เพื่อเสริมสร้ างแรงบันดาลใจและความสุขในการทางาน
ปี ที่26 ฉบับที่2: กรกฎาคม 2559
ทักทายบรรณาธิการ ทพญ.นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ สวัสดีคะ่ ผู้อา่ นวารสารทันตภูธรทุกท่าน ฉบับนี ้เรื่ องเด่นคือ ค่ายทันตภูธร วารสารทันตภูธร ทาหน้ าที่บนั ทึกความทรงจาดีๆ ตังแต่ ้ หน้ า 5-22 ภาพสีดจู ากภาพปกและในเฟสบุคนะคะ ก่อนที่จะอ่านบันทึกจากค่า ยทัน ตภูธร ก็ ขอเปิ ดเล่มทักทายทุกท่านด้ วยความห่วงใยว่า ทุกท่ านทางานในคลิ นิกทันตกรรม ดูแลรักษาสุขภาพช่ องปากประชาชนกันทุกวันๆ บางวันทางานหลายชัว่ โมงติ ดต่อกัน มี อาการ ปวดหลัง เมื ่อยตัว กันบ้างไหมคะ ... เหนื ่อยไหมคนดี... เชื่อ ว่า ทุกท่า นคงมี ตอบที่ ไม่ต่า งกัน คื อ ปวดบ้ า ง เมื่ อ ยบ้ า ง หรื อ ปวดมาก เมื่ อ ยมาก เช่นเดี ยวกับ คาตอบของ ผู้ปฏิบตั ิงานในคลินิกทันตกรรมจากหลายๆ ประเทศทัว่ โลก ซึง่ มีงานวิจยั หลายฉบับรายงานว่า ทันตแพทย์และทันตบุคลากรมักจะมี อาการปวดเมื่อยกล้ ามเนื ้อ ซึ่งเป็ นผลมาจาก ท่าทางการนัง่ ที่ไม่สมดุลย์ เป็ นเวลานานๆ ทาให้ เกิดแรงกระทา ต่อกล้ ามเนื ้อซ ้าๆ จนเกิดความอ่อนล้ าของกล้ ามเนื ้อ และพบว่าตาแหน่งอวัยวะในร่างกายที่เกิดความเจ็บปวดมากที่สุด ได้ แก่ บริ เวณแผ่นหลัง คอ และไหล่ ซึง่ ทันตบุคลากรไทยก็ไม่ได้ รับการยกเว้ นจากอาการเหล่านี ้แต่ประการใดนะคะ เนื่อ งจากลักษณะท่าทางการปฎิ บัติ งานในคลิ นิ กทันตกรรมมักมี รู ปแบบการทางานที่ ซ า้ ๆ ท่า นั่ง เดิ มๆ ไม่ว่า จะ นัง่ หลังตรงเป๊ ะ ท่านัง่ ถูกต้ องตามหลักวิชาการที่อาจารย์สอนมา หรื อนัง่ ท่าถูกใจตามความถนัดตามความเคยชินของแต่ละท่าน ไม่ว่าจะนัง่ แบบใด ถ้ านัง่ ท่าเดียวท่าเดิมต่อเนื่องนานๆ โดยไม่หยุดไม่พกั ไม่เปลี่ ยนท่าเลย ย่อมส่งผลให้ กล้ ามเนื ้อบางมัดจะถูก ใช้ งานหนักจนชอกช ้ามากกว่ากล้ ามเนื ้อส่วนอื่นค่ะ เป็ นที่ทราบกันดีวา่ การทาหัตถการในงานทันตกรรมเป็ นงานที่ออกแรงพอสมควร เช่น การถอนฟั นยากๆ บางซี่กว่าจะถอนได้ สาเร็ จต้ องเกร็ งข้ อมือจนเมื่อยไปหลายวัน หรื อความสัน่ สะเทือนที่เกิดจากด้ ามกรอฟั น และเครื่ องขูดหินน ้าลาย ซึง่ เมื่อมีอาการสะสมเป็ นระยะเวลานานก็อาจเป็ นปั ญหาได้ ในบางท่านค่ะ นอกจากอาการทางกายดังกล่าว มาแล้ ว ยัง มี อ าการทางใจที่ซึมลึกอย่างเรื อ้ รัง อีกนิดๆหน่อ ยๆ พบว่า การทางานของทันตบุคลากรย่อ มมีความเครี ยดบ้ าง เช่น เครี ยดจากความคาดหวังของคนไข้ ญาติคนไข้ เพื่อนรวมงาน ผู้บงั คับบัญชา และเครี ยดจากตัวชี ้วัด ซึง่ ปั จจัยต่างๆ มากบ้ างน้ อยบ้ าง เหล่านี ้ ส่งผลให้ ทนั ตบุคลากรเกิดอาการปวดๆ เมื่อยๆ กันบ่อยๆ ค่ะ และถ้ าละเลยเพิกเฉยต่ออาการปวดเล็ กเมื่อยน้ อยเหล่านัน้ นานวันก็จะสะสมกลายเป็ น ปวดมาก เมื่อยมาก เป็ นปั ญหาสุขภาพทังกายและใจได้ ้ ในที่สุดนะคะ สาหรับการป้องกันอาการปวดเมื่อยกล้ ามเนื ้อของทันตบุคลากรนัน้ ทาได้ ง่าย ๆ แต่ส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้ ทากัน คือ เหนื่อยนักก็พกั บ้ างค่ะ เช่น ระหว่างที่ผ้ ูช่วยฯทาความสะอาดเก้ าอี ้ทันตกรรม ช่วงสัน้ ๆ ก่อนที่คนไข้ รายใหม่จะเข้ ามา ก็เปลี่ ยน อิริยาบทยืนขึน้ สักหน่อย เดินไปเข้ าห้ องน ้า หรื อบิดซ้ ายบิดขวาสักเล็กน้ อย และถ้ าคนไข้ รายเดียวกันแต่การทางานมีหลายขันตอน ้ ก็หยุดระหว่างขันตอนบ้ ้ าง ไม่ควรนัง่ ท่าเดิมต่อเนื่องนานจนเกินไป หาช่วงพัก ยืนบ้ าง เดินบ้ าง ให้ เลือดไหลเวียนไปยังกล้ ามเนื ้อทุก มัดอย่างทัว่ ถึง ก็จะช่วยลดอาการเมื่อยล้ าทังกายและใจได้ ้ ค่ะ ที่สาคัญที่สุดสาหรับทันตบุคลากรทุกท่าน การออกกาลังกายเป็ น ประจาจะช่วยให้ มีกล้ ามเนื ้อที่แข็งแรง สามารถทนต่อการทางานหนักในคลินิกทันตกรรม ซ ้าๆ เช้ า สาย บ่าย ค่า ได้ ดียิ่งขึ ้น และปวด เมื่อยน้ อยลงค่ะ รักษาสุขภาพกันทุกท่านนะคะ จะได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ดแู ลสุขภาพช่องปากประชาชนอย่างมีประสิทธิ ภาพได้ นานๆ วารสารทันตภูธร
1
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
วารสารทันตภูธร ฉบับที่ 2: กรกฎาคม 2559 เป็นกิจกรรมหนึ่งของ ชมรมทันตสาธารณสุขภูธร
● ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร: ทพ.กิตติคุณ บัวบาน
ที่อยู่ โรงพยาบาลแม่ระมาด 251 ม.4 ต.แม่ระมาด อ.แม่ระมาด จ.ตาก 63140 เบอร์โทร: 055-581229 ● วารสารทันตภูธร: บรรณาธิการ: ทพญ.นิธิมา เสริมสุธีอนุวัฒน์ ที่อยู่ 42/198 ซ.ติวานนท์ 38 ถ.ติวานนท์ ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 tuntapootorn@hotmail.com ● ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ: ทพญ.แพร จิตตินันทน์, รศ.ทพญ.ดร. สุดาดวง กฤษฎาพงษ์ ● กองบรรณาธิการวารสารทันตภูธร: ทพ.กิตติคุณ บัวบาน, ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์, ทพญ.จริญญา เชลลอง, ทพ.ธนัฏฐนนท์ อัศววัฒฑกี ● เครดิต ภาพปก: ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์ ● ผูด้ าเนินการจัดพิมพ์ จัดส่ง: บริษัท ทันตภูธรและเพื่อน จากัด www.tuntapootorn.com ที่อยู่ 119/887 ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 ● สนับสนุนการจัดพิมพ์ และ จัดส่ง วารสารทันตภูธร: สัง่ ซื้อสินค้า ทางเวบไซต์ www.tuntapootorn.com
www.tuntapootorn.com ทันตภูธร online https://www.facebook.com/Tuntapootorn ทางอีเมล tuntapootorn@hotmail.com ขอเชิญชวนทันตบุคลากรทุกท่าน เขียนบทความ มาแบ่งกันอ่านปันกันชม ในวารสารทันตภูธร ได้โดยตรงส่งด่วน มาทีอ่ ีเมล nithimar@hotmail.com บทความทั้งหมดรับผิดชอบโดยผู้เขียนบทความนั้นๆ มิได้เกี่ยวข้องกับชมรมทันตสาธารณสุขภูธร หรือ วารสารทันตภูธร วารสารทันตภูธร
2
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
สารบัญ ทันตภูธร ทักทาย บรรณาธิการ โดย ทพญ. นิธิมา เสริมสุธีอนุวฒ ั น์ ธรรมะ สวัสดี: 7 คาสอนจากหลวงปู่แหวน สุจิณโณ อริยสงฆ์แห่งเมืองเชียงใหม่ งานค่ายทันตภูธร … โครงการพัฒนาศักยภาพทันตแพทย์รุ่นใหม่ ปีงบประมาณ 2559. โดย ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์ โรงพยาบาลเวียงแก่น อ.เวียงแก่น จ.เชียงราย ทพญ.พรพิมล วิทยวีรศักดิ์ โรงพยาบาลป่าบอน อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ทพญ.รักษณัณน์ การเวกปัญญาวงศ์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ทพญ.ประภัสสร จงควินิต สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี แนวทางการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทางของสถานบริการสุขภาพ ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข โดย ทพ. ยุทธนา คานิล รพ. พระสมุทรเจดีย์สวาทยานนท์ จ.สมุทรปราการ ประธานชมรมทันตแพทย์โรงพยายาบาลชุมชน กระทรวงสาธารณสุข “คลินิกทันตกรรมเบ็ดเสร็จครบวงจรที่ มหานครท่าตูม” โดย ทพญ. อารยา วรรณโพธิก์ ลาง รพ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ ปากแหว่งเพดานโหว่…ปัญหาที่ไม่ได้มีเพียงแต่ในช่องปากเท่านั้น โดย นพ.ศรัณย์ วรศักดิ์วฒ ุ ิพงษ์ สถานรักษาแก้ไขภาวะปากแหว่งเพดานโหว่และความผิดปกติของศีรษะและใบหน้า มหาวิทยาลัยนเรศวร เคล็ดไม่ลับ กับการใช้ขอ้ มูล 43 แฟ้มสาหรับทันตกรรม โดย ทพ.ธนัฏฐนนท์ อัศววัฒฑกี โรงพยาบาลพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช ทันตา น่ารัก (แนะนาทันตาภิบาลทัว่ ไทย) ฉบับนี้พบกับ “มีน” ณัฏฐชญา ศิลากุล รพ.ละหานทราย จ.บุรรี ัมย์ ประสานงานโดย ทพญ.แพร จิตตินันทน์ โรงพยาบาลบางใหญ่ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี หนึ่งสตางค์...ที่มีความต้องการเป็นพิเศษ: ตอน... give out and get in... โดย จารีย์ บทคัดย่อ “โครงการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาทันตแพทย์และทีมทันตบุคลากรเพื่อดูแลสุขภาพช่องปาก” โดย รศ.ทพญ.ดร.พัชราวรรณ ศรีศิลปนันทน์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “การพัฒนาทันตบุคลากรสูก่ ารทางานสหสาขาวิชาชีพ” ประชุมวิชาการทันตสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 ประจาปี 2558 โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น The 8th Asian Conference of Oral Health Promotion for School Children: Taipei Convention Center โดย ทพญ.จินดา พรหมทา โรงพยาบาลจอมพระ อ.จอมพระ จ.สุรินทร์ เรื่องเล่าเมือ่ เช้านี้ ณ ห้องฟันภูธร โดย ทพญ.จริญญา เชลลอง รพ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด เที่ยววัดจัดใจ โดย น้าทิพย์ เพาะรัก ปลูกศรัทธา โดย Paramitta Plukponyarm ประธานขอคุย โดย ทพ.กิตติคุณ บัวบาน รพ.แม่ระมาด จ.ตาก ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร สั่งซื้อสินค้า บริษทั ทันตภูธรและเพื่อน จากัด www.tuntapootorn.com เพื่อสนับสนุนค่าพิมพ์วารสารทันตภูธร วารสารทันตภูธร
3
1 4 5
23
32 42 49 54 60 63 66 69 74 75 76 78 81
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ธรรมะ สวัสดี 7 คำสอนจำกหลวงปู่แหวน สุจิณโณ อริยสงฆ์แห่งเมืองเชียงใหม่ 1. ค น ที่ มี สั จ จ ะ มั ก ท า อ ะ ไ ร แ ล้ ว ป ร ะ ส บ ความสาเร็ จ เพราะสัจจะเป็ นบารมี อย่ างหนึ่ง ส่งผลให้ กาลังใจเข้ มแข็งมากขึ ้น 2. บุคคลที่ทนในสิ่งที่คนอื่นทนได้ ยาก ทาในสิ่งที่ คนอื่นทาได้ ยาก บุคคลนัน้ จะเข้ าถึงความสาเร็จของชี วิต ความอดทน ความขมขื่น จะเกิดขึ ้นในเบื ้องต้ นของการทา ความดี แต่จะได้ รับความชื่นชมในบันปลาย ้ 3. คนเราเกิดมานินทาก็ดี สรรเสริญก็ดี อย่าไปรับ หมักไว้ ในใจ ปล่อยผ่านไปเสีย 4. บรรดาสั ต ว์ ทั ง้ หลายนั น้ เมื่ อ ไม่ มี ทุ ก ข์ มาถึ ง ตัว มัก ไม่ เ ห็ น คุณ พระศาสนามัว เมาประมาท ปล่อยกายปล่อยใจ ให้ ประพฤติทจุ ริ ตผิดศีลธรรมอยู่เป็ น ประจ านิ สัย เห็ น ผิ ด เป็ นถู ก เห็ น กงจั ก รเป็ นดอกบัว ต่อเมื่อได้ รับ ทุกข์เข้ า ที่ พึ่งอื่น ไม่มีนั่นแหละ จึงได้ คิดถึง พระ คิดถึงศาสนา แต่ก็เป็ นเวลาที่สายไปแล้ ว 5. บารมีต้องสร้ างเอา เหมือนอยากให้ มะม่วงของ ตน มีผลดก ก็ต้องหมัน่ บารุงรักษาเอา ไม่ใช่แก่ไปชื่นชม ต้ นมะม่วงของคนอื่น ต้ องไปปลูก ไปบารุงต้ นมะม่วงของ ตนเอง การสร้ างบารมีก็เช่นกัน ต้ องสร้ าง ต้ องทาเอาเอง บารมี ต้ องสร้ างเอา เหมื อ นอยากให้ มะม่ ว งของตน มีผลดก ก็ต้องหมัน่ บารุงรักษาเอา วารสารทันตภูธร
6. การที่ ร่ า งกายแข็งแรงไม่เ จ็บ ไข้ ไ ด้ พยาธิ นัน้ ก็ ถื อ ว่ า มี ข องดี แ ล้ วการมี ร่ า งกายแข็ ง แรง มี อ วัย วะ ครบถ้ วน ไม่บกพร่องวิกลวิการ อันนี ้ก็เป็ นของดีแล้ วของดี มีอยู่ในตน ไม่ร้ ูจะไปเอาของดีที่ไหนอีก สมบัติของดีจาก เจ้ าพ่อ เจ้ าเแม่ให้ มา ก็เป็ นของดีอยู่แล้ ว มีอ ยู่แล้ วทุกคน จะไปเอาของดีที่ไหนอีก ของดีก็ต้องทาให้ มนั เกิดมันมีขึ ้น ในจิ ต ใจของตน ความดี อัน ใด ที่ ยั ง ไม่ มี ก็ ต้ องเพี ย ร พยายาม ทาให้ เกิดให้ มีขึ ้นนี่แหละของดี ของดีอยู่แล้ ว ใน ตัวของเราทุกๆ คน มองให้ มนั เห็น หาให้ มนั เห็น ภายใน ตนของตนนี่แหละ จึงใช้ ได้ ถ้ าไปมองหาแสวงหาของดี ภายนอกแล้ ว ใช้ ไม่ได้ 7. เรื่ องราวเต็มโลก เต็มบ้ านเมือง เราก็วางเสีย ละเสี ย ละอยู่ ที่ ก าด ที่ ใ จตนนี่ แ หละ อย่ า ไปละที่ อื่ น การหอบอดีต และอนาคต มาหมักสมไว้ ในใจ ก็เป็ นทุกข์ ตัดออกให้ หมด ที่มา www.secret-thai.com/article/11380/lp-wann/
4
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่า “ค่ายทันตแพทย์น้องใหม่” 2559 บันทึก โดย ทพญ.พรพิมล วิทยวีรศักดิ์ เรียบเรียง โดย ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์ ภาพ โดย ทพ.เทอดศักดิ์ อุตศรี และ ทพญ.รจิต จันทร์ประสิทธิ์
เกริ่นนาถึง ค่ายทันตแพทย์น้องใหม่ ค่ายนี ้ถูกจัดขึ ้น เป็ นครัง้ แรกที่จงั หวัดสงขลาเมื่อหลายปี ก่อน โดยมี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใ ห้ พี่ ๆ น้ อง ๆ ทั น ต แ พ ท ย์ ได้ ม า แลกเปลี่ ย นแนวคิ ด ในการท างาน พัฒ นากรอบ ความคิ ด ในทุก แง่ มุม การใช้ ชี วิ ต ที่ ไ ม่ไ ด้ จ ากัด อยู่ ภายใต้ คาว่าการทาฟันในห้ องสี่เหลี่ยม ซึ่งในปี นี ้เป็น การจัดค่ายครัง้ ที่ 5 ส่วนตัวฉันได้ มีโอกาสได้ เข้ าร่วม เป็ นที ม งานของค่ า ยเป็ นครั ง้ ที่ 3 แล้ ว หากแต่ ประสบการณ์ 2 ครัง้ ที่ ผ่านมา กลับ ไม่ท าให้ ความ ตื่ น เต้ น ของฉัน ลดลง เพราะเสน่ ห์ ข องค่า ยทัน ต แพทย์ น้ องใหม่ คื อ การมาสัม ผัส กับ กระบวนกร ใหม่ๆ เพื่อนใหม่ โลกใบใหม่ของใครหลายคน ดังเรื่องที่ฉนั อยากเล่าต่อไปนี ้ วารสารทันตภูธร
5
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
วารสารทันตภูธร
6
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
16 พฤษภา เธอมากับฝน อากาศยามเช้ าที่วงั รี รีสอร์ท จังหวัดนครนายก วันนันเป็ ้ นวันที่ฝนตก ฉันและทีมงานวุน่ วายกับการเตรียมห้ อง ประชุมและอุปกรณ์ภายในห้ อง ก่อนจะได้ ยินเสียงเจี๊ยวจ๊ าวของคนกลุม่ ใหม่เข้ ามาในห้ องประชุม “น้องๆมาถึงแล้วค่ะ” เสียงเรียกความพร้ อมของทุกคนจากหนึ่งในที มงาน Keyword ประจันหน้ า พรหมลิขติ ความอัศจรรย์ ในการพบกัน ไม่ร้ ูตงแต่ ั ้ เมื่อไหร่ที่ฉนั เริ่มให้ ความสาคัญกับการสังเกตจุดเริ่มต้ นของการเริ่มความสัมพันธ์กบั ใครสักคนนึง หากแต่ ครัง้ นี ้ความตื่นเต้ นในการพบหน้ าเพื่อนใหม่ไม่ได้ ทาให้ ฉนั รู้สกึ ลุ้นระทึกมากเท่ากับครัง้ ก่ อนๆ นัน่ ก็เป็ นเพราะเทคโนโลยีที่ พัฒนาก้ าวไกล ฉัน ทีมงาน และเพื่อนใหม่ ได้ พบกันผ่านตัวอักษร รูปภาพ อาจมากกว่านันในบางคนที ้ ่ไม่เคยแม้ แต่พบหน้ า กัน กลับใช้ คาว่ารู้จกั แล้ วผ่านคาบอกเล่า ผ่านโลกออนไลน์ สามารถเล่าเรื่องราวของเขาได้ หรือฉันอาจจะตัดสินไปแล้ วว่า เขาเป็ นคนแบบไหนในสายตาฉัน ความอัศจรรย์ในการพบกันจึงถูกลืมเลือนหายไป กิจกรรมในวันนี ้จึงเริ่มต้นโดยการล้ อเลียนเทคโนโลยีดงั กล่าวด้ วยการให้ น้องๆ ทัง้ 26 คนจัดทากระดานเฟสบุคของ ตัวเองขึ ้นบนผนังห้ องประชุม เพื่อเริ่มทาความรู้จกั กัน น้ องทุกคนก็ตา่ งถนัด จับปากกาขีดเขียน สเตตัสที่อยูใ่ นใจ ก็ถกู ถ่ายทอดออกมา Keyword กาแพง พื้นที่ส่วนตัว พื้นที่ปลอดภัย กิจกรรมฝึ กการรับฟังผ่านคาถามง่ายๆที่ลกึ ซึ ้ง “เธอเป็ นคนอย่างไร” “เธอเป็ นคนอย่างไร” คาถามที่ดคู ล้ ายส่งเสียงผ่านคนอื่น แต่หากจริงแล้ วเป็นคาถามที่เราควรจะส่งเสียงถามตัวเอง “เราเป็ นคนยังไง” ทาให้ ต้องกลับมาย้ อนมองตัวเองว่าเรารู้จกั ตนเองดีพอหรือยังที่จะบอกเล่าให้ คนอื่นฟัง ถอดบทเรียนกิจกรรม: เรียนรู้ รู้จกั เพื่อนโดยฝึกการฟัง ส่วนเพื่อนจะมีหน้ าที่พดู ถึงสิ่งที่เป็ นตัวเองให้ ได้ ร้ ูจกั ตัวเอง มากขึ ้น กิจกรรมนี ้สร้ างการเรียนรู้ด้วยการเปิ ด safe zone ทลายกาแพงให้ อีกฝ่ ายได้ ร้ ู และอีกฝ่ ายได้ ฝึกการฟัง ต่อด้ วยสุนทรียสนทนา เล่าเรื่องความสุขแลกเปลีย่ นให้ กนั และกัน ทาให้ ได้ เปิ ดโลกทัศน์/มุมมองความสุขของ ตนเอง เป็ นอรรถรสที่ดีในการฟังด้ วยการสื่อสารแบบอวัจนภาษา เช่น รอยยิ ้ม การจับมือ สายตาที่มีความสุข
วารสารทันตภูธร
7
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
วารสารทันตภูธร
8
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
การสื่อสารโดยใช้ กายสัมผัส ใช้ ภาษากายสื่อสาร โดยการวาดลงฝ่ ามือเพื่ อนส่งต่อกัน ไปเรื่ อยๆ ได้ ข้อคิ ด เรื่ องความแตกต่ า งของการสื่ อ สาร สารสามารถ เปลี่ยนแปลงได้ ผิดพลาด ตีความได้ แตกต่าง ไม่วา่ จะจาก ผู้หนึ่งไปยังอีกผู้หนึ่ง หรือเรามองว่าอีกคนเป็ นอย่างไร แค่ ควรจะทวนกลับ การสื่ อ สาร เปิ ดใจพูด คุย ให้ สื่ อ สาร ตรงกัน ถอดบทเรียนกิจกรรม: คนกลางควรทาอย่างไร ควรรอเวลาและโอกาสที่ เ หมาะสม การมอง สถานการณ์เชิงบวก ปล่อยให้ ทงั ้ สองฝ่ ายได้ พดู คุยกันเอง และควรมี ส ติ อย่ า หงุด หงิ ด กับ คนที่ ใ กล้ ตัว พยายาม ถนอมนา้ ใจให้ มาก ความสัมพันธ์นนั ้ เกิดขึ ้นง่ายแต่กลับ รักษาได้ ยาก กิ จ กรรมการวาดภาพตนเอง และสุ่มให้ เ พื่อนๆ ช่วยแต่งเติมรูป “บางคนรู้สึกดี ที่ถูกแต่ง แต้ม แต่ บ างคน อาจไม่ช อบเพราะมันสมบูรณ์ อยู่แล้ว” หากเราเป็ นส่วน หนึ่งที่ต้องแต่งแต้ มให้ ใครสักคน เรามักมีความระมัดระวัง และตังใจมอบสิ ้ ่งดีๆให้ กบั เพื่อน แต่บางครัง้ ผู้รับอาจไม่จะ ต้ องการสิ่งที่เราวาดให้
วารสารทันตภูธร
9
เวลาได้ ดาเนินไปเรื่ อยๆ จนถึงกิจกรรมภาคค่าที่ เรี ยกได้ ว่า เป็ นช่วงเวลาไฮไลท์ของวันนี ้ พี่ทอม ประธาน ชมรมทันตสาธารณสุขภูธร (ทพ.กิตติคณ ุ บัวบาน) พร้ อม ที ม วิ ท ยากรพิ เ ศษประจ าค่ า คื น นี ้ พี่ เ ป็ ด (ทพ.สมฤทธิ์ จิ โรจน์ วณิ ช ชากร) พี่ มาร์ ค ฐิ ติ ตยางคานนท์ นัก การ ตลาดมือโปร และพี่วศิน ปกป้อง ผู้กากับภาพยนตร์ชื่อดัง สิ่งเล็กๆที่เรียกว่ารัก ได้ มาเปิ ดช่วงเวลา Give&Share กับ พวกเรา คุณ วศิน ได้ น าเสนอภาพยนตร์ เ รื่ อง “PK ผู้ช าย ปาฏิ ห าริ ย์ ” เป็ น ภาพยนตร์ อิ น เดี ย ที่ มี ค วามยาวราว 2 ชั่วโมง ในช่วงเริ่ มแรกนัน้ ฉัน มีค วามรู้ สึก เฉยๆ เพราะ ตัด สิน ไปแล้ วส่วนนึงว่าเป็ น ภาพยนตร์ อินเดีย ไม่น่าจะ โดนใจ แต่กลับเป็ นช่วงเวลา 2 ชั่วโมงที่ฉนั ตกอยู่ในภวังค์ ความคิด และความรู้สึกมากมายหลัง่ ไหลอยู่ภายในหัว สาหรับ ฉัน ภาพยนตร์ เ รื่ องนี ก้ ระทบหัวใจจนถึ งขัน้ เสี ย น ้าตาเลยทีเดียว ภาพยนตร์ เรื่ องนีห้ ากท่ านใดมีโอกาส ฉันก็ อยากจะส่ งต่ อ ชักชวนให้ ทุกคนได้ ดู “PK ผู้ชายปาฏิหาริ ย์” ถ่ายทอดเรื่ องราวชวนอม ยิม้ ของ มนุษย์ต่างดาวที่ เดินทางมาทาวิจัยที่โลก แต่โชค ร้ ายที่เขาโดนขโมยรีโมทเรียกยานกลับดาว ทาให้ เขากลับ บ้ านไม่ได้ แถมใครๆก็เที่ยวบอกเขาว่า มีแต่พระเจ้ าเท่านัน้ ที่นารีโมทมาคืนให้ เขาได้ งานนีม้ นุษย์ตา่ งดาวจึงต้ องออก ตามหาพระเจ้ าให้ เ จอในประเทศอิน เดี ย ท าให้ เ ขาต้ อง เผชิญหน้ ากับผู้นาคาสอนมากมายที่นาพระเจ้ ามาเสนอ ให้ ถึงที่ อีกทัง้ เขายังเกิ ดไปมีความรักกับสาวชาวโลกเข้ า เสียอีก เรื่ องราวจึงวุ่นวาย เสียดสี เจ็บจี๊ด เรี ยกทัง้ เสียง หัวเราะและน ้าตา ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
หลังจากดูภาพยนตร์ จบ พี่เป็ ดและพี่วศินชักชวนพวกเราถกเถียงถึงความรู้สึกที่เราได้ รับจาก PK
ทุกสิ่งทุกอย่างเป็ นสิ่งสมมติที่มนุษย์กาหนดขึ ้น เปลือ กภายนอกที่มนุษย์สร้ างขึ ้น กาหนดสร้ างความแตกต่าง ของมนุษย์ด้วยกันเอง ดังนันอย่ ้ าตัดสินคนจากเปลือกนอก ให้ มองที่จิตใจภายใน การแก้ ปัญหา การหาทางออกคือการวางความทุกข์ ความเหน็ดเหนื่อย ทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีที่ต้องเป็ นต้ องไป ให้ วางทิ ้งความรู้สกึ ไว้ ลดอัตตาและอยู่กบั ปัจจุบนั การเรียนรู้ เกิดจากพัฒนาการต่อไปเรื่อยๆ มีมมุ มองต่างกันตามวัยที่โตขึ ้น สะท้ อนคุณค่าของความรัก ความรักที่แท้ จริงไม่ต้องการครอบครอง การทาเพื่อคนที่เรารัก ทาได้ โดยการให้ ให้ มองโลกแตกต่างจากจุดเดิม อย่าติดกับการเป็ นทันตแพทย์ที่มกั เป็ นคนประเมิน จะทาให้ เกิดการเข้ าใจและ ยอมรับมากขึ ้น
นี่เป็ นเพียงบางส่วน ของมุมมองและความคิดของคนในวงคืนนัน้ ฉันเห็นด้ วยกับคาพูดของพี่เป็ ดที่ทิง้ ท้ ายไว้ ก่อน นอนด้ วยประโยคที่วา่ “วันพรุ่งนีอ้ าจมีคนในวงสนทนา ที่ต่ ืนขึน้ มาด้ วยความรู้สึกที่ไม่ เหมือนเดิม”
วารสารทันตภูธร
10
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
17 พฤษภา ที่ไม่ เหมือนเดิม “เช็คอินครับ น้ องๆ” เสียงพี่รอง (ทพ.ธนัฏฐนนท์ อัศววัฒฑกี) ปลุกความงัวเงียของทุกคน ให้ ตงสติ ั ้ อยู่กบั ปัจจุบนั “ง่วง ว่าง อิ่ม ชิลล์ ดี สบาย ...” เป็ นเสียงเช็คอินความรู้สกึ ของน้ องๆทัง้ 26 คนในช่วงเช้ าวันนี ้ กิ จ กรรมในวันนี ้ พี่ มาร์ ค วิท ยากรหนุ่มผู้บ ริ หารบริ ษั ท ดี ฟิวชั่น ได้ น าเสนอมุมมองและถ่ ายทอดความรู้ ในเรื่ อง conformative-deformative-transformative learning ซึ่งนับเป็ นมุมมองใหม่สาหรับฉัน การเรี ยนรู้ สู่การเปลี่ย นแปลง เช่น การมาค่ายเป็ นการเปิ ดโอกาสตัวเองให้ มาอยู่ด้วยกัน (be with) แบบร้ อย เปอร์เซ็นต์ โดยมีการเชื่อมสัมพันธ์กนั คาถาม “ถ้ ามีเวลาใช้ ชีวิตเหลืออยู่แค่หนึ่งเดือนอยากจะทาอะไร” เลือกใช้ เวลาอยู่กบั ครอบครัว ทาในสิ่งที่เราเคยกลัวไม่กล้ าทา ขอโทษคนที่เราเคยถือตัวไม่ยอมขอโทษ วารสารทันตภูธร
11
