TN243 October - November 2015 Vol.42 No.243

Page 1

Technology Promotion and Innomag Magazine

Techno

October-November 2015 Vol.42 No.243

www.tpaemagazine.com

logy

INNOMag Gates to Inspiration of Innovation

เคร�องมือวัดและสอบเทียบกระบวนการ สำหรับพื้นที่ ไวตอประกายไฟและการระเบิด

R RE T ONIX SU

V

D. LT

ME A

Leadership of all Industrial Enterprise Magazine

PASSED ER

I F I C AT I O

N

ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย

Fluke 568 Ex

Fluke 700G

อินฟราเรดเทอรโมมิเตอร

เกจวัดความดัน เที่ยงตรงสูง

Fluke 1551A/1552A Ex เทอรโมมิเตอรแบบ “stik”

Fluke 28 II Ex

ดิจิตอลมัลติมิเตอร True-rms Motor Control Center Flow Computer

สนใจติดตอ :

Intrinsically Safe

คุณพลธร 081-834-0034, คุณจิรายุ 083-823-7933, คุณสิทธิโชค 084-710-7667

Tank Farm Process Measurements Process Controller

Fluke 725Ex

เคร�องสอบเทียบมัลติฟงคชั่น

Pumping Station

e.com/ex

www.measuretronix.com/ intrinsically-safe

Hot Issue:

Fluke 707 Ex Series Fluke 700P Ex Series เคร�องสอบเทียบหลูป

Industry 4.0 ความทาทายครั้งใหมของภาคอุตสาหกรรม Big Data eXperience @KMUTT  ฝนที่เปนจริงของ “สารสิน บุพพานนท”  เทคโนโลยีสูภัยแลง  เทคนิคนำหุนยนตอุตสาหกรรมมาใชงาน

โมดูลเสริมวัดความดัน

Fluke 718Ex

เคร�องสอบเทียบความดัน มีปมในตัว

Fluke 721Ex

เคร�องสอบเทียบความดัน 2 แชนเนล

 

ราคา 70 บาท


LCR Elite1

เคร�องวัด LCR แบบคีบอุปกรณ SMD ขนาดเล็กกะทัดรัด ใชงานงายดวยฟงคชั่น Automatics เพียงคีบจับอุปกรณ SMD ก็รูไดทันที่วา เปนตัวอะไร คาเทาไร ดีหรือเสีย เหมาะสำหรับงานแล็บ R&D, งานตรวจสอบในสายการผลิต, และงานตรวจซอมแผงวงจรอิเล็กทรอนิกสทั่วไป ผลิตภัณฑจากแคนาดา ในราคาไมแพง จอความคมชัดสูง (OLED)  AUTO Measurement Mode & Test Frequency  Basic Accuracy 0.5% ที่ R และ 1% ที่ C และ L  สามารถคีบอุปกรณผาน Test Fixture แบบ tweezer ที่ ใชวัสดุอยางดี ใชเทคนิคการวัดแบบ 4 wire  สามารถเลือกการวัดไดอิสระ ทั้งชนิดอุปกรณ, ความถี่, วงจรทดสอบแบบ อนุกรมหรือขนาน  ใชงานงาย ชารจไฟผาน Port USB Li-Po Battery  ที่สำคัญ Made in Canada 

ออกแบบมาเปนพิเศษสำหรับ การวัดอุปกรณ SMD โดยเฉพาะ

TESTING SIGNAL

Test frequency: 100 Hz, 1 kHz, 10 kHz Test signal level: 0.45Vrms Source impedance: 100Ω ±1%

MEASUREMENT RANGE

ใชงานดวยมือเดียว จับคีบ อุปกรณ SMD ไดสะดวก จนถึงขนาดเล็กสุด 0201

Resistance R: 25 mΩ to 10 MΩ Inductance L: 100 nH to 1 H Capacitance C: 0.3 pF to 500 µF

BASIC ACCURACY

Resistance R: 0.5 % Inductance L: 1.0 % Capacitance C: 1.0 %

เปลี่ยนโหมด/ตั้งคาวัดดวยปุมเดียว Test frequency Test frequency mode

Test mode Primary display

Secondary display Circuit mode

Auto circuit mode selection Battery indicator

จำแนกชนิดอุปกรณที่วัดไดอัตโนมัติ พรอมพารามิเตอรอ�นๆ สนใจติดตอ : คุณวิชิต 08-1832-7016, คุณรัตนมณี 08-9810-3055, คุณจิรายุ 08-3823-7933 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ lcr-elite1


เพ�อ ความปลอดภัย ของผูปฏิบัติงาน SENSIT® P400 Multi Gas Personal Monitor เคร�องตรวจวัดกาซอันตรายแบบพกติดตัว

Technologies

แจงเตือนผูปฏิบัติงานทันทีเม�อปริมาณกาซสูงถึงระดับอันตราย สำหรับการทำงานในพื้นที่เสี่ยงภัย จากกาซติดไฟ, กาซพิษ หรือ การระเบิด รองรับเซ็นเซอรสำหรับ ตรวจวัดกาซได 9 ชนิด คือ • ออกซิเจน (O2) • คารบอนมอนอกไซด (CO) • ไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) • ไฮโดรเจนไซยาไนด (HCN) • ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) • ฟอสฟน (PH3) • ซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) • เอทิลีนออกไซด (ETO ) • และกาซที่ติดไฟได

SENSIT® P100 Single Gas Personal Monitor

ขนาดกระทัดรัด ใชงานงาย วัดและแสดงผลพรอมกัน 5 ชนิด

รุนเล็ก ใชงาย ราคาประหยัด วัดกาซเฉพาะอยาง เลือกได • ออกซิเจน (O2) • คารบอนมอนอกไซด (CO) • ไฮโดรเจนซัลไฟด (H22) • ไฮโดรเจนไซยาไนด (HCN) • ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) • ซัลเฟอรไดออกไซด (SO2)

เคร�องวัดอากาศรุนอ�นๆ..

Vaisala GMW90

Vaisala HM40

วัดกาซคารบอนไดออกไซด, อุณหภูมิ และความชื้น แบบติดผนัง

วัดความชื้นอากาศ และอุณหภูมิ แบบมือถือ จอแสดงผลเปนกราฟ

Fluke 975

วัดไดทั้ง อุณหภูมิ, ความชื้น, ความเร็ว อากาศ, CO2, และ CO สำหรับงาน HVAC

Fluke 985 วัดฝุนละออง ในอากาศ ขนาดมือถือ สำหรับหอง ปลอดฝุน ปลอดเชื้อ

Anemomaster LITE 6006 วัดความเร็วลมแบบ hot wire และ เคร�องวัดอุณหภูมิในตัวเดียวกัน ราคาประหยัด

TABMaster 6710

วัดปริมาณอากาศ supply และ return ของระบบปรับอากาศ

สนใจติดตอ : คณ ุ เนตรนภางค 089-895-4866, คุณวชิ ัย 08-1934-2570, คณ ุ สารกิจ 08-1641-8438 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ iaq-environment


&

October- November 2015, Vol.42 No.243

Activity Cover story

8

31

17 Fluke Ex Series เครือ่ งมือวัดและ

สอบเทียบกระบวนการส�ำหรับพืน้ ที่ ไวต่อประกายไฟและการระเบิด

โดย: บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

Special Scoop

25 Industry 4.0 ความท้าทายครั้งใหม่

ของภาคอุตสาหกรรม โดย: กองบรรณาธิการ

Special Talk

31 อุตสาหกรรมไทยกับการเตรียม

ความพร้อมเข้าสูย่ คุ ดิจทิ ลั

โดย: กองบรรณาธิการ

Research

35 เปิดประสบการณ์ใหม่ ที่

Big Data eXperience

41

โดย: กองบรรณาธิการ

Inspiration 38 ฝันที่เป็นจริงของ

“สารสิน บุพพานนท์” โดย: กองบรรณาธิการ

Management

Electrical & Electronic

45 การทดสอบและทวนสอบการติดตัง้ ระบบ

41 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางโลจิสติกส์

เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ (ตอนที่ 1) โดย: เศรษฐภูมิ เถาชารี วิทยาลัยนานาชาติพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

47

ไฟฟ้าแรงดันต�ำ ่ เพือ่ ความปลอดภัย (ตอนที่ 4) แปลและเรียบเรียงโดย: สุพจน์ ตุงคเศรวงศ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายเครื่องมือมาตรวิทยา บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

38

Production

47 เทคนิคประหยัดพลังงานและลดต้นทุน

การผลิตด้วยเครือ่ งปัม๊ เซอร์โว (ตอนจบ) โดย: อ�ำนาจ แก้วสามัคคี

51 ความส�ำคัญของ Poka-Yoke

ในกระบวนการผลิต (ตอนจบ)

โดย: พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์ ที่ปรึกษาอิสระและนักวิจัยแห่งชาติ


Group

Leaping Ahead from Yamatake’s 100 Years Human-centered Automation

Smart Valve Positioner

700 series

1. Durable and Rugged Design ออกแบบแยกหองกันระหวาง Pneumatic, Electronics และ Field terminal พรอมดวย VTD เซ็นเซอรแบบ non contact 2. Advanced Control Valve Diagnostics มากขึ้นดวยฟงคชั่น Diagnostics แบบใหม จากการมีเซ็นเซอรที่หลากหลายขึ้น 3. Universal Access to the Device เขาถึงไดงายดวยหลากหลายชองทางการส�อสาร 4. Sophisticated System Integration HART 7, Foundation Fieldbus ITK6.1, FDT/DTM Plug in Valstaff, 3rd DCS 5. Improvement of Control Performance Single / Double ในตัวเดียวกัน 6. Lowered Energy Consumption ใชลมนอยมาก หรือนอยกวารุนเดิมอีก 20%

Azbil (Thailand) Co., Ltd. Head office : 209/1 K Tower 19-20th Fl., Sukhumvit 21 Road (Asoke), Klongtoey-Nua, Wattana, Bangkok 10110 Tel : (66) 0-2664-1900 Fax : (66) 0-2664-1912

Rayong Branch : 143/10 Mapya Road. T.Map Ta Phut, A.Muang, Rayong 21150 Tel : 0-3868-2453 Fax: 0-3868-2454

http://th.azbil.com

Amata Branch : Amata Service Center Bld. Unit No. 405, 4th Fl., 700/2 Moo 1  Amata Nakorn Industrial Estate, Bangna-Trad Km.57 Road, T.Klong Tumru, A.Muang, Chonburi 20000 Tel : 0-3845-7076-7 Fax : 0-3845-7078


October- November 2015, Vol.42 No.243

&

Energy & Environmental

55 เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์

ส�ำหรับการผลิตพลังงานความร้อน และไฟฟ้า

โดย: ณัฐวุฒิ วิสิษฐด�ำรงค์กุล และ ดร.อมรชัย อาภรณ์วิชานพ หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิศวกรรมกระบวนการ เชิงค�ำนวณ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

59 จุดประกายไอเดีย Bio Box

เพื่อการบ�ำบัดน�้ำเสีย โดย: มหาวิทยาลัยสยาม

Computer & IT

55

61 เช็คความพร้อมก่อนเริ่มต้นไปกับ

เทคโนโลยี Hadoop

โดย: ทวีศักดิ์ แสงทอง กรรมการผู้จัดการ บริษัท แซส ซอฟท์แวร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

Focus

64 สเต็มศึกษา:

โดย: ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

68 เทคโนโลยีสู้ภัยแล้ง

71 การน�ำหุ่นยนต์อุตสาหกรรมมาใช้

พัฒนาคนเพื่อพัฒนาชาติ

Worldwide

Knowledge

โดย: ดร. อดิสร เตือนตรานนท์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์นวัตกรรมการพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (NECTEC) ที่ปรึกษา สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

งาน : ก้าวให้ไกล มองไปข้างหน้า

โดย: เชอร์มีน ก็อตเฟรดเซ็น ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

Show & Share 76 Buyer Guide 78 Books Guide 79

Visit

73

73 “พัฒน์กล” โชว์กนึ๋

พัฒนาเครือ่ งจักรอัตโนมัติ พร้อมเสิรฟ์ อุตสาหกรรม ยุค 4.0 โดย: กองบรรณาธิการ

64


Ads Sumipol for E-magazine Fullpage 8.5x11.5 inch.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

7/24/2558 BE

10:05


Editor

Message from

&

October - November 2015, Vol.42 No.243

บททดสอบใหม่ของอุตสาหกรรมไทย

In

dustry 4.0 (I4), Internet of Thing (IoT) และ Digital Economy 3 ค�ำนี้ แม้ ความหมายจะแตกต่าง แต่จุดหมายปลายทางเหมือนกัน กล่าวคือ “Industry 4.0” เป็นนิยามศัพท์ใหม่ทเี่ กิดขึน้ ทางฝัง่ ยุโรป โดยเยอรมนี กล่าวถึงค�ำ ๆ นีเ้ ป็นครัง้ แรก เป็นการประกาศศักดาของประเทศผู้น�ำอุตสาหกรรมที่ก�ำลังเคลื่อนเข้าสู่ยุค อุตสาหกรรมที่ขับเคลื่อนโดยดิจิทัลก่อนใคร และนี่จะเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติ อุตสาหกรรม ครั้งที่ 4 ที่จะเกิดผลกระทบวงกว้างในอนาคต ส่วนค�ำว่า “Internet of Thing” เกิดขึ้นในฝั่งอเมริกา ที่มีการคาดการณ์กัน ว่า อนาคต ทุก ๆ อุปกรณ์ที่จะผลิตขึ้นในยุคนี้จะสามารถสื่อสารถึงกันได้หมด ด้วย พลังของเทคโนโลยีดิจิทัล และ ค�ำว่า “Digital Economy” เป็นค�ำที่คุ้นหูคนไทยเรา มักจะได้ยินหลายภาคส่วนพูดถึงเรื่องนี้เป็นระยะ เป้าหมาย คือ การวางโครงสร้าง พื้นฐานส�ำหรับรองรับการเข้ามาถึงของยุคดิจิทัล ทั้งหมดนี้จะเห็นได้ว่า เทคโนโลยีดิจิทัลก�ำลังท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ครั้งใหญ่ทั่วโลก ในฐานะผู้บริโภคเราอาจจะไม่รู้สึกถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ เท่าใดนัก เพราะมันได้ค่อย ๆ แทรกซึมเข้ามาอยู่ในวิถีชีวิตของคนเราได้อย่าง กลมกลืนมานานแล้ว นับตัง้ แต่การเกิดขึน้ ของ Smart Phone แต่สำ� หรับภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมของโลกและไทย การปฏิวตั คิ รัง้ นี้ คือ บททดสอบครัง้ ส�ำคัญว่า ใครจะ มีความสามารถในการปรับตัวพร้อมรับการเปลีย่ นแปลงครัง้ นี้ ต้องคอยติดตามกัน ต่อไป เพราะนี่ไม่ใช่เพียงการแข่งขัน แต่เป็นบทพิสูจน์ว่าใครจะอยู่หรือไป ท่านสามารถอ่านนิตยสาร Techno & InnoMag Online ได้ทกุ ต้นเดือนของ เดือนคู่ (กุมภาพันธ์ เมษายน มิถุนายน สิงหาคม ตุลาคม ธันวาคม) ทาง ● www.tpaemagazine.com ● www.tpa.or.th/publisher ● www.issuu.com/tpaemagazine ติดตามความเคลื่อนไหวของนิตยสารในเครือ ส.ส.ท. ได้ที่ Facebook Fanpage “TPAeMagazine”

Published by:

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2258-0320-5, 0-2259-9160-9 แฟกซ์: 0-2662-1096, 0-2662-1016 http://www.tpa.or.th

Advisors:

ศ.ดร. วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์ รศ.ดร. วุฒิชาติ สุนทรสมัย คุณพิมลพร ยุติศรี คุณธัญญา ผลอนันต์ คุณธงชัย กัณฑานนท์

Executive Editor: สมใจ วัฒนบรรเจิด

Editorial Assistant:

รถจณา เถาว์พันธ์ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1710 e-mail: technology@tpa.or.th

Art Director:

เชิดศักดิ์ ศรีเมือง โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1731 e-mail: chirtsak@tpa.or.th

Production Design:

ประครอง ไชยศรีทา นระ บุญตา โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1732, 1708 e-mail: prakrong@tpa.or.th, nara@tpa.or.th

PR & Advertising Supervisor: ฬียากร ขุพินิจ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th

Advertising:

บุษบา ปั้นงาม โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

ภาพประกอบบางส่วนจาก: www.shutterstock.com

เป็นนิตยสารออนไลน์ราย 2 เดือน เผยแพร่ทุกต้นเดือนกุมภาพันธ์ เมษายน มิถุนายน สิงหาคม ตุลาคม และธันวาคม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอด แลกเปลี่ยน & ความรู้ทางวิชาการด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม และการจัดการภายในองค์การผลิตในสาขาต่าง ๆ ส่งเสริมสนับสนุนนักวิชาการในการเผยแพร่ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ของประเทศ บทความและข้อความในนิตยสารออนไลน์นี้ ถือเป็นความคิดเห็นส่วนตัว และลิขสิทธิ์ของผู้เขียน จึงไม่มีส่วนผูกพันกับสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) อีกทั้งข้อมูลต่าง ๆ อาจมีความผิดพลาด จึงควรตรวจสอบให้ชัดเจนก่อนใช้อ้างอิง กรณีที่ผู้อ่านเห็นว่า บทความใดได้มีการลอกเลียน หรือแอบอ้างโดยปราศจากการอ้างอิง หรือทำ�ให้เข้าใจผิดว่า เป็นผลงานของผู้เขียน กรุณาแจ้งให้สมาคมฯ ทราบ จักเป็นพระคุณยิ่ง


ผลิต ออกแบบ และติดตัง้ เฟอร์ นิเจอร์ /อุปกรณ์ ช่าง

• โต๊ ะซ่ อม โต๊ ะประกอบอุปกรณ์ ประจ�ำห้ องแลป และ ห้ อง MAINTENANCE • ตู้แขวนเครื่ องมือ • ตู้เก็บกล่ องอุปกรณ์ ส�ำหรั บอุตสาหกรรมยานยนต์ L STORAGE SYSTEM • ระบบระบายควันกรด ฝุ่ น และชุดก�ำจัดในโรงงานอุตสาหกรรม เฟอร์ นิเจอร์ งานช่ าง คุณภาพเหนือราคา พร้ อมบริ การหลังการขาย TOO

SERVICE BENCH

TOOL MOBILE CABINET

โต๊ ะปฏิบตั กิ ารช่ างซ่ อม

ตู้ใส่ อปุ กรณ์ เครื่องมือเคลื่อนย้ ายสะดวก ท� ำ ด้ ว ยเหล็ก พ่น สี อี พ๊ อ กซี่ กัน สนิ ม ภายในมี ก ล่อ ง สามารถแบ่งแยกเก็บอุปกรณ์ มีกญ ุ แจล็อค พร้ อมมือ จับแข็งแรง ทนทาน เหมาะส�ำหรับใช้ งานในโรงงาน หรือ งานช่างทัว่ ไป ราคาประหยัด ผลิตในประเทศ บริ การ จัดส่ง พร้ อมบิการจากทีมงานที่มีปรสิทธิภาพ

• พื ้นโต๊ ะไม้ ปิดผิวด้ วยฟอร์ ไมก้ า, ไม้ จริ ง, หรื อแผ่นเหล็ก • แผงแขวนอุปกรณ์ 3 ด้ านขนาดสูง 600 mm. • ตู้เหล็กขนาด 600x500x800 mm. พ่นสีพอ็ กซี่ • กล่องไฟคูพ่ ร้ อมสายดิน ขนาด19AMP.220V.1 PHASE แสงสว่าง FLUORESCENCE 18 WATT

ST-150

ขนาด: 1500x600x1400mm.

ST-180

ขนาด: 1800x600x1400mm.

TOOL HANGING RACK CABINET ตู้เก็บอุปกรณ์ ส�ำหรับแขวนเครื่ องมือช่าง, ตู้เก็บกล่อง อุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ ชิ น้ เล็ ก ที่ มี ห ลายขนาดเหมาะสมกับ ลักษณะงานทุกชนิดโครงสร้ าง ท�ำด้ วย เหล็กแผ่น พ่นสี แข็งแรง ตู้-ชั น้ เก็บเครื่ องมือช่ างแบบเคลื่ อนที่ มีล้อส�ำหรั บ เคลื่อนย้ ายได้ เพื่อสะดวกในการท�ำงานในพื ้นที่มีหลาย ขนาด ที่เหมาะสมกับลักษณะงานทุกชนิด

PTH 10565130 Part-tool hanging rack mix SIZE : 1050x650x1300 mm.

PRH 9030180

THC 9045145 ขนาด: 900x450x1450 mm. ท�ำด้ วย เหล็กแผ่นพ่นสีอีพ๊อกซี่ เจาะรูเพื่อแขวนอุปกรณ์มีหลาย ขนาดให้ เลือก

THC 903072

W/Stand wheel Tool hanging rack cabinet SIZE : 900x300x1800 mm. SIZE : 900x300x720 mm.

REF-753520 ตู้สูง Tool and part cabinet SIZE : 640x460x900 mm.

TS-6410 ขนาด: 640x460x900 mm. น�ำ้ หนัก 50 กก.

TS-858 ขนาด: 640x460x900 mm. น�ำ้ หนัก 39 กก.

ตู้เก็บอะไหล่ และเครื่ องมือต่ างๆ

จัดจ�ำหน่ ายโดย OFFICIAL EQUIPMENT MANUFACTURING CO.,LTD. บริษทั ออฟฟิ เชียล อีควิปเม้ นท์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด

70 หมู่7 ซอยเพชรเกษม 130 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลไร่ ขงิ อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 70 Moo7, Phetkasem Road Soi 130, T.Raikhing, A.Sampran, Nakornpathom 73210 Tel. : 0-2420-5999,0-2420-5021-2 Fax.: 0-2420-4997-8 E-mail :sales@official.co.th www.officail.co.th


& เปิดตัว Activity

ถังขยะพูดได้

นายเสริมสกุล คล้ายแก้ว (ที่ 2 จากขวา) ผู้ว่าการการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค พร้อมทีม 5 มหัศจรรย์ คนพันธุ์ PEA เปิดตัว “ZEWA ถังแยกขยะอัจฉริยะพูดได้” เพื่อปลุกจิตส�ำนึกให้ทุกคนหันมาใส่ใจ การแยกขยะก่อนทิ้ง สนองนโยบายขยะมูลฝอยเป็นวาระแห่งชาติ ณ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ส�ำนักงานใหญ่ เมื่อเร็ว ๆ นี้

เซสน่าส่งมอบเครื่องบินแก่กรมฝนหลวงฯ

บริษัท เซสน่า แอร์คราฟท์ จ�ำกัด (Cessna Aircraft) บริษัทในเครือ เท็กซ์ ตรอน เอวิเอชั่น อิงค์ (Textron Aviation Inc.) ท�ำการส่งมอบเครื่องบิน รุ่น เซสน่า แกรนด์ คาราวาน อีเอ็กซ์ (Cessna Grand Caravan EX) แบบเครื่องยนต์เดี่ยว จ�ำนวนสองล�ำให้แก่กรมฝนหลวงและการบินเกษตรภายใต้รัฐบาลไทย นับเป็นการ ส่งมอบเครือ่ งบินรุน่ นีเ้ ป็นครัง้ แรกในประเทศไทย กรมฝนหลวงและการบินเกษตรจะ ใช้งานเครื่องบินแกรนด์ คาราวาน อีเอ็กซ์ เพื่อบรรเทาภัยแล้งที่เกิดขึ้นซ�้ำ ๆ โดยการ รักษาปริมาณน�้ำฝนที่ตกลงมาและปริมาณน�้ำในแหล่งกักเก็บน�้ำทั่วประเทศ

เชลล์ มอบทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตและทักษะอาชีพ นายอัษฎา หะรินสุต (ขวา) ประธานกรรมการ บริษัท เชลล์แห่ง ประเทศไทย จ�ำกัด มอบเงินบริจาคจ�ำนวน 9 ล้านบาท ให้กับ นายมีชัย วีระไวทยะ (กลาง) ประธานโครงการและผู้ก่อตั้งโรงเรียนมีชัยพัฒนาน�ำไป ด�ำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและทักษะอาชีพ โดยมีโรงเรียนเป็น ศูนย์กลางการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ส�ำหรับชุมชน เน้นให้ครูเป็นนักพัฒนา สร้างเด็ก ไทยที่มีจิตสาธารณะ โดยเชลล์ได้เชิญชวนลูกค้ามาเติมน�้ำมันเชลล์เชื้อเพลิง ชนิดใดก็ได้ ณ สถานีบริการทั่วประเทศ ในวันที่ 27 พฤษภาคม เพื่อร่วม สนับสนุนกิจกรรม “วันเชลล์เติมสุข” คุณเติม 1 ลิตร เชลล์บริจาค 1 บาท โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ เน้นการบูรณาการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานเข้ากับการฝึกทักษะอาชีพทัง้ การเกษตรกรรมและความรู้ ทางธุรกิจ จะขยายไปยังนักเรียนผูส้ มควรได้รบั โอกาส ในโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ จังหวัดบุรรี มั ย์ หนองคาย และนักเรียนทีม่ คี วาม บกพร่องทางร่างกายและการเคลื่อนไหวในโรงเรียนศรีสังวาลย์ จังหวัดขอนแก่น เชียงใหม่ จ�ำนวน 4 โรงเรียนในเบื้องต้น ซึ่งได้มี การลงนามบันทึกความร่วมมือกัน เมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ณ อาคารรัฐสภา

>>>8

October-November 2015, Vol.42 No.243



&

Activity

กสอ. เปิดต้นแบบโรงงานสินค้าแฟชั่น

นางสาวนิสากร จึงเจริญธรรม รองอธิบดีกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม (ที่ 2 จากซ้าย) ร่วมเปิดตัวโรงงานต้นแบบทีป่ ระสบ ความส�ำเร็จ ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมแฟชัน่ สู่การเป็น Signature Brand of Thailand เพื่อสร้างความพร้อม อุตสาหกรรมแฟชั่นไทยปรับตัวโค้งสุดท้ายก่อนเปิด AEC เมื่อ เร็ว ๆ นี้ ณ บริษัท ยัมมี่อินเตอร์เทรด จ� ำกัด เขตยานนาวา กรุงเทพฯ

ฟูจิ ซีร็อกซ์ เปิดศูนย์ Integrated Customer Experience Center เมื่อเร็ว ๆ นี้ ทีมผู้บริหารระดับสูงของ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ เอเชีย แปซิฟิค จ�ำกัด น�ำโดย มร.มาซาชิ ฮอนดะ (กลาง) ร่วมเปิดศูนย์ Integrated Customer Experience Center แห่งใหม่ ที่อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อให้บริการลูกค้ากลุ่ม อุตสาหกรรมการพิมพ์ระดับนานาชาติ และน�ำเสนอนวัตกรรมทางด้านการพิมพ์ใหม่ ๆ ภายในศูนย์แห่งนี้ ประกอบด้วย ห้องสัมมนา ห้องประชุมย่อย และห้องท�ำงานส�ำหรับ ลูกค้าที่เข้ามาดูงานระบบบริหารจัดการการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ที่มีเทคโนโลยีและ นวัตกรรมที่ทันสมัยของฟูจิ ซีร็อกซ์

ฉลองครบรอบ 15 ปี

กลุ่มโรงงานบีเอ็มดับเบิลยู ประเทศไทย บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย น�ำโดย มร.เจฟฟรีย ์ กอดิอาโน กรรมการผูจ้ ดั การ จัดกิจกรรมเฉลิมฉลองความส�ำเร็จในการด�ำเนินงาน ด้านการผลิตครบรอบ 15 ปี ของโรงงานบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย ณ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดระยอง พร้อมประกาศการ ลงทุนเพิ่มอีก 1.1 พันล้านบาท เพิ่มเติมจากยอดการลงทุนที่ผ่านมา ทั้งสิ้นกว่า 2.6 พันล้านบาท ในการขยายพื้นที่ส�ำหรับการทดสอบเครื่องยนต์ต่าง ๆ ศูนย์ วิเคราะห์ทดสอบ รวมถึงพื้นที่ส�ำหรับการฝึกอบรมด้านอาชีวศึกษา ซึ่งจะท�ำให้ โรงงานแห่งนี้มีก�ำลังการผลิตได้สูงถึง 20,000 คันต่อปี ส�ำหรับรถยนต์ และ 10,000 คันต่อปี ส�ำหรับมอเตอร์ไซค์ อนึ่งโรงงานแห่งนี้เป็นโรงงานแรกและโรงงานเดียวในโลกที่สามารถผลิต ยนตกรรมหรู 3 แบรนด์ คือ บีเอ็มดับเบิลยู มินิ และบีเอ็มดับเบิลยู มอเตอร์ราด >>>10

October-November 2015, Vol.42 No.243


MTX_2015_EXH_ADS_8.5x11.5.indd 1

7/6/58 BE 5:00 PM




ใบสมัครสมาชิก รูปแบบ Magazine

Download Form: www.tpaemagazine.com

ในนาม

1 ป (12 ฉบับ) 790 บาท 2 ป (24 ฉบับ) 1,550 บาท เริม่ ฉบับเดือน (ระบุ) .............................

นิติบุคคล บุคคล สมัครสมาชิกใหม ตออายุ (ระบุรหัส) ..............................

จัดสงนิตยสารที่ ช�อ-นามสกุล...................................................................................................... ตำแหน�ง...................................................................... ฝาย/แผนก............................................. ช�อ (หน�วยงาน)........................................................................................................ ที่อยู......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................ รหัสไปรษณีย................................. โทรศัพท........................................................ ตอ..................... โทรสาร........................................................ E-mail (รับขาวสาร) .....................................................................

ระดับการศึกษา

ต่ำกวาปริญญาตรี

จัดสงใบเสร็จรับเงินที่

ปริญญาโท

ปริญญาตรี

จัดสงที่เดียวกับที่สงวารสาร

ปริญญาเอก

จัดสงตามที่อยูดานลาง

ตัวแทน / ผูรับใบเสร็จ (ช�อ-นามสกุล).......................................................................................................................................................... (สำหรับจาหนาซองลงทะเบียน) ที่อยูออกใบเสร็จ (หน�วยงาน)................................................................................................. ที่อยู....................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................

ทานทราบขอมูล-ขาวสาร จากที่ ใด

 เขาชมทางเว็บไซต (www.tpaemagazine.com)  บริษัทเปนสมาชิก ส.ส.ท.  รานคา ....................................  นิทรรศการตาง ๆ (Booth)งาน.......................................................................................................(ระบุ)  อ�น ๆ....................................................................................................................................................(ระบุ)

ประเภทธุรกิจที่ดำเนินการ กรุณาเลือกประเภทกิจการ

อุตสาหกรรมกาซ อุตสาหกรรมการจัดการเพ�อสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑกระดาษ อุตสาหกรรมแกรนิตและหินออน อุตสาหกรรมแกวและกระจก อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลการเกษตร อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลและโลหะการ อุตสาหกรรมเคร�องนุงหม อุตสาหกรรมเคร�องปรับอากาศและเคร�องทำความเย็น อุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต อุตสาหกรรมซอฟตแวร อุตสาหกรรมเซรามิกส

ผูผลิต ผูนำเขา อ�น ๆ (โปรดระบุ)

ผูสงออก

อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมน้ำตาล อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง อุตสาหกรรมผูผลิตไฟฟา อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมไมอัด ไมบาง และวัสดุแผน อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมยานยนต

ผูจัดจำหนาย

หนวยงานราชการ

อุตสาหกรรมเย�อและกระดาษ อุตสาหกรรมรองเทา อุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันปโตรเลียม อุตสาหกรรมโรงเล�อยและโรงอบไม อุตสาหกรรมสมุนไพร อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑหนัง อุตสาหกรรมหลังคาและอุปกรณ อุตสาหกรรมหัตถอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมอะลูมิเนียม อุตสาหกรรมอัญมณีและเคร�องประดับ อุตสาหกรรมอาหาร

วิธีการชำระเงิน เงินสด (กรณีชำระที่สมาคมฯ เทานั้น) โอนเงินเขาบัญชีธนาคาร ช�อบัญชี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 บัญชีสะสมทรัพย เลขที่บัญชี 172-0-239233 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 009-2-23325-3

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม หรือสงใบสมัครมาที่

เจาหนาที่ลูกคาสัมพันธสมาชิก ฝายธุรกิจสิ่งพิมพ ส.ส.ท.

PR_NW

สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 โทรศัพท 0-2258-0320-5 ตอ 1740 โทรสาร 0-2662-1096 หรือ E-mail maz_member@tpa.or.th


นิตยสาร

CREATIVE & IDEA KAIZEN

จัดโปรแรงส...ฉลองสูปที่ 10

สมาชิก 1 ป 790.-

SUBSCRIPTION CREATIVE & IDEA KAIZEN

รับเพิ่ม 3 ฉบับ (ฉบับยอนหลัง)

สมาชิก 2 ป 1,550.รับเพิ่ม 6 ฉบับ (ฉบับยอนหลัง) วิธีการชำระเงิน

 เช็คสั่งจายในนาม “สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)”  โอนเงิน เขาบัญชี ในนาม “สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)”  ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 เลขที่บัญชี 172-0-239233 บัญชีสะสมทรัพย  ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 เลขที่บัญชี 009-2-233-25-3 บัญชีออมทรัพย

ประเภท  บุคคล  นิติบุคคล | สมัครสมาชิก  1 ป  2 ป ขอมูลสมาชิก

ชื่อ-นามสกุล......................................................................................................... ตำแหนง.................................................. แผนก................................................... ชื่อบริษัท............................................................................................................... ที่อยู .................................................................................................................... ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ โทรศัพท........................................... ตอ........ โทรสาร........................................... Email ……………………………………………………..………………………........

ขอมูลออกใบเสร็จ

เลขที่ประจำตัวผูเสียภาษี (13 หลัก) ........................................................................ ชื่อบริษัท............................................................................................................... ที่อยู ..................................................................................................................... ตัวแทนรับใบเสร็จ (ชื่อ-นามสกุล)............................................................................ (ปองกันการสูญหายในการจัดสงใบเสร็จ)

ขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ เจาหนาที่งานสมาชิกสัมพันธ

โทรศัพท 0 2258 0320 ตอ 1740 (คุณจารุภา) โทรสาร 0 2662 1096 E-mail: maz_member@tpa.or.th


PROMOTION

JIS

ตั้งแตวันนี้ จนถึง สิ้นป 58

HANDBOOK Barcode: 9784542136946

HEAT TREATMENT-2014

Terms and Symbols / Methods for Processing / Tests and Measuring Methods / Tests and Measuring Equipments / Processing Materials

Price: 15,700.-

14,915฿ Barcode: 9784542137004

Ferrous Materials & Metallurgy I-2015

Terms / Qualification and Certification / Test Methods of Metallic / Materials / Test Methods of Steel / Raw Materials / Carbon and Alloy Steel for Machine Structural Use / Steel for Special Purpose / Clad Steel

Price: 12,825.-

% 5OFF Barcode: 9784542137035

Fasteners & Screw Threads-2015

Terms Designation and Drawing / Basics (General Use) / Components / Screw Threads Components (including Washers) for General Use

Price: 11,520.-

10,944฿ Barcode: 9784542137042

Piping-2015

Basics / Seals / Pipes / Pipe Fittings / Pipe Flanges / Valves

Price: 14,895.-

14,150.25฿

12,183.75฿ Barcode: 9784542137011

Barcode: 9784542137059

Steel Bars Sections Plates Sheets and Strip / Steel Tubular Products / Wire Rods and Their Secondary Products / Castings and Forgings

Basics / Shafts / Rolling Bearings / Sintered and Journal Bearings / Sprocket Roller Chains Belts / Springs / Seals

12,611.25฿

Price: 15,390.-

14,620.5฿

Barcode: 9784542137028

Barcode: 9784542137066

Ferrous Materials & Metallurgy II-2015 Price: 13,275.-

Non-Ferrous Metals & Metallurgy-2015

Test Methods of Metallic Materials / Inspection and Test Methods of Non-Ferrous Metals and Metallurgy / Raw Materials / Wrought Copper / Wrought Products of Aluminium and Aluminium Alloy / Wrought Products of Magnesium Alloy / Wrought Products of Lead and Lead Alloy / Wrought Products of Titanium and Titanium Alloy / Wrought Products of Other Metal / Powder Metallurgy / Castings

Machine Elements (excluding Fasteners & Screw Threads)-2015

Metal Surface Treatment-2015

Electroplating / Chemical Plating / Vacuum Plating / Thermal Spraying / Hot-dip Galvanizing / Anodic Oxidation Coating/ Surface Preparation of Steel Products

Price: 11,115.-

10,559.25฿

Price: 11,475.-

10,901.25฿

เง�อนไข เปนสมาชิก TPA Bookcentre หรือ ส.ส.ท. รับสวนลดพิเศษทันที 5% สอบถามขอมูลเพิ่มเติม คุณเอมชบา โทร. 02-258-0320 ตอ 1530 หรือ bec@tpa.or.th


&

Fluke Ex Series

เครื่องมือวัดและสอบเทียบกระบวนการ สำ�หรับพื้นที่ ไวต่อประกายไฟและการระเบิด

Cover Story

ฟลุค..โดยเมเชอร์โทรนิกซ์ มั่นใจบริการหลังการขาย

เครื่องมือที่ออกแบบมาเป็นการเฉพาะส�ำหรับการใช้งานในพื้นที่ไวต่อประกายไฟ โดยมีความปลอดภัยในตัว (intrinsically safe) สอดคล้องตามมาตรฐาน ATEX, NEC และ FM Intrinsically Safe

Fluke 1551A/1552A Ex เทอร์โมมิเตอร์แบบ “Stik”

Fluke 568 Ex อินฟราเรดเทอร์โมมิเตอร์

Fluke 28 II Ex ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ True-rms

Fluke 700G เกจวัดความดัน เที่ยงตรงสูง

Fluke 725Ex เครื่องสอบเทียบมัลติฟังก์ชัน Fluke 700P Ex Series โมดูลเสริมวัดความดัน

บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด www.measuretronix.com

Fluke 707 Ex Series เครื่องสอบเทียบหลูป

Fluke 718Ex เครื่องสอบเทียบ ความดันมีปั๊มในตัว

Fluke 721Ex เครื่องสอบเทียบ ความดัน 2 แชนเนล

www.measuretronix.com /intrinsically-safe

สนใจติดต่อ: คุณพลธร 08-1834-0034 คุณจิรายุ 08-3823-7933 คุณสิทธิโชค 08-4710-7667

Intrinsic Safety คืออะไร

“Intrinsically Safe” หรือ “ปลอดภัยจากสาเหตุการระเบิด” เป็นวิธีการป้องกันในบริเวณที่บรรยากาศโดยรอบมีโอกาสสูงที่จะเกิด การระเบิดได้อุปกรณ์ที่ได้รับการรับรองว่าปลอดภัยต่อการระเบิด หรือ “Intrinsically Safe” ถูกออกแบบมาโดยมีการจ�ำกัดการปลด ปล่อยพลังงาน ไม่ว่าโดยความร้อนหรือไฟฟ้าก็ตาม ให้ตำ�่ กว่าจุดระเบิดหรือจุดวาบไฟของก๊าซทีต่ ดิ ไฟได้ October-November 2015, Vol.42 No.243

17 <<<


&

Cover Story

มาตรฐาน I.S. จะใช้กับเครื่องมือทุกอย่างที่สามารถก่อให้ เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อการระเบิดเหล่านี้ ➠ ประกายไฟฟ้า (spark) ➠ ไฟฟ้าโดดข้าม (arcs) ➠ เปลวไฟ ➠ ความร้อนที่ผิว ➠ ไฟฟ้าสถิต ➠ กระจายสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ➠ ปฏิกิริยาเคมี ➠ การเสียดสีทางกล ➠ การจุดระเบิดจากการบีบอัด ➠ พลังงานทางเสียง ➠ การแพร่ประจุไฟฟ้าในอากาศ อุตสาหกรรมที่จ�ำเป็นต้องใช้เครื่องมือมาตรฐาน I.S. ➠ ปิโตรเคมี ➠ โรงกลั่นน�้ำมัน ➠ เภสัชกรรม ➠ ระบบท่อ ➠ สภาพแวดล้อมใด ๆ ทีม ่ แี ก๊สหรือไอทีต่ ดิ ไฟได้ปรากฏอยู่

พื้นที่อันตราย (hazardous area) ด้วย

องค์ประกอบ 3 อย่าง ที่จะท�ำให้เกิดการติดไฟ ประกอบ 1. วัสดุที่ติดไฟได้ (เช่น แก๊ส อนุภาค/ฝุ่น) 2. ออกซิเจน/อากาศ 3. แหล่งประกายไฟ

การรวมกันขององค์ประกอบเหล่านี้ พบได้เป็นปกติใน อุตสาหกรรมเคมี ปิโตรเคมี และเภสัชกรรม ตัวอย่างของวัสดุที่ ติดไฟได้ แสดงขนาดและปริมาณที่เป็นอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน ปริมาณต�่ำสุด ชนิดของสารติดไฟ ที่จะระเบิด (ปริมาตร %) Acetylene 2.3 Ethylene 2.3 Gasoline ~0.6 Benzol 1.2 Natural Gas 4.0(7.0) Heating Oil/Diesel ~0.6 Methane 4.4 Propane 1.7 Carbon Disulphide 0.6 Hydrogen 4.0

พื้นที่อันตรายเป็นพื้นที่ ที่มีโอกาสจะเกิดบรรยากาศที่ ท�ำให้ระเบิดได้จากการรวมกันของอากาศกับแก๊ส ไอ และฝุ่นที่ ติดไฟได้ การจัดแบ่งพื้นที่อันตรายจะสามารถจัดแบ่งได้ดังนี้ ZONE 2

ZONE 0

ZONE 1 ZONE 1

ZONE 0

>>>18

October-November 2015, Vol.42 No.243


&

Cover Story

Fluke Corporation ผู้ผลิตเครื่องมือวัดและทดสอบ ตลอดจนเครื่ อ งมื อ สอบเที ย บมาตรฐานที่ มี คุ ณ ภาพสู ง ซึ่ ง นอกจากเครือ่ งมือทีใ่ ช้งานในสภาพแวดล้อมทัว่ ไปแล้ว Fluke ยัง มี เครือ่ งมือทีอ่ อกแบบมาเป็นการเฉพาะส�ำหรับการใช้งานในพืน้ ที่ ไวต่อประกายไฟ โดยมีความปลอดภัยในตัว (intrinsically safe) สอดคล้องตามมาตรฐาน ATEX, NEC และ FM

ถูกบรรจุอยู่ใน DMM ที่แข็งแกร่งอย่างยิ่งเท่าที่ Fluke เคยผลิต ทนน�ำ้ ทนฝุน่ ทนตกกระแทก สามารถน�ำไปใช้ได้ทกุ สถานการณ์ ทั้งในและนอกพื้นที่อันตราย โดยยังคงมาตรฐานความแม่นย�ำ และสมรรถนะการวัดยอดเยี่ยม ด้วย Fluke 28 II Ex คุณไม่จ�ำเป็นต้องพกมัลติมิเตอร์ หลายตัวส�ำหรับใช้งานแต่ละพื้นที่อีกต่อไป ไม่ต้องกังวลกับการ เผลอถือเครื่องมือที่ไม่ใช่ Ex เข้าไปในพื้นที่อันตราย สามารถใช้ งานได้ที่อุณหภูมิ 5 ถึง 131 °F ความชื้น 95% และผ่านการ ทดสอบการตกกระแทกที่ความสูง 10 ฟุต แบตเตอรี่ใช้งานได้ ยาวนาน 400 ชั่วโมง ปุ่มกดมีไฟเรืองแสง จอแสดงผลใหญ่ ปรับ ความสว่างได้ 2 ระดับ ให้สอดคล้องกับสภาพแสง ช่วยให้คุณ ท�ำงานได้ตลอดวัน แม้สภาพแวดล้อมไม่อ�ำนวย Fluke 28 II Ex วัดแรงดันได้ 1000V กระแส 10A ทั้ง AC และ DC ให้ค่า True-rms ที่แม่นย�ำส�ำหรับสัญญาณ Nonlinear วัดความถี่ได้ 200 kHz วัด % Duty Cycle ส�ำหรับงาน VSD และ สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย วัดความต้านทาน วัดความน�ำไฟฟ้า วัดไดโอด วัดค่าความจุ และวัดอุณหภูมิได้สูงและแม่นย�ำ แสดง ค่าวัดบนจอแสดงผล LCD ขนาด 4-1/2 หลัก ด้วยความเทีย่ งตรง 20,000 Counts

ดิจิตอลมัลติมิเตอร์

เครื่องมือวัดอุณหภูมิ

Fluke 28 II Ex ดิจิตอลมัลติมิเตอร์

Fluke 568 Ex อินฟราเรดเทอร์โมมิเตอร์

เขตพื้นที่ อันตราย Zone 0 (Gas) Zone 20 (Dust) Zone 1 (Gas) Zone 21 (Dust) Zone 2 (Gas) Zone 22 (Dust)

ความเสี่ยง มีความเสี่ยงสูง บรรยากาศที่ท�ำให้ระเบิด ได้จะเกิดขึ้นต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน มีความเสี่ยงปานกลาง บรรยากาศที่ท�ำให้ ระเบิดได้จะเกิดขึ้นในช่วงการท�ำงานปกติ มีความเสีย่ งต�ำ่ บรรยากาศทีท่ ำ� ให้ระเบิด ได้จะเกิดขึ้นในช่วงเกิดความผิดปกติ

Fluke Ex Series เครื่องมือวัดและสอบเทียบกระบวนการ สำ�หรับพื้นที่ ไวต่อประกายไฟหรือการระเบิด

