แผนแม่บทICTกระทรวงยุติธรรมปี2556-2559

Page 1


บทสรุปผูบริหาร กระทร วงยุ ต ิ ธ รรม มี อํ า นา จหน า ที ่ เ กี ่ ย วกั บ กา รบริ ห ารจั ด การกร ะบวน การยุ ต ิ ธ รร ม เสริ ม สร า งและอํา นวยความยุ ติ ธ รรมในสั ง คม และราชการอื่ น ตามที่ มี ก ฎหมายกํา หนดให เ ป น อํา นาจ หน า ที่ ข องกระทรวงยุ ติ ธ รรมหรื อ ส ว นราชการที่ สั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม เพื่ อ ให เ กิ ด ความโปร ง ใส สามารถคุ ม ครองสิ ท ธิ เ สรี ภ าพของประชาชน ช ว ยเหลื อ และให ค วามรู  แ ก ป ระชาชน ปอ งกั น ปราบปราม สืบ สวน และสอบสวนคดี ค วามผิด ทางอาญา แกไ ขปญ หาอาชญากรรมในสัง คมและ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ การบั งคั บคดี ท างแพง การบัง คับ คดีท างอาญา พิทัก ษและคุม ครองสิท ธิเ ด็ก และเยาวชน ปฏิ บ ั ต ิ ต  อ ผู  ก ระทํ า ผิ ด ให เ ปน ไปตามคํ า พิพ ากษา บริก ารตรวจพิส ูจ นห ลัก ฐานทาง นิติวิท ยาศาสตร สื บ เสาะและพิ นิจ ควบคุ ม และสอดสอ ง แกไ ข ฟน ฟู และสงเคราะหผูก ระทํา ผิด และ พัฒ นากฎหมายให เ กิ ดความยุ ติธรรมแก ป ระชาชน ดัง นั้น จะเห็ น ได ว า กระทรวงยุ ติธ รรมมีภ ารกิ จ ที่ห ลากหลาย จึง จํา เปน อยา งยิ่ง ที่จ ะตอ งใช ขอ มูล สารสนเทศในหลายมิ ต ิ เ ข า มาสนับ สนุน การปฏิบ ัติง าน ทั ้ง ในเชิง นโยบายและยุท ธศาสตร การปฏิบัติง าน และการบริ ห ารจั ด การภายในทั้ง สว นกลางและสว นภูมิภ าคของสว นราชการในสัง กัด กระทรวงยุติธ รรมด ว ยการนํา เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารมาสนับ สนุน การพัฒ นาองคก ร เพื่ อ ยกระดับ การบริห ารจัดการที่เ ปนสากล การจั ดทําแผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร จึง มีความจําเป นอย างยิ่ ง เนื่ อ งจากเป นการวางกรอบแนวทางการพัฒ นาระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศ และการสื่อ สารที ่ จ ะช ว ยผลั ก ดั น ให ก ารพัฒ นาองคก รสํ า เร็จ ตามเปา หมายขององคก รไดอ ยา งมี ประสิท ธิภาพ กระทรวงยุ ติธรรมได จั ดทําแผนแมบ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารมาอยา งตอ เนื่อ ง โดยฉบับ ลา สุ ด คื อ ฉบั บ ที ่ 3 พ.ศ. 2554-2556 และไดห มดวาระไปแลว จึง ไดจ ัด ทํ า แผนแมบ ท เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร (ฉบับ ที่ 4) กระทรวงยุติธ รรม พ.ศ. 2556-2559 ใหค รอบคลุม ตามภารกิ จของกระทรวงยุ ติธรรม และสอดคลองตามนโยบายรัฐบาล แผนแม บ ทเทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสารของประเทศ แผนปฏิ บั ติร าชการ 4 ป กระทรวงยุ ติธรรม พ.ศ. 2555-2558 รวมทั้ง เพื่อ รองรับ การเข า สู  ป ระชาคมอาเซี ย น ทั้ ง นี้เ พื่อ ใชเ ปน กรอบแนวทางในการพัฒ นาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สารของสวนราชการในสั ง กั ดให ส ามารถส ง เสริ ม สนั บ สนุ นภารกิ จ ขององค ก รได อยา งมีป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยมุ  ง เน น การพัฒ นาระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื ่อ สารใหมี ประสิทธิภาพ พัฒ นาบุคลากรดานเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สาร ให มี ความรู ความสามารถและ ทัก ษะในการประยุ ก ตใ ช ง านเทคโนโลยี ส ารสนเทศใหเ กิด ประโยชนสูง สุด เพื่อ สนับ สนุน การพัฒ นา องคก รไดอ ยางต อ เนื่ อ งต อ ไป เพื่ อ ให ส อดคลอ งกับ วิสัยทัศนของกระทรวงยุติธรรมที่กําหนดไว ดัง นี้

หนา- i


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

วิสัยทัศนกระทรวงยุติธรรม

“หลักประกันความยุติธรรมตามมาตรฐานสากล” สถานภาพและความตองการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงยุติธรรม จากการศึ ก ษา วิ เ คราะห ส ถานภาพการใชง านดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร ของกระทรวงยุ ติ ธ รรมและส ว นราชการในสัง กัด สามารถสรุป สถานภาพปจ จุบ ัน และความต อ งการ ทางด านเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร แสดงได ดัง นี้

จากภาพแสดงถึ ง ความต อ งการทางดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร มุง เนน ในการ นํา เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สาร เพื่อ บริก ารประชาชนและบริห ารงานใหม ีป ระสิท ธิภ าพ การบูร ณาการระบบสารสนเทศและข อ มู ล สารสนเทศ การสรา งระบบเครือ ขา ยที่มีป ระสิท ธิภ าพและ ครอบคลุม การยกระดั บ การบริ ห ารจั ด การดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารที่ค รอบคลุม การปฏิบัติง านและเป น มาตรฐาน ตลอดจนการพัฒ นาทัก ษะทางดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการ สื่อ สารใหกับ บุ คลากรอย างต อ เนื่ อ ง เพื่ อ มุง สูก ารเป นองคก รที่มีก ารบริห ารจัด การที่เ ปน สากล โดยใช เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารเปนกลไกสําคั ญ ในการขั บ เคลื่อ นภารกิจ ซึ่ง แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สารฉบับ นี้ มีวิสัย ทัศ น พัน ธกิจ ยุท ธศาสตร และกรอบการวางแผนงบประมาณเพื่อ ดําเนิ นการดั ง นี้ หนา-ii


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

วิสัยทัศนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงยุติธรรม

“ขับเคลื่อนภารกิจกระทรวงยุติธรรมดวยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพือ่ ยกระดับการบริหารจัดการที่เปนสากล” “Achieving management standards at the global level through the use of Information and Communication Technology in order to fulfill the mission of Ministry of Justice” พันธกิจดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงยุติธรรม 1) พั ฒ นาตนเองให เ ป น องค ก รสมัย ใหม และสามารถประยุก ตใ ชเ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ และการสื่ อ สารใหรองรับการปฏิบัติงานตามภารกิจไดอยางครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ 2) เสริ ม สร างศั ก ยภาพทรั พ ยากรบุค คลดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร และ บูร ณาการสร า งสั ง คมเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สารภายในองคก ร เพื่อ มุง สูค วามเปน เลิศ ในการสร างนวัตกรรม 3) พั ฒ นาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สาร ที่เ ปน มาตรฐานเดีย วกัน มีค วาม รวดเร็วทันสมั ย มั่ นคงปลอดภั ย และน าเชื่อ ถือ เพื่อ ใหครอบคลุม การปฏิบัติง านอํา นวยความยุติธ รรม ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา 4) พั ฒ นากระบวนการและเพิ่ม ขีด ความสามารถการบริห ารจัด การดา นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารเพื่ อ สนั บ สนุ นการปฏิบัติง านอยางมีคุณภาพและตอ เนื่อ ง ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม มีดังนี้

หนา-iii


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ยุทธศาสตรที่ 1: เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการดานการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่ อ เพิ ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใหบ ริก าร และเพื ่อ สรา งการรัก ษาความมั ่น คงปลอดภัย สารสนเทศและการจัดการความตอเนื่องของกระบวนการทางธุรกิจที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้ง พัฒ นากลไกสรา งเครือ ขา ยความรว มมือ ของบุค ลากรและสว นราชการดา นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม เพื่อ เพิ่ม พูนความเขม แข็ง ดานการบริห าร จัดการเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สารในระดับกระทรวงยุติธรรม ยุทธศาสตรที่ 2: พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - พั ฒนาสมรรถนะด านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารแก บุ คลากรผูเกี่ยวของในกลุมตาง ๆ เพื่ อนําไปสู การประยุ กต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางยั่งยืน เพิ่มประสิทธิภาพ การใชงานเพื่อใหเกิดความคุมคาตอการลงทุน ดังนี้ o เจาหนาที่ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร: พัฒนาความรูตามภารกิจหนาที่ เพื่อ สามารถ บริหารจัดการ และดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได อยางมีประสิทธิภาพ o เจาหนาที่ผูใชงานทั่วไป: พัฒนาความรูความเขาใจและทักษะในการใชการเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตรที่ 3: ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและเชื่อมโยงใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ - สรางนวัตกรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ครอบคลุมภารกิจหลัก การบริหารจัดการ ภายใน และการให บริ การประชาชน โดยมุ งเนนการสรางนวัตกรรมใหเกิดทางเลือกในการเขาถึง สารสนเทศของกระทรวงอยางสะดวกและรวดเร็ว และพัฒนาการเชื่อมโยงและการบูรณาการ เพื่อใหเกิด การใชงานขอ มูล สารสนเทศอยางมีคุณคามากขึ้น สรา งประโยชนตอ การบริห ารจัดการของ กระทรวงยุติธรรม และการอํานวยความยุติธรรม ยุทธศาสตรที่ 4: บูรณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร - เพิ่ ม สมรรถนะของระบบโครงสร า งพื้ น ฐานด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร โดยการเพิ่ ม ความครอบคลุ ม ของการใหบ ริก าร ดานระบบเครือขาย ระบบคอมพิวเตอร อุป กรณ คอมพิว เตอรแ ละอุป กรณตอ พวงตา ง ๆ ระบบการรัก ษาความมั่น คงปลอดภัย สารสนเทศและการสื่อสาร ระบบสื่อสารสารสนเทศ อาทิ o ปรับปรุงและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร ใหมีมาตรฐานการเชื่อมตอและการรักษาความมั่นคงปลอดภัยตามมาตรฐานสากล o พัฒนาบริการโครงสรางพื้นฐานรวม (Common IT Infrastructure) ระดับกระทรวง - พัฒนาระบบสื่อสารภายในกระทรวงดวยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

หนา-iv


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ลําดับความสําคัญและเปาหมาย

เพื่อ ให แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สารของกระทรวงยุ ติธ รรมฉบับ นี้ส ามารถ นําไปปฏิ บัติ และประเมิ น ผลได จ ริ ง ในระหวา งการดํ าเนิ นการ และภายหลัง สิ้นสุ ดแผน จึ ง ได จัดลํ าดั บ ความสําคัญและเปาหมายของแผนเปน 2 ระยะ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1) ระยะที่ 1 ป พ.ศ. 2556–2558 • การปรั บ ปรุ ง และการพั ฒ นาเครื อ ข า ยบุ คลากร และส ว นราชการด า นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สารของสวนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมทั้ง หมด เพื่อ สรางความเขม แข็ง ดานการบริหารจัดการ และความรวมมือสนับสนุนซึ่งกันและกัน • การพัฒนาระบบสารสนเทศและโครงสรางพื้นฐานที่สอดคลองรองรับการขยายตัวของ การใชง าน โดยการพัฒ นาเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื ่อ สาร ตอ งครอบคลุม ดานการปฏิบัติงานภายในสวนราชการ การสื่อ สารทางเลือ กเพื่อทดแทนการเดินทาง และลดงบประมาณดานการสื่อสาร การใหบริการประชาชนอยางทั่วถึง และครอบคลุม • การพัฒนาบริการอิเล็ก ทรอนิก สรวมระดับกระทรวง (MOJ Common e-Service) เพื่อการใชงานรวมกัน อาทิ เว็บไซตกระทรวงยุติธรรม เปนตน

หนา-v


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2) ระยะที่ 2 ป พ.ศ. 2559 • การประยุกตใชนวัตกรรมเพื่อลดขอจํากัดดานสถานที่การเขาถึงและใชงานทรัพ ยากร สา ร ส น เ ท ศโ ด ย พัฒ น า น วัต ก ร ร ม เ พื ่อ ป ร ะ ยุก ตใ ชอ ุป ก ร ณสื ่อ ส า ร ไรส า ย (Mobile Technology) ประเภทตาง ๆ อาทิ การประยุกตใชหลักการ Mobile Web Application หรือ Mobile Application • การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในกระบวนการบริ ห ารจั ดการทั้ ง ในส วนของการจั ดการ การให บ ริ ก าร และการจั ด การการรั ก ษาความมั่ น คงปลอดภั ยสารสนเทศ เพื่ อ ให เทคโนโลยีที ่ไ ดร ับ การพัฒ นามีก ารรัก ษาความมั ่น คงปลอดภัย ที ่เ หมาะสมกับ ระบบสารสนเทศไรสายและสามารถใชงานไดอยางตอเนื่องและยั่งยืน

หนา-vi


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ความสัมพันธของยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม ความสัมพันธของแผนงานภายใตแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฉบับนี้กบั ยุทธศาสตรตางๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ ยุทธศาสตรของกระทรวงยุติธรรม ยุทธศาสตรของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของอาเซียน 2015 กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ พ.ศ.2554-2563 (ICT2020) และแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ.2552-2556 ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

หนา-vii


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

นอกจากนี้สามารถสรุปความสอดคลองของแผนงานภายใตแผนแมบ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสารฉบับนี้กับของยุทธศาสตรของกระทรวงยุติธรรม แสดงรายละเอียด ดังนี้

ภาพรวมการดําเนินงานตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวง ยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 มีกลยุทธและแผนงานโดยสังเขปดังนี้ ยุทธศาสตร/แผนงาน

2556

2557

ป

2558 2559 ยุทธศาสตรที่ 1 เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลยุทธที่ 1: พัฒนานโยบายและมาตรฐานกลางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารที่มีมาตรฐาน แผนงานที่ 1: จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม แผนงานที่ 2: จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แผนงานที่ 3: จัดทําสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture) แผนงานที่ 4: จัดทําระบบบริหารจัดการการใหบริการกระทรวงยุติธรรม (Information Technology Service Management: ITSM) แผนงานที่ 5: จัดทําระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ (Information Security Management System: ISMS) กลยุทธที่ 2: สงเสริมการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหเขมแข็งดวยการเสริมสรางความรวมมือ การประสานงาน และการ แลกเปลี่ยนประสบการณ แผนงานที่ 1: เสริมสรางความสัมพันธ การแลกเปลี่ยนประสบการณ และการประสานงานดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร

หนา-viii


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 ยุทธศาสตร/แผนงาน ยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาสมรรถนะของทรัพยากรบุคคลดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลยุทธที่ 1: กระตุนการพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนงานที่ 1: พัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตามเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) แผนงานที่ 2: แผนงานพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร กลยุทธที่ 2: กระตุนการปฏิบัติงานและการพัฒนาทักษะบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

2556

2557

ป

2558

2559

แผนงานที่ 1: พัฒนาบุคลากรผูใชงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ยุทธศาสตรที่ 3 ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและเชื่อมโยงใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ กลยุทธที่ 1: ประยุกตใชเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อการฝกอบรมและเสริมสรางความรูสําหรับบุคลากร แผนงานที่ 1: พัฒนา ขยายการใชงานระบบจัดการองคความรู (Knowledge Management: KM) และระบบการ เรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Learning) กลยุทธที่ 2: สงเสริมและพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการภายในองคกร แผนงานที่ 1: แผนงานสงเสริมพัฒนาการบริหารจัดการภายในองคกร กลยุทธที่ 3: สงเสริมและพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนงานที่ 1: สงเสริมการพัฒนานวัตกรรม เพือ่ อํานวยความยุติธรรม แผนงานที่ 2: พัฒนานวัตกรรมสารสนเทศอํานวยความยุติธรรม กลยุทธที่ 4: พัฒนาการบูรณาการขอมูลสารสนเทศกระทรวงยุติธรรม แผนงานที่ 1: พัฒนาศูนยกลางบริการอิเล็กทรอนิกสของกระทรวงยุติธรรม แผนงานที่ 2: พัฒนาการบูรณาการขอมูลสารสนเทศกระทรวงยุติธรรม แผนงานที่ 3: บริหารจัดการฐานขอมูลกลางลายพิมพนิ้วมือมาตรฐาน (Fingerprint) กระทรวงยุติธรรม ยุทธศาสตรที่ 4 บูรณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร กลยุทธที่ 1: ประยุกตใชสื่อบรอดแบนด เพื่อสนับสนุนการสื่อสารและพัฒนาการเชื่อมโยงเครือขายภายใน แผนงานที่ 1: พัฒนาการเชื่อมโยงเครือขายใหเปนมาตรฐานเดียวกันทั้งสวนราชการสวนกลางและสวนราชการสวน ภูมิภาคในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แผนงานที่ 2: พัฒนาการเชื่อมโยงเครือขายความเร็วสูงสําหรับสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมในสวน ภูมิภาค แผนงานที่ 3: พัฒนาระบบการสื่อสารใหครอบคลุมสวนราชการภายในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและสวนราชการ สวนภูมิภาค กลยุทธที่ 2: พัฒนาระบบสนับสนุนหองศูนยคอมพิวเตอรที่มีความมั่นคงปลอดภัย แผนงานที่ 1: จัดทําศูนยปฏิบัตงิ านคอมพิวเตอรกลางสวนราชการสังกัดกระทรวงยุติธรรม (Colocation Data Center กระทรวงยุติธรรมแหงใหม) แผนงานที่ 2: จัดทําศูนยปฏิบัตงิ านสํารองกลางกระทรวงยุติธรรม (Disaster Recovery Site: DR Site) แผนงานที่ 3: พัฒนาหอง Data Center ของสวนราชการภายในสังกัดกระทรวงยุติธรรมใหเปนมาตรฐานเดียวกัน แผนงานที่ 4: เพิ่มประสิทธิภาพและการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบเครือขาย กลยุทธที่ 3: จัดสรรทรัพยากรพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสําหรับผูใชงาน แผนงานที่ 1: จัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรพื้นฐาน เพือ่ ทดแทนเครื่องคอมพิวเตอรทลี่ าสมัย

หนา-ix


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ปจจัยแหงความสําเร็จ (Critical Success Factor) 1. การผลั กดั นแผนแม บทเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรมสู การปฏิบัติ การนําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรมสูการปฏิบัติ จําเปนอยางยิ่ง ที่จ ะตอ งอาศัย การผลัก ดัน จากระดับ นโยบายสูร ะดับ ปฏิบัติ (Top-Down) โดยเฉพาะ จากผูบ ริห ารเทคโนโลยีส ารสนเทศระดับ สูง (CIO) ประจํากระทรวงยุติธรรมลงสูสวนราชการในสัง กัด กระทรวงยุติธรรม ดังนี้ 1.1 การมอบนโยบาย และการสรางพันธกรณีส นับ สนุนดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสาร 1.2 การสนั บ สนุ น ด า นงบประมาณและจั ด หาแหล ง งบประมาณ รวมทั้ ง ผลั ก ดั น ดานงบประมาณจากการชี้แจงใหแหลงเงินทุนและงบประมาณเขาใจถึงความสําคัญและ ผลกระทบหากไมเกิดการดําเนินการ 1.3 การติ ด ตามผลความก า วหน า การดํ า เนิ นงานตามแผนแม บ ทฯ เพื่ อ ให ก ารอ า งอิ ง แผนแมบทฯ เปนไปตามเปาหมายการดําเนินการที่แทจริง 1.4 การประสานความรวมมื อ ทั้ ง ภายในกระทรวง ภายนอกกระทรวง รวมทั้ ง ในระดั บ นานาชาติ เพื่อใหเกิดทางเลือกตาง ๆ ในการนําเอาแผนแมบทฯ ไปปฏิบัติงานไดจริง 2. การวิเคราะหผลกระทบ เพื่อการจัดทําและปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานประจําป การนําแผนแมบ ทไปใชสูก ารปฏิบัติไดจริงจําเปนตองแปลงแผนแมบทฯ ระดับ กระทรวง สูแผนแมบทฯ ระดับหนวยงาน และแผนปฏิบัติการประจําป ซึ่งมีแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้ 2.1 การวิเคราะหความเชื่อมโยงของยุทธศาสตรและแผนงาน: เพื่อใหเขาใจถึงความสําคัญ เปาหมาย และความเชื่อมโยงตอเนื่องในรายละเอียด 2.2 จัดทําแผนแมบทฯ ระดับหนวยงานและการปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานประจําป: ซึ่ง ประกอบไปดวย วัตถุประสงค เปาหมาย วิธีการดําเนินงาน ประมาณการงบประมาณ ตัวชี้วัด โดยการจัดทําแผนแมบทฯ ระดับหนวยงานและการปรับปรุงแผนการปฏิบัติงาน ประจําปจําเปนจะตองวิเคราะหผลกระทบ และความเชื่อมโยงระหวางยุทธศาสตรและ แผนงาน/โครงการตาง ๆ เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายในองครวม 2.3 การประเมิ น ผลการดํ า เนิ น การตามแผนฯ: ประเมิ น ผลตามตั ว ชี้ วั ด และ วิเคราะหความสําเร็จ และในกรณีที่ไมเปนไปตามเปาหมายควรปรับปรุงแผนฯ ตามลําดับ ความสําคัญ และความเชื่อมโยงระหวางยุทธศาสตรและแผนงาน/โครงการตาง ๆ 3. มาตรการด า นการสร า งแรงจู ง ใจในการใช ง านระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ

การสื่อสาร ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) ประจํากระทรวงยุติธรรม และผูบ ริห ารเทคโนโลยี สารสนเทศระดับ สูง (CIO) ประจำสวนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรม ตองมีบทบาทในการกําหนด มาตรการดานการสรางแรงจูงใจในการใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดังนี้ 3.1 การสรางแรงจูงใจเชิงอุดมคติ: โดยการดําเนินบทบาทเปนแบบอยาง (Role Model) ในการเป นผู ใชง านอั จฉริยะ (Smart User) และผลั ก ดันการใช ง านโดยปฏิ บั ติง าน เปนตัวอยาง เพื่ อ ให ผู เ กี่ยวขอ งปรับ เปลี่ยนพฤติก รรม เช น การใชการสื่อสาร สั่งการ หนา-x


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

และติดตามงานทางอิเล็ก ทรอนิกส (เชน e-Mail การนัดหมาย การสื่อ สารขอความ อิเล็กทรอนิกส) การใชงานเอกสารอิเล็กทรอนิกส 3.2 การสรางแรงจูงใจเชิงควบคุม: โดยดําเนินการบรรจุตัวชี้วัดที่เกี่ยวของกับการประยุกตใช งานเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สารสูห นวยงานผูใ ช โดยการกํา หนดใหเ ปน ตั วชี้ วัดด านประสิ ท ธิ ภ าพการปฏิบัติงานของหนวยงานตาง ๆ อาทิ การบันทึกขอมูล การเผยแพรขอมูล การสื่อสารผานระบบอิเล็กทรอนิกส 3.3 การสรางแรงจูง ใจเชิงบวก: โดยดําเนินการใหมีก ระบวนการคัดเลือ กกลุม ผูใชง าน อัจฉริยะ (Smart User) เพื่อใหเปนกลุมบุคลากรที่มีคุณคา และกําหนดใหมีแรงจูงใจใน การปรับ ปรุง พัฒ นาตนเองเพื่ อ ให เ กิ ดแรงจู ง ใจเชิ ง บวก อาทิ มาตรการด านรางวั ล มาตรการดานยกระดั บ ภาพลั ก ษณ ข องบุ ค ลากร 4. การปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน (Business Process Improvement) กระบวนการปฏิบัติงานของสวนราชการตาง ๆ ภายในกระทรวงยุติธรรมเปนปจจัยหนึ่งซึ่ง สงผลถึงระดับความสําเร็จในการประยุกตใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งโครงการดานระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ประสบความสําเร็จลวนแลวแตตองพิจารณาถึงการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน เพื่ อ ใหเ หมาะสม สอดคล อ ง และเพื่ อ การใช ง านเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สารเป น ไปอย า งมี ประสิท ธิภาพควบคู ไปกับ การออกแบบและพั ฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร โดยการปรับปรุง กระบวนการปฏิบัติงานจําเปนตองคํานึงถึงประเด็นตาง ๆ ดังนี้ 4.1 การกํ า หนดเป า หมายการปรั บ ปรุ ง กระบวนการปฏิ บั ติ ง าน: การออกแบบและ การปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานนั้นเปนสิ่งที่มีปจจัยนําเขาสูการออกแบบปรับปรุง จํ านวนมาก ดั ง นั้ นการไม มีทิศ ทางที่ชัด เจนอาจนําไปสูก ารปรับ ปรุง ที่ ไมเ หมาะสม ไมส ามารถแกไขปญ หาได และไมส อดคลอ งกับ การประยุก ตใ ชร ะบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร จึงควรกําหนดเปาหมายของการปรับปรุงที่ชัดเจน เชน การ ลดระยะเวลาปฏิบัติงาน การลดปริมาณกระดาษ การลดจํานวนขั้นตอน หรือปรับปรุง กระบวนการทํางานเปนแบบอัตโนมัติ เปนตน 4.2 การกําหนดรายละเอียดขอกําหนดกระบวนการปฏิบัติง าน: ตองกําหนดองคประกอบ ของกระบวนการปฏิ บั ติง านที่ชัด เจน เช น ขอบเขตการดํ าเนิ นการ หน วยงานหรื อ ผูเ กี่ยวขอ ง กิจ กรรมและแนวทางการทํ ากิ จ กรรม ซึ่ ง ในการออกแบบกระบวนการ ปฏิบัติงานเพื่อรองรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมตองกําหนดสิ่ง ที่ เกี่ยวของดังนี้ ผูรับผิดชอบและแนวทางการบันทึกขอมูล ขั้นตอนการประมวลผลดวย ระบบสารสนเทศ วิธีการการรับ-สงขอมูลดวยเอกสารและอิเล็กทรอนิกส 4.3 การทดสอบกระบวนการปฏิบัติงาน: โดยเฉพาะอยางยิ่งในกระบวนการที่เกี่ยวของกับ การใหบริการแก หนวยงานภายนอกหรือประชาชน กระบวนการที่มีความซับซอน หรื อ กระบวนการที่ สง ผลกระทบต อ ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารอื่ น ๆ จําเปนตองผานการทดสอบกระบวนการปฏิบัติงานรวมกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารกอนการประกาศใชจริง (Operational Readiness Acceptance Test) เพื่อทดสอบการวัดหรือพิสูจนความพรอมปฏิบัติการ ความถูกตอง และการบรรลุถึง วัตถุประสงคการออกแบบการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน โดยผูเกี่ยวของทั้งหมด ดวยสถานการณปฏิบัติการจําลองตาง ๆ หนา-xi


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

4.4 การกํ า หนดหรื อ ประกาศระเบี ย บปฏิ บั ติ ง าน: ภายหลั ง จากที่ ผ า นการทดสอบ กระบวนการปฏิบัติง านแลว หนวยงานตอ งดําเนินการประกาศใชอ ยางเปนทางการ เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในองคกร การใชงานระบบสารสนเทศอยางชัดเจน โดยการ กําหนดหรือประกาศระเบียบปฏิบัติงานตองประกอบดวย กําหนดเริ่มใชงาน ผูเกี่ยวของ และขอบเขตความรับผิดชอบ

หนา-xii


สารบัญ หน้า บทที่ 1

บทที่ 2

บทที่ 3

บทนํา 1.1 วัตถุประสงค์ 1.2 กรอบการจัดทําแม่แผนบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กระทรวงยุติธรรม 1.3 โครงร่างของแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

1-1 1-2 1-3

บทวิเคราะห์สถานภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กระทรวงยุติธรรม 2.1 สรุปผลการวิเคราะห์สถานภาพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2.1.1 ผลการศึกษาและการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน 2.1.2 ผลการศึกษาและการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก 2.2 สรุปผลการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 2.2.1 ผลการวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน 2.2.2 ผลการวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรค 2.3 ความต้องการด้านการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2.4 การวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) 2.4.1 เป้าหมายและความต้องการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

2-1

วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม 3.1 วิสัยทัศน์ 3.2 พันธกิจ 3.3 ยุทธศาสตร์ 3.4 ความสัมพันธ์ของยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของกระทรวงยุติธรรม 3.4.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1: เสริมสร้างขีดความสามารถในการบริหารจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3.4.2 ยุทธศาสตร์ที่ 2: พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 3.4.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3: ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและการเชื่อมโยง เพื่อให้เกิดการใช้สารสนเทศแบบบูรณาการ 3.4.4 ยุทธศาสตร์ที่ 4: บรูณาการและยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน เครือข่าย สารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร์ 3.5 ลําดับความสําคัญและเป้าหมาย