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ปรับความเข้ าใจกับคนที่ไม่เข้ าใจกัน ขอบคุณคนที่เราอยากจะขอบคุณ ปล่อยวาง พี่ เ ป็ ด เสริ มถึ งบทสรุ ป ของค าถามจากงานวิจัย พบว่ามีคาตอบสามข้ อด้ วยกัน ได้ แก่ 1.ขอต่อเวลาเพิ่มยืด อายุก ารตาย 2.ท าอย่ างไรให้ เป็ นอมตะ เป็ น ที่ น่าจดจา และ 3.ตายไปอย่างอโหสิกรรม สุขคติ สอดคล้ องกับ วิ ท ยาศาสตร์ เ กี่ ย วกับ สมอง สมอง แบ่งเป็ น 3 ส่วน ได้ แก่ ส่ว นในเป็ น สัญ ชาติ ญ าณที่ ท าให้ ชี วิต รอด ปลอดภัย ส่ ว นกลาง สมองสุ นั ข สมองแห่ ง ก า ร จงรักภักดีและดูดี อยากให้ มีการจดจา ส่วนหน้ า สมองคน เรื่ องของการให้ อภัยและ อโหสิกรรม ในสมองสามส่ ว นนี พ้ ัฒ นาเป็ น สามเรื่ อ งของ พฤติกรรม การกลัว การชื่นชม รู้แล้ วจดจาอโหสิกรรมให้ อภัย ตามสมองส่วนใน กลาง หน้ า ตามลาดับ กิ จ กรรมการมองเห็น (seeing) ที่ แตกต่าง จาก สี่เหลี่ยมที่เคยมองเป็ นสามเหลี่ยมที่ตา่ งจากเดิม การออก จากกรอบเดิมได้ การเชื่ อมต่อโลกของทาง digital และ physical อยู่ที่การมองต่าง (visionary) จากบุคคลสาคัญ ของโลก และความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยี ตงั ้ แต่อ ดี ต จนถึ ง อนาคต ต้ อ งผ่า นความพยายามอย่ า งมากและ อดทนต่อการไม่ยอมรับเพื่อสิ่งที่ดีขึ ้น
วารสารทันตภูธร
12
การรับรู้ว่าตัวเองว่าชอบอะไร (passion) สิ่งแรก ที่ต้องก้ าวข้ ามไปให้ ได้ คือความงมงาย (myth) ให้ ลองอยู่ เหนือเหตุผล ลดความหยิ่งยโสที่เชื่อว่าตัวเองถูกอยู่แล้ ว กล้ าลองของใหม่ ซึ่งความกล้ านัน้ มัก ต้ องมาควบคู่กับ ความไว้ วางใจ ความไว้ วางใจที่จะทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็ น การเปลี่ ยนแปลงในระดั บ จิ ต วิ ญ ญาณ (Spiritual Transformation) ซึ่งเกี่ ยวข้ องกับ ความพร้ อม พร้ อมที่ จะไว้ วางใจในมนุษย์ ไว้ วางใจในธรรมชาติ เป็ นธรรมชาติ ของความไม่ร้ ูมากกว่าความรู้ เมื่อยอมรับและตระหนักได้ ว่าในธรรมชาติจ ริ งมี สิ่งที่ ไม่ร้ ู เกื อบจะทัง้ หมด และทุก อย่ า งพร้ อมจะปรั บ เปลี่ ย น แปรเปลี่ ย น จะท าให้ คนมี อัตตาลดลง ไม่ยึดติดในทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งตายตัว เกิด การเรี ยนรู้มากขึ ้น มีสติรับรู้รับฟั งกันและกันมากขึ ้น เห็น ใจกันมากขึ ้น ให้ อภัยกันมากขึ ้น บรรยากาศยามบ่ าย พี่ รองน ากิ จ กรรมผ่อนพัก คลายความตึงเครี ย ด ฉัน นั่ง จับ มือคนข้ างๆ นวดนิ ว้ มือ ฝ่ ามือ ข้ อมือ นวดบ่า ไหล่ ใช้ ภาษากายในการทาความ รู้จักกับเพื่อนที่นงั่ ข้ างกัน และบีบมือที่แสดงออกถึงความ อ่อนไหวของจิตใจ รับรู้ถึงความรู้สกึ ของคนอื่น ฉันรู้สกึ ถึง ความเขินอาย มือเกร็งที่จับต้ องเพื่อน แต่ซักพักลองเริ่ ม ลดความเป็ นตัวตนลงและสัมผัสถึ งความรู้ สึกของเพื่ อน ข้ างๆมากขึ ้น จากนัน้ ค่อยๆนามือมาประสานกันบิดไปใน ท่าต่างๆ พี่รองสอนให้ เรารู้จกั เปิ ดใจกับการกระทาของคน ข้ างๆและพึ ง ตระหนัก ว่า หากคนหนึ่ ง ขยั บ ในวงมัก มี ผลกระทบในวงกว้ างเสมอ (Butterfly effect)
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
วารสารทันตภูธร
13
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
กิจกรรมคบเด็กสร้ างบ้ านโดยแบ่งสองทีมนัง่ เป็ น วงกลมแจกเทปกาวใสและไม้ เพื่อให้ ทงสองที ั้ มต่อไม้ ให้ สงู ที่สดุ และสามารถตังได้ ้ ได้ ข้อคิดว่า พยายาม หาไอเดียที่ ง่ายที่สดุ เป็ นแบบของเรา โดยใช้ พืน้ ฐานของ KM โดยให้ ก าร ฟั ง ค ว าม รู้ ที่ เป็ น transit knowledge ย่ อย จาก ประสบการณ์ความเชี่ยวชาญ ของคนที่มีความสามารถ หรื อมีเ ทคนิ คดี ๆ ให้ เ กิ ด ขุมคลังความรู้ ซึ่งมีพืน้ ฐานทาง วิ ช าการ (community practice based on knowledge) ความรู้ทงหมดเกิ ั้ ดจากการปฏิบตั ิ ลองพยายาม ลองใช้ ทา ดู ทุกคนคือกาลังสาคัญของทีม เกมส์สร้ างพลังด้ วยการยืนบนกระดาษแผ่นเดียว ทัง้ ทีม ปิ ดตาเดินหาของโดยเกาะไหล่เป็ นทีมสื่อสารด้ วย การสัมผัสแต่ไม่สามารถมองเห็นได้ ฝึ กทักษะการฟั งแต่ ไม่สามารถมองเห็น เกมส์วิ่งเปี ย้ ว เล่นตี่ ชักเย่อ เกมส์จิ๊ก ซอว์ ฝึ กการเชื่อใจและพลังความสามัคคีของทีม กิ จ กรรมสามเหลี่ยมด้ านเท่า โดยมีก ติ ก าว่าให้ เคลื่อนตัวเองโดยไม่ส่งเสียงและจับคู่กบั เพื่อนอีกสองคน ให้ เป็ นสามเหลี่ยมในพื ้นที่ที่จากัด เมื่อคูท่ ี่คิดไว้ เคลื่อนเรา ต้ องเคลื่อนตัวเองให้ เป็ นสามเหลี่ยม ประโยชน์ที่ได้ คือทุก คนล้ วนแต่มีปฏิสมั พันธ์กนั พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน อยู่ แบบโดดๆ คนเดียวไม่ได้ การเคลื่อนไหวของเราที่คิดว่าไม่ มีผลต่อคนอื่นนันเป็ ้ นเหมือนคลื่นใต้ น ้า แท้ ที่จริงแล้ วมีผล ต่อความรู้สึกคนอื่น และบางครัง้ เราคิดว่าน่าจะมีผลต่อ คนอื่นแต่โดยในความเป็ นจริงแล้ วอาจไม่มีผลต่อคนๆนัน้ เลย แลกเปลี่ยนความรู้สกึ และแสดงความคิดเห็นระหว่าง กันในวงในกิจกรรมดังกล่าว ยกตัวอย่างเช่น รู้สึกกลัวว่า ทาให้ คนอื่นเดือดร้ อนหรื อเกรงใจ กลัวว่าจะเปลี่ยนแปลง วารสารทันตภูธร
14
ไม่มนั่ ใจกลัวไม่ได้ รับการถูกเลือก รู้สึกน้ อยใจว่าไม่มีใคร เลือก แปลกใจเมื่อได้ รับเลือก คิดว่าไม่ส่งผลกระทบต่อ ใครแต่จ ริ ง ๆแล้ ว เพื่ อ นอี ก คนต้ อ งเคลื่อ นตาม เป็ น ต้ น หลังจากนันกลั ้ บมารวมกลุม่ แลกเปลี่ยนกันว่า สิ่งที่สาคัญ คือเราทาสิ่งที่ดีที่สดุ ของเรา ต้ องระวังทุกคาพูดและการ กระท าเพราะว่ า มี ค นมองเราอยู่แ ละมี ผ ลกระทบต่อ ความรู้สกึ ของคนอื่น อาจส่งผลสะท้ อนกับเราหลังจากพูด และท าลงไป การเงี ย บลงก็ เ พิ่ มโอกาสในการมอง ควร มองดูคนรอบข้ างด้ วยไม่ใช่เราสาเร็จแค่คนเดียว เรี ยนรู้ที่ จะให้ ท าให้ เรี ย นรู้ ที่ จ ะได้ ท างเลื อ กตัด สิ น ใจโดยการ สังเกตการณ์เพื่อรับรู้การเปลี่ยนแปลงหรื อความเป็ น ไป ของคนอื่น สามารถดาเนินการได้ โดยไม่ต้องการให้ คนอื่น รั บ รู้ เป็ น การปรั บ สมดุล ที่ ต้ อ งใช้ เ วลา เป็ น การสมดุล ระหว่างชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และการงาน เปิ ดมุมมอง มากขึ ้นจากการสังเกต ลดกาแพงที่ปิดกัน้ ตัวเองลดฐาน กาย ให้ พยายามเรียนรู้ 18 พฤษภา นาฬิกาชีวติ พี่เฮาส์ (ทพ.ดร. ธงชัย วชิรโรจนไพศาล) ก้ าว เข้ าห้ องประชุมมาทักทายเรา กิ จ กรรม timeline ในการเล่าประวัติชี วิต ตัวเอง โดยเลือกจุดเปลี่ยนจุดหักเหของชี วิตหรื อสิ่งที่ท าให้ เรา เป็ นตัวเราในปัจจุบนั โดยเล่าแบ่งสเกลจากอดีต ปั จจุบนั และอนาคตของตัวเอง หรื อจะเล่าฝั่งด้ านล่างเป็ นตัวเรา และฝั่งด้ านบนเป็ นผู้ที่เกี่ยวข้ องกับเรา โดยนัง่ ล้ อมวงกลม ย่อย แบ่งเป็ น 6 กลุม่ วาดรูปหรือเขียนหนังสือได้ แล้ วเล่า ชีวิตตัวเองจากไทม์ไลน์ในวงย่อย แลกเปลี่ยนกันในวง ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
วารสารทันตภูธร
15
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
นิ ท านเลมมิ่ ง กับ ยุท ธศาสตร์ ที่ ใ ห้ ข้ อ คิ ด ว่า มี ทางออกในชีวิตเสมอ การฝึ กความเป็ นคนช่างสงสัยเกิด ปั ญหาและพยายามหาเหตุผลในการแก้ ปัญหาจะทาให้ เราเรี ย นรู้ อะไรได้ อีกเยอะ การคิ ด คนเดี ยวจะคิด ได้ ไม่ดี เท่ากับการมีเพื่อน การพยายามหาเหตุผลและลองทาเพื่อ พิ สูจ น์ ด ูว่าจะยึดถือความคิ ดดังเดิ ้ มหรื อความคิดใหม่ที่ มองต่าง การมีแก่นของมุมมองและการรู้จกั ตนเองจะทา ให้ การทาและแสดงออกพุ่งเป้าไปได้ ชดั เจน เปรี ยบเทียบ กับ ผิ ว น า้ และจะติ ด รู ป แบบกั บ ลัก ษณะผิ ว น า้ ซึ่ ง ไม่ มี ประโยชน์ใดเลยถ้ าเราไม่ร้ ูว่าใต้ ผิวน ้ายังมีวฒ ั นธรรมของ ฝู ง ค่ า นิ ยม ความคาดหวั ง ทางสั ง คม กฎเกณฑ์ แถลงการณ์ สถานที่ตงั ้ โครงสร้ างภายใน Mental model และให้ น้ องๆลองตอบ ค าถามส าหรั บ ชี วิ ต ในอนาคต “มีโครงสร้ างอะไรบ้ างที่จากัดเราอยู่ เรามีชีวิตอยู่ไปเพื่อ อะไร อะไรเป็ นเป้าหมายของชีวิต เราอยากจะสร้ างสรรค์ สิ่ ง ใด หากัล ยาณมิต ร (Life Coach) ทบทวนตัวเองตัง้
วารสารทันตภูธร
16
คาถาม “ทาไม” ไปเรื่ อยๆอย่างน้ อย 5 ครัง้ และให้ น้องๆ เก็บไว้ เพื่อทบทวนตัวเองต่อไป ช่วงเย็นเป็ นพิธีการบายศรี ส่ขู วัญ รับทันตแพทย์ น้ องใหม่ ด้ วยพี่ๆทันตแพทย์ที่สงั่ สมประสบการณ์นาทีม โดยท่านประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร ได้ แก่ พี่ทอม พี่เชอรี่ พี่แอน และ พี่โจ้ อวยพรน้ อง บรรยากาศอบอวลไป ด้ วยความซาบซึง้ ปะปนไปกับความสุขที่อิ่มเอมผ่านทาง สายตาส่ ง ผ่ า นจากรุ่ น พี่ สู่รุ่ น น้ อง และมี ก ารพู ด คุย แลกเปลี่ยนความรู้สึกดีๆร่วมกัน พี่ๆแลกเปลี่ยนว่า ขอให้ มีความสุขในที่ทางานไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบไหน ทางาน รั ก ษา ท างานชุ ม ชน เอกชน ขอให้ มี ป ระโยชน์ ต่ อ ประเทศชาติ ขอให้ เ ราดูมีค ุณ ค่าในทุก ๆที่ ที่ เ ราอยู่ ทุก ปั ญหามีทางออกเสมอ ต่อด้ วยการแสดงอย่างสร้ างสรรค์ ของน้ องๆทัง้ สองกลุ่มที่สร้ างสีสนั ให้ กับค่ายครัง้ นีไ้ ด้ เป็ น อย่างดี โดยมี commentator อย่างพี่ป๊อป พี่แอน พี่เอ๋
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
19 พฤษภา เวลา และ โอกาส “เวลา” กับ “โอกาส” เป็ นสองอย่างที่ไม่เคยรอเรา ถ้ ามันมาแล้ วไม่รีบคว้ าเอาไว้ จะเป็นการยากที่จะได้ พบมันอีกหน เริ่ มเช้ าวันสุดท้ ายของการจัดค่าย วันนี ้เป็ นวันสุดท้ ายของการจัดค่าย แต่ไม่ใช่วนั สุดท้ ายของความสัมพันธ์ ความรู้สกึ ดีๆที่เกิดขึ ้นจากการอยู่ด้วยกันในค่ายครัง้ นี ้ ดีใจที่ได้ ร้ ูจกั กัน ได้ แรงบันดาลใจในการทางาน ได้ สร้ างความสัมพันธ์ดีๆร่วมกัน ระหว่างเพื่อนๆ และพี่ๆ ได้ ความทรงจาดีๆในชีวิต และจะจดจาไปตลอด ได้ เป็ นไดอารี่ในชีวิตของตัวเอง ได้ เปิ ดมุมมองใหม่ๆที่แตกต่าง ได้ เปิ ดโลกทัศน์ของตัวเอง ได้ เรียนรู้ร่วมกันกับเพื่อนๆ เรานั่งล้ อมกันเป็ นวงกลมและจับคูก่ บั เพื่อนที่เราไม่ได้ สนิทจากนันให้ ้ มองตากันส่งผ่านความรู้สึกครัง้ แรกที่เรารู้จกั กันจนมาถึงวินาทีนี ้ และให้ แสดงความรู้สึกบอกกับคนที่อยู่ตรงหน้ าด้ วยการส่งผ่านทางการจับมือ ส่งความรู้สึกระหว่างกัน จากนัน้ แจกกระดาษรูปหัวใจให้ ทุกคนเขียนความประทับใจและสิ่งดีๆที่เกิดขึ ้นในค่ายครัง้ นี ้ จากนัน้ ส่งผ่านความรู้สึกดีๆ เหล่านี ้ไปให้ เพื่อนๆ พี่ๆสต๊ าฟ ผ่านกระดาษรูปหัวใจเป็ น “เฟรนด์ชิพ” ที่เกิดขึ ้นในค่ายครัง้ นี ้ “ขอบคุณ ขอโทษ และ ให้ อภัย” จากใจพี่สต๊ าฟคนหนึ่ง
วารสารทันตภูธร
17
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
สิ่งเล็กๆที่เรียกว่า “ค่าย” น้องหมิว ทพญ.รักษณัณน์ การเวกปัญญาวงศ์ อาจารย์ประจาภาควิชาทันตกรรมชุมชน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
“เป็นเรื่องแปลกมาก ที่เราอยากเล่าความลับของเราให้คนแปลกหน้าฟังในค่ายนี้ ทั้งๆที่เราไม่เคยคิด ว่าชีวิตนี้ เราจะพูดถึงเรื่องนี้อีก เราเปิดให้คนแปลกหน้าเดินเข้ามาในพื้นที่ส่วนตัวภายในใจของเรา ลึกๆแล้ว เรารู้สึกว่า ทุกคนที่นี่พร้อมที่จะ แลกเปลี่ยน เข้าใจ และ ไม่ตัดสิน” เป็นครั้งแรกที่ตัดสินใจมาค่าย โดยที่ไม่รู้เลยว่า ค่ายนั้นเกี่ยวกับอะไร เพราะอาจารย์แนะนาให้มา เราก็ รู้สึกว่าก็แค่มาร่วมกิจกรรมให้มันจบๆไป ตอนที่สมัครก็ ไม่คิดว่าจะได้มาค่ายนี้ เพราะมันก็หมดเขตรับสมัครไป แล้ว แต่จะด้ว ยอะไรก็แ ล้ว แต่ ฉัน ก็ได้มาค่ายนี้ จ นได้ และฉัน ก็รู้สึกขอบคุณสิ่งๆนั้ นมากที่ทาให้ฉัน ได้มาเป็น ส่วนหนึ่งของค่ายนี้ ตั้งแต่วันแรกที่มาถึงที่นัดหมายคือ BTS จตุจักร ฉัน ไม่เจอใครอยู่ตรงนั้น เลย ในใจก็คิดว่า นี่โดนหลอกรึเปล่า ค่ายนี้มันมีจริงใช่ไหม แล้วเค้าจะพา ฉันไปทาอะไรบ้าง คาถามมากมายเกิดขึ้นในหัวของฉัน อยากรู้เหลือเกินว่า สิ่งที่อาจารย์อยากให้เรามาเจอมัน คืออะไร ทันใดนั้นก็มีพี่ผู้หญิงกับพี่ผู้ชายสองคนเดินเข้า มาหา ทักทาย ชวนฉันพูดคุยอย่างเป็น กัน เอง และนั่น แหละคื อ จุ ด เริ่ ม ต้ น ของสิ่ ง ดี ดี ที่ ก าลั ง จะตามมาอี ก มากมาย กิจกรรมหนึ่งที่ฉันชอบมาก คือ กิจกรรมที่ให้นั่ง หั น หลั ง ชนกั น แล้ ว ถามว่า “น้ อ งหมิ ว เป็ น คนยังไง?” เป็นครั้งแรกที่มีคนถามคาถามนี้กับฉัน ตลอดชีวิตที่ผ่าน มา คนเรามักถูกตัด สิน ว่าเราเป็น คนอย่างนั้ น เป็น คน อย่างนี้ โดยที่ไม่รู้จักเราดี พูดต่อๆกันไป โดยที่ไม่เคยมี ใครมาถามกับเราเลยว่า เราเป็น คนอย่างนั้ น จริงหรือ วารสารทันตภูธร
18
เปล่า คาถามว่า “น้องหมิวเป็นคนยังไง?” เป็นคาถามที่ ตอบได้ยากที่สุดสาหรับฉัน ถ้าไปถามคนอื่นที่รู้จักฉัน ว่า ฉันเป็นคนยังไง คุณอาจจะได้คาตอบอีกแบบหนึ่ง แต่ถ้า ถามฉันเองโดยตรงคุณอาจจะได้คาตอบอีกแบบหนึ่งก็ได้ เพราะภาพลั ก ษณ์ ภ ายนอกของฉั น มั น อาจจะไม่ ไ ด้ เหมือนกับนิสัยที่จริงของฉัน คนที่สนิทกับฉันในระดับที่ แตกต่างกัน ก็จะมองฉันแตกต่างกันก็ได้ กิจกรรมที่ถาม ว่ า เป็ น คนยั ง ไงก่ อ นที่ จะได้ รู้ จั ก กั น มั น สอนให้ เ ราไม่ ตัดสินคนอื่นจากสิ่งที่เราเห็น หรือประสบการณ์เดิมของ เรา เปิด ใจเรีย นรู้กัน จากสิ่งที่ปรากฏในปัจจุบัน ไม่ใช่ อดีต จากภายในไม่ใช่ ภายนอก ไม่ตัดสินใจคนอื่นจาก เสื้อผ้า หน้า ผม การแต่งตัว หรือ เรื่องที่อื่นเล่ามาว่าเค้า เป็นยังไง โดยพื้ น ฐานแล้ ว ฉั น เป็ น คนที่ พู ด เยอะ แม่ จ ะ เรี ย กว่ า ผี เ จาะปากมาเกิ ด บางที ก็ ท าให้ ค นอื่ น ราคาญ แต่สิ่งที่ฉันรู้สึกมาตลอด คือ ไม่ว่าฉันจะพูดเยอะ แค่ไหน แต่ไม่ค่อยมีใคร “ฟัง” ฉันจริงๆ เหมือนจดหมาย ที่ไปไม่ถึงปลายทาง เหมือนตะโกนในห้องกระจกเก็บ เสียง แม้ฉันจะพยายามถ่ายทอดแค่ไหน แต่ฉันไม่รู้สึกว่า สารนั้นไปถึงผู้ฟังเลย คนส่วนมากมักแค่ “ได้ยิน” แต่ไม่ “ฟัง” ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
กิจกรรมหลายๆกิจกรรมในค่ายเป็นกิจกรรมที่ ส่งเสริมการฟังซึ่งกันและกัน มันเปิ ดโอกาสให้ฉันได้พูด ความในใจออกมา ทาให้สารของฉันได้รับการฟังโดยไม่ โต้ตอบ ฟังจนจบโดยไม่พูดแทรก เป็นไม่กี่ครั้งในชีวิตที่ ฉันรู้สึกว่า สารของฉัน มัน “ถึงผู้รับ” นอกจากนี้ฉันก็ยัง มีโอกาสได้รับสารของผู้อื่นเช่นกัน มันทาให้ฉันอยากจะ เล่าเรื่องราวของตัวเอง ที่ลึกลงไปเรื่อยๆ ฉันอยากให้คน ที่ฉันพูดด้วย ได้เดินเข้ามาให้พื้นที่ส่วนตัวในใจฉัน มอง โลกผ่านแว่นตาของฉัน และฉัน ก็รู้สึกยิน ดีอย่างยิ่ง ถ้า คนที่ ส นทนาด้ ว ย จะยอมให้ ฉั น เข้ า ไปรู้ จั ก ชี วิ ต ของ เขา มองโลกผ่านแว่นตาของเขาด้วย ในค่ายนี้ ก็ได้มีโอกาสแลกเปลี่ย นพูด คุย กับพี่ๆ หลายคน แม้กระทั่งเพื่อนที่มาด้วยกัน ก็ได้สนิทกันมาก ขึ้ น ขอบคุ ณ ทุ ก คนที่ รั บ ฟั ง นะคะ อยากบอกทุ ก คน ว่า สิ่งที่คุณทา มันได้เติมพลังให้กับหัวใจดวงน้อยดวงนี้ แล้ว แม้ค่ายจะจบลงไปแล้ว แต่ความสัมพันธ์ของเรา มันจะไม่จบลง อยากอยู่ค่ายให้นานกว่านี้ อยากมีโอกาส พู ด คุ ย กั บ พี่ ๆ อี ก หลายคนที่ยั งไม่ ค่อ ยได้คุ ย ด้ว ยเยอะ
วารสารทันตภูธร
19
เท่าไหร่ อยากรู้จักทุกคนให้มากกว่านี้ สิ่งเล็กๆที่เรียกว่า “ค่าย” เป็นอะไรที่พิเศษมาก ฉันเชื่อว่าคนที่ตัดสินใจมา ค่ายแบบนี้ต้องไม่ธรรมดา ทั้ง วิทยากร พี่สต๊าฟ และพี่ ที่มาค่ายทุกคน ทุกคนสุดยอดมาก แม้ค่ายนี้จะมีชื่อว่า สิ่ งเล็กๆ แต่สิ่งที่ได้กลับไป จากค่ายนี้มันไม่เล็กเลย สองวันก่อน ฉันได้อ่านบทความ เกี่ยวกับงานวิจัยของ Robert Waldinger ชื่อ "Harvard Study of Adult Development " ซึ่ ง รู้ จั ก กั น ในนาม ของ งานวิจัยที่ยาวนานที่สุดในโลก โดยใช้เวลานานถึง 75 ปี สิ่งที่เขาค้นพบคือ “Good relationships keep us happier and healthier.” สิ่งที่ทาให้คนเรามีชีวิตที่ ดี ไม่ใช่ ชื่อเสียง หรือ เงินทอง แต่มันคือ ความสัมพันธ์ที่ ดีกับคนรอบข้างต่างหาก พออ่านมาถึงตรงนี้ ก็อยากจะขอบคุณมิตรภาพ ดีดีที่ได้รับจากค่ายนี้ เราไม่ใช่แค่เพียงมาพบกันเพื่อรู้จัก กันเพียงเท่านั้น แต่มิตรภาพที่เราต่างมอบให้กัน มันยังมี ส่วนทาให้ชีวิตของเราทุกคนดีขึ้นไม่ทางใดก็ทางหนึ่งอีก ด้วย
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
บันทึก โดย ทพญ.ประภัสสร จงควินต ิ สสจ.สุราษฎร์ธานี
................การพัฒนาสติปัญญาของเราหาใช่เพื่อความก้าวหน้าส่วนตัวไม่ หากแต่เราใช้พลังความคิดของเรา เพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น .............................. -Gordon Mcdonaldประโยคดังกล่าวดังก้องขึ้นภายในใจระหว่างการเดินทางกลับจากงานอบรมพัฒนาศักยภาพ ทันตแพทย์รุ่นใหม่ 2559 งานชื่อเก๋ที่จัดขึน ้ โดยชมรมทันตภูธร งานที่รวบรวมเหล่าทันตแพทย์หวั ใจ เพชรที่อยากจะสร้างสังคมทันตแพทย์ให้นา่ อยู่มากขึ้น ให้สังคมรอบข้างเห็นเราในอีกแง่มุมที่ นอกเหนือจาก “งานทาฟัน” มากขึ้น และเปิดมุมมองของตัวทันตแพทย์เองให้ออกจาก comfort zone มาเห็นโลกใบที่กว้างขึ้นกว่าเดิม ห้องประชุมนอนได้ ก้าวแรกที่เข้าสู่ห้องอบรม สิ่งแรกทีเ่ ห็นคือผ้าปูเตียงสีขาวโพลนทั้งห้องและหมอนที่เรียงราย อย่างเป็นระเบียบ (คิดในใจนี่เข้าผิดห้องป่าว) แต่ให้ตายเหอะนี่เป็นงานอบรมที่สร้างบรรยากาศได้น่า นอนมากที่สุด แต่คนงีบหลับในงานน้อยที่สุดเท่าที่เคยเห็นมา(ฝุดยอดด) แต่ยังไม่จบแค่เรื่องห้องนอน เอ้ย ห้องประชุมนะคะ เค้ามีกิจกรรมหลายๆอย่างที่ตีความคิดของมนุษย์หน ุ่ ยนต์ฝังชิพอย่างเราเรา ได้แตกกระจุยเลยค่ะ และที่สาคัญวิทยากรแต่ละท่านก็แซ่บๆทั้งนั้นนนน – --คิดแล้วก็อิ่ม วารสารทันตภูธร
20
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
คิดต่างคือขี้เมา วิทยากรคนแรกเลย พี่ วศิน ปกป้อง ผู้กากับหนัง “สิ่งเล็กๆที่เรียกว่ารัก” ชายร่างใหญ่ เครา ยาว ดวงตามี passion เค้ามาสะกิดหัวใจ ทพ.วัยแรกรุ่นตั้งแต่คืนแรกของงานอบรม อย่าคิดไปไกล เค้าเอาหนังดีมาให้ดูค่ะท่านผู้อ่าน “ P.K. ที่ภาษาฮินดูแปลว่า ไอ้ขี้เมา” เป็นหนังอินเดียที่เสียดสีการ กระทาบางอย่างของศาสนาได้เจ็บจี๊ดผ่านทางมนุษย์ต่างดาวที่คิดต่างแล้วตั้งคาถามต่อสังคมจนถูก เรียกว่า ไอ้ขี้เมา -- P.K. สะท้อนแนวคิดของสังคมที่ทาอะไรในทิศทางเดิมๆ แบบเดียวกันโดยไร้เหตุผล หลายๆครั้งเราทางานบางอย่างจนลืมตั้งคาถามขึ้นมาว่า เหตุผลในสิ่งที่เรากาลังทาคืออะไร มัน เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันหรือไม่ และจุดประสงค์ที่แท้จริงของมันคืออะไร (อย่าเพิ่ง งง คาถาม รัวๆ) ย้อนกลับมาถามตัวเองว่าทุกวันนี้ เรากาลังทาอะไรตามวัฒนธรรมเดิมๆ อย่างไร้เหตุผลอยู่หรือ เปล่า รวมถึงความกล้าในการแสดงจุดยืนของความคิดที่แตกต่างแม้จะถูกประณามหรือต่อว่า มัน ต้องใช้ความกล้าหาญและจริงใจแค่ไหนกันนะ Problems & Possibilities ..บทเรียนจากพี่มาร์ค (ไอดอลสุดหล่อ) ปัญหาและความเป็นไปได้-- สองคานี้เหมือนมีเส้นด้ายบางๆกั้นอยู่ เป็นการมองมอง สถานการณ์หนึ่งๆ ด้วยมุมมองที่ต่างกัน และแปลกที่คนประสบความสาเร็จหลายๆคนมักจะสามารถ ก้าวข้ามเส้นด้ายบางๆนั้น มองให้ปัญหากลายเป็นความเป็นไปได้ .. แค่ได้ยินประโยคนี้ พวกเราหลายคนก็แทบจะหยุดหายใจ เพราะความหล่อของพี่มาร์ค เอ้ย เพราะมันเป็นวิชานอกห้องเรียนที่เราไม่ค่อยได้สมั ผัสกันมากเท่าไหร่นัก .. พี่มาร์คสอนให้เรารู้จัก สิ่งที่ขัดขวางการข้ามผ่านเส้นด้ายบางๆนั้น 1. Myth (ความงมงาย) เป็นความเชื่อบางอย่างของเราที่ทาให้เราไม่กล้าออกจากเหตุผลหรือเขต
Comfort zone ที่เราโตมา--หลายๆครั้ง ที่เราเห็นคนอื่นประสบความสาเร็จแล้ว เราพูดกับ ตัวเองว่า เค้าสาเร็จ เพราะเค้าเก่ง เพราะเค้ามีทน ุ อะไรบางอย่าง ที่เราไม่มี ซึ่งไม่ใช่ความจริง เสมอไป สิ่งที่เค้ามีคือการมองปัญหาให้เป็นความเป็นไปได้ 2. Arrogance (ความยโส) เป็นการที่เราตัดสินข้อมูลที่เข้ามาด้วยประสบการณ์หรือความรู้ใน อดีตของเรา เมื่อเจออุปสรรคเราจะจินตนาการไปเองว่ามันต้องมีปัญหาแบบนี้แน่เพราะเคยเจอ มาหรือมีคนเล่าให้ฟังมา ความคิดแบบนีท ้ าให้เรา พลาดทีจ่ ะพิจารณาสิ่งที่อยู่ข้างหน้าอย่าง ครบถ้วน วารสารทันตภูธร
21
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
3. Reason (เหตุผล) ทุกวันนี้เราใช้ชีวิตแบบไหน....ใช้ชีวิตโดยใช้เหตุผล หรือ ให้เหตุผลมาใช้เรา