รุ่นทนทรหด สำ�หรับพื้นที่ ไวต่อประกายไฟ

ดิจิตอลมัลติมิเตอร์รุ่นเดียว ในปัจจุบันที่สามารถใช้งานได้ใน พื้นที่ไวไฟระดับ IIC (gas), Zone 1-2 และ IIIC (dust), Zone 21-22 ไม่ ว ่ า จะเป็ น สภาพแวดล้ อ มใน อุตสาหกรรมปิโตรเลียม อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมยา ซึง่ ความสามารถ ในการทดสอบและตรวจซ่อมทัง้ หมด

รุ่นปลอดภัยในตัว สำ�หรับพื้นที่ ไวต่อประกายไฟ

วัดอุณหภูมอิ ย่างปลอดภัย มัน่ ใจ ได้ทกุ สถานที่ ทุกสภาพ แวดล้อม

Fluke 568 Ex อินฟราเรดเทอร์โมมิเตอร์รุ่นปลอดภัยใน ตัวเอง เป็นเครือ่ งมือวัดทีค่ ณ ุ สามารถน�ำไปใช้งานในพืน้ ทีอ่ นั ตราย ต่อการระเบิด Class I Div 1 และ Div 2 หรือ Zone 1 และ 2 ได้ ทุกที่ในโลก ไม่ว่าจะเป็นงานอุตสาหกรรมปิโตรเลียม วัตถุเคมี น�้ำมันและแก๊ส หรืองานเภสัชกรรม Fluke 568 Ex ช่วยให้คุณ สามารถพกเครื่องมือที่ได้รับความเชื่อถือสูงสุด ไปใช้ในพื้นที่ อันตรายระดับ Ex Rated ได้ทั่วทุกหนแห่ง October-November 2015, Vol.42 No.243

19 <<<


&

Cover Story ด้วยส่วนติดต่อผูใ้ ช้ทตี่ รงไปตรงมา และมีซอฟต์คยี ์ Fluke 568 Ex ช่วยให้การวัดที่ซับซ้อนท�ำได้โดยง่าย การปรับค่า Emissivity บันทึกค่าวัด หรือเปิด-ปิดการแจ้งเตือน ท�ำได้รวดเร็วด้วย การกดปุ่มเพียงไม่กี่ครั้ง คุณสมบัติทั้งหมดนี้มีอยู่ในเครื่องมือรุ่น ปลอดภัยในตัว ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัยจาก หน่วยงานตรวจสอบที่ส�ำคัญทั่วโลก คุณสมบัติเด่น ออกแบบสอดคล้องกับสรีรศาสตร์ ใช้ง่าย ทนทาน Fluke 568 Ex ใช้ได้ดีกับสภาพแวดล้อมทารุณในงานอุตสาหกรรม ไฟฟ้าก�ำลัง และงานเครื่องจักรกล ➠ เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยในตัวส�ำหรับ พื้นที่อันตราย Class I Div 1 และ Div 2 หรือ Zone 1 และ 2 ➠ วัดอุณหภูมิได้ -40 °C ถึง 800 °C (-40 °F ถึง 1472 °F) ➠ มีกระเป๋านิรภัยบรรจุ IR เทอร์โมมิเตอร์ไปยังพื้นที่ อันตรายอย่างปลอดภัย ➠ การเข้าถึงการใช้งานขัน ้ สูงท�ำได้งา่ ยด้วยปุม่ ซอฟต์คยี ์ และจอแสดงผลกราฟิก ➠ วั ด อุ ณ หภู มิ วั ต ถุ ชิ้ น เล็ ก ๆ ได้ ไ กลกว่ า ด้ ว ยค่ า Distance-to-Spot Ratio ที่ 50:1 ➠ ใช้ได้กับโพรบวัดอุณหภูมิเทอร์โมคัปเปิ้ล K-type ที่มี ขั้วต่อแบบ Mini-connector ➠ วัดอุณหภูมขิ องทุกพืน ้ ผิวได้อย่างมัน่ ใจในความถูกต้อง ด้วยการปรับค่า Emissivity พร้อมตารางค่าชนิดวัสดุในตัว ➠ เก็บบันทึกค่าในตัวได้ 99 จุดวัด ➠ มั่นใจในงานตรวจวินิจฉัยปัญหา ด้วยความแม่นย�ำ การวัด ± 1%

และงานในสภาพแวดล้อมที่มีไอแก๊สไวไฟคลุ้งอยู่ที่พื้นหรือใน ไซต์งาน Fluke 1551A Ex/1552A Ex เป็นเทอร์โมมิเตอร์มาตรฐาน อ้างอิง หรือ Reference Thermometer ชนิดปลอดภัยต่อพื้นที่ ไวไฟ (intrinsically safe) ท�ำงานด้วยแบตเตอรี่ ออกแบบมาให้ สะดวกในการน�ำไปใช้ได้ทกุ จุดงานทีต่ อ้ งการทวนสอบเทียบหรือ ตรวจสอบขณะปฏิบัติงาน คุณสมบัติเด่น ➠ ความแม่นย�ำ ± 0.05°C (± 0.09°F) ตลอดช่วงวัด อุณหภูมิ ➠ ปลอดภัยต่อพื้นที่ไวไฟ (ตามมาตรฐาน ATEX และ IECEx) ➠ มี 2 รุ่นให้เลือก ช่วงอุณหภูมิ -50°C ถึง 160°C และ -80°C ถึง 300°C ➠ บอก Trend/Stability ของอุณหภูมิ ตั้งค่าได้ ➠ แสดงค่าอุณหภูมิในหน่วย °C และ °F ➠ เก็บบันทึกข้อมูล Data Logging ในหน่วยความจ�ำ ภายใน ➠ แบตเตอรี่ท�ำงานต่อเนื่อง 300 ชั่วโมง ➠ บอกเปอร์เซ็นต์แบตเตอรี่ เตือนเมื่อใกล้หมด ➠ มาพร้อม NVLAP-accredited และ NIST-traceable calibration

Fluke 1551A Ex/1552A Ex

Digital “Stik” Thermometer สำ�หรับงานสอบเทียบอุณหภูมิในพื้นที่ ไวต่อประกายไฟ (intrinsically safe)

รุน่ ใหม่ Fluke 721Ex ส�ำหรับใช้งานในพืน้ ทีไ่ วต่อประกาย ไฟและการระเบิด เป็นเครือ่ งสอบเทียบความดันความแม่นย�ำสูง ที่มีเซนเซอร์ความดันให้ใช้งาน 2 ช่อง ท�ำให้สามารถวัดความดัน ได้พร้อมกันทั้งความดัน Static และความดัน Differential ใน เครื่องเดียวกัน และวัดอุณหภูมิความเที่ยงตรงสูงได้ด้วย เหมาะ ส�ำหรับงานตรวจวัดและสอบเทียบการส่งมอบก๊าซธรรมชาติทาง ท่อ (custody transfer applications)

Fluke 1551A Ex/1552A Ex เป็นดิจิตอลเทอร์โมมิเตอร์ที่ออกแบบมาใช้งานทดแทนเทอร์โมมิเตอร์แบบ ปรอทแท่งแก้ว มีความแม่นย�ำสูงมากถึง ± 0.05 °C ตลอด ย่ า นวั ด โดยใช้ โ พรบก้ า นโลหะส� ำ หรั บ เสี ย บวั ด เพื่ อ การสอบเทียบอุณหภูมิ เหมาะกับการใช้ทั้งงานภาคสนาม >>>20

October-November 2015, Vol.42 No.243

เครื่องสอบเทียบกระบวนการ รุ่นใหม่ Fluke 721Ex เครื่องสอบเทียบความดัน 2 ช่อง ความแม่นยำ�สูง รุ่นสำ�หรับพื้นที่ ไวต่อประกายไฟและการระเบิด


&

Cover Story Fluke 721Ex สามารถจัดชุดความดันให้เหมาะกับการใช้ งานโดยการเลือกรุ่นเซนเซอร์ความดันด้านต�่ำ 16 PSI (1.1 bar) หรือ 36 psi (2.48 bar) และเลือกความดันด้านสูงได้อีก 7 ช่วง คือ 100, 300, 500, 1000, 1500, 3000 หรือ 5000 psi (6.9, 20, 24.5, 69, 103.4, 200, 345 bar) พร้อมชุด Test Pump Kit ทั้ง ชนิด Pneumatic และ Hydraulic ที่มีฟิตติ้งและคอนเน็กเตอร์ หลากหลายแบบมาให้ในชุด

คุณสมบัติเด่น ➠ ปลอดภัยต่อพื้นที่ไวต่อประกายไฟ มาตรฐาน IECEx และ ATEX EX ia IIB T3 Gb (Zone 1) ➠ เหมาะกับงานสอบเทียบการส่งก๊าซทางท่อ (custody transfer) ➠ มีชอ ่ งต่อเซนเซอร์ความดัน 2 ช่อง อิสระจากกัน ความ แม่นย�ำสูง 0.025% ➠ มีอินพุต Pt100 ส�ำหรับต่อกับโพรบวัดอุณหภูมิ RTD (อุปกรณ์เสริม) ➠ วัดสัญญาณ 4 - 20 mA ➠ มีจอแสดงผลขนาดใหญ่ พร้อมไฟทีจ่ อ แสดงค่าพร้อม กัน 3 พารามิเตอร์ ➠ เก็บบันทึกการตัง้ ค่าได้ 5 ชุด ส�ำหรับเรียกกลับมาใช้ได้ ทุกเมื่อทันที Temperature transducer

Pressure transducer

Flow Upstream pressure tapping DP cell and transmitter (secondary element)

Orifice plate assemble (primary element) Downstream pressure tapping

Flow Processor or computer

ตัวอย่างงานตรวจวัดปริมาณการส่งมอบก๊าซธรรมชาติทางท่อ (custody transfer applications)

Fluke 725Ex Multi Function Process Calibrator

เป็นรุน่ ท็อปของตระกูล Ex ของ Fluke สามารถสอบเทียบ ได้หลากหลายฟังก์ชันด้วย Fluke 725Ex เพียงตัวเดียวคุณก็ สามารถสอบเทียบเซนเซอร์ต่าง ๆ หรือทรานสมิตเตอร์ได้เกือบ ทุกชนิดได้อย่างง่ายดาย Fluke 725Ex สอบเที ย บได้ เ กื อ บทุ ก พารามิ เ ตอร์ ใ น กระบวนการผลิต และจ่าย mA, Volts, ค่าอุณหภูมิ (ของ RTD และเทอร์โมคัปเปิ้ล) ความถี่และความต้านทาน (ohms) และยัง วัดค่าความดัน (pressure) ได้อีกด้วย โดยท�ำงานร่วมกับโมดูล วัดความดัน จอแสดงผลขนาดใหญ่ที่แบ่งเป็น 2 ส่วน ให้ผู้ใช้เห็นค่า ทั้งอินพุตและเอาต์พุตได้พร้อมกัน เช่น การทดสอบวาล์วและ ทรานสมิตเตอร์ I/P เพียงจ่ายค่า mA ในขณะที่วัดความดันด้วย ได้พร้อมกัน Fluke 725Ex ยังมีฟังก์ชันจ่ายเอาท์พุตเป็นขั้นอัตโนมัติ หรือค่อยๆ เพิ่ม/ลดค่าทีละนิดและจ่ายเอาต์พุตเป็นขั้น ขั้นละ 25 % เพื่อทดสอบความลิเนียร์ของวาล์วหรืออื่น ๆ ได้อย่างรวดเร็ว คุณลักษณะพิเศษ ➠ ได้มาตรฐาน ATEX EX II IG EEx ia IIB 171 °C ➠ วัด จ่าย หรือจ�ำลองค่า Volts DC, mA, RTDs, Thermocouple ความถี่ และ Ohms ➠ ท�ำงานวัดและจ่ายได้พร้อมกันทั้งสองช่องสอบเทียบ ทรานสมิตเตอร์ได้อย่างง่ายดาย ➠ มี Loop Supply อยู่ภายในเครื่องส�ำหรับจ่ายให้กับ ทรานสมิตเตอร์ ➠ เก็บค่า Setup ทีใ่ ช้บอ ่ ย ๆ ได้ โดยไม่ตอ้ งมาตัง้ ค่าใหม่ ทุกครั้งที่ใช้เครื่อง ในกรณีใช้งานหลายคนและหลายงาน ➠ วั ด ความดั น ได้ ถึ ง 200 บาร์ และทดสอบสวิ ต ช์ ความดันได้ โดยใช้ Pressure Module ในแบบ Ex ของ Fluke ที่ มีเลือก 8 รุ่น October-November 2015, Vol.42 No.243

21 <<<


&

Cover Story ➠ ทดสอบ Pressure Switch ได้โดยจับค่า Set, Reset

และ Deadband ➠ ขนาดกะทัดรัดและน�้ำหนักเบา ➠ ใช้งานง่ายปุ่มต่าง ๆ เรียงตัวอย่างเหมาะสมต่อความ เข้าใจของคนทั่วไป ➠ แข็งแรง ทนทาน แม่นย�ำ เชือ ่ ถือได้ตามแบบฉบับของ Fluke เพื่องานสนามโดยเฉพาะ

Fluke 718Ex Pressure Calibrator

Fluke 707Ex Loop Calibrator

ส�ำหรับการสอบเทียบ Loop เพียงฟังก์ชันเดียว ในงานที่ ต้องใช้เครื่องมือที่เป็น Intrinsically Safe Fluke 707Ex เป็นตัว เลือกทีด่ ที สี่ ดุ ด้วยขนาดทีเ่ ล็กมากจนสามารถใส่ในกระเป๋าเสือ้ ได้ แต่บรรจุไว้ด้วยฟังก์ชันต่าง ๆ อย่างครบถ้วน ส�ำหรับการสอบ เทียบ Loop mA โดยจ่ายค่าได้สูงสุดถึง 24 โวลต์ และยังวัดค่า mA ได้พร้อมกันในขณะจ่ายด้วยความละเอียดถึง 1 µA ➠ ได้มาตรฐาน ATEX EX II2G EEx ia IIC T4 ➠ จอแสดงผลใหญ่อ่านง่ายเลือกฟังก์ชัน และปรับค่า ด้วยมือเดียว ง่าย รวดเร็วด้วยปุ่มหมุนและกดในตัวเดียวกัน ➠ อ่านค่า mA พร้อมกับเปอร์เซ็นต์ เข้าใจง่าย รวดเร็ว ไม่สับสน ➠ ความแม่นย�ำของ mA ดี ถึง 0.015% แม่นย�ำเพียงพอ ส�ำหรับสอบเทียบงานที่ละเอียดอ่อนมาก ๆ ➠ มีปม ุ่ กดเลือ่ นเอาต์พตุ ขัน้ ละ 25% ช่วยให้การวิเคราะห์ รวดเร็ว แม่นย�ำ โดยเฉพาะการตรวจสอบความลิเนียร์ ➠ มีฟังก์ชัน Span Check จ่ายค่าเพิ่มจาก 0 ถึง 100% อย่างต่อเนื่องขึ้นและลง เพื่อตรวจสอบค่า Zero และ Spa

>>>22

October-November 2015, Vol.42 No.243

ถ้าคุณเบื่อกับการพกเครื่องสอบเทียบความดัน และ Pressure Pump พะรุงพะรังเข้าไปสอบเทียบที่หน้างาน Fluke 718Ex ช่วยคุณได้ ด้วยเครื่องสอบเทียบที่รวม Pressure Pump เข้าไว้ในเครื่องเดียวตัดปัญหาสาย Pressure ลดความสับสนใน การท�ำงานลงได้มาก นอกจากนี้ยังได้งานมากกว่า ในขณะที่ พกพาเครื่องน้อยชิ้น และยังสอบเทียบได้สูงสุดถึง 200 บาร์ โดยท�ำงานร่วมกับ Pressure Module Fluke 70Pex Series ได้มาตรฐาน ATEX EX II IG EEx ia II C T4 ➠ มีปั๊มมือในตัวเป็นได้ทั้ง Pressure หรือ Vacuum พร้อมเวอร์เนียร์และบลีดวาล์ว ➠ วัดความดันได้ถึง 200 บาร์ โดยใช้โมดูลวัดความดัน ใน Fluke 700Pex Series ที่มีให้เลือกถึง 8 รุ่น ➠ ความแม่นย�ำในการวัดดีถึง 0.05% ของ Full Span โดยใช้เซนเซอร์ความดันภายใน ➠ มี ฟ ั ง ก์ ชั น ทดสอบสวิ ต ช์ ค วามดั น ด้ ว ย (pressure switch) ➠ ขนาดกะทัดรัดและน�้ำหนักเบา

Fluke 700PEx โมดูลวัดความดัน


&

Cover Story โมดูลวัดความดันของ Fluke ที่เป็น Intrinsically Safe ซึ่ง ใช้ได้กับทั้ง Fluke 725Ex Multi Function Process Calibrator และ Fluke 718Ex Pressure Calibrator ครอบคลุมย่านการใช้ งานที่เป็นที่นิยมใช้โดยทั่วไป จาก 0-25 มิลลิบาร์ ถึง 0-200 บาร์ อย่าลืมนึกถึง Pressure Module700PEx ของ Fluke เมือ่ ต้องการ ขยายขีดความสามารถของเครื่องสอบเทียบของท่าน ➠ ได้มาตรฐาน ATEX EX II 1 G EEx ia II C T4 ➠ ความแม่นย�ำสูงมากถึง 0.025 %

เครื่องมือวัดความดัน Fluke 700G Series

เกจวัดความดันความเที่ยงตรงสูงสำ�หรับงานสอบเทียบ

ใหม่ล่าสุด ขอแนะน�ำ Fluke 700G Series เกจวัดความ ดันความแม่นย�ำสูง เป็นสินค้าหมวดใหม่ของ Fluke ออกแบบมา เพือ่ การวัดและสอบเทียบเกจวัดความดันในกระบวนการผลิตได้ อย่างง่ายดาย มีขนาดช่วงความดันให้เลือกตั้งแต่ 15 psi จนถึง 10,000 psi ความแม่นย�ำ 0.05% พร้อมท�ำงานเป็น Data Logging ความดันได้ด้วย

Fluke 700G Series

Fluke-700PTPK ชุดคิตทดสอบ ความดันแบบนิวแมติก

สอบเทียบความดันได้สะดวก ง่ายดาย เกจวัดความดันความเทีย่ งตรงสูงรุน่ Fluke 700G มีความ สะดวกในการสอบเทียบเกจวัดความดันหรือสวิตช์ความดันใน ระบบได้ทนั ทีโดยไม่ตอ้ งถอดออก และเมือ่ ใช้กบั ชุดคิตปัม๊ ทดสอบ ความดัน ก็สามารถทดสอบและสอบเทียบเกจและสวิตช์ความ ดันได้อย่างคล่องตัว คุณสมบัติเด่น ➠ เป็นเกจวัดความดันที่มีความแม่นย�ำสูงถึง 0.05% คุณจึงเชื่อใจได้ในงานวัดและสอบเทียบความดัน ➠ ช่วงวัดความดันกว้างตั้งแต่ -14 psi และ 15 psi ถึง 10,000 psi มีช่วงความดันให้เลือกกว้าง เลือกได้ตรงกับการใช้ งาน จึงวัดได้ละเอียดแม่นย�ำ ➠ เก็ บ บั น ทึ ก ค่ า วั ด ได้ 8,000 ค่ า เมื่ อ ใช้ ร ่ ว มกั บ ซอฟต์แวร์ 700G/TRACK ส�ำหรับทดสอบการรั่วของความดัน หรือการวัดความดันระยะยาวในโรงงาน เก็บค่าวัดแล้วน�ำไป อัปโหลดยัง PC เพื่อการวิเคราะห์ต่อไป ➠ ใช้คู่ปั๊มความดันทดสอบหรือชุดคิต ● ปั๊มไฮดรอลิก Fluke-HTPK (ชุดคิต Hydraulic Test Pump) ● ปั๊มนิวแมติก Fluke-PTPK (ชุดคิต Pneumatic Test Pump) ● ปั๊มทดสอบที่มีอยู่ เมื่อใช้งานเกจ Fluke 700G ร่วมกับชุดคิตปั๊มทดสอบ ก็ จะกลายเป็นชุดทดสอบความดันและวัดความดันทีส่ มบูรณ์แบบ ➠ ทนทานและเชื่อถือได้ ทนทานสูง เพื่อการใช้งานที่ ยาวนาน ทั้งงานหนัก สกปรก ในพื้นที่งานจริง ➠ จอแสดงผลมีแสง อ่านค่าได้ง่ายในพื้นที่ท�ำงานที่มี แสงน้อย โดยไม่ต้องอาศัยแสงไฟอื่น ➠ มีตัวแปลงขั้วต่อจาก NPT¼ นิ้วไปเป็น ISO ¼ นิ้ว เพิม่ ความสะดวกในการต่อใช้งานกับอุปกรณ์ในระบบเมตริก โดย ไม่ต้องหาซื้ออะแดปเตอร์เพิ่มเติมเอง ➠ มี ใ บรั บ รองการสอบเที ย บย้ อ นกลั บ ได้ NIST ไม่ จ�ำเป็นต้องท�ำการรับรองการสอบเทียบเพิ่มเติมอีก ➠ แสดงค่าความดันในหน่วยต่างๆ กันได้ 18 อย่าง ตัง้ แต่ psi จนถึง bar, kPa และอืน่ ๆ สามารถปรับแต่งให้เหมาะ สมกับการวัดค่าในแต่ละพื้นที่หรือท้องถิ่นที่ใช้หน่วยความดัน เฉพาะ หรือตามความต้องการ ➠ ได้รับการรับรอง CSA และ ATEX ส�ำหรับใช้งานใน พื้นที่ไวต่อประกายไฟได้อย่างปลอดภัย

Fluke-700HTPK ชุดคิตทดสอบ ความดันแบบไฮดรอลิก October-November 2015, Vol.42 No.243

23 <<<


&

Cover Story Factory Mutual (FM) Factory Mutual Ex ป้องกันการระเบิดตามข้อก�ำหนด Research ทีบ่ ริหารโดย Factory Mutual (FM) เพิ่มเติมของยุโรป ia ชนิ ด ของการป้ อ งกั น จากการ ยั ง ไม่ มี ม าตรฐานและการรั บ รอง Global เป็นผู้ก�ำหนดแนวทางปฏิบัติที่ได้รับ Intrinsically Safe ในระดับสากล แต่มีหลาย การรับรองแก่เครือ่ งมือทีใ่ ช้งานในบรรยากาศ ระเบิ ด กรณี นี้ ใ ช้ วิ ธี ล ดระดั บ พลั ง งานใน อุปกรณ์ให้ต�่ำลงที่ค่าปลอดภัย หน่วยงานหรือองค์กรที่จัดท�ำข้อก�ำหนดใน ที่มีความเสี่ยงต่อการระเบิด IIC กลุ ่ ม แก๊ ส IIC หมายถึ ง แก๊ ส แต่ละภูมิภาค ดังนี้ อันตรายส่วนใหญ่ มาตรฐานที่นิยมใช้ T4 คลาสของอุณหภูมิ เป็นอุณหภูมิ Canadian Standards Association สูงสุดที่พื้นผิวที่เป็นไปได้ (CSA) เป็นหน่วยงานรับรองมาตรฐานทีบ่ งั คับ คลาส และ Marking อื่น ๆ ดูได้จาก ใช้ ส� ำ หรั บ อเมริ ก าเหนื อ อยู ่ ใ นโตรอนโต ตาราง ATEX (ยุโรป) ประเทศแคนาดา ATEX Marking Group Group I: electrical equipment for mining ZELM เป็นหน่วยงานรับรองมาตรฐาน I มาตรฐานข้อบังคับของสหภาพยุโรป Group II: electrical equipment for all II remaining hazardous areas 94/9/EC Directive หรือทีร่ จู้ กั กันในชือ่ ATEX ATEC ของยุโรป ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี ATEX Marking Zone KEMA เป็นหน่วยงานรับรองมาตรฐาน Gas Dust (Atmospheres Explosible) เป็นข้อบังคับ 0 20 Flammable material present continuously แรกที่ ใ ช้ กั บ ระบบและเครื่ อ งมื อ ในพื้ น ที่ มี ATEC ของยุโรป ที่ตั้งอยู่ในประเทศเนเธอร์1 21 Flammable material Present intermittently 22 Flammable material Present abnormally 2 บรรยากาศทีเ่ สีย่ งต่อการระเบิด เพือ่ รองรับใน แลนด์ ATEX Marking Group Gas, vapors, mist G ทิศทางเดียวกันกับความต้องการด้านสุขภาพ D Dust และความปลอดภัย และทดแทนกฎหมายเดิม ความหมายของ Class ต่าง ๆ ของ ATEX Classification of Zones เครื่องมือที่ได้การรับรองว่าเป็นไปตาม ATEX Marking Measures Taken ของแต่ละประเทศและในยุโรป Separation (oil immersion) ข้อบังคับนี้มีผลบังคับใช้กับเครื่องมือ ข้อก�ำหนดของ ATEX จะมีเครื่องหมายก�ำกับ oq Separation (powder filling) Separation (encapsulation) อิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า ส�ำหรับใช้ในสภาพ ที่เรียกว่า Mark ที่เป็นตัวระบุว่าได้ตามหลัก mp Exclusion (pressurized apparatus) Special mechanical construction แวดล้อมที่เสี่ยงต่อการระเบิดที่จ�ำหน่ายใน เกณฑ์ใดบ้าง เพือ่ ความเข้าใจความหมายของ d (flameproof enclosure) e Special mechanical construction สหภาพยุโรป ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. การรับรอง ตามรายละเอียดต่อไปนี้ (increased level of safety) Limitation of energy (incapable of causing ia 2546 มาตรฐานข้อบังคับ ATEX มีการน�ำไป ignition under normal operation and if one fault occurs or if a combination of any two ความหมายของ Marking ต่าง ๆ พัฒนาต่อเป็นข้อบังคับใช้อื่น ๆ ทั่วโลก faults occurs) Limitation of energy (unable to cause เครื่องมือส่วนใหญ่จะมีตรา หรือ ib the ignition of one substance during normal operation or in the event of one fault ) ประกอบด้วย CE Mark และตัวเลขรหัส ที่ s Other methods บอกถึงคุณสมบัตทิ สี่ อดคล้องกับ ATEX (0102 Type of Protection ส�ำหรับ ZELM และ 0344 ส�ำหรับ KEMA) NEC (สหรัฐอเมริกา) ATEX Marking Type of Gas Ignition Energy (µ ) I Methane 280 ส่วน เป็น Mark ของ ATEX ที่ใช้ IIA Propane >180 IIB Ethylene 60-180 National Electrical Code (NEC) เป็น ในยุโรป Hydrogen IIC > 60 ATEX certification for IIC Gases also includes types IIB, IIA and I gases. พื้นฐานของโค้ดทางไฟฟ้าทั้งหลายในสหรัฐExplosion Groups อเมริกา การจ�ำแนกผลิตภัณฑ์ส�ำหรับพื้นที่ ตัวอย่าง Fluke 707Ex ได้มาตรฐาน Surface Temperature II 2 G EEx ia IIC T4 T1 ATEX Marking 450Maximum อันตรายอยู่ในหัวข้อ NEC 500 และ 505 ข้อ ATEX °C II 2 G จัดอยู่ใน Zone II ส�ำหรับใช้ใน T2 300 °C บังคับตามการตีความของ NEC 500 มีการใช้ T3 200 °C ทัว่ โลกมานานแล้ว (นอกยุโรป) ส่วน NEC 505 พืน้ ทีท่ ไี่ ม่ใช่การท�ำเหมือง เลข 2 เป็นเครือ่ งมือ 171 °C 171 °C 135 °C T4 ส� ำ หรั บ พื้ น ที่ อั น ตรายระดั บ 2 ตั ว G T5 มีความคล้ายคลึงกับ ATEX 100 °C 85 °C หมายถึง บรรยากาศ ในกรณีนี้ คือ แก๊ส ไอ T6 ตัวอย่างองค์กรที่ดูแล Temperature Class และอื่น ๆ

องค์กรใดเป็นผู้จัดทำ�มาตรฐานของ Intrinsically Safe

J

สนใจติดต่อ: บริษทั เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกดั 2425/2 ถนนลาดพร้าว ระหว่างซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ์ 0-2514-0001, 0-2514-0003 เว็บไซต์: http://www.measuretronix.com อีเมล: info@measuretronix.com >>>24

October-November 2015, Vol.42 No.243


&

Special Scoop

Industry 4.0 ความท้าทายครัง้ ใหม่ของภาคอุตสาหกรรม

เรียบเรียงโดย: กองบรรณาธิการ

การ

พัฒนาอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยีด้านการสื่อสาร ไม่เพียงจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสไตล์การใช้ชีวิตของผู้คนบนโลกใบนี้เท่านั้น แต่เทคโนโลยี นี้ก�ำลังจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทายยิ่งในวงการธุรกิจอุตสาหกรรมไทยและอุตสาหกรรมโลก จนถึงขั้นที่เรียกว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งใหม่ หรือที่เรียกกันว่า Industry 4.0

ทำ�ความรูจ้ กั กับการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม

หากย้อนดูปูมหลังของการปฏิวัติอุตสาหกรรมในแต่ละยุคสมัย จะพบว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งแรก (Industry 1.0) เกิดขึ้นบนโลก ใบนี้ เมื่อประมาณ 250 ปีก่อน โดยในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 เจมส์ วัตต์ ได้ปรับปรุงและพัฒนาเครื่องจักรกลไอน�้ำนิโคแมนให้ใช้งานได้ดีขึ้น โดย ทั่วไปจะเข้าใจว่า เจมส์ วัตต์ เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องจักรไอน�้ำ แต่ความจริงแล้ว เขาเป็นเพียงคนต่อยอดและสร้างนวัตกรรมเครื่องจักรที่ช่วยให้ ประสิทธิภาพของการผลิตให้เพิ่มสูงขึ้น จึงเป็นที่มาว่า เขาเป็นจุดเริ่มต้นของยุคที่มีการน�ำเครื่องจักรมาช่วยในการผลิตนั่นเอง

October-November 2015, Vol.42 No.243

25 <<<


&

Special Scoop ส่วน การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมครัง้ ที่ 2 (Industry 2.0) เกิดขึน้ เมือ่ เฮนรี่ ฟอร์ด ได้นำ� ระบบ สายพานเข้ามาใช้ในโรงงานผลิตรถยนต์ ในปี พ.ศ.2456 ท�ำให้เกิดรถยนต์ “โมเดลที” ทีม่ จี ำ� นวน การผลิตมากถึง 15 ล้านคัน จนกระทั่งหยุดสายการผลิตไปในปี พ.ศ.2470 และเทคนิคการใช้ สายพานการผลิตในลักษณะเดียวกันนี้ได้รับการเผยแพร่ไปยังอุตสาหกรรมอื่น ๆ และปัจจุบัน เราก็ยังเห็นโรงงานอุตสาหกรรมจ�ำนวนมาก ใช้สายพานในการผลิต เพราะท�ำให้ประสิทธิภาพ ในการผลิตเพิ่มมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ทั้งยังส่งผลให้ต้นทุนการผลิตลดลง ท�ำให้ ยุคนี้เป็นยุคที่เกิดกระบวนการผลิต ที่เรียกว่า Mass Production หรือ ยุคของการผลิตสินค้า เหมือน ๆ กันเป็นจ�ำนวนมาก

อีกกว่า 40 ปีต่อมา การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 3 (Industry 3.0) ก็ได้เริ่มต้นขึ้น เป็น ผลมาจากยุคเริ่มต้นของคอมพิวเตอร์ที่เข้ามาช่วยในงานอุตสาหกรรม ตั้งแต่ พ.ศ.2513 ท�ำให้ เกิดสายการผลิตทีแ่ ต่เดิมใช้แรงงานคน ให้เป็นแบบอัตโนมัตมิ ากขึน้ จนทุกวันนีแ้ ทบจะทุกโรงงาน ต่างต้องมีระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ หรือกึ่งอัตโนมัติเข้าไปช่วยในการผลิต ท�ำให้นอกจากจะ ผลิตสินค้าได้จ�ำนวนมากขึ้น เร็วขึ้นแล้ว ยังท�ำให้ผลิตสินค้าที่มีความละเอียด ซับซ้อนได้ดีขึ้น และราคาถูกลง

ส�ำหรับการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้ง ที่ 4 (Industry 4.0) ทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ และคาด การณ์วา่ จะกินระยะเวลายาวนานถึง 20 ปี คือ การน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลและอินเทอร์เน็ต มา ใช้ในกระบวนการผลิตสินค้า จุดเด่นที่ส�ำคัญ อย่างหนึง่ คือ การเชือ่ มโยงความต้องการของ ผู้บริโภคแต่ละรายเข้ากับกระบวนการผลิต สิ น ค้ า ได้ โ ดยตรง ความแตกต่ า งระหว่ า ง อุตสาหกรรมยุค 3.0 กับ 4.0 คือ โรงงานยุค 3.0 สามารถผลิตสินค้าแบบเดียวกันจ�ำนวน มากในเวลาพริบตาเดียว แต่โรงงานยุค 4.0 จะสามารถผลิตสินค้าได้หลากหลายรูปแบบ แตกต่างกัน (ตามความต้องการเฉพาะของ ผู้บริโภคแต่ละราย) เป็นจ�ำนวนมากในเวลา พริ บ ตาเดี ย ว โดยใช้ ก ระบวนการผลิ ต ที่ ประหยัดและมีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยี ดิจิทัลครบวงจรแบบ “Smart Factory”

จะเกิดอะไรขึ้น เมื่อก้าวเข้าสู่การปฏิวัติ อุตสาหกรรม ครัง้ ที่ 4

Industry 4.0 (ภาษาเยอรมัน เขียนว่า Industrie 4.0) เป็นค�ำทีถ่ กู บัญญัตขิ นึ้ ครัง้ แรก โดย Professor Wolfgang Wahlster

>>>26

October-November 2015, Vol.42 No.243


&

Special Scoop

กรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ ศูนย์วิจัยประดิษฐ์เยอรมนี ในปี พ.ศ.2554 และเป็ น ครั้ ง แรกที่ ป ระเทศเยอรมนี โดย Angela Markel หัวหน้ารัฐบาลได้ประกาศ ปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในยุคที่ 4 เป็นประเทศแรก ของโลก และได้เปิดตัว High-Tech Strategy 2020 ซึง่ ในนัน้ เองจะมี Industrie 4.0 เป็นหนึง่ ในสิบของโครงการในอนาคตที่ทางรัฐบาล เยอรมนีจะลงทุน โดยมีเป้าหมายอยู่ที่ท�ำให้ ประเทศเป็นผูน้ ำ� เทคโนโลยีทสี่ ำ� คัญเพือ่ เสริม สร้างความสามารถในการแข่งขันทั้งด้าน เศรษฐกิจและเทคโนโลยี ในแนวคิดเดียวกันนี้ ที่สหรัฐอเมริกา ใช้คำ� ว่า “The Internet of Things” (IoT) คือ การท�ำให้ทุก ๆ กระบวนการ ทุก ๆ กิจกรรม ตลอดห่วงโซ่อุปทานสามารถเชื่อมต่อกันได้ ด้านเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ยกตัวอย่าง การมีระบบ ป้อนข้อมูลให้เครื่องจักรสามารถผลิตสิ่งของ ตามสัง่ (ออนไลน์) จากผูบ้ ริโภคโดยตรง การใส่ ตัวส่งข้อมูลในเครือ่ งใช้ไฟฟ้า เพือ่ ประมวลสถิติ การใช้และแจ้ง (โดยอัตโนมัติ) กลับไปยัง โรงงานเมื่อเกิดปัญหาทางเทคนิค หรือแม้แต่ ในทางการแพทย์ การใช้คอมพิวเตอร์จิ๋วให้ ผู้บริโภคกลืนเข้าไปเพื่อเก็บข้อมูลสุขภาพใน ร่างกาย ด้านประเทศจีน ก็ตอบรับแนวคิดนี้ เช่นกัน แม้ว่าภาคอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ยัง

เป็น Industry 2.0 คือ ใช้เครื่องจักรผสมกับ แรงงานคนจ�ำนวนมหาศาล แต่ด้วยข้อจ�ำกัด ค่าแรงงานทีเ่ พิม่ สูงขึน้ นอกจากนีป้ ระเทศจีน มีความพยายามยกระดับภาคอุตสาหกรรม จึงได้ประกาศยุทธศาสตร์ “Made in China 2025” โดยมีแนวคิดว่า ในปี ค.ศ.2025 (พ.ศ. 2568) สินค้า Made in China จะเป็นสินค้า ไฮเทคชัน้ แนวหน้าของโลก ไม่ใช่สนิ ค้าคุณภาพ ต�ำ่ ราคาถูกทีเ่ คยติดตาผูค้ นทัว่ โลกเช่นในอดีต ส�ำหรับประเทศไทย นโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) ก็ก�ำลังได้รับ การขับเคลื่อนโดยภาครัฐและเอกชนที่เน้น การขยายเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้

ครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อส่งเสริม E-Commerce, E-Documents และ E-Learning เพื่อให้ไทยก้าวเป็นผู้น�ำเศรษฐกิจดิจิทัลใน ภูมิภาคอาเซียน จะเห็นได้วา่ Industry 4.0 เป็นแนวคิด ที่ใหม่มาก แต่ไม่ใช่สิ่งใหม่ ความท้าทาย ที่น่าสนใจของยุคนี้ คือ จะท�ำอย่างไรให้เกิด การผสมผสานเทคโนโลยีทมี่ อี ยูใ่ ห้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด และสามารถตอบรับความต้องการ ของตลาด การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งนี้ อาจ จะไม่กอ่ ให้เกิดนวัตกรรมทีย่ งิ่ ใหญ่เหมือนการ ปฏิวัติอุตสาหกรรมทั้ง 3 ครั้งที่ผ่านมา แต่มัน จะส่งผลกระทบในวงกว้างมาก

October-November 2015, Vol.42 No.243

27 <<<


&

Special Scoop เรียนรู้ ตัง้ รับ และปรับตัว

ดร.กมลพรรณ แสงมหาชัย ผูอ้ ำ� นวย การศูนย์การจัดการพลังงานและเทคโนโลยี แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นท่านหนึง่ ที่ติดตามกระแสและความเคลื่อนไหวของ การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมครัง้ นีอ้ ย่างใกล้ชดิ ให้ ข้อมูลที่น่าสนใจว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคที่ 4 จะมี การพัฒนาทีเ่ หนือกว่าการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ในยุคที่ 3 (การปฏิวัติดิจิทัล) ซึ่งเน้นบทบาท ของเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ที่ มี ต ่ อ สภาพเศรษฐกิ จ การเงิ น การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและก� ำ ลั ง การผลิ ต ในภาค อุตสาหกรรม การทีอ่ ตุ สาหกรรมคอมพิวเตอร์ ท�ำให้เกิดอุตสาหกรรมเทคโนโลยีขนั้ สูง (high tech industry) อื่น ๆ อาทิ อุตสาหกรรมทาง ด้านชีวภาพและพันธุกรรม เทคโนโลยีด้าน วัสดุศาสตร์ในระดับนาโน หรือการปฏิวัติที่

เหนือกว่าอุตสาหกรรมในยุคที่ 2 ทีเ่ น้นการผลิตสินค้าปริมาณมาก ๆ โดยเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่อาศัยพลังงานจากไฟฟ้า การเกิดอุตสาหกรรมจ�ำพวกอุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมการแปรรูปวัตถุดิบด้านการเกษตร และอุตสาหกรรมการทหารและการผลิตอาวุธ ยุทโธปกรณ์

▲ ภาพ การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุคต่าง ๆ

คุณลักษณะของอุตสาหกรรมในยุคที่ 4

การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมในยุคที่ 4 นัน้ มีแนวคิดที่เป็นพื้นฐานหรือหลักการพื้นฐาน ที่ เ ป็ น สิ่ ง จ� ำ แนกความแตกต่ า งระหว่ า ง อุตสาหกรรมในยุคที่ 4 และอุตสาหกรรม ยุคอื่น ๆ ดังนี้ 1. ความสามารถในการท� ำ งาน ร่ ว มกั น ระหว่ า งมนุ ษ ย์ แ ละเครื่ อ งจั ก ร (interoperability) กล่าวคือ อุตสาหกรรม ในยุคนี้จะเน้นที่การท�ำงานร่วมกันอย่างไร้ รอยต่อระหว่างมนุษย์และเครื่องจักร และ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันในกระบวนการผลิต โดยทั้งสองฝ่ายอาศัยการติดต่อสื่อสารกัน ผ่านเทคโนโลยีที่เรียกว่า Internet of Things (IoT) 2. การทีก่ ระบวนการผลิตสามารถ มองเห็นได้อย่างชัดเจนจากภาพ เสมือน ของโรงงาน (virtualization) โดยที่ภาพ เสมือนของโรงงานจะถูกสร้างขึ้นโดยการ จ� ำ ลองกระบวนการผลิ ต อย่ า งละเอี ย ดที่ ▼ ดร.กมลพรรณ แสงมหาชัย

ผู้อ�ำนวยการศูนย์การจัดการพลังงานและเทคโนโลยี แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ >>>28

October-November 2015, Vol.42 No.243

เชือ่ มโยงผ่านอุปกรณ์เซนเซอร์อจั ฉริยะต่าง ๆ ทีต่ ดิ อยูก่ บั เครือ่ งจักรอุปกรณ์ในกระบวนการ ผลิต เพื่อท�ำให้รูปแบบการผลิตเป็นระบบ อัตโนมัติ โดยภาพเสมือนของโรงงานนี้ท�ำ ให้เกิดการมองเห็นกระบวนการผลิตอย่าง ชัดเจนผ่านระบบที่เรียกว่า Cyber-Physical Systems (CPS) 3. รูปแบบการควบคุมแบบกระจาย อ� ำ นาจ (decentralization) ซึ่งเป็นความ สามารถของระบบ CPS ที่ท�ำให้บุคลากรใน โรงงานสามารถตั ด สิ น ใจได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว การกระจายอ�ำนาจการตัดสินใจนี้จึงท�ำให้ เกิดการควบคุมเครื่องจักรและเกิดการแก้ไข ปัญหาได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง 4. ความสามารถแบบทั น เวลา (real-time capability) เป็นความสามารถหนึง่ ของกระบวนการผลิตทีส่ ามารถท�ำให้เกิดการ ตัดสินใจแบบทันท่วงที โดยผ่านระบบการ สื่ อ สารผ่ า นทางระบบเครื อ ข่ า ย ซึ่ ง ท� ำ ให้ อุตสาหกรรมในยุคนี้ลดภาระด้านการเก็บ


&

Special Scoop สินค้าคงคลัง หรือสินค้าที่ผลิตได้ระหว่าง กระบวนการ สามารถลดของเสีย และเวลา ว่างของเครื่องจักรลงได้ 5. รูปแบบทีเ่ น้นการบริการ (service orientation) คือ การน�ำรูปแบบการบริการของ ระบบสารสนเทศที่เราเรียกว่า Internet of Services (IoS) มาใช้ในการควบคุม การตรวจสอบ การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากเซนเซอร์ อัจฉริยะต่าง ๆ โดยการบริการดังกล่าวจะเน้น ที่ความสามารถของระบบในการผลิตสินค้า เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคใน แต่ละบุคคล เกิดกระบวนการผลิตที่ยืดหยุ่น (flexible manufacturing systems) 6. ความสามารถในการแยกส่วน (modularity) เป็นคุณลักษณะเฉพาะของ กระบวนการผลิตทีย่ ดื หยุน่ โดยทีก่ ระบวนการ ผลิตสามารถแยกส่วนออกจากกันได้ เพื่อ ท�ำลายความซับซ้อนของระบบหรือกระบวนการผลิตขนาดใหญ่ หรือกระบวนการต่อเนือ่ ง ระยะยาวลง เพือ่ ท�ำให้สามารถบริหารจัดการ ได้งา่ ยขึน้ ความสามารถในการแยกส่วนนีย้ งั หมายถึ ง การที่ โ รงงานสามารถที่ จ ะปรั บ เปลี่ยนเครื่องจักร หรือกระบวนการผลิตให้ สามารถตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภค ที่หลากหลายอย่างรวดเร็วขึ้นได้ จากคุ ณ ลั ก ษณะของการปฏิ วั ติ อุตสาหกรรมในยุคที่ 4 ดังกล่าวจะเห็นได้ว่า โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพที่ส�ำคัญของ ระบบอุตสาหกรรม หรือโดยทัว่ ไป คือ โรงงาน อัจฉริยะ (intelligent factory) ประกอบด้วย 3 ประการ คือ 1. Cyber-Physical Systems (CPS) หมายถึง ลักษณะของการเชื่อมโยงระหว่าง เครื่องจักรกล กับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (เช่น เซนเซอร์อัจฉริยะ) เพื่อที่จะท�ำการส่ง ผ่าน ถ่ายทอด และจัดเก็บข้อมูลลักษณะ กายภาพของการท�ำงานของเครื่องจักรกล CPS จะท�ำการเชือ่ มโยงอุปกรณ์ทางกายภาพ ต่าง ๆ ผ่านเครือข่ายของเซนเซอร์อัจฉริยะ เพือ่ ทีจ่ ะท�ำให้อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ เหล่านัน้ สามารถ สือ่ สารกันได้ และมีการท�ำงานทีส่ อดประสาน กันมากขึน้ ตลอดจนการแจ้งผลแบบทันเวลา (real-time) ผ่านทางหน้าจอของระบบโรงงาน