1-5

2-1 2-1 2-6 2-15 2-15 2-19 2-23 2-26 2-26 3-1 3-1 3-2 3-2 3-5 3-6 3-11 3-12 3-17 3-21


สารบัญ (ต่อ)

หน้า

บทที่ 4

สถาปัตยกรรมระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงยุติธรรม 4.1 สถาปัตยกรรมระบบโครงสร้างพื้นฐาน 4.1.1 สถาปัตยกรรมระบบคอมพิวเตอร์ 4.1.2 สถาปัตยกรรมระบเครือข่าย 4.2 สถาปัตยกรรมระบบสารสนเทศ 4.2.1 การบูรณาการสารสนเทศของกระทรวงยุติธรรม 4.2.2 การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงกลยุทธ์สําหรับผู้บริหาร 4.2.3 การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อรองรับอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ (Mobile Application and Mobile Web Application)

4-1 4-1 4-1 4-2 4-4 4-4 4-6 4-6

บทที่ 5

แผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีและสารสื่อสารกระทรวงยุติธรรม

5-1

บทที่ 6

การติดตามและประเมินผล 6.1 วัตถุประสงค์ของการติดตามและประเมินผล 6.2 การบริหารจัดการการติดตามประเมินผล 6.2.1 แนวทางการดําเนินงานการติดตามประเมินผลระดับกระทรวง 6.2.2 แนวทางการดําเนินงานการติดตามประเมินผลของส่วนราชการ ในสังกัด 6.3 สรุปตัวชี้วัดรายยุทธศาสตร์ 6.4 การเชื่อมโยงตัวชี้วัดและเป้าหมายในการดําเนินงาน

6-1 6-1 6-1 6-2 6-4

ข้อเสนอแนะการนําแผนสู่การปฏิบัติ 7.1 การผลักดันแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของกระทรวงยุติธรรมสู่การปฏิบัติ 7.2 การวิเคราะห์ผลกระทบ เพื่อการจัดทําและปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานประจําปี 7.3 มาตรการด้านการสร้างแรงจูงใจในการใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 7.4 การปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน (Business Process Improvement)

7-1 7-1

บทที่ 7

ผนวก ก ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อกําหนดกลยุทธ์ ผนวก ข บทสรุปสัมภาษณ์ผู้บริหารส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผนวก ค รายงานการศึกษาดูงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต้

6-5 6-12

7-2 7-2 7-3


บทที่ 1 บทนํา จากสภาพข อ เท็ จ จริ ง การใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารของกระทรวงยุ ติ ธ รรม ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมยังไมสอดคลองกับ ความตองการขององคกร เนื่องจากงบประมาณไมเพียงพอ บุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีอยางจํากัด บางสวนราชการไมมีหนวยงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการสนับสนุนการ ปฏิบัติง านใหกั บองคก ร จึ งส ง ผลใหก ารพัฒนาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สารของกระทรวง ยุติธรรมเกิดความเหลื่อมล้ํา และไมเปนไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น เพื่อใหการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมาประยุกตใชไดอยางเหมาะสมเปนไปในทิศทางเดียวกัน และเพื่อใหเกิ ดการบู รณาการขอมูล ที่มีประสิทธิภาพสามารถให บริการแกประชาชนไดอยางทั่วถึง สะดวก และรวดเร็ ว จึ ง จํ า เป น อย า งยิ่ ง ต อ งจั ด ทํ า แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารของ กระทรวงยุติธรรมขึ้น เพื่อใชเปนกรอบและแนวทางการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ไดเ ล็ง เห็นถึงความสําคัญ ของการจัดทําแผนแมบ ทเทคโนโลยี สารสนและการสือ่ สาร และไดจัดทํามาอยางตอเนื่องเพื่อใหสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมใชเปนกรอบ และแนวทางในการพัฒ นาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สารของสวนราชการ ใหส อดคลองกับ นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของภาครัฐ และใหสามารถรองรับเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารที่มีความหลากหลายและเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงจัดทําแผนแมบ ท เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร (ฉบับ ที่ 4) กระทรวงยุ ติธรรม พ.ศ. 2556–2559 ขึ้น โดยยึ ดกรอบ นโยบายของรัฐบาล กรอบนโยบายเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสารระยะ พ.ศ. 2555–2556 ของ ประเทศไทย (ICT 2020) การเปลี่ ย นแปลงของเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร รวมถึง ป จ จั ย ทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลตอการพัฒนาขององคกรภาครัฐ เพื่อใหสามารถบริหารจัดการและใหบริการ ขอมูลสารสนเทศไดอยางสะดวกรวดเร็ว เพื่อรองรับในระดับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) และระดับนานาชาติ ฉะนั้น ในการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556–2559 จึงไดมุงเนนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม ใหมีมาตรฐานเทียบเทาระดับสากล และรองรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ มีความหลากหลาย โดยมุงเนนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลควบคูไปกับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ใหสามารถ ตอบสนองพั น ธกิ จ ขององค ก รได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเสริ ม สร า งกระบวนการบริ ห ารจั ด การ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารใหเกิดความเขมแข็ง สามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาพัฒนาองคกรไดอยางยั่งยืน จากเหตุ ผ ลดั ง กล า ว จึ ง ได ศึ ก ษา วิเ คราะห ส ภาพแวดลอ มทั้ ง ภายในและภายนอกที่ เ กี่ย วกั บ สถา นภาพด าน เท คโน โล ยี ส ารส นเ ทศและ กา รสื่ อสา ร แล ะผล กร ะท บจา กก าร ดํ า เ นิ น งา น หนา 1-1


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารของกระทรวงยุ ติธรรม ข อ มู ล ด านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อสารที่ไดจ ากการศึกษาดูงานทั้งในและตางประเทศ นโยบายของรัฐบาล กรอบนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2555–2563 ของประเทศไทย (ICT 2020) แผนปฏิบัติราชการ 4 ป กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2555-2558 และเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารที่ มี ก ารเปลี่ ยนแปลงไป อยางรวดเร็ว รวมถึงปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลตอการใชงานนํามาวิเคราะห กําหนดวัตถุประสงค ของการจั ด ทํ าแผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สาร และกํา หนดกรอบแนวทางการจัด ทํ า แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (ฉบั บ ที่ 4) กระทรวงยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2556–2559 อันประกอบด วย วิ สั ยทั ศน พั นธกิ จ ยุ ท ธศาสตร และกลยุท ธดานเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร ลําดับความสําคัญและเปาหมาย สถาปตยกรรม รวมถึงการติดตามประเมินผลของกระทรวงยุติธรรม โดยแผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สาร พ.ศ. 2556–2559 นี้ม ีร ายละเอีย ด วัตถุป ระสงค ก ารจั ดทําและโครงร างของแผนแมบ ทฯ ดัง นี้

1.1 วัตถุประสงค

1.1.1 เพื่ อ ใหก ระทรวงยุติ ธรรมมี วิสั ย ทัศ นแ ละพั นธกิจ ในการใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สาร ที่ สอดคลอ งกับ แนวนโยบาย แผนยุท ธศาสตร และแผนแมบ ท/แผนพัฒ นาตาง ๆ ทั้งในระดับ กระทรวงและระดับประเทศ 1.1.2 เพื่อใหกระทรวงยุติธรรมมียุทธศาสตรและกรอบการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อ สาร แผนการดําเนินงาน และแนวทางการประยุ ก ตใช เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารของ กระทรวงยุติธรรมในภาพรวม 1.1.3 เพื่ อ ให ก ระทรวงยุ ติธรรมมีส ถาป ต ยกรรมสารสนเทศในภาพรวม กลยุ ท ธแ ละแนวทาง วิธีปฏิบัติของการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารซึ่งสามารถนําไปสูการปฏิบัติไดจริง

หนา 1-2


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

1.2 กรอบการจั ด ทํ า แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารของ กระทรวงยุติธรรม

การดําเนินงานจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 ใชกรอบการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดังนี้

ภาพ 1.1 กรอบการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จากภาพ 1.1 การจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556–2559 ประกอบดวย 2 ขั้นตอนหลัก ดังนี้ 1.2.1 ขั้ นตอนที่ 1: ศึ กษาแนวทางการพั ฒนาด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สาร ในปจจุบันและนโยบาย ในขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนการศึกษา และวิเคราะหสภาพแวดลอมดานเทคโนโลยีส ารสนเทศ และการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม โดยประกอบดวย 2 ขั้นตอนยอย ดังนี้ 1.2.1.1 ขั้นตอนที่ 1.1: ศึก ษา และวิเ คราะหส ภาพแวดลอ มภายในที่มีผ ลกระทบตอ การพัฒ นาเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร โดย 1) ศึกษาจากเอกสารและขอมูลที่เกี่ยวของ อาทิ แผนปฏิบัติการแผนยุทธศาสตร นโยบายและแนวปฏิบัติ

หนา 1-3


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2) ศึกษาสถานะปจจุบัน ปญ หาอุป สรรค ความตอ งการดาน ICT ในปจ จุบัน ดวยเทคนิค ดังนี้ - ประชุมระดมความคิดเห็น ดวยเทคนิค SWOT Analysis - สัมภาษณผูบริหารระดับสูง - สังเกตการณการปฏิบัติงานและสัมภาษณผูปฏิบัติงาน จากการศึก ษาวิเ คราะหส ภาพแวดลอ มภายในขา งตน ทํา ใหท ราบถึง จุด แข็ง ที่เปนประโยชน จุดออนที่ตองปรับปรุงแกไข สถานะปจจุบัน และปญหาอุปสรรคที่ตองดําเนินการปรับปรุง แกไขรวมถึงความตองการดานเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารของกระทรวงยุ ติ ธ รรม 1.2.1.2 ขั้นตอนที่ 1.2: ศึกษา และวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก โดย 1) ศึ ก ษาจากเอกสารและข อ มู ล ที่ เ กี่ย วข อ ง อาทิ นโยบายราชการแผน ดิ น กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2560 ของประเทศไทย (ICT2020) และ Technology Trend 2) ศึกษาดูงานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ประเทศเกาหลี อาทิ ระบบ Korea Immigration Authentication System (KIAS) ฐานขอมูลจดจําลายนิ้วมือ Government-wide Enterprise Architecture (GEA) ระบบสารสนเทศคุมประพฤติ (Korean Probation Information System) รวมถึงระบบสารสนเทศตาง ๆ ที่ใชในกระทรวงยุติธรรมเกาหลี (รายละเอียดสรุ ป ผลการศึ ก ษาดู ง านทางด านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสารที่ประเทศเกาหลี แสดงดังผนวก ค) จากการศึกษาวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกขางตน ทําใหทราบถึงโอกาส และ อุปสรรคที่มีผลกระทบตอการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม 1.2.2 ขั้นตอนที่ 2: ออกแบบเชิงหลักการและจัดทําแผน ในขั้นตอนนี้ เ ป นการกําหนดกรอบการพัฒ นาด านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร ในภาพรวมของกระทรวงยุติธรรม รายละเอียดทางเทคนิค รวมทั้งแผนการดําเนินงาน แนวทางการประยุกต ใชดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ออกแบบไว โดยประกอบดวย 4 ขั้นตอนยอย ดังนี้ 1.2.2.1 ขั้นตอนที่ 2.1: กํา หนดวิสัย ทัศ นแ ละพัน ธกิจ ดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อ สาร เพื ่ อ ให ส อดคล อ งกั บ แนวนโยบายการดํ า เนิน ธุร กิจ แผนยุท ธศาสตรแ ละแผนแมบ ท/ แผนพัฒนาตาง ๆ ทั้งในระดับกระทรวง และระดับประเทศ 1.2.2.2 ขั้นตอนที่ 2.2: กําหนดยุท ธศาสตรก ารพัฒ นาดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่ อ สาร โดยหลั ง จากที่ มี ก ารกํา หนดวิ สัย ทัศ น และพันธกิจดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ชัดเจน จะดําเนินการกําหนดยุทธศาสตรและกรอบการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในภาพรวม แผนการดําเนินงาน แนวทางการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง ยุติธรรม ใหสอดคลองกับแนวนโยบายการปฏิบัติงาน วิสัยทัศนและพันธกิจดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ที่กําหนดไวในขั้นตอน 2.1 1.2.2.3 ขั้นตอนที่ 2.3: กําหนดสถาปตยกรรมดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสรางภาพรวมสถาปตยกรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม

หนา 1-4


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

1.2.2.4 ขั้นตอนที่ 2.4: จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อกําหนด แนวทางและวิ ธี ป ฏิ บั ติ ข องกลยุ ท ธ ก ารใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารที่ ป ระกอบอยู ภ ายใน แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สาร เพื่อ ใหก ระทรวงยุ ติ ธ รรมสามารถนํา แผนแม บ ทฯ ไปสูก ารปฏิบั ติจ ริง ทั ้ง นี ้เ มื ่อ มีก ารนํา เอาแผนแมบ ทฯ ไปดํา เนิน การตามปง บประมาณที่ว างแผนไวจ นครบถว น กระทรวงยุติธรรมจะต อ งดําเนิ นการประเมินผลเปนระยะ ๆ รวมทั้ง เมื่อ สิ้นสุดตามวาระของแผนแมบ ทฯ (ป พ.ศ. 2559) กระทรวงยุติธรรมตอ งประเมิ น ผลการดําเนินงานตามแผน และเขาสูขั้นตอนที่ 1 อีกครั้ง เพื่อใหเกิดการพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางมีทิศทาง มีความชัดเจนและตอเนื่องตอไป

1.3 โครงรางของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวง ยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 ประกอบดวย 7 บท ดังนี้ บทที่ 1 บทนํา กล า วถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค กรอบการจั ด ทํา แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สารของกระทรวงยุ ติ ธ รรม และโครงรา งแผนแมบ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร ของกระทรวงยุติธรรม รวมถึง คําอธิ บ ายเนื้ อ หารายบทโดยสังเขปของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 ฉบับนี้ บทที่ 2 บทวิเคราะหสถานภาพการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม กลาวถึง รายละเอี ยดผลการวิเ คราะหสถานภาพด านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ สารทั้ง ภายใน และ ภายนอก ผลการวิ เ คราะห จุ ด แข็ ง จุ ด อ อ น โอกาส และอุป สรรค (SWOT) โดยผลการวิเ คราะห จะครอบคลุม ถึ ง ป จ จั ย ต า ง ๆ ที ่ เ กี่ ย วข อ ง อาทิ ระบบสารสนเทศ ระบบคอมพิวเตอรและเครือ ขาย การบริ ห ารจัดการ และบุค ลากร และกล าวถึง ความต อ งการด านการใช ง านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม รวมถึงการวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) เพื่อวิเคราะหเปรียบเทียบ สภาพการดําเนินงานและเปาหมายความตองการทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และแนวโนม การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต (Technology Trend) บทที่ 3 วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร และกลยุทธดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสาร ของกระทรวงยุ ติธรรม กล าวถึง วิสั ยทั ศน พันธกิจ ยุทธศาสตร กลยุท ธ ตลอดจนลําดับ ความสําคัญและ เปาหมาย ซึ่งจะใชเปนกรอบในการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ สารภายใตแผนแมบ ทฯ ซึ่ง ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรมประกอบไปดวย 4 ยุทธศาสตร หลัก ไดแก - ยุทธศาสตรที่ 1: เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร - ยุทธศาสตรที่ 2: พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

หนา 1-5


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

-

ยุทธศาสตรที่ 3: ผลัก ดัน นวัต กรรมสารสนเทศและการเชื ่อ มโยง เพื ่อ ใหเ กิด การ ใชสารสนเทศแบบบูรณาการ ยุทธศาสตรที่ 4: บูร ณาการและยกระดับ โครงสรา งพื ้น ฐาน เครือ ขา ยสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร

บทที่ 4 สถาปตยกรรมระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงยุติธรรม กลาวถึง รายละเอียดของสถาปตยกรรมระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งจะเป นแนวทางทางเทคนิค ในการพัฒ นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อ สารของกระทรวงยุติธรรมให เ ปนไปอย างมีทิ ศทาง สามารถพัฒ นาร วมกั นได อ ย างมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ และเปน เนื้อ เดียวกัน ซึ่ง ประกอบไปดวย สถาปต ยกรรม ระบบโครงสรางพื้นฐาน และสถาปตยกรรมระบบสารสนเทศ บทที ่ 5 แผนยุท ธศาสตรใ นการพั ฒ นาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สาร กระทรวงยุติธ รรม กลาวถึง รายละเอียดแผนงานตามรายยุทธศาสตรตาง ๆ ซึ่งประกอบดวยรายละเอียด ของแผนงาน กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของ และระยะเวลาการดํา เนิ น งาน ในการพั ฒ นา ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารของแผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (ฉบับ ที่ 4) กระทรวงยุ ติธรรม พ.ศ. 2556-2559 เพื่อ เปนแนวทางในการปฏิบัติตอไป บทที่ 6 การติ ด ตามและประเมิ นผล กล า วถึ ง รายละเอี ย ดการติ ด ตามและการประเมิ น ผล การดํ า เนิ น งานของแผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (ฉบั บ ที่ 4) กระทรวงยุ ติ ธรรม พ.ศ. 2556-2559 การประเมินผลระดับกระทรวง และสวนราชการในสังกัด รวมทั้งการเชื่อมโยงตัวชี้วัดและ เปาหมายการดําเนินงาน บทที่ 7 ขอเสนอแนะการนําแผนสูการปฏิบัติ กลาวถึง รายละเอียดของขอ เสนอแนะที่ส นับ สนุน การนํา เอาแผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (ฉบั บ ที่ 4) กระทรวงยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2556-2559 นี้ ไ ปปฏิ บั ติ ซึ่ ง ประกอบด ว ยข อ เสนอแนะด า นการผลั ก ดั น ให ส ามารถดํา เนิ น การได ด า นการวิ เ คราะห ผลกระทบเพื่ อการจัดทําและปรับปรุง แผนการปฏิบัติง านประจําป และดานมาตรการ สรางแรงจูงใจในการใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อาทิ การสรางแรงจูงใจเชิงอุดมคติ การสรางแรงจูงใจเชิงควบคุม และการสรางแรงจูงใจเชิงบวก

หนา 1-6


บทที่ 2 บทวิ เ คราะห ส ถานภาพการใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม ในบทนี้ จ ะกล าวถึ ง บทศึ ก ษา วิ เ คราะหส ถานภาพดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร ในปจ จุบันของกระทรวงยุติธรรม ทั้งสภาพแวดล อ มภายในและสภาพแวดล อ มภายนอก บทสรุป การ วิเ คราะหส ถานภาพขององค ป ระกอบและปจ จัย ตา ง ๆ อาทิ จุด แข็ง จุด ออ น โอกาส และอุป สรรค จากเทคนิค SWOT Analysis และแนวโนม ของเทคโนโลยีที่ส ามารถนํา มาประยุก ตใ ชเ พื่อ เพิ่ม ประ สิท ธิภ าพข อง กา รปฏิ บ ั ต ิ ง า นภา ยใ นก ร ะ ท ร ว ง ยุ ต ิ ธ ร ร ม ร วม ถึ ง บ ท วิ เ ค ร า ะ ห ช  อ ง ว า ง (Gap Analysis) ซึ่ ง ถื อ เปน ส ว นหนึ่ ง ของการจั ด ทํา แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร ของกระทรวงยุ ติ ธ รรม สามารถสรุ ป รายละเอี ย ด ได ดั ง นี้

2.1 สรุปผลการวิเคราะหสถานภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

การศึก ษาวิเ คราะหสถานภาพดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารในป จจุ บันของกระทรวง ยุติธรรม เปนสวนหนึ่งของการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม ซึ่งศึกษาวิเคราะหสถานภาพขององคประกอบและปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกระทรวงยุ ติ ธ รรม ทั้ ง จากสภาพแวดล อ มภายในและจากสภาพแวดล อ มภายนอก ซึ่ ง สามารถ สรุปสถานภาพและความตองการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงยุติธรรมได 3 ดานหลัก ได แ ก ใช ง านระบบสารสนเทศ ระบบเครื อ ข า ยและระบบศู น ย ค อมพิ ว เตอร และการบริ ห ารจั ด การ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยมีสรุปผลการวิเคราะหสถานภาพฯ ดังนี้ 2.1.1 ผลการศึกษาและการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน การศึ ก ษาวิเ คราะหส ถานภาพด านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารในป จ จุ บั นของ กระทรวงยุติธรรม เปนสวนหนึ่งของการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง ยุติธรรม ซึ่งศึก ษาวิเคราะหสถานภาพขององคป ระกอบและปจจัยตาง ๆ ที่มีผ ลตอ การพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศของกระทรวงยุติธรรม จากสภาพแวดลอมภายในทําใหสามารถสรุปสถานภาพและความตองการ ดานเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารกระทรวงยุ ติ ธรรมได 3 ดา น คือ ใช ง านระบบสารสนเทศ ระบบเครือขายและระบบศูนยคอมพิวเตอร และการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยมีรายละเอียดดังนี้

หนา 2-1


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.1.1.1 สภาพการใชงานระบบสารสนเทศ จากการศึกษาวิเคราะหสถานภาพการใชงานระบบสารสนเทศ ดวยวิธีการวิเคราะห หวงโซคุณคา (Value Chain) ซึ่งจะชวยในการทําความเขาใจถึงบทบาทของแตละสวนราชการ โดยคุณคาที่ สวนราชการสรางขึ้นสามารถวัดไดโดยการพิจารณาถึงการบรรลุภารกิจหนาที่ของสวนราชการ โดยแนวคิดนี้ แบงกิจกรรมภายในองคกร เปน 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมหลัก (Primary Activities) และกิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) หลัง จากศึก ษาลัก ษณะการทํ างานของสวนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรม สามารถระบุลักษณะการปฏิบัติงานลงในกิจกรรมของหวงโซคุณคาได รายละเอียด ดังภาพ 2.1

ภาพ 2.1 สภาพการใชงานระบบสารสนเทศ จากภาพ 2.1 จะเห็น ไดวา สวนราชการในสั ง กัดกระทรวงยุติธ รรม มีร ะบบ สารสนเทศสนับสนุนการปฏิบัติงานทั้งกลุมงานหลักและกลุม งานสนับสนุน โดยจะมีระบบสารสนเทศสนับสนุน บางสวนในงานดานการอํานวยการและบริหารงานทั่วไป การบริหารการคลัง การบริหารระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร รวมถึ งการพั ฒนากฎหมายดานการปราบปรามและบังคั บใช กฎหมาย แต ทวา ในสวนการปฏิบั ติงานดานการสมานฉั นท ไกลเ กลี่ยขอพิพ าท การพัฒนากฎหมายดานการปองกัน รวมถึ ง การพัฒนากฎหมายด านการบํ าบัด แก ไข และฟนฟู พบวามีร ะบบสารสนเทศรองรับ การปฏิบัติง านเพียง บางสวน อาทิ ระบบการจัดการองคความรู (Knowledge Management) ระบบสื่ อการเรี ยนการสอน อิเล็กทรอนิกส (e-Learning) และระบบฐานขอมูลกฎหมาย ประกอบกับกระทรวงยุติธรรมขาดการบูรณาการ เชื่อมโยงขอมูลกับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอก อีกทั้งระบบสารสนเทศมีความซ้ําซอนระหวาง สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม หนา 2-2


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.1.1.2 สถานภาพระบบเครือขาย และระบบศูนยคอมพิวเตอร จากการศึก ษาวิ เคราะหส ถานภาพระบบเครื อขาย และระบบศู นยคอมพิวเตอร รวมทั้ง ป ญ หาและความต อ งการด านระบบเครื อ ข า ย และระบบศู น ยค อมพิ ว เตอร รายละเอี ย ดแสดง ดังภาพ 2.2

ภาพ 2.2 สถานภาพระบบเครือขาย และระบบศูนยคอมพิวเตอร จากภาพ 2.2 พบว าการเชื่อ มต อสวนราชการตาง ๆ ภายในกระทรวงยุ ติธรรม ยังไมครอบคลุมในทุกสวนราชการ จึงไมสามารถที่จะรองรับการพัฒนาระบบสารสนเทศระหวางสวนราชการ ภายในสังกัดกระทรวงยุติธรรมในอนาคต และการเชื่อมตอไปยังสวนราชการตาง ๆ ภายนอกกระทรวงยุติธรรม มีการเชื่อมตอที่ซ้ําซอนกันอยูหลายสวนราชการ อาทิ กรมการปกครอง และสํานักงานตํารวจแหงชาติ หอง Data Center ในปจจุบันของสวนราชการภายในสังกัดกระทรวงพบวา สวนใหญจะมีหอง Data Center เปนของตนเอง มีเพียง 3 สวนราชการที่มีการใชหอง Data Center รวมกับ สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ไดแก กรมคุมประพฤติ กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กรมพินิจและคุมครอง เด็กและเยาวชน ซึ่งอาจมีขอจํากัดในดานความทั่วถึงของระบบดูแลหอง Data Center ซึ่งจะแตกตางจาก สวนราชการที่มีหอง Data Center เปนของตัวเอง สืบเนื่องจากระบบตาง ๆ ภายในหองจะถูกออกแบบมา เพื่อรองรับกับหอง Data Center ของสวนราชการนั้น ๆ โดยเฉพาะ ดังนั้น ควรจะมีการวางแผนในการขยาย หรือจัดหาหอง Data Center เพื่อมารองรับการขยายตัวเพื่อใหหอง Data Center สามารถรองรับปริมาณ ความตองการในภาพรวมของสวนราชการทั้งหมดที่มีการใชงานรวมกันได ในปจจุบันสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมยังไมมีการจัดทําศูนยปฏิบัติงาน สํารอง (DR Site) รวมถึงระบบเครือขายสํารอง จึงทําใหเกิดความเสี่ยงเมื่อเกิดปญหากับระบบเครือขายหรือ ศูนยปฏิบัติงานหลักและสงผลกระทบทําใหระบบสารสนเทศและระบบสื่อสารที่สําคัญขององคกรไมสามารถ หนา 2-3


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ใหบริการได ดังนั้นจึงควรจัดหาระบบเครือขายและศูนยปฏิบัติงานสํารองเพื่อชวยใหระบบสารสนเทศที่สําคัญ ขององคกรสามารถใหบริการไดอยางตอเนื่อง 2.1.1.3

สภาพดานการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในหัวขอ นี้จ ะกลาวถึ ง สถานภาพการบริ ห ารจั ดการการบริ ก ารดานเทคโนโลยี สารสนเทศ และสถานภาพของสวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม 1) สถานภาพการบริหารจัดการดานการบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ จ า ก ก า ร นํ า ISO/IEC2 0 0 0 0 ( Information Technology Service Management : ITSM) มาประเมินสถานภาพดานการบริหารจัดการการบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่ อ นํ าไปสู ก ารปรั บ ปรุ ง การบริ ห ารจั ด การการบริก ารดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศให ดํา เนิ น ไปได อ ย า ง มีประสิทธิภาพ รายละเอียดแสดงดังภาพ 2.3 และภาพ 2.4

ภาพ 2.3 สภาพการบริหารจัดการการบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถจํ า แนกสภาพการบริ ห ารจั ด การการบริ ก ารด า นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารออกเปน 3 ระดับ ดังนี้ - ระดั บ 0 : ไมมี กระบวนการและเอกสารในการบริ หารจัด การการ บริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - ระดับ 1 : มีกระบวนการและเอกสารในการบริหารจัดการการบริการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบางสวน - ระดับ 2 : มีกระบวนการและเอกสารในการบริหารจัดการการบริการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หนา 2-4


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

จากภาพ 2.3 สรุป สถานภาพการบริห ารจัด การบริ ก ารดา นเทคโนโลยี สารสนเทศของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แสดงใหเห็นวาในภาพรวมของสวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับ 1-2 คือ มีกระบวนการและเอกสารในการบริหารจัดการการบริการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบางสวน ซึ่งกระบวนการบริหารจัดการกับผูรับจางพัฒนาระบบ เปนกระบวนการที่ มี ก ารดํ าเนิ นการมากที่สุด กระบวนการบริห ารจัด การเหตุขัด ขอ ง มีก ารดําเนิ นการ เปนลําดับรองลงมา และกระบวนการบริหารจัดการระดับการใหบริการมีการดําเนินการนอยที่สุด กระบวนการที่ ค วรมี ก ารพิ จ ารณาดํ าเนิ นการเพิ่ ม เติ ม คื อ กระบวนการ บริ ห ารจั ด การระดั บ การให บ ริ ก าร กระบวนการบริ ห ารจั ด การป ญ หา กระบวนการบริ ห ารจั ด การ ขีดความสามารถของระบบ กระบวนการบริ ห ารจั ดการการนํ าออกไปใช ง าน เพื่ อ ให มี การบริ ห ารจั ดการ บริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางครอบคลุม และครบวงจร 2) สถานภาพของสวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม สามารถแบงระดับสถานภาพของส วนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมไดเปน 3 ระดับ ดังนี้ - ระดั บ 0 : ไม มี ส ว นราชการด า นการบริ ห ารจั ด การเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารโดยตรง - ระดับ 1 : มีสวนราชการในระดับที่ต่ํากวาศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อ สาร และบุ คลากรที่ รั บ ผิ ดชอบด านการบริ ห ารจั ดการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - ระดั บ 2 : มี ส วนราชการในระดั บ ศู น ย เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สารและมี บุ ค ลากรที่ รั บ ผิ ด ชอบด า นการบริ ห ารจั ด การ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโดยตรง

หนา 2-5


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ภาพ 2.4 สภาพดานการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จากภาพ 2.4 จะเห็นไดวามีการแบงระดับการบริหารจัดการดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารออกเปน 3 ระดับ โดยกรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนเปนสวนราชการเดียวที่อยู ในระดับ 0 ซึ่งอาจสงผลใหมีขอจํากัดดานการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเมื่อเปรียบเทียบกับ สวนราชการที่มีสวนราชการที่รับผิดชอบดานเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับอื่น ๆ สถาบันนิติวิทยาศาสตร สํานักกิจการยุติธรรม กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ และ กรมราชทัณฑ เปนสวนราชการที่มีสถานภาพของสวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในระดับ 1 ดังนั้นจึงสามารถดูแลรับผิดชอบดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได แตเนื่องจากมีขอจํากัด ดานจํ านวนบุคลากร และระดับความชํานาญ จึงเปนการยากที่จะปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก เมื่อเปรียบเที ยบระหว างอั ตราสวนของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและการสื่อสารกับ จํานวนบุคลากรผู ใช งาน และจํานวนสวนราชการในสังกัดที่เปนผูรับบริการ จะเห็นปริมาณงานเปนไปอยาง ไมเหมาะสม 2.1.2 ผลการศึกษาและการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก ในหัวขอนี้กลาวถึง ผลการศึกษาและวิเคราะหสถานภาพแวดลอมภายนอก ซึ่งประกอบดวย นโยบายภาครัฐบาล นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และแนวโนมการพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต (Technology Trend) โดยมีรายละเอียด ดังนี้

หนา 2-6


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

นโยบายภาครัฐบาล 1 ดําเนินการวิ เคราะหและเปรียบเทียบขอ มูลระหวาง นโยบายของรัฐบาล อาทิ นโยบายบริ ห ารราชการแผ น ดิ น (พ.ศ.2555-2558) และแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ (พ.ศ. 2555-2558) กับประเด็นยุทธศาสตรของกระทรวงยุติธรรม เพื่อแสดงใหถึงนโยบายภาครัฐที่เกี่ยวของกับ การปฏิบัติง านของกระทรวงยุ ติธรรม ซึ่ ง สามารถสรุ ป ความสั ม พั นธ ของนโยบายภาครัฐและยุ ท ธศาสตร การปฏิบัติงานของกระทรวงยุติธรรม ดังตาราง 2.1 2.1.2.1

0

ตาราง 2.1 รายละเอียดนโยบายภาครัฐบาลที่มีความสอดคลองกับประเด็นยุทธศาสตรกระทรวงยุติธรรม ดานนโยบาย นโยบายภาครัฐบาล นโยบายบริหารราชการแผนดิน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แผนปฏิบัติราชการ 4 ป กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 แหงชาติ ยุทธศาสตรที่ 1: พัฒนาระบบงานยุติธรรมและ การอํานวยความยุติธรรมตาม มาตรฐานสากล

- เรงรัดการพัฒนาประเทศ และ เตรียมความพรอมสูประชาคม อาเซียน

- สรางความสามารถในการแขงขัน โดยพัฒนาโครงขายเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร

- ปองกัน ปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบในภาครัฐ

- สรางโอกาสความเสมอภาคและ เทาเทียมกันทางสังคม โดยสราง ความรวมมือในการปองกันภัยจาก การกอการราย อาชญากรรม ยาเสพติด

- ปองกัน ปราบปราม และ บําบัดรักษาผูติดยาเสพติด ยุทธศาสตรที่ 2: เรงรัดพัฒนาระบบงานยุติธรรมทางเลือก ยุทธศาสตรที่ 3: พัฒนาระบบการจัดการใหเปนองคกรที่มี สมรรถนะ และยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตรที่ 4: - การปฏิรูปกฎหมายและพัฒนา สงเสริมการวิจัยและพัฒนาระบบงาน กระบวนการยุติธรรม ยุติธรรมและกฎหมาย

ยุทธศาสตรที่ 5: สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนและ พัฒนาเครือขายความรวมมือระบบงาน ยุติธรรม

1

- ปรับสมดุลและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภาครัฐ - ปรับกําลังคนและกฎระเบียบให สอดคลองกับทิศทางการสราง ฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน ภายใตหลักนิติธรรมและ ความเสมอภาค

- การสรางโอกาสการเขาถึง กระบวนการยุติธรรมของประชาชน

นโยบายบริหารราชการแผนดิน (พ.ศ. 2555-2558) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (พ.ศ. 2555-2559) หนา 2-7


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2 ดํ า เนิ น การวิ เ คราะห ขอ มู ล จาก นโยบายทางด า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสาร อาทิ แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของ ASEAN 2015 กรอบนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารของประเทศไทยระยะ พ.ศ. 2554-2563 (ICT2020) แผนแมบ ทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารฉบับที่ 2 ของประเทศไทย (พ.ศ. 2552-2556) และแนวนโยบายแนวปฏิบัติใน การรักษาความมั่นคงดานสารสนเทศของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2553 ซึ่งสามารถสรุปความสัม พันธของ นโยบายทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในดานตางๆ ดังตาราง 2.2 2.1.2.2

1

ตาราง 2.2 รายละเอียดนโยบายทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความสอดคลองกันใน ดานตางๆ อาทิ ดานทุนมนุษย ดานระบบสารสนเทศ ดานโครงสรางพื้นฐาน และดานนโยบาย นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดานนโยบาย แผนแมบท กรอบนโยบาย แผนแมบท แนวนโยบายและ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี แนวปฏิบัติในการ สารสนเทศและ สารสนเทศและ สารสนเทศและการ รักษาความมั่นคง การสื่อสารของ การสื่อสารของ สื่อสารฉบับที่ 2 ปลอดภัยดาน ASEAN 2015 ประเทศไทยระยะ ของประเทศไทย สารสนเทศของ พ.ศ.2554-2563 (พ.ศ.2552-2556) หนวยงานของรัฐ องคประกอบ (ICT2020) พ.ศ. 2553 ดานทุนมนุษย - การเสริมสราง - พัฒนาทุนมนุษย - การพัฒนา พลังใหแก ที่มีความสามารถ กําลังคนดาน ICT ประชาชนและให ในการสรางสรรค และบุคคลทั่วไป ประชาชนมีสวน และใช ใหมีความสามารถ รวม สารสนเทศอยาง ในการสรางสรรค มีประสิทธิภาพ ผลิต และใช - การพัฒนาทุน มีวิจารณญาณ สารสนเทศอยางมี มนุษย และรูเ ทาทัน วิจารณญาณและ รวมถึงพัฒนา รูเทาทัน บุคลากร ICT ที่มี ความรู ความสามารถ และความ เชี่ยวชาญระดับ มาตรฐานสากล

2

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ ASEAN 2015 กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ ประเทศไทยระยะ พ.ศ. 2554-2563 (ICT2020) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฉบับที 2 ของประเทศไทย (พ.ศ. 2552-2556) และแนวนโยบายแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงดานสารสนเทศของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2553 หนา 2-8


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.2 รายละเอียดนโยบายทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความสอดคลองกันใน ดานตางๆ อาทิ ดานทุนมนุษย ดานระบบสารสนเทศ ดานโครงสรางพื้นฐาน และดานนโยบาย (ตอ) นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดานนโยบาย แผนแมบท กรอบนโยบาย แผนแมบท แนวนโยบายและ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี แนวปฏิบัติในการ สารสนเทศและ สารสนเทศและ สารสนเทศและการ รักษาความมั่นคง การสื่อสารของ การสื่อสารของ สื่อสารฉบับที่ 2 ปลอดภัยดาน ASEAN 2015 ประเทศไทยระยะ ของประเทศไทย สารสนเทศของ พ.ศ.2554-2563 (พ.ศ.2552-2556) หนวยงานของรัฐ องคประกอบ (ICT2020) พ.ศ. 2553 ดานระบบ - การสราง - ใช ICT เพื่อสราง - การใชเทคโนโลยี - การเขาถึงการใช สารสนเทศ นวัตกรรม อาทิ นวัตกรรมการ สารสนเทศและ งาน การควบคุม สงเสริมใหเกิด บริการของ การสือ่ สารเพือ่ การใชงาน การคุมครองสิทธิ์ ภาครัฐที่สามารถ สนับสนุนการ สารสนเทศ และ ของทรัพยสินทาง ใหบริการ สรางธรรมาภิบาล การรักษาความ ปญญาในระดับ ประชาชนและ ในการบริหารและ มั่นคงปลอดภัย อาเซียนเพื่อ ธุรกิจทุกภาคสวน การบริการของ - การกําหนด ปกปองผลงาน ไดอยางมี ภาครัฐ ประเภทของ สรางสรรค เปน ประสิทธิภาพ ผูใชงานและสิทธิ ตน มีความมั่นคง ในการเขาใชงาน ปลอดภัย และมี สารสนเทศ - การลดความ ธรรมาภิบาล เหลื่อมล้ําในการ เขาถึงเทคโนโลยี อาทิ สงเสริมการ รวมตัวของอาเซียน โดยเปดโอกาสให ไดรับรูความ แตกตางดาน วัฒนธรรม แกนักเรียนตัง้ แต ยังเยาววัย เปนตน

หนา 2-9


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.2 รายละเอียดนโยบายทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความสอดคลองกันใน ดานตางๆ อาทิ ดานทุนมนุษย ดานระบบสารสนเทศ ดานโครงสรางพื้นฐาน และดานนโยบาย (ตอ) นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดานนโยบาย แผนแมบท กรอบนโยบาย แผนแมบท แนวนโยบายและ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี แนวปฏิบัติในการ สารสนเทศและ สารสนเทศและ สารสนเทศและการ รักษาความมั่นคง การสื่อสารของ การสื่อสารของ สื่อสารฉบับที่ 2 ปลอดภัยดาน ASEAN 2015 ประเทศไทยระยะ ของประเทศไทย สารสนเทศของ พ.ศ.2554-2563 (พ.ศ.2552-2556) หนวยงานของรัฐ องคประกอบ (ICT2020) พ.ศ. 2553 - สํารวจ ขอบกพรองของ ระบบสารสนเทศ ในปจจุบัน จากนั้นศึกษา วิธีการแกไข เพื่อ นําไปสูการพัฒนา ระบบ e-service - สรางแรงจูงใจ และสงเสริมการ ปฏิบัติงานของ เจาหนาที่ เพื่อ ผลักดันการใช ระบบ e-services ทําใหการ ปฏิบัติงานมี ประสิทธิภาพมาก ขึ้น ดานโครงสราง พื้นฐาน

- การพัฒนา - พัฒนาโครงสราง - การพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน พื้นฐาน ICT ที่ โครงสรางพื้นฐาน อาทิ พัฒนาระบบ เปนอินเทอรเน็ต เทคโนโลยี เชื่อมโยงของ ความเร็วสูง หรือ สารสนเทศและ บรอดแบนด เปน การสือ่ สาร การสือ่ สาร ตน รูปแบบอืน่ ทีเ่ ปน Broadband ใหมี ความทันสมัย

หนา 2-10


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.2 รายละเอียดนโยบายทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความสอดคลองกันใน ดานตางๆ อาทิ ดานทุนมนุษย ดานระบบสารสนเทศ ดานโครงสรางพื้นฐาน และดานนโยบาย (ตอ) นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดานนโยบาย แผนแมบท กรอบนโยบาย แผนแมบท แนวนโยบายและ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี แนวปฏิบัติในการ สารสนเทศและ สารสนเทศและ สารสนเทศและการ รักษาความมั่นคง การสื่อสารของ การสื่อสารของ สื่อสารฉบับที่ 2 ปลอดภัยดาน ASEAN 2015 ประเทศไทยระยะ ของประเทศไทย สารสนเทศของ พ.ศ.2554-2563 (พ.ศ.2552-2556) หนวยงานของรัฐ องคประกอบ (ICT2020) พ.ศ. 2553 มีการกระจาย อยางทั่วถึง และมี ความมั่นคง ปลอดภัยสามารถ รองรับความ ตองการของภาค สวนตางๆ ได ดานนโยบาย

-

- ยกระดับขีดความ - การบริหารจัดการ - หนวยงานของรัฐ สามารถในการ ระบบ ICT ระดับ ตองจัดใหมี แขงขันของ ชาติอยางมี นโยบายในการ อุตสาหกรรม ICT ธรรมาภิบาล รักษาความ เพื่อสรางมูลคา มั่นคงปลอดภัย การใช ICT เพื ่ อ ทางเศรษฐกิจ ดานสารสนเทศ สนับสนุนการเพิม่ และนํารายไดเขา ของหนวยงาน ขีดความสามารถ ประเทศ โดยใช เปนลายลักษณ ในการแข ง ขั น โอกาสจากการ อักษร อยางยั่งยืน รวมกลุม เศรษฐกิจ - หนวยงานของรัฐ การเปดการคา ตองจัดใหมีขอ เสรี และประชาคม ปฏิบัติในการ อาเซียน รักษาความ มั่นคงปลอดภัย ดานสารสนเทศ ของหนวยงาน

หนา 2-11


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.1.2.3 แนวโน ม การพั ฒ นาเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารในอนาคต (Technology Trend) เนื่องจากปจจุบันเทคโนโลยีสมัยใหมมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว อาทิ Mobile Application, Cloud Computing, Big Data ฯลฯ ดังนั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหกับการปฏิบัติงานของ สวนราชการในกระทรวงยุ ติ ธรรมให ทั น สมั ย การศึก ษาแนวโน ม การพั ฒ นาเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสารสมัยใหม เพื่อนํามาประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับกระทรวงยุติธรรมใหเกิด ประโยชนสูงสุด ประกอบกับนโยบายรัฐบาลที่สงเสริมการเปนรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government) อีกทั้ง การเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน ซึ่งจําเปนตองแลกเปลี่ยนขอมูล อิเล็กทรอนิกส กระทรวงยุติธรรมจึ ง เล็งเห็นและใหความสําคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยการศึกษา แนวโนมการพัฒนาเทคโนโลยีประกอบไปดวย 2 สวนคือ ผลการวิเคราะหแนวโนมดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของการตเนอร (Gartner) และการศึกษาดูงานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ กระทรวงยุติธรรม ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต บริษัท การตเนอร (Gartner) ซึ่ง เปนบริษัทชั้นนําที่ใหคําปรึกษาดานเทคโนโลยี สารสนเทศของประเทศสหรัฐอเมริก า ไดจั ดอั นดับ เทคโนโลยี ทั้ง หมด 10 อันดับที่จ ะมีบทบาทสําคัญ ตอ การดําเนินธุรกิจในชวงป 2555-2560 ซึ่งจากการพิจารณา พบวาเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ ซึ่งสวนราชการตาง ๆ สามารถนําเทคโนโลยีเหลานี้มาเพิ่มศักยภาพในการดําเนินงานได ประกอบกับเทคโนโลยีที่ไดจากการศึกษา ดูง านทางด านเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สารที่ ก ระทรวงยุ ติธรรม ประเทศสาธารณรั ฐเกาหลีใ ต 5 เทคโนโลยี อาทิ ระบบการจัดการเอกสาร (Document Management) ระบบบริการอิเล็กทรอนิกสแบบ เบ็ดเสร็จ (MinWon24) สถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture, EA) ระบบ MOJ Portal System และ Electronic Monitoring (EM) ทั้ง นี้สามารถสรุป แนวโนม ของการพัฒนาเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสารในอนาคต (Technology Trend) และแนวทางการประยุกตใชใหเหมาะสมกับภารกิจของกระทรวง ยุติธรรม ไดดังนี้

หนา 2-12


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.3 แนวโนมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต (Technology Trend) แนวทางการประยุกตใช รายละเอียดแนวทางการประยุกตใชกับภารกิจหนาที่ของกระทรวงยุติธรรม Technology Trend

1 Gartner 1.1 Mobile Device Battles 1.2 Mobile Applications and HTML5 1.3 Enterprise App Stores 1.4 Personal Cloud 1.5 Hybrid IT and Cloud Computing 1.6 The Internet of Things 1.7 Strategic Big Data

ใชอุปกรณสื่อสารไรสายมาสนับสนุนระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อรองรับการปฏิบัติงานตามภารกิจหนาที่ที่ มุงเนนดานการอํานวยความยุติธรรม พรอมทั้งใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน สงผลใหการบริหารจัดการ และการใหบริการมีความสะดวกและรวดเร็ว พัฒนาโปรแกรมที่สามารถใชงานผานอุปกรณสื่อสารไรสาย เพื่อเพิ่มชองทางในการเขาถึงขอมูลระหวางเจาหนาที่และ ประชาชน ตลอดจนสงเสริมใหประชาชนไดรับการบริการงานยุติธรรมอยางทั่วถึง และกระบวนการยุติธรรมสามารถมุงไปสู การเพิ่มขีดสมรรถนะไดอยางแทจริง จัดทํา Application ที่หลากหลายมาใชงานรวมกับอุปกรณสื่อสารไรสาย เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการศูนยบริการรวม กระทรวงยุติธรรมใหสามารถนําเสนอขาวสารขอมูลไดหลายมิติ อีกทั้งเปนการดึงดูดใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมมากขึ้น ทําใหประชาชนไดรับบริการงานยุติธรรมอยางทั่วถึง รวดเร็ว และเปนธรรม พัฒนา Private และ Personal Cloud ขององคกรเพื่อใชงานทรัพยากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมกัน ใชอินเทอรเน็ตในการคนหาขอมูลความรูเกี่ยวกับระบบงานอํานวยความยุติธรรม ขอมูลทางกฎหมาย และระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของเจาหนาที่ไดทุกที่ทุกเวลา เพื่อสนับสนุนใหทรัพยากรบุคคลมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน รวมถึงสงเสริมงานยุติธรรมทางเลือกโดยใหประชาชนเขามามีสวนรวมอยางเปนรูปธรรม ใชระบบบริหารจัดการขอมูลขนาดใหญมาวิเคราะหขอมูลจากระบบสารสนเทศในองคกร ขอมูลจากสื่อสังคมออนไลน ขอมูล จากอินเทอรเน็ต โดยมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาสนับสนุนการทํางานของระบบการอํานวยความยุติธรรม ซึ่งเปนการพัฒนาเครือขายความรวมมือและยุติธรรมทางเลือกใหมีประสิทธิภาพ

หนา 2-13


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.3 แนวโนมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต (Technology Trend) (ตอ) แนวทางการประยุกตใช รายละเอียดแนวทางการประยุกตใชกับภารกิจหนาที่ของกระทรวงยุติธรรม Technology Trend

2 การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กระทรวงยุติธรรม ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต 2.1 ระบบจั ด การงาน (Task Management) และ จัดทําระบบบริหารจัดการของรัฐบาลที่มีลักษณะเดียวกันกับระบบจัดการงาน (Task Management) และระบบจัดการ ระบบจัดการเอกสาร (Document Management) เอกสาร (Document Management) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และความโปรงใสใหกับการบริหารงานของรัฐบาล 2.2 ระบบใหบริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จ จัดทําระบบการใหบริการอิเล็กทรอนิกสใหประชาชนที่มีลักษณะแบบเบ็ดเสร็จเพื่อเพิ่มชองทาง และประสิทธิภาพในการ (MinWon24) ใหบริการประชาชน 2.3 สถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture) - จัดทําสถาปตยกรรมระบบขององคกรที่มีแนวทางชัดเจนไปใชในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อลด ความซ้ําซอนแพลตฟอรม (Platform) ของระบบสารสนเทศ และโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่จะเกิดขึ้นในอนาคต - สร างแนวทางการพัฒ นาระบบสารสนเทศในรู ปแบบโมดู ล และบริการของกระทรวงยุ ติ ธรรม ซึ่ง มี ความง ายต อการ แลกเปลี่ยนขอมูลที่เปนมาตรฐานตามแนวทางของ Service Oriented Architecture และ Web Services 2.4 MOJ Portal System - การรวมขอมูลสารสนเทศที่มีการใชงานรวมกัน และสามารถเขาใชงานระบบจากที่เดียว ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่อํานวยความ สะดวกในการใชบริการระบบอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ อาทิ Single Sign On (SSO) - ระบบบริหารจัดการองคความรู 2.5 นวัตกรรม - ศึกษา วิเคราะห และจัดทํามาตรฐานการจัดเก็บขอมูล กําหนดวิธีการสืบคนขอมูลและเชื่อมโยงขอมูลการจดจําใบหนาให 1) ระบบตรวจสอบการปลอมแปลงของใบหนา เปนมาตรฐานเดียวกันทั้งองคกร (Face Recognition) - ศึกษา วิเคราะหความเปนไปได และผลกระทบในการนํา EM มาประยุกตงานกับประเทศไทยเพื่อใหมีประสิทธิภาพและ 2) Electronic Monitoring (EM) ประโยชนสูงสุด

หนา 2-14


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.2 สรุ ปผลการวิเ คราะห จุ ดแข็ ง จุด อ อน โอกาส และอุ ป สรรคด านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 2.2.1 ผลการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออน จากการศึ กษา วิเ คราะหส ภาพแวดลอมภายในของกระทรวงยุติธรรมสามารถสรุปจุดแข็ง (Strengths) และจุ ดอ อน (Weaknesses) ด านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารเป น 4 ดาน ไดแก ดานขอ มูล และระบบสารสนเทศ ดานอุป กรณคอมพิวเตอรและระบบเครือ ขาย ดานการบริห ารจัดการ ดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร และด านบุ คลากร โดยแตล ะดานมีจุดแข็ง และจุดออ น ดัง นี้ ตาราง 2.4 ผลการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปจจัยวิเคราะห จุดแข็ง (Strengths) จุดออน (Weaknesses) - ผู บ ริ ห ารเห็ น ความสํา คั ญ และให - ขาดการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ดานขอมูลและ การสนั บ สนุ น การใช ง านระบบ สารสนเทศดานการแลกเปลี่ยน ระบบสารสนเทศ สารสนเทศ - มี ร ะบบสารสนเทศเพื่ อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านตามภารกิ จ หน า ที่ ของส ว นราชการ - มี ก ารศึ ก ษาและจั ด ทํา มาตรฐาน การแลกเปลี่ ย นขอมูลระหวางสวน ราชการที่เกี่ยวของในกระบวนการ ยุติธรรม - มีระบบ Common Service เพื่อใช บริการดานการใหความรู และ ประชาสัมพันธ อาทิ ระบบ Knowledge Management (KM) และ

-

e-Learning

ดานอุปกรณคอมพิวเตอร - สวนราชการสวนใหญมีความพรอม ของระบบสนับสนุนพื้นฐานของหอง และระบบเครือขาย

-

Data Center

- สวนราชการกลาง อาทิ สํานักงาน

กิจการยุติธรรมมีศูนยแลกเปลี่ยนขอมูล กระบวนการยุติธรรมตนแบบ (Data Exchange Center: DXC) มี Bandwidth บนเครือขาย GIN 10 Mbps

ขอมูลของสวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม ขาดการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวาง สวนราชการกลุมภารกิจ และสวน ราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ขาดขอมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การตัดสินใจของผูบริหาร ขาดการจัดการฐานขอมูลกลาง อาทิ ฐานขอมูลลายพิมพนิ้วมือและลาย พิมพฝามือ ขาดการผลักดันใหเกิดความ ตอเนื่องในการใชงานระบบ สารสนเทศทําใหขอมูลไมครบถวน และเปนปจจุบัน เครือขายภายในสวนราชการใน สังกัดกระทรวงยุติธรรมและสวน ภูมิภาคไมเพียงพอตอความตองการ ใชงาน การขยายจุดเชื่อมตอสัญญาณ เครือขายภายในศูนยราชการฯ ทําไดยาก ห อ ง Data Center บางส ว น ของส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมไมรองรับตอ การเพิ่มจํานวนของอุปกรณ

หนา 2-15


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.4 ผลการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) ปจจัยวิเคราะห จุดแข็ง (Strengths) จุดออน (Weaknesses) - ขาดระบบ VDO Conference ดานอุปกรณคอมพิวเตอร เพื่อการติดตอสื่อสารทั้งภายในสวน และระบบเครือขาย (ตอ) ราชการสวนกลาง และสวนภูมภิ าค และระหวางสวนราชการของสวน ราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม - ขาดศูนยปฏิบตั ิการสํารอง (Disaster Recovery Site: DR Site)

- ความเร็วของระบบเครือขาย

- มีสวนราชการดาน ICT ของกระทรวง ดานการบริหารจัดการ ยุติธรรม ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ - สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และการสื่อสาร

สวนใหญมีโครงสรางสวนราชการ รองรับดาน ICT - กระทรวงยุติธรรม และสวนราชการใน สังกัดสวนใหญมีการจัดทําแผนแมบท ICT อยางตอเนื่อง - มีนโยบายและแผนแมบท ICT กระบวนการยุติธรรม ตลอดจนส วน ราชการรั บ ผิ ด ชอบซึ่ง เน นเรื่ อง การแลกเปลี่ย นขอมูล ระหว างส วน ราชการที่เ กี่ย วข อง - ผูบริหารระดับสูงใหความสําคัญตอ การพัฒนา ICT -

-

อินเทอรเน็ตที่ใหบริการแกสว น ราชการในสวนภูมภิ าคไมเพียงพอตอ การใชงานระบบสารสนเทศ ขาดการประสานงานดาน ICT อยางทั่วถึงระหวางสวนราชการ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ขั้นตอนการประสานงาน อนุมัติ โครงการและของบประมาณใน ภาพรวมยุงยากและลาชา โครงการพัฒนา ICT บางโครงการ ของสวนราชการในสังกัดกระทรวง ยุติธรรมขาดการผลักดันใหใชงาน งบประมาณในการบํารุงรักษา ระบบ ICT ไมเพียงพอ ขาดการวิเคราะหกระบวนงานหลัก (Business Process) รวมกัน ระหวางสวนราชการที่อยูในกลุม ภารกิจเดียวกัน ขาดการจัดเก็บและประมวลขอมูล โครงการดานระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารที่เปน ระบบทําใหยุงยากตอการบริหาร จัดการในภาพรวม ขาดการมอบหมายหนาที่ที่ชัดเจน ในการนําเขาขอมูลอยางตอเนื่อง

หนา 2-16


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.4 ผลการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) ปจจัยวิเคราะห จุดแข็ง (Strengths) จุดออน (Weaknesses) ผูใชงาน ผูใชงาน ดานบุคลากร - ผู ใ ช ง านบางส ว นมี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต อ

การใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อ สารมาช ว ยสนั บ สนุ น ในการปฏิบัติงาน

นักวิชาการคอมพิวเตอร - บุคลากรใหความรวมมือในการเขา รวมกิจกรรมตาง ๆ - บุคลากรมีทัศนคติที่ดีตอการพัฒนา ศักยภาพของตนเอง

- ผูใชงานไมสามารถตามเทคโนโลยีที่

เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วไดทัน - การฝกอบรมดาน ICT ใหแกผูใชงาน ยังไมทั่วถึงและตอเนื่อง - ผู ใ ช ง านบางส ว นขาดความรู ความเข า ใจในการใช ง านระบบ สารสนเทศ นักวิชาการคอมพิวเตอร - บุคลากรไมสามารถตามเทคโนโลยีที่ เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วไดทัน - บุคลากรขาดองคความรูดาน มาตรฐาน ICT - การติดตาม และประสานงานกับ สวนราชการอื่นไมทั่วถึง - ส ว นราชการผู ดูแ ล ICT ของ กระทรวงยุติธรรม มีอัตรากําลัง จํากัดเมื่อเทียบกับปริมาณงาน - บุคลากรดาน ICT ขาดทักษะขั้นสูง ดาน ICT

2.2.1.1 จุดแข็ง-จุดออนดานขอมูลและระบบสารสนเทศ 1) จุดแข็งดานขอมูลและระบบสารสนเทศ กระทรวงยุ ติ ธรรมเป นสว นราชการที่ ผูบ ริห ารใหค วามสํ าคั ญ และการ สนับสนุนการใชระบบสารสนเทศ ทําใหมีระบบสารสนเทศเพื่อ สนับ สนุน การปฏิบัติง านตามภารกิจ หนา ที่ ของสวนราชการ และระบบ Common Service อาทิ ระบบ ระบบบริหารจัดการองคความรู (Knowledge Management: KM) และระบบการเรี ยนรูผานสื่อ อิเ ล็กทรอนิก ส เพื่อใชบริก ารดานการใหความรูและ ประชาสัม พันธ อี ก ทั้ ง มี การจั ดทํ ามาตรฐานการแลกเปลี่ยนขอ มูล ระหวา งสว นราชการที่เ กี่ย วขอ งใน กระบวนการยุ ติ ธ รรม (DXC) อี ก ด ว ย ดัง นั้นกระทรวงยุติธรรมจึง มี แนวโนม ที่จ ะนําสิ่ง ที่มี อ ยู รวมกั บ นโยบายของผู บ ริ ก ารมาส ง เสริ ม การใช ง านในวงกว า งเพื่ อ ให คุ ม ค า และเกิ ด ประโยชน สู ง สุ ด 2) จุดออนดานขอมูลและระบบสารสนเทศ กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก ารพั ฒ นาระบบสารสนเทศยั ง ไม ค รอบคลุ ม การ ปฏิบัติงานตามภารกิจตาง ๆ ทําใหไมตอบสนองตามความตองการของผูใชงานทั้งในดานระบบสารสนเทศและ การพัฒนาระบบฐานขอมูลมีความซ้ําซอน นอกจากนั้นขอมูลในระบบสารสนเทศยังไมเปนปจจุบันทําใหขอมูล ที่มีอยูไมสามารถนําไปวิเคราะหและจัดทําเปนขอมูล สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในภาพรวมของ กระทรวงยุติธรรม แกผูบริหารได หนา 2-17


