ที ฆ ายุ โ ก โหตุ มหาราชา Technology Promotion and Innomag Magazine ¦ December 2015-January 2016 Vol.42 No.244
Techno
logy
Leadership of all Industrial Enterprise Magazine
www.tpaemagazine.com
INNOMag Gates to Inspiration of Innovation
Green Industry
Innovative for
Hot Issue:
Sustainable Way Ampolfood “มิตรผล” กับเบื้องหลังรางวัลอุตสาหกรรมยอดเยี่ยม ประจำป 2558 สองเทรนดเมืองอัจฉริยะ (smart city) การสรางนวัตกรรมแบบเปด (open innovation) ลานลานเซนเซอร...อยูทุกหนทุกแหง เคล็ด(ไม)ลับ จัดการโรงงานสีเขียว
ราคา 70 บาท
เคร�องวัดและบันทึก (Data Logging) อุณหภูมิและความชื้น ที่มอนิเตอรผานอินเตอรเน็ตได รุน HMT140 เช�อมตอดวย WiFi สะดวกติดตั้ง สงขอมูลผาน ระบบ Wi-Fi
วัดและบันทึกอุณหภูมิ และความชื้น
มอนิเตอรขอมูล, บันทึก, แจงเตือน
ระบบเน็ตเวิรก ที่ใชอยู
มีรุนที่มีจอในตัวและ รุนแยกโพรบวัด แจงเตือนระยะไกล
Vaisala HMT140
เปนดาตาล็อกเกอรแบบไรสาย สำหรับวัดและเก็บขอมูลอุณหภูมิ, ความชื้น และสัญญาณอะนาล็อก ในงานมอนิเตอรสภาพแวดลอมในหองคลังสินคา, หองแชแข็งอาหาร, ถังแชแข็งดวยไนโตรเจน, หองปฎิบัติการ, ธนาคารโลหิต, และงานทางวิทยาศาสตร
รุน DL2000 วัดไดหลายจุดพรอมกัน มาตรฐาน cGMP
คุณสมบัติเดนของรุน HMT140 เก็บขอมูลในตัวเองได แบตเตอรี่ทำงานได 18 เดือน ใชเซ็นเซอร HUMICAP® ทนทานตอฝุนละอองและสารเคมี มาตรฐาน NIST (พรอมใบรับรอง)
ใชงานรวมกับ Veriteq Power over Ethernet เพ�อเช�อมตอกับ เน็ตเวิรกที่มีอยู ได
มอนิเตอรขอมูล, บันทึก, แจงเตือน
มอนิเตอรระยะไกล ผานอินเตอรเนต
คุณสมบัติเดนของรุน DL2000 สำหรับสภาพแวดลอมสุดขั้ว แบตเตอรี่ใชงานไดนาน 10 ป ปรับชวงเวลาการเก็บบันทึกขอมูลได บันทึกขอมูลตอเน�องไดนานหลายป พรอมระบบปองกันดวยพาสเวิรด เซ็นเซอรคุณภาพสูง ระดับเดียวกับ ดาตาล็อกเกอรที่ใชในงานสอบเทียบ
ตูแชเย็นจัด
ตูเย็น
Vaisala DL2000 Series
เตาอบ ระบบเน็ตเวิรก ที่ ใชอยู
แจงเตือนระยะไกล ทางโทรศัพท
เปนเคร�องวัดและเก็บบันทึกขอมูลหรือดาตาล็อกเกอรสำหรับอุณหภูมิและความชื้นที่ออกแบบมา ใหสอดคลองตามขอกำหนดในงาน อุตสาหกรรม/เภสัชกรรมโดยเฉพาะ ดวยมาตรฐาน NIST-traceable, ISO/IEC 17025 calibration, วัดคาไดตามมาตรฐาน cGMP-compliant
สนใจติดตอ : คุณวิชัย ตันติพิมพกุล 08-1934-2570, wichai@measuretronix.com ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar
www.measuretronix.com/ vaisala
เคร�องมือทดสอบการติดตั้งและบำรุงรักษา ระบบผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย หากคุณทำงานกับเกี่ยวของกับการผลิตไฟฟาจากโซลาเซลล นี่คือผูชวยมืออาชีพทีจัดการงานใหคุณไดอยางครบถวน และมีประสิทธิภาพ
กลุมเคร�องมือวัดแผงเซลลแสงอาทิตย (PV Panel or String) SEAWARD รุน PV150
Installation/Maintenance ใชตรวจวัดแรงดันไฟฟา (Voc) กระแสไฟฟา (Isc) ความตานทานฉนวน (Riso) การเช�อมตอระบบกราวด จากแผงโซลารเซลในระดับ string ที่กระแสไมเกิน 15A รายงานการตรวจวัดตาม มาตรฐาน IEC62446 ได
METREL รุน MD 9250
METREL รุน MI 3108 PV
Installation and Electrical Safety Tester ใชตรวจวัดคุณสมบัติแผงโซลารเซล เชน แรงดันไฟฟา (Voc) กระแสไฟฟา (Isc) ประสิทธิภาพ (Efficiency), แสดงคา คุณสมบัติแบบ VI Curve, Irradiance, และใชตรวจสอบความปลอดภัยในงานติดตั้งไฟฟา
AC/DC Voltage/Current Clamp Meter ใชตรวจวัดแรงดันไฟฟา (Voc) กระแสไฟฟา (Isc) จากแผงโซลารเซลโดยตรงหรือวัดคา ในระดับ String/Array ที่กระแสไมเกิน 1000V/2000A วัดความตานทาน, ความตอเน�อง, ทดสอบไดโอด
กลุมเคร�องมือคุณภาพไฟฟา (Power Quality)
METREL รุน MI 2492
METREL รุน MI 2592
Power Quality Analyser and Logger ใชตรวจวัดคากำลังไฟฟา ของเคร�องอินเวอรเตอร บันทึกและวิเคราะหคุณภาพ ไฟฟา 3 เฟส วัดกำลังไฟฟา ไดทั้ง P, Q, S, PF, DPF, THD, Voltage Unbalance
Power Quality Analyser and Logger ใชตรวจวัดคากำลังไฟฟา ของเคร�องอินเวอรเตอร ประสิทธิภาพของเคร�อง อินเวอรเตอร วัดคา P, Q, S, PF, DPF, Unbalance, Harmonics, THD
กลุมเคร�องมือวัดอุณหภูมิ (Temperature) FLUKE รุน Ti-200-300-400
Thermal Imager ตรวจวัดภาพความรอนตรงจุด DC Switch Box ปองกันไฟใหม, ภาพความรอนที่แผงโซลารเซล เพ�อตรวจหาแผงที่ผิดปกติ, ภาพความรอนที่เคร�องอินเวอรเ ตอรและหมอแปลงไฟฟา
METREL รุน MD 9060
Heavy Duty Digital Multimeter มิเตอรอเนกประสงค สมบุกสมบัน วัดอุณหภูมิได 2 แชนเนล มีฟงคชั่น VFD วัดแรงดันในวงจรอินเวอร ไดถูกตอง และวัดความถี่, วัดแรงดันและกระแส AC DC Tru-RMS
METREL รุน MI 2892
Three Phase Power Quality Analyser วัดแรงดันและกระแสไดอยางละ 4 แชนเนล ทั้ง Tru-RMS, peak, crest factor วัดและบันทึกคากำลังไฟฟา ฮารโมนิกส (50th), Flicker, Dip, Swell ไดในเวลาเดียวกัน
กลุมเคร�องมือวัดกราวด (Earth Rod Resistance & Loop Impedance)
กลุมเคร�องมือวัดฉนวน (Insulation Tester) METREL รุน MI 3121H
Insulation/Continuity Tester วัดคาความตานทานฉนวนที่สาย DC Cable ระหวางแผงโซลารเซลลและ DC Switch หนาเคร�องอินเวอรเตอร ทดสอบฉนวนดวยแรงดันไฟฟา 50 – 1000 V ยานความตานทาน ฉนวน 30 GΩ
METREL รุน MI 3210
10 kV Insulation Tester วัดคาคาความตานทานฉนวนที่สาย AC Cable ระหวางเคร�องอินเวอรเตอร และหมอแปลง ทดสอบฉนวนที่ใชกับ งานแรงดันสูง เชนคา PI, DAR, DD ดวยแรงดันไฟฟา DC – 10 kV ยานความตานทานฉนวน 20 TΩ
METREL รุน MI 3123
Earth/Clamp Ground Tester วัดคาความตานของหลักดิน (Erath Rod Resistance) แบบ 3 หรือ 4 หลัก, วัดแยกหลักเฉพาะแบบไมตอง ปลดสายดวยวิธีการ Selective, วัดความตานทาน Loop Resistance หรือระบบ Mesh Ground ดวยวิธีการแบบ 2 Clamps
สนใจติดตอ : คุณเฉลิมพร 08-5489-3461, คุณธีระวัฒน 08-1555-3877, คุณจิรายุ 08-3823-7933, คุณสารกิจ 08-1641-8438 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar
www.measuretronix.com/ solar-metrel
&
December 2015 - January 2016, Vol.42 No.244
Activity
8
14
Special Scoop 14 ตามรอยพระบิดา
อนุรักษ์ดิน น�้ำ ป่า สู่ความยั่งยืน โดย: กองบรรณาธิการ
Special Talk
19 เส้นทางสูค่ วามยัง่ ยืน อ�ำพลฟูดส์
(sustainable way Ampolfood) โดย: กองบรรณาธิการ
23 “มิตรผล” กับเบื้องหลังรางวัล
อุตสาหกรรมยอดเยี่ยม ประจ�ำปี 2558 โดย: กองบรรณาธิการ
Inspiration
32
28
26 นวัตกรรมจากแรงบันดาลใจ เพื่อผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก
โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)
Innovation
28 เจาะนวัตกรรมสินค้าไฮเทค
ที่เปลี่ยนโลก
โดย: วงศกร ตระกูลหิรัญผดุง
Management
32 สารสนเทศควบคุมกิจกรรมการผลิต
โดย: โกศล ดีศีลธรรม
36 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางโลจิสติกส์
เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ (ตอนจบ) โดย: เศรษฐภูมิ เถาชารี วิทยาลัยนานาชาติพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
Production
41 การปัม๊ ชิน้ งานเทีย่ งตรงจิว๋ ระดับไมครอน
47 เครือ่ งเลเซอร์สำ� หรับกระบวนการ
(ตอนที่ 1)
โดย: อ�ำนาจ แก้วสามัคคี
44 การปรับปรุงคุณภาพด้วย TA
(Task Achieving)
โดย: พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์ ที่ปรึกษางานคุณภาพและนักวิจัยแห่งชาติ
52
ความคุม้ ค่าในการลงทุน?
โดย: ดร.วิบุญ ตั้งวโรดมนุกูล ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)
49 หุน่ ยนต์ในอุตสาหกรรมยา
โดย: เชอร์มีน ก็อตเฟรดเซ็น บริษัท ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
Energy & Environmental
52 LED นวัตกรรมเพือ่ วันนีแ้ ละอนาคต
โดย: กองบรรณาธิการ
KEYSIGHT OSCILLOSCOPE
From Extreme Value to Extreme Performance Multiple from Factors from 20 Mhz. to >90GHz. Industry-leading specifications Powerful applications Redefined new experiences in Oscilloscope innovation
Agilent Comparable Agilent Comparable 2000X 300X Leading Leading (MSO/DSO) Competitor’s (MSO/DSO) Competitor’s Model Model 70-200 Brandwidth (MHz) 100-500 50-200 100-200 50,000 Max. update rate 1,000,000 200* 5,000 8.5 in. Screen size 8.5 in. 5.7 in. 7 in. Yes Fully upgradable Yes No No Yes Yes Function generator No No
EXCEEDING INDUSTRIAL USERS EXPECTATION อุปกรณวัดขนาดพกพา หลากหลายฟงกชันการ ใชงานที่สามารถใหทาน เลือกใชงานใหเหมาะสม กับงานของทาน
Agilent Comparable 7000B Leading (MSO/DSO) Competitor’s Model 100-1 GHz 350-1 GHz 100,000 50,000 12.1 in. 10.4 in. MSO only No No No By Keysight Handheld Product
MEET TODAY’s HOTTEST THERMAL IMGERS
U5850 Series TrueIR thermal imgers
Keysight Thermal Imgers camera เปนกลองถายภาพความรอนสมรรถนะสูง ที่เหมาะในประยุกตใชงานดานโรงงานอุตสาหกรรม, งามซอมหรือบำรุงรักษา, การประยุกตใชในการอนุรักษพลังงานของที่อยูอาศัยหรืออาคาร และ งานทางดาน การแพทย โดยมีประสิทธิภาพในการตรวจหาจุดผิดปกติของแหลงอุณหภูมิความรอน ที่เกิดขึ้นและมีระยะความปลอดภัยในการใชงานพรอมทั้งพกพาสะดวก
ใหม!
U5856A และ 5857A 2 รุนใหมลาสุด
วัดอุณหภูมิความรอนไดสูงขึ้น (650 ºC และ 1200 ºC) เพิ่มสมรถภาพในการใชงานและ Software ที่สูงขึ้น
OTHER PRODUCT Function Generator/Arbitrary Waveform Generators | Frequency Counter &Timers | Data Acquisition | Oscilloscope Applications & Probes | Handheld Instruments | USB Modular Products | LCR Meter | DC Power Supplies | AC Power Sources & DC Loads | Power Meter Power Sensors | Network Analyzers | Spectrum and Signal Analyzer | Signal Generators | Handheld RF Instrument.
สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่:
บริษัท ไออารซี เทคโนโลยีส จำกัด
ที่อยู: 719 ชั้น 4 อาคารเคพีเอ็น ถ.พระรามเกา บางกะป หวยขวาง กรุงเทพ 10310 Web site: www.irct.co.th Tel: 02-7171400 Fax: 02-7171422
Authorized Distributor
December 2015 - January 2016, Vol.42 No.244
Computer & IT
&
55 ส่องเทรนด์เมืองอัจฉริยะ (smart city)
โดย: ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์
Focus
57 การสร้างนวัตกรรมแบบเปิด
(open innovation)
โดย: ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
Worldwide
61 ล้านล้านเซนเซอร์...อยูท่ กุ หนทุกแห่ง
โดย: ดร.อดิสร เตือนตรานนท์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์นวัตกรรมการพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (NECTEC)
Report
55 57
61
64 ท�ำของเหลือใช้ ไม่เสียของ
เรียบเรียงโดย: กองบรรณาธิการ
Visit
67 เคล็ด(ไม่)ลับ จัดการโรงงานสีเขียว
โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค บางปู โดย: กองบรรณาธิการ
69 เยีย่ มฐานการผลิต
ยนตกรรมสุดหรู BMW โดย: กองบรรณธิการ
Show & Share 72 Buyer Guide 74 Books Guide 76
67
69
Group
Leaping Ahead from Yamatake’s 100 Years Human-centered Automation
Smart Valve Positioner
700 series
1. Durable and Rugged Design ออกแบบแยกหองกันระหวาง Pneumatic, Electronics และ Field terminal พรอมดวย VTD เซ็นเซอรแบบ non contact 2. Advanced Control Valve Diagnostics มากขึ้นดวยฟงคชั่น Diagnostics แบบใหม จากการมีเซ็นเซอรที่หลากหลายขึ้น 3. Universal Access to the Device เขาถึงไดงายดวยหลากหลายชองทางการส�อสาร 4. Sophisticated System Integration HART 7, Foundation Fieldbus ITK6.1, FDT/DTM Plug in Valstaff, 3rd DCS 5. Improvement of Control Performance Single / Double ในตัวเดียวกัน 6. Lowered Energy Consumption ใชลมนอยมาก หรือนอยกวารุนเดิมอีก 20%
Azbil (Thailand) Co., Ltd. Head office : 209/1 K Tower 19-20th Fl., Sukhumvit 21 Road (Asoke), Klongtoey-Nua, Wattana, Bangkok 10110 Tel : (66) 0-2664-1900 Fax : (66) 0-2664-1912
Rayong Branch : 143/10 Mapya Road. T.Map Ta Phut, A.Muang, Rayong 21150 Tel : 0-3868-2453 Fax: 0-3868-2454
http://th.azbil.com
Amata Branch : Amata Service Center Bld. Unit No. 405, 4th Fl., 700/2 Moo 1 Amata Nakorn Industrial Estate, Bangna-Trad Km.57 Road, T.Klong Tumru, A.Muang, Chonburi 20000 Tel : 0-3845-7076-7 Fax : 0-3845-7078
Editor
Message from
&
December 2015- January 2016, Vol.42 No.244
กว่าจะเป็น...
สวัสดีค่ะ
Published by:
อุตสาหกรรมสีเขียว
คุณผู้อ่านทุกท่าน นิตยสาร Techno & InnoMag Online ฉบับที่ท่านก�ำลังอ่านนี้ เป็นฉบับครบรอบ 1 ปีพอดี ของการ ก้าวเข้าสู่สื่อออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ ตลอดระยะเวลาหนึ่งปีที่ผ่านมา คณะผู้จัดท�ำได้เรียนรู้ประสบการณ์ที่มี ประโยชน์มากมายส�ำหรับการน�ำมาปรับปรุงต่อยอดสือ่ ออนไลน์ของเราให้เป็นทีน่ า่ ติดตาม ที่ผ่านมาพบว่า ผู้อ่านให้การตอบรับดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่วนหนึ่งอาจเกิด จากผู้อ่านเริ่มปรับพฤติกรรมตามกระแส ขณะเดียวกันยังมีผู้อ่านหลายท่านที่ ถามไถ่เข้ามา แสดงความรูส้ กึ เสียดาย อยากอ่านเป็นเล่มเหมือนเดิม เพราะเก็บได้ หยิบอ่านตอนไหนก็สะดวก ทางคณะผู้จัดท�ำเองก็ขอแสดงความขอบคุณอย่างสูง ที่ติดตามด้วยดีเสมอมา สิ่งที่เราจะท�ำเพื่อเป็นการตอบแทน คือ การเฟ้นหาเนื้อหา สาระความรู้ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่น่าสนใจมาน�ำเสนอ ขณะเดียวกันก็ พยายามปรับปรุงช่องทางให้สามารถเข้าถึงได้สะดวกมากขึ้น ส�ำหรับเนื้อหาสาระที่น่าสนใจในฉบับนี้ เราได้หยิบยกกรณีศึกษาองค์กร ธุรกิจชั้นน�ำ ที่มีปณิธานแน่วแน่ที่จะเป็นองค์กรสีเขียวมาน�ำเสนอ การเป็นองค์กร สีเขียว ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็ไม่ยากเกินก�ำลังที่จะท�ำให้เกิดขึ้นได้ เพียงแต่ต้อง อาศัยศาสตร์และศิลป์ในการบริหารจัดการ แม้ “เงิน” “เทคโนโลยี” อาจมีสว่ นส�ำคัญ แต่สิ่งที่ส�ำคัญยิ่งกว่า คือ “แนวคิด นโยบาย” และ “ความเอาจริงเอาจัง” ของ ผู้บริหาร รวมทั้ง “ความมีน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน” ของคนในองค์กรอันจะน�ำมาสู่ ความร่วมมือ สร้างพลัง น�ำพาองค์กรไปสู่เส้นทางสีเขียวได้อย่างต่อเนื่องยั่งยืน สุดท้ายนี้ ผู้อ่านสามารถติดตามความเคลื่อนไหวของนิตยสารในเครือ ส.ส.ท. ได้ทาง Facebook Fanpage “TPAeMagazine” และอ่านเนื้อหาฉบับเต็ม ทั้งฉบับปัจจุบันและย้อนหลังได้ทาง ● www.tpaemagazine.com ● www.tpa.or.th/publisher ● www.issuu.com/tpaemagazine
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2258-0320-5, 0-2259-9160-9 แฟกซ์: 0-2662-1096, 0-2662-1016 http://www.tpa.or.th
Advisors:
ศ.ดร. วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์ รศ.ดร. วุฒิชาติ สุนทรสมัย คุณพิมลพร ยุติศรี คุณธัญญา ผลอนันต์ คุณธงชัย กัณฑานนท์
Executive Editor: สมใจ วัฒนบรรเจิด
Editorial Assistant:
รถจณา เถาว์พันธ์ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1710 e-mail: technology@tpa.or.th
Art Director:
เชิดศักดิ์ ศรีเมือง โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1731 e-mail: chirtsak@tpa.or.th
Production Design:
ประครอง ไชยศรีทา นระ บุญตา โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1732, 1708 e-mail: prakrong@tpa.or.th, nara@tpa.or.th
PR & Advertising Supervisor: ฬียากร ขุพินิจ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th
Advertising:
บุษบา ปั้นงาม โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
ภาพประกอบบางส่วนจาก: www.shutterstock.com
เป็นนิตยสารออนไลน์ราย 2 เดือน เผยแพร่ทุกต้นเดือนกุมภาพันธ์ เมษายน มิถุนายน สิงหาคม ตุลาคม และธันวาคม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอด แลกเปลี่ยน & ความรู้ทางวิชาการด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม และการจัดการภายในองค์การผลิตในสาขาต่าง ๆ ส่งเสริมสนับสนุนนักวิชาการในการเผยแพร่ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ของประเทศ บทความและข้อความในนิตยสารออนไลน์นี้ ถือเป็นความคิดเห็นส่วนตัว และลิขสิทธิ์ของผู้เขียน จึงไม่มีส่วนผูกพันกับสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) อีกทั้งข้อมูลต่าง ๆ อาจมีความผิดพลาด จึงควรตรวจสอบให้ชัดเจนก่อนใช้อ้างอิง กรณีที่ผู้อ่านเห็นว่า บทความใดได้มีการลอกเลียน หรือแอบอ้างโดยปราศจากการอ้างอิง หรือทำ�ให้เข้าใจผิดว่า เป็นผลงานของผู้เขียน กรุณาแจ้งให้สมาคมฯ ทราบ จักเป็นพระคุณยิ่ง
Ads Sumipol for E-magazine Fullpage 8.5x11.5 inch.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
11/30/2558 BE
14:56
&
Activity
บริษัท สุมิพล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ร่วมกับบริษัทชั้นน�ำจากญี่ปุ่น ผู้ผลิตในเครือข่ายด้านเครื่องจักรกลการผลิต (machine) เครื่องมือ และอุปกรณ์การตัด (cutting tools) และเครื่องมือวัดละเอียดมิติ (dimensional measuring tools) โดยการสนับสนุนจากสถาบันมาตรวิทยา แห่งชาติ ด้านระบบการวัด GD&T ร่วมกันก�ำหนดหลักสูตรขึ้นเป็นพิเศษ ในหัวข้อ “กระบวนการตัดแต่งขึ้นรูปโลหะเพื่อเพิ่มผลผลิต” และ “ความเข้าใจและหลักการส�ำคัญของการวัด GD&T ในระบบคุณภาพ” ให้แก่บคุ ลากรครูผสู้ อนวิทยาลัยเทคนิค สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ตามโครงการของคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน (กรอ.อศ.) กลุม่ อาชีพยานยนต์และชิน้ ส่วน รุน่ ที่ 3 ให้เข้ารับการฝึกอบรม ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติจริงในโรงงานรวมเวลาทั้งสิ้น 5 วัน (ระหว่างวันที่ 28 กันยายน ถึง 2 ตุลาคม พ.ศ.2558) โดยมีผู้แทนครูจากทั่วประเทศ เข้ารับการฝึกอบรม 23 คน จาก 13 วิทยาลัย และครูผู้ฝึกจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 2 คน
แอลจี รับมอบโล่
“5 SAVING FORWARD”
บริษัท แอลจี อิเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด โดย คุณนิพนธ์ วงษ์แสงอรุณศรี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาด รับมอบโล่ จาก ดร.คุรุจิต นาครทรรพ ปลัดกระทรวงพลังงาน เนื่องในโอกาสที่ โทรทัศน์แอลจี ผ่านมาตรฐานประสิทธิภาพสูง เบอร์ 5 โครงการ ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ในงาน “5 SAVING FORWARD ร่วมมือ ใส่ใจ ประหยัดไฟฟ้าเพื่ออนาคต” จัดโดย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย ทั้งนี้แอลจีได้ร่วมมือกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ร่วมโครงการฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ที่ผลักดันให้มีการพัฒนา อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ชนิ ด อื่ น ๆ ให้ เ ป็ น อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง โดยโทรทัศน์ของแอลจีได้รบั การทดสอบประสิทธิภาพเมือ่ ปี พ.ศ.2557 ที่ผ่านมา จนผ่านมาตรฐานประสิทธิภาพสูง เบอร์ 5 ซึ่งเป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์ที่สะท้อนให้เห็นถึงความตั้งใจอันแน่วแน่ของแอลจีว่าสามารถ ตอบโจทย์การใช้งานของผู้บริโภค และนอกจากนี้ยังสามารถช่วยให้ประเทศไทยประหยัดพลังงานอีกด้วย >>>8
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
009 AD TTrakit_Pc5.pdf
1
21/9/2555
3:01
Omron Authorized Engineering Distributor
บริษัท ต. ธีรกิจ ออโตเมชั่น จำกัด
¥¯ ¯   ¥¶ ¥´« ¥qเขตบางคอแหลม à © ´ Ä §mกรุ  ´ ¯Ã§£ ¥º  ± 3627/37 ตรอกนอกเขต ถนนเจริญราษฎร แขวงบางโคล งเทพฯ 10120 7URNQRUNNDH -DOHDUQUDM 5G %DQJNDR %DQJNRUODP %DQJNRN 3627/37 Troknorkkae, Jalearnraj Rd., Bangkao, Bangkorlam, Bangkok 10120 Ä ¥ª³ q ¯³ Ä £³ ¶ Ä ¥¬´¥ โทรศัพท 0-2687-2222 (อัตโนมัติ) โทรสาร 0-2211-8973, 0-2211-8983, 0-2673-2278, 02-2687-2238 ZZZ WRUWHUDNLW FRP ( PDLO VDOHWWD#WRUWHUDNLW FRP www.torterakit.com E-mail : saletta@torterakit.com
340_TTrakit_Pc5.pmd
1
12/6/2555, 19:50
&
Activity
สุดยอด ต้นแบบอุตสาหกรรมไทย ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานใน พิธีมอบ รางวัลอุตสาหกรรมประจ�ำปี 2558 (The Prime Minister’s Industry Award 2015) รางวัลเกียรติยศสูงสุดของวงการอุตสาหกรรม ไทยที่จัดต่อเนื่องเป็นปีที่ 23 ซึ่งในปีนี้มีสถานประกอบการได้รับรางวัล ทั้งสิ้น 31 แห่ง รวม 33 รางวัล โดยรองนายกรัฐมนตรีได้แนะแนวทาง ยกระดับอุตสาหกรรมไทย และเน้นย�ำ้ ถึงความส�ำคัญของการลงทุนวิจยั และพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะสามารถน�ำพาประเทศไทยไป สู่ความยั่งยืน ทั้งนี้ พิธีมอบรางวัลอุตสาหกรรมประจ�ำปี 2558 จัดขึ้นเมื่อช่วงปลายเดือนกันยายน พ.ศ.2558 ณ ห้องรอยัล จูบิลี่ บอลรูม อาคาร ชาเลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
รางวัลองค์กร รักษ์สิ่งแวดล้อมดีเด่น เมือ่ เร็ว ๆ นี้ มร.โคจิ เทสึกะ ประธานบริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (ซ้ายมือ) ขึ้นรับโล่รางวัลชนะเลิศองค์กร รักษ์สิ่งแวดล้อมดีเด่น ประจ�ำปี 2558 จาก มรว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร (ขวามือ) ผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานคร จาก กิ จ กรรมการประกวดอาคาร และส� ำ นั ก งานปลอดขยะ ที่ ส�ำนักงานสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร ร่วมกับมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ศูนย์วศิ วกรรมพลังงานและสิง่ แวดล้อม บางเขน โดยรางวั ล นี้ เ ป็ น รางวั ล จากการที่ บ ริ ษั ท ฟู จิ ซี ร็ อ กซ์ (ประเทศไทย) มีความตระหนัก มุ่งมั่นและส่งเสริมสนับสนุน การจัดการทรัพยากรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ มีการพัฒนาระบบการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร ด้วยการเปลี่ยนการจัดการขยะเป็นการจัดการทรัพยากร ลดปัญหาสิ่งแวดล้อม และลดปริมาณขยะที่ก�ำจัด ซึ่งจ�ำเป็นต้องได้รับความร่วมมือ จากทุกภาคส่วน เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างประโยชน์ให้แก่สังคมและสิ่งแวดล้อมให้เกิดความยั่งยืนต่อไป
ศูนย์สารพันทันใจ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม น�ำร่องพระราชบัญญัติอ�ำนวยความสะดวก เปิด ศูนย์บริการสารพันทันใจ (express service center) ให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว เรื่องใบอนุญาตโรงงาน จด ประกอบ ขยาย การันตีเสร็จสิ้นภายใน 30 วัน ด้วยระบบ ดิจิทัล พร้อมต้อนรับผู้ประกอบการด้วยความสะดวก รวดเร็ว โปร่งใสแล้ววันนี้ ที่ ศูนย์บริการสารพันทันใจ ชั้น 1 อาคารกรมโรงงานอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 โทรศัพท์ 0-2202-4000 >>>10
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
ผลิต ออกแบบ และติดตัง้ เฟอร์ นิเจอร์ /อุปกรณ์ ช่าง
• โต๊ ะซ่ อม โต๊ ะประกอบอุปกรณ์ ประจ�ำห้ องแลป และ ห้ อง MAINTENANCE • ตู้แขวนเครื่ องมือ • ตู้เก็บกล่ องอุปกรณ์ ส�ำหรั บอุตสาหกรรมยานยนต์ L STORAGE SYSTEM • ระบบระบายควันกรด ฝุ่ น และชุดก�ำจัดในโรงงานอุตสาหกรรม เฟอร์ นิเจอร์ งานช่ าง คุณภาพเหนือราคา พร้ อมบริ การหลังการขาย TOO
SERVICE BENCH
TOOL MOBILE CABINET
โต๊ ะปฏิบตั กิ ารช่ างซ่ อม
ตู้ใส่ อปุ กรณ์ เครื่องมือเคลื่อนย้ ายสะดวก ท� ำ ด้ ว ยเหล็ก พ่น สี อี พ๊ อ กซี่ กัน สนิ ม ภายในมี ก ล่อ ง สามารถแบ่งแยกเก็บอุปกรณ์ มีกญ ุ แจล็อค พร้ อมมือ จับแข็งแรง ทนทาน เหมาะส�ำหรับใช้ งานในโรงงาน หรือ งานช่างทัว่ ไป ราคาประหยัด ผลิตในประเทศ บริ การ จัดส่ง พร้ อมบิการจากทีมงานที่มีปรสิทธิภาพ
• พื ้นโต๊ ะไม้ ปิดผิวด้ วยฟอร์ ไมก้ า, ไม้ จริ ง, หรื อแผ่นเหล็ก • แผงแขวนอุปกรณ์ 3 ด้ านขนาดสูง 600 mm. • ตู้เหล็กขนาด 600x500x800 mm. พ่นสีพอ็ กซี่ • กล่องไฟคูพ่ ร้ อมสายดิน ขนาด19AMP.220V.1 PHASE แสงสว่าง FLUORESCENCE 18 WATT
ST-150
ขนาด: 1500x600x1400mm.
ST-180
ขนาด: 1800x600x1400mm.
TOOL HANGING RACK CABINET ตู้เก็บอุปกรณ์ ส�ำหรับแขวนเครื่ องมือช่าง, ตู้เก็บกล่อง อุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ ชิ น้ เล็ ก ที่ มี ห ลายขนาดเหมาะสมกับ ลักษณะงานทุกชนิดโครงสร้ าง ท�ำด้ วย เหล็กแผ่น พ่นสี แข็งแรง ตู้-ชั น้ เก็บเครื่ องมือช่ างแบบเคลื่ อนที่ มีล้อส�ำหรั บ เคลื่อนย้ ายได้ เพื่อสะดวกในการท�ำงานในพื ้นที่มีหลาย ขนาด ที่เหมาะสมกับลักษณะงานทุกชนิด
PTH 10565130 Part-tool hanging rack mix SIZE : 1050x650x1300 mm.
PRH 9030180
THC 9045145 ขนาด: 900x450x1450 mm. ท�ำด้ วย เหล็กแผ่นพ่นสีอีพ๊อกซี่ เจาะรูเพื่อแขวนอุปกรณ์มีหลาย ขนาดให้ เลือก
THC 903072
W/Stand wheel Tool hanging rack cabinet SIZE : 900x300x1800 mm. SIZE : 900x300x720 mm.
REF-753520 ตู้สูง Tool and part cabinet SIZE : 640x460x900 mm.
TS-6410 ขนาด: 640x460x900 mm. น�ำ้ หนัก 50 กก.
TS-858 ขนาด: 640x460x900 mm. น�ำ้ หนัก 39 กก.
ตู้เก็บอะไหล่ และเครื่ องมือต่ างๆ
จัดจ�ำหน่ ายโดย OFFICIAL EQUIPMENT MANUFACTURING CO.,LTD. บริษทั ออฟฟิ เชียล อีควิปเม้ นท์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด
70 หมู่7 ซอยเพชรเกษม 130 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลไร่ ขงิ อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 70 Moo7, Phetkasem Road Soi 130, T.Raikhing, A.Sampran, Nakornpathom 73210 Tel. : 0-2420-5999,0-2420-5021-2 Fax.: 0-2420-4997-8 E-mail :sales@official.co.th www.officail.co.th
ใบสมัครสมาชิก รูปแบบ Magazine
Download Form: www.tpaemagazine.com
ในนาม
1 ป (12 ฉบับ) 790 บาท 2 ป (24 ฉบับ) 1,550 บาท เริม่ ฉบับเดือน (ระบุ) .............................
นิติบุคคล บุคคล สมัครสมาชิกใหม ตออายุ (ระบุรหัส) ..............................
จัดสงนิตยสารที่ ช�อ-นามสกุล...................................................................................................... ตำแหน�ง...................................................................... ฝาย/แผนก............................................. ช�อ (หน�วยงาน)........................................................................................................ ที่อยู......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................ รหัสไปรษณีย................................. โทรศัพท........................................................ ตอ..................... โทรสาร........................................................ E-mail (รับขาวสาร) .....................................................................
ระดับการศึกษา
ต่ำกวาปริญญาตรี
จัดสงใบเสร็จรับเงินที่
ปริญญาโท
ปริญญาตรี
จัดสงที่เดียวกับที่สงวารสาร
ปริญญาเอก
จัดสงตามที่อยูดานลาง
ตัวแทน / ผูรับใบเสร็จ (ช�อ-นามสกุล).......................................................................................................................................................... (สำหรับจาหนาซองลงทะเบียน) ที่อยูออกใบเสร็จ (หน�วยงาน)................................................................................................. ที่อยู....................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................
ทานทราบขอมูล-ขาวสาร จากที่ ใด
เขาชมทางเว็บไซต (www.tpaemagazine.com) บริษัทเปนสมาชิก ส.ส.ท. รานคา .................................... นิทรรศการตาง ๆ (Booth)งาน.......................................................................................................(ระบุ) อ�น ๆ....................................................................................................................................................(ระบุ)
ประเภทธุรกิจที่ดำเนินการ กรุณาเลือกประเภทกิจการ
อุตสาหกรรมกาซ อุตสาหกรรมการจัดการเพ�อสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑกระดาษ อุตสาหกรรมแกรนิตและหินออน อุตสาหกรรมแกวและกระจก อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลการเกษตร อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลและโลหะการ อุตสาหกรรมเคร�องนุงหม อุตสาหกรรมเคร�องปรับอากาศและเคร�องทำความเย็น อุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต อุตสาหกรรมซอฟตแวร อุตสาหกรรมเซรามิกส
ผูผลิต ผูนำเขา อ�น ๆ (โปรดระบุ)
ผูสงออก
อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมน้ำตาล อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง อุตสาหกรรมผูผลิตไฟฟา อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมไมอัด ไมบาง และวัสดุแผน อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมยานยนต
ผูจัดจำหนาย
หนวยงานราชการ
อุตสาหกรรมเย�อและกระดาษ อุตสาหกรรมรองเทา อุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันปโตรเลียม อุตสาหกรรมโรงเล�อยและโรงอบไม อุตสาหกรรมสมุนไพร อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑหนัง อุตสาหกรรมหลังคาและอุปกรณ อุตสาหกรรมหัตถอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมอะลูมิเนียม อุตสาหกรรมอัญมณีและเคร�องประดับ อุตสาหกรรมอาหาร
วิธีการชำระเงิน เงินสด (กรณีชำระที่สมาคมฯ เทานั้น) โอนเงินเขาบัญชีธนาคาร ช�อบัญชี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 บัญชีสะสมทรัพย เลขที่บัญชี 172-0-239233 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 009-2-23325-3
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม หรือสงใบสมัครมาที่
เจาหนาที่ลูกคาสัมพันธสมาชิก ฝายธุรกิจสิ่งพิมพ ส.ส.ท.
PR_NW
สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 โทรศัพท 0-2258-0320-5 ตอ 1740 โทรสาร 0-2662-1096 หรือ E-mail maz_member@tpa.or.th
ทีฆายุโก โหตุ มหาราชา ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
ข้าพระพุทธเจ้า คณะกรรมการบริหาร ผู้บริหาร และพนักงาน สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
&
Special Scoop
ตามรอยพระบิด่ า... อนุรกั ษ์ ดิน น�้ำ ป่ า
“ปัญหา
สูค่ วามยังยืน
เรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาที่มีความส�ำคัญควบคู่กับการพัฒนา ความเจริญก้าวหน้า ซึ่งเป็นปัญหาร่วมกันของทุก ประเทศ กล่าวคือ การพัฒนา ยิ่งรุดหน้า ปัญหาคุณภาพสิ่งแวดล้อมและภาวะมลพิษก็ยิ่งก่อตัว และทวีความรุน แรง มากยิ่งขึ้น ประเทศไทยก็เป็นประเทศหนึ่ง ที่ก�ำลังประสบกับปัญหาดังกล่าวอยู่ในขณะนี้...” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2545
>>>14
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
&
Special Scoop
นับเป็นเวลายาวนานกว่า 65 ปี ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จขึ้นครองราชย์ ในปี พ.ศ. 2493 พระองค์ทรงมีพระราชกรณียกิจ หลากหลายด้าน หนึ่งในนั้น คือ พระราชกรณียกิจด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ครอบคลุม 3 นิเวศ คือ น�้ำ ดิน และป่าไม้ ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในการคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุง และแก้ไขด้วยทฤษฎีและวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของพสกนิกรชาวไทย และระบบ นิเวศอันจะน�ำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (sustainable development) ของประเทศไทยเรา ดั ง นั้ น เราจึ ง ขนานนามในหลวงของเราว่ า “พระบิดาแห่งการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
จัดการน�ำ้ เพือ่ ความยัง่ ยืน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็น “นักปราชญ์ด้านน�้ำ ของแผ่นดิน” งานพัฒนาที่ส�ำคัญยิ่งของพระองค์ คือ งานที่เกี่ยวข้อง กับน�้ำ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาและจัดหาแหล่งน�้ำ การเก็บกัก การ ระบาย การควบคุม การท�ำน�้ำเสียให้เป็นน�้ำดี ตลอดจนการแก้ไข ปัญหาน�ำ้ ท่วม จนเป็นทีป่ ระจักษ์ชดั ว่า พระอัจฉริยภาพและพระปรีชา สามารถของพระองค์นั้นหาผู้เสมอเหมือนได้ยากยิ่ง น�้ำดีไล่น�้ำเสีย ในการแก้ไขมลพิษทางน�้ำนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงแนะน�ำให้ใช้หลักการแก้ไขโดยใช้น�้ำที่มีคุณภาพดีจากแม่น�้ำ เจ้าพระยา ไปช่วยผลักดันและเจือจางน�ำ้ เน่าเสียให้ออกจากแหล่งน�ำ้ ของชุมชนภายในเมืองตามคลองต่าง ๆ เช่น คลองบางเขน คลอง บางซื่อ คลองแสนแสบ คลองเทเวศน์ และคลองบางล�ำภู เป็นต้น วิธกี าร คือ ท�ำการเปิด - ปิดประตูอาคารควบคุมน�ำ้ รับน�ำ้ จาก แม่นำ�้ เจ้าพระยาในช่วงจังหวะน�ำ้ ขึน้ และระบายน�ำ้ สูแ่ ม่นำ�้ เจ้าพระยา ในระยะน�้ำขึ้นลง ผลก็คือ น�้ำตามล�ำคลองต่าง ๆ มีโอกาสไหลถ่ายเท หมุนเวียนกันมากขึ้น น�้ำที่มีสภาพทรงอยู่กับที่และเน่าเสียก็จะกลับ กลายเป็นน�ำ้ ทีม่ คี ณ ุ ภาพดีขนึ้ ด้วยวิธธี รรมชาติงา่ ย ๆ อย่างทีไ่ ม่มผี ใู้ ด คิดมาก่อนเช่นนี้ ได้มีส่วนท�ำให้น�้ำเน่าเสียตามคูคลองต่าง ๆ ใน กรุงเทพมหานคร มีสภาพดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด วิธีการง่าย ๆ เช่นนี้ เป็นการน�ำระบบการเคลื่อนไหวของน�้ำตามธรรมชาติมาจัดระเบียบ แบบแผนขึ้นใหม่ เป็นการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในเชิงอนุรักษ์ ควบคู่ไปกับการพัฒนาที่เรียบง่าย
ไตธรรมชาติ อีกตัวอย่างหนึง่ ของแนวความคิดในเรือ่ งการบ�ำบัดน�ำ้ เสียของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงวางแนวพระราชด�ำริ พระราชทานไว้ว่า เมืองใหญ่ทุกแห่งต้องมี “ปอด” คือ สวนสาธารณะ ไว้หายใจ หรือฟอกอากาศ ในขณะเดียวกันก็ควรมีแหล่งน�้ำไว้สำ� หรับ กลั่นกรองสิ่งโสโครกเน่าเสีย ท�ำหน้าที่เสมือนเป็น “ไตธรรมชาติ” พระองค์ทรงใช้บึงมักกะสัน เป็นแหล่งน�้ำที่รองรับน�้ำเสียจากชุมชน ในเขตปริมณฑลและในกรุงเทพมหานคร โดยทรงเปรียบเทียบว่า บึงมักกะสัน เป็นเสมือนดังไตธรรมชาติของกรุงเทพมหานคร ทีเ่ ก็บกัก และฟอกน�้ำเสียตลอดจนเป็นแหล่งเก็บกักและระบายน�้ำในฤดูฝน และทีบ่ งึ แห่งนีเ้ องก็ได้โปรดให้มกี ารทดลองใช้ผกั ตบชวา ซึง่ เป็นวัชพืช ทีต่ อ้ งการก�ำจัดอยูแ่ ล้วมาช่วยดูดซับความสกปรก ปนเปือ้ น รวมตลอด ทั้งสารพิษต่าง ๆ จากน�้ำเน่าเสีย ประกอบเข้ากับเครื่องกลบ�ำบัด น�้ำเสียแบบต่าง ๆ ที่ ได้ทรงคิดค้นประดิษฐ์ขึ้นเอง โดยเน้นวิธีการที่ เรียบง่าย ประหยัด และไม่สร้างความเดือดร้อนร�ำคาญแก่ประชาชน ในพื้นที่นั้น มีพระราชกระแสในเรื่องนี้ว่า “...สวนสาธารณะ ถือว่าเป็นปอด แต่นี่ (บึงมักกะสัน) เป็น เสมือนไตฟอกเลือด ถ้าไตท�ำงานไม่มีเราก็ตาย อยากให้เข้าใจหลัก การของความคิดนี้... ปัจจุบันบึงมักกะสันได้ท�ำหน้าที่ ไตธรรมชาติ ของกรุงเทพมหานครอย่างมีประสิทธิภาพ ได้มสี ว่ นช่วยบรรเทามลพิษทางน�ำ้ และ เป็นแหล่งศึกษาทดลองด้านการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อม การส่งเสริม อาชีพ และการน�ำของเสียมาใช้ให้ก่อประโยชน์ได้อย่างยิ่ง กักเก็บน�้ำด้วยอ่างขนาดใหญ่ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว พระองค์ ท รงมี แ นวคิ ด ใน โครงการเก็บกักน�้ำขนาดใหญ่ของประเทศ เช่น โครงการพัฒนาลุ่มน�้ำ ป่าสัก อันเกิดจากน�ำ้ พระราชหฤทัยทีท่ รงห่วงใยถึงปัญหาวิกฤตการณ์ น�ำ้ ทีจ่ ะเกิดขึน้ แก่ประเทศไทยในอนาคต คือ ปัญหาน�ำ้ ท่วมกับปัญหา น�ำ้ แล้ง ซึง่ เกิดขึน้ สลับกันอยูต่ ลอดเวลา สร้างความสูญเสียอันยิง่ ใหญ่ แก่เกษตรกรและประชาชนโดยทัว่ ไปอยูเ่ ป็นประจ�ำ จึงจ�ำเป็นทีจ่ ะต้อง
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
15 <<<
&
Special Scoop
ด�ำเนินการจัดสร้างโดยเร่งด่วน เพือ่ เป็นแหล่งต้นทุนน�ำ้ ชลประทานใน การเกษตรกรรมในฤดูแล้ง เพือ่ ป้องกันและบรรเทาอุทกภัยในบริเวณ ลุม่ น�ำ้ ป่าสักและลุม่ น�ำ้ เจ้าพระยาตอนล่างในฤดูนำ�้ หลาก เพือ่ บรรเทา ปัญหาน�ำ้ เน่าเสียในเขตกรุงเทพมหานครและเมืองใหญ่ในภาคกลาง และเพือ่ ผลประโยชน์ทางอ้อมนานัปการทีจ่ ะบังเกิดขึน้ ส�ำหรับในเรือ่ ง นี้ได้เคยมีพระราชกระแสรับสั่งไว้ด้วยความห่วงใยว่า ...หากประวิงเวลาต่อไปไม่ได้ท�ำ เราก็ต้องอดน�้ำแน่ จะ กลายเป็นทะเลทราย และเราก็จะอพยพไปไหนไม่ได้ โครงการนี้ คือ สร้างอ่างเก็บน�ำ้ 2 แห่ง แห่งหนึง่ คือ ทีแ่ ม่นำ�้ ป่าสัก อีกแห่งหนึง่ คือ ทีแ่ ม่นำ�้ นครนายก 2 แห่งรวมกันจะเก็บน�ำ้ เหมาะสมพอเพียงส�ำหรับ การบริโภค การใช้นำ�้ ในเขตกรุงเทพฯ และเขตใกล้เคียงในทีร่ าบลุม่ ของประเทศไทย... นอกเหนือไปจากโครงการพัฒนาลุ่มน�้ำป่าสักแล้ว ทางภาค ใต้ของประเทศไทยก็ประสบกับปัญหาน�้ำท่วม น�้ำจืด น�้ำเปรี้ยว น�้ำ เค็ม อันเป็นผลให้ท�ำเกษตรกรรมไม่ได้ผลดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ โดยรอบเขตพรุและที่ใกล้กับเขตดินพรุ เช่น บริเวณพื้นที่ลุ่มน�้ำ ปากพนัง และบริเวณลุ่มน�้ำบางนรา เป็นต้น โดยมีหลักการส�ำคัญให้ วางโครงการและก่อสร้างระบบแยกน�้ำ 3 รส ออกจากกัน คือ สร้าง ระบบป้องกันน�้ำเปรี้ยวจากพรุท�ำให้พื้นที่เกษตรกรรมเป็นกรด ระบบ ป้องกันน�้ำเค็มบุกรุก และระบบส่งน�้ำจืดช่วยเหลือพื้นที่เกษตรกรรม และเพื่อการอุปโภคบริโภค เกี่ยวกับโครงการฯ นี้ ได้ทรงวางแนวคิด และวิธีการในเรื่องการแยกน�้ำแต่ละประเภทในพื้นที่เดียวกันให้แยก ออกจากกันด้วยวิธีการที่แยบยล อันแสดงถึงพระอัจฉริยภาพใน ศาสตร์ด้านน�้ำอย่างแท้จริง
พลิกฟืน้ ผืนดินไทยให้อดุ ม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวคิดและ ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์และปรับปรุงบ�ำรุงดิน เพื่อการเกษตร >>>16
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
กรรมไว้หลายประการ ทัง้ นีร้ วมถึง “การใช้หญ้าแฝก” เพือ่ อนุรกั ษ์และ ป้องกันการพังทลายของหน้าดิน จนประเทศไทยกลายเป็นศูนย์กลาง ของการใช้เทคนิคและวิชาการหญ้าแฝกที่ประสบผลส�ำเร็จและมี ความก้าวหน้ามากที่สุดในโลกปัจจุบันนี้ด้วย นอกจากนี้ แนวคิดและทฤษฎีของพระองค์ยังสามารถพลิก ฟื้นแผ่นดินที่เสื่อมโทรม หาประโยชน์อันใดมิได้ ให้กลับกลายเป็น แผ่นดินที่อุดมสมบูรณ์ได้อีกครั้งด้วย “การแกล้งดิน” เป็นที่ทราบกันดีว่า พื้นดินทางภาคใต้มีสภาพเป็นดินเปรี้ยว จัด ท�ำการเพาะปลูกไม่ได้ เนือ่ งจากมีกรดก�ำมะถันอันเป็นสาเหตุของ ดินเปรี้ยวอยู่เป็นอันมาก วิธีการแก้ไข คือ ใช้กรรมวิธีการ “แกล้งดิน ให้เปรี้ยว” ด้วยการท�ำให้ดินแห้งและเปียกสลับกันเพื่อเร่งปฏิกิริยา ทางเคมีของดินให้มีกรดจัดมากขึ้นจนถึงที่สุด จากนั้นจึงมีการปรับปรุงดินเปรี้ยวโดยวิธีการต่าง ๆ เช่น โดย การควบคุมระบบน�้ำใต้ดินเพื่อป้องกันการเกิดกรดก�ำมะถัน การใช้ วัสดุปูนผสมประมาณ 1-4 ตันต่อไร่ การใช้น�้ำชะล้างจนถึงการเลือก ใช้พืชที่จะเพาะปลูกในบริเวณนั้น “การแกล้งดิน” โดยวิธีการที่ได้ พระราชทานไว้นนั้ สามารถท�ำให้บริเวณพืน้ ทีด่ นิ ทีเ่ ปล่าประโยชน์และ ไม่สามารถท�ำอะไรได้ กลับฟื้นคืนสภาพที่สามารถท�ำการเพาะปลูก ได้อีกครั้งหนึ่งด้วยวิธีการอันเกิดจากพระปรีชาสามารถโดยแท้ การใช้หญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์และปรับปรุงบ�ำรุงดิน ก็เป็น อีกวิธกี ารหนึง่ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงคิดค้นวิธกี ารใช้และ ดัดแปลงจากวิธกี ารสมัยเก่าทีใ่ ช้กนั มาแต่ครัง้ โบราณ โดยพระราชทาน แนวคิดและทฤษฎีการใช้หญ้าแฝกให้มีประสิทธิภาพสูงสุดตาม ลักษณะและสภาพภูมิประเทศที่แตกต่างกัน ผลส�ำเร็จจากการนี้ส่วนหนึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือจากนานา ประเทศ จนกระทัง่ สมาคมด้านการป้องกันการพังทลายของดินระหว่าง ประเทศ ได้ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลอันทรงเกียรติแด่พระองค์ในฐานะที่ ทรงเป็นนักอนุรักษ์ดินและสภาพแวดล้อมที่มีผลงานยอดเยี่ยม
&
Special Scoop ในเรื่องเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ปรับปรุงบ�ำรุงดินนั้นได้พระราชทานแนวคิดว่า ...การปรับปรุง พัฒนาที่ดินที่ส�ำคัญคือ ต้องอนุรักษ์ ผิวดินซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์ไว้ให้ได้ ไม่ลอกหน้าดินทิ้งไป ต้อง สงวนไม้ยืนต้นที่ยังเหลืออยู่ เพื่อรักษาความชุ่มชื้นของผืนดินไว้...
