เพื่อเสริมสร้ างแรงบันดาลใจและความสุขในการทางาน
ปี ที่26 ฉบับที่1: มกราคม 2559
แปรงแห้ง
จารึกไว้ในความทรงจาตลอดไป
งานเกษียณ หน้า 7 ค่ะ
ทักทายบรรณาธิการ ทพญ.นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ สวัส ดี ปี ใ หม่ทุก ท่ านค่ะ วารสารทัน ตภูธ รฉบับ นี ค้ วรจะถึง มื อทุก ท่ า น ภายในเดือนมกราคม 2559 ยังทันสาหรับ คาทักทาย สวัสดีปีใหม่ ยังทัน สาหรับท่านที่ยงั ไม่ได้ ลงคะแนนเสียง เพื่อเลือกตังกรรมการทั ้ นตแพทยสภาชุดใหม่ วาระที่ 8 จากการเหลียวซ้ ายแลขวา ทบทวนหมายเลขต่างๆ เห็นว่ามีพี่ๆน้ องๆที่ค้ นุ เคยกันกับ วารสารทันตภูธร ในระดับคุ้นเคยมาก ถึงคุ้นเคยมากอย่างที่สุด อยู่หลายท่านที่ได้ ลงสมัครเพื่อรับเลือกตังเป็ ้ นกรรมการทันตแพทยสภา ปี 2559 นี ้ค่ะ ก็ขอให้ พี่ๆน้ องๆ ผู้ กล้ าหาญและเสียสละทังหลายได้ ้ ทาหน้ าที่เพื่อวิชาชีพตามความมุ่งมัน่ ตังใจนะคะ ้ วารสารทันตภูธรเป็ นเพียงสื่อเล็กๆ ทาได้ เพียง แอบให้ กาลังใจ และสัญญาว่าจะเฝ้าติดตามผลงานของทุกท่านอย่างใกล้ ชิด เพื่ อประเมินอย่างเงียบๆ ว่านโยบายที่ท่านหาเสียงไว้ ได้ น าไปใช้ ท างานจริ งมากน้ อยเพี ยงใด ไม่แ น่ น ะคะ อี ก 4 ปี อาจมีบ ทความพิ เศษในวารสารทันตภูธร เรื่ อง “การเปรี ยบเที ยบ แนวนโยบายก่อนและการผลักดันนโยบายภายหลังการได้ รับเลือกตัง้ ของกรรมการทันตแพทยสภาวาระ 8” ท่านใดสนใจเขียน บทความนี ้ เริ่ มเก็บข้ อมูลได้ เลยนะคะ ^^ ขอตัง้ ข้ อสังเกตในช่วงขณะที่ กาลังหาเสียงจนถึงก่อนประกาศผลการเลือกตัง้ ประโยคเด็ด ซึ่งมักจะได้ ยินพี่ๆน้ องๆจาก แทบทุก ที ม ออกตัวไว้ ก่อนเสมอๆ ว่า “ถ้ าไม่เลื อกยกที ม ก็ อาจไม่ส ามารถผลัก ดัน นโยบายที่ เสนอไว้ ได้ ” ออกตัวกัน มาแบบนี ้ ผู้ลงคะแนนเสียงอย่างดิฉันขอแอบคิดดังๆว่า ถ้ าหากท่านเชื่อมัน่ ว่า นโยบายของทีมท่านดีจริ งๆแล้ ว แม้ ท่านจะได้ รับเลือกตังเข้ ้ าไป นัง่ ในทันตแพทยสภาเพียงคนเดียวในทีม ท่านก็คือตัวแทนที่มีภารกิจสาคัญต้ องสานฝั นของเพื่อนร่ วมทีมที่ไม่ได้ รับเลือกตังเข้ ้ าไปทา หน้ าที่ในทันตแพทยสภาอันทรงเกียรติพร้ อมกับท่าน นอกจากนี ้ยังถือเป็ นภารกิจอันยิ่งใหญ่ที่พี่น้องทันตแพทย์ผ้ ลู งคะแนนเสียงให้ ท่าน “คาดหวัง” จากตัวท่านมากกว่าใครในทีมของท่านอีกด้ วย ดังนัน้ 4 ปี ในการทางานทันตแพทยสภาของท่านก็น่าจะเป็ นโอกาส ทองของชีวิตใน การทาตามสัจจะวาจาที่ให้ นโยบายของทีมไว้ ตอนหาเสียงเลือกตัง้ ถึงแม้ นโยบายของท่านจะไม่ได้ ใช้ งานเต็ม 100% แต่ความมุ่มมัน่ ของท่านย่อมไม่สญ ู เปล่า แน่นอนค่ะ ถ้ านโยบายท่านดีจริ ง เชื่อว่าทันตแพทยสภาย่อมมีการเปลี่ยนแปลงไป ตามแนวทางที่ท่านผลักดัน เปลี่ยนมาก เปลี่ยนน้ อยตามความมุ่งมัน่ และความจริ งจังของท่านเองด้ วยค่ะ ทันตแพทยสภายุค AEC ASEAN Economic Community ย่อมมีอะไรใหม่ๆให้ ท่านบริ หารจัดการดูแลมากขึ ้น ให้ กาลังใจค่ะ ไม่ลองทาเองก็ไม่ได้ เรี ยนรู้ นะคะ ทักทายกันพอหายคิดถึงก่อนที่ท่านจะได้ อา่ น วารสารทันตภูธร ฉบับ “แปรงแห้ ง” ซึง่ เป็ นวิธีการแปรงฟั นแนวใหม่สาหรับ คนไทยทุกคนในปี 2559 นี ้ ขอขอบพระคุณ ท่านผู้เขียนบทความ ผู้จัดหาบทความและภาพประกอบ ทุกท่าน ที่ร่วมแรงร่ วมใจกัน จนบทความเต็มเล่มอย่างรวดเร็ ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งขอขอบพระคุณ เครื อข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน สานักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้ างเสริ มสุขภาพ (สสส.) ชมรมทันตสาธารณสุขภูธร และ บริ ษัท ทันตภูธรและเพื่อน จากัด ที่ สนับสนุนงบประมาณในการจัดพิมพ์ วารสารทันตภูธร เพื่อเสริ มสร้ างแรงบันดาลใจและความสุขในการทางานค่ะ วารสารทันตภูธร
1
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
วารสารทันตภูธร ฉบับที่ 1: มกราคม 2559 เป็นกิจกรรมหนึ่งของ ชมรมทันตสาธารณสุขภูธร
● ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร: ทพ.กิตติคุณ บัวบาน
ที่อยู่ โรงพยาบาลแม่ระมาด 251 ม.4 ต.แม่ระมาด อ.แม่ระมาด จ.ตาก 63140 เบอร์โทร: 055-581229 ● วารสารทันตภูธร: บรรณาธิการ: ทพญ. นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ ที่อยู่ 42/198 ซ.ติวานนท์ 38 ถ.ติวานนท์ ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 tuntapootorn@hotmail.com ● ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ: ทพญ.แพร จิตตินันทน์, รศ.ทพญ.ดร. สุดาดวง กฤษฎาพงษ์ ● กองบรรณาธิการวารสารทันตภูธร: ทพ.กิตติคุณ บัวบาน, ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์, ทพญ.จริญญา เชลลอง, ทพ.ธนัฏฐนนท์ อัศววัฒฑกี ● เครดิต ภาพปก: ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์ ● ผู้ดาเนินการจัดพิมพ์ จัดส่ง: บริษัท ทันตภูธรและเพื่อน จากัด www.tuntapootorn.com ที่อยู่ 119/887 ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 ● สนับสนุนการจัดพิมพ์ และ จัดส่ง วารสารทันตภูธร: สั่งซื้อสินค้า ทางเวบไซต์ www.tuntapootorn.com อ่าน และดาวน์โหลด วารสารทันตภูธร Online ที่ www.tuntapootorn.com
www.tuntapootorn.com ทันตภูธร online สอบถามเพิ่มเติม หรือสมัครรับวารสารทันตภูธรฉบับพิมพ์ ทางอีเมล
tuntapootorn@hotmail.com
บทความทั้งหมดรับผิดชอบโดยผู้เขียนบทความนั้นๆ มิได้เกี่ยวข้องกับชมรมทันตสาธารณสุขภูธร หรือ วารสารทันตภูธร วารสารทันตภูธร
2
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
สารบัญ ทันตภูธร ทักทาย บรรณาธิการ โดย ทพญ. นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ ธรรมะ สวัสดี: กรรมฐานยุคคอมพิวเตอร์ งานแห่งความภาคภูมิใจ … งานแห่งวัยเกษียณของทันตบุคลากรทั่วประเทศ โดย ทพญ.จริญญา เชลลอง โรงพยาบาลจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด การเดินทางร้อยลี้ของพี่น้องทันตาภิบาล ชมรมทันตาภิบาล 77 จังหวัด โดย นางณัฏฐชญา ศิลากุล โรงพยาบาลละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ จัดซื้อวัสดุทันกรรมร่วมทั้งภาคใต้ โดย พท.สมฤทธิ์ จิโรจน์วณิชชากร งานทันตสาธารณสุข สานักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี ประชุมวิชาการ สมาคมทันตาภิบาลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 “พัฒนาวิชาการสู่การพัฒนาวิชาชีพ” ข่าวจากติวานนท์: Service Plan หรือแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Dent Data ความฝันใกล้เป็นจริงกับ HDC รายงานทันตกรรม โดย ทพ.ธนัฏฐนนท์ อัศววัฒฑกี โรงพยาบาลพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช “แปรงแห้ง” กันเถอะ โดย รศ.ทพญ.ดร. สุดาดวง กฤษฎาพงษ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การพัฒนา“ระบบการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันใน โรงเรียนประถมศึกษา” โดย ทพญ.จินดา พรหมทา โรงพยาบาลจอมพระ จังหวัดสุรนิ ทร์ อ่านหนังสือกับเด็ก ในยุคสังคมก้มหน้า โดย ทพญ. พัชรี กัมพลานนท์ (ป้าหมอแป๊ว) หนึ่งสตางค์...ที่มีความต้องการเป็นพิเศษ: ตอน...เรื่องธรรมดา ที่ไม่เคยธรรมดา... โดย จารีย์ ทพ.-สภา-ประชาชน โดย ทพญ.เมธ์ ชวนคุณากร โรงพยาบาลสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อแรงบันดาลใจ เกิดขึ้นที่นี่...บ้านกาญจนาภิเษก โดย ทพญ. ผกามาศ แตงอุทัย โรงพยาบาลตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา เมื่อหมอฟันภูธร ได้แต่งงานกับกับฝรั่งสมดังใจ!!! โดย…หมอนุ้ก หมอฟันภูธร บ้านหลังแรก โดย…พี่แบ็งค์ เพาะรัก ปลูกศรัทธา โดย Paramitta Plukponyarm ค่ายน้องใหม่ ชมรมทันตภูธร โดย ทพญ.พรพิมล วิทยวีรศักดิ์ โรงพยาบาลป่าบอน จังหวัดพัทลุง CHANGE โดย ทพญ.ทิตยา ไชยบุญญารักษ์ โรงพยาบาลเถิน จังหวัดลาปาง ประธานขอคุย โดย ทพ.กิตติคุณ บัวบาน ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร สั่งซื้อสินค้า บริษัท ทันตภูธรและเพื่อน จากัด www.tuntapootorn.com เพื่อสนับสนุนค่าพิมพ์วารสารทันตภูธร
วารสารทันตภูธร
3
1 4 7 13 20 23 26 29 34 41 46 50 53 56 61 65 68 70 74 77 81
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ธรรมะ สวัสดี กรรมฐาน ยุคคอมพิวเตอร์ บทเรียนทีจ่ ะเล่าต่อไปนี้เกิดขึน้ ราว 20 ปี มาแล้วทีว่ ดั บวรนิเวศวิหาร ปั จ จุบ ัน นี้ ค นที่ไ ม่รู้จ กั คอมพิว เตอร์ค งหายาก คอมพิว เตอร์เ ป็ น เสมือ นปั จ จัย ที่ห้ า ของคนในสัง คม ปั จจุบนั ไปแล้วโดยเฉพาะในสังคมเมือง ชีวติ ของเราถูก ควบคุมด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ตงั ้ แต่เช้าจรดเข้านอน เข้านอนแล้วก็ยงั อยู่ภายใต้การควบคุมของคอมพิวเตอร์ จะโดยรู้ตวั หรือไม่รู้ตวั ก็ตามสิง่ อุปโภคบริโภคต่างๆ ที่ เราใช้ในชีวติ ประจาวัน ล้วนถูกผลิตด้วยการควบคุมของ คอมพิวเตอร์ ระบบสาธารณู ปโภคต่างๆ ก็ถูกควบคุ ม ด้วยคอมพิวเตอร์ เมื่อระบบคอมพิวเตอร์เกิดผิดพลาด ผู้คนในสังคมก็เดือดร้อนไปตามๆ กัน ดูเสมือนว่าพวก เราได้กลายเป็ นทาสของเทคโนโลยีอนั ทันสมัยของระบบ คอมพิวเตอร์ไปเสียแล้ว เมื่ อ 20 ปี ที่ แ ล้ ว การใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ต าม สา นักงานหรือ ตามอาคารบ้านเรือนถือว่าเป็ นสิง่ ใหม่ และยังไม่นิย มใช้ก ันอย่างแพร่ห ลายโดยเฉพาะในวัด ต่างๆถือว่าเป็ นสิง่ ต้องห้าม เพราะถือว่าเป็ น สิง่ ฟุ่มเฟื อย และทันสมัยเกินไปสาหรับชีวติ อันสงบเรียบในวัด เครือ่ ง วารสารทันตภูธร
4
อานวยความสะดวกในการทางานในวัดอย่างดีท่สี ุดก็ม ี เพีย งเครื่อ งพิม พ์ ดีด ไฟฟ้ า ซึ่ง ก็ นั บ ว่ า ทัน สมัย มาก พอสมควรแล้ว ในช่ ว งนั ้น ผู้ เ ขีย นได้ ม ีโ อกาสเรีย นรู้ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเห็นว่าน่ าจะเป็ นประโยชน์ ใน การสนองงานเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช (ขณะทีย่ งั ทรงดารงสมณศักดิ ์ที่ สมเด็จพระญาณสังวร) แต่การทีจ่ ะ นาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในวัดเป็ นเรื่องใหม่ทย่ี งั ไม่นิยม กัน เย็นวันหนึ่งผู้เขียนได้มโี อกาสกราบทูลอธิบาย เกี่ยวกับระบบการทางานของคอมพิว เตอร์ ถวายเจ้า พระคุณสมเด็จฯ ผู้ซ่งึ มีพระชนมายุกว่า 70 พรรษาเพื่อ ขอประทานอนุ ญาตนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ในสานัก เลขานุ การของพระองค์ หลังจากที่ได้กราบทูลอธิบาย ระบบกลไกการทางานต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ประกอบ ไปด้ ว ย ฮารด์ ดิ ส ก์ ( Harddisk) คี ย์ บ อร์ ด (Keyboard) ส า ห รั บ ป้ อ น ข้ อ มู ล จ อ แ ส ด ง ผ ล ลั พ ธ์ ( Monitor) ระบบปฏิ บ ั ติ ก าร (OS) และซอฟ์ ตแวร์ ( Software) ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ส าหรั บ การใช้ ข้ อ มู ล ที่ เ ก็ บ อยู่ ใ นฮาร์ ด ดิ ส ก์ ต าม วัตถุประสงค์ซง่ึ เหตุการณ์ครัง้ นัน้ พระองค์ทรงสละเวลา รับ ฟั ง ค าอธิบ ายของผู้เ ขีย นกว่ า 1 ชัว่ โมง อย่ า งสน พระทัยยิง่ หลัง จากกราบทู ล จบแล้ ว ทรงรับ สัง่ ถามว่ า “จบแล้ ว หรือ ” ผู้ เ ขีย นได้ ก ราบทู ล ว่ า “จบแล้ ว และ ขอประทานอนุ ญาตนา เครื่องคอมพิวเตอร์ดงั กล่าวไป ใชัในสานักเลขานุ การ” พระองค์รบั สังโดยพระพั ่ กตร์ท่ี จริงจังว่า “คุณควรจะฝึ กปฏิ บตั ิ กรรมฐานมากกว่ าที่ จะคิ ดเรื่องคอมพิ วเตอร์” .........ทา ให้ผูเ้ ขียนทัง้ งง (ˇ_ˇ”!) รูส้ กึ ผิดหวังและรูส้ กึ ผิด ทีก่ ราบทูลเรือ่ งคอมพิวเตอร์ไปตัง้ หนึ่งชัวโมงกว่ ่ าโดยคิด ในใจของตนเองว่า พระองค์ผู้ม ีพ ระชนมายุข นาดนัน้ คงไม่สามารถจะเข้าใจในระบบคอมพิวเตอร์ได้ สักพักหนึ่งพระองค์ก็รบั สังอธิ ่ บายต่อ ไปอีกว่ า “การฝึ ก ปฏิบ ัติก รรมฐานและการท างานของจิต ไม่ แตกต่ างอะไรจากระบบการท า งานขอ งเค รื่ อ ง คอมพิว เตอร์ แต่ ม ีป ระสิท ธิภ าพมากกว่ า หลายเท่ า อายตนะทัง้ หก คือตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจก็เสมือน คีย์บ อร์ด ที่ค อยป้ อ นข้อ มูล อยู่ต ลอดเวลา ภาพ เสีย ง กลิน่ รส สัมผัส และเรื่องราวต่างๆ ทีผ่ ่านอายตนะทัง้ หก ทัง้ โดยตัง้ ใจและไม่ตงั ้ ใจถูกป้ อนเข้าไปสู่ฮาร์ดดิส ก์ คือ จิตอยู่ตลอดเวลา ต่างกันก็เพียงว่าฮาร์ดดิสก์ท่เี ป็ นจิต นัน้ ไม่มจี ากัดกีกาไบต์เหมือนเครือ่ งคอมพิวเตอร์”
วารสารทันตภูธร
5
“ส่ ว นที่ส าคัญ คือ การพัฒ นาระบบปฏิบ ัติก าร และซอฟ์ ตแวร์ การฝึ กกรรมฐานวิธตี ่างๆ ก็เสมือนการ พัฒนาระบบปฏิบตั ิการ และซอฟ์ ตแวร์นัน้ เอง จะเป็ น วินโดว์ ไตเกอร์ ลีนูกส์ วอร์ด โฟโต้ซอฟหรืออะไรก็ตาม ก็คอื เครื่องมือต่างๆ ทีส่ ามารถเลือกเฟ้ นข้อมูลดิบต่างๆ ที่อ ยู่ใ นฮาร์ด ดิส ก์อ อกมาใช้ง านหรือ แสดงผลลัพ ธ์ไ ด้ ตามที่ต นต้อ งการ ส่ ว นข้อ มูล ที่ไม่เ กี่ยวข้อ งก็ท้งิ ไว้ใ น ฮาร์ดดิสก์นนั ้ เอง โดยไม่มกี ารลบเลือนข้อมูลใดๆ” “เพราะฉะนัน้ การฝึกกรรมฐาน ทีเ่ ป็ นสมถะหรือ วิปัสสนากรรมฐาน ก็คอื การสร้างระบบปฏิบตั กิ ารส่ว น วิธ ีอ บรมกรรมฐานต่ า งๆ ไม่ ว่ า อานาปานสติ หรือ วิปั ส สนาวิธ ี ก็ เ สมือ นกับ การพัฒ นาซอฟ์ ตแวร์ เ พื่อ จุ ด ประสงค์ ต่ า งๆ กัน นั ้น เอง เมื่อ ฝึ ก จิต โดยปฏิบ ัติ กรรมฐานได้แ ล้ว เราก็ส ามารถจะใช้ข้อ มูล ที่ ม ีอ ยู่ใ น ฮาร์ดดิสก์คอื จิตได้ตามที่ตนต้องการ ความทรงจา หรือ ความรูต้ ่างๆ ที่ถูกเก็บไว้ในจิต โดยตัง้ ใจหรือไม่ตงั ้ ใจก็ ตาม ก็สามารถนาออกมาประยุกต์ใช้ได้ตามประโยชน์ และโอกาสอย่างมีประสิทธิภาพการที่เราไม่สามารถนา ข้อมูลทีเ่ ก็บไว้ในฮาร์ดดิสก์คอื จิตมาใช้ประโยชน์ได้อย่ าง เต็มที่ ก็เพราะเราขาดซอฟ์ ตแวร์หรือกรรมฐานในการใช้ ข้อมูลนัน้ ๆ นันเอง” ่ ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
แล้วทรงสรุปและรับสังว่ ่ า “คุณควรฝึกกรรมฐานเสีย จะได้ไม่ต้องไปพึง่ พา วัต ถุ ภ ายนอกที่ม ีป ระสิท ธิภ าพน้ อ ยอย่ า งเจ้า เครื่อ ง คอมพิวเตอร์เพราะคุณสามารถพัฒนาระบบการทางาน ของคอมพิวเตอร์ในใจคุณเอง โดยไม่ต้องไปลงทุนอะไร และยังมีประสิทธิภาพมากกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ท่เี ป็ น วัตถุหลายสิบเท่า” หลังจากที่ทรงเน้ นให้ผู้เ ขียนฝึ กกรรมฐานแล้ว ท้ายสุ ดพระองค์ก็ทรงพระเมตตาอนุ ญ าตให้นาเครื่อ ง คอมพิว เตอร์ไปใช้ใ นสานัก เลขานุ ก ารของพระองค์ได้ \ (^o^) / ต่อมา พระองค์เองก็ทรงมีพระวิรยิ อุตสาหะใน การศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์จนทรงมีความเชี่ยวชาญ ในการค้นพระไตรปิ ฎกฉบับคอมพิวเตอร์ในระบบดอส
(DOS) ได้แม้ว่าพระองค์จะทรงเจริญพระชนมายุกว่า 70 พรรษาแล้วก็ตาม กรรมฐานยุคคอมพิวเตอร์ จึงเป็ นบทเรียนที่ทา ให้ผู้เ ขีย นระลึก ถึง การฝึ ก กรรมฐานทุ ก ครัง้ ที่นั ง่ หน้ า คอมพิวเตอร์ และให้เห็นถึงคุณค่าของการฝึ กกรรมฐาน ในท่ามกลางความวุ่นวายและซับซ้อนของสังคมปั จจุบนั เมื่อ ฝึ ก จิต ดีแ ล้ว ไม่ เ ฉพาะแต่ ท า ให้ก ารงานทัง้ ปวง สา เร็จไปด้วยดี ซึง่ เป็ นเพียงเสีย้ วหนึ่งของผลสาเร็จของ คอมพิวเตอร์ แต่ทส่ี าคัญยิง่ กว่าก็ค ือผูท้ ฝ่ี ึกจิตของตนได้ ดีแล้วสามารถดารงชีวติ อยูไ่ ด้อย่างมีความผาสุขไม่ว่าใน สถานการณ์ใดๆ เป็ นความสุขอันยวดยิง่ ที่หาไม่ได้จาก วัตถุต่างๆ อย่างเจ้าเครือ่ งคอมพิวเตอร์ เพราะฉะนัน้ ในระดับประโยชน์เฉพาะหน้า การ ใช้คอมพิวเตอร์อย่างมีปัญญาก็ถอื ว่าใช้ได้ในระดับหนึ่ง แต่ทส่ี าคัญกว่าและดีกว่านี้หลายร้อยเท่าก็คอื ต้องฝึกจิต ของตนเพื่อประโยชน์อนั ยวดยิง่ ทัง้ ของตนและสังคม
ทีม่ าบทความจาก “บวรธรรมบพิตร ฉบับพระประวัต”ิ http://bit.ly/1RQDEMP หน้า 57-59
ดาวน์โหลดฟรี หนังสือทีร่ ะลึกงานพระศพ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก “บวรธรรมบพิตร ฉบับพระประวัต”ิ http://bit.ly/1RQDEMP “บวรธรรมบพิตร ฉบับประมวลพระรูป” http://bit.ly/1mmEtRD รวมพระธรรมนิพนธ์ http://bit.ly/1mlwFQ5 “The People’s Patriarch in His own words” http://bit.ly/1MfWKoo
วารสารทันตภูธร
6
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
งานแห่งความภาคภูมิใจ … งานแห่งวัยเกษียณของทันตบุคลากรทั่วประเทศ รายงานข่าวโดย ทพญ.จริญญา เชลลอง รพ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด
ช่วงเดือนสิ ง หาคมถึง กันยายนของทุก ปี มักจะ เป็ นช่วงเวลาแห่งผู้เกษี ยณอายุราชการ หลายหน่วยงาน
2558 ในช่วงค่าของวันที่ 19 สิงหาคม 2558 บรรยากาศ ในงานเต็มไปด้ วยความรักความอบอุ่น ความภาคภูมิใจ
สานักงานต่างๆก็จะจัดงานเลี ้ยงสาหรับผู้เกษี ยณในช่วงนี ้ ส าหรั บ ในปี 2558 ส านัก ทัน ตสาธารณสุ ข ได้ จัด งาน
และมีความประทับใจเกิดขึ ้นมากมาย ท่ า นรองอธิ บ ดี ก รมอนามั ย ทั น ตแพทย์ สุ ธ า
ประชุม วิช าการทันตสาธารณสุขแห่งชาติ ครั ง้ ที่ 3 และ งานแสดงมุฑิตาจิตทันตบุคลากรผู้เกษี ยณอายุราชการ
เจียรมณีโชติชยั ให้ เกียรติมาเป็ นประธานในงานนี ้ โดยใน ปี 2558 นี ม้ ี ทัน ตบุค ลากร ผู้เ กษี ย ณจ านวนทัง้ สิ น้ 42
ประจาปี 2558 เมื่อวันที่ 18-20 สิงหาคม 2558 ที่ผ่านมา ณ โรงแรมริ ช มอนด์ สไตลิส คอนเวนชั่น จ.นนทบุรี ซึ่ง
ท่ า น ทัน ตบุค ลากรผู้เ ข้ า ร่ ว มงานทุก ๆท่ า นมาด้ วยธี ม คาวบอย อย่างสวย อย่างหล่อ อย่างเท่ห์ จัดเต็มกันมาทุก
ผู้เขียนเองก็ได้ มีโอกาสไปร่วมงานครัง้ นี ้ ในส่วนของการประชุมวิชาการเป็ นไปด้ วยความ
คนเลย ถือได้ ว่าเป็ นงานใหญ่ ธี มคาวบอยที่อลังการมาก ทัง้ ผู้เ กษี ยณและผู้เข้ าร่ วมมี สปิ ริตสูง สวมชุดคาวบอย
เรี ยบร้ อย มีทนั ตบุคลากรทัว่ ประเทศสนใจมาร่วมประชุม วิชาการครัง้ นีแ้ ละมีการนาเสนอผลงานและนวัตกรรมที่ หลากหลาย ล้ วนเป็ นเรื่ องที่ น่าชื่ นชมและภาคภูมิ ใจใน
ทังงาน ้ มีการแสดงจากทัว่ ประเทศ พิธีกรจิก มัน ฮา สนุก บรรยากาศดี มีทงความรั ั้ ก ความอบอุน่ … และกว่ า 90% อยู่ จ นจบงาน มี ภ าพแสดง
ทันตบุคลากรทุกๆท่านยิ่งนัก สาหรับในส่วนของงานแสดง มุฑิตาจิ ต ทันตบุคลากรผู้เกษี ยณอายุราชการ ประจาปี
บรรยากาศในงานมาโชว์ด้วยนะคะ ไปดูไปชมตามภาพ กันเลยค่ะ!!!