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.2.1.2 จุดแข็ง-จุดออนดานอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย 1) จุดแข็งดานอุปกรณคอมพิวเตอรและเครือขาย กระทรวงยุติธรรมเปนสวนราชการที่มีความพรอมในเรื่องของหอง Data Center รวมถึงพื้นที่ที่พรอมสําหรับรองรับการขยายตัวของอุปกรณที่จะเพิ่มเขามาภายในหอง Data Center อีก ทั้ ง สว นราชการซึ ่ ง มี ภ ารกิ จ หน า ที ่ ใ นการเปน ศูน ยก ลางดา นการเชื ่อ มโยงแลกเปลี ่ย นขอ มูล สารสนเทศ และการบริ ก ารสารสนเทศ อาทิ สํานัก งานปลัดกระทรวงยุติธรรม และสํานัก งานกิจ การ ยุติธรรม สามารถเชื่อมโยงใชงานระบบเครือขายของสวนราชการกลางภาครัฐ (Government Information Network: GIN) Bandwidth มีความเร็วในการรับสงขอมูล 10 Mbps ซึ่งถือวาเปนจุดแข็งเพื่อใหสวนราชการ ตาง ๆ สามารถเชื่อมโยงเขาสวนกลางไดอยางมีประสิทธิภาพ 2) จุดออนดานอุปกรณคอมพิวเตอรและเครือขาย หอง Data Center บางสวนของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ไมรองรับตอ การเพิ่มจํานวนของอุป กรณภายใน ขาดศูนยป ฏิบัติก ารสํารอง (DR Site) และมีจุดออ นเรื่อ ง ระบบสื่อ สาร ส วนราชการบางส วนยั ง ขาดระบบ VDO Conference เพื่ อ การติด ตอ สื่ อ สารทั้ ง ภายใน สวนราชการสวนกลางและสวนภูมิภาค 2.2.1.3 จุดแข็ง-จุดออนดานการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1) จุดแข็งการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงยุติธรรมมีสวนราชการซึ่งมีหนาที่ดูแลรับผิดชอบดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สารโดยตรง ส ง ผลใหก ารนํา เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารเขา มาชว ย สนั บ สนุ นการบริห ารจัดการภายในและสนั บ สนุ น การปฏิบัติงานตามภารกิจหลักมีแนวโนมจะดําเนินการ ไดอยางตอเนื่อง มีป ระสิท ธิภาพ อีก ทั้ง กระทรวงยุติธรรมและสวนราชการในสัง กัดสวนใหญมีก ารจัดทํา แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางตอเนื่อง จึงสงผลใหก ารพัฒ นาเทคโนโลยีส ารสนเทศ และการสื่อสารมีความชัดเจนและเปนไปในทิศทางเดียวกัน 2) จุดออนการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การประสานงานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารระหวาง สวนราชการไมทั่วถึง เนื่องจากการดําเนินงานตามโครงการในขั้นตอนตาง ๆ มีความยุงยากและลาชา ตั้งแตการ ประสานงาน การอนุ มั ติ โ ครงการและการของบประมาณ เปนตน อีกทั้งงบประมาณในการบํา รุง รัก ษา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไมเพียงพอ รวมถึงโครงการพัฒนา ICT บางโครงการขาดการผลักดัน ให ใ ช ง านตามวั ต ถุ ป ระสงค ที่ ตั้ ง ไว อีกทั้งไม มีการมอบหมายอํ านาจหน าที่ใหแกบุคลากรรับผิ ดชอบการ นําเขาขอ มูล ที่ ชัดเจน ทํ าให ขอ มู ลในระบบสารสนเทศสวนใหญไมเปนปจ จุบัน ประกอบกั บ กระทรวง ยุ ติ ธ รรมขาดการจั ด เก็ บ และประมวลข อ มู ล โครงการดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ สารที่ เปนระบบ ทําใหยุงยากตอการบริหารจัดการในภาพรวม 2.2.1.4 จุดแข็ง-จุดออนดานบุคลากร 1) จุดแข็งดานบุคลากร เมื่อพิจารณาดานผูใชงาน พบวาผูใชงานบางสวนของกระทรวงยุติธรรมมี ทัศนคติที่ดีตอการใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาชวยสนับ สนุนในการปฏิบัติง าน ซึ่ง จะทําใหการใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ สารมาสนับ สนุนการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ หนา 2-18


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

มากยิ่ง ขึ้นได นอกจากนี้เ มื่อ พิจารณาดานนั ก วิชาการคอมพิวเตอร พบวาบุคลากรใหความรวมมือ ในการ เขาร วมกิจ กรรมต าง ๆ เป นอย า งดี บุ ค ลากรมีทัศ นคติที่ ดีตอ การพัฒ นาศัก ยภาพของตนเอง ซึ่ง นั บ เป น แนวทางเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นได 2) จุดออนดานบุคลากร เมื่อพิจารณาดานผูใชงาน พบวาการฝกอบรมการใชงานระบบสารสนเทศ แก ผู ใ ช ง านไม ค รอบคุ ล มและไมต อ เนื่ อ ง ส ง ผลให ผูใ ช ง านขาดความรู ความเข า ใจในการใช ง านระบบ สารสนเทศ นอกจากนี้ เ มื่ อ พิ จ ารณาด า นนั ก วิ ชาการคอมพิ ว เตอร พบวา อั ตรากํ าลั ง ของบุ คลากรด า น เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารจํ านวนจํากัดไมเ พียงพอตอ การปฏิบัติง าน เนื่อ งมาจากการจํากัด กรอบอัตรากําลังบุคลากรภาครัฐ จึงทําใหไมสามารถดูแลระบบสารสนเทศที่มีอยูไดอยางทั่วถึง ตลอดจนไมมี การฝ ก อบรมทัก ษะทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแกบุคลากรอยางตอ เนื่อ ง เป น เหตุ ใ ห บุ ค ลากรไม ส ามารถก า วทันตามเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว 2.2.2 ผลการวิเคราะหโอกาสและอุปสรรค จากการศึ ก ษาวิ เ คราะห ส ภาพแวดล อ มภายนอกของกระทรวงยุ ติ ธ รรม สามารถ สรุ ป โอกาส (Opportunities) และอุ ป สรรค (Threats) ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กระทรวงยุติธรรม เปน 4 ดาน ไดแก ดานขอมูลและระบบสารสนเทศ ดานอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบ เครือขาย ดานบุคลากร ดานนโยบายและการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ ดานบุคลากร โดยแตล ะดานมีโ อกาสและอุ ป สรรค ดัง นี้ ตาราง 2.5 สรุปโอกาสและอุปสรรคดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โอกาส อุปสรรค ปจจัยวิเคราะห (Opportunities) (Threats) ดานขอมูลและระบบสารสนเทศ - เทคโนโลยีดาน ICT มีการ - ระบบสารสนเทศทีพ่ ัฒนาโดย พัฒนาตอเนื่องทําใหมี สวนราชการกลางภาครัฐไม ทางเลือกในการนํามาใช สามารถรองรับความตองการ ใชงานของสวนราชการได - ภาครัฐมีนโยบายมุงเนนเปน ทั่วถึง สวนราชการอิเล็กทรอนิกส (e-Government) - ในปจจุบันมีภัยคุมคามตอ สารสนเทศจากภายนอก - การพัฒนาดานเทคโนโลยี เพิ่มขึ้น อาทิ ไวรัส และการ ระบบการสื่อสารแบบไรสาย โจมตีจากภายนอกเพื่อดึงขอมูล เปนการเพิม่ ชองทางในการเขาถึง จากองคกร ขอมูลขาวสาร และการใชงาน ระบบสารสนเทศขององคกรได - การใชขอมูลมีความหลากหลาย ทุกที่ทุกเวลา มากขึ้น ทั้งแบบมีโครงสราง และไมมโี ครงสราง อาทิ Big Data ทําใหเกิดปญหาในการวิเคราะห ขอมูลสารสนเทศที่มีรูปแบบ โครงสรางที่หลากหลาย หนา 2-19


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.5 สรุปโอกาสและอุปสรรค ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) โอกาส อุปสรรค ปจจัยวิเคราะห (Opportunities) (Threats) ดานอุปกรณคอมพิวเตอรและ - ภาครัฐมีการพัฒนาโครงสราง - การบริหารจัดการระบบ ระบบเครือขาย พื้นฐาน ICT ที่เปนอินเทอรเน็ต เครือขายของสวนราชการใน ความเร็วสูงหรือการสื่อสาร ศูนยราชการขึ้นอยูกับผูให รูปแบบที่เปน Broadband ให บริการภายนอก มีความทันสมัย มั่นคงปลอดภัย - สวนราชการจําเปนตองพัฒนา และครอบคลุ ม อย า งมี โปรแกรมคอมพิวเตอร ให ประสิ ท ธิ ภ าพ รองรับการใชงานเทคโนโลยี IPV6 ดานนโยบายและการบริหาร - แนวโนมการเคลื่อนยาย - นโยบายการจํากัดอัตรากําลัง จัดการดานเทคโนโลยี แรงงานและอาชีพของประเทศ ของสวนราชการภาครัฐ สารสนเทศและการสื่อสาร ใน AEC - กฎระเบี ย บทางราชการ ด า นการจั ด ซื้ อ จั ด จ า ง - มีกรอบนโยบาย และแผน แมบท ICT ของประเทศ - การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลทําให การพัฒนาไมตอเนื่อง - มีกฎหมาย แนวนโยบาย และ แนวปฏิบัติดาน ICT ของ - การเปลี่ยนแปลงนโยบายของ ประเทศ ผูบริหาร ทําใหการพัฒนาไม ตอเนื่อง - มีแผนแมบท ASEAN - มีแนวนโยบายและแนวปฏิบัติ ในการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยดานสารสนเทศของ สวนราชการภาครัฐ ดานบุคลากร - ประชาชนมีความสามารถและ - ทัศนคติเชิงลบตอการใชงาน คุนเคยกับการใชงานระบบ ระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้น อินเทอรเน็ต และ Social ใหม Media ซึ่งอาจมีการปรับเปลี่ยน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน สงผล - มีการกําหนดความกาวหนาใน ใหเกิดความยุงยากในการใช สายอาชีพ ICT (Career Path) งานในชวงแรก ภาครัฐ - คาตอบแทนและสิ่งจูงใจ บุคลากรดาน ICT ของภาครัฐ นอยกวาในภาคเอกชนทําให บุคลากรสนใจเขาทํางานใน ภาคเอกชนมากกวา - การจํากัดกรอบอัตรากําลัง บุคลากรภาครัฐ หนา 2-20


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.2.2.1 โอกาส-อุปสรรคดานขอมูลและระบบสารสนเทศ 1) โอกาสดานขอมูลและระบบสารสนเทศ เนื่อ งจากภาครัฐมีนโยบายมุง ใหเ ปนสวนราชการรัฐบาลอิเ ล็ก ทรอนิก ส และเทคโนโลยีดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสารมีก ารพัฒ นาเปนเทคโนโลยีใหมทํ าให กระทรวง ยุติธรรมมีทางเลือกมากยิ่งขึ้นในการนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน รวมไปถึงการพัฒนา ระบบ การสื่อสารแบบไร ส ายเพื ่ อ เพิ ่ ม ชอ งทางในการเขา ถึง ขอ มูล ขา วสาร และการใช ง านระบบ สารสนเทศขององคกรไดทุกที่ทุกเวลา ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนปจจัยภายนอกที่สนับสนุนใหเกิดแรงผลักดันการใช งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2) อุปสรรคดานขอมูลและระบบสารสนเทศ เนื่องจากกระทรวงยุติธรรมเปนสวนราชการภาครัฐ จึงจําเปนตองใชงาน ระบบสารสนเทศที่พัฒนาโดยสวนราชการกลาง อาทิ ระบบ GF-MIS และระบบ DPIS ซึ่งสงผลใหไมสามารถ รองรับความต องการใชงานของสวนราชการไดครบถวน อีกทั้งกระทรวงยุ ติธรรมยั งมีอุ ปสรรคในสวนของ ภัยคุก คามตอ สารสนเทศจากภายนอก อาทิ ไวรัส หรือ ผูไมป ระสงคดีภ ายนอก ซึ่ง สิ่ง เหลานี้เ ปนปจ จั ย ภายนอกที่เปนอุปสรรคทําใหก ารพัฒ นาระบบสารสนเทศของกระทรวงยุติธรรมไมส ามารถใชขอ มูล เพื่อ สนับ สนุนการปฏิบัติง านไดเ ทา ที่ควร อันสงผลตอความถูกตอ งนาเชื่อ ถือของขอ มูล และความตอเนื่องใน ระบบตาง ๆ นอกจากนั้นการใชขอ มูลมีความหลากหลายมากขึ้ น ทั้ งแบบมีโ ครงสร าง และไม มีโครงสราง อาทิ Big Data ทําใหเกิดปญหาในการวิเคราะหขอมูลสารสนเทศที่มีรูปแบบโครงสรางที่หลากหลาย 2.2.2.2 โอกาส-อุปสรรคดานอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย 1) โอกาสดานอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย เนื่ อ งจากรั ฐบาลมี นโยบายสง เสริม และผลั ก ดั นการพั ฒ นาโครงสรา ง พื้นฐานการสื่ อ สารความเร็ วสู งและครอบคลุมไปยั งสวนภูมิภาค ซึ่ งในอนาคตจะชวยใหก ารพัฒ นาระบบ สารสนเทศและระบบสื่อสารตาง ๆ ที่ใชงานผานระบบเครือขายในสวนภูมิภาคสะดวกขึ้น 2) อุปสรรคดานอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย อุป กรณ คอมพิวเตอรและเครือ ขายที่ไมร องรับ กับ เทคโนโลยีใหม อาทิ IPv6 ดังนั้นเนื่องจากการปรับเปลี่ยนใหเปนไปตามมาตรฐาน IPv6 นั้นกระทรวงยุติธรรมตองปรับปรุง จัดหา อุปกรณ และพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรบ างสวนเพื่อ ใหร องรับ เปนไปตามมาตรฐานซึ่ง อาจมีปญ หาใน เรื่องของการของบประมาณ เนื่องจากตองปรับเปลี่ยนอุปกรณเครือขายและระบบสารสนเทศจํานวนมาก 2.2.2.3 โอกาส-อุปสรรคดานนโยบาย และการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 1) โอกาสดานนโยบายและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร เนื่องดวยภาครัฐมีกรอบนโยบาย แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารของประเทศ กฎหมาย แนวนโยบาย แนวปฏิบัติดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แนวนโยบาย และแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศของสวนราชการภาครัฐที่ชัดเจน รวมทั้ง ในระดับ ภูมิภาคยังมีการจัดทําแผนแมบท ICT ASEAN (AIMS2015) ซึ่งแนวทางและนโยบายการพัฒนา เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารเหล านี้ถือ เปนปจ จัยภายนอกที่ก ระทรวงยุติธรรม สามารถนํ า มา

หนา 2-21


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ประกอบการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีทิศทางในการบริหารจัดการองคกรที่ ชัดเจน และสอดคลองนโยบายของภาครัฐ 2) อุปสรรคดานนโยบายและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ภาครั ฐไมมี นโยบายการเพิ่ ม อัตรากํา ลัง ดา นบุคลากรของส วนราชการ ภาครัฐทําใหบุคลากรที่ปฏิบัติงานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศไมเพียงพอตอการปฏิบัติงาน สงผลใหการ ใหบริการและการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไมตอเนื่อง รวมถึงกฎระเบียบและ กระบวนการด านการจั ดซื้ อ จั ดจ างภาครัฐมีความลาชา ทําใหไมทันตอ เทคโนโลยีที่เ ปลี่ยนแปลงไปอยาง รวดเร็ว ทําใหการพัฒนาของเทคโนโลยีลาสมัย และไมทันตอการใชงาน 2.2.2.4 โอกาส-อุปสรรคดานบุคลากร 1) โอกาสดานบุคลากร ปจจุบันประชาชนมีความสามารถและคุนเคยกับการใชงาน Social Media และอิ น เทอร เ น็ ต ซึ่ ง นั บ เป น โอกาสที่จะทําใหสวนราชการมีชองทางในการเขาถึงประชาชนเพื่ อ การ สื่ อ สารและเพื ่ อ สนั บ สนุ น การปฏิ บ ั ติ ง านสว นราชการต า ง ๆ ของกระทรวงยุติธ รรมไดด ียิ่ง ขึ ้น นอกจากนั้นภาครัฐอยูระหวางการพัฒนาและกําหนดรายละเอียดความกาวหนาในสายอาชีพดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Career Path) ทําใหสวนราชการตองมีการผลักดันในเรื่องของการพัฒนา บุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ใหสอดคลองกับทิศทางที่ทางภาครัฐกําหนด และแผนแมบท ICT ASEAN มีการกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาทุนมนุษยจึงเปนโอกาสที่ดีที่กระทรวงยุติธรรม จะนําแนวทาง การพั ฒ นาทุ น มนุ ษ ย จากแผนแมบท ICT ASEAN มาเปนแนวทางในการพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม 2) อุปสรรคดานบุคลากร บุคลากรมีทัศนคติเชิงลบตอการใชงานระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นใหม เมื่อ มีการปรับเปลี่ยนขั้นตอนการปฏิบัติงานในช วงแรก อีกทั้งคาตอบแทนและสิ่งจูงใจบุคลากรดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการภาครัฐเปนขอจํากัดเมื่อเปรียบเทียบกับคาตอบแทนและสิ่งจูงใจ บุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่สูงกวาในภาคเอกชนทําใหไมสามารถชักจูงบุคลากรที่มี ทักษะความรูความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเขามาปฏิบัติงานในสวนราชการภาครัฐ และสงผลกระทบตอเนื่องไปถึงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสวนราชการภาครัฐเคลื่อนตัวได ชากวาภาคเอกชน จากข อ มู ล ข า งต น เมื ่ อ พิ จ ารณาถึง ปจ จัย ภายในกระทรวงยุติธ รรม จะพบวา ผูบ ริห ารของ กระทรวงยุติธรรมเล็ง เห็นและใหความสําคั ญ ในการสนับ สนุน การพัฒ นาระบบสารสนเทศ จึงกอใหเกิด ระบบสารสนเทศที่ส นับ สนุนการปฏิบัติง านตามภารกิ จ หน าที่ ของสวนงานราชการ แต ท วายัง คงมีร ะบบ สารสนเทศบางระบบที่ไ มครอบคลุม บางภารกิจ งานซึ่ง อาจสืบ เนื่อ งจากขอ จํากัด ดานงบประมาณและ ความจําเปนในการจัดลําดับ ความสําคัญ เรง ดวน นอกเหนือ จากนั้นกระทรวงยุติธรรมจําเปนตอ งใชง าน ระบบสารสนเทศที่พัฒ นาโดยสวนราชการกลางภาครัฐ อาทิ ระบบ GF-MIS และระบบ DPIS ซึ่งสงผลให ระบบสารสนเทศนั้น ๆ อาจไมสามารถรองรับความตองการใชงานของสวนราชการไดครบถวน นอกเหนือจากนั้นกระทรวงยุติธรรมมีจุดออนหลักดานสภาพการดําเนินโครงการตาง ๆ ไมตรงตาม เปาหมายที่กําหนด การพัฒนาระบบมีความซ้ําซอนกัน และดานระบบคอมพิวเตอรและเครือขายกระทรวง หนา 2-22


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ยุติธรรมเปนส วนราชการที่ มี ความพร อ มของระบบสนับ สนุน ภายในหอ ง Data Center แตหอ ง Data Center บางส วนไมร องรั บ การเพิ่ ม จํา นวนของอุ ป กรณ ภ ายในห อ ง รวมถึ ง หลายส ว นราชการไม มี ศู น ย ป ฏิ บั ติ ก ารสํา รอง (Disaster Recovery Site: DR Site) และระบบ VDO Conference ใน การปฏิบัติงาน เมื่อพิจารณาถึงปจจัยจากภายนอกกระทรวงยุติธรรม จะพบวารัฐบาลมีแนวนโยบายที่มุงเนนใหเปน สวนราชการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส นําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาสนับสนุนการปฏิบัติงานตาม ภารกิจอยางครอบคลุม และมีนโยบายมุงเนนและใหความสําคัญในเรื่องของความปลอดภัยเปนหลัก ตลอดจน การเฝาระวังภัยคุกคามตอระบบสารสนเทศจากภายนอก อาทิ ไวรัสหรือผูไมประสงคดี นอกจากนี้ยังสงเสริม และพัฒนาการให บ ริ ก ารอิเล็กทรอนิกสแบบไรสาย เพื่อเปนการสรางชองทางในการเขาถึงข อ มู ล ข า วสาร และการใช ง านระบบสารสนเทศขององค ก รได ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา อย า งไรก็ ต ามกระทรวงยุ ติ ธ รรม มี อ ุ ป สรรคจากปจจัยภายนอกดานการขาดอั ตรากําลัง ดาน บุคลากร เนื่องจากคาตอบแทนและสิ่งจูงใจบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของภาครัฐต่ํา กวาภาคเอกชนทําใหบุคลากรสนใจเขาทํางานในภาคเอกชนมากกวาสงผลใหมีการเปลี่ยนบุคลากรบอยครั้ง ดังนั้นในอนาคตเมื่อรัฐบาลดําเนินการกําหนดรายละเอียดความกาวหนาในสายอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT Career Path) จึงอาจใชเปนแรงผลักดันใหบุคลากรมีความเชื่อมั่นในสายอาชีพตอไป และความก าวหนาของเทคโนโลยีในปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทําใหกระทรวงยุติธรรมตอ ง เปลี่ยนแปลงระบบคอมพิวเตอรและเครือขายที่ทันสมัยเพื่อรองรับการปฏิบัติงานของเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งจะสงผลกระทบถึงงบประมาณที่ใชในการปรับปรุง

2.3 ความตองการดานการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ความตอ งการด านการใชงานเทคโนโลยี และการสื่ อ สารของกระทรวงยุ ติธรรมได จากดําเนินการ รวบรวมจากการเขาสํารวจ การสัมภาษณผูบริหารระดับสูง การประชุมระดมความคิดของสวนราชการในสังกัด กระทรวงส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม และการสั ม ภาษณ ส ถานภาพและความต อ งการ ด า นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานยุติธรรมจังหวัด สามารถสรุปไดเปน 4 ดาน ดังตาราง 2.6 ตาราง 2.6 ตารางสรุปความตองการดานการใชงานเทคโนโลยีและการสื่อสาร ดาน รายละเอียดของความตองการ 1) ดานโครงสรางพื้นฐาน ระบบคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง เทคโนโลยีและการสื่อสาร - อุปกรณคอมพิวเตอรทสี่ ามารถสนับสนุนระบบสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงานอยาง รวดเร็ว ทันสมัย มีประสิทธิภาพ มีเสถียรภาพ และเพียงพอตอการใชงาน - อุปกรณสนับสนุนการปฏิบัติงานนอกสถานที่ อาทิ คอมพิวเตอรแบบพกพา - ปรับปรุงและการขยายพื้นที่หอง Data Center - ตองการเครื่องจายกระแสไฟฟาสํารองในกรณี o ตองการระบบสํารองขอมูลนอกสวนราชการ o ตองการ DR Site กรณีที่เกิดเหตุภัยพิบัติ ระบบเครือขายและการสื่อสาร - ตองการทดแทนอุปกรณเครือขายที่มีอายุการใชงานมาเปนเวลานาน หนา 2-23


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.6 ตารางสรุปความตองการดานเทคโนโลยีและการสื่อสาร (ตอ) ดาน 1) ดานโครงสราง พื้นฐานเทคโนโลยีและ การสื่อสาร (ตอ)

2) ดานระบบสารสนเทศ และดานขอมูล

รายละเอียดของความตองการ - ตองการเครื่องมือหรืออุปกรณที่ชวยเพิ่มความมั่นคงปลอดภัยภายในระบบ เครือขาย - ตองการระบบเครือขายรองรับงานภูมิภาค - ตองการเพิ่มความเร็วระบบอินเทอรเน็ต - ตองการระบบเครือขายสํารอง - ตองการมีระบบเครือขายแยกเปนของแตละสวนราชการ - ตอ งการความมั ่น คงปลอดภัย ของขอ มูล การรับ รองความถูก ตอ งและ ความนาเชื่อถือของขอมูล - ตองการระบบ VDO Conference ให ครอบคลุม สวนราชการในสังกั ด และสวนราชการตางจังหวัด - ปรับปรุงระบบสารสนเทศในปจ จุบัน ใหส อดคลอ งกับ สภาพการใชง าน และความตองการของผูใชงาน - ขยายการใช ง านระบบสู ส วนราชการที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่ อ เป น การอํา นวย ความสะดวกและให บ ริ ก ารอยางทั่วถึง อาทิ สํานักงานยุติธรรมจังหวัด - ความตองการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยแบงตามความตองการใชงาน 5 กลุมระบบหลัก คือ ระบบบริหารจัดการภายใน (Back Office) o ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ระบบบริการรวม (Common Service) o ระบบการเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Learning) o ระบบบริหารจัดการองคความรู ระบบสารสนเทศสําหรับสนับสนุนการปฏิบัติงานหลัก o ระบบจัดเก็บเอกสาร อาทิ สํานวนคดี ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ และการบริหารจัดการ o ระบบขอมูลสรุปผูบริหาร o ระบบงานการบริหารยุทธศาสตรระดับกระทรวง ระบบเฉพาะทาง o ระบบ Geographic Information System (GIS) - ระบบสารสนเทศบนอุปกรณที่รองรับการปฏิบัติงานนอกพื้นที่ - พัฒนาสื่อสังคมออนไลนเพื่อการสรา งความสัม พัน ธก ารประชาสัม พัน ธ และการประสานงานกระทรวงยุติธรรม ความตองการใชงานขอมูลจากสวนราชการในสังกัดกระทรวงสวนราชการ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม - ข อ มู ล คดี ย าเสพติ ด - ข อ มู ล ผู ต อ งขั ง คดี เ ด็ ก - ข อ มู ล ประวั ติ ผู ต อ งขั ง หนา 2-24


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.6 ตารางสรุปความตองการดานเทคโนโลยีและการสื่อสาร (ตอ) ดาน รายละเอียดของความตองการ 2) ดานระบบสารสนเทศ ความตองการใชงานขอมูลจากสวนราชการภายนอก และดานขอมูล (ตอ) - ขอ มูล ทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง ตอ งการใหขอ มูล สําหรับ การสนับสนุนการปฏิบัติงานรวดเร็ว ถูกตอง และทันเวลา - ตองการใหมีการแยกความแตกตางของการทํางานเชิงคุณภาพ และคุณภาพ ของข อ มู ล ให ชั ด เจน 3) ดานบุคลากรและ ดานบุคลากร การฝกอบรม - ตองการอัตรากํา ลัง เพิ่ม เติม เพื่อ ใหส อดคลอ งการปฏิบัติง านของแตล ะ สวนราชการ ดานการฝกอบรม - ฝกอบรมการใชงานระบบสารสนเทศแกบุคลากรในสวนราชการเพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการปฏิบัติงาน - ปรั บ ปรุ ง ความรู พื้ นฐานของผู ใ ช ง านเพื่ อ ให ส ามารถบริ ห ารจั ด การทาง ดานเทคโนโลยีสารสนเทศดวยตนเอง - พั ฒ นาบุ ค ลากรในด า นการใช ง านระบบคอมพิ ว เตอร เ พื่ อ ตอบสนอง ความกาวหนาของเทคโนโลยีอยางทันทวงที - จัดสรรงบประมาณในการฝกอบรมบุคลากรใหเพียงพอและครบถวนตาม อั ตรากํ าลั งของส วนราชการที่ ตองการบุ คลากรที่ มี ทักษะด านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 4) ดานการบริหารจัดการ - การบริ ห ารจั ด การสิ ท ธิ์ ก ารเข า ถึ ง ระบบสารสนเทศและข อ มู ล เทคโนโลยีสารสนเทศ อย า งเหมาะสม และการสื่อสาร - การจัดการการบํารุงรักษาระบบที่ครอบคลุมเหมาะสม - มีการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ อาทิ การกําหนดสิทธิ์ การเขาถึงของฐานขอมูล ระบบสํารองขอมูล (Backup Site) - การใชโปรแกรมสําเร็จรูปถูกลิขสิทธิ์ - การบริหารจัดการความตองการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ อาทิ o ประสานความรวมมือระหวางสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อกําหนดวัตถุประสงคและประโยชนการใชงานระบบสารสนเทศที่ ใชงานรวมกันไดอยางชัดเจน o การเก็บ รวบรวมความต อ งการที่ครอบคลุม เพื่อ ให ร ะบบที่จ ะทํ า การพัฒนาขึ้นไมซ้ําซอนกัน - มีการสนับสนุนดานตาง ๆ แกผูใชงาน อาทิ o ขั้นตอนการแกไขปญหาพื้นฐาน และมาตรการใชงานระบบสารสนเทศ o วิธีการจัดการและแกไขปญหาพื้นฐาน