ฟืน้ ฟูผนื ป่าให้ยนื ยง
นับตั้งแต่อดีตกาลนานมาแล้ว ประเทศไทยอุดมสมบูรณ์ไป ด้วยผืนป่านานาพันธุ์ ก่อนที่ผืนป่าเหล่านั้นจะถูกท�ำลายลงอย่าง รวดเร็วด้วยน�ำ้ มือมนุษย์ การทีผ่ นื ป่าถูกท�ำลายส่งผลกระทบมากมาย ทั้งภาวะแห้งแล้งเนื่องจากต้นน�้ำล�ำธารถูกท�ำลาย ฝนไม่ตกต้องตาม ฤดูกาล หรือเมือ่ ยามน�ำ้ หลากก็เกิดน�ำ้ ท่วมฉับพลันและมีการพังทลาย ของหน้าดินอย่างรุนแรง จนเป็นปัญหาต่อการประกอบอาชีพทางการ เกษตร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พระองค์ทรงตระหนักถึงปัญหา ดังกล่าวยิ่งนัก โดยเฉพาะเรื่องป่าไม้เป็นสิ่งที่พระองค์ทรงห่วงใยเป็น อย่างมาก นับตั้งแต่เริ่มเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นต้นมา ท�ำให้เห็นเป็นตัวอย่าง ในระยะต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จ พระราชด�ำเนินแปรพระราชฐานไปประทับ ณ พระราชวังไกลกังวล อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นประจ�ำแทบทุกปี โดยใน ระยะแรกจะเสด็จฯ ด้วยรถไฟพระที่นั่ง ต่อมาเมื่อมีการปรับปรุงเส้น ทางคมนาคมดี ขึ้ น จึ ง เสด็ จ ฯ โดยรถยนต์ พ ระที่ นั่ ง ประมาณปี พ.ศ.2503-2504 ขณะเสด็จพระราชด�ำเนินผ่านจังหวัดนครปฐม ราชบุรี และเพชรบุรี เมื่อรถยนต์พระที่นั่งผ่านอ�ำเภอท่ายาง จังหวัด เพชรบุรีนั้น มีต้นยางขนาดใหญ่ปลูกเรียงรายทั้งสองข้างทาง จึงได้มี พระราชด�ำริทจี่ ะสงวนบริเวณป่ายางนีไ้ ว้ให้เป็นส่วนสาธารณะ แต่ใน ระยะนั้นไม่อาจด�ำเนินการได้ เนื่องจากต้องจ่ายเงินค่าทดแทนใน อัตราที่สูง เพราะมีราษฎรมาท�ำไร่ท�ำสวนในบริเวณนั้นจ�ำนวนมาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงเริ่มทดลองปลูกต้นยาง ด้วยพระองค์เอง โดยทรงเพาะเมล็ดยางในกระถางบนพระต�ำหนัก เปี่ยมสุข พระราชวังไกลกังวล และได้ทรงปลูกต้นยางนั้นในแปลงป่า ไม้ทดลองในบริเวณแปลงทดลองปลูกต้นยางนาพร้อมข้าราชบริพาร เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 จ�ำนวน 1,250 ต้น ต่อมาทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้น�ำพันธุ์ไม้ต่าง ๆ ทั่วประเทศ มาปลูกใน บริเวณทีป่ ระทับสวนจิตรลดาในลักษณะป่าไม้สาธิต นอกจากนีย้ งั ได้ สร้างพระต�ำหนักเรือนต้นในบริเวณป่าไม้สาธิตนั้น เพื่อทรงศึกษา ธรรมชาติวิทยาของป่าไม้ด้วยพระองค์เองอย่างใกล้ชิดและลึกซึ้ง ปลูกจิตส�ำนึกอนุรักษ์ป่าไม้ให้ยืนยง ณ หน่วยงานพัฒนาต้นน�้ำทุ่งจ๊อ ในปีพ.ศ.2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชด�ำริให้มีการปลูกต้นไม้ 3 ชนิด ทีแ่ ตกต่างกัน คือ ไม้ผล ไม้โตเร็ว และไม้เศรษฐกิจ เพือ่ จะท�ำให้ เกิดป่าไม้แบบผสมผสาน และสร้างความสมดุลแก่ธรรมชาติอย่าง ยัง่ ยืน สามารถตอบสนองความต้องการของรัฐและวิถปี ระชาในชุมชน ประการส�ำคัญนัน้ มีพระราชด�ำริทยี่ ดึ เป็นทฤษฎีการพัฒนาด้านป่าไม้
โดยปลูกฝังจิตส�ำนึกแก่ประชาชนว่า ...เจ้าหน้าทีป่ า่ ไม้ ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้ว คนเหล่านั้นก็พากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและรักษาต้นไม้ด้วย ตนเอง...นับเป็นทฤษฎีทเี่ ป็นปรัชญาในด้านการพัฒนาป่าไม้ทยี่ งิ่ ใหญ่ โดยแท้ ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก (natural reforestation) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงห่วงใยในปัญหาปริมาณป่า ไม้ที่ลดลงเป็นอย่างมาก จึงทรงพยายามค้นหาวิธีนานาประการที่จะ เพิ่มปริมาณของป่าไม้ในประเทศไทยให้เพิ่มมากขึ้นอย่างมั่นคงและ ถาวร โดยมีวิธีการที่เรียบง่ายและประหยัดในการด�ำเนินงาน ตลอด จนเป็นการส่งเสริมระบบวงจรป่าไม้ในลักษณะอันเป็นธรรมชาติดงั้ เดิม ซึ่งได้พระราชทานพระราชด�ำริหลายวิธี คือ ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก ด้วยวิธีการ 3 วิธี คือ 1. ถ้าเลือกได้ที่เหมาะสมแล้ว ก็ทิ้งป่านั้นไว้ตรงนั้น ไม่ต้อง ไปท�ำอะไรเลย ป่าจะเจริญเติบโตมาเป็นป่าสมบูรณ์โดยไม่ต้องปลูก เลยสักต้นเดียว 2. ไม่ไปรังแกป่าหรือตอแยต้นไม้เพียงแต่คมุ้ ครองให้ขนึ้ เอง ได้เท่านั้น 3. ในสภาพป่าเต็งรัง ป่าเสื่อมโทรมไม่ต้องท�ำอะไร เพราะ ตอไม้ก็จะแตกกิ่งออกมาอีก ถึงแม้ต้นไม่สวยแต่ก็เป็นไม้ใหญ่ได้ การปลูกป่าในที่สูงทรงแนะน�ำวิธีการ ดังนี้ ใช้ไม้จ�ำพวกที่มี เมล็ดทั้งหลายขึ้นไปปลูกบนยอดที่สูง เมื่อโตแล้วออกฝักออกเมล็ดก็ จะลอยตกลงมาแล้วงอกเองในที่ต�่ำต่อไป เป็นการขยายพันธุ์โดย ธรรมชาติ การปลูกป่าต้นน�ำ้ ล�ำธาร หรือ การปลูกป่าธรรมชาติ ทรงเสนอ แนวทางปฏิบตั วิ า่ ปลูกต้นไม้ทขี่ นึ้ อยูเ่ ดิม แล้วปลูกแซมด้วยต้นไม้ชนิด อื่นที่ได้ศึกษา งดปลูกไม้ผิดแผกจากถิ่นเดิม คือ ไม่ควรน�ำไม้แปลก ปลอมต่างพันธุ์ต่างถิ่นเข้ามาปลูกโดยยังไม่ได้ศึกษาอย่างแน่ชัดเสีย ก่อน ปลูกป่าทดแทน การปลูกป่าทดแทนเป็นแนวทฤษฎีการพัฒนาป่าไม้อันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน มรรควิธใี นการปลูกป่าทดแทน เพือ่ คืนธรรมชาติสแู่ ผ่นดินด้วยวิถที าง แบบผสมผสานกันในเชิงปฏิบัติดังพระราชด�ำริความตอนหนึ่งว่า
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
17 <<<
&
Special Scoop ...การปลูกป่าทดแทนจะต้องท�ำอย่างมีแผนโดยการด�ำเนิน การไปพร้ อ มกั บ การพั ฒ นาชาวเขา ในการนี้ เ จ้ า หน้ า ที่ ป ่ า ไม้ ชลประทาน และฝ่ายเกษตรจะต้องร่วมมือกันส�ำรวจต้นน�ำ้ ในบริเวณ พื้นที่รับผิดชอบ เพื่อวางแผนปรับปรุงต้นน�้ำและพัฒนาอาชีพได้ อย่างถูกต้อง... ปลูกป่า 3 อย่างได้ประโยชน์ 4 อย่าง ด้วยพระปรีชาญาณเพือ่ ให้คนสามารถอยูก่ บั ป่าได้อย่างผาสุก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงแนะน�ำการปลูกป่าในเชิงผสมผสาน ทั้งด้านเกษตรวนศาสตร์และเศรษฐกิจสังคมไว้เป็นมรรควิธีปลูกป่า แบบลักษณะเบ็ดเสร็จ แนวพระราชด�ำริในการปลูกป่า 3 อย่างนั้น มีพระราชด�ำรัส ความว่า ...ป่าไม้ที่จะปลูกนั้น สมควรที่จะปลูกแบบป่าใช้ไม้หนึ่ง ป่า ส�ำหรับใช้ผลหนึ่ง ป่าส�ำหรับใช้เป็นฟืนอย่างหนึ่ง อันนี้แยกออกไป เป็นกว้าง ๆใหญ่ ๆ การที่จะปลูกต้นไม้ส�ำหรับได้ประโยชน์ดังนี้ ใน ค�ำวิเคราะห์ของกรมป่าไม้รู้สึกจะไม่ใช่ป่าไม้ แต่ในความหมายของ การช่วยเหลือเพื่อต้นน�้ำล�ำธารนั้น ป่าไม้เช่นนี้จะเป็นสวนผลไม้ ก็ตาม หรือเป็นสวนไม้ฟนื ก็ตาม นัน่ แหละเป็นป่าไม้ทถี่ กู ต้อง เพราะ ท�ำหน้าที่เป็นป่า คือ เป็นต้นไม้และท�ำหน้าที่เป็นทรัพยากรในด้าน ส�ำหรับให้ผลที่มาเป็นประโยชน์แก่ประชาชนได้... ในการปลูกป่า 3 อย่างนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชาธิบายถึงประโยชน์ในการ ปลูกป่าตามพระราชด�ำริว่า ...การปลูกป่า 3 อย่าง แต่ให้ประโยชน์ 4 อย่าง ซึ่งได้ไม้ผล ไม้สร้างบ้าน และไม้ฟืนนั้น สามารถให้ประโยชน์ได้ถึง 4 อย่าง คือ นอกจากประโยชน์ในตัวเองตามชือ่ แล้ว ยังสามารถให้ประโยชน์อนั ที่ 4 ซึ่งเป็นข้อส�ำคัญ คือ สามารถช่วยอนุรักษ์ดินและต้นน�้ำล�ำธาร ด้วย... และได้มีพระราชด�ำรัสเพิ่มเติมว่า ...การปลูกป่าถ้าจะให้ราษฎรมีประโยชน์ให้เขาอยู่ได้ ให้ใช้ วิธีปลูกไม้ 3 อย่าง แต่มีประโยชน์ 4 อย่าง คือ ไม้ใช้สอย ไม้กินได้ ไม้เศรษฐกิจ โดยรองรับการชลประทาน ปลูกรับซับน�้ำ และปลูกอุด ช่วงไหล่ตามร่องห้วย โดยรับน�้ำฝนอย่างเดียว ประโยชน์อย่างที่ 4 ได้ระบบอนุรักษ์ดินและน�้ำ... ป่าเปียก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักคุณค่าของทุก สรรพสิ่งในสภาพแวดล้อมมีการเกื้อกูลซึ่งกันและกัน หากรู้จักน�ำไป ประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ เฉกเช่นเดียวกับพระราชด�ำริ ป่าเปียก เพือ่ ป้องกันไฟไหม้ป่านั้น จึงเป็นมรรควิธีที่ทรงคิดค้นขึ้น จากหลักการที่ แสนง่ายแต่ได้ประโยชน์มหาศาล กล่าวคือ ยามทีเ่ กิดไฟไหม้ปา่ ขึน้ ครา ใดผูค้ นส่วนใหญ่กม็ กั ค�ำนึงถึงการแก้ปญ ั หาด้วยการระดมสรรพก�ำลัง กันดับไฟป่าให้มอดอย่างรวดเร็ว แต่แนวทางป้องกันไฟป่าระยะยาว >>>18
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
นั้นจะต้องวางระบบอย่างจริงจัง พระราชด�ำริป่าเปียกจึงเป็นแนว พระราชด�ำริหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงแนะน�ำให้ศูนย์ ศึกษาการพัฒนาอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ ท�ำการศึกษาทดลองจน ได้รับผลส�ำเร็จเป็นที่น่าพอใจ แนวพระราชด�ำริป่าเปียก เป็นทฤษฎีการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าไม้ โดยใช้ความชุ่มชื้นเป็นหลักส�ำคัญที่จะช่วยให้ป่าเขียวสดอยู่ตลอด เวลา ไฟป่าจึงเกิดได้ยาก การพัฒนาเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ ที่สามารถท�ำได้ง่ายและได้ผลดียิ่ง ฝายกั้นน�้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงความส�ำคัญ ของการอยู ่ ร อดของป่ า ไม้ เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง ทรงเสนออุ ป กรณ์ อั น เป็ น เครื่องมือที่จะใช้ประโยชน์ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าไม้ที่ได้ผลดียิ่ง กล่าวคือ ปัญหาที่ส�ำคัญที่เป็นตัวแปรแห่งความอยู่รอดของป่าไม้นั้น น�ำ้ คือ สิง่ ทีข่ าดไม่ได้โดยแท้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงแนะน�ำ ให้ใช้ฝายกั้นน�้ำ หรือเรียกว่า Check Dam หรืออาจเรียกขานกันว่า ฝายชะลอความชุ่มชื้นก็ได้เช่นกัน แนวคิดและทฤษฎีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังมี อีกมากมาย ยากจะน�ำมากล่าวได้ทั้งหมด และแต่ละแนวคิดและ ทฤษฎีใช่จะถูกบันทึกลงบนแผ่นกระดาษ หากแต่ถูกน�ำไปลงมือ ปฏิบตั จิ ริงในโครงการพัฒนาอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริหลายร้อย หลายพันโครงการ เพื่อเป็น “พิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต” ที่พร้อมส่งมอบ ความรู้และวิธีปฏิบัติไปสู่พสกนิกรของพระองค์ให้ด�ำเนินรอยตาม เบื้องพระยุคลบาทสืบไป เรียบเรียงข้อมูลจาก: มูลนิธิชัยพัฒนา (http://www.chaipat.or.th) ภาพประกอบ: www.shutterstock.com
& กองบรรณาธิการ
เส้นทางสูค่ วามยัง่ ยืน
Special Talk
อ�ำพลฟูดส์
Sustainable Way Ampolfood
ก ร สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น ส� ำ คั ญ ” “แม้จุดเริ่มต้น เราจะท�ำเพราะต้องเอาตัวรอดจากถูกกดดันทางธุรกิจ แต่วันนี้เราท�ำเพื่อความเจริคุณญเกรีเติยบงศัโตขององค์ กดิ์ เทพผดุงพร บริษัท อ�ำพลฟูดส์ โพรเซสซิง จ�ำกัด
ใน
บรรดาอาหารส่งออกทีต่ ดิ อันดับต้น ๆ นอกจาก ข้าว อาหารแปรรูป และอาหารแช่เยือกแข็งแล้ว กะทิส�ำเร็จรูป ก็เป็นหนึ่งในสินค้าส่งออกที่สร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ บริษัท อ�ำพลฟูดส์ โพรเซสซิง จ�ำกัด ผู้ผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์กะทิส�ำเร็จรูป และเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ รวมไปถึง น�้ำแกงปรุงรส เครื่องปรุงรส และขนมขบเคี้ยวชั้นน�ำ เป็นต้นแบบบริษัทที่มีการพัฒนาและพร้อมรับ ส�ำหรับการเปลี่ยนแปลง โดยเป้าหมายของ “อ�ำพลฟูดส์” ในทศวรรษใหม่นี้ มุ่งไปที่การสร้างสรรค์ นวัตกรรมอาหารเพื่อสิ่งแวดล้อม (APF Green Innovation) “ย้อนกลับไปเมื่อประมาณสิบปีก่อน เราเองก็ไม่ค่อยจะเข้าใจคอนเซ็ปต์ขององค์กรสีเขียวเท่าใด นัก” คุณเกรียงศักดิ์ เทพผดุงพร กรรมการผู้จัดการ บริษัท อ�ำพลฟูดส์ โพรเซสซิง จ�ำกัด เปิดเผย เรื่องราว อันเป็นจุดเริ่มต้นบนเส้นทางสีเขียวในวันนี้ ▲
คุณเกรียงศักดิ์ เทพผดุงพร
กรรมการผู้จัดการ บริษัท อ�ำพลฟูดส์ โพรเซสซิง จ�ำกัด
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
19 <<<
&
Special Talk
ด้วยสมัยนัน้ การแข่งขันยังไม่สงู มากนัก ใครผลิตอะไรออกมา ก็ขายได้ และพอขายดีก็เริ่มมีคนลอกเลียนแบบ ไม่เฉพาะในประเทศ เท่านั้น ต่างประเทศก็พบเจอกับปรากฏการณ์นี้เช่นเดียวกัน เพื่อหนีคู่ แข่ง จ�ำเป็นต้องสร้างความแตกต่างให้กับผลิตภัณฑ์ของตน ท�ำให้ ผลิตภัณฑ์มีวงจรชีวิต (life cycle) สั้นลง มีสินค้าใหม่ ๆ เกิดขึ้นมา ทดแทนอย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกันผู้ผลิตเองก็ต้องปรับตัวอย่าง ต่อเนื่องเช่นกัน
จุดเริ่ม...สีเขียว
อ�ำพลฟูดส์เองก็ต้องปรับตัวเช่นเดียวกัน โดยมุ่งเป้าไปที่ การ ลดต้นทุน เป็นอันดับแรก โจทย์นี้ยากและเป็นงานที่ท้าทาย การลด ต้นทุนในมุมมองของอ�ำพลฟูดส์ ไม่ใช่การลดคุณภาพของวัตถุดบิ หาก แต่เป็นการใช้วัตถุดิบให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด และให้ผลผลิต (yield) เพิ่มสูงขึ้น
>>>20
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
จากการปรับปรุงเครือ่ งจักรและกระบวนการผลิตภายในอย่าง ต่อเนื่อง คุณเกรียงศักดิ์ ได้ยกตัวอย่างผลที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ในกระบวนการคั้นน�้ำกะทิแบบเดิม เนื้อมะพร้าว 1 กิโลกรัม สามารถ คั้นได้น�้ำกะทิ 1 กิโลกรัม ภายหลังจากการพัฒนาเครื่องจักร ท�ำให้ได้ ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากเดิมอีก 20 เปอร์เซ็นต์ และไม่หยุดที่จะพัฒนาต่อ โดยน�ำนวัตกรรมเข้ามาจับ ท�ำให้ได้ผลผลิตเพิม่ ขึน้ เป็น 40 เปอร์เซ็นต์ ล่าสุดสามารถพัฒนาจนได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 50-60 เปอร์เซ็นต์ โดยยังคงใช้วัตถุดิบในปริมาณเท่าเดิม นอกจากการลดต้นทุนแล้ว ต้องมีการใช้แรงงานอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยปรับปรุง 2 ด้าน ควบคู่กันไป คือ ด้านการ บริหารจัดการ มีการฝึกอบรมพนักงานให้มีทักษะในการท�ำงานเพิ่ม มากขึ้น มีการน�ำเครื่องมือเข้ามาช่วยให้พนักงานท�ำงานได้ง่ายขึ้น รวดเร็ ว ขึ้ น เช่ น น� ำ ลี น เข้ า มาช่ ว ยลดขั้ น ตอน ลดเวลา และเพิ่ ม ประสิทธิภาพการท�ำงานทั้งกระบวนการ ปรับกระบวนการโลจิสติกส์ ให้คมุ้ ค่าขึน้ ด้านเครือ่ งจักร มีการน�ำเครือ่ งจักรเข้ามาช่วยให้พนักงาน ท�ำงานได้งา่ ยขึน้ รวดเร็วขึน้ และได้ผลผลิตเพิม่ มากขึน้ โดยเครือ่ งจักร ที่น�ำมาใช้ล้วนแล้วแต่เป็นเครื่องจักรนวัตกรรมฝีมือคนไทย โดยได้รับ ความร่วมมือจากสถาบันการศึกษาหลายแห่ง อาทิ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) รวมถึงการน�ำเทคโนโลยีแขน กลหุ่นยนต์เข้ามาช่วยในการยกของที่มีน�้ำหนักมาก แทนการใช้ แรงงานคน ท�ำให้คุณภาพชีวิตพนักงานดีขึ้น
องค์กร...สีเขียว
แม้ในตอนแรกอ�ำพลฟูดส์จะมองเฉพาะเรือ่ งการลดต้นทุน แต่ แท้จริงแล้ว คือ การบริหารจัดการด้วยนวัตกรรมสีเขียว ท�ำให้องค์กร สามารถใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างคุม้ ค่า เพิม่ ประสิทธิภาพในการท�ำงาน ของพนักงาน รวมถึงสามารถลดการใช้พลังงานไปได้ในตัวด้วย “นับตั้งแต่เราด�ำเนินการปรับปรุงคุณภาพเครื่องจักรและ กระบวนการผลิต สิ่งที่เป็นผลพลอยได้ คือ เกิดโครงการอนุรักษ์
&
Special Talk
พลังงานขึ้นมากมาย และมีโครงการด้านพลังงานทดแทนเกิดขึน้ ตาม มาด้วย โครงการอนุรกั ษ์พลังงาน เป้าหมายคือ ลดการใช้พลังงานและ เพิม่ ประสิทธิภาพด้านกระบวนการบริหารจัดการ และการใช้เครือ่ งจักร การบริหารจัดการในกระบวนการผลิตบางจุด ไม่ควรปล่อยให้เกิดการ สูญเสียพลังงาน แต่เดิมเราไม่เคยใส่ใจ เพราะมองว่าเป็นเรือ่ งปกติ แต่ เมือ่ มีทปี่ รึกษาจากหน่วยงานภายนอกเข้ามาชีแ้ นะ พบว่า สิง่ ทีเ่ ราเห็น ว่าเป็นเรื่องปกติ แท้จริงแล้วเกิดการสูญเสียพลังงานมหาศาล เช่น เครื่องจักร ที่เดินเครื่องไม่ต่อเนื่อง ในระหว่างที่เครื่องเดินตัวเปล่า แต่ยังกินไฟฟ้าอยู่ ท�ำให้เราต้องวางแผนการผลิตใหม่ ให้เครื่องจักร สามารถเดินเครื่องได้อย่างต่อเนื่อง เป็นต้น นีเ่ ป็นเพียงตัวอย่างหนึง่ แต่จริง ๆ มีโครงการลักษณะนีอ้ ยูเ่ ป็น ร้อยโครงการที่ท�ำอยู่ในโรงงาน และโครงการต่าง ๆ เหล่านี้ ล้วนเกิด ขึน้ จากการคิดแก้ปญ ั หาของคนทีอ่ ยูห่ น้างานทีร่ วมกลุม่ กันท�ำโครงการ ในรูปแบบ Small Group Activity และผู้บริหารเองก็ต้องให้การ สนับสนุนด้านงบประมาณ ส่งเสริมให้พนักงานใฝ่หาความรู้ และหา ผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานภาครัฐและภาคการศึกษาเข้ามาช่วย” คุณเกรียงศักดิ์ กล่าว นอกจากการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักรแล้ว ที่อ�ำพลฟูดส์ มีนโยบายชัดเจนเกี่ยวกับการจัดซื้อเครื่องจักร อุปกรณ์ รวมถึงเครื่อง ใช้ในส�ำนักงาน โดยทุก ๆ การจัดซื้อ จะต้องน�ำประเด็นด้านการ ประหยัดพลังงานมาเป็นเกณฑ์ในการเลือกซื้อสินค้าและบริการ
ต่าง ๆ ด้วย “เราพยายามปลูกฝังแนวคิดนี้ให้กลายเป็นดีเอ็นเอของคนใน องค์กร และกลายมาเป็นวัฒนธรรมของคนที่นี่ ซึ่งขณะนี้โรงงานของ เราได้รบั การรับรองเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว” (Green Industry) ระดับ 3 ระบบสีเขียว (Green System) จากกระทรวงอุตสาหกรรม และก�ำลัง ขอรับการประเมินเลื่อนขั้นเป็นระดับ 4 คือ วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) ต่อไป” คุณเกรียงศักดิ์ กล่าว พร้อมอธิบายต่อว่า “ค�ำว่า “อุตสาหกรรมสีเขียว” เราสามารถมองได้หลายมิติ แล้ว แต่ว่าใครจะมองในมิติไหน แต่ส�ำหรับอ�ำพลฟูดส์เรามองในทุก ๆ มิติ และทุกประเด็น เพราะค�ำว่า สีเขียว ไม่ได้หมายถึง ประหยัด หรือเป็น มิตรกับสิง่ แวดล้อมอย่างเดียว แต่ตอ้ งมองในเรือ่ งความปลอดภัยด้วย ทั้งการคัดเลือกวัตุถดิบที่มีคุณภาพปลอดภัยต่อผู้บริโภค เช่น เพื่อให้ ได้วัตถุดิบที่ปลอดภัย เราพยายามเข้าไปช่วยเหลือเกษตรกรอีกแรง หนึ่งในการปลูกมะพร้าวคุณภาพ เช่น เข้าไปช่วยแก้ปัญหาเรื่องโรค แมลงมะพร้ า วระบาด โดยร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ก�ำแพงแสน น�ำองค์ความรู้ด้านการก�ำจัดแมลงแบบชีววิธี (ใช้แมลง ก�ำจัดแมลง) ลดการใช้สารเคมี โดยอ�ำพลฟูดส์และส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้ให้ทุนส�ำหรับการค้นคว้าวิจัยหาแมลงที่ มีความเหมาะสมส�ำหรับปราบแมลงศัตรูมะพร้าว”
สังคมและสิ่งแวดล้อม...สีเขียว
ส่วนอีกประเด็นหนึ่งที่ส�ำคัญ และคนส่วนใหญ่มักมองเฉพาะ ในมุมนี้ คือ สิ่งแวดล้อม ที่อ�ำพลฟูดส์เองได้ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอก โดยคุณเกรียงศักดิ์ขยายความถึงการดูแล สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกว่า “ภายในองค์กร เราค่อนข้างให้ความส�ำคัญกับการสร้างสภาพ แวดล้อมที่ดีในการท�ำงาน อะไรก็ตามที่เราสร้างปัญหาขึ้นมา เรา พยายามก็จะจัดการกับปัญหาด้วยการน�ำนวัตกรรมเข้ามาจับและน�ำ กลับมาใช้ประโยชน์อกี ครัง้ ไม่วา่ จะเป็นของเสียหรือกากอุตสาหกรรม ยกตัวอย่าง กากมะพร้าว เดิมจะน�ำไปฝังกลบ แม้จะย่อยสลายเองได้ แต่ไม่ได้เพิม่ มูลค่า อีกทัง้ ยังเสียค่าขนส่งไปก�ำจัด ปัจจุบนั น�ำมาแปรรูป เป็นแท่งเชื้อเพลิงใช้ทดแทนน�้ำมันเตา ท�ำให้ประหยัดค่าเชื้อเพลิงไป December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
21 <<<
&
Special Talk ได้กว่า 40 ล้านบาทต่อปี ส่วนกะลามะพร้าวน�ำไปเผาด้วยระบบแก๊สซิฟิเคชั่น เสร็จ แล้วน�ำแก๊สที่ได้ไปปั่นกระแสไฟฟ้า ส่วนขี้เถ้าที่ได้น�ำไปท�ำน�้ำด่างใช้ ในกระบวนการบ�ำบัดน�้ำเสียต่อไป” ด้านสังคมทีอ่ ยูร่ อบนอก อ�ำพลฟูดส์มโี ครงการออกเยีย่ มเยือน ชุมชน เพื่อรับฟังปัญหาที่เกิดผลกระทบกับชุมชนอันเนื่องมาจากการ ประกอบการของโรงงาน พร้อมร่วมท�ำกิจกรรมกับชุมชนปีละประมาณ 2 ครัง้ นอกจากนีย้ งั จัดท�ำโครงการ กล่องวิเศษ โดยเก็บรวบรวมกล่อง ยูเอสทีที่ใช้แล้ว จากหน่วยงานที่สนใจร่วมโครงการ อาทิ โรงเรียนใน สังกัดกรุงเทพมหานคร และองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร เก็บรวบรวมกล่องยูเอสทีส่งมาให้บริษัท บริษัทน�ำไปแปรรูปเป็นโต๊ะ เก้าอี้ ส่งมอบให้กับโรงเรียนที่ขาดแคลน ล่าสุดอ�ำพลฟูดส์ได้จัดสร้าง อาคารเรียนขนาด 4 ห้องเรียนให้กับโรงเรียนในเขตกระทุ่มแบน โดย วัสดุส่วนใหญ่ที่ใช้ในการก่อสร้าง ไม่ว่าจะเป็นผนัง หลังคา โต๊ะ เก้าอี้ ล้วนท�ำจากกล่องยูเอสทีที่ใช้แล้ว “ที่นี่เราส่งเสริมให้พนักงาน มีส่วนในการคิดโครงการที่จะคืน กลับสู่สังคม ยกตัวอย่างโครงการที่เกิดจากการร่วมคิดของพนักงาน ฝ่ายไอที เดิมคอมพิวเตอร์ที่หมดอายุการใช้งาน เรามักจะใช้วิธีการ บริจาค แต่ภายหลังจากเราลงพื้นที่ต่างจังหวัดพบว่า นักเรียนที่ต่าง จังหวัดขาดแคลนคอมพิวเตอร์ส�ำหรับใช้ในการเรียนการสอน เราจึง เปลีย่ นวิธกี ารใหม่ จากการบริจาคมาเป็นรวบรวมคอมพิวเตอร์ทหี่ มด อายุการใช้งาน แต่สภาพยังดี มาซ่อมแซมให้สามารถใช้งานได้ เสร็จ แล้วน�ำไปติดตั้งให้กับโรงเรียนที่ต่างจังหวัด เมื่อประมาณ 2 ปีที่แล้ว เราน�ำไปสร้างเป็นห้องคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียนในเขตจังหวัด อุตรดิตถ์ และขอให้ทางบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น มาต่อสัญญาณ อินเทอร์เน็ตให้ เด็ก ๆ มีความสุขมาก และไม่เพียงเด็กในโรงเรียนนั้น ได้ใช้ เด็กจากโรงเรียนอื่น ๆ ที่อยู่รายรอบก็มาใช้ที่นี่เป็นแหล่งเรียนรู้ ด้วยเช่นกัน เราเห็นภาพชัดเจนว่า เด็ก ๆ ได้ใช้ประโยชน์จริง เพราะฉะนั้น วันนี้เราไม่ได้สีเขียวเฉพาะองค์กรเรา แต่เราสร้างเครือข่ายสีเขียวให้ เกิ ด ขึ้ น ด้ ว ย โดยชั ก ชวนให้ คู ่ ค ้ า และซั พ พลายเออร์ ใ ห้ น� ำ เครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ โดยเราจะท�ำหน้าที่รวบรวมและซ่อมแซม ก่อนที่จะส่ง มอบให้กับโรงเรียนได้ใช้ประโยชน์ต่อไป”
กุญแจสู่เส้นทางสีเขียว
“ทุกอย่างจะเกิดขึ้นไม่ได้หากปราศจากความร่วมมือของ คนในองค์กร” คุณเกรียงศักดิ์ กล่าวให้เครดิตกับคนท�ำงาน พร้อมเล่า ต่อว่า “แม้จุดเริ่มต้นเราจะท�ำเพราะถูกกดดันจากสภาพแวดล้อมใน การท�ำธุรกิจ หากไม่ปรับตัวก็อยู่ไม่ได้ พอท�ำได้ระยะหนึ่งพบว่า เห็น ผลดี และมีแนวทางทีเ่ ราจะก้าวเดินต่อไป หากเราต้องการเติบโต เรา >>>22
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
ต้องสร้างองค์กรให้เป็นสีเขียว มุมมองคนท�ำงานเปลี่ยน เราใช้แรง กดดันมาเป็นพลังในการท�ำงานเชิงรุกมากขึ้น สิ่งที่เรามองอาจแตก ต่างจากองค์กรอื่น คือ เราพยายามที่จะสร้างฐานให้มั่นคงด้วยการ ปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องบนแนวคิด นวัตกรรมอาหารสีเขียวเพื่อ สิ่งแวดล้อม ขณะที่หลายองค์กรอาจมองที่การย้ายฐานการผลิตไป ยังประเทศเพือ่ นบ้านทีม่ คี า่ แรงถูกกว่า แต่เราเชือ่ ว่าอีกไม่นาน ค่าแรง ก็จะค่อย ๆ ขยับสูงขึ้น ถึงที่สุดค่าแรงในประเทศเออีซีก็จะไม่แตกต่าง กันมากนัก หากเป็นเช่นนัน้ แล้วธุรกิจก็ไม่ยงั่ ยืน กลับกัน สิง่ ทีเ่ ราท�ำ คือ น�ำเรื่องของนวัตกรรมมาจับ และให้ความส�ำคัญกับการศึกษาวิจัยที่ สามารถน�ำผลมาใช้ได้จริง มิใช่เพียงเพราะต้องการผลิตภัณฑ์ที่มี ความแตกต่างเท่านั้น แต่ท�ำอย่างไรเราจึงจะสามารถยืดหยัดอยู่ใน ธุรกิจได้ และอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข”
นิยามสีเขียวของอ�ำพลฟูดส์
“ส�ำหรับอ�ำพลฟูดส์ ค�ำว่า สีเขียว (green) เราไม่ได้มองเฉพาะ มิติสิ่งแวดล้อม แต่เรามองในมิติของ CSR (Corporate Social Responsibility) ความรั บ ผิ ด ชอบขององค์ ก รที่ มี ต ่ อ สั ง คมและ สิ่งแวดล้อม เราจึงต้องมองในทุก ๆ มิติ และทุก ๆ ด้าน รวมถึงความ ปลอดภัย และค�ำว่า CSR ในนิยามของเรา ก็ไม่ใช่เรือ่ งของการบริจาค หรือการให้อย่างเดียว แต่มันคือ การดูแลเรื่องสิ่งแวดล้อม การใช้ พลังงาน สิทธิมนุษยชน การดูแลคนทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร ไม่ สร้างผลกระทบให้เกิดความเดือดร้อน และต้องดูแลตั้งแต่ต้นน�้ำถึง ปลายน�ำ้ จึงจะเรียกว่า องค์กรสีเขียวโดยแท้จริง” คุณเกรียงศักดิ์ กล่าว ทิ้งท้าย
“มิตรผล”
&
Special Talk
กับเบือ้ งหลังรางวัลอุตสาหกรรมยอดเยีย่ ม ประจ�ำปี 2558 กองบรรณาธิการ
รางวัล
อุตสาหกรรมยอดเยี่ยม ถือเป็นรางวัลเกียรติยศสูงสุดที่กระทรวงอุตสาหกรรมมอบให้กับองค์กรผู้ประกอบการที่มีการบริหารจัดการที่ ประสบผลส�ำเร็จสูงสุดระดับประเทศ เพื่อเป็นแบบอย่างแก่สถานประกอบการในภาคอุตสาหกรรมให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งยังเป็นการ ยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรมไทยให้มีศักยภาพการแข่งขัน เทียบเท่าระดับสากล โดยองค์กรที่จะได้รับการพิจารณารางวัลอุตสาหกรรมยอดเยี่ยมนั้น จะต้องผ่านการได้รับรางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นมา 3 ปี ติดต่อกัน โดยมีเกณฑ์การ พิจารณาคัดเลือกจาก 1. การบริหารจัดการ 2. การประกอบธุรกิจ 3. การพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีและองค์ความรู้ 4. ผลกระทบของกิจการต่อระบบเศรษฐกิจ และ 5. การท�ำคุณประโยชน์ต่อสังคม
“กลุ่มมิตรผล” ผู้ผลิตน�้ำตาลรายใหญ่อันดับ 4 ของโลก และ อันดับหนึ่งในประเทศไทย ตระหนักถึงความส�ำคัญของการพัฒนา ธุรกิจอย่างต่อเนือ่ งและยัง่ ยืน จึงได้จดั ตัง้ ศูนย์นวัตกรรมและการวิจยั ขึน้ เพือ่ ค้นคว้าหาแนวทางในการพัฒนาผลผลิต การเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการจัดการไร่ออ้ ย รวมถึงการเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิต ภายใต้ ระบบการจัดการมาตรฐานสากล ระบบความปลอดภัยอาหารต่างๆ และยกระดับการบริหารการผลิต โดยน�ำระบบการบ�ำรุงรักษาทวีผล แบบทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance: TPM) มา ประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต คุณภาพผลิตภัณฑ์ เพิ่ม ศักยภาพความสามารถของบุคลากร ในการแข่งขันในระดับสากล ท�ำให้สามารถยกระดับความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจได้เป็น อย่างดี เพราะต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถให้ครบ ทุกด้าน ทั้งยังต้องพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง
บริษทั รวมเกษตรกรอุตสาหกรรม จ�ำกัด สาขามิตรภูเวียง เป็น บริษัทในกลุ่มมิตรผล ที่ได้รับรางวัลอุตสาหกรรมยอดเยี่ยม ประจ�ำปี 2558 เบื้องหลังของรางวัลดังกล่าว เกิดจากความมุ่งมั่นทุ่มเทในการ ด�ำเนินธุรกิจภายใต้ระบบการจัดการมาตรฐานสากล และมาตรฐาน การจั ด การอาหารปลอดภั ย รวมทั้ ง ได้ น ้ อ มน� ำ แนวคิ ด ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรม ตามแนวพระราชด�ำริ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ คุณด�ำรง อินทรเสนา ผู้อ�ำนวยการโรงงานน�้ำตาลมิตรผล ภูเวียง (บริษัท รวมเกษตรกรอุตสาหกรรม จ�ำกัด สาขามิตรภูเวียง) กล่าวว่า การเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรนั้น สามารถแบ่งเป็น 5 หัวข้อหลัก ดังนี้
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
23 <<<
&
Special Talk
การบริหารจัดการ
โรงงานน�้ำตาลมิตรผล ภูเวียง ได้มีการด�ำเนินงานและบริหาร องค์กรภายใต้นโยบายของกลุ่มมิตรผล ด้วยความมุ่งมั่นที่จะสร้าง ความเติบโตให้กับอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลของไทย โดยใช้หลัก การบริหารทั่วทั้งองค์กรอย่างเป็นระบบ ซึ่งขับเคลื่อนด้วยระบบ TPM (Total Productive Maintenance: TPM) และ CSR (Corporate Social Responsibility) ด้วยพนักงานทีม่ ศี กั ยภาพ เพือ่ สร้างการเติบโต อย่างยั่งยืน ด้วยความมุ่งมั่นในการบริหารจัดการที่ครอบคลุมในทุกด้าน ท�ำให้โรงงานน�้ำตาลมิตรผล ภูเวียง ได้รับรางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นใน สาขาต่าง ๆ อาทิ ด้านการบริหารคุณภาพ การจัดการพลังงาน และ การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมมาอย่างต่อเนื่อง
การประกอบธุรกิจ
โรงงานน�้ำตาลมิตรผล ภูเวียง มีการด�ำเนินงานที่สนับสนุน วิ สั ย ทั ศ น์ ข ององค์ ก รที่ ก ล่ า วไว้ ว ่ า “เราจะเป็ น บริ ษั ท ชั้ น น� ำ ใน อุตสาหกรรมน�้ำตาลและชีวพลังงาน โดยการใช้นวัตกรรมทาง
เทคโนโลยี และการจัดการ” และด�ำเนินงานภายใต้ความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับหลักปรัชญาของกลุ่ม มิตรผล ตลอดระยะเวลา 60 ปี ของการก่อตั้งและด�ำเนินงาน โรงงาน น�้ำตาลมิตรผล ภูเวียง ได้พัฒนากระบวนการผลิตและบริหารจัดการ ต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่ ➲ การเพิ่ ม ปริ ม าณอ้ อ ยมากกว่ า 4.3 ล้ า นตั น ต่ อ ปี ผ ่ า น นโยบายการส่งเสริมการเพิม่ ผลผลิตให้กบั ชาวไร่ออ้ ย การขยายก�ำลัง การผลิตน�้ำตาลจาก 24,000 ตันต่อวัน เป็น 36,000 ตันต่อวัน ใน ปัจจุบัน ➲ การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์เดิม เช่น การพัฒนา น�้ำตาลทรายขาวคุณภาพสูงต่อยอดจากน�้ำตาลดิบ ➲ การน�ำชานอ้อยที่เหลือจากกระบวนการผลิตน�้ำตาลมา ผลิตไฟฟ้าชีวมวล เพื่อน�ำกลับมาใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงาน และส่วนที่เหลือยังจ�ำหน่ายให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ➲ การน�ำกากหม้อกรองทีเ่ หลือจากกระบวนการผลิตน�ำ้ ตาล มาพัฒนาเป็นปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ราคาต�่ำ สร้างการรวมกลุ่มการ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในชาวไร่อ้อย ลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มรายได้ให้ชุมชน
คุณด�ำรง อินทรเสนา
ผู้อ�ำนวยการโรงงานน�้ำตาลมิตรผล ภูเวียง (บริษัท รวมเกษตรกรอุตสาหกรรม จ�ำกัด สาขามิตรภูเวียง)
>>>24
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
&
Special Talk การทำ�คุณประโยชน์ต่อสังคม
การพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีและองค์ความรู้
“การสร้างสรรค์นวัตกรรม” เป็นหนึ่งใน 5 วัฒนธรรมองค์กร ของกลุ่มมิตรผล โดยหนึ่งในรูปแบบการส่งเสริมสร้างสรรค์นวัตกรรม ในองค์กร คือ การขับเคลื่อนผ่านโครงการประกวดนวัตกรรมประจ�ำปี ของกลุ่มมิตรผล หรือ Mitr Phol Best Innovation Award ที่จัดขึ้น อย่างต่อเนื่องมากว่า 10 ปี โดยความคิดสร้างสรรค์ต่าง ๆ ที่พนักงาน ได้คิดค้นขึ้นนั้น ล้วนแล้วแต่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการประยุกต์ใช้ จริง เพื่อพัฒนาองค์กรต่อไป นอกจากนี้ มิตรผลยังมีแนวทางการ พัฒนาส่วนบุคคล การพัฒนาความก้าวหน้าและอาชีพของพนักงาน ที่ส่งเสริมให้พนักงานเกิดการเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ผลกระทบของกิจการต่อระบบเศรษฐกิจ
โรงงานน�้ำตาลมิตรผล ภูเวียง สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ในระดับพื้นฐานโดยการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบซึ่งก็คือ “อ้อย” เกิดเป็นอุตสาหกรรมต่อเนื่องมากมาย อาทิ พลังงานไฟฟ้าชีวมวล เอทานอลโดยมีการจ้างแรงงานมากกว่า 36,000 คนต่อวัน เริ่มตั้งแต่ กิจกรรมการปลูก เก็บเกีย่ ว การผลิต การจัดเก็บ และส่งมอบแก่ลกู ค้า สร้างอาชีพแก่เกษตรกรชาวไร่อ้อยมีรายได้และอาชีพที่มั่นคงช่วยลด การน�ำเข้าเชือ้ เพลิงจากต่างประเทศ ได้ใช้พลังงานสะอาดจากชีวมวล ชานอ้อยที่ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ตลอดจนกระบวนการผลิต และช่วย สร้างความมั่นคงทางพลังงานให้กับประเทศไทย ในส่วนของผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาล โรงงานแห่งนี้ ส่งออกน�ำ้ ตาลไป ยังต่างประเทศกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ โดยส่งไปยังลูกค้ากลุม่ อุตสาหกรรม อาหารชั้นน�ำของโลก และสร้างรายได้ให้กับประเทศด้วยมาตรฐาน การผลิตระดับสากล