วารสารทันตภูธร
7
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
เมื่อได้ เห็นบรรยากาศงานจากภาพถ่าย หลายๆท่านที่อาจไม่ได้ ไปร่วมงานนี ้ คงเห็นแล้ วว่าเป็ นบรรยากาศที่อบอุ่น ประทับใจ และเป็ นวันที่เปี่ ยมสุขด้ วยความทรงจาอย่างยิ่งสาหรับพวกเราชาวทันตบุคลากร
วารสารทันตภูธร
8
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
สิ่งที่โดดเด่นและทาให้ ผ้ รู ่วมงานสนใจ สนุกสนานในงานเป็ นอย่างมากก็คือความสามารถของพิธีกรในวันนี ้ คุณหมอ เป็ ดจากปั ตตานี คุณหมอยักษ์ จากบุรีรัมย์ และคุณหมอรองจากสุราษฏร์ ธานี ทัง้ 3 ท่านนี ้ช่างเป็ นพิธีกรที่เข้ าขากันได้ อย่าง เหมาะเจาะ เหมาะสมกันจริงๆ
วารสารทันตภูธร
9
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
“ลองเปลี่ยนบทบาทจากผู้ชม หรื อผู้ประเมิน เป็ นสวมเล่นบทผู้จดั งาน หรื อแฟนคลับที่พร้ อมแดนซ์ไปกับงาน ในทุก พื ้นที่ดสู ิครับ ทังงานคอนเสิ ้ ร์ต ดูหนัง อีเว้ นท์ตา่ งๆ ไปเข้ าสถานบริ การ โรงแรม หรื อ ในที่ทางาน หรื อแม้ แต่ในครอบครัว ^^ ทุกพื ้นที่จะเป็ นพื ้นที่ใหม่ ที่ตื่นเต้ นสุดๆ ^^!! 5555” นี่คือคากล่าวจากคุณหมอเป็ ด พิธีกรในงานนี ้
และอีกสิ่งที่ประทับใจ เรี ยกเสียงกรี๊ ด เสียงปรบมือรัวๆๆ จากผู้ร่วมงานอย่างท่วมท้ นก็คือ การแสดงบนเวที สุด อลังการงานสร้ าง จากสานักทันตสาธารณสุข จากชมรมทันตแพทย์สานักงานสาธารณสุขจังหวัด จากชมรมทันตแพทย์ วารสารทันตภูธร
10
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทัว่ ไป และจากชมรมทันตสาธรณสุขภูธรร่วมกับชมรมทันตแพทย์โรงพยาบาลชุมชน รวมเป็ น 4 ชุดการแสดง ตัวผู้เขียนเองในฐานะสมาชิกชมรมทันตสาธรณสุขภูธรและชมรมทันแพทย์โรงพยาบาลชุมชน ได้ รับมอบหมายจาก ท่านประธานชมรมทันตสาธรณสุขภูธรคือ คุณหมอทอม ทพ.กิตติคณ ุ บัวบาน ให้ ผ้ เู ขียนรับผิดชอบจัดหาการแสดงไปร่ วม โชว์ครัง้ นี ้ด้ วย 1 ชุด ชื่อการแสดงว่า “เซิ ้งเอ้ ขิด” เป็ นการแสดงวัฒนธรรมของภาคอีสาน และมีนกั ร้ องเสียงดีมาร้ องเพลงโชว์ พลังเสียง เป็ นอีกการแสดงที่สะกดใจผู้ร่วมงานเป็ นอย่างมาก ผู้แสดงราเซิ ้งได้ อย่างสวยงาม อ่อนช้ อย อย่างกับมืออาชีพ ประทับใจทุกคนในงาน … ในตอนท้ ายของงานผู้เขียนจึงได้ เฉลยว่า ผู้แสดงทัง้ 3 คนเป็ นนักเรี ยนอยู่ใกล้ ๆโรงพยาบาลที่ผ้ เู ขียนทางานอยู่ ได้ รู้จกั กันเพราะนักเรี ยนมาทาฟั นกับผู้เขียน เห็นว่านักเรี ยนมีความสามารถราแสดงโชว์ในงานประจาอาเภอ ผู้เขียนจึงได้ ชวน นักเรี ยนทัง้ 3 คน มาร่วมการแสดงในครัง้ นี ้ น้ องๆนักเรี ยนบอกกับผู้เขียนว่า “ฉันมาไกล ฉันมาด้ วยใจ”
วารสารทันตภูธร
11
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ในงานนี ้ เราลองดูรูปถ่ายตังแต่ ้ เริ่มงาน จนตอนจบงาน ดูสีหน้ าผู้เกษี ยณ ดูตอนที่ทกุ คนล้ อมวงร้ องเพลงร่วมกัน ถือว่าเป็ นประวัติศาสตร์ เลยก็วา่ ได้ ^^
“ขอขอบคุณ ภาวะผู้น าของ พี่ โ อ่ง (ประธานชมรมทัน ต แพทย์สสจ.) หมอนาสระบุรี หมอปี ส้ ิงห์บรุ ี หมอก้ อยราชบุรี และหมอ ฝนปทุมธานี สาหรับการสนับสนุนที่ยอดเยี่ยม ให้ พลังตลอด และทีม creative พิธีกรร่ วม อย่างหมอรอง และหมอยักษ์ นี่ถือเป็ น dream team ในการทางาน... ไม่เหนื่อย ไม่เปลืองเวลา แต่ได้ ประสิทธิภาพ การทางานที่สงู สุดๆ .. หรื อเชื่อว่า แม้ จะเหนื่อย แต่ก็สนุกมีพลัง และ อมยิ ้มได้ ตลอดเวลาที่ทางานร่วมกัน ขอขอบคุณ ชื่นชมในความทุ่มเท และสปิ ริตของทุกคนในทุก ทีม ทังที ้ มสานักทันตะ dentssj รพศ/รพท รพช และทุกหน่อยงานที่ เกี่ยวข้ อง… งานนี ้ยอดเยี่ยมและอยูใ่ นความทรงจา จากการสร้ าง และสนับสนุนของ ทุกท่านจริ งๆครับ” คากล่าวจากคุณหมอเป็ ด ทพ. สมฤทธิ์ จิโรจน์วณิชชากร "งานจะยอดเยี่ยมเสมอ เมื่อผู้เข้ าร่วมงาน มีสว่ นร่วม เสมือน เจ้ าของงาน" แล้ วเจอกันอีกนะคะ ในงานแสดงมุฑิตาจิตทันต บุคลากรผู้เกษี ยณอายุราชการ ประจาปี 2559 ขอขอบคุณภาพประกอบจาก ทพ.สมฤทธิ์ จิโรจน์วณิชชากร และ ทพ.ธนัฏฐนนท์ อัศววัฒฑกี วารสารทันตภูธร
12
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
การเดินทางร้อยลี้ของพี่น้องทันตาภิบาล ชมรมทันตาภิบาล 77 จังหวัด นางณัฏฐชญา ศิลากุล เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชานาญงาน รพ.ละหานทราย จ.บุรีรัมย์
เริ่มจากแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ พัฒนาเครื อข่ ายข้ อมูล พ.ศ. 2552 เป็ นตอนที่พวกเรามีนัดประชุม งาน
คิดเรื่ องปั ญ หาคาใจ เริ่ มคุยกันเกิ ดกระแสการขอความ เป็ นธรรมในวิช าชี พ เรื่ องความก้ าวหน้ าวิช าชี พ ทัน ตา-
กันที่กระทรวงอยู่หลายๆครัง้ มี ความคุ้นเคยกันบอกเล่า ประสบการณ์การทางานกันกองทันตสาธารณสุขเปิ ดเวที
ภิ บาล เราร่ วมกันเก็ บข้ อมูลรวมเพื่ อใช้ เ ป็ นฐานข้ อ มูล ประกอบการขอความก้ าวหน้ าในเรื่ องต่างๆ ซึ่งแต่เดิมยัง
เ ชิ ญ ทั น ต า ภิ บ า ล ใ น พื น้ ที่ ม า เ ขี ย น ร่ า ง ห ลั ก สู ต ร ทันตสาธารณสุข 4 ปี ที่ จังหวัดนนทบุรีการเจอกันในคราว นั น้ ท าให้ เรา มี เ บอร์ โทรศั พ ท์ ติ ด ต่ อ กั น แต่ ก็ แ ค่ ถ าม
ไม่มีรายละเอียดมากนัก
สาระทุกข์สุกดิบกันธรรมดา ยังไม่มีการแชร์ ข้อมูลในการ ทางาน ใช้ Social media รวมพลังข่ าวสาร พ.ศ.2554 เริ่ มมีการตังกลุ ้ ่มใน Facebook เพื่อ ใช้ ในการติดต่อประสานงานกิจกรรมของทันตาภิบาลจาก ทัว่ ประเทศ โดยมีสมาชิก มากว่า 5,000 คน ซึ่งเราเริ่ มที่ จะมีการเก็บข้ อมูลในแต่ละจังหวัดมาเก็บไว้ ที่กลุ่ม เราเริ่ ม วารสารทันตภูธร
13
เกิดกลุ่ม “ทันตาภิบาล 77 จังหวัด” พ.ศ.2556 เป็ นต้ น มา จะร้ อนแรงมาก เพื่ อ น วิชาชีพใกล้ เคียงกับทันตาภิบาล เช่น สาธารณสุขชุมชน ได้ มีการขยับและเริ่ มออกมาเรี ยกร้ องทาให้ น้องทันตาใน พื ้นที่เริ่มมีคาถามว่าความก้ าวหน้ าของทันตาภิบาล ไปถึง ไหนแล้ ว จึงได้ เกิดการรวมกลุ่มกัน ในนามทันตาภิบาล 77 จัง หวัด เพื่ อ จะได้ ท างานสะดวก คล่ อ งตัว สมาชิ ก ทัง้ หมดจะเป็ นทันตาภิ บาลในระบบที่ ยัง ไม่เ ปลี่ ยนสาย งานโดยกลุ่ ม ทั น ตาภิ บ าล 77 จะ ไปสมทบกั บ กลุ่ ม ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
จ พ . ส า ธ า ร ณ สุ ข ชุ ม ช น เ พื่ อ ข อ ค ว า ม เ ป็ น ธ ร ร ม ขอความก้ าวหน้ าเมื่ อ เรี ย นต่ อ หลัก สู ต รสาธารณสุ ข
เวลาที่พวกเรามาเจอกันความรู้สึกที่สงสัยมานาน ว่าความก้ าวหน้ าเราทาไมไม่ก้าวไปไหนสักที ทาให้ ไ ม่
ศาสตร์ ต่อเนื่ อง 2 ปี ให้ ก้าวไปสู่แท่งวิชาการ และในส่วน ของทันตาภิบาลเองก็อยากเติบโตในสายงานทันตาภิบาล
แปลกใจเลย เรารวมกลุ่มกันช่วงแรก เรามีอะไรก็ใส่แสดง ความเห็นแบบจัดเต็ม จึงเป็ นที่มาที่ไปของชื่อนี ้พวกเราจึง
อยู่ (ปรับตาแหน่งไปแท่งวิชาการแต่ยงั ทางานเดิม) เพราะ ส่วนใหญ่ก็เรี ยนจบปริญญาตรี สาธารณสุขกัน
คิดชื่ อเรี ยกตัวเองใหม่ว่าชื่ อ ทั น ตาภิบ าล 77 จั ง หวั ด ชื่อนี ้เหมาะสมที่สดุ แล้ ว เพราะเรามาจากทุกที่และมีความ ต้ องการแบบเดียวกันคือ ก้ าวไปสู่แท่งวิชาการ ต่อมาก็ได้ จดทะเบียนเป็ นชมรมอย่างถูกต้ องชมรมทันตาภิบาล 77 จังหวัด เกิดขึ ้นจากพื ้นที่เล็กๆในเฟสบุค พวกเราล้ วนเป็ น ทันตาภิบาลที่ยงั ไม่เปลี่ยนสายงาน อยูใ่ นระบบราชการ
สร้ างเครือข่ ายข้ ามวิชาชีพและคนคอเดียวกัน ถึ ง แม้ การขอความเป็ นธรรมในช่ ว งปี 2557 ไม่สาเร็ จ แต่สิ่งที่เราได้ คือเครื อข่ายน้ องพี่ชาวสาธารณสุข ที่ พ วกเราทางานร่ วมทุกข์ ร่วมสุขด้ วยกันเป็ นเวลานาน มาแล้ วจนถึ ง ทุ ก วัน นี เ้ รามี ก ารประสานงานกั น อย่ า ง สม่าเสมอ และมีกลุ่ม สบ.ทันตสาธารณสุข รุ่ น 1 และ 2 มาร่ วมด้ วยซึ่งทาให้ เรามีความรู้ สึกว่า เราต้ องรวมตัวกัน เพื่อที่จะแสดงว่าเราก็มีตวั ตนนะ ในคราที่พวกเราต่อสู้พวกเราก็ได้ ออกสื่อเป็ นครัง้ แรกทาให้ คนรู้จกั กลุ่มทันตาภิบาลมากขึ ้นบางคนจะเรี ยก
เวลามีโพสต์ที่ต้องแสดงความคิดเห็น เราจะเห็น
เราว่ากลุ่มโวยวายเราไม่โกรธ แต่พวกเรารู้สึกขาๆ ที่มีคน ตังชื ้ ่อกลุ่มให้ พวกเรา เราขอบอกในพืน้ ที่นีเ้ ลยว่าการที่
แววคนที่ มี แนวคิดเหมือนกันจากนัน้ เราจะ ส่ง ข้ อความ เพื่อเชิญเข้ าเป็ นสมาชิกในกลุม่ โดยสมาชิกในกลุม่ มาจาก ทุกๆภาคของไทย ทาให้ เราเริ่ มเข้ าใจบริ บทของแต่ละแห่ง
พวกเราได้ ลกุ ขึ ้นมาทาอะไรด้ วยตัวเอง มันเป็ นเรื่ องที่ยาก เพราะทันตาภิบาลเองภาระงานเยอะมากซึ่งไม่ได้ ทาแต่ งานทันตสาธารณสุขอย่างเดียว
ว่า ท างานแตกต่า งๆกัน จากนัน้ ก็ มี ก ารแชร์ ข้ อ มูล การ ท างานในพื น้ ที่ ซึ่ ง ทุก คนจะรู้ สึ ก ตื่ น เต้ น เมื่ อ เห็ น ภาพ กิจกรรมของตัวเองออกสื่อ เพราะน้ องๆบางคนใน รุ่นใหม่
วารสารทันตภูธร
14
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
และหน้ าใหม่ยงั ไม่มีพื ้นที่ ในการแสดงผลงานดังนัน้ กลุ่ม ทันตาภิบาล 77 จังหวัดจึงเป็ นพื ้นที่ ที่ทนั ตาภิบาลคนไหน
ระบบงานของเราแล้ วนะ ซึ่ ง ก็ ไ ด้ ผ ลทัน ตาภิ บ าลทั่ ว ประเทศ ส่ ง ผลงานตัว เองเข้ า มาแลกเปลี่ ย นกัน อย่า ง
มี ผ ลงานอะไร สามารถมาโพสให้ ค นอื่ น ทราบได้ ยอด สมาชิกกลุ่มก็ได้ เพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ วพอรวมกลุ่มกันเสร็ จ
ต่อเนื่อง
เริ่ ม มี ค นรู้ จัก เริ่ ม มี บ างหน่ ว ยงานเชิ ญ ไปร่ ว มประชุ ม แลกเปลี่ยนการพัฒนา เราก็แบ่งทีมกันไป โดยแบ่งจาก ความถนัดของแต่ละคน ประธานกลุ่ ม คุณ อรุ ณ วรรณ แม่ ห ล่ า ย ก็ จ ะ พิจารณาความเหมาะสมอีกครัง้ ด้ วย ทังนี ้ ้ทังนั ้ นขึ ้ ้นอยู่กบั เวลาของแต่ละคนด้ วย เพราะแกนนาบางคนมีภาระในที่ ทางานเยอะมากต้ องแบ่งตัวแทนถึง 2 ชุด ในแต่ละเรื่ องที่ ต้ องไปติดต่อทาให้ เราไม่พลาดในประเด็นที่เกี่ยวข้ องเลย หางบเพื่อทางาน พลังกลุ่มของเรา สิ่งที่ตามมาคือเงินในการเดินทางต้ องยอมรับว่า บางที ก็เ บิกงบจากผู้จัดได้ แต่บางงานเราก็ ต้องควักเงิน ส่วนตัว แรกๆมีบางจังหวัดที่เป็ นสมาชิก บริ จาคเงินมาให้
เป้ าหมายยิ่งใหญ่ ไม่ ใช่ เฉพาะความก้ าวหน้ า จุดประสงค์ของชมรมเราไม่ไ ด้ ที่จ ะเรี ยกร้ องขอ ความก้ าวหน้ าอย่ า งเดี ย ว แต่ ยัง เป็ นเครื อ ข่ า ยที่ ต้ อ ง แลกเปลี่ยน เรี ยนรู้การทางานของทันตาภิบาลในพื ้นที่อีก ด้ วย พอเสื ้อเริ่ มจะซาลง ทางสมาชิกก็เสนออยากได้ เข็ม ทันตาภิบาลซึ่งใครที่เรี ยนหลักสูตรนี ้จะได้ ทุกคนแต่ บาง คนทาหายไปแล้ ว จึงประชุมกันทาง INBOX ว่าใครจะรับ ท าเข็ ม กลั ด ทั น ตาภิ บ าลจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา รับหน้ าที่ในการทาเข็ม ซึง่ ทาออกมาสวยและมีเสียงชมว่า เข็มทันตาภิบาลทาไมสวยจัง ทาให้ ภูมิใจจังเลยที่เราเป็ น ทันตาภิบาล…คือต่อไปพวกหนูจะมีตวั ตนแล้ วใช่ไหมพี่ … น้ องทันตาภิบาลคนหนึง่ ถาม
จ านวนหนึ่ ง ซึ่ ง รวมกั น แล้ วไม่ ม ากอะไรแต่ ก็ เ กิ ด การ วิพากษ์ วิจารณ์ว่าชมรมเราเรี่ ยไรเงินทังๆที ้ ่เงินบริ จาคมา ด้ วยใจที่อยากช่วยเหลือทันตาภิบาลด้ วยกันเองแต่กลุ่ม ของพวกเราก็ ห าได้ ท้ อแท้ ไม่ พวกเราตัง้ ที ม ครี เ อที พ ออกแบบเสื อ้ จ าหน่า ย ไปเลื อ กร้ านชื่ อ ดัง ที่ สุด ในเมื อ ง เชี ย งใหม่คุณ ภาพผ้ า เราก็ คัด สรรอย่า งดี ใครเห็ น ต้ อ ง อยากได้ พอออกจ าหน่ายยอดสั่ง ซื อ้ ก็ ถล่ม ทลาย ได้ เ งิ น จานวนหนึ่งซึ่งมากพอที่เราจะใช้ ในกิจกรรม ในเวลา 1 ปี เสือ้ เหมือนจะเป็ นการหารายได้ เข้ าชมรม แต่ใครจะรู้ ว่า ลึกๆคือพวกเราชาวทันตาภิบาลต้ องการแสดงสัญลักษณ์ ว่ า เราพร้ อมแล้ วนะที่ จ ะลุ ก มาเปลี่ ย นแปลงพั ฒ นา วารสารทันตภูธร
15
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ชมรมเราได้ แต่ยิ ้มภูมิใจว่า ถึงแม้ ตอนนี ้เราจะยัง ไม่ได้ ก้าวไปสู่แท่งวิชาการ แต่เราก็ได้ ทาให้ พี่น้องในระบบ
ไกลอีกสักหมื่นลี ้ เราก็ไม่หวั่นเพราะข้ างทางเรามี เพื่ อน มากมายที่พร้ อมจะเป็ นกาลังใจให้ พวกเราทางานให้ บรรลุ
รู้ สึกว่าพวกเขาไม่ไ ด้ อยู่เดียวดาย ภารกิ จ ของชมรมเรา หลักๆคือการขอความเมตตาให้ ทนั ตาภิบาลมีโอกาสก้ าว
วั ต ถุ ป ระสงค์ กั บ การก้ าวไปสู่ แ ท่ ง วิ ช าการ ในชื่ อ ทันตาภิบาลให้ ได้
ไปสู่แท่งวิชาการ เนื่องจากลักษณะงานที่ทาเป็ นลักษณะ ที่ต้องใช้ ความความสามารถและต้ องใช้ วิชาการช่วยอย่าง มาก และทันตาภิบาลส่วนใหญ่ก็ขวนขวายเรี ยนต่อจนจบ ปริญญาตรี ทางด้ านสาธารณสุขเพื่อเอาความรู้และทักษะ ที่เรี ยนมาใช้ ประกอบการทางาน(เราตระหนักดีว่าความรู้ สองปี ของเราช่วยเราได้ ในระยะเริ่ มทางาน แต่เมื่อทางาน ไประยะหนึ่งความรู้ ที่เพิ่มขึน้ จะทาให้ เราทางานได้ มาก ขึ ้น พวกเราจึงขวนขวายเรี ยนกัน) ซึ่งปริ ญญาที่เราได้ กัน นัน้ น่าจะสามารถปรับให้ เราสามารถเข้ าแท่งวิชาการได้ แต่ในความเป็ นจริ งก็ยงั ติดข้ อกาหนดหลายอย่าง ซึ่งพวก เรารู้สกึ ว่ามันน่าจะก้ าวไปได้ ถ้าเราช่วยกันแก้ ไข นอกจากนี ท้ างชมรมยัง ได้ เข้ า ร่ วมในการเสนอ เ พื่ อ ข อ ต า แ ห น่ ง อ า วุ โ ส ซึ่ ง ท า ง แ ก น น า บุ รี รั ม ย์
ส่วนความคืบหน้ าล่าสุด ที่แกนนาเราได้ เข้ าร่ วม เป็ นตัว แทนการประชุ ม คณะกรรมการพั ฒ นาระบบ ทันตสุขภาพ ซึง่ ประกอบด้ วยทีมเครื อข่ายทันตาภิบาล 77 จังหวัด เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2558 ที่ผ่านมา ระบุว่า แกนนาเครื อข่ายทันตาภิบาล 77 จังหวัด ซึ่งเป็ นเครื อข่าย ของทั น ตาภิ บ าล ระดั บ ผู้ ปฏิ บั ติ ง านในพื น้ ที่ ทั ง้ ใน โรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุข ภาพต าบล (รพ.สต.) ได้ เข้ าพบและหารื อกั บ ศ.พิ เ ศษ ทพญ. ท่ า นผู้ หญิ ง เพ็ ช รา เตชะกั ม พุ ช ผู้ อ านวยการหน่ ว ย ทันตกรรมพระราชทาน และประธานมูลนิธิทนั ตนวัตกรรม นายวรวุฒิ กุลแก้ ว เลขาธิการ พร้ อมคณะ และผู้บริ หาร จากกระทรวงสาธารณสุข เพื่อร่ วมปรึ กษาหารื อเรื่ องการ พัฒนาระบบทันตสุขภาพแก่ประชาชนทุกกลุม่ วัย
(คุณณัฏฐชญา ศิลากุล) ได้ ทาไว้ ตงแต่ ั ้ ต้น และเสนอใน เครื อข่าย จพ.14 สายงานก็มีความคืบหน้ าในระดับหนึ่ง ซึง่ เป็ นเรื่ องที่เราต้ องทาต่อ ตอนนีเ้ ราก็รวมกลุ่ม กันมากพอ สมาชิกที่ สมัคร ได้ ป ระมาณ 3,000 กว่า คน สมาชิ ก ในกลุ่ม Facebook ประมาณ 4,000 กว่าคน ซึ่งมาจากหลายวิชาชีพที่เข้ ามา Update ข่าวใหม่ให้ พวกเราได้ ตื่นตัวอยู่เสมอ พืน้ ที่ของ ทันตาภิบาล 77 จังหวัด จึงไม่ได้ มีแค่พวกเราทันตาภิบาล แต่มีหลายวิชาชีพที่พร้ อมจะช่วยเหลือพวกเราทาให้ พ วก เรารู้ สึกว่าไม่ไ ด้ โดดเดี่ยวอี กต่อไปจากนีก้ ารเดินทางจะ วารสารทันตภูธร
16
เครดิตภาพจาก http://thaimedtechjob.com/webboard/index.php?topic=16019.0
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ในแผนการพั ฒ นาระบบทั น ตสุ ข ภาพ จะมี ประเด็ น การพั ฒ นาทั น ตบุ ค ลากร ซึ่ ง ประกอบด้ วย 1.ทั น ตแพทย์ 2.ทั น ตาภิ บ าล 3.ผู้ ช่ ว ยทั น ตแพทย์ / ช่างทันตกรรม 4. อาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญทันต สาธารณสุข (อสมท.) ส าหรั บ ประเด็ น น่ าสนใจที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ทั น ตาภิบาลมีดังนี ้ 1. พัฒ นาต่อยอดทันตาภิ บาล 2 ปี ให้ เ รี ยนต่อ เป็ นระดับปริ ญญาตรี โดยสถาบันที่ร่วมผลิตทันตาภิบาล 4 ปี ต้ องเป็ นมหาวิทยาลัยที่ มี ก ารผลิ ตทันตแพทย์ ด้ ว ย ขณะนีม้ ี 2 มหาวิทยาลัย คือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ (มศว) เพื่อก้ าวสู่การ
บทบาทหน้ า ที่ ทั น ตาภิบ าลในอนาคต…ลดงาน รักษามุ่งหน้ าส่ งเสริมป้ องกัน ดัง นัน้ ทัน ตาภิ บ าลจะต้ อ งปรั บ การท างานมา ทางานส่งเสริ มป้องกันโรคมากขึน้ ส่วนการรักษาให้ เป็ น หน้ าที่ของทันตแพทย์ “จานวนทันตาภิบาลที่ให้ บริ การใน ตาบล/เทศบาลทั่วประเทศขณะนีม้ ี ประมาณ 90% ของ
เป็ นนักวิชาการทันตสาธารณสุข โดยใช้ ระบบการเรี ยน การสอนแบบทางไกล (Distance Learning)
จ านวนเทศบาล/ต าบลทั่ว ประเทศ ซึ่ง ในโรงพยาบาล ส่งเสริ มสุขภาพตาบล (รพ.สต.) นัน้ ทันตาภิบาลยังต้ อง
2. คณะกรรมการพัฒนาระบบทันตสุขภาพ ได้ หารื อ กับ ส านัก งานคณะกรรมการข้ า ราชการพลเรื อ น (ก.พ.) เพื่อขยายกรอบรองรั บตาแหน่งนักวิชาการทัน ต สาธารณสุข 3. การปรับบทบาทการทางานของทันตาภิ บาล เน้ นส่งเสริมป้องกันโรคต่องานรักษา อัตราส่วน 80 ต่อ 20 โดยเน้ นให้ ประชาชนมี ส่ ว นร่ ว มในการดู แ ลสุ ข ภาพ ช่องปากของตนเองและครอบครัวและชุมชนอย่างยัง่ ยืน
ให้ การรักษาอยู่ ในอนาคตทันตาภิบาลจะต้ องปรับลดการรั กษา ลงมาเรื่ อยๆ ให้ เหลือการส่งเสริ มป้องกันเป็ นรายบุคคล ตามโปรแกรมข้ อมูลการให้ บริ การผู้ป่วยนอกและส่งเสริ ม ป้องกันโรครายบุคคล (OP/PP individual Data) ส่วนการ รั ก ษาจะส่ง ต่อ ให้ ทัน ตแพทย์ ที่ อ ยู่ใ นพื น้ ที่ โ รงพยาบาล เดียวกัน “เมื่อทางานด้ านการส่งเสริมป้องกันที่เด่นชัดมาก ขึ ้น ความก้ าวหน้ าในวิชาชีพก็จะเพิ่มขึน้ เช่น จากระดับ อนุปริ ญญา 2 ปี ก็สามารถก้ าวมาเป็ นนักวิชาการส่งเสริม สุ ข ภาพ (ระดับ ปริ ญ ญาตรี ) ซึ่ ง ในอนาคตจะต้ องมี ใบประกอบโรคศิลป์ เพื่อควบคุมให้ เกิดความปลอดภัยทัง้ ผู้ให้ บริการและผู้รับบริการ” นางณัฏฐชญากล่าว
วารสารทันตภูธร
17
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
“คณะกรรมการพัฒ นาระบบทัน ตสุ ข ภาพได้ กาหนดแผนปฏิบตั ิการไว้ ว่าในช่วง 5 ปี จากนี ้จะต้ องปรับ
ปฏิ บัติ ง านให้ เ ต็ ม ที่ ต ามความสามารถ เพื่ อ ให้ บ ริ ก าร ประชาชนมากที่ สุ ด ส่ ว นเรื่ องความก้ าวหน้ า ทาง
ลดสัดส่วนการทางานจากเดิมมีอตั ราส่วนการรักษาร้ อย ละ 80 และส่ง เสริ ม สุข ภาพร้ อยละ 20 เป็ น อัต ราส่ว น
คณะกรรมการพัฒ นาระบบทัน ตสุข ภาพจะเร่ ง ท างาน อย่างต่อเนื่อง ไม่ทอดทิ ้งอย่างแน่นอน
50 : 50 และเน้ นแผนพัฒนาทันตสุขภาพในกลุ่มผู้สงู อายุ แต่อย่างไรก็ตามจะต้ องพัฒนาทันตสุขภาพทุกกลุ่มวัยไป พร้ อมๆ กั น จากนั น้ คณะกรรมการจะดู น โยบายการ ดาเนินงานของกระทรวงสาธารณสุขว่า จะเน้ นเรื่ องการ รั ก ษาหรื อ การส่ ง เสริ ม ป้ อ งกัน เป็ น หลัก หากเน้ นการ ส่งเสริมป้องกัน การขับเคลื่อนจะไปได้ ง่ายมากขึ ้น” ทัง้ นี ท้ ันตาภิ บาลจะต้ องเตรี ยมตัวเองให้ พ ร้ อม เพื่ อ การพัฒ นาศัก ยภาพของตนเองรองรั บ ระบบการ เปลี่ยนแปลง เช่น การอบรม ศึกษาต่อ และขอให้ ทุกคน
วารสารทันตภูธร
18
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ขอขอบคุณภาพประกอบจาก Facebook ทันตาภิบาล 77 จังหวัด ขอขอบคุณผู้จดั หาภาพประกอบ คุณกิตติมา ธรรมวิชิต (เจ้ าพนักงานทันตสาธารณสุขชานาญการ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลบางเลน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี) วารสารทันตภูธร
19
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
จัดซื้อวัสดุทันกรรมร่วมทั้งภาคใต้ บันทึกความทรงจาดีๆ โดย ทันตแพทย์สมฤทธิ์ จิโรจน์วณิชชากร หมอเป็ด สสจ.ปัตตานี ***ใช่แค่... ซื ้อเครื่ องมือมาทาฟั น!!! แต่เป็ น ความร่วมมือครัง้ ใหญ่ ในการจัดซื ้อเครื่ องมือ มาให้ ศลิ ปิ นใช้ สร้ างงานศิลปะ*** เราเริ่มปรัชญาการจัดซื ้อวัสดุทนั กรรมร่วมภาคใต้ จาก คาว่า "ประชาชนต้ องได้ รับงานดี มีคณ ุ ภาพ" "ภาครัฐต้ องได้ รับประโยชน์ ประหยัด" "ผู้ใช้ เป็ นผู้เลือก" และได้ ประสบการณ์ ได้ ประสิทธิภาพ ประเทืองปัญญา จากเวทีแลกเปลี่ยน
เรามองทันตแพทย์แบบศิลปิ น งานทันตกรรมเป็ นงานศิลปะ Hand Made .. ตราบใดที่ศลิ ปิ น ยังมีพกู่ นั สี กระดาษ ร่วมกับศาสตร์ และจินตนาการที่ใช้ ในการวาดภาพสร้ างงานศิลปะที่หลากหลาย .. ทัน ตแพทย์ก็จะมีเครื่ องมือวัสดุที่เหมาะ กับแต่ละคนที่แตกต่าง เพื่อใช้ สร้ างความสมบูรณ์แบบ คุณภาพของการรักษาเช่นกันครับ^^ … ความสมดุลย์ ระหว่างประโยชน์แก่คนไข้ -ประโยชน์ภาครัฐ-ความถนัดของท้ นตแพทย์ … เป็ นเรื่ องที่ไม่ง่ายที่จะ ลงตัวครั บ!!^^ ไม่ง่ ายที่ ตามโครงการหลัก ประกันสุขภาพ จะหาวัสดุทันตกรรมมี คุณ ภาพสูง ราคาประหยัดได้ จ ริ ง ^^ แม้ คนไข้ ส่วนใหญ่ไม่ร้ ูถึงคุณภาพวัสดุที่ใช้ แต่ก็สมั ผัสอะไรบางอย่างได้ จากวันเวลาที่ผ่านไป^^ ภาครัฐมองชี ้วัดจากแค่ว่า ตัวเลขที่ลดลง!!??? ทันตแพทย์ถนัดอะไร ไม่คอ่ ย(ชอบ)เปลี่ยน^^ .. ทาอย่างไรหละจึงลงตัว!! ^^ ???? วารสารทันตภูธร
20
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
การริ เริ่ มจัดการจัดซื ้อวัสดุทนั ตกรรมร่ วมภาคใต้ ได้ คอ่ ยๆพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง เกือบยี่สิบปี จากจังหวัด
และการจัดซื ้อวัสดุทันตกรรมร่วมภาคใต้ ในปี นี ้ ก็ เป็ นครั ง้ ประวั ติ ศ าสตร์ จ ริ ง ๆครั บ มี ตัว แทนมาทั ง้ 14
ทางใต้ ตอนล่าง ค่อยๆคลานคืบ ควานคีบ คีย์ตี เชิญชวน หัว เมื อ งต่ า งๆเข้ าร่ ว ม^^ "หาจุ ด ร่ ว ม-สงวนจุ ด ต่ า ง"
จัง หวัดครบ ร่ วมกับ คณะทันตแพทยศาสตร์ มอ. และ แผนกทันตกรรมรพ.มอ. รวมกันเกือบร้ อยคน (กล้ ายืนยัน
ใช้ การมี ส่วนร่ วม เรี ยนรู้ แลกเปลี่ ยน ยื ดหยุ่น เสริ ม เติม พลัง เปิ ดพื ้นที่การฟั ง ยอมรับ รับผิดชอบ … และที่สาคัญ
ได้ เลยครับ ไม่มีที่ไหนในประวัติศาสตร์ ที่มีการจัดซื ้อร่วม โดยมี กรรมการร่ วมคิด ร่ วมแชร์ ร่ วมลงคะแนนกันเป็ น ร้ อยคน^^ ทุกคนมีสิทธิ์ให้ ความเห็น ลงคะแนน^^!!) …
4 เสาหลักแห่ง ชัยชนะที่ เราใช้ คา้ การจัดซื อ้ ร่ วมมาโดย ตลอด (Integrity, Relationship, Existance, Enrollment) ยื นจากการรั กษาเกี ยรติ ยึดมั่นในคาพูด สร้ าง
ขณะที่ บ ริ ษั ท จ าหน่ า ยวั ส ดุ ทั น ตกรรมระดั บ
ความสัมพันธ์ ที่ดี ประสานงาน โปร่ งใส สื่อสารกันอย่าง
แบรนด์ เ นม ก็ พ ร้ อมใจกัน มาจากทั่ว ฟ้ า เมื อ งไทย … ย้ อนไปเป็ นแรมเดือน การร่ วมใจลงมื อทางานกันอย่าง
เปิ ดเผยต่อเนื่อง และใช้ การโน้ มน้ าวพูดคุยกัน โดยไม่มี การใช้ คาสัง่ ใดๆ จน 5 ปี ที่ผ่านมา 14 หัวเมืองทังภาคร่ ้ วม
จริ ง ใจ เพื่ อ ให้ ทัน ตแพทย์ ภ าคใต้ ได้ ใ ช้ วัส ดุทัน ตกรรม คุณ ภาพดี ราคาเหมาะสม ก็ ค่อ ยๆถูก ปั น้ ขึน้ จากการ
ใจ ร่ วมมือ ร่ วมการเป็ นเจ้ าของ ร่ วมกับคณะทันตแพทย์ ศาสตร์ มอ. (มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ นทร์ ) และ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะแพทย์มอ.
ประสานงานกันอย่างนุ่มนวล เป็ นทีม ต่อเนื่อง ของคุณ หมออู่ สตูล, คุณหมอหยา ตรัง, หมอปูน พัทลุง, หมอกิ๊ฟ ปัตตานี, หมอป๊ อป และทีมงาน รวมถึงภาวะผู้นาและการ
… เราจั ด ซื อ้ ร่ วมกั น ได้ ระดั บ ภาคอย่ า งมี ประสิทธิ ภาพ ก่อนที่ทางกระทรวงจะแจ้ งให้ เป็ นตัวชี ว้ ัด
ประสานงานอันยอดเยี่ยมของคุณหมออ่อน ทันตะมอ., หมออุ้ม รพ.มอ. ความเป็ นไปได้ ที่นา่ จดจาก็เกิดขึ ้น… ^^
ระดับจังหวัดซะอีก^^
วารสารทันตภูธร
21
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ถึงวันประมูลวัสดุทนั ตกรรมจริ งๆ แต่ละจังหวัดก็ ส่งตัวแทนทีมชาติ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีประสบการณ์ รวมถึง ผู้สนใจ เข้ าร่ วมกิจกรรมสร้ างสรรค์นีก้ ันอย่างคึกคัก …
ถื อ เป็ นต้ นแบบในการให้ การสนั บ สนุ น หน่ ว ยงาน ทัง้ วิช าการ สื่ อ หรื อความร่ วมมื อต่างๆ แก่พื น้ ที่ ภ าคใต้ และศิษย์เสมอมา^^ … ขอขอบคุณบริ ษัททันตกรรมทุก
ทังเวที ้ แลกเปลี่ยน วิชาการ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ สอง วัน เต็ ม ๆ จบลงตรงที่ ความร่ ว มมื อ ของเราทัง้ ภาคใต้
แห่งที่เข้ าร่ วม พวกคุณนอกจากเสนอวัสดุทันตกรรมที่ดี ราคาสมเหตุสมผลแล้ ว เราสัมผัสถึงการบริ การหลังการ
สามารถประหยัดเงินให้ ภาครัฐ รวมกว่า 80 ล้ านบาท .. (มูลค่าการจัดซ์ ้อร่ วม 400 ล้ านบาท .. สินค้ าของแต่ละ
ขายที่ เ ปี่ ยมด้ ว ยมิ ต รไมตรี เข้ า ใจ เข้ า ถึ ง ของพวกคุณ ตลอดเวลา
บริ ษั ท มี ก ารลดราคากั น ลงมาจากการขายทั่ ว ไป 10-40%) … WinWin ครับ^^!!
เรามีคาสัญญากับบริ ษัทเครื่ องมือทันตกรรมว่า
เราก าหนดรายการเข้ า ร่ ว มประมูล 40 หมวด
บริ ษั ท ที่ คัด สรรค์ วัส ดุทัน ตกรรมคุณ ภาพดี บริ ก ารที่ ดี ส่งเสริ มนวัตกรรม ตังราคาสมเหตุ ้ สมผล และสนับสนุน
เกือบ 400 รายการ (ตามรายการที่มีการใช้ เยอะ และ/หรื อ มูลค่าในการจัดซื ้อสูง) เราได้ เลือกบริ ษัท เข้ ามาในแต่ละ
การทากิจกรรมทันตะภาคใต้ จะได้ รับการดูแลตลอดไป เราจะไม่ทิ ้งกัน^^ … เพราะพวกคุณเป็ นส่วนที่สาคัญใน
รายการ ประมาณ 3 บริ ษัท เพื่อช่วยกันในการให้ บริ การ ที่สาคัญทุกหน่วยงานมีสว่ นร่วม ผู้ใช้ ได้ มีโอกาสเลือก …
การให้ พ ลัง ให้ ก าลัง ใจในการท างานของพวกเราเพื่ อ ประชาชน จริงๆครับ^^
ต้ องขอขอบคุณ หมออู่ หมอหยา และทีมงานอีก
อีกครัง้ ที่การจัดซื ้อร่ วมภาคใต้ ที่มีอย่างต่อเนื่อง
ครั ง้ … พวกคุณ อดทนและยอดเยี่ ย มจริ ง ๆครั บ ^^ .. ขอขอบคุณ คณะทันตแพทยศาสตร์ มอ. ผู้มีวิสยั ทัศน์ เข้ า
มากว่ า สิ บ ปี ผ่ า นไปด้ ว ยดี มี ต านานให้ เล่ า กล่ า วถึ ง ต่อๆไป^^… ปี นี ้ เป็ นเวทีที่สนุก ได้ ความรู้ ได้ ประโยชน์
ร่วมกับเรา ทันตะภาคใต้ ..เป็ นแบบอย่างให้ เห็นว่า .ไม่ว่า จะเป็ นหน่วยงานไหนระดับใด กระทรวงไหน ก็รับผิดชอบ
สามารถเก็บไว้ เป็ นความทรงจาดีๆ และเป็ นอีกครัง้ หนึ่ง ที่ เต็ ม ไ ปด้ วยบรรยากาศแบ บพี่ ๆน้ องๆ ทุ ก คนพ ก
ร่วมกันในการจัดหาวัส ดุคณ ุ ภาพเพื่อดูแลประชาชน และ ประหยัด เพื่ อ ภาครั ฐ ได้ … นอกจากนี ้ คณะทัน ตะมอ.