หนา 2-25


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.4 การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis)

การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) มีวัตถุประสงคเพื่อใหทราบถึงชอ งวางทางดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สารของกระทรวงยุ ติ ธรรมเปรียบเทียบกับ เปาหมายและความต อ งการทางด า น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อชี้ใหเห็นถึงสิ่งที่ควรดําเนินการปรับปรุงและกําหนดแนวทางการ ปรับปรุงดวยการจั ดกิจกรรม ซึ่งกิจ กรรมดังกลาวจะถูกเลือกจากกิจกรรมที่ยังไมบรรลุเ ปาหมายหรือยังไม ตอบสนองเปาหมายขององคกร เพื่อปดชองวางและเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานใหนําไปสูเปาหมายที่ วางไว

2.4.1 เปาหมายและความตองการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จากการวิเคราะหปญหาและความตองการในระดับตาง ๆ ไดแก ระดับผูบริหารของกระทรวง ยุติธรรม ระดับสวนราชการในสังกัดกระทรวง และระดับปฏิบัติการทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร พบวากระทรวงยุติธรรมมีเปาหมายการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบ ไปดวย 4 ดาน ไดแก • เปรียบเทียบเปาหมายที่เกี่ยวของกับดานการสรางนวัตกรรม • เปรียบเทียบเปาหมายที่เกี่ยวของกับดานครอบคลุมการปฏิบัติงาน • เปรียบเทียบเปาหมายที่เกี่ยวของกับดานการบูรณาการ • เปรียบเทียบเปาหมายที่เกี่ยวของกับดานการพัฒนาอยางตอเนื่อง และเมื่อวิเคราะหสถานภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปรียบเทียบกับเปาหมายและ ความตองการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของกระทรวงยุติธรรม สามารถสรุปชองวาง กิจกรรมที่ ตองดําเนินการเพื่อลดชองวาง และเทคโนโลยีที่สามารถนํามาสนับสนุน สามารถสรุปไดดังตาราง 2.7 ตาราง 2.7 การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) เปาหมาย สถานภาพองคประกอบ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

การสรางนวัตกรรม

ระบบสารสนเทศ - ขาดการพัฒนาและ ประยุกตใชนวัตกรรม

กิจกรรมที่ตองดําเนินการ

ระบบสารสนเทศ - ปรับปรุงกระบวนการ ปฏิบัติงานใหเหมาะสมกับ นวัตกรรม - ศึกษา วิจัย และ พัฒนาการประยุกตใช นวัตกรรม ระบบโครงสรางพื้นฐาน ระบบโครงสรางพื้นฐาน - ระบบโครงสรางพื้นฐานไม - เพิ่มประสิทธิภาพระบบ รองรับการพัฒนา เครือขายโครงสราง นวัตกรรมในอนาคต พื้นฐานใหรองรับ นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น - ขาดระบบ VDO Conference เพื่อการ ติดตอสื่อสารทั้งภายใน

เทคโนโลยีที่สนับสนุน -

Fingerprint Electronic Monitoring (EM) Mobile Application Business Intelligence (BI) Hybrid IT Cloud Computing Business Process Management (BPM)

หนา 2-26


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.7 การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) (ตอ) เปาหมาย สถานภาพองคประกอบ กิจกรรมที่ตองดําเนินการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร การสรางนวัตกรรม (ตอ)

ครอบคลุมการปฏิบัติงาน

สวนราชการกลางและสวน ภูมิภาค ขาดระบบ Unified Communications (UC) เพื่อใชงานระบบ สารสนเทศรวมกัน

อาทิ การรักษาความ ปลอดภัย การสํารอง ขอมูล ฯลฯ - จัดหา และติดตั้งระบบ VDO Conference ให ครอบคลุมสวนราชการ กลางและสวนภูมิภาค - จัดหา และพัฒนาระบบ Unified Communications (UC) เพื่อใชงานรวมกัน กับระบบสารสนเทศใน สวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม การบริหารจัดการ ICT การบริหารจัดการ ICT - บุคลากรไมใชงานระบบ - สงเสริมและผลักดันการ สารสนเทศที่มีอยูใน พัฒนานวัตกรรมใหมีการ ปจจุบัน ใชงาน ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ - ระบบสารสนเทศปจจุบัน - พัฒนาระบบ Common ไมครอบคลุมตามภารกิจ Service ใหครอบคลุมการ หนาที่หลัก ปฏิบัติงานทีมีขั้นตอนการ ปฏิบัติงานเหมือนกัน อาทิ - ระบบสารสนเทศไม ระบบพัสดุฯ ระบบสาร ตอบสนองตอการ บรรณอิเล็กทรอนิกส เปน ปฏิบัติงานขององคกร ตน เพื่อใหบริการสวน - มี Common Service ราชการในสังกัดกระทรวง เพียงบางสวน เชน KM ยุติธรรม e-Learning และ ฐานขอมูลกฎหมาย แตยัง - ขยายผลระบบ Common Service เดิมใหรองรับการ ไมมีการใหบริการแกสวน ใชงานของสวนราชการใน ราชการในสังกัดกระทรวง สังกัดกระทรวงยุติธรรม ยุติธรรมไดอยางทั่วถึง ระบบโครงสรางพื้นฐาน ระบบโครงสรางพื้นฐาน - ขยายเครือขาย และ - อุปกรณเครือขายมีความ พัฒนาการเชื่อมโยง ลาสมัย สงผลกับความ เครือขายใหเปนมาตรฐาน มั่นคงปลอดภัยของระบบ เดียวกัน เพื่อรองรับการใช เครือขาย งานทั้งสวนราชการกลาง และสวนภูมิภาค

เทคโนโลยีที่สนับสนุน -

-

-

ระบบจัดการงาน (Task Management) และ ระบบจัดการเอกสาร (Document Management) Enterprise Architecture (EA) Hybrid IT Cloud Computing

หนา 2-27


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.7 การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) (ตอ) เปาหมาย สถานภาพองคประกอบ กิจกรรมที่ตองดําเนินการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ครอบคลุมการปฏิบัติงาน (ตอ)

การบูรณาการขอมูล และ การบริการสารสนเทศ

-

การเชื่อมโยงเครือขาย ความเร็วสูงไมครอบคลุม สวนราชการกลางและสวน ภูมิภาค

-

พัฒนาการเชื่อมโยง เครือขายความเร็วสูงให ครอบคลุมทั้งสวนราชการ กลางและสวนภูมิภาค - ปรับปรุงระบบเครือขายให มีประสิทธิภาพรองรับ IPv6 การบริหารจัดการ ICT การบริหารจัดการ ICT - จัดทําสถาปตยกรรม องคกร (EA) ของ กระทรวงยุติธรรม เพื่อวาง แผนการพัฒนาระบบ สารสนเทศใหครอบคลุม ภารกิจกระทรวงยุติธรรม - พัฒนาทักษะบุคลากร ทั้ง ผูใชงานและผูดูแลระบบ ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ - มีการบูรณาการขอมูลบาง - พัฒนาระบบศูนยกลาง สวนบนระบบ DXC ขอมูล และระบบ ศูนยกลางบริการ - ไมมีศูนยกลางบริการ อิเล็กทรอนิกสของ อิเล็กทรอนิกส กระทรวงยุติธรรมให - ไมมีระบบสารสนเทศ สามารถรองรับการใชงาน เชิงกลยุทธระดับกระทรวง ระบบสารสนเทศของ กระทรวงยุติธรรมไดจาก จุดเดียว - พัฒนาการบูรณาการ ขอมูลสารสนเทศเชิง กลยุทธ อาทิ ระบบการ วิเคราะหขอมูลเชิงสถิติ สําหรับผูบริหาร ระบบโครงสรางพื้นฐาน ระบบโครงสรางพื้นฐาน - เพิ่มประสิทธิภาพเรื่อง ความครอบคลุมการ ปฏิบัติงานและความ ปลอดภัย - จัดทําศูนยปฏิบัติงาน คอมพิวเตอรกลางสวน

เทคโนโลยีที่สนับสนุน -

-

MOJ Portal System Enterprise Architecture (EA) Business Intelligence (BI) Hybrid IT Cloud Computing

หนา 2-28


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.7 การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) (ตอ) เปาหมาย สถานภาพองคประกอบ กิจกรรมที่ตองดําเนินการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร การบูรณาการ (ตอ)

การบริหารจัดการ ICT การพัฒนาอยางตอเนื่อง

ระบบสารสนเทศ ระบบโครงสรางพื้นฐาน การบริหารจัดการ ICT - สวนราชการสวนใหญไมมี การบริหารจัดการระบบ สารสนเทศตาม มาตรฐานสากล - ขอจํากัดทางดาน งบประมาณการ บํารุงรักษา - การแลกเปลี่ยน ประสบการณ และการ ประสานงานระหวางสวน ราชการไมทั่วถึง

เทคโนโลยีที่สนับสนุน

ราชการในสังกัดกระทรวง ยุติธรรม (Colocation Data Center) - จัดทําศูนยปฏิบัติงาน สํารองกลางกระทรวง ยุติธรรม (DR Site) การบริหารจัดการ ICT - จัดทําสถาปตยกรรม องคกร (Enterprise Architecture) ระบบสารสนเทศ ระบบโครงสรางพื้นฐาน การบริหารจัดการ ICT - กําหนดกรอบการพัฒนา แผนแมบทดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร - ประยุกตใชกระบวนการ ดานระบบบริหารจัดการ การใหบริการกระทรวง ยุติธรรม อาทิ ITSM และ ISMS ใหเปนมาตรฐานสากล - จัดทําแผนการประสาน ความสัมพันธบุคลากร จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน ประสบการณ และ เผยแพรความรูดาน เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารทั้งในและ ตางประเทศ

หนา 2-29


บทที่ 2 บทวิ เ คราะห ส ถานภาพการใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม ในบทนี้ จ ะกล าวถึ ง บทศึ ก ษา วิ เ คราะหส ถานภาพดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร ในปจ จุบันของกระทรวงยุติธรรม ทั้งสภาพแวดล อ มภายในและสภาพแวดล อ มภายนอก บทสรุป การ วิเ คราะหส ถานภาพขององค ป ระกอบและปจ จัย ตา ง ๆ อาทิ จุด แข็ง จุด ออ น โอกาส และอุป สรรค จากเทคนิค SWOT Analysis และแนวโนม ของเทคโนโลยีที่ส ามารถนํา มาประยุก ตใ ชเ พื่อ เพิ่ม ประ สิท ธิภ าพข อง กา รปฏิ บ ั ต ิ ง า นภา ยใ นก ร ะ ท ร ว ง ยุ ต ิ ธ ร ร ม ร วม ถึ ง บ ท วิ เ ค ร า ะ ห ช  อ ง ว า ง (Gap Analysis) ซึ่ ง ถื อ เปน ส ว นหนึ่ ง ของการจั ด ทํา แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร ของกระทรวงยุ ติ ธ รรม สามารถสรุ ป รายละเอี ย ด ได ดั ง นี้

2.1 สรุปผลการวิเคราะหสถานภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

การศึก ษาวิเ คราะหสถานภาพดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารในป จจุ บันของกระทรวง ยุติธรรม เปนสวนหนึ่งของการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม ซึ่งศึกษาวิเคราะหสถานภาพขององคประกอบและปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกระทรวงยุ ติ ธ รรม ทั้ ง จากสภาพแวดล อ มภายในและจากสภาพแวดล อ มภายนอก ซึ่ ง สามารถ สรุปสถานภาพและความตองการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงยุติธรรมได 3 ดานหลัก ได แ ก ใช ง านระบบสารสนเทศ ระบบเครื อ ข า ยและระบบศู น ย ค อมพิ ว เตอร และการบริ ห ารจั ด การ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยมีสรุปผลการวิเคราะหสถานภาพฯ ดังนี้ 2.1.1 ผลการศึกษาและการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน การศึ ก ษาวิเ คราะหส ถานภาพด านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารในป จ จุ บั นของ กระทรวงยุติธรรม เปนสวนหนึ่งของการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง ยุติธรรม ซึ่งศึก ษาวิเคราะหสถานภาพขององคป ระกอบและปจจัยตาง ๆ ที่มีผ ลตอ การพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศของกระทรวงยุติธรรม จากสภาพแวดลอมภายในทําใหสามารถสรุปสถานภาพและความตองการ ดานเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารกระทรวงยุ ติ ธรรมได 3 ดา น คือ ใช ง านระบบสารสนเทศ ระบบเครือขายและระบบศูนยคอมพิวเตอร และการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยมีรายละเอียดดังนี้

หนา 2-1


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.1.1.1 สภาพการใชงานระบบสารสนเทศ จากการศึกษาวิเคราะหสถานภาพการใชงานระบบสารสนเทศ ดวยวิธีการวิเคราะห หวงโซคุณคา (Value Chain) ซึ่งจะชวยในการทําความเขาใจถึงบทบาทของแตละสวนราชการ โดยคุณคาที่ สวนราชการสรางขึ้นสามารถวัดไดโดยการพิจารณาถึงการบรรลุภารกิจหนาที่ของสวนราชการ โดยแนวคิดนี้ แบงกิจกรรมภายในองคกร เปน 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมหลัก (Primary Activities) และกิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) หลัง จากศึก ษาลัก ษณะการทํ างานของสวนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรม สามารถระบุลักษณะการปฏิบัติงานลงในกิจกรรมของหวงโซคุณคาได รายละเอียด ดังภาพ 2.1

ภาพ 2.1 สภาพการใชงานระบบสารสนเทศ จากภาพ 2.1 จะเห็น ไดวา สวนราชการในสั ง กัดกระทรวงยุติธ รรม มีร ะบบ สารสนเทศสนับสนุนการปฏิบัติงานทั้งกลุมงานหลักและกลุม งานสนับสนุน โดยจะมีระบบสารสนเทศสนับสนุน บางสวนในงานดานการอํานวยการและบริหารงานทั่วไป การบริหารการคลัง การบริหารระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร รวมถึ งการพั ฒนากฎหมายดานการปราบปรามและบังคั บใช กฎหมาย แต ทวา ในสวนการปฏิบั ติงานดานการสมานฉั นท ไกลเ กลี่ยขอพิพ าท การพัฒนากฎหมายดานการปองกัน รวมถึ ง การพัฒนากฎหมายด านการบํ าบัด แก ไข และฟนฟู พบวามีร ะบบสารสนเทศรองรับ การปฏิบัติง านเพียง บางสวน อาทิ ระบบการจัดการองคความรู (Knowledge Management) ระบบสื่ อการเรี ยนการสอน อิเล็กทรอนิกส (e-Learning) และระบบฐานขอมูลกฎหมาย ประกอบกับกระทรวงยุติธรรมขาดการบูรณาการ เชื่อมโยงขอมูลกับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอก อีกทั้งระบบสารสนเทศมีความซ้ําซอนระหวาง สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม หนา 2-2


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.1.1.2 สถานภาพระบบเครือขาย และระบบศูนยคอมพิวเตอร จากการศึก ษาวิ เคราะหส ถานภาพระบบเครื อขาย และระบบศู นยคอมพิวเตอร รวมทั้ง ป ญ หาและความต อ งการด านระบบเครื อ ข า ย และระบบศู น ยค อมพิ ว เตอร รายละเอี ย ดแสดง ดังภาพ 2.2

ภาพ 2.2 สถานภาพระบบเครือขาย และระบบศูนยคอมพิวเตอร จากภาพ 2.2 พบว าการเชื่อ มต อสวนราชการตาง ๆ ภายในกระทรวงยุ ติธรรม ยังไมครอบคลุมในทุกสวนราชการ จึงไมสามารถที่จะรองรับการพัฒนาระบบสารสนเทศระหวางสวนราชการ ภายในสังกัดกระทรวงยุติธรรมในอนาคต และการเชื่อมตอไปยังสวนราชการตาง ๆ ภายนอกกระทรวงยุติธรรม มีการเชื่อมตอที่ซ้ําซอนกันอยูหลายสวนราชการ อาทิ กรมการปกครอง และสํานักงานตํารวจแหงชาติ หอง Data Center ในปจจุบันของสวนราชการภายในสังกัดกระทรวงพบวา สวนใหญจะมีหอง Data Center เปนของตนเอง มีเพียง 3 สวนราชการที่มีการใชหอง Data Center รวมกับ สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ไดแก กรมคุมประพฤติ กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กรมพินิจและคุมครอง เด็กและเยาวชน ซึ่งอาจมีขอจํากัดในดานความทั่วถึงของระบบดูแลหอง Data Center ซึ่งจะแตกตางจาก สวนราชการที่มีหอง Data Center เปนของตัวเอง สืบเนื่องจากระบบตาง ๆ ภายในหองจะถูกออกแบบมา เพื่อรองรับกับหอง Data Center ของสวนราชการนั้น ๆ โดยเฉพาะ ดังนั้น ควรจะมีการวางแผนในการขยาย หรือจัดหาหอง Data Center เพื่อมารองรับการขยายตัวเพื่อใหหอง Data Center สามารถรองรับปริมาณ ความตองการในภาพรวมของสวนราชการทั้งหมดที่มีการใชงานรวมกันได ในปจจุบันสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมยังไมมีการจัดทําศูนยปฏิบัติงาน สํารอง (DR Site) รวมถึงระบบเครือขายสํารอง จึงทําใหเกิดความเสี่ยงเมื่อเกิดปญหากับระบบเครือขายหรือ ศูนยปฏิบัติงานหลักและสงผลกระทบทําใหระบบสารสนเทศและระบบสื่อสารที่สําคัญขององคกรไมสามารถ หนา 2-3


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ใหบริการได ดังนั้นจึงควรจัดหาระบบเครือขายและศูนยปฏิบัติงานสํารองเพื่อชวยใหระบบสารสนเทศที่สําคัญ ขององคกรสามารถใหบริการไดอยางตอเนื่อง 2.1.1.3

สภาพดานการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในหัวขอ นี้จ ะกลาวถึ ง สถานภาพการบริ ห ารจั ดการการบริ ก ารดานเทคโนโลยี สารสนเทศ และสถานภาพของสวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม 1) สถานภาพการบริหารจัดการดานการบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ จ า ก ก า ร นํ า ISO/IEC2 0 0 0 0 ( Information Technology Service Management : ITSM) มาประเมินสถานภาพดานการบริหารจัดการการบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่ อ นํ าไปสู ก ารปรั บ ปรุ ง การบริ ห ารจั ด การการบริก ารดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศให ดํา เนิ น ไปได อ ย า ง มีประสิทธิภาพ รายละเอียดแสดงดังภาพ 2.3 และภาพ 2.4

ภาพ 2.3 สภาพการบริหารจัดการการบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถจํ า แนกสภาพการบริ ห ารจั ด การการบริ ก ารด า นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารออกเปน 3 ระดับ ดังนี้ - ระดั บ 0 : ไมมี กระบวนการและเอกสารในการบริ หารจัด การการ บริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - ระดับ 1 : มีกระบวนการและเอกสารในการบริหารจัดการการบริการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบางสวน - ระดับ 2 : มีกระบวนการและเอกสารในการบริหารจัดการการบริการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หนา 2-4


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

จากภาพ 2.3 สรุป สถานภาพการบริห ารจัด การบริ ก ารดา นเทคโนโลยี สารสนเทศของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แสดงใหเห็นวาในภาพรวมของสวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับ 1-2 คือ มีกระบวนการและเอกสารในการบริหารจัดการการบริการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบางสวน ซึ่งกระบวนการบริหารจัดการกับผูรับจางพัฒนาระบบ เปนกระบวนการที่ มี ก ารดํ าเนิ นการมากที่สุด กระบวนการบริห ารจัด การเหตุขัด ขอ ง มีก ารดําเนิ นการ เปนลําดับรองลงมา และกระบวนการบริหารจัดการระดับการใหบริการมีการดําเนินการนอยที่สุด กระบวนการที่ ค วรมี ก ารพิ จ ารณาดํ าเนิ นการเพิ่ ม เติ ม คื อ กระบวนการ บริ ห ารจั ด การระดั บ การให บ ริ ก าร กระบวนการบริ ห ารจั ด การป ญ หา กระบวนการบริ ห ารจั ด การ ขีดความสามารถของระบบ กระบวนการบริ ห ารจั ดการการนํ าออกไปใช ง าน เพื่ อ ให มี การบริ ห ารจั ดการ บริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางครอบคลุม และครบวงจร 2) สถานภาพของสวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม สามารถแบงระดับสถานภาพของส วนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมไดเปน 3 ระดับ ดังนี้ - ระดั บ 0 : ไม มี ส ว นราชการด า นการบริ ห ารจั ด การเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารโดยตรง - ระดับ 1 : มีสวนราชการในระดับที่ต่ํากวาศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อ สาร และบุ คลากรที่ รั บ ผิ ดชอบด านการบริ ห ารจั ดการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - ระดั บ 2 : มี ส วนราชการในระดั บ ศู น ย เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สารและมี บุ ค ลากรที่ รั บ ผิ ด ชอบด า นการบริ ห ารจั ด การ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโดยตรง

หนา 2-5


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ภาพ 2.4 สภาพดานการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จากภาพ 2.4 จะเห็นไดวามีการแบงระดับการบริหารจัดการดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารออกเปน 3 ระดับ โดยกรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนเปนสวนราชการเดียวที่อยู ในระดับ 0 ซึ่งอาจสงผลใหมีขอจํากัดดานการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเมื่อเปรียบเทียบกับ สวนราชการที่มีสวนราชการที่รับผิดชอบดานเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับอื่น ๆ สถาบันนิติวิทยาศาสตร สํานักกิจการยุติธรรม กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ และ กรมราชทัณฑ เปนสวนราชการที่มีสถานภาพของสวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในระดับ 1 ดังนั้นจึงสามารถดูแลรับผิดชอบดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได แตเนื่องจากมีขอจํากัด ดานจํ านวนบุคลากร และระดับความชํานาญ จึงเปนการยากที่จะปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก เมื่อเปรียบเที ยบระหว างอั ตราสวนของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและการสื่อสารกับ จํานวนบุคลากรผู ใช งาน และจํานวนสวนราชการในสังกัดที่เปนผูรับบริการ จะเห็นปริมาณงานเปนไปอยาง ไมเหมาะสม 2.1.2 ผลการศึกษาและการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก ในหัวขอนี้กลาวถึง ผลการศึกษาและวิเคราะหสถานภาพแวดลอมภายนอก ซึ่งประกอบดวย นโยบายภาครัฐบาล นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และแนวโนมการพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต (Technology Trend) โดยมีรายละเอียด ดังนี้

หนา 2-6


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

นโยบายภาครัฐบาล 1 ดําเนินการวิ เคราะหและเปรียบเทียบขอ มูลระหวาง นโยบายของรัฐบาล อาทิ นโยบายบริ ห ารราชการแผ น ดิ น (พ.ศ.2555-2558) และแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ (พ.ศ. 2555-2558) กับประเด็นยุทธศาสตรของกระทรวงยุติธรรม เพื่อแสดงใหถึงนโยบายภาครัฐที่เกี่ยวของกับ การปฏิบัติง านของกระทรวงยุ ติธรรม ซึ่ ง สามารถสรุ ป ความสั ม พั นธ ของนโยบายภาครัฐและยุ ท ธศาสตร การปฏิบัติงานของกระทรวงยุติธรรม ดังตาราง 2.1 2.1.2.1

0

ตาราง 2.1 รายละเอียดนโยบายภาครัฐบาลที่มีความสอดคลองกับประเด็นยุทธศาสตรกระทรวงยุติธรรม ดานนโยบาย นโยบายภาครัฐบาล นโยบายบริหารราชการแผนดิน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แผนปฏิบัติราชการ 4 ป กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2555-2558 แหงชาติ ยุทธศาสตรที่ 1: พัฒนาระบบงานยุติธรรมและ การอํานวยความยุติธรรมตาม มาตรฐานสากล

- เรงรัดการพัฒนาประเทศ และ เตรียมความพรอมสูประชาคม อาเซียน

- สรางความสามารถในการแขงขัน โดยพัฒนาโครงขายเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร

- ปองกัน ปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบในภาครัฐ

- สรางโอกาสความเสมอภาคและ เทาเทียมกันทางสังคม โดยสราง ความรวมมือในการปองกันภัยจาก การกอการราย อาชญากรรม ยาเสพติด

- ปองกัน ปราบปราม และ บําบัดรักษาผูติดยาเสพติด ยุทธศาสตรที่ 2: เรงรัดพัฒนาระบบงานยุติธรรมทางเลือก ยุทธศาสตรที่ 3: พัฒนาระบบการจัดการใหเปนองคกรที่มี สมรรถนะ และยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตรที่ 4: - การปฏิรูปกฎหมายและพัฒนา สงเสริมการวิจัยและพัฒนาระบบงาน กระบวนการยุติธรรม ยุติธรรมและกฎหมาย

ยุทธศาสตรที่ 5: สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนและ พัฒนาเครือขายความรวมมือระบบงาน ยุติธรรม

1

- ปรับสมดุลและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภาครัฐ - ปรับกําลังคนและกฎระเบียบให สอดคลองกับทิศทางการสราง ฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน ภายใตหลักนิติธรรมและ ความเสมอภาค

- การสรางโอกาสการเขาถึง กระบวนการยุติธรรมของประชาชน

นโยบายบริหารราชการแผนดิน (พ.ศ. 2555-2558) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (พ.ศ. 2555-2559) หนา 2-7


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2 ดํ า เนิ น การวิ เ คราะห ขอ มู ล จาก นโยบายทางด า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสาร อาทิ แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของ ASEAN 2015 กรอบนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารของประเทศไทยระยะ พ.ศ. 2554-2563 (ICT2020) แผนแมบ ทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารฉบับที่ 2 ของประเทศไทย (พ.ศ. 2552-2556) และแนวนโยบายแนวปฏิบัติใน การรักษาความมั่นคงดานสารสนเทศของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2553 ซึ่งสามารถสรุปความสัม พันธของ นโยบายทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในดานตางๆ ดังตาราง 2.2 2.1.2.2

1

ตาราง 2.2 รายละเอียดนโยบายทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความสอดคลองกันใน ดานตางๆ อาทิ ดานทุนมนุษย ดานระบบสารสนเทศ ดานโครงสรางพื้นฐาน และดานนโยบาย นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดานนโยบาย แผนแมบท กรอบนโยบาย แผนแมบท แนวนโยบายและ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี แนวปฏิบัติในการ สารสนเทศและ สารสนเทศและ สารสนเทศและการ รักษาความมั่นคง การสื่อสารของ การสื่อสารของ สื่อสารฉบับที่ 2 ปลอดภัยดาน ASEAN 2015 ประเทศไทยระยะ ของประเทศไทย สารสนเทศของ พ.ศ.2554-2563 (พ.ศ.2552-2556) หนวยงานของรัฐ องคประกอบ (ICT2020) พ.ศ. 2553 ดานทุนมนุษย - การเสริมสราง - พัฒนาทุนมนุษย - การพัฒนา พลังใหแก ที่มีความสามารถ กําลังคนดาน ICT ประชาชนและให ในการสรางสรรค และบุคคลทั่วไป ประชาชนมีสวน และใช ใหมีความสามารถ รวม สารสนเทศอยาง ในการสรางสรรค มีประสิทธิภาพ ผลิต และใช - การพัฒนาทุน มีวิจารณญาณ สารสนเทศอยางมี มนุษย และรูเ ทาทัน วิจารณญาณและ รวมถึงพัฒนา รูเทาทัน บุคลากร ICT ที่มี ความรู ความสามารถ และความ เชี่ยวชาญระดับ มาตรฐานสากล

2

แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ ASEAN 2015 กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ ประเทศไทยระยะ พ.ศ. 2554-2563 (ICT2020) แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฉบับที 2 ของประเทศไทย (พ.ศ. 2552-2556) และแนวนโยบายแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงดานสารสนเทศของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2553 หนา 2-8