โรงงานน�้ำตาลมิตรผล ภูเวียง ยึดหลักธรรมาภิบาลและการ บริหารองค์กรด้วยความโปร่งใส ตามคู่มือจรรยาบรรณและนโยบาย ด้านธรรมาภิบาลของกลุ่มมิตรผลที่ได้ประกาศให้พนักงานรับทราบ เป็นแนวปฏิบัติร่วมกัน โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา โรงงานฯ เปิด โอกาสให้หน่วยงานภายนอกเข้าเยี่ยมชมการปฏิบัติงานของโรงงาน อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ยังได้ก�ำกับดูแลด้านสิ่งแวดล้อมและชุมชน อย่างยั่งยืน โดยในด้านสิ่งแวดล้อม เราให้ความส�ำคัญกับการดูแล ควบคุมและจัดการมลภาวะจากฝุ่นชานอ้อย การบ�ำบัดน�้ำเสีย และ ผลกระทบจากเสียง จากกระบวนผลิตในอุตสาหกรรม ในส่วนของ การพัฒนาชุมชนนั้น ไม่เพียงแต่โรงงานน�้ำตาลมิตรผล ภูเวียง จะให้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาศักยภาพของชาวไร่อ้อย เพื่อช่วยเพิ่ม ผลผลิตและลดต้นทุนเท่านัน้ แต่ยงั มองไปถึงการพัฒนาคุณภาพชีวติ อย่างยัง่ ยืนในชุมชนรอบ ๆ โรงงาน ทีค่ รอบคลุมในด้านเศรษฐกิจ สังคม สุขภาวะ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และจิตใจ เพื่อให้เกิดเป็นชุมชนที่ เข้มแข็งอย่างยั่งยืน
“ร่วมอยู่ ร่วมเจริญ”
ความรับผิดชอบต่อสังคม หรือ CSR ของกลุม่ มิตรผล มีจดุ เริม่ ต้นจากเจตนารมณ์ของผูก้ อ่ ตัง้ และผูบ้ ริหารในทุกยุคทุกสมัยทีใ่ ห้ความ ส�ำคัญกับการด�ำเนินงานขององค์กร โดยไม่เพียงแต่จะต้องยืนอยู่บน หลักของความรับผิดชอบต่อสังคมและธรรมาภิบาลเท่านัน้ แต่ทกุ การ ด�ำเนินงานยังต้องช่วยน�ำพาผู้ที่เกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน ตั้งแต่ชาวไร่ อ้อย คู่ค้า ลูกค้า ภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงชุมชน สังคม และ สิ่งแวดล้อม ให้สามารถเติบโตและอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน โดยใน ส่วนของโรงงานนั้น ได้น้อมน�ำเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นแนวทางพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มาประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ โดยมุง่ เน้นการพัฒนา บนหลักการของการมีสว่ นร่วมของบุคลากร การเคารพต่อผลประโยชน์ ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การบริหารแบบองค์รวมและการบริหารเชิง ระบบ อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาทีส่ มดุล มัน่ คง ยัง่ ยืน และมีความสุข พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงรวมทั้งความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นใน อนาคต ซึ่งเป็นการด�ำเนินงานตามแนวทาง “ร่วมอยู่ ร่วมเจริญ” กับ ทุกภาค ส่วนและสะท้อนให้เห็นได้จากการเพิ่มประสิทธิภาพของ องค์กรและผู้ที่เกี่ยวข้องผ่าน 5 ด้านดังที่กล่าวได้มาแล้วนั้น กลุ่มมิตรผล มีการด�ำเนินธุรกิจและการจัดการองค์กร บน พืน้ ฐานของแนวความคิดในการ “ร่วมอยู่ ร่วมเจริญ” ซึง่ มิตรผลยึดมัน่ ปฏิบัติมานานกว่าครึ่งศตวรรษ ไม่ว่ามิตรผลจะเข้าไปตั้งโรงงานหรือ ประกอบธุรกิจในทีใ่ ด จะต้องมีสว่ นช่วยให้ทอ้ งถิน่ ๆ นัน้ เกิดความเจริญ และมีการเติบโตไปพร้อมกับมิตรผลอย่างยั่งยืน December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
25 <<<
&
Inspiration
นวัตกรรมจากแรงบันดาลใจ
เพือ่ ผูป้ ว่ ยอัมพาตครึง่ ซีก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)
“อัม
พาตครึ่ ง ซี ก ” เป็ น หนึ่ ง ในอาการป่ ว ยที่ ไ ม่ มี ใ ครปรารถนาที่ จ ะเป็ น อาการเหล่ า นี้ เ กิ ด จาก ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง หรือหลอดเลือดสมองตีบตัน (stroke) ซึ่งเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น อุบัติเ หตุกระทบกระเทือนที่ศีรษะอย่างรุน แรง หรือผู้ที่มีโรคความดันโลหิตเป็น โรคประจ�ำตัว ซึ่งในประเทศไทยเอง อาการของผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกมีหลายระดับ และมีความต้องการใช้ อุปกรณ์ช่วยเหลือที่แตกต่างกันไป แต่อุปกรณ์เพียงชนิดเดียวอาจไม่เพียงพอส�ำหรับความต้องการของ ผู้ป่วยทุกคน หรือไม่ตรงต่อสถานการณ์ที่ผู้ป่วยต้องการ แต่ล่าสุดได้มีการออกแบบอุปกรณ์ส�ำหรับ ผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกขึ้นมาในรูปแบบที่แยกออกเป็นโมดูล
ผลงานดังกล่าว เกิดจาก 6 นักศึกษา จากสถาบั น วิ ท ยากรหุ ่ น ยนต์ ภ าคสนาม และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ประกอบด้วย นายวิษณุ จูธารี นายอธิราช ภุ ม มะภู ติ นายฉั ต ริ ย ะ จริ ย วจี นายพชร โรจนดิษกุล นายสุวฒ ั น์ แซ่กว๊ ย และนายณรัฐ ไวยาวัจมัย มารวมตัวกันเฉพาะกิจเพือ่ สร้าง ผลงาน “ชุดอุปกรณ์ช่วยเรื่องการเดินของ ผู ้ ป ่ ว ยอั ม พาตครึ่ ง ซี ก แบบแยกโมดู ล ” ภายใต้ชื่อทีม “iNoid” นายฉัตริยะ จริยวจี หรือ “น้องเจ็ท” >>>26
หนึ่งในผู้ร่วมพัฒนาอุปกรณ์ดังกล่าว เล่าให้ ฟังว่า ชุดอุปกรณ์ที่พวกเขาออกแบบขึ้นมา นั้น เป็นระบบที่ประกอบด้วยอุปกรณ์หน่วย ย่อย (module) ที่มีความสามารถแตกต่าง กัน เช่น อุปกรณ์ส�ำหรับวัดและประเมินการ เดินของผู้ป่วย การแจ้งเตือน และการเรียก ขอความช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง สามารถเลื อ กใช้ อุปกรณ์ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือจะใช้ร่วมกัน ทั้งหมดก็ได้ “เราออกแบบระบบไว้สามส่วนหลัก ส่วนแรก เป็นอุปกรณ์ที่ติดตัวผู้ป่วย แบ่ง เป็นอุปกรณ์ตรวจจับ และแจ้งเตือน 3 ระยะ
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
โดยส่วนทีห่ นึง่ คือ อุปกรณ์ตรวจจับการเดิน ทีต่ ดิ ตัวผูป้ ว่ ย มีทงั้ หมด 3 ชิน้ ได้แก่ อุปกรณ์ ส�ำหรับติดที่ขาทั้งสองข้าง โดยออกแบบให้ มีเซนเซอร์ที่คอยตรวจจับลักษณะการเดิน ของผู้ป่วย ซึ่งมีลักษณะการเดินแบบเหวี่ยง ขาไปด้านข้าง แตกต่างจากการเดินของคน ปกติ ผูป้ ว่ ยทีเ่ ป็นอัมพาตครึง่ ซีกจะต้องผ่าน การฝึกเดินในท่าที่ถูกต้องจากโรงพยาบาล และหากมีการเดินทีผ่ ดิ ท่าทาง อุปกรณ์นจี้ ะ ท�ำการแจ้งเตือนให้ผู้ป่วยรู้ตัวและปรับท่า การเดินใหม่ทันที นอกจากนั้นยังมีอุปกรณ์ชิ้นที่ติดไว้ ใต้ฝ่าเท้าเพื่อวัดแรงกดและจุดลงน�้ำหนัก ของเท้าระหว่างเดิน ซึ่งค่าที่อุปกรณ์อ่านได้ เป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ส�ำหรับแพทย์ใน การวิเคราะห์อาการคนไข้ได้เป็นอย่างดี และ อุ ป กรณ์ ที่ ติ ด ตั ว คนไข้ อี ก ชิ้ น จะติ ด อยู ่ ที่ หน้าอกเพื่อวัดองศาล�ำตัวของผู้ป่วย หาก เซนเซอร์จับค่าที่ผิดปกติ หรือมีการเอียง
&
Inspiration มากกว่าปกติ แสดงว่าผูป้ ว่ ยอาจก�ำลังจะล้ม หรืออยูใ่ นท่าทีไ่ ม่เหมาะสม เช่น ก้มนานเกิน ไป โดยอุปกรณ์จะมีการส่งเสียงเตือน หรือ หากผู ้ ป ่ ว ยล้ ม ลงไปแล้ ว อุ ป กรณ์ จ ะส่ ง สัญญาณผ่านระบบ Wi-Fi ไปยังระบบส่วน ที่สอง คือ อุปกรณ์สนับสนุนผู้ป่วยภายใน บ้าน (global connector) ในระยะ 15 เมตร อุปกรณ์จะแจ้งเตือนด้วยเสียงดังภายในบ้าน ในกรณีที่ผู้ป่วยล้ม เพื่อให้ญาติรับรู้และมา ช่วยเหลือได้ทนั ในกรณีทผี่ ปู้ ว่ ยล้มและหมด สติ สั ญ ญาณจะดั ง ขึ้ น อั ต โนมั ติ แต่ ห าก ผู้ป่วยยังมีสติก็สามารถกดปุ่ม เพื่อขอความ ช่วยเหลือจากอุปกรณ์ที่ติดกับตัวผู้ป่วยได้ ทันที และเมื่อเกิดการแจ้งเตือนอุปกรณ์จะ ส่งสัญญาณต่อไปยังระบบ ส่วนที่สาม คือ เซิร์ฟเวอร์ ที่เก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ของ ผู้ป่วยรวมถึงการรับข้อมูลมา เพื่อแจ้งเตือน ต่อไปยังมือถือของญาติผู้ป่วยผ่านแอปพลิเคชั่นที่ชื่อว่า iStroke ซึ่งเป็นประโยชน์อย่าง
มากในกรณีที่ญาติไม่ได้อยู่บ้านกับผู้ป่วย หรือผู้ป่วยอยู่บ้านคนเดียว โดยทันทีที่มีการ แจ้งเตือนแอปพลิเคชัน่ จะแสดงต�ำแหน่งทีผ่ ู้ ป่วยอยู่ มีปุ่มโทรด่วนไปยังโรงพยาบาลใกล้ เคียงเพื่อเรียกรถพยาบาล และมี GPS ที่จะแสดงเส้น ทางจากต�ำแหน่งที่ญาติจะ สามารถเดินทางไปหาผูป้ ว่ ย ได้รวดเร็วทีส่ ดุ รวมถึงข้อมูล ทุกอย่างทีเ่ กีย่ วกับผูป้ ว่ ยจาก การตรวจจับของเซนเซอร์ที่ ติดตั้งอยู่ในอุปกรณ์ต่างๆ จะถู ก ส่ ง ไปเก็ บ ไว้ ใ นฐาน
ข้อมูลของโรงพยาบาลที่ผู้ป่วยลงทะเบียน รักษาไว้เพื่อความสะดวกต่อการวิเคราะห์ อาการและการรักษาของแพทย์” นอกจากนั้น น้องเจ็ท ได้กล่าวเพิ่ม เติ ม ว่ า ชุ ด อุ ป กรณ์ ช ่ ว ยเรื่ อ งการเดิ น ของ ผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกแบบแยกโมดูล ที่พวก เขาออกแบบมานัน้ เป็นการออกแบบเพือ่ ให้ ครอบคลุมปัญหาของผูป้ ว่ ยมากทีส่ ดุ โดยถึง แม้จะผ่านการประกวดนวัตกรรมเทคโนโลยี สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกส� ำ หรั บ คนพิ ก าร (Thailand Innovative for Assistive Technology 2014) มาแล้ว และสามารถคว้า รางวัลรองชนะเลิศมาได้ แต่ก็ยังคงต้องมี การพัฒนาและปรับปรุงในหลายส่วน อาทิ ตัวอุปกรณ์ส�ำหรับติดตัวผู้ป่วยก็ต้องพัฒนา ให้ มี ข นาดกระทั ด รั ด ขึ้ น อี ก รวมถึ ง การ ประสานงานกับทางโรงพยาบาล เป็นต้น เนื่องจากการประกวดครั้งนี้ไม่มีทีมใดที่ได้ รางวัลชนะเลิศ เพราะไม่มีทีมใดที่สามารถ พัฒนานวัตกรรมส�ำเร็จสมบูรณ์จนถึงขั้นน�ำ มาใช้ ง านได้ จ ริ ง ทั น ที ซึ่ ง ผลงานของที ม iNoid เองก็ เ ช่ น กั น ที่ เ ป็ น เพี ย งอุ ป กรณ์ ต้นแบบทีส่ ามารถใช้งานได้ แต่ยงั ไม่สมบูรณ์ จึงต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงกันต่อไป
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
27 <<<
&
Innovation
เจาะนวัตกรรมสินค้าไฮเทค นวัต ที่เปลี่ยนโลก วงศกร ตระกูลหิรัญผดุง
กรรมเข้ามาเกี่ยวข้องกับโลกธุรกิจอย่างมากโดยเฉพาะในกลุ่ม สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อผู้คนยุคหลังศตวรรษที่ 21 ล้วนแต่ มีอุปกรณ์เ หล่านี้ใช้งานอยู่แล้ว ดังนั้นการจะท�ำให้ผู้บริโภครู้สึกอยากเปลี่ยน ถึงขั้นซื้อใหม่ได้นั้น ต้องมี ”อะไรใหม่” ดึงดูดความสนใจมากพอ
การสร้างสิง่ ใหม่ขนึ้ มา หรือ การพัฒนาดัดแปลงของเดิมให้ ดียงิ่ ขึน้ นัน่ หมายถึง นวัตกรรม (innovation) ซึง่ ท�ำให้โลกเราทันสมัย และสะดวกสบายยิ่งขึ้น จนถึงวันนี้นวัตกรรมกลายเป็นตัวแปรหลัก ไม่ว่าจะมุมของ ผู้บริโภค ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจซื้อ หรือไม่ซื้อ กับค�ำถามที่อยู่ในใจ คือ “ผลิตภัณฑ์ที่เราสนใจ มีอะไรใหม่ที่ดีกว่า ของเดิม” เช่น ความสามารถในการใช้งาน ตัวผลิตภัณฑ์ การออกแบบ แม้แต่ราคา รวมถึงโปรโมชั่น และแบรนด์ หากไม่ดึงดูด หรือไม่แตก ต่างจากเครื่องเดิม ก็ไม่มีเหตุผลใดที่จะเสียเงิน ส่วนในมุมของ ธุรกิจ นอกจากจะเกี่ยวข้องตั้งแต่ความอยู่ รอด การขยายตัว หรือหดตัว และการเปิดโอกาสใหม่ ๆ แล้ว นวัตกรรม ยังเกี่ยวกับการลดต้นทุนการผลิต การก�ำหนดทิศทางตลาด (trend setting) ตลอดจนการตอบสนองกระแสผู้บริโภค ที่ส�ำคัญ คือ การ ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตต่อทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค เกือบทุกบริษทั ได้ตงั้ ทีมวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ และส�ำรอง งบประมาณส่วนนี้ไว้เสมอ ยิ่งเป็นองค์กรขนาดใหญ่ ก็ยิ่งให้ความ >>>28
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
ส�ำคัญ โดยมีเงินทุนวางไว้มหาศาล นวัตกรรมแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. Product Innovation: การเปลี่ยนแปลงในผลิตภัณฑ์หรือ บริการ 2. Process Innovation: การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต หรือกระบวนการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ 3. Position Innovation: การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสินค้า หรือบริการเป็นการเปลี่ยนต�ำแหน่งของผลิตภัณฑ์ โดยสร้างการรับรู้ และความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ต่อลูกค้าใหม่ 4. Paradigm Innovation: การมุ ่ ง ให้ เ กิ ด นวั ต กรรมที่ เปลี่ยนแปลงกรอบความคิด
สินค้าไฮเทคเปิดตัวนวัตกรรม...อย่างไร ทุก ๆ ปี บริษัทด้านเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม จะเปิดตัว นวัตกรรมใหม่ของตนเองในงานแสดงสินค้าระดับโลก หากเป็นค่าย
&
Innovation ผู้ผลิตรถยนต์จะเปิดตัวยานยนต์รุ่นใหม่บรรจุเทคโนโลยีล่าสุดลงไป ใน งาน Motor Show ส�ำคัญของโลกหนึ่งในสามนี้ คือ แฟรงก์เฟิร์ต เยอรมัน ดีทรอยต์ สหรัฐอเมริกา และกรุงโตเกียว ญี่ปุ่น ส่วนค่ายผู้ผลิตมือถือจะเปิดตัวในงาน Mobile World Congress ที่เมืองบาร์เซโรน่า สเปน ด้านผู้ผลิตกล้องฯ จะเปิดตัวในงาน CP+ หรือ Camera & Photo Imaging Show ในกรุงโตเกียว ญี่ปุ่น ขณะเดียวกันบริษทั ยักษ์ใหญ่หลายรายก็เลือกเปิดตัวนวัตกรรมใหม่ ของตนเองเป็นการเฉพาะ ไม่พึ่งงานใด ๆ เช่น Apple กับผลิตภัณฑ์ และซอฟต์แวร์ iOS Microsoft ซึง่ มาพร้อมผลิตภัณฑ์ Window/ Office/ Surface Pro (3) Samsung กับสมาร์ทโฟนรุ่นใหม่ และ Google กับ ซอฟต์แวร์ Android ส�ำหรับงานแสดงเทคโนโลยีที่ว่ากันว่าใหญ่ที่สุดในโลกโดย รวมนวัตกรรมทุกด้านไว้ หนีไม่พ้นงาน CES หรือ “Consumer Electronics Showcase” งานแสดงสินค้าเครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ นานาชาติ (International CES) ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี ณ เมือง ลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา ในช่วงต้นเดือนมกราคม ระยะเวลา 4 วัน ที่ทางผู้ออกงานจะน�ำนวัตกรรมมาจัดแสดงและจัดจ�ำหน่าย แต่ละครั้งของงาน CES จะมีผู้คลั่งไคล้เทคโนโลยีในแวดวง ไอที รวมถึงสื่อมวลชนจากทั่วโลก เพราะมีบริษัทเทคโนโลยีรายใหญ่ และรายเล็ ก ที่ ข นสิ น ค้ า มาแสดง ทั้ ง ในรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ้ น แบบ/ เทคโนโลยี เพื่อหวังผลการจับคู่ธุรกิจ ซึ่งบริษัทขนาดใหญ่มักซื้อ นวัตกรรมเหล่านีม้ าต่อยอดกับผลิตภัณฑ์ตนเอง นอกจากนีย้ งั ถือเป็น เวทีเปิดตัวสินค้ารุ่นใหม่ในแต่ละปีของบริษัทฯ เช่น Sony, Panasonic, Sharp, LG เป็นต้น งาน CES แตกต่างจากงานเปิดตัวผลิตภัณฑ์ของบริษทั ระดับ โลก ทีจ่ ะต้องเก็บง�ำเป็นความลับจนกว่าได้เปิดตัวผลิตภัณฑ์แล้ว ทว่า งานนีแ้ ต่ละบริษทั จะออกมาแถลงข่าว แข่งกันเปิดตัวสร้างความสนใจ ในนวัตกรรมของตนเองต่อสื่อมวลชน เพื่อให้ได้ลงข่าวมากที่สุด โดย เปิดให้เฉพาะสื่อมวลชนและผู้ประกอบการเข้าชมงาน ก่อนเปิดให้ ประชาชนทั่วไปเข้าชมงานในวันถัดมา (ผลิตภัณฑ์ของค่ายแอปเปิ้ล ไม่ได้เปิดตัวในงาน CES)
ย้อนอดีตสุดยอดนวัตกรรมเปลี่ยนโลก
งาน CES เริม่ จัดครัง้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ.2510 และจัดกันมาอย่าง ต่อเนื่องทุกปี โดยแต่ละครั้งจะมีสินค้าที่เป็นสิ่งประดิษฐ์คิดค้นและ นวัตกรรมใหม่ มาประชันกันอย่างคึกคัก และมีการจัดอันดับ Gadget แห่งปีในงานนีเ้ ลยทีเดียว การมางานนีจ้ ะท�ำให้เราทราบภาพรวมของ เทรนด์เทคโนโลยีของปีนั้น ๆ ว่า น่าจะเป็นไปในแนวทางใด และ Gadget เทคโนโลยีประเภทไหน ทีจ่ ะได้รบั ความสนใจจากค่ายผูผ้ ลิต และผู้บริโภคมากที่สุด
บางชิน้ ในงาน CES ถึงขัน้ สร้างความเปลีย่ นแปลงให้แก่วถิ ี ชีวิตมนุษย์ชาติ เช่น ปี พ.ศ.2513 เครื่องบันทึกและเล่นกับวิดีโอแบบคาสเส็ต (VCR) ปี พ.ศ.2517 เครื่องเล่นวิดีโอแบบเลเซอร์ดิสก์ ปี พ.ศ.2524 กล้องถ่ายวิดโี อทีส่ ามารถพกพาไปได้แบบวิดโี อ (camcorder) ปี พ.ศ.2525 เครื่องเล่นคอมแพคท์ดิสก์และซีดี (CD :Compact Disc) ปี พ.ศ.2526 เครื่องเล่นเกมแฟมิคอมและเกมบอย ปี พ.ศ.2533 เทคโนโลยีด้านเครื่องเสียงระบบดิจิทัล ปี พ.ศ.2536 มินิดิสก์, วิทยุกระจายเสียงระบบเอฟเอ็มที่จะ ส่งไปไกลกว่าระบบอะนาล็อก ปี พ.ศ.2537 ระบบดาวเทียมดิจิทัล ปี พ.ศ.2539 เครื่องเล่นและแผ่น DVD ปี พ.ศ.2541 โทรทัศน์ระบบ HDTV และระบบการแพร่ภาพ ความคมชัดระดับ HD 720P ปี พ.ศ.2542 เครื่องเล่นฮาร์ดดิสก์ VCR (PVR) ปี พ.ศ.2543 เครื่องเล่นเกมเพลย์สเตชัน 2 ปี พ.ศ.2544 เครื่องเล่นเกมเอ็กซ์บ็อกซ์ และพลาสม่าทีวี ปี พ.ศ.2545 โฮมมีเดียเซิร์ฟเวอร์ ปี พ.ศ.2546 เครื่องเล่น และแผ่น Blu-Ray ปี พ.ศ.2547 วิทยุกระจายเสียงความคมชัดสูง (HD Radio) ปี พ.ศ.2548 ทีวีผ่านอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง IP TV (Internet Protocol Television) ปี พ.ศ.2549 ก�ำเนิดบริการดิจิทัลคอนเทนท์ ปี พ.ศ.2551 LED TV ปี พ.ศ.2552 ทีวีสามมิติ 3D TV ปี พ.ศ.2553 แทบเล็ ต เน็ ต บุ ๊ ก และบริ ก ารแอนดรอยต์ , รถไฟฟ้าฟอร์ด ปี พ.ศ.2554 Ultrabooks, 3D OLED ปี พ.ศ.2555 Ultra HDTV, ทีวีจอโค้ง OLED, เทคโนโลยี รถยนต์ไร้คนขับ ปี พ.ศ.2556 3D Printers, ทีวจี อโค้งความคมชัดระดับ UHD, Internet of thing ที่ท�ำให้เครื่องใช้ภายในบ้าน ฉลาดขึ้นโดยเชื่อมโยงกับอินเตอร์เน็ต ปี พ.ศ.2557 ทีวี 4K, โดรน หรืออากาศยานไร้คนขับ ขณะที่สินค้าซึ่งมาพร้อมนวัตกรรม หากเกิดติดตลาดขึ้นมา เช่น ตอนนี้สมาร์ทโฟนและแทบเล็ต ส่งผลกระทบต่อผลิตภัณฑ์ใน ลักษณะเดียวกัน และค่อย ๆ มาแทนที่ จะเห็นว่า เครือ่ งพิมพ์ Printer December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
29 <<<
&
Innovation
หนังสือ แมกกาซีน โน้ตบุก๊ คอมพิวเตอร์ตงั้ โต๊ะ กล้องถ่ายรูปคอมแพค เครือ่ งเล่นซีดี เครือ่ งเล่น MP3 หรือแม้แต่ไอพอด ทีต่ อนนีย้ อดขายเริม่ ลดลงไปเรื่อย ๆ
5 นวัตกรรมแห่งปี 2558
ที่ผ่านมามีผลิตภัณฑ์เด่นถูกน�ำเสนอมากกว่าปีก่อน โดย เฉพาะสินค้าที่ผ่านห้องปฏิบัติการมาแล้ว แต่ยังไม่เปิดตัวในปีที่ผ่าน มา เพราะเศรษฐกิ จ โลกมี แ นวโน้ ม ดี ขึ้ น กระแสในตลาดสิ น ค้ า อิเล็กทรอนิกส์ที่น่าสนใจในปีนี้ ประกอบด้วย
โทรทัศน์ SUHD
แบตเตอรี่สายพันธุ์ ใหม่
อุปกรณ์ไฮเทคล�้ำยุคต้องใช้พลังงานจากแบตเตอรี่เป็นหลัก ซึ่งยังคงเป็นหนึ่งในปัญหาที่ผู้ผลิตยังแก้ไม่ตก จากข้อจ�ำกัดของ เทคโนโลยีที่แบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออนที่นิยมใช้กับอุปกรณ์ไฮเทค พกพาเหล่านี้ ในปีนี้ความก้าวหน้าของศาสตร์ด้านเคมีจะเริ่มได้เห็น แบตเตอรีส่ ายพันธุใ์ หม่ทใี่ ช้พนื้ ฐานของเคมีในตระกูลโซเดียมผสมกับ สารประกอบโลหะไฮไดรด์ ซึ่งผลคือจะได้แบตเตอรี่ที่ราคาถูกลง ให้ พลังงานได้นานขึ้น นอกจากนี้ เทคโนโลยีการชาร์จพลังงานแบบไร้ สาย เริ่มมีให้เห็นแล้วในปัจจุบัน เช่น เทคโนโลยีชาร์จไร้สายโดยผ่าน คลื่นแม่เหล็กของ Intel
แม้ผคู้ นอาจจะให้ความส�ำคัญกับทีวนี อ้ ยลงในชีวติ ประจ�ำวัน แต่ผผู้ ลิตโทรทัศน์จากเกาหลีใต้ จีน และญีป่ นุ่ พร้อมใจน�ำทีวี 4K ทีม่ า พร้อมกับเทคโนโลยี ควอนตัมดอต (Quantum Dot) ซึ่งจะช่วยเพิ่ม สีสันที่สดใสขึ้นให้กับจอภาพ ก่อนที่ผู้ผลิตพยายามผลักดันโทรทัศน์ เทคโนโลยี OLED (Organic Light-Emitting Diode) ซึ่งยังมีต้นทุนที่ สูงอยู่ออกมา เทคโนโลยีควอนตัมดอตจะช่วยให้การแสดงสีสัน เพิ่ม ขึ้นเป็นอย่างน้อย 80 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับความสามารถของ OLED โดยมีความคมชัดเหนือกว่าทีวี 4K (3840 x 2160) เล็กน้อย หรือระดับ SUHD (Super Ultra HD) ด้วยการเพิ่มฟิล์มบางที่ท�ำจาก วัสดุควอนตัมดอตเข้าไปบนโครงสร้างจอภาพ ซึ่งจะช่วยเพิ่มสีสัน ความสว่างสดใส เมื่อแสงส่องผ่านฟิล์มควอนตัมดอตและตัวกรอง ขณะที่อีกลักษณะหนึ่งเป็นการอัดวัสดุควอนตัมดอตเข้าไปในหลอด แก้วบางยาวทีต่ ดิ อยูข่ า้ งแหล่งสร้างแสง LED ของจอภาพ โดยวิธกี ารนี้ ได้ผลดีเหมือนกับวิธกี ารแรก แต่ใช้พนื้ ทีใ่ นตัวเครือ่ งโทรทัศน์นอ้ ยกว่า
ตั้งแต่เปิดตัว Apple Watch มีสินค้าสวมใส่ได้ wearable ที่ เป็น Smart Watch ในตลาดมากกว่า 56 รุ่น! และคนที่เข้าไปลองมา แล้วทุกตัวก็เลยรู้สึกเบื่อกับ Smart Watch ที่คล้าย ๆ กันเป็นอย่างยิ่ง การเพิ่มเครื่องมือสุขภาพเป็นเหมือนฟิตเนสแทรกเกอร์ นับการเดิน การวิ่ง การขึ้นบันได และสามารถเช็กข้อมูลด้านสุขภาพและวัด ความเครียด การนอนเข้าไปในอุปกรณ์ ก่อนหน้านีแ้ บรนด์นาฬิกาหรู จากสวิส ต่างก็ไม่ชอบและท�ำนายว่าไม่มีวันที่จะมาแทนนาฬิกา คลาสสิคได้ แต่ท�ำไปท�ำมาก็ต้องเริ่มมีการปรับตัวให้เข้ากระแส อย่างเช่น นาฬิกา Tag Heuer ได้จบั มือร่วมกับ Intel ในการท�ำนาฬิกา ข้อมืออัจฉริยะ โดยเลือกหน้าปัดนาฬิกาแบบอะนาล็อกแอบซ่อนความ เป็นดิจิทัลเอาไว้อย่างแนบเนียน ในขณะเดียวกันก็สามารถท�ำหน้าที่ ของนาฬิกาอัจฉริยะอย่างการแสดงผลการแจ้งเตือนได้อย่างไม่ขาด ตกบกพร่อง
ระบบเสียงเหนือศีรษะ
Internet of เครื่องใช้ในบ้าน
A/V Receiver เครื่องเสียงปัจจุบันได้ติดตั้งตัวถอดรหัสระบบ เสียง 3 มิติขึ้นมา ทุกค่ายสามารถถอดรหัส Dolby Atmos, DTS : X และ Auro-3D เช่นเดียวกับประสบการณ์ในโรงภาพยนตร์ แต่จะได้ผล ต้องติดตัง้ เจาะผนังด้านบนเพือ่ ติดตัง้ ล�ำโพง หรือวางล�ำโพงพิเศษบน ล�ำโพงคูห่ น้าโดยใช้หลักการการสะท้อนของเสียงไปยังเพดานบน เพือ่ ให้เสียงเหนือศีรษะเพิ่มขึ้นมา จากเสียงรอบทิศทางที่โอบล้อมตัวเรา เราจะได้ยินเสียงระดับบนชัดเจน เช่น เสียงฝนตก เฮลิคอปเตอร์บิน ผ่าน พลุ การระเบิดด้านบน ฯลฯ ขาดแต่สตูดโิ อทีย่ งั บันทึกเสียงระบบ ใหม่น้อย ปล่อยเพียงแผ่นบลูเรย์ระบบเสียง DTS-HD และ Dolby truHD แต่คาดว่าไม่นานจะเป็นมาตรฐานใหม่ของการชมภาพยนตร์ และคอนเสิร์ตภายในบ้าน
อุปกรณ์สวมใส่และตามติดสุขภาพ
ถ้าพูดถึงสินค้าผูบ้ ริโภคแล้ว สินค้าเครือ่ งใช้งานในบ้านจะน่า ตื่นเต้นขึ้นแค่ไหน เมื่อยักษ์ใหญ่มากันครบ ไม่ว่าจะเป็น Apple HomeKit, Samsung SmartThings และ Google’s Nest ซึ่งล้วนแต่ เป็น Software Platform ส�ำหรับควบคุมเครือ่ งใช้ในบ้านทัง้ หมด เครือ่ ง ใช้ต่าง ๆ ที่เราคาดไม่ถึง ไม่ว่าจะเป็น ตู้เย็น เตาอบ หรือเครื่องซักผ้า ต่างสามารถเชื่อมโยงอินเทอร์เน็ตและส่งข้อมูลไปยังผู้ใช้ และผู้ใช้ยัง สามารถสัง่ การระยะไกลโดยผ่านมือถือ ไม่ตอ้ งพึง่ รีโมทได้ ถ้าใครถาม บริษัทเหล่านี้ว่า มีอะไรบ้างที่จะถูกเปลี่ยนให้เป็น Smart Device ค�ำตอบคือ “ทุกอย่าง” ซึง่ บางอย่างบางคนก็ยงั สงสัยว่าจะท�ำมาเพือ่ อะไร? แต่ถา้ ท�ำขึน้ มาแล้วท�ำให้ชวี ติ ง่ายขึน้ คนในยุคปัจจุบนั ซือ้ แน่ จริงหรือไม่?
เอกสารอ้างอิง นายเหลือกินเหลือใช้, คอลัมน์ Global Brands: CES สุดยอดงานแสดงสินค้าเครื่องไฟฟ้าโลก. ดอกเบี้ยธุรกิจ ฉบับวันที่ 12 มกราคม 2558 >>>30
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
&
Management
สารสนเทศ ควบคุมกิจกรรมการผลิต
โกศล ดีศีลธรรม
การ
ควบคุมระดับโรงงานเป็นการประสานงาน เพื่อควบคุม กิจกรรมการผลิตให้เกิดการไหลต่อเนื่อง อาทิ การ ออกค�ำสั่งผลิต การติดตามควบคุมสถานะความคืบหน้าของงาน โดย มี ก ารจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ในระบบสารสนเทศ ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของระบบ วางแผนทรัพยากรการผลิต (Material Resource Planning) หรือ MRPII แสดงรายละเอียดปัจจัยการผลิตและแผนก�ำลังการผลิต โดย เฉพาะตารางการเดินเครื่องจักรและเหตุประจ�ำวันที่เกิดในสายการผลิต ตั้งแต่กระบวนการเริ่มต้นกระทั่งเสร็จสิ้นกิจกรรมการผลิต รวมถึง ปัญหาต่าง ๆ เช่น การขาดงานหรือเครื่องจักรขัดข้องถือเป็นเครื่อง มือสนับสนุนกิจกรรมการผลิตให้ด�ำเนินการทันตามก�ำหนดการ โดย ระบุรายละเอียดแต่ละกระบวนการว่า จะเริ่มต้น และเสร็จสิ้น เมื่อไหร่ อาทิ การออกใบสั่งผลิตไปยังสายการผลิต การติดตามกิจกรรมการ ผลิตรายวัน รายละเอียดก�ำหนดการผลิต การวางแผนก�ำลังการผลิต แต่ละหน่วยผลิตควบคุมเวลา การรอคอยและงานรอระหว่างผลิต การแจ้งกลับข้อมูลสายการผลิตไปยังส�ำนักงานการบันทึกผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นในสายการผลิตเพื่อเทียบเคียงกับมาตรฐาน หรือเป้าหมาย ล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ แต่ ล ะค� ำ สั่ ง ผลิ ต การประเมิ น วั ด ผลและแสดง รายงานผลิตภาพ เป็นต้น
แผนประจำ�ปี
การวางแผนธุรกิจ
แผนรายเดือน
แผนปฏิบัติการและ การขาย กำ�หนดการผลิตหลัก
แผนรายสัปดาห์ การวางแผนความ ต้องการวัสดุ
การวางแผนความ ต้องการกำ�ลังการผลิต
แผนรายวัน การควบคุมสายการผลิต แผนผัง แนวคิดบูรณาการแผนงานทุกระดับ
>>>32
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
&
Management โดยทั่วไประบบควบคุมโรงงานสามารถจ�ำแนกเป็นกิจกรรม หลัก คือ การวางแผน ปฏิบัติการ และการควบคุม ประกอบด้วย รายละเอียด ดังนี้ 1. การวางแผน โดยมุ่งให้เกิดการไหลของงานแต่ละหน่วย ผลิตให้ทันกับเวลาการส่งมอบ ดังนั้นระบบต้องสร้างความเชื่อมั่นว่า ทรัพยากรการผลิตมีความพร้อมใช้งานทัง้ ยังระบุก�ำหนดการเริม่ ต้นและ เสร็จสิน้ ของค�ำสัง่ ด้วยการแสดงภาระงาน (load profile) แต่ละหน่วยผลิต 2. การปฏิบตั กิ าร เมือ่ รายละเอียดแผนการผลิตถูกจัดท�ำเสร็จ สิ้นก็จะถูกน�ำไปใช้ด�ำเนินการต่อไป โดยเฉพาะการรวบรวมข้อมูลที่ จ�ำเป็นในสายการผลิตและออกค�ำสั่งไปยังสายการผลิตด้วยระบบ MRP หรือเรียกว่า Dispatching เอกสารแสดงกำ�ลังการผลิตแต่ละหน่วยผลิต รหัส
รายละเอียด
จำ�นวน เครื่องจักร
อัตราการใช้ เครื่องจักร
ประสิทธิภาพ เครื่องจักร
3. การควบคุม หลังจากออกค�ำสั่งไปยังสายการผลิตแล้ว กระบวนการถัดไป คือ การติดตามสถานะกระบวนการ โดยข้อมูลได้ ถูกจัดเก็บเพือ่ ใช้เทียบกับแผนงานหรือเป้าหมาย และด�ำเนินการแก้ไข เมื่อผลลัพธ์เบี่ยงเบนจากเป้าหมาย ดังนั้นระบบควบคุมการผลิตจะ สนับสนุนการสร้างประสิทธิผลสายการผลิต ดังนี้ ➲ ล�ำดับความส�ำคัญในค�ำสั่งผลิตแต่ละหน่วยและแสดง ข้อมูลตามล�ำดับความส�ำคัญ โดยใช้อัตราส่วนวิกฤตต�่ำสุด (lowest critical ratio) เป็นล�ำดับความส�ำคัญสูงสุด (first priority) แสดงด้วยความ สัมพันธ์ดังนี้ Critical Order Ratio = ระยะเวลาตามก�ำหนดการ เวลาที่ใช้ด�ำเนินการ ➲ ติดตามสมรรถนะแต่ละ Work Order เพือ ่ ใช้ผลลัพธ์เทียบ กับแผนก�ำหนดการและปรับแก้แผนงาน รวมถึงก�ำหนดการใหม่และ ปรับก�ำลังการผลิตให้สอดคล้องกับก�ำหนดการส่งมอบ ➲ การควบคุมงานระหว่างผลิต ระยะเวลาน�ำการผลิต และ แถวคอยแต่ละหน่วยผลิต ➲ การป้อนกลับข้อมูลจากสายการผลิตไปยังระบบวางแผน ก�ำลังการผลิตและระบบ MRP โดยข้อมูลที่ป้อนกลับ ได้แก่ สถานะ กระบวนการปริมาณงานที่เสร็จสิ้น รวมถึงสัญญาณแจ้งเตือนโดยส่ง สัญญาณแจ้งกลับเมือ่ เกิดปัญหาในสายการผลิตเพือ่ ให้ผคู้ วบคุมงาน ได้รับทราบและด�ำเนินการแก้ไขปัญหา เช่น ขาดชิ้นส่วนที่ใช้งาน ประกอบ เครื่องจักรขัดข้อง ➲ จั ด ท�ำรายงานแสดงสมรรถนะแต่ ล ะหน่ ว ยผลิ ต อาทิ ประสิทธิภาพ เวลาปฏิบัติงาน และเศษของเสีย (scrap)
กำ�ลังการผลิต ของหน่วยผลิต
ปริมาณผลิตผล ต่อชั่วโมง
ปริมาณ ผลิตผลต่อวัน
ปริมาณผลิตผล ต่อเดือน
ข้อมูลมาตรฐานและวางแผน ➣ กำ�หนดการผลิต ➣ ข้อกำ�หนดทางเทคนิค ข้อมูลทรัพยากร วัสดุ ➣ บุคลากร ➣ สิ่งอำ�นวย ความสะดวก ➣
ความสามารถในการจัดการ การพยากรณ์ ➣ การวางแผน ➣ การควบคุมกำ�หนดการ ➣
สถานะข้อมูล งานค้าง ➣ WIP ➣
การแสดงผล/ข้อมูลป้อนกลับ ภาพ สารสนเทศกิจกรรมการผลิต
ส�ำหรั บ หน้ า ที่ ห ลั ก ของระบบประสานงานระดั บ โรงงาน (factory coordination system) คือ การจัดการสายการผลิตภายใน โรงงานให้เกิดการไหลอย่างสมดุล รวมทัง้ จ�ำแนกประเภทปัญหาและ ขจั ด สาเหตุ ห ลั ก เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งปั ญ หาเดิ ม เกิ ด ซ�้ ำ อี ก ท�ำให้ ต ้ อ ง ออกแบบระบบการผลิ ต ด้ ว ยการจั ด ผั ง สายการผลิ ต ตามตระกู ล ผลิตภัณฑ์ (product family) เพือ่ ให้เกิดการไหลของงานต่อเนือ่ งและ รองรับผลิตภัณฑ์ใหม่เข้าสู่สายการผลิต ประกอบด้วย ➲ ใบแสดงรายการวัสดุ (bill of materials) โดยมีการก�ำหนด โครงสร้าง และแสดงรายละเอียดแต่ละองค์ประกอบผลิตภัณฑ์ ➲ ใบแสดงล�ำดับขั้นตอนการผลิต (bill of processes) อธิบายรายละเอียดขัน้ ตอนแต่ละกระบวนการเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์ เช่น ทรัพยากรการผลิต ขั้นตอนปฏิบัติงาน และเวลากระบวนการ December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
33 <<<
&
Management การควบคุ ม (control) เพื่ อ ให้ แ ต่ ล ะหน่ ว ยการผลิ ต สามารถจัดการปัญหาที่เกิดในพื้นที่รับผิดชอบได้ ดังนั้นเพื่อให้การ ควบคุ ม ปฏิ บั ติ ก ารระดั บ โรงงานเกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลจะต้ อ งมี ร ะบบ สารสนเทศสนับสนุนการด�ำเนินงาน โดยไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในระบบ ฐานข้อมูล ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วนหลัก คือ ไฟล์ขอ้ มูลการวางแผน และการควบคุม โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ข้อมูลการวางแผน (planning files) ประกอบด้วย a) ข้อมูลรายการหลัก (item master file) จัดเก็บข้อมูลเกี่ยว กับชิน้ ส่วนโดยก�ำหนดเลขทีช่ นิ้ ส่วนหรือรหัสแต่ละองค์ประกอบ (part number) รายละเอียดชิน้ ส่วนงานระยะเวลาน�ำการผลิต ปริมาณงาน ที่จัดเก็บแต่ละรายการการจัดสรรรายการให้แต่ละ Work Order แต่ ยังไม่ได้เบิกจากสต็อกไปใช้งานและก�ำหนดการรับของ (scheduled receipts) b) ข้อมูลโครงสร้างผลิตภัณฑ์ (product structure) ประกอบ ด้วยรายละเอียดชิ้นส่วน หรือองค์ประกอบและปริมาณที่ใช้ส�ำหรับ งานประกอบผลิตภัณฑ์ c) ข้อมูลล�ำดับขั้นตอนการผลิต (routing file) เพื่อบันทึก ข้อมูลขั้นตอนการประกอบผลิตภัณฑ์ อาทิ รายละเอียดเลขที่ชิ้นงาน รหัส/หมายเลขขั้นตอนการผลิต รายละเอียดเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ตรวจวัด เวลามาตรฐานและระยะเวลาน�ำแต่ละขั้นตอน d) ข้อมูลหน่วยผลิต (work center file) โดยจัดเก็บข้อมูลราย ละเอียดแต่ละหน่วยผลิต เช่น หมายเลขชื่อหน่วยผลิต ก�ำลังการผลิต จ�ำนวนกะท�ำงานต่อสัปดาห์ เวลาการเดินเครื่องต่อกะท�ำงาน อัตรา การใช้ก�ำลังการผลิต เวลาเฉลี่ยรอคอยงานและข้อมูลต้นทุน เป็นต้น
อุประสงค์อิสระ
➲
อุประสงค์พึ่งพา
A B(4) D(2)
C(2) E(1)
D(3)
F(2)
ภาพ โครงสร้างผลิตภัณฑ์
2. ข้อมูลส�ำหรับการควบคุม (control file) ประกอบด้วย ข้อมูลค�ำสั่งและจ�ำแนกระบบข้อมูล ดังนี้ ➲ ค�ำสั่งผลิตหลัก โดยบันทึกรายละเอียดค�ำสั่งผลิตและ แสดงเลขที่ค�ำสั่งผลิตข้อมูลปริมาณแต่ละค�ำสั่งผลิต ปริมาณงานที่ เสร็จสิน้ อัตราของเสีย ปริมาณวัสดุทเี่ บิกใช้ ก�ำหนดการเสร็จสิน้ ล�ำดับ ความส�ำคัญงานค้าง (backlog) และข้อมูลทางต้นทุน ➲ รายละเอี ย ดค�ำสั่ ง ผลิ ต โดยบั น ทึ ก รายละเอี ย ดข้ อ มู ล ขั้นตอนการท�ำงาน เช่น เลขที่ปฏิบัติงาน เวลาการเดินเครื่องจักร ปริมาณงานทีเ่ สร็จสิน้ แต่ละขัน้ ตอน รายงานของเสีย เวลาน�ำการผลิต ที่เหลือ เป็นต้น
ส่งสารสนเทศไปยังระบบการวางแผน
แผนคำ�สั่งซื้อจากระบบ MRP
การวัดสมรรถนะกระบวนการ ฝ่ายวางแผน (กำ�หนดการ) ผู้ประสานงานและติดตาม สถานะการผลิต
กำ�หนดการระดับโรงงาน ผู้ควบคุมงาน/หัวหน้างาน การประสานงาน กับระบบติดตาม
PAC
PAC
...........