เสมือนรูปแบบที่เกี่ยวข้องของระบบ CPS ที่ เห็นกันในปัจจุบัน มีมากมายหลายลักษณะ เช่น Machine-to-Machine (M2M), HumanMachine Interactions (HMI), HumanRobot Collaboration (HRC) และระบบ Smart Grid 2. Internet of Things (IoT) เป็น อุ ป กรณ์ ฮ าร์ ด แวร์ ที่ ท� ำ หน้ า ที่ เ ชื่ อ มโยง สิ่งต่าง ๆ เข้าหากันโดยผ่านทางเครือข่าย อินเทอร์เน็ต โดยอาจท�ำการส่งสัญญาณ รับ สัญญาณ หรือทัง้ สองอย่าง โดยแต่ละอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์อาจมีการปล่อยหรือรับสัญญาณ ระยะสั้ น หรื อ ระยะยาว แล้ ว แต่ ช นิ ด ของ อุปกรณ์ อุปกรณ์นี้มีพื้นฐานของเทคโนโลยีที่ เรียกว่า เซนเซอร์อัจฉริยะ (smart sensors) ซึ่งในปัจจุบันมีอยู่มากมาย นับหมื่น ๆ ชนิด โดยเซนเซอร์ อั จ ฉริ ย ะนี้ จ ะท� ำ หน้ า ที่ ห ลาย ประการ อาทิ ติดตามพฤติกรรม (tracking) รายงานสภาพแวดล้ อ ม (awareness) วิ เ คราะห์ เ บื้ อ งต้ น เพื่ อ ช่ ว ยการตั ด สิ น ใจ

(analytic) ตรวจวัด (measure) ควบคุมการ ท�ำงาน (control) สนองตอบแบบอัตโนมัติ (automatic response) และอื่น ๆ 3. Internet of Service (IoS) เป็น แนวคิดของการน�ำระบบโครงข่ายอินเทอร์เน็ต และการน�ำซอฟต์แวร์มาใช้ในการให้บริการ หรือทีเ่ รียกว่า Software-as-a-Service (SaaS) เพือ่ ท�ำให้เกิดการให้บริการพืน้ ฐานด้านข้อมูล ข่าวสาร ความเชือ่ มโยง และการวิเคราะห์เพือ่ ตั ด สิ น ใจต่ า ง ๆ ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การเพิ่ ม ประสิทธิภาพ ลดระยะเวลา และต้นทุนของ การด� ำ เนิ น งานต่ า ง ๆ โดย IoS จะเน้ น โครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ระบบการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (cloud computing) ซึง่ เป็นลักษณะโครงสร้าง พื้นฐานด้านการให้บริการระบบสารสนเทศ และการสื่อสารที่ได้รับความส�ำคัญมากใน ปัจจุบัน และการรองรับปรากฏการณ์ Big Data ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น หลั ง จากการน� ำ ระบบ อัจฉริยะมาใช้งาน

▲ ภาพ อธิบายโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพที่สำ�คัญ 3 ประการ ของ Industry 4.0

October-November 2015, Vol.42 No.243

29 <<<


&

Special Scoop ประเทศไทยกับการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ครัง้ ที่ 4

ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ มี ก าร พั ฒ นาด้ า นอุ ต สาหกรรมที่ มี พื้ น ฐานด้ า น การเกษตร ผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป อาหาร สิ่ ง ทอและเครื่ อ งนุ ่ ง ห่ ม พลาสติ ก และ เคมีภัณฑ์ ตลอดจนชิ้นส่วนยานยนต์และ อิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก ซึ่งในกระบวนการ ผลิตของอุตสาหกรรมดังกล่าว จะเน้นการใช้ เครื่องจักรและแรงงานคนแบบผสมผสาน เพื่อผลิตสินค้าในปริมาณมาก แต่มีความ หลากหลายต�่ำ ในจ�ำนวนนีอ้ ตุ สาหกรรมบางประเภท จะอยูร่ ะหว่างการเริม่ น�ำเทคโนโลยีสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ในขณะที่บาง อุตสาหกรรมก็มกี ารน�ำเทคโนโลยีดงั กล่าวมา ใช้งานได้นานพอสมควร ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ในประเทศไทยจะอยู่ ในช่วงของการพัฒนาเพื่อที่จะเปลี่ยนผ่าน จากอุตสาหกรรมในยุคปฏิวัติ ครั้งที่ 2 ไปสู่ ครั้งที่ 3 ในอนาคตอันใกล้ อย่างไรก็ดี หากพิจารณาถึงศักยภาพ ในการพัฒนาไปยังยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ครัง้ ที่ 4 ยังถือว่ามีขอ้ จ�ำกัดอยูม่ ากมายหลาย ประการ ได้ แ ก่ ปั ญ หาด้ า นการพั ฒ นา เทคโนโลยี ใ นประเทศ ปั ญ หาด้ า นการ ขาดแคลนแรงงานที่มีความรู้ความสามารถ ปัญหาด้านคุณภาพด้านการศึกษาซึ่งเป็น รากฐานส�ำคัญในการผลิตบุคลากรทีม่ ที กั ษะ สูง ปัญหาด้านค่าแรงที่มีราคาสูง ไม่สอดคล้องกับคุณภาพของแรงงานในปัจจุบันซึ่ง ท� ำ ให้ โ รงงานอุ ต สาหกรรมหลายแห่ ง ไม่ สามารถเพิ่มผลผลิตหรือเพิ่มประสิทธิภาพ ได้อย่างที่ควรจะเป็น และแบกรับต้นทุนที่สูง เกินความเป็นจริง ดังที่กล่าวมานี้ถือว่า เป็น อุปสรรคส�ำคัญต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมใน อนาคต อย่างไรก็ดี จากการวิเคราะห์ศักยภาพด้ า นการแข่ ง ขั น ของประเทศ พบว่ า ประเทศไทยมีโอกาสทีจ่ ะก้าวไปสูอ่ ตุ สาหกรรม ในยุ ค ที่ 4 ได้ เนื่ อ งจากประเทศไทยและ คนไทยมีลักษณะในการยอมรับเทคโนโลยี ค่อนข้างสูงและมีการเรียนรูก้ ารน�ำเทคโนโลยี >>>30

October-November 2015, Vol.42 No.243

ไปใช้ค่อนข้างดี ซึ่งระดับการยอมรับเทคโนโลยีและการถ่ายทอดองค์ความรู้นี้ จะท�ำให้ เกิดการเพิ่มขึ้นของระดับความพร้อมด้าน เทคโนโลยีของประเทศ (technology readiness) กล่าวคือ เกิดการลงทุนด้านโครงสร้าง พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการ บริการระบบสารสนเทศที่หลากหลายเพื่อ รองรับการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและ เทคโนโลยีอื่น ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอด จนคุณสมบัติของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ อุตสาหกรรมในยุคที่ 4 นัน้ มีลกั ษณะของการ ก้าวกระโดดได้ (leap frog) หมายถึง การทีเ่ รา ไม่จ�ำเป็นต้องพัฒนาเทคโนโลยีทีละขั้นตอน เพื่ อ เข้ า สู ่ จุ ด มุ ่ ง หมาย หากแต่ เ ทคโนโลยี ดังกล่าวสามารถน�ำมาใช้และสร้างให้เกิดการ เปลีย่ นแปลงกระบวนการการผลิตได้ทนั ทีแต่ จะต้องอาศัยการวางแผนและการออกแบบ กระบวนการผลิตในรูปแบบใหม่อย่างรัดกุม โดยผู้เชี่ยวชาญ โอกาสที่ส�ำคัญอีกประการส�ำหรับ อุตสาหกรรมไทย ได้แก่ การที่เทคโนโลยี พื้นฐานดังกล่าวในอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4 จะ เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เป็นหลัก ซึ่งเทคโนโลยีดังกล่าวมีลักษณะ ส�ำคัญ คือ ราคาจะลดต�ำ่ ลงกว่าร้อยละ 50 ใน ทุก ๆ 2 ปี ตามกฎของมัวร์ (Moore’s Law) ซึง่ เป็นโอกาสส�ำคัญที่อุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดเล็ก (SMEs) ซึง่ เป็นอุตสาหกรรมที่ มีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 90 ของอุตสาหกรรม ทั้งหมดของประเทศ และเป็นอุตสาหกรรม พื้นฐานที่ส�ำคัญ สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี ดังกล่าวได้ในอีก 1-2 ปีขา้ งหน้า การออกแบบ ระบบการผลิตแบบแยกส่วน (modularity) ยั ง เป็ น อี ก ลั ก ษณะส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ โ รงงาน อุตสาหกรรมสามารถเลือกทีจ่ ะพัฒนาเฉพาะ ส่วนที่ตนเองเห็นว่าส�ำคัญก่อนได้ เพื่อก้าวสู่ การเป็นโรงงานอัจฉริยะแบบบางส่วน (partial automated factory) อัตราการยอมรับเทคโนโลยี (rate of adoption) ทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมยุคที่ 4 จะเป็นไปแบบก้าวกระโดดในอนาคต เช่น เดียวกันกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สาร เช่น สมาร์ทโฟน (Smart Phone) และ

คอมพิวเตอร์แทบเล็ต (Tablet Computer) เนื่องจากเทคโนโลยีดังกล่าวเป็นเทคโนโลยีที่ ได้รับการพิสูจน์แล้ว (proven technology) ว่ามีความสามารถในการน�ำไปใช้ได้อย่างเต็ม ประสิทธิภาพ การยอมรั บ เทคโนโลยี ใ นอุ ต สาหกรรมยุคที่ 4 นี้เอง หากประเทศที่เป็นต้น ก�ำเนิดสามารถท�ำให้การพัฒนาประสบความ ส�ำเร็จแล้ว หรือหากในประเทศมีการน�ำไป ใช้ได้ส�ำเร็จแล้ว จะเกิดการลอกเลียนแบบ และต่อยอดการพัฒนา (copy & develop) รูปแบบในการด�ำเนินธุรกิจอย่างรวดเร็วไปยัง ที่อื่น ๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่สามารถคาดการณ์ได้ เช่ น เดี ย วกั บ เทคโนโลยี ส ารสนเทศและ คอมพิวเตอร์ได้ ทัง้ หมดทีก่ ล่าวมานี้ ถือว่าเป็นโอกาส ของประเทศไทยทีจ่ ะได้มกี ารพัฒนาอย่างก้าว กระโดดด้านอุตสาหกรรม หากแต่ประเทศ ต้ อ งเตรี ย มความพร้ อ มอย่ า งจริ ง จั ง โดย เฉพาะการผลิตบุคลากร นักวิจยั และแรงงาน ที่ มี ค วามรู ้ พื้ น ฐานด้ า นเทคโนโลยี แ ละ กระบวนการผลิต ซึ่งจะท�ำให้ประเทศไทย สามารถก้าวสูป่ ระเทศอุตสาหกรรมในอนาคต ได้อย่างมั่นคง หากแต่วันนี้ อุตสาหกรรมไทย พร้อมหรือยัง ที่จะเรียนรู้ ตั้งรับ และปรับตัว กับการเปลี่ยนแปลงที่ก�ำลังมาถึงนี้ ภาพประกอบและข้อมูลเพิม่ เติม 1. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2. www.bangkokbiznews.com/blog/ detail/633958 3. ภาพประกอบจาก Maxim Integrated


&

Special Talk

อุตกับสาหกรรมไทย การเตรียมความพร้อมเข้าสูย่ คุ ดิจทิ ลั

กองบรรณาธิการ

นโยบาย

เศรษฐกิจดิจิทัล (digital economy) ที่รัฐบาลยุคปัจจุบันก� ำลังผลักดันอยู่นี้ นับเป็นจุดส�ำคัญที่จะน�ำประเทศไทยผ่านเข้าสู่สังคมยุคใหม่ ที่มีอินเทอร์เน็ตเป็นกลไกขับเคลื่อนที่ส�ำคัญ โดยเครื่องมือที่จะท�ำให้ประเทศไทยก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัลได้ส�ำเร็จ เราจ�ำเป็นจะต้องมีโครงข่าย โทรคมนาคมความเร็วสูงหรือบรอดแบนด์ ทั้งโครงข่ายภาคพื้นดิน และโครงข่ายไร้สายอย่าง 3G และ 4G LTE ที่สามารถเชื่อมต่อข้อมูลขนาดใหญ่ให้ครอบคลุม ทั่วประเทศบนมาตรฐานความปลอดภัยและการเชื่อมต่อข้อมูล เพื่อให้คุณภาพและราคาค่าบริการอยู่บนมาตรฐานเดียวกัน หากประเทศไทยสามารถด�ำเนินนโยบาย บรอดแบนด์ให้ครอบคลุมพื้นที่ จากร้อยละ 52 ในปี พ.ศ.2558 เป็นร้อยละ 133 ภายในปี พ.ศ.2563 คาดว่าจะท�ำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) มีมูลค่า สู ง ขึ้ น กว่ า 2,300 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ หรือประมาณ 730,000 ล้านบาท

ขณะ

เดียวกันรัฐบาลได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลไว้ 5 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความมั่นคง ปลอดภัย และความเชื่อมั่นในการท�ำธุรกรรมด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพือ่ ส่งเสริมการให้บริการ โดยเร่งยกระดับการให้บริการ e-Government ยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริมและสนับสนุน ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ โดยรัฐจะกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยการสร้างระบบนิเวศดิจิทัลอย่างครบวงจร น�ำไปสู่การแข่งขัน เชิงสร้างคุณค่าของสินค้าและบริการ และยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างสังคมดิจิทัล เพื่อสังคมและทรัพยากร ความรู้ โดยพัฒนาข้อมูลข่าวสารและบริการของรัฐต่าง ๆ ให้เอื้ออ�ำนวยต่อคนทุกระดับอย่างทั่วถึง ดังทีก่ ล่าวมาข้างต้น เป็นความพยายามของฟากฝัง่ ภาครัฐผูก้ ำ� หนดนโยบายในการทีจ่ ะวางโครงสร้าง พื้นฐาน (infrastructure) ไว้รองรับเศรษฐกิจดิจิทัล ด้านกลุ่มผู้ประกอบการ โดยเฉพาะสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ก็ได้มกี ารด�ำเนินการทีส่ อดประสานกับนโยบายภาครัฐ โดยเฉพาะเรือ่ งการส่งเสริม

คุณศักดิ์ณรงค์ แสงสง่าพงศ์

ประธานสถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (สอท.)

October-November 2015, Vol.42 No.243

31 <<<


&

Special Talk ให้ผปู้ ระกอบการรูจ้ กั และใช้ดจิ ทิ ลั เป็นเครือ่ ง มือในการด�ำเนินธุรกิจ คุ ณ ศั ก ดิ์ ณ รงค์ แสงสง่ า พงศ์ ประธานสถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สารเพือ่ อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (สอท.) ให้สัมภาษณ์พิเศษ กับทีมงานนิตยสาร ถึงการด�ำเนินงานของ สถาบันฯ ที่จะช่วยให้ผู้ประกอบการโลดแล่น ในโลกธุรกิจแบบไร้ขีดจ�ำกัด ด้วยเทคโนโลยี ดิจิทัล “เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล เป็ น นโยบายที่ สภาอุ ต สาหกรรมเห็ น ด้ ว ยเป็ น อย่ า งยิ่ ง ” คุณศักดิ์ณรงค์ เปิดประเด็น พร้อมอธิบาย ต่อว่า “เพราะ คือ การวางรากฐานโครงสร้าง พื้นฐานที่ส�ำคัญของประเทศ ไม่ใช่เฉพาะ ประเทศไทยเท่านัน้ ทีใ่ ห้ความส�ำคัญในเรือ่ งนี้ แต่ทุกประเทศทั่วโลกก�ำลังขับเคลื่อนไปใน ทิศทางเดียวกันนี้เช่นกัน” สิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมา คือ ช่องว่าง และการแบ่งชนชั้นระหว่างประเทศพัฒนา แล้วกับประเทศทีก่ ำ� ลังพัฒนาจะลดลง ขึน้ อยู่ กับความพร้อมของแต่ละประเทศ จะเกิดการ แข่งขันที่เป็นธรรมมากขึ้น บริษัทขนาดใหญ่ อดีตอาจได้เปรียบ แต่ปจั จุบนั ความใหญ่อาจ เป็นอุปสรรคทางการแข่งขัน เพราะธุรกิจเริ่ม

>>>32

October-November 2015, Vol.42 No.243

จะแข่งขันกันที่ความเร็ว บริษัทเล็กสามารถ ช่วงชิงความได้เปรียบกับบริษัทใหญ่ได้ด้วย ความไว และมีความยืดหยุ่น (flexible) ที่ มากกว่า เนือ่ งจากในปัจจุบนั มีชอ่ งทางในการ สือ่ สารและเข้าถึงผูบ้ ริโภคได้หลากหลายช่อง ทาง โดยเฉพาะ e-Commerce จะช่วยให้ ผู้ผลิตกับผู้บริโภคใกล้ชิดกันมากขึ้น ในขณะ ที่ภาคราชการ มีระบบ e-Bidding ที่เปิด โอกาสให้ทกุ คนทีส่ นใจสามารถเข้าไปแข่งขัน

ได้อย่างโปร่งใสและเป็นธรรม นอกจากนี้ เทคโนโลยีการสือ่ สาร ยังท�ำให้ตลาดกว้างขึน้ และเราสามารถเชื่อมตลาดของเรากับตลาด โลกได้เพียงพลิกฝ่ามือ ด้วย e-Commerce สิ่งที่สถาบันฯ อยากให้เกิดขึ้นในประเทศ คือ e-Commerce แบบไทย เช่ น เดี ย วกั บ ที่ ประเทศจีน มี Alibaba และสหรัฐอเมริกา มี Amazon และ eBay สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยสถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารเพื่ออุตสาหกรรม ได้ด�ำเนินการสร้าง พอร์ทัล e-Commerce ชื่อ www.FTIebusiness.com มาได้สักระยะหนึ่งแล้ว วัตถุประสงค์เพื่อเป็นที่ที่ให้สมาชิกเข้ามาศึกษา เรี ย นรู ้ แ ละใช้ ง านอี ค อมเมิ ร ์ ช เพื่ อ ให้ เ กิ ด ทักษะ ความคุ้นชินในการท�ำธุรกิจออนไลน์ ขณะเดียวกันเอสเอ็มอีสามารถใช้ช่องทางนี้ ในการจัดจ�ำหน่ายสินค้าได้ด้วย อย่างไรก็ตาม การสร้างตลาดใหม่ จ�ำเป็นจะต้องสร้างความต้องการ (demand) ให้เกิดขึ้นก่อน โดยได้เชิญชวนสมาชิกสภา อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นบริษัทขนาดใหญ่ให้มา เป็ น พี่ เ ลี้ ย ง และเป็ น ผู ้ ซื้ อ ให้ ม าลงความ ต้องการไว้ ด้วยวิธนี จี้ ะเปิดโอกาสให้เอสเอ็มอี สามารถค้ า ขายกั บ บริ ษั ท ขนาดใหญ่ ไ ด้ ปัจจุบันมีสมาชิกที่ผ่านการอบรมแล้วกว่า 300 คน มีบริษัทอยู่ในพอร์ทัลกว่า 1,000 บริษัท


&

Special Talk

“สิ่งที่คาดหวัง คือ อีคอมเมิร์ชจะเป็น ช่องทางให้ผปู้ ระกอบการท�ำการซือ้ ขายกันได้ กว้างขวางขึ้น และเข้าถึงลูกค้าได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ แล้ ว ยั ง หวั ง ผลต่ อ เนื่ อ งให้ เ กิ ด e-Supply Chain กล่าวคือ ไม่เพียงการซือ้ ขาย สินค้าทัว่ ไป ในอนาคตอาจจะเปิดให้มกี ารซือ้ ขายวัตถุดิบ (raw material) ที่จะน�ำไปผลิต เป็นสินค้าต่อไป นอกจากนีส้ งิ่ ทีส่ ถาบันฯ จะด�ำเนินการ ในล�ำดับถัดไป เมื่อภาครัฐบาล และธนาคาร แห่งประเทศไทยขึน้ ระบบ e-Payment Gateway ส�ำเร็จ ก็สามารถน�ำพอร์ทัลดังกล่าวไป เชือ่ มต่อได้ จะท�ำให้ระบบการซือ้ ขายออนไลน์ ครบวงจรมากขึ้น เมือ่ วงจรครบสมบูรณ์ ผูป้ ระกอบการ ที่อยู่ในพอร์ทัลก็จะไปกับเราในทุก ๆ ที่ เช่น เราเชื่อมกับหน่วยงานรัฐอื่น ๆ หรือเชื่อมกับ โลกธุรกิจนอกประเทศ เขาก็จะไปกับเรา เป็น โอกาสใหม่ของผูป้ ระกอบการจะไปโชว์สนิ ค้า และบริการของเราให้ลูกค้าทั้งในและต่าง ประเทศได้รู้จัก นอกจากนี้ทางสถาบันฯ ยัง มีแผนที่จะเชื่อมกับกรมบัญชีกลาง เพื่อท�ำ e-Market Place และ e-Catalog จะท�ำให้ สมาชิกสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าราชการได้

สะดวกขึ้น ผมเชื่อว่า นี่จะเป็นช่องทางที่จะ ช่วยเอสเอ็มอีขยายตลาดได้อย่างเห็นผลที่ ชัดเจนขึ้น” คุณศักดิ์ณรงค์ กล่าว นอกจากโครงการ e-Commerce แล้ว สถาบันยังมีความพยายามทีจ่ ะสร้างมิติ ใหม่ให้กับการซื้อขายออนไลน์ด้วยการสร้าง ความน่าเชือ่ ถือให้กบั ผูซ้ อื้ ทีผ่ า่ นมาผูซ้ อื้ ผ่าน ระบบออนไลน์มักประสบปัญหาว่าสินค้าไม่ ตรงตามทีต่ อ้ งการ เนือ่ งจากสินค้านัน้ ๆ ไม่มี รหัสมาตรฐานที่จะใช้อ้างอิง ที่สภาอุตสาหกรรม มีสถาบันรหัส สากล (GS1) ท�ำหน้าที่ก�ำหนดเลขหมายบาร์

โค้ดมาตรฐาน GS1 System และเลขรหัส สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Product Code: EPC) ที่เป็นมาตรฐานโลก (global standard) ให้กบั สินค้าทีผ่ ลิตในประเทศไทย เมื่อท�ำให้สินค้าทุกชิ้นมีรหัสแล้ว ก็สามารถ ขายในตลาดอีคอมเมิร์ชได้ สร้างความมั่นใจ ให้ลูกค้าว่าจะได้รับสินค้าที่ถูกต้องและตรง กับความต้องการ และยังเป็นการยกระดับการ ซื้อขายออนไลน์ให้มีความน่าเชื่อถือมากขึ้น อีกโครงการหนึ่งที่สภาอุตสาหกรรม ผลักดันอย่างมาก คือ e-Invoice กับ e-Tax Invoice เพือ่ ให้ครบวงจรทัง้ กระบวนการ และ

October-November 2015, Vol.42 No.243

33 <<<


&

Special Talk มีมาตรฐานเดียวกัน ขณะนี้ทางกรมบัญชี กลาง และส� ำ นั ก งานพั ฒ นาธุ ร กรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ก�ำลังด�ำเนิน การเรื่องนี้อยู่เช่นกัน จากกิจกรรมทีก่ ล่าวมาข้างต้นจะเห็น ว่า ประเทศไทยให้ความส�ำคัญกับกระบวนการปลายน�้ำ ขณะที่กระบวนการต้นน�้ำ คือ การผลิต ยังคงต้องการการผลักดันเช่นกัน “เมื่อตลาดเคลื่อนเข้าสู่ระบบดิจิทัล แล้ว จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่โรงงานจะต้องปรับตัว วันนี้พื้นฐานการผลิตยังคงพึ่งพาเทคโนโลยี แบบเก่า แต่เมื่อใดก็ตามที่ค่าแรง และเทคโนโลยีการผลิตล้าสมัย การลงทุนใหม่ ๆ จะ เกิดขึน้ ประจวบเหมาะกับกระแส Internet of Thing (IoT) ก�ำลังมา อุปกรณ์ที่จะผลิตขึ้นใน ยุคนี้ จะสามาถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้หมด การผลิตแบบ On Demand จะเข้ามา เพราะ ดิจทิ ลั จะช่วยให้คณ ุ รูค้ วามต้องการของตลาด และผลิตสินค้าในปริมาณที่เพียงพอส�ำหรับ การจ�ำหน่าย จุดนี้เองที่ทางภาคอุตสาหกรรมจะ ต้องมีการปรับตัว แต่การปรับตัวในครั้งนี้จะ ต้องได้รับความช่วยเหลือจากภาครัฐ โดย เฉพาะอุตสาหกรรมในระดับกลางถึงเล็ก ทีย่ งั ไม่มีศักยภาพเพียงพอที่จะท�ำได้เอง ทั้งใน เรื่องเงินลงทุน ความรู้ รัฐบาลจะต้องมียุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกันทุกกระทรวง เพื่อยก ระดับอุตสาหกรรมไทยขึ้นมา ต่อไปเราต้อง เป็น Knowledge Base Economy เราไม่

>>>34

October-November 2015, Vol.42 No.243

สามารถใช้แรงงานราคาถูกในการผลิตสินค้า ได้อีกต่อไป นี่คือทางที่เราต้องก้าวเดินต่อไป เราต้องยกระดับการผลิตของเราขึ้นมา ผลิต สินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มสูง (value added) เป็น ผลิตภัณฑ์ทมี่ นี วัตกรรม และเป็นผลิตภัณฑ์ที่ สามารถแข่งขันได้” คุณศักดิ์ณรงค์ กล่าว อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ท้าทายส�ำหรับ ภาครัฐและผู้ประกอบการ คือ จะท�ำอย่างไร ภาพต่าง ๆ ที่วางไว้จะกลายเป็นจริงได้ รัฐคือ กลไกส�ำคัญในการแก้ไขปัญหา แต่ไม่ใช่ ทั้งหมด ผู้ประกอบการต้องช่วยเหลือตัวเอง ด้วย การลงทุนของภาครัฐในครัง้ นี้ คือการวาง รากฐานส�ำหรับระบบเศรษฐกิจไทยในยุคหน้า และเป็นการวางฐานรากส�ำหรับอุตสาหกรรม ไทยในอนาคต ที่ยังต้องอาศัยความร่วมมือ จากทุกภาคส่วน

ปัจจุบันภาคเอกชนถูกบีบคั้นหลาย ทางให้ตอ้ งปรับตัว วันนีภ้ าพทีเ่ กิดขึน้ อาจจะยัง มองไม่ชัด แต่หากชัดเจนขึ้นเราจะเห็นการ เปลีย่ นแปลง ตัวอย่างทีเ่ กิดขึน้ เช่น ในประเทศ จีน อินเทอร์เน็ตท�ำให้วิถีชีวิตชาวจีนเปลี่ยน ธุรกิจบางประเภทก�ำลังจะล่มสลาย นั่นก็คือ ห้างสรรพสินค้ารายใหญ่ ๆ อย่างน้อย 2 แห่ง ในเมืองจีนปิดตัวลง เพราะคนจีนไม่เดินห้าง แต่ หั น มาซื้ อ ของผ่ า นอิ น เทอร์ เ น็ ต ขณะที่ ประเทศไทยเรายังมีห้างสรรพสินค้าเปิดใหม่ เกิดขึน้ มากมาย เพราะเรายังไปไม่ถงึ จุด ๆ นัน้ เนื่องจากยังไม่ไว้ใจ และเชื่อใจระบบการซื้อ ขายผ่านอินเทอร์เน็ต แต่ทปี่ ระเทศจีนเขาก้าว ข้ามจุดนีไ้ ปแล้ว และเราก็ตอ้ งก้าวตาม การที่ เราก้าวช้า ไม่ได้ความว่าล้าหลัง แต่เราจะเสีย เปรียบ ในเรื่องประสบการณ์และความกว้าง ของมันที่เราจะไปได้ช้ากว่า ซึ่งสภาอุตสาหกรรม ได้พยายามผลักดันตลอดเวลา ไม่วา่ จะเป็นเรื่องโครงสร้างพื้นฐาน หรือ ระบบ e-Commerce ทีเ่ ราสนับสนุนให้สมาชิกเข้ามา เรียนรูว้ ธิ กี ารใช้งาน เพือ่ ให้มปี ระสบการณ์และ เกิดความเคยชิน ในช่วงท้ายของการพูดคุย คุณศักดิ์ณรงค์ ฝากข้อคิดมายังผู้ประกอบการว่า อันดับแรกผู้ประกอบการต้องรู้จักประเมินตัว เอง ประเมินลูกค้า และประเมินเทรนด์ใน อนาคต เพือ่ ใช้ในการวางแผนรับมือกับสิง่ ทีจ่ ะ เกิดขึน้ สิง่ ทีท่ า้ ทาย คือ การตัดสินใจทีถ่ กู ต้อง ของผูป้ ระกอบการทีจ่ ะเป็นตัวก�ำหนดอนาคต ของธุรกิจอย่างแท้จริง


&

Research

เปิดประสบการณ์ใหม่ ที่ กองบรรณาธิการ

Big Data

เป็ น หนึ่ ง ในเทรนด์ เ ทคโนโลยี ที่ มี ก ารคาดการณ์ ว ่ า จะเข้ า มามี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการเป็ น เครื่ อ งมื อ ขั บ เคลื่ อ นขี ด ความสามารถทาง การแข่ ง ขั น ขององค์ ก รธุ ร กิ จ Big Data เป็ น ทรั พ ยากรที่ เ กิ ด ขึ้ น ในยุ ค ที่ ร ะบบอิ น เทอร์ เ น็ ต ก� ำ ลั ง เฟื ่ อ งฟู ไม่ ว ่ า จะเป็ น ข้ อ ความ ภาพ หรือเสียง เราสามารถน�ำสิ่งเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ในเชิงธุรกิจได้ทั้งสิ้น แต่จะใช้อย่างไร นั่นคือ ค�ำถามที่เกิดขึ้น

Big

Data Technology มีข้อดีที่เอื้อประโยชน์ต่อการแข่งขันในเชิงธุรกิจ แต่อย่างไร ก็ตาม การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดงั กล่าวยังไม่เป็นทีก่ ระจ่างเท่าใดนัก องค์กร หลายแห่งสนใจ แต่ยังมีข้อข้องใจหลายประการ เช่น จะเริ่มอย่างไร และจะน�ำมาใช้ประโยชน์ อย่างไรได้บ้าง และมีเทคโนโลยีอะไรที่จะมารองรับการใช้งาน Big Data ได้อย่างเต็ม ประสิทธิภาพบ้าง รวมถึงบุคลากรที่มีทักษะความช�ำนาญในการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่นี้ คือใคร และเขาเหล่านั้นอยู่ที่ไหน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) เชื่อว่า ทักษะความสามารถและ ประสบการณ์ทางด้านเทคโนโลยี Big Data สามารถพัฒนาได้ด้วยการศึกษา ด้วยเหตุนี้จึงมี การสร้างชุมชนเพื่ออธิบาย ศึกษา และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี Big Data โดย ร่วมมือกับภาคเอกชน จัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีบิ๊กดาต้า (Big Data eXperience Center) หรือ BX Center ขึ้น October-November 2015, Vol.42 No.243

35 <<<


&

Research

▼ คุณนาถ ลิ่วเจริญ

ประธานกรรมการบริหาร กลุ่มบริษัทจีเอเบิล

▼ รศ.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน

อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ที่มาของ BX Center

รศ.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กล่าวว่า มจธ. มีภารกิจหลัก คือ การพัฒนา ก� ำ ลั ง คน โดยเฉพาะด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี รวมถึงงานวิจัยเพื่อการประยุกต์ ใช้ แ ละการสร้ า งนวั ต กรรม เพื่ อ ยกระดั บ พันธกิจด้านงานบริการภาคอุตสาหกรรม และเพื่อเป็นการขยับขยายบริการสู่สังคม ภายนอกได้เปิดวิทยาเขตซิตี้แคมปัส ที่เรียก ว่า “Knowledge Exchange Center” หรือ ศูนย์ KX ตั้งอยู่ใจกลางย่านธุรกิจระหว่าง สถานีบที เี อสกรุงธนบุรแี ละวงเวียนใหญ่ โดย ได้สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ�ำนวยต่อการ ถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ แ ละกระตุ ้ น ให้ เ กิ ด ยุคสมัยแห่งความคิดและนวัตกรรม เป็น สถานที่ที่ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม องค์กรภาครัฐ เอกชน ตลอดจนผู้ให้บริการ ด้านองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีใช้เป็นสถานทีใ่ นการพบปะและน�ำเสนอสิง่ ทีต่ นเองมีและ พร้อมให้การสนับสนุนแก่ผู้อื่น เพื่อสร้าง ความร่วมมือและพันธมิตรด้วยนวัตกรรม ตลอดจนวัฒนธรรมของการเป็นผู้ประกอบ การ ส� ำ หรั บ Big Data eXperience Center หรือ BX ก็เป็นหนึ่งศูนย์ที่ตั้งอยู่ ภายในศูนย์ KX เช่นกัน จัดตั้งขึ้นโดยความ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรีและกลุ่มบริษัทจีเอเบิล เพื่อใช้เป็นสถานที่บริการด้าน Big Data อย่างครบวงจร >>>36

October-November 2015, Vol.42 No.243

ความร่วมมือระหว่างภาคการศึกษากับ เอกชน

คุณนาถ ลิว่ เจริญ ประธานกรรมการ บริหาร กลุ่มบริษัทจีเอเบิล กล่าวถึงความ ร่ ว มมื อ ดั ง กล่ า วว่ า ยุ ค นี้ เ ป็ น ยุ ค ที่ ก ารใช้ โซเชียลมีเดียเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันมี ผูใ้ ช้งานผ่าน Mobile Device มากกว่า 8,000 ล้านเครื่องทั่วโลก และแต่ละวันมีการแชร์ ข้อมูลผ่านเฟซบุ๊กมากกว่า 500 เทระไบต์ (TB) มีคนกดไลน์ในเฟซบุ๊กมากกว่า 2,700 ล้านไลค์ และมีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นกว่า 10 เท่าในทุก ๆ 5 ปี นอกจากนี้ รู ป ภาพและวี ดี โ อเพิ่ ม จ�ำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จัดว่า เป็นอภิมหาข้อมูลที่องค์กรต่าง ๆ สามารถ น�ำมาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อน�ำมาใช้ประโยชน์ ในเชิ ง ธุ ร กิ จ ทั้ ง ในเรื่ อ งพฤติ ก รรมของ ผู้บริโภค ความคิดเห็นเกี่ยวกับแบรนด์ หรือ ใช้เป็นข้อมูลในการประเมินสถานการณ์ ล่วงหน้าที่อาจส่งผลกระทบต่อองค์กร

ดั ง นั้ น การเลื อ กใช้ เ ทคโนโลยี ที่ เหมาะสมมาวิเคราะห์ขอ้ มูล เป็นสิง่ ทีไ่ ม่ควร มองข้าม อาจกล่าวได้ว่า การน�ำ Big Data มาใช้ เป็นเรื่องของการวางยุทธศาสตร์ของ ภาคธุรกิจว่า จะเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และน�ำข้อมูลมาใช้กบั กระบวนการทางธุรกิจ ได้อย่างไร ท�ำให้องค์กรต่าง ๆ เริ่มให้ความ สนใจ ในการน�ำมาวิเคราะห์ในเชิงลึก ที่จะ ช่วยให้องค์กรมีความเข้าใจ สามารถตอบ สนองและปรั บ เปลี่ ย นกลยุ ท ธ์ ไ ด้ อ ย่ า ง ทันท่วงที “กลุ ่ ม บริ ษั ท จี เ อเบิ ล มองเห็ น แนว ทางที่จะท�ำให้ Big Data เป็นส่วนส�ำคัญใน การช่วยผลักดันธุรกิจและการเตรียมความ พร้อมเข้าสูก่ ารเปิดประชาคมอาเซียน (AEC) ตลอดจนการเตรี ย มโครงสร้ า งพื้ น ฐานสู ่ เศรษฐกิจดิจทิ ลั อันจะน�ำมาซึง่ โอกาสในการ พัฒนาศักยภาพของธุรกิจและอุตสาหกรรม เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันทัดเทียม กับนานาชาติ อย่างไรก็ตามผู้ประกอบการส่วน ใหญ่ ยังขาดความเข้าใจเกี่ยวกับ Big Data และยังไม่ทราบว่าจะเริ่มต้นศึกษาข้อมูล


&

Research

ตลอดจนการน�ำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างไร เนื่องจากขาดบุคลากรด้าน Big Data สวน ทางกับตลาดทีก่ ำ� ลังเติบโตอย่างก้าวกระโดด จากข้อมูลของการ์ทเนอร์ ปี พ.ศ. 2558 ระบุว่า ในจ�ำนวนองค์กรธุรกิจทั่วโลก 1,000 ราย จะมี จ� ำ นวน 20 เปอร์ เ ซ็ น ต์ เริ่ ม วางกลยุ ท ธ์ ที่ เ น้ น ด้ า น Information Infrastructure โดยเฉพาะ ส่วนทางด้านไอดี ซีสรุปว่า ปี พ.ศ.2557 ตลาดรวม Big Data ทั่วโลกมีมูลค่าสูงถึง 1.6 หมื่นล้านดอลล่าร์ สหรัฐ ซึง่ เติบโตสูงกว่าภาพรวมตลาดไอทีถงึ 6 เท่า นอกจากนีย้ งั พบว่า องค์กรขนาดใหญ่ เกื อ บ 70 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ต้ อ งซื้ อ ข้ อ มู ล มา วิเคราะห์ และคาดการณ์ว่า 4-5 ปีข้างหน้า ทุกองค์กรขนาดใหญ่ตอ้ งซือ้ ข้อมูลเพือ่ น�ำมา ใช้วเิ คราะห์ผล และแนวโน้มของประเทศไทย ก็นา่ จะไปในทิศทางเดียวกัน” คุณนาถ กล่าว

วางระบบนิเวศ (eco system)

ส�ำหรับศูนย์ BX แห่งนี้ มีพื้นที่กว้าง ขวางส�ำหรับการจัดแสดงเทคโนโลยี การ ประชุมหารือ และการเสวนาต่าง ๆ โดยจัด ให้บริการที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นห้อง ปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยีขอ้ มูลขนาดใหญ่ทชี่ ว่ ย สร้างแพลตฟอร์มพร้อมติดตั้งอุปกรณ์และ ซอฟต์แวร์ลักษณะต่าง ๆ ทั้งที่ได้รับอนุญาต ให้ใช้ได้ทวั่ ไป (open source) และซอฟต์แวร์ เชิงพาณิชย์ให้ผู้สนใจ จัดอบรมและการ ประชุมเชิงปฏิบัติการเป็นประจ�ำให้สมาชิก ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และวิชาการ เพื่อให้

เกิ ด การแลกเปลี่ ย นความรู ้ แ ละแบ่ ง ปั น ประสบการณ์ระหว่างกัน นอกจากนี้ ยังมี โครงการตีพมิ พ์งานวิจยั ออกผลิตภัณฑ์ใหม่ น�ำเสนอกรณีศึกษาที่ได้จากการปฏิบัติงาน จริง อัปเดตข้อมูลใหม่ ๆ และมีความพร้อม ในการออกแบบการใช้ขอ้ มูลให้เหมาะสมกับ ลักษณะของธุรกิจและสถานการณ์การใช้ งานข้อมูลที่หลากหลายของประเทศไทย และเออีซี

การบริการ

ปัจจุบนั ศูนย์ BX ได้รบั ความร่วมมือ จากบุคลากรและองค์กรทีใ่ ห้บริการเกีย่ วกับ ข้อมูลขนาดใหญ่หลายแห่ง นอกจาก มจธ. และจีเอเบิล ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้ง และหุ้นส่วน เทคโนโลยี อื่ น ๆ ได้ แ ก่ ไอบี เ อ็ ม (IBM) ไมโครซอฟต์ (Microsoft) อีเอ็มซี-พิโวทัล (EMC-Pivotol) อินฟอร์เมติกา้ (Informatica) คลาวเดรา (Cloudela) ออราเคิล (Oracle) ซิสโก้ (Cisco) แทปโบล (Tableau) อินไซน์ อิร่า (Insightera) ซีเอ (CA) และเอสเอเอ็ม (SAM) รวมทั้งวิศวกรข้อมูลระดับปริญญา เอกกว่าสิบคนจากประเทศไทยและสิงคโปร์ ซึง่ ผูม้ คี วามเชีย่ วชาญด้านคณิตศาสตร์ สถิติ คอมพิ ว เตอร์ และวิ ท ยาศาสตร์ ป ระยุ กต์ อื่น ๆ ครอบคลุมเนื้อหาเฉพาะกว่า 20 ด้าน เช่น การสร้างตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ การ ประมวลผลภาษาธรรมชาติ เทคโนโลยีเมือง อัจฉริยะ เทคโนโลยีการส�ำรวจระยะไกล ภูมิสารสนเทศ และเทคโนโลยีชีวเวช การ

สื่อสารและเครือข่าย วิศวกรรมการเงิน และ การพัฒนากระบวนการผลิต ศูนย์ BX ให้บริการแก่ธุรกิจต่าง ๆ (แต่มิได้จ�ำกัดเฉพาะ) ซึ่งรวมถึงธุรกิจการ ผลิ ต ธุ ร กิ จ การเงิ น ธุ ร กิ จ โทรคมนาคม ธุ ร กิ จ สุ ข ภาพ ธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก และการให้ บริการของหน่วยงานภาครัฐแล้วด้วยหุน้ ส่วน เทคโนโลยี ที่ เ ข้ ม แข็ ง และความร่ ว มมื อ ที่ แข็งแกร่งในการออกแบบและพัฒนาระบบ และโครงสร้างพื้นฐานส�ำหรับการวิเคราะห์ ข้อมูลขนาดใหญ่เช่นนี้ ศูนย์ BX เชื่อมั่นเป็น อย่างยิง่ ว่า การท�ำงานของศูนย์ฯ จะบรรลุผล ส�ำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ รศ.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน กล่าวทิ้ง ท้ายไว้ในงานเปิดศูนย์ BX ว่า ความร่วมมือ ครั้งนี้สามารถตอบโจทย์มหาวิทยาลัยได้ 3 อย่าง ข้อแรก คือ ท�ำอย่างไรให้ลูกศิษย์ มจธ.มีศักยภาพมากขึ้นเรื่อย ๆ ข้อที่สอง ตอบโจทย์ ใ นการช่ ว ยให้ ส มรรถนะของ ประเทศชาติสูงขึ้นด้วยการพัฒนาคนที่อยู่ ในวัยท�ำงานของประเทศให้เข้มแข็งขึ้น ด้วย การท� ำ ให้ SME มี ส มรรถนะ หรื อ ความ สามารถสูงขึ้น และข้อสุดท้าย คือ การสร้าง ความสัมพันธ์ ชวนเครือข่ายหรือเพือ่ นมาร่วม พัฒนาชาติด้วยกัน ซึ่ง มจธ.เองโชคดีมากที่ ได้เพือ่ นทีม่ คี วามคิดคล้าย ๆ กันอย่างบริษทั จีเอเบิล มาร่วมพัฒนาประเทศให้ไปในทาง ที่ดีขึ้น อยากเห็นคนไทยมีข้อมูลที่ทันสมัย ทันโลก ทันเหตุการณ์ ถูกต้อง และน�ำข้อมูล เหล่านัน้ มาใช้ประโยชน์ในการต่อยอดความ รู้และธุรกิจได้อีกมาก เพราะข้อมูลเหล่านี้ เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า นับจากวันนี้ ศูนย์ BX มุ่งมั่นที่จะ ผลิตทรัพยากรบุคคลผู้เปี่ยมทักษะ สรรค์ สร้างนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีข้อมูลขนาด ใหญ่ในผลิตภัณฑ์และกระบวนการต่างๆ ของประเทศไทย และเป็นส่วนหนึง่ ทีผ่ ลักดัน ให้ประเทศก้าวไปข้างหน้าอย่างพร้อมที่จะ แข่งขันได้ในโลกที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ใบนี้ เราเชื่อมั่นในพลังแห่งการร่วมมือและ ความคิดสร้างสรรค์ และยินดีต้อนรับผู้ที่ พร้อมจะก้าวไปกับเราทุกคน October-November 2015, Vol.42 No.243

37 <<<


&

Inspiration

&

ฝันที่เป็นจริงของ

“สารสิน บุพพานนท์”

กองบรรณาธิการ

หลาย

ทศวรรษที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีการพัฒนาเรื่อยมาจนกระทั่งมาหยุด อยู ่ ที่ ก ารเป็ น ประเทศที่ มี ร ายได้ ป านกลางมานานหลายปี แ ล้ ว สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ ราไม่ สามารถก้าวข้ามกับดักของประเทศรายได้ปานกลาง (middle income trap) ได้ คือ เราไม่สามารถ เป็นเจ้าของเทคโนโลยีที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเศรษฐกิจชาติได้ เฉกเช่นประเทศอื่น ๆ ที่พัฒนา แล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น หรือประเทศทางฝั่งยุโรป