หลายครั้งที่เราอยากทาอะไรนอกกรอบเดิมๆ แต่ก็จะมีความคิดอย่าเลย..ด้วยเหตุผลต่างๆ กลายเป็นว่าเราใช้ชวี ิตโดยให้เหตุผลนาหน้าตลอดเวลา--ทุกๆข้ออ้างของการไม่เริ่มทาอะไรก็เกิด จากเหตุผลที่เราสร้างมาทั้งสิ้น ดังนั้น ลองฝึกให้ตัวเองอยู่เหนือเหตุผลกันบ้าง (แต่บางคนอาจ ทาอยู่แล๊ววว ปกติ๊ 55) 4. Culture (วัฒนธรรม) วัฒนธรรมบางอย่างในการตัดสินใจ หรือใช้ชีวิต มันอาจถูกกาหนดมา โดยคนที่เกิดก่อนหน้าเรา ทาให้เราก้าวผ่านกรอบทางความคิดบางอย่างไม่ได้ (นามธรรมฝุดๆ) ดังนั้น อย่าให้สิ่งที่คนเกิดก่อนตั้งไว้มาจากัดชีวิตของเรา โดยส่วนตัวคิดว่าทุกคนมีพื้นฐานในการพิจารณาว่าสิ่งไหนเป็นวัฒนธรรมทีด่ ีงามและสร้างความ ถูกต้อง หรือ เป็นวัฒนธรรมเก่าทีจ่ ากัดการก้าวไปข้างหน้า ดังนั้นจึงจาเป็นต้องแยกให้ออกด้วย ..สุดท้ายพี่เค้าทิ้งคาคมหล่อๆ ที่ไม่ต่างจากหน้าตาไว้ว่า …“Use your eyes to see the possibilities not the problems” (ค่า ใจละลายค่า) แหล่งรวมอิฐก้อนแรก สุดท้ายที่แห่งนี้รวมแต่คนเจ๋งๆ เข้ามาไว้ดว้ ยกันทาให้เห็นว่าการทางาน ไม่ใช่เพื่อให้ตนเองนั้น สูงส่งหรือพัฒนาขึ้นเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการทางานที่แสดงคุณค่าของความเป็นมนุษย์ดว้ ย คือ เรากาลังพัฒนาตนเอง เพื่อผู้อื่น เพื่อคนไข้ และเพื่อสังคม ขอบคุณสาหรับแนวคิดดีๆ ที่ พี่ๆตั้งใจ จัดสรรให้ และเพื่อนๆน้องๆ ที่แลกเปลีย่ นประสบการณ์ และกาลังใจ ที่สาคัญคือมิตรภาพ หลังจากนี้ ไปเราจะเป็นกาลังใจให้กัน ช่วยกันสร้างสังคมทันตแพทย์ให้ดีขน ึ้ ค่ะ
วารสารทันตภูธร
22
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
แนวทางการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง ของสถานบริการสุขภาพ ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ทพ. ยุทธนา คานิล รพ. พระสมุทรเจดียส์ วาทยานนท์ จ.สมุทรปราการ ประธานชมรมทันตแพทย์โรงพยายาบาลชุมชน กระทรวงสาธารณสุข ศัก ยภาพของทันตแพทย์ท่านนั้นๆ เอง โดยการพิจารณา สาขาเฉพาะทางที่ขอลาไปสอบและลาศึกษาต่อนั้น อาจยัง ไม่มีการให้น้าหนัก เพื่อนามาคานึงถึงมากนักเนื่องจาก ช่วง การสมัครสอบจะยังไม่สามารถทราบได้แน่นอนว่าจะมี ทันต แพทย์คนไหนจะสอบได้หรือไม่ในสาขาที่สมัคร จากนโยบายและแนวทางการวางระบบการศึกษา ต่อของทันตแพทย์ ในส่วนภูมิภาคของกระทรวงสาธารณสุข ที่กาลังส่งผลกระทบต่อพวกเราในพื้นที่อยู่ขณะนี้นั้น ทาให้ หลายท่านอาจจะสงสัย ถึงที่มาที่ไป ของความพยายามใน การตีกรอบครั้งนี้ จากส่วนกลาง ผมจึงอยากจะนามาเล่าสู่ กั น ฟั ง เพื่ อ ให้ ท ราบถึง เหตุผ ลความจ าเป็นและปัญ หาที่ เกิดขึ้น จนเป็นที่มาของนโยบายนี้ครับ ที่ผ่านๆ มา โดยทั่วไป เมื่อพวกเราที่ทางานอยู่ใน โรงพยาบาลระดับต่างๆในส่วนภูมิภาค มีความต้ องการจะ ศึกษาต่อ เราก็จะค้นหาข้อมูล สถาบันที่เปิดสอนในสาขาที่ เราสนใจ แล้วจึง ทาการขออนุญาติ มาสอบคัดเลือ ก เมื่อ สอบได้ จึ ง ท าเรื่อ งลาศึ ก ษา และกลั บ มาท างานที่ ๆ เรา ทางานอยู่เดิม ซึ่งขั้นตอนเหล่านี้จะต้องผ่านความเห็นชอบ ของคณะกรรมการโรงพยาบาล ผอ.รพ. และ ส่ ง มายัง คณะกรรมการศึกษาต่อที่สสจ. หรือ ที่รพศ./รพท. แล้วแต่ ว่าสังกัดอยู่ที่ใด ซึ่งในกระบวนการพิจารณา ก็จะคานึงถึง ความจาเป็นของพื้นที่ และความขาดแคลนบุคลากรในการ ปฏิบัติงาน ในระหว่างที่ลาศึกษาหรือไม่ รวมทั้งพิจารณาที่ วารสารทันตภูธร
23
เมื่อเป็นเช่นนี้จึงมีปรากฎการณ์ ที่ว่าพบทันตแพทย์ เฉพาะทางในสาขาที่ ขาดแคลนบางสาขา เช่น ทันตแพทย์ จัดฟัน ทางานอยู่ในโรงพยาบาลห่างไกล ทาให้เกิดการส่ง ต่อที่กลับทิศทาง กับแนวทางของระบบ Service Plan คือ ส่ ง ต่ อ จากโรงพยาบาลจัง หวั ด ไปโรงพยาบาลชุ ม ชน ซึ่ ง โดยทั่ วไปควรจะต้อ งส่ง ต่อ จากโรงพยาบาลชุม ชนไปยั ง โรงพยาบาลจังหวัดหรือโรงพยาบาลศูนย์ตามแนวทางที่วาง ไว้ ทั้ ง ๆที่ ในโรงพยาบาลจังหวัดบางแห่ง ไม่ มี ทั นตแพทย์ เฉพาะทางในระดับวุฒิบัตรเลยแม้สักสาขาเดียว และพบว่า ในระยะหลัง นี้เริ่ม มีปรากฎการณ์เหล่านี้ม ากขึ้น เมื่ อเกิด ปัญหาเช่นนี้ ทางคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพช่องปาก จึงได้จัดตั้งคณะทางานขั้นมา เพื่อมา ศึกษาถึงปัญหา วางแนวทางแก้ไข และจัดทาเป็นแนวทาง แนวทางการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทางของสถาน บริการสุขภาพ ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ณ วันที่ ๓๑ เดือนมีนาคม ๒๕๕๙) ที่พวกเราได้รับทราบ กัน ซึ่งผมเองก็ได้เป็นคณะทางานในชุดนี้ด้วย จึงจะขอนามา เล่าดังรายละเดียดดังนี้ครับ ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ตารางที่ ๑ แสดงจานวนทันตแพทย์เฉพาะทางแยกระดับสถานพยาบาลในสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขปี ๒๕๕๗ โรงพยาบาลตาม ประเภท Service Plan A S M1 M2 F1 F2 F3 รวม
จานวน (แห่ง) ๓๓ ๔๘ ๓๕ ๘๗ ๗๗ ๕๑๗ ๙๙ ๘๙๖
จานวนทันตแพทย์เฉพาะทาง (คน) ผู้เชี่ยวชาญ (Residency สายวิชาการ (Academic Training) Training) ๑๖๑ ๗๒ ๑๒๑ ๔๙ ๔๙ ๓๒ ๗๐ ๕๒ ๕๓ ๒๒ ๑๓๕ ๑๒๔ ๙ ๗ ๕๙๘ ๓๕๘
แนวทางการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง ของสถานบริการในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้ กาหนด นิยาม “ทันตแพทย์เฉพาะทาง” หมายถึง ทันตแพทย์ที่ศึกษาต่อจนจบหลักสูตรการฝึกอบรม ในสาขาหลักสูตรทางวิชาชีพทันตแพทย์ที่ทันตแพทยสภารับรองอย่างน้อย ๑ สาขา จาก ๑๐ สาขา ต่อไปนี้ ๑. สาขาทันตกรรมทั่วไป (General Dentistry) ๒. สาขาวิทยาเอ็นโดดอนต์ (Endodontics) ๓. สาขาทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics) ๔. สาขาทันตกรรมสาหรับเด็ก (Pediatric Dentistry) ๕. สาขาปริทนั ตวิทยา (Periodontology) ๖. สาขาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล (Oral and Maxillofacial Surgery) ๗. สาขาทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry) ๘. สาขาทันตกรรมจัดฟัน (Orthodontics) ๙. สาขาวิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก (Oral Diagnostic Sciences) ๑๐. สาขาทันตสาธารณสุข (Dental Public Health)
วารสารทันตภูธร
24
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
โดยแบ่งกลุ่มทันตแพทย์เฉพาะทางเป็น ๒ กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ หรือ กลุ่มการศึกษาต่อสายวิชาชีพ (Residency Training) คือ ทันตแพทย์ ที่ศึกษาอบรมใน ๑๐ สาขา ในหลักสูตรการฝึกอบรมทันตแพทย์ประจาบ้านเพื่อวุฒิบัตรหรือได้รับอนุมัติบัตรที่แสดงความรู้ความ ชานาญในการประกอบวิชาชีพทันตกรรม กลุ่มที่ ๒ การศึกษาต่อสายวิชาการ (Academic Training) ได้แก่ ทันตแพทย์ที่ศึกษาอบรมใน ๑๐ สาขา ในหลักสูตรระดับปริญญาโท หรือ ปริญญาเอก หรือ คุณวุฒิอื่นซึ่งมีกาหนดเวลาศึกษาอบรมตั้งแต่ ๒ ปีขึ้นไป หลักเกณฑ์การจัดสรรโควตาทันตแพทย์เฉพาะทางให้สถานบริการ ๑.การคานวณจานวนทันตแพทย์เฉพาะทาง เพื่อวางแผนการจัดการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทางของสถาน บริการในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้ คานวณเป็นสัดส่วนจากกรอบอัตรากาลังตามแนวทางของแต่ละระดับสถาน บริ การซึ่งการวางแผนการจัดการศึ กษาฝึกอบรมแบ่งเป็น ๒ กลุ่ ม คื อ กลุ่ มผู้ เชี่ ยวชาญ หรื อ กลุ่ ม การศึ ก ษาต่ อ สายวิ ชาชีพ (Residency Training) และ กลุ่ม การศึก ษาต่อ สายวิชาการ (Academic Training) ดัง รายละเอี ยดในตารางที่ ๑ กรณีก าร คานวณมีเศษสูงกว่า ๐.๕ ให้คงเศษไว้เพื่อรวมในภาพจังหวัด ตารางที่ ๒ วิธีการคานวณจานวนทันตแพทย์เฉพาะทาง ตามระดับศักยภาพของโรงพยาบาล (ระดับA-F3) ค่าเฉลี่ย ระดับ จานวน รพ. ทพ. ตาม FTE (คน)*
A S M1 M2 F1 F2 F3
๒๖ ๑๙ ๑๓ ๑๑ ๙ ๖ ๓
ทันตแพทย์ทั้งหมด
ทันตแพทย์เฉพาะทาง กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ กลุ่มการศึกษาต่อสาย (Residency วิชาการ (Academic Training) Training)
ทันตแพทย์ทั่วไป
ทันตแพทย์เฉพาะทาง
ร้อยละ ของ ทั้งหมด
จานวน (คน)
ร้อยละ ของ ทั้งหมด
จานวน (คน)
ร้อยละ
จานวน (คน)
ร้อยละ
จานวน (คน)
๑๐% ๒๐% ๒๕% ๒๕% ๔๐% ๕๐% ๕๐%
๓ ๔ ๓ ๓ ๔ ๓ ๒
๙๐% ๘๐% ๗๕% ๗๕% ๖๐% ๕๐% ๕๐%
๒๓ ๑๕ ๑๐ ๘ ๕ ๓ ๑
๗๐% ๖๐% ๕๐% ๔๐% ๔๐% ๓๐% ๐
๑๖ ๙ ๕ ๓ ๒ ๑ ๐
๓๐% ๔๐% ๕๐% ๖๐% ๖๐% ๗๐% ๑๐๐%
๗ ๖ ๕ ๕ ๓ ๒ ๑
หมายเหตุ *จานวนทันตแพทย์ตาม FTE ในตาราง เป็นการหาค่าเฉลี่ยจาก FTE ของสถานบริการแต่ละระดับเท่านั้น ส่วนกรอบอัตรากาลัง ของทันตแพทย์ของแต่ละสถานบริการ ให้คานวณจากกรอบอัตรากาลัง FTE ของสถานบริการนัน้ ๆ วารสารทันตภูธร
25
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
๒. ทั นตแพทย์ เฉพาะทางกลุ่มผู้เชี่ ยวชาญ หรื อ กลุ่ ม การศึ กษาต่ อสายวิ ชาชี พ (Residency Training) ให้ มี เฉพาะ โรงพยาบาลระดับ A - F1 โดยจัดทากรอบสาขาทันตแพทย์เฉพาะทาง ๙ สาขา (รายละเอียดในตารางที่ ๒) ซึ่งมีการจัดทาแผนความ ต้องทันตแพทย์เฉพาะทางกลุ่มผู้เชี่ยวชาญระยะ ๕ ปี (ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔) เพื่อพัฒนา ในการจัดระบบโควตาการศึกษาฝึกอบรม กับราชวิทยาลัยทันตแพทย์ ตารางที่ ๓ กรอบสาขาทันตแพทย์เฉพาะทางกลุ่มผู้เชีย่ วชาญ หรือกลุ่มการศึกษาต่อสายวิชาชีพ (Residency training) ราย สาขา ตามระดับศักยภาพของโรงพยาบาล (ระดับ A–F3) ระดับสถานบริการ ลาดับ สาขา F๓ F๒ F1 M2 M1 S A ๑ ทันตกรรมทั่วไป (General Dentistry) / / / / / / ๒
วิทยาเอ็นโดดอนต์ (Endodontics)
/
/
/
//
//
๓
ทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics)
/
/
/
//
//
๔
ทันตกรรมสาหรับเด็ก (Pediatric Dentistry)
/
/
//
//
๕
ปริทันตวิทยา (Periodontology)
/
/
//
//
๖
ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล (Oral and Maxillofacial Surgery)
/
/
//
//
๗
ทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry)
/
/
/
/
๘
ทันตกรรมจัดฟัน (Orthodontics)
/
/
//
๙
วิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก (Oral Diagnostic Sciences)
/
/
๑๐
ทันตสาธารณสุข
*
*
*
*
*
*
*
หมายเหตุ
- ให้สถานบริการแต่ละแห่งเลือกสาขาของทันตแพทย์เฉพาะทางในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Residency Training) โดยอิง ตามกรอบสาขานี้ ทั้งนี้เมือ่ รวมจานวนแล้วต้องไม่เกินตัวเลขที่คานวณได้จากวิธีในตารางที่ ๑ - “//” หมายความว่า สถานบริการสามารถเลือกให้มที ันตแพทย์เฉพาะทางกลุม่ ผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขานั้นได้ มากกว่า ๑ คน ในกรณีที่มีทันตแพทย์เฉพาะทางกลุ่มผู้เชี่ยวชาญครบทุกสาขาแล้ว - * การศึกษาฝึกอบรมในสาขาทันตสาธารณสุข (Dental Public Health) ทุกระดับหลักสูตร สนับสนุนให้ทันตแพทย์ใน โรงพยาบาลทุกระดับ (ระดับ A-F3) สามารถขอลาศึกษาฝึกอบรมได้ วารสารทันตภูธร
26
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
๓. ทันตแพทย์เฉพาะทางกลุ่มการศึกษาต่อสายวิชาการ (Academic Training) ให้มีในโรงพยาบาลระดับ A - F3 โดย จัดทากรอบทันตแพทย์เฉพาะทาง 9 สาขา (รายละเอียดในตารางที่ ๓) โดยระยะต้นให้แต่ละจังหวัดดาเนินการจัดทาแผนพัฒนา การศึกษาฝึกอบรมให้ตอบสนองความต้องการพัฒนาระบบบริการ ทั้งนี้ส่วนกลางไม่ได้กาหนดหลักเกณฑ์จัดสรรโควตา ให้เป็น หน้าที่ของจังหวัดในการบริหารจัดการเพื่อไม่ให้มีการลาศึกษาฝึกอบรมในสาขาที่ซ้าซ้อนกัน ตารางที่ ๔ กรอบแนวทางทันตแพทย์เฉพาะทางกลุ่มการศึกษาต่อสายวิชาการ (Academic Training) รายสาขา ตามระดับ ศักยภาพของโรงพยาบาล (ระดับ A–F3) ระดับสถานบริการ สาขา ลาดับ F3 F2 F1 M2 M1 S A ๑ ทันตกรรมทั่วไป (General Dentistry) / / / / / / / ๒
วิทยาเอ็นโดดอนต์ (Endodontics)
/
/
/
/
/
/
/
๓
ทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics)
/
/
/
/
/
/
/
๔
ทันตกรรมสาหรับเด็ก (Pediatric Dentistry)
/
/
/
/
/
/
/
๕
ปริทันตวิทยา (Periodontology)
/
/
/
/
/
/
/
๖
ศั ล ยศาสตร์ ช่ อ งปากและแม็ ก ซิ ล โลเฟเชี ย ล (Oral and / Maxillofacial Surgery)
/
/
/
/
/
/
๗
ทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry)
/
/
/
/
๘
ทันตกรรมจัดฟัน (Orthodontics)
/
/
/
๙
วิ ท ย า ก า ร วิ นิ จ ฉั ย โ ร คช่ อ ง ป า ก (Oral Diagnostic Sciences)
/
/
๑๐
ทันตสาธารณสุข
*
*
*
*
*
*
*
หมายเหตุ - ให้สถานบริการแต่ละแห่งเลือกสาขาของทันตแพทย์เฉพาะทางในกลุม่ ศึกษาต่อสายวิชาการ (Academic Training) โดย อิงตามกรอบนี้ ทั้งนี้เมื่อรวมจานวนแล้วต้องไม่เกินกรอบที่คานวณได้ในตารางที่ ๑ - * การศึกษาฝึกอบรมในสาขาทันตสาธารณสุข (Dental Public Health) ทุกระดับหลักสูตร สนับสนุนให้ทันตแพทย์ใน โรงพยาบาลทุกระดับ (ระดับ A-F3) สามารถขอลาศึกษาฝึกอบรมได้
วารสารทันตภูธร
27
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
๔. การศึกษาฝึกอบรมในหลักสูตรทางวิชาชีพทันตแพทย์ ที่มีกาหนดระยะเวลาการอบรมไม่เกิน ๑ ปี เช่น หลักสูตร ๔ เดือน หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงนั้น สามารถขอลาศึกษาฝึกอบรมได้ ๕. การศึกษาฝึกอบรมของทันตแพทย์ในสานักงานสาธารณสุขจังหวัดและวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร ให้เป็นไป ตามความต้องการของหน่วยงาน เช่น ทันตสาธารณสุข (Dental Public Health) ทันตกรรมทั่วไป (General Dentistry) เป็น ต้น ๖. การศึกษาฝึกอบรมในสาขาอื่น ที่นอกเหนือจากสาขาทางวิชาชีพทันตแพทย์ เช่นสาธารณสุขศาสตร์ ระบาดวิทยา บริหารการสาธารณสุข ฯลฯ สามารถขอลาศึกษาฝึกอบรมเพิ่มเติมได้เช่นกัน ทั้งนี้การศึกษาฝึกอบรมในข้อ ๔ - ข้อ๖ ไม่นับเป็นหลักสูตรการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง และถือเป็นการ เพิ่มพูนทักษะในการปฏิบัติงาน จึงสนับสนุนให้ทันตแพทย์ในสถานบริการทุกระดับเข้าศึกษาฝึกอบรมได้ ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจ การพิจารณาอนุมัติของคณะกรรมการกาลังคนของจังหวัด แนวทางการวางแผนพัฒนาการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง ๑. ในระยะ ๕ ปีแรก (ปีการศึกษา ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ให้จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์ เฉพาะทาง ในกลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญ หรือกลุ่มการศึกษาต่อสายวิชาชีพ (Residency Training) ตามลาดับความสาคัญ ดังนี้ โรงพยาบาลเป้าหมายการพัฒ นาเป็น สถานที่ ฝึก อบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง หรือ ศูนย์เ ชี่ยวชาญ ระดับสูง สาขาสุขภาพช่องปาก โรงพยาบาลระดับ A S M1 M2 โรงพยาบาลอื่นๆตามแนวทางการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทางฯ ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดสรรโควต้าการฝึกอบรมทันตแพทย์ประจาบ้าน และจัดทาประกาศสานักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข เรื่องการรับสมัครทันตแพทย์เข้าศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์ประจาบ้าน ๓. พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาล ที่มีความพร้อม ให้เป็น สถาบันฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทางกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ หรือกลุ่มการศึกษาต่อสายวิชาชีพ อย่างน้อยเขต สุขภาพละ ๑ แห่ง ศูนย์เชี่ยวชาญระดับสูง สาขาสุขภาพช่องปาก ด้านรักษามะเร็งช่องปาก อย่างน้อยภาคละ ๑ แห่ง ด้านรักษาเด็กปากแหว่ง เพดานโหว่ อย่างน้อยเขตสุขภาพละ ๑ แห่ง ด้านรักษาเด็กที่มีความยุ่งยากซับซ้อน อย่างน้อยภาคละ ๑ แห่ง ด้านรักษาผู้สูงอายุที่มีความยุ่งยากซับซ้อน อย่างเขตสุขภาพละ ๑ แห่ง วารสารทันตภูธร
28
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
จากแนวทางที่คณะทางานได้จัดทาขึ้น ผมเองจะ ขออนุญาตแสดงองค์ประกอบของคณะทางานชุดนี้ ให้ทราบ ครั บ ประธาน คื อ ท่ า นผู้ ตรวจราชการ และคณะท างาน ประกอบด้วย ทันตแพทย์ทั้งจากส่วนกลาง สานักบริหารการ สาธารณสุข สานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย สสจ.จาก หลายจั ง หวั ด รพศ./รพท.ผ่ า นทางชมรมทั น ตแพทย์ โรงพยาบาลศูนย์/รพ.ทั่วไป และรพช.ผ่านทางชมรมทันต แพทย์โ รงพยาบาลชุมชน และชมรมทันตสาธารณสุขภูธร นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการสาธารณสุข และนักวิชาการด้าน การศึก ษาจากสถาบันบรมราชชนก และวสส.ร่วมทางาน โดยมีสถาบันพระบรมราชชนก เป็นทีมเลขาดาเนินงาน มีการอภิปรายกันอย่างกว้างขวางมาก เนื่องจาก ต้องมีการคานึงถึงผลได้ผลเสีย ความก้าวหน้า การพัฒนา ศั ก ยภาพของตั ว ทั น ตแพทย์ เ อง รวมทั้ ง การพั ฒ นาขี ด วารสารทันตภูธร
29
ความสามารถและศักยภาพของหน่วยบริการในพื้นที่ต่างๆ ด้วย เหตุผลบางประการที่มีการเสนอกัน เช่น มีการมองว่ามี ความจ าเป็นต้อ งให้ทั นตแพทย์ทุ ก ระดับ มี ความเข้าใจใน ระบบสุขภาพ และงานทันตสาธารณสุข จึงมีการสนับสนุน ให้มีการเรียนหรือสอบอนุมัติบัตรในสาขาทันตสาธารณสุข ได้ในทุกคนทุกระดับ ไม่มีการกาหนดแนวทางการเรียนต่อ ระดับประกาศนียบัตร หลักสูตร ๑ ปี เนื่องจากมองว่าเป็น การพัฒนาศักยภาพของแต่ละบุคคลให้เรียนต่อได้ทุกคนตาม การพิจารณาของผู้บังคับบัญชาในพื้นที่ การให้มีวุฒิบัตรสาขา endo และ prosth ได้ถึง ระดับ F1 เนื่องจากมองว่าเป็นสาขาที่จาเป็นต่อการรัก ษา ฟั น คนไข้ ไ ว้ และเมื่ อ รั ก ษาไว้ ก็ ย่ อ มต้ อ งมี ก ารบู ร ณะที่ เหมาะสม จึงมี ๒ สาขานี้คู่กัน การไม่ควรมีสาขาทันตกรรม เด็กในระดับ F1 ลงไป เพราะมีการพิจารณาถึงว่าวุฒิบั ตร ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
สาขาทันตกรรมสาหรับเด็กนั้น ควรจะต้องมีศักยภาพด้าน เครื่องมือและอุปกรณ์สูงขึ้นในเรื่องการดมยา จึงให้มีได้ใน ระดับ M2 ขึ้นไป เป็นต้น โดยส่วนตัวแล้วผม ในฐานะประธานชมรมทันตแพทย์โ รงพยาบาลชุม ชน ผมเองท างานเองท างานอยู่ใน โรงพยาบาลชุมชน ขนาดเล็ก และขนาดกลาง รวมกัน มาก ว่า ๒๐ ปี ในจังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดสมุทรปราการ และ ได้มีโอกาสทางานในสสจ. ราวๆ ๓ ปี มีความเห็นในเรื่องนี้ ในหลายประเด็นครับ
ให้บริการเป็นอย่างมาก เพราะได้ทาน้อย ฝึกน้อย แย่งเคส กันก็มี ต้องการที่จะมาศึกษาต่อเพื่อเพิ่มพูนทักษะ
๑.หลักคิดในการพัฒนาเรื่องกาลังคน เราจะมองแต่ เพียงแผน service plan ในเชิงการส่งต่อเพียงอย่างเดี ยว
วางไว้นี้ ในความเป็นจริงก็จะสามารถ ย้ายเข้ามารพ.ท./รพ ศ.ได้ห รือไม่ ทั้ ง ๆที่ มี คนนั่ง อยู่แล้ว ๑๐-๒๖คน ในรพ.ศ/
ไม่ ได้ จ าเป็นที่จะต้องดู ถึง การพั ฒนาศัก ยภาพของทันต แพทย์ ในโรงพยาบาลระดับต่างๆด้วย น้องๆ ก็ย่อมมีความ
รพ.ท จะรับเพิ่มได้หรือไม่ FTE เกินมั้ย
ต้องการพัฒนาตนเอง จะเสียขวัญและกาลังใจอย่างมาก ใน ร่างแนวทางที่ออกมาก่อนหน้านี้ในช่วงตุลาคม ๒๕๕๘ นั้น ได้ไปกาหนดว่า ในระดับ F2 ไม่สามารถมีวุฒิบัตรเลย ซึ่งผม
กาหนดกันขึ้นนี้ สุดท้าย จะเหลือแต่แพทย์อาวุโสและเป็น ผอ. นั่ง ดูน้อ งๆ แพทย์ห มุ นเวียน ไปเรื่อ ยๆ ไม่ ส ามารถมี
เห็นว่าการฝึกทักษะที่สูงขึ้น อาจไม่จาเป็นต้องทาหัตถการที่ ต้องการเครื่องมือที่สูงขึ้น ซับซ้อนขึ้นหรือมากขึ้นเสมอไป
มีข้อมูลวิจัยอีกว่า น้องที่จบมาใช้ทุนปี ๒๕๕๗ มี ความต้องการศึกษาต่อ ถึง กว่าร้อยละ๗๐ และบอกด้วยว่า อยากเรียนสาขาอะไร นี่แสดงให้เห็นว่า แม้เราไปกาหนด กรอบ น้อ งๆตามรพช.ไว้ แล้วสุ ดท้ ายเค้าก็ต้องหาทางไป เรียน ถ้าไม่สามารถไปเรียนได้ตามแหล่งทุนตามหลักเกณฑ์ นี้ สุดท้ายก็อาจลาออก หรือแม้กระทั่งได้เรียนตามแผนที่
เรามี บ ทเรียนจาก แพทย์แล้วหรือ ไม่ ระบบที่
แพทย์อย่างเพียงพอสักที ไม่มีแพทย์ที่อยู่กับพื้นที่ได้ใกล้ชิด พื้นที่ สาหรับแพทย์การเรียนเฉพาะทางจาเป็นต้องแวดล้อม
แต่การได้ฝึกทักษะเพิ่มเติม ๓ ปี ทาให้มีความสามารถ มี ความมั่นใจ ในหลายๆสาขาๆ เช่น เด็ก endo ศัลย์ และ
ด้ ว ย แพทย์ เ ฉพาะทางสาขาอื่ น ๆ ด้ ว ย และเครื่ อ งมื อ อุปกรณ์ที่จาเป็นก็อยู่ในรพ.ขนาดใหญ่ แต่ ก ารบริ ก ารทั น ตกรรม ไม่ จ าเป็ น ต้ อ งมี ก าร
perio รวมทั้ ง เพื่ อ นร่ ว มงานเองก็ มี ค วามมั่ นใจในการมี สาขาต่างๆ ให้ปรึกษาหรือส่งต่อได้
พั ฒ นาเป็ น ไปตามแบบแผนของแพทย์ เนื่ อ งจาก เรา ต้องการให้ประชาชน มีโอกาสได้เข้าถึงบริการได้อย่างทั่วถึง
๒. ขณะที่ น้ อ งๆ ที่ จ บมา ทบ. มี ป ระสบการณ์ ทักษะการบริการที่จากัดพอสมควร มีข้อมูล ว่า
งานทั นตกรรม สามารถให้บ ริก ารจบได้ในจุดเดียว และ สาขาเฉพาะทางบางสาขาที่จาเป็นให้มีการเข้าถึงได้มากขึ้น
ในหลักสูตร ทบ. จากคณะต่างๆมหาวิท ยาลัย ขอปรับแก้หลักสูตร โดยขอลด requirement ลงน้อยมาก นั่นแสดงว่า น้อ งๆ ย่อ มขาดความมั่ นใจ ด้านทั ก ษะการ วารสารทันตภูธร
30
นั้ น ไม่ จ าเป็ น จะต้ อ งมี ก ารเพิ่ ม เครื่ อ งมื อ มากมายนั ก สามารถเกิ ดบริก ารได้ในระดับ รพช F1-2 ฉะนั้น ควรมี พิจารณาทบทวน ให้มีทพ.เฉพาะทางได้เ พิ่มขึ้นในสาขาที่ จาเป็น ในระดับต่างๆ โดยเฉพาะ F2,F1 ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