PAC
เซลล์การผลิต 1
เซลล์การผลิต 2
...........
เซลล์การผลิต ก
ภาพ ระบบควบคุมระดับโรงงาน >>>34
ข้อมูลการติดตามสถานะ กระบวนการผลิต
ข้อมูลการผลิต
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
PAC = การควบคุมกิจกรรม การผลิต (Production Activity Contron)
&
Management
โดยข้อมูลที่จัดเก็บในระบบ Shop Floor Control เป็นเสมือน ตัวเชื่อมโยงระหว่างระบบวางแผนกับระบบควบคุมโรงงาน ดังนั้น ข้อมูลจะมีการไหลแบบสองทิศทางและเชื่อมโยงกับระบบ MRP เพื่อ แสดงสถานะความคืบหน้าในสายการผลิตด้วยระบบติดตาม เพื่อใช้ เทียบเคียงสมรรถนะจริงกับเป้าหมายและด�ำเนินการแก้ปัญหา โดย ทั่วไปข้อมูลระบบ Shop Floor Control ประกอบด้วย สถานะค�ำสั่ง ผลิ ต ที่ เ สร็ จ สิ้ น ปริ ม าณทรั พ ยากรที่ ถู ก ใช้ แ ต่ ล ะขั้ น ตอน ต้ น ทุ น ค่าใช้จา่ ย และปริมาณผลิตผล นอกจากนีร้ ะบบควบคุมระดับโรงงาน จะถูกใช้ประเมินความคืบหน้าของงานเทียบกับแผนการผลิต หากงาน เกิดความล่าช้ากว่าก�ำหนด ระบบจะแจ้งเตือนให้ผู้ควบคุมงาน ด�ำเนินการตรวจสอบและแก้ไขปัญหา เพือ่ ให้งานสามารถเสร็จได้ทนั ตามก�ำหนด
เอกสารอ้างอิง 1. Groover, M. P, Automation Production Systems & ComputerIntegrated Manufacturing, Prentice-Hall,1992. 2. Khalid Sheikh, Manufacturing Resource Planning (MRPII) with Introduction to ERP, SCM & CRM, McGrawHill, 2001. 3. Martin R. Smith, Bottom-Line Plant Management, PrenticeHall,1991. 4. Melnyk, Steven A. and Swink, Morgan. Value-Driven Operations Management : An Integrated Moular Approach, McGraw-Hill, 2002. 5. Nicholas, John M., Competitive Manufacturing Management, McGraw-Hill, 1998. 6. Russell, Roberta S. and Taylor, Bernard W., Operations Management, Pearson Education, 2003. 7. Vollmann, Thomas E., Berry, William L. and Whybark, D.Clay, Manufacturing Planning & Control Systems, McGraw-Hill, 1997. 8. โกศล ดีศีลธรรม, การจัดการบ�ำรุงรักษาส�ำหรับงานอุตสาหกรรม, บ. เอ็มแอนด์อี จ�ำกัด, 2547. 9. โกศล ดีศีลธรรม, การวางแผนปฏิบัติการโลจิสติกส์ส�ำหรับโลก ธุรกิจใหม่, ส�ำนักพิมพ์ฐานบุ๊คส์, 2551. 10. โกศล ดีศลี ธรรม, พัฒนาสูค่ วามเป็นเลิศตามวิถไี คเซ็น, ส�ำนักพิมพ์ เพื่อนอุตสาหกรรม, 2557.
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
35 <<<
&
Management
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี (ตอนจบ)
เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ ต่อจากฉบับที่แล้ว EDI (Electronic Data Interchange)
เป็นการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการรับ-ส่งเอกสารธุรกิจ ระหว่างหน่วยงานตัง้ แต่ 2 หน่วยงานขึน้ ไป ทีม่ มี าตรฐานเป็นทีย่ อมรับ ร่วมกัน โดยผ่านเครือข่ายสื่อสาร เช่น สายโทรศัพท์ สัญญาณ ดาวเทียม หรืออีกนัยหนึง่ คือ การใช้สอื่ หรือรูปแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือเอกสารธุรกิจ เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า บัญชี ราคาสินค้า ใบส่งของ รายงาน ภายใต้มาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ การรั บ -ส่ ง เอกสารข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วจะถู ก กระท� ำ ภายใต้ มาตรฐานความปลอดภัยระดับหนึ่ง เพื่อป้องกันมิให้คู่แข่งขันทาง การค้าสามารถดึงข้อมูลของตนเองไปใช้ได้ ซึ่งหากมีการใช้ EDI ใน กิจกรรมต่าง ๆ อย่างครบวงจรแล้ว จะช่วยให้ไม่ต้องอาศัยเอกสาร ต้นฉบับที่ต้องตรวจสอบโดยพนักงานหรือป้อนข้อมูลซ�้ำซากอีก ซึ่ง สามารถสนับสนุนให้องค์กรธุรกิจเปลี่ยนแปลง เป็นขั้นตอนของการ ท�ำธุรกิจที่ต้องใช้เอกสารเป็นพื้นฐาน ไปสู่การท�ำธุรกิจภายใต้สื่อทาง อิเล็กทรอนิกส์โดยไม่จ�ำเป็นต้องใช้กระดาษอีกต่อไป ในการท�ำงานตามขั้นตอนของระบบ EDI นี้ จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ ระบบคอมพิวเตอร์ขององค์กรต่าง ๆ จะต้องมีส่วนการสื่อสารเป็น ระบบเปิด คือ เป็นระบบที่ใช้ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และซอฟต์แวร์ (Software) ที่ ไ ม่ ป ิ ด กั้ น การติ ด ต่ อ จากโลกภายนอก โดยการใช้ มาตรฐานที่เป็นสากล เช่น UN/EDIFACT, IEEE, ACM และ ISO ซึ่ง >>>36
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
เรียบเรียงโดย เศรษฐภูมิ เถาชารี
สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ วิทยาลัยนานาชาติพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ได้ก�ำหนดและวางกฎเกณฑ์ของการส่งผ่าน หรือแลกเปลี่ยนข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้คอมพิวเตอร์ของทุกฝ่ายที่ เกีย่ วข้องสามารถติดต่อ และรับ-ส่งข้อมูลกันได้โดยไม่จำ� กัดยีห่ อ้ ของ อุปกรณ์ ประโยชน์ ที่ อ งค์ ก รธุ ร กิ จ จะได้ รั บ จากการประยุ ก ต์ ใ ช้ ระบบ EDI ปัจจุบันองค์กรธุรกิจมีการน�ำระบบ EDI มาใช้กันอย่างแพร่ หลาย เนือ่ งจากเป็นระบบทีส่ ามารถให้ประโยชน์สงู ในการแข่งขันทาง ธุรกิจ โดยมีประโยชน์ที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ 1. ลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดการเอกสาร โดย EDI ท�ำให้ ธุรกิจสามารถลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดการเอกสาร ซึ่งเกิดขึ้นใน ระบบการค้าแบบเดิมที่ท�ำการติดต่อกันด้วยเอกสารได้ อาทิเช่น ➲ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการจัดท�ำเอกสารโดยตรง เช่น ค่าใช้ จ่ายส�ำหรับเอกสารและพนักงานในกระบวนการรับเอกสาร การจับคู่ เอกสาร การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในเอกสาร การคัดลอก เอกสาร การประมวลผล การออกเอกสารต่อเนื่อง การจัดเก็บเอกสาร และการส่งเอกสารไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร ➲ ค่าใช้จา่ ยส�ำหรับความผิดพลาดทีเ่ กิดขึน ้ ในระบบเอกสาร เช่น ค่าใช้จา่ ยอันเนือ่ งมาจากการสูญหายของเอกสารระหว่างการเดิน ทาง และความผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลจากเอกสารต้นฉบับ
&
Management ➲
ค่าใช้จ่ายส�ำหรับเวลาที่ใช้ในกระบวนการส่งข้อมูลด้วย เอกสาร เช่น เวลาทีต่ อ้ งรอในแต่ละขั้นของการท�ำงานในกระบวนการ จัดการเอกสาร และเวลาที่ใช้ในการส่งเอกสารระหว่างองค์กร 2. เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการทางธุรกิจ อันเกิดจาก ความถูกต้องของข้อมูลจากการใช้ EDI รวมทั้งวงจรธุรกิจที่สั้นลง ส�ำหรับทุกกระบวนการทางธุรกิจตั้งแต่การซื้อ การขาย จนกระทั่งถึง การรับเงินและการจ่ายเงิน ซึ่งจะท�ำให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพใน กระบวนการทางธุรกิจในส่วนต่าง ๆ ที่ส�ำคัญ คือ ➲ ลดจ�ำนวนสินค้าคงคลัง เนื่องจากทางผู้บริหารองค์กร ธุรกิจทราบถึงความต้องการที่แท้จริงของคู่ค้า ลูกค้า ➲ กระชับความสัมพันธ์ระหว่างคูค ่ า้ ทางธุรกิจและสนับสนุน การใช้ระบบ Just in Time ในการด�ำเนินกระบวนการทางธุรกิจ ➲ พั ฒ นาบริ ก ารลู ก ค้ า ตามข้ อ มู ล หรื อ ความต้ อ งการของ ลูกค้า ที่ส่งข้อมูลมายังองค์กร ธุรกิจโดยใช้ระบบ EDI ➲ พัฒนาการใช้เงินทุนหมุนเวียน เนือ ่ งจากองค์กรธุรกิจเห็น กระแสเงินสดสุทธิ ทั้งที่เป็นรายรับและรายจ่าย ➲ พัฒนาระบบข้อมูลเพือ ่ การบริหารและเพิม่ ประโยชน์จาก การใช้ฐานข้อมูลเดียวกัน 3. เป็นเครื่องมือสนับสนุนในการบรรลุถึงเป้าหมายองค์กร โดยประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในกระบวนการทางธุรกิจ จากการใช้ EDI สามารถใช้เป็นเครือ่ งมือในการสนับสนุนให้เกิดผลตามเป้าหมายของ องค์กรที่วางไว้ได้ เช่น การสร้างพันธมิตรทางการค้าใหม่ ๆ การเข้าสู่ ตลาดใหม่ การออกผลิตภัณฑ์/บริการใหม่ การเป็นผูน้ ำ� ในตลาด และ ความอยู่รอดขององค์กร
นอกจากนี้หากเปรียบเทียบกับองค์กรที่เป็นเหมือนตัวเชื่อม เพื่อการส่งออกและน�ำเข้าอย่างกรมศุลกากรแล้ว ประโยชน์ที่ได้รับ จากการน�ำระบบ EDI มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติพิธีการศุลกากร ที่ ส�ำคัญมีดังต่อไปนี้ คือ ➲ ช่วยลดระยะเวลาในการเดินพิธีการศุลกากร เช่น ไม่ต้อง ผ่านขั้นตอนการออกเลขที่ใบขนสินค้า หรือเลขที่ยกเว้นอากร เพราะ เครือ่ งคอมพิวเตอร์จะออกเลขทีใ่ บขนสินค้า หรือเลขทีย่ กเว้นอากรให้ ➲ ช่วยลดความผิดพลาดในการค�ำนวณค่าภาษีอากร เพราะ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ตรวจสอบการค�ำนวณแล้ว ➲ กรณีใบขนสินค้าขาเข้า เจ้าหน้าที่ไม่ต้องบันทึกข้อมูล ใบขนสินค้าทัง้ ฉบับ จะบันทึกข้อมูลบางไฟล์เท่านัน้ เพราะใบขนสินค้า ได้ถูกส่งมายังกรมศุลกากรในระบบ EDI แล้ว ➲ กรณีใบขนสินค้าขาออก จะลดเจ้าหน้าที่ตรวจสอบลง ➲ มีระบบข้อมูลที่ Update ตลอดเวลา ➲ ลดต้นทุนในการบริหารระบบคงคลังสินค้า ➲ กรมศุลกากรสามารถให้บริการระบบ EDI ได้ตลอด 24 ชั่วโมง ➲ ระบบ EDI จะมีบริการให้ผู้ส่งออกสอบถามข้อมูลจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรได้อัตโนมัติ เพื่อตรวจเช็คสินค้า ที่น�ำเข้า และส่งออกว่าได้รับอนุมัติหรือยัง ซึ่งสามารถแสดงการเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างพิธีการ แบบ Manual กับแบบ EDI ของกรมศุลกากร ดังในตารางที่ 2 ด้าน ล่างนี้
▼ ตารางที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างพิธีการแบบ Manual (ดั้งเดิม) กับแบบ EDI ของกรมศุลกากร
พิธีการแบบ Manual
พิธีการแบบ EDI
ตัวแทนออกของรับข้อมูล Invoice และเอกสารประกอบอื่น ๆ จากผู้น�ำเข้า/ ส่งออกเพื่อจัดท�ำใบขนสินค้า
ตัวแทนออกของรับข้อมูล Invoice และเอกสารประกอบอื่น ๆ จากผู้น�ำเข้า/ส่งออก เพื่อจัดท�ำใบขนสินค้า โดยป้อนข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ของตนเอง หรือใช้ บริการ Service Counter ส่งข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากร โดยผ่านผู้ให้ บริการ EDI (VAN) คอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรจะตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น เช่น เลขประจ�ำตัวผู้น�ำเข้า/ส่งออก ชื่อเรือ เที่ยวเรือ โดยจะออกเลขที่ใบขนสินค้าให้ การตรวจสอบพิกัดอัตราและประเมินอากร กระท�ำโดยตัวแทนออกของ ก่อนส่ง ข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากร น�ำใบขนสินค้าที่ผ่านพิธีการแล้ว ไปช�ำระอากรหรือเงินประกัน ณ ที่ท�ำการศุลกากร หรือช�ำระเงินด้วยระบบ EFT น�ำใบขนสินค้าที่ผ่านพิธีการ และช�ำระอากรหรือเงินประกันแล้วไปที่คลังสินค้า ให้ เจ้าหน้าที่ศุลกากรก�ำหนดชื่อเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจสินค้า ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์โดย อัตโนมัติ เจ้าหน้าที่ศุลกากรท�ำการตรวจปล่อยสินค้าตามปกติ หรือส่งมอบสินค้า หรือสลัก รายการรับบรรทุก กรณีผู้น�ำเข้า/ส่งออก เป็นระดับบัตรทอง (Gold Card)
ยื่นใบขนสินค้าต่อเจ้าหน้าที่พิธีการ ตรวจสอบบัตรตัวอย่าง ลายมือชื่อ เจ้าของหรือผู้จัดการหรือผู้รับมอบอ�ำนาจ ออกเลขที่ใบขนสินค้าตรวจสอบ เอกสาร และลงนามรับรอง เจ้าหน้าที่ประเมินอากร ตรวจสอบพิกัดอัตราอากรประเมินอากร ค�ำนวณ และสั่งการตรวจ น�ำใบขนสินค้าที่ผ่านพิธีการ และช�ำระอากรหรือเงินประกัน ณ ที่ท�ำการ ศุลกากร น�ำใบขนสินค้าที่ผ่านพิธีการ และช�ำระอากรหรือเงินประกันแล้วไปที่คลัง สินค้า ให้เจ้าหน้าที่ศุลกากรก�ำหนดชื่อ เจ้าหน้าที่ผู้ตรวจปล่อยสินค้า เจ้าหน้าที่ศุลกากรท�ำการตรวจปล่อยสินค้าตามปกติ
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
37 <<<
&
Management ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของวิโชติ สัมพันธรัตน์ (2548) ได้ ศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของการรายงานการบรรทุ ก ขนถ่ า ย และ การรายงานการรับมอบส่งมอบตู้สินค้าด้วยระบบการส่งเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ ของ บริษัท ที ไอ พี เอส จ�ำกัด ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าบี 4 โดยมีขั้นตอนการวิจัย ประกอบด้วย การวิเคราะห์หาสาเหตุการร้อง เรียนของผู้ใช้บริการ ด้านความล่าช้าในการส่งรายงานระบบเดิมที่ใช้ กระดาษ ด้วยแผนผังก้างปลา ท�ำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพ ระหว่างระบบเดิมและระบบใหม่ โดยเปรียบเทียบอัตราการไหลเวียน ของการส่งรายงาน ทั้งด้านเวลา ทรัพยากร ปริมาณและความถี่ของ ปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงท�ำการประเมินระยะเวลาคุ้มทุนในการลงทุน ระบบการส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ในการศึกษาเปรียบเทียบปริมาณ และความถีข่ องปัญหานัน้ ได้ศกึ ษาโดยใช้แบบสอบถามเพือ่ เก็บข้อมูล จากพนักงานฝ่ายปฏิบตั กิ ารของบริษทั ผูใ้ ช้บริการ จ�ำนวน 36 คน และ ท�ำการประเมินผลด้วยวิธีร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า ระบบการแลก เปลีย่ นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ สามารถลดขัน้ ตอนการท�ำงานจากเดิม ลงได้ประมาณ 85 เปอร์เซ็นต์ ส่งข้อมูลรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นย� ำ ประหยัดพลังงานทัง้ กระดาษและก�ำลังพลทีใ่ ช้ในการท�ำงาน ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพให้กับบริษัท และสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง องค์กรที่เกี่ยวข้อง มีความคุ้มในการลงทุน โดยมีระยะเวลาคุ้มทุน 1.4 ปี
การวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ (Enterprise Resource Planning : ERP)
เป็นโปรแกรมที่รองรับข้อมูลการท�ำงานประจ�ำวัน (transaction) เช่น การขายในแต่ละครัง้ น�ำข้อมูลเชือ่ มโยงกับรายการของฝ่าย บัญชี เพื่อบันทึกลงสมุดประจ�ำวัน สร้างเอกสารเพื่อรอตัดสินค้าออก จากคลังสินค้า สร้างค�ำสั่งการผลิตในกรณีที่ไม่มีสินค้าในคลังสินค้า สร้างค�ำสัง่ ซือ้ วัตถุดบิ ในกรณีทไี่ ม่มวี ตั ถุดบิ ในคลังสินค้า ทัง้ นีเ้ อกสาร จะเชือ่ มโยงโดยการตัง้ ค่าการท�ำงานต่าง ๆ เช่น ผังบัญชี การเชือ่ มโยง บัญชีลกู ค้า สูตรการผลิต ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการผลิต ดังนัน้ การวางแผน ทรัพยากรวิสาหกิจจึงเป็นเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการจัดการและวางแผนการ ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ขององค์กรวิสาหกิจ โดยเป็นระบบทีเ่ ชือ่ มโยงระบบ งานต่าง ๆ ขององค์กรวิสาหกิจเข้าด้วยกัน ตั้งแต่ระบบงานทางด้าน การจัดซือ้ -จัดจ้าง การผลิต การเงินและการบัญชี การบริหารทรัพยากร บุคคล การบริหารสินค้าคงคลัง ตลอดจนระบบการขนส่งและกระจาย สินค้า เพื่อช่วยให้การวางแผนและบริหารทรัพยากรขององค์กร วิสาหกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งยังช่วยลดเวลาและขั้นตอน การท�ำงานขององค์กรวิสาหกิจลง และเป็นระบบที่จ�ำเป็นส�ำหรับ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกขนาดในปัจจุบัน แต่เนื่องจากใน ปัจจุบันซอฟต์แวร์ ERP ส�ำเร็จรูป (ERP package) ยังมีราคาที่ค่อน ข้างสูง ประกอบกับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) มีข้อ จ�ำกัดในด้านเงินลงทุน และเนื่องจากได้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้ เป็นรหัสเปิดมากยิ่งขึ้นกว่าในอดีต ดังนั้นจึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ >>>38
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จะต้องมีการประยุกต์ใช้ ERP ที่ เป็นแบบซอฟต์แวร์รหัสเปิด (Opens Source Software : OSS) ข้อดีของซอฟต์แวร์รหัสเปิด (Open Source Software : OSS) ที่ส�ำคัญมีดังต่อไปนี้ 1. ผู้ใช้งานสามารถลดค่าใช้จ่าย เนื่องจากผู้ใช้งานไม่ต้อง ลงทุ น จั ด ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แต่ จ ะลงทุ น จ่ า ยเฉพาะค่ า ฝึ ก อบรม ค่ า สนับสนุน และในส่วนของผูข้ ายโซลูชนั่ พบว่า ขายง่ายขึน้ แต่สว่ นต่าง (ก�ำไร) เท่าเดิม 2. ส่งเสริมการเรียนรู้ กล่าวคือ สามารถเรียนรู้เทคนิคการ เขียนโปรแกรมจากรหัสต้นฉบับ (source code) ท�ำให้ติดตาม เทคโนโลยีการพัฒนาเป็นระยะ และค้นหาแนวทางในการพัฒนา ต่อยอด 3. ลดการละเมิดลิขสิทธิ์ เนือ่ งจากผูใ้ ช้มสี ทิ ธิใ์ ช้งาน แจกจ่าย แก้ไข และขายได้อย่างอิสระ 4. ช่วยให้กลุ่มอุตสาหกรรมแต่ละประเภท สามารถน�ำ ซอฟต์แวร์ ERP ไปท�ำให้เหมาะสม (customize) โดยการแก้ไข ปรับปรุง หรือจ้างพัฒนาโปรแกรมได้เอง ตามความต้องการเพือ่ ให้เข้า กับระบบการท�ำงานในแต่ละประเภทอุตสาหกรรม 5. Open Design คือ มีอิสระทางด้าน Hardware เพราะ สามารถใช้งานได้กับเครื่องฮาร์ดแวร์หลายประเภท และมีอิสระทาง ด้าน Software เพราะสามารถใช้งานร่วมกับระบบซอฟต์แวร์ตัวอื่น ๆ ได้ 6. ท�ำให้เกิดการแข่งขันระหว่างผูพ้ ฒ ั นาและการเติบโตของ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ เนื่องจากผู้พัฒนาโปรแกรมสามารถแลก เปลีย่ นความรู้ ในการแก้ไขจุดบกพร่อง และพัฒนาโปรแกรม เป็นการ ลดภาวะการผูกขาด ส่งผลให้อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์เจริญเติบโต ข้อจ�ำกัดของซอฟต์แวร์รหัสเปิด (Open Source Software : OSS) ที่ส�ำคัญมีดังต่อไปนี้ 1. โปรแกรมหลายชนิดยังมีคณ ุ ภาพไม่ดเี ท่า Proprietary แต่ โปรแกรมบางชนิดก็มีคุณภาพมากกว่า Proprietary 2. ต้ อ งเรี ย นรู ้ ก ารใช้ ง านโปรแกรมใหม่ เนื่ อ งจากเป็ น ซอฟต์แวร์รหัสเปิดที่อนุญาตให้แก้ไขรหัสต้นฉบับได้อย่างเสรี จึง
&
Management ต้องเรียนรู้การใช้งานโปรแกรมเพื่อท�ำให้เหมาะสม (customize) กับ รูปแบบการด�ำเนินกระบวนการทางธุรกิจของวิสาหกิจ 3. เอกสารและผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนาโปรแกรมรหัสเปิด ยังมีจ�ำนวนจ�ำกัด เพราะเป็นการรวมกลุ่มกันของบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการพัฒนาโปรแกรม สนั่น เถาชารี (2552) ได้ปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการ กระบวนการทางธุรกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยใช้ ระบบ ERP ของโรงงานผลิตขนมปังและเบเกอรี่ โดยโปรแกรมที่จะ ประยุกต์ใช้กับบริษัทเป็น Open Source ชื่อ Tiny ERP ที่ครอบคลุม การท�ำงาน 4 แผนกหลัก ซึ่งผลจากการประยุกต์ใช้พบว่า ดัชนีวัด ประสิทธิภาพการจัดการกระบวนการทางธุรกิจในแผนกขาย คือ อัตรา รับคืนสินค้าจากลูกค้ามีค่าไม่ลดลง เนื่องจากพนักงานขายยังคงยึด ติดอยู่กับค�ำสั่งซื้อจากลูกค้าในปัจจุบัน และประมาณการเบิกโดยใช้ ประสบการณ์เป็นหลัก ดัชนีวัดประสิทธิภาพการจัดการกระบวนการ ทางธุรกิจในแผนกผลิต คือ Production Order Fulfillment Lead Time ลดลง 1.23 ชั่วโมง เนื่องจากโปรแกรม Tiny ERP จะรายงาน เวลาที่จ�ำเป็นต้องใช้ในแต่ละสถานีงาน ท�ำให้หัวหน้าแผนกผลิต สามารถวางแผน จัดสรรก�ำลังคน และจ�ำนวนเครื่องจักรที่ต้องใช้ต่อ สถานีงานได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนสามารถจัดล�ำดับการผลิต เพือ่ ไม่ให้เกิดคอขวด (bottleneck) และเวลาสูญเปล่า (idle time) ใน กระบวนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดัชนีวัดประสิทธิภาพการ จัดการกระบวนการทางธุรกิจในแผนกจัดซื้อ คือ อัตราความรวดเร็ว ในการจัดซื้อมีค่าไม่ลดลง เนื่องจากหัวหน้าแผนกจัดซื้อใช้ประสบการณ์ในการออก ค�ำสั่งซื้อเป็นหลัก กล่าวคือ จะออกค�ำสั่งซื้อ เมื่อคาดว่าวัตถุดิบมี ปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ผลิตในอนาคต โดยอาศัย ข้ อ มู ล จ� ำ นวนวั ต ถุ ดิ บ คงเหลื อ ดั ช นี วั ด ประสิ ท ธิ ภ าพการจั ด การ กระบวนการทางธุรกิจในแผนกคลังสินค้า คือ อัตราสินค้าคงเหลือมี ค่าไม่ลดลง เนื่องจากโรงงานมีนโยบายที่จะต้องส�ำรองสินค้าไว้ใน ปริมาณหนึง่ เพือ่ รองรับกับค�ำสัง่ ซือ้ ของลูกค้าทีม่ าสัง่ ซือ้ สินค้าภายใน โรงงาน ซึ่งเมื่อวิเคราะห์ต้นทุนจะพบว่า ต้นทุนแรงงานทางตรงลดลง 27,720 บาท/เดือน ต้นทุนแรงงานทางอ้อมลดลง 14,430 บาท/เดือน และต้นทุนโสหุ้ยการผลิตอื่น ๆ ลดลง 42,722 บาท/เดือน คิดเป็นค่า ใช้จ่ายเนื่องจากความล่าช้า และความผิดพลาดที่ลดลงต่อยอดขาย 3.56 เปอร์เซ็นต์ เป็นเงินจ�ำนวน 84,872 บาท/เดือน หรือ 1,018,464 บาท/ปี แต่ตอ้ งลงทุนเป็นค่าใช้จา่ ยครัง้ เดียว เพือ่ เป็นค่าใช้จา่ ยในการ ได้มาของระบบเป็นเงินจ�ำนวน 3,270,084 บาท ลงทุนเป็นค่าใช้จ่าย รายปี เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแลระบบสารสนเทศเป็นเงินจ�ำนวน 520,150 บาท/ปี และจากการเปรียบเทียบผลเชิงเศรษฐศาสตร์พบว่า การติดตั้งประยุกต์ใช้ Open Source Tiny ERP ที่มีระยะเวลาของ โครงการ 10 ปี จะมีระยะเวลาคืนทุน (PB) ประมาณ 6.56 ปี และมี ผลตอบแทนของโครงการ (IRR) เท่ากับ 8.40 เปอร์เซ็นต์
ระบบการจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management System : WMS)
ปัจจุบันการบริหารคลังสินค้าจ�ำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีในการ ปฏิบตั งิ าน เนือ่ งจากงานมีปริมาณและความซับซ้อนทีม่ ากขึน้ โดยได้ มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ขึ้นมาเรียกว่า ระบบการจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management System : WMS) ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อ ช่วยให้การปฏิบัติงานภายในคลังสินค้าและการบริหารสต็อกให้เป็น ไปโดยอัตโนมัติ มีความถูกต้อง รวดเร็วและแม่นย�ำมากขึ้น สามารถ ด�ำเนินการผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ โดยไม่จ�ำเป็นต้องอาศัยงานที่ใช้ กระดาษ (paperless) ระบบการจัดการคลังสินค้า มีความสามารถที่ จะช่วยแก้ไขปัญหาโลจิสติกส์ ดังต่อไปนี้ 1. การรับสินค้า (receiving) ระบบสามารถจองพืน้ ทีว่ า่ งหรือ จองพืน้ ทีไ่ ว้ลว่ งหน้า เพือ่ ช่วยในการวางแผนการจัดวางในคลัง สินค้า ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การรับสินค้าโดยไม่มกี ารวางแผนการจัดเก็บ จะมีผลท�ำให้ต้นทุนของกิจการมากขึ้น เพราะต้องเสียเวลาในการ ค้นหาสินค้านั้น ๆ 2. การจัดเก็บ (put away) ระบบสามารถแนะน�ำต�ำแหน่ง ที่เหมาะสมในการจัดเก็บ และมีการยืนยันต�ำแหน่งที่จัดเก็บได้อย่าง ถูกต้อง โปรแกรม WMS ในส่วนของการจัดเก็บ สามารถท�ำงานร่วม กับ ERP และบาร์โค้ดสแกนเนอร์ เพื่อท�ำให้ทราบต�ำแหน่งที่แม่นย�ำ และชัดเจน 3. การหยิบสินค้า (picking) ระบบจะช่วยหาต�ำแหน่งของ สินค้าที่มีการจัดเก็บไว้ได้อย่างง่าย ท�ำให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถหยิบ สินค้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
ระบบการจัดการขนส่ง (Transportation Management System : TMS)
ปัจจุบันระบบการจัดการขนส่งนิยมใช้ซอฟต์แวร์ที่พัฒนา โดยมีการใช้งานผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต และ เอ็กซ์ทราเน็ต ซึ่งซอฟต์แวร์ TMS มีระบบย่อยที่ส�ำคัญ ประกอบด้วย 1. การจัดการขนส่ง มีงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การวางแผน บรรทุก การเลือกวิธีการขนส่ง การจัดซื้อในงานขนส่ง การจัดการ เส้นทางการขนส่ง การควบคุมการขนส่ง การติดตามการจัดส่ง การจัดท�ำรายงานและปรับตามความต้องการของลูกค้า 2. การจัดการยานพาหนะ มีงานทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น การบริหาร ยานพาหนะ การจัดการเช่ายานพาหนะ การจัดการน�้ำมันเชื้อเพลิง การจัดการอุบัติเหตุ การจัดการบุคคล การซ่อมบ�ำรุงภายใน การ จัดการอะไหล่ และการจัดการเรียกเก็บเงิน 3. การจัดการผู้รับขน มีงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การวางแผน ขนส่ง/เวลาในการบรรทุก การจัดตารางการขนส่ง การสรรหา พนักงาน ขับรถ การก�ำหนดชัว่ โมงพนักงานขับรถ การบ�ำรุงรักษายานยนต์และ การสนับสนุนการขนส่งสินค้าขากลับ December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
39 <<<
&
Management 4. การออกแบบเครือข่ายมีงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การเลือก ท�ำเลที่ตั้ง การกระจายสินค้าในระดับดีที่สุด การวางแผนก�ำลังการ ผลิต การให้บริการคลังสินค้าแต่ละพืน้ ทีใ่ ห้ดที สี่ ดุ และการประเมินผล กลยุทธ์โลจิสติกส์
บทสรุป
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทส�ำคัญ ใน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ประกอบการ ในการบริหารงานของ องค์กรธุรกิจ ส่งผลให้ความสามารถในการสื่อสาร ควบคุม ตลอดจน การประมวลผลเพือ่ ตัดสินใจเป็นไปอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ซึง่ เทคโนโลยี ที่นิยมน�ำมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ภายใน องค์กรธุรกิจให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพทีส่ ำ� คัญ คือ เทคโนโลยีทาง โลจิสติกส์ ซึ่งประกอบด้วย GPS (Global Positioning System) เป็น ระบบทีใ่ ช้ในการบอกต�ำแหน่งของสิง่ ต่าง ๆ บนโลกนี้ โดยระบบ GPS จะใช้เทคโนโลยีของดาวเทียมทีจ่ ะเป็นเครือ่ งมือในการพิจารณาหาจุด พิกัดบนโลกนี้ โดยใช้พิกัดตัวเลขของละติจูดและลองติจูด ท� ำให้ ทราบถึงต�ำแหน่งทีแ่ ท้จริงของสิง่ นัน้ ๆ ถูกน�ำมาใช้ในเชิงการค้าในการ ติดตาม ตรวจสอบการเดินทางขนส่งสินค้าของรถบรรทุกสินค้าอย่าง มีประสิทธิภาพ Barcode เป็นเทคโนโลยีในการตรวจสอบสินค้าขณะ ขาย การตรวจสอบยอดการขาย การตรวจสอบยอดขาย และสินค้า คงคลัง RFID (Radio Frequency Identification) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ ในการระบุสิ่งต่าง ๆ แบบไม่ต้องสัมผัสโดยใช้คลื่นความถี่วิทยุ EDI (Electronic Data Interchange) เป็นการใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ในการ รับ-ส่งเอกสารธุรกิจระหว่างหน่วยงานตั้งแต่ 2 หน่วยงานขึ้นไป ที่มี มาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับร่วมกัน โดยผ่านเครือข่ายสื่อสาร การ วางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ (Enterprise Resource Planning : ERP) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการและวางแผนการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ขององค์กรวิสาหกิจ โดยเป็นระบบที่เชื่อมโยงระบบงานต่าง ๆ ของ องค์กรวิสาหกิจเข้าด้วยกัน ระบบการจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management System : WMS) เป็นซอฟต์แวร์เพื่อช่วยให้การปฏิบัติ งานภายในคลังสินค้าและการบริหารสต็อกให้เป็นโดยอัตโนมัตมิ คี วาม ถูกต้อง รวดเร็ว และแม่นย�ำมากขึ้น และระบบการจัดการขนส่ง (Transportation Management System :TMS) ซอฟต์แวร์ เพื่อช่วย ในการจัดการขนส่ง จัดการยานพาหนะ จัดการผูร้ บั ขน และออกแบบ
>>>40
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
เครือข่าย ซึ่งจะท�ำให้องค์กรธุรกิจที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี โลจิสติกส์ มีประสิทธิภาพในการจัดการโลจิสติกส์ มีศักยภาพในการ แข่งขันในกระแสโลกาภิวัตน์ได้เป็นอย่างดียิ่ง เอกสารอ้างอิง 1. http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/ oct_dec_11/pdf/aw02.pdf 2. http://www.logisticscorner.com/index.php?option=com_ content&view=article&id=1785:-gps-gps&catid=45:any-talk&Itemid=56 3. http://riverplusblog.com/2011/06/07/barcode-%E0%B8%84 %E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84 %E0%B8%A3/ 4. http://www.barcode-produce.com/index.php?lay=show&ac =article&Id=539352178 5. http://www.ecti-thailand.org/emagazine/views/60 6. http://logisticsrmuttochan.blogspot.com/2011/08/edi.html 7. https://www.blogger.com/profile/15310147878392969862 8. https://www.youtube.com/results?search_query 9. http://www.tpa.or.th/writer/author_des.php?passTo=62e910 fa5312fa86d74d4f9a500c4a5a&authorID=1766 10. สนั่น เถาชารี. การปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการกระบวนการ ทางธุรกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมโดยใช้ระบบ ERP : กรณีศกึ ษา โรงงานผลิตขนมปังและเบเกอรี่. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหา บัณฑิต: มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2552. 11. เศรษฐศักดิ์ เลิศประเสริฐเวช. ระบบ GPS ทีม่ ผี ลต่อประสิทธิภาพ การจัดการในธุรกิจขนส่ง. การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต: วิทยาลัย นวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548. 12. สรไกร ปัญญาสาครชัย. ผลส�ำเร็จในการน�ำเทคโนโลยี GPS มา ประยุกต์ใช้ในการเพิม่ คุณภาพการบริการขนส่งสินค้าและบริการทางถนน. การ ค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารเทคโนโลยี: วิทยาลัย นวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2552 13. วิโชติ สัมพันธรัตน์. ประสิทธิภาพของการรายงานการบรรทุก ขนถ่าย และการรายงานการรับมอบส่งมอบตู้สินค้าด้วยระบบการส่งเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ ของ บริษัท ที ไอ พี เอส จ�ำกัด ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าบี 4. งาน นิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการขนส่งและโลจิ สติกส์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2548. 14. สุมาลี บัวขาว. การใช้รหัสแท่งในการบริหารสินค้าคงคลังของ อุตสาหกรรมอาหารและเครือ่ งดืม่ . การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2548. 15. สุวาริน พรรคเจริญ. การศึกษาความเป็นไปได้ในการน�ำเทคโนโลยี บ่งชีว้ ตั ถุดว้ ยคลืน่ ความถีว่ ทิ ยุ มาใช้ในการบริหารรถยนต์ภายในลานจอด. งาน นิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการขนส่งและ โลจิสติกส์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2550.
&
Production
การปั๊มชิ้นงานเที่ยงตรงจิ๋ว 1 ระดับไมครอน (precision micro stamping) ตอนที่
การปั๊ม
ชิ้ น งานเที่ ย งตรงจิ๋ ว ระดั บ ไมครอน หรื อ การปั ๊ ม ตั ด เฉือน-ขึ้นรูปชิ้นงานเที่ยงตรงจิ๋ว ซึ่งมีขนาดต่าง ๆ ที่ ละเอียดในระดับหน่วยไมโครเมตร (1 ไมโครเมตร หรือ 1 ไมครอน เท่ากับ 0.001 มิลลิเมตร) นี้ ได้มีการคิดค้นพัฒนาขึ้นมา เนื่องจากมีความต้องการในการผลิต ในระบบเครื่องกลไฟฟ้าจุลภาค (Micro-Electro-Mechanical Systems: MEMS) และเซนเซอร์เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ภาพที่ 1 ชิ้นงานที่ได้จากกระบวนการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปเที่ยงตรงจิ๋ว
ด้วย
เหตุทกี่ ล่าวมานี้ ถือเป็นสิง่ ท้าทายใหม่ในการออกแบบ และผลิตชิ้นส่วนประกอบโดยยังคงให้หน้าที่ได้อย่าง สมบูรณ์แบบไปพร้อมกันด้วย ซึ่งชิ้นงานจิ๋วและจิ๋วย่อส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ ก็จะมีผลต่อลักษณะหน้าตาทีเ่ ป็นจุดเด่นของขนาดจิว๋ และจิว๋ ย่อส่วน นี้ตามไปด้วย ยิ่งชิ้นงานมีขนาดเล็กย่อส่วนหรือขนาดจิ๋วมากเพียงใด ก็ยิ่งต้องการความเข้มงวดของค่าพิกัดความเผื่อมากขึ้นเท่านั้น แต่ หากมองในแง่ดีแล้ว การปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปเที่ยงตรงจะเป็นทางออก ส�ำหรับการผลิตชิ้นส่วนประกอบจิ๋วต่าง ๆ ซึ่งในความเป็นจริงนั้น สามารถที่จะด�ำเนินการย่อส่วนให้เล็กลง ซับซ้อน และเกิดประโยชน์ กับการปัม๊ ตัดเฉือน-ขึ้นรูปโลหะเทีย่ งตรงทีเ่ ป็นหนึง่ เดียวเฉพาะต่อไป อีกได้ โดยทุกวิถที างล้วนมุง่ ไปสูค่ วามเทีย่ งตรงระดับหน่วยไมโครเมตร เทคโนโลยีการย่อส่วนช่วยให้ผลิตภัณฑ์หดตัวเล็กลงได้ เป็น สิ่งที่ท้าทายต่อมาตรฐานการผลิตชิ้นงานโลหะจิ๋ว และชิ้นงานโลหะ จิ๋วย่อส่วนต่าง ๆ ซึ่งมีความซับซ้อนเฉพาะพร้อมกับค่าพิกัดความเผื่อ
อำ�นาจ แก้วสามัคคี
เข้มงวดสูงอีกด้วย ดังนั้นผู้ผลิตชิ้นส่วน-อุปกรณ์ด้านการแพทย์ และ ด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่พิถีพิถันทั้งหลาย จะต้องมีความแน่วแน่ในการ พัฒนาการย่อส่วนลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์ที่เป็นหนึ่งเดียวใน เชิงรุก ซึ่งถือเป็นเรื่องที่ท้าทายต่อกรรมวิธีที่ดีที่สุดในงานโลหะแบบที่ มีอยู่ดั้งเดิม ด้วยขนาดที่ลดลงแต่มีความซับซ้อนเพิ่มมากยิ่งขึ้น จะมีวิธี การท�ำงานใดที่ดีที่สุดที่จะท�ำให้บรรลุสู่ความเที่ยงตรงในหน่วยวัด ระดับเศษส่วนพันของมิลลิเมตรได้บา้ ง? การปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปโลหะ นัน้ จะขึน้ อยูก่ บั ความยากของภาระงาน หากแต่วา่ ความวิกฤตของงาน ที่แตกต่างกันนั้นก็จะสัมพันธ์กับความช�ำนาญเฉพาะในการปั๊มตัด เฉือน-ขึ้นรูปเที่ยงตรงจิ๋ว ซึ่งได้สะสมนับจากความรู้เดิมที่สืบทอดกัน มาจนกระทั่งมีชื่อเสียงในชิ้นงานที่ไม่ซับซ้อน รูปร่างเรียบ และเที่ยง ตรงตามมาตรฐานมาก่อนมากที่สุดเท่าที่จะท�ำให้เป็นไปได้ในด้าน วิศวกรรมแม่พมิ พ์ และงานปัม๊ ระดับชัน้ เลิศ ในทุกวันนีไ้ ม่ใช่เรือ่ งทีเ่ ป็น เพียงแต่ในจินตนาการเท่านั้น เนื่องจากในระยะเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา นี้ ผู้ส่งมอบหรือซัพพลายเออร์ที่มีความเชี่ยวชาญในงานปั๊มได้ทุ่มเท อุทิศตนเพื่อปรับให้ได้การผลิตชิ้นงานจิ๋วที่ประณีตจนน�ำไปสู่ความ เชีย่ วชาญ ประสบความส�ำเร็จ และหาทางออกส�ำหรับการผลิตชิน้ งาน นี้ได้ในระดับหน่วยไมโครเมตร (ไมครอน) ด้วยลักษณะเฉพาะขั้นสูง ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ มีค่าพิกัดความเผื่อที่น้อยกว่าความบางของ แผ่นกระดาษ และใช้วัสดุชนิดพิเศษที่บางเฉียบได้อีกด้วย
ภาพที่ 2 ชิน้ งานจิว๋ เมือ่ เทียบกับปลายนิว้ ของมนุษย์ และทีบ่ รรจุในขวด ซึง่ ได้จากกระบวนการ ปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปวัสดุ เพื่อน�ำไปใช้ในการประกอบ และผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ขนาด เล็กย่อส่วน
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
41 <<<
&
Production ในบางกรณีจะสามารถมองเห็นชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป เทีย่ งตรงจิว๋ ได้ชดั เจนก็ตอ่ เมือ่ อยูภ่ ายใต้กำ� ลังการขยายภาพสูงเท่านัน้ เพราะว่าชิน้ งานจิว๋ ย่อส่วนจ�ำนวนมากถึง 5,000 ชิน้ สามารถบรรจุเอา ไว้ดว้ ยกันได้ภายในครึง่ ขวดของขวดยาตามใบสัง่ แพทย์เท่านัน้ ซึง่ จะ สามารถเทออกมาได้ราวกับทรายทีม่ เี ม็ดละเอียดหรือฝุน่ ผงทอง และ เป็นเกล็ดทองค�ำขาวขนาดเล็ก ๆ ในกรณีที่เป็นชิ้นงานโลหะล�้ำค่า ต่างๆ แต่อย่างไรก็ตาม การปั๊มชิ้นงานจิ๋วก็ไม่ได้เหมือนกันไป ทั้งหมด ดังนั้นต้องพิจารณาว่าคุณลักษณะต่าง ๆ ที่ส�ำคัญของ ซัพพลายเออร์นนั้ ๆ คืออะไรบ้าง ซึง่ จะช่วยท�ำให้สามารถบอกล่วงหน้า ถึงความสามารถในการสร้างแม่พิมพ์ และผลิตชิ้นงานที่เที่ยงตรง ซับซ้อนตามรายละเอียดทีก่ ำ� หนดให้ได้ในระดับหน่วยมิลลิเมตร และ หรือในระดับไมครอนของผูผ้ ลิตรายนัน้ ๆ ได้ ส�ำหรับปัจจัยส�ำคัญทัง้ 6 ที่ช่วยท�ำให้ประสบความส�ำเร็จสู่ระดับที่มี “การปฏิบัติที่เยี่ยมที่สุด” (best practices) ส�ำหรับการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปชิ้นส่วนประกอบ เที่ยงตรงจิ๋วที่ซับซ้อนได้ จะได้กล่าวถึงดังต่อไปนี้
จุลภาคหรือขนาดจิ๋วคืออะไร (What is micro?)
