรุ กิจในยุคตัง้ ต้นของบีทอี มี งุ่ เน้น ไปที่ ง านทางด้ า นรี โ นเวทเครื่ อ งจั ก ร แต่ ปัจจุบันงานดังกล่าวค่อนข้างอิ่มตัว ขณะ เดียวกันธุรกิจก็ต้องการการเติบโต บีทีอีจึง มองหาโอกาสใหม่ ซึ่งก็พบว่า Switchboard เป็ น อี ก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห นึ่ ง ที่ มี โ อกาสในการ เติบโตสูง “Switchboard ก็เป็นอีกหนึ่งงานที่ เราท�ำมาเยอะ แต่อย่างไรก็ตาม มีหลาย ปัจจัยที่ท�ำให้ต้องปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ ทั้งในเรื่องของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป และรวมถึงพฤติกรรมของนักลงทุนที่เปลี่ยน ไป การที่นักลงทุนจะซื้อเครื่องจักรเก่ามารีโนเวทใหม่มีน้อยลง ท�ำให้เป็นปัจจัยก�ำหนด ให้งานรีโนเวทเครื่องจักรลดลงตามไปด้วย เราจ�ำเป็นต้องปรับตัว โดยหันไปท�ำงานร่วม กับผูผ้ ลิตเครือ่ งจักร (machine maker) มาก ขึน้ โดยเราจะผลิตในส่วนของ Control Penal ที่คู่กับเครื่องจักรใหม่ ขณะที่ Switchboard เป็นอุปกรณ์ที่ ทุกโรงงานและอาคารส�ำนักงานจ�ำเป็นต้อง มีไว้ส�ำหรับกระจายพลังงานไฟฟ้าไปตาม จุดต่างๆ ท�ำให้เห็นโอกาส และเราสามารถ ท� ำ ให้ Switchboard เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี มาตรฐานเดียวกันได้ อีกทั้งลูกค้าปัจจุบันก็ ต้องการบริการที่เป็น One Stop Shopping มากขึ้นด้วย” แม้ Switchboard จะเป็นโอกาส ส�ำหรับบีทีอี และก็เป็นโอกาสส�ำหรับคู่แข่ง ด้วยเช่นกัน สิง่ ทีบ่ ที อี กี ำ� ลังมอง ณ ขณะนีค้ อื ความพยายามในการสร้างความแตกต่างให้ กับผลิตภัณฑ์ “คุณภาพของสินค้า ความเอาใจใส่ ในงานบริ ก าร และความเข้ า ถึ ง ง่ า ยคื อ ปรัชญาหลักของเรา ดังนั้นผลิตภัณฑ์ที่เรา เลือกให้ลกู ค้าจึงต้องมีทงั้ ประสิทธิภาพ และ ไม่ยุ่งยากในการผลิต จึงเป็นที่มาของความ June-July 2015, Vol.42 No.241

83 <<<


Visit

&

ร่วมมือกับ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ในการพัฒนา ตู ้ จ ่ า ยกระแสไฟฟ้ า (switchboard) ใน ตระกูล Prisma ที่เรามองว่าเป็นผลิตภัณฑ์ ที่ ต อบโจทย์ ค วามต้ อ งการของบี ที อี แ ละ ลูกค้าได้อย่างลงตัว” Prisma เป็นตูจ้ า่ ยไฟทีม่ กี ารออกแบบ มาเพื่อให้ง่ายในการติดตั้ง และมีประสิทธิภาพในการใช้งาน ใช้เวลาประกอบตูไ้ ม่นาน มีความทนทานต่อแรงดันไฟฟ้าได้ดี ปลอดภัยและมีเสถียรภาพ ทีส่ ำ� คัญได้รบั มาตรฐาน IEC 61439-1 และ 2 ซึ่งเป็นข้อก�ำหนดใหม่ ส�ำหรับการประกอบตู้คอนโทรลเกียร์ (controlgear) และตู้สวิตซ์เกียร์แรงดันไฟฟ้าต�่ำ (low-voltage switchgear) โดยระบุข้อ ก�ำหนดด้านความปลอดภัยส�ำหรับอุปกรณ์ ไฟฟ้าส�ำหรับผูว้ างแผนการผลิต (planners) วิศวกรระบบ ช่างไฟฟ้า ตลอดไปถึงผู้ใช้ ปลายทาง เพื่อนิยามจุดประสงค์ด้านความ ปลอดภั ย ส� ำ หรั บ คนทั่ ว ไป และโรงงาน อุตสาหกรรม โดยพิจารณาถึงการติดตัง้ ด้าน ไฟฟ้า (electronic installations) เป็นหลัก ทั้งนี้ Prisma สามารถทนกระแสไฟฟ้าได้สูง ถึง 4000 แอมป์, 85kA/1s “เดิมเราใช้เวลาเกือบหนึ่งเดือนใน การพัฒนาและประกอบตูไ้ ฟ แต่เราสามารถ ลดเวลาในการขึน้ ตูล้ งมาทีร่ ะยะเวลา 3-4 วัน และเสร็จสมบูรณ์ในเวลาเพียง 7-10 วัน ท�ำให้ไม่เพียงแต่เราสามารถส่งงานให้กับ ลูกค้าได้อย่างรวดเร็วมากขึ้นเท่านั้น แต่ ยั ง ช่ ว ยเพิ่ ม โอกาสทางธุ ร กิ จ ในแง่ ก ารส่ ง ผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดได้เร็วยิ่งขึ้น” ทัง้ นี้ บีทีอถี อื เป็นพันธมิตรทางธุรกิจ

>>>84

June-July 2015, Vol.42 No.241

ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ที่มีความพร้อมใน การให้บริการแก่ลกู ค้าทัง้ การออกแบบ ตรวจ สอบคุณภาพ การจัดเก็บวัตถุดบิ และเครือ่ ง มือการผลิต โดยบีทีอีได้รับการรับรองให้ เป็นผู้ประกอบตู้ Type Test รุ่น Prisma iPM อย่างเป็นทางการ ในปี พ.ศ.2555 และ พร้อมให้บริการออกแบบตูไ้ ฟฟ้าส�ำหรับงาน อุตสาหกรรมและงานอาคารตามมาตรฐาน IEC61439-1 และ 2 ที่ได้รับการยอมรับจาก ลูกค้าภาคอุตสาหกรรม และอาคารส�ำนักงาน เป็นอย่างดี “ในปี นี้ ค าดว่ า ภาคอุ ต สาหกรรม มี แ นวโน้ ม เติ บ โตจากการเปิ ด ประชาคม อาเซียน และการเร่งขยายสถานีรถไฟฟ้าเป็น แรงหนุน ดึงดูดให้นักลงทุนต่างชาติเข้ามา ในประเทศไทย พร้อมทิศทางอสังหาริมทรัพย์