โดยส่วนตัวจึงขอเสนอว่า การกาหนดสาขา ในระดับวุฒิบัตร นั้น ให้เปิดกรอบให้มีสาขาได้มากขึ้น แต่เวลาจัดสรรโควตาจากจังหวัด และเขต ตามลาดับนั้นให้จัด priority ตามหลักเกณฑ์เดิมได้ จะทาให้น้องๆ ใน พื้นที่เกิดการยอมรับ หลักเกณฑ์ที่ประกาศออกไป ไม่บีบ รัดเกินไป โดยเสนอว่าให้มีวุฒิบัตร ๑. F1 เพิ่มวุฒิบัตรสาขา ทันตกรรมเด็ก และ maxillo-facial หรือตามความจาเป็นของพื้นที่ ๒. F2 มีวุฒิบัตรได้ ใน ๓ สาขา ทันตกรรมทั่วไป (Super GP), prosthetic, endo ๓. ความต้องการที่กระทรวงรวบรวมจากโรงพยาบาลต่างๆ ในภูมิภาค และเสนอเข้าไปยังทันตแพทยสภา และราช วิทยาลัยทันตแพทย์ ในปีการศึกษานี้ ๒๕๕๙ -๒๕๖๐ จะเห็นได้เลยว่ามีความต้องการจานวนมาก ทั้งนี้ยังไม่รวมถึง ความ ต้องการจากทันตแพทย์ภาคเอกชน จึงไม่มีทางเป็นไปได้เลยที่ คณะฯ หรือสถาบัน และมหาวิทยาลัยต่างๆ จะรองรับความ ต้องการได้ทัน ผมจึงเสนอว่าให้ผลักดันและเพิ่มศักยภาพให้โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป ที่มีความพร้อมสามารถ เป็นสถาบันหลัก หรือสมทบ ในการร่วมผลิตทันตแพทย์เฉพาะทาง ทั้งหลักสูตร ๑ ปี และหลักสูตร ๓ ปี ในสาขาที่มีความพร้อม ควบคู่ไปด้วย ซึ่ง ได้มีความพยายามทาตามแนวทางที่มีการเสนอไว้ นั้น ผมเองขอเชิญชวนให้พี่น้องทันตแพทย์ในโรงพยาบาลที่มีความพร้อมหรือเป็นไปได้ มาร่วมกันพัฒนาเปิดเป็นสถาบัน อบรมวุฒิบัตร เพื่อการผลิตทันตแพทย์เฉพาะทางให้เพียงพอต่อความต้องการในส่วนภูมิภาคต่อไปครับ ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นส่วนตัว แม้จะยังไม่สามารถเป็นได้ในระยะอันสั้นนี้ แต่หวังว่าในอนาคตจะสามารถเสนอแนวทาง เพื่อร่วมกันพัฒนา วงการทันตแพทย์ในส่วนภูมิภาค และของประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไปครับ
วารสารทันตภูธร
31
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
คลินิกทันตกรรมเบ็ดเสร็จครบวงจรที่ มหานครท่าตูม โดย ทพญ. อารยา วรรณโพธิ์กลาง โรงพยาบาลท่าตูม อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ มหานครท่าตูม หรื อ อาเภอท่าตูมของเรา อยู่ติดกับ สุวรรณภูมิ (อาเภอในจังหวัดร้ อยเอ็ด) ห่างจากอาเภอเมือง จั ง หวั ด สุ ริ นทร์ 53 กิ โ ลเมตร มี ป ระชากรราวแสนคน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โรงพยาบาลท่ า ตูม เป็ น โรงพยาบาลชุม ชนขนาด ไม่เล็กไม่ใหญ่คือ 90 เตียง ตังอยู ้ ่บนถนนสายหลักที่เดินทาง ไปยังจังหวัดร้ อยเอ็ด ทาเลที่ตงสามารถเข้ ั้ าถึงง่าย นอกจาก บริ ก ารทางการแพทย์ ทั่ว ไปและแพทย์ เ ฉพาะทางได้ แ ก่ อายุรกรรม สูตินรีเวชกรรม กุมารเวชกรรม นอกจากนี โ้ รงพยาบาลท่ า ตูม ยัง ขยายการเข้ า ถึ ง บริ การพิ เศษอื่น ๆ เพื่อให้ ประชาชนได้ รับบริ การที่สะดวกใกล้ บ้ านเช่น การผ่าตัดตาต้ อกระจก การตรวจภายในด้ วยเครื่ อง คอลโปสโคป (Colposcope) คลินิกเวชกรรมไทย ศูนย์ไตเทียม รวมทังมี ้ แพทย์เฉพาะทางบางสาขามาให้ บริการเป็ นประจา นอกเวลาราชการได้ แก่ แพทย์ศลั ยกรรมกระดูกและข้ อ แพทย์ฝังเข็ม จักษุแพทย์ จิตแพทย์ แพทย์เวชกรรมฟื น้ ฟู เป็ นต้น สาหรับคลินิกทันตกรรม ตังอยู ้ ่ที่ตกึ ทันตกรรม โรงพยาบาลท่าตูม ซึ่งเป็ นอาคารชันเดี ้ ยวมองเห็นชัดเจนเมื่อขับรถผ่านหน้ า โรงพยาบาล วารสารทันตภูธร
32
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
วารสารทันตภูธร
33
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ตึก ทันตกรรมได้ รับ การสนับ สนุนงบประมาณ จากเขตบริ ก ารสุข ภาพและสมทบเพิ่ ม ด้ วยเงิ น บ ารุ ง โรงพยาบาลท่าตูม วางแปลนโครงสร้ างตึก ทันตกรรมมี พืน้ ที่ใช้ สอย 285 ตารางเมตร การจัดโครงสร้ างภายใน ประกอบด้ วยบริ เวณให้ บริ การรักษาทางทันตกรรมที่เป็ น สัด ส่ ว น 6 ห้ อง บริ เ วณให้ บริ ก ารสร้ างเสริ ม สุข ภาพ รายบุคคล (เช่น การสอนสุขศึกษา การปรับพฤติกรรม) บริ เวณสนับสนุนบริ การหรื อห้ องซัพพลายเป็ นส่วนที่ล้าง ท าความสะอาด ฆ่ า เชื อ้ เครื่ อ งมื อ วางพื น้ ที่ ใ ห้ เดิ น เครื่องมือเป็ นทิศทางเดียวโดยแยกส่วนสกปรกกับสะอาด ออกจากกัน บริ เวณที่พักรอของผู้รับบริ การ รวมทัง้ ห้ อง เอกซเรย์ ห้ องน ้า และห้ องสานักงานภายในอาคาร ตึก ทัน ตกรรมเปิ ดให้ บริ ก ารเมื่ อ 28 ธัน วาคม 2556 ให้ บริ การทังในและนอกเวลาราชการทุ ้ กวัน ไม่เว้ น วัน หยุด นัก ขัตฤกษ์ ด าเนิ น งานบริ ก ารทัน ตกรรมแบบ จุ ด เ ดี ย ว เ บ็ ด เ ส ร็ จ ( one stop service) ห ม า ย ถึ ง ผู้รับบริการทันตกรรมรับบริการได้ ตงแต่ ั ้ ทาบัตร ซักประวัติ ท าฟั น ช าระเงิ น และรับ ยาได้ ที่ จุด บริ ก ารเดี ย ว คือตึก วารสารทันตภูธร
34
ทัน ตกรรม นอกจากนัน้ ยังดาเนิ นงานสนับ สนุนบริ การ หรื อซัพพลายคือ ล้ างทาความสะอาด ฆ่าเชือ้ เครื่ องมือ ทันตกรรม จัดเก็บและนามาใช้ ใหม่เองอีกด้ วย ทั น ตบุ ค ลากรประกอบด้ วยทัน ตแพทย์ 9 คน ทั น ต าภิ บ าล 3 ค น แ ล ะ ผู้ ช่ ว ยทั น ต แ พทย์ 11 ค น มีทัน ตแพทย์ เ ฉพาะทาง 4 สาขาคือทัน ตกรรมหัตถการ ปริ ทันตวิทยา ทันตกรรมสาหรับเด็ก และวิทยาเอ็นโดดอนท์ การให้ บ ริ ก ารทัน ตกรรมแบบจุด เดี ย วเบ็ดเสร็จ (one stop service) เจ้ าหน้ าที่ ใ นฝ่ ายทัน ตสาธารณสุข เป็ น ผู้ให้ บ ริ ก ารทุก ขันตอน ้ รวมทัง้ การทาความสะอาด ฆ่าเชื ้อเครื่องมือ ถึ ง แม้ ว่า จ านวนทัน ตแพทย์ จ ะมีม ากกว่ายูนิ ต ทั น ตกรรม หากในแต่ ล ะวั น จะมี ทั น ตแพทย์ อ อก ปฏิ บั ติ ง านที่ ศู น ย์ แพทย์ เฉพาะทางฯกระโพ แ ล ะ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลด้ วย ส่วนทันตาภิบาล นอกจากให้ บ ริ ก ารทัน ตกรรมป้ องกัน ทั ง้ ในคลินิกเด็กดี คลินิกฝากครรภ์ ออกหน่วยร่วมกับทันตแพทย์ใน ศพด. แล้ วยังเป็ นเจ้ าหน้ าที่รับชาระเงินและจ่ายยาด้ วย ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ขัน้ ตอนการรับบริการทันตกรรมที่ตึกทันตกรรมมี 3 ขัน้ ตอนใหญ่ ๆ คือ ก่อนพบทันตแพทย์ พบทันตแพทย์ และหลังพบทันตแพทย์ ผู้รับบริการได้ รับบริการตังแต่ ้ ต้นจนเสร็จที่จดุ บริการเดียว แต่ผ้ ปู ่ วยที่มีโรคทางระบบเช่น ความดัน โลหิตสูง โรคหัวใจ ต้ องส่งปรึกษาแพทย์ก่อนทาฟั นที่ตึกผู้ป่วยนอก ดังนัน้ เพื่อแก้ ปัญหาผู้ป่วยรอรับบริ การนานเกิน ไป ให้ แก่ผ้ ปู ่ วยเหล่านี ้ รวมทัง้ ผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีอาการปวด บวมรุนแรงควรได้ รับการรักษาก่อน จึงได้ จัดระบบ Fast tract ขึ ้น โดยใช้ แบบฟอร์ มการซักประวัติที่มีสีต่างจากกลุ่มอื่น เพื่อที่จะได้ สงั เกตเห็นได้ ง่าย สามารถส่งปรึกษาหรื อพิจารณาการ รักษาที่เหมาะสมได้ ก่อนกลุม่ อื่น นอกจากนันในช่ ้ วงเช้ าจัดให้ มีบริการทันตกรรมเฉพาะทางเพิ่มขึ ้นเป็ น 2 ยูนิต เพื่อให้ คิว นัดรักษาทันตกรรมเฉพาะทางไม่ยาวเกินไป ส่วนผู้ที่ถอนฟั นกรามซี่ที่ 3 จะได้ รับการถ่ายภาพเอกซเรย์ก่อนพบทันตแพทย์ โดยผู้ที่ทาบัตรจะบันทึกไว้ ที่แบบฟอร์มการซักประวัติและผู้ช่วยทันตแพทย์จะเป็ นผู้ถ่ายภาพเอกซเรย์ (รูปที่ 1) จากการเก็บรวบรวมข้ อมูลระยะเวลาในการรับบริการขัน้ ตอนต่ าง ๆ พบว่ า 1. ขันตอนก่ ้ อนพบทันตแพทย์ ผู้รับบริ การใช้ เวลาเฉลี่ย 33 นาที โดยเป็ นเวลาที่เจ้ าหน้ าที่ใช้ เวลาใน การทาบัตร ซักประวัติ 10 นาที 2. ขันตอนพบทั ้ นตแพทย์ ผู้รับบริการใช้ เวลาทาฟันเฉลี่ย 24 นาที โดยใช้ เวลารอรับบริการตามลาดับ คิวเฉลี่ย 35 นาที 3. ขันตอนหลั ้ งพบทันตแพทย์ ผู้รับบริการใช้ เวลาชาระเงินและรับยาเฉลี่ย 4 นาที รวมระยะเวลาในการรับบริการเฉลี่ย 96 นาที หรือ 1 ชัว่ โมง 36 นาที
วารสารทันตภูธร
35
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
รูปที่ 1 ขันตอนการรั ้ บบริการทันตกรรมที่ตกึ ทันตกรรม วารสารทันตภูธร
36
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ในการพัฒนาบริการทันตกรรมจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (one stop service) ฝ่ ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลท่าตูมได้ นา Balanced Scorecard มาใช้ ในระบบคุณภาพของหน่วยงานสะท้ อนการดาเนินงานในมุมมอง 4 ด้ านหลัก (รูปที่ 2) คือ
รูปที่ 2 มุมมอง 4 ด้ านหลักในระบบคุณภาพของฝ่ ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลท่าตูม วารสารทันตภูธร
37
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
มุมมองด้ านลูกค้ า (Customer perspective) ฝ่ ายทั น ตสาธารณสุข โรงพยาบาลท่ า ตูม ให้ บริ ก าร ทันตกรรมที่ตอบสนองความต้ องการของผู้รับบริการ มีเป้าหมาย คุณภาพที่สาคัญในการพัฒนาบริ การทันตกรรม คือ ผู้ป่วยได้ รับ การรักษาทาง ทันตกรรมตรงตามอาการสาคัญ (chief complaint) ได้ รับ บริ ก ารที่รวดเร็ ว ถูก ต้ องตามมาตรฐานวิชาชี พ ปลอดภัย ไม่มีภาวะแทรกซ้ อนและพึงพอใจ มุมมองด้ านกระบวนการ (Internal process perspective) ฝ่ ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลท่าตูมพัฒนาระบบงาน สาคัญที่เกี่ยวข้ องกับงานบริ การทันตกรรมให้ มีความปลอดภัยต่อ ผู้ให้ และผู้รับบริการ โดยยึดถือแนวทางปฏิบตั ิเพื่อความปลอดภัย ทางทันตกรรมของทันตแพทยสภา (Thai Dental Safety Goals & Guidelines 2010) เป็ นมาตรฐาน มุมมองด้ านการเรียนรู้และพัฒนา (Learning & Growth perspective) ทันตบุคลากรมีความมุง่ มัน่ พัฒนาสร้ างสรรค์สิ่งใหม่เพื่อเป้าหมายคุณภาพที่สาคัญในการพัฒนาบริการทันตกรรม มุมมองด้ านการเงิน (Financial perspective) ฝ่ ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลท่าตูมพัฒนาการบริหารจัดการให้ มีประสิทธิภาพ ภายใต้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จากัด จากการน า Balanced Scorecard มาวิ เ คราะห์ มุ ม มอง 4 ด้ านหลั ก ในการพั ฒ นาระบบคุ ณ ภาพของ หน่วยงานนาไปสู่กลยุทธ์และการนากลยุทธ์ไปสู่การปฏิ บัติ โดยเริ่มจากทันตบุคลากรทังใหม่ ้ และเก่าต้ องเพิ่มศักยภาพให้ รองรับ ระบบงานสนับสนุนบริ ก ารที่ต้ องด าเนิ นการเองโดย ยึ ด ถื อ มาตรฐานเพื่ อ สนองความต้ อ งการของผู้รั บ บริ ก าร อีก ทัง้ พัฒนาศัก ยภาพของทันตแพทย์ ให้ มีค วามเชี่ ยวชาญ เฉพาะด้ านเพื่ อให้ มีทัน ตแพทย์ เ ฉพาะทางที่ เ หมาะสมกับ ขนาดของโรงพยาบาล วารสารทันตภูธร
38
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
การพัฒนาศักยภาพของผู้ช่วยทันตแพทย์ ที่เป็ นลูกจ้ างชัว่ คราวใช้ การฝึ กอบรมในขณะปฏิบตั ิงาน (On The Job Training :OJT) โดยทันตแพทย์เป็ นผู้ให้ คาแนะนาเชิงปฏิบตั ิ ฝึ กปฏิบัติจริ งในพื ้นที่การทางานในช่วงเวลาการทางาน ปกติในลักษณะตัวต่อตัว หรื อฝึ กปฏิบัติเป็ นกลุม่ เล็ก ๆ เพื่อพัฒนาทักษะพืน้ ฐานเช่น การผสมวัสดุทนั ตกรรม การผสมผง พิ มพ์ ป าก การเทแบบพิ มพ์ ด้ วยปูน นอกจากนัน้ ทัน ตแพทย์ ยังมีก ารทวนสอบทัก ษะ (2 Tick) แก่ ผ้ ชู ่ วยทัน ตแพทย์ เช่น ทักษะการช่วยงานทันตกรรมเฉพาะทาง การเอกซเรย์เป็ นประจาทุกปี สาหรับงานทาบัตร ตรวจสอบสิทธิ ซักประวัติได้ พัฒนาแบบฟอร์ มการซักประวัติแบบฟอร์ มเดียวที่บนั ทึกข้ อมูลครบถ้ วนทัง้ อายุ นา้ หนัก ส่วนสูง สิทธิการรักษา ความดัน โลหิต ชีพจร อาการสาคัญ ประวัติความเจ็บป่ วยและประวัติการใช้ ยา ทังนี ้ ้ผู้ที่ทาบัตรต้ องมีความรู้การเรียกชื่อฟันแต่ละซี่ เพื่อใช้ สื่อสารกับทันตแพทย์ด้วย การพัฒนาศักยภาพของทันตาภิบาล เกี่ยวกับการรับชาระเงิน จ่ายยาซึ่งได้ เรียนรู้กบั เจ้ าหน้ าที่การเงินและเภสัช กรตังแต่ ้ ก่อนย้ ายไปให้ บริการที่ตกึ ทันตกรรม ทันตแพทย์ยงั ทา 2 Tick การอุดฟัน ถอนฟัน ขูดหินปูนให้ แก่ทนั ตาภิบาล ทันตบุคลากรทุกคน จะได้ รับการฝึ กอบรมการช่วยฟื น้ คืนชีพเบื ้องต้ นจากงานอุบตั ิเหตุและฉุกเฉินเป็ นประจาทุกปี และมีการซ้ อมแผนขอความช่วยเหลือและเคลื่อนย้ ายผู้ป่วยที่เกิดภาวะฉุกเฉินร่วมกันด้ วย นอกจากนันยั ้ งได้ ศกึ ษาต้ นทุนต่อ หน่วยของงานทัน ตกรรมในปี 2557 และน าข้ อมูลต้ น ทุนทันตกรรมประดิ ษฐ์ มากาหนดราคาที่เ ป็ น ธรรมต่อผู้รับ บริ การ รวมทังมี ้ การทา CQI เรื่องต่าง ๆ เช่น การประหยัดแผงฟันที่ใช้ ในงานฟันเทียมถอดได้ การ wrap film ระบบ fast tract ทาง ทันตกรรม วารสารทันตภูธร
39
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
การเตรียมความพร้ อมของทันตบุคลากรเป็ น สิ่งที่ สาคัญที่สดุ สาหรับการเปลี่ยนแปลงระบบการทางานฝ่ าย ทันตสาธารณสุข พัฒนาขันตอนการรั ้ บบริการทันตกรรม มาตังแต่ ้ ยังไม่ย้ายจากตึกผู้ป่วยนอก โดยเริ่ มจากการลด ขันตอนการรั ้ บบริ การ สู่การให้ บริ การทันตกรรมแบบจุด เดียวเบ็ดเสร็จ (one stop service) ทันตบุคลากรรับรู้ใ น นโยบายสาคัญของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็ นนโยบายการ ขยายพื ้นที่บริการของงานผู้ป่วยนอก และนโยบายพัฒนา คุณ ภาพโรงพยาบาลที่ ม้ ุงเน้ นผู้ป่ วยเป็ นศูน ย์ ก ลาง พัฒนาบริ ก ารคุณ ภาพมาตรฐานและตอบสนองความ ต้ องการของผู้รับบริการ ช่วยกันกาหนดเป้าหมายคุณภาพ ที่สาคัญในระบบบริ การทันตกรรม นาความต้ องการของ หน่ ว ยงานอื่ น มาวิ เ คราะห์ ก่ อ นที่ จ ะด าเนิ น การแทน มีแนวทางป้องกันหรื อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้น หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ จะนามาทบทวนเหตุการณ์สาคัญเพื่อ หาจุดอ่อนของระบบ ให้ การรักษาตามมาตรฐานของทันตแพทยสภา จัดทาคูม่ ือในการปฏิบตั ิงาน มีการทบทวนทักษะ(2 Tick) โดยผู้ชานาญกว่า รวมทังมี ้ ตวั ชี ้วัดการดาเนินงานเพื่อเป็ น ตัว บ่ ง ชี เ้ ป้ า หมายและใช้ วัด ผลการด าเนิ น งาน เมื่ อ ทั น ตบุ ค ลากรร่ ว มกั น คิ ด ร่ ว มกั น ท าจึ ง ท าให้ มี ค วาม ภาคภูมิใจในหน่วยงานสามารถพัฒนาระบบให้ ดียิ่ง ๆ ขึ ้น ไป วารสารทันตภูธร
40
การเปิ ดให้ บริการที่ตกึ ทันตกรรมมีการลงทุนเพิ่ม ทัง้ ครุ ภัณ ฑ์ ทัน ตกรรม วัสดุอุป กรณ์ ท างทัน ตกรรมและ ทันตบุคลากร แต่สามารถให้ บริการทันตกรรมพื ้นฐานและ ทันตกรรมเฉพาะทางได้ เพิ่มขึ ้น เมื่อเปรี ยบเทียบปริมาณ งานบริ ก ารในคลินิ ก ทันตกรรม ในเวลาราชการปี พ.ศ. 2556 – 2558 พบว่า ผู้รั บ บริ ก ารมี แ นวโน้ มเพิ่ ม ขึน้ จาก เฉลี่ยวันละ 45 ราย เป็ นเฉลี่ยวันละ 60 ราย ปี พ.ศ. 2557 มีผ้ มู ารับบริ การเฉลี่ยต่อวันมากที่สดุ 64 ราย ในแต่ละวัน มารับบริ การทันตกรรมพื ้นฐานมากที่สดุ โดยมารับบริการ ถอนฟั น และอุดฟั น มากกว่าขูดหินนา้ ลาย ส่วนแนวโน้ ม งานทันตกรรมป้องกันทัง้ 3 ปี มีผ้ รู ับบริ การเฉลี่ยแต่ละวัน ใกล้ เ คี ย งกันคื อ 5-6 ราย สาหรับ สัดส่วนงานทัน ตกรรม เฉพาะทางต่อปริ มาณงานทันตกรรมทั ง้ หมดมีแนวโน้ ม เพิ่มขึ ้นทุกปี (รูปที่ 3) การมีทันตแพทย์เฉพาะทางหลาย ด้ านทาให้ ผ้ รู ับบริ การได้ รับบริ การเฉพาะทางเพิ่มขึ ้นและ ครบวงจร ไม่ต้องเดินทางไกลเพื่อมารับการรักษากับทันต แพทย์ เ ฉพาะทางที่ โรงพยาบาลศูน ย์ ทัน ตแพทย์ ทั่วไป สามารถเพิ่มทักษะในการทางานที่ย่งุ ยากซับซ้ อนได้ มาก ขึ ้นเนื่องจากมีทันตแพทย์เฉพาะทางให้ คาปรึกษา อีกทัง้ คลินิ ก ทัน ตกรรมให้ บ ริ การประชาชนทุกสิทธิ์ ทงั ้ ในเวลา และนอกเวลาราชการ นับเป็ นการเพิ่มการเข้ าถึงบริ การ ทันตกรรมของประชาชนอาเภอท่าตูมและอาเภอใกล้ เคียง ซึ่งอยู่ไกลจากอาเภอเมือง ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
รูปที่ 3 ประเภทและปริมาณงานบริการต่อวันในคลินิกทันตกรรม โรงพยาบาลท่าตูม ในเวลาราชการ พ.ศ. 2556-2558 ตึกทันตกรรมเป็ นอาคารชันเดี ้ ยวสามารถมองเห็นได้ จากถนนใหญ่ โครงสร้ างภายในแบ่งเป็ นบริเวณต่าง ๆ ชัดเจน ตัง้ แต่เ คาน์ เ ตอร์ ท าบัต ร ที่ นั่งรอของผู้รับ บริ การ เคาน์ เ ตอร์ ป ระชาสัมพัน ธ์ ห้ องให้ บ ริ ก ารที่ แบ่งเป็ นสัด ส่วน สะอาด สวยงาม ทางเดินกว้ างขวาง พร้ อมด้ วยเครื่องมือที่ทนั สมัยทัง้ ยูนิตทันตกรรม ห้ องเอกซเรย์ระบบดิจิตอล เวชระเบียนเป็ น ระบบ paperless ทาให้ ภาพลักษณ์ของคลินิกทันตกรรมคล้ ายสถานบริการเอกชน การพัฒนาคลินิกทันตกรรมในโรงพยาบาลของ รัฐ ให้ ดี ขึน้ พัฒนาอุป กรณ์ ท างการแพทย์ ใ ห้ ทัน สมัย เพิ่มคุณภาพการบริ การ ลดเวลาการรอคอยและความ แออั ด ลง ท าให้ เพิ่ ม ทางเลื อ กให้ ประชาชนหรื อ ข้ าราชการก็จะทาให้ โรงพยาบาลมีรายได้ เพิ่มขึ ้น อย่ าง ไร ก็ ต าม ก าร พั ฒ น าร ะ บ บ บ ริ การ ทันตกรรมเพียงอย่างเดียวก็ไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย ข อ ง ก า ร ล ด โ ร ค ใ น ช่ อ ง ป า ก ไ ด้ ดั ง นั ้ น ฝ่ า ย ทั น ตสาธารณสุ ข ต้ องด าเนิ น งานส่ ง เสริ ม ป้ อ งกั น ทางทันตสุขภาพอย่างเข้ มแข็งด้ วย วารสารทันตภูธร
41
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ปากแหว่งเพดานโหว่…ปัญหาที่ไม่ได้มีเพียงแต่ในช่องปากเท่านั้น นพ.ศรัณย์ วรศักดิ์วุฒิพงษ์ ศัลยศาสตร์ตกแต่ง โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร รักษาการผู้อานวยการ สถานรักษาแก้ไขภาวะปากแหว่งเพดานโหว่และความผิดปกติของศีรษะและใบหน้า มหาวิทยาลัยนเรศวร
ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ เป็ น ความผิด ปกติ ตงั ้ แต่ ก าเนิ ด ที่ พ บได้ บ่ อ ยที่ สุด แม้ ในปั จ จุ บั น จะพบน้ อยลง แต่ ยังมีผ้ ปู ่ วยอีก มากที่ยังไม่ได้ รับ การรักษาที่ ครอบคลุมทุกด้ าน หากไม่ได้ รับการรักษาที่ครบถ้ วนสมบูรณ์แล้ วก็จะส่งผลท าให้ ผู้ป่วยไม่สามารถดารงชีวิตได้ อย่างปกติได้ ทัง้ ยังส่งผลกระทบ มากมายทั ง้ ร่ า งกายและจิ ต ใจ รวมถึ ง การเข้ าสัง คม เช่ น การเสีย โอกาสได้ รับหน้ าที่ก ารงานที่ดี หรื อการมีครอบครัวที่ สมบูรณ์ หลายครัง้ ที่พบผู้ป่วยสูงอายุที่ยังไม่ได้ รับการเย็บซ่อม เพดานโหว่เ ลย และผู้ป่ วยเกื อบจะทัง้ หมดมีปั ญหาฟั นผุหรื อ ปั ญ หาสุขภาพในช่องปาก มัก ขาดการดูแลสุขภาพฟั น และมี รูปหน้ าที่ผิดปกติไปเมื่อเจริญเติบโต ดังนันทั ้ นตแพทย์จึงเป็ นคน สาคัญอย่างมากในการเข้ ามามีบทบาทในการดูแลรักษาภาวะนี ้ การดูแลรักษาภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ที่สถานรักษา แก้ ไขภาวะปากแหว่งเพดานโหว่และความผิดปกติของศีรษะ และใบหน้ า มหาวิท ยาลัย นเรศวร ในปั จ จุบัน เริ่ มทากันตังแต่ ้ อยู่ในครรภ์ เพราะการตรวจอัลตราซาวด์โดยสูติแพทย์ได้ พฒ ั นามากขึ ้น ทาให้ สามารถวินิจฉัยได้ ตงแต่ ั ้ ทารกอยู่ในครรภ์ และ วารสารทันตภูธร
42
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ตรวจสุขภาพมารดาและทารกในครรภ์อย่างละเอียดต่อไป หากพร้ อมที่จะสามารถตังครรภ์ ้ ต่อไปได้ ก็จะให้ คาแนะนาการ ดูแลรักษาเพื่อเป็ นการเตรี ยมพร้ อม และปรับสภาพจิตใจให้ พร้ อมยอมรับทารกที่กาลังจะคลอดมา พบว่าสามารถทาให้ ลดความกังวลพ่อแม่และญาติ ๆ ได้ เมื่อทารกคลอดออกมาก็จะได้ รับการดูแลจากกุมารแพทย์ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้ วมักไม่มีปัญหาโรคอื่นๆ ร่วมด้ วย จึงสามารถให้ การดูแลรักษาแบบเด็กทารกปกติได้ คือ ส่งเสริ มให้ กินนมจากเต้ านมแม่ได้ แต่อ าจจะมีความลาบากเล็กน้ อย ซึ่งจะได้ รับคาแนะนาการให้ นมแม่ด้วยเทคนิคพิเศษจากพยาบาลผู้เชี่ยวชาญของคลินิกนมแม่ น้ อยรายที่จะต้ องใช้ ขวดนม พิเศษซึ่งมีราคาแพง หรือต้ องใส่สายให้ อาหาร ในระยะแรกคลอดนี ้
บทบาทของทันตแพทย์สามารถเข้ ามาร่ วมรัก ษา ได้ เ ลยหากทารกพร้ อมสาหรั บ การใส่เครื่ องมือทางทันตกรรม ในอดีตทันตแพทย์จัดฟั นจะทาเพดานเทียมเพื่อช่วยในการดูดนมให้ ดีขึ ้น แต่ปัจจจุบันได้ มีการพัฒนาเป็ น Nasoalveolar molding หรื อ NAM ซึ่งนอกจากการช่วยให้ ช่องว่างของปากแหว่งและเพดานโหว่ลดขนาดลงแล้ ว ยังช่วยจัดสันเหงือกและ จมูกให้ กลับมาเป็ นปกติมากขึ ้นด้ วย ทารกแรกคลอดทุกรายจะต้ องได้ รับการตรวจหูและคัดกรองการได้ ยิน หากมีความ ผิดปกติก็จะผ่าตัดเจาะระบายน ้าในหูพร้ อมกับการผ่าตัดเย็บซ่อมริมฝี ปากเมื่ออายุ 3 เดือนขึ ้นไป ซึ่งพร้ อมสาหรับการผ่าตัด ด้ วยการดมยาสลบ วารสารทันตภูธร
43
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
การใส่เครื่องมือเพื่อจัดสันเหงือกและจมูก
ก่อนใส่เครื่องมือ
วารสารทันตภูธร
หลังใส่เครื่องมือ 3 เดือน
44
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