ค�ำถาม

...ท�ำไมเราไม่พยายามทีจ่ ะมีเทคโนโลยีทเี่ ป็นสัญชาติไทย ค�ำตอบ คือ เราพยายาม แต่เป็นความพยายามทีย่ งั ไม่ถงึ ขีดสุด จะเห็นได้วา่ งานวิจยั ถูกทิง้ ร้างบนหิง้ มีมากมาย ขณะเดียวกันความต้องการ ของประเทศก็ไม่ได้ถูกตอบโจทย์ด้วยงานวิจัยเหล่านั้นเท่าใดนัก สิ่งเหล่านี้เป็น วังวนแห่งปัญหาที่หาทางออกได้ยากยิ่ง ในมุมเล็ก ๆ มุมหนึ่ง ภาคเอกชนเองก็มีความพยายามที่จะช่วยเหลือ ตัวเอง เพื่อปลุกปั้นธุรกิจให้ด�ำเนินต่อไป โดยเฉพาะธุรกิจด้านเทคโนโลยีที่ไม่ เพียงจะแข่งขันกันทีเ่ ทคโนโลยีทที่ นั สมัย แปลกใหม่ และตอบโจทย์ของผูบ้ ริโภค เท่านั้น แต่ยังต้องแข่งขันกันที่ความเร็วด้วย ดร.สารสิน บุพพานนท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เวลโลกราฟ จ�ำกัด เจ้าของ แบรนด์ “Wellograph” ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีฝมี อื ไทยท�ำ เป็นตัวอย่างของ ผู้บริหารรุ่นใหม่ที่มีวิสัยทัศน์ไกล และกล้าที่จะลงมือท�ำในสิ่งที่ท้าทาย ด้วยความ เชื่อที่ว่า “ในโลก Globalization ใบนี้ ทุกคนมีสิทธิ์เสมอกันที่จะแข่งขันกันด้วย เทคโนโลยีที่แตกต่างและตอบโจทย์” ดร.สารสิน บุพพานนท์

กรรมการผู้จัดการ บริษัท เวลโลกราฟ จ�ำกัด

>>>38

October-November 2015, Vol.42 No.243

อันว่า Wellograph คือ Fitness Watch หรือ The Wellness Watch นาฬิกา อัจฉริยะเพื่อสุขภาพ สัญชาติไทย เปิดตัว ครั้งแรกในงาน CES2014 ณ สหรัฐอเมริกา และสามารถคว้ารางวัล International CES Innovation Design and Engineering Awards มาครอง Wellograph เป็นผลิตผลทางความ คิด ทีผ่ า่ นการค้นคว้าและพัฒนาโดยทีมงาน คนไทยทุกขั้นตอน ประกอบด้วย ทีมนัก ออกแบบ วิศวกร และนักโปรแกรมเมอร์ โดย การน�ำทีมของ ดร.อาร์ท “สารสิน บุพพานนท์” อดีตนิติศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยม อันดับหนึ่ง จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แม้พนื้ ฐานของ ดร.อาร์ท จะจบการ ศึกษาทางด้านกฎหมายมา แต่เนื่องจาก สนใจและเริ่มต้นท�ำงานด้านเทคโนโลยีมา ก่อน ก่อให้เกิดเชี่ยวชาญและโอกาส จึงเบนเข็มชีวิตเข้าสู่การเป็นนักธุรกิจ ด้านเทคโนโลยีอย่างเต็มตัว


&

Inspiration “ผมจบปริญญาตรีและโท ทางด้าน กฎหมาย ส่วนในระดับปริญญาเอกผมเลือก ที่จะศึกษาทางด้านการค้าและการลงทุน จาก GEORGE MASON University สหรัฐอเมริกา ผมเริ่มเข้าสู่วงการเทคโนโลยีด้วย การตั้งบริษัท เอทีส อินโนเวชั่น จ�ำกัด เพื่อ พัฒนาและผลิตเครื่องสแกนหนังสือ “BookDrive” และสินค้านวัตกรรมไอที จ�ำหน่ายให้ กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนนานาชาติ เมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว ผลิตภัณฑ์ของเรา เราพัฒนาขึ้นมา เพื่ อ ตอบสนองตลาดเฉพาะกลุ ่ ม (niche market) และเป็นผลิตภัณฑ์ส�ำหรับองค์กร ขนาดใหญ่ ทีผ่ า่ นมานับว่าประสบความส�ำเร็จ เป็ นอย่างดี อย่ างไรก็ ตาม นอกจากการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ส�ำหรับตลาดเฉพาะแล้ว เรายังต้องการที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์ส�ำหรับ คนทั่วไป (mass market) ความฝันของเรา คื อ การท� ำ คอนซู เ มอร์ เ ทคโนโลยี ที่ เ ป็ น แบรนด์ของคนไทย และสร้างให้เป็นที่รู้จัก” ดั ง นั้ น เมื่ อ ประมาณ 4 ปี ที่ แ ล้ ว ดร.อาร์ ท จึ ง มี แ นวคิ ด ที่ จ ะให้ ที ม งานมา พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัท “ผลิตภัณฑ์นี้เรามองเทรนด์แล้วว่า มาแน่นอน คือ อุปกรณ์ส�ำหรับสวมใส่หรือ Wearable แม้ว่า เมื่อประมาณ 4 ปีที่แล้ว ผู้คนจะยังไม่ให้ความสนใจกับ Wearable เพราะขณะนัน้ โทรศัพท์ทเี่ ป็น Smart Phone ก�ำลังได้รบั ความนิยม แต่เราต้องก้าวล�ำ้ หน้า ไปหนึง่ ขัน้ คือ การพัฒนา Smart Wearable” ดร.อาร์ท เริม่ Startup บริษทั เวลโลกราฟ จ�ำกัด ขึ้นมา หัวใจส�ำคัญของบริษัทนี้ คือ บุคลากร ที่ ดร.อาร์ท บอกว่า ต้องคัดเลือก คนทีเ่ ป็นหัวกะทิทเี่ ชีย่ วชาญในแต่ละด้านเข้า มาท�ำงานร่วมกันในรูปแบบสหสาขา “เนือ่ งจากการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ต้องอาศัยความรูค้ วามสามารถหลาย ๆ ด้าน อาทิ ผู้เชี่ยวชาญด้านไบโอเมดิคอล ผู้เชี่ยวชาญด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ก ารกี ฬ า รวมถึ ง ผู้เชี่ยวชาญด้านอิเล็กทรอนิกส์ดีไซน์ และ

ผู้เชี่ยวชาญด้านซอฟต์แวร์ฝังตัว (embedded software) ตลอดจนวิศวกร รวมแล้ว กว่า 20 ชีวิต ที่มาร่วมกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ นี้” ดร.อาร์ท กล่าว ณ วันนี้ เป็นเครื่องพิสูจน์แล้วว่ า เทรนด์ที่ ดร.อาร์ท คาดการณ์ไว้ก�ำลังมา Smart Wearable ก�ำลังทยอยออกสู่ตลาด ในรูปแบบของ Smart Watch โดยการน�ำของ ยั ก ษ์ ใ หญ่ ด ้ า นเทคโนโลยี อ ย่ า ง Apple Watch, Samsung Gear รวมถึง Smart Watch จากค่ายอื่น ๆ ก็ค่อย ๆ เผยโฉมออก สู่ตลาดอย่างต่อเนื่องเช่นกัน ส�ำหรับ Wellograph แม้วา่ จะจัดอยู่ ในกลุม่ Smart Watch แต่ยงั มีสงิ่ ที่ ดร.อาร์ท ต้องการท�ำให้มีความแตกต่าง นั่นก็คือ การ มุ ่ ง พั ฒ นา Wellograph ให้ เ ป็ น นาฬิ ก า อัจฉริยะส�ำหรับผู้ที่รักษ์สุขภาพ โดยจัดวาง Position ของ Wellograph ตั้งแต่ต้นแล้วว่า ผลิตภัณฑ์นี้ แม้ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ส�ำหรับ บุคคลทัว่ ไป แต่เราเน้นทีก่ ลุม่ คนรักษ์สขุ ภาพ เราพยายามทีจ่ ะ Specialized ให้ผลิตภัณฑ์ ของเรามีความแตกต่างอย่างมีเอกลักษณ์ เราเน้นที่ Application บางอย่าง ทีบ่ ริษทั อืน่ ไม่สนใจ โดยเฉพาะฟังก์ชันด้านสุขภาพ ยกตัวอย่างเช่น Activity Function เป็นฟังก์ชันที่ สามารถนับ Step การก้าวเดินในแต่ละวัน ปริมาณแคลอรีท่ เี่ ผาผลาญไป ระยะเวลาทีม่ ี การออกก�ำลัง/ขยับร่างกาย และขณะทีไ่ ม่ได้ ท�ำกิจกรรมใด ๆ รวมถึงค่าเฉลีย่ ก้าวเดิน และ แคลอรี่ที่เผาผลาญไปในสัปดาห์นั้น ๆ Pulse Function สามารถตรวจวัด อัตราการเต้นของหัวใจอย่างแม่นย�ำ ด้วย Tri-LED Heart Rate Sensor รวมถึงค่าเฉลีย่ ในสัปดาห์นั้น ๆ ส่วนหน้า Fitness จะบอก ว่าอายุสุขภาพที่แท้จริงของคุณ คือเท่าไหร่ Readiness Function เป็นฟังก์ชัน ใหม่ล่าสุด ใช้หลักการ HRV (Heart Rate Variability) เพื่อใช้ในการวัดความเครียด หรือความล้าของหัวใจ ซึ่งค่าความเครียดนี้

จะบ่งบอกถึงความพร้อมของร่างกายก่อน ออกก�ำลังกาย Sleep Tracking สามารถตรวจจับ การนอนในแต่ละวัน และแสดงข้อมูลว่า นอนหลับไปกี่ชั่วโมงและระหว่างนอน หลับ ลึก ฝัน หรือสะดุ้งตื่นบ่อยแค่ไหน โดยจะ แสดงผลเป็นกราฟเปรียบเทียบคุณภาพการ นอนในแต่ละวัน และบอกคุณภาพการนอน หลับเป็นเปอร์เซ็นต์ Session Function เป็นฟังก์ชันเพื่อ การวิง่ สามารถตรวจจับการวิง่ ในแต่ละรอบ บอก Step ระยะทาง ระยะเฉลีย่ และปริมาณ แคลอรี่ที่เผาผลาญไป Live Function ผู้สวนใส่สามารถ แข่งขันกับเพือ่ นทีใ่ ส่นาฬิกาเวลโลกราฟแบบ เรียลไทม์ได้ทั่วโลก ด้วยระบบออนไลน์ผ่าน ฟังก์ชนั Live แสดง Step ก้าวเดินและล�ำดับ ทีบ่ นหน้าจอนาฬิกา โดยไม่จำ� เป็นต้องเชือ่ ม ต่อกับสมาร์ทโฟน นอกจากนีเ้ วโลกราฟยังสามารถถ่าย โอนข้อมูลไปยังสมาร์ทโฟน ผ่าน Bluetooth เพื่อให้สามารถดูข้อมูลได้ละเอียดยิ่งขึ้นบน หน้าจอโทรศัพท์ รองรับทั้งระบบ Android, Window Phone และ iOS “นาฬิกาของเราไม่จ�ำเป็นต้องชาร์จ แบตเตอรีท่ กุ วัน” ดร.อาร์ท ให้ขอ้ มูลเพิม่ เติม และยังบอกอีกด้วยว่า ผู้ใช้สามารถสวมใส่ ได้ตลอดวลาทั้งกลางวัน กลางคืน ส่วนหน้า ปัดนาฬิกาจะเป็น E-paper ที่มองได้ชัดเจน แม้อยู่กลางแสงแดดและแสดงผลตลอด October-November 2015, Vol.42 No.243

39 <<<


&

Inspiration

เวลา กันน�้ำลึกได้ 50 เมตร แบตเตอรี่อยู่ได้ นาน 7 วัน และที่ส�ำคัญ สามารถเก็บข้อมูล ของผู้ใช้ได้นานถึง 6 เดือน “ทั้งหมดนี้ คือ แนวทางส�ำหรับการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็น First Generation ของเรา ส�ำหรับการพัฒนาใน Next Generation เราก็ตอ้ งมองเทรนด์ในอนาคตด้วยว่าจะ เป็นอย่างไร ตัวธุรกิจเราก็ตอ้ งมีการประยุกต์ ให้มีความเหมาะสมกับยุคสมัย โดยเราต้อง พิจารณาขีดความสามารถขององค์กรเรา ด้วยว่า มีจุดเด่นอะไร และท�ำอย่างไรให้ ผลิตภัณฑ์ของเราเป็นทีต่ อ้ งการของผูบ้ ริโภค ตลาดทุ ก วั น นี้ เ ป็ น ตลาดเดี ย วกั น ทั้งหมด ผู้ค้ารายใหญ่หรือย่อยสามารถเข้า ถึงตลาดได้เหมือนกัน จะเห็นว่า สมัยก่อน บริษทั เทคโนโลยี อย่าง Microsoft ก็คอ่ นข้าง ใหญ่โต กว่า Apple หลายเท่าตัว ตอนนั้นสิ่ง ที่ท�ำให้ Apple สามารถยืนหยัดอยู่ได้ คือ Specialized Mac OS ออกมาเพือ่ ตอบสนอง ลู ก ค้ า เฉพาะกลุ ่ ม เช่ น ลู ก ค้ า ที่ มี ค วาม ต้องการเรื่องภาพและเสียง รวมถึงกราฟิก ต้องนึกถึง Mac OS แต่หากเป็นการใช้งาน ทั่วไป อาจจะเลือกใช้ Window ของ Microsoft ได้ เป็นต้น เฉกเช่นเดียวกันกับเราที่วาง Business Model ไว้ในแนวทางที่คล้ายกันกับ >>>40

October-November 2015, Vol.42 No.243

Apple คื อ ลู ก ค้ า ที่ เ น้ น การใช้ ง านทั่ ว ไป Smart Watch แบรนด์อื่นอาจจะดีกว่า แต่ หากจะใช้ ง านด้ า นสุ ข ภาพ ที่ ใ ช้ ง านง่ า ย Wellograph จะใช้งานได้ดี และเหมาะสม กว่า” นอกจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ภาย ใต้แบรนด์ของตนเองแล้ว สิง่ หนึง่ ที่ ดร.อาร์ท มองว่าจะเป็นโอกาสของเวลโลกราฟ คือ การ เป็นพาร์ทเนอร์ให้กับนาฬิกาแบรนด์อื่น ๆ หรืออุปกรณ์สวมใส่ในรูปแบบอื่น ๆ ได้ “จากสถิติการจ�ำหน่ายนาฬิกา ทั่ว โลกประมาณ 1 พันล้านเรือน Smart Watch อาจจะจ�ำหน่ายได้ประมาณ 30 ล้านเรือน แต่อย่างไรก็ตาม นาฬิกาที่จ�ำหน่ายทั่วโลก จะเพิ่มดีกรีความฉลาดมากขึ้น รวมไปถึง อุปกรณ์สวมใส่ทุกรูปแบบ ที่จะพัฒนาเข้าสู่ Smart Device เชื่อได้เลยว่า ทุกคนไม่ได้ใช้

Apple Watch, Samsung Gear ด้วยราคา และฟั ง ก์ ชั น รวมถึ ง แบรนด์ ที่ แ ต่ ล ะคน ชื่นชอบไม่เหมือนกัน ขณะเดียวกันในบรรดาบริษัทผู้ผลิต นาฬิกา ก็พยายามทีจ่ ะพัฒนานาฬิกาของตน ให้มคี วามฉลาดขึน้ เขาก็ตอ้ งมีพาร์ทเนอร์กบั บริษัทเทคโนโลยี และเขาเหล่านั้นสามารถ มาพาร์ทเนอร์กบั เราได้ เพราะเทคโนโลยีของ เวลโลกราฟสามารถที่จะเข้าไป Provide ให้ กับอุปกรณ์สวมใส่ได้ทุก ๆ ประเภท”

ท้ายทีส่ ดุ นี้ ดร.อาร์ท แสดงความคิด เห็นเกีย่ วกับคนไทยกับความพยายามในการ สร้างแบรนด์เทคโนโลยีว่า ความสามารถใน เชิง Engineer Designer หรือ Programmer จะเห็นว่ามีคนไทยเก่ง ๆ ที่ท�ำงานให้กับ บริษทั ต่างชาติมากมาย และประเทศไทยเรา ก็เป็นฐานการผลิต มีผู้ผลิตสินค้าเยอะแยะ มากมาย ความสามารถของคนไทยไม่ มี ปัญหา แต่ที่ผ่านมา เรายังไม่มีบริษัทคอนซูเมอร์เทคโนโลยีที่เป็นของคนไทยเกิดขึ้น เลย จะมีแต่บริษัทต่างชาติขนาดใหญ่ที่เข้า มาเปิดสาขาในประเทศไทย และคนไทยเรา ก็ทำ� หน้าทีซ่ พั พอร์ท และบางทีกเ็ ป็นเซอร์วสิ ซึ่งไม่เกิด Value Added เราได้รับแค่ค่าจ้าง แรงงานเป็นสิ่งตอบแทน แต่ Value Added ทั้งหมดอยู่ที่เจ้าของแบรนด์ ซึ่งไม่ใช่คนไทย ดังนัน้ ถามว่า ความสามารถคนไทย แพ้ต่างชาติหรือไม่ ไม่แพ้ แต่เราแพ้ในเชิง การสร้างมูลค่าเพิ่ม (value added) ที่เราไม่ สามารถ Provide และ Capture ตัว Value Added นัน้ ได้ ถ้าเราไม่ได้เป็นเจ้าของแบรนด์ เพราะฉะนั้น นี่คือ ความพยายามของเราที่ อยากจะเป็นเจ้าของแบรนด์ เพือ่ ทีจ่ ะได้สร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ของเราได้ ในบรรดาคนท�ำงาน ไม่ว่าจะเป็น Engineer Designer หรือ Programmer หาก เราสามารถท�ำงานร่วมกัน จนเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่ต้องการของตลาดได้ และเกิด เป็นแบรนด์ที่ได้รับการยอมรับขึ้นมา เราจะ เป็น Success Story แรกของประเทศไทย และคิดว่าจะเป็นแรงบันดาลใจให้กับบริษัท อืน่ ๆ สามารถท�ำคอนซูเมอร์เทคโนโลยีแบรนด์ ที่เป็นของคนไทยขึ้นมาได้


&

Management

(ตอนที่ 1) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ เรียบเรียงโดย เศรษฐภูมิ เถาชารี

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ วิทยาลัยนานาชาติพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

เนื่อง

จากในปั จ จุ บั น เทคโนโลยี ไ ด้ เ ข้ า มามี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ประกอบการ ในการบริหารงาน ขององค์กร ธุรกิจ กระบวนการทางธุรกิจรูปแบบใหม่ถูกสร้างและควบคุมโดย ใช้ระบบคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือหลักในการเชื่อมโยงสารสนเทศระหว่างฝ่าย แผนก ภายในและภายนอกองค์กร ส่งผลให้ความสามารถในการสื่อสาร ควบคุม ตลอดจนการประมวลผลเพื่อตัดสินใจเป็นไปอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และองค์กร ธุรกิจยังสามารถสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าของตน ตลอดจนสามารถ สร้ า งคุ ณ ค่ า และลดต้ น ทุ น การผลิ ต ซึ่ ง เทคโนโลยี ที่ นิ ย มน� ำ มาใช้ ใ นการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการจั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ ภ ายในองค์ ก ร ธุ ร กิ จ ให้ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพที่ส�ำคัญ คือ GPS (Global Positioning System) Barcode RFID (Radio frequency identification) EDI (Electronic Data Interchange) การ วางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ (Enterprise Resource Planning (ERP)) ระบบการ จัดการคลังสินค้า (Warehouse Management System (WMS)) และระบบการ จัดการการขนส่ง (Transportation Management System (TMS)) ซึ่งเรานิยม เรียกเทคโนโลยีเ หล่านี้ว่า เทคโนโลยีทางโลจิสติกส์ โดยมีรายละเอียดที่ส�ำคัญ ของแต่ละเทคโนโลยีดังต่อไปนี้

GPS (Global Positioning System)

เป็นระบบทีใ่ ช้ในการบอกต�ำแหน่งของสิง่ ต่าง ๆ บนโลกนี้ โดย ระบบ GPS จะใช้เทคโนโลยีของดาวเทียมที่จะเป็นเครื่องมือในการ พิจารณาหาจุดพิกัดบนโลกนี้ โดยใช้พิกัดตัวเลขของละติจูดและ ลองติจูด ท�ำให้ทราบถึงต�ำแหน่งที่แท้จริงของสิ่งนั้น ๆ โดยอุปกรณ์ GPS Receiver หรือเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมนั้น จะท�ำงานโดย การใช้ดาวเทียมที่ลอยอยู่เหนือพื้นโลกตั้งแต่สามดวงขึ้นไปในเวลา เดียวกัน เพื่อที่จะได้ระบุพิกัดต�ำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ และจะแม่นย�ำ ยิ่งขึ้น หากมีจ�ำนวนดาวเทียมมากขึ้น ส�ำหรับระบบ GPS นั้น ได้ถูกเริ่ม ใช้และพัฒนาขึน้ โดยกองทัพของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึง่ จะใช้ในการ หาพิกดั จุดต่าง ๆ บนโลกในการสูร้ บท�ำสงครามกัน แต่ในปัจจุบนั GPS ได้ถูกน�ำมาใช้ในเชิงการค้าพาณิชย์ ในการติดตาม ตรวจสอบการ เดินทางขนส่งสินค้าของรถบรรทุกสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพ October-November 2015, Vol.42 No.243

41 <<<


&

Management สอดคล้องกับผลการวิจัยของเศรษฐศักดิ์ เลิศประเสริฐเวช (2548) ทีไ่ ด้ศกึ ษาถึงผลทีไ่ ด้จากการน�ำระบบ GPS เข้ามาใช้เพือ่ ช่วย ในการเพิม่ ประสิทธิภาพในการจัดการธุรกิจขนส่ง และทราบถึงความ คุ้มค่าในการลงทุน รวมไปถึงความเหมาะสมที่จะน�ำมาปรับใช้ทั้งใน องค์กรขนาดเล็กจนถึงองค์กรขนาดใหญ่ ซึ่งผลการวิเคราะห์ที่ได้จาก การสัมภาษณ์กับองค์กรที่มีการน�ำระบบไปใช้จริง เพื่อช่วยในการ ตัดสินใจลงทุนของผู้ประกอบการรายอื่น และในหน่วยงานราชการ ที่มีความสนใจในการน�ำระบบ GPS ไปปรับใช้ รวมไปถึงการวาง แนวทางในการแก้ไขปัญหาด้านการจราจรที่เป็นปัญหาใหญ่ ส�ำหรับ เมืองใหญ่ ๆ เช่น กรุงเทพฯ เชียงใหม่ พบว่า ระบบ GPS สามารถที่จะ ช่วยให้มีการจัดการเส้นทางที่ถูกต้อง เนื่องจากจะสามารถเห็นได้ว่า เส้นทางไหนมีปริมาณรถมากหรือน้อย เพือ่ ช่วยในการลดการใช้นำ�้ มัน ที่ต้องเสียเวลาที่ต้องติดอยู่ในรถนาน อีกทั้งเป็นการป้องกันการ โจรกรรมรถยนต์ด้วย ส่ ว น สรไกร ปั ญ ญาสาครชั ย (2548) ได้ ศึ ก ษาการน� ำ เทคโนโลยี GPS มาประยุกต์ใช้ในการเพิ่มคุณภาพการบริการขนส่ง สินค้าและบริการทางถนน พบว่า จากคุณสมบัตคิ วามสามารถในการ ระบุตำ� แหน่งบนพืน้ โลกผ่านดาวเทียม กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญ่มคี วาม คิดเห็นว่า คุณสมบัตินี้ท�ำให้ผู้รับบริการรู้สึกมั่นใจ ไว้ใจได้เมื่อได้รับ การบริการขนส่งผ่านระบบ GPS และมีระดับความพึงพอใจในระดับ มาก และกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าคุณสมบัตินี้ ท�ำให้ ผู้รับบริการได้รับการบริการที่ดีขึ้น เมื่อได้รับการบริการขนส่งผ่าน ระบบ GPS และมี ร ะดั บ ความพึ ง พอใจในระดั บ มาก และจาก คุณสมบัตคิ น้ หาเส้นทาง ท�ำให้ผรู้ บั สินค้าได้รบั สินค้าตรงตามวันและ เวลาที่ได้ตกลงไว้และมีระดับความพึงพอใจในระดับมาก ดังนัน้ จากคุณสมบัตดิ งั กล่าวของเทคโนโลยี GPS มาประยุกต์ ใช้ในกระบวนการขนส่งสินค้าและบริการทางถนนมีผลต่อความส�ำเร็จ ทางด้านคุณภาพการบริการ ซึ่งท�ำให้เกิดความพึงพอใจของผู้ได้รับ บริการขนส่งสินค้าอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Barcode

ในภาษาไทยเรียกว่า “รหัสแท่ง” ประกอบด้วย เส้นมืด (มักจะ เป็นสีด�ำ) และเส้นสว่าง (มักเป็นสีขาว) วางเรียงกันเป็นแนวดิ่ง เป็น รหัสแทนตัวเลขและตัวอักษร ใช้เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้เครื่อง คอมพิวเตอร์สามารถอ่านรหัสข้อมูลได้ง่ายขึ้น โดยใช้เครื่องอ่าน บาร์โค้ด (barcode scanner) ซึง่ จะท�ำงานได้รวดเร็วและช่วยลดความ ผิดพลาดในการคียข์ อ้ มูลได้มาก บาร์โค้ดเริม่ ก�ำเนิดขึน้ เมือ่ พ.ศ.2493 โดยประเทศสหรัฐอเมริกาได้จัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจทางด้าน พาณิชย์ขึ้น ส�ำหรับค้นคว้ารหัสมาตรฐานและสัญลักษณ์ที่สามารถ ช่วยกิจการด้านอุตสาหกรรม และสามารถจัดพิมพ์ระบบบาร์โค้ด ระบบ UPC-Uniform ขึน้ ได้ในปี พ.ศ.2516 ต่อมาในปี พ.ศ.2518 กลุม่ ประเทศยุโรปจัดตัง้ คณะกรรมการด้านวิชาการเพือ่ สร้างระบบบาร์โค้ด เรียกว่า EAN-European Article Numbering สมาคม EAN เติบโต >>>42

October-November 2015, Vol.42 No.243

ครอบคลุมยุโรป และประเทศอื่น ๆ (ยกเว้นอเมริกาเหนือ) และระบบ บาร์โค้ด EAN เริ่มเข้ามาในประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ.2530 Barcode เป็นหนึ่งในหลายวิธีที่ได้ผลดี ในการตรวจสอบ สิ น ค้ า ขณะขาย การตรวจสอบยอดการขาย และสิ น ค้ า คงคลั ง เราสามารถที่จะอ่านบาร์โค้ดได้ โดยใช้เครื่องสแกนเนอร์ (barcode scanner) หรือเครือ่ งอ่านบาร์โค้ด ซึง่ วิธนี จี้ ะรวดเร็วกว่าการป้อนข้อมูล เข้าเครือ่ งคอมพิวเตอร์ โดยเปลีย่ นเป็นวิธกี ารยิงเลเซอร์ไปยังแท่งบาร์ โค้ด โดยเครือ่ งสแกนจะท�ำหน้าทีเ่ ป็นฮาร์ดแวร์ (hardware) ส่งข้อมูล ไปยังคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันมีการประยุกต์การใช้งานบาร์โค้ดเข้ากับ การใช้งานของ Mobile Computer ซึ่งสามารถพกพาได้อย่างสะดวก เพื่อท�ำการจัดเก็บ แสดงผล ตรวจสอบ และประมวลในด้านอื่น ๆ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ สุมาลี บัวขาว (2548) ได้ ศึกษาการใชรหัสแท่งในการบริหารสินค้าคงคลังของอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่มีส่วนผลักดันให้มีการนํา วัตถุดิบภายในประเทศมาสร้างให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ โดยในปัจจุบนั มีการแข่งขันทีร่ นุ แรงมากขึน้ กลยุทธ์หนึ่งที่ถูกนํามาใช้ คือ การส่งมอบสินค้าให้ลูกค้าได้รับความ พึงพอใจสูงสุด ดังนั้นการบริหารสินค้าคงคลังจึงเป็นสิ่งสําคัญที่กิจการต้อง จั ด การให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ผู ้ ค วบคุ ม ดู แ ลด้ า นบั ญ ชี แ ละการเงิ น จึงจําเปนต้องเฝ้าติดตามระดับของสินค้าคงคลังให้อยู่ในระดับที่ เหมาะสมอยู่เสมอ จึงมีการนําเครื่องมือต่าง ๆ เช่น รหัสแท่งมา ประยุกต์ใช้ ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง วิธีการและขั้นตอนของการน�ำระบบรหัสแท่ง EAN.UCC13 มาใช้ใน การบริหารสินค้าคงคลัง และศึกษาถึงประโยชน์ ปัญหาและอุปสรรค ที่พบในการนํามาใช้ในการบริหารสินค้าคงคลังของอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่ม โดยประชากรในการศึกษาเป็นสมาชิกของ สถาบันรหัสสากล สังกัดสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เฉพาะใน เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตทัง้ หมดจํานวน 57 ราย โดย ไดรับแบบสอบถามตอบกลับ จํานวน 39 ราย คิดเป็นร้อยละ 68.4 และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และคาความถี่ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ที่ ใช้ร หัสแท่งในการบริหารสินค้าคงคลังส่วนมากมีความเห็นว่ารหัสแท่ง มีประโยชน์มาก มีผลทําให้การตรวจนับสินค้าคงคลังมีความถูกต้อง แม่นยํามากขึ้น และการควบคุมสินค้าคงคลังมีประสิทธิภาพมากขึ้น และสามารถนาํ ไปประยุกตใ ช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ กิจการในรูปของการ แลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้ ปัญหาและอุปสรรคที่พบ ส่วนมากเกิดจากการขัดข้องของ เครื่องมือและอุปกรณ์ และพบว่ามีผู้ที่ไม่ใช้รหัสแท่งบริหารสินค้า คงคลังแต่ต้องมีรหัสแท่งติดกับสินค้า เนื่องจากลูกค้าก�ำหนดให้ต้อง มี สาเหตุสว่ นมากทีไ่ ม่ใช้รหัสแท่งบริหารสินค้าคงคลัง เพราะมีตน้ ทุน ด้านอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ที่สูง


&

Management RFID (Radio Frequency Identification)

เป็นเทคโนโลยีทใี่ ช้ในการระบุสงิ่ ต่าง ๆ แบบไม่ตอ้ งสัมผัสโดย ใช้คลื่นความถี่วิทยุ มีองค์ประกอบหลัก คือ แท็ก (Tag) เสาอากาศ (Antenna) เครื่องอ่าน (Reader) และซอฟต์แวร์ (Software) RFID แบ่งตามย่านความถี่ได้ 4 ประเภท คือ 1. Low Frequency (LF) ย่านความถี่ 125-134 KHz 2. High Frequency (HF) ย่านความถี่ 13.56 MHz 3. Ultra-High Frequency ย่านความถี่ 920-925 MHz (ส�ำหรับประเทศไทย) 4. Microware ย่านความถี่ 2.45 – 5.8 GHz เมื่อเราน�ำองค์ประกอบทั้งหมดไปใช้งานในรูปแบบต่าง ๆ เรียกว่า RFID Solution เช่น การติดตามทรัพย์สิน รถยนต์ เครื่องมือ การติดตามเอกสารส�ำคัญ เช่น เอกสารทางราชการ การจัดการในคลัง สินค้า การขนส่งสินค้า พาเลท บัตรผ่านทาง เทคโนโลยีบ่งชี้ด้วยคลื่น ความถีว่ ทิ ยุ (Radio Frequency Identification (RFID)) หรือเรียกสัน้ ๆ ว่า เทคโนโลยี RFID เนือ่ งจากลักษณะการส่งผ่านก�ำลังงาน และข้อมูล ระหว่างบัตรและเครื่องอ่านจะอยู่บนพื้นฐานของคลื่นความถี่วิทยุ ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบข้อแตกต่างของเทคโนโลยีบ่งชี้ อัตโนมัติแบบต่าง ๆ ซึ่งจะพบว่า เทคโนโลยี RFID ค่อนข้างมีข้อได้ เปรียบมากกว่าเทคโนโลยีแบบอื่น ๆ

ในปัจจุบันได้มีการน�ำเทคโนโลยี RFID มาประยุกต์ใช้ในการ ลงเวลาและระบบควบคุมการผ่านเข้าออกประตู ท�ำให้ระบบมีความ โดดเด่นในหลายประการ เช่น สะดวก และรวดเร็ว ในการปฏิบัติงาน ซึง่ เป็นประโยชน์มากส�ำหรับองค์กรทีพ่ นักงานทีม่ กี ารเข้าออกในเวลา พร้อม ๆ กัน จ�ำนวนมาก เช่น โรงงานอุตสาหกรรม หรือโรงเรียน เป็นต้น นอกจากนี้หากมีการก�ำหนดต�ำแหน่งของข้อมูลในหน่วย ความจ�ำของบัตร RFID ที่เหมาะสม ก็สามารถท�ำให้ระบบมีความ รวดเร็วมากขึน้ ได้อกี และสุวาริน พรรคเจริญ (2550) ก็ได้มกี ารศึกษา ความเป็นไปได้ในการน�ำเทคโนโลยีบ่งชี้วัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (RFID) มาประยุกต์ใช้ในการระบุตำ� แหน่งรถยนต์ในลานจอดระหว่าง

▼ ตารางที่ 1 เปรียบเทียบข้อแตกต่างของเทคโนโลยีบ่งชี้อัตโนมัติแบบต่าง ๆ

ข้อพิจารณา จ�ำนวนข้อมูลที่สามารถจัดเก็บได้ (ไบต์) ความหนาแน่นของข้อมูลที่บันทึก ต่อพื้นที่ เครื่องอ่าน มนุษย์อ่านรหัสได้หรือไม่

รหัสแท่ง 1-100

โอซีอาร์ 1-100

เสียงพูด -

ลายพิมพ์นิ้วมือ -

สมาร์ทการ์ด 16-64k

อาร์เอฟไอดี 16.64k

ต�่ำ

ต�่ำ

สูง

สูง

สูงมาก

สูงมาก

เที่ยงตรง ได้จ�ำกัด

เที่ยงตรง อ่านได้ง่ายมาก

แพง ง่าย

แพง ยากมาก

ผลกระทบจากคราบ หรือความสกปรก

มีผลต่อ การอ่านมาก

มีผลต่อ การอ่านมาก

-

-

เที่ยงตรง ไม่มีทาง ท�ำได้ ไม่มีผล

ผลกระทบจากการอ่านผิดด้าน หรือผิดมุม

มีบ้างเล็กน้อย

มีบ้างเล็กน้อย

-

-

จ�ำกัดอายุ การใช้งาน ต�่ำ≈ ช้า (≈ 4 วินาที) 0-50 ซม.

จ�ำกัดอายุ การใช้งาน ปานกลาง ช้า (≈ 4 วินาที) น้อยกว่า 1 ซม. (เป็นการสแกน)

-

-

สูงมาก ช้ามาก (≈5 วินาที) 0-50 ซม.

สูงมาก ช้ามาก (≈5-10 วินาที) ต้องสัมผัส โดยตรง

เที่ยงตรง ไม่มีทาง ท�ำได้ อาจมีผลหาก เลอะบนหน้า สัมผัส ต้องวางให้ถูก ทิศทางตามขั้ว ของหน้าสัมผัส ขึ้นกับสภาพของ หน้าสัมผัส ต�่ำ ช้า (≈4 วินาที) ต้องสัมผัส โดยตรง

อายุการใช้งาน การฉีกขาด หรือเสื่อมสภาพ มูลค่าของเครื่องอ่าน ความเร็วในการอ่านข้อมูล ระยะห่างสูงสุดระหว่างเครื่องอ่าน กับบัตร/เครื่องลูกข่าย/ตัวเก็บข้อมูล

ไม่มีผล ไม่มีผล ปานกลาง เร็วมาก (≈0.5 วินาที) 0-5 เมตร โดยใช้ คลื่นความถี่วิทยุ ย่านไมโครเวฟ

October-November 2015, Vol.42 No.243

43 <<<


&

Management

ทีม่ กี ารด�ำเนินการเกีย่ วกับการซ่อมและรอประกอบชิน้ ส่วนให้สมบูรณ์ ผลของการศึกษาแสดงให้เห็นถึงระยะเวลาในการค้นหารถยนต์ลดลง ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ ระยะทางในการเดินลดลง 43 เปอร์เซ็นต์ ส่วน ผลตอบแทนการลงทุนนั้นสามารถคืนทุนได้ภายในระยะเวลา 1 ปี 2 เดือน

(อ่านต่อฉบับหน้า) เอกสารอ้างอิง 1. http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/ oct_dec_11/pdf/aw02.pdf 2. http://www.logisticscorner.com/index.php?option=com_ content&view=article&id=1785:-gps-gps&catid=45:any-talk&Itemid=56 3. http://riverplusblog.com/2011/06/07/barcode-%E0%B8%84 %E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84 %E0%B8%A3/ 4. http://www.barcode-produce.com/index.php?lay=show&ac =article&Id=539352178 5. http://www.ecti-thailand.org/emagazine/views/60 6. http://logisticsrmuttochan.blogspot.com/2011/08/edi.html 7. https://www.blogger.com/profile/15310147878392969862 8. https://www.youtube.com/results?search_query 9. http://www.tpa.or.th/writer/author_des.php?passTo=62e910 fa5312fa86d74d4f9a500c4a5a&authorID=1766 10. สนั่น เถาชารี. การปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการกระบวนการ ทางธุรกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมโดยใช้ระบบ ERP : กรณีศกึ ษา โรงงานผลิตขนมปังและเบเกอรี่. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหา บัณฑิต: มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2552.

>>>44

October-November 2015, Vol.42 No.243

11. เศรษฐศักดิ์ เลิศประเสริฐเวช. ระบบ GPS ทีม่ ผี ลต่อประสิทธิภาพ การจัดการในธุรกิจขนส่ง. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต: วิทยาลัย นวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548. 12. สรไกร ปัญญาสาครชัย. ผลส�ำเร็จในการน�ำเทคโนโลยี GPS มา ประยุกต์ใช้ในการเพิม่ คุณภาพการบริการขนส่งสินค้าและบริการทางถนน. การ ค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี: วิทยาลัย นวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552 13. วิโชติ สัมพันธรัตน์. ประสิทธิภาพของการรายงานการบรรทุก ขนถ่าย และการรายงานการรับมอบส่งมอบตู้สินค้าด้วยระบบการส่งเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ ของบริษทั ทีไอพีเอส จ�ำกัด ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าบี 4. งานนิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการขนส่งและโลจิสติกส์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548. 14. สุมาลี บัวขาว. การใช้รหัสแท่งในการบริหารสินค้าคงคลังของ อุตสาหกรรมอาหารและเครือ่ งดืม่ . การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2548. 15. สุวาริน พรรคเจริญ. การศึกษาความเป็นไปได้ในการน�ำเทคโนโลยี บ่งชีว้ ตั ถุดว้ ยคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุ มาใช้ในการบริหารรถยนต์ภายในลานจอด. งาน นิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการขนส่งและ โลจิสติกส์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550.


&

Electrical & Electronic

ตอนที่ 4

การทดสอบและทวนสอบ การติดตั้งระบบไฟฟ้าแรงดันต�่ำเพื่อความปลอดภัย แปลและเรียบเรียงโดย สุพจน์ ตุงคเศรวงศ์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายเครื่องมือมาตรวิทยา บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จำ�กัด

(ต่อจากฉบับที่แล้ว) ปัญหาอันตรายที่พบบ่อยในระบบติดตั้งทางไฟฟ้า

1. แรงดันไฟฟ้าผิดพร่อง แรงดันไฟฟ้าสัมผัส กระแสไฟฟ้าผิดพร่อง กระแสไฟฟ้าผ่านร่างกายมนุษย์

▲ ภาพที่ 1 แสดงแหล่งกำ�เนิด แรงดันไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า

ในภาพที่ 1 แสดงให้เห็นว่า แรงดันไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า เกิดอันตรายได้อย่างไร 1. ฉนวนไฟฟ้าเสียหาย บกพร่อง ณ ต�ำแหน่งใด ๆ ในระบบ ติดตั้งทางไฟฟ้า เช่น ➢ ระหว่างสายเส้นไฟฟ้ากับสายเส้นสายดิน ① ➢ การต่อถึงกันภายในอุปกรณ์ไฟฟ้า ②

2. เมื่อเกิดการเสียหายบกพร่อง กระแสไฟฟ้าก็จะเริ่มไหล 3. ถ้าความต้านทานของการต่อลงดินของระบบไฟฟ้ามีค่า สูงเกินไป (เช่น การเดินสายดินบกพร่อง มีการต่อลงดินไม่เหมาะสม หรืออื่น ๆ) และ/หรือ ถ้าอุปกรณ์ป้องกันไม่มีประสิทธิผล (ผิดแบบ ผิดขนาด หรืออื่น ๆ) แรงดันไฟฟ้าผิดพร่องบนส่วนตัวน�ำเปิดโล่ง (ตัวถังโลหะ ท่อประปาเหล็ก หรืออื่น ๆ) สามารถมีค่าสูงเกินระดับ October-November 2015, Vol.42 No.243

45 <<<


&

Electrical & Electronic ความปลอดภัย (ต้องพิจารณาขนาดแรงดันไฟฟ้า และระยะเวลาด้วย) 4. ถ้าส่วนตัวน�ำไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าผิดพร่องสัมผัสถูก ส่วนหนึ่งของกระแสไฟฟ้าผิดพร่องจะไหลผ่านร่างกายผู้ที่สัมผัสถูก ขนาดของกระแสไฟฟ้าทีไ่ หลผ่านจะขึน้ อยูก่ บั ค่าความต้านทานต่อไปนี้ ➢ ความต้านทานบกพร่อง ความต้านทานของร่างกาย ความ ต้านทานจุดสัมผัส ความต้านทานของพืน้ ความต้านทานดิน และอืน่ ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างกันมีดังนี้ UFAULT

( (

)

= IFAULT • (RPE + REH), must be below 50V (25V)

RBODY UCONTACT1 = UFAULT • ⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯ RBODY + RFLOOR + RCONTACT RBODY UCONTACT2 = UFAULT • ⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯ RBODY + RPE2 + RCONTACT

)

2. การโจมตีจากฟ้าผ่า ฟ้าผ่าจะท�ำให้เกิดอันตรายวิกฤตกับระบบติดตั้งทางไฟฟ้า และอุปกรณ์ที่ต่อกับระบบในหลาย ๆ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ภาพต่อไปนี้ แสดงให้เห็นตัวอย่างว่า ฟ้าผ่าโจมตีอย่างไร ที่ สามารถเป็นเหตุของไฟไหม้ และแรงดันไฟฟ้าผิดพร่องไปทั่วระบบ ติดตั้งไฟฟ้า (เนื่องมาจากมีระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ไม่เหมาะสม)

Eq. 12 Eq. 13 Eq. 14

โดยที่ UFAULT = แรงดันไฟฟ้า บนส่วนโลหะเปิดโล่งเทียบกับดิน UCOTACT = ส่วนของแรงดันไฟฟ้าผิดพร่องที่ร่างกายสัมผัสถูก IFAULT = กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านวงรอบผิดพร่อง บางส่วนจะ สามารถไหลผ่านร่างกาย IBODY = กระแสไฟฟ้า ที่ไหลผ่านร่างกาย RBODY = ความต้านทานของร่างกาย RFLOOR = ส่วนเพิ่มเติม (ฉนวน) ความต้านทานพื้น RCOTACT = ส่วนเพิ่มเติม (ฉนวน) ความต้านทานรองเท้า ถุงมือ และอื่น ๆ หมายเหตุ กระแสไฟฟ้าผิดพร่อง/รั่วไหล ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นผลมาจาก ความผิดพร่องของระบบไฟฟ้า กระแสไฟฟ้ารั่วไหล สามารถเกิดจาก ภาคขาเข้าของตัวกรองป้องกันการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC) ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งแน่นอนที่ว่าจะต้องตั้งอยู่บน ระดับความปลอดภัยที่ก�ำหนดไว้ล่วงหน้าที่จะให้มันเป็นต้นเหตุไป กระตุ้นตัวตัดไฟฟ้ารั่ว (RCDs) ให้ตัดวงจรและปัญหาอื่น ๆ ออกจาก ระบบไฟฟ้า

▲ ภาพที่ 3 แสดงต้นกำ�เนิดของอันตรายจากการโจมตีของฟ้าผ่า

1. ระบบแสงสว่างของอาคาร จะได้รบั ความเสียหายจากการ โจมตีจากฟ้าผ่าโดยตรง 2. ในระบบป้องกันฟ้าผ่าทีถ่ กู ต้องเหมาะสม แรงดันไฟฟ้าสูง ที่เกิดจากการปล่อยพลังงาน จะถูกระบายลงดิน ② อย่างถูกต้อง แรงดันไฟฟ้าอิมพัลส์ระหว่างดินและแท่งหลักดินจะอยู่ในระดับต�่ำ 3. อย่างไรก็ตาม ในระบบป้องกันฟ้าผ่าทีผ่ ดิ พร่อง (เช่น แท่ง หลักดินผิดพร่อง) แรงดันไฟฟ้าอิมพัลส์พลังงานสูงอย่างควบคุมไม่ได้ นี้ จะสามารถเกิดขึ้นบนส่วนตัวน�ำเปิดโล่งที่สามารถสัมผัสถึงได้ (สายดิน ส่วนเชื่อมต่อโลหะ) ③ อิมพัลส์พลังงานสูงจะเข้าสู่ระบบ ไฟฟ้าผ่านทางสายตัวน�ำต่าง ๆ แรงดันไฟฟ้าผิดพร่องที่อันตรายและ ความร้อนสูง สามารถเกิดขึ้นทั่วทั้งระบบไฟฟ้า ④ ไม่ใช่เพียงจุดที่ ฟ้าผ่าลงมาเท่านั้น หมายเหตุ การโจมตีไม่โดยตรง ก็สามารถเกิดผลกระทบเหมือนกันได้ แรงดันไฟฟ้ากรรโชกสูงมากนี้ สามารถเดินทางไปได้ไกลตามตัวน�ำ ไฟฟ้าต่าง ๆ และเข้าสู่ระบบไฟฟ้าผ่านตัวน�ำไฟฟ้าใดก็ได้ (สายไฟฟ้า สายศูนย์ สายดิน)