เติบโตขึ้น ทั้งอาคารพาณิชย์ และคอนโดมิเนียม ดังนั้นการรุกเข้าสู่ตลาดอาคารเป็น โอกาสที่ จ ะขยายธุ ร กิ จ เข้ า ไปต่ อ ยอดใน ตลาดนี้ รวมถึงตลาดในภาครัฐเองก็เป็นอีก ตลาดหนึ่งที่เป็นโอกาสของเรา ปัจจุบัน นี้ ผลิตภัณฑ์ของบีทอี ไี ด้รบั การรับรองมาตรฐาน มอก.1436-2540 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว” ส�ำหรับเทรนด์ในอนาคต คุณธงชัย มองว่า Prisma เป็นตู้จ่ายไฟแห่งอนาคต เนื่องจากฝั่งยุโรปได้มีการกล่าวถึงเรื่องของ Smart Panel มีการพูดถึงการสื่อสารกัน ระหว่างคนกับอุปกรณ์ผ่านระบบเน็ตเวิร์ค ท�ำให้ผใู้ ช้งานรูส้ ถานะของอุปกรณ์ทกุ อุปกรณ์ ว่าเกิดอะไรขึ้น ตรงจุดไหน อย่างไร ท�ำให้ ผู้ใช้งานสามารถทราบและเข้าไปแก้ไขได้ อย่างทันท่วงที ปัจจุบันความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีที่จะท�ำให้ตู้จ่ายไฟมีความฉลาด มากขึน้ มีพร้อมแล้ว คงเหลือแต่ความรูค้ วาม เข้าใจ เพื่อให้เกิดการยอมรับในหมู่ผู้ใช้งาน เท่านั้น


&

ชุดประชุมแบบดิจิทัล รุ่น

1000

บริ ษั ท ฟู จิ ซี ร็ อ กซ์ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด ขอแนะน� ำ เครื่องพิมพ์รุ่นใหม่ Color C60/C70 Printer ที่คุ้มค่าการลงทุน มา พร้อมกับเทคโนโลยีใหม่ รองรับงานพิมพ์ที่หลากหลาย ทั้งการท�ำ ส�ำเนา สแกนเอกสาร การสั่งพิมพ์งานจากเครื่องคอมพิวเตอร์ พิมพ์ ตรงจาก USB และมีชุดควบคุมการพิมพ์ (print server) เพื่อคุณภาพ งานพิมพ์ที่ดีที่สุด สามารถตอบโจทย์ทุกความต้องการให้กับธุรกิจ เครือ่ งพิมพ์ Color C60/C70 Printer มีความเร็วสูงสุด 65/75 หน้าต่อนาที สแกนทั้งสองหน้าในครั้งเดียว สูงสุด 200 ภาพต่อนาที (ipm) ที่ความละเอียด 2400 x 2400 dpi รองรับวัสดุพิมพ์ได้ หลากหลาย ทัง้ กระดาษเคลือบและไม่เคลือบผิว สูงสุดถึง 300 แกรม เหมาะส�ำหรับการใช้งานในส�ำนักงานไปจนถึงการพิมพ์งานระดับ โปรดักชั่น เพื่อคุณภาพสีของงานพิมพ์ระดับมืออาชีพ

Show & Share

บริษัท โรเบิร์ต บ๊อช จ�ำกัด โดยฝ่ายผลิตภัณฑ์ ระบบรั ก ษาความปลอดภั ย และการสื่ อ สาร ร่ ว มกั บ ผู้จัดจ�ำหน่ายชุดประชุม ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ภัทรรุ่งโรจน์ เปิดตัว ผลิตภัณฑ์ระบบชุดประชุม CCS 1000 D แบบ ดิจิทัลรุ่นใหม่ล่าสุดที่สามารถบันทึกการประชุมในตัว จับภาพผู้ประชุมอัตโนมัติ ป้องกันสัญญาณรบกวนจาก โทรศัพท์มือถือ พร้อมทั้งรองรับการบริหารจัดการผ่าน iPad หรือแทบเล็ตได้ ซึ่งจะช่วยอ�ำนวยความสะดวกใน การประชุมให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

Color C60/C70 เครื่องพิมพ์ดิจิทัลคุณภาพระดับมืออาชีพ

ยางสปอร์ตสายพันธุ์แรง

“อีเกิ้ล เอฟวัน ไดเรคชันนอล ไฟฟ์”

กูด๊ เยียร์ ประเทศไทย ร่วมกับ ทรัพย์สมบูรณ์ยางยนต์ โชว์ยางรุน่ อีเกิล้ เอฟวัน ไดเรคชันนอล ไฟฟ์ (EAGLE F1 Directional 5) ยางสปอร์ต สมรรถนะสูง ทีม่ าพร้อมกับดอกยางส่วนกลางทีถ่ กู ออกแบบเพือ่ เพิม่ สมรรถนะในการตอบ สนองการควบคุมทิศทางได้อย่างยอดเยี่ยม รวมถึงดอกยางบริเวณไหล่ยางที่ถูกออกแบบให้มีความต่อเนื่องเป็นพิเศษ ช่วยลดการเสียรูปทรงในขณะเข้าโค้ง และยังช่วยเพิ่มสมรรถนะในการเกาะถนนได้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ ด้วยส่วนผสม พิเศษที่ถูกพัฒนาจากสนามแข่งขันจะช่วยเพิ่มสมรรถนะในการรีดน�้ำให้ผู้ขับขี่มั่นใจแม้ในสภาพถนนที่เปียกชื้น

June-July 2015, Vol.42 No.241

85 <<<


&

Show & Share

เน็กซ์ สตาร์ท 5.5 คมกริบบาดใจ บริษัท พี.ที.อี. อินเตอร์กรุ๊ป จ�ำกัด เจ้าของแบรนด์โทรศัพท์เน็กซ์ (Nex) แนะน�ำ สมาร์ทโฟน เน็กซ์ สตาร์ท 5.5 (Nex Start 5.5) โดดเด่นด้วยความบางพิเศษของตัวเครือ่ ง เพียง 8.8 มิลลิเมตร สูง 155.6 กว้าง 78.8 มิลลิเมตร หน้าจอชัดพิเศษขนาด 5.5 นิ้ว ด้วยระบบ QHD 540 x 960 ที่ให้ความคมชัดและละเอียดสูงกว่าหน้าจอทั่วไป มีให้เลือก 4 ธีม มาพร้อมโปรแกรม “กล้องฟรุง้ ฟริง้ ” ทีใ่ ห้คณ ุ สมบัตดิ เี ยีย่ มในการถ่าย และเทคโนโลยี สมาร์ท เวค (Smart Wake) ส�ำหรับใช้ปลุกโทรศัพท์ด้วยปลายนิ้ว และโปรแกรมปรับ อีควอไลเซอร์ (Equalizer) ในการฟังเพลง ความละเอียดกล้องหน้า 5 ล้านพิกเซล กล้องหลัง 8 ล้านพิกเซล สามารถเพิ่มหน้าต่างได้ถึง 9 หน้า ใช้งาน 2 ซิม พร้อมรองรับได้ ถึง 18 ภาษา รวมถึงภาษา AEC เป็นเจ้าของได้ในราคาเบา ๆ เพียง 3,590 บาท