ตัวอย่างเทคโนโลยีสนับสนุนที่ส�ำคัญส�ำหรับการผลิตงาน ขนาดจิ๋ว ซึ่งลูกค้าได้ท�ำการปรับให้เข้ากันกับการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป เที่ยงตรง อันเป็นที่มาของค�ำจ�ำกัดความของ “ขนาดจิ๋ว” และ “ความ ซับซ้อน” อย่างจริงจัง นั่นก็คือ ศูนย์การตัดเฉือนโดยกระบวนการสปาร์ก ทางไฟฟ้าด้วยเส้นลวด (wire-electrical discharge machining) ด้วย เครื่องของ “AgieCharmilles” ซึ่งผลิตขึ้นโดยประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หรือสมาพันธรัฐสวิส (Swiss Made) ที่มีอยู่ภายในบริษัท “Top Tool” โดยหนึ่งในสี่ของระบบดังกล่าวที่เป็นแบบออนไลน์ในสหรัฐอเมริกา คือ การตัดเซาะโลหะด้วยการไวร์คัตในงานเที่ยงตรงจิ๋ว ซึ่งปัจจุบันนี้ จะสามารถใช้ เ ส้ น ลวดขนาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางขนาดเล็ ก เพี ย ง ประมาณ 0.020 มิลลิเมตร หรือ 20 ไมครอนเท่านั้น ทั้ง ๆ ที่ในงาน ผลิตแม่พิมพ์เที่ยงตรงปัจจุบันจะใช้ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลวดโต มากกว่าเป็น 10 ถึง 15 เท่า กล่าวคือ มีขนาด 0.2 ถึง 0.3 มิลลิเมตร จึงท�ำให้สามารถสร้างแม่พิมพ์ที่มีชิ้นส่วนซึ่งมีรัศมีขนาดเล็กเพียง 0.018 มิลลิเมตร รวมเข้าอยู่ด้วยกันได้ ปัจจัยส�ำคัญทีม่ าบรรจบเข้าด้วยกันในงานปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูป นี้ ได้แก่ 1. การนิยามหรือให้ความหมายในเชิงรุกของค�ำว่า ขนาดจิว๋ และความซับซ้อน 2. ความรู้ความช�ำนาญในโลหะล�้ำค่า และวัสดุพิเศษชนิด ต่าง ๆ 3. ความเป็นผู้น�ำในแม่พิมพ์ระดับคุณภาพชั้นเลิศ >>>42
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
พื้นฐาน
4. การใช้เทคนิค และยุทธวิธีต่าง ๆ ที่ก้าวหน้าขั้นสูง 5. ความเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญ และปรับแก้อย่างประณีตในระบบ
6. การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานหรือเครือข่ายโลจิสติกส์ ที่มีพลวัตเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
ปัจจัยส�ำคัญอันดับที่ 1 การนิยามหรือให้ความหมายในเชิง รุกของค�ำว่า ขนาดจิ๋ว และความซับซ้อน (aggressive definitions of micro and complex) จุลภาคหรือขนาดจิ๋วคืออะไร? เดิมยังไม่มีนิยามหรือความ หมายที่เห็นเป็นอย่างเดียวกันส�ำหรับค�ำว่าจุลภาคหรือขนาดจิ๋วนี้อยู่ และจากผลการส�ำรวจโดยวารสาร “MICRO Manufacturing” ในปี พ.ศ.2553 ได้เสนอนิยามที่ได้จากผู้ที่ได้ท�ำการตอบค�ำถามทั้งหลาย ว่า “จุลภาคหรือขนาดจิว๋ ” ก็คอื ขนาดทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ทีเ่ หมาะส�ำหรับผูผ้ ลิต ชิน้ งานปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปเฉพาะ ซึง่ มีความมัน่ ใจว่า สามารถควบคุม ชิ้นงานหรือลักษณะเฉพาะของชิ้นงานเอาไว้ได้ โดยผู้ผลิตชิ้นงานปั๊ม ตัดเฉือน-ขึ้นรูปขนาดจิ๋วที่เชี่ยวชาญ ซึ่งมีความเข้มงวดที่สุด ได้ให้ นิยามเชิงรุกว่า คือ ชิ้นงานที่มีขนาดเท่ากับ 2 มิลลิเมตรหรือน้อยกว่า และเล็กไปจนถึง 0.1 มิลลิเมตร แต่ถึงกระนั้นก็ยังมีผู้ผลิตชิ้นงานปั๊ม ตัดเฉือน-ขึน้ รูปทีแ่ ทบจะไม่ประสบผลส�ำเร็จในด้านนีเ้ ลย ได้พยายาม ล็อบบีห้ รือพูดจาหว่านล้อมให้เรียกชิน้ งานทีม่ ขี นาดโตถึง 8 มิลลิเมตร ว่า เป็นชิ้นงานจิ๋วไปด้วย ซึ่งจากผลการส�ำรวจสรุปได้ว่า 50 เปอร์เซ็นต์นั้น ตอบว่าได้ ประกอบการเกี่ยวกับการผลิตชิ้นงานจิ๋วอยู่แล้ว อีก 20 เปอร์เซ็นต์ ก็คาดว่าจะสามารถเข้าไปสู่การผลิตระดับจุลภาคหรือขนาดจิ๋วได้ ในอนาคตอั น ใกล้ ทั้ ง นี้ ค วามถู ก ต้ อ งของค� ำ ตอบก็ ขึ้ น อยู ่ กั บ ว่ า ซัพพลายเออร์แต่ละรายจะให้นิยามของจุลภาคหรือขนาดจิ๋วอย่างไร และจากผลการส�ำรวจพบว่า 34 เปอร์เซ็นต์ คาดว่าจะใช้เครื่องมือ ตัดเฉือน (cutting tool) ที่มีขนาดเล็กกว่า หรือเท่ากับ 0.1 มิลลิเมตร ให้ได้ภายในปี พ.ศ.2558 นี้ และในระหว่างช่วงเวลาดังกล่าวก็
&
Production คาดว่ากลุ่มที่แตกต่างกันนี้ 20 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งมีผู้ผลิตที่ท�ำงานปั๊ม ตัดเฉือน-ขึ้นรูปชิ้นงานโลหะขนาดจิ๋วรวมอยู่ด้วยนั้น ก็คงสามารถ เข้าไปสู่การผลิตชิ้นส่วนประกอบจิ๋วได้เป็นส่วนใหญ่ หากพิจารณา ถึงว่าผู้ผลิตชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปที่ใช้เส้นลวดขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 0.02 มิลลิเมตร ท�ำการตัดเฉือนโดยกระบวนการสปาร์ก ทางไฟฟ้าด้วยเส้นลวดหรือการไวร์คัต (Wire EDM) ส�ำหรับการสร้าง แม่พิมพ์ที่ท�ำจากชิ้นส่วนต่าง ๆ ที่มีขนาดรัศมีเล็กเพียงประมาณ 0.018 มิลลิเมตร มาประกอบรวมเข้าไว้ด้วยกันได้ ความซับซ้อนคืออะไร? การรับรูท้ ลี่ า้ สมัย และมีความประทับใจอยู่แต่เพียงรูปทรง-รูปร่างของชิ้นงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปที่เป็น “โครงร่างแบนเรียบ” เท่านั้น ก็จะท�ำให้ลดความเป็นไปได้ของการปั๊ม ตัดเฉือน-ขึ้นรูปโลหะที่มีคุณลักษณะ และรูปทรงเรขาคณิตที่ซับซ้อน ลงไปโดยอัตโนมัติ ในท�ำนองเดียวกัน ถ้าหากว่าท�ำงานปั๊มตัดเฉือนขึน้ รูปทีม่ กี ารจัดการในลักษณะผ่อนคลายหรือไม่เข้มงวดแล้ว ก็คงจะ ไม่เห็นภาพของการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปขนาดจิ๋วที่มีความแม่นย�ำ ชั้นเลิศเกิดขึ้นได้ ในงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปจิ๋วชั้นเลิศทุกวันนี้ ช่วยท�ำให้ต้นทุน ลดลงได้ ยกตัวอย่างในอดีต คือ มีการทดแทนชิ้นงานที่มีต้นทุน 3 ดอลลาร์ ด้วยชิน้ งานทีไ่ ด้จากการปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปเทีย่ งตรงทีซ่ บั ซ้อน ซึ่งมีต้นทุนการผลิตเพียง 25 เซนต์ต่อชิ้นเท่านั้น ส�ำหรับตัวอย่างของ งานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปที่มีความซับซ้อนนั้น หมายรวมถึงสิ่งต่อไปนี้ ด้วย ➲ อัตราส่วนรูปร่างการตัด และเจาะ (cut and hole aspect ratios) น้อยกว่า 1 ต่อ 1 (อัตราส่วนรูปร่างเป็นอัตราส่วนของความ ยาวหรือความลึกในการตัดหรือเจาะ ซึง่ ในทีน่ ี้ คือ ความหนาแผ่นวัสดุ ชิ้นงาน กับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของรูที่ตัด หรือเจาะในแผ่น วัสดุนั้น) ➲ ค่าพิกัดความเผื่อน้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.01 มิลลิเมตร (10 ไมครอน) ➲ แผ่ น วั ส ดุ ที่ มี ค วามบางเฉี ย บขนาด 0.013 มิ ล ลิ เ มตร (13 ไมครอน) ➲ รูปทรงจากการขึ้นรูปที่บอบบางทั้งส่วนที่ดัดขึ้นรูปหรือ รัศมีการขึ้นรูปนั้น ➲ รูปร่างที่หลากหลายรูปแบบมาก ➲ การดึงขึ้นรูป ➲ การปั๊มบีบอัดประทับตราหรือคอยน์นิ่งเที่ยงตรง ปัจจัยส�ำคัญอันดับที่ 2 ความรู้ความช�ำนาญในโลหะล�้ำค่า และวัสดุพิเศษชนิดต่าง ๆ (precious and exotic metals expertise) ประเภทของงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปทั้งหมดนั้น ค่อนข้าง กว้าง และมีอยู่อย่างมากมาย แต่จะมีจ�ำนวนที่ลดลงมากอย่างมี
นัยส�ำคัญเมื่อนับแต่เฉพาะซัพพลายเออร์ที่มีความเชี่ยวชาญในด้าน ชิ้นงานเที่ยงตรงจิ๋ว ซับซ้อน และชิ้นส่วนประกอบจิ๋วย่อส่วนที่มีขนาด น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 มิลลิเมตร ที่มีความเชี่ยวชาญในการเสาะหา วัสดุต่าง ๆ เหล่านี้ คือ แพลทินัม (Platinum) แพลทินัม อิริเดียม (Platinum Iridium) ทองค�ำ (Gold) ไนโอเบียม (Niobium) สเตนเลส หรือเหล็กกล้าไร้สนิม (Stainless Steel) ทองแดงเบริลเลียม (Beryllium Copper) ไทเทเนียม (Titanium) วัสดุเอ็มพี 35 เอ็น (MP35N) และนิทินอล (Nitinol) ชิ้นงานบาง ๆ ที่มีขนาดหน่วยเป็นมิลลิเมตรนั้น ก็ยังมีชิ้นงาน ย่อยลักษณะเฉพาะทีเ่ ล็กกว่าประกอบอยูภ่ ายในด้วย การปัม๊ ตัดเฉือนขึ้นรูปชิ้นงานเที่ยงตรงจิ๋ว ซับซ้อนจากโลหะล�้ำค่า และพิเศษซึ่ง มีความถี่ในการน�ำมาใช้มากที่สุดได้แก่ ทอง เงิน และแพลทินัม แต่ อย่างไรก็ดี ยังมีโลหะใหม่ ๆ ที่มีคุณสมบัติเป็นหนึ่งเดียวโดยเฉพาะ ที่คล้ายกันกับ Nitinol Titanium และ MP35N อยู่อีกด้วย โดยวัสดุ เหล่านี้สามารถที่จะท�ำการตัด ปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป และขึ้นรูปให้เป็น ชิ้นส่วนประกอบที่มีลักษณะซับซ้อนได้ เช่นเดียวกับอิเล็กโทรดที่เป็น ส่วนส�ำคัญในการปลูกถ่ายเครือ่ งกระตุน้ หัวใจแบบหดตัวต่อเนือ่ ง และ กระตุ้นประสาทเพื่อจัดการกับความเจ็บปวด
(อ่านต่อฉบับหน้า) แหล่งข้อมูลอ้างอิง
1. http://www.micromanufacturing.com 2. http://www.toptool.com 3. http://www.micro-co.com 4. http://heraeus-packaging-technology.com/ 5. http://www.memsnet.org December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
43 <<<
&
Production
การปรับปรุงคุณภาพ ด้วย
TA
(Task Achieving)
ปัจจุบัน
นี้กระแสของการควบคุมคุณภาพ หรือ QC เริ่มจะ ลดน้อยถอยลง บางองค์กรที่มีการจัดงานมหกรรม คุ ณ ภาพประจ� ำ ปี ติ ด ต่ อ กั น มานานหลายปี กลั บ ยกเลิ ก หรื อ ไม่ มี ก ารจั ด งาน มหกรรมคุณภาพกันแล้ว ท�ำให้การควบคุมคุณภาพไม่สามารถรักษามาตรฐาน ต่าง ๆ ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องได้ ส่งผลให้มีการตีกลับสินค้าหรือบริการที่ไม่มี คุณภาพ จนท�ำให้บริษัทต้องกลับมาแก้ไขงานใหม่ (rework) และท�ำให้เกิดต้นทุน ที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนยังท�ำให้การส่งมอบเกิดความล่าช้า และสร้างความไม่พึง พอใจให้กับลูกค้าอีกด้วย
ในขณะนีห้ ลาย ๆ รัฐวิสาหกิจพยายามจัดท�ำระบบการประเมิน ผลแบบ SEPA (State Enterprise Performance Appraisal) ซึ่ง ระบบนี้เป็นการบีบบังคับให้ทุกรัฐวิสาหกิจต้องจัดท�ำการประเมินผล สมรรถนะขององค์กร โดยใช้รูปแบบของ TQA (Thailand Quality Award) ซึ่งเป็นรูปแบบของ Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) โดยจะไม่ขอลงรายละเอียดนะครับ >>>44
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์
ที่ปรึกษางานคุณภาพและนักวิจัยแห่งชาติ
จริง ๆ แล้วคูม่ อื การจัดท�ำ TA (Kadai Tassei Jissen Manual) ได้ถูกแปลขึ้นโดยสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) เมื่อปี พ.ศ. 2548 ซึง่ ต่อมาได้มกี ารตีพมิ พ์เผยแพร่การใช้เครือ่ งมือต่าง ๆ ของ TA โดยจัดพิมพ์ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2553 และแปลเป็นภาษาอังกฤษ เมื่อปี พ.ศ.2554 ในหนังสือจะประกอบไปด้วยเนื้อหาต่าง ๆ อาทิ ภูมิหลัง ของ QC Story แบบ TA การปรับปรุงคุณภาพแบบ TA โดยมุ่งเน้น ปรับปรุงผลลัพธ์ของธุรกิจ และการน�ำ TA ไปใช้ให้เกิดประสิทธิผลได้ อย่างไร ในทีน่ จี้ ะขอพูดถึงความจ�ำเป็นในการปรับปรุง หรือไคเซ็น QC Story คืออะไร และความสัมพันธ์ระหว่าง QC Story กับขั้นตอนใน การแก้ไขปัญหาแบบ PS และขั้นตอนการแก้ไขปัญหาแบบอื่น ๆ ความจ�ำเป็นในการปรับปรุง (ไคเซ็น) เราจะพบว่า งานทุก ๆ งานที่ท�ำ จ�ำเป็นต้องได้รับการแก้ไขและปรับปรุงด้วย PS (Problem Solving) หรือ TA (Task Achieving) แทบทั้งสิ้น และจะต้องมีการ ปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าหรือบริการที่คุณจัด
&
Production
ให้กับลูกค้าอยู่เสมอนั่นเอง รวมทั้งมีการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพขององค์กรให้สูงขึ้นไปเรื่อย ๆ ดังนั้น การปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ งจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญทีจ่ ะช่วยชุบชีวติ องค์กรของ คุณให้มีชีวิตชีวาและอยู่รอดนั่นเอง อะไรคือ QC Story? กิจกรรมควบคุมคุณภาพแบบดั้งเดิม มุ่งเน้นให้มีการพลอตกราฟหรือขั้นตอนในการจัดท�ำรายงาน หรือมี การน�ำเสนอผลงานกลุม่ ต่าง ๆ ทีจ่ ดั ท�ำกิจกรรมในการปรับปรุงงานใน สถานที่ท�ำงาน เมื่อเร็ว ๆ นี้ ขั้นตอนในการแก้ไขปัญหาด้วย QC ให้ ความส�ำคัญกับการน�ำกิจกรรมไคเซ็นเข้ามาใช้ในการแก้ไขปัญหา ท�ำให้เกิดผลดี และแก้ไขปัญหาได้แน่นอนมากขึ้น เราจะพบว่า ขั้นตอนในการแก้ไขปัญหา แบบ PS มีความ สัมพันธ์กับ QC Story โดยการควบคุมคุณภาพจะเล่าเรื่องราวตั้งแต่ การแนะน�ำองค์กรหรือหน่วยงาน ต้นสังกัดของกลุ่มและการแนะน�ำ กลุ่ม การก�ำหนดขอบข่ายของกระบวนการ การคัดเลือกหัวข้อปัญหา และกิจกรรม การศึกษาสถานการณ์ปัจจุบัน การจัดท�ำแผนของ กิจกรรม การวิเคราะห์หาสาเหตุต่าง ๆ การตรวจสอบและการน�ำ มาตรการต่าง ๆ ไปด�ำเนินการ การยืนยันผล การจัดท�ำมาตรฐานและ การก�ำหนดจุดควบคุม การแก้ไขมาตรฐานและการติดตามและ ประเมินผล รวมทั้งจัดท�ำกิจกรรมเรื่องต่อไป จะเห็นว่าขั้นตอนการแก้ไขปัญหาแบบ PS จะมุ่งเน้นไปที่ การคัดเลือกหัวข้อปัญหาและกิจกรรมไปจนถึงการจัดท�ำมาตรฐาน และก�ำหนดจุดควบคุม เหตุผลท�ำไมจึงต้องมีขอ้ เสนอขัน้ ตอนในการจัดท�ำ QC แบบ อื่น ๆ ด้วย เราจะพบว่า หลังจากปี พ.ศ.2523 การแก้ไขปัญหาแบบ PS ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ 100 เปอร์เซ็นต์ จ�ำเป็นต้องใช้การแก้ไข ปัญหาแบบ TA จากนั้นในปี พ.ศ.2533 ปัญหาต่าง ๆ สามารถแก้ไข
ได้ดว้ ยขัน้ ตอนในการน�ำมาตรการต่าง ๆ ไปปฏิบตั ิ (measures implementing QC story) และในปี พ.ศ.2543 การแก้ไขปัญหาจากข้อผิด พลาดของมนุษย์นนั้ สามารถแก้ไขปัญหาแบบป้องกันได้ (preventive QC story) สรุปแล้วจะเห็นว่า ขัน้ ตอนในการแก้ไขปัญหามีอยูด่ ว้ ยกัน 4 แบบ ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น แต่ในที่นี้จะขอน�ำเสนอเฉพาะขั้นตอน ในการแก้ไขปัญหาแบบ TA เท่านั้นนะครับ ก่อนอืน่ มาดูถงึ ความจ�ำเป็นในการใช้ TA เข้าไปแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้นภายในองค์กรกัน ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เป็นปัญหาที่ไม่ สามารถแก้ไขปัญหาแบบ PS ได้ จ�ำเป็นต้องแก้ไขปัญหาแบบ TA และคาดหวังว่าการปรับปรุงกิจกรรมต่าง ๆ ในสถานที่ท�ำงาน จ�ำเป็น ต้องมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในการบริหารจัดการควบคู่ไป ด้วย นอกจากนี้ยังคาดหวังว่า การปรับปรุง แบบ TA จะมีส่วนช่วย เหลือฝ่ายบริหาร ท�ำให้ภาระงานทีท่ �ำบรรลุประสิทธิผล อีกทัง้ ยังท�ำให้ ฝ่ายบริหารที่ไม่มีประสบการณ์ในการบริหารการเปลี่ยนแปลง อาทิ เศรษฐกิจมีการเปลีย่ นแปลง จนท�ำให้บริษทั Lehman ต้องล้มละลาย และ Shock วงการไปทั่วโลก รวมทั้งภัยพิบัติทางธรรมชาติ และ วิกฤตทางการเงินในสหภาพยุโรป เป็นต้น ดังนัน้ การแก้ไขปัญหาแบบ TA จึงเหมาะสมกับปัญหาต่าง ๆ เหล่านัน้ เช่น เป็นภาระงานใหม่ ๆ ทีไ่ ม่เคยมีประสบการณ์มาก่อนเลย เป็นวิธกี ารท�ำงานใหม่ ๆ ทีถ่ กู น�ำเข้ามาใช้ในหน่วยงาน เป็นการแก้ไข ปัญหาแบบ PS ได้บางส่วนเท่านัน้ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ทงั้ หมด ดังนั้นภาระงานข้างต้นจึงควรใช้การแก้ไขปัญหาแบบ TA ขั้นตอนในการด�ำเนินการแบบ TA (Task Achieving) มี ขั้นตอนในการด�ำเนินการดังต่อไปนี้ 1. การคัดเลือกหัวข้อปัญหาและภาระงาน 2. ก�ำหนดจุดโจมตี (attack points) ให้เกิดความชัดเจนและ December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
45 <<<
&
Production ตั้งเป้าหมาย 3. การวางแผนมาตรการแก้ไขต่าง ๆ 4. การไล่ล่าเพื่อค้นหา Success Scenarios 5. การน�ำ Success Scenarios ไปปฏิบัติ 6. การยืนยันผล 7. การจัดท�ำมาตรฐานและการก�ำหนดจุดควบคุมและการ แก้ไขมาตรฐาน ความส�ำเร็จในการน�ำไปปฏิบัติ ให้ด�ำเนินการไปแต่ละขั้น แต่ละตอนตามที่ได้แบ่งไว้ และน�ำแต่ละขั้นแต่ละตอนไปด�ำเนินการ เราจะใช้ การแก้ไขปัญหาแบบ TA ให้เกิดประสิทธิผลได้ อย่างไร แนวทางส�ำคัญอยูท่ ตี่ อ้ งปล่อยให้กลุม่ TA มีอสิ ระเสรีให้มาก ที่สุด มันอาจจะเป็นเรื่องยากที่จะปล่อยให้กลุ่ม TA มีอิสระเสรี แต่ หากกลุม่ มีการใช้เครือ่ งมือต่าง ๆ ได้ดี การด�ำเนินกิจกรรมย่อมจะเกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างแน่นอน การปรับปรุงกิจกรรม ต่าง ๆ ย่อมส่งผลอย่างแท้จริง หากมีการน� ำไปใช้กับกิจกรรมใด กิจกรรมหนึ่ง โดยกิจกรรมนั้น กลุ่มได้มีการศึกษาและรวบรวมข้อมูล และสารสนเทศที่จ�ำเป็น ตลอดจนมีการใช้เครื่องมือต่าง ๆ และ ขัน้ ตอนต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ดังนัน้ เครือ่ งมือต่าง ๆ ทีน่ ำ� มาใช้ กลุม่ ต้องมีความรอบรู้ในการใช้เครื่องมือต่าง ๆ และค้นหาเครื่องมือใหม่ ๆ เข้ามาใช้ในการพัฒนาการแก้ไขปัญหาให้ถูกต้องและเหมาะสม
ข้อควรปฏิบัติและไม่ควรปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาแบบ TA การคัดเลือกหัวข้อปัญหาและภาระงาน 1. การคัดเลือกหัวข้อปัญหาและภาระงาน ต้องสอดคล้อง กับแนวทางในการแก้ไขปัญหาแบบ TA 2. อย่าคิดว่าการแก้ไขปัญหาแบบ TA เราไม่จ�ำเป็นต้องหา สาเหตุต่าง ๆ 3. อย่าไปสับสนระหว่างการแก้ไขปัญหาแบบ TA กับการ แก้ไขปัญหาแบบ MI (Measures Implementing) ก�ำหนดจุดโจมตีให้เกิดความชัดเจนและตั้งเป้าหมาย
>>>46
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
1. อย่าตัดระดับข้อมูลปัจจุบัน (สภาวะปัจจุบัน) ทิ้งไป ถึง แม้ว่าภาระงานที่ท�ำจะไม่มีประสบการณ์ใด ๆ มาก่อนเลยก็ตาม 2. ต้องท�ำความเข้าใจกับจุดโจมตีทเี่ กิดขึน้ ว่ามีผลกระทบใน วงกว้าง 3. อย่าประเมินผลจุดโจมตีแบบกว้าง ๆ หรือเป็นนามธรรม แต่ให้บีบจุดโจมตีให้แคบลงจนเห็นภาพอย่างชัดเจนและมีความน่า จะเป็นไปได้ การวางแผนมาตรการต่าง ๆ 1. อย่าพึงพอใจกับความคิดเพียง 2-3 ความคิด แล้วตัดสินใจ น�ำมาตรการเหล่านั้นไปวางแผน 2. อย่าไปผูกติดกับความเป็นไปได้มากนัก เมือ่ มีการประเมิน ผลการวางแผนมาตรการต่าง ๆ การไล่ล่าหา Success Scenarios 1. อย่าลืมตรวจเช็คอุปสรรคขัดขวาง และผลข้างเคียงต่าง ๆ (ผลในแง่ร้ายหรือแง่ลบ) ของ Success Scenarios 2. อย่าน�ำเอาการวางแผนมาตรการต่าง ๆ ไปผสมปนเปเข้า กับการไล่ล่าหา Success Scenarios และการน�ำ Success Scenarios ไปปฏิบัติในช่วงเวลาเดียวกัน การยืนยันผล 1. ให้กลับไปและเริ่มต้นท�ำใหม่ หากผลออกมาไม่ประสบ ความส�ำเร็จตามเป้าหมาย การตั้งมาตรฐานและก�ำหนดจุดควบคุมและแก้ไขมาตรฐาน 1. ลงมือปฏิบตั ติ ามมาตรฐานและแก้ไขมาตรฐานให้เป็นไป ตามวิธีการแก้ไขปัญหาแบบ TA การปรับปรุงแบบ TA และ PS เป็นกิจกรรมที่จะช่วยรักษา มาตรฐานคุณภาพให้กับองค์กรของคุณ ถึงแม้ว่าองค์กรจะได้รับ ใบรับรองต่าง ๆ จากองค์กรสากลในระดับโลกมาแล้วก็ตาม ไม่ว่าจะ เป็นรางวัลเดมมิ่งไพร์ซ รางวัลการบ�ำรุงรักษาทวีผล (TPM) รางวัล TQA หรือรางวัลจากนิตยสารฟอบส์ และใบรับรองมาตรฐานคุณภาพ ISO 9000 เป็นต้น แต่ ร างวั ล เหล่ า นี้ จ ะไม่ ส ามารถรั ก ษาให้ อ ยู ่ ร อดได้ หาก ปราศจากการปรับปรุงด้วยกิจกรรมควบคุมคุณภาพอย่างต่อเนือ่ งหรือ ไคเซ็น เพราะการปรับปรุง QC จะมีส่วนช่วยให้องค์กรของคุณกลาย เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (learning organization) และการจัดการ ความรู้ (KM) ได้อย่างแน่นอนนะครับ จริง ๆ แล้วบางองค์กรได้ลงทุน เรือ่ งนีไ้ ปอย่างมากมาย แต่สดุ ท้ายกลับปล่อยการควบคุมคุณภาพหรือ ไคเซ็นทิ้งไป ซึ่งเปรียบประดุจเหมือนปล่อยสิ่งที่มีคุณค่าทิ้งไปนั่นเอง ครับ
&
Production
เครื่องเลเซอร์ ความคุ้มค่าในการลงทุน?
ส�ำหรับกระบวนการตัด
เลเซอร์
ถู ก น� ำ มาใช้ ใ นการเจาะและตั ด ชิ้ น งานที่ ต ้ อ งการความ แม่นย�ำสูง ประกอบกับความเร็วในการตัดของเลเซอร์ ที่มากกว่าวิธีการตัดแบบอื่น ๆ ท�ำให้เลเซอร์เป็นเครื่องมือหนึ่งที่นิยมน�ำมาใช้ ใน หลาย ๆ กลุ่มอุตสาหกรรม การคิดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการน�ำเอาเลเซอร์มา ใช้ ในการตัดวัสดุ ซึ่งโดยมากต้องการคุณภาพงานตัดที่สูง เป็นประเด็นหนึ่งที่ ต้องให้ความส�ำคัญและต้องพิจารณาอย่างถี่ถ้วนก่อนตัดสินใจที่จะซื้อเครื่อง เลเซอร์สักเครื่องเข้ามาใช้ ในสายการผลิต
บทความนี้จะชี้ให้เห็นถึงค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการ ลงทุนซื้อและใช้งานเครื่องเลเซอร์ส�ำหรับการตัดชิ้นงานที่ต้องการ ความแม่นย�ำสูง ซึง่ น่าจะเป็นประโยชน์ตอ่ ผูท้ กี่ ำ� ลังตัดสินใจซือ้ เครือ่ ง เลเซอร์สักเครื่องเข้ามาเพิ่มความสามารถของกระบวนการผลิต อนึ่ง แม้วา่ บทความเรือ่ งนีจ้ ะเน้นทีก่ ารคิดค่าใช้จา่ ยส�ำหรับงานตัดวัสดุดว้ ย เลเซอร์ งานเชื่อมหรืองานแปรรูปวัสดุอื่น ๆ ด้วยเลเซอร์ก็สามารถ ประยุกต์เอาแนวทางที่น�ำเสนอในบทความนี้ ไปใช้ในการคิดต้นทุน ของกระบวนการได้เช่นกัน เครื่ อ งเลเซอร์ ห นึ่ ง ชุ ด ที่ ส ามารถน� ำ มาใช้ ใ นงานตั ด และ สามารถให้ระดับความแม่นย�ำในการตัดที่สูงนั้นมีราคาเริ่มต้นอยู่ที่ ประมาณ 6,000,000 บาท และอาจสูงถึง 15,000,000 บาท ขึน้ อยูก่ บั
ดร. วิบุญ ตั้งวโรดมนุกูล
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)
ระบบและระดั บ ความสามารถในการท� ำ งานแบบอั ต โนมั ติ ข อง เครื่องจักร เพื่อเป็นตัวอย่างในการค�ำนวณหาค่าใช้จ่ายต่อปีที่เกิดขึ้น จากการลงทุนซื้อและใช้งานเครื่องเลเซอร์ จึงขอสมมติว่า เครื่อง เลเซอร์ ที่ เ ราสนใจจะซื้ อ ส� ำ หรั บ ใช้ ใ นงานตั ด ที่ มี ร าคาเครื่ อ งละ 10,000,000 บาท ซึ่งมีความสามารถในการท�ำงานที่มีความละเอียด สูงได้ นอกเหนือไปจากการซือ้ เครือ่ งเลเซอร์แล้ว ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ อีกส่วน คือ การเตรียมระบบสนับสนุนและสถานที่ที่ต้องติดตั้งเครื่อง เลเซอร์ ค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ขึ้นอยู่กับแต่ละองค์กร เช่น ถ้าสถานที่ที่จะ ติดตั้งเครื่องเลเซอร์เป็นบริเวณสายการผลิตที่มีการสั่นสะเทือนมาก ซึง่ อาจเป็นผลจากการท�ำงานของเครือ่ งจักรขนาดใหญ่อนื่ ๆ โดยรอบ สถานทีเ่ ช่นนีอ้ าจไม่เหมาะสมนักทีจ่ ะติดตัง้ เครือ่ งเลเซอร์สำ� หรับใช้ใน งานตัดที่ต้องการความแม่นย�ำสูง ในบางองค์กรอาจจัดหาสถานที่ ติดตั้งเครื่องเลเซอร์แยกออกมาต่างหากจากบริเวณสายการผลิตที่มี เครื่องจักรขนาดใหญ่ด�ำเนินการผลิตอยู่ และเพื่อให้เครื่องเลเซอร์ สามารถท�ำงานได้เต็มประสิทธิภาพ และมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
47 <<<
&
Production เครื่องเลเซอร์ควรถูกติดตั้งและท�ำงานอยู่ภายในห้องที่มีการควบคุม อุณหภูมิ ความชื้น และความสะอาด หากบรรยากาศภายในห้องมี ฝุ่นละอองมาก อาจส่งผลต่อความเสียหายของชุดเลนส์และอุปกรณ์ ที่มีความอ่อนไหวต่าง ๆ ของเครื่องเลเซอร์ ส่งผลให้เกิดค่าใช้จ่ายใน การซ่อมแซมหรือเปลีย่ นอุปกรณ์ทเี่ กิดความเสียหายขึน้ นอกจากการ ติดตั้งระบบไฟฟ้าส�ำหรับเครื่องเลเซอร์แล้ว ยังต้องมีระบบส�ำหรับใช้ ในการดูดควัน การจัดการกับเศษทีเ่ กิดจากการตัดวัสดุ และของเหลว ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการอีกด้วย ค่าใช้จ่ายทั้งหมดในเรื่องการ เตรียมอุปกรณ์และสถานที่ส�ำหรับติดตั้งเครื่องเลเซอร์ พร้อมระบบ ไฟฟ้า และระบบหล่อเย็น อาจอยูท่ ปี่ ระมาณ 300,000-3,000,000 บาท แตกต่างกันไปตามแต่ละองค์กร ขึน้ อยูก่ บั ความพร้อมของสถานทีแ่ ละ อุปกรณ์ที่มีใช้งานอยู่แล้วในสายการผลิต ในกรณีนี้เราสมมติว่าเงิน ลงทุนในส่วนนี้อยู่ที่ 600,000 บาท ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการใช้งานเครื่องเลเซอร์ รวมไปถึง ค่าไฟ ค่าน�ำ้ วัสดุสนิ้ เปลืองและอุปกรณ์ประกอบทัว่ ไปอืน่ ๆ (เช่น เลนส์ ฟิลเตอร์ เป็นต้น) ค่าใช้จา่ ยในการบ�ำรุงรักษา และค่าบริการซ่อมบ�ำรุง ภายหลังหมดช่วงระยะเวลารับประกัน เป็นค่าใช้จา่ ยอีกส่วนทีต่ อ้ งถูก น�ำมาค�ำนวณเช่นกัน ค่าใช้จา่ ยในส่วนนี้จะขึน้ อยูก่ ับระบบของเครื่อง เลเซอร์และปริมาณการใช้งานเครื่องเลเซอร์ โดยปกติแล้ว CO2 เลเซอร์ ไดโอดเลเซอร์ หรือไฟเบอร์เลเซอร์ที่ให้แสงในช่วงความยาว คลืน่ อินฟาเรด มักจะมีคา่ ใช้จา่ ยในการบ�ำรุงรักษาทีต่ ำ�่ กว่าเลเซอร์ใน กลุ่ม Excimer เลเซอร์ที่ให้ความยาวคลื่นแสงในย่านอัลตร้าไวโอเลต
>>>48
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
นอกจากนีเ้ ครือ่ งเลเซอร์ทวั่ ไปสามารถท�ำงานได้โดยไม่จำ� เป็น ต้องท�ำการซ่อมบ�ำรุงครัง้ ใหญ่หรือต้องเปลีย่ นชิน้ ส่วนส�ำคัญของเครือ่ ง ในรอบ 20,000 ชั่วโมงการใช้งาน หากเครื่องเลเซอร์ท�ำงาน 8 ชั่วโมง ต่อวัน 5 วันต่อสัปดาห์ ค่าใช้จา่ ยจากการใช้งานเครือ่ งเลเซอร์โดยรวม จะอยู่ที่ประมาณ 300 – 1,000 บาทต่อชั่วโมง สมมติว่าเราใช้เลเซอร์ ในการตัดวัสดุตามเงื่อนไขการใช้งานข้างต้น คิดเป็นค่าใช้จ่าย 500 บาทต่อชั่วโมง ดังนั้น ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการใช้งานเครื่องเลเซอร์ ต่อปีอยู่ที่ 500 บาทต่อชั่วโมง x 8 ชั่วโมงต่อวัน x 5 วันต่อสัปดาห์ x 52 สัปดาห์ต่อปี = 1,040,000 บาทต่อปี ส�ำหรับค่าจ้างวิศวกรเพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมการท�ำงาน ของเครื่องและบ�ำรุงรักษาเครื่องเลเซอร์อาจอยู่ที่ประมาณ 500,000 บาทต่อปี รวมค่าตอบแทนพิเศษและสวัสดิการอืน่ ๆ แล้ว และค่าจ้าง ช่างเทคนิคส�ำหรับควบคุมการท�ำงานเครื่องเลเซอร์อีกประมาณ 320,000 บาทต่อปี สมมติว่า วิศวกรใช้เวลาในการท�ำงานกับเครื่อง เลเซอร์ คิดเป็น 25 เปอร์เซ็นต์ ของเวลาในการท�ำงานทัง้ หมดในแต่ละ วัน และช่างเทคนิคอยู่ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น ค่าจ้างบุคลากรส�ำหรับ ควบคุมและดูแลเครือ่ งเลเซอร์ คิดเป็น (500,000 x 0.25) + (320,000 x 0.8) = 381,000 บาทต่อปี นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายทางอ้อมใน กระบวนการผลิตอื่น ๆ อีก เช่น ค่าจ้างที่ปรึกษา และค่าใช้จ่ายในการ ด�ำเนินการอื่น ๆ ซึ่งอาจประมาณได้โดยคร่าว ๆ เป็น 30 เปอร์เซ็นต์ ของค่าแรงรวม หรือคิดเป็น 381,000 x 1.3 = 495,300 บาทต่อปี จากราคาของเครื่องเลเซอร์และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับ สถานทีต่ ดิ ตัง้ เครือ่ งเลเซอร์ขา้ งต้น สามารถรวมได้เป็น 10,000,000+ 600,000 = 10,600,000 บาท หากเราแบ่งช�ำระค่าใช้จ่ายส่วนนี้ออก เป็น 5 ปี คิดเป็นปีละ 2,120,000 บาท (ยังไม่รวมอัตราดอกเบี้ย) และ เมือ่ รวมค่าใช้จา่ ยจากการใช้งานเครือ่ งเลเซอร์ และค่าจ้างบุคลากรใน การควบคุมเครื่องเลเซอร์ เข้ากับเงินลงทุนต่อปีข้างต้น ค่าใช้จ่าย รวมที่เกิดขึ้นทั้งหมด คือ 2,120,000 + 1,040,000 + 381,000 = 3,541,000 บาทต่อปี หรือคิดเป็น 295,084 บาทต่อเดือน การคิดต้นทุน (โดยประมาณ) ข้างต้น น่าจะสามารถใช้เป็น แนวทางในการประเมินความคุ้มค่าในการลงทุนซื้อเครื่องเลเซอร์สัก เครื่องหนึ่งส�ำหรับน�ำมาใช้ในสายการผลิตได้ หากปริมาณความ ต้องการในการใช้เครื่องเลเซอร์ไม่ได้สูงมากนัก หรือไม่ได้เพิ่มมูลค่า ให้กับผลิตภัณฑ์อย่างชัดเจน บริษัทส่วนใหญ่จึงนิยมจ้างบริษัทอื่น ด�ำเนินการผลิตให้ แทนการลงทุนซื้อเครื่องเลเซอร์ทั้งเครื่องมาใช้เอง อย่างไรก็ตาม การตัดสินใจว่าจะลงทุนชือ้ เครือ่ งเลเซอร์มาใช้ ในสายการผลิตหรือไม่นั้น ต้องพิจารณาปริมาณและมูลค่าของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ท� ำ การผลิ ต ด้ ว ยว่ า มี ค วามคุ ้ ม ค่ า มากเพี ย งพอต่ อ การลงทุนหรือไม่
&
Production
หุ่นยนต์
ในอุตสาหกรรมยา เชอร์มีน ก็อตเฟรดเซ็น
บริษัท ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ ประจำ�ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
อุปสงค์ของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
ประเทศไทยรวมไปถึงเพื่อนบ้าน เช่น สิงคโปร์ และมาเลเซีย อั ต ราการเติ บ โตของการยอมรั บ การลงทุ น หุ ่ น ยนต์ อุ ต สาหกรรม เพิ่มขึ้น ดังข้อมูลของสมาพันธ์หุ่นยนต์นานาชาติ (IFR) ปรากฏว่า ประเทศไทยเป็นหนึง่ ในตลาดทีเ่ ติบโตอย่างรวดเร็วในแถบเอเชียด้วย ตัวเลขประเมินจ�ำนวนหุ่นยนต์อุตสาหกรรมในสต็อกที่เพิ่มขึ้นทุก ปีอย่างน้อย 4,000 ยูนิต นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2556 - 25601 ผู้ผลิตต่างสนใจลงทุนกับเทคโนโลยีนี้ เพราะมีข้อได้เปรียบ เชิงธุรกิจหลายประการ เช่น เพิ่มศักยภาพการผลิต และลดค่าใช้จ่าย
การส่งออกเภสัชกรรมมีมูลค่าประมาณ 300 ล้านเหรียญ สหรัฐ โดยส่งไปยังประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น เวียดนามและกัมพูชา ภายในปี พ.ศ.2563 จะมีผู้มีอายุ 60 ปี เป็น 18 เปอร์เซ็นต์ ของจ�ำนวนประชากรในประเทศ เทียบอัตราส่วนกับ ประชากรวัยท�ำงาน 6:12 ดังนั้น จากจ�ำนวนประชากรสูงอายุของ ประเทศทีเ่ พิม่ ขึน้ คาดได้วา่ ส่งผลต่อการเติบโตในภาคส่วนสาธารณสุข อย่างต่อเนื่อง
ภาคส่วนสาธารณสุขของไทยเติบโต
เมื่อปี พ.ศ.2545 ที่ไทยเปิดตัวโครงการหลักประกันสุขภาพ ถ้วนหน้า ประชากรไทยได้รับการประกันสุขภาพ ปลุกเร้าการเติบโต ธุรกิจเภสัชกรรม ให้กลายมาเป็นตลาดขนาดใหญ่เป็นทีส่ องในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน คาดว่าจะเติบโตต่อเนื่องมีขนาด เป็ น สองเท่ า ภายในปี พ.ศ.2563 เวลานี้ อุ ต สาหกรรมยาและ เภสัชกรรมเติบโตรับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก 1 2
International Federation of Robotics, 2014 http://www.ifr.org/industrial-robots/statistics/) Bangkok Post, April 2013 http://www.bangkokpost.com/tech/local-news/346542/thailand-robot-revolution-is-rising December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
49 <<<
&
Production หุ่นยนต์เพื่อการผลิตในภาคส่วนงานสาธารณสุข
ภาครั ฐ ฯ ตระหนั ก ถึ ง ความ ส� ำ คั ญ ในการส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพของ อุตสาหกรรมสาธารณสุข เห็นได้จากงบ ประมาณสนับสนุนการค้นคว้าวิจัยและ พัฒนาเพื่อยกระดับห่วงโซ่คุณภาพ (value chain)3 มุ่งหวังให้ก้าวทันความต้องการที่ ขยายตัว ดังนั้นผู้ผลิตทั้งหลายจึงมีความจ�ำเป็นต้องเร่งเพิ่มขีดความ สามารถในการผลิตด้วยเช่นกัน ซึ่งถือว่าหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเป็น กุญแจส�ำคัญส�ำหรับผู้ผลิตในการเข้าโค้งสู่เส้นชัย
พัฒนาการของหุ่นยนต์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีหุ่นยนต์ได้ปลดลูกตุ้มน�้ำหนัก รวมทัง้ ลดอัตราก๊าซคาร์บอนของหุน่ ยนต์ แขนกลหุน่ ยนต์ทรี่ บั น�ำ้ หนัก ได้ (payload) 3 กิโลกรัม มีน�้ำหนักเพียง 11 กิโลกรัมเท่านั้น เรื่องของ ความปลอดภัยก็เป็นอีกประเด็นทีไ่ ม่ตอ้ งกังวลเลย ด้วยฟีเจอร์ทฝี่ งั มา กับในแขนกลที่สามารถรับสัมผัสแรงกระแทก ซึ่งหุ่นยนต์จะหยุดการ เคลือ่ นไหวเมือ่ สัมผัสสิง่ กีดขวางเส้นทางการเคลือ่ นที่ ท�ำให้รวั้ กัน้ เพือ่ ความปลอดภัยก็จะไม่ใช่เรื่องจ�ำเป็นอีกต่อไป หลังจากการประเมิน ความเสี่ยงแล้ว ประโยชน์ทโี่ ดดเด่นเช่นนีท้ ำ� ให้หนุ่ ยนต์เหมาะอย่างยิง่ ต่อการ ใช้งานในการผลิตทางเภสัชกรรม ภายในพื้นที่การผลิตที่มีความหนา แน่นของคนต่อตารางฟุตสูง เพราะอาศัยคนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน ดังนัน้ ความท้าทายเช่นนีส้ ามารถจัดการได้ดว้ ยหุน่ ยนต์ทมี่ ขี นาด เล็กกระทั ดรั ด สามารถท� ำ งานร่ วมกับ มนุษ ย์ไ ด้ ท� ำงานคู่ไ ปกั บ ผู้ควบคุมเครื่องจักรกล หุ่นยนต์จึงเป็นตัวผลักดันก�ำลังการผลิต เพิ่ม ความคล่องตัวในโรงงานในส่วนต่าง ๆ เช่น การประกอบชิ้นส่วนและ บรรจุภัณฑ์อุปกรณ์ทางการแพทย์ การเตรียมใบสั่งจ่ายเภสัชกร ส�ำหรับร้านขายยาและโรงพยาบาล 3