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.2 รายละเอียดนโยบายทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความสอดคลองกันใน ดานตางๆ อาทิ ดานทุนมนุษย ดานระบบสารสนเทศ ดานโครงสรางพื้นฐาน และดานนโยบาย (ตอ) นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดานนโยบาย แผนแมบท กรอบนโยบาย แผนแมบท แนวนโยบายและ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี แนวปฏิบัติในการ สารสนเทศและ สารสนเทศและ สารสนเทศและการ รักษาความมั่นคง การสื่อสารของ การสื่อสารของ สื่อสารฉบับที่ 2 ปลอดภัยดาน ASEAN 2015 ประเทศไทยระยะ ของประเทศไทย สารสนเทศของ พ.ศ.2554-2563 (พ.ศ.2552-2556) หนวยงานของรัฐ องคประกอบ (ICT2020) พ.ศ. 2553 ดานระบบ - การสราง - ใช ICT เพื่อสราง - การใชเทคโนโลยี - การเขาถึงการใช สารสนเทศ นวัตกรรม อาทิ นวัตกรรมการ สารสนเทศและ งาน การควบคุม สงเสริมใหเกิด บริการของ การสือ่ สารเพือ่ การใชงาน การคุมครองสิทธิ์ ภาครัฐที่สามารถ สนับสนุนการ สารสนเทศ และ ของทรัพยสินทาง ใหบริการ สรางธรรมาภิบาล การรักษาความ ปญญาในระดับ ประชาชนและ ในการบริหารและ มั่นคงปลอดภัย อาเซียนเพื่อ ธุรกิจทุกภาคสวน การบริการของ - การกําหนด ปกปองผลงาน ไดอยางมี ภาครัฐ ประเภทของ สรางสรรค เปน ประสิทธิภาพ ผูใชงานและสิทธิ ตน มีความมั่นคง ในการเขาใชงาน ปลอดภัย และมี สารสนเทศ - การลดความ ธรรมาภิบาล เหลื่อมล้ําในการ เขาถึงเทคโนโลยี อาทิ สงเสริมการ รวมตัวของอาเซียน โดยเปดโอกาสให ไดรับรูความ แตกตางดาน วัฒนธรรม แกนักเรียนตัง้ แต ยังเยาววัย เปนตน

หนา 2-9


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.2 รายละเอียดนโยบายทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความสอดคลองกันใน ดานตางๆ อาทิ ดานทุนมนุษย ดานระบบสารสนเทศ ดานโครงสรางพื้นฐาน และดานนโยบาย (ตอ) นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดานนโยบาย แผนแมบท กรอบนโยบาย แผนแมบท แนวนโยบายและ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี แนวปฏิบัติในการ สารสนเทศและ สารสนเทศและ สารสนเทศและการ รักษาความมั่นคง การสื่อสารของ การสื่อสารของ สื่อสารฉบับที่ 2 ปลอดภัยดาน ASEAN 2015 ประเทศไทยระยะ ของประเทศไทย สารสนเทศของ พ.ศ.2554-2563 (พ.ศ.2552-2556) หนวยงานของรัฐ องคประกอบ (ICT2020) พ.ศ. 2553 - สํารวจ ขอบกพรองของ ระบบสารสนเทศ ในปจจุบัน จากนั้นศึกษา วิธีการแกไข เพื่อ นําไปสูการพัฒนา ระบบ e-service - สรางแรงจูงใจ และสงเสริมการ ปฏิบัติงานของ เจาหนาที่ เพื่อ ผลักดันการใช ระบบ e-services ทําใหการ ปฏิบัติงานมี ประสิทธิภาพมาก ขึ้น ดานโครงสราง พื้นฐาน

- การพัฒนา - พัฒนาโครงสราง - การพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน พื้นฐาน ICT ที่ โครงสรางพื้นฐาน อาทิ พัฒนาระบบ เปนอินเทอรเน็ต เทคโนโลยี เชื่อมโยงของ ความเร็วสูง หรือ สารสนเทศและ บรอดแบนด เปน การสือ่ สาร การสือ่ สาร ตน รูปแบบอืน่ ทีเ่ ปน Broadband ใหมี ความทันสมัย

หนา 2-10


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.2 รายละเอียดนโยบายทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีความสอดคลองกันใน ดานตางๆ อาทิ ดานทุนมนุษย ดานระบบสารสนเทศ ดานโครงสรางพื้นฐาน และดานนโยบาย (ตอ) นโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดานนโยบาย แผนแมบท กรอบนโยบาย แผนแมบท แนวนโยบายและ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยี แนวปฏิบัติในการ สารสนเทศและ สารสนเทศและ สารสนเทศและการ รักษาความมั่นคง การสื่อสารของ การสื่อสารของ สื่อสารฉบับที่ 2 ปลอดภัยดาน ASEAN 2015 ประเทศไทยระยะ ของประเทศไทย สารสนเทศของ พ.ศ.2554-2563 (พ.ศ.2552-2556) หนวยงานของรัฐ องคประกอบ (ICT2020) พ.ศ. 2553 มีการกระจาย อยางทั่วถึง และมี ความมั่นคง ปลอดภัยสามารถ รองรับความ ตองการของภาค สวนตางๆ ได ดานนโยบาย

-

- ยกระดับขีดความ - การบริหารจัดการ - หนวยงานของรัฐ สามารถในการ ระบบ ICT ระดับ ตองจัดใหมี แขงขันของ ชาติอยางมี นโยบายในการ อุตสาหกรรม ICT ธรรมาภิบาล รักษาความ เพื่อสรางมูลคา มั่นคงปลอดภัย การใช ICT เพื ่ อ ทางเศรษฐกิจ ดานสารสนเทศ สนับสนุนการเพิม่ และนํารายไดเขา ของหนวยงาน ขีดความสามารถ ประเทศ โดยใช เปนลายลักษณ ในการแข ง ขั น โอกาสจากการ อักษร อยางยั่งยืน รวมกลุม เศรษฐกิจ - หนวยงานของรัฐ การเปดการคา ตองจัดใหมีขอ เสรี และประชาคม ปฏิบัติในการ อาเซียน รักษาความ มั่นคงปลอดภัย ดานสารสนเทศ ของหนวยงาน

หนา 2-11


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.1.2.3 แนวโน ม การพั ฒ นาเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารในอนาคต (Technology Trend) เนื่องจากปจจุบันเทคโนโลยีสมัยใหมมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว อาทิ Mobile Application, Cloud Computing, Big Data ฯลฯ ดังนั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหกับการปฏิบัติงานของ สวนราชการในกระทรวงยุ ติ ธรรมให ทั น สมั ย การศึก ษาแนวโน ม การพั ฒ นาเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสารสมัยใหม เพื่อนํามาประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับกระทรวงยุติธรรมใหเกิด ประโยชนสูงสุด ประกอบกับนโยบายรัฐบาลที่สงเสริมการเปนรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (e-Government) อีกทั้ง การเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน ซึ่งจําเปนตองแลกเปลี่ยนขอมูล อิเล็กทรอนิกส กระทรวงยุติธรรมจึ ง เล็งเห็นและใหความสําคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยการศึกษา แนวโนมการพัฒนาเทคโนโลยีประกอบไปดวย 2 สวนคือ ผลการวิเคราะหแนวโนมดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของการตเนอร (Gartner) และการศึกษาดูงานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ กระทรวงยุติธรรม ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต บริษัท การตเนอร (Gartner) ซึ่ง เปนบริษัทชั้นนําที่ใหคําปรึกษาดานเทคโนโลยี สารสนเทศของประเทศสหรัฐอเมริก า ไดจั ดอั นดับ เทคโนโลยี ทั้ง หมด 10 อันดับที่จ ะมีบทบาทสําคัญ ตอ การดําเนินธุรกิจในชวงป 2555-2560 ซึ่งจากการพิจารณา พบวาเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ ซึ่งสวนราชการตาง ๆ สามารถนําเทคโนโลยีเหลานี้มาเพิ่มศักยภาพในการดําเนินงานได ประกอบกับเทคโนโลยีที่ไดจากการศึกษา ดูง านทางด านเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สารที่ ก ระทรวงยุ ติธรรม ประเทศสาธารณรั ฐเกาหลีใ ต 5 เทคโนโลยี อาทิ ระบบการจัดการเอกสาร (Document Management) ระบบบริการอิเล็กทรอนิกสแบบ เบ็ดเสร็จ (MinWon24) สถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture, EA) ระบบ MOJ Portal System และ Electronic Monitoring (EM) ทั้ง นี้สามารถสรุป แนวโนม ของการพัฒนาเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสารในอนาคต (Technology Trend) และแนวทางการประยุกตใชใหเหมาะสมกับภารกิจของกระทรวง ยุติธรรม ไดดังนี้

หนา 2-12


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.3 แนวโนมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต (Technology Trend) แนวทางการประยุกตใช รายละเอียดแนวทางการประยุกตใชกับภารกิจหนาที่ของกระทรวงยุติธรรม Technology Trend

1 Gartner 1.1 Mobile Device Battles 1.2 Mobile Applications and HTML5 1.3 Enterprise App Stores 1.4 Personal Cloud 1.5 Hybrid IT and Cloud Computing 1.6 The Internet of Things 1.7 Strategic Big Data

ใชอุปกรณสื่อสารไรสายมาสนับสนุนระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อรองรับการปฏิบัติงานตามภารกิจหนาที่ที่ มุงเนนดานการอํานวยความยุติธรรม พรอมทั้งใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน สงผลใหการบริหารจัดการ และการใหบริการมีความสะดวกและรวดเร็ว พัฒนาโปรแกรมที่สามารถใชงานผานอุปกรณสื่อสารไรสาย เพื่อเพิ่มชองทางในการเขาถึงขอมูลระหวางเจาหนาที่และ ประชาชน ตลอดจนสงเสริมใหประชาชนไดรับการบริการงานยุติธรรมอยางทั่วถึง และกระบวนการยุติธรรมสามารถมุงไปสู การเพิ่มขีดสมรรถนะไดอยางแทจริง จัดทํา Application ที่หลากหลายมาใชงานรวมกับอุปกรณสื่อสารไรสาย เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการศูนยบริการรวม กระทรวงยุติธรรมใหสามารถนําเสนอขาวสารขอมูลไดหลายมิติ อีกทั้งเปนการดึงดูดใหประชาชนไดเขามามีสวนรวมมากขึ้น ทําใหประชาชนไดรับบริการงานยุติธรรมอยางทั่วถึง รวดเร็ว และเปนธรรม พัฒนา Private และ Personal Cloud ขององคกรเพื่อใชงานทรัพยากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมกัน ใชอินเทอรเน็ตในการคนหาขอมูลความรูเกี่ยวกับระบบงานอํานวยความยุติธรรม ขอมูลทางกฎหมาย และระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของเจาหนาที่ไดทุกที่ทุกเวลา เพื่อสนับสนุนใหทรัพยากรบุคคลมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน รวมถึงสงเสริมงานยุติธรรมทางเลือกโดยใหประชาชนเขามามีสวนรวมอยางเปนรูปธรรม ใชระบบบริหารจัดการขอมูลขนาดใหญมาวิเคราะหขอมูลจากระบบสารสนเทศในองคกร ขอมูลจากสื่อสังคมออนไลน ขอมูล จากอินเทอรเน็ต โดยมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาสนับสนุนการทํางานของระบบการอํานวยความยุติธรรม ซึ่งเปนการพัฒนาเครือขายความรวมมือและยุติธรรมทางเลือกใหมีประสิทธิภาพ

หนา 2-13


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.3 แนวโนมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคต (Technology Trend) (ตอ) แนวทางการประยุกตใช รายละเอียดแนวทางการประยุกตใชกับภารกิจหนาที่ของกระทรวงยุติธรรม Technology Trend

2 การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กระทรวงยุติธรรม ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต 2.1 ระบบจั ด การงาน (Task Management) และ จัดทําระบบบริหารจัดการของรัฐบาลที่มีลักษณะเดียวกันกับระบบจัดการงาน (Task Management) และระบบจัดการ ระบบจัดการเอกสาร (Document Management) เอกสาร (Document Management) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และความโปรงใสใหกับการบริหารงานของรัฐบาล 2.2 ระบบใหบริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จ จัดทําระบบการใหบริการอิเล็กทรอนิกสใหประชาชนที่มีลักษณะแบบเบ็ดเสร็จเพื่อเพิ่มชองทาง และประสิทธิภาพในการ (MinWon24) ใหบริการประชาชน 2.3 สถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture) - จัดทําสถาปตยกรรมระบบขององคกรที่มีแนวทางชัดเจนไปใชในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อลด ความซ้ําซอนแพลตฟอรม (Platform) ของระบบสารสนเทศ และโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่จะเกิดขึ้นในอนาคต - สร างแนวทางการพัฒ นาระบบสารสนเทศในรู ปแบบโมดู ล และบริการของกระทรวงยุ ติ ธรรม ซึ่ง มี ความง ายต อการ แลกเปลี่ยนขอมูลที่เปนมาตรฐานตามแนวทางของ Service Oriented Architecture และ Web Services 2.4 MOJ Portal System - การรวมขอมูลสารสนเทศที่มีการใชงานรวมกัน และสามารถเขาใชงานระบบจากที่เดียว ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่อํานวยความ สะดวกในการใชบริการระบบอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ อาทิ Single Sign On (SSO) - ระบบบริหารจัดการองคความรู 2.5 นวัตกรรม - ศึกษา วิเคราะห และจัดทํามาตรฐานการจัดเก็บขอมูล กําหนดวิธีการสืบคนขอมูลและเชื่อมโยงขอมูลการจดจําใบหนาให 1) ระบบตรวจสอบการปลอมแปลงของใบหนา เปนมาตรฐานเดียวกันทั้งองคกร (Face Recognition) - ศึกษา วิเคราะหความเปนไปได และผลกระทบในการนํา EM มาประยุกตงานกับประเทศไทยเพื่อใหมีประสิทธิภาพและ 2) Electronic Monitoring (EM) ประโยชนสูงสุด

หนา 2-14


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.2 สรุ ปผลการวิเ คราะห จุ ดแข็ ง จุด อ อน โอกาส และอุ ป สรรคด านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 2.2.1 ผลการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออน จากการศึ กษา วิเ คราะหส ภาพแวดลอมภายในของกระทรวงยุติธรรมสามารถสรุปจุดแข็ง (Strengths) และจุ ดอ อน (Weaknesses) ด านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารเป น 4 ดาน ไดแก ดานขอ มูล และระบบสารสนเทศ ดานอุป กรณคอมพิวเตอรและระบบเครือ ขาย ดานการบริห ารจัดการ ดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร และด านบุ คลากร โดยแตล ะดานมีจุดแข็ง และจุดออ น ดัง นี้ ตาราง 2.4 ผลการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปจจัยวิเคราะห จุดแข็ง (Strengths) จุดออน (Weaknesses) - ผู บ ริ ห ารเห็ น ความสํา คั ญ และให - ขาดการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ดานขอมูลและ การสนั บ สนุ น การใช ง านระบบ สารสนเทศดานการแลกเปลี่ยน ระบบสารสนเทศ สารสนเทศ - มี ร ะบบสารสนเทศเพื่ อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านตามภารกิ จ หน า ที่ ของส ว นราชการ - มี ก ารศึ ก ษาและจั ด ทํา มาตรฐาน การแลกเปลี่ ย นขอมูลระหวางสวน ราชการที่เกี่ยวของในกระบวนการ ยุติธรรม - มีระบบ Common Service เพื่อใช บริการดานการใหความรู และ ประชาสัมพันธ อาทิ ระบบ Knowledge Management (KM) และ

-

e-Learning

ดานอุปกรณคอมพิวเตอร - สวนราชการสวนใหญมีความพรอม ของระบบสนับสนุนพื้นฐานของหอง และระบบเครือขาย

-

Data Center

- สวนราชการกลาง อาทิ สํานักงาน

กิจการยุติธรรมมีศูนยแลกเปลี่ยนขอมูล กระบวนการยุติธรรมตนแบบ (Data Exchange Center: DXC) มี Bandwidth บนเครือขาย GIN 10 Mbps

ขอมูลของสวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม ขาดการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวาง สวนราชการกลุมภารกิจ และสวน ราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ขาดขอมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การตัดสินใจของผูบริหาร ขาดการจัดการฐานขอมูลกลาง อาทิ ฐานขอมูลลายพิมพนิ้วมือและลาย พิมพฝามือ ขาดการผลักดันใหเกิดความ ตอเนื่องในการใชงานระบบ สารสนเทศทําใหขอมูลไมครบถวน และเปนปจจุบัน เครือขายภายในสวนราชการใน สังกัดกระทรวงยุติธรรมและสวน ภูมิภาคไมเพียงพอตอความตองการ ใชงาน การขยายจุดเชื่อมตอสัญญาณ เครือขายภายในศูนยราชการฯ ทําไดยาก ห อ ง Data Center บางส ว น ของส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมไมรองรับตอ การเพิ่มจํานวนของอุปกรณ

หนา 2-15


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.4 ผลการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) ปจจัยวิเคราะห จุดแข็ง (Strengths) จุดออน (Weaknesses) - ขาดระบบ VDO Conference ดานอุปกรณคอมพิวเตอร เพื่อการติดตอสื่อสารทั้งภายในสวน และระบบเครือขาย (ตอ) ราชการสวนกลาง และสวนภูมภิ าค และระหวางสวนราชการของสวน ราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม - ขาดศูนยปฏิบตั ิการสํารอง (Disaster Recovery Site: DR Site)

- ความเร็วของระบบเครือขาย

- มีสวนราชการดาน ICT ของกระทรวง ดานการบริหารจัดการ ยุติธรรม ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ - สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และการสื่อสาร

สวนใหญมีโครงสรางสวนราชการ รองรับดาน ICT - กระทรวงยุติธรรม และสวนราชการใน สังกัดสวนใหญมีการจัดทําแผนแมบท ICT อยางตอเนื่อง - มีนโยบายและแผนแมบท ICT กระบวนการยุติธรรม ตลอดจนส วน ราชการรั บ ผิ ด ชอบซึ่ง เน นเรื่ อง การแลกเปลี่ย นขอมูล ระหว างส วน ราชการที่เ กี่ย วข อง - ผูบริหารระดับสูงใหความสําคัญตอ การพัฒนา ICT -

-

อินเทอรเน็ตที่ใหบริการแกสว น ราชการในสวนภูมภิ าคไมเพียงพอตอ การใชงานระบบสารสนเทศ ขาดการประสานงานดาน ICT อยางทั่วถึงระหวางสวนราชการ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ขั้นตอนการประสานงาน อนุมัติ โครงการและของบประมาณใน ภาพรวมยุงยากและลาชา โครงการพัฒนา ICT บางโครงการ ของสวนราชการในสังกัดกระทรวง ยุติธรรมขาดการผลักดันใหใชงาน งบประมาณในการบํารุงรักษา ระบบ ICT ไมเพียงพอ ขาดการวิเคราะหกระบวนงานหลัก (Business Process) รวมกัน ระหวางสวนราชการที่อยูในกลุม ภารกิจเดียวกัน ขาดการจัดเก็บและประมวลขอมูล โครงการดานระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารที่เปน ระบบทําใหยุงยากตอการบริหาร จัดการในภาพรวม ขาดการมอบหมายหนาที่ที่ชัดเจน ในการนําเขาขอมูลอยางตอเนื่อง

หนา 2-16


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.4 ผลการวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) ปจจัยวิเคราะห จุดแข็ง (Strengths) จุดออน (Weaknesses) ผูใชงาน ผูใชงาน ดานบุคลากร - ผู ใ ช ง านบางส ว นมี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต อ

การใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อ สารมาช ว ยสนั บ สนุ น ในการปฏิบัติงาน

นักวิชาการคอมพิวเตอร - บุคลากรใหความรวมมือในการเขา รวมกิจกรรมตาง ๆ - บุคลากรมีทัศนคติที่ดีตอการพัฒนา ศักยภาพของตนเอง

- ผูใชงานไมสามารถตามเทคโนโลยีที่

เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วไดทัน - การฝกอบรมดาน ICT ใหแกผูใชงาน ยังไมทั่วถึงและตอเนื่อง - ผู ใ ช ง านบางส ว นขาดความรู ความเข า ใจในการใช ง านระบบ สารสนเทศ นักวิชาการคอมพิวเตอร - บุคลากรไมสามารถตามเทคโนโลยีที่ เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วไดทัน - บุคลากรขาดองคความรูดาน มาตรฐาน ICT - การติดตาม และประสานงานกับ สวนราชการอื่นไมทั่วถึง - ส ว นราชการผู ดูแ ล ICT ของ กระทรวงยุติธรรม มีอัตรากําลัง จํากัดเมื่อเทียบกับปริมาณงาน - บุคลากรดาน ICT ขาดทักษะขั้นสูง ดาน ICT

2.2.1.1 จุดแข็ง-จุดออนดานขอมูลและระบบสารสนเทศ 1) จุดแข็งดานขอมูลและระบบสารสนเทศ กระทรวงยุ ติ ธรรมเป นสว นราชการที่ ผูบ ริห ารใหค วามสํ าคั ญ และการ สนับสนุนการใชระบบสารสนเทศ ทําใหมีระบบสารสนเทศเพื่อ สนับ สนุน การปฏิบัติง านตามภารกิจ หนา ที่ ของสวนราชการ และระบบ Common Service อาทิ ระบบ ระบบบริหารจัดการองคความรู (Knowledge Management: KM) และระบบการเรี ยนรูผานสื่อ อิเ ล็กทรอนิก ส เพื่อใชบริก ารดานการใหความรูและ ประชาสัม พันธ อี ก ทั้ ง มี การจั ดทํ ามาตรฐานการแลกเปลี่ยนขอ มูล ระหวา งสว นราชการที่เ กี่ย วขอ งใน กระบวนการยุ ติ ธ รรม (DXC) อี ก ด ว ย ดัง นั้นกระทรวงยุติธรรมจึง มี แนวโนม ที่จ ะนําสิ่ง ที่มี อ ยู รวมกั บ นโยบายของผู บ ริ ก ารมาส ง เสริ ม การใช ง านในวงกว า งเพื่ อ ให คุ ม ค า และเกิ ด ประโยชน สู ง สุ ด 2) จุดออนดานขอมูลและระบบสารสนเทศ กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก ารพั ฒ นาระบบสารสนเทศยั ง ไม ค รอบคลุ ม การ ปฏิบัติงานตามภารกิจตาง ๆ ทําใหไมตอบสนองตามความตองการของผูใชงานทั้งในดานระบบสารสนเทศและ การพัฒนาระบบฐานขอมูลมีความซ้ําซอน นอกจากนั้นขอมูลในระบบสารสนเทศยังไมเปนปจจุบันทําใหขอมูล ที่มีอยูไมสามารถนําไปวิเคราะหและจัดทําเปนขอมูล สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในภาพรวมของ กระทรวงยุติธรรม แกผูบริหารได หนา 2-17


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.2.1.2 จุดแข็ง-จุดออนดานอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย 1) จุดแข็งดานอุปกรณคอมพิวเตอรและเครือขาย กระทรวงยุติธรรมเปนสวนราชการที่มีความพรอมในเรื่องของหอง Data Center รวมถึงพื้นที่ที่พรอมสําหรับรองรับการขยายตัวของอุปกรณที่จะเพิ่มเขามาภายในหอง Data Center อีก ทั้ ง สว นราชการซึ ่ ง มี ภ ารกิ จ หน า ที ่ ใ นการเปน ศูน ยก ลางดา นการเชื ่อ มโยงแลกเปลี ่ย นขอ มูล สารสนเทศ และการบริ ก ารสารสนเทศ อาทิ สํานัก งานปลัดกระทรวงยุติธรรม และสํานัก งานกิจ การ ยุติธรรม สามารถเชื่อมโยงใชงานระบบเครือขายของสวนราชการกลางภาครัฐ (Government Information Network: GIN) Bandwidth มีความเร็วในการรับสงขอมูล 10 Mbps ซึ่งถือวาเปนจุดแข็งเพื่อใหสวนราชการ ตาง ๆ สามารถเชื่อมโยงเขาสวนกลางไดอยางมีประสิทธิภาพ 2) จุดออนดานอุปกรณคอมพิวเตอรและเครือขาย หอง Data Center บางสวนของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ไมรองรับตอ การเพิ่มจํานวนของอุป กรณภายใน ขาดศูนยป ฏิบัติก ารสํารอง (DR Site) และมีจุดออ นเรื่อ ง ระบบสื่อ สาร ส วนราชการบางส วนยั ง ขาดระบบ VDO Conference เพื่ อ การติด ตอ สื่ อ สารทั้ ง ภายใน สวนราชการสวนกลางและสวนภูมิภาค 2.2.1.3 จุดแข็ง-จุดออนดานการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1) จุดแข็งการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงยุติธรรมมีสวนราชการซึ่งมีหนาที่ดูแลรับผิดชอบดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สารโดยตรง ส ง ผลใหก ารนํา เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารเขา มาชว ย สนั บ สนุ นการบริห ารจัดการภายในและสนั บ สนุ น การปฏิบัติงานตามภารกิจหลักมีแนวโนมจะดําเนินการ ไดอยางตอเนื่อง มีป ระสิท ธิภาพ อีก ทั้ง กระทรวงยุติธรรมและสวนราชการในสัง กัดสวนใหญมีก ารจัดทํา แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางตอเนื่อง จึงสงผลใหก ารพัฒ นาเทคโนโลยีส ารสนเทศ และการสื่อสารมีความชัดเจนและเปนไปในทิศทางเดียวกัน 2) จุดออนการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การประสานงานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารระหวาง สวนราชการไมทั่วถึง เนื่องจากการดําเนินงานตามโครงการในขั้นตอนตาง ๆ มีความยุงยากและลาชา ตั้งแตการ ประสานงาน การอนุ มั ติ โ ครงการและการของบประมาณ เปนตน อีกทั้งงบประมาณในการบํา รุง รัก ษา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไมเพียงพอ รวมถึงโครงการพัฒนา ICT บางโครงการขาดการผลักดัน ให ใ ช ง านตามวั ต ถุ ป ระสงค ที่ ตั้ ง ไว อีกทั้งไม มีการมอบหมายอํ านาจหน าที่ใหแกบุคลากรรับผิ ดชอบการ นําเขาขอ มูล ที่ ชัดเจน ทํ าให ขอ มู ลในระบบสารสนเทศสวนใหญไมเปนปจ จุบัน ประกอบกั บ กระทรวง ยุ ติ ธ รรมขาดการจั ด เก็ บ และประมวลข อ มู ล โครงการดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ สารที่ เปนระบบ ทําใหยุงยากตอการบริหารจัดการในภาพรวม 2.2.1.4 จุดแข็ง-จุดออนดานบุคลากร 1) จุดแข็งดานบุคลากร เมื่อพิจารณาดานผูใชงาน พบวาผูใชงานบางสวนของกระทรวงยุติธรรมมี ทัศนคติที่ดีตอการใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาชวยสนับ สนุนในการปฏิบัติง าน ซึ่ง จะทําใหการใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ สารมาสนับ สนุนการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ หนา 2-18


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

มากยิ่ง ขึ้นได นอกจากนี้เ มื่อ พิจารณาดานนั ก วิชาการคอมพิวเตอร พบวาบุคลากรใหความรวมมือ ในการ เขาร วมกิจ กรรมต าง ๆ เป นอย า งดี บุ ค ลากรมีทัศ นคติที่ ดีตอ การพัฒ นาศัก ยภาพของตนเอง ซึ่ง นั บ เป น แนวทางเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นได 2) จุดออนดานบุคลากร เมื่อพิจารณาดานผูใชงาน พบวาการฝกอบรมการใชงานระบบสารสนเทศ แก ผู ใ ช ง านไม ค รอบคุ ล มและไมต อ เนื่ อ ง ส ง ผลให ผูใ ช ง านขาดความรู ความเข า ใจในการใช ง านระบบ สารสนเทศ นอกจากนี้ เ มื่ อ พิ จ ารณาด า นนั ก วิ ชาการคอมพิ ว เตอร พบวา อั ตรากํ าลั ง ของบุ คลากรด า น เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารจํ านวนจํากัดไมเ พียงพอตอ การปฏิบัติง าน เนื่อ งมาจากการจํากัด กรอบอัตรากําลังบุคลากรภาครัฐ จึงทําใหไมสามารถดูแลระบบสารสนเทศที่มีอยูไดอยางทั่วถึง ตลอดจนไมมี การฝ ก อบรมทัก ษะทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแกบุคลากรอยางตอ เนื่อ ง เป น เหตุ ใ ห บุ ค ลากรไม ส ามารถก า วทันตามเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว 2.2.2 ผลการวิเคราะหโอกาสและอุปสรรค จากการศึ ก ษาวิ เ คราะห ส ภาพแวดล อ มภายนอกของกระทรวงยุ ติ ธ รรม สามารถ สรุ ป โอกาส (Opportunities) และอุ ป สรรค (Threats) ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กระทรวงยุติธรรม เปน 4 ดาน ไดแก ดานขอมูลและระบบสารสนเทศ ดานอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบ เครือขาย ดานบุคลากร ดานนโยบายและการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ ดานบุคลากร โดยแตล ะดานมีโ อกาสและอุ ป สรรค ดัง นี้ ตาราง 2.5 สรุปโอกาสและอุปสรรคดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โอกาส อุปสรรค ปจจัยวิเคราะห (Opportunities) (Threats) ดานขอมูลและระบบสารสนเทศ - เทคโนโลยีดาน ICT มีการ - ระบบสารสนเทศทีพ่ ัฒนาโดย พัฒนาตอเนื่องทําใหมี สวนราชการกลางภาครัฐไม ทางเลือกในการนํามาใช สามารถรองรับความตองการ ใชงานของสวนราชการได - ภาครัฐมีนโยบายมุงเนนเปน ทั่วถึง สวนราชการอิเล็กทรอนิกส (e-Government) - ในปจจุบันมีภัยคุมคามตอ สารสนเทศจากภายนอก - การพัฒนาดานเทคโนโลยี เพิ่มขึ้น อาทิ ไวรัส และการ ระบบการสื่อสารแบบไรสาย โจมตีจากภายนอกเพื่อดึงขอมูล เปนการเพิม่ ชองทางในการเขาถึง จากองคกร ขอมูลขาวสาร และการใชงาน ระบบสารสนเทศขององคกรได - การใชขอมูลมีความหลากหลาย ทุกที่ทุกเวลา มากขึ้น ทั้งแบบมีโครงสราง และไมมโี ครงสราง อาทิ Big Data ทําใหเกิดปญหาในการวิเคราะห ขอมูลสารสนเทศที่มีรูปแบบ โครงสรางที่หลากหลาย หนา 2-19