โชว์ผลิตภัณฑ์ รางวัลนวัตกรรมยอดเยี่ยม ชไนเดอร์ อิเล็คทริค โชว์ผลงานแห่งความภาคภูมิใจใน 2 หมวดผลิตภัณฑ์ที่ได้รับรางวัล นวัตกรรมยอดเยี่ยม ให้เป็นผลิตภัณฑ์ทางเลือก Engineers’ Choice Awards จากผลิตภัณฑ์ 26 ประเภทที่เป็นผลิตภัณฑ์ดีเด่นด้านวิศวกรรมระบบอุปกรณ์ ระบบควบคุม และระบบออโตเมชั่นทั้ง หมดส�ำหรับอุตสาหกรรม โดย 2 หมวดผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการโหวตนวัตกรรมดีเด่น เป็นผลิตภัณฑ์ ด้านระบบแบบฝังตัวเพื่อควบคุมการท�ำงานของเครื่องจักรอัตโนมัติ (machine & embedded control) ทั้งผลิตภัณฑ์ PACs, IPCs และ PLC มีผลงานการท�ำงานที่โดดเด่นเข้าตาผู้ใช้งาน ในหมวดผลิตภัณฑ์ Machine & Embedded Control-PACs, IPCs ผลิตภัณฑ์ของ ชไนเดอร์ อิเล็คทริคที่ได้รับรางวัลดีเด่นด้านนวัตกรรมจากการโหวตของผู้ใช้ คือ Modicon M580 Ethernet PAC (ePAC) อุปกรณ์ควบคุมระบบอัตโนมัตทิ เี่ ปีย่ มไปด้วยนวัตกรรม ด้วยการใช้มาตรฐาน อีเธอร์เน็ตระบบเปิดที่เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการท�ำงานและให้ความยืดหยุ่น นอกจากนี้ ยังให้ความมั่นใจสูงสุดในเรื่องของการรักษาความปลอดภัยบนไซเบอร์ ช่วยให้ผู้ดูแลโรงงาน อุตสาหกรรมสามารถออกแบบ ติดตั้งและรันกระบวนการท�ำงานแบบอัตโนมัติผ่านการเชื่อมต่อ เครือข่ายในระบบเปิดทีใ่ ห้ประโยชน์มากมาย ทัง้ เรือ่ งความแม่นย�ำของข้อมูล ลดการดาวน์ไทม์ จาก การมีมมุ มองเชิงลึกเกีย่ วกับสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ มีการแจ้งเตือน นอกจากนี้ ยังสามารถหาต้นตอของปัญหา ได้อย่างรวดเร็ว และช่วยเรื่องการจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนในหมวด Machine & Embedded Control – PLCs นัน้ ชุดผลิตภัณฑ์ MachineStruxure ได้รบั รางวัลนวัตกรรมดีเด่น ในฐานะทีเ่ ป็นชุดผลิตภัณฑ์ ระบบควบคุมส�ำหรับกระบวนการด้านออโตเมชัน่ ทีส่ มบูรณ์แบบส�ำหรับอุตสาหกรรม โดยเป็น Logic-based Controller ทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ช่วยลดค่าใช้จา่ ย ให้มาตรฐานใหม่ในเรือ่ งของประสิทธิภาพการท�ำงาน และความสามารถด้านการสือ่ สารทีฝ่ งั อยูใ่ นระบบ ติดตัง้ เพือ่ ใช้งานได้อย่างรวดเร็ว โดยในชุดโซลูชนั ประกอบด้วยผลิตภัณฑ์ 3 รุ่น ได้แก่ Modicon M221, Modicon M241 และ Modicon M251 อุปกรณ์ควบคุมแต่ละตัวจะใช้อินเตอร์เฟสมาตรฐาน เช่น อีเธอร์เน็ต ยูเอสบีพอร์ท ในการเชื่อมโยง และสามารถเรียกดูข้อมูลคุณสมบัติได้อย่างง่ายดายผ่านคิวอาร์โค๊ด ช่วยให้เข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้รวดเร็ว ผ่าน สมาร์ทโฟนและแทบเล็ตได้อีกด้วย การมอบรางวัล Engineers’ Choice Award ดังกล่าวเป็นการมอบรางวัลประจ�ำปี และจัดท�ำขึ้นเป็นปีที่ 28 โดยนิตยสาร Control Engineering ที่เปิดให้ผู้อ่านทั้งหมดที่ดูแลเรื่องการจัดซื้อและมีประสบการณ์ตรงในการใช้เทคโนโลยีแต่ละประเภทเป็นผู้ประเมินและโหวตให้กับผลิตภัณฑ์ที่ถูกเสนอ ชื่อในประเภทนั้น ๆ ในมุมของนวัตกรรม ความล�้ำหน้าด้านเทคโนโลยีและมีผลงานที่โดดเด่นในอุตสาหกรรม โดยชไนเดอร์เป็นหนึ่งในผู้เข้ารอบสุดท้าย 94 รายจาก 56 บริษัทที่ได้รับการโหวตและได้รับรางวัลชนะเลิศในประเภทดังกล่าว จากผลิตภัณฑ์ 26 ประเภท