หลังจากนัน้ ก่อนที่เด็กจะเริ่ มพูดคือก่อน 1 ขวบนัน้ จะต้ องเข้ ารับการผ่าตัดเสริ มสร้ างเพดาน เพื่อทาให้ โครงสร้ าง ต่างของกล้ ามเนื ้อต่างๆ ของเพดานกลับมาสูภ่ าวะปกติก่อนที่เด็กจะเริ่มพูด ก็จะได้ รับการฝึ กพูดเป็ นระยะๆ ต่อไป หลังจาก ช่วงนีก้ ็จะเป็ นช่วงที่ทนั ตแพทย์เข้ ามามีบทบาทสาคัญอีกครัง้ หนึ่งในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันซึ่งต้ องเริ่ มตังแต่ ้ ฟัน น ้านมซี่แรกที่ขึ ้น ไม่ให้ เกิดปัญหาฟันผุ ดูแลให้ ฟันน ้านมหลุดตามเวลาสมควรและฟันแท้ ขึ ้นอย่างเหมาะสม หลังจากนันก็ ้ จะ ถึงเวลาของการจัดฟั นและการทาผ่าตัดปลูกถ่ายกระดูก สันเหงือก การดูแลสุขภาพช่องปากและฟั นในระยะนีจ้ ะมีเ วลา ยาวนานถึงประมาณ 10 ปี
ดังนัน้ ทันตแพทย์จึงมีความสาคัญมากๆ จนถึ งช่วงอายุวัยรุ่ นที่ กระดูก ใบหน้ าเจริ ญเติบ โตเต็มที่ แล้ วจะทาการ ประเมินอีกครัง้ ว่าจาเป็ นต้ องผ่าตัดขากรรไกร (Orthognathic surgery) ร่วมด้ วยหรือไม่ และปิ ดท้ ายการรักษาด้ วยการผ่าตัด ตกแต่งริ มฝี ปากและจมูก นอกเหนือไปจากการรักษาทางกายที่กล่าวมาข้ างต้ นแล้ วต้ องให้ ความสาคัญทางด้ านจิตใจด้ วย ซึ่งก็ต้องประเมินเป็ นระยะๆ จากจิตแพทย์หรื อนักจิตวิทยา เพื่อให้ การดูแลรักษาประสบความสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การมีคณ ุ ภาพชีวิตที่ที่สดุ ของผู้ป่วย จะเห็นได้ ว่าการดูแลรักษาภาวะปากแหว่งเพดานโหว่นี ้ มีรายละเอียดซับซ้ อนและต้ องใช้ บุคลากรทางการแพทย์ หลากหลายสาขา ดังนัน้ จึงมีความจาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องให้ การดูแลรักษาโดยบุคลากรทางการแพทย์หลากหลายสาขา วิชาชีพที่ทางานร่วมกันทีมที่เรี ยกว่า “ทีมสหวิทยาการ (Interdisciplinary)” มีการร่วมประชุมกันเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและ ดาเนินการรักษาผู้ป่วยแต่ละรายเป็ นขันตอนโดยอาศั ้ ยแนวทางการรักษาเดียวกัน วารสารทันตภูธร
45
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ในโอกาสนี ้ทางสถานรักษาแก้ ไขภาวะปากแหว่งเพดานโหว่และความผิดปกติของศีรษะและใบหน้ า มหาวิทยาลัย นเรศวร จึงใคร่ อยากจะขอเชิญชวนท่านทันตแพทย์ที่ ได้ พบเจอผู้ป่วยเหล่านี ไ้ ด้ ใ ห้ ความช่วยเหลือในการรักษาสุขภาพ ช่องปาก และส่งตัวต่อเพื่อทาการรักษาต่อตามขันตอนต่ ้ างๆ ตามช่วงอายุให้ ครบถ้ วนสมบูรณ์
วารสารทันตภูธร
46
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
โดยท่านสามารถส่งตัวไปยังสถานพยาบาลใกล้ เคียงที่สามารถรักษาโรคนี ไ้ ด้ อย่างครบวงจร หรื อโรงพยาบาลที่ รักษาภาวะปากแหว่งเพดานโหว่นี ้ได้ ซึ่งภาวะนีส้ ามารถใช้ สิทธิการรักษาตามบัตรประกันสุขภาพถ้ ว นหน้ าแห่งชาติได้ ทกุ ขันตอนการรั ้ กษาตามโครงการ “ยิ ้มสวย เสียงใส” ของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) หากท่านมีข้อสงสัย ในการรักษาสามารถสอบถามได้ ที่ สถานรักษาแก้ ไขภาวะปากแหว่งเพดานโหว่และความผิดปกติของศี รษะและใบหน้ า มหาวิทยาลัยนเรศวร อ.เมือง จ.พิษณุโลก หรือศูนย์อื่นๆ ที่กระจายอยู่ทวั่ ประเทศ การดูแลรักษาที่สาคัญ ของภาวะปากแหว่งเพดานโหว่นี ้ ควรมีการดูแลรักษาที่เป็ นที มสหวิทยาการ โดยเน้ นทัง้ ทางด้ านส่งเสริมป้องกัน แก้ ไขรักษาและฟื น้ ฟูสมรรถภาพรวมไปถึงด้ านจิตใจเพื่อทาให้ ผ้ ปู ่ วยกลับมามีสภาวะที่ปกติได้ มาก ที่สดุ สามารถอยู่ร่วมอยู่ในสังคมอย่างมีคณ ุ ภาพชีวิตสูงสุด ประสานงานบทความโดย อ.ทพญ.ดร.จุฑารัตน์ ฉิมเรือง คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
วารสารทันตภูธร
47
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
วารสารทันตภูธร
48
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
เคล็ดไม่ลับ กับการใช้ข้อมูล 43 แฟ้ม สาหรับทันตกรรม ทพ.ธนัฏฐนนท์ อัศววัฒฑกี รพ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช Rdentdata แหล่งข้อมูลจากฐานข้อมูลในระดับ รพ.สต. และโรงพยาบาลมีข้อมูลทีล่ ะเอียดมากกว่า HDC ที่หลายคนมองข้ามที่จะใช้ ข้อมูลเหล่านี้ ประเด็นคือไม่ทราบว่ามันจะนามาใช้อย่างไร หรือไม่ทราบว่ามีข้อมูลอะไรอยู่ที่ไหน ทันตบุคลากรเราก็สักแต่คีย์ และส่งทาให้เกิดปัญหา การคีย์เป็นภาระงานและไม่สามารถนาสิ่งต่างๆที่บนั ทึกไปมาใช้งานได้ วันนี้ผมจึงนาตัวอย่างการใช้ข้อมูล ใน ระบบ JHCIS และ Hosxp มาเป็นแนวทางในการทดลองใช้ประโยชน์ท่านไม่จาเป็นต้องเขียนรายงานเป็นแต่ท่านต้องทราบว่า สิ่ ง ที่ ต้ อ งการอยู่ ที่ ไ หน ขั้ น ตอนของการพั ฒ นางานจะวางแผนได้ ดี ถ้ า เรามี ข้ อ มู ล ที่ ดี Information system เป็ น หนึ่ ง ใน องค์ประกอบที่สาคัญในการสร้างระบบสุขภาพ Six building block วันนี้เราลองมาเล่นข้อมูลที่เรามีกันดีกว่าเพื่อจะได้เ ป็น ไอเดียในการนาไปใช้ key word ง่ายในวันนี้คือบันทึกอะไรไป ได้อย่างนั้น คานี้คือถ้าต้องการข้อมูลที่ถูกต้องก็ต้องเริ่มจากการมี มาตรฐานในการบันทึกที่ดี ในหน่วยงานต้องมีการตกลงและนิยามกันชัดเจน
Input
Process
Output
Outcome
Impact
รูปที่ 1 กระบวนการทาโครงการ ข้อมูลที่ดีมีความสาคัญมาในการดาเนินโครงการแก้ปัญหาให้ตรงกับปัญหาที่เรามีจริงๆ ไมได้ทาเพียงแค่ตัวชี้วัดผมว่ามัน เป็นความท้าทายและข้อมูลก็เป็นเสมือนแผนที่ GPS ในการกาหนดทิศทางการทางานของเราให้เราได้มีแรงบันดาลใจในการ ขับเคลื่อนงาน และงานที่ทาได้แก้ปัญหาของประชาชนจริง วันนี้ผมก็นาเสนอวิธีการนาข้อมูลมาใช้จากโปรแกรมต่างๆ ที่เราใช้ กัน ตัวอย่างง่ายๆ ใครที่ใช้ Hosxp เราสามารถที่จะหากลุ่มเป้าหมายของเราได้จาก Menu >งานเชิงรุก > บัญชี 1 และค้นหา เป้าหมาย กาหนดกลุ่มอายุหรือหมู่บ้านที่เราสนใจ เลือกว่าจะเอาคน Type ไหนแล้วก็กดค้นหา ได้รายชื่อมาเป็นสามารถที่จะ Export ออกมาเป็น excel แล้วนาไปออกแบบในการเก็บ ข้อมูลที่ส าคัญข้อมูลที่ ได้มี ที่อยู่ และ CID สามารถที่จะนากลับ มา วารสารทันตภูธร
49
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
บันทึกในระบบได้อีกครับ เช่นถ้าเราจะหาเด็กอายุ 3 ปี ณ เวลานี้ก็กาหนดกลุ่มอายุ 3 ปี – 3 ปี รายชื่อเด็กก็จะแสดงมาใน ด้านล่างครับ
รูปที่ 2 ตัวอย่างการค้ นหากลุม่ เป้าหมายใน Hosxp ใน JHCIS ก็หาได้เช่นกันเข้าไปในเมนูรายงานและค้นหากลุ่มเป้ าหมาย ก็จะได้รายชื่อประชากรตามกลุ่มวัยในพื้นที่ รับผิดชอบสามารถออกเป็น Excel นาไปทาต่อได้เช่นกันครับ ใน Hosxp และใน JHCIS ยังสามารถที่จะหากลุ่มโรคที่เราสนใจ เช่นต้องการหาโรคที่เป็นกันเยอะ 10 อันดับ หรือหาจากรหัส ICD10 ก็สามารถทาได้เช่นกันครับ เพื่อทราบขนาดของโรค แต่จะ ถูกต้องหรือไม่ต้องขึ้นกับต้นทุนที่ลงข้อมูลมาถูกหรือไม่ครับ หรือคนสงสัยว่าตัวรายงาน HDC ลงรหัสอะไร ยกตัวอย่างมาให้ดูกัน ครับว่าเขาจับรหัสอะไรกันตัวอย่างรหัสที่ลงกันครับ เมื่อเราลงไปแล้วบ้างครั้งเราก็ไม่แน่ใจว่าถูกหรือไม่ครับ หรือลงไปแล้วมัน ออก 43 แฟ้มหรือไม่ รหัสที่เราลงไปคือ ICD10TM ออกในแฟ้มที่ชื่อว่า Procedure OPD คู่กับชื่อคนทาหัตถการ ผมหมายถึง รหัสนะครับลองดูตัวอย่างข้อมูลในแฟ้มนี้กันครับ
รูปที่ 3 ตัวอย่างข้ อมูลในแฟ้ม PROCEDURE_OPD ใครเคยดูแฟ้มมาตรฐานก็จะเห็นรหัสเหล่านี้นะครับ ใครที่ไม่เคยเห็นว่าส่งข้อมูลก็หน้าตาเป็นอย่างนี้แหละครับ สิ่งที่คุณ คีย์หน้าโปรแกรมว่าอุดฟัน ถอนฟัน มันก็จะแปลเป็นรหัส ICD10TM และ ผู้ให้บริการก็จะไม่ขึ้นชื่อครับก็จะมีรหัสดังทีเ่ ห็นบริการ กับใครก็ไปเชื่อมกับ PID เอาครับกับแฟ้ม Person ดูแล้วดูยุ่งยากนะครับ แต่ชีวิตก็มีทางออกเสมอ เพื่อให้ง่ายต่อการนาข้อมูลไป ใช้และการท ารายงาน ที ม พั ฒ นานาโดยคุณหมอนิติโ ชติ ก็ ได้ท าโปรแกรม Dental Report helper มาช่วยในการออกและ วารสารทันตภูธร
50
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ตรวจสอบรายงานครับ มี Version portable ที่สามารถใช้ตรวจได้ในโน้ตบุคทุกเครื่อง ก่อนอื่นต้องมีก้อนข้อมูล 43 แฟ้มของ หน่วยงานท่านก่อนเป็นรูปแบบ Zip file ดังที่เห็นในรูป นาเข้าไป > กดประมวลผล > แล้วดูรายงานได้เลยครับ Version ใช้ใน ปัจจุบันคือ 052016 ครับ สามารถดาวโหลดมาใช้ได้ขอบคุณทีมพัฒนาคุณสุวิทย์ ที่ช่วยแก้ไขโค้ดและนามาใช้ได้ครับ
รูปที่ 4 ตรวจสอบ Version ใหม่ก่อนใช้
รูปที่ 5 กาหนดรหัสสถานบริการก่อนนาข้ อมูลเข้ ามาตรวจสอบ วารสารทันตภูธร
51
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
หลังจากที่ดูผลงานแล้วรู้สึกผิดปกติน้อยไปมากไปเราก็สามารถคลิกที่ตัวเลขด้านหลังก็จะเห็นข้อมูลราย Record นาไป ตรวจสอบกับหน้าจอและแก้ไขได้ตัวอย่างของหญิงมีครรภ์ที่ได้รับการตรวจฟัน เราก็เข้าไปคลิกที่ตัวเลขรายชื่อก็ จะขึ้นมาให้ ตรวจสอบ
รูปที่ 6 รูปการตรวจสอบรายชื่อที่ข้อมูลนับรายงานและสามารถส่งออกเป็ น Excel ได้ ตรวจแล้วพบความไม่ถูกต้องกลับไปแก้ในโปรแกรม HIS ไม่ว่าจะเป็น Hosxp หรือ JHCIS หรือ HosOS แล้วก็ส่งออก มาใหม่ครับ ตรวจสอบจนมั่นใจว่าถูกแล้ว ก็นาข้อมูลที่แก้แล้วส่งเข้า HDC เท่านี้ข้อมูลของท่านก็จะงดงามตามความจริง รหัสที่ ใช้ลงอ้างอิงสามารถค้นหาได้ในเว็บไซด์นะครับผมนามาให้ดูเป็นตัวอย่างครับ ย้านะครับเรารู้ว่าลงรหัสอะไรแล้วรายงานจะขึ้นก็ ควรทาจริงๆ แล้วค่อยลงนะครับ ไม่ใช่ไม่ทางานแล้วมานั่งลงข้อมูล ไม่ได้ประโยชน์กับ ใครเลยนะครับทั้งกับตัวท่านเอง และ ประชาชนก็ไม่ได้รับบริการ แค่ได้ดูดีผ่านตัวชี้วัด แล้ว ข้ อ มู ล ที่ เ รานั่ ง เที ย นไปก็ จ ะกลั บ มาท าร้ า ยเราใน รูปแบบของเป้าหมายที่เพิ่มขึ้น ลงตามที่เป็นจริงทาได้ เท่าไหร่ก็ลงเท่านั้น ครับแล้วหาเหตุผลมาอธิบายให้ได้ ว่าทาไม่ได้ผ่านตัวชี้วัด เพราะอะไรขาดคน เงิน หรือ ขาดของ สร้างวัฒนธรรมที่ดีในการบันทึกข้อมู ล ท า จริง คีย์จ ริง ถูก ต้อ ง ถูก ที่ ถูก เวลา เพื่ อ พั ฒ นางาน ทันตสาธารณสุขให้ก้าวไกล แล้วเราจะมีความสุขใน การท างานกั บ ข้ อ มู ล ครับ ตอนนี้ ร ายงานข้อ มู ล ใน HDC ก็มี 2 ส่วนนะครับ ส่วนที่เป็นการเข้าถึงบริการ รูปที่ 7 แสดงรายงานใน HDC ตามหน่วยบริการ จาทารายงานตามหน่วยบริการครับใครทามากตัวเลขขึ้นมากครับ วารสารทันตภูธร
52
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
และอีกส่วนคือรายงานตาม Service plan ซึ่งเป็นรายงานแบบความครอบคลุม และผลการตรวจฟัน อันนี้สาคัญมากเพราะต้อง จัดประชากร Person type area ให้ถูกก่อนนะครับคน ที่นับเป็นตัวหารคือประชากร Type 1 และ 3 ครับถ้าไม่มีการเคลียร์ ข้อมูลตรวนี้ก็จะดูรายงานแบบ ขัดใจ ข้องใจ สงสัย
รูปที่ 8 รายงานแบบคตวามครอบคลุม
รายงาน HDC กลุ่ม งานทั นตกรรมจะเห็นว่ามี ม ารองรับ เยอะมากอยากให้เข้าไปตรวจดูครับว่าตรงถูกต้องหรือไม่เพราะคนที่ เขียนสคริปก็ไม่ทราบครับว่าข้อมูลตรงหรือไม่ คนที่ใช้ข้อมูลจะเป็น คนดูและทราบว่าข้อ มูลตนเองผิดพลาดประการใด เมื่ อพบเจอก็ สามารถสะท้อนกลับมาได้ทีมงานพร้อมแก้ไขครับด้วยระบบ Cloud ทาให้สามารถแก้จากด้านบนแล้วเปลี่ยนทั้งประเทศ HDC ชีวิตกับ ข้อมูลดี๊ดี ขึ้นนะครับ คุณสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที จะพัฒนาได้ดี ทีมทันตบุคลากรต้องร่วมใจกัน ผมไปหลายที่ประทับใจ ทีมทันตะที่ตั้งใจเรียนรู้และพัฒนา ไปพร้ อ มกั น ครั บ www.facebook.com/Rdentdata ยิ น ดี รั บ ใช้ ด้านข้อมูลครับ รูปที่ 9 ตัวอย่างรหัสที่ใช้ นบั รายงาน วารสารทันตภูธร
53
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ทันตา น่ารัก (แนะนาทันตาภิบาลทั่วไทย) ประสานงานโดย ทพญ.แพร จิตตินันทน์ โรงพยาบาลบางใหญ่ อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี ฉบับนี ข้ อแนะนาทันตา “มีน” ณัฏฐชญา ศิ ลากุล หรื อ สมบูรณ์ (ชื่อนามสกุลเดิม) เจ้ าของผลงานดีเด่น ยอดเยี่ยม และเป็ นตัวแทนทันตาภิบาลที่เข้ ามาทางานผลักดันเพื่อความก้ าวหน้ าของวิชาชีพด้ วยความมุ่งมัน่ เยือกเย็น ใครได้ คยุ กับ มีน ได้ ฟังเสียงจะถึงพลังและความสุขมุ ของมีน การผลักดันความก้ าวหน้ าทันตาภิบาลที่ตอ่ สู้กันมายาวนาน มีนทาหน้ าที่ ผู้ประสาน พยาน ผู้รับรู้ (และไม่ย่อท้ อ) อยากรู้จกั ที่มาที่ไปเพิ่มจึงขอสัมภาษณ์ เมื่อถามว่าทาไมถึงมาเรียนทันตาภิบาล มีนยิ ้มน้ อยๆและเล่ามาว่า “ปี 2538 มีนจบ ม.6 อยากมีอาชีพที่มนั่ คงอาชีพ อะไรก็ได้ ที่จบแล้ วมีงานทา ณ.ตอนนัน้ สอบเข้ าวิทยาลัย ครูบุรีรัมย์ได้ เอกคณิตศาสตร์ แต่ไม่มีสตางค์เรี ยน แม่ก็ เลยไม่อนุญ าต และก็ สอบได้ “ทัน ตาภิบ าล” ตัด สิน ใจ เลือกทันตาภิบาล (สอบ นักเรียน.ทุน) “จบมามีงานทาเลย นะลู ก ” มี น ยั ง จ าได้ ว่ า ต้ อง ไปท าคว ามเข้ าใ จ ว่ า ทันตาภิบาลคืออะไร และเรียนรู้เมื่อเซ็นต์สญ ั ญาสมัครไป เขาว่า “ทันตาภิบาล คือบุคลากรสาธารณสุขประเภท หนึ่งซึง่ มีตาแหน่งในสายการปฏิบตั ิงานว่า เจ้ าพนักงาน ทันตสาธารณสุข ที่มีหลักสูตรการศึกษาเพียง 2 ปี เท่านัน” ้ แม่ดีใจว่าลูกหาทุนเรี ยนได้ ลูกก็ดีใจได้ เรี ยนต่อ มีนเข้ าสู่ ลูกสิรินธร วสส.ชลบุรีด้วยวัยละอ่อน (18ปี ) กับ การใช้ ชีวิตการเป็ นนักศึกษาในภาควิชาทันตาภิบาล สมัย เรี ย นเป็ นช่วงเวลาที่มีความสุขความทุกข์ปนๆกันไปกับ เพื่ อนๆ มีกัลยาณมิต รมากมาย เวลาเดิ น เร็ว แว๊ บ เดียว 2 ปี จบแล้ ว วารสารทันตภูธร
54
จันทร์ ที่ 2 มิ.ย.40 วันแรกที่ทนั ตาภิบาลมีนหน้ า ใส กลั บ บ้ านมาสู่ อ้ อมกอดครอบครั ว มี น ได้ บรรจุ ข้ าราชการต าแหน่ ง เจ้ าพนั ก งานทั น ตสาธารณสุข ปฏิบตั ิงาน เงินเดือน 5,180 บาท และเริ่มทางาน ณ รพช. ละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์บ้านเกิดของมีนเอง มีนยัง จาความรู้สึกตื่นเต้ นและประหม่ากับการให้ บริ การทันตก รรมแก่ผ้ มู ารับบริการในช่วงแรกๆ แต่โชคดีที่มีทนั ตแพทย์ และพี่ ทัน ตาภิบ าล ให้ คาปรึ ก ษาและเป็ น ก าลังใจคอย ช่วยเหลือในเรื่องการทางาน ทาให้ ทางานสบายใจ ในตอนที่จบนัน้ รพ.ละหานทราย.มี ทันตแพทย์ 1 ทันตาภิบาล 2 คน มีประชากร 70,000 คน ที่รพ.มียนู ิตทา ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ฟันทังหมด ้ 2 ยูนิต มีผ้ รู ับบริการวันละ 70 คน ทางานด้ วย ความรวดเร็ว ทันตแพทย์ที่ละหานทรายตังแต่ ้ มีนจบมามี ทันตแพทย์ 1 คน ที่รพ.ละหานทราย เป็ นทางผ่านมาแล้ ว ก็ผ่านกันไปของทันตแพทย์ มากที่สดุ มีทงั ้ สิ ้น 4 คน น้ อย ที่สดุ ก็มี 2 คน ปั จจุบันนีม้ ีทันตแพทย์ทงั ้ หมด 4 คน มี ยูนิ ต ท าฟั น ทัง้ หมด 3 ยูนิ ต มี ผ้ ูรั บ บริ ก ารวัน ละ 60 คน เพราะมี ร ะบบจัด การผู้ที่ ม ารั บ บริ ก ารทัน ตกรรมตาม ปริมาณคุณภาพ
degree mobility 1 wk เ ร าป ร ะ ทั บ ใ จ ที่ ท่ าน รั บ ฟั ง คาแนะนา และปฏิบัติตามทุกขันตอนทั ้ งๆที ้ ่ท่านอายุมาก แล้ วและการเดิน ทางมาที่ รพ.ละหานทรายด้ วยความ ลาบาก โดยท่านได้ เดิน เท้ ามาด้ วยไม้ คา้ ยัน ท่านมารับ บริ การหลายครัง้ โดยที่มาทุกครัง้ ท่านจะมองหาเราแบบ ด้ อมๆมองๆ และจนคุณยายรวบรวมความกล้ า และเดิน มาถามน้ องผู้ช่วยที่ นั่งซัก ประวัติที่ ห น้ าห้ องทัน ตกรรม “อะนายหมอสอๆละออๆโนโหลย..(หมอขาวๆๆสวยๆๆอยู่ ไหม) ”และเราก็เดินมา ยายบอกว่า “คนนี แ้ หละใช่เลย.” (แอบยิม้ ) 3 เดือนผ่านไป หลังจากคุณยายมารับบริ การ ทันตกรรม พบว่าท่านมีสขุ ภาพช่องปากที่ดีขึ ้นมากๆ และ มีพฤติกรรมการดูแลช่องปากที่ดีมาก
คนไข้ ที่ประทับใจ 18 ปี ในชีวิตการทางาน การให้ บริ การทันตกรรม ผู้มารับบริการ ในเขตอาเภอละหานทรายและใกล้ เคียง มี คนไข้ ที่เราให้ บริ การแล้ วรู้สึกประทับใจมากๆ เป็ นจานวน มาก แต่ ที่ ป ระทั บ มากที่ สุ ด คื อ Case คุ ณ ยายอายุ ประมาณ 68 ปี มารับบริ การทันตกรรม กลุ่มงานทันตก รรม รพ.ละหานทราย ด้ วยอาการปวดฟันกรามล่างซ้ ายที่ ปริ ทัน ต์อัก เสบ ฟั น โยกคลอน ในช่องปากมีหิ น ปูน และ คราบหมาก หลังจากซักประวัติ และตรวจวินิจฉัย และ แนะนาการรับบริ การทันตกรรม โดยให้ ขดู หินปูนและขัด คราบหมาก และนัดมาถอนฟั นซี่ # 37 Periodontitis ,3th วารสารทันตภูธร
55
เย็ น วัน หนึ่ง ซึ่งเป็ น วัน พระ มีน ได้ ซื อ้ ดอกไม้ ธูป เที ย นไปไหว้ พระที่ ศ าลพระภูมิ ใ นโรงพยาบาลละหาน ทราย เมื่ อไหว้ พระเสร็ จ ก็ ก ลับ บ้ านพัก 30 นาที ต่อมา มีโทรศัพท์สายใน รพ.ละหานทราย แจ้ งว่า...คุณหมอคะ.. ลืมกระเป๋ าตังค์ ไว้ ที่ไหนไหม ไม่นี่คะ มีนตอบด้ วยความ มัน่ ใจ พร้ อมทัง้ มองหากระเป๋ าสะพายสีม่วงของตนเอง แทบเป็ นลมเพราะในกระเป๋ านัน้ มี กระเป๋ าเงิน มีเงินสด มีของมีค่าจานวนมาก... นา้ ตาไหลออกมาจะทาไงดี ..... ฮือ.. ทันใดนันนึ ้ กถึงโทรศัพท์ที่โทรมาจากสถานีตารวจ ว่า..มีค นเก็ บ กระเป๋ าได้ มีชื่ อเรานะ..รี บ ขับ รถยนต์ไปที่ โรงพักท่ามกลางสายฝนที่ตกแบบไม่ลืมหูลืมตา... ทันทีที่ มาถึง สถานีตารวจ สิ่งแรกที่พบคือคุณยายและหลานชาย คุณ ยาย ที่ มี น ท าฟั น ให้ คนเดิ ม เมื่ อ 3 เดื อ นที่ แ ล้ ว .. ต ารวจที่รับแจ้ งความ บอกว่ายายไม่สบายมาหาหมอที่ ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
รพ.ละหารทราย และเดินไปไหว้ ศาลพระภูมิ รพ.ละหาน ทรายและพบกระเป๋ าสะพายวางไว้ ข้ างช้ างที่ ศ าล ยายกับหลานชายรีบนามาแจ้ งความที่สถานีตารวจอาเภอ ละหานทราย และตารวจเปิ ดกระเป๋ าเห็นเอกสารและรูป บัตรข้ าราชการของเรา...ทันใดนัน้ คุณยายบอกว่า..อ้ าว รูป คุณหมอฟันขาวๆสวยๆที่ถอนฟันให้ ยายนะ.. พอมีนไปถึง ตารวจก็ให้ ดกู ระเป๋ าว่าใช่ไหม ก็ใช่ และทรัพย์สินและเอกสารอยู่ครบหมด มีนดีใจมากๆและ จาคุณยายได้ ยายก็เช่นเดียวกัน และได้ สง่ คืนกระเป๋ าและ มีนก็ได้ มอบสินน ้าใจและเงินให้ ท่าน ตอบแทนความดีงาม ของท่านและที่สาคัญยายบอกว่า ดีใจที่ได้ ตอบแทนหมอ มีนที่ ทาฟั นให้ ยาย ...นี่คงเป็ นบุญที่เราให้ บริ การด้ วยใจ การทาความดี รักในงานที่ทา ผลบุญครัง้ นีส้ ่งผลให้ มีคน ดีๆ เก็ บ กระเป๋ าคืน โดยไม่มีสิ่งของใดๆสูญ หาย..อยาก บอกว่า.. ผลบุญนี ้มีจริงค่ะ ทันตแพทย์ ท่านไหนประทับใจมีนบ้ าง ในที่ ท างาน มี น้ อง ทพ.ญ.วรั ญ ญา ศิ ริ เ มฆา ทัน ตแพทย์ จุฬาชนบท คนเก่ ง คนสวยที่ เ ป็ น ทัง้ หัวหน้ า และน้ องสาว ที่เป็ นคูค่ ิดในการทางาน ช่วยสอนเรื่องการ ท างานทัง้ ในด้ านการบิ ก ารทางคลิ นิ ก และการท างาน ทันตกรรมชุมชน ข้ อคิดหนึ่งที่ได้ มา จากคุณหมอบอกว่า... “พี่มีนคะ ถ้ าเรารักในงานที่ทา เราจะทางานอย่าง มีความสุขแม้ งานนันจะหนั ้ กแค่ไหน ทุกปัญหามีทางแก้ ไข ให้ เราท างานในหน้ าที่ ที่ รั บ ผิ ด ชอบให้ ดี แ ละ มี น า้ ใจ ช่วยงานเพื่ อนร่ วมงาน เพราะทุก ๆคนมีค วามสามารถ เฉพาะตัวให้ ใช้ จดุ ดีของแต่ละคนมาปรับใช้ ในการทางาน และทุ ก ครั ้ง ที่ ท างานด้ วยกั น ย่ อ มเกิ ดปั ญหาการ วารสารทันตภูธร
56
กระทบกระทั่ ง กั น ในงาน แต่ ใ ห้ เราใจเย็ น ๆมามอง ข้ อบกพร่องของแต่ละคนและปรับทัศนคติในการทางานที่ ไปด้ วยกัน ถ้ าที่ทางานแห่งใดคนไม่ลงรอยกัน บรรยากาศ การทางานก็แย่ไปด้ วย ทางานไม่มีความสุขแน่ ”.. แม้ ใน กรณีที่เราให้ บริ การที่ยาก คุณหมอก็คอยบอก สอน และ ให้ ค าแนะน าสร้ างความมั่น ใจให้ เราสามารถให้ บริ การ ทัน ตกรรมได้ ตามมาตรฐานวิชาชี พเพื่อความปลอดภัย ของผู้มารับบริ การ และในด้ านส่วนตัวก็คอยเป็ นกาลังใจ ให้ ค าปรึ ก ษาได้ ทุก ๆเรื่ อ ง อยู่ด้ ว ยกัน ร่ ว มทุก ข์ ร่วมสุข ด้ วยกันมา 11 ปี อยากบอกว่าพี่รักน้ องหมอญา จริงๆนะ จากการทางานที่มากทาให้ เกิดความชานาญงาน เกิดความมัน่ ใจทางานสักระยะ. ก็เริ่ มมองหาคนข้ างกาย เพื่อเป็ นกาลังใจในและแล้ วก็มี ผู้ชายคนที่ตาบอดมาตก หลุมรักสาวทันตาภิบาลสวยใสผิวขาวอวบนิดๆ (สวยจริง นะ) และครอบครัวเข้ ามาเติมเต็ม ชีวิตของข้ าพเจ้ า พร้ อม ทัง้ พยานรัก 2 หนุ่ม 2 มุม (16 ปี /13ปี ) มีนเรียนต่อ สาธารณสุขศาสตร์ เพื่อปรับตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข แต่หัวใจยังเป็ นสีมว่ ง พร้ อมที่จะ สร้ างสรรค์ ผลงานทัง้ ด้ านวิชาการนวตกรรม ผลงานอื่นๆ ที่นาประยุกต์ใช้ ในการทางานทันตกรรม การร่วมนาเสนอ ผลงานทั น ตกรรมในหลายเวที ท าให้ ได้ รั บ ต าแหน่ ง ทั น ต า ภิ บ า ล ดี เ ด่ น ร ะ ดั บ อ า เ ภ อ จั ง ห วั ด ภ า ค ตะวัน ออกเฉี ย งเหนือ รางวัลศิ ษ ย์ เ ก่ าดีเด่น วสส.ชลบุรี อื่นๆ รางวัลทังหมดทั ้ งมวลล้ ้ วนมาจากความรักในวิช าชีพ ทัน ตาภิบ าล รัก อาชี พนี ม้ ากๆและความภูมิใ จที่ ได้ เ ป็ น ข้ าราชการรองบาทพระองค์
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ผลงานที่มีนภาคภูมิใจ มี น ภูมิ ใ จที่ ไ ด้ อ อกปฏิ บัติ งานต้ อ งประสานกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องหลายหน่วยงานทังการประสานเป็ ้ น หนังสือราชการ การประสานแบบไม่เป็ นทางการพูด คุย เป็ น การส่วนตัว ทัง้ ในเวลาและนอกเวลาราชการ มี ความซื่ อสัต ย์ จริ งใจในการท างาน บางครัง้ ต้ องจ่าย