(อ่านต่อฉบับหน้า) แปลและเรียบเรียงจากเอกสาร: Guide for Testing and Verification of Low Voltage Installations ของ METREL

▲ ภาพที่ 2 แสดงต้นกำ�เนิดของกระแสรั่วไหล >>>46

October-November 2015, Vol.42 No.243


&

ตอนจบ

Production

เทคนิคประหยัดพลังงาน และลดต้นทุน

การผลิตด้วยเครื่องปั๊มเซอร์โว (energy saving and cost reduction by servo press application) อำ�นาจ แก้วสามัคคี

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

เทค

โนโลยีเซอร์โวเป็นเทคโนโลยีที่อนุญาตให้ผู้ผลิตชิ้นงาน ปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป สามารถที่จะท�ำการเขียนชุดค�ำสั่ง หรือโปรแกรมเพื่อควบคุมการเคลื่อนที่แรมของเครื่องปั๊มได้อย่าง เต็มที่ ซึง่ รวมทัง้ การควบคุมให้หยุด ณ ทีจ่ ดุ ใด ๆ ของช่วงชักได้อกี ด้วย ซึ่งส่วนหนึ่งของลักษณะการควบคุมการเคลื่อนที่แรมของเครื่องปั๊ม เซอร์โวนั้น สามารถท�ำได้โดยอาศัยมอเตอร์ช่วยควบคุม หรือเซอร์โว มอเตอร์ (high-torque, low-rpm servomotor) ชนิดที่ได้รับการ ออกแบบให้มีแรงบิดสูงในขณะที่หมุนด้วยความเร็วรอบต�่ำ ๆ ได้

เครื่องปั๊มเซอร์โวจะสามารถให้พลังงานและแรงบิดเต็มรูป แบบได้ แม้วา่ จะเดินเครือ่ งทีค่ วามเร็วต�ำ่ ก็ตาม เนือ่ งจากเป็นมอเตอร์ ชนิดทีใ่ ห้แรงบิดสูงได้ดว้ ยความเร็วรอบต�ำ่ ซึง่ มีการขับส่งก�ำลังโดยตรง แล้วท�ำการจ่ายพลังงานในการท�ำงานได้อย่างต่อเนือ่ งเต็มรูปแบบ นับ ตั้งแต่ที่ความเร็ว 1 รอบต่อนาทีขึ้นไป แต่ส�ำหรับในเครื่องปั๊มเชิงกล แบบดั้งเดิมนั้นจะไม่สามารถท�ำได้ และยังประเมินได้ว่าที่ความเร็ว สูงสุดจะมีความสามารถเพียงประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ ของเครื่องปั๊ม เซอร์โวเท่านั้น

ข้อต่อหรือแบบลิงก์

เคลือ่ นไปข้างหน้า/ย้อนกลับ หยุดก่อน BDC

ด้านบนช้าลงส�ำหรับงานอัตโนมัติ

หยุดพักรอเหนือศูนย์ตายล่าง (BDC)

ความเร็วสูงกว่าแบบลูกตุ้มแกว่ง

ข้อเหวี่ยงหรือแบบแคร็งก์

ภาพที่ 5 ลักษณะเส้นโค้งการเคลือ่ นทีข่ องแรมในเครือ่ งปัม๊ เซอร์โวไอดะ (AIDA) ทีไ่ ด้มกี ารเขียนโปรแกรมส�ำหรับควบคุมการเคลือ่ นทีเ่ หล่านีม้ าให้พร้อมกับตัวเครือ่ งแล้ว เพื่อเลือกน�ำมาประยุกต์ใช้กับแต่ละรูปแบบการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปที่แตกต่างกันได้เลยทันที

October-November 2015, Vol.42 No.243

47 <<<


&

Production เครื่องปั๊มเชิงกล แบบมาตรฐานดั้งเดิม

เครื่องปั๊มไฮดรอลิก แบบมาตรฐานดั้งเดิม

เครื่องปั๊มเซอร์โว ของบริษัท “อะมิโนะ”

ความเร็วรอบ สูงที่สุด

การใช้พลังงาน

ค่าใช้จ่ายใน การซ่อมบำ�รุง

ต้นทุนการปฏิบัติงาน (ดอลล่าร์ต่อชั่วโมง)

ภาพที่ 6 กราฟแท่งที่เปรียบเทียบในด้านการใช้พลังงาน และในแง่มุมต่าง ๆ ระหว่างเครื่อง ปั๊มเซอร์โวแบบข้อต่อ หรือแบบลิงก์ของผู้ผลิต “อะมิโนะ” (Amino Link Servo Press) กับเครื่องปั๊มเชิงกลแบบมาตรฐานดั้งเดิม (conventional mechanical press) และเครื่องปั๊มไฮดรอลิก แบบมาตรฐานดั้งเดิม (conventional hydraulic press) ให้เข้าใจอย่างง่าย ๆ

ในภาพที่ 6 เปรียบเทียบให้เห็นถึงข้อดีของเครื่องปั๊มเซอร์โว เมือ่ เทียบกับเครือ่ งปัม๊ แบบดัง้ เดิมอืน่ ซึง่ จะพบว่า เครือ่ งปัม๊ เซอร์โวจะ มีอัตราความสิ้นเปลืองก�ำลัง (power) และพลังงาน (energy) ที่ต�่ำ กว่า ด้วยการประยุกต์ใช้การเก็บประจุไฟฟ้าขนาดใหญ่กับระบบ ควบคุมของเครื่องปั๊มเซอร์โว ซึ่งแม้ว่ามอเตอร์ที่ใช้จะมีความจุมาก แต่มีนัยส�ำคัญว่าต้องการก�ำลังในปริมาณที่น้อยกว่า โดยในขณะที่ เซอร์โวมอเตอร์ไม่มภี าระตัวคาปาซิเตอร์หรือคอนเดนเซอร์ (capacitor หรือ condenser) ที่มีขนาดใหญ่ก็จะท�ำการเก็บสะสมพลังงานเอาไว้ ใช้ และเมือ่ เซอร์โวมอเตอร์ได้รบั ภาระเพิม่ จากสภาวะปกติ ส่วนก�ำลัง และพลังงานจึงจะถูกดึงออกจากคาปาซิเตอร์มาใช้งาน โดยผ่านเส้น ทางที่ไม่ใช้เส้นทางหลัก ท�ำให้ผู้ผลิตชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป สามารถทีจ่ ะลดการใช้พลังงานลงได้ 10 - 50 เปอร์เซ็นต์ หรือมากกว่า อย่างมีนัยส�ำคัญ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าในทุก ๆ กรณีเครื่องปั๊มเซอร์โวจะ มีการสิ้นเปลืองก�ำลังที่ต�่ำกว่าในเครื่องปั๊มแบบดั้งเดิม ความต้องการพลังงาน เพื่อใช้ในการขึ้นรูปชิ้นงาน

ภาพขยายส่วนเกลียว ที่ถูกตัดเฉือนในแม่พิมพ์

ส่วนโครงร่างการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป วัสดุในแม่พิมพ์โปรเกรสซีฟว์

พลังงานจากสายกำ�ลังไฟฟ้าสาย หลักของโรงงานที่ถูกดึงมาใช้งานปั๊ม การเคลื่อนที่ของแรมเครื่องปั๊ม

พลังงานที่จ่าย / และที่ทำ�การ ประจุไฟฟ้าใหม่โดยตัวเก็บประจุ

กราฟแสดงการจ่ายพลังงานตามการรับภาระที่เกิดขึ้น ภาพที่ 7 การจ่ายและใช้พลังงานในเครือ่ งปัม๊ เซอร์โว โดยตลอดระยะทางในการเคลือ่ นทีข่ อง แรมและสไลด์เครือ่ งปัม๊ ซึง่ จะมีตวั เก็บประจุไฟฟ้าขนาดใหญ่ทำ� หน้าทีจ่ า่ ยพลังงาน และหรือประจุไฟฟ้าเข้าไปใหม่ได้อย่างราบรื่นโดยไม่สูญเปล่า จึงท�ำให้สามารถ ประหยัดพลังงานที่น�ำไปใช้ได้ >>>48

จากในภาพที่ 7 ใช้ประกอบการอธิบายให้เห็นถึงการกระจาย ภาระที่เกิดขึ้นในเครื่องปั๊มเซอร์โว โดยจะมีเส้นโค้งที่แสดงแทน ต�ำแหน่งของส่วนต่าง ๆ เช่น แสดงแทนแรมของเครื่องปั๊ม แสดงแทน ความต้องการพลังงานเพือ่ ใช้ในการขึน้ รูปชิน้ งาน และแสดงแทนการ ดึงพลังงานจากสายก�ำลังไฟฟ้าสายหลักของโรงงานมาใช้งาน เป็นต้น พลังงานคงเหลือจากการที่ตัวคาปาซิเตอร์หรือคอนเดนเซอร์ ซึ่งเป็น ตัวเก็บประจุไฟฟ้าได้มีการจ่ายออกมาใช้งานนั้น ก็จะท�ำการประจุ ไฟฟ้าใหม่ในช่วงที่ไม่ได้มีการท�ำงาน (non-working) ในระหว่าง วัฏจักรของการปั๊มครั้งนั้น ๆ และนอกจากนี้เครื่องปั๊มเซอร์โวจะมีการ ใช้พลังงานที่น้อยมากในขณะเดินเครื่องตัวเปล่า ไม่ว่าจะเป็นช่วงที่มี การถอดเปลี่ยน-ติดตั้งแม่พิมพ์ และหยุดท�ำการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป ในระหว่างรอการตรวจวัด หรือตรวจสอบชิน้ งานทีป่ ม๊ั ออกมาได้นนั้ อยู่ หรือกรณีอื่น ๆ ในท�ำนองเดียวกันนี้ จากในตัวอย่างที่ยกมาประกอบ นี้ จะพบว่าสามารถลดภาระที่สูงสุด (peak load) ในสายก�ำลังไฟฟ้า สายหลักของโรงงานได้มากถึง 67 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับเครื่องปั๊ม เชิงกลมาตรฐาน ซึ่งจะมีการดึงก�ำลังไฟฟ้าจ�ำนวนมากออกไปใช้งาน อย่างต่อเนื่อง แม้ในระหว่างช่วงที่ไม่ได้มีการท�ำงานอยู่ก็ตาม เนื่อง เพราะว่ามอเตอร์ตวั หลักนัน้ ยังคงต้องท�ำงานหนักอยู่ เพือ่ ทีจ่ ะท�ำการ รักษาให้ฟลายวีล หรือล้อช่วยแรงของเครื่องปั๊ม ซึ่งจะมีความเร็ว เคลือ่ นทีล่ ดลงภายหลังผ่านการปัม๊ หรือตีปะทะเข้ากับชิน้ งานแล้วนัน้ ให้กลับไปมีความเร็วเหมือนเดิมอยู่เสมอ ส�ำหรับตัวอย่างชิ้นงาน และกระบวนการบางส่วนต่อไปนี้ เป็นการประยุกต์ใช้ในการปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปชิน้ งานทีส่ ามารถผลิตได้ อย่างมีคุณภาพโดยใช้เครื่องปั๊มเซอร์โว แต่ไม่สามารถด�ำเนินการได้ โดยเครื่องปั๊มแบบธรรมดาดั้งเดิม หรือแม้ว่าบางลักษณะจะท�ำได้แต่ ก็ต้องมีต้นทุนการผลิตที่สูงกว่า

October-November 2015, Vol.42 No.243

ภาพที่ 8 ชิ้นงานดึงขึ้นรูปที่ท�ำจากวัสดุไทเทเนียม (Titanium) (ซ้ายมือ) และการต๊าปท�ำ เกลียวภายในชิ้นงานขณะที่ก�ำลังปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปอยู่ (กลางและขวามือ)

การดึงขึน้ รูปชิน้ งานโดยได้ไม่เกิดการฉีกขาดแต่อย่างใด ทัง้ ๆ ที่เป็นอีกหนึ่งวัสดุที่ยากต่อการดึงขึ้นรูป และสามารถต๊าปเกลียวตัว เมียภายในชิน้ งานทีก่ ำ� ลังปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปในแม่พมิ พ์โปรเกรสซีฟว์ ได้ โดยอาศัยความสามารถ รูปแบบการเคลื่อนที่ทเี่ หมาะสมของแรม ของเครื่องปั๊มเซอร์โว


&

Production หมุดขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 3.6 มิลลิเมตร

แถบวัสดุที่ตัดเฉือน-ขึ้นรูป ให้เป็นชิ้นงาน

นัตแบบหัวสี่เหลี่ยมขนาด M5

ภาพขยายชิ้นงานที่ ประกอบเสร็จแล้ว

ชิ้นส่วนที่ตีย�้ำให้ชิ้นงาน ยึดติดเข้าด้วยกันในแม่พิมพ์แล้ว

ภาพที่ 9 ชิ้นงานที่ผ่านการประกอบเข้าด้วยกัน (ซ้ายมือ และกลาง) และกระบวนการตีย�้ำให้ ชิ้นงานยึดติดเข้าด้วยกันและกัน (ขวามือ) ซึ่งกระท�ำภายในแม่พิมพ์โปรเกรสซีฟว์ ด้วยเครื่องปั๊มเซอร์โว

ชิน้ งานประกอบจากนัตแบบหัวสีเ่ หลีย่ มขนาดเกลียว “M5” ที่ ถูกป้อนเข้ามาประกอบกับชิ้นงาน ได้มาจากการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป แถบโลหะให้เป็นชิน้ เดียวกัน แล้วตัดแยกออกมาเป็นชิน้ ส่วนส�ำเร็จรูป และอีกชิ้นงานหนึ่ง ที่ได้จากการตีย�้ำให้ยึดติดเข้าด้วยกัน โดยทั้งคู่ สามารถด�ำเนินการภายในแม่พมิ พ์ซงึ่ ท�ำงานเพียงวัฏจักรเดียวเท่านัน้ ชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป

ทิศทางป้อนที่ 1 ทิศทางป้อนที่ 3

นัตหัวหกเหลี่ยมที่ถูก เชื่อมยึดเข้ากับชิ้นงานปั๊ม

แถบวัสดุชิ้นงานปั๊ม ที่ป้อนเข้ามา ประกอบเข้าด้วยกัน จากทั้ง 3 ทิศทาง

ชิ้นส่วนยานยนต์ที่ปั๊มขึ้นรูปได้ยาก

แรมหรือสไลด์เคลื่อนที่ตี-กระแทกซ�้ำ 3 ครั้งติดต่อกัน

ภาพที่ 12 การเขียนโปรแกรมขึน้ เพือ่ ใช้ควบคุมการเคลือ่ นทีข่ องแรมในเครือ่ งปัม๊ ไอดะ (AIDA) ขนาดก�ำลังในการปั๊ม 800 ตัน ให้ท�ำการปั๊มบีบอัดประทับตราหรือคอยน์นิ่ง ชิ้นงานที่ขึ้นรูปได้ยากนี้ ได้เป็นจ�ำนวน 3 ครั้ง ณ ช่วงล่างของช่วงชักที่อยู่ภายใน วัฏจักรงานเดียวกัน ซึ่งจะให้ประสิทธิผลที่ดีกว่าการปั๊มขึ้นรูปด้วยเครื่องปั๊มแบบ เชิงกลดั้งเดิมที่มีขนาดก�ำลังในการปั๊ม 1,200 ตัน หรือดีกว่าวิธีการที่จะเพิ่ม ขั้นตอน หรือสถานีงานการตี – กระแทกซ�้ำเข้าไปภายในแม่พิมพ์เดิมอีกด้วย

ทิศทางป้อนที่ 2

ภาพที่ 10 ชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป ซึ่งมีนัตถูกเชื่อมยึดติดเข้าไว้ด้วยกัน (ซ้ายมือ) และ การประกอบชิ้นงานที่ปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปจากชิ้นงาน 3 รูปร่างที่ต่างกัน (ขวามือ) ซึง่ ทัง้ สองวิธสี ามารถด�ำเนินการภายในแม่พมิ พ์ซงึ่ ท�ำงานพียงวัฏจักรเดียวเช่นกัน

ต้นทุนการผลิต

เครื่องปั๊มเซอร์โวนั้น ยังสามารถท�ำให้แม่พิมพ์โปรเกรสซีฟว์ ท�ำการป้อนส่งแถบวัสดุทเี่ ป็นชิน้ งานปัม๊ เข้ามาท�ำการประกอบเข้าด้วย กันภายในแม่พิมพ์จาก 3 ทิศทางที่แตกต่างกันได้ และแม้แต่การ ประกอบนัตเข้าด้วยกันกับชิ้นงานปั๊มโดยกระบวนการเชื่อมยึดให้ ติดกันภายในแม่พิมพ์ภายในหนึ่งวัฏจักรที่ท�ำการปั๊มชิ้นงานดังกล่าว

เครื่องปั๊มธรรมดา เครื่องปั๊มเซอร์โว ระยะเวลา

เครื่องปั๊มเชิงกล และเครื่องปั๊มไฮดรอลิก

การควบคุมการเคลื่อนที่ของแรมให้เคลื่อนที่ขึ้น - ลงซ�้ำ ๆ ภายในวัฏจักรเดียวกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุง และเพิ่ม คุณภาพของชิ้นงาน ท�ำให้มีขนาดต่าง ๆ อยู่ภายในขอบเขตของค่า พิกัดความเผื่อที่ก�ำหนดแล้วได้ค่าดัชนีวัดขีดความสามารถ หรือ สมรรถนะของกระบวนการ (process capability index) ทีด่ ยี งิ่ ขึน้ ซึง่ จะส่งผลท�ำให้ชนิ้ งานมีแนวโน้มทีจ่ ะถูกปฏิเสธน้อยลง นัน่ ก็เท่ากับว่า ท�ำให้มีผลก�ำไรเพิ่มมากขึ้น และด้วยความสามารถในการควบคุมให้ มีการเคลือ่ นทีข่ นึ้ - ลงซ�ำ้ ๆ กันได้นี้ ก็ชว่ ยให้ตน้ ทุนการผลิตของแม่พมิ พ์ ลดลงได้ด้วย

เครื่องปั๊มเซอร์โว

ภาพที่ 11 เปรียบเทียบความสามารถของเครื่องปั๊มเซอร์โวเชยี่ (Seyi) เพียงเครื่องเดียว แต่ ท�ำงานได้เทียบเท่ากับเครื่องปั๊มเชิงกล และเครื่องปั๊มไฮดรอลิกรวมกันสองเครื่อง ซึ่งโดยตัวเครื่องปั๊มเซอร์โวเองก็สามารถประหยัดพลังงานได้มากกว่าเครื่องปั๊ม ธรรมดาอยู่แล้ว ในกรณีนี้ นอกจากจะช่วยลดเนื้อที่การใช้งานลง ก็ยังช่วยท�ำให้ มีต้นทุนการผลิตที่ต�่ำกว่าในระยะยาวได้อีกด้วย

ด้วยเหตุที่ยานยนต์รุ่นใหม่ ๆ จะมีการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ต่าง ๆ ขึ้นมาจากวัสดุที่มีความแข็งแรงต้านทานแรงดึงที่สูงกว่าปกติ (higher strength steels) รวมทัง้ ผลิตจากวัสดุชนิดทีม่ คี ณ ุ สมบัตพิ เิ ศษ ต่าง ๆ ซึ่งเป็นกลุ่มวัสดุที่มีคุณสมบัติพิเศษ และมีความแข็งมากกว่า เหล็กอ่อนทั่วไป (mild steels) จึงท�ำให้ยากต่อการปั๊มขึ้นรูปมากยิ่ง ขึ้นกว่าปกติ ดังนั้นเพื่อที่จะยังคงให้มีความสามารถในการปั๊มขึ้นรูป ชิน้ ส่วนดังกล่าวให้ได้รปู ร่าง และค่าพิกดั ความเผือ่ ตามทีล่ กู ค้าก�ำหนด นั้น โดยปกติทั่วไปแล้ว จ�ำเป็นต้องท�ำการเพิ่มทั้งก�ำลังของการปั๊ม (press tonnage) และขนาดของแท่นเครือ่ ง หรือฐานเครือ่ งปัม๊ (press bed) ให้มากหรือโตขึ้นไปกว่าเดิม ทั้งนี้เพื่อสอดคล้องกับแม่พิมพ์ที่ จะมีความซับซ้อนมากยิง่ ขึน้ ไปด้วย ซึง่ อาจมีความจ�ำเป็นต้องท�ำการ ลงทุนซื้อเครื่องปั๊ม และอุปกรณ์ดังกล่าวเพิ่มเติม อย่างไรก็ตาม ถ้าหากว่าในโรงงานดังกล่าวมีเครือ่ งปัม๊ เซอร์โว อยู่แล้ว ซึ่งแม้ว่าจะมีขนาดก�ำลังของการปั๊มที่ต�่ำกว่าเครื่องปั๊มแบบ ดั้งเดิมทั่วไปอยู่ก็ตาม ก็เป็นที่ได้รับการรับรองว่าจะมีความสามารถ ในการปัม๊ ขึน้ รูปชิน้ ส่วนดังกล่าวอย่างมีคณ ุ ภาพตามค่าพิกดั ความเผือ่ ของชิ้นงานที่ลูกค้าก�ำหนดได้ดีกว่าเครื่องปั๊มแบบดั้งเดิมอีกด้วย ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่องปั๊มเซอร์โวที่มีขนาดก�ำลังของการปั๊มเพียง 800 ตัน แทนเครื่องปั๊มแบบเชิงกลดั้งเดิมที่มีขนาดก�ำลังของการปั๊ม 1,200 ตัน แต่ก็ยังสามารถให้คุณภาพชิ้นงานที่ผลิตออกมานั้นมี October-November 2015, Vol.42 No.243

49 <<<


&

Production คุณภาพดีกว่าอย่างมีประสิทธิผลอีกด้วย โดยที่ไม่จ�ำเป็นต้องท�ำการ เพิ่มขนาดก�ำลังของเครื่องปั๊ม และหรือเพิ่มจ�ำนวนสถานีงานหรือ ขั้นตอนการตี-กระแทกซ�้ำเข้าไปภายในแม่พิมพ์เดิมอีกแต่อย่างใด เนือ่ งจากเครือ่ งปัม๊ เซอร์โวสามารถทีจ่ ะเขียนโปรแกรมเพือ่ ควบคุมการ เคลื่อนที่ของแรมเครื่องปั๊มให้ตีขึ้นรูปชิ้นงานซ�้ำ ๆ กัน 3 ครั้ง ณ ที่ด้าน ล่างของช่วงชักได้ แล้วก็ยังสามารถท�ำให้ส�ำเร็จลงได้ภายในเวลาอัน รวดเร็วภายในหนึ่งวัฎจักรอีกด้วย (ซึ่งถ้าเป็นในการปั๊มด้วยเครื่องปั๊ม เชิงกลแบบดั้งเดิม ก็อาจจะต้องแยกการปั๊มออกต่างหากจากกันแบ่ง เป็น 3 ครั้ง) จึงท�ำให้ได้ต้นทุนของเครื่องปั๊ม และแม่พิมพ์ที่ลดลงไป ตามขนาดทีเ่ ล็กลงไปกว่าขนาดทีใ่ ช้งานตามวิธกี ารแบบเดิม ๆ นัน่ เอง

ภาพที่ 13 ตัวอย่างของการเคลื่อนที่ของแรมเครื่องปั๊มในรูปแบบที่เรียกว่า “การปั๊มตีซ�้ำ หลาย ๆ ครั้ง”(multistroke) ในเครื่องปั๊มโคะมัทซึ (ซ้ายมือ) และกรอบเลนส์แว่นตา ที่ผลิตจากโลหะผสมจ�ำรูปร่างซึ่งสามารถดัดให้งอตัวได้ (ขวามือ)

การปั๊มตีซ�้ำหลาย ๆ ครั้ง (multistroke หรือ multiple step motion) ในเครือ่ งปัม๊ โคะมัทซึนี้ จะสามารถใช้ในการแก้ปญ ั หาการดีด ตัวกลับภายหลังการขึ้นรูปของกรอบเลนส์แว่นตาที่ท�ำมาจากโลหะ ผสมจ�ำรูปร่างที่มีส่วนผสมไทเทเนียมเป็นหลัก (titanium based shape-memory alloy) โดยการตีขึ้นรูปซ�้ำ ๆ ติดต่อกัน 3 ครั้งภายใน วัฏจักรการปั๊มขึ้นรูปเดียวกันได้ นอกจากทีก่ ล่าวมาแล้วนี้ เครือ่ งปัม๊ เซอร์โวยังมีความสามารถ ในการปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปทีเ่ ครือ่ งปัม๊ แบบธรรมดาไม่สามารถท�ำได้อกี มาก (และถึงแม้วา่ จะสามารถท�ำได้กอ็ าจท�ำให้มชี นิ้ งานทีเ่ ป็นของเสีย มากกว่าหรือมีตน้ ทุนทีส่ งู กว่าทีผ่ ลิตโดยเครือ่ งปัม๊ เซอร์โวนี)้ เช่น ท�ำให้ ได้อายุการใช้งานของแม่พิมพ์มากกว่าหรือเท่ากับ 3 เท่าขึ้นไป

เมือ่ เทียบกับการน�ำแม่พมิ พ์ไปใช้กบั เครือ่ งปัม๊ แบบธรรมดา เพราะว่า เครือ่ งปัม๊ เซอร์โวสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมให้ความเร็วในการตัด เฉือนลดลงได้ จึงท�ำให้ลดความดังของเสียงรวมทั้งแรงสั่นสะเทือนที่ มีผลต่ออายุการใช้งานแม่พมิ พ์ลงตามไปด้วย ท�ำให้สามารถดึงขึน้ รูป วัสดุที่ขึ้นรูปได้ยาก (แมกนีเซียม ไทเทเนียม และอลูมิเนียมผสม) ได้ ภายในวัฏจักรการปัม๊ เดียวด้วยการหยุดพักรอไม่กวี่ นิ าทีเพือ่ ให้ความ ร้อนกับชิน้ งานก่อนถูกดึงขึน้ รูปแล้วได้ชนิ้ งานปราศจากรอยแตกหรือ ฉีกขาดแต่อย่างใด และความสามารถอืน่ ๆ อีก จึงถือเป็นอีกทางเลือก หนึ่งในการพิจารณาจัดหาเครื่องปั๊มมาไว้ใช้ในโรงงานเพื่อสร้าง ผลประโยชน์ตอบแทนให้กับท่านได้เช่นเดียวกันกับที่ผู้ใช้เครื่องปั๊ม เซอร์โวในปัจจุบันเป็นจ�ำนวนมากได้ย้ายงานที่ท�ำได้ยากทั้งหมดไป ท�ำการผลิตโดยเครือ่ งปัม๊ เซอร์โว แล้วมีผลท�ำให้สามารถเปลีย่ นสภาพ จาก “ผู้แพ้” (ขาดทุน) ให้กลายมาเป็น “ผู้ชนะ” (ก�ำไร) ไปแล้ว แหล่งอ้างอิง 1. http://www.thefabricator.com 2. http://www.aida-global.com 3. http://www.komatsupress.com 4. http://www.4wheelsnews.com 5. http://www.amt.amada.co.jp 6. http://www.aminonac.ca 7. http://www.seyiamerica.com

>>>50

October-November 2015, Vol.42 No.243


&

Production

ความส�ำคัญของ Poka-Yoke

ในกระบวนการผลิจบต พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์

ตอน

ที่ปรึกษาอิสระและนักวิจัยแห่งชาติ

(ต่อจากฉบับที่แล้ว)

ความ

ส�ำเร็จในโรงงานที่ทัน สมัย “ความผิดพลาดที่ เพิม่ ขึน้ เกิดจากการขาดความเอาใจใส่หรือ มีใจเหม่อลอย” การที่บริษัทผู้ผลิตยุคใหม่จะอยู่รอด ในบรรยากาศของการแข่งขันได้ พวกเขาจะ ต้องให้ความส�ำคัญกับมาตรฐานต่าง ๆ อย่าง เข้มงวด เพื่อท�ำให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ กับคุณลักษณะทั้งหมดของผลิตภัณฑ์และ บริการ บริษัทยังคงต้องการท�ำก�ำไรและ ปกป้องคนงานของพวกเขาไว้ การที่โรงานที่

ทันสมัยจะประสบความส�ำเร็จได้ ควรจะต้อง ด�ำเนินการดังต่อไปนี้ ราคาขาย = ราคาตลาด การตั้งราคาขายจะต้องตั้งราคาให้ ลูกค้าอยากจะซื้อ ความหลากหลาย = การผลิตสินค้า หลากหลายชนิด แต่ให้ผลิตจ�ำนวนเล็กน้อย การผลิ ต ต้ อ งรู ้ ว ่ า อะไรที่ ลู ก ค้ า ต้องการ คุณภาพ = คุณภาพที่น่าจะเป็นไป ได้สูงสุด

การผลิตสินค้าต่าง ๆ ขึ้นมา ต้อง สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า การส่งมอบ = การส่งมอบตรงเวลา อยู่เสมอ การส่งมอบต้องตรงตามตารางเวลา การส่งมอบทุกครัง้ สินค้าทีส่ ง่ มอบต้องส่งมอบ ตรงตามเวลาที่ลูกค้าต้องการ ต้นทุน = ต้นทุนต่อหน่วยต้องต�ำ่ สุด การผลิตที่ต้นทุนต�่ำสุดที่น่าจะเป็น ไปได้ เป็นสิ่งที่ลูกค้าต้องการมากที่สุด

October-November 2015, Vol.42 No.243

51 <<<


&

Production ความปลอดภัย = ต้องมาก่อนเสมอ สินค้าที่ผลิตออกไปจะต้องมีความปลอดภัยในการใช้งาน ผู้ผลิตทุกรายจะผลิตสินค้าต้องสร้างความพึงพอใจให้กับ ลูกค้า ซึ่งแนวทางนี้ก็คือการใช้ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง หรือเป็นกลไกใน การขับเคลื่อนหรือการมองจากภายในออกไปสู่ภายนอก ในทางกลับ กันหากผู้ผลิตผลิตสินค้าออกไป แต่สินค้าที่ผลิตออกไปกลับไปสร้าง แรงกดดันให้กับลูกค้าจนลูกค้าไม่มีทางเลือก เราเรียกว่าเป็นการใช้ ผูผ้ ลิตเป็นศูนย์กลางหรือเป็นกลไกในการขับเคลือ่ น หรือเป็นการมอง จากภายนอกเข้ามาสู่ภายใน ทุกวันนี้เศรษฐกิจมีการแข่งขันกันอย่าง เอาเป็นเอาตาย บริษัทต้องใช้ลูกค้าเป็นกลไกในการขับเคลื่อน จึงจะ ท�ำให้บริษัทประสบความส�ำเร็จ

สินค้าทั้งหมดมีส่วนเกี่ยวข้องกับของเสีย

ความผิดพลาดสามารถหลีกเลีย่ งได้ไหม? จริง ๆ แล้วมีอยูด่ ว้ ย กัน 2 แนวทาง คือ ➲ ความผิดพลาดที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ พนักงานจะ เกิดความผิดพลาดทุกครั้ง โดยธรรมชาติแล้วเราจะให้อภัยกับความ ผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ อยูเ่ สมอ การทีเ่ ราต�ำหนิพนักงานทีท่ ำ� งานผิดพลาด ซึ่งการต�ำหนิพนักงานเป็นทัศนคติประเภทหนึ่งที่ท�ำให้เรามองข้าม ของเสียที่เกิดขึ้นจากการผลิต จริง ๆ แล้วพวกเขาสามารถตรวจจับ การผลิตขั้นตอนสุดท้าย หรือตรวจจับผลผลิตที่ไม่ดีออกมาหรืออาจ ได้จากลูกค้า ➲ ความผิดพลาดที่สามารถขจัดทิ้งไปได้ การที่พนักงาน ท�ำงานผิดพลาดอย่างหนึ่งอย่างใด เราสามารถลดลงหรือขจัดความ ผิดพลาดทิง้ ไปได้ พนักงานทีท่ ำ� งานผิดพลาดไม่มากนัก หากพวกเขา ได้รับการสนับสนุนการฝึกอบรมที่ดีพอรวมทั้งจัดท�ำระบบการผลิตที่ ดีพอ ย่อมจะเป็นหลักการทีด่ ใี นการป้องกันความผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ ได้

>>>52

October-November 2015, Vol.42 No.243

ความผิดพลาดมีความแตกต่างด้วยกันหลายประเภท ความ ผิดพลาดทัง้ หมดเกิดจากความผิดพลาดของคนล้วน ๆ แต่อย่างไรก็ดี ความผิดพลาดอย่างน้อยที่สุดของคนมีอยู่ด้วยกัน 10 ประการ คือ 1. ความหลงลืม บางครั้งเราจะหลงลืมเรื่องต่าง ๆ เมื่อเรา ขาดสมาธิ อย่างเช่น นายสถานีรถไฟหลงลืมที่จะยกแผงกั้นลงมา ซึ่ง เป็นเครือ่ งป้องกันความปลอดภัย โดยนายสถานีจะต้องตืน่ ตัวล่วงหน้า หรือตรวจเช็คช่วงระยะเวลาของการเดินรถอย่างสม�่ำเสมอ 2. ความผิดพลาดจากสาเหตุความไม่เข้าใจหรือเข้าใจผิด บางครั้งเราท�ำผิดพลาดเมื่อเรากระโดดข้ามไปสรุปผลออกมาอย่าง ผิด ๆ แทนที่เราควรจะรู้สถานการณ์ก่อน อย่างเช่น บุคลากรที่ไม่เคย ใช้รถยนต์เกียร์ออโตมาก่อน เขาให้เหยียบเบรกก่อน แต่เขายังมีความ เคยชินคิดว่าเป็นการเหยียบคลัทช์ เครื่องป้องกันความปลอดภัย คือ การฝึกอบรมและต้องมีการตรวจเช็คล่วงหน้า และต้องปฏิบัติตาม มาตรฐานคู่มือในการใช้งาน 3. ความผิ ด พลาดในการแยกแยะ บางครั้ ง เราตั ด สิ น สถานการณ์หนึ่ง ๆ ผิด เนื่องจากเราคิดเกี่ยวกับสถานการณ์นั้น ๆ เร็ว ไปหน่อย หรือเห็นว่ามันยังอยูห่ า่ งไกลเกินไป อย่างเช่น เรานับเงินหนึง่ พันล้านดอลล่าร์ เรานับผิดเป็น 10 พันล้านดอลล่าร์ เครื่องป้องกัน ความปลอดภัย คือ การฝึกอบรมและความเอาใจใส่และการเฝ้าระวัง 4. ความผิดพลาดเกิดจากมือสมัครเล่น บางครัง้ เราท�ำงาน ผิดพลาดเกิดจากการขาดความช�ำนิช�ำนาญงาน อย่างเช่น คนงานที่ เข้ามาท�ำงานใหม่จะไม่มีความรู้ในการปฏิบัติงาน หรือไม่มีความ คุ้นเคยกับงานที่ท�ำ เครื่องป้องกันความปลอดภัย คือ ฝึกทักษะและ ปฏิบัติงานตามมาตรฐานงาน 5. ตัง้ ใจท�ำให้เกิดความผิดพลาดขึน้ บางครัง้ ความผิดพลาด ที่เกิดขึ้น เกิดจากเราตัดสินใจไม่ท�ำตามกฎข้อบังคับ หรือละเลยกฎ ข้อบังคับ ซึ่งอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อม อย่างเช่น การข้ามถนน เราจะ ไม่ข้ามถนนเมื่อไฟเขียว แม้ถนนจะโล่งเตียน ไม่มีรถยนต์วิ่งในช่วง เวลานัน้ ก็ตาม เครือ่ งป้องกันความปลอดภัย คือ การให้การศึกษาและ เสริมสร้างประสบการณ์ในเบื้องต้น 6. ความผิดพลาดอันเนื่องจากความไม่ใส่ใจหรือมักง่าย บางครั้งเราใจลอย (absentminded) และท�ำผิดพลาดโดยไม่รู้ว่าจะ ท�ำอย่างไร อย่างเช่น คนบางคนมัวแต่ครุ่นคิดที่จะข้ามถนน โดย ปราศจากการสังเกตว่า ตอนนี้ไฟสัญญาณเป็นไฟแดง เครื่องป้องกัน ความปลอดภัย คือ การใส่ใจและความมีวินัยและการปฏิบัติตาม มาตรฐาน 7. ความผิดพลาดอันเนื่องจากความล่าช้า บางครั้งเราท�ำ ผิดพลาด เมื่อเราลงมือท�ำอย่างเชื่องช้า จนท�ำให้เกิดความล่าช้าใน การตัดสินใจ ยกตัวอย่างเช่น การฝึกอบรมการขับรถยนต์ให้กับ บุคลากร แต่เขาเหยียบเบรกรถยนต์ช้ามาก ส่งผลให้เกิดอุบัติเหตุ


&

Production

เครื่องป้องกันความปลอดภัย คือ การฝึกทักษะให้มากขึ้นและปฏิบัติ ตามมาตรฐาน 8. ความผิดพลาดอันเนือ่ งมาจากการขาดมาตรฐาน ความ ผิดพลาดในบางครั้งเกิดจากคู่มือในการสอนงาน หรือมาตรฐานงาน ไม่มีความเหมาะสมเพียงพอ อย่างเช่น การวัดอาจท�ำให้คนงานไม่ กล้าตัดสินใจ เครื่องป้องกันความปลอดภัย คือ จัดท�ำคู่มือสอนงาน และมาตรฐานงาน 9. ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นแบบฉับพลัน บางครั้งความ ผิดพลาดที่เกิดขึ้นเกิดจากเครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ท�ำงานไม่ เหมือนเดิม และไม่เป็นไปตามที่คาดคิดไว้ อย่างเช่น เครื่องจักรอาจ ท�ำงานผิดพลาดไปโดยปราศจากการเตือน เครือ่ งป้องกันความปลอดภัย คือ การบ�ำรุงรักษาทวีผล (TPM) และมาตรฐานการปฏิบัติงาน 10. มีเจตนาที่จะท�ำให้เกิดความผิดพลาดขึ้น คนบางคน ท�ำงานผิดพลาดโดยปราศจากความประณีต คือ ท�ำงานแบบลวก ๆ ให้เสร็จ อาชญากรรมและการก่อวินาศกรรมเป็นตัวอย่างตัวอย่างหนึง่ เครื่องป้องกันความปลอดภัย คือ การให้การศึกษาขั้นพื้นฐานและ ความมีวินัย ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นอาจมีหลายสาเหตุ แต่ทุกสาเหตุ สามารถป้องกันได้ เพียงแต่เราต้องใช้เวลาในการบ่งชีว้ า่ ความผิดพลาด ที่เกิดขึ้นเกิดขึ้นเมื่อไหร่ และท�ำไมมันจึงเกิดขึ้น ดังนั้นการจัดท�ำ ขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่เกิดขึ้น เราสามารถใช้

วิธกี าร Poka-Yoke และเครือ่ งมือป้องกันความปลอดภัยทีเ่ ราได้กล่าว ไปแล้วข้างต้น

อะไรคือแหล่งที่มาของของเสีย?