>>>86

June-July 2015, Vol.42 No.241


&

Show & Share

“ซีเกท เซเว่น” ฮาร์ดไดรฟ์ฉบับพกพาที่บางที่สุดในโลก บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) เผยโฉมฮาร์ดไดรฟ์ ภายนอกดีไซน์ล�้ำ ขนาดบางเฉียบ ที่จะคืนชีพคุณลักษณะในต�ำนานของ ฮาร์ดไดรฟ์ภายในแบบ 2.5 นิ้ว ให้หวนคืนมาอีกครั้ง ฮาร์ดไดรฟ์ใหม่ในชื่อ ซีเกท เซเว่น (Seagate Seven™) เป็นวิถีใหม่แห่งการพกพาข้อมูลขนาด 500 GB ทีบ่ างเฉียบทีส่ ดุ และชือ่ นีส้ อื่ ให้เห็นถึงความบางเพียง 7 มิลลิเมตร ของฮาร์ดไดรฟ์ ด้วยรูปลักษณ์ภายนอกทีด่ เู รียบง่ายสไตล์อนิ ดัสเตรียลช่วย ให้หวนระลึกถึงต้นก�ำเนิดของการจัดเก็บข้อมูล ในขณะที่ภายในกลับอัด แน่นไปด้วยความก้าวหน้าล่าสุดแห่งนวัตกรรมการจัดเก็บข้อมูลสมัยใหม่ เคสภายนอกของซีเกท เซเว่น เป็นเหล็กล้วนเกรดพรีเมี่ยมเปลือยให้เห็น ความเป็นฮาร์ดไดร์ฟอย่างแท้จริงซึ่งเป็นสิ่งที่ซีเกทเชี่ยวชาญช�ำนาญมา ตลอด 35 ปี ซีเกทบรรจุเทคโนโลยีล่าสุดด้านฮาร์ดไดรฟ์ของบริษัทฯ ลงใน กระบวนการผลิตเพื่อพัฒนาให้เกิดฮาร์ดไดร์ฟภายนอกที่บางที่สุดในโลก ใช้กระบวนการขึ้นรูปแบบดึงขึ้นรูปลึก (deep draw) จึงท�ำให้สามารถขึ้นรูป เหล็กได้บางที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ในขณะที่ยังรักษาโครงสร้างให้สามารถเป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอกแบบพกพาได้อย่างเต็มเปี่ยมประสิทธิภาพ และมีความทนทาน นอกจากนี้เทคโนโลยี Low Profile Motor ที่ใช้ภายในฮาร์ดไดรฟ์นี้มีกลไกไจโร (Gyro) แบบทนทานเต็มพิกัดเฉกเช่นการท�ำงาน ของแท็บเล็ตหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดบาง ซึ่งมีประโยชน์อย่างยิ่ง โดยเฉพาะเมื่อค�ำนึงถึงการใช้งาน ซึ่งผู้ใช้สามารถพกซีเกท เซเว่น ใส่กระเป๋า เสื้อกางเกง หรือกระเป๋าถือได้โดยไม่ต้องกังวล

ZWCAD+ 2015 SP2

ซอฟต์แวร์ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพงานออกแบบ

บริษัท ซีดับเบิลยูแคด ดีไซน์ (ZWCAD Design) ขอแนะน�ำ ซอฟต์แวร์รุ่นใหม่ ZWCAD+ 2015 ที่จะช่วย เพิ่มประสิทธิภาพงานออกแบบได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ZWCAD+ 2015 SP2 ซอฟต์แวร์ส�ำหรับงานออกแบบรุ่นล่าสุด ที่มาพร้อมคุณสมบัติใหม่ เช่น ฟลิป ไดเมน ชัน แอร์โรว, 3GB OS Switch, พล็อตเตอร์ที่รองรับไฟล์ BMP/JPEG โฉมใหม่ รวมทั้งฟังก์ชันเสริมประสิทธิภาพ อืน่ ๆ เรเฟอเรนซ์เมเนเจอร์และไลเซนส์ เมเนเจอร์ทชี่ ว่ ยให้ผใู้ ช้สามารถออกแบบชิน้ งานได้อย่างสะดวกรวดเร็วยิง่ ขึน้ ซอฟต์แวร์ส�ำหรับงานออกแบบรุ่นล่าสุดนี้ มีคุณสมบัติเด่นมากมาย อาทิ Flip Dimension Arrow ช่วยให้ ผูใ้ ช้งานทีท่ ำ� งานออกแบบโครงการขนาดใหญ่ทตี่ อ้ งใช้คำ� อธิบายประกอบจ�ำนวนมากสามารถเรียกใช้งาน และเข้า ถึงข้อความที่ต้องการดูได้อย่างรวดเร็ว และ 3GB OS Switch ช่วยให้ผู้ใช้สามารถจัดสรรหน่วยความจ�ำให้กับ ZWCAD+ ได้มากขึ้น นอกจากนี้ ZWCAD+ 2015 SP2 ยังเพิ่มพล็อตเตอร์ที่รองรับไฟล์ BMP/JPEG โฉมใหม่ ช่วยแก้ปัญหา ด้านการพิมพ์ภาพแบบราสเตอร์ให้หมดไป โดยผู้ใช้งานสามารถเลือกใช้วิธีต่าง ๆ เพื่อท�ำให้รูปวาดมีชีวิตชีวามากขึ้นได้ รวมถึง Reference Manager ที่ พร้อมรองรับเมนูแบบคลิกขวาได้ และยังส่งออกรายงาน รวมถึงพาธของโครงสร้างการท�ำงานเพื่อช่วยให้การบริหารจัดการทรัพยากรภายนอกได้สะดวก ขึ้น และ License Manager ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถเรียกใช้สิทธิ์การใช้งานจากเซิร์ฟเวอร์อื่น ๆ ได้โดยอัตโนมัติ หากเซิร์ฟเวอร์ที่ก�ำลังใช้งานอยู่นั้นมีปัญหา ซึ่งจะช่วยให้การบริหารจัดการสิทธิ์ใช้งานบนเครือข่ายสะดวกยิ่งขึ้น และยังช่วยแก้ปัญหาความไม่มีเสถียรภาพของเซิร์ฟเวอร์ได้อีกด้วย

June-July 2015, Vol.42 No.241

87 <<<


&

Books Guide

เทคนิคการเขียนภาพ

ออกแบบผลิตภัณฑ์ เทค

ผู้เขียน ผศ.ดร.รัฐไท พรเจริญ ราคา 280 บาท สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท.

นิคการเขียนภาพออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยใช้กล่องโครงสร้างมาตรฐานที่ผู้เขียนได้ประยุกต์และพัฒนาขึ้นในหนังสือเล่มนี้ จะช่วยเพิ่มทักษะการเขียนภาพให้กับนักศึกษาและผู้สนใจ เพราะเครื่องมือนี้จะช่วยในการก�ำหนดขนาดเริ่มต้นของ การวางภาพที่เป็นเส้นกรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัสในลักษณะ 3 มิติ แบบทัศนียภาพ นอกจากนี้กรอบโครงสร้างนี้ ยังช่วยถอดขนาดเพื่อน�ำมา เขียนภาพด้าน 2 มิติ ซึ่งเมื่อน�ำมาสร้างชิ้นงานต้นแบบ จะได้ชิ้นงานที่มีขนาดสัดส่วนตรงกับภาพ 3 มิติที่น�ำเสนอไว้ เนื้อหาในเล่ม ประกอบด้วย ➠ เทคนิคการเขียนภาพออกแบบผลิตภัณฑ์ โดยใช้กล่องโครงสร้างมาตรฐานช่วยก�ำหนดภาพ ➠ เทคนิคการใช้กล่องโครงสร้างมาตรฐานในการก�ำหนดพื้นที่ใช้สอย เพื่อการออกแบบจัดวางผลิตภัณฑ์ ➠ การวาดภาพคนเพื่อสร้างมโนภาพประกอบในการเขียนภาพออกแบบผลิตภัณฑ์ ➠ เทคนิคการฝึกอ่านแบบในภาพ 2 และ 3 มิติ ➠ การจัดวางระบบกลไกพื้นฐานเพื่อการออกแบบ การสร้างโมลด์แม่แบบ การถอดท�ำพิมพ์ รวมทั้งการให้สีตัวผลิตภัณฑ์ ➠ ภาพร่างแนวคิดทางการออกแบบผลิตภัณฑ์ พร้อมตัวอย่างภาพแนวคิดการออกแบบกว่า 200 ภาพ เหมาะส�ำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ รวมทั้งบุคคลที่สนใจทั่วไป