ประสบการณ์ที่ดีและรอยยิ ้มกลับไป … ^^!! อบอุ่นจริ งๆ ครับ^^ ปี หน้ ามาพบกันอีกนะครับ พี่น้องครับ
วารสารทันตภูธร
22
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ประชุมวิชาการ สมาคมทันตาภิบาลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 “พัฒนาวิชาการสู่การพัฒนาวิชาชีพ” Kookai and YungYung จัง
เดือนพฤศจิกายนของทุกปี เป็ นเดือนที่รอคอย เพราะสมาคม ทันตาภิบาลแห่งประเทศไทยจะมีการจัดประชุมวิชาการ ปี น้กี เ็ ช่นกัน เปิ ดงานโดยท่านนายแพทย์ววิ รรธน์ ก่อวิรยิ กมล นายแพทย์ สาธารณสุขจังหวัดเลย มีการแสดงประกอบพิธเี ปิ ดทีน่ ่าตื่นตาตื่นใจจาก น้องๆนักเรียน ทัง้ ยังมีการแนะนาสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดเลย ที่ ทุกคนปรารถนา ปี น้ีมพี น่ี ้องทันตาภิบาลและทันตบุคลากร ผูส้ นใจเข้า ร่ ว มประชุ ม กว่ า 350 คน มากั น มืด ฟ้ ามัว ดิ น กั น เลย ไม่ ว่ า จาก สุดชายแดนใต้ท่มี าไกลที่สุ ดในการประชุมครัง้ นี้ ขอตบมือดังๆ ให้กบั ชาวทันตาภิบาลนราธิวาส มาไกลมากๆ คุณมาถึงจุดนี้ได้อย่างไร บูธวิชาการเราก็มมี านาเสนอไม่ว่าจะเป็ นจากเครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน นากิจกรรมมาฝากเพียบ ใครร่วม กิจ กรรมมีข องรางวัล แจกติด มือ กลับ บ้ า นอย่ า ง ถ้ ว นหน้ า ได้ ท ั ้ง ความรู้ แ ละรางวั ล ปล อ บ ใจ สนุกสนาน กับเพื่อนทีม่ าช่วยกันแย่งรางวัล สมาคม ทันตาภิบาลก็มเี สื้อสวยๆ มาขายในราคาที่แสนจะ ถูก เพื่อหาเงินเข้าสมาคม พีน่ ้องพร้อมใจสนับสนุ น กันเต็มที่ ทาบุญด้วย เสือ้ ใส่ดว้ ย บ่งบอกถึงการเป็ น กลุ่มก้อนเดียวกันทันตาภิบาลไทย อีกส่วนทีส่ าคัญ Poster Presentation จ า ก ง า น ป ร ะ ชุ ม 8 th ACOHPSC ณ กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน นาเอา โปสเตอร์ ผ ลงานวิ ช าการที่ น าเสนอ มาแชร์ ประสบการณ์ จากต่ างแดนที่แสนเพลิดเพลิน และ มันส์ สุดยอดในต่างประเทศ ทันตาภิบาลไทย ก้าว ไกลทัว่ โลก เป็ น โอกาสที่ดีย ิ่ง จากสมาคมทันตาภิบ าลแห่ ง ประเทศไทยที่ส นั บ สนุ น การน าเสนอ ผลงานวิชาการ 5 ทุน ทุนละ 20,000 บาท วารสารทันตภูธร
23
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ส่วนทีมวิทยากรจากแผนงานวิชาชีพทันตแพทย์ค วบคุ ม การบริโ ภคยาสู บ จัด เต็ ม จัด หนั ก มากกั บ การประชุ ม ครัง้ นี้ ทัง้ เนื้อหาวิชาการ “ยับยัง้ นักสูบหน้ าใหม่ ทันตาภิบาลไทยทาได้ ” แลกด้ว ยการเปิ ดตัว Mascot Nono ทาให้เ ราได้รู้จกั กับโครงการ กระต่ าย ขาเดียว ที่มเี รื่อ งราวมามากกว่า 10 ปี ใช้ห ลักการ 5A คัดกรองนักสูบหน้าใหม่ การเรียนรูใ่ ช้รปู แบบเกมส์ยอดฮิตในเวลานี้ กับ ปริศนาฟ้ าแลบ ในแบบความรูเ้ รื่องบุหรี่ นับเป็ นความท้าทาย อีก งานหนึ่งที่น่าสนใจในการกลับไปลองท างานเกี่ยวกับ บุ ห รี่ใ น รูปแบบทีมสหวิชาชีพ ในช่วงเวลาพลบค่ าของวันแรก ทาให้เราชาวทันตาภิบาล ได้มารู้จกั กันมากขึ้นในรูปแบบงานเลี้ยงเกษียณอายุราชการของ ทัน ตาภิบ าล โดยในปี น้ี ม ีผู้เ กษีย ณอายุร าชการด้ว ยกัน ทัง้ หมด 7 คน ในงานเจ้าภาพจัดหนักอีกเช่นเคย มีทงั ้ ชุดการแสดงเปิ ดตัวผู้ เกษียณอย่างยิง่ ใหญ่ เว่อวังอลังการ สมเกียรติ พี่เราทัง้ อย่างทีส่ ุด เล่นเอาตะลึง่ ตึง ๆ กันทัวงาน ่ โดยนักแสดงจากโรงเรียนมัธยมในเมืองเลย เขาเก่งการแสดงเป็ นอย่างมาก ขอบอก การ แสดงมาในรูปแบบศิลปะพื้นบ้าน ไม่ว่าจะเป็ น ผีตาโขน การเต้นประกอบเพลงยอดฮิตของคนเมืองเลย เล่นเอาพี่น้อง ทันตาภิบาลเรา อดใจไม่ไหวต้องออกมาร่วมแสดงกันทัวทิ ่ ศ ได้ท่าเต้นกลับบ้านกันไปหลายท่าเลยงานนี้ บางคนถึงกลับ ลืมอายุ (ลืมแก่) ราวงกันเพลิดเพลินแทบไม่อยากนัง่ เลยทีเ่ ดียว แต่ละชุดการแสดงนัน้ ถือว่าสมราคาคนเมืองเลย ยิง่ ใหญ่ มาก ทัง้ เสือ้ ผ้า หน้าผม จัดเต็มสุดๆ
วารสารทันตภูธร
24
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
วั น สุ ด ท้ า ยเนื้ อ หาวิ ช าการเข้ ม ข้ น บอกเล่ า ประสบการณ์ ก ารท างาน ของชาว ทันตาภิบาลดีเด่น หนุ กหนาน กับการเล่าเรื่อง การทาโครงการของ นายยุ่ง แห่งบางปลาม้า สุ พ รรณบุ ร ี คนฟั ง แล้ว ไม่ เ หนื่ อ ย แต่ ค นท า จริ ง ๆคงเหนื่ อยไม่ น้ อย กั บ วิ ธ ี ก าร ช๊ อ ค ความคิ ด เปลี่ ย นวิ ธ ี ค ิ ด ปรั บ พฤติ ก รรม ทันตสุขภาพ ให้กบั ชุมชน ให้กบั เทศบาล อบต. ให้เห็นความสาคัญกับงานทันตฯ งานนี้นายยุ่ง เป็ นทีร่ จู้ กั ของพีท่ นั ตาภิบาลไทยกันเลยทีเดียว เก่ ง จริง ๆน้ อ งพี่ย กนิ้ ว ให้ นายสามารถจริงๆ ส่ ว นประสบการณ์ อ่ืนก็ไ ม่น้อ ยหน้ า พี่ทนั ตา จากพิษณุโลกสปิ รติ แรงกล้ามาก เกิดอุบตั เิ หตุ ขาหัก ก็ยงั มานาเสนอให้น้องฟั ง ด้วยวิชาการ ทันตกรรมเพิม่ ทวี ได้ผลดีทเี ดียว
ปิ ดท้ายด้วยความภาคภูมใิ จ สภาคมทันตาภิบาลแห่งประเทศไทย มอบโล่ทนั ตาภิบาลดีเด่น ตามด้วยมอบธงต่อ ให้ จังหวัดนครศรีธรรมราช จัดประชุมวิชาการครัง้ ที่ 8 ปี หน้าเจอกันนะคะ…พีน่ ้องทันตาภิบาลไทย วารสารทันตภูธร
25
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
Service Plan หรือแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ หมอลัค ไม่ฟันธง จากปั ญหา หน้ างอ รอนาน บริ การไม่ทวั่ ถึง แออัด ขยายบริ การแข่งกันทาให้ งบที่มีจากัดไม่เพียงพอ… สู่ปัญญา การปรับเปลี่ยนกรอบความคิด Paradigm shift ทังแนวคิ ้ ดพื ้นฐาน มุมมองต่อปั ญหา และแนวปฏิบตั ิ Service plan จึงเป็ นผลจากการที่กระทรวงสาธารณสุขทบทวนแนวทางการพัฒนาหน่วยบริ การให้ มีทิศทางที่ชัดเจนเป็ น ระบบ ทาให้ มีแผนพัฒนาระบบบริ การสุขภาพ (Service Plan) โดยมีระยะเวลาอย่างน้ อย 5 ปี (2555-2559) เพื่อ พัฒนาระบบบริ การทุกระดับตังแต่ ้ ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ระดับตติยภูมิ ซึง่ รวมถึงการพัฒนาความเชี่ยวชาญระดับสูง สร้ างระบบที่เชื่อมโยงกันเป็ นเครื อข่ายทังภายในจั ้ งหวัด ภายในเขต และเป็ นเครื อข่ายระดับประเทศ โดยจัดทาแผนการสนับสนุน ทรั พยากรให้ สอดคล้ องกับแผนพัฒนาระบบบริ การสุขภาพ มีการจัดสรรทรั พยากรสนับสนุนตามบทบาทหน้ าที่ของบริ การแต่ละ ระดับ ส่งเสริ มสนับสนุนให้ ดาเนินการพัฒนาตามแผนพัฒนาคุณภาพบริ การ ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพบริ การที่เป็ นที่ยอมรับกัน ในปั จจุบนั
กรอบแนวคิด ใช้ “เครื อ ข่ ายบริ ก ารที่ ไ ร้ รอยต่ อ (Seamless Health Service Network)” แทนการขยายโรงพยาบาลเป็ น แห่ ง ๆ โดยจัดระบบบริ การสุขภาพในรู ปแบบเครื อข่ายที่สามารถเชื่อมโยงบริ การทัง้ 3 ระดับเข้ าด้ วยกัน ตังแต่ ้ ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ โดยเป็ นไปตามสภาพข้ อเท็จจริ งทางภูมิศาสตร์ และการคมนาคม ไม่มีเส้ นแบ่งของการปกครอง หรื อ เขตตรวจราชการ ขวางกัน้ มี “เครื อข่ ายบริ การระดับจังหวั ด (Provincial Health Service Network)” ในแต่ละจังหวัด ที่สามารถรองรั บการส่งต่อ ตามมาตรฐานระดับ จังหวัด ได้ อย่ างสมบูรณ์ (Self-containment for Referral Provincial Network) อย่ างน้ อย 1 เครื อข่ าย โดย พัฒนาประสิทธิ ภาพในการให้ บริ การของเครื อข่ายให้ สูงขึน้ ตามมาตรฐานที่กาหนด ประกอบด้ วยโรงพยาบาลทั่วไปที่ อยู่ในระดับ มาตรฐานเป็ นแม่ข่าย และรับผิดชอบการจัดบริ การของโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและเครื อข่ายบริ การปฐมภูมิ (CUP) เครื อข่ายอาจ ส่งต่อผู้ป่วยไปนอกเครื อข่ายเท่าที่จาเป็ น หรื อเกินขีดความสามารถ เท่ า นั น้ ทั ง้ นี ก้ ารบริ หารเครื อข่ า ยให้ ด าเนิ น การในรู ปของ คณะกรรมการ มี “ระดับโรงพยาบาลรั บผู้ป่วยส่ งต่ อ (Referral Hospital Cascade)” ตามขีดความสามารถของโรงพยาบาลแต่ละระดับ เพื่อ ใช้ ทรัพยากรภายในเครื อข่ายที่มีอย่างจากัดให้ มีประสิทธิภาพสูงสุด หลีกเลี่ยงการลงทุนที่ซ ้าซ้ อน และขจัดสภาพการแข่งขันกันเอง หมายเหตุ ดัดแปลงมาจาก เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาเพื่อ พัฒนาระบบบริการสุขภาพส่วนภูมิภาค วันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ณ โรงแรมมิ ราเคิลแกรนด์ กรุงเทพมหานคร สานักบริหารการสาธารณสุข สานักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข วารสารทันตภูธร
26
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
จาก Service Plan สู่ Oral Health Service ผลลัพธ์ การพัฒนาตามแผน OHSP ที่ผ่านมา (ปี 2557-2558) สนับสนุนยูนิตให้ รพ.สต. โดยจัดสรรตามทันตาภิบาลรุ่ นพิเศษ ในปี 2557 จานวน 1,616 ตัว มีระบบรายงานบริ การสุขภาพช่องปากผ่านระบบ HDC 68 รายการ และกาหนดตัวชีว้ ดั ระดับกระทรวงสาธารณสุขปี 2557 “ร้ อยละรพ.สต.จัดบริ การสุขภาพช่องปากอย่างมีคณ ุ ภาพไม่น้อยกว่าร้ อยละ 45 เพื่อขับเคลื่อนและกระตุ้นการจัดบริ การ สุขภาพช่องปากในรพ.สต.” ลดปั ญหาฟั นผุในกลุม่ เด็กอายุ 3 ปี อตั ราฟั นผุในกลุม่ เด็กอายุ 3 และ 12 ปี (ปี 2557) ดังนี ้ 21 จังหวัด (ร้ อยละ 28) มีอตั ราฟั นผุในกลุม่ อายุ 3 ปี น้ อยกว่าร้ อยละ 50 30 จังหวัด (ร้ อยละ 39.5) มีอตั ราฟั นผุในกลุม่ อายุ 12 ปี น้ อยกว่าร้ อยละ 50 เพื่อให้ บริ การสุขภาพช่องปาก - ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 55 ของรพสต. มีการกระจายทันตาภิบาลไปปฏิบัติงานประจ าใน รพ.สต./ ศสม. 3,528 แห่ง คิดเป็ นร้ อยละ 35.3 และกาหนด จานวนรพ.สต.ที่มีการบริ การส่งเสริ มป้องกันตามเกณฑ์ คณ ุ ภาพ 5 กลุม่ วัย 14 กิจกรรม (เกณฑ์ >ร้ อยละ 50) จานวนรพ.สต.ที่มีผลงานการ จัด บริ ก ารสุข ภาพช่ อ งปากตามเกณฑ์ > ร้ อยละ 20 (200 ครั ง้ / 1000 ประชากร) การพัฒนาศูนย์ ความเชี่ยวชาญระดับสูงสาขาสุขภาพ ช่องปาก ได้ มีการคัดเลือกโรงพยาบาลที่มีความพร้ อม เข้ าร่ วมปี 2559-2564 รวม 21 แห่ง 4 สาขา คือ สาขา Oral Cancer สาขา Cleft Lip and Palate สาขา Pediatric Dentistry สาขา Geriatric Dentistry มีความยุ่งยากซับซ้ อน ด้ วยการวิเคราะห์สว่ นขาด (GAP) ทัง้ 4 ด้ าน ประกอบด้ วย มาตรฐานขีดความสามารถการให้ บริ การ สถานที่/ครุ ภัณฑ์ บุคลากร และการบริ หารจัดการ ซึ่งคณะทางาน แต่ละสาขาส่งแบบสารวจความพร้ อมไปแต่ละโรงพยาบาล และ จัด ท าแผนความต้ องการครุ ภัณ ฑ์ ทัน ตกรรมเพื่ อสนับ สนุน ศูน ย์ ความเชี่ยวชาญระดับสูงปี 2559-2560
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ปี 2559 เพิ่มความครอบคลุมการให้บริการสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 (คน) ปี 2560 เพิ่มความครอบคลุมการให้บริการสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 (คน) วารสารทันตภูธร
27
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ทิศทางการพัฒนา ทิศทางที่ 1 พัฒนาบริ การทันตกรรมเฉพาะทาง และศูนย์ความเชี่ยวชาญ สาขาสุขภาพช่องปากปี 2559 จังหวัดจัดทาแผน ความต้ องการทันตแพทย์เฉพาะทาง พัฒนาระบบโควต้ าการศึกษาต่อในระดับวุฒิบตั ร สนับสนุน ทรัพยากร (คน ของ) ตามเกณฑ์ ของศูนย์ความเชี่ยวชาญ ติดตาม และประเมินการพัฒนางานในศูนย์ความเชี่ยวชาญ ทิศทางที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการให้ บริ การสุขภาพช่องปาก ปี 2559 กาหนดหลักเกณฑ์ และแนวทางการเพิ่ม ประสิทธิภาพการจัดบริ การ กาหนดหลักเกณฑ์การจัดการทรัพยากรใน การสนับสนุนการพัฒนางานเฉพาะทาง สารวจภาระงาน กับ ทรัพยากรของงานทันตกรรม และเตรี ยมข้ อมูลค่าใช้ จ่ายในการปรับปรุง พื ้นที่ในการจัดบริ การ จัดทาแผนปรับปรุ งพื ้นที่และขอความเห็นชอบแผนปรับปรุ งพื ้นที่ ปี 2560 ติดตาม กากับ ผลการให้ บริ การสุขภาพช่องปาก และผลการดาเนินงาน ปั ญหา ของการปรับปรุ งพื ้นที่ เพื่อจัดทา แผนงบลงทุน ปี 2561 สนับสนุนการจัดทาแผนงบลงทุน และการตังค ้ าขอ (ครุ ภณ ั ฑ์และพื ้นที่) ในระดับหน่วยงานและจังหวัด ทิศทางที่ 3 เพิ่มคุณภาพการจัดบริ การส่งเสริ มป้องกันสุขภาพช่องปากตามกลุม่ วัย ปี 2559 กาหนดกลวิธี มาตรการแก้ ปัญหา และเป้าหมายการพัฒนาตามกลุ่มวัย ระดับประเทศและเขตที่ชัดเจน พัฒนา ระบบบูรณาการจัดบริ การส่งเสริ ม ป้องกันสุขภาพช่องปากตามแผน PP กลุม่ วัย ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2560 เครื อข่ายบริ การสุขภาพ/จังหวัด กาหนดเป้าหมาย ตามบริ บทพื น้ ที่ พัฒนาทันตแพทย์ ให้ เป็ น cup/provincial manager กาหนดบทบาท และ แนวทางพัฒนาศักยภาพทันตาภิบาลในการแก้ ปัญหาสุขภาพช่องปากระดับตาบล โดยมีเป้าหมายคือเด็กเล็กอายุ 3 ปี มีความชุกโรคฟั นผุไม่เกินร้ อยละ 50 เด็กวัยเรี ยนอายุ 12 ปี มีความชุกโรคฟั นผุไม่เกินร้ อยละ 50 ผู้สงู อายุมีฟันใช้ เคี ้ยวอาหารได้ อย่างเหมาะสม (มีฟันอย่างน้ อย 4 คูส่ บ) ร้ อยละ 60 กลุม่ ผู้ป่วยในคลินิกเบาหวาน ได้ รับบริ การทันตกรรม ร้ อยละ 20 โรงพยาบาลส่งเสริ มสุขภาพตาบลมีบริ การส่งเสริ ม ป้องกันด้ านทันตสุขภาพร้ อยละ 55 อ่านถึงตอนนี ้หวังว่าพี่น้องจะเข้ าใจที่มาที่ไปของเป้าบริ การ ของเรามากขึน้ นะคะ โดยการเข้ าถึงบริ การที่ว่านีน้ ับส่วนทุกสิทธิ์ ไม่ เฉพาะคนไข้ UC และการตรวจฟั นถือเป็ นการเข้ าถึงบริ การส่วนหนึ่ง ด้ วยนะคะ ตอนนี ก้ ็ขอลาไปตัง้ หลักวางแผนก่อนว่า CUP เราจะทา ยังไงกันต่อ วารสารทันตภูธร
28
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
Dent Data ความฝันใกล้เป็นจริงกับ HDC รายงานทันตกรรม ทพ.ธนัฏฐนนท์ อัศววัฒฑกี รพ.พระพรหม นครศรีธรรมราช Rdentdata หลายคนได้ ติ ด ตามการพั ฒ นาระบบข้ อ มู ล สารสนเทศทางทันตกรรมมาอย่ า งต่ อเนื่ อง มีการพัฒ นา อย่ างไม่ห ยุ ดนิ่ งจนหลายคนแอบบ่น มาว่าเมื่อไหร่ จ ะนิ่ ง (จริงๆไม่ได้แอบบ่น บ่นแบบดังๆ กันก็เยอะ) จากการปฎิวัติ ระบบข้อมูลสารสนเทศในปี 2558 ที่ผ่านมาที่ลดการบันทึก หลายโปรแกรมและน าทั น ตกรรมเข้ า สู่ ก าร 43 แฟ้ ม มาตรฐานเหมือนกับวิชาชีพอื่นๆ ทาให้ทีมทันตบุคลากรต้อง หันมาสนใจการบันทึก 43 แฟ้มมากขึ้น หลายคนก็มักเข้าใจ ว่า 43 แฟ้ม ทันตกรรมก็เกี่ยวแค่แฟ้ม Dental อย่างเดียว ก็ ระดมกันคีย์ แฟ้ม Dental เข้ามากัน อย่ างกระหน่า บ้างที่ บันทึกกันทุกครั้งทั้งๆ ที่ไม่ได้ตรวจจริง แล้วก็บ่นว่าเหนื่อย จริ ง ๆ แล้ ว แฟ้ ม Dental ไม่ ใ ช่ แ ฟ้ ม ที่ เ กี่ ย วกั บ ทันตกรรมอย่างเดียว แฟ้ม Dental เป็นแค่แฟ้มที่ส ารวจ สภาวะทั น ตสุ ข ภาพ + กั บ การวางแผนรั ก ษา ส่ ง เสริ ม ป้องกัน นั้นคือคุณต้องตรวจจริงๆ จึงมีการวางแผนและจึง ลงแฟ้ ม Dental และไม่ จ าเป็ น ต้ อ งลงทุ ก Visit ที่ ค นไข้ มานะครับ ลงแค่ปีละ 1 ครั้ง และถ้าท่านจะนาเป็นใช้งานก็ ต้องเป็นลงที่มีคุณภาพ เพื่อที่จะสามารถนามาคานวณค่า DMFT หรือ dmft ได้อย่างแม่นยา แต่ถ้าลงกันมาแบบมั่ว ๆ ตัว เลขที่ได้ก็จะได้ แ บบ มั่วๆ งง ๆ ไม่สามารถนาไปใช้ได้ ก็ คงได้เฉพาะตัวเลขที่เห็น ว่ามีแฟ้ม Dental มากมาย แต่เป็นข้อมูลที่ใช้อะไรหาได้ไม่ เสียทั้งคน เสียทั้งเวลา เงิน ของ ก็ต้องบอกว่าต้องรณรงค์ กันครับว่าช่วยบันทึกข้อมูลที่ถูกต้องและไม่มั่ว ไม่ Make ไม่ ทาไม่ลง บางแห่งกลัว แฟ้ม Dental จะว่างมาด้ว ยอาการ ปวดท้อง ท้องเสียคลิกแฟ้ม Dental ใน JHCIS แฟ้ม Dental ก็งอกมาเยอะ วารสารทันตภูธร
29
ตอนนี้ช่วงของการพัฒนาครับผมก็คงเล่าว่าทีมงาน กาลังพัฒนาข้อมูลไปในทิศทางไหน ตอนนี้แจ้งให้ทีมทันต บุคลากรทราบว่าในปีงบ 2559 นี้แฟ้มมาตรฐานต่างๆ ยังไม่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงแฟ้ ม ที่ เ ราคาดว่ า จะมี เ พิ่ ม เช่ น แฟ้ ม student แฟ้ม school ซึ่งเป็นปัญหาโลกแตกที่ถกเถียงกัน ในโลกโซเซียลเกี่ยวกับการนับผลงานนักเรียนชั้น ป.1 ที่นับ ด้วยอายุ 6 ปี -6 ปี 11 เดือน 29 วัน เป็นนักเรียนชั้น ป.1 นั้น จริงๆ เป็นค่าประมาณที่เป็นข้อจากัดของแฟ้มมาตรฐาน ที่ไม่มีนักเรียน จึงจาเป็นต้องใช้ค่าอายุในการนั บจานวนซึ่ง ในค่าเป็นจริงเด็ก ป.1 อาจจะมีอายุตั้งแต่ 5-7 ปีก็ได้ครับ เป็ นข้อจ ากัดของโครงสร้างข้อมูล ตัว เลขที่ออกมาจึงเป็น ค่าประมาณ และเพื่อลดความสับสนทางทีมงานพัฒนาจึงได้ เปลี่ ย นชื่อรายงานเอาชั้น ป.1 ออก ปรั บชื่อรายงานเป็น ตรวจสุขภาพช่องปาก ในเด็กอายุ 6 ปี (คน) (dental) ครับสรุปง่ายก็คือตัดชั้นเรียนออกหมด และนับตาม อายุแทนเพื่อที่สามารถจะนาไปเปรียบเทียบอายุได้ดังนั้น ใครหยิบข้อมูลไปใช้ก็ต้องเข้าใจว่าข้อมูลมีข้อจากัดดังนี้นะ ครั บ ค่ า อาจจะน้ อ ยกว่ า ที่ เ ราได้ ต รวจเด็ ก ป.1 จริ ง ๆ รายงานที่ผมพูดถึงทั้งหมดก็คือการนาข้อมูลจาก 43 แฟ้ม มาออกรายงานในหน้ า เว็ บ HDC service กระทรวง สาธารณสุข มีทั้งหมด 68 รายงานในช่วงที่ 1 ใครยังไม่เข้า ไปดู ก็ ช่ ว ยกั น ดู ผ ลงานตนเองนะครั บ ว่ า มี ค วามถู ก ต้ อ ง ใกล้เคียงกับการทางานจริงหรือไม่ ถ้าไม่ก็ feedback กลับ โดยด่วนเพื่อทีมพัฒนาจะได้ปรับสคริปการออกรายงานให้ ถูกต้องใกล้เคียงความเป็นจริงที่สุดจะได้นาข้อมูลไปใช้ใน การประเมินผลงานไม่ต้องซ้าซ้อน และเสียเวลาในการเก็บ รายงานครับ ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
รายงานสามารถดู ทั้ ง ในระดั บ เขต ระดับจังหวัด โรงพยาบาล และถึงระดับ รพ.สต เลยครั บ ดู ไ ด้ ทั้ ง ประเทศเลยครั บ ตั ว อย่ า ง รายงานการเข้าถึงบริการในการดูรายงานหลาย ท่านจะดูงงครับว่าทาไมตารางที่แยกเป็ นราย เดื อ น บวกกั น จะไม่ เ ท่ า กั น ในรายปี น ะครั บ คนใหม่หมายถึงคนใหม่ในเดือน รวมกัน ทั้งปี คือคนใหม่ในปีไม่นับซ้าครับ มันเป็นข้อจากัด ของรายงาน คนใช้ ต้ อ งประยุ ก ต์ แ ละเข้ า ใจ นิยามครับ เพื่อจะไม่ได้ตีความผิด รูปที่ 1 หัวข้อรายงานใน HDC service
รูปที่ 2 ตัวอย่างรายงานที่เป็นกราฟใน HDC การเข้าถึงบริการ
วารสารทันตภูธร
30
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
รูปที่ 3 อธิบายรายงานในรูปแบบตารางในระบบ HDC รายงานใน HDC ระยะที่ 1 เป็นเรื่องของผลลัพธ์ที่ ยังไม่มีตัวหาร และเป็นบริการเทียบต่อหน่วยบริการครับ แต่อดใจรออีกไม่นานก็จะพบกับระยะที่ 2 ที่จะออกมาใน แนวของการครอบคลุมที่ที่จะเทียบการบริการต่อประชากร รายงานระยะแรกพบว่าเมื่อเราแยกบริการมาแล้วจะพบว่า รายงานที่มีการเข้าถึงบริการเยอะแต่ ถ้าดูเฉพาะการตรวจ อย่างเดียวพบว่าการตรวจฟันเกินกว่าครึ่ง ซึ่งแสดงให้เห็น ว่าการตรวจตัวเลขทาให้การบริการดูแกว่ง การพัฒนาทีม ระบบรายงานต่อไปก็จะกรองข้อมูลให้ ได้คุณภาพมากขึ้น โดยการกรองจากตัว Provider เอาเฉพาะแฟ้มตรวจที่มา จากทันตบุคลากร Provider type 02 ทันตแพทย์และ 06 คื อ ทั น ตภิ บ าล ดั ง นั้ น สถานบริ ก ารจ าเป็ น ต้ อ งเคลี ย ร์ วารสารทันตภูธร
31
Provider ให้เรียบร้อย และ Update เสมอ เพื่อดูผ ลงาน ตามผู้ ให้ บริ การจริงๆครับ อ้อที่ส าคัญ Provider มีฟิล์ ล ห ลายฟิล์ลที่ต้องการให้บันทึกไมว่าจะเป็น CID วันเดือนปีเกิด คานาหน้านาม ชื่ อ-สกุล หมอ วันที่ย้ายมาทางาน ข้อมูล พวกนี้ต้องใส่ให้ครบเพื่อที่จะสามารถส่งออก Provider คือ ผู้ให้การบริการได้อย่างถูกต้อง ครับ 1 Provider สามารถที่ จะทางานได้หลายสถานบริการนะครับ แฟ้มที่ผมกล่าวถึงนี้ คื อ แฟ้ ม ที่ ชื่ อ ว่ า Provider ครั บ ก าลั ง จะน ามาใช้ เ พื่ อ วิเคราะห์งาน ของทันตกรรมและกรองข้อมูลออก ดังนั้นไม่ ต้ อ งตกใจหามี ก ารแก้ ไ ขสคริ ป การออกรายงานใครไม่ update provider ข้อมูล ก็จะหายไปด้ว ยนะครับ อาจจะ มากกว่าครึ่ง ข้อพึงระวังครับ Provider อาจมีชื่อในระบบ ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
แต่ไม่ได้หมายความว่าข้อมูล Provider จะสมบูรณ์นะครับ ต้องรบกวนให้ Admin ช่วยตรวจสอบแก้ไขแค่ปีละครั้งเอง ครั บ แล้ ว มี ก ารเปลี่ ย นแปลงค่ อ ยอั พ เดทครั บ ที ม ทั น ตบุคลากรจะช่วยพัฒนาระบบรายงานได้ด้วยการนาข้อมูลไป ใช้ แ ละ feedback กลั บ นะครั บ เข้ า ไปดู ร ายงานได้ ที่ http://hdcservice.moph.go.th หรื อ ดู ร ายงานที่ HDC จังหวัดของตนเองครับ สคริปการออกรายงานเดียวกันครับ
วารสารทันตภูธร
32
แต่ ตั ว HDC กระทรวงจะแก้ ส คริ ป ก่ อ นครั บ จั ง หวั ด จะ อัพเดทตามที่จังหวัดจะเป็นเสมือนตัวสารองข้อมูลครับ ทีมงานพัฒนาระบบข้อมูลนาโดยคุณหมอสุนีย์ วงศ์ คงคาเทพ คุณหมอจารุวัฒน์ คุณหมอนิติโชติ คุณหมอวารี ได้ขับเคลื่อนระบบรายงานใน HDC ต่อไป โดยได้ไปเจรจา ขอรายงานเพิ่มเติมจากทีม HDC กระทรวง เมื่อวัน ที่ 15 ธันวาคม 2558
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
คาดว่าจะมีความคืบหน้าในการพัฒนาระยะที่ 2 เพิ่มอีกรายงานอีก 48 รายงานครับ แต่ก็อาจจะยังไม่ตรงใจหลายคงจึง มีแนวทางการพัฒนาที่จะให้ผู้ใช้งานสามารถวิเคราะห์ข้อมูล 43 แฟ้มของตนเองได้เองในมิติที่ตนเองต้องการเพราะไม่ว่าจะออก รายงานมาเท่าไหร่ ก็ไม่เพียงพอครับ ลองแอบดูรายงานกลุ่มอื่นจะเห็นว่ารายงานทันตกรรมแอบเยอะที่สุดแต่ก็ยังมีเสียงบ่นว่าไม่ เพียงพอ เพราะพวกเรามองระดับมิลลิเมตร ทางทีมพัฒนาจึงอยากพัฒนาให้ทันตบุคลากรได้ใช้ข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ ในการดาเนินโครงการแก้ปัญหาทันตสุขภาพครับ และการพัฒนาจะไม่เกิดขึ้นเลยถ้าท่านนยังไม่ใช้ข้อมูล ลองหันมาดูข้อมูล ตนเองครับ ทีมพัฒนาพร้อมที่จะช่วยเหลือ สนับสนุน และขับเคลื่อน เพื่อให้ ทุกท่านมีความสุขกับการทางานทันตกรรมด้วย ข้อมูลที่ครบถ้วน แล้วคุณจะรักข้อมูล หามีข้อสงสัยครับเข้าไปติดตามการเคลื่อนไหวของการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทาง ทันตกรรมได้ที่ https://www.facebook.com/rdentdata/ กดถูกใจและทุกความเคลื่อนไหว จะอยู่ในมือคุณ
วารสารทันตภูธร
33
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
“แปรงแห้ง” กันเถอะ รศ.ทญ.ดร. สุดาดวง กฤษฎาพงษ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“Spit don’t rinse” เป็นข้อความสั้นๆ ที่ปรากฏอยู่ ในคาแนะนาเรื่ องการแปรงฟันโดยองค์ กรสุ ขภาพแห่ งชาติ / มลรัฐของหลายประเทศทั่วโลกในขณะนี้ อาทิ สหราชอาณาจักร ไอร์แลนด์ สก็อตแลนด์ ออสเตรเลีย แปลเป็นภาษาไทยทางการ ว่า “ถ่ม” ภาษาเข้าใจง่ายเรียก “ถุย” และ “ไม่ต้องบ้วนน้า” (หรือน้ายาบ้วนปากตาม) นี่คือ บทสรุปล่าสุดเรื่องการแปรงฟัน เพื่อป้องกันฟันผุ ซึง่ อาจเรียกสั้นว่า “แปรงแห้ง” แห้งทั้งก่อนและหลังแปรง บางท่านเอาแปรงไปจุ่มน้าก่อนแปรงฟัน พอแปรงเปียก น้าในปากก็เยอะ ยาสีฟันก็จะเจือจางอย่างรวดเร็ว กลายเป็น ฟองฟู ฟ่ อ งทั่ ว ปาก (เสมื อ นการตี ฟ องผงซั ก ฟอกในกะละมั ง ซักผ้า) แล้วฟองก็จะไหลย้วยเป็นแนวลงตามแขนจนถึงข้อศอก สิ่งที่ตามมาคือรีบวิ่งไปที่อ่าง ยืนก้มหน้าก้มตา มุด ๆ บ้วนออก อย่างรวดเร็ว พฤติกรรมดังกล่าวนอกจากทาให้การแปรงฟัน แลดูน่าอับอาย แล้วยังทาให้ไม่ส ามารถแปรงฟันได้นานถึง 2 นาที ตามที่ควรจะเป็น ... แปรงฟันอย่างสง่า ไม่ย้วย ไม่ต้องมุด หน้ากับอ่าง โดยใส่แปรงเข้าปากแบบแห้งๆ ท่านจะพบว่าฟอง จะยังคงเกาะตัวอยู่ในปากได้ดีกว่า และสามารถแปรงได้นาน ซึ่งหมายถึงฟลูออไรด์ทางานป้องกันฟันผุได้ดีขึ้นนั่นเอง เมื่อแปรงเสร็จ 2 นาที ถุยฟองทิ้ง ให้น้าลายชะล้างคราบฟองที่เหลือ เพียงไม่กี่วินาทีระหว่างที่ล้างรอบริมีีปากด้าน นอก น้าลายก็จะไหลออกมา ก็ถุยทิ้งอีกครั้ง ถ้าไม่สบายปากอาจใช้ลิ้นกวาดคราบฟองที่เหลือตามกระพุ้งแก้ม/ริ มีีปากด้านใน และดูดกระพุ้งแก้ม การขยับกระพุ้งแก้มและลิ้นกวาดไปรอบปากจะกระตุ้นให้มีน้าลายเพิ่มมากขึ้น อาจแปรงลิ้นเบาๆ จาก โคนลิ้นไปทางปลายลิ้นเพื่อลากเอาฟองที่ตกค้างบนลิ้นออก ถุยทิ้งอีกครั้ง เป็นอันเรียบร้อย ไม่ได้เหลือฟองยาสีฟันตกค้าง มากมาย หลังจากแปรงแห้งเสร็จแล้ว อย่าเพิ่งกินอาหาร/ดื่มน้า อย่างน้อยครึ่งชั่วโมง เพื่อเก็บฟลูออไรด์ไว้ในปาก วารสารทันตภูธร
34
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
กับความฉงนของทั้งทันตแพทย์และประชาชนทาให้เกิดการ ประชุมระหว่างนักวิชาการในสาขาในปี ค.ศ. 2012 เพื่อ รวบรวมหลักฐานงานวิจัยทั้งหมดแล้วสร้างบทสรุปร่วมกัน “Spit don’t rinse” หรือ “ถุยทิ้ง ไม่ต้องบ้วนน้า” เป็น ข้อสรุปเอกฉันท์ในงานประชุมดังกล่าว