ประเภทของของเสียมีอยู่ด้วยกันหลายประเภท อาทิ 1. การไม่ท�ำตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่ก�ำหนดไว้ 2. เกิดจากความผิดพลาดของกระบวนการ 3. ปรับตั้งชิ้นงานผิดพลาด 4. ชิ้นส่วนหลุดหายไป 5. ใช้ชิ้นส่วนที่ไม่ถูกต้อง 6. มีการประกอบชิ้นงานผิด 7. เกิดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน 8. ผิดพลาดในการปรับแต่ง 9. ปรับตั้งเครื่องมือต่าง ๆ ไม่ถูกต้อง 10. มีการจัดเตรียม Jig และเครื่องมือไว้ไม่ถูกต้อง

อะไรคือ Poka-Yoke ที่ดี 5 ประการ

ความผิดพลาดของคน ปกติเกิดจากคนใจลอย หรือไม่มสี มาธิ เครื่องมือ Poka-Yoke มีส่วนช่วยให้เราหลีกเลี่ยงของเสีย ถึงแม้ว่า ความผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้ เกิดจากการขาดสมาธิ แต่ Poka-Yoke มีสว่ น ช่วยเสริมสร้างคุณภาพใส่เข้าไปในกระบวนการ October-November 2015, Vol.42 No.243

53 <<<


&

Production ในทีน่ ี้ Poka-Yoke สามารถตรวจจับหรือหลีกเลีย่ งสาเหตุของ ของเสียจากความผิดพลาดของคนได้ 1. ขนาดของชิน้ งานมีความแตกต่างกัน ให้จดั ท�ำขนาดของ ร่องที่มีความแตกต่างกัน 2. ให้จัดท�ำอุปกรณ์การตรวจจับความผิดพลาดและการ ส่งเสียงเตือน 3. ใช้ Limit Switch 4. ใช้เครื่องนับแบบดิจิทัลที่สามารถปรับตั้งค่าได้ 5. ใช้ใบตรวจสอบ (check lists)

ความสำ�เร็จในการป้องกันการทำ�งานแบบโง่เขลาเบาปัญญา และการผลิตของเสียให้เป็นศูนย์ ด้วยการใช้ Poka-Yoke

หลักการปรับปรุงขั้นพื้นฐาน 8 ประการ ส�ำหรับการใช้ PokaYoke และการท�ำให้ของเสียเป็นศูนย์ 1. สร้างคุณภาพใส่เข้าไปในกระบวนการ หากคุณภาพไม่ สามารถใส่เข้าไปได้ ชิ้นส่วนต่าง ๆ ที่ผลิตได้ย่อมกลายเป็นของเสีย ซึ่งในกรณีนี้จ�ำเป็นต้องใช้แนวทางในการตรวจสอบ 100 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้ Poka-Yoke เป็นเครือ่ งป้องกันความปลอดภัย และให้ใช้ PokaYoke ใส่เข้าไปในกระบวนการ และการใช้ Jigs 2. ความผิ ด พลาดทั้ ง หมดที่ เ กิ ด จากใจเหม่ อ ลอยและ การขจัดของเสียทั้งหมดทิ้งไป เราสมมติว่าความผิดพลาดที่เกิดขึ้น ไม่สามารถหลีกหนีไปได้ ความผิดพลาดมีอิทธิพลตรงจุดไหนบ้าง และมีวธิ กี ารค้นหาเพือ่ ขจัดความผิดพลาดและของเสียทัง้ หมดทิง้ ไป 3. หยุดท�ำผิดและเริ่มต้นท�ำให้ถูกตั้งแต่เดี๋ยวนี้ ให้ขจัดสิ่ง ทีท่ ำ� ผิดทัง้ หมด แต่ให้พดู ค�ำว่า “แต่” เช่น “เรารูว้ า่ มันไม่ถกู ต้อง แต่...” 4. อย่าคิดแต่พดู ค�ำขอโทษ แต่ให้คดิ ว่าจะท�ำให้ถกู ต้องได้ อย่างไร ส่วนใหญ่เมื่อท�ำผิด เราจะกล่าวค�ำขอโทษ เราควรจะคิดว่า เรื่องต่าง ๆ สามารถท�ำให้ถูกต้องได้อย่างไร 5. ร้อยละ 60 ของโอกาสแห่งความส�ำเร็จที่ดีอยู่ที่การน�ำ ความคิดไปปฏิบตั ติ งั้ แต่เดีย๋ วนี้ ในการปรับปรุง เราไม่จำ� เป็นต้องให้ ทุกสิ่งทุกอย่างสมบูรณ์แบบก่อนแล้วจึงค่อยลงมือท�ำ การวิเคราะห์ หาสาเหตุและคิดหาวิธีการแก้ไข หากวิธีการแก้ไขของคุณดีมากกว่า 50 : 50 โอกาสที่จะท�ำให้คุณประสบความส�ำเร็จก็มีโอกาสสูง คุณ สามารถเปลี่ยนแปลง หรือคัดกรองวิธีการแก้ไขของคุณได้ เพื่อให้ เป็นไปตามข้อเท็จจริง จึงจะท�ำให้การน�ำวิธีการแก้ไขของคุณไป ปฏิบัติบังเกิดผลหรือเกิดมรรคผลได้ 6. ความผิดพลาดและของเสียสามารถลดลงให้เป็นศูนย์ ได้ เมือ่ ทุก ๆ คนท�ำงานร่วมกันเพือ่ ขจัดความผิดพลาดและของเสีย ให้เป็นศูนย์ ความผิดพลาดและของเสียให้เป็นศูนย์จะไม่ประสบ ความส�ำเร็จได้เลย หากเราท�ำงานเพียงล�ำพังคนเดียว ความผิดพลาด >>>54

October-November 2015, Vol.42 No.243

และของเสียมีความส�ำคัญต่อทุก ๆ คน ภายในองค์กรที่ทุกคนต้อง ท�ำงานร่วมกันเพื่อขจัดความผิดพลาดและของเสีย 7. หลายหัวดีกว่าหัวเดียว การระดมสมองจากทุก ๆ คนเป็น สิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ แต่ความฉลาดปราดเปรือ่ งและความคิดสร้างสรรค์จะเกิด ขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อมีการใช้สมองจากหลาย ๆ คน การท�ำงานเป็นทีม จึง เป็นกุญแจส�ำคัญในการใช้ความคิดต่าง ๆ ไปปรับปรุงงานต่าง ๆ ให้ มีประสิทธิผล 8. แสวงหาสาเหตุที่แท้จริงโดยใช้ 5W1H ของเสียที่เกิดขึ้น เป็นสิ่งที่ผู้ตรวจสอบไม่ต้องการให้เกิดขึ้น อย่างเช่น เมื่อเราได้รับ สาเหตุรากเหง้าของปัญหา เราก็จะสร้างมาตรการการแก้ไขหรือ มาตรการการป้องกันและอย่าเพิง่ ด่วนรักษาหรือด่วนสรุป ให้ใช้คำ� ถาม ถามว่า...ท�ำไมจึงเกิดของเสียหล่ะ? และเมือ่ ได้รบั ค�ำตอบให้คณ ุ ถาม ต่อไปว่า “ท�ำไม” อยู่เช่นนี้ อย่าพึงพอใจกับสาเหตุที่คุณได้มาอย่าง ง่าย ๆ การถามค�ำถาม “ท�ำไม” ควรถามไม่น้อยกว่า 5 ครั้ง เพื่อค้นหา สาเหตุรากเหง้าของปัญหา จากนั้นให้ถามว่า “เราจะแก้ไขสาเหตุ รากเหง้านัน้ ได้อย่างไร” และให้เราน�ำวิธกี ารแก้ไขนัน้ ไปลงมือปฏิบตั ิ จากประสบการณ์ในการท�ำงานเป็นทัง้ ทีป่ รึกษาและวิทยากร มานานหลายปี เราจะพบว่าหลาย ๆ องค์กรไม่มีการน�ำคุณภาพใส่ เข้าไปในกระบวนการ หรือไม่มีการน�ำ Poka-Yoke ใส่เข้าไปใน กระบวนการ โดยมองว่า คุณภาพเป็นการเพิ่มงานบ้างหล่ะและมัก จะท�ำงานแบบเคยชิน โดยไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ทั้งสิ้น ซึ่งการท�ำงานแบบดั้งเดิมที่ปราศจากการน�ำ Poka-Yoke ใส่เข้าไป ย่อมจะท�ำให้เกิดความผิดพลาดและของเสียในกระบวนการท�ำงาน ส่งผลให้องค์กรต้องแบกรับภาระต้นทุนที่ซ่อนเร้นอยู่จ�ำนวนมาก และไม่เกิดผลดีต่อภาพลักษณ์ขององค์กรในระยะยาวแต่ประการใด ดังนั้น การปรับเปลี่ยนทัศนคติ (mind set) ของพนักงานจึงเป็น สิ่งส�ำคัญที่สุดที่จะท�ำให้ Poka-Yoke สามารถด�ำรงคงอยู่ได้อย่าง ยั่งยืนและถาวรกับองค์กรตลอดไป


&

Energy & Environmental

เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์

ส�ำหรับการผลิตพลังงานความร้อนและไฟฟ้า การ

ณัฐวุฒิ วิสิษฐดำ�รงค์กุล และ ดร.อมรชัย อาภรณ์วิชานพ ผลิ ต พลั ง งานไฟฟ้ า ในปั จ จุ บั น นิ ย มใช้ ถ ่ า นหิ น หรื อ ก๊ า ซ หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิศวกรรมกระบวนการเชิงคำ�นวณ ธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง เนื่องจากมีต้นทุนต�่ำ และสามารถ ผลิตพลังงานได้ในจ�ำนวนมาก แต่เนื่องจากเชื้อเพลิงเหล่านี้มีอยู่อย่าง ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จ�ำกัด และการใช้เชื้อเพลิงอาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หากขาด การจัดการกระบวนการผลิตที่ดี ส�ำหรับการเปลีย่ นพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้า ดังนั้นการน�ำพลังงานทดแทนมาใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า แบบทางอ้อม คือ การเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นความร้อน จึงได้รับความสนใจ ปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพลังงาน จากนั้นจะน�ำความร้อนที่ได้ไปผลิตพลังงานไฟฟ้า ซึ่งขั้นตอนการ ไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานทดแทนเพิ่มมากขึ้น พลังงานแสงอาทิตย์เป็น เปลีย่ นพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นความร้อนจะใช้เทคโนโลยีการรวม แหล่งพลังงานหนึ่งที่ก�ำลังได้รับความนิยม เนื่องจากเป็นแหล่งพลังงาน ความเข้มแสงอาทิตย์ (concentrating solar power) เทคโนโลยีนี้จะ ธรรมชาติที่หาได้ง่าย โดยเฉพาะในภูมิประเทศที่อยู่ในเส้นศูนย์สูตร นอกจากนี้ ท�ำการรวมแสงอาทิตย์หรือรังสีทแี่ ผ่ออกมาไปเก็บในสารส่งผ่านความ ยังมีปริมาณพลังงานที่สูงเมื่อเทียบกับแหล่งพลังงานทดแทนอื่น ๆ

การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์

การเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้าใน ปัจจุบันมีอยู่ 2 วิธี คือ การเปลี่ยนแปลงพลังงานทางตรงและทาง อ้อม การเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้าแบบ ทางตรง คือ การเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้า ทันที โดยใช้เทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ (photovoltaic cell) แต่ อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีนี้ไม่สามารถท�ำงานได้ในช่วงเวลาที่ไม่มี แสงอาทิตย์ หรือเวลากลางคืนจึงท�ำให้ไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้า ได้อย่างต่อเนื่อง

ร้อน (heat transfer fluid) ซึ่งจะท�ำหน้าที่รับพลังงานความร้อนจาก แสงอาทิตย์ เพือ่ น�ำไปใช้ในการผลิตไอน�ำ้ ส�ำหรับใช้ในการผลิตกระแส ไฟฟ้า เทคโนโลยีนี้ มีข้อดี คือ สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ทุกช่วง เวลารวมไปถึงเวลาที่ไม่มีแสงอาทิตย์ โดยใช้สารส่งผ่านความร้อน ที่ถูกกักเก็บไว้ นอกจากนั้นยังมีการสูญเสียพลังงานที่ต�่ำ[1]

เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์สำ�หรับการผลิต พลังงานความร้อนและไฟฟ้า

เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ ส�ำหรับการผลิตพลังงานความร้อนและไฟฟ้า ประกอบด้วย 3 ส่วน ส�ำคัญ คือ การเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานความร้อน การเก็บพลังงานความร้อน และการผลิตไฟฟ้า ในส่วนของการเปลีย่ น October-November 2015, Vol.42 No.243

55 <<<


&

Energy & Environmental พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานความร้อนจะใช้กระจกหรือเลนส์ใน การรวมรังสีจากดวงอาทิตย์ส�ำหรับให้ความร้อนแก่ของไหล เพื่อน�ำ ไปใช้ผลิตไอน�ำ้ ไอน�ำ้ ทีไ่ ด้จะถูกใช้ในการผลิตไฟฟ้าโดยใช้เครือ่ งกังหัน ไอน�้ำ (steam turbine) นอกจากนั้นความร้อนที่ได้จากกระบวนการนี้ ยังสามารถน�ำไปเก็บในระบบกักเก็บความร้อน (thermal energy storage) เพือ่ ใช้ในเวลาทีไ่ ม่มแี สงอาทิตย์ จึงท�ำให้สามารถเพิม่ ก�ำลัง ผลิตไฟฟ้าได้มากยิ่งขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้เซลล์แสงอาทิตย์ เทคโนโลยีการรวมแสงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ระบบ ตาม ลักษณะการรวมแสง คือ ระบบรวมแสงตามแนว ได้แก่ รางพาราโบลา (parabolic trough) และเฟรสเนลแบบเส้นตรง (linear fresnel) ระบบรวมแสงเป็นจุด ได้แก่ จานสเตอร์ลิง (dish stirling) และตัวรับศูนย์กลาง (central receiver) ดังภาพที่ 1

เทคโนโลยีแบบรางพาราโบลาติดตั้งครั้งแรกที่ประเทศสเปน ใน ปี พ.ศ.2543 ภายใต้โครงการโรงไฟฟ้า Andasol (ดังภาพที่ 2) โดย มีกระจกแบบพาราโบลา จ�ำนวน 209,664 บาน ใช้พื้นที่ในการติดตั้ง 510,120 ตารางเมตร มีกำ� ลังการผลิต 49.9 เมกะวัตต์ ซึง่ สามารถผลิต กระแสไฟฟ้าได้ 180 จิกะวัตต์ชั่วโมง [2]

▲ ภาพที่ 2 เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์แบบรางพาราโบลา [2] (ก)

(ข) Receiver Tube

Mirror

Receiver tube and Re-concentrator Curved Mirror Pipe with Thermal Fluid

Parabolic Trough (ค)

Receiver/ Engine Reflector

Dish Stirling

Linear Fresnel (ง)

Solar Receiver

Heliostats

Central Receiver

▲ ภาพที่ 1 ประเภทของเทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์ (ก) รางพาราโบลา (ข) เฟรส

เนลแบบเส้นตรง (ค) จานสเตอร์ลิง และ (ง) ตัวรับต�ำแหน่งศูนย์ [1]

เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์แบบรางพาราโบลา

เทคโนโลยีแบบรางพาราโบลา ประกอบด้วย กระจก ตัวเก็บ ความร้อน และตัวสนับสนุนโครงสร้าง เทคโนโลยีนี้จะท�ำการรวม พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ไ ปที่ ตั ว รั บ ที่ เ ป็ น ท่ อ แนวยาวเพื่ อ เก็ บ สะสม พลังงานความร้อน ในการจัดวาง สามารถวางกระจกในแนวยาวได้ มากกว่า 100 เมตร ตัวรับแสงนี้จะเป็นท่อดูดซับ ซึ่งเป็นวัสดุที่ เคลือบด้วยสแตนเลสสตีล ส่วนด้านในจะเป็นท่อแก้วสุญญากาศ (evacuated glass) ซึ่งจะช่วยให้ลดการสูญเสียความร้อนลงได้ นอกจากนั้นของไหลที่ท�ำหน้าที่ถ่ายเทความร้อน จะเคลื่อนที่อยู่ ด้านในท่อดูดซับจึงท�ำให้สามารถสะสมความร้อนได้ ของไหลที่ได้รับ ความร้อนจะถูกส่งไปที่เครื่องผลิตไอน�้ำหรือส่งไปเก็บที่ระบบกักเก็บ ความร้อน ของไหลที่ใช้ส�ำหรับเทคโนโลยีนี้จะเป็นน�้ำมันสังเคราะห์ (synthetic oils) ซึ่งสามารถสะสมความร้อนได้ 400 องศาเซลเซียส หรือเกลือหลอมเหลว (molten salt) ซึ่งสามารถสะสมความร้อนได้ 540 องศาเซลเซียส >>>56

October-November 2015, Vol.42 No.243

เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์แบบเฟรสเนลแบบ เส้นตรง

เทคโนโลยี นี้ มี ลั ก ษณะคล้ า ยกั บ แบบรางพาราโบลา แต่ แตกต่างกันตรงกระจกที่ใช้จะมีลักษณะเป็นแผ่นราบ ไม่มีความ โค้งงอ (ดังภาพที่ 3) แสงอาทิตย์จะถูกสะท้อนจากกระจกแล้วมารวม ที่ตัวรับ ซึ่งจะวางเป็นแนวยาวตามกระจก และจะมีกระจกครอบไว้ ด้านบนอีกชั้น เพื่อที่จะท�ำการรวมแสงที่ไม่ได้ส่งไปที่ตัวรับอีกรอบ เทคโนโลยีนี้มีข้อดี คือ มีราคาการผลิตและโครงสร้างที่ถูกกว่า และ พืน้ ทีข่ องกระจกต่อตัวรับมีปริมาณมากกว่า ท�ำให้สามารถรวมรังสีจาก แสงได้ในปริมาณมาก เทคโนโลยีนสี้ ามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ตงั้ แต่ 1.4 เมกะวัตต์ ไปจนถึง 44 เมกะวัตต์ ปัจจุบนั เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์แบบเฟรสเนล แบบเส้นตรงได้มีการติดตั้งเป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ประเทศสเปน บริษัท Novatec Solar ได้ท�ำการติดตั้งเทคโนโลยีนี้ใน ปี พ.ศ.2555 โดยใช้เลนส์เฟรสเนลแบบเส้นตรงจ�ำนวน 28 แถว ซึ่งมี พื้นที่รับแสงอาทิตย์ทั้งหมด 302,000 ตารางเมตร ด�ำเนินงานที่ อุณหภูมิ 270 องศาเซลเซียส ความดัน 55 บาร์ เทคโนโลยีจากบริษัท นี้มีก�ำลังการผลิต 30 เมกะวัตต์ ซึ่งสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 49 จิกะวัตต์ชั่วโมง [3]

▲ ภาพที่ 3 เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์แบบเฟรสเนลแบบเส้นตรง [4]


&

Energy & Environmental เทคโนโลยี ก ารรวมความเข้ ม แสงอาทิ ต ย์ แ บบตั ว รั บ ศูนย์กลาง

เทคโนโลยีนี้จะใช้พื้นที่ในการติดตั้งกระจก ซึ่งท�ำหน้าที่ฉาย รังสีพลังงานแสงอาทิตย์ไปทีต่ วั รับทีต่ ดิ ตัง้ อยูด่ า้ นบนตึกสูง (ภาพที่ 4) โดยท�ำหน้าที่กักเก็บพลังงานและเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของความร้อน เทคโนโลยีจะสามารถรับอุณหภูมิจากพลังงานแสงอาทิตย์ได้สูงกว่า แบบรางพาราโบลาและเฟรสเนลแบบเส้นตรง เนื่องจากสามารถรับ แสงอาทิตย์ได้ในปริมาณมากตั้งแต่อุณหภูมิ 250 ถึง 1,000 องศาเซลเซียส ในปัจจุบันเทคโนโลยีนี้สามารถใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ได้ตั้งแต่ 10 เมกะวัตต์ ถึง 50 เมกะวัตต์ เนื่องมาจากการท�ำงานของ ตัวกักเก็บพลังงานที่อุณหภูมิสูงท�ำให้ประสิทธิภาพการท�ำงานของ กังหันไอน�้ำมีประสิทธิภาพสูง และยังช่วยลดการใช้น�้ำหล่อเย็นลงได้ ส�ำหรับการน�ำเทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์แบบ ตัวรับศูนย์กลางไปใช้ บริษทั SEANER ประเทศสเปน ได้ทำ� การติดตัง้ เทคโนโลยีนี้เป็นครั้งแรก ในปี พ.ศ.2550 ซึ่งใช้กระจกจ�ำนวน 2,590 บาน พื้นที่ในการติดตั้ง 298,000 ตารางเมตร เทคโนโลยีของบริษัทนี้ มีก�ำลังการผลิต 17 เมกะวัตต์ ซึ่งสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ประมาณ 110.570 จิกะวัตต์ชั่วโมง [5]

▲ ภาพที่ 4 เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์แบบตัวรับศูนย์กลาง [4]

เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์แบบจานสเตอร์ลิง

เทคโนโลยีนี้ ประกอบด้วย จานพาราโบลาซึง่ มีลกั ษณะเหมือน กับจานดาวเทียม ท�ำหน้าที่สะท้อนรังสีจากแสงอาทิตย์ไปที่ตัวรับ (ดังภาพที่ 5) โดยตัวรับอาจจะเป็นเครื่องจักรสเตอร์ลิง หรือไมโครเทอร์ไบน์ (micro-turbine) ซึง่ จะวางไว้ดา้ นหน้าจานพาราโบลา ท�ำให้ จุดนีม้ อี ณ ุ หภูมสิ งู มาก ในปัจจุบนั มีงานวิจยั จ�ำนวนมากทีส่ นใจศึกษา การใช้เครื่องจักรสเตอร์ลิง เพื่อท�ำหน้าที่เปลี่ยนพลังงานความร้อนไป เป็นกระแสไฟฟ้าได้ โดยมีข้อดี คือ สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ด้วย ตัวเองสามารถเพิ่มก�ำลังการผลิตได้โดยการเพิ่มจ�ำนวนเครื่องจักร สเตอร์ลิง และมีการสูญเสียความร้อนต�่ำ จึงท�ำให้มีประสิทธิภาพ สูงที่สุด เมื่อเทียบกับเทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงประเภทอื่น ๆ ในปั จ จุ บั น เทคโนโลยี นี้ ไ ด้ มี ก ารติ ด ตั้ ง ที่ รั ฐ แคลิ ฟ อร์ เ นี ย ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ.2555 โดยมีพนื้ ทีใ่ นการติดตัง้ 18 ล้าน ตารางเมตร ใช้จานทั้งหมด 20,000 ชุด ท�ำให้มีก�ำลังการผลิตกระแส ไฟฟ้าในปริมาณ 800 เมกะวัตต์ [6]

▲ ภาพที่ 5 เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์แบบจานสเตอร์ลิง [4]

เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสง ท�ำหน้าที่เปลี่ยนพลังงาน แสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานความร้อน ซึง่ ยังไม่มกี ารน�ำพลังงานความ ร้อนที่ได้ไปผลิตพลังงานไฟฟ้า ดังนั้นในล�ำดับถัดไปจะอธิบายระบบ การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์

ระบบการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเทคโนโลยีการรวมความ เข้มแสงอาทิตย์

ระบบการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเทคโนโลยีการรวมความเข้ม แสงอาทิตย์ แสดงดังภาพที่ 6 ระบบนี้ จะมีการท�ำงานเป็น 2 วงจร คือ วงจรการผลิตพลังงานความร้อน (เส้นสีแดง) และวงจรการผลิต พลังงานไฟฟ้า (เส้นสีฟ้า) โดยแต่ละวงจรจะมีของไหลที่เคลื่อนที่อยู่ ในวงจรต่างกัน โดยวงจรการผลิตพลังงานความร้อนจะมีของไหลเป็น สารส่งผ่านความร้อน ส�ำหรับวงจรการผลิตพลังงานไฟฟ้าจะใช้ไอน�้ำ เป็นของไหลวงจรการผลิตพลังงานความร้อนยังมีวงจรย่อยทีท่ ำ� หน้าที่ เก็บพลังงานความร้อน เพื่อใช้ในเวลาที่ไม่มีแสงอาทิตย์ (เส้นสีเขียว) เรียกว่า ระบบการเก็บพลังงานความร้อน (energy storage system) [7] ส�ำหรับการด�ำเนินงานของระบบ เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสง จะถูกใช้ในการเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานความร้อน พลังงานความร้อนที่ได้บางส่วนจะถูกเก็บไว้ในระบบเก็บพลังงาน ความร้อน และอีกส่วนจะถูกน�ำไปใช้ในการผลิตและแลกเปลีย่ นความ ร้อนกับไอน�้ำในวงจรการผลิตไฟฟ้า เมื่อสารส่งผ่านความร้อนถ่ายเท ความร้อนให้กับไอน�้ำ อุณหภูมิของสารส่งผ่านความร้อนจะลดต�่ำลง และจะเคลื่อนที่เข้าสู่ระบบการรวมความเข้มแสงอาทิตย์อีกรอบ เพื่อ รับพลังงานความร้อนใหม่อีกครั้ง ส�ำหรับวงจรการผลิตไฟฟ้า เมื่อไอน�้ำได้รับความร้อนจน อุณหภูมสิ งู ไอน�ำ้ จะเคลือ่ นทีเ่ ข้าสูเ่ ครือ่ งกังหันไอน�ำ้ (steam turbine) เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าไอน�้ำที่ไหลออกจากเครื่องกังหันไอน�้ำจะมี อุณหภูมิลดลง จากนั้นไอน�้ำจะเคลื่อนที่ไปรับพลังงานความร้อนอีก รอบ

October-November 2015, Vol.42 No.243

57 <<<


&

Energy & Environmental Solar Field

2-Tank Salt Storage

Solar Superheater

Steam Turbine

Hot Salt Tank

Condenser

Seam Generator Solar Preheater Hot Salt Tank

Deaerator

Low Pressure Preheater

Solar Reheater Expansion Vissel

▲ ภาพที่ 6 ระบบการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์ [7]

จากที่ได้อธิบายการท�ำงานของระบบการผลิตพลังงานไฟฟ้า จากเทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์ จะเห็นได้ว่า เทคโนโลยี แต่ละประเภทจะมีการท�ำงาน ตลอดจนลักษณะของโครงสร้างที่ แตกต่างกัน ท�ำให้ความสามารถในการผลิตพลังงานไฟฟ้าแตกต่าง กันด้วย ดังนัน้ การศึกษาและวิเคราะห์คณ ุ สมบัตติ า่ ง ๆ ของเทคโนโลยี การรวมความเข้มแสงอาทิตย์จะมีความส�ำคัญอย่างมากต่อการเลือกใช้ เทคโนโลยีตามความต้องการ

คุณสมบัติของเทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์

เทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงแต่ละเทคโนโลยีจะมีข้อดี และข้อเสียที่แตกต่าง เนื่องจากมีหลักการท�ำงานและความสามารถ ที่แตกต่างกันตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบคุณสมบัติต่าง ๆ เช่น สภาวะในการท�ำงาน และความสามารถในการผลิตพลังงานไฟฟ้า เป็นต้น ของเทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์แต่ละประเภท ปัจจุบนั พบว่า เทคโนโลยีจานสเตอร์ลงิ เป็นเทคโนโลยีทที่ ำ� งาน ที่อุณหภูมิสูงที่สุด และมีการสูญเสียพลังงานต�่ำ จึงท�ำให้มีประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้าสูงที่สุด เครื่องจักรสเตอร์ลิงเป็น เครื่องจักรที่สามารถผลิตพลังงานกลได้จากการสันดาปภายนอก ซึ่ง พลังงานทีใ่ ช้ในการสันดาปได้รบั มาจากการรวมความเข้มแสงอาทิตย์

จากพาราโบลิกโดยตรง จึงท�ำให้เกิดการสูญเสียพลังงานต�่ำ จากนั้น พลังงานกลทีไ่ ด้จะถูกน�ำไปใช้ในหมุนเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า (generator) นอกจากนั้นเทคโนโลยีจานสเตอร์ลิงยังไม่ต้องใช้น�้ำในการหล่อเย็น ท�ำให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานลงได้ เอกสารอ้างอิง [1] Moreno, L. E. G. (2011). Concentrated Solar Power (CSP) in DESERTEC - Analysis of Technologies to Secure and Affordable Energy Supply. Paper presented at the The 6th IEEE International Conference on Intelligent Data Acquisition and Advanced Computing Systems. [2] International Energy Agency (IEA). (2005). The Parabolic Trough Power Plants Andasol 1 to 3. The Largest Solar Power Plants in the World - Technology Premiere in Europe. [3] SOLAR, N. (2009). Puerto Errado 2 in Spain. Retrieved 23 july, 2015, from http://www.novatecsolar.com/56-1-PE-2.html [4] Chu, Y. (2011). Review and Comparison of Different Solar Energy Technologies. Global Energy Network Institute (GENI), San Diego, CA. [5] SENER Ingeniería y Sistemas. (2007). First Commercial Moten Salt Central Reveiver Plant 17 MW, 15 hrs Storage, 6500 hrs/yr. NREL CSP Technology Workshop. [6] Power-Technology Team. (2015). Victorville Solar Power Generating Station, California, United States of America. Retrieved 23 july, 2015, from http://www.power-technology.com/projects/victorville/ [7] Gil, A., Medrano, M., Martorell, I., Lázaro, A., Dolado, P., Zalba, B., &Cabeza, L. F. (2010). State of the Art on High Temperature Thermal Energy Storage for Power Generation. Part 1- Concepts, Materials and Modellization. Renewable and Sustainable Energy Reviews, 14(1), 31-55. [8] The International Renewable Energy Agency (IRENA). (2012). Concentrating Solar Power. Renewable Energy Technology: Cost Analysis Series, 1(2), 48.

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบคุณสมบัติต่าง ๆ ของเทคโนโลยีการรวมความเข้มแสงอาทิตย์[8]

คุณสมบัติ ความเข้มแสง อุณหภูมิด�ำเนินงาน (ºC) ก�ำลังการผลิต (MW) ประสิทธิภาพ (%) ความต้องการน�้ำของระบบ (m3/MWh) การผลิตไฟฟ้า

>>>58

รางพาราโบลา 70-80 350-550 10-300 14-20 3.3 (หล่อเย็น)

October-November 2015, Vol.42 No.243

เฟรสเนล แบบเส้นตรง 25-100 390 10-200 18 3.25 (หล่อเย็น) กังหันไอน�้ำด้วยวัฎจักรแรงคิล

ตัวรับศูนย์กลาง 300-1,000 250-565 10-200 23-28 3.2 (หล่อเย็น)

จานสเตอร์ลิง มากกว่า 1,000 550-750 0.01-0.025 30 0.1 (ล้างกระจก) เครื่องจักรสเตอร์ลิง


&

Energy & Environmental

จุดประกายไอเดีย

Bio Box เพื่อการบ�ำบัดน�้ำเสีย

นอก

จากปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้นในปัจจุบันแล้ว ปัญหามลพิษ จากน�ำ้ เน่าเสียก็เป็นอีกหนึง่ ปัญหาสิง่ แวดล้อมส�ำคัญทีอ่ ยู่ คูก่ บั ประเทศไทยมาเนิน่ นาน และนับวันจะยิง่ ทวีความรุนแรงมากขึน้ เรือ่ ย ๆ โดยสาเหตุหลักที่ท�ำให้เกิดน�้ำเสียมาจาก 3 แหล่ง คือ ชุมชน อุตสาหกรรม และกิจกรรมการเกษตร ซึง่ ทีผ่ า่ นมาประเทศไทยยังไม่สามารถแก้ไขปัญหา นีไ้ ด้ เพราะขาดความร่วมมือจากชุมชนและความเอาจริงเอาจังจากภาครัฐ ในการแก้ไขปัญหา

จุดนี้เองได้จุดประกายให้เยาวชนคนรุ่นใหม่ นักศึกษาจาก มหาวิทยาลัยสยาม เกิดความคิดริเริ่มโครงการ “Yes I A_M (พลัง อาสา ร่วมคิด ร่วมสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะดี ภาษีเจริญ)” เพื่อ แก้ปญ ั หาวิกฤตน�ำ้ เน่าเสีย โดยส่งผ่านความรูท้ ไี่ ด้จากห้องเรียนสูก่ าร ลงมือปฎิบัติจริง ด้วยการประดิษฐ์ Bio Box ขึ้นมาบ�ำบัดน�้ำเสียให้ แก่โรงเรียนและชุมชนภายใต้แนวคิด “ธรรมชาติบ�ำบัดธรรมชาติ” โครงการ “Yes I A_M นี้ เป็นส่วนหนึ่งภายใต้โครงการทูต ความดีแห่งประเทศไทย Gen A: Active Citizen “รวมพลคนรุ่นใหม่ หั วใจอาสา” ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ นจากความร่ วมมื อ ของส� ำนั กงานกองทุ น สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิธรรมดี เพื่อเฟ้น หาโครงการจิตอาสาต้นแบบเปลี่ยนประเทศ หัวหน้าโครงการ Yes I A_M “น้องมด” หรือ นางสาวฉัตร สุรยี ์ อ�ำไพ นักศึกษาชัน้ ปีที่ 5 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม เล่าว่า ตนและเพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่มอีก 5 คน ซึ่งเรียนสาขา เภสัชศาสตร์ อยากจะใช้ความรู้ความสามารถด้านการดูแลรักษา มนุษย์และสิ่งแวดล้อมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม จึงเริ่มศึกษา พืน้ ทีโ่ ดยรอบจนพบว่า ปัญหาขยะและน�ำ้ เน่าเสียในล�ำคลองบริเวณ รอบมหาวิทยาลัยยังเป็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไขอย่างจริงจังจาก ชุมชนและภาครัฐ “ทุกปีคณะของเราจะมีการลงชุมชน และรับทราบปัญหา จากชุมชนว่ามีอะไรบ้าง ส่วนใหญ่ปัญหาที่พบคือ น�้ำเน่าเสีย และ ขยะมูลฝอย เพราะชุมชนส่วนใหญ่ที่อยู่ในกรุงเทพฯ หรือ แถว มหาวิทยาลัยจะเป็นชุมชนติดคลอง ท�ำให้เราเกิดความคิดว่าจะท�ำ อย่างไรได้บ้าง เพื่อที่จะช่วยแก้ปัญหานี้ จึงคิดที่จะสร้างสิ่งประดิษฐ์ ขึ้นมา เพราะเราคิดว่าการใช้ทุนทางความคิด ทุนจิตอาสา และ ทุนทางปัญญา จะช่วยให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน จนน�ำไปสู่การ เปลี่ยนแปลงจริง ๆ มากกว่าการใช้ทุนทางการเงิน

มหาวิทยาลัยสยาม

โครงการเราจึงคิดสิ่งประดิษฐ์ขึ้นมา เรียกว่า Bio Box และ Mini Bio Box โดย Bio Box จะเป็นอุปกรณ์กรองน�ำ้ แบบใหญ่สำ� หรับ ติดบริเวณล�ำคลอง ส่วน Mini Bio Box จะเป็นอุปกรณ์กรองน�้ำแบบ เล็กส�ำหรับใช้งานในครัวเรือน ส่วนวัสดุที่อยู่ภายในเป็นวัตถุดิบที่มา จากธรรมชาติเป็นหลัก ประกอบไปด้วย ส�ำลีที่ใส่ไว้บริเวณปาก กระบอก ตามด้วยถ่าน ทรายละเอียด กรวด และหิน ท�ำหน้าที่กรอง และบ�ำบัดน�้ำเสียจากครัวเรือน ก่อนที่จะไหลลงสู่ล�ำคลองเป็นการ แก้ปัญหาจากครัวเรือนอย่างแท้จริง ปั จ จุ บั น เรามี เ ครื่ อ ง Bio Box จ� ำ ลองติ ด ตั้ ง อยู ่ ห ลั ง มหาวิทยาลัยสยาม โดยใช้เป็นต้นแบบทดลองเครื่องแรก พบว่า ประสบความส�ำเร็จใช้แก้ปัญหาน�้ำเน่าเสียได้ดี โดยวัดจากค่า pH ของน�้ำจากเดิมอยู่ที่ 7.8 ถือว่ามีความเป็นกรดมาก เมื่อติดตั้งเครื่อง นี้แล้วแล้วพบว่าค่า pH ลดลงมาเหลือ 7.4 ซึ่งในสภาพความเป็น กลางนั้น ค่า pH จะอยู่ที่ประมาณ 7 จึงถือว่าเครื่อง Bio Box นี้ สามารถช่วยให้น�้ำในล�ำคลองเน่าเสียน้อยลงเราตั้งเป้าว่า จะขยาย เครือข่ายโครงการให้แพร่หลายออกไปในอนาคต โดยก�ำหนดให้ ชุมชนศิรินทร์และเพื่อน เป็นชุมชนต้นแบบ และทางโครงการจะลง พื้นที่ไปตามโรงเรียนและชุมชนเพื่อสอนวิธีการท�ำ Bio Box ให้เป็น ที่รู้จักและน�ำไปใช้อย่างทั่วถึง” น้องมด กล่าวเสริม ส�ำหรับผลตอบรับของโครงการนี้ “น้องเมย์” หรือ เด็กหญิง กัญญารัตน์ รัตนวงค์ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน บางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ) บอกว่า “สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการจัด กิจกรรมของพี่ ๆ ที่เข้ามาในโรงเรียน คือ การเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ October-November 2015, Vol.42 No.243

59 <<<


&

Energy & Environmental พวกเราได้เรียนวิธีการท�ำเครื่องกรองน�้ำด้วยตนเอง เพียงแค่ใช้วัสดุที่ หาได้ทั่วไปจากธรรมชาติ ได้แก่ ส�ำลี ถ่าน ทราย กรวด และหิน น�ำมา ใส่ขวดเรียงตามล�ำดับ ก็จะช่วยกรองน�้ำเสียเป็นน�้ำดีได้ ช่วยท�ำให้ สภาพแวดล้อมของชุมชนดี น�ำ้ ในคลองรอบโรงเรียนก็ไม่เน่าเสีย และ จะน�ำวิธีนี้ไปทดลองใช้อย่างจริงจังที่บ้านอีกด้วย” ด้านอาจารย์ผู้สนับสนุนโครงการ ดร.นฤมล โพธิ์ศรีทอง เล่า ว่า “แนวคิดการท�ำโครงการนีม้ มี าตัง้ แต่ชว่ งวิกฤตน�ำ้ ท่วมแล้ว ซึง่ ขณะ นั้นคลองเต็มไปด้วยขยะและน�้ำเน่าเสีย แต่ไม่มีหน่วยงานไหนมาให้ ความช่วยเหลือเลย เราจึงคิดท�ำเครือ่ งกรองน�ำ้ ทีเ่ รียกว่า Bio Box ขึน้ มา โดยได้แรงบันดาลใจมาจากโครงการพระราชด�ำริแหลมผักเบีย้ ซึง่ เป็นโครงการที่บ�ำบัดน�้ำเสียด้วยวิธีชีวภาพทั้งหมด เพราะการใช้สาร เคมีในการบ�ำบัดน�ำ้ เสียจะท�ำให้เกิดปัญหาซ�ำ้ ซ้อน และในอนาคตเรา ก็จะน�ำสมุนไพรที่ชุมชนปลูกมาเป็นส่วนประกอบใน Bio Box เพื่อ ดับกลิ่นน�้ำเน่าเสียด้วย การท�ำ Bio Box จะช่วยให้กลุ่มจุลินทรีย์ที่มี

สมาชิกโครงการ Yes I A_M (พลังอาสา ร่วมคิด ร่วมสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะดี ภาษีเจริญ)

ประสิทธิภาพคงอยู่ในน�้ำได้ยาวนานกว่าการใช้ EM Ball ซึ่งเมื่อทิ้งไป ในน�้ำแล้วจะจมลงสู่ดินมากกว่า ในอนาคตเรามุ่งหวังว่าจะท�ำเชื่อม ทุกคลองถ้าได้รับความร่วมมือจากโรงเรียน บ้าน และชุมชน ซึ่ง โครงการนีไ้ ด้ผา่ นมาตรฐานระดับพืน้ ฐานแล้ว แต่กห็ วังว่าจะสามารถ ยกระดับมาตรฐานให้สงู ขึน้ ได้อกี โดยอยากเห็นคนทุกฝ่ายร่วมมือกัน เพื่อส่วนรวมและอนาคตที่ดีของชุมชน” ปัญหาน�้ำเน่าเสียไม่เพียงแต่เป็นปัญหาของชุมชนหรือสังคม ใดสังคมหนึง่ เท่านัน้ แต่ยงั เป็นปัญหาของมนุษยชาติทตี่ อ้ งรับผิดชอบ ร่วมกันต่อการกระท�ำของตนเอง ฉะนัน้ สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ ในการแก้ปญ ั หา เรื่องนี้อย่างยั่งยืนก็คือการปลูกจิตส�ำนึกให้กับเยาวชนรุ่นใหม่ได้ ตระหนั ก ถึ ง ผลเสี ย ของความมั ก ง่ า ยจากน�้ ำ มื อ มนุ ษ ย์ ที่ มี ผ ลต่ อ สิง่ แวดล้อม เพือ่ ในอนาคตคนรุน่ หลังจะมีนำ�้ กินน�ำ้ ใช้ทสี่ ะอาด บริสทุ ธิ์ และมีระบบนิเวศน์ที่กลับคืนสู่สมดุลดังเดิม

น้อง ๆ โครงการ Gen A และนักเรียนโรงเรียน บางจาก (โกมลประเสริฐอุทิศ) ที่เข้าร่วมโครงการ

Mini Bio Box ผลงานของน้อง ๆ

เยาวชน Gen A ให้ความรู้เกี่ยวกับ การท�ำเครื่องกรองน�้ำ Mini Bio Box

น้อง ๆ ลงมือท�ำเครื่องกรองน�้ำ Mini Bio Box

น้อง ๆ พูดถึงความรู้และความประทับใจ ที่มีต่อกิจกรรม

น�้ำเน่าเสียจากล�ำคลองข้างชุมชน

>>>60

October-November 2015, Vol.42 No.243

ผลความแตกต่างระหว่างก่อนกรองน�้ำกับ หลังกรองน�้ำ


&

Computer & IT

เช็คความพร้อมก่อนเริ่มต้นไปกับ

เทคโนโลยี Hadoop

ทวีศักดิ์ แสงทอง

กรรมการผู้จัดการ บริษัท แซส ซอฟท์แวร์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด

8 ข้อ

ที่คุณต้องรู้ก่อนท�ำการวิเคราะห์ปริมาณข้อมูล มหาศาล (big data) ด้วย Hadoop ปัจจุบันองค์กรต่าง ๆ เริ่มมีการแข่งขันกันด้านการวิเคราะห์ ข้อมูล ขณะทีป่ จั จัยทางด้านเทคโนโลยีหลาย ๆ อย่างก็ก�ำลังมากันใน รูปแบบโครงสร้าง Eco System ส�ำหรับเทคโนโลยี Hadoop แน่นอนว่า ความชื่นชมต่อเทคโนโลยีใหม่ ๆ น�ำไปสู่ค�ำถาม มากมายมาโดยตลอด ค�ำถาม ณ วันนี้ ครอบคลุมถึง “เราจะรับมือกับการเตรียมข้อมูลบนเทคโนโลยี Hadoop ได้ อย่างไร” “การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี Hadoop จะส่งผลต่อการ แสดงข้อมูลด้วยภาพ (visualization) และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก ในรูปแบบอื่น ๆ อย่างไรบ้าง”

“มีเทคนิคการวิเคราะห์ประเภทใด ที่สามารถน�ำมาใช้กับ การวิเคราะห์ข้อมูลที่บริหารจัดการโดยเทคโนโลยี Hadoop ได้บ้าง” “เราจะใช้เทคโนโลยี Hadoop กับการประมวลผลในหน่วย ความจ�ำ (in-memory processing) ได้อย่างไร”

หัวข้อต่อไปนี้ จะมุ่งเน้นไปที่คำ�ถามข้างต้น และให้ข้อมูลที่จำ�เป็น ในการเริ่มสำ�รวจการวิเคราะห์ Big Data

ทั้งนี้มูลค่าทางธุรกิจ สามารถสร้างขึ้นได้จากการวิเคราะห์ Big Data และถ้าหากผลลัพธ์ของแบบจ�ำลอง ถูกน�ำไปผสานรวมไว้ กับกระบวนการทางธุรกิจเพื่อเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินใจ 1. เข้าใจเทคโนโลยี Hadoop ซึ่งมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ระบบที่มีราคาประหยัดส�ำหรับการจัดเก็บข้อมูล เรียกว่า Hadoop

October-November 2015, Vol.42 No.243

61 <<<


&

Computer & IT

คุณทวีศักดิ์ แสงทอง

Distributed File System (HDFS) และระบบทีม่ เี ครือ่ งมือประมวลผล ที่กระจายข้อมูลไปยังส่วนต่าง ๆ ของการปฏิบัติงานเพื่อน�ำข้อมูลไป ใช้งาน หรือการประมวลผล Big Data ที่เรียกว่า MapReduce ทั้งนี้ เทคโนโลยี Hadoop เป็นโซลูชั่นที่ราคาไม่แพงนัก ส�ำหรับจัดเก็บและ ประมวลผล Big Data โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อมูลกึ่งมีโครงสร้าง (semistructured data) และข้อมูลแบบไม่มโี ครงสร้าง (unstructured data) แต่อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี Hadoop ก็ยังมีข้อจ�ำกัดอยู่บ้าง โดยเฉพาะเมือ่ เป็นการวิเคราะห์ขนั้ สูง ดังนัน้ Eco System ขนาดใหญ่ ของเครื่ อ งมื อ ที่ มี ค วามล�้ ำ หน้ า และซอฟต์ แ วร์ ช ่ ว ยเชื่ อ มข้ อ มู ล (connectors) จึงถูกสร้างขึน้ มารายรอบเทคโนโลยี Hadoop และเมือ่ อ่านต่อไปแล้ว คุณจะเกิดความเข้าใจที่ดียิ่งขึ้นว่า มีอะไรให้มองหา ใน Eco System ของเทคโนโลยี Hadoop บ้าง 2. พิจารณาถึง in-Memory Analytics (การวิเคราะห์ภายใน หน่วยความจ�ำ) ที่ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยให้ผู้ใช้เรียกดูการแสดงผล ข้อมูลได้ง่ายขึ้น และรวดเร็วแบบเรียลไทม์ได้ในทุกที่ ซึ่งจะท�ำการ ประมวลผลข้อมูลด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์ ภายในหน่วยความ จ�ำหลัก (RAM) แทนการท�ำงานบนดิสก์ เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้เวลาใน การรับ/ส่งข้อมูลระหว่างการประมวลผล (I/O) โดยเทคนิคการวิเคราะห์ ขั้นสูง เช่น สถิติขั้นสูง คลังข้อมูล การเรียนรู้ของกลไกการท�ำงาน คลัง ข้อความ (text mining) และระบบแนะน�ำข้อมูล (recommendation systems) สามารถได้ รั บ ประโยชน์ จ ากการประมวลผลแบบ in-Memory อีกด้วย คุณประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นนี้ ยังรวมไปถึงการวิเคราะห์ และ การโต้ตอบกับข้อมูล ที่รวดเร็วขึ้น อย่างไรก็ตาม MapReduce ไม่ เหมาะส�ำหรับการวิเคราะห์โดยใช้การค�ำนวณซ�ำ้ (iterative analytics) เป็นผลให้ผู้ค้าเทคโนโลยีหลายรายในปัจจุบันให้ความส�ำคัญกับ การน�ำเสนอการประมวลผลแบบ in-Memory ส�ำหรับเทคโนโลยี Hadoop เพราะโดยส่วนใหญ่ความสามารถของการประมวลผลแบบ in-Memory นัน้ จะอยูภ่ ายนอกเทคโนโลยี Hadoop ดังนัน้ ผูค้ า้ บางราย จึงยกข้อมูลจากเทคโนโลยี Hadoop ไปไว้ในเครื่องมือภายในหน่วย ความจ�ำ (in-memory engine) เพือ่ วิเคราะห์โดยใช้การค�ำนวณซ�ำ้ >>>62

October-November 2015, Vol.42 No.243

3. เปลี่ยนแปลงกระบวนการเตรียมข้อมูล การวิเคราะห์ Big Data ต้องมีการใช้เทคนิคการวิเคราะห์ทซี่ บั ซ้อน ซึง่ ในทางกลับกัน นั้น ก็ยังต้องการการเตรียมการและการส�ำรวจข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ด้วย ทั้งนี้เพื่อหาตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาส�ำหรับการประมาณการณ์ การคาดการณ์ล่วงหน้า ค่าของตัวแปรที่ไม่สมบูรณ์ ค่าผิดปกติ การปรับเปลี่ยนรูปแบบข้อมูล และอื่น ๆ ซึ่งในข้อนี้ต้องการวิธีคิดที่ แตกต่างจากผูใ้ ช้ Data Warehouse ส�ำหรับการจัดท�ำรายงาน ทีข่ อ้ มูล ได้ถกู ก�ำหนดไว้แล้ว หลักส�ำคัญของการเตรียมและการรวมข้อมูลเข้า ด้วยกัน เช่น คุณภาพของข้อมูล หรือ Metadata นั่นก็คือ อย่าละทิ้ง ข้อมูลใด ๆ 4. ส�ำรวจข้อมูลเพื่อข้อมูลเชิงลึกใหม่ ๆ คุณสามารถใช้ ข้อนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของการเตรียมข้อมูล (ดังทีร่ ะบุไว้กอ่ นหน้า) และยัง เป็นการใช้เพื่อค้นพบข้อมูลเชิงลึกอีกด้วย ตัวอย่างเช่น คุณอาจ ต้องการแสดงข้อมูลภาพแบบง่าย ๆ หรือใช้สถิติเชิงพรรณนา เพื่อ ตัดสินว่ามีอะไรอยูใ่ นข้อมูลนัน้ หรือระบุคา่ ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้อง ส�ำหรับ การวิเคราะห์ขั้นสูงยิ่งขึ้น ขณะเดียวกันก็มองหาผู้ค้าเทคโนโลยี ที่ สามารถจัดหาคุณสมบัตกิ ารท�ำงานส�ำหรับค�ำถามทีว่ า่ มานี้ การแสดง ข้อมูลด้วยภาพ (visualization) และสถิติเชิงพรรณนา 5. เข้าใจการวิเคราะห์ขั้นสูง ด้วย Big Data และการ ประมวลผลในหน่ ว ยความจ� ำ ซึ่ ง ไม่ ถู ก จ� ำ กั ด ด้ ว ยประเภทของ การวิเคราะห์ คุณจึงสามารถท�ำงานกับข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อให้ก้าวพ้น จากขอบเขตของการวิเคราะห์เชิงพรรณนาแบบทัว่ ไป ได้อย่างแท้จริง ต้องมีการพัฒนาโปรแกรมที่ครอบคลุมถึงคลังข้อมูล คลังข้อความ (text mining) และการเรียนรู้ของกลไกแอปพลิเคชั่นที่ได้รับความ นิยมมากที่สุด หากต้องใช้ในกรณีเหล่านี้ ซึ่งรวมถึงการตรวจจับ รูปแบบการจ�ำแนกประเภทข้อมูล การประมาณการณ์/การคาดการณ์ ล่วงหน้า ข้อเสนอแนะ และการหาค่าที่ดีที่สุด เป็นต้น 6. อย่าเมินเฉยต่อข้อมูลตัวอักษร (text data) ข้อมูลจ�ำนวน มากในคลัสเตอร์เทคโนโลยี Hadoop ทั่ว ๆ ไป เป็น Text Data ซึ่งก็มี