>>>88

June-July 2015, Vol.42 No.241


&

Books Guide

ค�(ฉบับำปรัช่บปรุวง)ย ช่วยด้วย ! ผู้เขียน รศ.ดร.บุษบา บรรจงมณี ผศ.วันชัย สีลพัทธ์กุล ประภา แสงทองสุข และ Nanae Kumano ราคา 175 บาท สำ�นักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม

สิ่ง

ที่ผู้เรียนชาวต่างชาติต้องระวังที่สุดในการเรียนแต่งประโยคภาษาญี่ปุ่น คือ การเลือกใช้ค�ำช่วย “ค�ำช่วยคืออะไร” “มีหน้าที่อะไร” “จะ เลือกใช้อย่างไร” นับเป็นปัญหาทีส่ ร้างความสับสนให้ผเู้ ริม่ เรียนภาษาหรือแม้แต่ผทู้ เี่ รียนมานานหลายปีแล้วก็ยงั รูส้ กึ ลังเลในการเลือก ใช้คำ� ช่วย ดังนัน้ เพือ่ คลายข้อสงสัยและไขปัญหาในเรือ่ งเกีย่ วกับค�ำช่วย ส�ำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม ได้จดั พิมพ์หนังสือ “ค�ำช่วย ช่วยด้วย!” ซึ่งคณาจารย์ผู้เขียนได้อธิบายหน้าที่ของค�ำช่วยประเภทต่าง ๆ และรวบรวมประโยคตัวอย่างที่ท�ำให้ผู้เรียนเลือกใช้ค�ำช่วยสับสนไว้หลายกรณี เมื่อหลายปีก่อน จากวันนั้นจนถึงวันนี้ทางส�ำนักพิมพ์ฯ และคณาจารย์ผู้เขียนได้เห็นพ้องต้องกันว่า ควรจะได้เวลาปรับปรุงหนังสือเล่มนี้เสียที ดังนั้นจึง กลับมาอีกครัง้ พร้อมกับหนังสือ ค�ำช่วย ช่วยด้วย ! (ฉบับปรับปรุง) ทีจ่ ะมาเสริมทัพความรูใ้ ห้กบั ผูท้ ยี่ งั สงสัยในการเลือกใช้คำ� ช่วยในภาษาญีป่ นุ่ ค�ำช่วย ช่วยด้วย ! (ฉบับปรับปรุง) เล่มนี้ ได้คัดเลือกค�ำช่วยที่พบบ่อยในภาษาญีป่ ุ่น 25 ตัว มาอธิบายเรียบเรียงไว้อย่างละเอียดในส่วน ของเนื้อหามีการปรับปรุงตัวอย่างประโยคใหม่ให้ทันสมัย และเรียบเรียงค� ำอธิบายบางส่วนให้เข้าใจง่ายขึ้น อีกทั้งยังเพิ่มหัวข้อเปรียบเทียบ การใช้ค�ำช่วยจากเดิมเป็น 37 หัวข้อ ในส่วนของรูปเล่มได้จัดพิมพ์ขนาดเล็กลงเพื่อให้กะทัดรัด เหมาะกับการพกพา และปรับรูปแบบให้เป็น หนังสือสองสี คือ เขียวกับด�ำ เพื่อเน้นในส่วนที่เป็นจุดส�ำคัญให้ชัดเจนขึ้น

June-July 2015, Vol.42 No.241

89 <<<


&

Buyer Guide

ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ์: 0-2514-0001, 0-2514-0003 เว็บไซต์: www.measuretronix.com อีเมล: info@measuretronix.com

Rotronic เครื่องวัดค่าแอคติวิตี้ของน�้ำ (water activity) ส�ำหรับงานตรวจสอบคุณภาพสินค้าเกษตร ผลิตภัณฑ์อาหารและยา

&

Water Activity (Aw) คือ ความชืน้ สัมพัทธ์ของวัตถุ Hygroscopic material* ทีจ่ ดุ สมดุล (equilibrium) ของความชื้น แรงดันบรรยากาศ และอุณหภูมิ ในภาชนะที่ปิดผนึก (chamber) เป็นจุดที่ไม่มี การดูดหรือคายความชืน้ ระหว่างภายในวัตถุทตี่ อ้ งการวัด และบรรยากาศรอบข้าง โดยปกติแล้วจะมีคา่ การวัดได้จาก 0 ถึง 1 การวัดค่า Water Activity นี้ใช้กันมากในอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อก�ำหนดอายุการ เก็บของผลิตภัณฑ์ เป็นการวัดทีแ่ ม่นย�ำและยุตธิ รรมทีส่ ดุ เนือ่ งจากเป็นการวัดทีต่ ดั ปัจจัยภายนอก ทีอ่ าจ ส่งผลให้การวัดเบี่ยงเบนได้ Rotronic มีเครื่องมือเกี่ยวกับการวัด Aw ครบทุกด้าน มีโพรบหลายชนิดส�ำหรับใช้ร่วมกับงาน ของท่านได้อย่างเหมาะสม เครื่องมือของ Rotronic ประกอบใช้งานร่วมกันได้อย่างอิสระ ตามความ ต้องการของท่าน และยังแม่นย�ำ มีประสิทธิภาพสูง สอบเทียบได้ง่าย

HygroLab C1 ขนาดตั้งโต๊ะส�ำหรับการใช้งานในห้องแล็ป Rotronic ผลิตเครือ่ งวัด HygroLab C1 ส�ำหรับแล็ประดับสูง เพื่อการวัด Aw ได้ถึง 4 โพรบ เพียงต่อโพรบ แล้วน�ำไปวัดก็จะได้คา่ Aw ของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ เช่น ชีส เนื้อ ยาสูบ อาหารต่าง ๆ อาหารสัตว์ ยา และอื่น ๆ