ศักยภาพและคุณภาพของการผลิตจะเกิดประโยชน์เมือ่ ติดตัง้ หุ่นยนต์ในจุดต่าง ๆ อย่างมีกลยุทธ์บนสายพานการผลิต ซึ่งต้องใช้ ความเที่ยงตรงแม่นย�ำ เช่น งานผลิตเครื่องช่วยฟัง ซึ่งขนาดของ คอมโพเน้นท์ที่จ�ำเป็นต้องใช้ มีขนาดเล็กมาก ท้าทายศักยภาพการ ผลิตที่ต้องรับมือให้ได้ ซึ่งเป็นจุดที่หุ่นยนต์สามารถเข้ามาช่วยจัดการ กับชิน้ ส่วนทีม่ ขี นาดเป็นเพียงมิลลิเมตรเท่านัน้ ได้ดว้ ยความแม่นย�ำ ไม่ ก่อความเสียหายต่อองค์ประกอบส�ำคัญที่เกี่ยวข้อง วิธีนี้ไม่ ลดคุณภาพและยังเร่งอัตราความเร็วในการผลิตได้อีกด้วย หุน่ ยนต์ทำ� งานได้เร็วเพียงไม่กวี่ นิ าทีตอ่ รอบเท่านัน้ ขึน้ อยู่ กับการบริหารสายการผลิตและคอมโพเน้นท์ที่ใช้งาน นอกจากนี้ หุ ่ น ยนต์ อุ ต สาหกรรมที่ ติ ด ตั้ ง ใน โรงงานนั้น สามารถท�ำการตั้งโปรแกรมได้ง่าย คล่อง ตัวและยืดหยุน่ ในการใช้งาน เคลือ่ นย้ายสะดวก ปล่อย ก๊าซคาร์บอนน้อย มีฟเี จอร์และอินเตอร์เฟซทีใ่ ช้งานง่าย แบบบิลท์อนิ ท�ำให้ผผู้ ลิตได้เปรียบอย่างยิง่ ยามต้องตัดสินใจเชิงธุรกิจ สามารถก้าวกระโดดได้รวดเร็วรองรับวิศวกรรมการแพทย์ และหมาย ถึงวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ที่สั้นลง กระบวนการผลิตต้องเผชิญการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ตอบสนองทั้งคอมโพเน้นท์ใหม่ที่เกิดขึ้นใน ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการพัฒนา และรับขนาดที่แตกต่างกันมาก ตั้งแต่ ยาปริมาณเพียงเล็กน้อย จนถึงแคปซูลขนาดใหญ่ เป็นการช่วยลด เวลาในการวางสินค้าออกสูต่ ลาด และก�ำจัดค่าใช้จา่ ยทีจ่ ะต้องลงไป กับการปรับปรุงยกเครื่องสายพานการผลิต
อนาคตสดใส
ประเทศไทยมีอุตสาหกรรมด้านสาธารณสุขที่ก�ำลังขยายตัว ส่งสัญญาณมายังภาคส่วนเภสัชกรรมให้เร่งพัฒนาเพิ่มศักยภาพใน การผลิต และความสามารถในการแข่งขัน ตอบสนองความต้องการ ทีเ่ พิม่ ขึน้ และรักษาต�ำแหน่งผูน้ ำ� ในการส่งออกผลิตภัณฑ์เภสัชกรรม ให้ดี อัตราการเติบโตและต�ำแหน่งทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรม สาธารณสุขของประเทศในทศวรรษต่อไปน่าจะขึ้นอยู่กับว่าผู้ผลิต เลือกที่จะประยุกต์ใช้เทคโนโลยีหุ่นยนต์ในธุรกิจของตนเองหรือไม่ นั่นเอง
Pharmaphorum, April 2014 http://www.pharmaphorum.com/articles/thailand-pharmaceutical-market-update-2014
>>>50
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
&
Energy & Environmental
เทคโนโลยีเพื่อวันนี้และอนาคต กองบรรณาธิการ
กระ
แสอนุรกั ษ์พลังงาน นอกจากจะส่งผลให้คนเกิดความตระหนักในการประหยัดพลังงาน และใช้พลังงาน อย่างคุม้ ค่ามากขึน้ แล้ว ยังท�ำให้เทคโนโลยีทเี่ กีย่ วกับการประหยัดพลังงานได้รบั การพัฒนาอย่างก้าว กระโดด โดยเฉพาะเทคโนโลยีแอลอีดี ที่ก�ำลังมาแรงอยู่ในปัจจุบัน
LED
(Light-Emitting Diode) หรือ ไอโอดเปล่งแสง เป็นเทคโนโลยีที่ถูกค้นพบและใช้ในเชิง ปฏิบัติครั้งแรก ในปี พ.ศ.25051 และถูกพัฒนาเรื่อยมา โดยนักวิทยาศาสตร์จากทั่วโลก จนกระทั่งล่าสุด นักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น 3 ท่าน ประกอบด้วย Isamu Akasaki อาจารย์จาก Maijo University, Hiroshi Amano อาจารย์จากมหาวิทยาลัยนาโงยา และ Shuji Nakamura อาจารย์จาก University of California at Santa Barbara ได้รับรางวัลโนเบล ประจ�ำปี 2557 ในฐานะที่ร่วม กันประดิษฐ์คิดค้นหลอดแอลอีดีที่ให้แสงสีฟ้า ซึ่งท�ำให้สามารถผลิตหลอดไฟแอลอีดีที่มี สีขาวและประหยัดพลังงานมากขึ้น อ่านถึงตรงนี้ หลายท่านคงสงสัย หลอดไฟแอลอีดีสีฟ้า ท�ำให้เกิดแอลอีดีแสง สีขาวได้อย่างไร หากนึกย้อนไปถึงหลอดไฟแอลอีดีที่คุ้นเคยในอดีตจะมีแต่สีแดงและ สีเขียว ซึ่งเป็นเพียงแหล่งก�ำเนิดแสงที่แสดงสัญลักษณ์ เช่น ปุ่มแสดงการท�ำงาน หรือ ป้ายโฆษณา เป็นต้น แต่ความฝันที่จะผลิตแหล่งก�ำเนิดแสงสีขาวที่ให้แสงธรรมชาติ ด้วยเทคโนโลยีแอลอีดี ยังคงต้องหาจิ๊กซอว์ตัวสุดท้าย นั่นคือ แอลอีดีที่ให้แสงสีฟ้า หรือ Blue LED เพราะเมื่อผสมกับสีแดงและเขียว จะได้แสงสีขาว หรือถ้าเอาแอลอีดี สีฟ้า มากระตุ้นสารฟอสฟอร์ (Phosphor) ก็จะได้แสงสีขาวเช่นกัน สิ่งที่ 3 นักวิจัยชาว ญี่ปุ่นคิดค้น คือ แอลอีดีสีฟ้าจาก Gallium Nitride (GaN) ซึ่งจะท�ำให้ได้แหล่งก�ำเนิด แสงสีขาวที่ประหยัดพลังงานเป็นอย่างมาก2 ที่กล่าวข้างต้น คือ ความพยายามของนักวิจัยที่ต้องการพัฒนาแอลอีดีให้ สามารถใช้งานได้จริง และประหยัดพลังงานมากขึ้น ขณะที่ฟากฝั่งผู้ประกอบการ การ พัฒนาเทคโนโลยีแอลอีดีในภาคการผลิต แทบจะเรียกได้ว่า ถึงจุดที่คุ้มทุนแล้ว ท�ำให้ วันนี้เราเห็นการน�ำแอลอีดีมาใช้ประโยชน์ในหลายแอปพลิเคชั่นมากขึ้น ▲
คุณสุรินทร์ วรสาธิต
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทย อิเล็คทริคซิตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด >>>52
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
&
Energy & Environmental
ตัวอย่างบริษทั คนไทยทีเ่ ห็นโอกาสในธุรกิจแอลอีดี คือ บริษทั ไทย อิเล็คทริคซิตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด โดย คุณสุรนิ ทร์ วรสาธิต กรรมการผูจ้ ดั การ จึงได้ผนั ตัวเข้าสูธ่ รุ กิจจัดจ�ำหน่ายอุปกรณ์สอ่ งสว่าง แอลอีดีเมื่อประมาณ 5 ปีที่ผ่านมา “บริษัท ไทย อิเล็คทริคซิตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ก่อตั้งขึ้น เมือ่ ปี พ.ศ.2546 โดยประสบการณ์ทสี่ งั่ สมในธุรกิจไฟฟ้าและอุปกรณ์ ส่องสว่างมายาวนานกว่า 25 ปี บริษัทมุ่งมั่นที่จะจัดสรร “เทคโนโลยี เพือ่ คุณภาพชีวติ ” อย่างแท้จริง ด้วยการผลิตและคัดสรรสินค้าโดยยึด มาตรฐาน 4 อย่าง คือ นวัตกรรมทันสมัย ประหยัดพลังงาน ความ ปลอดภัย และราคาที่ลูกค้าเข้าถึงได้” คุณสุรินทร์ กล่าว ด้วยการพัฒนาเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ท�ำให้ปัจจุบัน ราคาแอลอี ดี ล ดลงมาค่ อ นข้ า งมาก ท� ำ ให้ มี ก ารน� ำ มาใช้ อ ย่ า ง แพร่หลาย โดยเฉพาะผู้ผลิตจากประเทศจีน ล่าสุดในงาน Lighting Fair ที่กวางเจา ประเทศจีน พบว่า ผู้จัดแสดงสินค้าภายในงาน กว่า 70 เปอร์เซ็นต์ ล้วนแล้วแต่น�ำเทคโนโลยีแอลอีดีมาจัดแสดง ภายในงานแทบทั้งสิ้น ในอนาคตมี ค วามเป็ น ไปได้ สู ง ที่ แ อลอี ดี จ ะเข้ า มาแทน ที่อุปกรณ์ส่องสว่าง แต่ไม่ใช่ทั้งหมด ในเรื่องนี้ คุณสุรินทร์ อธิบาย ต่อว่า อุปกรณ์ส่องสว่างบางอย่างก็เหมาะส�ำหรับบางงาน และ เทคโนโลยีส่องสว่างมีความสลับซับซ้อนมากกว่าที่ตาเราเห็นอย่าง มาก ดังนั้นการเลือกใช้อุปกรณ์ส่องสว่าง จ�ำเป็นต้องพิจารณาปัจจัย ต่าง ๆ ดังนี้
ปัจจัยที่ 1 คือ ความเป็นธรรมชาติของแสง หลอดที่ให้ความ ร้อนเป็นแหล่งก�ำเนิดแสง ย่อมให้แสงที่เป็นธรรมชาติมากที่สุด ปัจจัยที่ 2 การส่องสว่างอย่างเป็นธรรมชาติ หรือดัชนีความ ถูกต้องของสี (Color Rendering Index, CRI or Ra) เป็นค่าที่บอกว่า แสงที่ส่องไปถูกวัตถุ ท�ำให้เห็นสีของวัตถุได้ถูกต้องมาก/น้อยเพียงใด ค่าดัชนีนี้ไม่มีหน่วย มีค่าตั้งแต่ 0 - 100 โดยก�ำหนดแสงอาทิตย์ช่วง กลางวันเป็นดัชนีอา้ งอิงเปรียบเทียบทีม่ คี า่ Ra = 100 ดังนัน้ หากหลอด ไฟที่มีค่า Ra ต�่ำจะท�ำให้สีของวัตถุเพี้ยนได้ ปัจจัยที่ 3 คือ การแพร่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EMC) หลอดไฟ ทีม่ คี ลืน่ รบกวนสูง พาวเวอร์เฟกเตอร์จะต�ำ่ แต่หากหลอดไฟนัน้ มีคลืน่ รบกวนน้อย พาวเวอร์เฟกเตอร์จะสูง และอัตราการกินไฟจะต�่ำ ดังนัน้ ความสว่าง ค่าความถูกต้องของแสง และประสิทธิภาพ ของหลอด เป็นปัจจัยเบื้องต้นในการเลือกใช้หลอดไฟ อย่างไรก็ตาม ผูใ้ ช้งานไม่สามารถทีจ่ ะตรวจสอบได้เอง แต่สามารถพิจารณาได้จาก มาตรฐานทีไ่ ด้รบั การรับรอง เช่น มอก. ก็สามารถมัน่ ใจได้ในระดับหนึง่ รวมถึงการพิจารณาเลือกซื้อแบรนด์ที่น่าเชื่อถือ และไว้วางใจได้ ส�ำหรับ HI-TEK (ไฮเทค) เป็นแบรนด์ของคนไทยที่ บริษทั ไทย อิเล็คทริคซิตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด มุ่งมั่นในการพัฒนาพร้อมน�ำ เสนอผลิตภัณฑ์และบริการคุณภาพที่ตอบโจทย์ความต้องการของ ผู้บริโภคชาวไทยมาอย่างต่อเนื่อง โดยในปี พ.ศ.2558 นี้ ไทย อิเล็คทริคซิตี้ จัดกิจกรรมฉลอง 12 ปี แห่งความส�ำเร็จ พร้อมก้าวสู่การเป็น ผูน้ ำ� ด้านการผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์อปุ กรณ์ไฟฟ้าและแสงสว่าง December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
53 <<<
&
Energy & Environmental ครบวงจร เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของผูบ้ ริโภคอย่างแท้จริง ภายใต้ เครื่องหมายการค้า HI-TEK (ไฮเทค) อย่างเต็มรูปแบบ ประกอบด้วย การสร้างแบรนด์ ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น น�ำเสนอจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ ด้วยมาตรฐาน 4 ข้อ ได้แก่ นวัตกรรมทันสมัย โดยเราไม่หยุดยั้งใน การสรรสร้างผลิตภัณฑ์และจัดหาสินค้าทีม่ เี ทคโนโลยีทที่ นั สมัยมาให้ บริการกับลูกค้า ประหยัดพลังงาน เราคิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยี การผลิตสินค้ามาตรฐานสูง หลอดประหยัดไฟ ที่ก�ำลังเป็นที่ต้องการ ของผู้บริโภคทุกระดับ ความปลอดภัย ผลิตภัณฑ์ HI-TEK ได้รบั การรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) จากส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม รวมถึงได้รับการรับรอง ทางด้านความปลอดภัย และ EMC (มาตรฐานเพื่อการส่งออก ผลิตภัณฑ์ทางไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์) จากส�ำนักงานมาตรฐานทั่วโลก ราคา ผู้บริโภคจะได้รับสินค้าที่มีคุณภาพจากบริษัทผู้ผลิตคนไทย ใน ราคาที่สามารถเข้าถึงได้ ด้วยมาตรฐานดังกล่าวท�ำให้ผลิตภัณฑ์ และบริการได้รับการยอมรับ และความไว้วางใจจากลูกค้าทั้งภายใน ประเทศและภายในภูมิภาคอาเซียน ปัจจุบัน ไทย อิเล็คทริคซิตี้ มี สินค้ามากกว่า 800 รายการ ภายใต้เครื่องหมายการค้า HI-TEK ประกอบด้วยสินค้า ประเภท โคมไฟ หลอดไฟทุกประเภท ส�ำหรับในปี พ.ศ.2558 บริษัทฯ มีแผนเชิงรุกในการขยาย ตลาดของกลุ่มสินค้าแอลอีดี โดยได้พัฒนาสินค้าใหม่ ๆ ที่ตอบโจทย์ ความต้องการของผู้บริโภค ทั้งประสิทธิภาพความสว่าง การใช้งาน ง่าย ไม่ซับซ้อน ทนทาน และประหยัดพลังงานสู่ตลาด โดยต่อยอด จากสินค้าเดิมสูส่ นิ ค้าใหม่ เพือ่ เป็นทางเลือกใหม่ให้กบั ลูกค้าเก่าและ ใหม่ สินค้าใหม่ในกลุ่มแอลอีดีที่เปิดตัวในปีนี้ ประกอบด้วย สินค้า กลุ่ม ECO Series ผลิตภัณฑ์สินค้าที่ตอบโจทย์กลุ่มผู้ใช้งานทั่วไป และ สินค้าในกลุม่ HI-EFF Series ผลิตภัณฑ์สนิ ค้าทีม่ อี ายุการใช้งาน ยาวนานกว่า 40,000 ชั่วโมง ประสิทธิภาพความสว่างระดับสูงกว่า สินค้าทั่วไปในท้องตลาด โดยกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของผลิตภัณฑ์ใน กลุ่ม HI-EFF Series คือ กลุ่มภาคอุตสาหกรรม และกลุ่มลูกค้า ครัวเรือนระดับกลางและบนขึ้นไป ส�ำหรับช่องทางจัดจ�ำหน่าย ประกอบด้วย ตัวแทนจ�ำหน่าย อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ทั่ ว ประเทศ และช่ อ งทางโมเดิ ร ์ น เทรด ทั้ ง ในเขต
กรุงเทพฯ ปริมณฑลและต่างจังหวัด รวมถึงงานโครงการซึ่งเป็นงาน ระบบไฟฟ้าสว่างทั้งภายในและภายนอกอาคาร ซึ่งถือว่าเป็นตลาด หลักและประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างมาก และเพื่อให้สอดรับกับ พฤติกรรมผู้บริโภคในปัจจุบัน และเป็นการสื่อสารกับกลุ่มลูกค้า โดยตรง อีกทั้งยังเพิ่มความสะดวกให้กับผู้บริโภคมากยิ่งขึ้น จึงเพิ่ม ช่องทางจ�ำหน่ายสินค้าผ่านทางออนไลน์ในรูปแบบอี-คอมเมิร์ช นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังได้จดั เตรียมแผนการตลาดเพือ่ การสร้าง แบรนด์ ขยายฐานลูกค้าไปยังกลุ่มครัวเรือน รวมทั้งขยายการรับรู้ เกีย่ วกับการฉลอง 12 ปี ของ ไทย อิเล็คทริคซิตี้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้เตรียม งบการตลาดและส่งเสริมการขายในช่วงจัดกิจกรรมสัญจร “HI-TEK ROADSHOW 2015” เพื่อแนะน�ำผลิตภัณฑ์และคืนก�ำไรครั้งใหญ่ ให้กับลูกค้ากว่า 23 จังหวัด ทั่วทั้งภาคตะวันออกและภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ระหว่างเดือนตุลาคม สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2558 รวมถึง การประชาสัมพันธ์ผา่ นคลืน่ วิทยุ การประชาสัมพันธ์ผา่ นป้ายหน้าร้าน การจัดท�ำสื่อประชาสัมพันธ์ ณ จุดขาย และการจัดกิจกรรมส่งเสริม การขายส�ำหรับร้านค้า “ปัจจุบันผู้บริโภคในกลุ่มครัวเรือนมีความต้องการผลิตภัณฑ์ ในกลุม่ แอลอีดมี ากขึน้ ประกอบกับมีความรูค้ วามเข้าใจในเทคโนโลยี แอลอีดีมากขึ้น ส่วนหนึ่งเป็นผลจากโครงการรณรงค์ของการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์แอลอีดีเติบโต ขึ้นจนมีสัดส่วนถึง 50 เปอร์เซ็นต์ของตลาดหลอดไฟและโคมไฟ ซึ่งมี มูลค่ารวมกว่า 20,000 ล้านบาท ทั้งนี้ ในปี พ.ศ.2558 บริษัทฯ ตั้งเป้า ยอดขายเติบโต 15 เปอร์เซ็นต์ จากสภาวะเศรษฐกิจที่คาดว่าจะเริ่ม ฟื้นตัวขึ้น และผู้บริโภคเริ่มกลับมาจับจ่ายใช้สอยกันอีกครั้งในช่วง ปลายปี” คุณสุรินทร์ กล่าว อ้างอิงเพิ่มเติม 1https://th.wikipedia.org/wiki/ไดโอดเปล่งแสง 2อดิ ส ร เตื อ นตรานนท์ “โนเบลรางวั ล ที่ ไ ม่ ต ้ อ งรอนานอี ก ต่ อ ไป”. นิตยสาร Technology & InnoMag Online. Vol. 239 ประจ�ำเดือนกุมภาพันธ์มีนาคม 2558 หน้า 60-62.
>>>54
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
&
Computer & IT
ส่องเทรนด์เมืองอัจฉริยะ ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์
คุณ
มารุ ต มณี ส ถิ ต ย์ กรรมการ ผูจ้ ดั การประจ�ำประเทศไทยและ พม่า บริษัท ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ พีทีอี ลิมิเต็ด เปิดเผยผลส�ำรวจด้านความปลอดภัยสาธารณะที่จัดท�ำขึ้นระหว่างการประชุม Safe Cities Asia Summit ครั้งที่ 2 ใน ประเทศสิงคโปร์ จากรายงานคาดการณ์ว่า ภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิกจะมีการเติบโตด้านโครงการ เมืองอัจฉริยะสูงสุดในช่วง 10 ปีขา้ งหน้า โดย หลายเมืองจะมุง่ เน้นด้านการประหยัดต้นทุน และความคุม้ ค่าจากการใช้เทคโนโลยีตา่ ง ๆ
อย่างไรก็ดี ผลส�ำรวจชี้ให้เห็นว่าการสร้าง เมืองให้มีความปลอดภัยส�ำหรับการใช้ชีวิต และการท�ำงานเป็นสิ่งที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ให้ความส�ำคัญสูงสุดในการวางแผนโครงการ เมืองอัจฉริยะโดยผูร้ ว่ มการส�ำรวจร้อยละ 44 คาดว่าประเทศของพวกเขาจะมีการลงทุน ด้านความปลอดภัยสาธารณะมากกว่า 100 ล้านเหรียญสหรัฐ ในช่วง 2 ปีข้างหน้า และ ร้อยละ 24 จากยอดลงทุนทั้งหมดจะใช้ไป กับเทคโนโลยีการเฝ้าระวังภัย หรือ Surveillance Technology ร้อยละ 19 ส�ำหรับการ วิเคราะห์ด้าน Big Data และอีกร้อยละ 19
ส�ำหรับเทคโนโลยีไร้สายและเครือข่าย ความปลอดภัยสาธารณะของชุมชน เป็นประเด็นที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความ ส�ำคัญสูงสุด ตามมาด้วยระบบขนส่งและ โครงสร้างพื้นฐานของเมือง ความก้าวหน้า ของระบบอินเทอร์เน็ตหรือความสามารถของ ระบบสารสนเทศตามล�ำดับ ซึง่ ถ้าเจาะลึกลง ในประเด็นด้านความปลอดภัยสาธารณะนัน้ ผูต้ อบแบบสอบถามเห็นว่าสิง่ ทีป่ ระเทศของ พวกเขาต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่องประกอบ ด้วย 1. การสืบสวนด้านอาชญากรรม
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
55 <<<
&
Computer & IT จราจร
2. ระบบขนส่ ง และบริ ก ารด้ า น
3. ความปลอดภัยของอินเทอร์เน็ต โดยการขาดความร่วมมือกันระหว่าง หน่วยงานภาครัฐถูกเลือกให้เป็นปัจจัยหลัก ที่ จ ะถ่ ว งการพั ฒ นาโครงการด้ า นความ ปลอดภัยสาธารณะนี้ ร้อยละ 95 ของผู้ตอบแบบสอบถาม ให้ความส�ำคัญมากหรือมากทีส่ ดุ กับบทบาท ของเทคโนโลยีต่อความปลอดภัยสาธารณะ โดยเทคโนโลยีดา้ นความปลอดภัยสาธารณะ ที่ส่วนใหญ่วางแผนจะลงทุนในช่วง 1 ปี ข้างหน้า คือ การเฝ้าระวังภัย ตามมาด้วยการ วิเคราะห์ด้าน Big Data และเทคโนโลยี ไร้ ส ายและเครื อ ข่ า ย ซึ่ ง การรวม 3 สิ่ ง นี้ เข้าด้วยกันจะช่วยพัฒนาความปลอดภัยใน เมืองอัจฉริยะได้เป็นอย่างดี ดังนั้นภาครัฐจึง จ�ำเป็นต้องน�ำเทคโนโลยีมาวางแผนส�ำหรับ โครงสร้างเมืองอัจฉริยะ เพื่อลดและป้องกัน ปัญหาอาชญากรรมที่ผ่านมาพบว่า การใช้ ประโยชน์จาก Big Data ในการประสานสิ่ง ต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์จากระบบที่เชื่อมต่อ กันจะสร้างมูลค่ามากกว่าการใช้โซลูชนั่ เดีย่ ว ในการพัฒนาความปลอดภัยสาธารณะ และ การรวมระบบสารสนเทศต่ า ง ๆ เข้ า กั บ ทรัพยากรส่วนอื่น ๆ ของเมืองจะช่วยลด ปัญหาอาชญากรรมและเพิม่ ความปลอดภัย สาธารณะ ทั้งนี้การขยายเมืองและระบบ ขนส่งเองก็มีบทบาทส�ำคัญในการสอดส่อง และป้องกันปัญหาอาชญากรรมโดยจะระบุ ถึงรูปแบบอาชญากรรม หรือแนวโน้มที่อาจ เกิ ด ขึ้ น ได้ ล ่ ว งหน้ า ด้ ว ยการใช้ เ ทคโนโลยี
>>>56
ขั้นสูงเพื่อรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจาก แหล่งต่างๆ อาทิ กล้องวิดีโอบนรถไฟ ใน ห้างสรรพสินค้า และตามจุดต่าง ๆ ทีก่ ระจาย อยูร่ อบเมือง ตลอดจนข้อมูลอืน่ ๆ จากแหล่ง โซเชียลเน็ตเวิรก์ อาทิ ทวิตเตอร์ เฟซบุก๊ แล้ว น�ำข้อมูลทีไ่ ด้มาใช้ระบบวิเคราะห์ทที่ รงพลัง เพือ่ ให้ได้ผลลัพธ์ทมี่ คี วามลึกซึง้ ทีช่ ว่ ยระบุถงึ แหล่งอาชญากรรมได้ ทัง้ นี้ Safe Cities Asia เป็นการประชุม ชั้นน�ำของวงการการรักษาความปลอดภัย ระดับชาติของภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ ทีจ่ ดั ขึน้ เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อมุ่งประเด็นด้านการ วางแผนเมืองทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนการลงทุน ด้านนวัตกรรมใหม่ทไี่ ม่เคยมีมาก่อนโดยผูน้ ำ� ภาครัฐและอุตสาหกรรมในเทคโนโลยีตา่ ง ๆ
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
จ�ำนวนมากกว่า 1 ใน 4 ของผูเ้ ข้าร่วมประชุม ที่ตอบแบบสอบถามครั้งนี้ มีพื้นหลังด้าน เทคโนโลยี และส่วนที่เหลือประกอบด้วย กลุ่มนายกเทศมนตรี ผู้บริหารระดับสูงของ องค์กรต่าง ๆ ผูแ้ ทนจากฝ่ายทหาร ฝ่ายบริการ ฉุกเฉิน และผูใ้ ห้บริการด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน “จากผลการส�ำรวจครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า หลายประเทศในภู มิ ภ าคเอเชี ย -แปซิ ฟ ิ ก ก�ำลังมองหาโซลูชั่นด้านเทคโนโลยีที่จะมี นั ย ส� ำ คั ญ และวั ด ได้ ส� ำ หรั บ เรื่ อ งความ ปลอดภัยสาธารณะ โดยแม้จะมีความชัดเจน ในกลุ่มผู้ร่วมตอบแบบสอบถามถึงความ ต้องการในการลงทุนด้านโซลูชนั่ ดังกล่าว แต่ อุปสรรคส�ำคัญ คือ ความท้าทายในการปรับ ใช้โครงการด้านความปลอดภัยให้เป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน ซึ่งการริเริ่มการรวมข้อมูล ต่าง ๆ ภายในแพลตฟอร์มเดียวจะช่วยให้ แต่ละเมืองสามารถเห็นความเป็นไปแบบ องค์รวมเกี่ยวกับอาชญากรรมที่สอดคล้อง กันได้” นายมารุต กล่าวเพิ่มเติม
&
Focus
การสร้างนวัตกรรมแบบเปิด (open innovation) ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
เป็น
ธรรมดาที่ผู้ประกอบการแต่ละรายต้องรักษาความสามารถในการ แข่งขัน เอาไว้ ด้วยการสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ ๆ อย่าง ต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลางมักมีข้อจ�ำกัด ทั้งด้านเงินทุน และองค์ความรู้ ทางรอดที่เป็นไปได้ คือ การสร้างความร่วมมือ กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับธุรกิจของตน ทั้งนี้ก็เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ กระจาย ความเสี่ยง หรือแม้กระทั่งร่วมมือกันสร้างนวัตกรรม
Open Innovation Funnel
Other firm's market License, spin out, divest
Ideas
our new market
Internal technology base
Ideas Internal/external venture handling
Our current market
External technology insourcing
External technology base
FRONT-END
BACK-END
▲ ภาพที่ 1 การสร้างนวัตกรรมแบบเปิด (open innovation) เริ่มจากการสร้างและพัฒนา
การสร้างนวัตกรรมแบบเปิด (open innovation) เป็นการผสม ผสานองค์ ค วามรู ้ ทั้ ง ภายในและภายนอกองค์ ก ร เพื่ อ ให้ บ รรลุ วัตถุประสงค์ที่ได้ก�ำหนดไว้ โดยเป็นกระบวนการเร่งให้เกิดการสร้าง นวัตกรรมภายในองค์กร และขยายตลาดเพือ่ ใช้นวัตกรรมกับภายนอก องค์กร
แนวความคิดและเทคโนโลยี โดยเกิดขึ้นทั้งภายในองค์กรและได้จากภายนอก องค์กร จนนำ�ไปสู่ผลิตภัณฑ์ หรือบริการใหม่ในตลาด และอาจทำ�ให้เกิดตลาด ใหม่ ๆ
การสร้างนวัตกรรมแบบเปิดจึงเป็นการสร้างคุณค่าร่วมกัน ขององค์กรต่าง ๆ ที่ตกลงจะอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน เพื่อสร้าง นวัตกรรม โดยผ่านการสร้าง การรวบรวม และการใช้องค์ความรูด้ ว้ ยกัน December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
57 <<<
Focus
&
หากพิจารณาตามทิศทางการไหลขององค์ความรู้ อาจจ�ำแนก การสร้างนวัตกรรมแบบเปิดได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1. การสร้างนวัตกรรมแบบเปิดขาเข้า (inbound open innovation) เป็นการมีปฏิสมั พันธ์กบั องค์กรอืน่ ซึง่ เป็นแหล่งองค์ความ รู้ เพื่อให้สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี เทคนิค หรือขีดความสามารถด้าน วิทยาศาสตร์ เพือ่ ปรับปรุงสมรรถนะในการสร้างนวัตกรรมขององค์กร 2. การสร้างนวัตกรรมแบบเปิดขาออก (outbound open innovation) เป็นการมีปฏิสัมพันธ์กับองค์กรอื่น เพื่อใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยี หรือองค์ความรูท้ อี่ งค์กรนัน้ ๆ มีอยู่ โดยเฉพาะเพือ่ ประโยชน์ เชิงพาณิชย์ การสร้างนวัตกรรมแบบเปิดจึงเป็นทัง้ การค้นหาแนวคิดใหม่ ๆ การลดความเสี่ยง การใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่หายาก และการเพิ่ม ความเร็วในการน�ำผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ ๆ ออกสูต่ ลาด อย่างไรก็ตาม การสร้างนวัตกรรมแบบเปิดไม่ได้เกิดขึ้นใน ทิศทางใดทิศทางหนึ่ง หากแต่เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นหลายทิศทาง ท่ามกลางองค์กรต่าง ๆ ทีเ่ ข้ามาอยูใ่ นเครือข่ายเดียวกัน (หรือเรียกอีก อย่างหนึ่งว่าเป็น “หุ้นส่วน” กัน) ซึ่งต้องอาศัยการบริหารจัดการอย่าง มีประสิทธิภาพ โดยมีวตั ถุประสงค์รว่ มกัน คือ การร่วมกันสร้างคุณค่า (co-creating value)
ความเชื่อและความจริงเกี่ยวกับนวัตกรรมแบบเปิด
การสร้างนวัตกรรมแบบเปิดเป็นเรื่องท้าทายส�ำหรับผู้ที่ยังไม่ คุ้นเคย เนื่องจากมีความกังวลในหลายประเด็น ทั้งนี้เพราะเป็นระบบ ทีม่ ี “ผูเ้ ล่น” จ�ำนวนมากและมีความหลากหลาย การทีอ่ งค์กรใดองค์กร หนึ่งจะตัดสินใจเปิดขอบเขต (boundary) ของตนออกบางส่วน จึง เป็นเรื่องที่ตัดสินใจได้ยาก เพราะการสร้างนวัตกรรมบางส่วนเป็น กระบวนการแลกเปลี่ยนทรัพยากร และองค์ความรู้ระหว่างภายใน กับภายนอกองค์กร ข้อมูลต่อไปนี้เป็นความเชื่อและความจริงเกี่ยวกับการสร้าง นวัตกรรมแบบเปิดที่ควรทราบ ความเชื่อ เก็บไว้เป็นความลับ “ต้องไม่มใี ครรูว้ า่ กำ�ลังสร้างนวัตกรรมอะไร” ใช้จ่ายด้านวิจัยและพัฒนามากขึ้น “การอัดฉีดด้านวิจยั และพัฒนามากขึน้ จะช่วยให้ตลาด ของเราเติบโตขึน้ ” สิทธิบัตรต้องมาก่อน “ถ้าเราเป็นเจ้าของสิทธิบตั ร เราจะทำ�งานได้มาก” ต้นทุนสูงเกิน “นวัตกรรมแบบเปิดต้องการทรัพยากรมาก และลงทุนสูง” >>>58
การสร้ า งนวั ต กรรมแบบเดิ ม ที่ ค� ำ นึ ง ถึ ง การผลั ก ดั น ด้ ว ย เทคโนโลยี (technology push) และการใช้ตลาดเป็นตัวดึง (market pull) นั้น เป็นแนวคิดเดิม ซึ่งองค์กรหลายแห่งยังคงใช้อยู่ ส่วนการ สร้างนวัตกรรมแบบเปิดเป็นแนวคิดใหม่ทยี่ งั มีการประยุกต์ใช้ไม่มาก นัก ทัง้ นีเ้ พราะมีความกังวลบางประการทีผ่ ปู้ ระกอบการยังคงติดข้อง อยู่ เช่น กลัวว่าความลับของบริษัทจะรั่วไหลไปถึงคู่แข่ง ไม่แน่ใจว่า ประเด็นที่จะสร้างนวัตกรรมแบบเปิดนั้นเหมาะสมหรือไม่ส�ำหรับ ผูร้ ว่ มด�ำเนินการ เป็นต้น การบริหารจัดการการท�ำงานร่วมกันระหว่าง องค์กรต่าง ๆ ทีร่ ว่ มอยูใ่ นเครือข่ายการสร้างนวัตกรรมแบบเปิดจึงเป็น สิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่ง
Triple Helix Model
โมเดลการสร้างนวัตกรรมแบบเกลียว 3 สาย (triple helix model หรือ H3 model) เป็นรูปแบบหนึง่ ของการสร้างนวัตกรรมแบบ เปิด โดยอาศัยหลักการทีว่ า่ การสร้างนวัตกรรมต้องอยูบ่ นพืน้ ฐานของ การประยุกต์ใช้ การใช้ความรู้หลากหลายสาขาวิชา การผสมผสาน ความแตกต่าง มีความหลากหลายขององค์กรยึดโยงกัน และรับผิดชอบ ต่อสังคม รวมทั้งต้องควบคุมคุณภาพ ความจริง
ต้องเปิดเผย “ความลับทางการค้ายังคงมีอยู่ แต่หากหุน้ ส่วนของเราไม่รวู้ า่ เรากำ�ลังแก้ปญ ั หาเรือ่ งอะไร เขาไม่มวี นั จะช่วยเราได้” สร้างนวัตกรรมในระดับโลก “นวัตกรทีช่ าญฉลาดใช้ทรัพยากรจากชุมชนนวัตกรรมระดับโลก และเก็บเกีย่ วผลตอบแทนทีส่ งู กว่า” ตลาดมาก่อน “ใครเข้าถึงตลาดก่อน ทำ�เงินได้มากทีส่ ดุ ” ประสิทธิภาพสูง “นวัตกรรมแบบเปิดกระบวนการทีใ่ ห้บริการโดยตัวกลาง (intermediary) ภายใต้ทรัพยากรทัง้ คน เงิน และเวลา”
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
& H3 Model ประกอบด้วยองค์กร 3 ประเภท ได้แก่ 1. มหาวิทยาลัย/ สถาบันการศึกษา/ สถาบันวิจยั ของรัฐ ท�ำ หน้าที่ในการสร้างองค์ความรู้ 2. เอกชน/ผู้ประกอบการ/ผู้ผลิต เป็นผู้ใช้องค์ความรู้ 3. รัฐ เป็นผูอ้ ำ� นวยความสะดวก (facilitator) และก�ำกับดูแล (regulator)
ภาพที่ 2 Triple Helix Model ประกอบด้วย สถาบันการศึกษา หรือสถาบันวิจัย ภาคเอกชน และ หน่วยงานของรัฐที่ทำ�งานร่วมกัน อย่างใกล้ชิด
กล่าวอีกนัยหนึง่ Triple Helix Model เป็นระบบทีเ่ กิดจากการ รวมตัวของความรูด้ า้ นเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ และการบริหารจัดการ ซึง่ ท�ำให้เกิดการไหลเวียนขององค์ความรู้ ความรู้ หรือการเปลีย่ นแปลง ขององค์กรหนึ่ง ส่งผลกระทบต่ออีกองค์กรหนึ่ง พลวัตที่เกิดขึ้นใน ระบบภายใต้การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพน�ำไปสู่การสร้าง นวัตกรรมแบบเปิดอย่างต่อเนื่อง ต่อมามีการพัฒนาโมเดลใหม่ ๆ เพิ่มเติมในภายหลัง แม้จะ ยังไม่มีค�ำอธิบายที่ชัดเจนก็ตาม ได้แก่ ➲ H4 Model มี ส าธารณะ (public) เป็ น องค์ ป ระกอบ เพิ่มเติม โดยมองว่าสื่อและวัฒนธรรมเป็นปัจจัยที่มีบทบาทในการ สร้างนวัตกรรม ➲ H5 Model มีสงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติ (natural environment) เป็นองค์ประกอบเพิ่มเติม โดยให้ความส�ำคัญกับการสร้าง นวัตกรรมที่มุ่งการพัฒนาอย่างยั่งยืน ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตาม เครือข่ายการสร้างนวัตกรรมแบบเปิดจะ ประสบความส�ำเร็จ หรือองค์กรต่าง ๆ ที่ร่วมเป็นสมาชิกจะได้รับ ประโยชน์จากการท�ำงานร่วมกันหรือไม่นนั้ ขึน้ อยูก่ บั ประสิทธิภาพใน การประสานงานกิจกรรมทีด่ ำ� เนินงานโดยแต่ละองค์กร ทัง้ นีก้ ารสร้าง เครือข่ายเพื่อสร้างนวัตกรรมร่วมกัน อาจน�ำมาซึ่งโอกาสอันยิ่งใหญ่ แต่ควรจะระมัดระวังอุปสรรค หรือกับดักทีอ่ าจเกิดขึน้ ระหว่างทางด้วย กลไกการก�ำกับดูแลที่ดีพอจะช่วยให้การท�ำงานร่วมกัน (โดยเฉพาะ
Focus
การแลกเปลีย่ นองค์ความรู)้ เป็นไปได้ดว้ ยดี ขณะเดียวกัน ก็ชว่ ยระงับ ยับยั้งพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา (เช่น การฉกฉวยโอกาส) ไม่ให้เกิด ขึ้นด้วย
การกำ�กับดูแลการสร้างนวัตกรรมแบบเปิด
กลไกการก�ำกับดูแลการท�ำงานร่วมกันในเครือข่ายการสร้าง นวัตกรรม อาจแบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. การก�ำกับดูแลการท�ำธุรกรรม (transactional governance) ประกอบด้วย การจัดท�ำเอกสารต่าง ๆ ที่ต้องใช้ร่วมกัน เช่น สัญญา หลักเกณฑ์ กระบวนการในการปฏิบตั งิ านก�ำหนดหน้าที่ และ ความรับผิดชอบ การจัดการความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ เป็นต้น การก�ำกับ ดูแลประเภทนีจ้ งึ มักมีความเป็นทางการและต้องผ่านการยอมรับร่วม กัน 2. การก�ำกับดูแลกิจการสัมพันธ์ (relational governance) บนพื้นฐานของความไว้วางใจและเคารพซึ่งกันและกันของปัจเจกบุคคล การก�ำกับดูแลประเภทนี้ มักกระท�ำผ่านการสื่อสารหรือการ ปฏิบัติที่ไม่เป็นทางการ และมักเป็นการกระท�ำซ�้ำแล้วซ�้ำเล่า โดยมุ่ง เน้นการปรับตัวเข้าหากัน สร้างการยอมรับให้เกิดขึ้น การสร้าง บรรยากาศที่สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือ รวมทั้งท�ำให้เกิดความ เข้าใจเป้าหมายร่วมกันของบุคลากรขององค์กรต่าง ๆ ภายในเครือ ข่าย 3. การก�ำกับดูแลสถาบัน (institutional governance) โดย จัดให้มีหน่วยท�ำหน้าที่ในการบริหารจัดการเครือข่ายโดยตรง เพื่อ ช่วยให้กิจกรรมต่าง ๆ ที่ด�ำเนินงานโดยองค์กรที่เกี่ยวข้องสอดรับหรือ ต่อเนื่องกันโดยไม่สะดุด และมักจะมีผู้จัดการเครือข่าย (network manager) มารับผิดชอบหน่วยงานนี้
ปัจจัยสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมแบบเปิด
เมือ่ องค์กรต่าง ๆ ตกลงร่วมกันว่าจะร่วมมือกันสร้างนวัตกรรม โดยสร้างโครงการขึ้นมารองรับ ซึ่งโดยมากมักมีโครงการวิจัยเป็น องค์ประกอบส่วนหนึง่ ต่อไปนีค้ อื ปัจจัยทีส่ นับสนุนการสร้างนวัตกรรม แบบเปิด 1. โครงการวิจยั ดังกล่าวควรมีความสัมพันธ์กบั ความรูค้ วาม เชี่ยวชาญที่มีอยู่แต่เดิมของนักวิจัยในองค์กรที่เกี่ยวข้อง 2. ควรมีนักวิจัย 2 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ นักวิจัยที่มีความรู้ เชิงลึกในเรื่องที่เกี่ยวข้อง (เช่น ความรู้ระดับเทคนิค เป็นต้น) ส่วนอีก กลุ่มหนึ่ง คือ นักวิจัยที่มีความรู้กว้างขวางพอที่จะสามารถท�ำความ เข้าใจเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้ เมื่อนักวิจัยทั้ง 2 กลุ่มนี้มาท�ำงาน ร่วมกันในการสร้างนวัตกรรมจะสามารถเชื่อมต่อข้อมูลและความรู้ ซึ่งกันและกันได้ และจะน�ำไปสู่การร่วมกันสร้างแนวคิดใหม่ ๆ
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
59 <<<
Focus
&
3. ต้องมีกลไกในการสร้างความเชื่อมโยงภายในเครือข่าย สามารถบริหารจัดการความร่วมมือระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมี ประสิทธิภาพ 4. วัฒนธรรมองค์กรต้องเอือ้ ต่อการสร้างนวัตกรรมแบบเปิด ซึ่งรวมถึงโครงสร้างองค์กร และผู้น�ำขององค์กรด้วย 5. ยึดมัน่ กับเป้าหมายทีต่ กลงร่วมกันไว้ มีการหารือกัน หาก เกิดความขัดแย้งทีอ่ าจเกิดขึน้ ระหว่างทาง นักวิจยั อาจมุง่ ความสนใจ ที่การสร้างนวัตกรรมผ่านการวิจัย ในขณะที่ผู้ประกอบการมุ่งการน�ำ ไปใช้งานและการสร้างก�ำไร นอกจากนี้ นักวิจัยที่ร่วมในโครงการจ�ำเป็นต้องมีทักษะใน เรื่องต่อไปนี้ 1. ทั ก ษะในการท� ำ งานร่ ว มกั น (collaboration skills) ประกอบด้วย ทักษะในการสื่อสาร การสร้างเครือข่ายการท�ำงานร่วม กับบุคคลภายนอกองค์กร การสร้างความไว้วางใจ การท�ำงานเป็นทีม 2. ทักษะสหวิทยาการ (interdisciplinary skills) ประกอบด้วย ทักษะในการท�ำงานข้ามฝ่าย (internal cross-functional teams) ท�ำงานกับวิชาชีพต่าง ๆ รู้เท่าทันสื่อรูปแบบใหม่ คิดเชิงยุทธศาสตร์ ตระหนักความแตกต่างเรื่องวัฒนธรรมองค์กร บริหารจัดการการ ท�ำงานกับองค์กรอื่นได้ 3. ทักษะเชิงวิธกี าร (methodical skills) ประกอบด้วย ทักษะ ในการท�ำงานหลายอย่างพร้อม ๆ กัน สามารถแก้ปญ ั หาได้ การท�ำงาน ร่วมกันทั้งภายในและภายนอกองค์กร 4. ทักษะในการส�ำรวจ (explorative skills) ประกอบด้วย ทั ก ษะในการแบ่ ง ปั น ความรู ้ แ ละความคิ ด ทั้ ง ภายในองค์ ก รและ ระหว่างองค์กร มีความตระหนักด้านความเสี่ยง อดทนต่อความ ล้มเหลว มีชดุ ความคิดทัง้ ด้านเทคโนโลยีและการตลาด รวมทัง้ มีความ สามารถในการปรับตัวและมีความยืดหยุ่น 5. ทักษะในการเปลี่ยนแปลง (transformational skills) ประกอบด้วย ทักษะของผู้ประกอบการ ความเป็นผู้น�ำ และมีความ สร้างสรรค์ 6. ทักษะในการใช้ประโยชน์ (exploitative skills) ประกอบ ด้ ว ย ทั ก ษะในการจั ด การทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา และการบริ ห าร โครงการ
การสร้างนวัตกรรมแบบเปิดกับระบบนวัตกรรมของชาติ
รายงานการศึกษาของ Wang และคณะ ในปี พ.ศ.2555 ระบุ ว่ า ระบบนวั ต กรรมของชาติ มี น วั ต กรรมของผู ้ ป ระกอบการเป็ น ศูนย์กลาง การเปลี่ยนแปลงแนวปฏิบัติในการสร้างนวัตกรรมของ ผูป้ ระกอบการจึงส่งผลต่อระบบนวัตกรรมของชาติ การสร้างนวัตกรรม แบบเปิด ซึ่งเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการ สถาบันวิจัย/ สถาบันการศึกษา และหน่วยงานของรัฐ จึงส่งผลต่อระบบนวัตกรรม >>>60