เศษอาหาร ขี้ฟัน จะกินลงไปไหม สาหรับเศษอาหารที่ติดอยู่ ควรกาจัดทิ้งออกก่อน เริ่มแปรงฟัน เช่น บ้วนน้าแรงๆ ใช้ไม้จิ้มฟันหรือไหมขัดฟัน อย่างไรก็ดี ผู้ที่การสบฟันเป็นปกติ ไม่ได้มีฟันซ้อนเก หรือมี ช่องว่างระหว่างซี่ฟัน มักจะไม่มีเศษอาหารติด เพราะจะถูก กาจัดออกโดยกลไกทาความสะอาดตามธรรมชาติของลิ้น และกระพุ้งแก้ม หากใช้ไหมขัดฟัน แนะนาให้ใช้ก่อนแปรง ฟัน เพื่อเปิ ดผิ ว ฟัน ออกให้สั มผัสกับฟลูออไรด์จากยาสีฟัน มากขึ้น ใช้เสร็จก็บ้วนน้าทิ้งไป ที่มาของคาแนะนาแปรงแห้ง 1-6 กว่าที่องค์กรสุขภาพต่าง ๆ จะประกาศคาแนะนา เรื่ อ งนี้ จ ะออกมาอย่ า งเป็ น ทางการนั้น มี ง านวิ จั ย ต่ า ง ๆ เกิ ด ขึ้ น มากมายเริ่ ม ตั้ ง แต่ ห ลั ง ปี ค.ศ. 1980 เป็ น ต้ น มา องค์ ค วามรู้ เ รื่ อ งนี้ เ ริ่ ม ตกผลึ ก หลั ง ปี ค.ศ. 2010 ที่ มี ร าย งานวิจัยทบทวนวรรณกรรม แล้วสรุปออกมาเป็นคาแนะนา สาหรับประชาชน กระแสความสนใจที่เพิ่มมากขึ้น พร้อมๆ วารสารทันตภูธร
35
ประโยชน์ของยาสีฟันฟลูออไรด์ในการป้องกันฟันผุ เป็นที่แน่นอนอย่างไม่ต้องสงสัย งานวิจัยเรื่องการบ้วนน้า หลังแปรงฟันมีหลายรูปแบบ ทั้งที่วัดปริมาณฟลูออไรด์ที่ คงเหลืออยู่ในปาก ติดตามผลระยะยาวแล้วส่องกล้องขยาย ตรวจดูลักษณะการสูญเสียแร่ธาตุบนผิวฟัน ตลอดจนการ ตรวจฟันผุที่เกิดขึ้นจริงในปาก ผลสรุปล้วนสอดคล้องกัน คือ บ้วนน้าเยอะฟันผุเยอะ บ้วนน้าน้อยฟันผุน้ อย ไม่บ้วน เลยฟันผุน้อยที่สุด โดยปริมาณน้าที่ใช้ในการบ้วนปากมีผล กับการเกิดฟันผุ แต่ระยะเวลาที่บ้วนทิ้งไม่มีผล งานวิ จั ย ระยะยาวในคนที่ โ ด่ ง ดั ง มากในปี ค.ศ. 1992 ในประเทศสหราชอาณาจักร พบว่าเด็กที่แปรง ฟันแล้วบ้วนปากโดยเอาปากไปจ่อกับก๊ อกน้า (น้าไม่ค่อย เข้าไปในปาก) มีฟันผุน้อยกว่าเด็กที่บ้วนปากจากแก้วน้า นอกจากนั้นยังมีงานวิจัยเปรียบเทียบสองโรงเรียน โรงเรียน หนึ่งเด็กถูกควบคุมให้ “ถุยทิ้ง ไม่ต้องบ้วนน้า” ระหว่างการ แปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียน อีกโรงเรียนเด็ก บ้วนน้าตามปกติ 3 ปี ผ่านไป เด็กในโรงเรียนที่ “ถุยทิ้ง ไม่ ต้ อ งบ้ ว นน้ า” มี ฟั น ผุ เ กิ ด ขึ้ น น้ อ ยกว่ า (ความกั ง วลเรื่ อ ง อันตรายเพราะยาสี ฟันที่เหลื อในปาก ของการแปรงแห้ ง หมดไป เพราะหากมีโอกาสอันตรายจริง งานวิจัยนี้คงไม่ สามารถเกิดขึ้นได้ในประเทศที่กฎเกณฑ์ด้านความปลอดภัย ของอาสาสมัครในงานวิจัยเข้มงวดมาก) ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ปลอดภัยไหม บางท่านอาจมีความกังวลถึงอันตรายของสารเคมี ในยาสีฟันที่อาจตกค้างในช่องปากแล้วกินเข้าไปหากไม่บ้วน น้ าออกให้ ห มด สารเคมี ที่ ก ล่ า วถึ ง กั น มากที่ สุ ด ได้ แ ก่ Sodium Lauryl Sulfate (SLS) ซึ่งเป็นสารลดแรงตึงผิวที่ นิยมใช้ในเครื่องสาอางค์ชนิดต่าง ๆ ส่ ว นประกอบต่าง ๆ ของเครื่องส าอางค์ รวมถึง ยาสีฟัน จะถูกควบคุม ทั้งชนิดและปริมาณที่ใช้ให้ปลอดภัย ต่ อ ผู้ บ ริ โ ภค ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใ ช้ ใ นช่ อ งปาก จะถู ก ก าหนด ปริ ม าณที่ เ ผื่ อ การกิ น ลงไปแล้ ว โดยไม่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ ร่างกาย ข้อกาหนดของประเทศไทยอ้างอิงตามนานาชาติ ได้ แ ก่ ยุ โ รป สหรั ฐ อเมริ ก า และกลุ่ ม ประเทศอาเซี ย น แหล่งที่มาที่สาคัญของข้อกาหนดของประเทศต่าง ๆ คือ US วารสารทันตภูธร
36
Cosmetic Ingredient Review (CIR) ที่ เ ป็ น องค์ ก รอิ ส ระ เป็นกลาง ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญหลายสาขา ทาหน้าที่ ประเมินความปลอดภัยของส่วนประกอบทุกอย่างที่อนุญาต ให้ ใส่ ในเครื่องส าอางค์ CIR ประเมินความปลอดภัยของ SLS ไว้ ตั้ ง แต่ ปี ค.ศ. 1983 แล้ ว ทบทวนอี ก ครั้ ง ในปี ค.ศ. 2002 หลังจากมีข่าวลือในอินเทอร์เน็ทถึงอันตรายของ SLS ผลการทบทวนในปี ค.ศ. 2002 ยืนยันตามข้อสรุปเดิม SLS ไม่ใช่สารก่อมะเร็ง งานวิจัยในปัจจุบันยังคง ยืนยันถึงความปลอดภัยของ SLS ที่ใช้ตามปริมาณที่กาหนด อันตรายจากการบริโภค SLS ไม่ได้เกิดจากลักษณะการใช้ ผลิตภัณฑ์ตามปกติ แต่เป็นการบริโภคเข้าไปในปริมาณมาก ที่ เ ป็ น อุ บั ติ เ หตุ เช่ น กรณี ข องเด็ ก เล็ ก ซึ่ ง อั น ตรายที่ เกิด ขึ้นอยู่ในระดับต่า ปริมาณ SLS ที่ใส่ในเครื่องสาอางค์ได้ถูก ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
กาหนดไว้ที่ไม่เกิน 15% สาหรับเครื่องสาอางค์โ ดยทั่ว ไป (เช่น สบู่ แชมพู) แต่ในยาสีฟันนั้น มีเพียง 0.5-2% เท่านั้น (โดยเฉลี่ย 1.5%) จะเห็นว่าในยาสีฟันมีปริ มาณของ SLS น้อยมาก เมื่อคานวณเทียบกับปริมาณที่ก่อให้เกิดอันตราย พบว่าอันตรายอาจเกิดได้ หากบริโภคยาสีฟันเข้าไปมากกว่า 3 กิ โ ลกรั ม หรื อ บริ โ ภคสะสมต่ อ เนื่ อ งทุ ก วั น วั น ละครึ่ ง กิโ ลกรั ม ดังนั้น หน่ว ยงานที่ประเมิน ความปลอดภัย ของ SLS จึงสรุปว่าการนา SLS มาใช้ในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ไม่เป็น อันตรายต่อสุขภาพแต่อย่างใด สาหรับการแพ้และระคายเคืองในช่องปาก พบว่า SLS ทาให้ เกิดการแพ้ได้ห ากมีความเข้มข้นมากกว่า 2% และทาทิ้งไว้เป็นเวลานาน (มากกว่า 1 ชั่วโมง) ยาสีฟันมี SLS ไม่เกิน 2% และถูกเจือจางเมื่อผสมกับน้าลาย หลังจาก แปรงเสร็ จ แล้ ว ยาสี ฟันส่ ว นใหญ่จ ะถู ก ถุย ทิ้ง ไป คราบที่ หลงเหลื อ จะถู ก ชะล้ า งอย่ า งต่ อ เนื่ อ งโดยน้ าลาย ความ เข้มข้นที่เหลืออยู่ในช่องปากจึงน้อยมากจนไม่สร้างความ กังวลว่า SLS จะทาให้เกิดการแพ้หรือระคายเคือง อย่างไรก็ ดี การแพ้สารเคมีใดๆ อาจเกิดขึ้นได้เฉพาะคน ซึ่งผู้ที่แพ้สาร ใดๆ ควรที่จะอ่านฉลากและหลี กเลี่ ย งผลิ ตภั ณ ฑ์ ที่ มี ส าร นั้นๆ CIR ระบุว่าข่าวลือของ SLS เป็น Internet hoax (เรื่ อ งหลอกลวงทางอิ น เตอร์ เ น็ ต ) โดยธุ ร กิ จ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ธรรมชาติ นอกจากนั้นยังพบว่าการสืบค้นทางอินเตอร์เน็ ต มักจะพบข้อมูลจากภาคธุรกิจก่อน ดังนั้นการดูแหล่งที่มา ของข้อมูลจึงมีความสาคัญ เลือกข้อมูลจากองค์กรทางการที่ น่ า เชื่ อ ถื อ ถึ ง แม้ ว่ า องค์ ค วามรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ อ าจ เปลี่ยนไปได้ในอนาคต แต่ข้อมูลด้านวิชาการที่ทันสมัยที่สุด ในปัจจุบันน่าจะเป็นคาตอบที่ดีที่สุด ใครควรแปรงแห้ง การแปรงแห้ ง เป็ น ค าแนะน าโดยรวมส าหรั บ ประชาชนทั่วไป ทั้งนี้เพราะโรคฟันผุเป็นโรคที่แพร่ระบาด วารสารทันตภูธร
37
ทั่วประชากรไทย (และประชากรโลก) ผลการสารวจสุขภาพ ช่องปากแห่งชาติครั้งล่าสุด (พ.ศ. 2555) พบว่า 87% ของ ประชากรไทยวัยผู้ใหญ่มีฟันผุ และโดยเฉลี่ยแต่ละคนมีฟันผุ คนละ 6 ซี่ ตั ว เลขฟั น ผุ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น ตามอายุ ที่ ม ากขึ้ น กล่าวคือ 52% ในเด็ก 12 ปี มีฟันผุ (เฉลี่ยคนละ 1.3 ซี่) , 62% ในเด็ก 15 ปี (คนละ 2 ซี่), 97% ในวัย 60 ปี (คนละ 15 ซี่) และ 100% ในวัย 80 ปี (คนละ 24.4 ซี่) ถ้าคานวณ ง่ายๆ โดยเอาวัยผู้ใหญ่ที่อยู่ตรงกลางเป็นตัวแทนทั้งหมด ฟันผุ คนละ 6 ซี่ คูณประชากร 70 ล้ านคน เท่ากับ ฟันผุ 420 ล้ า นซี่ ทั้ ง ประเทศ รั ก ษาอย่ า งไรก็ ไ ม่ มี วั น หมด ถึงรักษาไป ไม่นานนักฟันก็ผุซ้า ต้องมารื้ออุดใหม่ รูใหญ่ กว่าเดิม นานเข้า ก็ต้องรักษารากฟัน ถอนฟัน ใส่ฟันปลอม หรือรากเทียม แต่ละครั้งที่ต้องรักษาฟันซี่เดิมซ้าใหม่ จะใช้ เวลานานขึ้ น ต้ อ งการการรั ก ษาที่ ซั บ ซ้ อ นมากขึ้ น ใช้ ทันตแพทย์เฉพาะทางมากขึ้น ดังนั้น ผลิตทันตแพทย์เท่าไร ก็ แ ก้ ปั ญ หาโรคฟั น ผุ ที่ ม ากมายมหาศาลนี้ ไ ม่ ไ ด้ เปรี ย บ เหมือนการทางานอยู่ที่ปลายน้า ที่โรคฟันผุและฟันผุซ้าไหล ลงมาจากต้นน้าเรื่อยๆ ไม่มีวันหมดสิ้น สาเหตุที่สาคัญที่สุดของฟันผุ และฟันผุซ้าซาก คือ การบริ โ ภคน้ าตาล องค์ ก ารอนามั ย โลกแนะน าล่ า สุ ด (ค.ศ. 2015) ควรบริโภคน้าตาลไม่เกินวันละ 25 กรัม หรือ 6 ช้อนชา แต่คนไทยบริโภคน้าตาลวันละ 104 กรัม หรือ 26 ช้ อ นชา สู ง มากกว่ า 4 เท่ า ของปริ ม าณที่ แ นะน า อย่ า งนี้ แ ล้ ว จึ ง ไม่ ส งสั ย เลยที่ ค นไทยมี ฟั น ผุ กั น ถ้ ว นหน้ า และถือว่าคนไทยโดยทั่วไปมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ จึงควรแปรงแห้งนั่นเอง ดังนั้นการแปรงแห้งจึงเป็นวิธีที่แนะนาสาหรับคน ทั่วไป โดยเฉพาะคนที่มีฟันผุมาก (ไม่ควรบ้วนน้าเลยเป็น อย่างยิ่ง) การแปรงแห้งอาจไม่จาเป็นสาหรับบางคนที่ไม่มี ฟันผุหรือใม่กินน้าตาลเลย
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
น้ายาบ้วนปากที่ดีที่สุด น้ายาบ้วนปากที่ดีที่สุด คือ คราบยาสีฟันที่เหลือใน ปาก (หลังจากถุยฟองทิ้ง) รวมกับน้าลาย และอาจมีน้าเพียง 1 จิบ (5 มิลลิลิตร หรือ 1 ช้อนชา) กลั้วให้ทั่วปาก แล้ว บ้วนทิ้ง ประโยชน์ของน้ายาบ้วนปาก คือ ฟลูออไรด์ที่จ ะ ช่วยป้องกันฟันผุ (สาหรับส่วนประกอบอย่างอื่น ไม่จาเป็น และไม่ใช่ข้อบ่งใช้สาหรับคนทั่วไป) การใช้น้ายาบ้วนปาก หลังแปรงฟันช่วยเพิ่มปริมาณฟลูออไรด์ในช่องปากได้เป็น อย่ า งดี และจึ ง ช่ ว ยป้ อ งกั น ฟั น ผุ ไ ด้ แต่ ค วามเป็ น จริ ง ที่ เกิดขึ้นคือ ฟลูออไรด์ในยาสีฟันถูกล้างออกไปจนหมดจาก การบ้วนน้า แล้วถูกแทนที่ด้วยฟลูออไรด์จากน้ายาบ้วนปาก ดั ง นั้ น ประโยชน์ ข องฟลู อ อไรด์ ใ นยาสี ฟั น ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เคลือบเกาะผิวฟันได้ดีกว่าจึงสูญเปล่า คราบยาสีฟันที่เกาะอยู่ตามผิวฟัน ผสมกับน้าลาย ในปาก และหากมีน้าด้วยให้เพียงจิบเล็กน้อย คือน้ายาบ้วน ปากฟลู อ อไรด์ ชั้ น เลิ ศ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ กาะผิ ว ฟั น ได้ ดี กว่า น้ายาบ้วนปากด้วยซ้า งานวิจัยพบว่า การจิบน้าเข้าไปเพียง เล็กน้อย (5 มิลลิลิตร หรือ 1 ช้อนชา) ผสมกับคราบยาสีฟัน ที่เหลือในปากและน้าลายแล้วบ้วนทิ้ง และแม้ว่าจะยังคง บ้วนทิ้งอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 60 วินาที ปริมาณฟลูออไรด์ ในปากจะเหลื อ อยู่เ ท่า กับ การใช้น้ ายาบ้ว นปากตามหลั ง วารสารทันตภูธร
38
แปรงฟัน ซึ่งทั้งสองวิธีนี้ปริมาณฟลูออไรด์จะลดลงจากการ ไม่บ้วนน้าเลยเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ในขณะที่ การบ้วนน้า 3 ครั้งอย่างรวดเร็วภายในเวลา 2 วินาที โดยใช้ปริมาณน้า ตามปกติ ปริมาณฟลูออไรด์ลดฮวบลงทันที ในบรรดาวิ ธี ก ารต่ า งๆ ของการได้ รั บ ฟลู อ อไรด์ ประสิ ท ธิ ภ าพในการป้ อ งกั น ฟั น ผุ ไ ม่ ไ ด้ แ ตกต่ า งกั น แต่ ยาสี ฟั น ฟลู อ อไรด์ ถื อ เป็ น วิ ธี ที่ ดี แ ละคุ้ ม ค่ า ที่ สุ ด เพราะ สามารถท าได้ ด้ ว ยตนเอง สอดแทรกเข้ า ในวิ ธี ป ฏิ บั ติ ตามปกติในการดูแลอนามัยส่วนบุคคล และราคาถูก ดังนั้นคาแนะนาให้ใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์จึงเป็น คาแนะนาพื้นฐานสาหรับทุกคน การใช้ฟลูออไรด์เฉพาะที่ วิธีอื่นๆนั้น เหมาะสาหรับเฉพาะผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด ฟั น ผุ สู ง (ส าหรั บ ฟลู อ อไรด์ ใ นรู ป แบบรั บ ประทานนั้ น ปัจจุบันไม่แนะนาให้ใช้แล้ว) ถ้าใช้น้ายาบ้วนปาก แนะนา ให้ใช้ระหว่างวัน เช่น หลังรับประทานอาหารกลางวัน (หาก ไม่ ไ ด้ แ ปรงฟั น ) เพื่ อ เพิ่ ม ความถี่ ข องฟลู อ อไรด์ ที่ ไ ด้ รั บ อย่างไรก็ตาม ให้การแปรงแห้งอย่างน้อย 2 ครั้งต่อวัน เป็น ข้อปฎิบัติพื้นฐาน ไม่ ว่ า จะแปรงแห้ ง หรื อ ใช้ น้ ายาบ้ ว นปาก ก็ ไ ม่ แนะนาให้ บ้ว นน้าตามทั้ งสิ้ น เพื่อคงฟลู อ อไรด์ ไว้ ใ นปาก เศษคราบยาสี ฟั น หรื อ น้ ายาบ้ ว นปากที่ เ หลื อ อยู่ เ พี ย ง เล็กน้อยไม่เป็นอันตรายแต่อย่างใด ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ไม่แปรงแห้ง แต่แปรงบ่อยขึ้นแทนได้ไหม กรณีนี้จะกล่าวถึงเฉพาะประโยชน์ ของการแปรง ฟัน ในการป้ องกัน ฟัน ผุ ซึ่งมาจากการได้รับ ฟลู อ อไรด์ ใ น ยาสีฟันเป็นหลัก ไม่ได้หมายรวมถึงประเด็นความสะอาด หรือการกาจัดคราบจุลินทรีย์ (plaque) ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับ การเหงือกอักเสบและหินน้าลายมากกว่าโรคฟันผุ แปรงฟั น บ่ อ ยขึ้ น ด้ ว ยยาสี ฟั น ที่ มี ฟ ลู อ อไรด์ จึ ง หมายถึงฟันได้รั บ ฟลู ออไรด์บ่ อยขึ้น งานวิจั ย ที่รวบรวม ค าแนะน าเรื่ อ งการแปรงฟั น จากแหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า งๆ ที่ น่าเชื่อถือ เช่น จากรายงานวิจัย ตารา องค์กรด้านสุขภาพ พบว่า แหล่งข้อมูลโดยส่วนมาก (42 จาก 43 แหล่งข้อมูล) แนะนาว่าแปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ในขณะที่มีเพียง แหล่งข้อมูลเดียวเท่านั้นที่แนะนาให้แปรงฟันวันละ 3 ครั้ง งานวิจัยทบทวนวรรณกรรมล่าสุดสรุปชัดเจนว่าการแปรง 2 ครั้ ง ต่ อ วั น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการป้ อ งกั น ฟั น ผุ เ พิ่ ม ขึ้ น 14% เทียบกับการแปรง 1 ครั้งต่อวัน อย่างไรก็ดีงานวิจัย ย่อยบางเรื่องพบว่าผู้ที่แปรง 3 ครั้ง มีฟันผุน้อยกว่าผู้ที่แปรง 2 ครั้ง แต่งานวิจัยบางเรื่องกลับพบว่าแปรง 2 หรือ 3 ครั้ง ฟันผุไม่แตกต่างกัน ดั ง นั้ น ในปั จ จุ บั น จึ ง ยั ง ไม่ มี ห ลั ก ฐ านทาง วิทยาศาสตร์เพียงพอที่จะสนับสนุนว่า การแปรงฟันวันละ 3 ครั้ง มีประสิทธิภาพในการป้ องกันผุดีกว่าแปรง 2 ครั้ง ในขณะที่ งานวิจัยทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการบ้วนน้าหลั ง วารสารทันตภูธร
39
แปรงฟันยืนยันผลตรงกันว่าการแปรงแห้งมีประสิทธิภาพใน การป้องกันฟันผุที่มากกว่าการบ้วนน้าหลังแปรง ประโยชน์ของการแปรงแห้งที่ชัดเจนกว่าการแปรง บ่อย สามารถอธิบายได้จากปริมาณฟลูออไรด์ในช่องปาก กล่ า วคื อ หากไม่ บ้ ว นน้ า ฟลู อ อไรด์ จ ะเข้ ม ข้ น มากใน ช่วงเวลาครึ่งชั่วโมงแรกหลังแปรงฟัน ซึ่งปริมาณฟลูออไรด์ ที่เข้มข้นมากนี้จะมีประสิท ธิภาพอย่างมากในการซ่อมแซม ผิวฟัน ในขณะที่การบ้วนน้าตามปกติ จะเจือจางฟลูออไรด์ ไปทันที บ้วนน้า 1 ครั้ง ปริมาณฟลูออไรด์ที่คงอยู่ในปาก ลดลง 1-2 เท่า, บ้วน 2 ครั้ง ลดลง 4-5 เท่า เมื่อเทียบกับ การไม่บ้ว นน้าเลย ดังนั้น ถึงแม้จ ะแปรงบ่อย แต่บ้ว นน้า หลั ง แปรง ผิ ว ฟั น ก็ จ ะไม่ ไ ด้ รั บ ฟลู อ อไรด์ ที่ เ ข้ ม ข้ น เลย (ยกเว้นในขณะที่กาลั งแปรงฟัน) แปรงแห้งจึงไม่สามารถ ชดเชยได้ด้วยการแปรงบ่อย นอกจากนั้น การแปรงบ่อย เกินไป (เช่น 4-5 ครั้งขึ้นไปต่อวัน) ยังทาให้เกิดฟันสึกได้ แปรงฟันตอนไหนดี “หลั ง อาหารเช้ า และสิ่ ง สุ ด ท้ า ยก่ อ นเข้ า นอน” การทิ้ ง ระยะเวลาหลั ง แปรงฟั น ไว้ ใ ห้ น านที่ สุ ด โดยไม่ กิ น อาหารหรือดื่มน้าใดๆ เป็นการเพิ่มระยะเวลาที่ฟลูออไรด์ ทางานซ่อมแซมและเสริมสร้างผิวฟันนั่นเอง ปริมาณฟลูออไรด์ในช่องปากจะสูงมากหลังแปรง ฟันเสร็จ แต่จะลดฮวบลงทันที (12-15 เท่า ) เมื่อกิน/ดื่ ม แต่หากปล่อยทิ้งไว้ปริมาณฟลูออไรด์จะค่อยๆ ลดลงภายใน ครึ่งชั่วโมงแรก หลังจากนั้นฟลูออไรด์ที่หลงเหลืออยู่ในช่อง ปากจะลดลงอย่างช้าๆ และใช้เวลาอีกหลายชั่วโมงกว่าจะ หมดไป ดังนั้นครึ่งชั่วโมงแรกหลังแปรงฟันจึงเป็นช่วงเวลา ที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด ที่ จ ะคงระดับ ฟลู อ อไรด์ ให้ สู ง ไว้ เพื่ อ ให้ เ กิ ด กลไกการซ่อมแซมผิวฟันอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ดังนั้นหากการแปรงฟันเป็นสิ่งสุดท้ายก่อนเข้านอน โดยไม่กิน/ดื่มหลังจากแปรงฟันเสร็จ ฟลูออไรด์จะทางาน ซ่อมแซมผิวฟันอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งคืน ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
หลั งตื่น นอนตอนเช้า อาจบ้ว นปากด้ว ยน้าเปล่ า เพื่อให้รู้สึกสบายขึ้น ดื่มน้าหลังตื่นนอน น้าลายจะเริ่มหลั่ง เมื่อช่องปากขยับและปรับสภาพสมดุลจนกลิ่นปากหมดไป หากแปรงฟันทันทีหลังตื่นนอน แล้วดื่มน้าหรือรับประทาน อาหารเช้ า หลั งจากแปรงฟั น ไม่ ถึ ง ครึ่ ง ชั่ว โมง จะสู ญ เสี ย ประโยชน์ ของฟลู ออไรด์ที่ควรจะได้รับ จากการแปรงฟั น ตอนเช้ า ไปอย่ า งมาก ในทางตรงกั น ข้ า ม หากแปรงฟัน หลั ง จากรั บ ประทานอาหารเช้ า จะมี โอกาสทิ้ ง ช่ ว ง ระยะเวลาที่ฟลูออไรด์ออกฤทธิ์ซ่อมแซมผิวฟันได้นานกว่า อย่ า งไรก็ ดี ค าแนะน านี้ ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นได้ ใ นแต่ ล ะ บุ ค คล ที่ มี ล าดั บ กิ จ วั ต รประจ าวั น ในตอนเช้ า ที่ แ ตกต่ า ง ออกไป อย่าลืมแปรงด้วยวิธี “แปรงแห้ง” เพราะฟลูออไรด์ ในช่องปากจะลดฮวบลงทันทีหากกิน ดื่ม หรือบ้วนน้าตาม บทสรุปการแปรงฟันเพื่อป้องกันฟันผุ 1. แปรงฟันอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง 2. ใช้ยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์ 3. แปรงนานอย่างน้อย 2 นาที 4. “แปรงแห้ง” ถุยทิ้ง ไม่ต้องบ้วนน้า (หรือเพียง 1 จิบเล็กๆ) 5. ไม่กินหรือดื่ม หลังแปรงเสร็จอย่างน้อยครึ่งชั่วโมง
เอกสารอ้างอิง
การทางานด้านสุขภาพควรที่จะอยู่บนพื้นฐานของ องค์ ค วามรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ที่ ดี ที่ สุ ด ในปั จ จุ บั น ไม่ ใ ช่ ความคิ ด ความเชื่ อ หรื อ ความเคยชิ น แบบเดิ ม ๆ การ เปลี่ยนแปลงอาศัยระยะเวลา ถ้ าเปลี่ยนมา “แปรงแห้ง” ในอนาคต คนไทยจะมีฟันผุน้อยลง
วารสารทันตภูธร
40
1) Pitts N, Duckworth RM, Marsh P, Mutti B, Parnell C, Zero D. Post-brushing rinsing for the control of dental caries: exploration of the available evidence to establish what advice we should give our patients. Br Dent J. 2012 Apr 13;212(7):315-20. 2) Parnell C, O'Mullane D. After-brush rinsing protocols, frequency of toothpaste use: fluoride and other active ingredients. Monogr Oral Sci. 2013;23:140-53. 3) Sjögren K, Birkhed D. Factors related to fluoride retention after toothbrushing and possible connection to caries activity. Caries Res.1993;27(6):474-7. 4) Sjögren K, Birkhed D. Effect of various post-brushing activities on salivary fluoride concentration after toothbrushing with a sodium fluoride dentifrice. Caries Res. 1994;28(2):127-31. 5) Chestnutt IG, Schäfer F, Jacobson AP, Stephen KW. The influence of toothbrushing frequency and post-brushing rinsing on caries experience in a caries clinical trial. Community Dent Oral Epidemiol. 1998 Dec;26(6):406-11. 6) The Challenge of Oral Disease- A call for global action. The Oral Health Atlas. 2nd ed. Geneva: FDI World Dental Federation; 2015 [cited 2015 December 23]. Available from: http://www.fdiworldental.org/media/77552/complete_oh_atlas.pdf ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
การพัฒนา“ระบบการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา” โดย ทพญ.จินดา พรหมทา โรงพยาบาลจอมพระ จังหวัดสุรินทร์
หลังจากที่ประชุมร่ วมกันกับคณะครู อนามัยและ
ในการท างานอนามั ย โรงเรี ยน จะพบว่ า มี
ทีมงานทันตบุคลาการใน อาเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ เมื่อต้ นปี การศึกษา 2558 ที่ผา่ นมา ได้ วิเคราะห์กนั ถึงการ
โรงเรี ยนอยู่ ก ลุ่ ม หนึ่ ง ที่ มี ค วามตั ง้ ใจท าได้ ดี ป ระสบ ความสาเร็ จ เรี ยกว่าเป็ นเกรด A ของอาเภอ แต่ก็จ ะมี
แก้ ปั ญ หาฟั นผุ และปั ญ หาการท ากิ จ กรรมส่ ง เสริ ม ทันตสุขภาพ ว่ามีเรื่ องอะไรที่สาคัญเร่งด่วนที่สดุ และเป็ น สิ่ ง ที่ จ ะท าให้ เด็ ก นัก เรี ย นประถมศึ ก ษามี สุ ข นิ สั ย ที่ ดี
โรงเรี ยนอีกจานวนหนึง่ ที่ไม่ประสบความสาเร็จ ไม่มีระบบ การแปรงฟั นสักที ทุกอาเภอก็อาจจะคล้ ายๆกันแบบนี ้
รักการดูแลทันตสุขภาพของตนเอง เราพบข้ อสรุปว่าสิ่ งนี ้ เป็ นสิ่ ง ที่ สาคัญ คือ “ระบบการแปรงฟั นหลั ง อาหาร กลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา” วารสารทันตภูธร
41
เมื่อครู อนามัยและทันตบุคลากรอาเภอจอมพระ ตกลงร่ วมกันว่าปี นี ้ เราจะ “ยกเครื่ อง” การทบทวนเรื่ อง ระบบการแปรงฟั น ใน โรงเรี ย นอย่ า งไร ให้ ยั่ง ยื น จะ ทบทวนและศึ ก ษาเรื่ อ งการจัด ระบบการแปรงฟั น ใน ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
โรงเรี ยนกันอย่างไรที่จ ะทาให้ นักเรี ยนเห็นความส าคัญ ของการแปรงฟั น ต้ องมาวิเคราะห์แยกแยะว่า “การจัดการระบบการแปรงฟั นในโรงเรี ยน ประถมศึกษา” ประกอบด้ วยเรื่องอะไรบ้ าง เป้าหมายของ “การจัดระบบแปรงฟั น” คือ การ ทาให้ เด็กนักเรี ยนทุกๆคนในโรงเรี ยน แปรงฟั นหลังอาหาร กลางวัน หรื อการแปรงฟั นก่อนขึ ้นห้ องเรี ยนในภาคบ่าย เป้าหมายของ “การแปรงฟั น” คือ ให้ ฟันได้ สมั ผัส ฟลูอ อไรด์ นานครบ 2-3 นาที เ พื่ อ ให้ ฟั น แข็ ง แรง และ แปรงฟั น ให้ สะอาดเพื่ อ เอาแผ่ น คราบจุลิ น ทรี ย์ ที่ เ ป็ น สาเหตุของเหงือกอักเสบ และฟั นออกไปให้ มากที่สดุ เพราะอะไรเด็ก ๆจึง ไม่ ช อบ ไม่อ ยากแปรงฟั น ค าตอบที่ ไ ด้ . ....เด็ ก ไม่ เ ห็ น ความส าคัญ ......เด็ ก ไม่ ร้ ู ประโยชน์ไม่ร้ ูว่าจะแปรงทาไม ...... เด็กขี ้เกียจแปรงฟั น ..... เด็กไม่ร้ ูวิธีแปรง รู้สกึ ว่ามันยากในการจับแปรง ไม่มี ใครบอกให้ แปรงฟั น นี่คือเหตุผลของเด็ กๆจากการที่ได้ สัมภาษณ์เด็กๆนะคะ... ทีนี ้...จะทาอย่างไรให้ โรงเรี ยนประถมศึกษาใน อาเภอจอมพระ มีกิจกรรมแปรงฟั นหลังอาหารกลางวัน
ครู อ นามัย ที่ ท างานที่ ล้ มเหลว คุณ ครู ไ ด้ เ รี ย นรู้ ความ ผิดพลาด เราได้ ข้อสรุ ปจากเพื่อนครู ในการแก้ ปัญหาใน การทางานเพื่อให้ “ระบบการแปรงฟั น” ในโรงเรี ยนเกิดขึ ้น ให้ ได้ มีข้อสรุปดังนี ้ค่ะ อย่าหวังพึ่งครู ประจาชัน้ เราต้ องพัฒนาผู้นา นักเรี ยนเป็ นทีมทางานให้ กบั ครูอนามัย ต้ องทาให้ เด็กๆในโรงเรี ยนมี ส่วนร่ วมในการ จัด ระบบการแปรงฟั น ในโรงเรี ย น ระหว่ า ง ประธาน นักเรี ยน สภานักเรี ยน หัวหน้ าห้ องเรี ยน ต้ อ งจัด ระบบการจัด การ การประสานงาน ทีมงานในโรงเรี ยนให้ ชดั เจน วิ ธี ก ารสอนต้ องง่ า ย และเป็ นล าดั บ ขั น้ ต้ องสร้ างแรงจู ง ใจ กระตุ้ นให้ เด็ ก เข้ าใจและเห็ น ความสาคัญการแปรงฟั นด้ วยวิธีที่ เข้ าใจง่าย อธิบายไม่ ซับซ้ อน เข้ าใจได้ ตงแต่ ั ้ เด็ก ป.1 ถึง ม.3 ต้ องมีวิธีการ กระตุ้นสร้ างให้ ทีมงานในแต่ละ โรงเรี ยนกระตือรื อร้ นในการทางาน มีการสร้ างแรงจูงใจที่ เหมาะสม ต้ องมีแหล่งสนับสนุนงบประมาณที่เหมาะสม ที่สามารถให้ การสนับสนุนการทางานของโรงเรี ยนได้ ใน ระยะยาวต่ อ เนื่ อ ง เน้ นการใช้ ทรั พ ยากรในพื น้ ที่ มุง่ เป้าหมายไปที่งบกองทุนสุขภาพตาบล
อย่างมีประสิทธิภาพ ภาพฝันร่วมกันคือ เด็กๆกระตือรื อร้ น มีทศั นคติที่ดีเห็นประโยชน์ในการแปรงฟั น รู้ การปฏิบตั ิ ตนที่ถกู ต้ อง รู้ขนตอน ั้ รู้วิธีการแปรงฟั น จากการประชุ ม กลุ่ ม และการสั ม ภาษณ์ ค รู อนามัย ที่ร่วมกันทางานแบบการลองผิดลองถูก ทังจาก ้ การทางานของครู อนามัยที่ประสบความสาเร็ จ และจาก วารสารทันตภูธร
42
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
จากข้ อสรุ ป ดัง กล่าว จึง ทาให้ เ กิ ดการวางแผนการ ท างานแบ่ ง เป็ นขัน้ ตอนต่ า ง หลัง จากการประชุ ม ครู อนามัย และที ม ทางานทันตบุค ลากร จึง ออกแบบการ พั ฒ นาระบบการแปรงฟั นหลั ง อาหารกลางวั น แบ่ ง ออกเป็ น 3 ระยะ ด้ วยกัน ร ะ ย ะ ที่ 1 การพั ฒ นาผู้ น านั ก เรี ยนส่ ง เสริ ม ทันตสุขภาพ โดยการจัดการอบรม ผู้นานักเรี ยนแต่ล ะ ตาบล (ในช่วงภาคเรี ยนที่ 1) ในช่วงภาคเรี ยนที่ 1ให้ แต่ ละโรงเรี ย นออกแบบกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม ทัน ตสุข ภาพใน โรงเรี ยน เน้ นกิจกรรมการแปรงฟั นหลังอาหารกลางวัน ระยะที่ 2 การติดตามระบบการจัดการในโรงเรี ยน ประถมศึกษา และ สร้ างการประชาสัมพันธ์การแปรงฟั น แบบแห้ ง (บ้ วนน ้าเพียงจิบเล็ก 1 ครัง้ ) ให้ เห็นความสาคัญ การเก็ บฟลูออไรด์ไ ว้ ในช่องปาก อย่างน้ อย ครึ่ ง ชั่วโมง เพื่อป้องกันฟั นผุ (ภาคการเรี ยนที่ 2) ระยะที่ 3 การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาทีมงาน ผู้น านัก เรี ย น และกระตุ้น ให้ เ กิ ด การพัฒ นาที่ ยั่ง ยื น ใน อนาคต (เมื่อสอบภาคการเรี ยนที่ 2 เสร็ จ) ก่อนปิ ดภาค เรี ยน ปลายปี
ระยะที่ 1 ในช่ วงภาคการเรียนที่ 1 น้ องๆทั น ตาภิ บ าลประจ าต าบล ทุ ก ต าบล (มีทงหมด ั้ 9 ตาบล) กาหนดนัดหมายกับครูอนามัยเพื่อจะ จัดอบรมผู้นาทันตสุขภาพแต่ละตาบล แต่ละตาบลจะมี จ านวนผู้น านัก เรี ย นตามสัด ส่ ว นนัก เรี ย นที่ มี ใ นแต่ล ะ โรงเรี ยน การจัดอบรมน้ องๆทันตาภิ บาลในอาเภอก็จะ บริ หารจัดการช่วยเหลือกันในการจัดกิจกรรมแต่ละตาบล ครูอนามัยแต่ละตาบลก็ช่วยน้ องทันตาภิบาลในการอบรม โดยมาช่วยในฐานความรู้ ในการอบรม จากนัน้ เขาก็ นัด หมายวางแผนการรักษาและจัดการงานบริ การในโรงเรี ยน ต่อไป