HygroPalm23-AW-A ขนาดมือถือ ส�ำหรับการใช้งานภาคสนาม HygroPalm23- AW- A เป็นเครื่อง วัด Aw ที่สมบูรณ์แบบที่สุดส�ำหรับงานภาค สนาม ช่ ว ยท่ า นยื น ยั น ความเสถี ย รของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ และอายุ ก ารเก็ บ รั ก ษาของ ผลิตภัณฑ์ได้เป็นอย่างดี เหมาะส�ำหรับห้อง แล็ปเคลือ่ นที่ และเช่นเดียวกับรุน่ HygroLab C1 ทีส่ ามารถต่อโพรบ HC2 เพือ่ การวิเคราะห์ได้ถงึ 2 โพรบ HygroPalm23-AWA ยังสามารถใช้ร่วมกับ HW4-P-QUICK-Vx ได้ด้วย

HC2-HP, HC2-P05 โพรบวัด Aw แบบก้านสอด ส�ำหรับ การวัด Aw โดยตรง โพรบแบบสอด ใช้ส�ำหรับ วัดค่า Aw โดยตรงเข้าไปในกอง ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ใช้ได้ดีกับผงแป้ง ผงหยาบ เมล็ดพืช และธัญพืช โพรบแบบสอด HC2-HP มีปลาย สแตนเลสขนาด 10 มิลลิเมตร ทีแ่ ข็ง >>>90

June-July 2015, Vol.41 No.241

*วัตถุ Hygroscopic คือ วัตถุที่เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติตนเอง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความชื้น ยกตัวอย่างเช่น เมล็ดธัญพืช ต่าง ๆ ผงกาแฟ น�้ำตาล แป้ง เป็นต้น แรง มีฟิลเตอร์เหล็ก กันฝุ่นที่ถอดเปลี่ยนได้ ส�ำหรับการวัดในที่มีฝุ่นมาก ส่วนใน การวัดที่ไม่มีฝุ่น เช่น ยาเม็ด ยาแคปซูล เมล็ดข้าว เม็ดพลาสติก ก็สามารถใช้ โพรบ HC2-P05 ที่มีช่องเจาะด้วยเลเซอร์ท�ำการวัด

HC-2-AW-USB โพรบวัดประจ�ำที่แบบ USB ส�ำหรับต่อกับคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ โพรบประจ�ำที่รุ่นใหม่ HC2AW-USB เพิ่มเติมความสามารถใหม่ โพรบ แบบ USB นี้ ต่อเข้าโดยตรงได้กบั คอมพิวเตอร์ทรี่ นั โปรแกรม HW4-P-QUICK-Vx เพียงเท่านี้ ก็วัดค่า Aw ได้แล้ว โพรบ HC2-AW-USB จัดได้ว่าเป็นอุปกรณ์ที่ สมบูรณ์แบบ ในการใช้งานในแบบประจ�ำที่ และยังต่อใช้งานได้พร้อมกันหลาย โพรบด้วย นอกจากนี้ยังมีชุดวัดค่า Aw ส�ำหรับเกษตรกร และผู้รับซื้อ เพือ่ พิสจู น์คา่ Aw และความชืน้ ใน ผลิตผลทางการเกษตร เพือ่ การซือ้ ขาย ตั ด ปั ญ หาข้ อ สงสั ย ในตั ว เครื่องมือ และกระบวนการหาค่า ด้วยวิธีแบบเก่า ๆ สร้างความเป็น ธรรมในการซื้อขายกับทุกฝ่าย


&

Buyer Guide

ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท คณิตเอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด โทรศัพท์ : 0-2642-8762-4, 0-2642-9209-11 แฟกซ์ : 0-2248-3006, 0-2246-3214 เว็บไซต์ : www.kanitengineering.com อีเมล : sales2@kanitengineering.com

Baumann Sanitary Valves สำ�หรับวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิต ผูผ้ ลิตด้านวิทยาศาสตร์สงิ่ มีชวี ติ (life sciences) ต้องเผชิญกับความท้าทายทีไ่ ม่มที สี่ นิ้ สุดอยูต่ ลอดเวลา เช่น ค่าใช้จา่ ยจากการหมดอายุ ของสิทธิบตั รยาเฉพาะบุคคล (personalized medicine) การเปลีย่ นถ่ายเทคโนโลยี และความต้องการด้านกฎหมายข้อบังคับทีก่ ำ� ลังเปลีย่ นแปลง ไป นอกจากนี้ยังต้องเผชิญกับความกดดันในการลดค่าใช้จ่าย การลดเวลาการออกสู่ตลาด และการปรับปรุงคุณภาพให้ดีขึ้น ในขณะเดียวกัน ต้องให้ความมั่นใจในความปลอดภัยของคนไข้ไปพร้อมกัน Sanitary Valves ออกแบบมาเพื่อสนองความต้องการที่เข้มงวดของโรงงานด้านวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตที่ทันสมัยในปัจจุบัน Stainless Steel Body และ Trim ที่ได้รับการขัดเงา ท�ำให้มั่นใจว่า การล้างท�ำความสะอาดและการฆ่าเชื้อโรคสามารถท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความ เชื่อมั่นได้ว่าสภาพแวดล้อมในการผลิตสามารถให้ความสะอาดบริสุทธิ์ได้ในระดับสูงสุด

Baumann Sanitary Valves รุ่นต่างๆ Fisher Baumann 83000

Fisher Baumann 85000

Fisher Baumann 84000

Fisher Baumann 87000

Body และ Closure Diaphragm เป็น มีลกั ษณะเป็น Pinch Valve ใช้กบั ท่อ 316L Stainless Steel ขัดเงาไม่มี Packing Pharmaceutical Grade ขนาดใหญ่จนถึง ¾” ควบคุมการไหลในอัตราต�่ำ ๆ ได้ดี ขนาดเล็ก O.D. ได้ เหมาะส�ำหรับอุตสาหกรรมยารักษา กะทัดรัด น�้ำหนักเบา ท�ำความสะอาดแบบ โรค และเทคโนโลยีชีวภาพ CIP และ SIP ได้

ตั ว ปิ ด / เปิ ด เป็ น Diaphragm Rangeability สูง ได้มาตรฐาน 3A Sanitary Standard ขนาดกะทั ด รั ด เหมาะส� ำ หรั บ อุ ต สาหกรรมยารั ก ษาโรค และเทคโนโลยี ชีวภาพ