ทรั พ ย์ ส่ว นตัว เพื่ อ ให้ ก ารด าเนิ น งานเป็ น ไปด้ ว ยความ สะดวก เมื่อถามถึงรางวัลที่ได้ รับแล้ ว เยอะแยะมากมาย ต้ อ งขอให้ เฉพาะผลงานช่ ว งสามปี สุด ท้ าย(มี น สะสม รางวัล ราวกับนักกีฬาสะสมโล่ เยอะแยะไปหมด) ดังใน ตาราง เรียกว่านอกจากทางานดีและเก็บข้ อมูลดีด้วย
ปี งบประมาณ
ผลงานที่ได้ รับการยอมรับ หรือผลงานที่ได้ รับรางวัล
2555
ได้ รับชนะเลิศและการรับคัดเลือกนาเสนอผลงานบอร์ ด “การพัฒนาศักยภาพเครื อข่ ายบริการสุขภาพ (CUP) ดีเด่ นด้ านการส่ งเสริมทันตสุขภาพช่ องปากแม่ และเด็ก ภายใต้ โครงการสายใยรักแห่ งครอบครั ว อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ”ในการประชุมวิชาการนาเสนอผลงานเด่ นงานคุณภาพแห่ งชาติจัดโดย สถาบันพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล HA National Forum ครัง้ ที่ 13 ระหว่ าง วันที่ 13-16 มีนาคม 2555 ณ เมืองทองธานี กรุ งเทพมหานคร
2556
ได้ รับการคัดเลือกนาเสนอผลงานและร่ วมถอดบทเรียน “การพัฒนาศักยภาพเครือข่ ายบริการสุขภาพ (CUP) ดีเด่ นด้ านการส่ งเสริมทันตสุขภาพช่ องปากแม่ และเด็ก ภายใต้ โครงการสายใยรักแห่ งครอบครั ว อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ” วันที่ 27-29 มี.ค 2555 ของสานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ได้ รับการคัดเลือกนาเสนอผลงานและร่ วมถอดบทเรี ยน “การพัฒนาศักยภาพเครื อข่ ายได้ รับการคัดเลือก นาเสนอผลงาน “การดาเนินงานส่ งเสริมสุขภาพช่ องปากในผู้สูงอายุ อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ” วันที่ 28-30 มีนาคม 2556 ของสานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ รับการคัดเลือกนาเสนอผลงานและเป็ นวิทยากรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การดาเนินงานส่ งเสริมสุขภาพช่ อง ปากในผู้สูงอายุ อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ” วันที่ 20 พฤษภาคม 2556 ของสานักงานทันต สาธารณสุขบุรีรัมย์ ได้ รับรางวัลศิษย์ เก่ าดีเด่ น สาขาผู้ปฏิบตั ิงาน ครัง้ ที่ 7 ประจาปี 2555 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินชลบุรี จ.ชลบุรี ได้ รับรางวัลทันตาภิบาลดีเด่ นจังหวัดบุรีรัมย์ ประจาปี 2555 บริการสุขภาพ(CUP) ดีเด่ นด้ านการส่ งเสริม ทันตสุขภาพช่ องปากแม่ และเด็ก ภายใต้ โครงการสายใยรักแห่ งครอบครัว อาเภอละหานทราย จังหวัด บุรีรัมย์ ” วันที่ 18-20 มีนาคม 2556 ของ สถาบันพระบรมราชชนก “การพัฒนาการทางานทันตสาธารณสุข แบบบูรณาการกับทีมสหวิชาชีพ”
2557 2558
วารสารทันตภูธร
ได้ รับรางวัลทันตาภิบาลดีเด่ น คปทส ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจาปี 2557 นาเสนอผลงานวิชาการ ในเวทีการประชุมวิชาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทันตสาธารณสุขแห่ งชาติ ครัง้ ที่ 3 ประจาปี 2558 สานักทันตสาธารณสุข 57
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
มุ่งมั่นหมั่นเรียนรู้ ในส่วนการศึกษานัน..ไม่ ้ มีการสิ ้นสุด มีนกาลังจะ ได้ ปริญญาโท อีกใบในไม่ช้า นับเป็ นอีกก้ าวหนึ่งของการ ทางาน และความก้ าวหน้ าของวิชาชีพทันตาภิบาล เพื่อ ประชาชนมีสขุ ภาพช่องปากที่ดี มีนคิดว่า ถ้ าเราทางาน อย่างมีความสุขเราจะยังอยู่เป็ นทัน ตาภิบ าลตลอดชี วิต การรับราชการ ดังนัน้ เมื่อเราทางานหนักผลตอบแทนที่ดี น่าจะตามมา ความก้ าวหน้ าของวิชาชีพต้ องเกิดขื ้น เพื่อ ความคงอยู่ของทันตาภิบาล บางครัง้ มีนเคยท้ อแต่ไม่ถอย และให้ กาลังใจตัวเองเสมอว่า..เรานะมีงานทา ที่มีคณ ุ ค่า เกิดประโยชน์แก่มวลประชาชน ได้ สร้ างกุศลเป็ นมงคลแก่ ชีวิต เทียบกับบางคนที่ยงั ไม่มีงานทา ไม่มีผลตอบแทนไม่ มีเงินเดือนนะ..ก็เป็ นแรงฮึด
ท างานตากแดดตรากตร า สามารถเลี ย้ งชี วิ ต และ ครอบครัว ได้ อย่างสบาย” มีนย้ อนกลับมาคิด “เออใช่นะ.. ถ้ าไม่เรี ยน ไม่มีงานทา อาจจะเป็ นกรรมกรหาเช้ ากินค่า หรื อไม่มีงานท าเลย เราคงตายแน่ๆ ” เมื่อคิ ด ได้ มีน จึง จัดการระบบการทางานใหม่ ให้ ขาทัง้ ๒ ข้ างเท่ากันให้ เวลากับงาน กับครอบครัว (ปรับ work life balance) และ หาเวลาให้ ความสุขกับครอบครัว ในขณะที่ทางานได้ อย่าง มีค วามสุข และสัญ ญากับ ตัวเองว่าจะท างานทดแทน คุณแผ่นดินจนวินาทีสดุ ท้ าย...
เล่ าถึง sad moment และวิธีการเอาชนะ การฮึด ขึน้ มาตั้งหลักใหม่ จากภาระทัง้ งานในตาแหน่งหน้ าที่ และไหนจะ งานนอกตาแหน่งหน้ าที่ ซึ่งมากมายก่ ายกอง มีช่วงจิต ตกช่ ว งหนึ่ ง ที่ มี น คิ ด ว่ า ท าไมเราต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบงาน มากมายขนาดนีน้ ะ..ท้ อมากๆ นั่งทางาน ถึง ตี ๓ ทุกวัน จนส่งผลกระทบกับครอบครัว ลูกชายถามว่า..แม่ครับถ้ า ต้ องทางานมากขนาดนี ้ ผมไม่เป็ นเหมือนแม่นะ...เห็นแล้ ว เพลียอะนะ.. เริ่มจะเกิดปัญหาครอบครัว เพราะไม่มีเวลา ดูแลกัน และกัน เวลาสาหรับ ครอบครัวหายไปเยอะเลย เพราะอยากทาให้ ดีทกุ สิ่งสรรค์ โชคดี มี น ยั ง ดี มี กั ล ยาณมิ ต รเป็ นรุ่ นพี่ ผู้ มี ประสบการณ์ทางานให้ ข้อคิดกับมีนว่า “เราโชคดีมากเลย นะที่ มี ง านท า มี เ งิ น เดื อ น มี ค นนับ หน้ าถื อ ตา ไม่ต้ อ ง วารสารทันตภูธร
58
วิธีคดิ ในการทางาน ก้ าวไปให้ ถึงจุดหมายไม่มีสิ่งใดในโลก.ที่สาเร็จได้ โดยไม่เ ริ่ มจากการท าที ละน้ อย...ทีละน้ อยหรื อเริ่ มจาก การท าที ละอย่าง...ทีละอย่ าง...หากเราเริ่ มจะนับให้ ถึง ร้ อย...เราต้ องเริ่ มนับที่หนึ่ง...นับจากหนึ่งไป สอง สาม สี่ จนไปถึงร้ อย...ความสาเร็จก็เช่นกัน... ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
สุภาษิ ตจีนบอกไว้ ว่า "ความสาเร็จต้ องเริ่ มที่ก้าว แรกต้ องค่อย ๆ ทา ค่อย ๆ สะสมเริ่ มจากทีละก้ าว ทีละ ก้ าว แล้ วจะถึงเส้ นชัยเองเพียงแต่ช้าหรือเร็วเท่านัน..." ้ เวลาเราจะข้ ามภูเขาสูงไปอีกฟากเราไม่สามารถ ก้ าวข้ ามเขาที เ ดี ย วได้ . ..โดยการก้ าวเพี ย งก้ าวเดี ย ว... เราไม่สามารถย่อภูเขาให้ เล็กลงเราไม่สามารถเสกอะไรได้ ดังใจ...เพื่ อที่ จะก้ าวข้ าม...เพราะเราไม่ใ ช่ผ้ วู ิเศษ...แต่ กลับจะต้ องก้ าวข้ ามก้ อนหิน ดินกรวดทีละก้ อน ๆเมื่อก้ าว ผ่านทีละก้ อนจนหมด...ก็เท่ากับว่าได้ ก้าวข้ ามภูเขาที่สงู ตระหง่านได้ ... ความสาเร็ จ จึงเป็ น การสะสมที ละน้ อย สะสมความสาเร็จปลีกย่อยเล็ก ๆ ...ค่อย ๆ เป็ น ค่อย ๆ ไป ค่อย ๆ สะสมจนยิ่งใหญ่...
วารสารทันตภูธร
59
อุป สรรคที่ เ กิ ด ขึน้ ระหว่างทางจึงเปรี ย บเสมือน ก้ อนหิ น ..และเป็ น การสะดุด ก้ อนเล็ก ๆ ระหว่า งทาง เท่านัน้ ...หากมัน น าไปเปรี ยบเทีย บกับ เป้ าหมายที่เป็ น ภูเ ขาอุป สรรคนัน้ ก็จ ะดูเล็ก จิ๊ บ จ๊ อยไปทัน ที...มันคนละ ขนาด มัน คนละเรื่ อ งกัน ...และอย่ า ลื ม ว่า ...ก้ อนหิ น ระหว่างทางมีเอาไว้ ให้ ข้ามไม่ใช่ให้ สะดุด!.... คติ ป ระจ าใจ: “มุ่ งมั่ น ตั ้ง ใจใฝ่ คุ ณ ธรรม ทางานอย่ างมีความสุข ” พี่น้องท่านไหนที่อยากคุยเพิ่มเติมกับมีน ติดต่อได้ ที่ Email: somboon1976best@gmail.com nattachaya2519@gmail.com
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
หนึ่งสตางค์...ที่มีความต้องการเป็นพิเศษ ตอน... give out and get in... จารีย์
การทบทวนการสร้ างโลกภายในของสตางค์เป็ น อะไรที่ ผ้ เู ขีย นไม่ร้ ู จะเริ่ มมัน จากตรงไหน ผู้เ ขีย นอยู่กับ สตางค์มาตังแต่ ้ สตางค์อายุ 6 เดื อน จนวันนีเ้ ด็กคนนัน้ เติบโตผ่านฤดูกาลมา 12 ปี แล้ ว และวันนี ้สตางค์เป็ นที่รัก ของเพื่อน ของครู ของใครก็ตามที่ได้ มีโอกาสได้ พดู คุยหรือ รู้จกั สตางค์ ระหว่างที่นงั่ นึกทบทวนอยู่นนั ้ สงครามย่อย ๆ ก็ปรากฎขึ ้นในบ้ าน พี่อฐั ต่อปากต่อคากับยาย และยายก็ “ของขึ ้น” ทุกคนในบ้ านล้ วนโดนกันถ้ วนหน้ า สตางค์ก็ไม่ เว้ น ตอนแรกที่ผ้ เู ขียนเข้ าไปดูสตางค์ปิดหู แล้ วต่อมาก็เอา หน้ าซุกที่นอน แล้ วก็ได้ ยินเสียงพี่ขึ ้นเสียงกับน้ อง ขณะที่ ผู้เขียนเข้ าไปในห้ องนัน้ สตางค์ร้องไห้ ตวั สัน่ พร่าอยู่แต่ว่า ยายโกรธทาไม ๆ วารสารทันตภูธร
60
ผู้เ ขี ย นต้ อ งดึง มากอดเราเริ่ ม “กิ จกรรมเดิ ม ” หลัง จากที่ ส ตางค์ เ ริ่ ม โต แม่ กั บ ป้ า ก็ ล งความเห็ น ว่า “สตางค์ โตแล้ วไม่ควรนั่งตัก ป้ า ” การกอดกัน ก็ เ ริ่ มห่าง ออกไป เรากอดกัน จนสตางค์ ห ยุด ร้ องไห้ ภาวะการ “เสีย ใจของสตางค์” ก็ เ ป็ น อะไรที่หยุดอารมณ์ โกรธของ ยายได้ แบบปิ ดสวิทต์ทนั ที ยายเดินออกไปสงบสติอารมณ์ นอกบ้ าน สองปี มานี ้ สิ่งที่ผ้ เู ขียนกังวลมากที่ สดุ คือ ภาวะ อารมณ์ ที่ ก าลังเปลี่ย นแปลงที่ เจ้ าตัวไม่ร้ ูจักของสตางค์ หลายครั ง้ ที่ พี่ น้ องทะเลาะกั น สตางค์ มั น จะ “พู ด ” บางอย่างที่บ่งบอกถึงการใช้ “อารมณ์พูด” มากกว่าที่จะ พูดแบบตังใจพู ้ ด ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
เป็ นสิ่งที่ผ้ เู ขียนพยายามอย่างมากตังแต่ ้ แรกที่จะ ไม่ให้ สตางค์เข้ าใกล้ ภาวะที่ “ควบคุมตัวเองไม่ได้ ” ด้ วย การมี “อารมณ์ขึ ้นถึงขีดสุด” จนมีสารเคมีในสมองบางตัว หลัง่ ออกมามากเกิน หรื อไปกระตุ้นภาวะสมองบางส่วน ให้ “ท าไปโดยไม่ร้ ู สึก ตัว ” การให้ สตางค์ร้ ู จักทุกอารมณ์ แบบ “รู้จกั แต่ไม่ให้ เป็ น” เป็ นสิ่งที่ผ้ เู ขียนระวังเสมอตังแต่ ้ วันแรกที่ยอมรับ “ภาวะออทิสติก” ของสตางค์ มันเป็ นสิ่ง ที่เขาเป็ นและจะอยู่กับมันไปตลอดชีวิต โดยที่ไม่มีตวั ยา ใดในโลกรั ก ษาให้ หายจากการเป็ น “ออทิ ส ติ ก ” ได้ นอกจากทาให้ เขารู้จกั ใช้ ชีวิตอยู่บนโลกเหมือนคนปกติให้ ได้ เ ท่านัน้ เอง และไม่ใ ช่จ ากการรัก ษาด้ วยยาชนิ ด ไหน หรื อจากแพทย์ผ้ เู ชี่ยวชาญ แต่มากจาก “มนุษ ย์ ” อย่ าง เราๆ นี่เอง ที่ต้องช่วยกันประคับประคอง เสริ ม และสร้ าง รวมถึ งให้ ความเข้ าใจ และให้ อภัย ในสิ่งที่ ต่าง ๆ ที่ คน พิเศษเหล่านี ้มีแตกต่างไปจากเรา ดัง นัน้ เมื่อ เรารู้ ว่า มีค นของเรา ลูก หลานเรา มี ภาวะ ออทิสติก สิ่งแรกที่ควรทา คือสร้ างตัวเราและใจเรา ให้ พร้ อมจะเข้ าใจ และเปิ ดใจยอมรับความยากลาบากที่ จะต้ องทาความเข้ าใจกับสิ่งที่ “ไม่เป็ นไปตามปกติ” ของ เด็ก เหล่า นี ก้ ่ อ น การสร้ างตัว เราให้ มีค วามพร้ อมทาง อารมณ์ เป็ นสิ่งที่ครอบครัวเด็กพิเศษทุกคนประสบปัญหา กัน ทุก บ้ าน ไม่ใ ช่ เ ฉพาะแต่บ้ านข้ า พเจ้ า เพราะค าว่า “ครอบครัว” นัน้ ไม่ได้ ป ระกอบด้ วย พ่อ แม่ ลูก แต่เ ป็ น องค์ประกอบที่ซับซ้ อนกว่านัน้ มีทงั ้ ปู่ ย่า ตายาย พี่ น้ อง ป้า น้ า อา และเครือญาติ รวมกันเป็ นหน่วยหนึ่งของบ้ าน หลังหนึ่ง ทุกคนมีความคิ ด มีนิสยั มีพฤติ กรรม และมีโลก ความชอบไม่ชอบของตนเองด้วย ทุกคนต้องหันหน้ามา ปรับความคิ ดให้มี ความเห็นตรงกัน ในเรื่องการสร้างเด็ก หนึ่ งคนที่แตกต่างไปจากเด็ กธรรมดาทัว่ ไป ให้เ ป็ นเด็ก ธรรมดา ๆ ที่มีความพิ เศษ วารสารทันตภูธร
61
ฟั งดูแล้ วอาจจะแปลก แต่ภาวะออทิสติกนัน้ จะ แสดงออกทางพฤติ ก รรม มากกว่ารู ป ร่ างหน้ าตา หรื อ ลัก ษณะของคนหนึ่งคน ดังนัน้ คนส่วนมากจึงแยกเด็ก เหล่า นี ไ้ ม่อ อก จนกว่า จะได้ ใ กล้ ชิ ด ได้ พูด คุย ได้ มี ป ฎิ สัมพันธ์กับพวกเขาเหล่านัน้ จึงจะเห็นถึงความแตกต่าง ออกไปจากเด็กธรรมดา ข้ าพเจ้ าชอบความคิดนี ้ที่จะมองหลานตนเอง ว่า เป็ น “เด็กธรรมดา ที่มีความพิเศษ” หากคนในครอบครัว มีความคิดเห็นแตกต่าง มีการตอบสนอง และสอนเขาไป คนละทาง การเรี ยนรู้ของเด็กเหล่านีจ้ ะเกิดขึ ้นไม่ได้ เ ลย เพราะพวกเขาเหล่านี ต้ ้ องการการฝึ กซ า้ ๆ ท าซ า้ ๆ ย า้ เรื่อย ๆ พวกเขาซึบซับการเรียนรู้จากความเข้ าใจ ไม่ผิดค่ะ เราเรี ยกว่า “ซึมซับการเรี ยนรู้ ” เพราะมันเป็ นการค่อย ๆ ซึมเข้ าไป ค่อย ๆ สร้ างเรื่ องนัน้ ๆ ให้ พวกเขาได้ ร้ ูจกั มัน... ดัง นั น้ ครอบครั ว เป็ นแหล่ ง เริ่ ม ต้ นของการ “ดูด ซึ ม ” เรื่องราวต่าง ๆ ของเด็กเหล่านี ้.... เมื่อยังเล็กและช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ในภาวะที่ เด็ก 1 ขวบสามารถเข้ าใจคาพูด หรื อค าสั่งสัน้ ๆ ของผู้ เลี ้ยงดูได้ เด็กพิเศษเหล่านี ้ จะไม่รับรู้และไม่เข้ าใจ เหมือน เรากาลังสื่อสารด้ านเดียว หรื อบางครัง้ เขาก็จะมองหน้ า เราแบบสนใจ ว่าสิ่งที่เราทาคืออะไร การที่เขาไม่สามารถ รับรู้หรือเข้ าใจคาพูดเรา ทาให้ การสอนให้ เขารู้จกั สิ่งต่าง ๆ อัน เป็ นไปตามพัฒนาการนัน้ แทบเป็ นไปไม่ได้ เลย การ กิ น การนอน การขับ ถ่ าย การเล่น ล้ วนแต่เ ป็ น ไปตาม อารมณ์ของเขา ผู้เลี ้ยงดูจะรู้สึกเหมือนการ “รับมือไม่ได้ หรื อรับมือไม่ไหว” อยู่เสมอ กับพฤติกรรมเหล่านี ้ และสิ่ง ที่ตามมาอารมณ์โกรธ หงุดหงิด หรืออย่างร้ ายแรงที่สดุ คือ การทาโทษ หรื อการบังคับให้ เป็ นไปอย่างที่ “รับมือและ จัดการได้ ” ถ้ าเราได้ มองเห็น หรื อมีโอกาสคลุกคลีกบั เด็ก ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
กลุ่มนีม้ าก ๆ เราจะเห็นได้ ว่า เด็กกลุม่ นี ้ที่มีภาวะอารมณ์ ที่ควบคุมตัวเองไม่ได้ หรื อใช้ อารมณ์ร่วมด้ วยนัน้ มักจะมี สภาพแวดล้ อมหรือผู้คนใกล้ ตวั ที่ดแู ลเขา หรือใกล้ ชิดกับ เขานัน้ ใช้ ภาวะอารมณ์ตวั เองจัดการรับมือกับ “ปั ญหา” ที่เกิดขึ ้น เพื่อให้ อยู่ในจุดที่ “รับมือไหว” มาตังแต่ ้ แรก สาหรับสตางค์ ที่ผ้ เู ขียนอยู่ด้วยตังแต่ ้ ยังเล็ก นัน้ ผู้เ ขีย นใช้ ก ารเชื่ อมโยงเรื่ องราวให้ เ ป็ น พฤติ ก รรมที่ เ รา ต้ องการ เมื่อเขายังเลือกเองไม่ได้ เราต้ องเป็ นผู้เลือกให้ เขา ว่าสิ่งใดเหมาะกับเขา สตางค์จะถูกจับให้ นอนเป็ น เวลาพร้ อมด้ วยการ “เอ่เอ้ ” ด้ วยเสียงเพลงและเสียงป้า ไม่ ว่าจะอยู่ในภาวะพร้ อมจะนอนหรื อไม่พร้ อมจะนอน แต่ เมื่อถึงเวลานอน เราต้ องอดทนอยู่กับเขาให้ เขาได้ เรียนรู้ ว่า กิจกรรมนีค้ ือการ “นอน” ในกรณีที่มีงอแง อาละวาด เราก็ต้องอดทน และอดกลัน้ และใส่ความรักลงไปให้ มาก กว่าเดิมเสมอ ทุกครัง้ ที่เขาทาดี ทาได้ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่ อง เล็กหรือเรื่องใหญ่ จะได้ กอดและจูบเป็ นรางวัล ทุกครัง้ ที่จะสอนเรื่ องไหนสักเรื่ อง เราก็จะต้ องอยู่ กับเขาจนจบกระบวนการ ทุกครัง้ ที่เขาอยู่ในภาวะสับสน ไม่เข้ าใจ และไม่ร้ ูจะทาอย่างไรกับสิ่งที่อยู่ตรงหน้ า หรือสิ่ง ที่เกิดกับเขา ผู้เขียนใช้ วิธี “มานั่งตักป้าและกอดกัน” และ เราก็ ค่อ ย ๆ สื่ อ สารในสิ่ ง นัน้ ๆ มัน อาจจะไม่ก ารสอน เพื่อให้ ร้ ูจกั แต่เป็ นการทาให้ เขารับรู้ สิ่งที่เกิดขึ ้น และเมื่อ มันเกิดขึ ้นอีกครัง้ หรื อในครัง้ ต่อ ๆ ไป เขาก็จะ “รับได้ ” และจะค่อย ๆ เรี ยนรู้ไปเรื่ อย ๆ สตางค์ไม่เ คยได้ รับการ ปล่อยทิง้ ไว้ กบั “อารมณ์ของตนเอง” จนใช้ อารมณ์ตนเอง สร้ างพฤติกรรมเลย เรื่ องนีเ้ ป็ นเรื่ องละเอียดอ่อน เพราะ
เด็กพิเศษเหล่านีแ้ ม้ ในเรื่ องปกติธรรมดา ของพัฒนาการ พื ้นฐานในเด็ก พวกเขาก็ยงั ไม่ร้ ูเรื่ อง แล้ วเรื่องอารมณ์เขา ก็ไม่ร้ ูเช่นกันว่าสิ่งที่เกิดกับพวกเขานัน้ คืออะไร เขามีแต่ อยากได้ กบั ไม่อยากได้ เอากับไม่เอา ให้ เขาก่อนที่เขาจะสร้ างพฤติกรรมทางอารมณ์ และหยุดเขาก่อนที่เขาจะใช้ อารมณ์สร้ างพฤติกรรม คือ สิ่งที่ครอบครัวที่มีเด็กพิเศษควรเริ่ มต้ น “สร้ าง” เด็กพิเศษ เหล่านีใ้ ห้ เป็ นเด็กธรรมดา ๆ คนหนึ่งที่มีความพิเศษ พวก เขาแค่ต้องการความรักที่มากเป็ นพิเศษ ความใส่ใจที่มาก เป็ นพิเศษ ความเข้ าใจที่มากเป็ นพิเศษ ความอดทนที่มาก เป็ นพิ เ ศษ และการให้ อภัย ในความไม่ ไ ด้ อ ย่ า งที่ เ รา ต้ องการ ที่มากขึ ้นเรื่อย ๆ เขาก็จะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้ เกือบ เท่ากับเด็กธรรมดา ๆ คนหนึ่งแล้ ว สิ่งที่ แตกต่างไปจากเด็กธรรมดา ๆ คือสิ่งที่ เ ขา แสดงออกมาหลังจากที่เขาได้ เรี ยนรู้แ ล้ วต่างหาก จะไม่มี การปรุงแต่งใดๆ เลย รับอย่างไร...เขาก็..ให้ ตอบกลับมา อย่ างนัน้ แล้ วเราไม่คิ ดว่าเขาเป็ น คนพิ เ ศษที่ พร้ อมจะ ได้ รับความรักมากมายหรอกหรือ…
A hug a day keeps the doctor away วารสารทันตภูธร
62
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
“โครงการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาทันตแพทย์และทีมทันตบุคลากรเพือ่ ดูแลสุขภาพช่องปาก” รองศาสตราจารย์ ทพญ.ดร.พัชราวรรณ ศรีศิลปนันทน์ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านทันตสาธารณสุข คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บทคัดย่ อ โครงการพัฒ นาสมรรถนะนัก ศึก ษาทัน ตแพทย์ แ ละที ม ทัน ตบุ ค ลากรเพื่ อ ดูแ ลสุข ภาพ ช่ อ งปากผู้พิ การและผู้ สูง อายุ ใ นภาวะพึ่ ง พา เป็ น โครงการที่ มุ่ง พัฒ นานิ สิ ต นักศึก ษา อาจารย์ บุคลากรในสถาบันการศึกษาและภาคีที่เกี่ย วข้ องทั ้งสหวิ ชาชีพและทัน ตแพทย์ ผู้ปฏิ บัติงานในพื ้นที่ ให้ เกิดความตระหนัก ความเข้ าใจและทัศนคติที่ดีในการดูแลผู้พิการ เข้ าใจบริ บทของผู้พิก ารรวมทัง้ ผู้สงู อายุในภาวะพึ่ง พา เพื่อพัฒนาศักยภาพในการดูแ ล สุข ภาพช่ อ งปากและสร้ างเสริ ม สุข ภาวะผู้พิ ก าร โดยการด าเนิ น กิ จ กรรมและพั ฒ นา กระบวนการเรียนรู้ในหลากหลายรูปแบบ รวมไปถึงการสร้ างองค์ความรู้ ใหม่ที่เกี่ยวข้ อ งกับ การพัฒนาสุขภาพช่อ งปากของผู้พิการ สร้ างการมี ส่วนร่ ว มระหว่ างทัน ตบุคลากร นิสิต นักศึกษาทันตแพทย์ และผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องโดยเฉพาะตัวผู้พิการและผู้สงู อายุในภาวะพึ่งพา เพื่อพัฒนา ทักษะความสามารถของทันตบุค ลากรและนักศึกษาทันตแพทย์ ใ นการดูแ ล สุขภาวะของผู้พิการ รวมทั ้งการปลูกฝั งการมีจิตสาธารณะ และการช่วยเหลือสัง คมให้ เกิดขึ ้นแก่นักศึกษาทันตแพทย์ ซึง่ จะเป็ นจุดเริ่มต้ นที่ท า ให้ ทุ ก ภาคส่ ว นได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการสร้ างสัง คมที่ ทุ กคนสามารถอยู่ ร่ ว มกั น ได้ อย่ า งเท่ า เที ย มและเสมอภาค โครงการนี ้ ด าเนิ น การ โดยสถาบัน การศึกษาทัน ตแพทยศาสตร์ โดยมี คณะทัน ตแพทยศาสตร์ 3 สถาบัน เป็ น ผู้ร่ว มรั บ ผิ ด ชอบ ได้ แ ก่ คณะทัน ตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยกิจกรรมส่วนใหญ่ ครอบคลุมการมีส่วนร่ วมของนิสิต นักศึกษา อาจารย์ นักวิชาชีพ จากสถาบันที่ผลิตทันตแพทย์ทกุ สถาบัน โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี ้ วัตถุประสงค์ หลัก เพื่อจัดทาข้ อเสนอแนะเชิงนโยบายสาหรับการพัฒนาทันตบุคลากรเพื่อดูแลรักษาสุขภาพ ช่องปากผู้พิการและผู้สงู อายุภาวะพึง่ พา วัตถุประสงค์ รอง 1. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถนักศึกษาทันตแพทย์ คณาจารย์ ทันตาภิ บาล ผู้ช่วยทันตแพทย์ ให้ พร้ อมดูแลสุขภาพช่องปากผู้พิการ/ ผู้สงู อายุภาวะพึง่ พาอย่างมีเจตคติที่ดี 2. พัฒนากระบวนทัศน์ การมีส่วนร่ วมและสร้ างทัศนคติที่ดีในนักศึกษาทันตแพทย์ ทันตบุคลากรสายวิชาการ ทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อเกิดการตระหนักถึงความสาคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากผู้พิการ/ผู้สงู อายุภาวะพึง่ พา 3. พัฒนาระบบการให้ บริ การสุขภาพช่องปากต้ นแบบและระบบส่งต่อผู้พิการแบบบูรณาการระหว่างชุมชน โรงพยาบาลชุมชนและ คณะทันตแพทยศาสตร์ 4. ผลิตสือ่ สร้ างสรรค์เพื่อพัฒนาสุขภาพช่องปากผู้พิการและกระบวนการเรียนรู้บริบทผู้พิการผ่านการผลิตสือ่
Download เอกสารฉบับเต็มได้ที่เวบไซต์ สถาบันวิ จยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) → Research Reports → ค้นหา “โครงการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาทันตแพทย์และทีมทันตบุคลากรเพื่อดูแลสุขภาพช่องปาก” วารสารทันตภูธร
63
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
วารสารทันตภูธร
64
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
วารสารทันตภูธร
65
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ประชุมวิชาการทันตสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 ประจาปี 2558 เรื่อง “การพัฒนาทันตบุคลากรสู่การทางานสหสาขาวิชาชีพ” (Development of Oral Health Manpower towards Multidisciplinary Teamwork) ระหว่างวันที่ 1-2 ธันวาคม 2558 ณ โรงแรมพูลแมน อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
วารสารทันตภูธร
66