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
ของชาติใน 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. การสร้างนวัตกรรมแบบเปิดท�ำให้ระบบนวัตกรรมของ ชาติเข้มแข็งขึ้น เนื่องจากท�ำให้เกิดความเชื่อมโยงในรูปแบบต่าง ๆ ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และเทคโนโลยี มีการคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญา มีการสร้างความรู้จากการวิจัยและพัฒนา และ มีการศึกษา/การฝึกอบรม 2. การสร้างนวัตกรรมแบบเปิดช่วยเพิม่ ประสิทธิผลให้กบั ระบบนวัตกรรมของชาติ ซึ่งเป็นผลจากการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างคุ้มค่า ไม่ว่าจะเป็นบุคลากรที่มีทักษะและความรู้เฉพาะด้าน เทคโนโลยี ซึง่ อาจล้าสมัยส�ำหรับองค์กรหนึง่ แต่มคี วามจ�ำเป็นส�ำหรับ อีกองค์กรหนึ่ง 3. การสร้ า งนวั ต กรรมแบบเปิ ด ท� ำ ให้ เ กิ ด เครื อ ข่ า ยที่ หลากหลาย อันเป็นผลจากการมีโครงสร้างใหม่ ๆ เพื่อสนับสนุนการ ท�ำงานร่วมกันในเครือข่าย เช่น ตัวกลางส�ำหรับการสร้างนวัตกรรม (innovation intermediary) ตลาดเทคโนโลยี เครือข่ายแบบออนไลน์ เป็นต้น เครือข่ายการสร้างนวัตกรรมแบบเปิดจะเป็นที่แพร่หลายใน อนาคตอันใกล้ การท�ำงานร่วมกันระหว่างองค์กรแบบเครือข่ายจะมี มากขึน้ และเปิดกว้างมากขึน้ จนเป็นเรือ่ งธรรมดาสามัญ ผูท้ ไี่ ม่เต็มใจ หรือไม่สามารถทันต่อการเปลี่ยนแปลงจะถูกทิ้งไว้เบื้องหลัง ที่มา: 1. Amaral M. (2015) Knowledge Flow Management: Open Innovation + 3/4/5/n-tuple helix. The XXVI ISPIM Conference - Shaping the Frontier of Innovation Management, Budapest, Hungary, 14-17 June 2015. 2. Clauss T. (2015) Governance of Open Innovation Networks with National vs. International Scope. The XXVI ISPIM Conference - Shaping the Frontier of Innovation Management, Budapest, Hungary, 14-17 June 2015. 3. Podmetina D, Hafkesbrink J, Teplov R, et al. (2015) What Skills and Competences are Required to Implement Open Innovation? The XXVI ISPIM Conference - Shaping the Frontier of Innovation Management, Budapest, Hungary, 14-17 June 2015. 4. Wang W, Vanhaverbeke W and Roijakkers N. (2012) Exploring the Impact of Open Innovation on National Systems of InnovationA Theoretical Analysis. Technological Forecasting and Social Change 79:419-428. 5. What is Innovation? Nine Sigma. (http://www.ninesigma.com/ open-innovation-resources/what-is-oi)
&
Worldwide
ล้านล้านเซนเซอร์... เซนเซอร์
อยู่ทุกหนทุกแห่ง
หรื อ อุ ป กรณ์ ต รวจรู ้ นั บ ว่ า มี อ ยู ่ ทุ ก หน ทุกแห่งรอบๆ ตัวเรา แม้แต่ในตัวเราบางคน อาจจะมี เ ซนเซอร์ ฝ ั ง อยู ่ ภ ายในร่ า งกายก็ เ ป็ น ไปได้ มี ก ารคาดการณ์ ว ่ า จ�ำนวนเซนเซอร์ทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นจากหลักพันล้านตัว (billion) ไปสู่หลัก ล้านล้านตัว (trillion) ในอีกไม่เกิน 10 ปีข้างหน้า
ความ
ต้ อ งการหลั ก ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของเซนเซอร์มาจากแนว โน้มของเทคโนโลยีที่ช่วยให้ทุกอย่างฉลาด ขึ้นหรืออัจฉริยะขึ้นนั่นเอง และเพื่อแก้ภัย คุกคามและปัญหาที่มนุษยชาติก�ำลังเผชิญ เช่น ปัญหาโลกร้อน ความยากจนและความ หิวโหย ปัญหาขาดแคลนน�ำ้ ดืม่ สะอาด ปัญหา การขาดแคลนน�้ำมัน ปัญหาการลดลงของ ประชากร ปัญหาสังคมผูส้ งู อายุ ปัญหาค่าใช้ จ่ายในการรักษาพยาบาล เป็นต้น ซึ่งล้วน
ดร.อดิสร เตือนตรานนท์
ผู้อำ�นวยการ ศูนย์นวัตกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)
แล้วแต่เป็นความท้าทายอันยิ่งใหญ่ที่เรา ต้องหาทางแก้ไข แนวโน้มความต้องการ เซนเซอร์ที่เพิม่ ขึ้นในช่วงที่ผ่านมา เกิดขึน้ มา จากการเติบโตของตลาดสมาร์ทโฟน แทบเล็ต เกมส์คอนโซล และกล้องดิจิทัล ซึ่งล้วน มีเซนเซอร์ขนาดเล็กฝังอยูภ่ ายในแทบทัง้ สิน้ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2555 ที่ผ่านมา เซนเซอร์ทั้ง 4 ชนิด ได้แก่ เซนเซอร์วัดความ เร่ง เซนเซอร์วัดมุม เซนเซอร์เข็มทิศ และ ไมโครโฟน ซึ่งสร้างด้วยเทคโนโลยีระบบ
เครื่ อ งกลไฟฟ้ า จุ ล ภาค (Micro Electro Mechanical Systems หรือ MEMS) แต่ละ เซนเซอร์สามารถขายได้มากกว่าหนึ่งพันล้านตัวต่อปี และตลาดเซนเซอร์ในโทรศัพท์ สมาร์ทโฟนเติบโตมากกว่า 200 เปอร์เซ็นต์ อย่างต่อเนือ่ งในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา เหตุการณ์ นีเ้ ป็นเพียงจุดเริม่ ต้น เป็นเพียงคลืน่ ลูกเล็ก ที่ จะมีคลืน่ ลูกใหญ่กว่าทีจ่ ะมาตามถาโถมเข้า ใส่ คลื่นลูกใหญ่กว่าที่จะตามมา ก็คือ วัตถุ อัจฉริยะ (smart objects) ซึง่ นอกจากมนุษย์
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
61 <<<
&
Worldwide จะเชื่อมโยง สื่อสารและตอบสนอง วัตถุ ต่างๆ รอบตัว ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์ เครื่องใช้ ไฟฟ้าในบ้าน และแม้แต่สัตว์เลี้ยงที่บ้าน ก็ สามารถสือ่ สาร เชือ่ มโยงและตอบสนองผ่าน ระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต ซึ่ ง ทั้ ง หมดต้ อ งอาศั ย เซนเซอร์ทมี่ ขี นาดเล็กลง ฉลาดขึน้ และราคา ที่ถูกลง คลืน่ ลูกยักษ์นเี้ ป็นทีส่ นใจของบริษทั ไอทียักษ์ใหญ่ ตัวอย่างเช่น Apple ก็ได้จด สิทธิบัตรเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องไว้แล้ว เรียก ว่า Personal Item Network ซึง่ ระบบดังกล่าว สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่อยู่กับตัวเรากับ ระบบต่าง ๆ รอบ ๆ ตัวเรา รวมทั้งระบบการ จ่ายเงินอัตโนมัติด้วย เพื่อตรวจวัดสุขภาพ การเคลื่อนไหวของร่างกาย เป็นต้น บริษทั Bosch ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตเซนเซอร์ รายใหญ่ในรถยนต์และในบ้านคาดการณ์วา่ ความต้องการเซนเซอร์จะสูงถึง 7 ล้านล้าน เซนเซอร์ ส�ำหรับผู้ใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่ จะเพิ่มขึ้นเป็น 7 พันล้านคน ในปี พ.ศ.2560 ซึ่งหมายถึงแต่ละคนจะมีเซนเซอร์รอบ ๆ ตัว ถึง 1,000 ตัว ทั้งในโทรศัพท์ รถยนต์ และใน บ้าน บริษัท Texas Instrument ก็คาดการณ์ ว่า วัตถุอัจฉริยะที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตจะมี มากถึง 13 ล้านล้านตัว ภายในปี พ.ศ.2568 ส�ำหรับระบบอัจฉริยะต่าง ๆ รวมทั้งเมือง อัจฉริยะ (smart city) เกษตรกรรมอัจฉริยะ
>>>62
(smart agriculture) ระบบดูแลสุขภาพ อัจฉริยะ (smart healthcare) เป็นต้น สรรพสิง่ ทีอ่ ยูร่ อบ ๆ ตัวเราจะมีความ ฉลาด หมายถึง มีระบบประมวลผลด้วย คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือมีความสามารถ ในการสื่อสารข้อมูลกับผู้ใช้งาน รวมทั้งมี ความสามารถในการรับรู้และตอบโต้กับเรา ซึ่งจ�ำเป็นต้องมีอุปกรณ์เซนเซอร์ในตัวมัน ตัวอย่างเช่น โทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่เราใช้กัน ป้ า ยแสดงผลที่ เ ป็ น หน้ า จอสั ม ผั ส หรื อ รถยนต์รุ่นใหม่ ๆ ที่มีอิเล็กทรอนิกส์มากมาย แต่ในอนาคตอันใกล้สรรพสิ่งรอบ ๆ ตัวเรา จะฉลาดมากขึ้ น เรื่ อ ย ๆ เป็ น ผลมาจาก คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลงและราคาถูก จนสามารถฝังตัวเข้าไปในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ได้ เช่น บอร์ดคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กอย่าง Raspberry Pi, Arduino ฯลฯ ประกอบกับเซนเซอร์ที่มีขนาดเล็กลงและ ราคาถูกลงเช่นกัน เช่น เซนเซอร์วัดมุมเอียง เซนเซอร์วัดแรงกระแทกหรือเขย่า เซนเซอร์ วัดอุณหภูมิ ความชืน้ สารพัดนับล้านล้านตัว จนเรียกได้ว่า เราเข้าสูย่ ุค Trillion Sensors เซนเซอร์นบั ล้านล้านตัวจะถูกน�ำมา ท�ำให้สรรพสิ่งรอบตัวเราที่มันโง่ ท�ำให้ฉลาด ขึ้นในรูปของฉลากอัจฉริยะ (smart label) ที่ สามารถน�ำไปติดกับวัตถุตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะเป็น สินค้า อุปกรณ์เครือ่ งใช้ และรวมถึงสิง่ มีชวี ติ
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
เช่น สัตว์เลี้ยงและมนุษย์ เพื่อวัดและเก็บ ข้อมูลที่ต้องการและสื่อสารขึ้นไปสู่ระบบ อินเทอร์เน็ต อาจจะเป็นระบบมีสายและไร้ สายผ่านระบบคลาวด์ที่มีซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ขนาดยักษ์ เหมือนในหนังภาพยนตร์ ฮอลลีวู้ด เรื่อง Transcendence ที่สามารถ อัปโหลดสติปัญญาและประสบการณ์ใน สมองอันชาญฉลาดของพระเอกไปเก็บไว้ใน คอมพิวเตอร์ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้วา่ เราจะเห็นชิป อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กฝังอยู่ในบัตรเครดิต หรือแม้แต่ในหนังสือเดินทางพาสสปอร์ตอยู่ แล้วก็ตาม ชิปเซนเซอร์ทมี่ ขี นาดเล็กเหล่านัน้ ก็ยังใช้เทคโนโลยีที่ท�ำมาจากวัสดุจ�ำพวก ซิลิกอน ซึ่งยังมีราคาแพงอยู่ ล่าสุดจึงเกิด แนวคิ ด ที่ จ ะใช้ เ ทคโนโลยี ก ารพิ ม พ์ เช่ น เดียวกันกับการพิมพ์หนังสือพิมพ์ที่ท่านถือ อ่านอยู่ มาใช้ในการผลิตเซนเซอร์ราคาถูก ด้วยการพิมพ์ เรียกว่า เซนเซอร์พมิ พ์ได้ หรือ Printed Sensors เราเรียกว่า อิเล็กทรอนิกส์ แบบพิมพ์ได้ หรือ Printed Electronics ซึ่ง เป็นหนึง่ ในเทคโนโลยีทจี่ ะมาช่วยท�ำให้ตน้ ทุน ของการผลิ ต ฉลากอั จ ฉริ ย ะ หรื อ Smart Label ถูกลง และน�ำไปสู่อินเทอร์เน็ตของ สรรพสิ่ง หรือ Internet of Things ที่เป็นจริง ได้โดยไม่ต้องรอนาน นอกจากราคาที่ถูกลง แล้ว การทีม่ นั ใช้เทคโนโลยีการพิมพ์ทำ� ให้เรา สามารถพิมพ์เซนเซอร์ลงบนพลาสติกหรือ กระดาษ ท�ำให้บางลงและโค้งงอได้ ลองคิดดูสิครับว่า เมื่อเรามีฉลาก เซนเซอร์ ติ ด อยู ่ กั บ สิ่ ง ต่ า ง ๆ เช่ น ฉลาก เซนเซอร์ติดกับบรรจุภัณฑ์อาหารที่สามารถ วั ด อุ ณ หภู มิ ข องอาหารที่ บ รรจุ อ ยู ่ ภ ายใน สามารถใช้ในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์อาหาร แช่เย็น (cold chain logistics) เพื่อให้มั่นใจ ว่าอาหารถูกขนส่งมาอย่างปลอดภัย ไม่มี การถูกปล่อยให้เกิดการเน่าเสียจากการไม่ เก็บรักษาที่ถูกต้อง นอกจากอาหารแช่เย็น แล้ ว ฉลากไวน์ อั จ ฉริ ย ะก็ ไ ม่ ไ กลเกิ น จะ จินตนาการ ยาและเวชภัณฑ์ก็สามารถใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีฉลากเซนเซอร์นี้ เช่นกัน เพือ่ ให้มนั่ ใจว่า ยาถูกเก็บรักษาอย่าง ถูกต้องและปลอดภัย เพิ่มความมั่นใจให้
&
Worldwide ผู้บริโภค ถ้าสินค้า OTOP บ้านเรามีฉลาก อัจฉริยะก็คงจะดีไม่น้อยและน่าจะขายดีไป ทั่วโลก นอกจากเซนเซอร์ นับล้านล้านตัว (trillion sensors) จะใช้สำ� หรับระบบอัจฉริยะ ต่าง ๆ รวมทั้งเมืองอัจฉริยะ (smart city) เกษตรกรรมอัจฉริยะ (smart agriculture) และอีกหนึ่งการใช้งานของอินเทอร์เน็ตของ สรรพสิ่งที่ผมว่าจะมาแรงแซงทุกอัจฉริยะที่ กล่าวมา นั่นคือ ระบบดูแลสุขภาพอัจฉริยะ (smart healthcare) เพราะว่า จากการคาด การณ์โดยบริษัท MarketResearch.com และจากข้อมูลจากบริษทั Forbes ตลาดด้าน นี้จะมีมูลค่าถึง 117 พันล้านเหรียญสหรัฐ ภายในปี พ.ศ.2563 หรืออีก 5 ปีข้างหน้า ในปัจจุบันเรามีอุปกรณ์สวมใส่เพื่อ ติดตามการออกก�ำลังกายประจ�ำตัวมากมาย หลากหลายยีห่ อ้ ทัง้ หมดสามารถเชือ่ มต่อกับ อิ น เทอร์ เ น็ ต ได้ แ ทบทั้ ง สิ้ น นอกจากเพื่ อ วัตถุประสงค์ดงั กล่าวแล้ว อุปกรณ์การแพทย์ พื้นฐาน เช่น เครื่องวัดความดัน เครื่องตรวจ วัดน�้ำตาลและไขมันในเลือด ฯลฯ ต่างก็ สามารถเก็บข้อมูลและส่งข้อมูลไปยังระบบ ฐานข้อมูลเพือ่ จัดเก็บและส่งให้แพทย์ประจ�ำ ตัวคอยติดตาม แต่อย่างไรก็ตาม เรื่องความ ปลอดภัยของข้อมูลทางการแพทย์ส่วนตัว ต้องให้ความส�ำคัญ เพือ่ ป้องกันการน�ำข้อมูล ส่วนตัวไปใช้ประโยชน์และการถูกล้วงข้อมูล ระบบจัดการความปลอดภัยข้อมูลจึงมีความ ส�ำคัญและจ�ำเป็น แม้แต่ในโรงพยาบาล ก็ ถือว่ามีความส�ำคัญสูงสุด แม้แต่ในประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก าก็ เ พิ่ ง อยู ่ ร ะหว่ า งการออก กฎหมายคุ ้ ม ครองความปลอดภั ย ข้ อ มู ล ทางการแพทย์ โดย National Institute of Standards and Technology หรือ NIST ก็ พยายามออกแนวทางการปฏิบัติเรื่องความ ปลอดภัยของอุปกรณ์การแพทย์ที่เชื่อมต่อ กับอินเทอร์เน็ต โดยใช้กรณีศกึ ษาเป็นเครือ่ ง ปั๊มอินซูลินในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อป้องกัน ผู้ไม่ประสงค์ดีจะเข้ามาเจาะและแกล้งให้ เครื่องท�ำงานผิดปกติ เป็นต้น นอกจากเครื่ อ งปั ๊ ม อิ น ซู ลิ น ยั ง มี เครื่ อ งมื อ แพทย์ อื่ น ๆ อี ก ที่ เ ชื่ อ มต่ อ กั บ
อินเทอร์เน็ตผ่านเกตเวย์ภายในโรงพยาบาล เช่น เครือ่ ง X-ray, CT Scan เครือ่ งฟอกเลือด (ไตเทียม) เป็นต้น ที่ต้องดูแลเรื่องความ ปลอดภัยของข้อมูล ในระดับโรงพยาบาล เซนเซอร์ที่เชื่อมต่อเตียงเข็นคนไข้กับระบบ ระบุเอกลักษณ์บุคคลด้วยคลื่นวิทยุ (RFID) ก็ถกู น�ำมาใช้ รถพยาบาลทีเ่ ชือ่ มต่อกับระบบ จราจรผ่ า นอิ น เทอร์ เ น็ ต เพื่ อ ส่ ง ผู ้ ป ่ ว ยถึ ง โรงพยาบาลเร็วขึ้น และขณะเดินทางก็ส่ง ข้ อ มู ล ของคนไข้ ถึ ง มื อ แพทย์ ก ่ อ นถึ ง โรง พยาบาลเสียอีก ในยุโรปก�ำหนดให้ตั้งแต่ ตุลาคมปีนี้ รถพยาบาลใหม่ทุกคันต้องใช้ ระบบนี้ เ รี ย กว่ า eCall เหล่านี้เป็นการใช้ ประโยชน์จากเซนเซอร์จำ� นวนมากทีเ่ ชือ่ มต่อ กับอินเทอร์เน็ตทั้งสิ้น นอกจากเรือ่ งของการออกก�ำลังกาย แล้ว เซนเซอร์ทสี่ วมใส่จะช่วยบอกพฤติกรรม การใช้ชีวิตของเราด้วย เช่น เรามักจะไปอยู่ ในสถานทีท่ มี่ มี ลพิษในอากาศหรือได้รบั ควัน บุหรี่มากน้อยแค่ไหน ไลฟ์สไตล์เป็นอย่างไร ฯลฯ ข้ อ มู ล เหล่ า นี้ จ ากประชากรจ� ำ นวน มาก ๆ เกิดเป็นค�ำใหม่ที่เรียกว่า Digital
Phenotype ข้อมูลจ�ำนวนมหาศาล (big data) ต้องถูกวิเคราะห์ (analytics) แล้วจะ ช่วยให้เราเข้าใจและปรับปรุงระบบสาธารณสุขประชากรและลดค่าใช้จ่ายในระบบดูแล สุขภาพประชากรได้อีกด้วย เพื่อมุ่งสู่การ แพทย์เชิงป้องกัน (preventive healthcare) มากยิ่งขึ้น ประเทศไทยควรลงทุนกับการ แพทย์เชิงป้องกันมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ย ในระบบสาธารณสุขของประเทศ ประชาชน จะได้ไปโรงพยาบาลน้อยลง และแข็งแรง มากยิ่งขึ้น ถ้าเรามองเห็นแนวโน้มว่าเซนเซอร์จะมีความส�ำคัญและมีความต้องการ เพิ่มขึ้นมากมายในอนาคตอันใกล้ ประเทศไทยจึงควรมีการวางแผนและวางนโยบาย เพื่อส่งเสริมและสร้างผู้ประกอบการด้าน เซนเซอร์ ใ ห้ เ พิ่ ม มากขึ้ น และมี เ ทคโนโลยี เป็นของตัวเอง ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศ ต่อไปในอนาคตเราก็จะท�ำให้ ประเทศไทยใกล้กบั ค�ำว่าอัจฉริยะมากยิง่ ขึน้ ได้อย่างแน่นอน
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
63 <<<
&
Report
ท�ำของเหลือใช้ ไม่เสียของ
เรียบเรียง: กองบรรณาธิการ
สิ่ง
ของบางอย่างที่เราอาจมองว่าเป็นของเหลือใช้...หากลองศึกษาอย่าง ละเอียดและสร้างสรรค์ ก็จะสามารถดึงศักยภาพที่มีของสิ่งนั้นมาใช้ ให้ เกิดมูลค่าได้ เช่น เดียวกับ “เถ้าชีวมวล” ของเหลือจากการผลิตไฟฟ้าชีวมวล ที่สามารถพลิกฟื้นผืนดินให้กับภาคการเกษตร
บริษัท
เนชัน่ แนล เพาเวอร์ ซัพพลาย จ�ำกัด (มหาชน) หรื อ NPS ผู ้ น� ำ ด้ า นพลั ง งานทดแทนจาก พลังงานปลูกได้ ถือเป็นผูร้ เิ่ ริม่ รายแรก ๆ ในประเทศไทย ทีน่ ำ� เศษวัสดุ ทางการเกษตร เช่น แกลบ ชานอ้อย เปลือกไม้ เหง้ามัน ซังข้าวโพด และรากไม้ กลับมาใช้ประโยชน์เพื่อเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า โดยการรับซื้อเศษวัสดุเหล่านั้นจากเกษตรกรในพื้นที่ ตามแนวคิด “ท�ำของเหลือใช้ ไม่ให้เสียของ” ซึ่งนอกจากจะสร้างความมั่นคงทาง พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังช่วยสร้างรายได้เสริมให้แก่ เกษตรกรด้วย โดยในแต่ละปีที่ผ่านมา NPS มีการรับซื้อเศษวัสดุ ทางการเกษตรจากเกษตรกรปีละไม่นอ้ ยกว่า 1.5 ล้านตัน หรือคิดเป็น มูลค่าประมาณ 1,700 ล้านบาท >>>64
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
จากแนวคิดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยการ “ท�ำของเหลือ ใช้ ไม่ให้เสียของ” นี้เอง ท�ำให้ NPS มีโครงการต่อยอดที่จะน�ำ “เถ้า ชีวมวล” ซึ่งเป็นของเหลือจากการผลิตไฟฟ้ากลับมาใช้งานโดยผ่าน การรั บ รองจากส� ำ นั ก วิ จั ย พั ฒ นาปั จ จั ย การผลิ ต ทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตรว่า เถ้าชีวมวลมีปริมาณธาตุอาหารทีเ่ ป็นประโยชน์ กับพืชไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม จึงเกิดเป็นความร่วมมือกับหน่วยงานและเกษตรกรในพืน้ ทีใ่ น การน�ำเถ้าชีวมวลไปใช้ผสมดินเพื่อเพิ่มความร่วนซุยและช่วยปรับ สภาพดิน ทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้ขอการ สนับสนุนเพื่อน�ำเถ้าชีวมวลไปผสมกับดินร่วนปนทรายและปุ๋ยหมัก ชีวภาพที่ท�ำจากเศษใบไม้และมูลสัตว์ ส�ำหรับใช้เป็นวัสดุปลูกเพาะ ช�ำกล้าไม้ อาทิ ประดู่ ชิงชัน มะค่าโมง หญ้าแฝก และพืชสมุนไพร เพือ่ แจกจ่ายกล้าไม้ให้กับประชาชน ตามโครงการเพื่อสร้างพื้นที่สีเขียวที่ ยั่งยืนให้กับชุมชน คุณกฤษณา ทิวาตรี รองผู้อ�ำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนา เขาหินซ้อนฯ กล่าวว่า “ผลผลิตกล้าไม้ของศูนย์ฯ มีจ�ำนวน 260,000
& กล้าไม้ตอ่ ปี และมีการเพาะช�ำกล้าไม้ใช้สอย เช่น หญ้าแฝก ประมาณ 3-4 แสนกล้าไม้ตอ่ ปี จึงมีความต้องการเถ้าชีวมวลมาใช้ผสมเป็นวัสดุ ปลูก และ NPS ก็ได้สนับสนุนเถ้าชีวมวลให้แก่ศนู ย์ฯ น�ำมาใช้ปรับปรุง คุณภาพดิน โดยศูนย์เพาะกล้าไม้ขึ้น เพื่อแจกจ่ายกล้าไม้ที่มีคุณค่า ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ให้กับหน่วยงานและชุมชนรอบศูนย์ศึกษา ต่อไป” ดร.วรกลต์ แจ่ ม จ� ำ รู ญ หัวหน้างานสวนพฤษศาสตร์ให้ สัมภาษณ์ว่า “เถ้าชีวมวลท�ำให้ดินร่วนซุยและอุ้มน�้ำ เหมาะสมที่จะ น�ำไปเป็นวัสดุเพาะช�ำกล้าไม้ ของศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ เพื่อต่อยอดโครงการแจกจ่ายกล้าไม้ให้กับประชาชน และหน่วยงาน ราชการ อาทิ กรมป่าไม้ เป็นต้น” อีกหนึง่ กิจกรรมที่ NPS จัดขึน้ เพือ่ สร้างประโยชน์ให้กบั ชุมชน อย่างต่อเนื่อง นั่นก็คือ “โครงการปลูกผักสวนครัว เพื่ออาหารกลาง วัน” น�ำโดยพนักงานจิตอาสาทีม่ คี วามรูด้ า้ นการเกษตรของ NPS รวม กลุม่ จัดกิจกรรมทีโ่ รงเรียนวัดแหลมเขาจันทร์ ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอ พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ให้ความรู้เรื่องการปลูกผักสวนครัว และการเตรียมดินโดยใช้เถ้าชีวมวลจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ของโรงไฟฟ้าชีวมวลเป็นส่วนผสมในการปรับปรุงดินเพือ่ ให้เหมาะกับ การเพาะปลูก กิจกรรมนี้ น้อง ๆ นักเรียนได้เรียนรูข้ นั้ ตอนการปลูกผัก สวนครัว อาทิ ผักชี ผักคะน้า ผักบุ้ง เป็นต้น ตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียม ดิน การเตรียมแปลงปลูก การโรยเมล็ด และการดูแลรดน�้ำ เพื่อให้ น้อง ๆ เรียนรูแ้ ละดูแลผักสวนครัวได้ตอ่ เนือ่ ง ผักทีไ่ ด้จะน�ำไปประกอบ อาหารกลางวัน อาจารย์สมศักดิ์ เช้าวันดี ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนวัดแหลมเขา จันทร์ กล่าวว่า “เห็นด้วยและยินดีกับโครงการนี้ นอกจากจะส่งเสริม ด้านโภชนาการแล้ว ยังท�ำให้นักเรียนได้สร้างเสริมประสบการณ์การ เรียนรูน้ อกห้องเรียนแบบยัง่ ยืน เพราะกิจกรรมนี้ NPS ไม่ได้มาแค่จดั กิจกรรมแล้วจากไป แต่ยังคงให้ความรู้และปลูกฝังความรับผิดชอบ แก่นักเรียน ให้พวกเขาดูแลแปลงปลูกผักสวนครัวอย่างต่อเนื่อง” ด้าน เด็กชายธนกรณ์ ศรีดาพงศ์ นักเรียนโรงเรียนวัดแหลม เขาจันทร์ หนึ่งในผู้เข้าร่วมโครงการ เล่าด้วยรอยยิ้มว่า “ผมชอบ กิจกรรมปลูกผักสวนครัว เพราะสนุกและได้ความรู้ กิจกรรมนี้ท�ำให้ ผมได้รู้ว่า เถ้าชีวมวลน�ำไปใช้เตรียมดินเพื่อปลูกผัก ท�ำให้ได้ผลผลิต ดี ผมรู้สึกภูมิใจที่ได้ทานผักที่ปลูกเองด้วยครับ” นอกจากนี้หลายปีที่ผ่านมา มีชาวบ้านที่ท�ำการเกษตรใกล้ ๆ กับโรงไฟฟ้า ติดต่อขอเถ้าชีวมวลไปใช้บ�ำรุงดินเพื่อปลูกพืชต่าง ๆ เช่น กล้วย พริก มะเขือ มันส�ำปะหลัง เป็นต้น โดยชาวบ้านที่เคยใช้ เถ้าชีวมวลปรับปรุงดิน ต่างเห็นตรงกันว่า เถ้าชีวมวลช่วยให้พืชผล เจริญเติบโตได้ดี มีผลผลิตที่สูงขึ้น ลดภาระต้นทุนการเพาะปลูก ลด
Report
การใช้ปุ๋ยเคมี และยังเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างหมุนเวียนและคุ้มค่า อีกด้วย คุณส�ำรวย กรอกน้อย เจ้าของแปลงปลูกสมุนไพร เกษตรกร รายหนึ่งที่น�ำเถ้าชีวมวลไปใช้ในการปลูกพืช เล่าว่า “ตอนแรกไม่รู้ว่า ท�ำไมต้นขมิ้นที่ป้าปลูกไว้ถึงโตขึ้นอย่างเห็นได้ชัด มารู้ตอนหลังว่าป้า บังเอิญเทเถ้าไว้ที่แปลง หลังจากนั้นก่อนจะลงมือปลูกสมุนไพร ป้าก็ จะเอาเถ้าไปปรับหน้าดินตลอด ไม่เคยผิดหวัง เพราะดินก็ออกมาร่วน ซุย สมุนไพรที่ปลูกไว้ก็สวยงาม” ด้วยความเชือ่ และแนวคิดทีว่ า่ ทุกสิง่ ล้วนมีประโยชน์และเรา สามารถ “ท�ำของเหลือใช้ ไม่ให้เสียของ” ท�ำให้ NPS คิดและท�ำให้ สิ่งไร้ค่าในอดีตอย่าง “เศษวัสดุทางการเกษตร” กลับกลายเป็น “พลังงานไฟฟ้า” และเมื่อเกิดของเหลือจากการผลิตไฟฟ้าอย่าง “เถ้า ชี ว มวล” เราก็ ยั ง สามารถท� ำ ให้ ก ลายเป็ น สิ่ ง มี คุ ณ ค่ า เพื่ อ สร้ า ง ประโยชน์กลับคืนสู่การเกษตรอีกครั้ง การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนเพือ่ ให้เกิดประโยชน์ทงั้ ทางเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อมนัน้ สามารถเกิดขึน้ ได้ถา้ เราทุกคนช่วยกันคิด ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าและรู้คุณค่า
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
65 <<<
&
Visit
เคล็ด(ไม่)ลับ จัดการโรงงานสีเขียว โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค บางปู การ
จัดการพลังงานและอนุรกั ษ์พลังงาน เป็นหนึง่ ในหลาย แนวทางมุ่งสู่การโรงงานสีเขียว และเป็นแนวทางที่ สามารถมองเห็นผลลัพธ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม ท�ำให้หลาย ๆ โรงงาน มุ่งไปที่การจัดการพลังงาน เป็นเป้าหมายแรก ชไนเดอร์ อิเล็คทริค นอกจากจะเป็นบริษัทผู้เชี่ยวชาญด้าน การบริหารจัดการพลังงานระดับโลก ทีพ่ รัง่ พร้อมด้วยโซลูชนั่ ครบวงจร ที่สามารถตอบสนองความต้องการด้านการจัดการพลังงานของทุก กลุ่มธุรกิจ อาทิ กลุ่มธุรกิจด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน อุตสาหกรรมและเครื่องจักร อาคารเพื่อการพาณิชย์ ดาต้าเซนเตอร์ และระบบเครือข่าย ตลอดจนกลุ่มที่พักอาศัย โดยเน้นไปที่การสร้าง พลังงานที่ปลอดภัย มั่นใจได้ มีประสิทธิภาพที่ดี ให้ผลผลิตสูง และ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแล้ว สิ่งหนึ่งที่ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ด�ำเนินการ ควบคูไ่ ปด้วย คือ การบริหารจัดการพลังงานภายในองค์กรของตนเอง ด้วยโซลูชั่นของชไนเดอร์ อิเล็คทริคเอง ย่างก้าวทีส่ ำ� คัญของโรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ที่ ด�ำเนินการผลิตมากว่า 25 ปี เป็นโรงงานที่ไม่หยุดนิ่งที่จะพัฒนา และเดินหน้าสู่การโรงงานผลิตที่มีประสิทธิภาพสูง ประหยัดพลังงาน และใส่ใจสิง่ แวดล้อม เพือ่ เป็นโรงงานต้นแบบให้โรงงานอืน่ ๆ ในเครือ >>>66
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
การ
กองบรรณาธิการ
จัดการพลังงาน เป็น เรื่องที่ต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์มาช่วย ในการบริ ห ารจั ด การ ประกอบกั บ การพั ฒ นาเทคโนโลยี ด ้ า น การจั ด การพลั ง งานสมั ย ใหม่ ที่ ทั น สมั ย ใช้ ง านง่ า ย ท� ำ ให้ ผู ้ ป ระกอบการ อุตสาหกรรมสามารถจัดการพลังงานภายในโรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้น ลดต้นทุนด้านพลังงาน และสนับสนุน แนวทางโรงงานสีเขียว (green factory)
รวมไปถึงใช้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ด้านการจัดการพลังงานส�ำหรับ ลูกค้า โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ตั้งอยู่ในนิคม อุตสาหกรรมบางปู เริม่ สายการผลิตครัง้ แรกในปี พ.ศ.2533 และได้มี การพัฒนามาอย่างต่อเนือ่ ง ปัจจุบนั โรงงานแห่งนีไ้ ด้นำ� นวัตกรรมการ ผลิตทีท่ นั สมัยเข้ามาใช้ เพือ่ ให้เกิดกระบวนการผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทัง้ ในส่วนทีใ่ ห้พนักงานควบคุม และในส่วนทีม่ กี ารน�ำระบบอัตโนมัติ เข้ามาใช้งาน ตั้งแต่กระบวนการตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบที่มี ความละเอียดแม่นย�ำในระดับไมครอน เพื่อให้ได้มาตรฐานตามที่ ต้องการ ส่วนทางด้านสายการผลิต ได้มกี ารผสมผสานการท�ำงานร่วม กันระหว่างพนักงานที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษ และระบบอัตโนมัติที่มี
& ความแม่นย�ำสูง โดยเฉพาะการผลิตผลิตภัณฑ์ทตี่ อ้ งการความแม่นย�ำ สูง เช่น การเชื่อมสายไฟด้วยเลเซอร์ การบรรจุชิ้นส่วนเล็ก ๆ ลงไปใน ผลิตภัณฑ์ ไปจนถึงกระบวนการทดสอบคุณสมบัตขิ องผลิตภัณฑ์ดว้ ย ระบบอัตโนมัติ ที่ให้ความแม่นย�ำสูง มีมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก มร.เซดริค ดาร์มัว ผู้อ�ำนวยการโรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ให้ข้อมูลว่า โรงงานแห่งนี้เป็นต้นแบบของโรงงาน ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เนื่องจากมีการพัฒนาและเจริญก้าวหน้าทุก ๆ ปี ในทุกด้าน โดยเฉพาะด้านการผลิตที่ได้มีการน�ำระบบอัตโนมัติมาใช้ ในการผลิตเพื่อรองรับการผลิตสินค้าที่ต้องการเทคโนโลยีขั้นสูง โดย ได้มีการน�ำระบบอัตโนมัติเข้ามาติดตั้งครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2555 เรือ่ ยมาจนถึงปัจจุบนั เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ ลูกค้าจะได้รบั ผลิตภัณฑ์ทมี่ ี คุณภาพสูง และนอกจากในกระบวนการผลิต และตรวจสอบคุณภาพ แล้ว หลายปีที่ผ่านมา ได้น�ำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในส่วนต่าง ๆ ของโรงงาน เช่น น�ำรถ AGV มาใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการ ขนส่งภายในโรงงาน เป็นต้น ในส่วนการจัดการพลังงงาน ได้มีการเดินหน้าขับเคลื่อน ควบคู่ไปกับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในทุก ๆ ปี ล่าสุด ทาง โรงงานได้ติดตั้งโซลาร์รูฟ ขนาด 20 กิโลวัตต์ บนหลังคาลานจอดรถ ช่วยให้สามารถประหยัดค่าไฟฟ้าในช่วงกลางวันได้ถึง 1.6 แสนบาท ในช่วงหนึ่งปีที่ผ่านมา โดยภาพรวมสามารถลดการใช้พลังงานทั้ง โรงงานเฉลีย่ 5-15 เปอร์เซ็นต์ หรือ ประมาณ 221 เมกะวัตต์ตอ่ ปี เทียบ เท่าการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เฉลี่ย 128 ตันต่อปี ส่งผลให้ ได้รับใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 3 (Green Industry Level 3) จากกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นใบรับรองภายใต้โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว
Visit
ทั้งหมดเป็นผลจากความมุ่งมั่นในการพัฒนาและปรับปรุง กระบวนการผลิตและการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับการ ประกอบกิจการด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมทัง้ ภายในและภายนอก องค์กร ด้าน คุณชาติชาย โพธิวร ผู้จัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค เปิดเผยว่า ความส�ำเร็จในวันนี้ เกิดจากส่วนผสมที่ลงตัว 3 ส่วน ประกอบด้วย เทคโนโลยี วิสัยทัศน์ในเชิงนโยบาย และความเป็นทีมเวิร์คของ พนักงานทุกคน ที่ร่วมผลักดันให้โรงงานขึ้นแท่นเป็นอันดับ 1 ในภาค พื้นเอเชียตะวันออก (east asia) ของโรงงานชไนเดอร์ ทั้งหมดใน ภูมิภาคนี้ และได้รับมาตรฐานสากลที่เป็นที่ยอมรับทั่วโลก อาทิ มาตรฐานสากล ด้านการบริหารจัดการ (ISO 9001) มาตรฐานด้าน สิ่งแวดล้อม (ISO 14001) มาตรฐานด้านระบบการจัดการด้าน อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHSAS 18001) และมาตรฐาน ด้านการจัดการพลังงาน (ISO 50001) โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ให้ความใส่ใจกับระบบความ ปลอดภัยเป็นเรื่องส�ำคัญยิ่งยวด มีการด�ำเนินการมาตรการหลัก คือ
1. มร.เซดริค ดาร์มัว
ผู้อ�ำนวยการ โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย
2. คุณชาติชาย โพธิวร
ผู้จัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค
2
1
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
67 <<<
Visit
&
การใส่ระบบความปลอดภัยในเครื่องจักรทุกตัว มีการสร้างความ ตระหนักเรื่องความปลอดภัยให้กับพนักงานทุกคน รวมถึงการตรวจ สอบระบบรักษาความปลอดภัยตลอดเวลา จากการด�ำเนินการต่าง ๆ ที่กล่าวมาข้างต้น ส่งผลให้ได้รับ รางวัลทั้งในระดับสากล และรางวัลในประเทศ รางวัลสากล ที่ได้รับประกอบด้วย รางวัล Prefect Record Award (2014) เป็นรางวัลจากการประกอบกิจการ โดยไม่เกิดอุบตั เิ หตุ ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา รางวัล Million Work Hours Award (20132014) เป็นรางวัลจากการปฏิบัติงานมากกว่า 1 ล้านชั่วโมง และไม่ เกิดอุบัติเหตุใด ๆ ทั้งสิ้น และ รางวัล Occupational Excellence Achievement Award เป็นรางวัลด้านผลการปฏิบตั งิ านยอดเยีย่ มทาง ด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย จาก National Safety Council ประเทศสิงคโปร์ เมื่อปี พ.ศ.2557 ส�ำหรับรางวัลในประเทศ ประกอบด้วย รางวัล CSR-DIW Award รางวั ล มาตรฐานความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ป ระกอบการ อุตสาหกรรมต่อสังคม ประจ�ำปี 2557 จากกรมโรงงาน กระทรวง อุตสาหกรรม รางวัลด้านความปลอดภัย รางวัล Occupational Health
>>>68
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
and Safety Award และรางวัล Zero Accident Award จากส�ำนักงาน ความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เป็น รางวัลที่สถานประกอบการด�ำเนินการ โดยไม่มีอุบัติเหตุเกิดขึ้น “ความตั้ ง ใจของผมในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของโรงงาน ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ไม่มุ่งเน้นเพียงการเพิ่มผลผลิตที่เป็นผลิตภัณฑ์ เพียงอย่างเดียว แต่ต้องมีการเพิ่มประสิทธิภาพทั้งการผลิตและการ จัดการพลังงานควบคูก่ นั ไป ทีส่ ำ� คัญเราต้องการเพิม่ ความมีจติ อาสา ของพนักงานในการบ�ำเพ็ญประโยชน์ตอ่ สังคม และใส่ใจสิง่ แวดล้อม” มร.เซดริค กล่าว ทั้งนี้โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทยให้ความส�ำคัญ กับการด�ำเนินงาน และจัดกิจกรรมเพื่อสังคม ทั้งกิจกรรมที่จัดภายใน และกิจกรรมภายนอก กิจกรรมภายในองค์กร เพื่อส่งเสริมให้พนักงานท�ำกิจกรรม ร่วมกับองค์กร และเพื่อนร่วมงาน ภายใต้นโยบาย “องค์กรสร้างสุข” (happy workplace) อาทิ โครงการฝายชะลอน�้ำเพื่อสัตว์ป่า โดย ร่วมมือกับหลายองค์กรสร้างฝายชะลอน�้ำบนภูเขาในพื้นที่ป่าละอู โครงการ Happy Garden ส่งเสริมให้พนักงานปลูกผักไว้กินเอง โดย ปรับปรุงพื้นที่ภายในโรงงานให้เป็นพื้นที่ปลูกผัก โดยพนักงานมีส่วน ร่วมในการปลูก ดูแล เก็บเกีย่ ว และแบ่งปันระหว่างเพือ่ นร่วมงาน และ ผู้บริหาร เพื่อปลูกฝังแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนกิจกรรมภายนอกองค์กร ชไนเดอร์ อิเล็คทริค มีส่วนร่วม ในการช่วยเหลือชุมชนในพื้นที่ห่างไกล ไม่มีไฟฟ้าใช้ ด้วยการน�ำ Solar Panel Solution ไปติดตั้งให้กับโรงเรียนในหมู่บ้านโปปากี้ เพื่อ ใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน ติดตัง้ Solar Home Lighting ให้กบั หมู่บ้านชาวเขาที่อ�ำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จ�ำนวน 9 หมู ่ บ ้ า น พร้ อ มสาธิ ต วิ ธี ก ารติ ด ตั้ ง และซ่ อ มบ� ำ รุ ง ให้ กั บ ชาวบ้ า น และติดตั้งอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ให้กับหมู่บ้าน มอร์แกน หมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา เพื่อให้มีไฟฟ้าใช้ในช่วง กลางคืน โดยเฉพาะในฤดูมรสุม