Fisher Baumann 89000

ตัวปิด / เปิด เป็น Plug โลหะที่มีระยะ ยกตัวสูง Body และ Trim ท�ำด้วย 316L Stainless Steel ผิวขัดเงา ถอดประกอบได้เร็ว บ�ำรุงรักษาและปรับแต่งได้ง่าย ได้มาตรฐาน FDA และ UPS CLVI ใช้กับของเหลว ก๊าซ และไอน�้ ำ ได้ เหมาะส� ำ หรั บ อุ ต สาหกรรม วิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิต อาหารและเครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมอื่น ๆ อีกหลายอย่าง เช่น เทคโนโลยีชีวภาพ ยารักษาโรค เครื่องส�ำอาง และอุตสาหกรรมอื่นที่ต้องการความสะอาด และการฆ่าเชื้อ ท�ำความสะอาดแบบ CIP และ SIP ได้

เหมาะส� ำ หรั บ ของไหลที่ มี อ นุ ภ าค เล็ก ๆ เจือปน โดยไม่มกี ารอุดตัน และต้องการ ความบริสุทธิ์มาก ๆ เช่น อุตสาหกรรมอาหาร และเครื่ อ งดื่ ม ยารั ก ษาโรค ฟิ ล ์ ม และ เทคโนโลยีชีวภาพ ได้มาตรฐาน 3A

ที่มาของข้อมูล 1. www2.emersonprocess.com 2. www.newenglandcontrols.com/ valves-instruments/baumann-valeves.html June-July 2015, Vol.41 No.241

91 <<<


&

Travel พระกรุณาน้อมรับโทษตามพระราชประเพณี สมเด็จพระเจ้าเสือทรงพิจารณาเห็นว่าอุบตั เิ หตุ ครั้ ง นี้ เ ป็ น การสุ ด วิ สั ย มิ ใ ช่ ค วามประมาทจึ ง พระราชทานอภัยโทษให้ แต่พันท้ายนรสิงห์ กราบบังคมยืนยันขอให้ตัดศีรษะตนเพื่อรักษา ขนบธรรมเนียมในพระราชก�ำหนดกฎหมายเป็น การป้องกันมิให้ผใู้ ดครหาติเตียนพระเจ้าอยูห่ วั ได้ ว่าทรงละเลยพระราชก�ำหนดของแผ่นดินและ เพือ่ มิให้เป็นเยีย่ งอย่างสืบไป พระองค์ทรงโปรด ให้ฝพี ายทัง้ ปวงปัน้ มูลดินเป็นรูปพันท้ายนรสิงห์ แล้วให้ตัดศีรษะรูปดินนั้นเพื่อเป็นการทดแทน กัน แต่พันท้ายนรสิงห์ยังบังคมกราบทูลยืนยัน ขอให้ประหารตน แม้สมเด็จพระเจ้าเสือจะทรงอาลัยรัก น�้ำใจพันท้ายนรสิงห์เพียงใดก็ทรงจ�ำพระทัย ปฏิบตั ติ ามพระราชก�ำหนด ด�ำรัสสัง่ ให้เพชฌฆาต ประหารพันท้ายนรสิงห์แล้วโปรดให้ตั้งศาลสูง ประมาณเพียงตา น�ำศีรษะพันท้ายนรสิงห์กบั หัว เรือพระทีน่ งั่ เอกไชยซึง่ หักนัน้ ขึน้ พลีกรรมไว้ดว้ ย กั น บนศาล ต่ อ มาศาลพั น ท้ า ยนรสิ ง ห์ จึ ง ถู ก ประกาศขึ้นทะเบียนเป็น “โบราณสถานของ ชาติ” ไม่นานศาลเดิมก็ได้มีการพังลงมาจึงได้มี การกันพืน้ ทีร่ อบ ๆ เพือ่ ตัง้ เป็น “อุทยานพันท้าย นรสิงห์”

โบราณสถานของชาติ

อุทยาน

พันท้ายนรสิงห์

ประวัติความเป็นมา

พันท้ายนรสิงห์ เป็นนายท้ายเรือพระทีน่ งั่ เอกไชยอยูใ่ นรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าเสือได้รบั ยกย่อง ว่าเป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต จงรักภักดีและรักษาระเบียบวินัยยิ่งชีวิต สมเด็จพระเจ้าเสือประพาสปากน�้ำสาครบุรีเพื่อทรงเบ็ด ด้วยเรือพระที่นั่งเอกไชยมีพันท้าย นรสิงห์เป็นนายท้าย พันท้ายนรสิงห์เป็นชาวบ้านนรสิงห์ แขวงเมืองอ่างทอง การเสด็จประพาสปากน�ำ้ สาครบุรีในครั้งนี้ เมื่อเรือพระที่นั่งไปถึงต�ำบลโคกขาม คลองบริเวณดังกล่าวมีความคดเคี้ยวมาก พันท้ายนรสิงห์พยายามคัดท้ายเรือพระที่นั่งอย่างระมัดระวังแต่ไม่อาจหลบเลี่ยงอุบัติเหตุได้ หัวเรือ พระที่นั่งชนกิ่งไม้ใหญ่หักตกลงไปในน�้ำ พันท้ายนรสิงห์รู้โทษดีว่า ความผิดครั้งนี้ถึงประหารชีวิตตามโบราณราชประเพณี ซึ่งก�ำหนด ว่าถ้าผู้ใดถือท้ายเรือพระที่นั่งให้หัวเรือพระที่นั่งหัก ผู้นั้นถึงมรณะโทษให้ตัดศีรษะเสียจึงกราบทูล >>>92

June-July 2015, Vol.42 No.241

รูปหล่อจ�ำลองพันท้ายนรสิงห์ ขอเริม่ ต้นทีก่ ารสักการะพันท้ายนรสิงห์ กันก่อนนะคะ เชื่อกันว่า ท่านเป็นเทพเจ้าแห่ง ความซื่อสัตย์ ศาลนี้จึงเป็นที่พึ่งทางใจขอพรให้


&

Travel

ตนประสบผลส�ำเร็จ เมือ่ ขอไปแล้วสัมฤทธิผ์ ล ใน ช่วงแรกคนจึงน�ำนวมชกมวยและไม้พายเรือ มา แก้บน เนื่องจากตามประวัติท่านชอบชกมวย และตีไก่ ต่อมาช่วงหลังจึงมีคนน�ำรูปปั้นไก่แก้ว มาแก้บน ซึ่งตั้งคู่อยู่ตรงทางขึ้นก่อนเข้าประตู ศาล เมื่อคนเห็นว่าบนแล้วประสบความส�ำเร็จ จึงเป็นที่นิยมบนกันในเวลาต่อมา ชาวบ้านในแถบนี้เชื่อว่า อาจเป็นเรือในขบวน เสด็จ หรือเรือที่ใช้ล�ำเลียงทหารในอดีต