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.5 สรุปโอกาสและอุปสรรค ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) โอกาส อุปสรรค ปจจัยวิเคราะห (Opportunities) (Threats) ดานอุปกรณคอมพิวเตอรและ - ภาครัฐมีการพัฒนาโครงสราง - การบริหารจัดการระบบ ระบบเครือขาย พื้นฐาน ICT ที่เปนอินเทอรเน็ต เครือขายของสวนราชการใน ความเร็วสูงหรือการสื่อสาร ศูนยราชการขึ้นอยูกับผูให รูปแบบที่เปน Broadband ให บริการภายนอก มีความทันสมัย มั่นคงปลอดภัย - สวนราชการจําเปนตองพัฒนา และครอบคลุ ม อย า งมี โปรแกรมคอมพิวเตอร ให ประสิ ท ธิ ภ าพ รองรับการใชงานเทคโนโลยี IPV6 ดานนโยบายและการบริหาร - แนวโนมการเคลื่อนยาย - นโยบายการจํากัดอัตรากําลัง จัดการดานเทคโนโลยี แรงงานและอาชีพของประเทศ ของสวนราชการภาครัฐ สารสนเทศและการสื่อสาร ใน AEC - กฎระเบี ย บทางราชการ ด า นการจั ด ซื้ อ จั ด จ า ง - มีกรอบนโยบาย และแผน แมบท ICT ของประเทศ - การเปลี่ยนแปลงรัฐบาลทําให การพัฒนาไมตอเนื่อง - มีกฎหมาย แนวนโยบาย และ แนวปฏิบัติดาน ICT ของ - การเปลี่ยนแปลงนโยบายของ ประเทศ ผูบริหาร ทําใหการพัฒนาไม ตอเนื่อง - มีแผนแมบท ASEAN - มีแนวนโยบายและแนวปฏิบัติ ในการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยดานสารสนเทศของ สวนราชการภาครัฐ ดานบุคลากร - ประชาชนมีความสามารถและ - ทัศนคติเชิงลบตอการใชงาน คุนเคยกับการใชงานระบบ ระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้น อินเทอรเน็ต และ Social ใหม Media ซึ่งอาจมีการปรับเปลี่ยน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน สงผล - มีการกําหนดความกาวหนาใน ใหเกิดความยุงยากในการใช สายอาชีพ ICT (Career Path) งานในชวงแรก ภาครัฐ - คาตอบแทนและสิ่งจูงใจ บุคลากรดาน ICT ของภาครัฐ นอยกวาในภาคเอกชนทําให บุคลากรสนใจเขาทํางานใน ภาคเอกชนมากกวา - การจํากัดกรอบอัตรากําลัง บุคลากรภาครัฐ หนา 2-20


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.2.2.1 โอกาส-อุปสรรคดานขอมูลและระบบสารสนเทศ 1) โอกาสดานขอมูลและระบบสารสนเทศ เนื่อ งจากภาครัฐมีนโยบายมุง ใหเ ปนสวนราชการรัฐบาลอิเ ล็ก ทรอนิก ส และเทคโนโลยีดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสารมีก ารพัฒ นาเปนเทคโนโลยีใหมทํ าให กระทรวง ยุติธรรมมีทางเลือกมากยิ่งขึ้นในการนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน รวมไปถึงการพัฒนา ระบบ การสื่อสารแบบไร ส ายเพื ่ อ เพิ ่ ม ชอ งทางในการเขา ถึง ขอ มูล ขา วสาร และการใช ง านระบบ สารสนเทศขององคกรไดทุกที่ทุกเวลา ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนปจจัยภายนอกที่สนับสนุนใหเกิดแรงผลักดันการใช งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2) อุปสรรคดานขอมูลและระบบสารสนเทศ เนื่องจากกระทรวงยุติธรรมเปนสวนราชการภาครัฐ จึงจําเปนตองใชงาน ระบบสารสนเทศที่พัฒนาโดยสวนราชการกลาง อาทิ ระบบ GF-MIS และระบบ DPIS ซึ่งสงผลใหไมสามารถ รองรับความต องการใชงานของสวนราชการไดครบถวน อีกทั้งกระทรวงยุ ติธรรมยั งมีอุ ปสรรคในสวนของ ภัยคุก คามตอ สารสนเทศจากภายนอก อาทิ ไวรัส หรือ ผูไมป ระสงคดีภ ายนอก ซึ่ง สิ่ง เหลานี้เ ปนปจ จั ย ภายนอกที่เปนอุปสรรคทําใหก ารพัฒ นาระบบสารสนเทศของกระทรวงยุติธรรมไมส ามารถใชขอ มูล เพื่อ สนับ สนุนการปฏิบัติง านไดเ ทา ที่ควร อันสงผลตอความถูกตอ งนาเชื่อ ถือของขอ มูล และความตอเนื่องใน ระบบตาง ๆ นอกจากนั้นการใชขอ มูลมีความหลากหลายมากขึ้ น ทั้ งแบบมีโ ครงสร าง และไม มีโครงสราง อาทิ Big Data ทําใหเกิดปญหาในการวิเคราะหขอมูลสารสนเทศที่มีรูปแบบโครงสรางที่หลากหลาย 2.2.2.2 โอกาส-อุปสรรคดานอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย 1) โอกาสดานอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย เนื่ อ งจากรั ฐบาลมี นโยบายสง เสริม และผลั ก ดั นการพั ฒ นาโครงสรา ง พื้นฐานการสื่ อ สารความเร็ วสู งและครอบคลุมไปยั งสวนภูมิภาค ซึ่ งในอนาคตจะชวยใหก ารพัฒ นาระบบ สารสนเทศและระบบสื่อสารตาง ๆ ที่ใชงานผานระบบเครือขายในสวนภูมิภาคสะดวกขึ้น 2) อุปสรรคดานอุปกรณคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย อุป กรณ คอมพิวเตอรและเครือ ขายที่ไมร องรับ กับ เทคโนโลยีใหม อาทิ IPv6 ดังนั้นเนื่องจากการปรับเปลี่ยนใหเปนไปตามมาตรฐาน IPv6 นั้นกระทรวงยุติธรรมตองปรับปรุง จัดหา อุปกรณ และพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรบ างสวนเพื่อ ใหร องรับ เปนไปตามมาตรฐานซึ่ง อาจมีปญ หาใน เรื่องของการของบประมาณ เนื่องจากตองปรับเปลี่ยนอุปกรณเครือขายและระบบสารสนเทศจํานวนมาก 2.2.2.3 โอกาส-อุปสรรคดานนโยบาย และการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 1) โอกาสดานนโยบายและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร เนื่องดวยภาครัฐมีกรอบนโยบาย แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารของประเทศ กฎหมาย แนวนโยบาย แนวปฏิบัติดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แนวนโยบาย และแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศของสวนราชการภาครัฐที่ชัดเจน รวมทั้ง ในระดับ ภูมิภาคยังมีการจัดทําแผนแมบท ICT ASEAN (AIMS2015) ซึ่งแนวทางและนโยบายการพัฒนา เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารเหล านี้ถือ เปนปจ จัยภายนอกที่ก ระทรวงยุติธรรม สามารถนํ า มา

หนา 2-21


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ประกอบการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีทิศทางในการบริหารจัดการองคกรที่ ชัดเจน และสอดคลองนโยบายของภาครัฐ 2) อุปสรรคดานนโยบายและการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ภาครั ฐไมมี นโยบายการเพิ่ ม อัตรากํา ลัง ดา นบุคลากรของส วนราชการ ภาครัฐทําใหบุคลากรที่ปฏิบัติงานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศไมเพียงพอตอการปฏิบัติงาน สงผลใหการ ใหบริการและการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไมตอเนื่อง รวมถึงกฎระเบียบและ กระบวนการด านการจั ดซื้ อ จั ดจ างภาครัฐมีความลาชา ทําใหไมทันตอ เทคโนโลยีที่เ ปลี่ยนแปลงไปอยาง รวดเร็ว ทําใหการพัฒนาของเทคโนโลยีลาสมัย และไมทันตอการใชงาน 2.2.2.4 โอกาส-อุปสรรคดานบุคลากร 1) โอกาสดานบุคลากร ปจจุบันประชาชนมีความสามารถและคุนเคยกับการใชงาน Social Media และอิ น เทอร เ น็ ต ซึ่ ง นั บ เป น โอกาสที่จะทําใหสวนราชการมีชองทางในการเขาถึงประชาชนเพื่ อ การ สื่ อ สารและเพื ่ อ สนั บ สนุ น การปฏิ บ ั ติ ง านสว นราชการต า ง ๆ ของกระทรวงยุติธ รรมไดด ียิ่ง ขึ ้น นอกจากนั้นภาครัฐอยูระหวางการพัฒนาและกําหนดรายละเอียดความกาวหนาในสายอาชีพดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Career Path) ทําใหสวนราชการตองมีการผลักดันในเรื่องของการพัฒนา บุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ใหสอดคลองกับทิศทางที่ทางภาครัฐกําหนด และแผนแมบท ICT ASEAN มีการกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาทุนมนุษยจึงเปนโอกาสที่ดีที่กระทรวงยุติธรรม จะนําแนวทาง การพั ฒ นาทุ น มนุ ษ ย จากแผนแมบท ICT ASEAN มาเปนแนวทางในการพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม 2) อุปสรรคดานบุคลากร บุคลากรมีทัศนคติเชิงลบตอการใชงานระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นใหม เมื่อ มีการปรับเปลี่ยนขั้นตอนการปฏิบัติงานในช วงแรก อีกทั้งคาตอบแทนและสิ่งจูงใจบุคลากรดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการภาครัฐเปนขอจํากัดเมื่อเปรียบเทียบกับคาตอบแทนและสิ่งจูงใจ บุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่สูงกวาในภาคเอกชนทําใหไมสามารถชักจูงบุคลากรที่มี ทักษะความรูความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเขามาปฏิบัติงานในสวนราชการภาครัฐ และสงผลกระทบตอเนื่องไปถึงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสวนราชการภาครัฐเคลื่อนตัวได ชากวาภาคเอกชน จากข อ มู ล ข า งต น เมื ่ อ พิ จ ารณาถึง ปจ จัย ภายในกระทรวงยุติธ รรม จะพบวา ผูบ ริห ารของ กระทรวงยุติธรรมเล็ง เห็นและใหความสําคั ญ ในการสนับ สนุน การพัฒ นาระบบสารสนเทศ จึงกอใหเกิด ระบบสารสนเทศที่ส นับ สนุนการปฏิบัติง านตามภารกิ จ หน าที่ ของสวนงานราชการ แต ท วายัง คงมีร ะบบ สารสนเทศบางระบบที่ไ มครอบคลุม บางภารกิจ งานซึ่ง อาจสืบ เนื่อ งจากขอ จํากัด ดานงบประมาณและ ความจําเปนในการจัดลําดับ ความสําคัญ เรง ดวน นอกเหนือ จากนั้นกระทรวงยุติธรรมจําเปนตอ งใชง าน ระบบสารสนเทศที่พัฒ นาโดยสวนราชการกลางภาครัฐ อาทิ ระบบ GF-MIS และระบบ DPIS ซึ่งสงผลให ระบบสารสนเทศนั้น ๆ อาจไมสามารถรองรับความตองการใชงานของสวนราชการไดครบถวน นอกเหนือจากนั้นกระทรวงยุติธรรมมีจุดออนหลักดานสภาพการดําเนินโครงการตาง ๆ ไมตรงตาม เปาหมายที่กําหนด การพัฒนาระบบมีความซ้ําซอนกัน และดานระบบคอมพิวเตอรและเครือขายกระทรวง หนา 2-22


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ยุติธรรมเปนส วนราชการที่ มี ความพร อ มของระบบสนับ สนุน ภายในหอ ง Data Center แตหอ ง Data Center บางส วนไมร องรั บ การเพิ่ ม จํา นวนของอุ ป กรณ ภ ายในห อ ง รวมถึ ง หลายส ว นราชการไม มี ศู น ย ป ฏิ บั ติ ก ารสํา รอง (Disaster Recovery Site: DR Site) และระบบ VDO Conference ใน การปฏิบัติงาน เมื่อพิจารณาถึงปจจัยจากภายนอกกระทรวงยุติธรรม จะพบวารัฐบาลมีแนวนโยบายที่มุงเนนใหเปน สวนราชการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส นําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาสนับสนุนการปฏิบัติงานตาม ภารกิจอยางครอบคลุม และมีนโยบายมุงเนนและใหความสําคัญในเรื่องของความปลอดภัยเปนหลัก ตลอดจน การเฝาระวังภัยคุกคามตอระบบสารสนเทศจากภายนอก อาทิ ไวรัสหรือผูไมประสงคดี นอกจากนี้ยังสงเสริม และพัฒนาการให บ ริ ก ารอิเล็กทรอนิกสแบบไรสาย เพื่อเปนการสรางชองทางในการเขาถึงข อ มู ล ข า วสาร และการใช ง านระบบสารสนเทศขององค ก รได ทุ ก ที่ ทุ ก เวลา อย า งไรก็ ต ามกระทรวงยุ ติ ธ รรม มี อ ุ ป สรรคจากปจจัยภายนอกดานการขาดอั ตรากําลัง ดาน บุคลากร เนื่องจากคาตอบแทนและสิ่งจูงใจบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของภาครัฐต่ํา กวาภาคเอกชนทําใหบุคลากรสนใจเขาทํางานในภาคเอกชนมากกวาสงผลใหมีการเปลี่ยนบุคลากรบอยครั้ง ดังนั้นในอนาคตเมื่อรัฐบาลดําเนินการกําหนดรายละเอียดความกาวหนาในสายอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT Career Path) จึงอาจใชเปนแรงผลักดันใหบุคลากรมีความเชื่อมั่นในสายอาชีพตอไป และความก าวหนาของเทคโนโลยีในปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทําใหกระทรวงยุติธรรมตอ ง เปลี่ยนแปลงระบบคอมพิวเตอรและเครือขายที่ทันสมัยเพื่อรองรับการปฏิบัติงานของเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งจะสงผลกระทบถึงงบประมาณที่ใชในการปรับปรุง

2.3 ความตองการดานการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ความตอ งการด านการใชงานเทคโนโลยี และการสื่ อ สารของกระทรวงยุ ติธรรมได จากดําเนินการ รวบรวมจากการเขาสํารวจ การสัมภาษณผูบริหารระดับสูง การประชุมระดมความคิดของสวนราชการในสังกัด กระทรวงส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม และการสั ม ภาษณ ส ถานภาพและความต อ งการ ด า นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานยุติธรรมจังหวัด สามารถสรุปไดเปน 4 ดาน ดังตาราง 2.6 ตาราง 2.6 ตารางสรุปความตองการดานการใชงานเทคโนโลยีและการสื่อสาร ดาน รายละเอียดของความตองการ 1) ดานโครงสรางพื้นฐาน ระบบคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง เทคโนโลยีและการสื่อสาร - อุปกรณคอมพิวเตอรทสี่ ามารถสนับสนุนระบบสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงานอยาง รวดเร็ว ทันสมัย มีประสิทธิภาพ มีเสถียรภาพ และเพียงพอตอการใชงาน - อุปกรณสนับสนุนการปฏิบัติงานนอกสถานที่ อาทิ คอมพิวเตอรแบบพกพา - ปรับปรุงและการขยายพื้นที่หอง Data Center - ตองการเครื่องจายกระแสไฟฟาสํารองในกรณี o ตองการระบบสํารองขอมูลนอกสวนราชการ o ตองการ DR Site กรณีที่เกิดเหตุภัยพิบัติ ระบบเครือขายและการสื่อสาร - ตองการทดแทนอุปกรณเครือขายที่มีอายุการใชงานมาเปนเวลานาน หนา 2-23


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.6 ตารางสรุปความตองการดานเทคโนโลยีและการสื่อสาร (ตอ) ดาน 1) ดานโครงสราง พื้นฐานเทคโนโลยีและ การสื่อสาร (ตอ)

2) ดานระบบสารสนเทศ และดานขอมูล

รายละเอียดของความตองการ - ตองการเครื่องมือหรืออุปกรณที่ชวยเพิ่มความมั่นคงปลอดภัยภายในระบบ เครือขาย - ตองการระบบเครือขายรองรับงานภูมิภาค - ตองการเพิ่มความเร็วระบบอินเทอรเน็ต - ตองการระบบเครือขายสํารอง - ตองการมีระบบเครือขายแยกเปนของแตละสวนราชการ - ตอ งการความมั ่น คงปลอดภัย ของขอ มูล การรับ รองความถูก ตอ งและ ความนาเชื่อถือของขอมูล - ตองการระบบ VDO Conference ให ครอบคลุม สวนราชการในสังกั ด และสวนราชการตางจังหวัด - ปรับปรุงระบบสารสนเทศในปจ จุบัน ใหส อดคลอ งกับ สภาพการใชง าน และความตองการของผูใชงาน - ขยายการใช ง านระบบสู ส วนราชการที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่ อ เป น การอํา นวย ความสะดวกและให บ ริ ก ารอยางทั่วถึง อาทิ สํานักงานยุติธรรมจังหวัด - ความตองการพัฒนาระบบสารสนเทศ โดยแบงตามความตองการใชงาน 5 กลุมระบบหลัก คือ ระบบบริหารจัดการภายใน (Back Office) o ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ระบบบริการรวม (Common Service) o ระบบการเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Learning) o ระบบบริหารจัดการองคความรู ระบบสารสนเทศสําหรับสนับสนุนการปฏิบัติงานหลัก o ระบบจัดเก็บเอกสาร อาทิ สํานวนคดี ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ และการบริหารจัดการ o ระบบขอมูลสรุปผูบริหาร o ระบบงานการบริหารยุทธศาสตรระดับกระทรวง ระบบเฉพาะทาง o ระบบ Geographic Information System (GIS) - ระบบสารสนเทศบนอุปกรณที่รองรับการปฏิบัติงานนอกพื้นที่ - พัฒนาสื่อสังคมออนไลนเพื่อการสรา งความสัม พัน ธก ารประชาสัม พัน ธ และการประสานงานกระทรวงยุติธรรม ความตองการใชงานขอมูลจากสวนราชการในสังกัดกระทรวงสวนราชการ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม - ข อ มู ล คดี ย าเสพติ ด - ข อ มู ล ผู ต อ งขั ง คดี เ ด็ ก - ข อ มู ล ประวั ติ ผู ต อ งขั ง หนา 2-24


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.6 ตารางสรุปความตองการดานเทคโนโลยีและการสื่อสาร (ตอ) ดาน รายละเอียดของความตองการ 2) ดานระบบสารสนเทศ ความตองการใชงานขอมูลจากสวนราชการภายนอก และดานขอมูล (ตอ) - ขอ มูล ทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง ตอ งการใหขอ มูล สําหรับ การสนับสนุนการปฏิบัติงานรวดเร็ว ถูกตอง และทันเวลา - ตองการใหมีการแยกความแตกตางของการทํางานเชิงคุณภาพ และคุณภาพ ของข อ มู ล ให ชั ด เจน 3) ดานบุคลากรและ ดานบุคลากร การฝกอบรม - ตองการอัตรากํา ลัง เพิ่ม เติม เพื่อ ใหส อดคลอ งการปฏิบัติง านของแตล ะ สวนราชการ ดานการฝกอบรม - ฝกอบรมการใชงานระบบสารสนเทศแกบุคลากรในสวนราชการเพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการปฏิบัติงาน - ปรั บ ปรุ ง ความรู พื้ นฐานของผู ใ ช ง านเพื่ อ ให ส ามารถบริ ห ารจั ด การทาง ดานเทคโนโลยีสารสนเทศดวยตนเอง - พั ฒ นาบุ ค ลากรในด า นการใช ง านระบบคอมพิ ว เตอร เ พื่ อ ตอบสนอง ความกาวหนาของเทคโนโลยีอยางทันทวงที - จัดสรรงบประมาณในการฝกอบรมบุคลากรใหเพียงพอและครบถวนตาม อั ตรากํ าลั งของส วนราชการที่ ตองการบุ คลากรที่ มี ทักษะด านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 4) ดานการบริหารจัดการ - การบริ ห ารจั ด การสิ ท ธิ์ ก ารเข า ถึ ง ระบบสารสนเทศและข อ มู ล เทคโนโลยีสารสนเทศ อย า งเหมาะสม และการสื่อสาร - การจัดการการบํารุงรักษาระบบที่ครอบคลุมเหมาะสม - มีการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ อาทิ การกําหนดสิทธิ์ การเขาถึงของฐานขอมูล ระบบสํารองขอมูล (Backup Site) - การใชโปรแกรมสําเร็จรูปถูกลิขสิทธิ์ - การบริหารจัดการความตองการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ อาทิ o ประสานความรวมมือระหวางสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อกําหนดวัตถุประสงคและประโยชนการใชงานระบบสารสนเทศที่ ใชงานรวมกันไดอยางชัดเจน o การเก็บ รวบรวมความต อ งการที่ครอบคลุม เพื่อ ให ร ะบบที่จ ะทํ า การพัฒนาขึ้นไมซ้ําซอนกัน - มีการสนับสนุนดานตาง ๆ แกผูใชงาน อาทิ o ขั้นตอนการแกไขปญหาพื้นฐาน และมาตรการใชงานระบบสารสนเทศ o วิธีการจัดการและแกไขปญหาพื้นฐาน

หนา 2-25


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

2.4 การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis)

การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) มีวัตถุประสงคเพื่อใหทราบถึงชอ งวางทางดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อ สารของกระทรวงยุ ติ ธรรมเปรียบเทียบกับ เปาหมายและความต อ งการทางด า น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อชี้ใหเห็นถึงสิ่งที่ควรดําเนินการปรับปรุงและกําหนดแนวทางการ ปรับปรุงดวยการจั ดกิจกรรม ซึ่งกิจ กรรมดังกลาวจะถูกเลือกจากกิจกรรมที่ยังไมบรรลุเ ปาหมายหรือยังไม ตอบสนองเปาหมายขององคกร เพื่อปดชองวางและเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานใหนําไปสูเปาหมายที่ วางไว

2.4.1 เปาหมายและความตองการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จากการวิเคราะหปญหาและความตองการในระดับตาง ๆ ไดแก ระดับผูบริหารของกระทรวง ยุติธรรม ระดับสวนราชการในสังกัดกระทรวง และระดับปฏิบัติการทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร พบวากระทรวงยุติธรรมมีเปาหมายการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบ ไปดวย 4 ดาน ไดแก • เปรียบเทียบเปาหมายที่เกี่ยวของกับดานการสรางนวัตกรรม • เปรียบเทียบเปาหมายที่เกี่ยวของกับดานครอบคลุมการปฏิบัติงาน • เปรียบเทียบเปาหมายที่เกี่ยวของกับดานการบูรณาการ • เปรียบเทียบเปาหมายที่เกี่ยวของกับดานการพัฒนาอยางตอเนื่อง และเมื่อวิเคราะหสถานภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปรียบเทียบกับเปาหมายและ ความตองการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของกระทรวงยุติธรรม สามารถสรุปชองวาง กิจกรรมที่ ตองดําเนินการเพื่อลดชองวาง และเทคโนโลยีที่สามารถนํามาสนับสนุน สามารถสรุปไดดังตาราง 2.7 ตาราง 2.7 การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) เปาหมาย สถานภาพองคประกอบ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

การสรางนวัตกรรม

ระบบสารสนเทศ - ขาดการพัฒนาและ ประยุกตใชนวัตกรรม

กิจกรรมที่ตองดําเนินการ

ระบบสารสนเทศ - ปรับปรุงกระบวนการ ปฏิบัติงานใหเหมาะสมกับ นวัตกรรม - ศึกษา วิจัย และ พัฒนาการประยุกตใช นวัตกรรม ระบบโครงสรางพื้นฐาน ระบบโครงสรางพื้นฐาน - ระบบโครงสรางพื้นฐานไม - เพิ่มประสิทธิภาพระบบ รองรับการพัฒนา เครือขายโครงสราง นวัตกรรมในอนาคต พื้นฐานใหรองรับ นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น - ขาดระบบ VDO Conference เพื่อการ ติดตอสื่อสารทั้งภายใน

เทคโนโลยีที่สนับสนุน -

Fingerprint Electronic Monitoring (EM) Mobile Application Business Intelligence (BI) Hybrid IT Cloud Computing Business Process Management (BPM)

หนา 2-26


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.7 การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) (ตอ) เปาหมาย สถานภาพองคประกอบ กิจกรรมที่ตองดําเนินการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร การสรางนวัตกรรม (ตอ)

ครอบคลุมการปฏิบัติงาน

สวนราชการกลางและสวน ภูมิภาค ขาดระบบ Unified Communications (UC) เพื่อใชงานระบบ สารสนเทศรวมกัน

อาทิ การรักษาความ ปลอดภัย การสํารอง ขอมูล ฯลฯ - จัดหา และติดตั้งระบบ VDO Conference ให ครอบคลุมสวนราชการ กลางและสวนภูมิภาค - จัดหา และพัฒนาระบบ Unified Communications (UC) เพื่อใชงานรวมกัน กับระบบสารสนเทศใน สวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม การบริหารจัดการ ICT การบริหารจัดการ ICT - บุคลากรไมใชงานระบบ - สงเสริมและผลักดันการ สารสนเทศที่มีอยูใน พัฒนานวัตกรรมใหมีการ ปจจุบัน ใชงาน ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ - ระบบสารสนเทศปจจุบัน - พัฒนาระบบ Common ไมครอบคลุมตามภารกิจ Service ใหครอบคลุมการ หนาที่หลัก ปฏิบัติงานทีมีขั้นตอนการ ปฏิบัติงานเหมือนกัน อาทิ - ระบบสารสนเทศไม ระบบพัสดุฯ ระบบสาร ตอบสนองตอการ บรรณอิเล็กทรอนิกส เปน ปฏิบัติงานขององคกร ตน เพื่อใหบริการสวน - มี Common Service ราชการในสังกัดกระทรวง เพียงบางสวน เชน KM ยุติธรรม e-Learning และ ฐานขอมูลกฎหมาย แตยัง - ขยายผลระบบ Common Service เดิมใหรองรับการ ไมมีการใหบริการแกสวน ใชงานของสวนราชการใน ราชการในสังกัดกระทรวง สังกัดกระทรวงยุติธรรม ยุติธรรมไดอยางทั่วถึง ระบบโครงสรางพื้นฐาน ระบบโครงสรางพื้นฐาน - ขยายเครือขาย และ - อุปกรณเครือขายมีความ พัฒนาการเชื่อมโยง ลาสมัย สงผลกับความ เครือขายใหเปนมาตรฐาน มั่นคงปลอดภัยของระบบ เดียวกัน เพื่อรองรับการใช เครือขาย งานทั้งสวนราชการกลาง และสวนภูมิภาค

เทคโนโลยีที่สนับสนุน -

-

-

ระบบจัดการงาน (Task Management) และ ระบบจัดการเอกสาร (Document Management) Enterprise Architecture (EA) Hybrid IT Cloud Computing

หนา 2-27


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.7 การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) (ตอ) เปาหมาย สถานภาพองคประกอบ กิจกรรมที่ตองดําเนินการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ครอบคลุมการปฏิบัติงาน (ตอ)

การบูรณาการขอมูล และ การบริการสารสนเทศ

-

การเชื่อมโยงเครือขาย ความเร็วสูงไมครอบคลุม สวนราชการกลางและสวน ภูมิภาค

-

พัฒนาการเชื่อมโยง เครือขายความเร็วสูงให ครอบคลุมทั้งสวนราชการ กลางและสวนภูมิภาค - ปรับปรุงระบบเครือขายให มีประสิทธิภาพรองรับ IPv6 การบริหารจัดการ ICT การบริหารจัดการ ICT - จัดทําสถาปตยกรรม องคกร (EA) ของ กระทรวงยุติธรรม เพื่อวาง แผนการพัฒนาระบบ สารสนเทศใหครอบคลุม ภารกิจกระทรวงยุติธรรม - พัฒนาทักษะบุคลากร ทั้ง ผูใชงานและผูดูแลระบบ ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ - มีการบูรณาการขอมูลบาง - พัฒนาระบบศูนยกลาง สวนบนระบบ DXC ขอมูล และระบบ ศูนยกลางบริการ - ไมมีศูนยกลางบริการ อิเล็กทรอนิกสของ อิเล็กทรอนิกส กระทรวงยุติธรรมให - ไมมีระบบสารสนเทศ สามารถรองรับการใชงาน เชิงกลยุทธระดับกระทรวง ระบบสารสนเทศของ กระทรวงยุติธรรมไดจาก จุดเดียว - พัฒนาการบูรณาการ ขอมูลสารสนเทศเชิง กลยุทธ อาทิ ระบบการ วิเคราะหขอมูลเชิงสถิติ สําหรับผูบริหาร ระบบโครงสรางพื้นฐาน ระบบโครงสรางพื้นฐาน - เพิ่มประสิทธิภาพเรื่อง ความครอบคลุมการ ปฏิบัติงานและความ ปลอดภัย - จัดทําศูนยปฏิบัติงาน คอมพิวเตอรกลางสวน