ระยะที่ 2 และ ระยะที่ 3 ในช่ วงภาคเรียนที่ 2 นัดตรวจเยี่ยมนิเทศโรงเรี ยนทุกแห่ง (จะไปกัน 2 คน น้ องทันตาภิบาลที่รับผิดชอบตาบลนันและผู ้ ้ เขียน) ซึง่ เป็ นกิจกรรมช่วงเวลาที่สาคัญที่สดุ ในการจัดระบบการ แปรงฟั นในโรงเรี ยน โดย มี 2 ภารกิจที่ลงไปทา คือ (1) ภารกิจติดตามดูวา่ เกิดระบบตามที่วางแผนไว้ หรื อไม่ (2) ภารกิจการสอนการแปรงฟั นแห้ ง หรื อ แปรงแห้ ง มีรายละเอียดดังนี ้ วารสารทันตภูธร
43
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
(1) ภารกิจติดตามดูว่าเกิดระบบเหล่ านีห้ รื อไม่ (1.1) การมี ส่ ว นร่ วมของ ประธานนั ก เรี ยน สภานักเรี ยน หัวหน้ าห้ อง ผู้นานักเรี ยน (1.2) การจัด การองค์ ก ร และการประสานงาน ผู้เกี่ยวข้ องการแปรงฟั นเป็ นอย่างไร ถ้ าหากไม่มี ระบบการจัด การดัง กล่าว ผู้เยี่ ย ม นิ เ ทศงานจะแนะน าให้ จัด ให้ มี เกิ ด ขึน้ ซึ่ง พบว่า แต่ล ะ
มีหลายแบบมาก ร้ องเพลงมาชส์ประจาโรงเรี ยน ท่อง อาขยานประโยค 3 ส่ ว น(ภาษาอั ง กฤษ) อาขยาน ภาษาไทย ร้ องเพลงชาติ (2รอบ) จะเป็ นการตกลงร่วมกัน ในโรงเรี ย นและซ้ อ มร้ องเพลง ซ้ อ มนับ เลข ว่ า ต้ อ งมี จังหวะอย่างไรจึงจะพอดี 2 นาทีกว่าๆ
โรงเรี ยนจะบริ บทที่แตกต่างกัน ผู้นิเทศงานต้ องศึกษาว่า มี การประสานงานกันภายในองค์กรในโรงเรี ยนอย่างไร สภานักเรี ยนมีบทบาทอย่างไร ผู้นาฯและหัวหน้ าห้ อง มี บทบาทอย่ า งไร มี ก ารใช้ แ บบฟอร์ ม การบัน ทึก แบบใด ที่ อ าเภอจอมพระ มี แ บบบัน ทึก อยู่ 3 แบบที่ เ ป็ น Best practice ที่ครูอนามัย แบ่งปันกันใช้ ในอาเภอฯ สิ่ ง สาคัญ คือต้ องให้ ผ้ ูเกี่ ยวข้ องมีสิทธิ ที่จะเลือก วิ ธี ก ารด าเนิ น การ ในขัน้ ตอนและกิ จ กรรมต่ า งๆของ โรงเรี ยน เช่น กิจกรรมการแปรงฟั นนาน 2 นาที แต่ละ โรงเรี ยนจะใช้ วิ ธี การอย่ า งไรที่ ส ามารถท าได้ โดย สอดคล้ องเหมาะสมกับบริ บทของโรงเรี ยน บางโรงเรี ยนมี การเปิ ดเสียงเพลง เด็กจะเลือกเพลงมาเปิ ดขณะแปรงฟั น ซึ่ ง มี 2 เพลงที่ ย อดฮิ ต ติ ด ชาร์ ต ทั น ตบุ ค ลากรน าไป เผยแพร่ กัน คือเพลง “เรามาแปรงฟั น” ของกรมอนามัย อีกเพลงคือเพลง “แปรงฟั น 12 ส่วน” ของคณะทันตแพทย์ จุฬาฯ โรงเรี ยนเหล่านี ้ส่วนใหญ่จะมีระบบการแปรงฟั นที่ดี เวลา 2 นาทีก็จะแป๊ บ..ตามความยาวของเสียงเพลง ส่วนพวกโรงเรี ยนที่ไม่มีเสียงเพลงแปรงฟั น เรา ต้ องทาให้ นกั เรี ยนให้ รับรู้ว่าเวลานาน 2 นาที นานแค่ไหน เขาก็จะเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับเขา มีวิธีที่หลากหลาย มี วิ ธี ก ารนับ เลข มี วิ ธี ร้ องเพลง หรื อ ท่ อ งบทอาขยาน วารสารทันตภูธร
44
(2) ภารกิจสอนการแปรงฟั นแบบแห้ ง (แปรงแห้ ง) ควรง่ายในการจดจาเฉพาะประเด็นสาคัญ เน้ น การแปรงฟั นนาน 2 นาที แปรงฟั นแบบแห้ ง ถุยฟองออก ให้ หมด และ บ้ วนน ้าครัง้ เดียว (เพียง 1จิบเล็ก) (2.1) เพื่ อเก็ บฟลูออไรด์ไ ว้ ในช่องปากอย่า งน้ อ ครึ่งชัว่ โมง (2.2) เพื่ อ เก็ บ ฟลูอ อไรด์ ใ นช่ อ งปาก 3 ชั่ว โมง เวลาขึ ้นห้ องเรี ยนภาคบ่าย (2.3) เพื่อเก็บฟลูออไรด์ในช่องปากนาน 8 ชัว่ โมง ภายหลังการแปรงฟั นก่อนนอน เรื่ อ ง....การสอนการแปรงฟั น ต้ อ งแปลกใหม่ น่าแปลกใจ..ชวนให้ สงสัย น่าติดตาม น่าสนใจ ต้ องสรุ ป การใช้ ภาษาที่สนๆ ั ้ เข้ าใจง่าย โดยให้ ทอ่ งจาก่อน แล้ วจึง มาทาความเข้ าใจอธิบายอีกครัง้ ขอเล่าประสบการณ์ให้ ฟั ง ถึงวิธีการสอนการแปรงฟั นแบบแห้ ง แนวใหม่คะ่ ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ข้ อความที่ให้ เด็กท่องทาความเข้ าใจ มีดงั ต่อไปนี ้ วันนี ้คุณหมอสอนเรื่ องอะไร = การแปรงฟั นแบบแห้ ง ทาอย่างไร = ก่อนแปรงก็แห้ ง, หลังแปรงก็แห้ ง แปรงนาน 2 นาที (ให้ ชูนิ ้ว 2 นิ ้ว) เมื่อแปรงเสร็ จ ถุยฟองออกให้ หมด / จนปากแห้ ง / แห้ ง แห้ ง แห้ ง (ให้ ชูนิ ้ว 1 นิ ้ว) เช็ดฟองออกจากปาก (ให้ ใช้ นิ ้วปาด จากมุมปากข้ างหนึง่ ถึง มุมปากอีกข้ างหนึง่ แล้ ว ให้ ชู นิ ้ว 1 นิ ้ว) บ้ วนน ้า 1 ครัง้ (ใช้ นิว้ 1 นิว้ ชีไ้ ปที่ปากตัวเอง) เก็บ ฟลูออไรด์ไว้ ใน ปาก อย่างน้ อย ครึ่ง ชัว่ โมง (ชูนิ ้ว 3 นิ ้ว) อย่างดี 3 ชัว่ โมง (ชูนิ ้ว ขึ ้น 8 นิ ้ว) ดีที่สดุ 8 ชัว่ โมง หลัง จาก ให้ นักเรี ยนท่อง สัก 3 รอบ ให้ แข่ง กัน ระหว่างชัน้ เรี ย น ว่าใครจะจ าได้ ม ากกว่า กัน จนเด็ก ๆ งงๆๆ งงจนได้ ที่แล้ ว จึงค่อยๆเฉลย ทีละข้ อ ว่ามันคืออะไร สาคัญอย่างไร เกี่ยวข้ องสัมพันธ์กนั อย่างไร แต่ตอกย ้าถึง ประโยชน์ ใ นการเก็ บ ฟลู อ อไรด์ ไ ว้ ในช่ อ งปาก และ ช่ ว งเวลาที่ ส าคัญ ที่ สุด คื อ ก่ อ นนอน ซึ่ ง จะเป็ น เวลาที่
การแปรงฟั นแบบแห้ ง..น่ า สนใจมากนะคะ ผู้ที่พดู ถึงเรื่ องนี ้อย่างจริงจังที่ผ้ เู ขียนได้ ยินครัง้ แรกคือท่าน อาจารย์ ประทีป (รศ.ทพ.ประทีป พันธุมวนิช ) เมื่อนาน มาแล้ ว แต่ที่มาโด่งดังในยุคปั จจุบนั นี ้ เพราะท่านอาจารย์ สุ ด าดวง (รศ.ทพญ.ดร. สุ ด าดวง กฤษฎาพงษ์ จาก ภาควิ ช าทั น ตกรรมชุ ม ชน คณะทั น ตแพทย์ จุ ฬ าฯ) เป็ นผู้ เผยแพร่ ข้ อมู ล การแปรงฟั นแบบแห้ ง ออกสื่ อ สาธารณะแขนงต่างๆมากมาย รวมทังในวารสารทั ้ นตภูธร ฉบับนี ้ด้ วย ช่วงนี ้เราเลยต้ องเกาะกระแสสถานการณ์..ที่ดี ที่สดุ ในการประชาสัมพันธ์ให้ ประชาชน มาสนใจเรื่ องการ แปรงฟั นแบบแห้ ง กันค่ะ.... ผู้เขียนจึงขอเป็ นนักฉกฉวย สถานการณ์...ตัวจริง..ที่นาเรื่ องนี ้มาสอนเด็กๆๆ ในอาเภอ จอมพระ.. เพราะคุณ ค่า ชี วิ ต มนุษ ย์ คื อ การเรี ย นรู้ และได้ พัฒนาไปด้ วยกัน แล้ วความสุขก็จะบังเกิด เรื่ องเล่าของ ผู้เขียนและของทันตบุคลากรทุกๆคนก็ ยังมีอีกมากมาย ไว้ มีโอกาสจะเล่าให้ ฟังอีกนะคะ
สาคัญที่สดุ เพราะเก็บฟลูออไรด์ได้ นานที่สดุ ด้ วย
วารสารทันตภูธร
45
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
อ่านหนังสือกับเด็ก ในยุคสังคมก้มหน้า ทพญ. พัชรี กัมพลานนท์ (ป้าหมอแป๊ว)
แต่ละวันที่ผ่านไป เด็กเล็กเด็กโต ดูจะมีความสุข กับสื่อไร้ สายที่สง่ มาประเคนถึงหน้ า เลือกเอาได้ ตามชอบ ใจ มี ทัง้ สื่ อที่ ดีเ ป็ นประโยชน์ และที่ แย่ๆน่ากลัว หากมี ผู้ปกครองอยู่เคียงข้ างคงไม่น่าห่วง ถ้ าเด็กเหล่านันไม่ ้ มี ผู้ ใหญ่ ค อยประกบหล่ ะ จะเกิ ด อะไรขึ น้ บ้ า งก็ ใ ม่ ร้ ู นะ หวาดเสียวแทนประเทศชาติจริงๆ “ยุ ค สัง คมก้ มหน้ า” เป็ นค าพู ด เปรี ย บเปรยที่ ตรงไปตรงมา แถมยังบอกด้ วยว่า ต่อแต่นี ้ไป “คนที่ อยู่ ไกลจะเหมือนได้ อยู่ใกล้ ๆกัน ซึ่งเป็ นสิ่งที่ดี ในทางกลับกัน คนที่อยู่ใกล้ จะยิ่งเหมือนอยู่ไกลกัน เพราะต่างคนต่างก้ ม
ได้ สถาปนิกพี่ชายมาช่วยสานฝั น แบ่งเงินทองที่ สะสมมาตลอดชีวิตราชการ รวมทังหนั ้ งสือที่สะสมอย่าง มากมาย บ้ านหนัง สื อเล็กๆจึง เกิ ดขึน้ ไม่ยาก แถมพอ เพื่อนๆรู้ ข่าว หนังสือดีๆที่เหมาะกับเด็กๆก็พรั่ งพรู เข้ ามา อย่า งสม่ า เสมอ ในเมื่ อ ลูก ๆของเพื่ อ นแต่ล ะคนโตกัน หมดแล้ ว
หน้ า ดูแ ต่ สื่ อ ในมื อ ถื อ ของตนเอง” โจทย์ แ สนยากจึ ง เกิ ด ขึน้ เมื่ อ เราเนรมิ ต รห้ อ งสมุด ส าหรั บ เด็ก ขึน้ ในบ้ า น ทาอย่างไรเด็กๆจึงจะอยากเข้ ามานัง่ อ่านหนังสืออย่างมี ความสุข ฝันหวานเกินไปละมัง้ หลั ง เกษี ย ณอายุ ร าชการเมื่ อ ปลายปี 2557 ได้ ม าเปิ ด ห้ อ งสมุด ขนาดเล็ ก ๆขึ น้ ภายในบ้ า น ชื่ อ ว่ า ” บ้ า น ห นั ง สื อ ส า ย อั ก ษ ร ” ที่ ตั ว เมื อง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เพื่ อ นๆน้ องๆสามารถเปิ ดเข้ าไปดู กิจกรรมได้ จากเฟสบุ๊คชื่อเดียวกันนัน่ แหละ วารสารทันตภูธร
46
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ยังไม่อยากให้ บ้านหนังสือเป็ นสถานที่สาธารณะ ใครเดิน เข้ า ออกได้ ตามใจจนเกิ น ไป จึง ได้ เ จาะจงไป หาลูกค้ าด้ วยตนเอง แวะไปที่สถานสงเคราะห์เด็กชาย ”บ้ านศรี ธ รรมราช” อยู่ไ ม่ไ กลจากบ้ านของเรามากนัก ผู้อานวยการสถานสงเคราะห์ดจู ะสนอกสนใจกับกิจกรรม ที่เราจัดขึน้ แต่ก็ได้ ยินเสียงแว่วๆจากเจ้ าหน้ าที่ บางคน “เด็ก มัน ไม่อ ยากอ่า นหนัง สื อ กัน หรอก” “ไม่เ ป็ น ไรค่ะ ขอให้ สง่ เด็กมาตามเวลาที่สะดวกก็แล้ วกัน” ปิ ดเทอมที่ผ่านมาจึงมีเด็กชายรุ่น ป. 2-ป. 6 กลุม่ ละ 10 คน สลับกันมาที่บ้านหนังสือทุกบ่าย พอเปิ ดเทอม ก็เปลี่ยนเป็ นทุกบ่ายวันเสาร์ เด็กเริ่ มมากันบ่ายสองโมง กลับสี่ โมงครึ่ ง โดยมี รถยนต์ของบ้ านเยาวชนมารั บ ส่ง อย่ า งเรี ย บร้ อย เด็ ก เหล่ า นี ม้ ี โ อกาสเรี ย นหนั ง สื อ ใน โรงเรี ยนต่างๆกันทุกคน แต่การขาดครอบครัว ขาดพ่อแม่ พี่น้องที่ใกล้ ชิด ประสิทธิภาพของการอ่านการเขียนจึงไม่ สมบูรณ์เท่ากับเด็กตามบ้ านที่อบอุน่ น่าสนใจที่มีเด็กบาง คนฉายแววเด่นออกมาจากเพื่อนๆ ทังความคิ ้ ดความอ่าน ลายมือ และผลงานวาดรูป
เราเตรี ยมสมุดให้ เด็กๆติดตัวไว้ ระหว่างการอยูใ่ น บ้ านหนังสือ อ่านเรื่ องราวตอนใดน่าสนใจก็ให้ เขียนลงไป ในสมุดเล่ม นัน้ วาดรู ปประกอบก็ ไ ด้ นะ ระหว่างที่ เด็ก อ่า นหนัง สื อ กัน เราก็ เ ดิน เข้ า ไปทัก ทาย เช่น ถามว่ า ”อ่านเรื่ องอะไรหรื อคะ แล้ วหนังสือเค้ าบอกว่ายังไงบ้ าง คะ” บางครัง้ ก็ตงค ั ้ าถามว่า ”สัตว์ตวั นีเ้ ลีย้ งลูกด้ วยอะไร ภาษาอังกฤษเรี ยกว่าอะไร” ตอบไม่ได้ ก็ชว่ ยสอนไปเรื่ อยๆ ไม่ได้ เอาจริ งเอาจังจนเกินไป เด็กคนใดมีสมาธิการอ่าน ได้ ดี ก็อย่าไปรบกวน มีเด็กคนหนึง่ วาดรูปไก่ 1 ตัว เค้ าก็บอกว่าวาดได้
เมื่ อเด็ ก ๆมาถึ ง บ้ านหนั ง สื อ เราจะมี คุ ณ บรรณรักษ์ 1 คน ช่วยพาเด็กๆเข้ าไปแนะนาหนังสือต่างๆ
แค่นี ้แหละ เราก็ถามว่า “ไก่ออกอะไร” เด็กก็สามารถวาด ไข่ไก่ “แล้ วเมื่อไก่ฟักไข่จะออกมาเป็ นอะไร” เด็กก็วาดรูป
ในบ้ านหนังสือ เด็กเล็กๆก็ต้องสนใจหนังสือที่มี รูปภาพ ประกอบเป็ นธรรมดา เด็กผู้ชายจะชอบเรื่ องราวเกี่ยวกับ
ลู ก เจี๊ ย บออกมาได้ เป็ นพรวน อยากให้ เด็ ก สร้ าง จินตนาการขึ ้นได้ ด้วยตนเอง
สัตว์ ไดโนเสาร์ การ์ ตนู การผจญภัยในป่ า เด็กโตหน่อยก็ สนใจหนังสือศิลปะรู ปวาด บางคนอ่านหนัง สือพระราช นิพนธ์ของในหลวง
เด็กคนหนึ่งบอกว่าอ่านหนังสือไม่ออก เราหยิบ หนังสือภาษาอังกฤษเล่มหนึ่งมานัง่ ข้ างๆเด็กน้ อย มีรูป ขนมกลมๆ 1 ชิน้ เมื่อแบ่งครึ่ งเค้ าเรี ยกว่าเศษหนึ่ง ส่วน สอง แบ่งสี่ เค้ าก็เรี ยกว่าเศษหนึ่งส่วนสี่ เราก็บอกต่อว่า ถ้ าหนูมีขนมหนึง่ ชิ ้น แบ่งครึ่งก็สามารถให้ เพื่อนได้ กินร่วม
วารสารทันตภูธร
47
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ด้ วย เด็กวาดรู ปกล้ วยหอม 1 ใบ แล้ วแบ่งเป็ นสองส่วน โดยมีคาพูดที่น่ารักประกอบรู ปภาพ “ผมให้ ” มีรูปเพื่อน
ก่ อ นวั น พ่ อ แห่ ง ชาติ เด็ ก ๆจะได้ วาดรู ป ใน กระดาษการ์ ดที่เราเตรี ยมมาให้ เราอยากให้ เด็กๆระลึก
ยื่นมือออกมารับ คุณบรรณารักษ์ชอบใจผลงานชิ ้นนี ้มาก
ถึ ง พระคุณ ของ”พ่ อ ” ส าหรั บ เด็ ก จากบ้ า นเยาวชนก็ หมายถึงผู้อานวยการสถานสงเคราะห์ ท่านได้ ช่วยดูแล ให้ ความอบอุ่ น แก่ เ ด็ ก น้ อยเหล่ า นี ้ วาดเสร็ จเราก็ ตระเตรี ยมซองขาวไว้ ให้ อย่างดี แนะนาให้ เด็กนาการ์ ดที่ วาดไปกราบท่านในเช้ าวันที่ 5 ธันวาคม กิจกรรมอ่านหนังสือ เขียนหนังสือ และวาดรู ป ผ่านไปแล้ ว กิจกรรมสุดท้ ายในวันนันๆเป็ ้ นสิ่งที่เด็กสนใจ มาก คือการไปปี นต้ นมะม่วงหลังบ้ าน เพื่อเก็บลูกมะม่วง มาจิ ้มพริ กกะเกลือ วันหลังๆก็เลยเตรี ยมน ้าปลาหวานไว้ ให้ ไม่น่าเชื่อเด็กผู้ชายทาไมจึงชอบกิน มะม่วงเปรี ย้ วกัน มากมายขนาดนี ้ เมนูขนมเปลี่ยนไปเรื่ อยๆตามความถนัด ของเจ้ าของบ้ าน ทุกอย่างหมดเกลีย้ งอย่างน่าอัศจรรย์ ไม่ใช่น้องผู้หิวโหยนะ แต่เป็ นความสนุกของเด็กๆมากกว่า
บ้ านหนังสือของเราเด็กสามารถปูเสื่อนอนอ่าน หนังสือได้ ตามอัธยาศัย มีมุมให้ เด็กนัง่ อ่านหนังสื อและ เขี ยนหนัง สื อ อย่างสะดวก มี กล่องรั บฟั ง ความคิ ด เห็ น
สร้ างความภาคภูมิ ใจในฝี มื อทาขนมง่ ายๆของเจ้ า ของ บ้ านร่วมไปด้ วย
ซึง่ ก็มีความคิดเห็นที่นา่ สนใจชวนติดตามต่อไป หลัง กิ จ กรรมอ่า นหนัง สื อ ประมาณหนึ่ง ชั่ว โมง ผ่านไปแล้ ว หากเด็กอยากวาดรูปเราก็จะเตรี ยมกระดาษ วาดรู ป และสี ไ ม้ ห รื อ สี เ ที ย นไว้ ใ ห้ เด็ ก จะหยิ บ รู ป จาก หนังสือเล่มที่สนใจมาเป็ นแบบในการวาดรูป เด็กบางคน วาดรู ปได้ งามมาก น่าให้ การสนับสนุน เด็กๆสนใจและ สนุก กับ กิ จ กรรมการวาดรู ป มากๆ เราพยายามช่ ว ย แนะนาให้ เด็กหาคาพูดที่น่าสนใจมาประกอบการเขี ยน ภาพของตนเอง วารสารทันตภูธร
48
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ยามว่างเมื่อไม่มีเด็กที่บ้านหนังสือ เราเปิ ดกล่อง รั บความคิดเห็นมาอ่าน “ได้ ม าบ้ านหนัง สื อสายอัก ษร
”มาหาสมุด” ที่เชียงใหม่ มีฝกู ให้ เด็กนัง่ อ่านหนังสือง่ายๆ เห็ น รู ป ห้ อ งสมุด ของที เ คพาร์ ค ที่ เ วิ ร์ ล เทรดในกรุ ง เทพ
ชอบบ้ านนี ”้ “ผมขอบคุณป้าหมอมากครับ” “อยากอ่าน การ์ ตนู อยากได้ รถบังคับ” “สมุดหนังสือที่อา่ นสนุกสนาน
ดูทนั สมัยเกินความสามารถของเรา
กันดี ที่ห้องสมุดป้าหมอ” “วันนี ้ผมมีความสุขมากครับที่ ได้ มาร่วมกิจกรรมห้ องสมุด ผมภูมิใจมากที่ได้ อ่านหนังสือ ต่างๆ เช่น เรื่ องของหมา ภูมิศาสตร์ ศิลปะและการ์ ตนู ” “ผมขอให้ ป้าหมอแข็ง แรง” “บ้ านดีม ากครั บ สวยงาม มาก อยากให้ มีคอมพิวเตอร์ ” “ผมอยากได้ ของเล่นที่ให้ ความรู้ดีๆมาก และผมขอขอบคุณบ้ านหลังนี ้ด้ วยนะคับ” ตัว หนัง สื อ สะกดผิ ด ๆถู ก ๆมากมาย แต่ อ่ า นแล้ วก็ มี ความสุข และอยากทาอะไรดีๆให้ กบั เด็กเหล่านี ้อีกต่อไป คาแนะนาที่ทาเอาเกือบตกเก้ าอี ้ เมื่อวันหนึ่ งเปิ ด ออกมาอ่ า น แล้ วพบกระดาษน้ อยใบที่ ห นึ่ ง เขี ย นว่ า “บ้ าน Y ควาย” แผ่นที่สองตามมาว่า ”ขอให้ ป้าหมอ Y
ดูจ ากใบแสดงความคิดเห็น ของเด็กๆ ร่ วมกับ การซักถามผู้ปกครองบ้ านเยาวชนที่นาเด็กมาส่ง ทาให้ ทราบว่าความฝั นของเราไม่ไ กลจนเกิ นไป เด็กๆอยาก กลับมาอ่านหนังสือที่บ้านหนังสือสายอักษร เราคงต้ อง พัฒนาความรู้ที่จะเป็ นประโยชน์ตอ่ เด็ก คิดหากลวิธีและ กิจกรรม เพื่อจะได้ เป็ นเพื่อนเรี ยนหนังสือไปพร้ อมๆกับ เด็ก น้ อ ย เราตระหนัก ถึ ง ค าแนะน าของผู้ร้ ู ที่ บ อกว่ า ห้ องสมุดในโลกปั จจุบนั ต้ องเป็ นห้ องสมุดที่มีชีวิต บ้ าน หนังสือของเรามีชีวิตแน่ๆ ทัง้ คุณบรรณารักษ์ ป้าหมอ และป้าอ้ อแม่บ้านที่รักเด็ก ล้ วนแต่ตงหน้ ั ้ าตังตาคอยเด็ ้ กๆ พร้ อมบริการประทับใจ
ควาย” เอ๊ ะเราทาอะไรผิดไปเหรอ เด็กถึงได้ มาด่าป้าว่า “ควาย” แล้ วก็เจอกระดาษน้ อยใบที่สาม “ขอให้ ป้าหมอ ติด Y ควาย” ป้า ก็ เ ลยถึ ง บางอ้ อ เด็ก อยากให้ ป้า ติ ด ไวฟาย หรื อไวไฟ (wifi) มันไม่น่าสะกดเป็ นวายควายกัน เลยนะ เราตอบเด็กไปว่า “หนูๆไปหาที่เล่นอินเตอร์ เน็ตได้ มากมาย ป้าอยากให้ หนูได้ อยู่กับหนังสือง่ายๆ ได้ อ่าน หนัง สื อ พูด คุย กับ ป้า และเพื่ อ นๆ ในห้ อ งสมุด น่า รั ก ๆ” ไว้ วนั หน้ านะ ขอให้ ปา้ พิจารณาอีกที
แม้ จะเป็ นสังคมก้ มหน้ า แต่เป็ นการก้ มหน้ าอ่าน
ก่อนที่จะมาเป็ นบ้ านหนังสือสายอักษร เราก็ได้ ตระเวนไปชมบ้ านหนังสือน่ารักๆ เรี ยบๆง่ายๆหลายแห่ง
หนังสือในบรรยากาศที่อบอุ่นและมีปฏิสมั พันธ์กบั เพื่อนๆ และผู้ใหญ่รอบตัวอย่างมีความสุข
เช่น “บ้ านๆน่านๆ” ของครูชโลมใจที่จงั หวัดน่าน มีมมุ เปล แขวนให้ เด็กอ่านหนัง สื อได้ นอนเอกเขนก ห้ องสมุดชื่ อ วารสารทันตภูธร
49
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
หนึ่งสตางค์...ที่มีความต้องการเป็นพิเศษ ตอน...เรื่องธรรมดา ที่ไม่เคยธรรมดา... จารีย์ ปี แรกของการเข้ าเรี ยนอนุบาล 1 ของสตางค์ ได้ เริ่ มขึ ้นที่โรงเรี ยนเดียวกันกับที่พี่อฐั กาลังศึกษาอยู่นนั่ เอง ขณะที่สตางค์เข้ าเรี ยนชันอนุ ้ บาล 1 พี่อฐั ก็ขึ ้นชัน้ ป.1 เรา เลือกโรงเรี ยนที่ใกล้ บ้าน และเป็ นโรงเรี ยนในสังกัด กทม. ที่ไม่ลาบากในการเดินทาง สาหรับอัฐนัน้ เป็ นนักเรี ยนที่ เรี ยนตามเกณฑ์ปกติ จึงเข้ าเรี ยนตามปกติ แต่เมื่อถึงคราว สตางค์ต้องตามเข้ าไปเรี ยนด้ วยนัน้ โรงเรี ยนในสังกัดของ กทม. ยังไม่มีห้องเรี ยนพิเศษ หรื อแม้ แต่คณ ุ ครูที่ได้ รับการ อบรมมาเป็ นพิเศษเลยในตอนนัน้ และสิ่งที่สตางค์เป็ นอยู่ นัน้ ได้ รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็ นพัฒนาการของการ สื่อสารที่บกพร่องต้ องได้ รับการบาบัดฝึ กพูดเท่านัน้ เราจึงมีข้อมูลความแตกต่างจากเด็ก “ปกติ” ไป ให้ คณ ุ ครูเพียงเท่านี ้ อาจจะเป็ นโชคดีของสตางค์ ที่คณ ุ ครู ประจาชันอนุ ้ บาลคนแรกของสตางค์ คือคุณครูประจาชัน้ อนุบาลของพี่อฐั มาก่อน จึงเป็ นการพูดคุยกันที่ไม่ลาบาก นัก ความบกพร่ อ งในการเรี ยนรู้ ของสตางค์จึงเป็ นสิ่ ง ที่ คุณครู เข้ าใจ และไม่พยายามที่จะบังคับสตางค์ให้ เรี ยนรู้ เหมือนเพื่อนๆ ในห้ องคนอื่นๆ อนุบาลหนึ่งของสตางค์จงึ เป็ นการไป “นั่ง เฉยๆ” เสี ยเป็ นส่วนใหญ่ แรกๆ เมื่ อถูก บัง คับ ให้ ท าตามกฎกติก าในการอยู่ร่ ว มกัน สตางค์ ไ ม่ เข้ าใจ ทาไม่ได้ และร้ องไห้ ไม่หยุดยิ่งปลอบ ยิ่งร้ อง ยิ่งดุยิ่ง ไปกันใหญ่ จึง ต้ องมี “กติกาพิเศษ” สาหรั บ สตางค์ คื อ ไม่ ท า ไม่ ร่ ว มมื อ ก็ ไ ด้ แต่ต้ อ งไม่ ไ ปไหน บ่อ ยครั ง้ ที่ ไ ป รับสตางค์ จะพบสตางค์นงั่ อยูท่ ี่ระเบียงหน้ าห้ อง วารสารทันตภูธร
50
เวลาเขาให้ น อนกลางวัน แล้ วสตางค์ ไ ม่อ ยาก นอน หรื อเล่นกับคนอื่นไม่ได้ สตางค์จะออกเดินออกมานัง่ หน้ าห้ อง รอคนที่บ้านมารับ การกลับบ้ านคือความสุขของ สตางค์ การไปโรงเรี ยนที่เคยเป็ นความสนุก กลับเป็ นเรื่ อง ไม่สนุกของสตางค์ขึน้ มา ตังแต่ ้ ปีแรกที่ได้ เข้ าศึกษาตาม ภาคเรี ยนปกติ และเรี ยนร่ วมกับคนปกติ อนุบาลปี แรก ของสตางค์ก็คือการเรี ยนรู้ ที่จะอยู่ร่วมกับเด็กคนอื่น ๆ ใน สัง คมที่ เ รี ย กกั น ว่ า โรงเรี ย น และการเรี ย นรู้ จัก ค าว่ า “เพื่อน” จากการไปโรงเรี ยน ต้ องขอบคุณคุณครู คนแรก ของสตางค์ ที่ เ ข้ า ใจความบกพร่ อ งในการสื่ อ สาร ที่ ไ ม่ สามารถบอกความต้ อ งการตนเองได้ และภาวะไม่ใ ห้ ความร่ ว มมื อ แม้ จ ะยอมอยู่ใ นกฎกติ ก าของห้ อ งเรี ย น จึง โอนอ่อนผ่อนปรน การเรี ยนรู้ ของสตางค์ไม่เที ยบกับ เด็กคนอื่นๆ สตางค์จึงผ่านชันอนุ ้ บาล1 มาแบบ “ปรับตัว ได้ บ้าง” โดยยังไม่สามารถขีดเขียนอะไรได้ เลยแม้ แต่น้อย แล้ วอุปสรรคก็เริ่ มเกิดขึ ้น เมื่อสตางค์ขึ ้นอนุบาล2 และเปลี่ยนครู ประจาชัน้ เพราะการผ่านขึ ้นชันอนุ ้ บาล 1 มาแบบไม่ร้ ูการขีดเขียน เป็ นสิ่งที่มาตรฐานของการศึกษา ในระบบมองว่ า ไม่ มี คุ ณ ภาพ การ “บั ง คั บ ” และ “การสอน” จึง เริ่ ม ขึน้ เรื่ อ งธรรมดา ส าหรั บ การ เขี ย น “ก ไก่” แม้ จะมีจุดไข่ปลา สตางค์ก็จะเขียนเท่าที่มีจุดให้ การระบายสีจะเป็ นการ “ขีดสี” ลงบนกระดาษมากกว่าจะ พูดได้ ว่าเป็ นการ “ระบายให้ สีสัน ” สตางค์ออกนอกห้ อง บ่อยขึ ้น และร้ องไห้ แบบไม่รับรู้รอบข้ างมากขึ ้น ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
จนคุณ ครู ต้ อ ง “คุย กับ ผู้ป กครอง” ผู้เ ขี ย นเป็ น ผู้ปกครองสตางค์มาตังแต่ ้ เริ่ มเข้ าอนุบาล 1 จึงเป็ นหน้ าที่ ของผู้เขียนที่ต้องไปพบปะและพูดคุย ดูเหมือนคุณครู คน ใหม่ของสตางค์จะไม่ร้ ู จัก “ความบกพร่ องที่ต้องการการ ดูแลเป็ นพิเ ศษ” สตางค์จึงถูกจ ากัดอยู่ในกลุ่มของการ บกพร่ องในการเรี ยนรู้ ที่ ดูเหมื อนจะไปซ า้ กับภาวะ LD Learning Disabilities แม้ ผ้ เู ขียนจะพยายามอธิบายว่ามี ความแตกต่าง เพราะสตางค์อยู่ในกลุ่มพฤติกรรมของเด็ก ออทิสติก ที่มีภาวะของการเรี ยนรู้ ที่แตกต่าง ไม่ใช่การไม่ สามารถเรี ยนรู้ ได้ หรื อเรี ยนรู้ ด้วยวิธีที่แตกต่าง อย่าง LD และสตางค์อยูใ่ นกระบวนการรักษาด้ วยการ “ฝึ กพูด” เพื่อ บอกความต้ องการของตนเองได้ อย่างถูกต้ อง หรื ออย่าง น้ อยสื่อสารสิ่งที่ต้องการได้ โดยไม่ทาให้ เกิดภาวะอารมณ์ เข้ ามาร่ ว มด้ วย แล้ วเราก็ จ บลงตรงที่ สตางค์ ต้ องมี “ใบรับรองแพทย์” มาให้ คณ ุ ครูเมื่อจบอนุบาล เพื่อผ่านขึ ้น ชัน้ ป.1 อย่างเป็ นทางการ ในชัน้ อนุ บ าล 2 นี่ เ อง ที่ ส ตางค์ ไ ด้ ร้ ู จัก ค าว่ า “เพื่อนสตางค์” น้ องนนท์ เด็กตัวอ้ วนจ ้าม่า ที่เข้ ามาชวน สตางค์เล่น พูดคุยกับสตางค์ คอยช่วยสตางค์ทางาน คอย บอกสตางค์ว่าควรทาอะไร การสื่อสารของเด็กต่อเด็กด้ วย กันเองจะเป็ นการสื่อสารที่มีครบองค์ประกอบ ทังท่ ้ า ทาง สีหน้ า แววตา และภาษาที่ ง่ายๆ ไม่ซบั ซ้ อน และนี่คือสิ่งที่ เด็ก ออทิ ส ติก ทุก คน “ฟั ง รู้ เรื่ อ ง” ที่ เ ราไม่ร้ ู เรื่ อ ง และไม่ เข้ าใจในภาษาของพวกเขานัน้ ไม่ใช่เขาพูดภาษาแปลก แต่พ วกเขามี ภ าษาของตนเอง ภาษาที่ ไ ม่ ไ ด้ ผ่ า นการ ปรุ ง แต่ง ภาษาที่ “ตรง” ไม่ว่าจะเป็ นภาษาใดๆ ในโลก และภาษาตรงที่พวกเขาสื่อสารนัน้ เขาจะรับสารได้ ดีใน การสื่อสารด้ วยภาษาตรงด้ วยเช่นกัน การสื่อสารในภาษา ตรงที่คนทัว่ ไปมักจะลืมไปแล้ ว คือ “สีหน้ า แววตา ท่าทาง น ้าเสียง และสาร” ต้ องรวมเป็ นความหมายเดียวกัน วารสารทันตภูธร
51
น้ องนนท์สอบผ่านในการสื่อสารกับสตางค์แบบ ตรงๆ การเรี ยน “ก เอ๋ย ก ไก่ ” ของสตางค์ จึงไม่ใช่สิ่งที่ เป็ น ไปแบบห้ องเรี ย นปกติ แต่จ ะเป็ น ข้ า งฝาที่ ม าเริ่ ม “ขยายความ” ว่าตัวไหนคือ “ก ไก่ ” เมื่ อรู้ จักตัวหนัง สื อ แล้ วจึงมาถึงการ “จับมือเขียน” ที่ต้องบอกย ้าซ ้าๆ ว่านี่คือ “ก ไก่” นัน่ คือ “ภาพรวม” ของ ก ที่หมายถึง ไก่ ในความ รู้ จักของสตางค์ เราสอนเขาแบบจบทีละเรื่ องด้ วยความ เข้ าใจของเขา ไม่ใช่ตามแบบที่เราต้ องการ และการใช้ คา ในชี วิตประจ าวันของสตางค์ ก็ เพิ่ม ขึน้ เมื่ อเขารู้ จักคาที่ บอกถึงสิ่ง ต่างๆ เช่นสตางค์ ชอบกินขนุน แต่สตางค์ไ ม่ รู้ จักขนุน ว่าขนุนคือชื่ อของผลไม้ แต่สตางค์จ ะบอกว่ า “สี เ หลื อ งๆ สตางค์ กิ น ” แม้ จะเป็ นการสื่ อส าร ที่ ผิดไวยากรณ์ ประธาน กริ ยา กรรม จะสลับที่กันอยู่เป็ น ประจ า แต่นั่น คื อ สิ่ ง ที่ ท าให้ เ ขารู้ จัก บอกในสิ่ง ที่ ต นเอง ต้ องการ ตนเองสนใจ ตนเองชอบได้ โดยไม่ต้องมีภาวะ “ไม่ได้ ดงั ใจ” เป็ นอารมณ์ร่วม สิ่งเหล่านี ้ที่เขาเรี ยนรู้ ด้วยตนเองเมื่อโลกของเขา เปิ ดกว้ างมากขึน้ ไกลจากครอบครัว เป็ นโรงเรี ยน และ เพื่อน และจากกการสัมผัสจับต้ องได้ จริ ง เขาก็จะมีภาษา ของตัวเขาเอง ที่คนที่บ้าน ต้ องพยายามทาความเข้ าใจ เขาให้ ได้ ก่อน อย่ามองว่านี่คือการสื่อสารที่ผิด เพราะถ้ า บอกว่าผิด หรื อไปแก้ ไขให้ ถูก ครัง้ ต่อไปเขาจะไม่สื่อสาร ในภาษาของเขา และเขาก็ จ ะไม่สื่ อ สารในเรื่ อ งนัน้ อี ก ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
เพราะไม่ร้ ูว่า “สิ่งนันคื ้ ออะไร” สอนเขา บอกเขาเมื่อเขาได้ อยู่กับสิ่ ง นัน้ ว่า “คืออะไร” โดยไม่มี คาจ ากัดความหรื อ ขยายยความเขาจะเรี ยนรู้ สิ่งรอบตัวได้ ดี กว่าเสมอ แล้ ว สตางค์ก็เริ่ ม “สื่อสารได้ อย่างแท้ จริ ง” ในโลกของคนปกติ ธรรมดา เมื่ออายุ ได้ 6 ขวบ แม้ จะเป็ นภาษาของตนเอง แต่ก็ทาให้ เขากล้ าที่จะ “พูด” ในสิ่งที่เขาต้ องการมากขึน้ และปรับตัวเข้ ากับการไปโรงเรี ยนได้ ดีขึ ้นเท่านันเอง ้ สิ่งธรรมดาสาหรับเด็กทั่ว ๆ ในการเรี ยนรู้ ไม่เคย เป็ นเรื่ องที่ “ธรรมดา” สาหรับเด็กที่มีความต้ องการเป็ น พิเศษ เลยสักเรื่ อง เพราะเขามีการเรี ยนรู้ที่แตกต่างคือรู้จกั สิ่งต่างๆ อย่างที่เห็นและเป็ นจริ ง ๆ ก่อน แล้ วค่อยๆ มาใส่ ความหมายและคาอธิบายประกอบ ดังนันภาวะของ ้ “การ ไม่เข้ าใจ” หรื อ “การไม่ร้ ูเรื่ อง” จึงเป็ นเรื่ องที่เราต้ องพบเจอ เสมอในชี วิ ต ประจ าวัน การต าหนิ ต่ อ ว่ า หรื อ แม้ แต่ หงุดหงิดใส่ภาวะนีข้ องพวกเขา ไม่ได้ ช่วยให้ เด็กเหล่านี ้ เรี ยนรู้ ได้ ดีขึน้ เลย ภาวะอารมณ์ ต่างๆ ที่เรานาไปใส่เขา เป็ นการปลูกนิสัย และพฤติกรรมให้ พ วกเขาใช้ อารมณ์
วารสารทันตภูธร
52