หลักประหาร

เสาไม้ ที่ เ ห็ น ครอบแก้ ว ไว้ คื อ หลั ก ประหารของจริง ที่เหลือเพียงแค่เสาไม้ชิ้นเดียว ส่วนทางด้านซ้ายทีเ่ ป็นเสารูปไม้กางเขน เป็นเสา จ�ำลองทีส่ ร้างขึน้ มาใหม่ เพือ่ ให้คนทีไ่ ปเทีย่ วชม เห็นแล้วจะได้รู้ว่าตรงนี้เป็นหลักประหารเดิม

หัวเรือพระที่นั่งที่ชนต้นไม้หักลงมา

ศาลาหุ่นจ�ำลองเหตุการณ์

จ�ำลองเหตุการณ์เมื่อพันท้ายนรสิงห์ เข้าไปถวายบังคมกราบทูลให้สมเด็จพระเจ้าเสือ ทรงประหารชีวิตตามกฎมณเฑียรบาล

คลองโคกขามเดิม

สมั ย ก่ อ นเป็ น คลองที่ ค ดเคี้ ย วมาก และน�้ำไหลเชี่ยว ยากแก่การเดินเรือ แต่ตอนนี้ ดูสงบเงียบ ร่มรื่นดีคะ เหมาะส�ำหรับท่องเที่ยว เชิงเกษตร แหล่งศึกษาการอนุรักษ์ป่าชายเลน

หลั ง ประหารพั น ท้ า ยนรสิ ง ห์ แ ล้ ว สมเด็จพระเจ้าเสือให้สร้างศาลขึน้ สูงเพียงตาเอา ศี ร ษะพั น ท้ า ยนรสิ ง ห์ กั บ หั ว เรื อ ที่ หั ก นั้ น ขึ้ น พลีกรรมไว้ด้วยกันบนศาลนั้น

เรือขุดโบราณ

เรือขุดโบราณ

การเดินทาง :- จากถนนพระราม 2 บริเวณกิโลเมตรที่ 16-17 เข้าซอยข้างวัดพันท้าย มีป้ายบอกทางทุกระยะไปศาลพันท้ายนรสิงห์

ท�ำจากไม้ตะเคียนขนาดใหญ่ มีความยาว 19.47 เมตร กว้าง 2.09 เมตร สูง 1 เมตร และกาบเรือหนา 7.5 เซ็นติเมตร คาดว่ามีอายุ กว่า 300 ปี ชาวบ้านในต�ำบลพันท้ายนรสิงห์ เป็นผูข้ ดุ พบ และน�ำมาบริจาคไว้ทศี่ าลพันท้ายฯ June-July 2015, Vol.42 No.241

93 <<<


ทำเรื่องยากใหเปน เรื่องงายดวย ไอเดีย

KAIZEN

ดาวนโหลดนิตยสาร Creative & Idea KAIZEN Online ไดแลววันนี้ที่

Bookcaze

Booksmile

Nstore

Naiinpann

Bookdose

Ookbee

Meb

สอบถามขอมูลเพิ่มเติม

โทร. 02-259-9160

ตอ 1740 (คุณจารุภา)

โครงการผลิตสื่อและมัลติมีเดีย สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 20150603



MDA174U-witu15-TPA-8.5x11.5.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/5/15

2:09 pm


โปรโมชั่นพิเศษ

ัจดหนักเต็ม จัด

จรัดับนหิตยนสารัก

 สำหรับสมาชิก ส.ส.ท. สมัครในี้เหม ทานั้น

ระหวางเดือน กรกฎาคม-กันยายน 2558

a KAIZEN e d I & e v i t a Cre ี 3 เลม ฟรีทันท

จรับัดนิตเต็ม

ยสาร Creative & Idea KAIZEN ฉบับใหมรายเดือน ตอเน�อง 3 เดือน ฟรี

) ล ค ค ุ บ ิ ต ิ ะน ล แ ญ ั าม (ส  ม ให ก ิ าช ม ส สำหรับ ี้เทานั้น ภายในเดือนกรกฎาคม-กันยายน 2558 น

ติดตอสอบถามขอมูลการสมัครไดที่ :

แผนกสมาชิกสัมพันธ และเครือขายการตลาด โทรศัพท 0-2259-9115 โทรสาร 0-2259-9117 อีเมล member@tpa.or.th เว็บไซต http://www.tpa.or.th/member


โรงเรียนภาษาและวัฒนธรรม สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 泰日経済技術振興協会付属語学学校(ソーソートー)

School of Language and Culture

新コース!

20 タイ入門コース

คอรสสนทนาภาษาไทยเบื้องตน 20 ชั่วโมง

時間

(初心者コース)

タイ語会話の基礎を勉強しながらタイ文化やタイ人の考え方を知ることができるコース

กฃ ขค

คอรสเรียนสนทนาภาษาไทยเบื้องตนควบคูไปกับการเรียนรูวัฒนธรรมและความคิดของคนไทย 対象者 คุณสมบัติผูเรียน  

タイで生活している方、 タイで仕事をしている方。

タイで、 より充実した生活を送るため、 あるいは職場でタイ人と円滑に

コミュニケーションを図るためのタイ語に関する基礎知識を学びたい方。 

初心者向けのタイ語及びタイ文化やタイ人の考え方を学びたい方。

ชาวญี่ปุนที่อาศัยอยู ในเมืองไทย มีความตองการเรียนรูพื้นฐานภาษาไทย รวมทั้งวัฒนธรรมไทย ความรูสึกนึกคิดของคนไทย เพ�อใหการส�อสารในชีวิตประจำวันและการทำงานเปนไปอยางราบร�น

จำนวนผูเรียน

時間

เวลาเรียน

曜日

教材

8−16名

9:00-12:00

月∼金

場面で役立つ

人数

8-16 คน

วันเรียน

(最終日のみ 9:00-11:00) 全7回

9.00-12.00 น. (9.00-11.00 น. เฉพาะวันสุดทายของการเรียน) รวม 7 ครั้ง

スケジュール

กำหนดการเปดคอรส

お問い合わせ先

ติดตอสอบถาม

จันทร-ศุกร

受講料

คาเรียน

5,000B.

หนังสือเรียน 使えるタイ語・

単語帳 150B.

รวมศัพท พูด (ภาษา) ไทยใหเกง ราคา 150 บาท

コード รหัสคอรส

申込締切 วันปดรับสมัคร

受講期間 ระยะเวลาเรียน

TN1-15-001 TN1-15-002 TN1-15-003 TN1-15-004

June 10, 2015 July 8, 2015 July 28, 2015 August 26, 2015

June 15-23, 2015 July 13-21, 2015 August 3-11, 2015 September 1-9, 2015

TEL : 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ext. 1651, 1652 E-mail : thschool@tpa.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.