&

Computer & IT

เหตุผลเพราะว่า HDFS ก็คือ ระบบแฟ้มข้อมูล (file system) ดังนั้นจึง ถูกใช้เพื่อจัดเก็บข้อมูลทั้งแบบข้อมูลกึ่งมีโครงสร้าง และแบบไม่มี โครงสร้าง (รวมถึงตัวอักษร) ดังนั้นคุณประโยชน์ส�ำคัญ คือ การใช้ ข้อมูลทัง้ หมดเพือ่ สร้างความได้เปรียบให้กบั องค์กรของคุณ เพือ่ ให้ได้ ภาพทีส่ มบูรณ์ยงิ่ ขึน้ ว่าก�ำลังเกิดอะไรขึน้ กับลูกค้าของคุณ การด�ำเนินงาน และอืน่ ๆ เนือ่ งจากบริษทั บางแห่งเขียน Custom Code เพือ่ แยก ข้อมูลสารสนเทศออกมาจากข้อมูลตัวอักษร และบางบริษัทใช้การ วิเคราะห์ขอ้ ความตัวอักษรเชิงพาณิชย์ (commercial text analytics) ตลอดจนการประมวลผลภาษาธรรมชาติ และเทคนิคทางสถิติ ในการ แยกข้อมูลและจัดโครงสร้างข้อมูลตัวอักษร เพือ่ ให้สามารถน�ำมาผสาน รวมกับข้อมูลแบบมีโครงสร้างที่มีอยู่ ส�ำหรับเทคนิคการวิเคราะห์ ขั้นสูง ได้แก่ การสร้างแบบจ�ำลองเพื่อการพยากรณ์ (predictive modeling) หรือการคาดการณ์อนาคต ซึ่งบ่อยครั้งที่การแยกข้อมูล สารสนเทศออกจากตัวอักษร สามารถท�ำให้องค์กรของคุณได้ขอ้ มูลที่ มีความส�ำคัญต่อแบบจ�ำลองเหล่านี้ 7. การวิเคราะห์เชิงปฏิบัติการ มูลค่าทางธุรกิจจะสามารถ สร้างขึ้นได้จากการวิเคราะห์ Big Data ก็ต่อเมื่อผลลัพธ์ที่ได้ออกมา ถูกน�ำไปรวมไว้ในกระบวนการทางธุรกิจ เพื่อช่วยในการตัดสินใจ ข้อนี้ คือ ก้าวทีส่ ำ� คัญอย่างมากในโครงการด้านการวิเคราะห์ แนวทาง ทีม่ ปี ระสิทธิภาพทีส่ ดุ ส�ำหรับการวิเคราะห์การคาดการณ์เชิงปฏิบตั กิ าร

นั่นคือ การหลอมรวมแบบจ�ำลองไว้ในการจัดเก็บข้อมูลด้านการ ปฏิบัติงานโดยตรง ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อ “in-Hadoop Scoring” เมื่อมี ข้อมูลใหม่เข้าไปในระบบของเทคโนโลยี Hadoop คุณสมบัตขิ องระบบ Stored-Model Scoring Files ใน MapReduce ก็จะท�ำการรันตัวแบบ ให้คะแนน (scoring model) และท�ำงานให้ได้ผลลัพธ์ออกมาภายใน เวลาอันรวดเร็ว 8. ประเมินทักษะการท�ำงาน นับว่ามีความส�ำคัญเท่า ๆ กับเทคโนโลยีที่ได้รับการเลือกสรรมา เพราะการท�ำงานในระบบ เทคโนโลยี Hadoop คุณจ�ำเป็นต้องมีทกั ษะพิเศษส�ำหรับการวิเคราะห์ Big Data ซึ่งปัจจุบันจะเห็นว่า นักวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง (Data Scientist) เริ่มมีบทบาทมากขึ้นในฐานะผู้ที่คอยผสานรวมทักษะที่ แตกต่างในเรื่องของเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เข้ามา ซึ่งจ�ำเป็นมากส�ำหรับ องค์กรที่มีการวิเคราะห์ Big Data รวมทั้งการสื่อสารข้อมูลที่ซับซ้อน เพื่อการน�ำไปใช้ในทางปฏิบัติตามเป้าหมายที่วางไว้ ซึ่งต้องยอมรับ ว่า Data Scientist พวกเขามีส่วนผสมที่ลงตัวของทักษะด้านเทคนิค รวมไปถึงวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ การสร้างแบบจ�ำลอง การคิด เชิงสร้างสรรค์ และการสื่อสาร และหากในองค์กรของคุณยังไม่ สามารถที่จะค้นพบคนที่มีทักษะหลาย ๆ อย่างในตัวคนเดียวได้ แนะน�ำให้พยายามหาผูท้ มี่ ที กั ษะนีท้ กี่ ระจายกันอยูใ่ นสมาชิก 2-3 คน ในทีมของคุณ จะได้ทีมประเมินทักษะที่ครบถ้วน October-November 2015, Vol.42 No.243

63 <<<


&

Focus

สเต็ ม ศึ ก ษา: พัฒนาคนเพื่อพัฒนาชาติ เรียนรู้จากสถานการณ์ (สมมติ)

“นักศึกษา 6 คน ในมหาวิทยาลัยโปลิเทคนิค ของมลรัฐ ชิคาโก ในเมืองอิลลินอยส์ ถูกน�ำตัวส่งโรงพยาบาลด้วยอาการอาเจียน ท้องร่วง ปวดท้อง และหายใจขัด บางรายอาการหนัก...” นีค่ อื ฉากทัศน์ (scenario) ทีน่ กั ศึกษาปี 3-4 ในระดับปริญญา ตรี ได้รับมอบหมายให้ไขปัญหา ในวิชา Innovative Virology ของ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในมลรัฐเพนซิลวาเนีย โดยนักศึกษากลุ่มนี้ถูก สมมติว่า ตนเองเป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ต้องพยายามสืบให้ได้ว่า เชื้อก่อโรคคืออะไร มันแพร่กระจายได้อย่างไร รวมทั้งจะควบคุมและ รักษาได้อย่างไร ให้เวลา 1 ภาคเรียนในการท�ำรายงานส่งอาจารย์ แทมมี่ โทบิน อาจารย์ผู้ควบคุมวิชานี้ กล่าวว่า “เราพยายาม ท�ำฉากทัศน์ให้ใกล้เคียงความจริงมากที่สุด” เมื่ อ นั ก ศึ ก ษาเสนอว่ า ควรตรวจเลื อ ดหรื อ ทดสอบด้ า น พันธุกรรม โทบิน ให้ข้อมูลว่า ผลการทดสอบบ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อ Enterovirus D68 ซึ่งเป็นไวรัสของระบบทางเดินหายใจ ในท้ายที่สุด นักศึกษาให้ค�ำตอบว่า ไวรัสเป็นสาเหตุของ อาการป่วย แต่พวกเขามีขอ้ ผิดพลาด เนือ่ งจากผูป้ ว่ ยทัง้ 6 คนเสียชีวติ เพราะนักศึกษาไม่ให้ความสนใจกับการรักษามากพอ อย่างไรก็ตาม >>>64

October-November 2015, Vol.42 No.243

ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

โทบินบอกว่า นั่นไม่มีผลต่อเกรดที่นักศึกษาจะได้รับ ตราบเท่าที่พวก เขาสามารถแสดงออกว่าท�ำอะไรได้บ้าง ด้วยเหตุผลอะไร อะไรที่ท�ำ แล้วประสบผลส�ำเร็จ - ไม่ส�ำเร็จ และจะเปลี่ยนแนวทางอย่างไร สิ่งส�ำคัญของการเรียนรู้แบบนี้ คือ นักศึกษาสามารถสรุป ปัญหาได้ มีความเข้าใจและจดจ�ำได้ว่าเขาเรียนรู้อะไรบ้าง และมี มุมมองหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็นสาขาชีวภาพ สังคม เศรษฐศาสตร์ หรือแม้แต่การเมือง

Active Learning

การเรียนแบบ Active Learning ได้รับการยอมรับอย่างกว้าง ขวางในสหรัฐอเมริกาในขณะที่นักเรียน นักศึกษาและผู้ปกครอง เห็น ว่าเขาไม่จ�ำเป็นต้องจ่ายค่าเล่าเรียนที่สูงลิ่ว เนื่องจากเนื้อหาใน การบรรยายของวิชาต่าง ๆ มีอยู่ในโลกออนไลน์มากมาย แม้แต่วิชา ที่ต้องท�ำการทดลองก็เป็นไปตามกฎเกณฑ์เดิม ๆ นักศึกษาคุ้นชินกับ ค�ำพูดที่ว่า “อ่านหนังสือหน้านี้ถึงหน้านั้น แล้วเตรียมตัวส�ำหรับการ อภิปรายในวันพรุ่งนี้” หรือ “ท�ำตามวิธีการทดลองที่ระบุไว้ แล้วจะได้ ผลตามที่ต้องการ”


& ส�ำหรับพวกเขา การเรียนต้องมีมากกว่านั้น เป็นไปได้หรือไม่ ที่พวกเขาจะตั้งกรอบในการถามค�ำถามเอง ยกตั ว อย่ า งเช่ น แทนที่ จ ะตั้ ง ค� ำ ถามว่ า “จงระบุ ชื่ อ ของ เส้นประสาทรับความรู้สึก (sensory nerve) ที่ขา” ซาร่า ลูเพน นักวิทยาศาสตร์ด้านระบบประสาทของมหาวิทยาแมรี่แลนด์ กลับ ตั้งค�ำถามกับนักศึกษาในวิชาสรีรวิทยาเบื้องต้น ดังนี้ เธอก�ำลังเดินไปตามถนน จู่ ๆ มนุษย์ต่างดาวก็ขโมยเส้น ประสาทรับความรู้สึก (sensory nerve) ไปจากเท้าของเธอ ลองบอก ซิว่าจะเกิดอะไรขึ้น 1. เดินได้ตามปกติ ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง 2. เดินต่อไปไม่ได้ 3. เดินต่อไปได้ แต่ช้าลง 4. เดินต่อไปได้ แต่งุ่มง่าม ซึ่งนั่นท�ำให้เกิดการอภิปรายถกเถียงกันในชั้นเรียนอย่าง ยาวนาน เนื่องจากนักศึกษาไม่จ�ำเป็นต้องให้ค�ำตอบตามสิ่งที่ได้อ่าน มา แต่กลับใช้ความรูจ้ ากการอ่านมาหารือกับนักศึกษาในกลุม่ เดียวกัน เพือ่ แสวงหาค�ำตอบทีเ่ ป็นไปได้จากข้อเสนอทีแ่ ตกต่างกันไปด้วยเหตุ ด้วยผล ก่อนที่ลูเพนจะเฉลยค�ำตอบที่ถูกต้อง (คือ ข้อ 4) เธอบอกว่า กลุม่ ทีต่ อบผิดไม่จำ� เป็นต้องเสียใจ เพราะนัน่ ท�ำให้พวกเขาเข้าใจมาก ขึ้น มากกว่าการจ�ำแบบงู ๆ ปลา ๆ

เรียนแบบนี้แล้วดีอย่างไร

มีการติดตามรวบรวมผลการเรียนแบบ Active Learning มา หลายทศวรรษ พบว่า นักศึกษาที่เรียนแบบนี้สามารถจดจ�ำเนื้อหา สาระได้มากกว่าและยาวนานกว่า นอกจากนี้ยังสามารถประยุกต์ใช้ ความรู้ได้อย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตาม การเรียนแบบนี้เพิ่งได้รับ ความสนใจเมื่อต้นศตวรรษนี้ หนึ่งในผู้น�ำในการศึกษารูปแบบใหม่ คือ คาร์ล ไวแมน ซึ่ง ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ เมื่อปี พ.ศ.2544 เขาบอกว่าเขาใช้ วิธีการสอนแบบนี้ตั้งแต่ก่อนได้รับรางวัลโนเบลเสียอีก เพียงแต่ ตอนนั้นไม่มีใครสนใจเรื่องนี้ ไวแมน เล่าว่า เขาสังเกตว่านักศึกษาที่เรียนวิชาฟิสิกส์ของ อะตอมกับเขาเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ดี แต่ไม่รู้ว่าจะเป็น นักวิทยาศาสตร์ที่ดีได้อย่างไร เมื่อใช้วิธีสอนแบบใหม่ เขาพบว่า นักศึกษารู้ว่าจะเป็นนักวิทยาศาสตร์อย่างไร แต่แทบไม่มีอะไรที่ เกี่ยวข้องกับผลการเรียนในวิชาที่เขาสอน ไวแมนพยายามวิเคราะห์และพบว่า การสอนแบบดัง้ เดิมอาจ ท�ำให้นกั ศึกษามีผลการสอบทีด่ ี แต่ไม่ได้ชว่ ยให้เกิดความคิดรวบยอด เกี่ยวกับเรื่องที่เรียน ไวแมนและนักวิทยาศาสตร์อาวุโสอีกหลายท่านจึงได้รว่ มกัน

Focus

จัดท�ำรายงานเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาหลายฉบับรวมถึงคู่มือ เกี่ยวกับการใช้ Active Learning กับนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เรียนแบบนี้ ดีจริงหรือ

นักวิทยาศาสตร์หลายคนแสดงความสงสัยว่า การเรียนแบบ Active Learning ดีจริงหรือ ลินดา ฮอดจ์ หัวหน้าศูนย์พัฒนาอาจารย์ของมหาวิทยาลัย แมรีแ่ ลนด์ กล่าวว่า นักวิทยาศาสตร์หลายคนเห็นว่า Active Learning ค่อนข้างขัดแย้งกับการรับรูเ้ กีย่ วกับการสอนทีเ่ ขามีอยูแ่ ต่เดิม นักวิจยั มักจะรู้สึกว่าอาจารย์มีหน้าที่เพียงสื่อสารเนื้อหาหรือความรู้ที่เป็น ข้อเท็จจริงให้ครอบคลุมตามที่ได้รับมอบหมายส�ำหรับหัวข้อที่ตนเอง รับผิดชอบ และนี่คืออุปสรรคชิ้นใหญ่ เพราะอาจารย์บางส่วนมองว่า การให้เวลาบางส่วนกับการอภิปรายกลุ่มนั้น เป็นการเบียดบังเวลาที่ ควรใช้ในการถ่ายทอดเนื้อหาสาระ เจฟฟ์ ไลปส์ นักพันธุศาสตร์ในมหาวิทยาลัยแห่งเดียวกัน ซึ่งสอนวิชานิเวศวิทยาและวิวัฒนาการ บอกว่า เราต้องยอมรับ ข้อจ�ำกัดดังกล่าว เราไม่สามารถถ่ายทอดเนือ้ หาทัง้ หมดได้ในเวลาอัน จ�ำกัด แต่ดว้ ยการสอนแบบใหม่นี้ นักศึกษาจะได้รบั สาระหลากหลาย กว่าเดิม และช่วยให้เขาใช้ความรู้ที่ได้มาอย่างมีประสิทธิภาพ ฮอดจ์ บอกว่า ความเชื่ออีกข้อหนึ่งของบรรดาอาจารย์ คือ พวกเขาต้องสามารถควบคุมสถานการณ์ในห้องเรียนได้ ซึ่งเป็นวิธีที่ สอนกันมาในหลักสูตรครุศาสตร์ หากจะให้เปลี่ยนไปสอนแบบใหม่ จะต้องเพิ่มทักษะอื่น ๆ มากมายเข้าอีก เธอเปรียบเทียบว่าการสอน ก็เหมือนกับการแสดงที่อาจารย์บรรยายไปตามบทที่เตรียมมาแต่ การจัดการเรียนแบบ Active Learning เหมือนกับการแสดงสดแบบ ไม่ได้เตรียมมาก่อน (improvisational acting) เราต้องลื่นไหลไปกับ สถานการณ์ในห้องเรียน ซึ่งรวมถึงค�ำถามต่าง ๆ ที่ประดังประเดเข้า มาด้วย อาจารย์หลายคนไม่สบายใจกับสถานการณ์แบบนี้ อาจารย์บางรายมองว่า Active Learning สร้างภาระในการ เตรียมการสอนมากกว่าการสอนแบบปกติ มีหลายกรณีที่อาจารย์ ล้มเลิกการสอนแบบ Active Learning เมือ่ นักศึกษาประเมินการสอน โดยระบุว่า “เรียนแบบนี้ท�ำให้ผมต้องสอนตัวผมเอง” หรือ “ช่วยบอก หนูที่ว่าหนูต้องรู้เรื่องอะไรบ้าง” โดยหลักการแล้ว Active Learning จึงเป็นเรือ่ งทีด่ ี แต่ในทาง ปฏิบัตินั้นขึ้นอยู่กับความพร้อมของผู้สอนด้วย

การเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้สอน

ผู ้ ที่ ส นั บ สนุ น Active Learning มี ค วามเห็ น ว่ า ความ เปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีนวัตกรรมอยู่ในทุกระดับของระบบ ในมหาวิทยาลัย October-November 2015, Vol.42 No.243

65 <<<


Focus

&

The US National Academies ได้จัดการฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการให้แก่อาจารย์สอนวิชาชีววิทยาที่สนใจจะใช้วิธีดังกล่าว ในการสอนของตน โดยใช้เวลาอบรม 5 วันในฤดูร้อน ซึ่งด�ำเนินการ มาทุกปีตั้งแต่ พ.ศ.2547 ท�ำให้ปัจจุบันมีอาจารย์ที่มีความเข้าใจ Active Learning และพร้อมที่จะน�ำไปใช้ประมาณ 1,000 คน วิลเลียม วู้ดส์ นักชีววิทยาแห่งมหาวิทยาลัยโคโลราโด บอก ว่า เราควรจะเตรียมการสอนให้เหมือนกับการออกแบบการทดลอง หมายความว่า แทนที่จะยึดถือต�ำราหรือหลักสูตรอย่างเคร่งครัด เรา ควรให้ความส�ำคัญกับเป้าประสงค์ และวิธที จี่ ะประเมินความก้าวหน้า ของนักศึกษา การฝึกอบรมในช่วงฤดูร้อนเพียงอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ เพราะเมือ่ อาจารย์กลับไปอยูใ่ นสภาพแวดล้อมเดิมก็อาจมีความเสีย่ ง ที่จะใช้รูปแบบการสอนแบบเดิมอีก ลูเวน บอกว่า “อาจารย์สอนวิทยาศาสตร์เปรียบได้กับทีม นักกีฬา ไม่ว่าคุณจะเป็นนักประสาทวิทยาหรือนักฟิสิกส์ คุณไม่ได้ ท�ำการวิจัยหรือสอนเท่านั้น แต่คุณยังมีเวลาพบปะผู้คนที่มีความคิด แบบเดียวกับคุณในชั่วโมงสัมมนา การพบปะสังสรรค์ หรือระหว่าง รั บ ประทานอาหารกลางวั น นั่ น เป็ น โอกาสที่ จ ะสร้ า งชุ ม ชนของ นักวิทยาศาสตร์และอาจารย์ทมี่ าแลกเปลีย่ นและสนับสนุนการเรียน การสอนแบบใหม่ได้” การเรียนแบบ Active Learning ก�ำลังได้รับความสนใจและ ถูกน�ำไปใช้ทวั่ โลก เช่น จอร์แดน ตุรกี อียปิ ต์ อินเดีย มาเลเซีย เป็นต้น (ไทยเองก�ำลังที่โครงการริเริ่มใช้ในสถานศึกษาบางแห่ง) อย่างไร ก็ตาม ระบบการศึกษาในแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันไม่มาก ก็น้อย บทเรียนที่เกิดขึ้นในประเทศหนึ่งอาจไม่สามารถน�ำใช้ในอีก ประเทศหนึ่งได้โดยตรง อุปสรรคพืน้ ฐานประการหนึง่ คือ ระบบแรงจูงใจในมหาวิทยาลัย โดยเหตุทบี่ คุ ลากรในมหาวิทยาลัยมักจะท�ำหน้าทีท่ งั้ สอนและวิจยั ใน คนเดียวกัน การประเมินเพื่อความก้าวหน้าของต�ำแหน่งทางวิชาการ ในปัจจุบันส่วนใหญ่พิจารณาจากผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์และทุนวิจัยที่ ได้รบั ด้วยเหตุนกี้ ารใช้เวลากับการสร้างนวัตกรรมในการสอนจึงกลับ กลายเป็นภาระของบุคลากรเหล่านั้น

สเต็มศึกษา (STEM Education)

หากเด็กอนุบาลคนหนึ่งตอบอย่างมั่นใจว่าต้นไม้ท�ำให้เกิด ลมพัด ครูไม่จำ� เป็นต้องแก้ไขความเข้าใจผิดของหนูนอ้ ยในทันทีทนั ใด อาจลองถามเด็กคนอื่น ๆ ในห้องว่ามีใครเคยสัมผัสกับลมในที่ที่ไม่มี ต้นไม้บ้างหรือไม่ เราอาจจะได้ค�ำตอบจากเด็กอีกคนหนึ่งที่เล่า ประสบการณ์เกี่ยวกับลมที่ชายทะเลซึ่งมีเพียงน�้ำและทราย แต่ไม่มี ต้นไม้สักต้น ในที่สุดเด็ก ๆ จะเรียนรู้ว่าต้นไม้ไม่ใช่แหล่งก�ำเนิดของ >>>66

October-November 2015, Vol.42 No.243

สายลม และนีค่ อื ตัวอย่างของการจัดการการเรียนรูแ้ บบ “สเต็มศึกษา” หรือ Science, Technology, Engineering and Mathematics Education (STEM Education) “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย” (Little Scientists’ House) เป็น โปรแกรมทีร่ เิ ริม่ ในเยอรมนีเมือ่ ไม่ถงึ ทศวรรษทีผ่ า่ นมา กลุม่ เป้าหมาย คือ เด็กอายุ 3-6 ขวบ ปัจจุบันแนวคิดนี้แพร่กระจายไปยังประเทศ ต่างๆ รวมทัง้ ไทย แนวความคิด คือ การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ไม่ใช่เรือ่ ง ของการจดจ�ำเนื้อหา แต่เป็นการเรียนรู้จากวัตถุดิบรอบตัวผ่านหลาก หลายรูปแบบ ทั้งการเชื่อมโยง การสังเกต การอนุมาน การวิเคราะห์ การสร้างข้อสรุป โดยรวมแล้วเป็นการ “เรียนรู้ที่จะเรียน” สเต็มศึกษาในระดับอนุบาล อาจไม่ได้ชว่ ยให้เด็ก ๆ มีผลงาน ไปโชว์ให้คุณพ่อคุณแม่เห็น แต่เด็ก ๆ จะได้รับการปลูกฝังเรื่องการ สังเกตปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัว เด็กเรียนรู้ที่จะแสดงออก หรืออธิบายสิง่ ทีต่ นเองเห็นหรือสัมผัส สามารถตัง้ ค�ำถาม และบอกได้ ว่าค้นพบอะไร โดยที่ไม่จ�ำเป็นต้องได้ข้อสรุปอะไรเลยก็ได้ ประเด็น ส�ำคัญ คือ เด็กต้องรู้จักสังเกต กล้าคิดและกล้าตั้งค�ำถาม สิ่งเหล่านี้ คือ พื้นฐานของความเป็นนักวิทยาศาสตร์ สเต็มศึกษาของนักเรียนระดับประถมศึกษา อาจใช้การ ทดลองง่าย ๆ กับสิง่ ของใกล้ตวั หรือคุน้ เคย บนพืน้ ฐานความสนใจของ ตนหรือของกลุม่ เช่น นักเรียนในภาคเหนืออาจมีคำ� ถามทีส่ ามารถหา ค�ำตอบจากการทดลองอะไรบางอย่างกับโคมลอยที่ปล่อยในช่วง วันสงกรานต์หรือวันลอยกระทง เป็นต้น ท�ำให้เด็กเรียนรูก้ ารออกแบบ และวางแผนการทดลอง การแก้ปัญหา มีความมั่นใจในตนเอง นอกเหนือจากเนื้อหาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเมื่อคุ้นเคยกับ กระบวนการทดลองแล้ว เขาจะสามารถขยายขอบเขตความสนใจให้ กว้างไกลกว่าเดิมได้ สเต็มศึกษาในระดับมัธยมศึกษา มีความจริงจังมากขึน้ กรณี ตัวอย่างคือ นักเรียนในสิงคโปร์เดินทางไปสหรัฐอเมริกาเพื่อเริ่ม โครงการทดลองบางอย่าง ซึ่งใช้เวลา 1 ปีการศึกษา โดยท�ำโครงการ เป็นกลุม่ ๆ ละ 4 คน สมาชิกแต่ละกลุม่ มาจากประเทศต่าง ๆ เมือ่ ใกล้ สิ้นสุดโครงการ สมาชิกในกลุ่มทั้งหมดจะกลับมายังสิงคโปร์เพื่อ ร่วมกันวิเคราะห์ผลทีไ่ ด้ ท�ำการสรุป และเตรียมน�ำเสนอผลการทดลอง การมีส่วนผสมของเด็ก ๆ จากประเทศต่าง ๆ ท�ำให้มองเห็น ความแตกต่างทั้งบุคลิกภาพและวิธีคิด เด็กจากสหรัฐอเมริกามี ความคิดสร้างสรรค์และลืน่ ไหลได้ดกี ว่า ในขณะทีเ่ ด็กสิงคโปร์มคี วาม จดจ่อและแน่วแน่มากกว่า อย่างไรก็ตาม ความแตกต่างเหล่านีไ้ ม่เป็น อุปสรรค เด็ก ๆ กลับมีความห่วงใยต่อกันมากกว่าที่คิด สเต็มศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นการเรียนรู้แบบสหสาขา วิ ช า นั ก ศึ ก ษาอาจเริ่ ม จากการเรี ย นรู ้ วิ ช าชี ว วิ ท ยา เคมี ฟิ สิ ก ส์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ ไปพร้อม ๆ กันตามปกติ แต่หลังจาก


& นั้นจะให้โจทย์วิจัยแบบสหสาขาวิชา เช่น ปัญหาการดื้อยาปฏิชีวนะ ของแบคทีเรีย การตอบสนองของเซลล์ต่อความร้อน เป็นต้น ซึ่งเป็น โจทย์ทตี่ อ้ งหาค�ำตอบผ่านการศึกษาค้นคว้าหลายมิตแิ ละอย่างจริงจัง ทีผ่ า่ นมา การวิจยั ด้านชีววิทยาได้นำ� เอาความรูด้ า้ นกายภาพ และคอมพิวเตอร์มาใช้ดว้ ย แต่การศึกษาวิชาชีววิทยา (โดยเฉพาะใน ระดับปริญญาตรีและต�่ำกว่า) ยังไปไม่ถึงขั้นนั้น สภาพเช่นนี้เกิดขึ้น กับสาขาอื่น ๆ เช่นเดียวกัน ทางหนึ่ ง ที่ เ ป็ น ไปได้ คื อ การปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รเบื้ อ งต้ น (introductory course) ให้นกั ศึกษารับรูป้ ระเด็นหลัก ๆ ของสาขาวิชา อื่น ๆ ผ่าน “เลนส์” ของนักวิทยาศาสตร์ แทนที่จะปล่อยให้นักศึกษา เดินทาง “ด�ำดิ่ง” สู่สาขาวิชาหนึ่ง ๆ จนละเลยโลกแห่งความเป็นจริง

ความคาดหวัง

สเต็ ม ศึ ก ษาจะช่ ว ยสร้ า งก� ำ ลั ง คนด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีของประเทศให้ตรงกับความต้องการของภาคการผลิตและ บริการ ทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยผูท้ ผี่ า่ นการเรียนรูใ้ นระบบ ดังกล่าวนอกจากจะมีความรูเ้ กีย่ วกับเนือ้ หาสาระของแต่ละสาขาวิชา แล้ว ยังมีโอกาสสร้างทักษะที่จ�ำเป็นในการท�ำงาน (soft skill) เช่น การคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร การน�ำเสนอผลงาน การบริหารจัดการ ความเป็นผู้น�ำ เป็นต้น ในท้ายที่สุด ผลกระทบจะเกิดขึ้นกับประเทศ

Focus

ในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตภาพ (productivity) ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่งในการสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ ที่มา: 1. Baker M. (2015) Inner Scientists Unleashed. Nature, 523: 276-278. 2. Epstein D & Miller RT. (2011) Slow Off the Mark: Elementary School Teachers and the Crisis in Science, Technology, Engineering, and Math Education. Center for American Progress. 3. STEM Education Report 2014 - Building a 21st Century Workforce to Develop Tomorrow’s New Medicines. Battelle. 4. Waldrop M. (2015) The Science of Teaching Science. Nature, 523: 272-274. 5. ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์(2557) ก�ำลังคน...หัวใจของความสามารถ ในการแข่งขันของไทย. น�ำเสนอในการประชุมประจ�ำปี 2557 เรือ่ งการพัฒนาคน เพื่ออนาคตประเทศไทย ของส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ วันที่ 26 กันยายน 2557 ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็คเมืองทองธานี

October-November 2015, Vol.42 No.243

67 <<<


&

Worldwide

เทคโนโลยีสู้ภัยแล้ง วิท

ยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เราพอ จะมีเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้งก็มีแต่ การท�ำฝนเทียม ซึง่ เป็นการแก้ปญ ั หาทีพ่ อจะ ช่วยให้เกิดฝนตกในพืน้ ทีท่ มี่ สี ภาวะอากาศที่ เหมาะสมจะเกิดฝน มีความชื้นที่เพียงพอ หรือการขุดบ่อบาดาล ก็อาจจะเกิดปัญหาใน ระยะยาว เช่น ดินถล่ม หรือวิธกี ารแก้ปญ ั หา ระยะยาว คือ การจัดการน�้ำอย่างเหมาะสม ด้วยการใช้การชลประทาน ก็ต้องมีการวาง ระบบและลงทุนอย่างมหาศาล >>>68

October-November 2015, Vol.42 No.243

ดร.อดิสร เตือนตรานนท์

ผู้อำ�นวยการ ศูนย์นวัตกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่ปรึกษา สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

“ภัยแล้ง”

ก�ำลังเป็นปัญหาระดับประเทศที่ท�ำให้เกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา ได้รับผลกระทบ และเดือดร้อนไปทั่วประเทศ สภาวะฝนทิ้งช่วงที่ติดต่อกันมาหลายเดือน ท�ำให้ เกิดภาวะขาดแคลนน�้ำ น�้ำในเขื่อนก็เ หลือน้อยเต็มที น�้ำประปาก�ำลังจะหยุดไหล นาก�ำลังจะล่ม ข้าวก�ำลังจะ ตาย เกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา ได้รับผลกระทบและเดือดร้อนไปทั่วประเทศ คนกรุงต้องประสบภาวะน�้ำประปา เค็ม ท�ำให้เกิดภาวะขาดแคลนน�้ำ หันหน้าไปทางไหนก็ไม่เ ห็น แสงสว่างที่จะช่วยแก้ปัญหา มีแต่รอคอยความ หวังให้ฝนตก รัฐบาลบอกแต่ให้ลดและประหยัดการใช้น�้ำ ชาวบ้านก็ต้องพึ่งไสยศาสตร์และประเพณีความ เชื่อโบราณในการขอฝน จีงเกิดค�ำถามขึ้นในหัวผมว่า ท�ำไมวิทยาศาสตร์จึงไม่เป็นที่พึ่งของสังคมในยาม ประเทศประสบปัญหาวิกฤตเช่นนี้?


&

Worldwide วันนี้เริ่มมีแนวความคิดว่า ท�ำไมเรา ไม่เอาน�ำ้ ทะเลทีม่ อี ยูม่ ากมายมหาศาลมาใช้ ในการเพาะปลู ก ก็ ต ้ อ งบอกว่ า เราไม่ มี เทคโนโลยีในการแปลงน�้ำเค็มเป็นน�้ำจืด ที่ เรียกว่า “Desalination” ซึง่ ในประเทศทีอ่ ยูใ่ น แถบตะวันออกกลางที่อยู่ในทะเลทราย เช่น อิสราเอล ได้พัฒนาเทคโนโลยีแปลงน�้ำเค็ม เป็นน�้ำจืดได้เป็นจริงเป็นจัง โดยสามารถ ผลิตน�้ำสะอาดพร้อมดื่มได้มากถึง 627,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน โดยโรงงานแห่งใหม่ที่ เพิง่ เดินเครือ่ งทีช่ อื่ ว่า “Sorek” ซึง่ เป็นหนึง่ ใน สี่โรงงานที่อิสราเอลมี และสามารถผลิตน�้ำ ได้ร้อยละ 40 ของปริมาณความต้องการ ใช้น�้ำของทั้งประเทศ เทคโนโลยีที่ใช้ ก็คือ “เทคโนโลยี Reversed Osmosis” เหมือนใน เครือ่ งกรองน�ำ้ ตามบ้านทีเ่ ราคุน้ เคย คือ ผลัก ดันให้น�้ำผ่านแผ่นกรองพอลิเมอร์ (polymer membrane) ที่มีรูพรุนขนาดเล็กพอที่จะให้ โมเลกุลของน�้ำผ่านแต่กักไอออนของเกลือ เอาไว้ อย่างไรก็ตาม มีข้อถกเถียงกันพอ สมควรว่า ต้นทุนการผลิตน�้ำจืดด้วยวิธีนี้จะ สิ้นเปลืองพลังงานมหาศาลและไม่คุ้ม แต่ อิสราเอลก็พิสูจน์ให้โลกได้รู้ว่า การผลิตเป็น โรงงานขนาดใหญ่นั้นคุ้มค่า เพราะต้นทุน การผลิตอยูท่ เี่ พียง 0.58 ดอลล่าร์สหรัฐฯ หรือ ประมาณ 17-18 บาท ต่อลูกบาศก์เมตร หรือ 1,000 ลิตร ซึ่งถือว่ามีต้นทุนการผลิตที่ถูก ที่สุดในโลกในปัจจุบัน เนื่องจากในโรงงาน แห่ ง ใหม่ นี้ มี ก ารพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละ วิศวกรรมหลายอย่าง เช่น การใช้ท่อแรงดัน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 นิ้ว แทนแบบ เดิมที่ใช้เพียง 8 นิ้ว และมีการใช้ปั๊มน�้ำที่มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น กินไฟน้อยลง และมี การน�ำพลังงานกลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่ เทคโนโลยีแปลงน�้ำเค็มเป็นน�้ำจืด เริม่ มีการน�ำมาใช้แพร่หลายมากขึน้ ในหลาย ประเทศที่ขาดแคลนแหล่งน�้ำจืด อย่างเช่น ออสเตรเลียและสิงคโปร์ เป็นต้น ซึง่ พบว่าใน ปัจจุบนั มีผคู้ นทีข่ าดแคลนน�ำ้ ดืม่ มากถึง 700 ล้านคน และจะเพิ่มมากขึ้นเป็น 1,800 ล้าน คน ในอีกสิบปีข้างหน้า นอกจากนี้ยังมีการ วิจัยและพัฒนาวัสดุที่จะน�ำมาทดแทนแผ่น

กรองพอลิเมอร์ให้สามารถทนแรงดันทีส่ งู ขึน้ และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพการกรองที่ ดี ขึ้ น ด้ ว ย วั ส ดุ ใ หม่ ๆ อย่ า งเช่ น กราฟี น ซึ่ ง เป็ น โครงสร้าง 2 มิติ ของธาตุคาร์บอน และเป็น วัสดุที่มีความแข็งแกร่งกว่าเพชรเสียอีก นักวิจัยก�ำลังหาทางเจาะรูพรุนบน แผ่นกราฟีนด้วยวิธกี ารต่าง ๆ เช่น การใช้แสง เลเซอร์ เพื่อก�ำหนดขนาดของรูพรุนที่เหมาะ สมและมีต้นทุนต�่ำที่สุด ถ้าเราสามารถลด ต้ น ทุ น การผลิ ต น�้ ำ จื ด จากน�้ ำ เค็ ม ลงได้ มากกว่านีอ้ กี ต่อไปประเทศไทยก็จะสามารถ เอาเทคโนโลยีดงั กล่าวมาใช้กบั การแก้ปญ ั หา ขาดแคลนน�้ ำ ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น แต่ อ ย่ า งไร ก็ตาม เทคโนโลยีในการแปลงน�้ำเค็มเป็น น�้ำจืด ที่สามารถผลิตน�้ำสะอาดพร้อมดื่มได้ ปริมาณมาก ๆ แต่ก็ต้องวางแผนระยะยาว มีการลงทุนสร้างโรงงาน อาจจะเหมาะกับ ประเทศที่เป็นทะเลทราย แต่ประเทศไทยไม่ แล้งถาวรเช่นนั้น บางปีเราก็ประสบปัญหา อุทกภัย น�ำ้ ท่วมใหญ่ดงั เช่น เมือ่ ปี พ.ศ.2554 ดังนัน้ เราจะท�ำอย่างไรในการแก้ปญ ั หานี้ เรา

ต้องมาดูตัวอย่างและเรียนรู้ประเทศอื่น ๆ ที่ เจริญแล้วว่า เขาแก้ปญ ั หานีอ้ ย่างไร ตัวอย่าง เช่ น ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า มลรั ฐ แคลิ ฟอร์เนีย ที่ผ่านมาก็ประสบปัญหาภัยแล้ง อย่างหนัก ต้องประกาศลดการใช้น�้ำลงร้อย ละ 25 ในเขตเมือง ล่าสุดมีการใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้วิกฤตภัยแล้งด้วยการใช้มิเตอร์น�้ำ อัจฉริยะ ท�ำให้เราเห็นการใช้น�้ำเป็นตัวเลข แบบดิจทิ ลั และเรียลไทม์ และมีการส่งข้อมูล ไปวิเคราะห์ดว้ ยซอฟต์แวร์ มีการท�ำโทษปรับ ผู้ที่ใช้น�้ำมากเกินไป นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารก� ำ หนดอั ต รา ค่าน�้ำตามปริมาณการใช้น�้ำ ซึ่งจะพบว่า เพียงแค่ก�ำหนดอัตราค่าน�้ำให้สะท้อนความ เป็นจริงทีว่ า่ ประเทศก�ำลังประสบวิกฤต เพียง แค่นี้ก็สามารถลดการใช้น�้ำได้ถึงร้อยละ 20 นอกจากนี้ยังมีมาตรการคูปองคืนเงินให้แก่ ผูซ้ อื้ เครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีป่ ระหยัดน�้ำ มีการน�ำน�ำ้ ที่ใช้แล้วน�ำกลับมาใช้ใหม่ เช่น ใช้รดน�้ำ ต้นไม้ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม พบว่า ร้อยละ 80 ของน�้ำที่ใช้ทั้งมลรัฐแคลิฟอร์เนีย ใช้ใน

October-November 2015, Vol.42 No.243

69 <<<


&

Worldwide การเกษตรกรรม ดังนัน้ จึงมีการน�ำเทคโนโลยี เกษตรอัจฉริยะ (smart farm) หรือ เกษตรกรรมแม่นย�ำ (precision agriculture) มาใช้ อย่างกว้างขวางเพื่อลดการใช้น�้ำ ทั้งการน�ำ เซนเซอร์มาใช้วัดระดับความชื้นในดินและ ในอากาศ เพื่อควบคุมการให้น�้ำที่เหมาะสม และพอเหมาะ มีการใช้ระบบระบุต�ำแหน่ง ด้ ว ยดาวเที ย ม เพื่ อ จั ด ท� ำ แผนที่ ดิ น และ อากาศ มีการใช้ระบบจัดการข้อมูลขนาด ใหญ่ (big data analytics) เพื่อวิเคราะห์ สภาพอากาศที่เฉพาะเจาะจงในแต่ละพื้นที่ และมีความแม่นย�ำมากยิ่งขึ้นกว่าการใช้ ระบบอุตุนิยมวิทยาแต่เพียงอย่างเดียว ถึงแม้เราจะมีขอ้ มูลมากมายแค่ไหน แต่ถ้าผู้มีหน้าที่บริหารจัดการน�้ำไม่สามารถ น� ำ ข้ อ มู ล เหล่ า นี้ ม าใช้ ป ระโยชน์ ใ นเชิ ง พยากรณ์และตัดสินใจ ก็ไม่มปี ระโยชน์อะไร เทคโนโลยีอะไรก็ไม่สามารถช่วยแก้วิกฤตนี้ ได้ ในบางปีแทนที่จะเกิดวิกฤตภัยแล้งใน บ้านเรา อาจจะกลายเป็นวิกฤตน�้ำท่วมไป ด้วยซ�้ำ ปีนี้ด้วยความโชคดีที่เริ่มมีพายุฝน เข้ามาเติมน�้ำเหนือเขื่อนมากขึ้น ท�ำให้น�้ำใน เขือ่ นหลักมีปริมาณเพิม่ ขึน้ แต่อย่างไรก็ตาม ยังไม่เป็นทีน่ า่ ไว้วางใจเท่าไรนัก เนือ่ งจากเรา ยังใกล้เข้าสูฤ่ ดูหนาวช่วงปลายปี ถ้าฝนตกลง มาแค่เพียงเท่านี้ และขาดช่วงไปอีก วิกฤต ภัยแล้งที่แท้จริงจะเกิดตอนช่วงปลายปีนี้ถึง ต้นปีหน้าอย่างแน่นอน จากข้อมูลสถิติ ปีที่ แล้วเป็นปีที่อุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยทั้งปีร้อน

>>>70

October-November 2015, Vol.42 No.243

ที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ ทุกคนต่าง มองเห็นว่าสภาวะภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง หรือ Climate Change น่าจะเป็นสาเหตุหลัก ของโลกที่ร้อนขึ้น นอกจากระดับน�้ำทะเลที่ สูงขึ้นแล้ว ท�ำให้เกิดน�้ำท่วม และภัยแล้งก็มี สาเหตุต่อเนื่องมาจากภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงนัน้ เอง แล้วพวกเราเหล่านักเทคโนโลยี จะช่วยแก้ปัญหานี้อย่างไร นอกเหนือจากการรณรงค์ใช้ถุงผ้า หรือปั่นจักรยาน ล่าสุดเทคโนโลยีที่มาแรง อย่างอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things หรือ IoT) ก็สามารถเข้ามาช่วยแก้ ปัญหาให้เราสามารถปรับตัวและอยู่รอดใน โลกที่เปลี่ยนแปลงใบนี้ได้อย่างแน่นอน IoT คงไม่ช่วยท�ำให้ภูมิอากาศของโลกคงที่หรือ โลกไม่รอ้ นขึน้ แต่มนั ช่วยให้เราบริหารจัดการ ทรัพยากรและธุรกิจของเราให้มีประสิทธิภาพและตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงได้ ทันเวลา ไม่วา่ จะเป็นทรัพยากรพลังงานและ น�้ำ ภัยแล้งในมลรัฐแคลิฟอร์เนียในปีที่ผ่าน มา มีการประเมินโดย University of California Davis ว่า ท�ำให้เกิดความเสียหายต่อ ภาคเกษตรกรรมไม่น้อยกว่า 2,200 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 75,000 ล้าน บาท และท� ำ ให้ ต กงานมากถึ ง 17,000 ต�ำแหน่งงาน แต่ผมไม่เห็นตัวเลขสถิติเหล่า นี้ ว ่ า ภั ย แล้ ง ในปี นี้ ท� ำ ให้ เ ราสู ญ เสี ย ทาง เศรษฐกิจมากมายแค่ไหน ท�ำให้เราตกงาน กันกี่คน

ในประเทศสหรัฐอเมริกา เทคโนโลยี IoT ถู ก น� ำ มาใช้ แ ก้ ป ั ญ หาภั ย แล้ ง ที่ แคลิฟอร์เนียด้วย โดยการใช้ระบบเซนเซอร์ เพือ่ ช่วยบริหารจัดการเพือ่ ควบคุมการให้นำ�้ ในฟาร์มเกษตรขนาดใหญ่ และมีการใช้ เซนเซอร์ เ พื่ อ การวั ด ปริ ม าณการใช้ น�้ ำ มี มาตรการเพิ่มภาษีตามปริมาณการใช้น�้ำใน ภาคที่อยู่อาศัย มีการน�ำเทคโนโลยีบริหาร จัดการข้อมูลขนาดใหญ่ หรือ Big Data ที่ได้ จากเซนเซอร์ ที่ วั ด สภาพภู มิ อ ากาศที่ ติ ด กระจายอยู่ทั่วพื้นที่ เพื่อช่วยตัดสินใจการ บริหารจัดการน�้ำ ล่าสุดบริษทั ซัมซุงได้ประกาศเปิดรับ สมัครผู้สนใจใช้บอร์ด IoT ของบริษัททีช่ ื่อว่า Artik เพือ่ สร้างระบบโซลูชนั่ ในการแก้ปญ ั หา ภัยแล้ง โดยจัดเป็นการประกวดแข่งขันเพื่อ ชิงเงินรางวัลกว่า 90,000 เหรียญสหรัฐฯ หรือ ประมาณ 3 ล้านบาท นอกจากเรื่องน�้ำแล้ว เทคโนโลยี IoT ยังช่วยลดโลกร้อนในรูปแบบ อื่น ๆ ได้ด้วย เช่น ระบบที่จอดรถอัจฉริยะ (smart parking) ช่วยระบุต�ำแหน่งที่จอดรถ ที่ว่าง ไม่เปลืองน�้ำมันและเสียเวลาขับรถ เพื่อวนหาที่จอดรถ ระบบบริหารพลังงาน อัจฉริยะหรือ Smart Energy มีการติดมิเตอร์ ไฟฟ้าแบบดิจทิ ลั ทีส่ ามารถส่งข้อมูลกลับไป ยังบริษัทผู้ผลิตไฟฟ้า และเพิ่มการสื่อสาร สองทางระหว่างผู้ใช้ไฟฟ้าและผลิตไฟฟ้า เช่น มีโครงการติดตัง้ อุปกรณ์ทชี่ อื่ ว่า Energy Joule โดยมีลกั ษณะเป็นโคมไฟทีเ่ ปลีย่ นสีได้ เพื่อแจ้งผู้ใช้ไฟฟ้าว่า อยู่ในช่วง Peak ของ การใช้ไฟฟ้าหรือไม่ เพือ่ ให้ผใู้ ช้ไฟฟ้ารูต้ วั เอง ว่า ควรหลีกเลี่ยงไปใช้ไฟฟ้าในช่วงที่ค่าไฟ ถูกกว่า เป็นต้น เมือ่ ใดถ้าบ้านเรามีการน�ำเทคโนโลยี เหล่านี้ ซึง่ ไม่ใช่เทคโนโลยีอะไรใหม่แต่อย่าง ใด มาประยุกต์ใช้กันในระดับเมือง ระดับ ประเทศ มาช่วยบริหารจัดการกับปัญหาร่วม กับโมเดลทางธุรกิจที่เป็นไปได้ ไม่ปล่อยไป ตามยถากรรม หรือปล่อยให้ชาวบ้านออกมา แห่นางแมวขอฝนกันไปวัน ๆ เมื่อนั้นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงจะเป็นที่พึ่งของ ประชาชนคนไทยอย่างแท้จริง