ตามไปด้ วย หรื อไม่ก็เป็ นภาวะหวาดกลัว และเก็บกดไป แทน ดังนัน้ รอยยิ ้ม อ้ อมกอด กาลังใจ คาชม และความ อดทนที่ จ ะ “ฟั ง อะไรที่ เ ราไม่ ร้ ู เรื่ อ ง” เป็ น เรื่ อ งที่ ค นใน ครอบครัวที่ต้องฝึ กกันให้ มีให้ ได้ เพราะเมื่อเราสื่อสารกับ เขาโดยที่ “การแสดงออกไม่ตรงกับสาร” เมื่อไหร่ เด็กพวก นี ้จะปฎิเสธในสารเหล่านันทั ้ นที เพราะเขาไม่สามารถทา ความเข้ าใจความหมายของสารที่ แ ตกต่างกันในคราว เดียวกันได้ การนิ่งเฉยคือทางออกที่ดีที่สดุ สาหรับพวกเขา ถ้ าหากปล่อยให้ เป็ นไปเช่นนีโ้ ดยไม่พยายามที่จะเข้ าใจ เด็กพวกนีจ้ ะสร้ างโลกของตนเองขึน้ มาและเข้ าไปอยู่ใน โลกของพวกเขาอย่า งจริ ง จัง โดยปฎิ เ สธโลกภายนอก อย่างแท้ จริง และโลกแบบนี ้เองที่เป็ นที่อยู่อนั ตรายสาหรับ เด็กออทิสติกทังหลาย ้ ที่จะ “ทาบางอย่างโดยไม่ร้ ูตวั ” โลก ที่เต็มไปด้ วยจินตนาการ และอารมณ์ที่แยกไม่ได้ ... การเรี ยนรู้ โลกภายนอกของเด็ก กลุ่ม นี ้ จะยาก หรื อง่ายอยู่ที่เรา “สร้ างโลกภายใน” ของเขาขึ ้นมาอย่างไร ต่างหาก
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ทันตแพทย์-ทันตแพทยสภา กับประชาชน ทพญ.เมธ์ ชวนคุณากร รพ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี ทันตแพทย์ เรามีความภาคภูมิใจในวิชาชีพทันตแพทย์ ที่ส่วน ใหญ่จะเป็นคนดีมีความสามารถหลากหลายรอบด้าน สร้าง ผลงานและคุณความดีต่อสังคมมากมาย แต่ในขณะเดียวกัน เราก็รู้สึกว่ามีความ "บกพร่อง" ที่พบเห็นในวิช าชีพ อยู่ ไม่ น้อย ความีันอย่างหนึ่งของเราต่อวิชาชีพนี้ คือ ให้คนใน วิชาชีพมีการสื่อสัมพันธ์กัน สนใจกันและกันมากขึ้น สนใจ ภารกิ จ ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ วิ ช าชี พ ทั้ ง ต่ อ ตนเองและ ส่วนรวมมากขึ้น ทาดีร่วมกันเพื่อยกระดับวิชาชีพ และสร้าง "พื้นที่สะอาด" ให้ทันตแพทย์ที่ยังไม่ได้มาตรฐาน สร้างความ ด่างพร้อย-แปดเปื้อนในวิชาชีพน้อยลง ทันตแพทยสภา จากการที่หมอฟันบ้านนอกอย่างเราได้รับเลือกตั้ งให้ เข้าไปทางานในทันตแพทยสภาวาระ 4-5 ก็มีประสบการณ์ มาพอสมควร บัดนี้ถึงเวลาคัดสรรคณะกรรมการจากการ เ ลื อ ก ตั้ ง อี ก ว า ร ะ ห นึ่ ง เ ร า จึ ง ข อ แ บ่ ง ปั น ภ า พ ีั น “ทันตแพทยสภาในดวงใจ” คือ สิ่งเล็กๆ ที่เราต้องการให้ เกิดขึ้นในสถาบันนี้ต่อไป ดังนี้ 1) มีการสรุปประชุมทันตแพทยสภาลงเว็บไซต์ ภายใน 2 สั ป ดาห์ ห ลั ง การประชุ ม แต่ ก รณี จ รรยาบรรณไม่ ล ง รายละเอียด มีการถ่ายทอดสดเสียงการประชุมทางเว็บไซต์ ทันตแพทยสภา เข้าฟังได้เฉพาะทันตแพทย์สมาชิกที่ login เข้าไปเท่านั้น
วารสารทันตภูธร
53
2) มีการแจ้งข่าวคราว -ความคืบหน้าในทุกงานของ ทันตแพทยสภา อาจแบ่งตามคณะอนุกรรมการทุกคณะและ ทีมบริหาร ซึ่งควรมีการเปิดรับฟังความคิดเห็นจากสมาชิก ได้ในทุกประเด็น 3) มีการปรับปรุงข้อมูลในเว็บไซต์ทันตแพทยสภาให้สด ใหม่ น่าสนใจ ทันสถานการณ์ เพื่อนาสาระไปใช้ประโยชน์ ได้จริงทั้งขาเข้าและขาออก (ข้อมูลจะเป็นประโยชน์ต่อทั้ง สามี่าย คือ สมาชิก ทันตแพทย์ กรรมการ- คณะทางาน ทันตแพทยสภา และประชาชน) 4) มีการสื่ อสารกับสมาชิกทันตแพทย์ และประชาชน ทางเว็บไซต์ทันตแพทยสภาอย่างต่อเนื่องในฐานะปัจเจก บุคคล ถึงแม้ว่าทันตแพทย์จะไม่ใช่กรรมการ-ผู้ มีอานาจผู้รับผิดชอบ แต่ก็สามารถเขียนโต้ตอบได้ทุกคน (แต่ละคน รับผิดชอบข้อมูลของตัวเองที่แสดงออกไปด้วยตนเอง) ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
5) มีการสื่ อสารกับ สมาชิกทันตแพทย์และประชาชน ทางสื่อต่างๆ อย่างต่อเนื่องในฐานะผู้รับ ผิดชอบงานหรื อ องค์ ก รอย่ า งเป็ น ทางการ เช่ น สิ่ ง พิ ม พ์ ทุ ก ชนิ ด สื่ อ วิ ท ยุ โทรทัศน์และเว็บไซต์ต่างๆ 6) มี ก ารสรุ ป ข้ อ มู ล คดี จ รรยาบรรณย้ อ นหลั ง 20 ปี แบ่ ง เป็ น ประเภทต่า งๆ - สาเหตุ - ทางป้ อ งกั น - บทสรุ ป น า เ ส น อ ต่ อ ส ม า ชิ ก ใ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ ทั น ต แ พ ท ย ส ภ า นอกเหนือจากการเขียนสรุปเป็นเรื่องเล่าปีละไม่กี่เรื่องใน ข่าวสาร นานทีก็มีพิมพ์รวมเล่มสักครั้ง หรือมีกรรมการบาง ท่านบอกเล่าตามที่ประชุมต่างๆ เท่านั้น ซึ่งก็ทาดีอยู่ แต่ไม่ เพียงพอ 7) มีการทาทะเบียน-ปรับปรุงข้อมูลทันตแพทย์ใหม่ทุก ปีหรือเป็นวาระ โดยระบุข้อมูลอื่นๆ ที่น่าสนใจจากสมาชิก ด้ ว ย เช่ น ปั จ จุ บั น ยั ง ท างานรั ก ษาในคลิ นิ ก หรื อ ไม่ - ท า อะไรบ้าง-ทาที่ใดบ้าง, แผนการณ์ชีวิตที่เกี่ยวข้องกับวิ ชาชีพ ทั น ตกรรมในอี ก 5 ปี ข้ า งหน้ า , งานอดิ เ รก-ความชอบความสามารถพิเศษ, สภาวะสุ ขภาพร่างกาย-จิตใจ ฯลฯ เพื่อนาข้อมูลมาวางแผนกาลังคนในระยะทุก 5 ปีเป็นอย่าง น้อยให้สอดคล้ องกับสถานการณ์ และเพื่อพัฒ นาวิ ช าชี พ นอกระบบ เช่น การพัฒนาคุณธรรม-จริยธรรม, การส่งเสริม ภาพลักษณ์ของวิชาชีพต่อสังคมที่ดีขึ้น เป็นต้น 8) ปรับเปลี่ยนแก้ไขข้อกฎหมาย กฎระเบียบปฏิบัติให้ ทันกับสถานการณ์เศรษฐกิจ -สังคม-เทคโนโลยี-การสื่อสาร เช่น กฎระเบียบการโฆษณาคลินิกและบริการทันตกรรม, ข้อปฏิบัติในการสอบขึ้น ทะเบีย นประกอบวิช าชีพ ทั น ตก รรม-วุ ฒิ บั ต ร-อนุ มั ติ บั ต รภายในและระหว่ า งประเทศ, มาตรฐานบริ การทันตกรรมและการรับ รองสถานบริ ก าร เป็นต้น วารสารทันตภูธร
54
9) มีการเปิดรับข้อมูลรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน ในการรับบริการทันตกรรมจากทุกแห่ง ทุกระดับ ทุกสังกัด ไม่ว่าจะเป็นคลินิกเอกชน-ราชการ-กึ่งราชการ-องค์ กรไม่ แสวงหาก าไร ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ข้ อ มู ล ทุ ก ประเด็ น มาจั ด หมวดหมู่ว่าภาพลักษณ์ของวิชาชีพเป็นอย่างไร มี SWOT (Strength, Weakness, Opportunity, Threat) โดยจัดทา เป็นโปรแกรมเป็น Application ในมือถือหรือแบบสอบถาม ในเว็ บ ไซต์ ทั น ตแพทยสภา ที่ ใ ห้ ป ระชาชนใส่ ข้ อ มู ล และ ความคิดเห็นอย่างง่ายๆ ในลักษณะประเมินสิทธิผู้ป่วยและ ความพึงพอใจในบริการ เช่น วันนี้ไปพบทันตแพทย์ที่คลินิก ใด ใครเป็นผู้ให้การรักษา ท่านจงให้คะแนน 1-5 (แย่สุด-ดี ที่สุด) ในประเด็นต่อไปนี้ (เช่น ความสะอาด, มีเอกสาร แสดงสถานภาพทั น ตแพทย์ ค รบถ้ ว น คื อ ภาพถ่ า ยรั บ ปริญญา/ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทันตกรรม/ ใบอนุญาต เปิดสถานบริการ/ ใบปริญญา), กิริยามารยาท, การอธิบาย ให้ คนไข้เข้าใจในเรื่ อ งต่า งๆ อย่างชัดเจนและน่ าเชื่ อ ถื อ , คุณภาพของผลงานการรักษาทางทันตกรรม, ค่าใช้จ่าย, การให้สาเนาการรักษา-ฟิล์ม-แบบพิมพ์ฟันแก่ผู้ป่วยเก็บไว้ เป็นหลักฐานติดตัวได้โดยง่าย (เพื่อสะดวกในการไปรักษา ต่อที่อื่นหรือพิสูจน์เอกลั กษณ์บุคคลเมื่อเกิดภัยพิบัติ) เป็น ต้น 10) การดู แ ลครอบคลุ ม วิ ช าชี พ ทั น ตกรรมข้ า งเคี ย ง (ทันตาภิบาล, ผู้ช่วยทันตแพทย์, ช่างทันตกรรม)
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ประชาชน นอกจากจะเป็ น ทั้ ง เป้ า หมายหลั ก และลู ก ค้ า คน สาคัญของวิชาชีพเราแล้ว ในทางกลับกันประชาชนจะเป็น กาลังสาคัญในการรักษาและยกระดับมาตรฐานวิชาชีพของ เรา หากเสี ย งของประชาชนได้ ถู ก รั บ ฟั ง น ามารวมรวม ประเมินและนามาปรับใช้อย่างถูกทาง เช่น 1. หากประชาชนมีความรู้พื้นฐานว่า เมื่อคุณเดิน เข้าไปในคลิ นิกหรือสถานบริก ารใดๆ คุณต้องตรวจสอบ ผังบุคลากรที่ให้บริการในสถานที่นั้นๆ มีชื่อ/สกุล -รูปถ่ายเลขที่ ใ บอนุ ญ าตประกอบวิ ช าชี พ ทางทั น ตกรรม บนผั ง บุคลากร เพื่อตรวจสอบว่าบุ คคลนั้นๆ เป็นทันตแพทย์ตัว จริง หาได้ใช่เป็นทันตาภิบาลหรือผู้ช่ วยทันตแพทย์ มาทา หน้าที่แทนไม่ ประชาชนสามารถเปิดแอพพลิเคชั่น หรือเข้า เว็บไซต์ทันตแพทยสภาในมือถือเพื่อตรวจสอบได้ รวมถึง ทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาต่างๆ 2. เปิ ดรับ ข้อมูล จากทันตแพทย์และประชาชนที่ เข้ามาในทันตแพทยสภาโดยไม่ เปิดเผยบนเว็บบอร์ด ของ เว็ บ ไซต์ เกี่ ย วกั บ การกระท าไม่ พึ ง ประสงค์ ใ นด้ า นต่างๆ เช่น การรักษาที่ไม่ได้มาตรฐานและผิดหลักวิชาการ การทา ความสะอาดและการฆ่ า เชื้ อ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งมื อ ที่ ไ ม่ ไ ด้ มาตรฐาน การจั ดฟันแฟชั่น การกระทาที่ห ยาบคายหรือ ลวนลามผู้ป่วยฯลฯ หากเรารวบรวมเป็นสถิ ติว่าที่คลินิกใด คุณหมอท่านใด สร้ างปั ญหามากๆ เข้า เราก็อาจต้อ งส่ ง "สายสืบ" ปลอมเป็นคนไข้เข้าไปตรวจสอบบ้างก็จะคงจะ สนุกดี เมื่อเกิดการจับได้ "คาหนังคาเขา" ก็น่าจะทาให้รู้สึก เข็ ด หลาบบ้ า ง สมั ย นี้ ไ ม่ มี ใ ครอยากฟ้ อ งเพราะไม่ อ ยาก ยุ่ ง ยากมาเป็ น พยานหลายรอบเสี ย เวลา แต่ ถ้ า สายสื บ ที่ คณะอนุ ก รรมการจรรยาบรรณท าเองแล้ ว ก็ เ ท่ า กั บ ว่ า วารสารทันตภูธร
55
ทั น ตแพทยสภาเป็ น ผู้ ส่ ง ฟ้ อ งเอง....การท างานง่ า ยกว่ า สบายกว่า สามารถจัดการคนไม่ดีเหล่านั้นได้รวดเร็วรวบรัด เด็ ด ขาดมากกว่ า กระบวนการที่ ยื ด เยื้ อ เยิ่ น เย้ อ และ ไร้ประสิทธิภาพอย่างที่ผ่านมา 3. เสี ย งค าชมและสรรเสริ ญ คุ ณ งามความดี จ าก ประชาชน ทั้งในด้านการรักษาทางทันตกรรม งานทัน ตสาธารณสุข งานวิชาการ การบริหาร และอื่นๆ ที่แม้กระทั่ง ไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ วิ ช าชี พ แต่ ห ากต าแหน่ ง "ทั น ตแพทย์ " ติดตัวบุคคลผู้นั้นก็ย่อมทาให้วิชาชีพได้รับการชื่นชมไปด้วย ไม่มากก็น้อย ฉะนั้นเราควรเปิดช่องทางและส่งเสริมให้ประชาชน ส่งข้อมูลตอบกลับต่อวิชาชีพทั้งแง่บวกและลบ เพื่อนาข้อมูล เหล่ า นี้ ม าปรั บ ใช้ ใ นการพั ฒ นาและยกระดั บ วิช าชี พ เพื่อ สังคมต่อไป... สุดท้ายนี้ หากใคร ทีมใด เห็นด้วยกับสิ่งทั้งหมดที่ เราเสนอมานี้ไปพิจารณาดัดแปลงให้เกิดผล สัญญาว่าจะ ทางานอย่างจริงจัง ตั้งใจทาให้ได้ มีแผนงานและการวัดผล อย่างชัดเจน เราจะยอมเลือก "ยกทีม" ฮ่าๆๆ ทั้งๆ ที่ปกติ เราจะไม่ ย อมท าเพราะเราเชื่ อ มั่ น ในความสามารถเป็ น ปัจเจก แต่การทางานเป็นทีมให้ได้ก็สาคัญไม่แพ้กัน
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
เมื่อแรงบันดาลใจ เกิดขึ้นที่นี่...บ้านกาญจนาภิเษก ทพญ. ผกามาศ แตงอุทัย รพ.ตะกั่วทุ่ง จ.พังงา
เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2558 ที่ ผ่ า นมา มี กิ จ กรรม
ก่อนไปบ้ านกาญจนาภิเษก ผู้เข้ าร่วมโครงการทุก
สาคัญในโครงการอบรมและพัฒนาศักยภาพ “คนสร้ าง งานบัน ดาลใจ” (Inspiration workers) โครงการนี เ้ กิ ด
คนจะได้ รั บ การบ้ านชิ น้ หนึ่ ง คื อ อ่ า นหนั ง สื อ เรื่ อง “เด็กน้ อยโตเข้ าหาแสง” ในครัง้ แรกไม่มีใครทราบเหตุผล
จากความร่วมมือกันของสานักวิจยั สังคมและสุขภาพ (สว สส.) สถาบัน รั บรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การ
ว่าทาไมจึงต้ องอ่านเล่มนี ้ แต่เมื่อได้ อ่านแล้ วก็พบว่า เป็ น หนังสือที่วางไม่ลงจริงๆ เพราะทุกหน้ าที่อา่ นเต็มเปี่ ยมไป
มหาชน) เครื อข่ายสุขภาพระดับอาเภอ (District Health System: DHS) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ าง
ด้ วยพลังของผู้หญิงคนหนึง่ ที่ชื่อ “ป้ามล”
เสริ ม สุข ภาพ (สสส.) โดยมี เ ป้า หมายส าคัญ คื อ การ เสริ มสร้ างจิตวิญญาณและแรงบันดาลใจในการทางาน โดยเฉพาะการบริ หารจัดการแรงจูงใจที่ไม่ใช่เงิน ด้ วยการ บ่มเพาะคนกลุ่มหนึ่งที่มีความมุ่งมัน่ ที่จะใช้ “การทางาน” เป็ น แรงบัน ดาลใจในการพัฒ นาตนเองไปสู่ค วามเป็ น มนุษย์ ที่ส มบูรณ์ ขึน้ ขณะเดียวกันก็ ช่วยกันปรั บเปลี่ยน วัฒนธรรมการทางานขององค์กรให้ ตอบสนองและรองรับ การเติบโตงอกงามของมนุษย์ ให้ ง านเป็ นทัง้ เครื่ อ งขัด เกลามนุษย์ และเป็ นสิ่ง ที่ ทาให้ คนทางานได้ เ รี ยนรู้ และ เติบโตเต็มศักยภาพของตน ส่วนหนึ่งของการอบรมนี ้ ผู้เข้ าร่ วมโครงการได้ มี โอกาสเรี ยนรู้ เทคนิ ค ในการสร้ างองค์ ก รบั น ดาลใจ จากบุคคลต้ นแบบ นัน่ คือ คุณทิชา ณ นคร หรื อ ป้ามล ผู้อ านวยการศูน ย์ ฝึ ก และอบรมเด็ ก และเยาวชนบ้ าน กาญจนาภิเษก วารสารทันตภูธร
56
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
สถานบ่มเพาะเด็กที่ทาผิดให้ กลายเป็ น “ว่าที่อาชญากร ผู้ใ หญ่ ” และที่ แ ห่ ง นี เ้ อง เรื่ อ งราวที่ น่ า ประทับ ใจและ สะเทือนอารมณ์ได้ ก่อเกิดขึ ้นมากมาย เด็กส่วนใหญ่ที่นี่ล้วน ต้ องคดีอกุ ฉกรรจ์ แต่ปา้ มล เชื่ออยู่เสมอว่า ทุกคนมีด้านสว่างอยู่ในตัว เธอไม่เคยมี อคติในตัวเด็กแม้ แต่น้อย แม้ บางคนภายนอกมีบุคลิกที่ ก้ าวร้ าวและรุ นแรงเมื่อแรกเห็น แต่ป้ามลจะใช้ ความรั ก ความเข้ าใจ และกระบวนการต่างๆในการจัดการดูแล เพื่อ หาด้ านสว่างของเด็กให้ เจอ และหาวิธีขยายด้ านสว่างให้ ป้า มลท างานด้ า นสัง คมมากว่ า 30 ปี เคยรั บ
สว่างขึ ้น
ราชการครู ที่สุราษฎร์ ธ านี แต่ชีวิตพลิกผั นนับตังแต่ ้ ก าร เคลื่อนไหวต่อสู้กับผู้มีอิทธิพลท้ องถิ่นที่จงั หวัดพังงาบ้ าน
แต่ดูเหมื อนว่าคนส่วนใหญ่ ไม่ไ ด้ คิด และ”เชื่อ” อย่างป้ามลเชื่อ คนภายนอกทัว่ ไป แม้ กระทัง่ ผู้ร่วมงานใน
เกิ ดของเธอ เป็ นเหตุให้ ต้องเดินทางเข้ าสู่กรุ ง เทพ และ ได้ รั บ ภารกิ จ ส าคัญ ให้ ท างานพัฒ นาเด็ ก ร่ ว มกั บ ส่ ว น
บ้ านกาญจนาภิเษกสมัยแรกเองก็เช่นกัน ล้ วนพิพากษา เด็กที่ ทาผิดเหล่านี ้ ดัง นัน้ ในการดูแลจึง ทากันแบบคุณ
ราชการต่างๆที่ สหทัยมูลนิธิ จนวันหนึ่งป้ามลได้ เ ริ่ ม ต้ น บทบาทอันท้ าทายยิ่ง ในฐานะผู้อานวยการสถานพินิจ
อ านาจมากกว่ า คุณ อ านวย เพราะคิ ด ว่ า เป็ นวิ ธี ที่ จ ะ ปกครองเด็กเหล่านี ้ได้ เป็ นอย่างดี
และคุ้ม ครองเด็กและเยาวชน บ้ านกาญจนาภิ เษก ที่ นี่ เกิดขึ ้นจากแนวคิดของคุณหญิงจันทนี สันตะบุตร อดีตผู้ พิพากษาสมทบ เนื่องจากพบว่าสถานพินิจฯหลายแห่งมีแต่ความ แออัด ขาดแคลน เต็มไปด้ วยความรุนแรงและอันตราย จึง ระดมความคิดและระดมทุน เพื่อสร้ างสถานฝึ กและอบรม เด็กและเยาวชนในมุมมองใหม่ให้ เป็ นพื ้นที่ แห่งการเรี ยนรู้ ไม่ มี ก าแพงสูง สร้ างความรู้ สึ ก ไว้ ว างใจแทนที่ จ ะเป็ น บรรยากาศของการกักขังจองจา และมีความต้ องการให้ สถานพินิจฯ เป็ นสถานที่ที่สามารถบาบัดฟื น้ ฟูเยาวชนได้ อย่างมีคณ ุ ภาพและคืนคนดีกลับสู่สังคมได้ แทนที่จะเป็ น วารสารทันตภูธร
57
เวลาที่เราเห็นข่าววัยรุ่นปาหิน วัยรุ่นข่มขืน ฆ่าคน ตาย เรารู้สึกกันอย่างไร บางคนรู้สึกโกรธแค้ นแทนเหยื่อที่ โดนกระทาเหล่านัน้ บางคนก็กร่นด่าสาปแช่งต่างๆนานา และต่างคิดเหมือนกันว่า สิ่งที่สาสมที่สุดที่วยั รุ่ นเหล่านัน้ สมควรจะได้ รับคือ “บทลงโทษ” การมาบ้ านกาญจนาภิเษกครัง้ นี ้ ได้ ทาให้ เข้ าใจ ถึง ผู้กระทา(actor) เหล่านี ม้ ากขึน้ ว่าแท้ จ ริ ง แล้ ว ก็ คือ เหยื่อ เหมือนผู้ถกู กระทา(victim) แต่การที่เขาก่อความผิด หรื อ คดี อุก ฉกรรจ์ นัน้ ท าให้ เ ขามัก ไม่ ไ ด้ รั บ โอกาสและ ความเห็นใจ ทัง้ ๆที่ เ ขาก็ เ ป็ นผลผลิ ตมาจากความผุพัง ผิดพลาดของครอบครัวและสังคมเช่นกัน ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
กฎ กติกาที่ ใช้ ในบ้ า นหลัง นี เ้ กิ ดจากเด็ก ๆร่ ว มกัน สร้ าง ขึ ้นมา ไม่มีการใช้ กฎที่ เขียนบังคับขึ ้นโดยผู้ใหญ่ ทาให้ ทกุ คนยอมรับในกฎเกณฑ์ที่ตงขึ ั ้ ้น มี ก ารสร้ างวั ฒ นธรรมที่ ดี โ ดยใช้ สื่ อ ภาษา แต่กว่าป้ามลจะเปลี่ยนที่แห่งนี ้ให้ เป็ นแสงสว่าง สาหรับเด็กๆได้ นัน้ ต้ องต่อสู้กับอุปสรรคต่างๆมากมาย
สัญลักษณ์ พิธีกรรมต่างๆ มีการสะสม "คลังคา คลังภาษา และคลังความคิด" ให้ กับเด็กเหล่านัน้ ผ่านกระบวนการ และกิจกรรมต่างๆ ทาให้ การสื่อสารและการปรึกษา'ง่าย' ขึ ้น
โดยเฉพาะแนวคิดของเพื่อนร่ วมงานและผู้บงั คับบัญชาที่ แตกต่างกัน มีเพียงสิ่งหนึ่งเท่านันที ้ ่ทาให้ เธอต่อสู้และยืน หยัดมาได้ นัน่ คือ "ความเชื่อ" ป้าเชื่อเสมอว่าทุกคนมีด้ าน ดีในตัว และสิ่งนี ้เป็ นพลังให้ ปา้ พยายามหาและเสริ มพลัง ด้ า นบวกให้ เ ด็ ก เหล่ า นี ้ เธอใช้ เ วลากว่ า 10 ปี ในการ เปลี่ยนแปลงจนที่นี่เป็ นเหมือนบ้ านจริงๆ
ป้ามลสร้ างหลักสูตรวิชาชีวิต ไว้ สอนเด็กๆ เพื่อให้ สามารถต่อสู้กบั ใจตนเองได้ เมื่อเจอสิ่งแวดล้ อมที่สมุ่ เสี่ยง ต่อการเปิ ดด้ านมืดขึน้ มาอีกครัง้ ให้ เด็กๆได้ ฝึกวิเคราะห์ ข่าวทุกวัน เพื่อเพิ่มความเข้ าใจต่อผู้เสียหายหรื อเหยื่อ ให้
มี ห ลายคนถามป้ า มลว่ า ป้ า มลใช้ ทฤษฎี ห รื อ
ร่ ว มเรี ย นรู้ เมื่ อ เกิ ด โศกนาฎกรรมในสั ง คมหรื อ ในโลก ภายนอก ให้ ช มภาพยนตร์ ที่ ป้า มลคัด เลื อ กมาแล้ วว่ า
แนวคิดอะไรในการทางานกับเยาวชนที่ก้าวพลาด ป้ามล ไม่เ คยตอบคาถามนี ไ้ ด้ ตอบได้ แต่ว่ า ทุกอย่างที่ ทาใช้
เหมาะสมสาหรับการเรี ยนรู้ วิช าชี วิต โดยบางเรื่ องเป็ น ภาพยนตร์ แนวสุ่มเสี่ยงที่ผ้ ใู หญ่มกั ”ห้ าม”ไม่ให้ เด็กดู แต่
สัญชาติญาณความเป็ นมนุษย์ที่มี
ป้ า มลจะให้ เด็ ก ๆได้ มาดู ร่ ว มกั น เพื่ อ ร่ ว มคิ ด ร่ ว มคุ ย สัปดาห์ละ 1 ครัง้
บ้ า นกาญจนาฯมี ปั ญ หาต่า งๆเกิ ด ขึน้ มากมาย แม้ กระทัง่ ในกลุ่มเด็กๆเอง แต่ทุกครัง้ ที่เจอปั ญหา ป้ามล
นอกจากในรัว้ บ้ านกาญจนาภิ เษกแล้ ว เด็กๆยังมี
จะไวมากในการดักจับและแก้ ไขปั ญหา แม้ เพียงปั ญหา เล็ ก ๆ ป้ า มลก็ ไ ม่ เ พิ ก เฉย เพราะถ้ าสะสมไว้ มัน อาจ
โอกาสได้ ร่วมเวทีสาธารณะอย่างสม่าเสมอ ได้ เป็ นทังใน ้ ฐานะผู้ให้ ผู้รับ หรื อผู้ร่วมรณรงค์ในกิจกรรมต่างๆ เด็กๆมี
กลายเป็ นปัญหาที่ใหญ่ขึ ้นได้
โอกาสได้ เป็ นจิตอาสาช่วยเหลือผู้ประสบภัยสึนามิ ช่วย ดูแ ลตายายที่ ถู ก หลานทอดทิ ง้ ช่ ว ยท าความสะอาด
ป้ า มลไม่ เ คยมองข้ ามเสี ย งเล็ ก ๆของใคร ให้ ความสาคัญกับทุกเสียงทุกความคิดเห็นของเด็กในบ้ าน กาญจนาฯ และไม่เพิกเฉยต่อคนกลุม่ เล็กที่เห็นต่าง แต่จะ เข้ าไปพูดคุยเพื่อสร้ างความเข้ าใจทันที วารสารทันตภูธร
58
เหตุการณ์หลังไฟไหม้ ราชประสงค์ ช่วยเหลือเหตุการณ์น ้า ท่วม ทากิจกรรมหาเงินเพื่อช่วยเหลือเหตุการณ์สึนามิที่ ญี่ปนุ่ ฯลฯ ทังนี ้ ้ เพื่อให้ ทกุ คนรู้สึกถึงการมีตวั ตน มีคณ ุ ค่า และเห็นพลังที่มีในตัวเอง ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
เด็กๆทุกคนจะต้ องมี การเขี ยนบันทึกประจาวัน เพื่อดูว่าเด็กๆอยากจะบอกอะไร โดยป้ามลและเจ้ าหน้ าที่
กล่าวคือ เหยื่อสามารถปลดล็อกตัวเองออกจาก ความโกรธ เกลียดชัง และเคียดแค้ น ขณะที่ผ้ กู ระทาผิด
จะอ่ า นบัน ทึ ก เหล่ า นี ท้ ุ ก วั น และตอบกลั บ ข้ อความ เหล่านัน้ หากมีข้อความดีๆ จะนามาเผยแพร่ ให้ ทุกคนได้
รู้ สึ ก ว่ า ตัว เองได้ ปลดปล่ อ ยจากความรู้ สึ ก ผิ ด บาปที่ คุกคามจิตใจตลอดมาเช่นกัน ซึ่งทาให้ ทงสองสามารถใช้ ั้
อ่าน เพื่อสร้ างความภาคภูมิใจ ซึ่งเป็ นสิ่งที่บางคนไม่เคย รู้สกึ มาก่อนเลยตลอดทังชี ้ วิต
ชีวิตร่วมเป็ นมิตรภาพเกิดสันติภาพที่แท้ จริง
เปิ ดพืน้ ที่ให้ พ่อแม่มีส่วนร่ วมอย่างจริ งจังในการ
โดยในภาคเช้ า จะจัด งาน "คื น สู่เ หย้ า " ให้ อ ดี ต เยาวชนที่ ไ ด้ รั บ อิ ส รภาพไปแล้ วกลั บ มาเยี่ ย มบ้ าน
ร่ วมแก้ ปัญหา ดูแล และทาความเข้ าใจ “ซึ่งกันและกัน” ทาให้ พ่อแม่ผ้ ปู กครองมีทกั ษะในการแปรรูปความรัก เป็ น
กาญจนาภิเษกกลับมาถ่ายทอดประสบการณ์ ชีวิ ต หลัง ได้ รับอิสรภาพให้ แก่เยาวชนรุ่ นปั จจุบนั และมี "พิธีกรรม
พฤติกรรมในทางที่ดี เพื่อสร้ างความสัมพันธ์ในครอบครัว ให้ ดีขึ ้น
ล้ างใจ" ในช่วงค่าซึ่งเป็ นพิธีกรรมที่ให้ เยาวชนได้ ราลึกถึง เหยื่อ ขอโทษเหยื่อจากใจจริง ด้ วยความหวังว่าจะช่วยลบ
สิ่งที่ยากที่สดุ และท้ าทายที่สดุ ของบ้ านกาญจนา-
บาดแผลในใจของเยาวชน และใช้ เวลาที่เหลืออยู่ ชาระ ความรู้สกึ นึกคิดและจิตวิญญาณของตนเองที่ผิดบาปเพื่อ
ภิเษก คือ กระบวนการทาให้ เหยื่อ “ให้ อภัย” มีครัง้ หนึ่ง บ้ านกาญจนาฯ เคยต้ อนรับเยาวชน 2 คนที่มีเงื่อนไขชีวิต
ก้ าวสูส่ งั คมอีกครัง้
ซึง่ ขัดแย้ งกันจนยากที่จะหาทางประนีประนอมได้ นัน่ คือ "เล็ก" และ "ใหญ่" ซึ่งเป็ นศัตรูคอู่ าฆาตกัน เนื่องจากเล็กเป็ นคนสังหารพ่อของใหญ่ ป้ามลพยายามกล่อมเกลาความคิด และจิ ต ใจ เยาวชนทังสอง ้ ให้ ร้ ู จกั การขอโทษและการให้ อภัย โดยมี จุดมุง่ หมายเพื่อให้ เกิดสันติภาพขึ ้น และในที่สดุ ก็สามารถ ทาได้ สาเร็ จ ทาให้ ญาติผ้ ใู หญ่ทงสองฝ่ ั้ ายได้ มาพบปะกัน และได้ มีโอกาสกล่าวคาขอโทษ ให้ อภัยซึง่ กันและกัน
หลายคนคงจาเหตุการณ์วยั รุ่นปาก้ อนหินใส่รถตู้
จากเหตุการณ์นี ้เองที่ทาให้ เกิด "วันสันติภาพ" ขึ ้น ที่บ้านกาญจนาฯ
จนทาให้ โจ้ ม๊ กจ๊ กต้ องเสียชีวิตได้ จากเหตุการณ์นนท ั ้ าให้ ชีวิตของจอน มกจ๊ ก ต้ องพลิกผันจากครอบครัวที่เคยอยู่
วันที่คคู่ วามขัดแย้ งจะได้ มีโอกาสพบปะกัน ฝ่ ายที่
กันพร้ อมหน้ าพร้ อมตาอย่า งอบอุ่น ทัง้ สามี แ ละลูก สาว กลับกลายเป็ นความโดดเดี่ยวและอ้ างว้ าง เพราะนอกจาก
กระทาผิดได้ กล่าวขอขมา และอีกฝ่ ายรู้จกั การให้ อภัย วารสารทันตภูธร
59
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
จะสูญ เสี ย สามี แ ล้ ว และหลัง จากนัน้ อี ก 2 ปี เธอต้ อ ง สูญเสียลูกสาวคนเดียวเนื่องจากอุบตั เิ หตุ ช่วงนัน้ จอนสิน้ เรี่ ยวแรงและรู้ สึกแค้ นใจคนที่ปา หินใส่รถตู้ซึ่งเป็ นจุดเริ่ มต้ นที่ทาให้ ครอบครัวของเธอต้ อง พัง ทลาย และทุก ครั ง้ ที่ ไ ด้ ยิ น ข่ า ววัย รุ่ น ปาก้ อนหิ น ใส่ รถยนต์ เธอถึงกับน ้าตาร่วงเพราะอดนึกถึงความสูญเสียที่ เกิ ดขึน้ กับตัวเองไม่ไ ด้ แต่ชี วิตยัง ต้ องก้ าวไปและเผชิญ ความจริ ง ทุกวันนี ้จอนต้ องออกจากบ้ านย่านพุทธมณฑล สาย 4 ตังแต่ ้ เช้ ามืด เพื่อไปขายน ้าพริ กตาแดงกระปุกละ 20 บาท บนสะพานลอยหน้ ามหาวิทยาลัยรามคาแหงเพื่อ เลี ้ยงชีพ หลังเหตุการณ์ ปาก้ อนหินใส่รถตู้ครั ง้ นัน้ "ศักดิ์" ถูกจับกุมและส่งตัวมาอยู่ในบ้ านกาญจนาฯ ซึง่ ตลอด 3 ปี ที่ถกู ควบคุมตัว เขาได้ เรี ยนรู้และเข้ าถึงความเจ็บปวดของ เหยื่อ รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้ องซึ่งยังมีชีวิตอยู่ กระบวนการการ สร้ างความเข้ าใจและเห็นอกเห็นใจระหว่างผู้กระทาและ เหยื่อดาเนินมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสาหรับผู้กระทาแล้ ว ไม่ ค่อ ยมี ปั ญ หา เพราะศัก ดิ์ ก่ อ เหตุด้ ว ยความคึ ก คะนอง ดังนัน้ จึงปลุกจิตสานึกได้ ไม่ยาก แต่ในส่วนของจอนซึ่งตกเป็ นเหยื่อแล้ ว การก้ าว พ้ นความเจ็บปวดและโกรธแค้ นจากความสูญเสียไม่ใช่ เรื่ องง่าย แต่ในที่สดุ เธอก็สามารถแหวกม่านเหตุแห่งทุกข์ ออกมาได้ อย่างน่าเลื่อมใส จนถึงวันที่ทาพิธี กรรมล้ างใจ บาดแผลในใจจอนและศักดิ์ไ ด้ รับการเยี ยวยาจนเกื อ บ
นี่คือเรื่ องเล่าแค่เพียง “เสี ้ยว” ของสิ่งที่ป้ามลได้ พบเจอ ในชีวิตจริ งมีเรื่ องยากและท้ าทายให้ ป้ามลแก้ ไข ปัญหามากมาย พบป้ามลแล้ วทาให้ ร้ ูวา่ 'ความเชื่อ' และ'ความรัก' ที่ปา้ มลมีนนยิ ั ้ ่งใหญ่ จนทาให้ 'อุปสรรค' ทังหลายเล็ ้ กลง ไปเลยทีเดียว พลังที่ยิ่งใหญ่ในตัวผู้หญิ ง คนนีส้ ามารถเปลี่ ยน สถานพินิจให้ เป็ น "บ้ าน" ที่ล้อมรัว้ ด้ วยความรัก ไม่มีการ ใช้ อานาจและความรุนแรง และเปลี่ยนที่นี่ให้ เป็ นสถานที่ที่ เปิ ดโอกาสให้ เ ด็กที่ 'ก้ าวพลาด' สะสมพลังทางบวกเพื่ อ เป็ นต้ นทุนชีวิตก่อนออกสูส่ งั คมได้ จริงๆ หลังจากนี ้หากคิดจะทาอะไร แล้ วเจออุปสรรคที่
หายสนิท เพราะทัง้ สองคนเข้ าถึงคุณค่าคาว่า "ขอโทษ"
ท าให้ ท้ อแท้ ป้ า มลเป็ นผู้ หญิ ง คนแรกที่ จ ะต้ อ งนึ ก ถึ ง เพราะเธอคือ บุคคลตัวอย่างผู้สร้ างแรงบันดาลใจ ให้ กับ
และ "ให้ อภัย”
คนทางานได้ อย่างแท้ จริง
วารสารทันตภูธร
60
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ปกิณกะ บันเทิง เมื่อหมอฟันภูธร ได้แต่งงานกับกับฝรั่งสมดังใจ!!! โดย…หมอฟันภูธร
หลังจากแต่งงานแล้ ว ชีวิตของดิฉันดาเนินต่อไป ยังไง คุณสามีของดิฉันเค้ าจะอยู่ยงั ไง เค้ าจะอยู่ประเทศ ไทยได้ ไหม เค้ าจะมีเพื่อนไหม เค้ าจะเหงาไหม เค้ าจะทาน อาหารไทยหรื อ อาหารอี ส านได้ ไ หม ชี วิตคู่กับสามี ฝ รั่ ง ดิฉันต้ องเผชิญปั ญหาอุปสรรคอะไรบ้ าง ดิฉันต้ องโดนจัด หนักจัดเต็มอะไรบ้ าง จึงขอมาเล่าภาคต่อในฉบับนี ้ค่ะ สาหรับฉบับนี ้จะขอเน้ นๆไปที่เรื่ องเด่นประจาตัว ที่เมียฝรั่งทุกคนต้ องประสบพบเจอ และเป็ นเรื่ องที่พาปวด หัว ปวดใจ ปวดม้ าม ปวดตับ อย่างแน่นอนตลอดชีวิต ซึ่ง คงต้ อ งเล่า กัน ยาวเหยี ย ดต่อ จากบรรทัด นี ไ้ ปเลยก็ คื อ “เรื่ องการขอวีซา่ อยู่ในไทยของคุณสามี ” นี่ถ้าไม่ได้ มาเป็ น เมี ย ฝรั่ ง ก็ ไ ม่มี ท างรู้ เลยนะคะว่า ฝรั่ ง บางคนเค้ า มาอยู่ ประเทศไทยกันได้ ยงั ไงแบบยาวนานหลายๆปี “ชาวต่างชาติส่วนใหญ่เดินทางเข้ ามาในประเทศ ไทยด้ วยวีซ่านักท่องเที่ยว โดยวีซ่าประเภทนี ้จากัดให้ ผ้ ถู ือ สามารถท่องเที่ยวพักผ่อนเท่านันและไม่ ้ อนุญาตให้ มีการ ทางาน หรื อทาธุรกิจใดๆในประเทศไทย วีซ่านักท่องเที่ยว นี ้ มีกาหนดระยะเวลาในการอยู่ในราชอาณาจักรได้ 30 วัน หรื อ 60 วัน ซึ่ง สามารถขอขยายเวลาในการอยู่ไ ด้ ออกไปอีก 30 วัน ซึ่งสามารถขอได้ ที่สานักงานตรวจคน เข้ าเมืองใกล้ บ้าน”