&
ส่องฐานการผลิต
ยนตกรรมสุดหรู เกี่ยวกับบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย
บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย ก่อตัง้ ขึน้ ใน ปี พ.ศ.2543 โดยตั้งอยู่ ณ ชายฝั่งตะวันออกของประเทศไทย ในนิคม อุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดระยอง ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 115 กิโลเมตร มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 75,000 ตารางเมตร โดยเป็นโรงงานแห่งเดียว ในโลกของบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ที่สามารถผลิตยนตรกรรมหรูทั้ง 3 แบรนด์ ได้แก่ บีเอ็มดับเบิลยู มินิ และบีเอ็มดับเบิลยู มอเตอร์ราด ส่งผลให้ไทยเป็นประเทศที่มีบทบาทอย่างยิ่งต่อบีเอ็มดับเบิลยู กรุ ๊ ป ในด้ า นกลยุ ท ธ์ ก ารผลิ ต และการขาย นั บ ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ด� ำ เนิ น ธุรกิจในประเทศไทยเมื่อประมาณ 40 ปีที่แล้ว ด้วยการน�ำเข้ารถยนต์ บีเอ็มดับเบิลยู และการผลิตรถยนต์ตามการว่างจ้าง
Visit
BMW กองบรรณาธิการ
ไม่
บ่อยนักที่ผู้ผลิตรถยนต์ค่ายหรู ๆ จะเปิดพื้นที่การผลิตให้เข้าเยี่ยมชม สถานที่ประกอบรถยนต์จริง นอกเสียจากจะเป็นวาระพิเศษจริง ๆ ล่าสุด บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย ฉลองครบรอบ 15 ปี ด้วย การเปิดบ้านให้ชมสถานที่จริงในการผลิตยนตกรรมหรูทั้ง 3 แบรนด์ ได้แก่ บีเอ็มดับเบิลยู มินิ และบีเอ็มดับเบิลยู มอเตอร์ราด ณ นิคมอุตสาหกรรม อมตะซิตี้ จังหวัดระยอง
การเปลี่ยนแปลงของโรงงานที่จังหวัดระยอง ตลอดระยะ เวลาหลายปีทผี่ า่ นมา เรียกได้วา่ เป็นหนึง่ ในความส�ำเร็จอย่างยิง่ ใหญ่ ของบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ปัจจุบันมีพนักงานกว่า 500 คน ที่ล้วนแล้ว แต่มีทักษะฝีมือแรงงาน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของโรงงานแห่งนี้ตลอดระยะเวลา 15 ปีที่ ผ่านมา ปัจจุบันมีรถยนต์มากกว่า 56,000 คัน ภายใต้แบรนด์ บีเอ็ม ดับเบิลยู และมินิได้ถูกผลิตขึ้นที่โรงงานแห่งนี้ นอกจากนี้ ในปี พ.ศ.2557 โรงงานแห่งนี้ได้ประกอบรถ มอเตอร์ไซค์มากกว่า 2,000 คัน ที่วิ่งอยู่ตามเส้นทางต่าง ๆ ทั้งใน ประเทศไทย มาเลเซีย และจีน และภายในสิ้นไตรมาสที่สามของปี พ.ศ.2558 จะมีมอเตอร์ไซค์ ถึง 8 รุ่น ที่ถูกประกอบขึ้นในโรงงานแห่ง นี้ด้วย
พัฒนาต่อไปไม่หยุดยั้ง ▲
มร.เยอร์เก้น ไมดัล รองประธานบริหารอาวุโส ฝ่ายโลจิสติกส์ การผลิต บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ ได้เดินทางมาจากส�ำนักงานใหญ่ทมี่ วิ นิค
มร.เยอร์เก้น ไมดัล
รองประธานบริหารอาวุโส ฝ่ายโลจิสติกส์การผลิต บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
69 <<<
Visit
&
ด้าน มร.เจฟฟรีย์ กอดิอาโน กรรมการผู้จัดการ บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย กล่าวว่า “นับเป็นอีกหนึง่ ช่วง เวลาประวัตศิ าสตร์อย่างแท้จริงส�ำหรับบีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย ด้วยความมุ่งมั่นของทีมงานทุกคนที่โรงงานใน ประเทศไทยแห่งนี้ ท�ำให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ร่วมมือกันสร้าง การเติบโตอย่างไม่หยุดยัง้ รวมทัง้ สร้างความมัน่ ใจให้กบั บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ มิวนิค มาโดยตลอด นอกจากนัน้ ด้วยทักษะ ประสบการณ์และ ฝีมอื ของพนักงานของเรา ช่วยให้เราสามารถสร้างคุณภาพทีเ่ หนือกว่า สูผ่ ลิตภัณฑ์ชนั้ ยอด และได้รบั ความไว้วางใจจากลูกค้าของเราได้เป็น อย่างดี” ขณะที่ ดร.มาร์ค ซิลเลอมันน์ ประธานฝ่ายการผลิต บีเอ็มดับเบิลยู มอเตอร์ราด กล่าวว่า “โรงงานบีเอ็มดับเบิลยู จังหวัดระยอง มีความโดดเด่นเฉพาะตัวในด้านความหลากหลายของการผลิต และ นอกเหนือจากบีเอ็มดับเบิลยู มอเตอร์ราด รุน่ ต่าง ๆ ทีม่ ใี นปัจจุบนั ซึง่ ได้รับการประกอบที่โรงงานแห่งนี้ เรามีความภาคภูมิใจที่จะประกาศ ว่า สุดยอดมอเตอร์ไซค์สายพันธุซ์ เู ปอร์สปอร์ตบีเอ็มดับเบิลยู S 1000 RR และเนเก็ดไบค์บีเอ็มดับเบิลยู S 1000 R จะเป็นมอเตอร์ไซค์ สายพันธุ์ซูเปอร์สปอร์ต 2 รุ่นแรกที่จะถูกประกอบขึ้นในประเทศไทย ซึ่งจะส่งผลให้มีมอเตอร์ไซค์ บีเอ็มดับเบิลยู มอเตอร์ราดทั้งหมด 8 รุ่น ที่ประกอบขึ้นในประเทศไทย นี่คืออีกหนึ่งบทพิสูจน์ของ 15 ปี แห่ง ความส�ำเร็จของเรา”
▲
เพื่อร่วมฉลองวาระส�ำคัญครั้งนี้ เปิดเผยว่า โรงงานบีเอ็มดับเบิลยู จังหวัดระยอง และประเทศไทย มีบทบาททีส่ ำ� คัญมากต่อกลยุทธ์การ ขายของเรา รวมถึงการมีสว่ นร่วมของเราในตลาดภูมภิ าคอาเซียนและ เอเชีย ในปี พ.ศ.2558 นี้ บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย ได้เริม่ ต้นขยายการส่งออกบีเอ็มดับเบิลยู มอเตอร์ราด สู่ ประเทศจีน นอกเหนือจากประเทศมาเลเซีย และจะขยายการส่งออก ไปยังประเทศต่าง ๆ ภายในภูมิภาคอาเซียนต่อไป “นับเป็นเกียรติอย่างยิง่ ส�ำหรับผมทีจ่ ะประกาศในวันนีว้ า่ เรา ได้ลงทุนอีก 1.1 พันล้านบาทในการขยายโรงงานที่ระยองแห่งนี้ เพิ่ม เติมจากยอดเงินลงทุนทีผ่ า่ นมา ทัง้ สิน้ กว่า 2.6 พันล้านบาท การขยาย ในครั้งนี้หมายถึงการเพิ่มพื้นที่ในโรงงานส�ำหรับการฝึกอบรมด้าน อาชี ว ศึ ก ษา พื้ น ที่ ส� ำ หรั บ การทดสอบเครื่ อ งยนต์ ต ่ า ง ๆ รวมถึ ง ศูนย์วเิ คราะห์ดว้ ย ส่งผลให้โรงงานทีจ่ งั หวัดระยองนีจ้ ะสามารถขยาย ก�ำลังการผลิตได้สูงถึง 20,000 คันต่อปี ส�ำหรับรถยนต์ และ 10,000 คันต่อปีส�ำหรับมอเตอร์ไซค์”
มร.เจฟฟรีย์ กอดิอาโน
กรรมการผู้จัดการ บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย >>>70
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
&
Visit
ปัจจุบัน บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย สามารถประกอบรถยนต์รุ่นต่าง ๆ ได้แก่ บีเอ็มดับเบิลยู ซีรี่ส์ 1, บีเอ็มดับเบิลยู ซีรี่ส์ 3, บีเอ็มดับเบิลยู ซีรี่ส์ 3 Gran Turismo, บีเอ็ม ดับเบิลยู ซีรี่ส์ 5, บีเอ็มดับเบิลยู ซีรี่ส์ 7, บีเอ็มดับเบิลยู X1, บีเอ็ม ดั บ เบิ ล ยู X3, บี เ อ็ ม ดั บ เบิ ล ยู X5 และ มิ นิ คั น ทรี่ แ มน ส� ำ หรั บ บีเอ็มดับเบิลยู มอเตอร์ราด ได้แก่ บีเอ็มดับเบิลยู F 800 R, บีเอ็ม ดับเบิลยู F 800 GS, บีเอ็มดับเบิลยู F 700 GS, บีเอ็มดับเบิลยู R 1200 GS, บีเอ็มดับเบิลยู R 1200 GS Adventure, บีเอ็มดับเบิลยู F 800 GT, บีเอ็มดับเบิลยู S 1000 R และบีเอ็มดับเบิลยู S 1000 RR
▲
นอกจากนี้ บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย ยังได้มีการวางแผนลงทุนเพิ่มเติมด้านเงินทุนและทรัพยากรบุคคล ส�ำหรับโรงงานจังหวัดระยอง โดย มร.กอดิอาโน กล่าวว่า “เราได้เริม่ ต้นโครงการศึกษาระบบทวิภาคี หรือ Dual Excellence in Education ภายใต้ความร่วมมือกับวิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ในการฝึกอบรมในระบบทวิภาคีให้แก่นักเรียนอาชีวศึกษา ด้าน แมคคาทรอนิกส์ เริ่มในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา และในปี พ.ศ.2559 จะขยายความร่ ว มมื อ ในการศึ ก ษาและจั ด ฝึ ก อบรม ด้านแมคคาทรอนิกส์ให้แก่นักเรียนอาชีวศึกษาระดับ ปวส. จากโรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ) ทั้งหมดนี้เพื่อ ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระเทศไทยเป็ น หนึ่ ง ในศู น ย์ ก ลางการผลิ ต ยานยนต์ของภูมิภาคอาเซียน” มร.ไมดัล กล่าวปิดท้ายว่า “ความมุ่งมั่น ของบี เ อ็ ม ดั บ เบิ ล ยู กรุ ๊ ป ในครั้ ง นี้ แสดงให้ เ ห็ น อย่างชัดเจนถึงบทบาทอันส�ำคัญยิ่งส�ำหรับโรงงาน ของเราที่ จั ง หวั ด ระยอง และประเทศไทย ที่ มี ต่อบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป เราเชื่อมั่นว่า ประเทศไทย และโรงงานของเราที่ จั ง หวั ด ระยอง คื อ รากฐานอันมัน่ คงของเครือข่ายการผลิตของ เรา และเรามุ่งหวังที่จะสร้างความส�ำเร็จ อย่างต่อเนื่องอีกต่อไปในอนาคต”
ดร.มาร์ค ซิลเลอมันน์
ประธานฝ่ายการผลิต บีเอ็มดับเบิลยู มอเตอร์ราด
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
71 <<<
&
Show & Share
จอห์นสัน คอนโทรลส์
จัดแสดงเครื่องลดอุณหภูมิอากาศก่อนเข้ากังหันก๊าซ
จอห์นสัน
คอนโทรลส์ จัดแสดงเครื่องลดอุณหภูมิ อากาศก่อนเข้ากังหันก๊าซ (Gas Turbine Inlet Air Cooling หรือ GTIAC) ที่งานเพาเวอร์ เจน เอเชีย (Power Gen Asia) ถือเป็นครั้งแรกที่บริษัทผู้ผลิตเครื่องท�ำความเย็นจะน�ำเสนอ โซลูชั่น GTIAC ที่สมบูรณ์แบบ และประกอบเสร็จพร้อมใช้ ที่ได้การ ยอมรับอย่างกว้างขวางว่า เป็นระบบทีส่ ามารถเพิม่ การส่งออกพลังงาน ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด และช่วยยกระดับประสิทธิภาพการท�ำงาน ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่มีความร้อนสูง หนึ่งในโซลูชั่น GTIAC ของจอห์นสัน คอนโทรลส์ คือ เครื่อง YCP-2020 รุ่นใหม่ ซึ่งนับเป็นโซลูชั่น GTIAC ชนิดเครื่องกลที่บรรจุ ในตู้คอนเทนเนอร์ และพร้อมใช้งานรุ่นแรกในตลาด เครื่อง YCP2020 เป็นระบบแบบรวมส่วนทีใ่ ห้ความคุม้ ค่า มีขนาดกระทัดรัด และ มีความยืดหยุ่น ประกอบด้วย เครื่องท�ำความเย็นภายใต้แบรนด์ >>>72
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
YORK® เครือ่ งสูบน�ำ้ เย็น และเครือ่ งสูบน�ำ้ ความร้อน ตัวสตาร์ทไฟฟ้า และระบบควบคุม Metasys® เอกสิทธิเ์ ฉพาะ พร้อมกับมีการออกแบบ ให้ ล ดการบริ โ ภคพลั ง งาน ด้ ว ยขนาดมาตรฐาน 20 ฟุ ต เท่ า กั บ ตู้คอนเทนเนอร์จึงใช้พื้นที่น้อยมีความยืดหยุ่นในการจัดวางต�ำแหน่ง เครื่องและลดต้นทุนด้านการขนส่งได้อย่างมหาศาล เครือ่ ง YCP-2020 เกิดจากการวิจยั ตลาดอย่างกว้างขวางร่วม กับบริษัทผู้ผลิตไฟฟ้า บริษัทสาธารณูปโภค และผู้ผลิตกังหันก๊าซ เพื่อรับมือกับความท้าทายที่โรงไฟฟ้าต้องเผชิญ เครื่อง YCP-2020 ได้รับยกย่องด้วยการคว้ารางวัลเทคโนโลยีนวัตกรรมพลังงานไฟฟ้า แห่งปี (Innovative Power Technology) ที่งานเอเชียน เพาเวอร์ อวอร์ด ประจ�ำปี 2558 (Asian Power Awards 2015)
บ๊อช
&
Show & Share
น�ำเสนอเทคโนโลยีแบตเตอรี่รูปแบบใหม่
เฉพาะส�ำหรับยานยนต์ไฟฟ้า
บ๊อช เปิดตัวเทคโนโลยีแบตเตอรีร่ ปู แบบใหม่สำ� หรับยานยนต์ ไฟฟ้าโดยเฉพาะ ซึ่งคาดว่าจะสามารถผลิตแล้วเสร็จภายใน 5 ปี นับจากนี้ ดร.โฟล์คมาร์ เดนเนอร์ ประธานคณะกรรมการบริหารของ บริษทั โรเบิรต์ บ๊อช จีเอ็มบีเอช กล่าวว่า “บ๊อชใช้ขมุ ทรัพย์ทางปัญญา และเงินทุนจ�ำนวนมหาศาล เพือ่ พัฒนาเทคโนโลยีการขับเคลือ่ นด้วย พลังงานไฟฟ้าครัง้ ยิง่ ใหญ่ได้สำ� เร็จ อีกทัง้ การเข้าควบรวมบริษทั Seeo Inc. ซึง่ เป็นบริษทั สตาร์ทอัพในประเทศสหรัฐอเมริกา (ณ เมืองเฮย์วาร์ด มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ซึง่ อยูใ่ กล้กบั ซิลคิ อนวัลเลย์) จะช่วยท�ำให้พนั ธกิจนี้ มีความเป็นไปได้มากขึน้ นอกจากบ๊อชจะมีความสามารถในการพัฒนา เทคโนโลยีดา้ นแบตเตอรีเ่ ป็นทุนเดิมอยูแ่ ล้ว ปัจจุบนั บ๊อชยังมีความรู้ และทักษะอันโดดเด่นทางด้านนวัตกรรมเซลล์โซลิดสเตตส�ำหรับ แบตเตอรี่ลิเธียม ตลอดจนความรู้ความเข้าใจในการจดสิทธิบัตรที่มี อ�ำนาจสิทธิข์ าดมากมาย “เซลล์โซลิดสเตต นับว่าเป็นเทคโนโลยีที่ล�้ำหน้าอย่างยิ่ง” ดร. โฟล์คมาร์ กล่าว “เทคโนโลยีสตาร์ทอัพทีพ่ ร้อมจะเปลีย่ นแปลงโลก ก�ำลังประสานเข้ากับองค์ความรู้แห่งระบบที่มีอยู่อย่างไร้ขีดจ�ำกัด พร้อมแหล่งเงินทุนต่าง ๆ จากบริษทั ข้ามชาติ” จุดประสงค์ในการพัฒนา เทคโนโลยีเซลล์โซลิดสเตต คือ การเพิม่ ค่าความหนาแน่นของพลังงานต่อมวล ของแบตเตอรีเ่ ป็น 2 เท่าในราคาทีถ่ กู ลง ครึง่ หนึง่ ภายในปี พ.ศ.2563 บ็อชมอง เห็นความเป็นไปได้วา่ ภายใน 5 ปี นับจาก นี้ รถยนต์ไฟฟ้าในปัจจุบันที่วิ่งได้ 150 กิโลเมตรจะสามารถวิ่งได้ไกลมากกว่า 300 กิโลเมตรโดยไม่ตอ้ งชาร์จแบตเตอรี่ และมีราคาถูกลง
บ๊อชกับงานตัวอย่างชิ้นแรก
นับเป็นเวลาหลายปีที่ผู้ผลิตรถยนต์และซัพพลายเออร์ทั้ง หลายต่างพยายามคิดค้นแบตเตอรี่ที่มีประสิทธิภาพ แต่มีปัจจัยเรื่อง เซลล์ไฟฟ้าเป็นอุปสรรคใหญ่ทขี่ วางกัน้ เนือ่ งจากแบตเตอรีท่ ใี่ ช้สำ� หรับ รถยนต์ไฟฟ้าหนึ่งคัน ประกอบด้วย เซลล์ไฟฟ้าที่เชื่อมต่อกันภายใน จ�ำนวนมาก เซลล์เหล่านีเ้ ป็นส่วนส�ำคัญต่อการเพิม่ ประสิทธิภาพของ รถยนต์ ทัง้ นี้ มีหลายวิธที สี่ ามารถพัฒนาการท�ำงานของอุปกรณ์สะสม พลังงานส�ำรองให้ดขี นึ้ ตัวอย่างเช่น ตามหลักไฟฟ้าเคมีนนั้ วัตถุทเี่ ป็น ประจุไฟฟ้าบวกและประจุไฟฟ้าลบ (ขั้วลบและขั้วบวก) มีบทบาท ส�ำคัญท�ำให้เกิดปฏิกิริยาไฟฟ้า ทั้งนี้ แบตเตอรี่แบบลีเธียมอิออนใน ปัจจุบันมีประสิทธิภาพพลังงานจ�ำกัด ซึ่งหนึ่งในสาเหตุ คือ ขั้วบวก ประกอบด้ ว ยสารตะกั่ ว ด� ำ หรื อ กราไฟต์ จ� ำ นวนมาก แต่ ห ากน� ำ เทคโนโลยีโซลิดสเตตมาปรับใช้ บ๊อชจะสามารถผลิตประจุไฟฟ้าบวก ได้ จ ากลี เ ธี ย มบริ สุ ท ธิ์ ซึ่ ง จะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการสะสม พลังงานได้อย่างมหาศาล นอกจากนี้ แผงเซลล์ไฟฟ้าใหม่ท�ำงานได้โดยไม่ต้องอาศัย ของเหลวไอออนิคหรือตัวท�ำละลายมีประจุ (ionic liquid) ซึ่งเท่ากับ ว่าเซลล์ไม่สามารถติดไฟได้ ดร.โฟล์คมาร์ กล่าวว่า “ประจุไฟฟ้าขั้วบวกที่เป็นลิเธียม บริสุทธิ์ได้แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดของนวัตกรรม การผลิตเซลล์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ครั้งยิ่งใหญ่” ทั้งนี้ การเข้าครอบครอง บริษัท Seeo Inc. ท�ำให้บ๊อชสามารถเป็นเจ้าของเซลล์ไฟฟ้าตัวอย่าง ชุ ด แรกที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสามารถรองรั บ มาตรฐานระดั บ สู ง ของ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ที่ ค� ำ นึ ง ถึ ง เรื่ อ งความทนทานและความ ปลอดภัยเป็นส�ำคัญ
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
73 <<<
&
Buyer Guide
ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ์: 0-2514-0001, 0-2514-0003 เว็บไซต์: www.measuretronix.com อีเมล: info@measuretronix.com
&
GW Instek GDM-8351
ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ตั้งโต๊ะ 5½ หลัก วัดค่าและแสดงผลคู่ มี RS232/USB และ Digital I/O ในตัวสามารถต่อ PLC ได้โดยตรง ส�ำหรับงาน QA/QC สินค้าเครื่องไฟฟ้าปลายสายพานการผลิต
GDM-8351 เป็ น ดิ จิ ต อลมั ล ติ มิ เ ตอร์ ขนาด 5½ หลั ก จอแสดงผล VFD (Vacuum Fluorescent Displays) วัดค่าและ แสดงผลได้พร้อมกัน 2 แชนเนล ความละเอียด 120,000 จ�ำนวนนับ ความแม่นย�ำ DC 0.012% เชื่อมต่อกับ PC ผ่าน USB/RS232C เพื่อ อ่านและบันทึกค่าได้อย่างละเอียด แม่นย�ำ มี Digital I/O ในตัว สามารถต่อ PLC ได้โดยตรง ส�ำหรับงาน QA/QC สินค้าเครื่องไฟฟ้า ในสายพานการผลิต คุณสมบัติ ➢ ความละเอี ย ด 120,000 จ� ำ นวนนั บ จอแสดงผล ฟลูออเรสเซนต์ (VFD) ➢ วัดค่าและแสดงผลได้พร้อมกัน 2 แชนเนล ➢ ความแม่นย�ำ DC 0.012% ➢ เลือกความเร็วในการวัดได้ สูงสุด 320 ค่าอ่าน/วินาที
>>>74
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
➢ ให้ค่าวัด True RMS (AC, AC+DC)
➢ ตั้งค่าวัดได้แบบอัตโนมัติและเลือกเอง
➢ ความสามารถการวัดครอบคลุมครบถ้วน 12 ฟังก์ชั่น ทั้ง
แรงดัน AC/DC, กระแส AC/DC, แรงดันและกระแส AC+DC, วัด ความต้านทานแบบ 2 สาย/4 สาย, วัดความต่อเนื่องแจ้งด้วยเสียง, ทดสอบไดโอด, วัดค่า C, ความถี่ และอุณหภูมิ ➢ มีฟังก์ชั่นเสริมอื่น ๆ เช่น Max/Min, REL/REL#, Compare, Hold, dB, dBm, Math (MX+B, %, 1/X) ➢ มี Digital I/O ในตัว สามารถต่อ PLC ได้โดยตรง ส�ำหรับ งาน QA/QC ตั้งค่าเปรียบเทียบได้ ➢ มีอินเตอร์เฟส RS-232C และ USB สนับสนุนทั้งโหมด USBCDC และ USBTMC
&
Buyer Guide
ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท คณิตเอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2642-8762-4 โทรสาร: 0-2248-3006 เว็บไซต์: www.kanitengineering.com อีเมล: sales1@kanitengineering.com
AMETEK Drexelbrook
แนะแนวทางแก้ปัญหาการวัดระดับด้วย Radar แบบใหม่ ที่ ให้ความคล่องตัวสูง AMETEK Drexelbrook® ผู้น�ำในเทคโนโลยีการวัดระดับ แนะน�ำให้รจู้ กั ทางแก้ปญ ั หา การวัดระดับโดยใช้หลักการของ Radar แบบใหม่สองแบบที่ให้ความคล่องตัวสูง พร้อมทั้งความแม่นย�ำและ ความเชื่อถือไว้วางใจได้ นั่นก็คือ DR 2000® Guided Wave Radar Level Meter และ DR 5200® Open Air Radar Level Meter.
DR 2000® เป็น Guided Wave (time domain reflectometry) Radar Level meter แบบ 2-wire, Loop-powered ที่เป็นค�ำตอบที่ สมบูรณ์แบบส�ำหรับงานที่หลากหลาย เช่น ถังเก็บ (storage tanks) อุปกรณ์ที่รับแรงดันได้ในกระบวนการ (process vessels) การไหล ในทางไหลแบบเปิด (open channel flow) โรงงานเกี่ยวกับน�้ำและ น�้ำเสีย (water and wastewater facilities) การออกแบบ Housing และเซนเซอร์เชิงนวัตกรรมของ Level meter รุน่ นี้ ท�ำให้ผใู้ ช้งานได้รบั ความคล่องตัวสูงในแง่ของการติดตั้ง การเข้าถึงและการใช้งาน การออกแบบให้เป็นแบบ Modular ของ Meter รุ่นนี้ ท�ำให้ สามารถน�ำไปติดตั้งและใช้งานได้บนหลังคาถังเก็บ (tank roof) ใน บริเวณทีเ่ ป็นซอก ในอาคาร หรือโครงสร้างทีม่ หี ลังคาต�ำ่ มีรนุ่ Remote ให้เลือก มีจุดเด่นที่สามารถแยก Converter พร้อม Display ออกได้ ท�ำให้สามารถติดตั้งและใช้งานในระยะไกลจากเซนเซอร์ ได้ถึง 100 เมตร Drexelbrook เป็นผู้ผลิตเพียงรายเดียวเท่านั้นในปัจจุบันที่มีรุ่น แบบนี้ให้เลือก DR 2000 ท�ำงานวัดระดับได้อย่างถูกต้องแม่นย�ำ แม้ผิวหน้า ของผลิตภัณฑ์ทวี่ ดั จะปัน่ ป่วน หรือปกคลุมด้วยชัน้ ของโฟมก็ตาม DR 2000 ออกแบบตามมาตรฐาน IEC 61508 for Safety Integrity Level 2
DR 5200® เป็น 2-wire Open Air Radar Level Meter ที่ใช้ เทคโนโลยี Frequency Modulated Continuous Wave (FMCW) ซึง่ ให้ความแม่นย�ำสูงที่สุดส�ำหรับ Level Meter แบบไม่มีการสัมผัส (non-contact level meter) DR 5200 เป็นแบบที่ให้ความคล่องตัว มี Housing เป็นแบบ Modular มี Signal Converter พร้อม Display แยกจากเซนเซอร์ และมีระบบ Quick Coupling ทีท่ ำ� ให้ถอด Housing ได้สะดวกด้วยเช่นกัน รุน่ นีเ้ ป็นตัวเลือกทีส่ มบูรณ์แบบส�ำหรับใช้กบั Storage Tanks และ Process Vessels และให้ความปลอดภัยในระดับ SIL2 ตาม มาตรฐาน IEC 61508 for Safety-related Systems ด้วยเช่นกัน เสา อากาศแบบ Horn ทีไ่ ม่มี Gasket และท�ำด้วย PP และ PTFE ให้ความ มัน่ ใจในความแม่นย�ำของการวัดระดับของวัสดุทมี่ กี ารกัดกร่อน Level Meter รุ่นนี้เหมาะส�ำหรับใช้กับอุตสาหกรรมทุกประเภทโดยเฉพาะ อย่างยิ่ง อุตสาหกรรมเคมี น�้ำมันและก๊าซ น�้ำเสีย โลหะ แร่และ เหมืองแร่ การออกแบบเป็นแบบ Modular ของ DR 2000 และ DR 5200 ท�ำให้ทั้งสองรุ่นนี้เป็นค�ำตอบที่ประหยัดและเชื่อถือได้ส�ำหรับงานวัด ระดับทั่ว ๆ ไปหลายอย่าง การออกแบบเป็นแบบ Modular ท�ำให้ สามารถหมุน Meter ได้ 360° เพื่อให้อ่านจอแสดงผลได้สะดวกเมื่อ ติดตั้งในที่ที่เข้าถึงยาก ระบบ Quick Coupling ท�ำให้สามารถถอด Signal Converter ออกได้โดยสะดวก Software ที่พัฒนาขึ้นใช้เอง โดยเฉพาะช่วยขจัดการสะท้อนคลืน่ ทีผ่ ดิ ๆ ทีเ่ กิดจากการจับตัวสะสม ของผลิตภัณฑ์หรือจากสิ่งรบกวนอย่างอื่น December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
75 <<<
&
Books Guide
ไขปัญหา
ภาษาญีป่ นุ่
แปล๊ก แปลก ผู้เขียน: เดวิด เทน และ อากิโกะ นางาโอะ ผู้แปล: ดร.จารุนันท์ ธนสารสมบัติ ราคา 235 บาท สำ�นักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม
อนิล พยุงเกียรติคุณ ฝ่ายสำ�นักพิมพ์
จ�ำ
ได้วา่ สมัยทีเ่ ริม่ เรียนภาษาญีป่ นุ่ ใหม่ ๆ มีอยูค่ รัง้ หนึง่ ทีเ่ พือ่ นใน ชั้นชักชวนให้อาจารย์ชาวญี่ปุ่นลองลิ้มชิมรสขนมไทยที่ซื้อมา แล้วอาจารย์ตอบว่า「ちょっと。」ส�ำหรับเด็กเพิ่งเริ่มเรียนแล้วค�ำว่า ちょっとไม่มค ี วามหมายอืน่ ใด นอกจากแปลว่า “เล็กน้อย” ตามทีท่ อ่ งจ�ำ มาจากต�ำราเท่านัน้ ดังนัน้ นักเรียนไทยจึงยังคะยัน้ คะยอให้อาจารย์ญปี่ นุ่ ชิมขนมอย่างไม่ลดละ จนอาจารย์ตอ้ งเปิดคอร์สติวศัพท์ฉบับพิเศษตัง้ แต่ ต้นชัว่ โมง อธิบายความหมายเสริมเพิม่ เติมให้รวู้ า่ ちょっとเมือ่ ใช้ตอบ การชักชวนแล้วจะมีความหมายเป็น “การปฏิเสธ” และจากครัง้ นัน้ เองที่ ท�ำให้ผู้เขียนตระหนักว่า คนญี่ปุ่นนั้นนอกจากจะแสดงความอ่อนน้อม ถ่อมตนให้เห็นทางพฤติกรรมแล้ว ยังแสดงออกในทาง “ค�ำพูด” อีกด้วย ซึง่ ทางค�ำพูดนีไ้ ม่ได้มแี ต่การใช้รปู สุภาพทีเ่ รียกว่า 敬語 เท่านัน้ แต่ยงั มีการใช้ “ค�ำก�ำกวม” ทีไ่ ม่ฟนั ธงลงไปชัดเจนว่า “ตกลง” หรือ “ปฏิเสธ” กันแน่ในการตอบค�ำถามของอีกฝ่าย เพือ่ เป็นการรักษาน�ำ้ ใจอีกด้วย ซึง่ โดยส่วนตัวแล้วคิดว่าการใช้คำ� ก�ำกวมแบบชาวญีป่ นุ่ นัน้ ยากกว่าการใช้ ค�ำสุภาพ เพราะค�ำหรือรูปสุภาพสามารถท่องจ�ำได้ แต่ค�ำก�ำกวมแบบ รักษาน�ำ้ ใจนี้ ต้องอาศัยประสบการณ์ถงึ จะเข้าใจว่า แท้จริงแล้วคนญีป่ นุ่ ต้องการสือ่ อะไร อย่างไรก็ตาม ถึงแม้จะบอกว่าการใช้คำ� เหล่านีต้ อ้ งอาศัย ประสบการณ์ แต่ผู้เขียนเชื่อว่าผู้เรียนหลาย ๆ ท่านคงอยากหาหนังสือ อ่านเกี่ยวกับเรื่องนี้ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่การท�ำงานกับ คนญี่ปุ่นเป็นแน่ จึงขอแนะน�ำหนังสือ “ไขปัญหาภาษาญี่ปุ่น แปล๊ก แปลก” ที่รวบรวมภาษาญี่ปุ่นที่คนญี่ปุ่นใช้แบบก�ำกวม หรือส�ำนวนที่ ใช้เฉพาะวงการแบบทีเ่ อามาใช้ทวั่ ไปจะดูแปล๊ก...แปลก ให้ลองไปอ่าน กันดู หนังสือ “ไขปัญหาภาษาญีป่ นุ่ แปล๊ก แปลก” เล่มนี.้ ..เรียกได้วา่ “แปลก” ตัง้ แต่คนเขียนเลยก็วา่ ได้ เอ๊ะ...ยังไง ? นัน่ เพราะว่า เป็นหนังสือ
>>>76
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
ที่รวบรวมและเขียนโดยอาจารย์สอนภาษาอังกฤษชาวอเมริกัน ชื่อ “เดวิด เทน” คุณเดวิดใช้ประสบการณ์จากการอาศัยอยูใ่ นประเทศญีป่ นุ่ มา 30 ปี รวบรวมข้อสงสัยต่าง ๆ เกีย่ วกับการใช้ภาษาญีป่ นุ่ แบบญีป่ นุ๊ ... ญีป่ นุ่ แต่ดแู ล้วแปล๊ก...แปลกในมุมมองของชาวต่างชาติ รวมทัง้ สิน้ 27 บท แต่อย่าเพิง่ กังวลใจไปนะคะว่า...ให้คนต่างชาติมาอธิบายภาษาญีป่ นุ่ แล้วอย่างนีจ้ ะรูเ้ รือ่ งหรือ? เพราะหนังสือเล่มนีย้ งั มีผเู้ ขียนร่วมอีกท่านหนึง่ คือ “อากิโกะ นางาโอะ” คุณอากิโกะท่านนีม้ ปี ระสบการณ์การสอนภาษา ญีป่ นุ่ ให้ชาวต่างชาติ เช่น นักธุรกิจ เจ้าหน้าทีก่ ารทูต มาแล้วหลายท่าน ดังนัน้ มัน่ ใจได้วา่ ผูอ้ า่ นจะได้คำ� อธิบายทีก่ ระจ่างและชัดเจนอย่างแน่นอน โดยรูปแบบการน�ำเสนอเนื้อหาของหนังสือเล่มนี้จะเป็นในรูปแบบถาม ตอบ ทัง้ ยังมีการสรุปและให้คำ� ศัพท์ทนี่ า่ สนใจเพิม่ เติมอีกด้วย ตัวอย่างการใช้ภาษาญี่ปุ่นแบบแปลก ๆ ในชีวิตประจ�ำวันเช่น การใช้ いるกับสิ่งไม่มีชีวิต เช่น「あそこにタクシーがいる。」(มี แท็กซีอ่ ยูต่ รงโน้น) ซึง่ คุณเดวิด (รวมทัง้ พวกเราด้วย) รูส้ กึ อึดอัดมาก ๆ เพราะจากทีเ่ คยเรียนมา いる (มี, อยู)่ จะใช้กบั สิง่ มีชวี ติ เท่านัน้ ส่วนสิง่ ไม่มชี วี ติ อย่าง “รถแท็กซี”่ ควรจะใช้คำ� ว่า ある มากกว่า จากประโยค ดังกล่าวได้อธิบายถึงการใช้ いる ไว้วา่ เพราะคนญีป่ นุ่ มองว่ารถแท็กซี่ ทีพ่ ดู ถึงนัน้ รวม “คนขับรถ” ทีอ่ ยูใ่ นรถไปด้วย ดังนัน้ จึงใช้ いる นอกจากตัวอย่างที่ยกมาแล้วยังมีการใช้ภาษาญี่ปุ่นแปลก ๆ แบบอื่ น อี ก หลายเรื่ อ งด้ ว ยกั น นะคะ ผู ้ อ ่ า นที่ ส นใจก็ ไ ปหาหนั ง สื อ “ไขปัญหาภาษาญี่ปุ่น แปล๊ก แปลก” มาอ่านกันได้ค่ะ ส่วนผู้ที่สนใจ หนังสือของส�ำนักพิมพ์ในรูปแบบ e-Book สามารถเข้าไปดูรายละเอียด รายชื่อเว็บไซต์ผู้ให้การบริการดาวน์โหลดได้จาก www.tpapress.com นะคะ แล้วพบกันฉบับหน้าค่ะ...สวัสดีคะ่
&
Books Guide
จงทิง้ งานไปครึง่ หนึง่
เมือ่ ถึงวัย
40
ผู้เขียน: Yoshinori Shimazu ผู้แปล: บรรเจิด ชวลิตเรืองฤทธิ์ ราคา 180 บาท สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท.
วัย 40 ถือเป็นจุดเปลี่ยนของชีวิตการท�ำงาน เพราะสิ่งต่าง ๆ ที่สะสมมาในช่วงวัย 20 หรือ 30 ทั้งวิธีท�ำงาน นิสัยเดิม ๆ ลูกน้อง หรือ คอนเนกชันเก่า ๆ พอถึงวัย 40 สิง่ เหล่านีจ้ ะกลายเป็น “ภาระ” มากกว่า “ส่งเสริม” ให้เติบโตในหน้าที่การงาน ➠ ถ้ายังอยากยืนหยัดในจุดที่เคยอยู่ ➠ ถ้ายังอยากก้าวหน้าต่อไปโดยไม่มีวัยเป็นอุปสรรค ➠ ถ้าไม่อยากรั้งท้ายเพราะถูกใคร ๆ แซงหน้า
พบกับค�ำแนะน�ำดี ๆ จากนักธุรกิจทีป่ ระสบความส�ำเร็จตัง้ แต่ อายุยังน้อย และยังคงก้าวหน้าต่อไปด้วยวัยที่เพิ่มขึ้น เขาเป็นทั้งที่ ปรึกษาและเจ้าของบริษทั ถึง 5 แห่ง ทัง้ ยังให้การฝึกอบรมผูน้ ำ� มาแล้ว มากกว่า 25,000 คนทั่วโลก เรียนรู้วิธีจัดระเบียบความคิด นิสัย วิธีใช้เวลา สิ่งของ และ ความสัมพันธ์ ที่จะท�ำให้คุณสามารถ “ทิ้ง” หลายสิ่งที่เป็น “ส่วนเกิน” แล้วเหลือไว้แต่ “สิ่งส�ำคัญจริง ๆ” ที่เหมาะกับตัวคุณในตอน นี้เท่านั้น!!
December 2015-January 2016, Vol.42 No.244
77 <<<
นิตยสาร
CREATIVE & IDEA KAIZEN
จัดโปรแรงส...ฉลองสูปที่ 10
สมาชิก 1 ป 790.-
SUBSCRIPTION CREATIVE & IDEA KAIZEN
รับเพิ่ม 3 ฉบับ (ฉบับยอนหลัง)
สมาชิก 2 ป 1,550.รับเพิ่ม 6 ฉบับ (ฉบับยอนหลัง) วิธีการชำระเงิน
เช็คสั่งจายในนาม “สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)” โอนเงิน เขาบัญชี ในนาม “สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)” ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 เลขที่บัญชี 172-0-239233 บัญชีสะสมทรัพย ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 เลขที่บัญชี 009-2-233-25-3 บัญชีออมทรัพย
ประเภท บุคคล นิติบุคคล | สมัครสมาชิก 1 ป 2 ป ขอมูลสมาชิก
ชื่อ-นามสกุล......................................................................................................... ตำแหนง.................................................. แผนก................................................... ชื่อบริษัท............................................................................................................... ที่อยู .................................................................................................................... ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ โทรศัพท........................................... ตอ........ โทรสาร........................................... Email ……………………………………………………..………………………........
ขอมูลออกใบเสร็จ
เลขที่ประจำตัวผูเสียภาษี (13 หลัก) ........................................................................ ชื่อบริษัท............................................................................................................... ที่อยู ..................................................................................................................... ตัวแทนรับใบเสร็จ (ชื่อ-นามสกุล)............................................................................ (ปองกันการสูญหายในการจัดสงใบเสร็จ)
ขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ เจาหนาที่งานสมาชิกสัมพันธ
โทรศัพท 0 2258 0320 ตอ 1740 (คุณจารุภา) โทรสาร 0 2662 1096 E-mail: maz_member@tpa.or.th
ศูนยรวมการออกแบบ
ผลิตส�อสรางสรรคครบวงจร จากประสบการณในการผลิตสิ่งพิมพมานานมากกวา 40 ป ทำใหมีความเชี่ยวชาญในการผลิตสื่อสิ่งพิมพทุกประเภทเพื่อตอบสนอง ทุกความตองการของลูกคา อำนวยความสะดวกสบายใหกับลูกคาสูงสุดแบบ “One Stop Services” นับตั้งแตการสรางสรรค เนื้อหาสิ่งพิมพโดยทีม Creative และกองบรรณาธิการ การออกแบบรูปเลม (design) การจัดวางเนื้อหา (art work) ภาพและเสียง ประกอบจากคลังที่มีลิขสิทธิ์ถูกตองกวา 40 ลานรายการ และรวมทั้งมีชางภาพมืออาชีพ สำหรับรองรับความตองการภาพ ที่มีความเฉพาะเจาะจง กระบวนการพิมพที่ทันสมัยรองรับความตองการงานพิมพตั้งแตระดับมาตรฐานทั่วไปจนถึงสเปคงานพิมพที่ มีความซับซอนได ตลอดจนใหบริการบรรจุและจัดสง จนถึงมือลูกคาทั่วประเทศไดตามเวลาที่กำหนด ตัวอยางสิง่ พิมพท่ี ใหบริการผลิต ไดแก Company Profilefi,fi Annual Report Catalogue, Instruction Manual, Brochure, Poster, Pamphlet, Leaflflet, Magazine, Journal, Newsletter, Text Book, Pocketbook. *** การบริการรองรับ 3 ภาษา (ไทย อังกฤษ ญี่ปุน)
เราพรอมสงมอบผลงานคุณภาพ ไดมาตรฐาน รวดเร็ว ในราคาเปนกันเอง ทุกส�อสรางสรรค ไวใจเรา
0-2258-0320#1750 โครงการผลิตส�อและมัลติมีเดีย สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)
PROMOTION
JIS
ตั้งแตวันนี้ จนถึง สิ้นป 58
HANDBOOK Barcode: 9784542136946
HEAT TREATMENT-2014
Terms and Symbols / Methods for Processing / Tests and Measuring Methods / Tests and Measuring Equipments / Processing Materials
Price: 15,700.-
14,915฿ Barcode: 9784542137004
Ferrous Materials & Metallurgy I-2015
Terms / Qualification and Certification / Test Methods of Metallic / Materials / Test Methods of Steel / Raw Materials / Carbon and Alloy Steel for Machine Structural Use / Steel for Special Purpose / Clad Steel
Price: 12,825.-
% 5OFF Barcode: 9784542137035
Fasteners & Screw Threads-2015
Terms Designation and Drawing / Basics (General Use) / Components / Screw Threads Components (including Washers) for General Use
Price: 11,520.-
10,944฿ Barcode: 9784542137042
Piping-2015
Basics / Seals / Pipes / Pipe Fittings / Pipe Flanges / Valves
Price: 14,895.-
14,150.25฿
12,183.75฿ Barcode: 9784542137011
Barcode: 9784542137059
Steel Bars Sections Plates Sheets and Strip / Steel Tubular Products / Wire Rods and Their Secondary Products / Castings and Forgings
Basics / Shafts / Rolling Bearings / Sintered and Journal Bearings / Sprocket Roller Chains Belts / Springs / Seals
12,611.25฿
Price: 15,390.-
14,620.5฿
Barcode: 9784542137028
Barcode: 9784542137066
Ferrous Materials & Metallurgy II-2015 Price: 13,275.-
Non-Ferrous Metals & Metallurgy-2015
Test Methods of Metallic Materials / Inspection and Test Methods of Non-Ferrous Metals and Metallurgy / Raw Materials / Wrought Copper / Wrought Products of Aluminium and Aluminium Alloy / Wrought Products of Magnesium Alloy / Wrought Products of Lead and Lead Alloy / Wrought Products of Titanium and Titanium Alloy / Wrought Products of Other Metal / Powder Metallurgy / Castings
Machine Elements (excluding Fasteners & Screw Threads)-2015
Metal Surface Treatment-2015
Electroplating / Chemical Plating / Vacuum Plating / Thermal Spraying / Hot-dip Galvanizing / Anodic Oxidation Coating/ Surface Preparation of Steel Products
Price: 11,115.-
10,559.25฿
Price: 11,475.-
10,901.25฿
เง�อนไข เปนสมาชิก TPA Bookcentre หรือ ส.ส.ท. รับสวนลดพิเศษทันที 5% สอบถามขอมูลเพิ่มเติม คุณเอมชบา โทร. 02-258-0320 ตอ 1530 หรือ bec@tpa.or.th