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ขออนุญาตนาบรรยากาศ และเนื้อหาสาระในการ ประชุมดังกล่าวมาเล่าให้ฟังนะคะ ดูจากกาหนดการประชุม แล้ว มีแต่เรื่องน่าสนใจทั้งนั้นเลยค่ะ เริ่มต้นจาก พิธีเปิด การประชุมซึ่งได้รับเกียรติจาก ท่าน นพ.มงคล ณ สงขลา อดีตรัฐมนตรีและปลัดกระทรวงสาธารณสุข สิ่งที่ท่านฝากไว้ คือ Oral Health is a gate way to good health ต่ อ จากนั้ น เป็ น หั ว ข้ อ สุ ข ภาวะคนไทยกั บ งาน สหสาขาวิชาชีพ วิทยากร โดย นพ.สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ รองประธานมูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่าง ประเทศ และมูลนิธิเพื่อการประเมินเทคโนโลยีและนโยบาย ด้านสุขภาพ อาจารย์มาปลุกวิธีคิดเราด้วยความหมายที่น่า ค้ น ห า ขอ งค า ว่ า Inter professional Education and Service หลักการทางานร่วมกันด้วยใจของสหสาขาวิชาชีพ ที่ ยึดคนไข้เป็นศู นย์กลาง และการลดตัวตนของตนเองลง อาจารย์ยังชวนพวกเราให้สร้างความเข้าใจแล้วเริ่มลงมือทา เพื่อ สร้างแรงบันดาลใจให้คนอื่นอีกด้วย จากนั้นเป็น การอภิป ราย : ทั นตกรรมครอบครัว ( family dentistry ) ก้าวใหม่สาหรับทันตบุคลากร ดาเนิน รายการโดย ดร.ทพ.ธงชัย วชิรโรจน์ไพศาล งานนี้ เราได้ พ บ ตั วจ ริ ง เ สี ย ง จริ งของคุ ณหม อแ คน แห่ ง คณะ แพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี หรือ ผศ.พญ. สายพิณ หัตถีรัตน์ สิ่ง ที่ อ าจารย์เล่าถึงบทบาทหน้าที่และหลักการ ท างาน ในฐานะ Family Medicine นั้นทั้ ง ฟั งสนุกและมี คุณค่ามากๆ พร้อมๆกับตัวอย่างของ Family Dentist จาก ทพญ. ปาริชาติ ลุนทา คุณหมอจากโรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย เทคนิคสาคัญที่ได้มาคือ เราควร ฝึกทั้ง zoom in and zoom out เสมอ เพื่อให้เห็นทั้งตัวคนไข้ ครอบครัว วารสารทันตภูธร
67
และสังคมของคนไข้ อาจารย์ฝากประเด็นสาคัญว่า ความ เป็นหมอครอบครัว ต้อง มองเห็นคนก่อนเห็นโรค เห็นเงา ครอบครัวของเขาเสมอ เราเป็นหมอประจาตัว และประจา ครอบครัวของเค้า และเป้าหมายคือ ช่วยให้คนไข้มสี ุขภาวะ ที่ดี ช่วงบ่ายวันแรก เราได้รับ ฟั งการอภิปราย เรื่อง งานทันตกรรมป้องกันในมุมมองและแนวทางที่หลากหลาย Creation of new value Innovation of Dental Treatment โ ด ย Dr. Takashi Kumagai: Chairman of Hiroshi oral health clinic ซึ่ง Dr Kumagai ได้นาตัวอย่าง การพัฒนารูปแบบการบริการในคลินิกทันตกรรม ซึ่งตั้งอยูท่ ี่ เมือง Sakata ประเทศญี่ปุ่นมาเล่าให้ฟังว่า แต่เดิมในคลินิก ทันตกรรมของท่านมีแต่เด็กฟันผุ และผู้สูงอายุที่ม าทาฟัน เทียมทั้งปากกันมาก การดาเนินของโรคของคนญี่ปุ่นคือ 10 ขวบก็มีฟันผุและมาอุดฟันซ้าแล้วซ้าอีก จากนั้นก็จะมีฟันที่ ค่อยๆหลุดไปเรื่อยๆ และ 90% ของคนอายุ 70 ปีขึ้นไปก็ จะใส่ฟันเทียมทั้งปาก ( Drill Fill Kill Pulp Bill ) ท่านจึงคิดว่าทาอย่างไรให้คนมีฟันแท้ใช้ได้ไปตลอด ชีวิตเพราะการที่ ทันตแพทย์ยิ่ง รัก ษา โรคก็ มีแต่ม ากขึ้นๆ การรักษาไม่มีที่สิ้นสุด ท่านเห็นว่าการดูแลและคงสภาพของ สุขภาพในช่องปาก โดยทาให้ประชาชนเห็นว่าเป็นหน้ าที่ ของเขาเองต่างหากที่เ ป็นทางออกของการมี สุขภาพช่อง ปากที่ดีของประชาชน จึงนามาสู่การพัฒนารูปแบบบริการที่ เน้นหนักเรื่อง maintenances ทั้งการออกแบบคลินิก การ ก าหนดบทบาทหน้ า ที่ ข อง dental hygienist ผู้ ป่ ว ยจะ ได้รับการนัดหมายมารักษาและคงสภาพอย่างต่อเนื่อง ส่วนสาคัญอีกเรื่อง คือ การบันทึกข้อมู ลของคนไข้ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง แล ะ ก า ร น า ข้ อ มู ล ม า ใ ช้ ป ร ะ โ ยชน์ ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
Dr Kumagai มี ตั ว อย่ า งผู้ ป่ ว ยที่ ท่ า นติ ด ตามรั ก ษาและ maintenance มาตลอด 20 ปี จากการนาเสนอข้อมูล จะ เห็นว่า ผู้ป่วยมารับการรักษาในช่วงแรกๆ และหลังจากนั้น ส่วนใหญ่ที่มาคลินิกทันตกรรม จะเป็นการ maintenance ทั้งสิ้น ฟังหัวข้อนี้แล้วเราเกิดความรู้สึกอยากลองวางระบบ การรักษาและmaintenance แบบอาจารย์ดูบ้างเพราะเป็น เรื่องที่น่าจะทาได้ไม่ยาก แต่ต้องการความต่อเนื่อง ในช่วงท้ ายของวันเป็นพิ ธีมอบรางวัล Lion Oral Health Award 2015 ซึ่งมีทีมจากเครือข่ายโรงเรียน จาก อ าเภอตาพระยา จัง หวัดสระแก้ ว และเครือข่ายโรงเรียน จากอาเภอห้วยพลู จังหวัดนครปฐม มาเล่าสู่กันฟังถึงพลัง การทางานของเครือข่าย ที่นอกจากจะชื่นชมยินดีแล้ว ยัง สร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้ฟังอย่างมากมาย วันที่สองของการประชุม เราได้ฟังการเสวนา เรื่อง Multi – professional ส าคัญ อย่างไร ในการดูแลสุขภาพ ช่ อ งปากคนพิ ก าร ด าเนิ น รายการโดย รศ.ดร.ทพญ. พั ช ราวรรณ ศรี ศิ ล ปนั น ท์ แห่ ง ศู น ย์ ค วามเป็น เลิศด้าน ทั น ต ส า ธ า ร ณ สุ ข ค ณ ะ ทั น ต แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในหัวข้อนี้ เราได้รับฟังกรณีศึกษาที่ 1 เรื่อง...การศึกษารูปแบบการเยี่ยมบ้านผู้พิการของทีมสห วิชาชีพ โดยใช้แฟ้มสุขภาพครอบครัวเป็นเครื่องมือสื่อสาร ระหว่ า งที ม จาก โรงพยาบาลแม่ แ ตง จ.เชี ย งใหม่ กรณีศึกษาที่ 2 เรื่อง การศึกษาประสิทธิภาพของการแปรง ฟันด้วยการใช้อุปกรณ์เสริม (adaptive device) ในผู้ป่วย บาดเจ็ บ ไขสั น หลั ง ที่ มี ก ล้ า มเนื้ อ มื อ อ่ อ นแรง จาก ผศ. นันทยา อุดมพานิชย์ ในฐานะนักกิจกรรมบาบัด แห่ง โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น และกรณีศึกษาที่ 3 เรื่อง เรื่องเล่าจากวัดจันทร์ โดย ทพ.พูลพฤกษ์ โสภารัตน์ วารสารทันตภูธร
68
จากโรงพยาบาลกัลยานิวัฒนา จ.เชียงใหม่ เรื่องราวเหล่านี้ อาจารย์ฝากแง่คิดกับเราไว้ว่า การดูแลคนพิการนั้น ทันตแพทย์เป็นเพียงส่วนหนึ่งของการดูแลเท่านั้น ยังต้องมีสาขา อื่นๆ เช่น แพทย์ พยาบาล นักกายภาพบาบัด ช่วยกันดูแล จึงจะประสบความสาเร็จ โดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกันคือ ให้คน พิการ มีชีวิตอยู่อย่างมีความสุข และมีส่วนร่วมกับสังคมได้ ช่วงท้ ายของการประชุมเรา ยัง ได้เ ต็ม อิ่มกับการ อ ภิ ป ร า ย ใ น หั ว ข้ อ Multidisciplinary Practice in Dentistry การบูรณาการงานทันตสาธารณสุ ขสู่สหสาขา วิชาชีพ ทาให้ผู้ฟังนึกภาพการนาหลักการมาสู่ทางานจริงใน พื้นที่ เช่น เรื่อง นักจัดการทันตสุขภาพระดับอาเภอ จาก ทพญ. จินดา พรหมทา โรงพยาบาลจอมพระ จ.สุรินทร์ เรื่ อ งประสบการณ์ ก ารบูร ณาการงานทั น สาธารณสุขสู่ สหวิชาชีพ ในแต่ล ะช่วงวัย จาก ทพญ. ณัฐกฤตา ผลอ้อ โรงพยาบาลน้าพอง จ.ขอนแก่น เรื่องสุดท้ายที่ทาให้เราได้เรียนรู้การทางานด้วยใจ อย่างแท้จริง คือ พลังใจเหนือกาย จากคุณภราดร ดังยาง หวาย ส านัก งานสาธารณสุขอ าเภอบ้านแฮด จ.ขอนแก่น ผู้ซึ่งชวนให้เรา เข้าใจตัวเองก่อน ที่จะไปทาความเข้าใจผู้อื่น และยังฝากกุญแจ 11 ดอก ในการทางานด้วยใจที่น่าจดจา มากๆคือ ตั้งที่ใจ ฟังไป ชื่นชมไป ให้กาลังใจไป สัมผัสพลัง วิเศษ หาสิ่งดีๆ ยืนยันคุณค่า หมั่นสรุป น้อมใจ(โยนิโสนมสิ การ) ให้พร ให้การบ้าน...... เต็ ม อิ่ ม ค่ ะ สองวั น กั บ การประชุ ม “การพั ฒ นา ทั นตบุคลากรสู่การท างานสหสาขาวิชาชีพ ” จุดประกาย สร้างแรงบันดาลใจ เกิดพลัง และพบแนวทางในการทางาน จริงๆ
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
The 8th Asian Conference of Oral Health Promotion for School Children Taipei Convention Center โดย ทพญ.จินดา พรหมทา โรงพยาบาลจอมพระ จังหวัดสุรินทร์ หลังจากได้รบั การชักชวนให้ไปร่วมเสนอผลงานวิชาการที่ประเทศไต้หวันในวันที่ 18-21 กันยายน 58 เป็ นการ เดินทางไปประชุมและนาเสนอผลงานที่ต่างประเทศ (โดยได้ทุนค่าเครื่องบินค่าโรงแรมที่พกั ค่าลงทะเบียน จากโครงการ เด็กไทยไม่กินหวาน) ชีวติ ทัน ตแพทย์บ้านนอกๆที่ไม่ค่อยชอบเดินทาง ไม่ ช อบการประกวดแข่งขัน เลย แต่เรื่องมัน บังเอิญ ๊ บังเอิญ ครัง้ นี้ไปได้รางวัลโปสเตอร์น าเสนอยอดเยี่ยม (รางวัลที่ 3) ขอเขียนเล่าเรื่องที่เป็ น เรื่องวิชาการจาก ประเทศต่างๆ ทีเ่ ก็บตกจากห้องประชุม และอาจเล่าเรื่องบังเอิญ ๊ บังเอิญทีไ่ ด้รางวัล เมื่อมีเสียงเรียกร้องจากผูอ้ ่านค่ะ วันแรก เป็ นการนาเสนอของ Dr. Mark Wolff จาก New York University ประเด็น ที่เ ด่ น ๆ ต่ า งจาก บ้านเราคือ มีการดาเนินการทาฟลูออไรด์วานิชโดย ครูป ระจ าชัน้ มีก ารใช้น้ า ยาบ้า นปากฟลูออไรด์ มีโ ปรแกรมสุ ข ศึก ษาส าหรับ เด็ก และผู้ป กครอง ที่น่าสนใจมีการประเมินผลที่ละเอียดโดยนับ tooth demineralization เพื่อ จะนั บ ว่ า สามารถ Prevent decay ได้ก่ี cavity และยังเปรียบเทียบจานวนฟั นที่ ได้รบั การรักษา และฟั นทีไม่ผุดว้ ย ดังนี้
วารสารทันตภูธร
69
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
Dr. Mark Wolff น าเสนอโปรแกรมส่งเสริม ป้ อ ง กั น ทั น ต สุ ข ภ า พ ชื่ อ โ ค ร ง ก า ร SMILE GRADANA พื้นที่ดาเนินการโรงเรียนประถมศึกษา ในเขต GRADANA เป็ นเขตพื้นที่ยากจน ก่อนเริม่ โครงการเด็กๆ ทีน่ ่ีจะไม่ได้รบั บริการทันตกรรมอะไร เลย โครงการเริม่ ในช่วงปี 2010-2013 เริม่ จาก การปรับมาตรฐานการตรวจช่องปากเด็ก 1,078 คน การประเมินจะแยกเด็กเป็ น 3 กลุ่ม คือ 6 ปี , 7-8 ปี และ 14-15 ปี เกณฑ์รายละเอียดตรวจฟั นเน้นตรวจ ฟั น ร ะ ยะ เ ริ่ ม ผุ ( tooth demineralization) ตร วจ ละเอีย ดเริ่ม ตัง้ แต่ ร ะดับ White line / Spot ตรวจ รายด้าน DMFS ใช้ก ารตรวจแบบ ICCTM จึง เห็น ผลการเปลี่ย นแปลงชัดเจนเพราะเกณฑ์ก ารตรวจที่ร ายละเอีย ดชัดเจน ในโปรแกรมเขาเน้นจัดกิจกรรมให้ครู และผูป้ กครองเรื่อง Healthy Diet and Good Hygiene ให้ครูเป็ นผู้ทาฟลูออไรด์วานิชฟั นแท้ในเด็กประถม (ให้ครูทาเพราะมีทนั ตบุคลากรไม่เพียงพอ) และมีการ กากับติดตามอย่างเข้ม ข้น ตรงตามdirection จะต้องทาฟลูออไรด์วานิ ช ปี ละ 3-4 ครัง้ /ปี ตามระดับของความเสี่ย ง รายบุคคล (ผูส้ นับสนุน วัสดุคอื Colgate Duraphat) ตามงานวิจยั บอกว่าการทาต้องครบ 3 ครัง้ จึงจะมี effective ดาเนินการเรื่องการทา Sealant ในประถมศึกษา ดาเนินการเรื่อง Fluoride Rinse ดาเนินกิจกรรม Bright smile Bright future ให้กบั เด็กในโรงเรียนสร้างทัศนะคติให้กบั เด็กนักเรียน ผลการดาเนินโครงการมีประเด็นทีน่ ่าสนใจหลายอย่างเช่น การประเมินผล มีการเข้าถึงบริการที่แตกต่างกัน (จากผลการเปรียบเทียบฟั น Untreated decay ก่อนและ หลังโครงการ) พื้นที่วจิ ยั เป็ นพื้นที่ยากจนเด็กทีน่ ่ีไม่เคยได้รบั บริการทันตกรรมในช่วงก่อนเข้าร่วมโครงการดังนัน้ การ ดาเนินโครงการนี้น้ีจงึ ทาให้เด็กๆได้รบั บริการเพิม่ ขึน้ ประเมินการลดการเกิด tooth demineralization ก่อนและหลังโครงการ (การวัดละเอียดเป็ นรายด้านทาให้ เห็นผลการเปลีย่ นแปลงชัดเจน การสรุปภาพรวมของโครงการว่าโครงการนี้ สามารถป้ องกันฟั นผุได้จานวนเท่ าไร (Prevent decay ได้ก่ี cavity) โดยการนับ จานวนทีร่ กั ษาได้และไม่ผุ เป็ นอย่างไรบ้างค่ะเรื่องแรกทีเ่ ล่าให้ฟัง วิธกี ารดาเนินการดูน่าสนใจ มีการวางแผนและการวัดผลทีช่ ดั เจนในวัน แรกของการประชุม และเป็ นที่น่าสนใจว่าประเทศอเมริกาเองมีพ้นื ทีท่ ่ปี ระชาชนเข้าไม่ถงึ บริการทันตกรรมไม่น้อย และ การให้ครูทาฟลูออไรด์กเ็ ป็ นมาตรการทีใ่ นประเทศเจริญแล้วเขาก็ยงั ทากันอยู่ วารสารทันตภูธร
70
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
วันที่ 2 เรื่องที่ร้สู ึกประทับใจมากที่สดุ คื อ เ รื่ อง Effective Health Education by Application of a Visual Oral Health Literacy Instrumentของ Prof. Yoko Kawaguchi จ าก Department of Oral Health Promotion, Tokyo Medical and Dental University จากประเทศญี่ป่ นุ คาว่า “Health Literacy” ทีพ่ วกเราไม่ค่อยคุน้ เคย เดีย่ ว อ่านคานิยาม ของคาแล้ว จะเข้าใจมากขึ้น เรื่องนี้ เป็ นเรื่องใหม่ๆ ของพวกเราค่ะ รับรองว่าถ้าอ่านเรื่องนี้จบ จะ มีไอเดียในการทางานต่อกับเด็กๆนักเรียนของเราแน่ๆเลยค่ะ Prof. Yoko Kawaguchi เกริน่ นาว่าปัญหาของการทาให้เกิดความร่วมมือระหว่าง ประเทศคือความแตกต่างทาง ภาษา เชื้อชาติวฒ ั นธรรมระบบสาธารณสุข แต่การแลกเปลี่ยนอภิปรายกิจกรรม “สร้าง เสริมทันตสุขภาพ” จะทาให้เกิด School oral health programทีด่ เี กิดขึน้ และสิง่ ทีทุกประเทศพูดถึงคือ “การแปรงฟั นใน โรงเรียน” ประเทศญี่ป่ ุนก็เช่นเดียวกันให้ความสาคัญกับเรื่องนี้เพราะการ Promotion คือการ enabling ดังนัน้ health education จึงสาคัญ ซึ่งปกติการดาเนินการมักทาโดย Dentist , Dental hygienists , หรือ ครู แต่ปัญหาที่พบคือ Gap ระหว่างบุคลากรและเด็กๆ คือปัญหาการสื่อสาร (Children’s perception ≠ Dentist’s viewpoint )
Health Literacy คือ Cognitive social skill, ดังนัน้ Health Literacy จึงไม่ไช่เฉพาะการมีความรู้ หรือความเข้าใจ แต่หมายถึง skill ต่างๆทีบ่ ุคคลควรจะมีเพื่อการมีสุขภาพทีด่ ี (Literacy= ความสามารถในการอ่าน, เขียน, พูด, เรียบเรียง แก้ปัญหาได้) (ผู้เรียบเรียงขออนุ ญาติอธิบายเพิม่ เติม *** Health Literacy มีคนแปลเป็ นภาษาไทยว่า “ความแตกฉานด้าน สุขภาพ” หรือ “การรู้เท่าทันด้านสุขภาพ” หรือ “ความฉลาดทางสุขภาวะ” ให้ความหมาย ว่า Health Literacy หมายถึง การที่บุคคลมีความสามารถในการเข้าถึงข่าวสารความรู้ด้านสุขภาพจากแหล่ง ความรู้ท่หี ลากหลาย มีความเข้าใจใน เนื้อหาต่างๆสามารถประเมินความน่าเชื่อถือและความเหมาะสมของเนื้อหากับตนเองใช้ความคิดอย่างเป็ นเหตุเป็ นผลใน การให้ความสาคัญกับข่าวสารความรูน้ นั ้ ๆตลอดจนนาไปสู่การตัดสินใจนามาลองปฏิบตั แิ ละประเมิน) วารสารทันตภูธร
71
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
Prof. Yoko Kawaguchi ได้พฒ ั นาเครื่องมือเพื่อทาให้เด็กๆสามารถเข้าใจ Oral health และออกแบบการประเมิน Oral health literacy ระดับบุคคลว่ามีความรู้ความเข้าใจในขันพื ้ น้ ฐานและการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเองได้ ในแต่ละคน มีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเป็ นสิง่ ทีส่ าคัญที่ Dental professional จะต้องทราบก่อนทีจ่ ะออกแบบการ ท างานโปรแกรมทัน ตสุขศึกษาได้ต รงกับกลุ่ม เป้ า หมายต่ า งๆได้ ดัง นัน้ โครงการนี้ จึง มีก ารประเมิน เพื่อ เข้า ใจว่า กลุ่มเป้ าหมายแต่ละคนมีความเข้าใจ basic oral health information แตกต่างกันอย่างไรก่อนเริม่ โครงการ
การประเมิน Oral health literacy instrument โดยการวาดภาพ ให้เด็กๆได้วาดภาพ เหงือกและฟั นของตนเอง โดยใช้กระจกเล็กๆ โดยผู้ประเมินจะมีเกณฑ์การให้คะแนนว่า เด็กๆมีความเข้าใจเรื่อง เหงือกและฟั นหรือไม่ มีระดับ คะแนน 0-3 แยกเป็ นคะแนน ฟั น (บน =3 , ล่าง 3) และ คะแนนเหงือก(บน =3 , ล่าง 3) ดูรปู ร่าง และการเรียงตัว ของ ฟั น,เหงือก Prof. Yoko Kawaguchi บอกว่า การวาดรูปเป็ นเครื่องมือสากลที่สามารถนาไปใช้ได้ การประเมิน จะประเมิน ก่อนและหลัง การให้ ทันตสุขศึกษา (Health education) นอกจากวาดภาพ ก็จะมีการทาแบบสอบถาม ก่อนและหลัง วิเคราะห์แยกเด็กหญิง เด็กชาย พบว่า คะแนนการวาดรูปช่องปากตนเอง หลังการอบรมสามารถวาดภาพได้รายละเอียด ดีขน้ึ คะแนนเพิม่ ขึน้ คะแนนรูปเหงือกดีมากขึน้ มากกว่าคะแนนรูปฟั น และคะแนนของเด็กผูห้ ญิงจะมีรายละเอียดของรูปมี คะแนนได้มากกว่ารูปของเด็กผูช้ าย วารสารทันตภูธร
72
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
กรอบแนวคิ ดในการทางานเรื่องนี้ คือ
ผลการศึกษาพบว่าหลังจากทีเ่ ด็กผ่านกระบวนการเรียนรูก้ ารเปลี่ยนแปลงในช่องปากตนเอง โดยการวาดรูปใน ช่องปาก โดยเด็กๆจะฝึกแปรงฟั นมากขึน้ และสุขภาพช่องปากจะดีขน้ึ // มีขอ้ แนะนา การให้คะแนนต้องไม่เกี่ยวกับทักษะการวาด และการให้เป็ นการบ้านเด็ก ไม่ได้ผลดีนักพบว่า บางครัง้ ผู้ปกครองวาดรูปให้ หรือเพื่อนวาดรูปให้ // เด็กวัยประถมศึกษาจะไม่ค่อยเข้าใจ เรื่องการสะสมแผ่นคราบ จุลนิ ทรียท์ ฟ่ี ั น ดังนัน้ ทันตบุคลากร หรือครูควรเตรียมเครื่องมือการสอนหรือสื่อการสอนให้ดี ยังมีเรื่องราวของประเทศต่างๆที่ยงั ไม่ได้เล่าอีกหลายเรื่อง และยังไม่ได้เล่าเรื่องบัง เอิญ ๊ บังเอิญ รับรางวัลที่ ไต้หวันเลยค่ะ สงสัยต้องเก็บไปเล่า เมื่อมีเสียงเรียกร้องมามากๆค่ะ ฉบับนี้ฝาก link ภาพโปสเตอร์ไปดูกนั ก่อนนะคะ ก่อนจบต้องขอขอบคุณ ทพญ.ปิ ยะดา ประเสริฐสม จากสานักทันตสาธารณสุข ผู้จ ัดการโครงการรณรงค์เด็กไทยไม่กนิ หวาน ผู้ให้งบประมาณสนับสนุนการเดินทางไปประชุมในครัง้ นี้ และผู้ดูแลช่วยแปลช่วยอธิบายสิง่ ที่ไม่เข้าใจให้เข้าใจ มากยิง่ ขึน้ พีๆ่ น้องๆชาวทันตสาธารณสุข สามารถดูสไลด์และบรรยากาศในการประชุม ใน link ทีใ่ ห้ไว้ในนี้นะคะ Photographs: http://www.acohpsc8.tw/Conference%20Album.html • Speech Materials: http://www.acohpsc8.tw/program.html • Poster Abstracts: http://www.acohpsc8.tw/abstract1.html วารสารทันตภูธร
73
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
เรื่องเล่าเมื่อเช้านี้ ณ ห้องฟันภูธร ทพญ.จริญญา เชลลอง โรงพยาบาลจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
เช้าวันนี้ห มอฟั นท่ านหนึ่ง ได้ขึ้นมาท างานถึง ห้อ งฟันเวลา 07.40 น. (ซึ่ง ยัง ไม่ ถึง เวลาเปิดให้บ ริก ารของห้องฟั น ) หมอฟันเดินเข้ามาในห้องก็เห็นคนไข้นั่งรออยู่แล้ว 2 คน เป็นคุณยายอายุ 80 ปี และคนไข้เด็ก หมอฟันก็ได้แต่คิดอยู่ในใจอยู่ว่าคนไข้ช่างขยันจริงๆมาแต่เช้าเชียวนะ สักพักหมอฟันก็อดแปลกใจในการมาแต่เช้าของคนไข้ไม่ได้จึงถามคนไข้ไปว่าคนไข้เป็นอะไรมาทาไมมาแต่เช้าเลย ทีม หมอๆกาลังเตรียมทาความสะอาดห้องฟัน เตรียมจัดเครื่องมือกันอยู่ (ตอนนี้ในใจคิดว่าจะให้คนไข้ลงไปนั่งรอข้างนอกห้องก่อน) แต่เมื่อคนไข้ได้เล่าให้หมอฟังเท่านั้นแหล่ะ หมอถึงกับอึ้งเลย !!! บ้านของคนไข้ไม่มีรถโดยสารประจาทางผ่าน ถ้าจะมาโรงพยาบาลจะต้องเหมารถกระบะมาเที่ยวละ 200 บาท พอดีว่า เมื่อเช้านี้มีเพื่อนบ้านเข้ามาตลาดในอาเภอตั้งแต่ 05.00 น.จึงขอติดรถเพื่อนบ้านมาด้วย เพราะต้องการประหยัดเงินในการเหมา รถกระบะ มาถึงตอนนี้หมอถึงได้รู้ว่าจริงๆแล้วคนไข้มาถึงโรงพยาบาลตั้งแต่ "หกโมงเช้า" เลยด้วยซ้า!!! นั่งรอจนกว่าจะใกล้ๆ 08.00 น. จึงเข้ามายื่นบัตรที่ห้องฟัน ทีนี้คนไข้ก็เล่าให้หมอฟังต่อว่า เวลาจะกลับบ้านก็ต้องรอนั่งรถโดยสารประจาทางเข้าไปในตั วจังหวัดก่อน แล้วรอรถ โดยสารประจาทางจากตัวจังหวัดเข้าไปลงอีกอาเภอหนึ่ง แล้วจึงเดินกลับเข้าบ้านต่อได้ เพื่อที่จะประหยัดเงินได้อีก 100 บาท จากปกติบ้านที่ห่างจากโรงพยาบาลเพียง 20 กิโลเมตร แต่กลับต้องมานั่งรถโดยสารประจาทางเป็นระยะทาง 60 กิโลเมตร จากเหตุการณ์เ มื่อเช้าที่เล่ามาทั้งหมดนี้ หวังเพียงเพื่ออยากให้คุณหมอๆทั้งหลายเห็นใจในความยากลาบากของคนไข้ ด้วย บางครั้งเราไม่รู้หรอกว่าคนไข้เดินทางมาหาเราอย่างไร คนไข้จะมาเช้าหรือคนไข้จะมาสาย ก็ขอให้คุณหมอๆใจเย็นๆ ค่อยๆ คุย ค่อยๆสื่อสารกับคนไข้ เพราะเค้าต้องการมาพึ่งเราจริงๆ และที่สาคัญอย่าให้คนไข้รอนานโดยมีสาเหตุมาจากการขึ้ นมา ทางานสายของหมอๆเลยค่ะ <3 <3 <3 อยากให้คุณหมอๆทุกท่านให้บริการคนไข้ดุจญาติมิตรและด้วยหัวใจแห่งความเป็นมนุษย์นะคะ <3 <3 <3 วารสารทันตภูธร
74
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
เที่ยววัดจัดใจ
น้าทิพย์
วัดป่าสิริวัฒนวิสุทธิ์ ในพระองค์ฯ จ.นครสวรรค์ วัดนี อ้ ยู่บ นยอดเขา ที่ จัง หวัดนครสวรรค์ ข้ า พเจ้ า และ คณะเดินทางไปที่นี่เ มื่อ ปี 2557 ถ้ าจาไม่ผิด เราต้ องจอดรถไว้ หลัง จากขั บ ขึ น้ เขามาสัก ระยะหนึ่ง และลงเดิ น เท้ า ขึน้ ไปกัน ผู้ใหญ่ 3 คน กับเด็กอีก 2 คน เดินบ้ างพักบ้ างไต่ไปตามระดับเขา แต่ละจุดก็จะพบเจอ ห้ องพระ ศาลา และสถานที่ไหว้ พระไปตลอด เส้ นทางขึ ้นไปสูย่ อดเขา แต่ละที่งดงามและวิจิตรตระการตา และที่ ล ้าค่ากว่านั ้นคือ วัดนี ้เป็ นวัดในพระองค์ เป็ นวัดในสมเด็จพระเจ้ า พี่นางเธอเจ้ าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิ วาสราชนคริ นทร์ ชาวบ้ านทัว่ ไปนิยมเรียกว่า วัดพระพี่นาง เมื่อเดินขึ ้นสู่ยอดเขา เราจะเห็นเจดีย์พุทธคยาเด่นเป็ น สง่า กับลานกว้ างโล่งสบายตา ทาให้ การไต่ขึ ้นเขามาแต่ละชั ้น ได้ ไหว้ ที่ประดิษฐานไว้ ได้ อ่านประวัติ ได้ อ่านข้ อคิดพุทธสุภาษิ ต จน มาถึงจุดสุดท้ ายนั ้น คุ้มค่ากับการเดินทาง ข้ าพเจ้ ามีความรู้ สึก ว่า การเดินทางสู่ที่สงู แต่มีความงดงามรออยู่ข้างหน้ าให้ ได้ ชื่นชมนั ้น เป็ นการเดินทางที่ค้ มุ ค่าและหายเหนื่อยเป็ นปลิดทิ ้ง..