วารสารทันตภูธร
61
คุ ณ สามี ข องดิ ฉั น เป็ นชาวเยอรมั น ใช้ วี ซ่ า นัก ท่อ งเที่ ย วเข้ า มาประเทศไทยตัง้ แต่ค รั ง้ แรก ดัง นัน้ วิถีชีวิตหลังแต่งงานปี แรก ดิฉันจึงมีความสุขมากๆกับการ ได้ พาคุณสามีตระเวนไปต่อวีซ่าทุกๆ 90 วัน ตามจังหวัด ชายแดน เสมือนกับว่าได้ ไปท่องเที่ยวด้ วยกันบ่อยๆ และ ด่านชายแดนที่เข้ าๆออกๆประจาเลยก็คือ ด่านตรวจคน เข้ าเมื อ งจั ง หวั ด มุ ก ดาหารเพราะว่ า อยู่ ใ กล้ ร้ อยเอ็ ด เดินทางไปสะดวก ทุกครัง้ ที่ข้ามแดนไปก็รีบไปยื่นเรื่ องขอ วีซ่าในวันนันทั ้ นทีที่สถานทูตไทย ณ เมืองสะหวันนะเขต ประเทศลาว (พอพ้ นสะพานข้ ามแดนจังหวัดมุกดาหาร ข้ ามแม่น ้าโขงไปก็ถึงเมืองสะหวันนะเขตแล้ ว ไม่ไกลจริงๆ ค่ะ) และต้ องพักค้ างคืน 1 คืนที่เมืองสะหวันนะเขตนี ้ เพื่อ รอรับผลการขอวีซ่าที่สถานทูตไทยในวันถัดไป ช่วงที่รอรับ ผลการขอวี ซ่า นี่ แ หล่ะ ค่ะ ก็ ไ ปตระเวนเที่ ยวในตัว เมื อ ง สะหวันนะเขต ได้ ไปไหว้ พระขอพรที่วดั หลายแห่ง ไปทาน ขนมปังฝรั่งเศส (แต่ที่ประเทศลาวเค้ าเรี ยกว่าข้ าวจี่)
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
นี่ขนาดวีซ่าแต่งงานก็ยังต้ องคอยไปรายงานตัวทุกๆ 90 วัน ที่ ต.ม. ใกล้ บ้ า น แต่ ก็ ถื อ ว่ า ยัง ดี ก ว่ า ออกไปนอก ประเทศไทยแล้ วเข้ ามาใหม่แบบที่เคยทามาช่วงที่เป็ นวีซ่า นักท่องเที่ยว
พาคุณสามีเข้ าๆออกๆนอกประเทศตามชายแดน ไทยลาวอยู่แบบนี ้ได้ ประมาณปี กว่าๆ ขับรถจากร้ อยเอ็ด ไปมุกดาหารจนจาหลุมบนถนนได้ หมดเลย (อิอิอิ ก็ว่าไป นัน่ ) จนกระทัง่ มาถึงวันหนึ่งคุณตารวจที่ดา่ นตรวจคนเข้ า เมืองบอกขึ ้นมาว่า ครัง้ ต่อไปถ้ ายังเป็ นวีซ่านักท่องเที่ ยว อยู่ อาจจะติด Blacklist แล้ วนะ คุณสามี ของดิฉัน อาจ ไม่ได้ รับอนุญาตให้ เข้ าประเทศไทยเป็ นเวลา 1 ปี เพราะใช้ วีซา่ นักท่องเที่ยวติดต่อกันยาวเกินไป ดิฉนั ก็เริ่มนอยด์เลย สิคะ คิดในหัวอยู่ตลอดว่าจะทายังไงต่อดีที่จะให้ คณ ุ สามี อยูป่ ระเทศไทยต่อได้ นานๆ … ดิฉันจึงได้ เริ่ มศึกษาหาข้ อมูลเรื่ องการขอวีซ่าอยู่ ในไทยของชาวต่างชาติอย่างจริ งจัง จนได้ ข้อมูลว่าถ้ าจะ ให้ คุ ณ สามี อ ยู่ ไ ทยได้ แบบนานๆก็ ต้ องไปท า “วี ซ่ า แต่งงาน” (วีซ่าแต่งงาน คือวีซ่าสาหรับชาวต่างชาติที่จด ทะเบี ย นสมรสกั บ ชาวไทย และต้ อ งการพ านัก อยู่ ใ น ประเทศไทย วีซา่ แต่งงานนี ้สามารถอยูป่ ระเทศไทยได้ เ ป็ น เวลา 1 ปี และจะต้ องทาเรื่ องต่อวีซ่าทุกๆปี … เมื่อได้ วีซ่า แต่งงานแล้ วนันในทุ ้ กๆ 90 วันจะต้ องไปรายงานตัวที่ ต.ม. ถ้ าหากต้ องการออกนอกประเทศจะต้ องทา Re-entry ทุก ครัง้ เพื่อรักษาสิทธิ์ ของวีซ่าแต่งงานหลังจากกลับมาจาก ต่า งประเทศ ซึ่ง หากไม่ท า Re-entry ก่ อ นเดิน ทางออก นอกประเทศไทยวีซ่าแต่งงานก็จะถูกยกเลิกโดยอัตโนมัต)ิ วารสารทันตภูธร
62
ในที่สดุ ก็ตดั สินใจกันแล้ วว่าจะทาวีซา่ แต่งงาน จึง ไปปรึกษาผู้ที่เคยทามาก่อน (ก็เพื่อนๆฝรั่งที่อยู่ในร้ อยเอ็ด ด้ ว ยกัน นี่ แ หล่ ะ ค่ะ ) เค้ า บอกว่ า กว่ า จะเตรี ย มเอกสาร ด าเนิ น การต่ า งๆจนผ่ า นขอวี ซ่ า แต่ ง งานเสร็ จ สิ น้ ใช้ เวลานานเกื อ บปี เ ลยที เ ดี ย ว เค้ า ก็ เ ลยแนะน าให้ ไ ปทา “วีซ่านักเรี ยน” ไปก่อน ช่วงที่กาลังเตรี ยมเอกสารต่างๆ เพื่อขอวีซา่ แต่งงาน ……. โอ๊ ย!!! อะไรกันนี่ มีวีซา่ นักเรี ยน โผล่มาให้ งงอีกแล้ ว …… ทาไมการที่ฝรั่งจะอยูใ่ นประเทศ ไทยมันยากเย็นขนาดนี ้เลยเหรอ พอเล่ามาถึงจุดนี ้ก็คือจุด ที่ ดิฉัน เริ่ ม ท้ อ มากๆ เริ่ ม หงุด หงิ ด เริ่ ม เหนื่ อ ยหน่า ยกับ ระบบหลายๆอย่าง และไม่เข้ าใจว่าประเทศไทยของเราจะ เก็บเงินฝรั่งทาไมนักหนา มากี่ครัง้ ก็เสียเงินตลอด (เงินค่า ต่อวีซ่าตามระเบียบตามกฏหมาย) พอมานับทวนดูการ ต่อวีซ่านักท่องเที่ยวหลายๆครัง้ ที่ผ่านมาก็ถือว่าหมดเงิน ไปเยอะเหมือนกัน “วี ซ่ า นัก เรี ย น คื อ วี ซ่ า ส าหรั บ ชาวต่ า งชาติ ที่ ต้ องการเข้ ามาศึกษาในราชอาณาจักรไทย สามารถทา เรื่ องขอวี ซ่านักเรี ยนจากสถาบันสอนภาษาที่ ไ ด้ รั บ การ ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ยอมรับจากกระทรวงศึกษาธิ การ เนื่องจากสถาบันส่วน ใหญ่จะที่เปิ ดสอนภาษาให้ กับชาวต่างชาติจะได้ รับการ ยอมรับจากกระทรวงศึกษาธิการถึงหลักสูตรในการสอน หากชาวต่างชาติหากต้ องการเรี ยนภาษาและพานักอยูใ่ น ประเทศไทยในเวลาเดียวกัน สามารถติดต่อสถาบันสอน ภาษาที่ เ ปิ ดสอนอยู่ เพื่ อติดต่อขอเป็ นนักศึกษาและขอ วีซา่ นักเรี ยนในเวลาเดียวกันได้ เลย” …………………………………… …………………………………………………………. และแล้ ววงเวียนชีวิตเมียฝรั่งก็ ต้องดาเนินต่อไป คุณสามีจะต้ องอยู่ประเทศไทยต่อไป ดิฉันจึงต้ องสมยอม เอ๊ ย!จายอมพาคุณสามีมาสมัครเป็ นนักเรี ยนที่โรงเรี ยน สอนภาษาในกรุงเทพ เพื่อให้ ได้ วีซ่านักเรี ยน และต้ องจ่าย ค่าลงทะเบียนเรี ยนภาษาไทยไป 3 หมื่นกว่าบาท อุ๊ต๊ะ! ท าไมถึ ง แพงขนาดนี เ้ นี่ ย ! (ซึ่ ง โรงเรี ยน ที่ เ ปิ ดสอน ภาษาไทยให้ ช าวต่า งชาติส่ ว นมากตัง้ อยู่ใ นกรุ ง เทพฯ ชลบุ รี เชี ย งใหม่ ท าไมไม่ ม าเปิ ดแถวๆขอนแก่ น หรื อ ร้ อยเอ็ดบ้ างเลย ไม่เข้ าใจจริ งๆ) วงเวียนชีวิตช่วงนีเ้ ลย กลายเป็ นว่าได้ ท่องเที่ยวไปกลับกรุ งเทพ-ร้ อยเอ็ดเป็ นว่า เล่น ต้ อ งพาคุณ สามี ไ ปสอบภาษาไทยที่ โ รงเรี ย นสอน ภาษา และไปสอบภาษาไทยที่กระทรวงศึกษาธิการทุกๆ 90 วัน ประกอบกับ ด าเนิ น การเตรี ย มเอกสารขอวี ซ่า แต่งงานร่ วมด้ วย ช่วงนี ้จึงเป็ นอะไรที่ว่นุ วายมากๆ แล้ วก็ เสี ยเงิ นไปเยอะมากๆ เพราะว่าเอกสารทุกฉบับต้ องไป แปลเป็ นภาษาเยอรมัน ค่าแปลราคาหน้ าละ 1,500 บาท แล้ ว ต้ อ งส่ง เอกสารไปให้ ครอบครั ว คุณ สามี ที่ เ ยอรมัน ดาเนินการยินยอม กว่าจะได้ เอกสารครบก็ส่งไปรษณี ย์ วารสารทันตภูธร
63
กลับไปกลับมาอยูห่ ลายรอบ ไปด่านตรวจคนเข้ าเมืองตรง ศูน ย์ ร าชการที่ ถ นนแจ้ ง วัฒ นะอี ก หลายรอบ แล้ ว ก็ ไ ป สถานทูตเยอรมันอีกหลายรอบ จนคุณยามหน้ าสถานทูต คงเบื่อหน้ า(อันนี ้คิดเอาเองค่ะ อิอิ) การต่อวีซ่ านักเรี ยนนี ้ จะใช้ ได้ อยู่ 3-5 ปี แล้ วแต่หลักสูตรของ แต่ละโรงเรี ยน ซึง่ ถ้ าจะปี ตอ่ ไปจะใช้ วีซา่ นักเรี ยนต่อก็ต้องเสียค่าลงทะเบียน อี ก 3 หมื่ นกว่าบาทเช่นเดิม … ปรากฏว่าคุณสามี ข อง ดิฉันได้ ใช้ วีซ่านักเรี ยนนี ้ไป 3 ปี เต็มๆ หมดค่าเรี ยนไปแสน กว่าบาท
จนมาถึง เดือ นมกราคม ปี 2558 สิ่ง ที่ ดิฉัน และ สามีร่วมกันฟั นฝ่ าก็ประสบผลสาเร็ จ นาเอกสารที่เตรี ยม ไว้ ทงั ้ หมด 23 รายการตาม Checklist ไปยื่นเรื่ องขอวีซ่า แต่ ง งานที่ ต.ม.จัง หวั ด อ านาจเจริ ญ วัน นี จ้ ึ ง เป็ นวั น ประทับใจอีก 1 วันที่น่าจดจา เนื่องด้ วยในการยื่นเรื่ องขอ วีซ่าแต่งงานจะต้ องมีข้าราชการกรมการปกครองในพืน้ ที่ ไปยื นยันระบุว่าดิฉันและสามี อยู่ในพื น้ ที่ ปกครองจริ ง ๆ ดิฉันได้ ประสานไปทางผู้ใหญ่บ้านและกานันก็ไม่มีใครไป ให้ เลย จนในที่สุดก็ได้ เชิญท่านปลัดอาวุโสของอาเภอที่ ดิฉันอยู่ เดินทางไป ต.ม. อานาจเจริ ญ ด้ วยกัน ท่านให้ ความกรุ ณ าและเมตตาต่ อ ดิ ฉั น มากมายจริ งๆ จึ ง ขอขอบคุณท่านมา ณ โอกาสนี ้ ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ปั จจุบนั นีค้ ุณสามี ของดิฉันอยู่ประเทศไทยด้ วย วีซ่าแต่งงาน ต้ องไปรายงานตัวที่ ต.ม.อานาจเจริ ญ ทุกๆ 90 วัน (การไปรายงานตัว นี ไ้ ม่ ต้ อ งเสี ย ค่า ใช้ จ่ า ยใดๆ นอกจากค่ า น า้ มั น รถไปกลั บ ร้ อยเอ็ ด -อ านาจเจริ ญ ) เพียงแต่ต้องนาเอกสารชุดเดิม 23 รายการตาม Checklist มาทาเรื่ องต่อวีซ่าแต่งงานอีกทุกๆ ปี ซึ่งปี ตอ่ ๆไปก็ง่ายขึ ้น ไม่ต้องให้ ข้าราชการกรมการปกครองไปยืนยันระบุตวั ด้ วย แล้ ว คุณสามีไปทาเองคนเดียวเลยก็ได้
........Happy Ending For Marriage Visa ……
สาหรับฉบับหน้ าจะมาเล่าเรื่ องการดูแลลูกฝรั่งตัวน้ อยๆ อยากให้ แฟนคลับทุกท่านมาดูเรื่ องราวความน่ารักซุกซน ของเด็กหญิงซารี นา่ เชลลอง ….โปรดติดตามต่อฉบับหน้ านะคะ ขอบคุณค่ะ
วารสารทันตภูธร
64
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
บ้านหลังแรก ....พี่แบ็งค์เอง
เรี ย นจบมาสั ก พั ก หลายๆคนคงมี ีั น ที่ อ ยากจะซื้ อ บ้ าน ด้ ว ยความบั ง เอิ ญ ที่ น้าท่ ว มใหญ่ ใ นกรุ ง เทพ ท าให้ ผ มได้มี ประสบการณ์การซื้อบ้านหลังแรกด้วยตนเอง จึงอยากมาแบ่งปันเล่าสู่กันฟัง บ้านหลังแรก หลายคนอาจคิดว่าต้องเป็นบ้านใหม่ แต่จริงๆแล้วอาจจะมองหาบ้านมือสองมารีโนเวท สิ่งสาคัญของการ พิจารณาซื้อบ้านมือสองคือโครงสร้างหลักของตัวบ้าน เพราะสิ่งเหล่านี้หากมีปัญหาต้องแก้ไข ก็เปรียบเสมือนการสร้างบ้านใหม่ ราคาของบ้านมือสองที่เราจะซื้อมานั้นก็ควรซื้อมาด้วยมูลค่าเหมือนซื้อที่ดินเปล่า (ราคาประเมินที่ดินสามารถ search ได้โดยใช้ เลขโฉนดที่ดิน ผ่านเวบของกระทรวงการคลัง) แต่ส่วนตัวผมนั้นเลือกที่จะซื้อบ้านใหม่ บ้านใหม่อาจจะสร้างเอง ต้องขออนุญาตแบบกับเทศบาล มีผู้รับเหมาที่ไว้ใจได้ มีความเข้าใจวัสดุก่อสร้าง (คล้ายๆกับ เข้าใจวัสดุทันตกรรม มีเวลาในการมาควบคุมการก่อสร้าง หากตัดปัญหาเหล่านี้อาจจ้างบริษัทสร้างบ้านที่ไว้ใจได้ แต่จะทาให้ งบประมาณสูงขึ้นมากกว่า 20% สุดท้ายแล้วผมเลือกที่จะซื้อบ้านจากหมู่บ้านจัดสรร วารสารทันตภูธร
65
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
อันนี้ผมขอข้ามไป สิ่งถัดมาคือแบบของบ้าน (floorplan) จานวนห้องน้า ห้องนอน ตาแหน่งพื้นที่ใช้สอย เพื่อพิจารณา ความสอดคล้ อ งกั บ life style ของผู้ อ ยู่ อ าศั ย บ้ า นของ โครงการใหญ่ มั ก เป็ น บ้ า นสร้ า งเสร็ จ พร้ อ มอยู่ ท าให้ เ รา สามารถประเมิ น ได้ ว่ า พื้ น ที่ ใ ช้ ส อยตอบสนองต่ อ ชี วิ ต ครอบครัวเราหรือไม่ (รวมทั้งดูวัสดุที่ใช้ไนการก่อสร้างจริง ได้)
สิ่งแรกในการเลือกหมู่บ้านจัดสรร คงเป็นเรื่องของ ทาเล เราคงต้องมีโจทย์หลักๆในการเลือกทาเล สาหรับตัว ผมนั้ นคือซื้อบ้ านให้ พ่อแม่ ปัจ จั ย จึงต้องใกล้ โรงพยาบาล ใหญ่ ใกล้วัด ใกล้ตลาด อีกทั้งพ่อแม่ไม่สามารถขับรถยนต์ได้ จึ ง ต้ อ งใกล้ ร ะบบขนส่ ง มวลชน ส าหรั บ คนที่ คิ ด สร้ า ง ครอบครัวใหม่ปัจจัยอาจเป็นเรื่องโรงเรียนของลูก เดินทาง ไปบ้านพ่อแม่หรือสถานที่ทางานได้ง่าย เป็นต้น เมื่อเราตั้ง โจทย์ได้แล้วเราต้องหาข้อมูลผ่าน internet หนังสือ home buyer guides เพื่อกรองโครงการที่น่าจะเข้าข่ายแล้วจึงหา เวลาไป survey โครงการ สิ่ ง ที่ เ ราต้ อ งดู เ วลาไป survey โครงการ สิ่ ง แรก น่ า จะเป็ น ความน่ า เชื่ อ ถื อ ของโครงการ (Land&house แ ส น ศิ ริ Quality House , Perfect property ค ง เ ป็ น แบรนด์ในใจของใครหลายๆคน ซึ่งตอนเลือกหาโครงการเรา อาจเข้าเวบเหล่านี้เพื่อดูว่ามีโครงการในทาเลที่เราต้องการ หรือไม่ก็ได้) โครงการเล็กอาจต้องหาข้อมูลว่าประสบการณ์ จากโครงการเก่ า ๆเป็ น อย่ า งไรบ้า งบ้ านเดี่ย ว ทาวน์ โ ฮม คอนโด แต่ละแบบก็มีข้อดีข้อเสียด้านราคา ทาเล แต่ต่างกัน วารสารทันตภูธร
66
อย่างผมต้องการซื้อให้พ่อแม่จึงเลือกบ้านชั้นเดียว ที่มีเล่นระดับ เพราะอนาคตหากต้องสร้างทางลาดในบ้านก็ สามารถทาได้โดยไม่ต้องใช้งบประมาณสูง หรือรบกวนการ อยู่อาศัย (หากใครมีผู้สูงอายุที่พักในบ้านด้วยควรพิจารณา ถึงบ้านที่มีห้องนอนชั้นล่าง หรือสามารถต่อเติมห้องนอนชั้น ล่างได้ในอนาคต) walk in closet เป็นสิ่งที่โครงการมัก เอามาข้อจูงใจ หรือบ้างคนอาจเลือกเอาห้องนอนเล็กมาทา เป็นห้องเก็บเสื้อผ้า หากเราพอใจตัวโครงการ สิ่งที่ต้องพิจารณาต่อมา คือพื้นที่สร้างโครงการนั้นถมที่ดินมานานแค่ไหน เนื่อ งจาก โครงการใหม่ๆมักเป็นบ่อปลา บ่อน้ามาก่อน ซึ่งจะทาให้ ต้องพิจ ารณาถึงเรื่ องดิ นรอบบ้าน หรือ ที่จ อดรถทรุ ด ใน อนาคต (ส าหรั บ ตั ว บ้ า นสร้า งอยู่ บ นคาน เสาเข็ ม ความ แข็งแรงขึ้นกับมาตรฐานการตอกเสาเข็มของโครงการ) ก่ อ นออกจากโครงการอย่ า ลื ม ที่ จ ะวนรถรอบๆ โครงการเพื่อดูพื้ นที่ส่ ว นกลางของโครงการ และวนรถดู รอบๆโครงการ (หากช่วงที่ไปสารวจโครงการเป็นหน้าีน ยิ่งเป็นวันที่ีนตกหนักยิ่งดี เราจะได้ดูเรื่องน้ารั่วจากเพดาน รวมถึ ง บริ เ วณที่ น้ าขั ง รอบโครงการ ) หลั ง จากที่ เ ราไป survey มาแล้วถึงเวลาที่ต้องรวบรวมข้อมูลแล้วเอามานั่ง คุยกันในครอบครัว ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
หลั ง จากที่ เ ราได้ บ้ า นแล้ ว ขั้ น ตอนต่ อ มาคื อ การ วางแผนการเงิน (ส่วนนี้ใครที่มีเงินก้อนซื้อบ้านข้ามได้เลย ครับ) สาหรับบ้านที่กาลังสร้าง เราจะมีเวลาในการหาข้อมูล ธนาคาร (ระหว่างนี้เราก็ผ่อนดาวน์ไป) แต่ถ้าเราเลือกบ้าน สร้างเสร็จ หลังจากที่จองก็จะมีเวลาก่อนโอนไม่นาน หาก จะประหยั ด เวลาในการหาข้ อ มู ล ธนาคาร งาน money expo จะทาให้ เราได้ข้อมูล จากหลายๆธนาคาร (หลายๆ ธนาคาร โดยเฉพาะธนาคารเล็กๆอย่าง UOB ธนชาติ เรา อาจสามารถขออัตราดอกเบี้ยเฉพาะเคสของเราได้ โดยเอา ดอกเบี้ยที่เราคิดว่าต่ากว่าไปเป็นคู่เทียบ) เราอาจพิ จ ารณาความคุ้ ม ค่ า อั ต ราดอกเบี้ ย โดย โหลดไฟล์ excel คานวณดอกเบี้ย มาเพื่อใส่ข้อมูลเฉพาะ ของเราลงไป (ข้อมูลค่าเฉลี่ยอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารให้ส่วน ใหญ่คานวณจากเงิน กู้ 1 ล้าน ระยะเวลา 20 ปี ซึ่งอาจไม่ ตรงกั บ ความต้ อ งการกู้ ข องเรา) การพิ จ ารณาดอกเบี้ ย พิจารณาในช่วง 3 ปี (หลังจาก 3 ปี เราสามารถ refinance ได้)อัตราดอกเบี้ยของทันตแพทย์หลายๆธนาคารจะมีอัตรา ดอกเบี้ยพิเศษสาหรับวิชาชีพพิเศษ ข้อพิจารณาต่อมาคือ สูตรอัตราดอกเบี้ย จะมีประมาณ 3 แบบหลักๆ แบบแรก ดอกเบี้ยปีแรกต่า แล้วสูงในช่วงสองปีหลัง แบบนี้จะเหมาะ สาหรับคนที่วางแผนจะโปะบ้านในช่วงปีแรก แบบที่สอง อัตราดอกเบี้ยคงที่แบบเฉลี่ย เช่น ร้อยละ 4 คงที่ 3ปี แบบ วารสารทันตภูธร
67
นี้จะเหมาะกับการผ่อนไปเรื่อยๆ (ไม่มีเงินก้อนโปะ) แบบ สุ ด ท้ า ย ธนาคารจะเรี ย กว่ า อั ต ราดอกเบี้ ย ลอยตั ว เช่ น MRR – 2.125% คงที่ 3 ปี การเลือกลักษณะแบบนี้คล้ าย กับแบบที่ 2 คือ ผ่อนไปเรื่อยๆ แต่อาจจะดีกว่าแบบที่สอง หากประเมินแล้วว่าทิศทางดอกเบี้ยจะลดลง ซึ่งจะทาให้ อัตราดอกเบี้ยเราลดลงเพราะดอกเบี้ยเราผูกกับ MLR หรือ MRR ในทางตรงกั น ข้ า มหากทิ ศ ทางดอกเบี้ ย มี แ นวโน้ ม สูงขึ้นทางเลือกนี้อาจจะเสียเปรียบแบบที่สอง อย่างไรก็ตามค่าดอกเบี้ย อาจใช่ส่วนที่เราพิจารณา ทั้งหมด ในช่วงการติดต่อ service การดูแลลูกค้า หรือใคร ที่มีญาติทางานี่ายสินเชื่อ ก็เป็ นอีกส่วนที่เราต้องพิจารณา ด้วย นอกจากธนาคารการกู้เงินจากสหกรณ์ออมทรั พย์ ก็ เป็ น อี ก ทางเลื อ กหนึ่ ง เพราะเราจะได้ เ งิ น ปั น ผลกลั บ มา ในช่ ว งปลายปี และสหกรณ์ มั ก จะอนุ มั ติ เ งิ น กู้ ง่ า ยกว่ า (แต่วงเงินน้อยกว่า) สุดท้ายเมื่อธนาคารอนุมัติให้เราเป็นหนี้แล้ว ก่อน จะโอนบ้านขั้นตอนสาคัญอีกส่วนหนึ่งคือ การตรวจรับบ้าน ถ้าเราจะดาเนินการเองก็ต้องหาข้อมูล เพื่อ จะได้ส ามารถ ตรวจกระเบื้องทุกแผ่น ห้องน้า ชักโครก บ่อบาบั ด ระบบ ไฟฟ้า ฯลฯ แต่ถ้าเราไม่อยากยุ่งยาก ปัจจุบันมีวิศวกรที่รับ ตรวจบ้ า นและจะติ ด ตามผู้ รั บ เหมาให้ แ ก้ ง านจนเสร็ จ เรี ย บร้ อ ย ถึ ง จุ ด นี้ เ ราก็ จ ะมี บ้ า นหลั ง แรกเป็ น ของเรา หลังจากผ่านความเหนื่อย ยุ่งยาก มามากมาย แต่สิ่งที่ได้คือทุกครั้งที่เราก้ าวเท้าเข้าไปอยู่ในบ้าน ที่เราดาเนินการเองทุกขั้นตอนมันจะฟินนนนนนนนนนน แบบบอกไม่ถูก..... .... มาเป็นหนี้กันเถอะ
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
เพาะรัก ปลูกศรัทธา Paramitta Plukponyarm
เมื่อใดที่ท้อ...มองหากาลังใจ...แต่อย่าถอดใจ เมื่อใดที่เหนื่อย...แค่เพียงหลับตา...มองหาที่ว่างของตนเอง...แต่อย่าวางเฉย ชีวิตมีวิถีทางของตัวเอง...แต่ผู้ใช้ชีวิต...มีทางเลือกเสมอ คนที่ไม่มีโอกาสเลือก..ไม่มี แต่คนที่ไม่เลือกโอกาส...มี และทางเลือกนั้นทาดีที่สุดแล้วหรือยัง...ก่อนที่โอกาสเลือกครั้งต่อไปจะมาถึง เพราะคิดว่าไม่มีใจจะทา ทาแล้วไม่มีความสุข ทาให้งานอื่นๆ ก็พลอยสะดุดไปด้วย รวมทั้งงานที่เรารัก ทาแล้วมีความสุขก็สะดุดไปด้วย สุดท้ายแม้แต่งานที่เรารัก...ก็จะทาอย่างไม่มีความสุข เพราะเราสู้ใจตัวเองไม่ได้ต่างหาก...สู้กับความอ่อนไหว สู้กับความไม่แน่นอนของสิ่งรอบๆ ตัว อย่างไร้ทิศทาง มีใครทางานอะไรบ้าง ที่ไม่ลาบากใจ ความสบายใจ หรือไม่สบายใจ..อยู่ที่เราทาใจเราให้สบายได้ไหม สภาวะแวดล้อม ผู้คน เป็นเพียงส่วงประกอบของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตเท่านั้น มันไม่ได้มาลงที่เราคนเดียว แต่หลายคน หลายเรื่องก็ต้องมีผู้ได้รับการกระทบ และผลด้วยกันทั้งสิ้น เพียงแต่ตาแหน่ง ความรับผิดชอบต่างกัน ทาให้เรื่องที่ถูกกระทบต่างกัน...แต่ถ้าหากเราไปถามดู สิ่งที่เขาถูกกระทบ ก็ยิ่งใหญ่ไม่แพ้เราเช่นกันนะ ทุกวันๆ มีคนถูกกระทบ เป็นเหยื่อ เป็นหมาก ในเกมชีวิต ไม่สถานการณ์ใดก็สถานการณ์หนึ่งเสมอ หากเรามองว่าเราคนเดียว เราก็จะยิ่งเพิ่มความท้อแท้ ถดถอย และอ่อนกาลังกาย กาลังใจลงไปทุกวันๆ วารสารทันตภูธร
68
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
เพราะความท้อแท้..ความรู้สึกแย่ๆ นั้น ไม่ใช่ผู้อื่นเป็นผู้สร้าง แต่เราสร้างให้เกิดขึ้นใจจิตใจเราเองต่างหาก ไม่มีใครทาร้ายเราได้...นอกจากเราทาร้ายตัวเอง โดยการเก็บสิง่ ไม่ดี ไม่สวยงาม เรื่องราวต่างๆ ที่ไม่ถูกใจ มาใส่ไว้ในใจ และนั่นเป็นการทาร้ายตัวเอง...และทาร้ายผู้อื่นไปด้วยโดยไม่รู้ตัว เพราะขณะที่เราแย่...เราจะส่งผ่านความแย่ๆ ของเราออกไปสู่ผุ้อื่นด้วย หาก..ตอนนั้น..มีคนเข้ามาหาเรา..เราจะมอบสิ่งดีๆ เรื่องดีๆ คาพูดดีๆ ให้เขาไหม สอบได้บ้าง สอบตกบ้าง เป็นเรื่องธรรมดาของห้องเรียนใบใหญ่นี้ การสอบตกไม่ได้หมายความว่าเราไม่เก่ง หรือ เราแพ้นี่ แต่มันจะเป็นประสบการณ์ให้เราได้เรียนรู้..และพยายามสอบให้ผ่านในครั้งต่อไป ไม่ใช่หรือ เราไม่เชื่อมั่นในตัวเอง เราไม่มีศรัทธาในสิ่งที่ทา เราไม่มีความหวังในสิ่งที่เห็นอยู่ เราไม่มีกาลังใจ เราก็จะผ่านมันไปอย่างยากลาบากนะ คนเรา..บางครั้ง ด้วยทางเลือกอันไม่มากนัก ไม่มีโอกาสได้ทาในสิ่งที่ตัวเองรัก หรือ รักที่จะทาได้ แต่เรามีทางเลือกอีกทางเสมอคือ...ทาให้ดีที่สุด...และรักในสิ่งที่ทา เพราะเราไม่มีความสุขกับการทาสิ่งที่ทา...เราอาจสนุกกับสิ่งที่ทา แต่ไม่มีความสุขกับสิ่งที่ทา ไม่ต้องเป็นคนอื่น เป็นเรา..อย่างที่เราเป็นนี่เอง ไม่ได้ให้เราเปลี่ยนไปแต่งตัวเป็นคนอื่น แต่ให้เรารู้จักตัวเองมากขึ้นว่าเรา..เป็นเราอย่างนี้...ทาอะไรได้บ้าง และ...เราเป็นเราอย่างนี้ละ...จะพัฒนาไปอย่างไรได้บ้างต่างหาก การเปลี่ยนแปลง...ไม่ใช่เกิดขึ้นภายนอก.. เมื่อข้างในเปลี่ยนแล้ว...ข้างในจะออกมาปรุงแต่งข้างนอกเองโดยที่เราไม่รู้สึกว่ามันเปลี่ยนไปด้วยซ้า แต่คนรอบ ๆ ตัวเรานั่นเอง..จะเป็นผู้เห็น หนทางในการใช้ชีวิต ให้ได้มาในสิ่งที่เราต้องการ ไม่จาเป็นต้องใช้อารมณ์แย่ ๆ พฤติกรรม ที่ไม่น่ารัก เราก็สามารถได้มาในสิ่งที่เราต้องการได้ การใช้อานาจ ใช้อารมณ์ ใช้พฤติกรรม...เราจะได้แค่งาน..หรือสิ่งที่เราต้องการเท่านั้น แต่การใช้เมตตา ใช้ความอดทน ความนุ่มนวล เอาใจเขามาใส่ใจเราด้วย เราจะได้ทั้งงาน...ผลของงาน...และใจของคน... วารสารทันตภูธร
69
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ค่ายน้องใหม่ ทพญ.พรพิมล วิทยวีรศักดิ์ (พี่ชูชู) รพ.ป่าบอน จ.พัทลุง
น้ อ ง ๆ ห ล า ย ค น เ ค ย ส ง สั ย ไ ห ม ค ะ ว่ า ค่ า ย ทันตแพทย์ น้องใหม่ที่จัดขึน้ โดยชมรมทันตสาธารณสุข ภูธรคืออะไร จัดเพื่ออะไร และกลุ่มที่สามารถเข้ าร่ วมได้ คือใครบ้ าง ฤกษ์ ดีที่วารสารทันตภูธ ร เปิ ดโอกาสให้ ไ ด้ ชี ้แจงแถลงไข พีเลยขอถือโอกาสนี ้เล่าแลกเปลี่ยนให้ น้องๆ ฟั งนะคะ ค่ายทันตแพทย์น้องใหม่ จากชื่อก็บอกอยู่แล้ วว่า น้ องๆที่เข้ ามาร่ วมต้ องเป็ นทันตแพทย์สดใหม่ซิงๆ โดยที่ เราถือว่าเป็ นรุ่นที่ทางานมาแล้ วไม่เกินสองปี จะได้ โอกาส สมัครมาเข้ าร่ วมในค่าย แล้ วทาไมถึงเรี ยกว่าจัดค่าย ก็ คล้ ายๆกับการอยู่ค่ายพักแรมสมัยเรี ยนลูกเสือเนตรนารี วารสารทันตภูธร
70
แต่ไม่ถึงขนาดนัน้ นะค๊ า หมายถึงว่าเป็ นการทากิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์ ผ่านการเรี ยนรู้ ในวิธีและรู ปแบบที่แตกต่าง ออกไปจากการนั่งอบรมเลคเชอร์ ธรรมดา เพราะใช้ การ ปฏิบตั ิจริ งผ่านการถ่ายทอดเรื่ องราวจากพี่ๆทันตแพทย์ ที่มาจากหลากหลายพื ้นที่ (ครบทุกภาคของประเทศไทย) และบทบาทที่ แ ตกต่า งกัน เช่น ท างานในโรงพยาบาล ชุม ชน โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ สานักงาน สาธารณสุขจังหวัด รวมถึงตาแหน่งการงานที่หลากหลาย มากด้ วยประสบการณ์ไม่วา่ จะเป็ น หัวหน้ าฝ่ าย รักษาการ ผู้อานวยการโรงพยาบาล หัวหน้ างานบริ หาร หรื องาน คุณภาพต่างๆ ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ซึ่งพี่เชื่อว่าเมื่อน้ องๆผ่านการทางานมาสักระยะนึง คงอยากจะแลกเปลี่ยน เปิ ดมุมมองที่แตกต่างออกไป และรับฟั ง คาแนะนาจากหลากหลายบุคคลเพื่อช่วยในการตัดสินใจของตนเอง ไม่ว่าจะเป็ นจากเพื่อนที่เพิ่งรู้ จกั กันในค่าย (ที่ทางาน ต่างกัน เกิดการเข้ าอกเข้ าใจและร่วมรับฟั งแลกเปลี่ยน) พี่ๆที่มีประสบการณ์การทางานมาซักระยะที่สตรองกว่า มีจดุ ยืนและ การตัดสินใจที่เด็ดเดี่ยวกว่าในสถานการณ์คล้ ายๆกัน ทาให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ร่วมกันจากการพูดคุย รับฟั ง แสดง ความคิดเห็นร่ วมกัน ไม่ว่าจะเป็ นด้ านประสบการณ์ การทางานส่งเสริ มทันตสุขภาพในชุมชน การเพิ่มพลังชีวิต ทักษะการ วารสารทันตภูธร
71
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ทางานเป็ นทีมการพัฒนาทันตบุคลากรใหม่ให้ มีความรู้ ความสามารถมีจิตสานึกในการปฏิบตั ิงานเพื่อราชการมีสมรรถนะ และจรรยาบรรณที่เหมาะสมในการปฏิบตั หิ น้ าที่สร้ างสัมพันธภาพและความสามัคคีในหมูว่ ิชาชีพ
ในการจัดค่ายทันตแพทย์น้องใหม่จะตอบโจทย์ในส่วนนี ้คือการสร้ างสัมพันธ์อนั ดีระหว่างเพื่อนๆและรุ่นพี่ๆ รวมถึง การรู้จกั ตนเอง การแสวงหาสิ่งใหม่ๆที่ไม่เคยลอง เกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ และการเป็ นผู้ฟัง ผู้พดู ผู้ตามและเป็ นผู้นาได้ ดี น้ องๆจะได้ พฒ ั นาศักยภาพตนเอง ในการเปิ ดมุมมอง ทักษะการดาเนินงานร่วมกัน ซึง่ ต้ องอาศัยการมีแนวความคิดทัศนคติ และทักษะในสหวิทยาการได้ แก่ทักษะการทางานเป็ นทีม , การสื่อสาร, การประสานงาน, การเพิ่มพลังชีวิตในการทางาน ตลอดทังการปรั ้ บตัวให้ ทางานร่วมกับบุคลากรอื่น ๆ อย่างมีความสุข วารสารทันตภูธร
72
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
หลังจากที่ได้ ทราบวัตถุประสงค์และกลุม่ เป้าหมายของค่ายทันตแพทย์น้องใหม่ไปแล้ ว มีน้องๆคนไหนเริ่ มสนใจไหม เอ่ย ถ้ าอยากลิม้ ลองสัมผัสประสบการณ์ ใหม่ๆ และเปิ ดโอกาสตัวเองให้ สร้ างมนุษยสัมพันธ์ กับเพื่ อนๆ พี่ๆร่ วมวิชาชี พ ร่วมสถาบัน พี่ขอเชิญชวนนะคะ ค่ ายทันตแพทย์ น้องใหม่ สาหรับปี นีจ้ ะจัดในวันอังคารที่ 23 กุมภาพันธ์ ถึงวันศุกร์ ท่ ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 สาหรับสถานที่ พี่ขออุบไว้ ก่อนนะคะแต่รับรองได้ ว่าบรรยากาศสร้ างความประทับใจในการเข้ าร่วมแน่ๆ และนี่เป็ น เพียงบางส่วนของผลตอบรับของน้ องๆที่ได้ มีประสบการณ์เข้ าร่วมการจัดค่ายทันตแพทย์น้องใหม่ในครัง้ ที่ผา่ นมาๆค่ะ ”รู้สกึ ดี โชคดีที่ได้ เข้ าร่วมค่ายครัง้ นี ้” “มันคือพรหมลิขิตที่ทาให้ เราได้ ร้ ูจกั กัน ขอบคุณที่ทาให้ มีโอกาสพูดและทกคนที่นงั่ ฟั งอย่างตังใจ” ้ “ได้ เพิ่มพลังบวกกลับไปในการทางาน” “ได้ เห็นมุมมองความคิดของเพื่อนๆที่มองแบบผู้ใหญ่ การใช้ ชีวิต การได้ เพื่อนใหม่ มิตรภาพที่ดี” “ขอบคุณพี่ๆที่มาเติมพลังให้ น้อง สร้ างทัศนคติที่ดีให้ กบั น้ องในการทางานและการใช้ ชีวิตในโรงพยาบาลชุมชน” แล้ วเจอกันนะคะ .......