&

Knowledge

การน�ำหุน่ ยนต์อตุ สาหกรรมมาใช้งาน :

ก้าวไห้ไกล มองไปข้างหน้า

เชอร์มีน ก็อตเฟรดเซ็น

ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ ประจำ�ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

ยุคแห่งหุ่นยนต์

ประ

ธานบริษทั ซอฟต์แบงก์กรุป๊ แห่งญีป่ นุ่ คุณมาซาโยชิ ซัน ได้ท�ำนายไว้ในเดือนมิถุนายน พ.ศ.2558 ที่ผ่านมาว่า จ�ำนวนของหุน่ ยนต์จะเติบโตแซงหน้าจ�ำนวนประชากรมนุษย์ภายใน อีก 30 ปีข้างหน้า ด้วยผู้คนต่างก็ชื่นชอบหุ่นยนต์ที่เลียนแบบกิริยา ท่าทางมนุษย์และปฏิบัติงานต่าง ๆ ได้ ดังนั้นจึงเป็นข่าวดีของภาค

อุตสาหกรรมการผลิตในการน�ำหุ่นยนต์มาติดตั้งใช้งานเป็นจ�ำนวน มาก ตามรายงานการส�ำรวจโดยสมาพันธ์หนุ่ ยนต์นานาชาติชจี้ ำ� นวน หุน่ ยนต์อตุ สาหกรรมทีต่ ดิ ตัง้ ใช้งานทัว่ โลกปัจจุบนั มีมากกว่า 200,000 ตัว เมื่อปี พ.ศ.2557 โดยความต้องการหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเติบโต อย่างต่อเนื่องในอัตราเฉลี่ย 12 เปอร์เซ็นต์ต่อปี นับจากปี พ.ศ.2558 ถึง พ.ศ.25601

เลือกสรรการลงทุนอย่างชาญฉลาด

นอกจากบริษทั ทีม่ สี ายการผลิตขนาดใหญ่ทใี่ ช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ได้แล้ว ธุรกิจขนาดเอสเอ็มอีกส็ ามารถน�ำมาใช้งาน ได้อย่างดี ด้วยขนาดที่กะทัดรัดและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย ของหุน่ ยนต์รนุ่ ใหม่ ๆ แต่เมือ่ ต้องการลงทุนเริม่ ต้นก็เป็นประเด็นส�ำคัญ ที่เอสเอ็มอีต้องระแวดระวังเป็นอย่างยิ่ง และมักจะอิงกับมาตรการ การเงิน ดังนี้ : ระยะเวลาคืนทุน หรือ ผลตอบแทนจากการลงทุน ระยะเวลาคืนทุนนัน้ ติดตามผลเป็นรายปี และระยะเวลาทีก่ าร ลงทุนนั้นใช้เพื่อให้ได้กระแสเงินสดรับสุทธิที่ได้จากการลงทุนคุ้มค่า กับต้นทุนทีต่ อ้ งลงทุนไป มีขอ้ เสียเปรียบหลายประการในการวัดความ เสีย่ งการลงทุนด้วยวิธนี ี้ อาทิ วิธกี ารนีม้ ไิ ด้หมายรวมถึงรายรับอนาคต เมื่อผ่านจุดคุ้มทุน หมายความว่า มูลค่าระยะยาวที่ได้รับจากการ ลงทุนไปกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมนั้นมิได้สะท้อนรวมอยู่ในสมการนี้ ด้วย ผลตอบแทนจากการลงทุนนั้นมักจะแสดงเป็นอัตราส่วน ค�ำนวณยอดก�ำไรสุทธิของการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่าย “บริษัท ผู้ผลิตส่วนใหญ่มีวิธีการแบบดั้งเดิมในการค�ำนวณผลตอบแทน และจะอิงการลดต้นทุนค่าแรงงงาน (direct labor savings) และ ผลประโยชน์ระยะสั้น แต่ผลประโยชน์จริง ๆ แล้วของหุ่นยนต์มิได้อยู่ใน แบบระยะสั้น” รอน พอตเตอร์ ผู้อ�ำนวยการ Robotics Technology for Factory Automation Systems, Inc.2 ตั้งข้อสังเกต 1 International Federation of Robots, September 2014 http://www.ifr.org/news/ifr-press-release/accelerating-demand-for-industrial-robots-will-continue-658/ 2

Robotic Industries Association, March 2015 http://www.robotics.org/content-detail.cfm/Industrial-Robotics-Industry-Insights/Calculating-Your-ROI-forRobotic-Automation-Cost-vs-Cash-Flow/content_id/5285 October-November 2015, Vol.42 No.243

71 <<<


&

Knowledge ข้อควรคำ�นึงสามประการ

มีวิธีการลดต้นทุนทางอ้อม และเพิ่มประโยชน์ที่เกี่ยวข้องที่ อาจจะไม่ได้สะท้อนอยูใ่ นตัวเลขผลตอบแทนจากการลงทุน หรือระยะ เวลาคืนทุน เป็นเรื่องส�ำคัญที่จะต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจที่จะน�ำ หุน่ ยนต์มาใช้งาน เช่น ค่าใช้จา่ ยแรงงาน ความเสถียรในกระบวนการผลิต และเวลาที่เสียไปกับการหาพนักงานและอบรมพนักงาน หุ่นยนต์อุตสาหกรรมเป็นเครื่องจักรกลอัตโนมัติที่สามารถใช้ งานได้ตลอด 24 ชัว่ โมง แม้ปดิ ไฟโรงงานหลังพนักงานกลับบ้านกันไป หมดแล้วก็ตาม นอกเหนือไปจากการตรวจสอบตามตารางการบ�ำรุง รักษาปกติแล้ว ก็ไม่จ�ำเป็นต้องมีสวัสดิการพนักงาน อาทิ การลาป่วย หรือประกันสุขภาพ ซึ่งไม่จ�ำเป็นต้องใช้เลยกับเจ้าหุ่นยนต์เหล่านี้ จะ เห็นได้ชดั ว่าเข้ามาช่วยลดค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับการว่าจ้างลงได้มาก เมือ่ ตัดสินใจน�ำหุ่นยนต์มาติดตั้งใช้งาน นอกจากนี้ ความเสถียรในกระบวนการผลิต คือ สิง่ ทีโ่ รงงานจะ ได้รับเมื่อติดตั้งหุ่นยนต์อุตสาหกรรมใช้งานในโรงงานในสายการผลิต โดยหุ่นยนต์สามารถที่จะการันตีได้ถึงชิ้นงานที่มีความสม�่ำเสมอ คุณภาพสูง ด้วยระบบการท�ำงานที่เคลื่อนที่ด้วยความเที่ยงตรง ป้องกันการเสียเปล่าของวัสดุ ซึ่งจุดนี้เป็นเรื่องส�ำคัญอย่างยิ่งส�ำหรับ ภาคการผลิตทีต่ อ้ งการความเทีย่ งตรงแม่นย�ำ หรือชิน้ งานขนาดเล็กที่ มีราคาสูง เวลา คือ เงินในภาคการผลิต ส่วนงานทีม่ หี นุ่ ยนต์มาเกีย่ วข้อง นั้น จะประหยัดเวลาลงไปได้ในส่วนที่เคยใช้เพื่อการสรรหาคนงาน ซึ่งไม่จ�ำเป็นอีกต่อไป สามารถตั้งสายการผลิตได้รวดเร็ว ชดเชยเวลา ที่เสียไปกับการสรรหาว่าจ้างคนงานเข้าโรงงานชดเชยคนที่ออกไป เป็นต้น

แหล่งงานใหม่

ความนิยมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมในเอเชียนั้นมิได้หมายถึง แต่สภาพแวดล้อมที่มีความปลอดภัยสำ�หรับคนงานเท่านั้น แต่ยัง หมายถึง การสร้างงานให้อีกด้วย รายงานในปี พ.ศ.2556 โดยเมตรา มาร์เทค คาดการณ์ว่าหุ่นยนต์อุตสาหกรรมจะสร้างงานระหว่าง 900,000 ถึง 1.5 ล้านตำ�แหน่ง ระหว่างปี พ.ศ.2555-25593 ตัวอย่าง เช่ น มี ก ลุ่ ม อุ ต สาหกรรมซึ่ ง หุ่ น ยนต์ อุ ต สาหกรรมเท่ า นั้ น จึ ง จะมี ศักยภาพพอที่จะให้ผลิตผลที่เที่ยงตรงแม่นยำ� มีคุณภาพเสมอต้น เสมอปลาย ในราคาที่สามารถแข่งขันได้ เช่น ในธุรกิจอุปกรณ์เพื่อ สันทนาการ เป็นต้น ในกลุ่มสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการแข่งขันสูง เช่น โทรศัพท์ และแทบเล็ต ต่างกดราคาสินค้าลง เป็นเหตุให้เพิ่มความกดดันแก่ ผูป้ ระกอบการผลิตทีต่ อ้ งตัดค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ การใช้หนุ่ ยนต์ในการผลิต ช่ ว ยให้ ผู ้ ผ ลิ ต สามารถตั้ ง ราคาสิ น ค้ า ของตนให้ แ ข่ ง ขั น ได้ ช่ ว ย กระบวนการกระจายสินค้าและปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าทางอ้อม และ สร้างงานเพื่อสนับสนุนรองรับกิจกรรมการค้าขายได้อีกด้วย

คิดอย่างก้าวไกล มองไปเบื้องหน้า

จากการที่มีผู้น� ำหุ่นยนต์อุตสาหกรรมมาติดตั้งใช้งานใน โรงงานเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องทั่วโลก จึงยิ่งเป็นการเพิ่มความ ส�ำคัญส�ำหรับผูผ้ ลิตทีเ่ ป็นเอสเอ็มอีทจี่ ะพิจารณาลงทุนกับเทคโนโลยี เพือ่ รักษาสถานภาพในการแข่งขันเชิงธุรกิจ มาตรการรูปแบบทีใ่ ช้เพือ่ ประเมินประสิทธิภาพของการลงทุนมักจะไม่สะท้อนภาพรวมทัง้ หมด โดยเฉพาะอย่างยิง่ ส�ำหรับหุน่ ยนต์ทมี่ มี ลู ค่าในระยะยาว ผูผ้ ลิตจ�ำเป็น ต้องมองข้ามการลงทุนแรกเริม่ และพิจารณาการประหยัดลดค่าใช้จา่ ย ในแง่ของเวลาและวัสดุสิ้นเปลือง 3

International Federation of Robotics, February 2013 http://www.ifr.org/uploads/media/Update_Study_Robot_creates_Jobs_2013.pdf

>>>72

October-November 2015, Vol.42 No.243


&

Visit

“พั ฒ น์ ก ล” โชว์กึ๋น พัฒนาเครื่องจักรอัตโนมัติ พร้อมเสิร์ฟอุตสาหกรรม ยุค 4.0 กองบรรณาธิการ

พัฒนาการของพัฒน์กลตลอด 5 ทศวรรษที่ผ่านมา มีความ ก้าวล�ำ้ อย่างต่อเนือ่ ง ล่าสุดสามารถพัฒนานวัตกรรมเครือ่ งจักรอาหาร อัตโนมัติ (automation foods machine innovation) สัญชาติไทย รายแรก ที่ติดตั้งและเดินเครื่องการผลิตให้กับอุตสาหกรรมอาหาร และเครือ่ งดืม่ รายใหญ่แล้วหลายราย และหนึง่ ในนัน้ คือ โรงงานผลิต นมเปรี้ยวพร้อมดื่ม “บีทาเกิ้น”

ความต้องการระบบการผลิตอัตโนมัติ

จากการคาดการณ์แนวโน้มอุตสาหกรรมอาหารและการ ส่งออกมีอัตราการเติบโตและขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ในประเทศที่ พัฒนาแล้ว อุตสาหกรรมการผลิตได้กา้ วสูย่ คุ แห่งการพัฒนาและปรับ ตัว เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตและขีดความสามารถในการแข่งขัน ส่งผลให้มกี ารน�ำระบบอัตโนมัตมิ าใช้ในสายการผลิตมากขึน้ มีการน�ำ

ตลอด

ระยะเวลากว่า 50 ปี เป็นการเดินทางที่ยาวนานพอที่จะ พิสูจน์ความสามารถของวิศวกรไทยที่ฝีมือดีไม่แพ้ชาติใด ในโลก ของ “พัฒน์กล” บริษัทด้านวิศวกรรม ให้บริการแบบ One Stop Service ตั้งแต่การท�ำพิมพ์เขียว การให้ค�ำปรึกษา การวางแผน การออกแบบ และติดตั้ง และการปฏิบัติการส�ำหรับลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร และ เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์นม ห้องเย็น และเครื่องท�ำน�้ำแข็ง

ระบบการสื่อสารผ่านเครือข่ายไร้สายมาใช้ในการควบคุมเครื่องจักร มีระบบเซนเซอร์ติดอยู่กับอุปกรณ์ทุกชิ้น เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุดในกระบวนการผลิต และหวังผลได้ในหลายมิตทิ งั้ ในมิตขิ องการ ประหยัดพลังงาน ประหยัดเวลา และรวมถึงประหยัดค่าใช้จ่ายอื่น ๆ อาทิ การซ่อมบ�ำรุงรักษาเครื่องจักร และลดความผิดพลาดจากคน (human error) อันจะเป็นจุดเริม่ ต้นของการเคลือ่ นเข้าสูอ่ ตุ สาหกรรม ยุคใหม่ (Industry 4.0) October-November 2015, Vol.42 No.243

73 <<<


Visit

&

▼ คุณแสงชัย โชติช่วงชัชวาล

กรรมการผู้จัดการ บริษัท พัฒน์กล จ�ำกัด (มหาชน)

คุณแสงชัย โชติชว่ งชัชวาล กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั พัฒน์กล จ�ำกัด (มหาชน) ให้ข้อมูลเพิ่มเติมกับทีมสื่อมวลชนที่เดินทางไปเยี่ยม ชมโรงงานผลิตนมเปรี้ยวบีทาเก้น ที่มีการน� ำระบบการผลิตแบบ อัตโนมัติของพัฒน์กลไปติดตั้งว่า ในปัจจุบันโรงงานผลิตอาหารใน ประเทศไทยมีจ�ำนวนมากกว่า 20,000 ราย แต่มีโรงงานที่ริเริ่มน�ำ ระบบอัตโนมัตมิ าใช้ในโรงงานไม่ถงึ ร้อยละ 1 โดยพัฒน์กลเป็นบริษทั สัญชาติไทยรายแรกของประเทศที่ให้บริการนับตั้งแต่ให้ค�ำปรึกษา ออกแบบ และติดตั้งระบบอัตโนมัติให้เหมาะกับสายการผลิตต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็นโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์นมพร้อมดืม่ โรงงานผลิตเครือ่ งดืม่ โรงงานผลิตน�้ำแข็งและระบบท�ำความเย็น ในขณะที่คู่แข่งรายอื่น ล้วนแล้วแต่เป็นบริษทั ต่างชาติทงั้ หมด ท�ำให้พฒ ั น์กลมองเห็นโอกาส ในการเจริญเติบโตได้อกี มาก เนือ่ งจากระบบอัตโนมัตจิ ะช่วยแก้ปญ ั หา ความยุ่งยากต่าง ๆ ในการท�ำงานภายในกระบวนการผลิตอาหาร ได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาที่เกิดจากผู้ปฏิบัติงานที่มีความรู้ ความเข้าใจไม่เพียงพอ การขาดการตรวจสอบ และซ่อมบ�ำรุงรักษา เครื่องจักรตามระยะเวลา การขาดช่างและแรงงานฝีมือ ฯลฯ ระบบควบคุ ม การผลิ ต อั ต โนมั ติ นอกจากจะเป็ น ระบบที่ สามารถตอบโจทย์ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังท�ำให้การผลิตมี ความเที่ยงตรง แม่นย�ำ สามารถลดความสูญเสีย และรักษาคุณภาพ ของสินค้าให้คงที่ตลอดเวลา โดยไม่ต้องเสี่ยงกับการปฏิบัติงานที่ ผิดพลาดจากคน (human error) อีกต่อไป ทั้งนี้คุณแสงชัยมองว่า ภายใน ปี พ.ศ.2561 นี้ ตลาดระบบควบคุมการผลิตแบบอัตโนมัติจะ เติบโตขึ้นมากกว่า 5 เท่า

>>>74

October-November 2015, Vol.42 No.243

ในส่วนของระบบอัตโนมัตนิ ี้ พัฒน์กลได้เริม่ ต้นพัฒนามานาน กว่า 15 ปี จนปัจจุบันเกิดเป็นองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญที่ได้รับ การยอมรับและไว้วางใจจากผูป้ ระกอบการอาหารรายใหญ่หลายราย ให้พัฒน์กลออกแบบและติดตั้งระบบการผลิตอัตโนมัติให้ รวมถึง โรงงานผลิตนมเปรี้ยวพร้อมดื่มบีทาเก้นที่เปิดบ้านต้อนรับให้ทีม สื่อมวลชนได้ชมกระบวนการผลิตที่ทันสมัยในครั้งนี้

ระบบการผลิตอัตโนมัติในโรงงานบีทาเก้น

คุณสุวรรษ ยุทธเสรี ผูจ้ ดั การโรงงานบีทาเก้น ให้ขอ้ มูลเกีย่ ว กับโรงงานแห่งนีว้ า่ ปี พ.ศ.2534 คุณสมพงษ์ อรรถสกุลชัย ได้กอ่ ตัง้ บริษทั ไทยแอ็ดว้านซ์ฟดู (1991) จ�ำกัด ขึ้ น เพื่ อ ผลิ ต และจั ด จ� ำ หน่ า ย สินค้าประเภท นมเปรีย้ วพร้อม ดืม่ พาสเจอร์ไรส์ และโยเกิรต์ พาสเจอร์ไรส์ ตรา บีทาเก้น ซึง่ บริษทั ได้วจิ ยั พัฒนา และ คัดสรรวัตถุดิบที่ดี เพือ่ น�ำมา ผลิตสินค้า ทีม่ จี ลุ นิ ทรียแ์ ลคโทบาซิลลัส สายพันธ์ดี CASEI ทีม่ ี ▼ คุณสุวรรษ ยุทธเสรี ประโยชน์ตอ่ ร่างกาย และรสชาติ ผู้จัดการโรงงานบีทาเก้น สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ จาก ผู้บริโภค โดยบริษัทมีระบบการจัดจ�ำหน่ายผ่านโมเดิร์นเทรด และ หนุม่ สาวบีทาเก้นทัว่ ประเทศ ต่อมาในปี พ.ศ.2550 ได้รว่ มทุนกับ บริษทั คัมพินา ประเทศเนเธอร์แลนด์ และได้เปลีย่ นชือ่ เป็น บริษทั บีทาเก้น จ�ำกัด จนถึงปัจจุบัน ท�ำให้บีทาเก้นมีความเข้มงวดเป็นอย่างมากใน การควบคุมคุณภาพและมาตรฐานการผลิตสินค้าด้วยเทคโนโลยีที่ ทันสมัย ภายใต้การควบคุมคุณภาพที่เข้มงวดทุกขั้นตอน ส่งผลให้ โรงงานได้รับรางวัลและการรับรองมาตรฐาน อาทิ มาตรฐาน ISO 22000: 2005, Good Manufacturing Practice และ HACCP Codax Alimentarius “เมื่อปี พ.ศ.2554 โรงงานมีแนวคิดที่จะขยายฐานการผลิต เพื่อรองรับการส่งออก โดยได้ลงทุนสร้างโรงงานเฟสแรก มูลค่า 150 ล้านบาท สร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ.2555 หลังจากนัน้ มอบหมายให้ พัฒน์กลเข้ามาออกแบบและติดตัง้ ระบบการการผลิตอัตโนมัตทิ งั้ หมด ด้วยงบลงทุน 400 ล้านบาท ส่งผลให้โรงงานแห่งใหม่นมี้ คี วามทันสมัย ที่สุด ทั้งหมดถูกควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่มีความแม่นย�ำสูง ท�ำให้ได้สนิ ค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพและมาตรฐานตรงตามทีต่ อ้ งการ ภายหลัง จากติดตัง้ แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2557 ทีผ่ า่ นมา ท�ำให้กำ� ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ จากเดิม 1 แสนตันต่อปี เป็น 2 แสนตันต่อปี สามารถรองรับความ ต้องการของตลาดต่างประเทศได้อกี 5 ปีขา้ งหน้า” คุณสุวรรษ กล่าว


& โอกาสและความท้าทายของตลาดเครื่องจักรอุตสาหกรรม ▼

คุณวรปัญญา สุธานุภาพวุฒิ

ผู้อ�ำนวยการกลุ่มธุรกิจอาหารและนม บริษัท พัฒน์กล จ�ำกัด (มหาชน)

ด้านคุณวรปัญญา สุธานุภาพวุฒิ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มธุรกิจ อาหารและนม บริษัท พัฒน์กล จ�ำกัด (มหาชน) ให้ข้อมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับความร่วมมือดังกล่าวว่า พัฒน์กล ได้รับความไว้วางใจจาก บีทาเก้นในการออกแบบและติดตั้งระบบการผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ. 2534 เป็นระบบแมนนวล ใช้คนในการควบคุมการผลิต เนื่องจาก โรงงานมีขนาดเล็ก ระบบการผลิตไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน แต่หลังจากมีการ ขยายก�ำลังการผลิต ระบบในการผลิตก็ยงุ่ ยากซับซ้อนขึน้ โอกาสทีจ่ ะ เกิดความผิดพลาดจากการท�ำงานของคนมีสูง เพื่อป้องกันปัญหา ดังกล่าว เมื่อบีทาเก้นมีโครงการที่จะขยายโรงงาน จึงมีแนวคิดที่จะ น�ำระบบอัตโนมัติมาใช้แบบเต็มรูปแบบ (fully automation) และ พัฒน์กลก็ได้รับความไว้วางใจอีกครั้งในการออกแบบ และติดตั้ง ระบบการผลิตอัตโนมัติให้ จนกระทั่งสามารถเดินเครื่องการผลิตเพื่อ จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ได้แล้วในปัจจุบัน “โรงงานทีจ่ ะติดตัง้ ระบบการผลิตอัตโนมัติ ต้องมีขนาดทีใ่ หญ่ ระดับหนึ่ง จึงจะเหมาะแก่การลงทุนโดยเฉพาะโรงงานผลิตอาหาร และเครื่องที่ให้ความส�ำคัญกับคุณภาพและมาตรฐานเป็นส�ำคัญ ระบบอัตโนมัติจะช่วยลดความผิดพลาดจากการท�ำงานของคน และ ท�ำให้คณ ุ ภาพของผลิตภัณฑ์มคี วามเทีย่ งตรง ยกตัวอย่าง ระบบทีเ่ รา

Visit

ออกแบบและก่อสร้างใหม่ให้กบั บีทาเก้นนี้ มีวาล์ว 800-1,000 ตัว ต้อง ใช้แรงงงานคนในการควบคุมประมาณ 40 คน แต่เมื่อพัฒนาเป็น ระบบอัตโนมัติทั้งหมด จะใช้คนในการควบคุมเพียง 1-2 คนต่อกะ เท่านั้น เรื่องลดคนเป็นเรื่องหนึ่ง แต่เรื่องที่เป็นประเด็นมากกว่า คือ ลดความผิดพลาด เช่น นมเปรีย้ วมีหลายสูตร การท�ำให้เป็นมาตรฐาน เดียวกันยาก หากยังใช้คนในการควบคุมอยู่ แต่หากเป็นระบบจะท�ำให้ เป็นมาตรฐานเดียวกันทุกลอตการผลิต” คุณวรปัญญา กล่าว ทัง้ นีร้ ะบบการผลิตอัตโนมัตขิ องพัฒน์กล ได้รบั การยอมรับใน กลุม่ อุตสาหกรรมอาหารและเครือ่ งดืม่ โดยติดตัง้ ให้กบั ลูกค้ารายใหญ่ หลายราย สิ่งที่เป็นจุดเด่นของพัฒน์กล คุณวรปัญญา มองว่า จุดเด่น ประการแรก คือ คุณภาพของเครื่องจักร โดยจะเลือกใช้ชิ้นส่วน ส�ำคัญ ๆ เช่น ปั๊ม วาล์ว ที่มีคุณภาพสูงน�ำเข้าจากยุโรป ประการที่ 2 ตลอดระยะ 50 ปี บริษัทได้สั่งสมประสบการณ์ องค์ความรู้และความ เชีย่ วชาญทีส่ ามารถให้บริการทีต่ อบโจทย์ความต้องการลูกค้าได้อย่าง ตรงจุด และประการที่สาม เรื่องการบริการหลังการขายที่ดี คือ หัวใจ ส�ำคัญของการท�ำงาน “เรามี บุ ค ลากรที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญงานวิ ศ วกรรม ท� ำ ให้ สามารถให้บริการลูกค้าได้นบั ตัง้ แต่การค�ำปรึกษา ออกแบบ วางระบบ ติดตั้งและบริการหลังการขาย และเนื่องจากเราเป็นบริษัทคนไทย จะ มีความเข้าใจการใช้งานของลูกค้าในพืน้ ที่ อีกทัง้ ยังสามารถท�ำต้นทุน ได้ถูกกว่าคู่แข่งจากยุโรปและอเมริกาถึง 10-15 เปอร์เซ็นต์” นอกจากการให้บริการลูกค้าภายในประเทศแล้ว พัฒน์กลยัง ขยายตลาดไปยังภูมิภาคต่าง ๆ โดยเฉพาะตลาดเออีซี ที่ตลอด 3-4 ปี ที่ผ่านมาพัฒน์กลให้ความส�ำคัญกับตลาดนี้มาก เพราะมองเห็น เป็นโอกาสที่ส�ำคัญที่จะช่วยผลักดันยอดขายต่างประเทศให้ได้ถึง 40 เปอร์เซ็นต์ในอีก 3 ปี ข้างหน้า ปัจจุบันปริมาณการส่งออกของ พัฒน์กลอยู่ประมาณ 22-25 เปอร์เซ็นต์ของยอดขายรวม “ภายหลังจากเปิดเออีซี คาดการณ์ว่ายอดขายจะเติบโตขึ้น มาก โดยพัฒน์กลวางเป้าหมายผลักดันยอดขายต่างประเทศให้ได้ถึง 40 เปอร์เซ็นต์ ภายใน 3 ปีข้างหน้า ส�ำหรับปัจจุบัน เนื่องจากภาวะ เศรษฐกิจภายในประเทศอยู่ในระยะชะลอตัว ท�ำให้ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมชะลอการลงทุน อาจท�ำให้เราได้รับผลกระทบบ้าง แต่ อย่างไรก็ตาม ยังได้รับอานิสงค์จากโครงการที่มีการวางแผนไว้ล่วง หน้าแล้ว ของอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดใหญ่ แต่เอสเอ็มอี ขนาดเล็กยังคงชะลอการลงทุนต่อเนื่อง ส่วนโครงการในต่างประเทศ ยั ง มี ค วามต้ อ งการเครื่ อ งจั ก รอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะประเทศ อุตสาหกรรมเกิดใหม่ เช่น พม่า เวียดนาม และอินโดนีเซีย” คุณวรปัญญา กล่าว

October-November 2015, Vol.42 No.243

75 <<<


&

Show & Share

บ๊อช

โชว์นวัตกรรมด้าน ความปลอดภัยยานยนต์

บ๊อช

บริษัทผู้ผ ลิตและจัดจ�ำหน่ า ยเทคโนโลยีย านยนต์ ชั้นน�ำระดับโลกจากประเทศเยอรมนี โชว์สุดยอด เทคโนโลยี ด ้ า นความปลอดภั ย ยานยนต์ เช่ น ระบบช่ ว ยควบคุ ม การทรงตัวยานยนต์ (ESC) และระบบเบรกฉุกเฉินอัตโนมัติ (AEB) เพือ่ ส่งเสริมศักยภาพด้านความปลอดภัยและลดอัตราการเกิดอุบตั เิ หตุ บนท้องถนน เทคโนโลยีเหล่านี้ยังสามารถช่วยลดอัตราความเสี่ยงใน การบาดเจ็บของคนขับและผู้โดยสาร นับตั้งแต่ที่บ๊อชน�ำระบบช่วยควบคุมการทรงตัวยานยนต์ (ESC) มาใช้เป็นรายแรกของโลก ในปี พ.ศ.2538 ระบบ ESC สามารถ ป้องกันอุบัติเหตุได้ 190,000 ครั้ง และช่วยป้องกันการเสียชีวิตได้ถึง 6,000 คน ทั่วยุโรป ในปัจจุบัน 59 เปอร์เซ็นต์ ของรถยนต์รุ่นใหม่ ทั่วโลกมีการติดตั้งระบบ ESC ผลการศึกษาเผยว่า ระบบนี้สามารถ ป้องกันอุบัติเหตุจากการลื่นไถลของรถได้ถึง 80 เปอร์เซ็นต์ และ สามารถป้องกันการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุได้เป็นอันดับ 2 รองจาก ระบบเข็มขัดนิรภัย ระบบ ESC ช่วยเพิ่มเสถียรภาพและควบคุมการทรงตัวใน สถานการณ์คับขันและป้องกันอุบัติเหตุจากการลื่นไถล ซึ่งเป็นหนึ่ง ในสาเหตุหลักของอุบัติเหตุบนท้องถนน ระบบ ESC จะท�ำงานโดย อัตโนมัตทิ นั ทีทเี่ ซนเซอร์จบั สัญญาณได้วา่ ตัวรถมีอาการลืน่ ไถลจาก นั้นระบบจะสั่งลดแรงบิดของเครื่องยนต์ เพื่อดึงรถกลับมาในทิศทาง ที่ต้องการหากการลดแรงบิดไม่เพียงพอในการควบคุม ระบบจะสั่ง ลดความเร็วในการหมุนของล้อ เพื่อให้รถสามารถทรงตัวได้ ระบบ ESC เป็นระบบพื้นฐานส�ำหรับระบบช่วยเหลือผู้ขับขี่ อีกมากมาย เช่น ระบบเบรกฉุกเฉินอัตโนมัติ (AEB) ซึง่ มีประสิทธิภาพ ในการระวังการชนหน้าหรือชนท้าย ผลวิจัยจากองค์กร Euro NCAP และ ANCAP ชี้ว่า การใช้เทคโนโลยี AEB ที่ความเร็วต�่ำสามารถ ลดอัตราการชนท้ายรถคันหน้าได้ถึง 38 เปอร์เซ็นต์ >>>76

October-Novembe 2015, Vol.42 No.243

เมื่อระบบ AEB ตรวจจับความเป็นไปได้ที่จะเกิดการปะทะ ระบบจะส่งสัญญานเตือนคนขับและเตรียมระบบเบรกให้พร้อม ส�ำหรับการเบรกฉุกเฉิน หากคนขับไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ ได้ ระบบจะเริ่มเบรกอัตโนมัติเพื่อป้องกันการชนท้ายรถคันหน้าใน กรณีที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการชน ระบบนี้จะลดความเสียหาย จากการชนลง ทัง้ ยังช่วยลดความเสีย่ งจากการบาดเจ็บของผูข้ บั ขีแ่ ละ ผู้โดยสาร บ๊อชได้ด�ำเนินการผลิตระบบป้องกันการล็อกล้อ (ABS) และระบบช่วยควบคุมการทรงตัวยานยนต์ (ESC) ที่โรงงานผลิต ณ อมตะนคร จังหวัดระยอง โดยระบบเหล่านีถ้ กู ออกแบบมาเพือ่ ลดการ สูญเสียจากอุบัติเหตุบ๊อชผลิตและจ�ำหน่ายเทคโนโลยียานยนต์ ให้กับผู้ผลิตรถยนต์ส่วนบุคคล รถบรรทุก รถอเนกประสงค์ SUV ใน ประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน


&

Show & Share

ผลิตผลจากความคิดสร้างสรรค์

เชิงนวัตกรรม

ทีมอาจารย์นักศึกษาจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ส่งผลงานความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม เข้าร่วมประกวดในงาน The 5th Global Competition on Systematic Innovation (GCSI) จัดขึ้นที่ Hong Kong University of Science and Technology ฮ่องกง ประเทศจีน ระหว่างวันที่ 15-17 กรกฏาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา ซึ่งจัดพร้อมกับงาน The 6th International Conference on Systematic Innovation โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม ทั้งหมด 78 คน จาก 13 ประเทศ และ มีผลงานความคิดสร้างสรรค์ เชิงนวัตกรรมทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกให้เข้าร่วมน�ำเสนอทัง้ หมด 13 ผลงาน ผลการพิ จ ารณาจากกรรมการตั ด สิ น รางวั ล Global Competition on Systematic Innovation (GCSI) ครัง้ ที่ 5 ประกอบด้วย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจาก จีน ญี่ปุ่น อังกฤษ และไต้หวัน มีมติให้ ผลงานชื่อ ที่ล็อกล้อแบบพับได้ (Dynamic Car-Wheel-Lock) ของ ทีมอาจารย์นกั ศึกษาจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี ไทย-ญีป่ นุ่ ได้รบั รางวัลที่ 1 Platinum Award พร้อมเงินรางวัล 1,000 ดอลล่าร์สหรัฐ

ทีมอาจารย์นกั ศึกษาจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกอบด้วย 1. รศ.ไตรสิทธิ์ เบญจบุณยสิทธิ์ 2. ผศ.อัญชลี สุพิทักษ์ 3. อ.บุญฤทธิ์ แก้วประชุม 4. นายพงศ์ธารินทร์ แสนสะอาด 5. นางสาวจิรภา สุภาพพงศ์ ผลงานชือ่ ทีล่ อ็ กล้อแบบพับได้ (Dynamic Car-Wheel-Lock) เป็นส่วนหนึ่งของการบูรณาการแนวคิดของ Monozukuri เข้ากับ ทฤษฎีการแก้ปัญหาเชิงประดิษฐ์คิดค้น (Theory of Inventive Problem Solving) เพือ่ แก้ปญ ั หาทีล่ อ็ กล้อแบบเก่าทีใ่ หญ่โตเทอะทะ ไม่มีประสิทธิภาพให้สามารถพับได้ ใช้งานสะดวก และไม่สามารถ ขับรถหนีโดยการถอดล้อยางที่ถูกล็อกแล้วสับเปลี่ยนด้วยยางอะไหล่ แทนได้ นอกจากเจ้าหน้าที่ต�ำรวจจะใช้ล็อกรถผู้ฝ่าฝืนกฏจราจรแล้ว ผู้ใช้รถโดยทั่วไปยังสามารถหาซื้อไว้ใช้ป้องกันรถตนเองจากการถูก ขโมยได้ด้วย

October-November 2015, Vol.42 No.243

77 <<<


&

Buyer Guide

&

ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ์: 0-2514-0001, 0-2514-0003 เว็บไซต์: www.measuretronix.com อีเมล: info@measuretronix.com

Fluke 190 Series II ออสซิลโลสโคปแบบพกพาสมรรถนะสูง 4 แชนเนล ส�ำหรับงานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรมในสภาพแวดล้อมสมบุกสมบันโดยเฉพาะ

Fluke ขอแนะน�ำออสซิลโลสโคปแบบพกพา (Portable Oscilloscope) จอสี สมรรถนะสูง รุ่นใหม่ล่าสุด ที่มีอินพุต 4 แชนเนล แยกขาดจากกันทางไฟฟ้า กันน�้ำกันฝุ่นระดับ IP51 มาตรฐาน ความปลอดภัย CAT III 1000 V / CAT IV 600 V มีให้เลือก 2 รุ่น แบนด์วิดธ์ 200 MHz และ 100 MHz เป็นสโคปแบบพกพาที่มีอินพุตให้ใช้งานอิสระพร้อมกันถึง 4 ช่อง ส�ำหรับงานซ่อมบ�ำรุงที่สุดโหดและ สมบุกสมบันในโลกของอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม เหนือชั้นกว่าทุกยี่ห้อในท้องตลาด ➢ Four Isolated Floating Inputs อินพุตทัง้ สีแ่ ยกขาดจากกันทางไฟฟ้าอย่างสมบูรณ์ ใช้ในงานไฟฟ้า 3 เฟสได้ ➢ Two Isolated Interface Ports พอร์ต USB ส�ำหรับ Memory และต่อกับ PC แยกขาดจากกัน ทางไฟฟ้า ➢ Wide Input Range วัดได้ตั้งแต่ Millivolt ถึง 1,000 Volt โดยไม่ต้องเปลี่ยนโพรบ ➢ Rugged-Shock 30 g ทนแรงกระแทกได้ถึง 30 g ตกกี่ทีก็ไม่พัง ➢ IP 51 Rated ตัวเครื่องปิดผนึกสนิท กันน�้ำและฝุ่น จึงใช้งานได้ในสภาพแวดล้อมสมบุกสมบัน ➢ 600V CAT IV/1000V CAT III มาตรฐานความปลอดภัยสูงสุด ยี่ห้อเดียวที่ใช้ได้ในงานไฟฟ้าก�ำลัง ➢ Connect&View™ Capabilities วัดและวิเคราะห์ผ่านคอมพิวเตอร์ได้ โดยไม่ต้องสัมผัสเครื่อง ➢ Replay Mode บันทึกรูปสัญญาณ 100 ภาพต่อเนื่อง ➢ TrendPlot™ บันทึกการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในระยะยาว ➢ ScopeRecord™ บันทึกเหตุการณ์แคบ ๆ ได้ เช่น กระแส In-rush ช่องทดสอบ 4 แชนเนล เห็นได้มากกว่า ซ่อมได้มากกว่า ใช้งานได้ในทุกพื้นที่ Fluke 190 Series II เป็นออสซิลโลสโคปพกพาขนาด 4 แชนเนลตัวแรกที่มีพิกัดความ ปลอดภัย CAT III 1000 V/CAT IV 600 V สูงทีส่ ดุ ในท้องตลาด ทีม่ อี นิ พุตแยกขาดจากกันทางไฟฟ้า มีพิกัดความปลอดภัยเพื่องานอุตสาหกรรม เป็นสโคปที่รวมความแข็งแรงทนทาน และสะดวก พกพาเข้ากับสมรรถนะขั้นสูงของสโคปตั้งโต๊ะ เหมาะส�ำหรับงานตรวจซ่อมตั้งแต่ระดับไมโคร อิเล็กทรอนิกส์ขึ้นไปจนถึงงานเพาเวอร์อิเล็กทรอนิกส์ วัดสัญญาณ 3 แกน อินพุต, เอาต์พตุ และฟีดแบ็กพร้อมกัน ตรวจสอบหลายจุดสัญญาณ ที่สัมพันธ์กันพร้อม ๆ กันในเวลาจริง ตรวจวัดความสัมพันธ์กนั ของสัญญาณ อินพุต เอาต์พุต ฟีดแบ็กหลูป และ สัญญาณ Safety Interlocks

>>>78

October-November 2015, Vol.42 No.243

ตรวจวินจิ ฉัยเพาเวอร์อนิ เวอร์เตอร์ และคอนเวอร์เตอร์ และ VSD ตรวจวัดสัญญาณในวงจร 3 เฟส เช่ น ตั ว ขั บ แบบปรั บ ความถี่ (VSD - Variable Speed Drives) UPS หรือแบ็กอัปเจเนอเรเตอร์ ทั้ง ในส่วน Power Input, DC to AC Converters หรือ Cable Interface


มารยาท และ

&

Books Guide

การรับรองลูกค้า

แบบญีป่ นุ่

การ

เขียนโดย Hiroko Nishide แปลโดย ดร.จารุนันท์ ธนสารสมบัติ ราคา 180 บาท สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท.

เจรจาทางธุรกิจจะส�ำเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ “พลังการ บริการ” เมื่อลูกค้าประทับใจ โอกาสทางธุรกิจก็เปิด คนญีป่ นุ่ ถือเป็นชนชาติทใี่ ห้ความส�ำคัญกับวัฒนธรรม จารีต ประเพณีอันดีงาม ที่แฝง ๆ ไว้ด้วยความมีระเบียบและเคร่งครัด ไม่ เว้นแม้แต่มารยาท และการรับรองลูกค้าทางธุรกิจของคนญี่ปุ่นที่มี เอกลักษณ์เฉพาะตัว มารยาทและการรับรองลูกค้าแบบญี่ปุ่น เป็นหนังสือที่จะ ช่วยให้คณ ุ มัน่ ใจและวางตัวได้ไม่พลาดในทุกงานเลีย้ ง ไม่วา่ จะเป็น... ➠ งานเลี้ยงรับรองลูกค้า ➠ งานพบปะสังสรรค์ทางธุรกิจ ➠ งานค็อกเทล ➠ งานปาร์ตี้ หรือแม้แต่นัดเดทส่วนตัว

คุณก็รับมือได้ทุกสถานการณ์ ทั้งในฐานะผู้จัดงานเลี้ยงและ ผูร้ บั ค�ำเชิญ เพราะคุณไม่ใช่แค่ แม่งานหรือพนักงาน แต่เป็น ตัวแทน และหน้าตา ของบริษัท แล้วคุณจะพบว่า ภาพลักษณ์ และมารยาททางสังคมไม่ใช่ เพียงเปลือกนอก แต่เป็นใบเบิกทางสู่โอกาสและความก้าวหน้าทางธุรกิจ หาก ลูกค้าประทับใจ การจรดปากกาเซ็นสัญญาทางธุรกิจสดใสแน่นอน

October-November 2015, Vol.42 No.243

79 <<<


&

Books Guide

ไวยากรณ์

เกาหลีระดับกลาง ผู้เขียน ผศ.สิทธินี ธรรมชัย ราคา 175 บาท สำ�นักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม

“ไวยากรณ์เกาหลีระดับต้น” เป็นหนังสือที่เหมาะส�ำหรับ ผู้เรียนภาษาเกาหลีในระดับต้นทุกคน รวมถึงผู้ที่ก�ำลังเตรียมตัว สอบวัดระดับภาษาเกาหลี หรือที่เรียกว่า “TOPIK” มาก ๆ เพราะ “ไวยากรณ์ เ กาหลี ร ะดั บ ต้ น ” เล่ ม นี้ ไ ด้ ร วบรวมรู ป และค� ำ ทาง ไวยากรณ์ในภาษาเกาหลีไว้เป็นหมวดต่าง ๆ เริม่ กันตัง้ แต่รปู ประโยค บอกเล่าแบบเป็นทางการทีท่ กุ คนต้องเจอเป็นรูปแรกสุดของการเรียน อย่าง 습니다(ซึมนีดา) และรูปประโยคบอกเล่าแบบไม่เป็นทางการ 아/어/여요(อา/ออ/ยอโย) หรือจะเป็นไวยากรณ์จากประโยคสุดฮิต ที่ถึงไม่เรียนก็ต้องได้ยินแน่ ๆ อย่าง 보고 싶어요 (โพโก ชีพอโย) ก็จะสามารถรูไ้ ด้ทนั ทีวา่ เป็นรูปประโยคแสดงความปรารถนา แปลว่า “คิดถึง (แปลตรงตัวว่า อยากเห็น/เจอ)” นั่นเอง รวมไปถึงรูปประโยค ค�ำสั่ง ขอร้อง ชักชวน เปรียบเทียบ ฯลฯ และยังมีเหล่าค�ำช่วยที่สร้าง

>>>80

October-November 2015, Vol.42 No.243

ความปวดเศียรเวียนเกล้าให้กับผู้เรียนอย่างเรา ๆ ไม่ว่าจะ 은/는 (อึ น /นึ น ) หรื อ 이 / 가 (อี / กา) ก็ น� ำ มาอธิ บ ายไว้ อ ย่ า งละเอี ย ด รวมแล้วกว่า 34 หมวด 160 ไวยากรณ์ โดยในแต่ละไวยากรณ์จะ ประกอบด้วยค�ำอธิบายหลักการใช้งานที่กระชับ เข้าใจง่าย พูดถึง หลักการน�ำไวยากรณ์นั้น ๆ ไปใช้งานในประโยค ต่อด้วยแผนภาพ โครงสร้างประโยคซึ่งจะช่วยให้เห็นภาพชัดเจนมากยิ่งขึ้น เช่น ค�ำกริยา AV/DV มีตัวสะกด + 습니다 พร้อมตัวอย่างประโยคเป็นส่วนสุดท้าย และท้ายเล่มยังมีดชั นี ไวยากรณ์เอาไว้ส�ำหรับค้นหาไวยากรณ์ได้อย่างรวดเร็วทันใจพร้อม ใช้งาน



ทำเรื่องยากใหเปน เรื่องงายดวย ไอเดีย

KAIZEN

ดาวนโหลดนิตยสาร Creative & Idea KAIZEN Online ไดแลววันนี้ที่

Bookcaze

Booksmile

Nstore

Naiinpann

Bookdose

Ookbee

Meb

สอบถามขอมูลเพิ่มเติม

โทร. 02-259-9160

ตอ 1740 (คุณจารุภา)

โครงการผลิตสื่อและมัลติมีเดีย สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 20150603


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.