"ภาพจาลองแห่งสวรรค์" วัดป่ าสิ ริวฒ ั นวิ สทุ ธิ์ จ.นครสวรรค์
และการได้ ม าไหว้ พ ระที่ วัด นี ข้ ้ า พเจ้ าได้ บทเรี ย นแห่ ง ธรรมะว่าด้ วยเรื่องความอดทน ถ้ าแยกคาออกมาแล้ ว เคยมีคนให้
อดทนของแต่ละคนต่างกันไปตามประสบการณ์ และมุมมองของ การใช้ ชีวิต แต่การอดทนเพื่อ ฝึ กตนให้ ร้ ู จักทาในสิ่งที่ ถูกต้ อ งนัน้
ความหมายไว้ ว่า "อด" คือไม่ได้ ในสิ่งที่ชอบ "ทน" คือต้ องรับให้ ได้ ในสิง่ ที่ไม่ชอบ รวมแล้ วความอดทน คือการระงับยับยั ้งใจได้ ในสิ่ง
ต่างกัน แม้ ไม่ได้ ในสิ่งที่ชอบก็คือการยอมรับด้ วยความเข้ าใจ แม้ จะต้ องทาในสิง่ ที่ไม่ชอบ (ก็ใครชอบเหนื่อยบ้ าง)
ที่ชอบและไม่ชอบ เพื่อให้ ได้ มาซึ่งความสาเร็ จ แต่สาหรับข้ าพเจ้ า มองว่าความอดทน คือเครื่ องมือฝึ กตน ให้ ร้ ู จักทาในสิ่งที่ถูก ต้ อ ง
ก็ ต้ อ งท าด้ ว ยความด้ ว ยความสุข ได้ สิ่ง ที่ ไ ด้ จ ากความ อดทนเช่นนี ้คือ "ความอดกลั ้น" ทาให้ เรามีความพยายามมากขึ ้น
ไม่ใช่แค่ทาในสิง่ ที่ชอบหรือไม่ชอบให้ สาเร็จ เพราะบางครัง้ ในชีวิตคนเรานั ้น ความชอบของเราก็ไ ม่ อาจบอกได้ ว่าถูกต้ อง ความไม่ชอบของเราก็ไม่อาจบอกได้ ว่าผิด เช่นกัน ถ้ าต้ องใช้ ความอดทนกับเหตุผลของการได้ มาซึง่ สิ่งที่ ชอบ หรือเพื่อให้ ผ่านไปได้ กบั สิง่ ที่ไม่ชอบนั ้น เราจะเห็นว่าปริมาณความ
วารสารทันตภูธร
75
และความพยายามที่เพิ่มขึ ้นนี่เองที่ทาให้ เราได้ เห็นสิ่งที่เรากาลัง ทาอยู่นั ้นตามความเป็ นจริ ง ว่าสิ่งที่ถูกใจเราหรื อไม่ถูก ใจเรานัน้ เป็ นสิง่ ที่ถกู ต้ องสมควรที่จะเพียรทาต่อไปหรือไม่... บทสรุ ปของความอดทนของข้ าพเจ้ าคื อ ความ อดทนด้ วยความเข้ าใจ จะไม่ มีขี ดจากัดแห่ งความพยายาม และความเพียร และไม่ บีบคัน้ ใจเราให้ มีความทุกข์ .... ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
เพาะรัก ปลูกศรัทธา Paramitta Plukponyarm มี คาสอนของคนโบราณที่ ส อนให้เ รารู้จัก ใช้ ชี วิต ให้ เ ป็ น อย่างคนฉลาดที่จะใช้ชีวิต โบราณสอนลูกหลานไว้ว่า คนฉลาดต้อง รู้จักโง่บางเวลาคนเก่งต้องรู้จักถ่อมตน เมื่อนามามองให้ลึกซึ้งเราจะ เห็นว่า เพราะหากฉลาดทุกเวลา เราก็จะไปกระทบอีโก้คนอื่นเขา หากแสดงความเก่งทุกเวลา เราก็จะไปกระทบความรู้สึกคนอื่นเขา กลไกการป้องกันตัวของมนุษย์ก็จะทางานคือการปกป้อง ตัวเอง พื้นที่ของตัวเอง และกระบวนการปฎิเสธก็จะเริ่มขึ้นเพราะ ปกติ แต่ก่อนเราจะคิดจากมุมมองของตนเองออกไป แต่เมื่อเราเริ่ม เรียนรู้ที่ จ ะใช้วิธีม องคนอื่นโดยมุ ม มองของเขา ไม่ ใช่ของตัวเอง เกือบจะคล้าย ๆ เอาใจเขามาใส่ใจเรา เพียงแต่เป็นด้านพฤติกรรม เราก็ จ ะมองอะไรได้ก ว้างขึ้น มองเห็นในแง่มุ ม ต่าง ๆ ที่ ป รากฎ เพราะมองเขาอย่างที่เห็นจริง ๆ ไม่ใช่จากมุมมองของเราอย่างที่เรา คิดว่าเห็น ใช้เวลาฝึกฝนไปเรื่อย ๆ ที่จะทาความเข้าใจ เพราะเมื่อความเข้าใจเกิด เราก็จะอภัยในความพร่องของเขาเอง โดยที่เขา ไม่ร้องขอ ความเข้าใจในสิ่งใดก็ตาม ต้องรู้จักสิ่งนั้นเสียก่อน รู้จัก จึงจะเข้าใจการจะรู้จักสิ่งใดนั้น ต้องใส่ใจ และสนใจถ้าข้างในเต็ม แล้วก็จะไม่มีการแสวงหาอีกต่อไป จะยังมีเหลือมากพอที่จะแบ่งปันออกไป เราทุกคนพึงดูแลจิตวิญญาณของตนเองก่อน พัฒนาจิตตนเองก่อน เติมเต็มที่ตนเองก่อน เราไม่สามารถเป็นจิตวิญญาณ แทนใครได้ ไม่สามารถรู้สึกแทนใครได้ ไม่สามารถคิดแทนใครได้ เราทาได้แค่ตัวเองและเราก็จะรู้ว่า เมื่อเราสุข เขาก็สุขอารมณ์เดียวกับเรา เมื่อเราทุกข์ เขาก็ทุกข์อารมณ์เดียวกับเรา เมื่อเราคิดได้ ปรุงแต่งได้ เขาก็ทาได้เหมือนเราเช่นกัน การร่าร้องหาคนเข้าใจโดยไม่ยอมพยายามเข้าใจเขาก่อนนั้น เหมือนดึงส่วนหนึ่งในจิตใจเราออกไปให้ผู้อื่นเสมอ ๆ โดยไม่มีการเติมเต็มให้ตัวเองจะเกิดช่องว่างในอก ทาให้ต้องมองหาใครสักคนมาเติมเต็มมาคอยให้เรา ดูแลเรา เพื่อที่เราจะได้เต็ม เป็นการยกสิทธิในการมีความสุขของเราไปให้คนอื่น และให้เขาเปลี่ยนแปลงเรา โดยเราไม่คิดจะเปลี่ยนตัว เอง วารสารทันตภูธร
76
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ซึ่งในความเป็นจริงนั้นทุกคนเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าอยากจะเปลี่ยนถ้ามองเห็นความงามที่ซอ่ นอยู่ในความเปลีย่ นแปลง ถ้ามี ความสุข ทุกข์ทาให้คนเปลี่ยน ความความสุขก็เช่นกัน ใช้สิ่งทั้งสองนี้ให้เป็น จะมีคนใหม่เกิดขึ้นจากคนเก่าเสมอ ทุกคนทาผิดพลาดได้ ดังนั้นจึงไม่มีอะไรถูกใจเรา และไม่มีอะไรได้อย่างใจเราทุกอย่าง เราต้องรู้จักพื้นที่แห่งความเข้าใจ และพื้นที่แห่งการให้โอกาสด้วย เราอยากให้เขาเปลี่ยนแปลงจากสิง่ ทีเ่ ขาเคยเป็นแต่เราต้องไม่กาหนดว่าเขาจะเปลีย่ นแปลงจาก ที่เป็น ไปเป็นแบบไหนอย่างไรเพราะนั่นคือการคาดหวัง...และจะตามมาด้วยความหวัง...และติดตามมาด้วยความผิดหวังเสมอ เราเพียงแต่ให้ความเชื่อมั่น ให้โอกาส..ให้กาลังใจ และเฝ้าดูความเปลี่ยนแปลงนั้น...ถ้าเป็นไปในทางที่ดี สอดคล้องกับสิ่ง ที่เราต้องการ.มันคุ้มกว่าที่เราคาดว่าจะได้ ความเปลี่ยนแปลงแบบนี้ ทั้งเราและเขาก็จะได้ในสิ่งที่ ดี ภูมิใจทั้งคนให้และคนรับ.. เพียงแค่เราอย่าอยากได้ทั้งหมด ความเปลี่ยนแปลงทั้งหมดในคราวเดียวไม่มีทางเกิดขึ้นได้ มีแต่ค่อย ๆ เปลี่ยนไป.. จนเราสังเกตได้ ที่เปลี่ยนทันทีเหมือนเปลีย่ นช่องทีวีนั้นมันหนัง มันละคร...มันไม่ออกมาจากข้างในใจจริง ๆ จะไม่มีทางประทับใจ ใครและไม่รู้สึกภูมิใจที่เห็นความเปลี่ยนแปลง เพราะมันประทับเพียงสายตา...แต่ไม่หยั่งรากลงไปในสายใจ แต่ขอให้ใจอยากเปลี่ยน และลงมือทาให้เเกิคความเปลี่ยนแปลง..ไปในทางที่ดีขึ้น..ไม่ใช่ดีในแบบของเรา ไปใช้ตัดสินเขา ไม่ได้...แต่ดีของเขาจากที่เขาเคยเป็นอยู่ต่างหากที่สร้างความสุขใจให้กับผู้พบเห็นได้จริง เราไม่ ส ามารถเปลี่ ย นใครได้ อั น นี้ เ ป็ น ความจริ ง ที่ สุ ด เราเพี ย งแต่ ใ ห้ โ อกาส ก าลั ง ใจ ให้ ค าแนะน า คอยดู แ ล ประคับประคองสนับสนุน และช่วยเหลือหนทางข้างหน้า...ใครเปลี่ยนคนนั้นต้องทาเอง แต่ถ้าทาแล้วมองไม่เห็นอะไรทางเดินนั้น ก็ไม่ใช่เส้นทางที่ใช่และถูกต้องในการให้โอกาสอีกต่อไป คนเรานั้นถ้าทาผิดใน เรื่องเดิมครั้งแรกต้องให้อภัย...และให้โอกาสแก้ไข แต่ถ้ายังทาผิดในเรื่องเดิมอีกเป็นครั้งที่สองหมายถึงว่า...คน ๆ นั้น...ไม่ได้เห็นว่าสิ่งที่ทานั้นผิด และไม่คิดจะแก้ไขการให้ โอกาสต่อไปไม่มีประโยชน์ เพราะตราบใดที่เขายังไม่เห็นว่าสิ่งที่ผิดนั้นเป็นเรื่องที่ผิดต้องคิดแก้ไขก็จะทามันต่อไปเรื่อย ๆ และจะ เสียเวลากับการให้อภัย เราจึงต้องมีอุเบกขาไว้กากับ...จากการเมตตาให้อภัยทาผิดซ้า ๆ ซาก ๆ ในเรื่องเดิม ๆ เกินอภัย ต้องปล่อยไปตามกรรม คือเป็นเรื่องที่กระทาผิดเรื่องนั้นซ้า ๆ ซาก ๆ กระทบกับเรา หรือ สิ่งที่เกี่ยวข้องกับเราด้วยแต่ถ้าไม่กระทบ..หรือเกี่ยวข้องกับเรา ...หรือทาให้เราได้หรือเสียประโยชน์อะไร ก็คงต้องทาใจยอมรับในนิสัยอันนี้ไปด้วยการเมตตาอย่างไม่มีที่สื้นสุด ถ้าเราวางใจให้สูงกว่าการคาดหวังว่าจะได้ จากเงื่อนไข และการกระทบการให้อภัยจะไม่มีขีดจากัดและจานวนครั้ง ส่วนการมีจานวนครั้งของการให้อภัยขึ้นมาเพราะมีผลประโยชน์ มีการได้เสีย มีการรับและให้ มีเงื่อนไข มีการกระทบ มันจึงมีจานวนขึ้นมาเพื่อเป็นการป้องกันความเสียหายที่จะมากมายไปกว่านั้น วารสารทันตภูธร
77
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ประธานขอคุย ทพ.กิตติคุณ บัวบาน ประธานชมรมทันตสาธารณสุขภูธร
สวัสดีครับ ทันตบุคลากรทุกท่านครับ ในโอกาสนี ้ วารสารทัน ตภูธรขอแสดงความยินดี กับกรรมการทันตแพทยสภาชุดใหม่ ที่ได้ รับเลือกตังเข้ ้ ามาท างานกัน เป็ น เวลา 4 ปี พวกเราหวังว่าทันตแพทยสภาชุดนี ้จะสามารถ เดิน เครื่ องพัฒนาให้ วิชาชี พทัน ตแพทย์ เป็ นวิช าชีพของ บุคคลที่ชาวบ้ านเชื่อมัน่ ไว้ วางใจได้ อย่างต่อเนื่องนะครับ นโยบายดี ๆ ที่ ท่านได้ เ สนอไว้ ต อนหาเสีย งก็ ค งจะต้ อง หาทางดาเนิ น การ รวมถึ ง สานต่อนโยบายดี ๆ ที่ ทัน ต แพทยสภามีอยู่แล้ ว อย่างน้ อยในช่วงนี ้กระแสของการจัด ฟั น แฟชั่น การท ารี เ ทนเนอร์ แฟชั่น ก็ยังลุกลามอยู่ทั่วไป หมด เราน่าจะเห็นการจัดการที่เหมาะสม เด็ดขาด โดย ความร่ วมมือและประสานงานกันอย่างแข็งขันในฐานะ ทันตแพทยสภาที่ชดั เจนมากขึ ้น หันไปมองน้ องๆหมอฟั นที่กาลังหาที่เรี ยนต่อกัน มาระยะหนึ่ง บางคนก็ มีที่ เ รี ย นที่ ต้ องการแล้ ว บางคน กาลังสอบ บางคนกาลังฝึ กปรือวิชาเผื่อไว้ ปีตอ่ ไป ผมก็ขอ เป็ นคนหนึ่งที่ขอเป็ นกาลังใจให้ ทุกคนนะครับ อย่างไรก็ ตามในยุคนี ้ทิศทางการเรียนต่อ หรือเรียกเท่ห์ๆ ว่าการจัด ระเบี ย บการมี ทั น ตแพทย์ เ ฉพาะทางของกระทรวง สาธารณสุข ก็ ก าลังมีผลต่อการวางแผนศึก ษาต่อ ของ ทัน ตแพทย์ทุก คน มีน้ องหลายคนระบายให้ ฟังถึงความ ยากลาบากในการศึกษาต่อในปั จจุบัน โดยเฉพาะการที่ วารสารทันตภูธร
78
ไม่สามารถกลับมาทางานในที่ทางานเดิมได้ หากไม่เป็ นไป ตามข้ อกาหนดที่ได้ กาหนดในระดับประเทศ ทัง้ นีเ้ ป็ นเพราะเป้าหมายของการกาหนดทิศทาง ในการพัฒนาทันตแพทย์เฉพาะทางที่มีการปรับให้ เป็ น ไป ในทิ ศทางเดี ย วกับ แผนการจัด บริ ก ารสุขภาพช่องปาก นัน่ เอง เรียกง่ายๆว่าการพัฒนาให้ มีหมอฟันเฉพาะทางยุค ใหม่นนั ้ คานึงถึงความจาเป็ นที่จะต้ องมี ต้ องใช้ ของพื ้นที่ ก่ อนที่ จ ะดูค วามต้ องการของผู้( อยาก)เรี ย น ซึ่งทิ ศ ทาง แบบนี ้เป็ นสิ่งที่คนนอกวงการของพวกเรา โดยเฉพาะกลุม่ ผู้บ ริ ห ารต่า งๆเห็น ด้ ว ยเป็ น อย่ างมากครั บ ดัง นัน้ ทัน ต แพทย์ที่กาลังวางแผนจะเป็ นหมอฟันที่เชี่ยวชาญในระดับ มากกว่าที่จบในระดับปริ ญญาตรี ทกุ คน จาเป็ นที่จะต้ อง เข้ าใจและเรี ยนรู้นโยบายนี ้พร้ อมๆกับการปรับทัศนคติใน การเรียนต่อให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน (เชื่อว่าแค่นี ้ทันต แพทย์ไทยทาได้ ชวั ร์ !!) อีกเรื่ องที่น่าติดตามยิ่งนัก คืออีกไม่นาน เราจะมี ทันตาภิบาลเลือดใหม่(ว่าไปนัน่ ) แหะๆ จริงหมายถึงน้ องๆ เจ้ าพนัก งานทันตสาธารณสุข (4ปี ) ที่ จ บมาเป็ น รุ่นแรก อย่างเป็ นทางการเมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมานี ้ เชื่อว่า พี่ๆ ทังพี ้ ่ทนั ตแพทย์และพี่ทนั ตาภิบาลทังหลายก็ ้ กาลังลุ้น ว่าน้ องที่จบมาทางานในหลักสูตรนี ้จะเป็ นอย่างไร ส่วนตัว แล้ วเชื่ อว่าน้ องๆเหล่านีจ้ ะกลับ มาเป็ นกาลังสาคัญของ ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
พื น้ ที่ ในการพัฒนาคุณ ภาพบริ ก ารสุขภาพช่องปากได้ อย่างแน่นอน เพียงแต่อยากกระตุกชายเสื ้อท่านหัวหน้ า ฝ่ ายทัน ตกรรมบางคน ที่ ก าลังจะชวนน้ องๆเค้ าไปช่วย ถอนฟั น อุดฟั นแบบเดิมๆ ว่าความสามารถที่เพิ่ม ขึน้ มา ของน้ องๆเจ้ าพนัก งานฯเหล่านีม้ ่งุ เน้ น ไปที่งานส่งเสริ ม สุขภาพช่องปากนะจ๊ ะพี่ๆ น้ องๆ สุด ท้ ายของฉบับ นี ้ อยากจะขอใช้ พื น้ ที่ ต รงนี ้ ขอบคุณ เครื อ ข่า ยเด็ก ไทยไม่กิ น หวาน และส านัก งาน กองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริ มสุขภาพ (สสส.) ที่ให้ การ
วารสารทันตภูธร
79
สนับสนุนทุนในการจัดทาวารสารทันตภูธรมาโดยตลอด ยิ่งไปกว่านัน้ ผมเชื่อว่าจะได้ รับการสนับสนุนเช่นนีต้ อ่ ไป ในเล่มหน้ าและเล่มต่อๆไป เพราะเราเชื่อว่าวารสารทันต ภูธรสามารถส่งผลให้ เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการ ส่งเสริ มสุขภาพช่องปากได้ อย่ างต่อเนื่ อง เป็ น รู ป ธรรม นอกจากนี ้ยังเป็ นวารสารที่สามารถร่วมสร้ างความสุขและ แรงบันดาลใจให้ กบั ทันตบุคลากรทุกระดับอีกด้ วย เจอกันใหม่ฉบับหน้ านะครับ ....สวัสดีครับ
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
เครือข่าย ฟ.ฟัน สร้างสุข www.facebook.com/groups/thaitanta
เพื่อเสริมสร้างแรงบันดาลใจและความสุขในการทางาน อ่านเพจ วารสารทันตภูธร ส่งข้อความเปลี่ยนที่อยู่ที่เพจนี้ได้นะคะ
วารสารทันตภูธร
80
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
จาหน่ายสินค้าในเวบไซต์ www.tuntapootorn.com ผลกาไรที่ได้จากการขาย หลังหักค่าใช้จ่ายเป็นส่วนหนึ่งของค่าพิมพ์ค่าส่ง วารสารทันตภูธร สั่งซื้อสินค้าผ่าน ทันตภูธร ONLINE ได้ที่ www.tuntapootorn.com ติดต่อสอบถาม กรุณาส่ง Email มาที่ tuntapootorn@hotmail.com ช่องทางใหม่ www.facebook.com/Tuntapootorn สอบถามผ่านเฟสบุค
วารสารทันตภูธร
81
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
แปรงเด็ก 0-3 ปี
แปรงเด็ก 6-12 ปี แปรงเด็ก 3-6 ปี
แปรงเด็ก 0-3 ปี
แปรงผู้ใหญ่
แปรงเด็ก 6-12 ปี
แปรงเด็ก 3-6 ปี
จาหน่ ายสินค้ าเงินสด งดให้ เครดิตค่ ะ ติดต่ อสอบถามทาง อีเมล tuntapootorn@hotmail.com
แปรงผู้ใหญ่ Biosafety โฉมใหม่
ฝาครอบแปรงสีฟันอันละ10บาท
แปรงสีฟันนุ่มพิเสษ
ราคาสินค้ ารวม Vat7% แล้ ว ส่ งปกติไม่ มีค่าส่ ง กรุ ณาพิจารณา ราคา สี สินค้ าทัง้ หมดได้ ท่ ี วารสารทันตภูธร
82
นิทานสาหรั บเด็ก4-6ปี (ขนาด9x9นิว้ )
www.tuntapootorn.com ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
แปรงสีฟันพร้ อมด้ ามจับและสายรั ดข้ อมือสาหรั บคนพิการ
เสือ้ กาวน์ เปี่ ยมสุข Dental safety goal
ยาสีฟันซิสเท็มมา 40 กรั ม ยาสีฟันโคโดโม 40 กรั ม ยาสีฟันเซ็นท์ แอนดรู ว์ 40 กรั ม
แปรงสีฟันโคโดโม
ยาสีฟันฟลูโอคารี ล 40 กรั ม
คอลเกต 40 กรั ม คอลเกต 20 กรั ม
สินค้ า Gift Shop สาหรั บแจกเด็กๆ
จาหน่ ายสินค้ าเงินสด งดให้ เครดิตค่ ะ ติดต่ อสอบถามทางอีเมล tuntapootorn@hotmail.com
ไหมขัดฟั น ยาว11m แปรงซอกฟั น
สอบถามข้ อมูลเพิ่มเติม www.facebook.com/Tuntapootorn
ราคาสินค้ ารวม Vat7% แล้ ว ส่ งปกติไม่ มีค่าส่ ง กรุ ณาพิจารณา ราคา สี สินค้ าทัง้ หมดได้ ท่ ี วารสารทันตภูธร
83
www.tuntapootorn.com ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
วารสารทันตภูธร
84
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
พิจารณาราคา และ สินค้ าทัง้ หมดได้ ท่ ี www.tuntapootorn.com หน่ วยงานกรุ ณา ดาวน์ โหลด เอกสารขอใบเสนอราคา จากเวบไซต์ แล้ วอีเมลกลับมาที่ tuntapootorn@hotmail.com
ถุงนิว้ ทาความสะอาดช่ องปากเด็กทารก ราคา ชุดละ 5 ชิน้ /50 บาท ชุดละ 3 ชิน้ /30 บาท
ถุงผ้ าดิบ(10x12x2นิว้ ) สกรีน 1 สี 100ถุงขึน้ ไป 45บ/ถุง
ถุงผ้ าดิบ(10x13นิว้ ) สกรีน 1 สี 100ถุงขึน้ ไป 35บ/ถุง ผ้ าเจาะกลาง ผืนละ 75 บาท ผ้ าห่ อเซ็ต ผืนละ 85 บาท เย็บ 2 ชัน้ ตัดเย็บจาก ผ้ าฝ้ าย100%140 เส้ น สาหรับใช้ ใน โรงพยาบาล ซับนา้ ได้ ดี ทนความร้ อนได้ >180 C มีหนังสือรับรองมาตรฐาน เส้ นด้ ายจากสถาบันสิ่งทอ
สนับสนุนการจัดพิมพ์ วารสารทันตภูธร ด้วยการสั่งซื้อ สินค้าสาหรับใช้ในงานทันตสาธารณสุข เพื่อการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากของประชาชนทุกกลุ่มวัย ใน www.tuntapootorn.com