วารสารทันตภูธร
73
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
CHANGE
คุณรู้หรือไม่ว่ารูปสามเหลี่ยมมีความหมายอะไรซ่อนอยู่ แล้วสามเหลี่ยมเกี่ยวอะไรกับพวกเรา สามเหลี่ยมคือเกมนึงในค่ายทันตแพทย์น้องใหม่ฯ ที่จัดโดยพี่ๆ ทันตภูธร กติกาก็คือ น้องๆ และ พี่ๆ ยืนเล่นกันในลานกว้างๆ จะไปยืนตรงไหนก็ได้กระจายๆ กัน แล้วให้แต่ละคนเลือกคนมาสองคนใน นั้น ที่จะเป็นใครก็ได้ ยืนอยู่ใกล้หรือไกลเราก็ได้โดยไม่ต้องบอกให้คนอื่นรู้ พอเริ่มจับเวลา ขอให้เราขยับ ตัวเองไปทามุมกับคนที่เราเลือกสองคนนั้นให้กลายเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่า หลังคาว่า “เริ่มได้!!!” มวลผู้คนในห้องประชุมวังรีรีสอร์ทก็เคลื่อนไหวทันที เพราะทุกคนจะต้อง พยายามขยับไปทาให้ตัวเองอยู่ห่างจากคนที่เราเลือกเป็นระยะเท่าๆ กัน รอบแรก เรียกได้ว่า โกลาหล มาก ความรู้สึกเราคือ เฮ้ย คนที่เราเลือกเค้าทาไมเดินเร็วจัง โอ๊ย อยู่นิ่งๆ ได้แล้วสิคะ เราอุตส่าห์ทาตัว เป็นสามเหลี่ยมด้านเท่าได้แล้วนะ ..เหย คลาดสายตาแป๊บเดียวหายไปไหนละอ่ ะ ต้องรีบเดิน บางทีก็ เกือบวิ่ง กะว่ายังไงต้องทาเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่าให้ไ ด้ ..เดินวน เดินชน เดินพ้นกันไป พอครบเวลา พี่ก็ให้หยุด คุณได้อะไรหลังจากเกมสามเหลี่ยมบ้าง ...นี่คือสิ่งที่เราได้ หลังจากเช็คว่าใครสามารถทาตัวเองเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่าได้บ้างแล้วพี่ก็ปล่อยประโยคเด็ดมา ว่า รู้มั้ยเกมนี้มีความหมายสอนให้น้องรู้ว่ า ทุกฝีก้าวของน้องมีคนจับตามองอยู่ เราเป็นทันตแพทย์ จบใหม่ ทุกการกระทาที่น้องอาจไม่คิดว่ามีคนใส่ใจ จริงๆ แล้วมีเสมอ... วารสารทันตภูธร
74
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
เหย คิดได้ไงอะ ย้อนดูตัวเอง ก็จริงด้วยนะ ตอนอยู่โรงพยาบาล เราแต่งตัวยังไง เรามาเลทแค่ ไหน เราไปกินข้าวกับใคร เราไม่เคยคิดเลยว่ามี spotlight ที่เรามองไม่เห็น follow เราอยู่ ...การตามใจ ตัวเองมากเกินควร บางทีก็ไม่ควรรึเปล่านะ รอบที่สองกับสาม เราไม่ได้เล่นเกมเพื่อเอาชนะ เราช้าลง ไม่ได้รีบเดินเหมือนรอบแรก พอเดิน ช้าลง ความโกลาหลที่เคยรู้สึกก็ดูไม่ได้วุ่นวายเท่าเมื่อกี้ ...มันก็เหมือนการใช้ชีวิตล่ะมั้ง คนเราชอบบอก ว่าชีวิตนั้นรีบร้อน ต้องเร่ง ต้องแข่ง ต้องทาทุกอย่างเพื่อไปให้ถึงความสาเร็จ แต่พอรอบหลัง ขณะที่ เวลายังเดินต่อไป เราเริ่มนึกสนุกอยากรู้อยากเห็นว่ามีใครมองมาทางเราบ้าง เราละสายตาจากคนที่ เราเลื อ กและมองไปรอบๆ ห้ อ งแทน ...ถ้ า มั ว แต่ เ ดิ น มุ่ ง เข้ า หาเป้ า หมาย ก็ ค งมองไม่ เ ห็ น ความ สวยงามระหว่างทาง... ถ้าเรามัวแต่มุ่งมั่นมองแต่คนสองคน เราก็คงไม่เห็นว่ามีคนอื่นๆ อีกตั้งกี่คนที่ ยังมองเราอยู่ (พอแน่ใจว่าคนนี้แน่ๆ เลยแกล้งเพื่อนด้วยการวิ่งไปอีกฟาก ฮ่าๆ :P) หรือคงไม่ได้สังเกต ด้วยซ้าไปว่าคนที่เราเลือกเค้าก็เลือกเราพอดี ...ลองกดปุ่ม pause ชีวิตซักนิด อาจจะเห็นว่าจริงๆ แล้ว ชีวิตมีความน่ารักทุกจังหวะที่ก้าวเดินแค่ไหน... รวมถึงตระหนักได้ด้วยว่า การเคลื่อนไหวของเรามีผล ต่อคนอื่นโดยที่เราไม่รู้ตัว เราอาจคิดไม่ถึงเลยว่าถ้าเราเปลี่ยนใจทางซ้ายไปทางขวา เพื่อนที่เลือกเรา จะต้องเปลี่ยนทิศทางด้วย พี่บอกว่าเปรียบเสมือนเป็น Butterfly Effect (ชื่อหนังปี 2004 แสดงนาโดย Ashton Kutcher พลอตเรื่องสร้างจากทฤษฎีที่ว่า ความคลาดเคลื่อนเพียงเล็กน้อยก็สามารถทาให้เกิด การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งมหาศาล เช่ น แรงแผ่ ว เบาจากการกระพื อ ปี ก ผี เ สื้ อ ที่ บ ราซิ ล ก็ ส ามารถจะ ก่อให้เกิดพายุทอร์นาโดในอเมริกาได้) การตัดสินใจและการกระทาของเราอาจจะมีผลต่อคนบางคนก็ได้ ใครจะรู้... ถ้ า เอามาเปรี ย บกั บ การท างาน บางวั น ที่ เ ราเหนื่ อ ยกั บ การท าฟั น นอยด์ ค นไข้ เ รื่ อ งเยอะ เราอาจจะไม่ได้พูดออกมา แต่ แค่วาง explorer กะ mouth mirror กระแทกลงไปในถาด (บวกกับทา เสียงหงุดหงิด จุ๊ปากเล็กๆ) หรือถ้าเหวี่ยงกว่านั้นอาจจะพูดด้วยน้าเสียงไม่สบอารมณ์กับผู้ช่วย (ทั้งๆ ที่ เราไม่ได้โกรธผู้ช่วยเลย) ...เคยคิดถึงใจผู้ช่วยบ้างไหมว่าเค้าจะรู้สึกยังไง ...เราเคยคิดบ้างไหมว่าเร าเอง เป็นมุมที่ประกอบเป็นสามเหลี่ยมของคนรอบๆ ตัวคนไหนบ้าง ถ้าถามว่าได้อะไรจากเกมสามเหลี่ยม แต่ละคนอาจมีคาตอบที่ไม่เหมือนกัน เราชอบความคิดของ เพื่อนคนนึงที่บอกว่า ในเกมรอบนึงเค้าพบว่าตัวเองเดินชนกับเพื่อนผู้หญิงอีกคนบ่อยมากๆ ปรากฎว่า ที่แท้แล้วเค้าสองคนบังเอิญเลือกคนสองคนเดียวกัน เพื่อนคนนี้ก็เลยตัดสินใจ เดินไปอยู่ฝั่ งตรงข้ามกับ เพื่อนผู้หญิงคนนี้ซึ่งเป็นจุดที่เค้าสร้างสามเหลี่ยมด้านเท่าได้เหมือนกัน แต่เป็นสามเหลี่ยมด้านเท่าที่เอา ฐานวางชนกัน โอ้โห
วารสารทันตภูธร
75
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
น่าทึ่งอ่ะ...นี่เองที่เค้าว่า คนเรามีวิธีมองปัญหาและจัดการกับปัญหาต่างกัน ไว้คราวหน้าเรา จะลองมองมุมกลับ ปรับมุมมองดูบ้าง การแก้ปัญหาน่าจะสนุกไม่น้อย ชอบค่ายนี้มาก แค่เกมๆ เดียวก็คุยกันต่อยอดออกมาได้หลากหลายมุมมอง กลับมาคุยเรื่องสามเหลี่ยม พอพี่พาเล่นเกมนี้ เราก็บังเอิญคิดไปถึงเรื่องรูปสามเหลี่ยมในแง่ สัญลักษณ์ เหมือนเคยอ่านเจอที่ไหนซักที่ว่ารูปสามเหลี่ยม หรือสัญลักษณ์ Delta (∆) ในภาษากรีก มี ∆v
ความหมายสื่ อ ว่ า “เปลี่ ย นแปลง” ในทางคณิ ต ศาสตร์ เช่ น ถ้ า เราเขี ย นว่ า 𝑎 = ก็ จ ะแปลว่ า ∆t ความเร่ง (Acceleration) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว (v) ของวัตถุหารด้วยช่วงเวลา (t) หนึ่ง อ่า.. อย่าพึ่งตกใจ ไม่ได้จะเขียนเกี่ยวกับกรีกหรือคณิตศาสตร์แต่อย่างใดค่ะ เราแค่จะบอกว่าพอมาค่ายนี้เราเกิดความเปลี่ยนแปลง เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เราอาจต้องเสีย อะไรไปบางอย่าง เช่น นอนน้อยลงนิดนึงเพราะจะตื่นเช้าไปทางานเร็วขึ้น แต่งตัวตามใจตัวเองน้อยลง หรือลดอีโก้ของตัวเองที่ว่า ฉันก็ถือว่าเป็นหมอนะ แต่ก็จะได้อะไรกลับมาหลายอย่าง เช่น กล้าจะเริ่ม ทัก เริ่มคุยกับคนในโรงพยาบาลมากขึ้น เพราะพี่สอนว่าก็เพราะเราเป็นหมอนี่แหละจึงควรไปทักเค้า ก่อน พี่บอกว่า“เป็นหมอไหว้ใครเราจะดีขึ้น” เราเห็นอกเห็นใจเพื่อนร่วมงานมากขึ้น ใจเย็นลง เวลา มีอะไรให้เลือกระหว่างสิ่งที่ถูกต้องกับสิ่งที่ง่ายดาย เราก็แค่ถามตัวเองว่า “เราทางานคุ้มเงินราชการ หรือเปล่า” แล้วเราก็จะเลือกทาที่ถูกต้องเอง และ เราแค่จะบอกว่าเกมสามเหลี่ยมสร้างจุดเปลี่ยนความคิดให้ทันตแพทย์น้ องใหม่อย่างเรา และค่ายนี้เป็นสามเหลี่ยมในสมการชีวิตเรา คุณรู้หรือไม่ว่ารูปสามเหลี่ยมมีความหมายอะไรซ่อนอยู่ ......เรารู้แล้ว . ปล 1. ลองคิดเล่นๆ ถ้าเอามาเขียนเป็นสมการก็อาจเขียนได้ว่า ค่าย = ∆รุ่นน้อง + ∆รุ่นพี่ เพราะค่ายนี้ไม่ได้มีใครเรียนรู้เพียงฝ่ายเดียว ค าสอนจากพี่ๆ เป็นแรงบันดาลใจให้น้องๆ ใน ขณะเดียวกันบางความคิดจากรุ่นน้องก็กระพือคลื่นเล็กๆ ในใจรุ่นพี่ (ใช่มั้ยเอ่ย^^) ดังนั้นทั้งรุ่นน้อง และรุ่นพี่เราน่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปพร้อมๆ กัน ปล 2. ขอบคุณพี่บิ๊ก และพี่แบ็งค์ที่ชวนเอ้มาค่ายนะคะ ประทับใจทุกอย่าง ปล 3. ถึง…คนที่ใจตรงกัน… moment นั้นน่ารัก :P ทพญ.ทิตยา ไชยบุญญารักษ์ (โอ้เอ้) ทันตแพทย์ปฏิบัติการ โรงพยาบาลเถิน จังหวัดลาปาง วารสารทันตภูธร
76
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ประธานขอคุย ทพ.กิตติคุณ บัวบาน ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร
สวัสดีครับ พี่น้องชาวทันตภูธร มารายงานตัวท้ายเล่ มตาม ระเบียบครับ ในวาระใกล้ถึงวันรับปี ใหม่ พ.ศ.2559 ในนาม ของคณะทางานของชมรมทันตสาธารณสุขภูธรก็ขออวยพร ให้คุณพระรัตนตรัย และสิง่ ศักดิ ์สิทธิ ์ทีท่ ่านเคารพนับถือโปรด จงอ านวยพรให้เ พื่อ นฝูงพี่น้อ งทัง้ หลายจงมีค วามสุ ขความ สมหวัง มีพลังในการสรรสร้างสิง่ ดีๆ ให้สงั คมและตนเองอย่าง ไม่หยุดยัง้ สิง่ ไม่ดไี ม่เป็ นมงคลที่รบกวนหัวใจของพี่น้องในปี 2558 ที่ ผ่ า นไปก็ จ งมลายไหลผ่ า นไปพร้ อ มกั บ วัน เวลา เหล่ า นัน้ เหลือ ไว้เ พีย งความทรงจ าและประสบการณ์ ดี ๆ ทีท่ ่านเปิ ดใจใช้ประโยชน์ได้ตลอดไป คิดๆดูแล้ว วันเวลานี่มนั ผ่านไปรวดเร็วเหมือนทีห่ ลายคนว่าไว้จริงๆครับ เชื่อว่าหลายคนยังจาโมเม้นท์การเคาท์ ดาวน์ของปี ทแ่ี ล้วได้ตดิ ตา สาหรับผม..กลิน่ ปิ้ งย่างของอาหาร(และกับแกล้ม) ของงานปาร์ต้สี ่งท้ายปี เก่าทีบ่ า้ นเกิดยังติด จมูกอยู่เลยครับ มีคนทีผ่ มนับถือท่านนึงบอกผมไว้ว่านี่แหละ จะเป็ นช่วงทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดทีเ่ ราจะได้ทบทวนว่าในรอบปี ท่ี กาลังจะผ่านไปนัน้ เราได้ทาสิง่ ดีดอี ะไรไว้บ้าง ทัง้ กับคนใกล้ตวั คนไม่รจู้ กั และสังคมใบนี้ ท่านผู้อ่านลองหลับตาแล้ว ทบทวนดูกไ็ ด้นะครับ บางคนอาจพบว่าได้สร้างวีรกรรม(ดี)ไว้มากมายก็เป็ นได้ แต่ไม่ว่าวันเวลาจะมาถึงช่วงใดๆ ชีวติ ของชาวสาธารณสุขภูธรก็ตอ้ งดาเนินกันต่อไป ไม่ว่าจะสุขจะทุกข์ วันนี้กจ็ ะ ผ่านไป วันพรุ่งนี้กจ็ ะมาถึงอยู่ดคี รับพีน่ ้อง เคยมีเพื่อนผมคนหนึ่งตัง้ คาถามว่า ค่าคืนของวันส่งท้ายปี เก่านี่มนั พิเศษกว่า คืนอื่นๆยังไง มันถึงได้รบั อภิสทิ ธิ ์ให้เป็ นคืนพิเศษเช่นนี้ ..คิดตามไป ก็จริงของมันครับ ถ้าจะพูดแบบอิงหลักของธรรมชาติ ก็ต้อ งบอกว่า สิ่งเหล่ านี้มนุ ษ ย์ส มมุติข้นึ ทัง้ นัน้ (ใกล้บรรลุ ล ะมัง้ ผม อิอิ) เพราะฉะนัน้ หากใครกาลังอยากจะมองหา ประโยชน์ของวันส่งท้ายปี เก่านี่ล่ะก็ ผมแนะนาว่าขอให้มนั เป็ นสัญลักษณ์ของการเริม่ ต้น สิง่ ทีด่ ี เป็ นค่าคืนธรรมดาทีเ่ ตือน ให้เราทบทวนคุณค่าของตนเองอีกคืนก็เพียงพอแล้วครับ
วารสารทันตภูธร
77
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ในช่ ว งนี้ มีกิจ กรรมส าคัญ ส าหรับ ทัน ตแพทย์ ไทยอย่ า งหนึ่ ง ที่ก าลัง ด าเนิ น การกัน อยู่ นั น่ คือ การ เลือกตัง้ กรรมการทันตแพทยสภาชุดใหม่ หรือชื่อเป็ น ทางการคือคณะกรรมการทันตแพทยสภาวาระที่ 8 ซึ่ง จะดารงตาแหน่ งตัง้ แต่ปีพ.ศ.2559 ไปจนถึงปี พ.ศ.2562 ผมจึง อยากเชิญ ชวนทัน ตแพทย์ทุ ก ท่ า นใช้ส ิท ธิข อง ตนเองในการเลื อ กคนดี คนที่ ท่ า นเห็ น ว่ า มี ค วาม เหมาะสมที่จะเป็ นตัวแทนของท่าน ไปทาหน้าที่ในสภา วิชาชีพของพวกเรา โดยท่านสามารถรับบัตรเลือกตัง้ ได้ ที่บ้านหรือที่อยู่ท่ที ่านแจ้งให้กบั ทันตแพทยสภาในช่วง ประมาณวันที่14 ธันวาคมนี้เ ป็ นต้นไป เมื่อ ท่านได้รบั บัตรเลือกตัง้ แล้วแนะนาให้พ่นี ้ องหมอฟั นทุกท่านอ่ า น รายละเอียดต่างๆให้เข้าใจ แล้วเลือกคนในใจของท่าน ตามจ านวนไม่ เ กิน ที่ก าหนดไว้ แล้ว รีบ ส่ ง กลับ มาที่ ทันตแพทยสภาโดยทันที อย่ามัวประวิงเวลา เพราะการ ปิ ดรับบัตรนัน้ จะปิ ดเย็นวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559 ตาม เวลาปลายทางที่ป ระทับ ตราของไปรษณี ย์ (อัน นี้ ไ ม่ เหมือนกรณีชงิ โชคนะครับ เพราะอันนัน้ เค้าใช้วนั เวลา ประทับตราต้นทางเป็ นหลัก)
สิ่ง ที่ผ มอยากชวนคิด ก็ค ือ ในการเลือ กที่จ ะมี ประโยชน์นนั ้ นโยบายหรือแนวคิดของผูส้ มัครจะช่วยเรา ตัดสินใจได้ดไี ม่แพ้โปรไฟล์ของผู้สมัครเลยล่ะครับ ควร เลือกผูส้ มัครทีม่ แี นวคิดหรือนโยบายทีส่ อดคล้องหรือไป ในทิศทางเดียวกัน หรือวัยรุ่นเค้าเรียก คอ เดียวกันน่ าน แหละเพ่!! ทัง้ คอเดียวกับเรา และคอเดียวกันกับผูส้ มัคร ด้วยกัน ดังนัน้ จึงมีกระแสเชิญชวนให้เลือกกันเป็ นทีม หรือจะให้เหมาะกว่านัน้ คือเลือกยกทีมไปเลย เนื่องจาก การทางานในระดับของสภานัน้ จาเป็ นต้องมีการผลักดัน นโยบายสาธารณะต่างๆมากมาย หากได้คนทีม่ แี นวคิด สอดคล้องกัน ย่อมมีพลังในการขับเคลื่อนมากกว่าการ ทางานแบบต่างคนต่างคิดอยูห่ ลายขุม ผมก็ได้แต่หวังว่า การเลือ กตัง้ ครัง้ นี้ จ ะมีท ัน ตแพทย์อ อกมาใช้ส ิท ธิกัน มากกว่าที่เคยมีมา รวมถึงสามารถคัดสรรผู้ท่มี คี วามรู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ ง วิ ช า ชี พ ทัน ตแพทย์ใ นบทบาทของทัน ตแพทยสภาได้ อ ย่ า ง แท้จริง เจอกันใหม่ฉบับหน้านะครับ ....สวัสดีปีใหม่ ครับ
ดี ไ ม่ ดี เ กิ ด มัว รอเวลา ท่ า นอาจหมกมุ่ น กั บ ดอกไม้และช็อคโกแลตของหวานใจในวันแห่งความรัก จนเลยเวลา เลือกไม่ทนั ก็เป็ นได้(ฮา) ส่วนของผูล้ งชิงชัย นางงาม เอ้ ย กรรมการทั น ตแพทยสภาในครัง้ นี้ มีด้วยกันถึง 55 คน โดยมาเป็ นทีมทัง้ หมด 3 ทีม (บาง ทีมก็ส่งเต็มโควตา บางทีมก็ส่งไม่เต็ม) กับผูส้ มัครอิสระ อีกจานวนหนึ่ง ซึง่ เชื่อว่าผูอ้ ่านหลายท่านก็น่าจะได้เห็น สื่อประชาสัมพันธ์หาเสียงของหลายๆ ทีมหลายๆ คนไป บ้ า งแล้ ว งานนี้ ก ารจะเลือ กใครเป็ นสิท ธิแ ละความ เห็นชอบโดยสมบูรณ์ของพี่น้องแล้วล่ะครับ คงไม่มใี คร จะมาบังคับขู่เข็ญได้ (เว้นแต่ผสู้ มัครเป็ นสามีหรือภรรยา ...บรือ๋ ส์)
ขอเชิญชวนท่านผู้อ่านทุกท่าน ร่วมกันประเมิน วารสารทันตภูธร ได้ที่ QR code
วารสารทันตภูธร
78
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
ชมรมทันตกรรมสาหรับบุคคลที่มีความต้องการพิเศษแห่งประเทศไทย
Thai Society for Special needs and Oral Health ติดตามทางเวบไซต์ www.ฟฟันเพื่อคนพิเศษ.com หรือทาง www.facebook.com/dentspecial ข้อมูลดีๆเพื่อการดูแลทันตสุขภาพสาหรับคนพิเศษ
วารสารทันตภูธร
79
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
www.facebook.com/เครือข่ายทันตแพทย์โรงพยาบาลชุมชน
เชิญชวนคุยกับ ชมรมทันตสาธารณสุขภูธรทางเฟสบุค https://www.facebook.com/ruraldent-136200866414231/ และ
วารสารทันตภูธร
80
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
จาหน่ายสินค้าในเวบไซต์ www.tuntapootorn.com ผลกาไรที่ได้จากการจาหน่ายสินค้า หลังหักค่าใช้จ่าย นามาเป็นส่วนหนึ่งของ ค่าจัดพิมพ์ จัดส่ง วารสารทันตภูธร สั่งซื้อสินค้าผ่าน ทันตภูธร ONLINE ได้ที่ www.tuntapootorn.com ติดต่อสอบถาม กรุณาส่ง Email มาที่ tuntapootorn@hotmail.com วารสารทันตภูธร
81
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
แปรงเด็ก 3-6 ปี 8.00 บาท
แปรงเด็ก 0-3 ปี 7.50 บาท
แปรงเด็ก 0-3 ปี 7.50 บาท
แปรงเด็ก 3-6 ปี 8.00 บาท
แปรงเด็ก 6-12 ปี 8.00 บาท
แปรงเด็ก 6-12 ปี 8.00 บาท
แปรงผู้ใหญ่ 10.00 บาท
จาหน่ ายสินค้ าเงินสด งดให้ เครดิตค่ ะ ติดต่ อสอบถามทางอีเมล ตอบเร็วกว่ านะคะ tuntapootorn@hotmail.com
แปรงผู้ใหญ่ Biosafety รุ่ นใหม่ ด้ ามละ 10.00 บาท
ด้ ามละ 10.00 บาท
ารณา สี สินค้ าทัง้ หมดได้ ท่ ี www.tuntapootorn.com วารสารทันตภูธรราคาสินค้ ารวม Vat7% แล้ ว ส่ งปกติไม่ มีค่าส่ ง กรุณาพิจ82 ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
แปรงสีฟันพร้ อมด้ ามจับและสายรั ดข้ อมือสาหรั บคนพิการ ราคาชุดละ 75 บาท Vat7%
เสือ้ กาวน์ เปี่ ยมสุข Dental safety goal ราคาตัวละ 600 บาท รวม Vat7%
ซิสเท็มมา 40 กรั ม 10 บ./หลอด ยาสีฟันโคโดโม 40 กรั ม 22 บ./หลอด
เซ็นท์ แอนดรู ว์ 40 กรั ม 15 บ./หลอด
คอลเกต 40 กรั ม 12.50 บาท /หลอด คอลเกต 20 กรั ม 7.50 บาท /หลอด
แปรงสีฟันโคโดโม 20 บ./ด้ าม สินค้ า Gift Shop สาหรั บแจกเด็กๆ
จาหน่ ายสินค้ าเงินสด งดให้ เครดิตค่ ะ ติดต่ อสอบถามทางอีเมล ตอบเร็วกว่ านะคะ tuntapootorn@hotmail.com ไหมขัดฟั น11m อันละ 20 บาท แปรงซอกฟั น อันละ 16 บาท ราคาสินค้ ารวม Vat7% แล้ ว ส่ งปกติไม่ มีค่าส่ ง กรุ ณาพิจารณา สี สินค้ าทัง้ หมดได้ ท่ ี
วารสารทันตภูธร
83
www.tuntapootorn.com ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
วารสารทันตภูธร
84
ฉบับที่ 1: มกราคม 2559
พิจารณาราคา และ สินค้ าทัง้ หมดได้ ท่ ี www.tuntapootorn.com หน่ วยงานกรุ ณา ดาวน์ โหลด เอกสารขอใบเสนอราคา จากเวบไซต์ แล้ วอีเมลกลับมาที่ tuntapootorn@hotmail.com
ถุงนิว้ ทาความสะอาดช่ องปากเด็กทารก ราคา ชุดละ 5 ชิน้ /50 บาท ชุดละ 3 ชิน้ /30 บาท
ถุงผ้ าดิบ(10x12x2นิว้ ) สกรีน 1 สี 100ถุงขึน้ ไป 45บ/ถุง
ถุงผ้ าดิบ(10x13นิว้ ) สกรีน 1 สี 100ถุงขึน้ ไป 35บ/ถุง ผ้ าเจาะกลาง ผืนละ 75 บาท ผ้ าห่ อเซ็ต ผืนละ 85 บาท เย็บ 2 ชัน้ ตัดเย็บจาก ผ้ าฝ้ าย100%140 เส้ น สาหรับใช้ ใน โรงพยาบาล ซับนา้ ได้ ดี ทนความร้ อนได้ >180 C มีหนังสือรับรองมาตรฐาน เส้ นด้ ายจากสถาบันสิ่งทอ
สนับสนุนการจัดพิมพ์ วารสารทันตภูธร ด้วยการสั่งซื้อ สินค้าสาหรับใช้ในงานทันตสาธารณสุข เพื่อการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุ่มวัย ใน www.tuntapootorn.com