เทคโนโลยีที่สนับสนุน -

-

MOJ Portal System Enterprise Architecture (EA) Business Intelligence (BI) Hybrid IT Cloud Computing

หนา 2-28


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559

ตาราง 2.7 การวิเคราะหชองวาง (Gap Analysis) (ตอ) เปาหมาย สถานภาพองคประกอบ กิจกรรมที่ตองดําเนินการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร การบูรณาการ (ตอ)

การบริหารจัดการ ICT การพัฒนาอยางตอเนื่อง

ระบบสารสนเทศ ระบบโครงสรางพื้นฐาน การบริหารจัดการ ICT - สวนราชการสวนใหญไมมี การบริหารจัดการระบบ สารสนเทศตาม มาตรฐานสากล - ขอจํากัดทางดาน งบประมาณการ บํารุงรักษา - การแลกเปลี่ยน ประสบการณ และการ ประสานงานระหวางสวน ราชการไมทั่วถึง

เทคโนโลยีที่สนับสนุน

ราชการในสังกัดกระทรวง ยุติธรรม (Colocation Data Center) - จัดทําศูนยปฏิบัติงาน สํารองกลางกระทรวง ยุติธรรม (DR Site) การบริหารจัดการ ICT - จัดทําสถาปตยกรรม องคกร (Enterprise Architecture) ระบบสารสนเทศ ระบบโครงสรางพื้นฐาน การบริหารจัดการ ICT - กําหนดกรอบการพัฒนา แผนแมบทดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร - ประยุกตใชกระบวนการ ดานระบบบริหารจัดการ การใหบริการกระทรวง ยุติธรรม อาทิ ITSM และ ISMS ใหเปนมาตรฐานสากล - จัดทําแผนการประสาน ความสัมพันธบุคลากร จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน ประสบการณ และ เผยแพรความรูดาน เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารทั้งในและ ตางประเทศ

หนา 2-29


บทที่ 3 วิ สั ยทั ศน พั นธกิ จ ยุ ทธศาสตร และกลยุ ทธ ด านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม ในบทนี้กลาวถึงวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร และกลยุทธดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของกระทรวงยุติธรรม เพื่อเปนนโยบายกําหนดทิศทางการพัฒนา การบริหารจัดการ และการประยุกตใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารสําหรับปงบประมาณ พ.ศ. 2556–2559 ซึ่งการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร และกลยุทธนี้เปนผลมาจากการศึกษาวิเคราะหสภาพดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง ยุติธรรม การศึกษานโยบายของผูบริหารระดับสูง ความตองการของผูปฏิบัติงาน รวมทั้งการดําเนินการประชุม เชิงปฏิบัติการเพื่อคัดเลือกกลยุทธ โดยกระทรวงยุติธรรมไดกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรหลัก และกลยุทธ ภายใต ยุ ท ธศาสตร ดั ง นี้

3.1 วิสัยทัศน “ขับเคลื่อนภารกิจกระทรวงยุติธรรมดวยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพือ่ ยกระดับการบริหารจัดการที่เปนสากล” “Achieving management standards at the global level through the use of Information and Communication Technology in order to fulfill the mission of Ministry of Justice”

หนา 3-1


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

3.2 พันธกิจ

3.2.1 พั ฒ นาตนเองให เ ป น องค ก รสมัย ใหม และสามารถประยุก ตใ ชเ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ และการสื่ อ สารใหรองรับการปฏิบัติงานตามภารกิจไดอยางครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ 3.2.2 เสริมสรางศักยภาพทรัพยากรบุคคลดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและบูรณาการ สรางสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารภายในองคกร เพื่อมุงสูความเปนเลิศในการสรางนวัตกรรม 3.2.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เปนมาตรฐานเดียวกัน มีความรวดเร็ว ทันสมัย มั่นคงปลอดภัย และนาเชื่อถือ เพื่อใหครอบคลุมการปฏิบัติงานอํานวยความยุติธรรมทุกที่ทุกเวลา 3.2.4 พัฒนากระบวนการและเพิ่มขีดความสามารถการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานอยางมีคุณภาพและตอเนื่อง

3.3 ยุทธศาสตร

ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม มีดังนี้

ภาพ 3.1 ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารของกระทรวงยุติธรรม

หนา 3-2


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 3.1 ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงยุติธรรม ยุทธศาสตร ประเด็นยุทธศาสตร เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหาร - พัฒนาและปรับปรุง กระบวนการดานการบริห ารจัดการ จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารเพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการใหบริการ การรักษาความมั่นคงปลอดภัย สารสนเทศ และการจัดการความตอเนื่องของกระบวนการ ทางธุรกิจ - พัฒนากลไกสรางเครือขายความรวมมือของบุคลากรและ สวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กระทรวงยุติธรรม เพื่อเพิ่มพูนความเขมแข็งดานการบริหาร จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง ยุติธรรม พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรดานเทคโนโลยี - พัฒนาสมรรถนะดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแก สารสนเทศและการสื่อสาร บุคลากรผูเกี่ยวของในกลุมตาง ๆ เพื่อนําไปสูการประยุกตใช เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอยางยั่งยืนเพิ่มประสิทธิภาพ การใชงานเพื่อใหเกิดความคุมคาตอการลงทุน ดังนี้ o เจาหนาที่ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร: พัฒนาความรูตามภารกิจหนาที่เพื่อสามารบริหาร จัดการ และดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ o เจาหนาที่ผูใชงานทั่วไป: พัฒนาความรูค วามเขาใจและ ทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของตนเองไดอยางมี ประสิทธิภาพ ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและเชื่อมโยง - สรางนวัตกรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ ที่ค รอบคลุ ม ภารกิ จ หลั ก การบริ ห ารจั ด การภายใน และการให บ ริ ก ารประชาชน รวมทั้ ง มุง เนน การสรา ง นวัตกรรมใหเ กิด ทางเลื อ กในการเข า ถึ ง สารสนเทศ ของกระทรวงอย า งสะดวก และรวดเร็ ว - พั ฒ นาการเชื่ อ มโยงและการบู ร ณาการ เพื่ อ ให เ กิ ด การใชง านขอ มูล สารสนเทศอยา งมีค ุณ คา มากขึ ้น สรางประโยชน ต อ การบริ ห ารจั ด การของกระทรวง ยุ ติ ธ รรม และการอํานวยความยุติธรรม

หนา 3-3


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 3.1 ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงยุติธรรม (ตอ) ยุทธศาสตร ประเด็นยุทธศาสตร บูรณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน - เพิ ่ ม สมรรถ นะของระ บบโครงส ร า งพื ้ น ฐา น เครือขายสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร ด า น เท คโ นโ ลยี ส า รส นเ ทศแล ะก าร สื ่ อ สา ร โดยการเพิ่ ม ความครอบคลุ ม ของการให บ ริ ก าร ด า นระบบเครื อ ข า ย ระบบคอมพิวเตอร อุปกรณ คอมพิวเตอรและอุป กรณตอ พวง ระบบการรั ก ษา ความมั ่น คงปลอดภัย สารสนเทศ ระบบสื ่อ สาร สารสนเทศ อาทิ o ปรับ ปรุง และยกระดับ โครงสรา งพื้น ฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร ให มีม าตรฐานการเชื่ อมตอ และการรัก ษา ความมั่นคงปลอดภัยตามมาตรฐานสากล o พั ฒ นาบริ ก ารโครงสร า งพื ้ น ฐานร ว ม (Common Information Technology Infrastructure) ของกระทรวงยุติธรรม o พัฒนาระบบสื่อสารภายในกระทรวงยุติธรรม ดวยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

หนา 3-4


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

3.4 ความสัมพันธของยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม

ความสัมพันธของแผนงานภายใตแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฉบับนี้กับของยุทธศาสตรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ ยุทธศาสตรของกระทรวง ยุติธรรม ยุทธศาสตรของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ สารของอาเซียน 2015 กรอบนโยบายเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร พ.ศ.2554-2563 ของประเทศไทย (ICT2020) และแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ.2552-2556 ซึ่งมีรายละเอียด ดังภาพ 3.2

ภาพ 3.2 ความสัมพันธของยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 กับนโยบายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เกีย่ วของ

หนา 3-5


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

นอกจากนี้สามารถสรุปความสอดคลองของแผนงานภายใตแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารฉบับนี้กบั ของยุทธศาสตรของกระทรวงยุติธรรม แสดงรายละเอียด ดังภาพ 3.3

ภาพ 3.3 ความสอดคลองระหวางยุทธศาสตรแผนแมบทดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของกระทรวงยุติธรรม กับยุทธศาสตรกระทรวงยุติธรรม 3.4.1 ยุทธศาสตรที่ 1: เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เปาหมาย

เพื่อใหสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีก ระบวนการและขั้นตอนที่มีม าตรฐาน ด า นการบริ ห ารจั ด การการใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การบริหาร จั ด การความมั่ น คงปลอดภั ย และมี แ นวทางการจั ด การและบํา รุ ง รั ก ษาทรั พ ยากร ด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารที่ เ หมาะสมเพื่ อ สามารถให บ ริ ก ารได อย า งต อ เนื่ อ งและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

หนา 3-6


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

กลยุทธที่ 1: พัฒ นานโยบายและมาตรฐานกลางด านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ เพิ่ม ขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีมาตรฐาน แผนงานที่ 1: จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม แนวทางการดําเนินงาน ระยะที่ 1: จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 1) ประเมิ น ความเหมาะสมและวิ เ คราะห ป จ จั ย เกื้ อ หนุ นการประยุ ก ต ใ ช เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในปจจุบันของกระทรวงยุติธรรม 2) กําหนดสถาปตยกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม 3) กําหนดแผนการปรับ ปรุ งและการพั ฒ นาเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อสารของ กระทรวงยุติธรรม 4) จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม ระยะที่ 2: จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2560–2562 1) ประเมิน ความเหมาะสมและวิ เ คราะห ป จ จั ย เกื้ อ หนุ นการประยุ ก ต ใ ช เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในปจจุบันของกระทรวงยุติธรรม 2) กําหนดสถาปตยกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม 3) กําหนดแผนการปรับปรุงและการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กระทรวงยุติธรรม 4) จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม แผนงานที่ 2: จัด ทํ า แผนแมบ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารของสว นราชการในสัง กัด กระทรวงยุติธรรม แนวทางการดําเนินงาน ระยะที่ 1: จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติ ธรรมให ส อดคลอ งกับ แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 1) ประเมิ น ความเหมาะสมและวิ เ คราะห ป จ จั ย เกื้ อ หนุ นการประยุ ก ต ใ ช เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในปจจุบัน 2) กําหนดสถาปตยกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3) กําหนดแผนการปรับปรุง และการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4) จัดทํ าแผนแม บ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารของส วนราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุติธรรม

หนา 3-7


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

กลยุท ธที่ 1: พั ฒ นานโยบายและมาตรฐานกลางดา นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารเพื่ อ เพิ่ ม ขีดความสามารถการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีมาตรฐาน (ตอ) แผนงานที่ 2: ระยะที่ 2: จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการในสังกัด (ตอ) กระทรวงยุติ ธรรมให ส อดคลอ งกับ แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (ฉบับที่ 5) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2560-2562 1) ประเมิ น ความเหมาะสมและวิ เ คราะห ป จ จั ย เกื้ อ หนุ นการประยุ ก ต ใ ช เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในปจจุบัน 2) กําหนดสถาปตยกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3) กําหนดแผนการปรับปรุง และการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4) จัดทํ าแผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารของส วนราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุติธรรม แผนงานที่ 3: จัดทําสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture) แนวทางการดําเนินงาน 1) การศึ ก ษา วิ เ คราะห ภ ารกิ จ หลั ก ฟ ง ก ชั่ น งานหลั ก และประเมิ น สถานภาพ ด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารต อ การสนั บ สนุ น ฟ ง ก ชั่ น งานหลั ก ของกระทรวงยุ ติ ธ รรม และส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม 2) การออกแบบสถาปตยกรรมองคกรเพือ่ การบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของกระทรวงยุ ติ ธ รรม และส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม 3) การวิเคราะหเปรียบเทียบชองวางระหวางสถานภาพดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสารในปจจุบันกับสถาปตยกรรมองคกรที่ออกแบบ 4) จัด ทํา มาตรฐานการจัด เก็บ ขอ มูล สารสนเทศที ่ค รอบคลุม ความมั่น คงปลอดภัย สารสนเทศ 5) กําหนดแผนงานดานการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อ สนับ สนุน การนําสถาปตยกรรมองคกรนําไปสูการใชงานจริง แผนงานที่ 4: จัดทําระบบบริหารจัดการการใหบริการกระทรวงยุติธรรม (Information Technology Service Management: ITSM) แนวทางการดําเนินงาน 1) ศึ ก ษา วิ เ คราะห ส ภาพการใช ง าน และการให บ ริ ก ารเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สารของส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม 2) กํ า หนดกระบวนการและขั้ น ตอนมาตรฐานเพื่ อ การควบคุ ม คุ ณ ภาพการบริ ก าร เทคโนโลยีสารสนเทศของสวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารภายใน กระทรวงยุติธรรม 3) กําหนดกระบวนการและขั้ นตอนมาตรฐานเพื่ อการปรั บปรุ ง การบริ ก ารเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารอยางตอเนื่อง

หนา 3-8


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

กลยุทธที่ 1: พัฒ นานโยบายและมาตรฐานกลางด านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ เพิ่ม ขีดความสามารถการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีมาตรฐาน (ตอ) แผนงานที่ 5: จั ด ทํ า ระบบบริ ห ารจั ด การความมั่ น คงปลอดภั ย ด า นสารสนเทศ (Information Security Management System: ISMS) แนวทางการดําเนินงาน 1) กํ า หนดขอบเขตเบื้ อ งต น ของระบบจั ด การความมั่ น คงปลอดภั ย สารสนเทศ (Preliminary ISMS Scope) 2) จัดทํานโยบายระบบจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (ISMS Policy) 3) ประเมิ น ความเสี ่ ย งตอ ความมั่น คงปลอดภัย สารสนเทศ (Risk Assessment) และจัดทําแผนการจั ดการความเสี่ ยง (Risk Treatment Plan) 4) จัดทําคําประกาศของขอบเขตการนําระบบจั ดการความมั่นคงปลอดภั ยสารสนเทศ ไปใชง าน (Statement of Applicability: SOA) 5) จัดทําคูมือการบริหารระบบจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (ISMS Manual) 6) จั ด ทํ า หรื อ ปรั บ ปรุ ง แผนบริ ห ารความต อ เนื่ อ งของการดํ า เนิ น งาน (Business Continuity Plan: BCP) 7) จั ดทํ าแนวนโยบายและแนวปฏิ บัติ ในการรั ก ษาความมั่น คงปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security Policy) ตัวชี้วัดกลยุทธ: 1. กระทรวงยุ ติ ธ รรมและส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก รอบแนวทางการดํา เนิ น งาน ด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร 2. กระทรวงยุติธรรมและส วนราชการในสัง กัดกระทรวงยุ ติธรรมมีส ถาป ตยกรรมองค ก ร (Enterprise Architecture) 3. สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีกระบวนการบริหารจัดการดานการใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เปนมาตรฐาน 4. สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศที่ เปนมาตรฐาน

หนา 3-9


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

กลยุทธที่ 2: ส ง เสริ ม การบริ ห ารจั ด การด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารให เ ข ม แข็ ง ด ว ย การเสริ ม สร า งความร ว มมื อ การประสานงาน และการแลกเปลี่ ย นประสบการณ แผนงานที่ 1: เสริ ม สร า งความสั ม พั น ธ การแลกเปลี่ ย นประสบการณ และการประสานงาน ด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร แนวทางการดําเนินงาน 1) จัดทําแผนการประสานความสัมพันธบุคลากรในการแลกเปลี่ยนประสบการณ และ การประสานงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทั้งใน และตางประเทศ 3) พั ฒ นาสื่ อ สั ง คมออนไลน เ พื่ อ การสร า งความสั ม พั น ธ ก ารประชาสั ม พั น ธ แ ละ การประสานงานกระทรวงยุ ติ ธ รรม 4) จั ดกิ จ กรรมเชิ ญ ผู เ ชี่ ยวชาญดานดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารทั้ง ใน และต า งประเทศมาเผยแพรค วามรู  เ พื ่ อ นํ า ควา ม รู  ที ่ ไ ด ม าป ระ ยุ ก ต ใ ช ก ั บ ระบบสารสนเทศ 5) ติ ด ต า ม และประเมิ น ผลก า ร เ ส ริ ม ส ร า ง ค วา ม สั ม พั น ธ ก า ร แ ล ก เ ป ลี ่ ย น ประสบการณ และการประสานงานด านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร ตัว ชี้วั ดกลยุ ท ธ : กระทรวงยุ ติธ รรมมีก ารดํ า เนิ น กิ จ กรรมเสริ ม สร างความสั ม พั น ธ การแลกเปลี่ ย น ประสบการณ และการประสานงานที่กําหนดอยางนอย 4 ครั้งตอป และสวนราชการในสั งกัดกระทรวง ยุติธรรมตองเขารวมกิจกรรมไมนอยกวา 3 ครั้งตอป

หนา 3-10


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

3.4.2 ยุ ท ธศาสตร ที่ 2: พั ฒ นาสมรรถนะของบุ ค ลากรด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สาร เปาหมาย

เพื่ อ ให บุ คลากรผู เ กี่ ยวข อ งทั้ง ในสวนของผูป ฏิบัติง านดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื ่ อ สาร และผูใชงานของส วนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรม มีทักษะ ความรู ความสามารถ และทัศนคติทดี่ ีตอการนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการปฏิบัติงาน ด า นการอํา นวยความยุ ติ ธ รรม และการบริหารจัดการภายในองคอยางมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชนสูงสุด และเพิ่มความคุมคาตอการลงทุนดานการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

กลยุทธที่ 1: กระตุนการพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนงานที่ 1: พัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามเสนทางความกาวหนา ในสายอาชีพ (Career Path) แนวทางการดําเนินงาน 1) กําหนดเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) ของบุคลากรดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 2) ศึกษา วิเคราะห และกําหนด - โครงสรางและภาระงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - ระดับตําแหนงงาน (Career Level) - เปาหมายของงาน (Target Job) - ขอบเขตของหนาที่ (Functional Area) แผนงานที่ 2: แผนงานพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แนวทางการดําเนินงาน 1) กําหนดกรอบการจัดทําแผนพัฒนาและฝกอบรมความรูความสามารถตามสมรรถนะ (Competency) 2) จัดทํามาตรฐานทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 3) ประเมินทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สารในองคกรตามเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) 4) จัดทําแผนการฝกอบรม ตามเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) 5) ดําเนินการฝกอบรมบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในองคกร ตัวชี้วัดกลยุทธ: 1. บุ คลากรด า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สารของส วนราชการในสัง กัดกระทรวงยุ ติ ธรรม มีเ ส นทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) 2. บุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดรับการพัฒนาทักษะตามเสนทางความกาวหนา ในสายอาชีพ (Career Path) ทุกสวนราชการ

หนา 3-11


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

กลยุทธที่ 2: กระตุนการปฏิบัติงานและการพัฒนาทักษะบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยอาศัยบุคลากรที่มีทัศนคติที่ดี แผนงานที่ 1: พัฒนาบุคลากรผูใชงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แนวทางการดําเนินงาน 1) ประเมินทักษะการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากรผูใชงานในองคกร 2) จั ดทํ าแผนการฝ ก อบรม เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการเรี ยนรู ความเข าใจด านเทคโนโลยี สารสนเทศ 3) ดําเนินการฝกอบรมบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 4) จัดทําแผนการดําเนินกิจกรรม เพื่อผลักดันและสรางความตระหนักในการประยุกตใช งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตัวชี้วัดกลยุทธ: บุคลากรผูใชงานไดรับการฝกอบรมหรือเขารวมกิจกรรมเพื่อผลักดันและสรางความตระหนัก ในการประยุกตใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อยางนอย • รอยละ 20 ในป พ.ศ. 2556 • รอยละ 40 ในป พ.ศ. 2557 • รอยละ 60 ในป พ.ศ. 2558 • รอยละ 80 ในป พ.ศ. 2559 3.4.3 ยุ ทธศาสตร ที่ 3: ผลักดันนวั ตกรรมสารสนเทศและการเชื่อมโยง เพื่อให เ กิดการใช สารสนเทศแบบบูรณาการ เปาหมาย

เพื่อ ใหส วนราชการในสังกัดกระทรวงยุ ติธรรมสามารถพัฒ นาและประยุ กต ใชนวัตกรรม สารสนเทศเพื่อ สนับ สนุนการบริ ห ารจั ดการภายในองค ก ร และบริ ก ารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส สนับสนุนใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลภายในเพื่อใหเกิดการเพิ่มมูลคาของการใชงานขอมูล สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการในระดับกระทรวง

หนา 3-12


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

กลยุทธที่ 1: ประยุกตใชเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อการฝกอบรมและเสริมสรางความรูสําหรับบุคลากร แผนงานที่ 1: พัฒนา ขยายการใชงานระบบจัดการองคความรู (Knowledge Management: KM) และระบบการเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Learning) แนวทางการดําเนินงาน ระยะที่ 1: พั ฒ นาและขยายผลระบบจั ด การองค แ ละระบบการเรี ย นรู ผ  า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ข องทุ ก ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม 1) ศึกษาความตองการ วิเคราะหและออกแบบระบบ 2) พัฒนาระบบสารสนเทศ 2.1) ขยายผลการใช ง านระบบการเรีย นรู ผ า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ใ ห ส ว นราชการ ในกระทรวงใช ง านร ว มกั น โดย o พิ จ ารณาบทเรี ย นและสื่ อ สารการเรี ย นรู ที่ ค วรจั ด ทํา o ประชาสั ม พั น ธ ก ารใช ง านสื่ อ การสอนอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส อ ย า งต อ เนื่ อ ง o ติ ด ตามและประเมิ น ผลการใช ร ะบบ 2.2) ขยายผลการใชงานระบบจัดการองคความรูโดย o พิจารณาองคความรูที่ควรจัดทํา o รวบรวมเอกสารเนื้อหาขององคความรู o จัดทําองคความรูในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส o ประชาสัมพันธการใชงานองคความรูอยางตอเนื่อง o ติดตามและประเมินผลการใชระบบ 3) ทดสอบ และนําระบบออกใชงาน 4) ประเมินผลการใชงานระบบ ระยะที่ 2: พัฒนาระบบจั ด การองค แ ละระบบการเรี ย นรู ผ า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ของ สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมใหรองรับอุปกรณสื่อสารไรสาย (Mobile Device) 1) ศึกษาความตองการ วิเคราะหและออกแบบระบบ 2) พัฒนาระบบสารสนเทศใหรองรับอุปกรณสื่อสารไรสาย (Mobile Device) 2.1) พั ฒ นาระบบการเรียนรูผานสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิก สใหเ ปน Mobile Application เพื่อ เพิ่มชอ งทางในการอํานวยความสะดวกในการใช งานให ส ามารถใช ง านได ทุก ที่ทุก เวลา 2.2) พัฒนาระบบจัดการองคความรูใหเปน Mobile Application เพื่อเพิ่มชองทางใน การอํานวยความสะดวกในการใชงานใหสามารถใชงานไดทุกที่ทุกเวลา 3) ทดสอบ และนําระบบออกใชงาน 4) ประเมินผลการใชงานระบบ ตัวชี้วัดกลยุทธ: 1. ทุก สว นราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธ รรมมีก ารจัดทําสื่อ การสอนอิเ ล็ก ทรอนิก ส อยา งนอ ย สวนราชการละ 2 หลักสูตรภายในป พ.ศ. 2559 2. ทุก สว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุติธ รรมมีก ารจัด ทํา หัว ขอ องคค วามรูต ามภารกิจ หลัก ของตนเองป ล ะ 1 หั วข อ ต อ ส วนราชการ 3. ทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีระบบใชงาน ดังตอไปนี้ - ระบบการเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส - ระบบจัดการองคความรู 4. ระบบการเรี ยนรูผานสื่ ออิ เ ล็ ก ทรอนิก สและระบบจัดการองคความรูส ามารถรองรับ การใชง าน ผานอุ ป กรณสื่ อ สารไร ส าย หนา 3-13


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

กลยุทธที่ 2: สงเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริการและบริหารจัดการภายในองคกร แผนงานที่ 1: แผนงานสงเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการภายในองคกร แนวทางการดําเนินงาน ระยะที่ 1: พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการองคกร พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการองคกร อาทิ - ระบบบริห ารจัดการกลางกระทรวงยุ ติธ รรม หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ ร องรั บ กระบวนการทํางานของแตล ะกรมที่ ส ามารถใช ง านร วมกั น อาทิ ระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส - ระบบสารสนเทศเพื่อการบริการของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ระยะที่ 2: พัฒ นาระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารเพื่อ การบริห ารจัดการ องคกรดวยเทคโนโลยีไรสาย 1) ศึกษาความตองการ วิเคราะหและออกแบบระบบเว็บไซตของกระทรวงยุติธรรม 2) พัฒ นาระบบสารสนเทศและ/หรื อ เว็ บ ไซต ของกระทรวงยุ ติธรรม และส วนราชการ ที่เกี่ยวของใหเปน Mobile Web เพื่อเพิ่มชองทางและอํานวยความสะดวกในการใชงาน 3) ทดสอบ และนําระบบสารสนเทศและระบบไรสายออกใชงาน 4) ประเมินผลการใชงานระบบสารสนเทศของกระทรวงยุติธรรม ตัวชี้วัดกลยุทธ: 1. กระทรวงยุติธรรมมีการพัฒนาและใชงานระบบสารสนเทศและการสื่อ สารเพื่อ การบริห ารจัดการ ภายในองคกร 2. สวนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมมี ก ารพั ฒ นาและใช ง านระบบสารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ การบริก าร 3. ทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการภายในและการบริการ ที่รองรับการใชงานไรสาย อยางนอยสวนราชการละ 1 ระบบ 4. เว็บไซตของกระทรวงยุติธรรมและ/หรือสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมสามารถรองรับการใช งานผานอุปกรณสื่อสารไรสาย

หนา 3-14


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

กลยุทธที่ 3: สงเสริมและพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนงานที่ 1: สงเสริมการพัฒนานวัตกรรมเพื่ออํานวยความยุติธรรม แนวทางการดําเนินงาน 1) จัดกิจ กรรมประกวดผลงาน ภายใต แนวคิ ดเทคโนโลยี ระบบสารสนเทศสร างสรรค ที่นํามาใชไดจริง 2) ศึ ก ษา วิ เ คราะห และออกแบบแนวทางการประยุ ก ต ใ ช เ ทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย เพื่ อ อํา นวยความสะดวกในการปฏิ บั ติ ง านขององค ก ร 3) สวนราชการตาง ๆ ในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมมีการพัฒนานวัตกรรมดวยเทคโนโลยี ที่ทันสมัย 4) ประเมินผลงาน และมอบรางวัลใหแกนวัตกรรมที่ชนะการประกวด แผนงานที่ 2: พัฒนานวัตกรรมสารสนเทศอํานวยความยุติธรรม แนวทางการดําเนินงาน 1) ศึกษา วิเคราะหสถานภาพปจจุบัน และความตองการใชงาน 2) กําหนดรูปแบบและแนวทางการทดลองใชงานเทคโนโลยี 3) จัดเตรียมอุปกรณสาํ หรับการทดลอง เพื่อการวิเคราะหความเปนไปไดในการประยุกตใช เทคโนโลยีที่เลือก 4) ทําการทดลองใชเทคโนโลยีที่เลือก 5) สรุปผลความเปนไปได และผลกระทบดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานสังคม ดานสิทธิ มนุษยชน ดานกฎหมาย และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ตัวชี้วัดกลยุทธ: 1. สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมมีการจัดกิจกรรมประกวดผลงานนวัตกรรมอยางนอย 1 กิจกรรมตอป 2. ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ต ิ ธ รรมส ง ผลงานนวั ต กรรมเข า ร ว มประกวดอย า งน อ ย ส ว นราชการละ 1 ผลงานตอ ป 3. ทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม มีแนวทางการประยุกตใชนวัตกรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

หนา 3-15


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

กลยุทธที่ 4: พัฒนาการบูรณาการขอมูลสารสนเทศกระทรวงยุติธรรม แผนงานที่ 1: พัฒนาศูนยกลางบริการอิเล็กทรอนิกสของกระทรวงยุติธรรม แนวทางการดําเนินงาน 1) จั ด หาเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ เ พื่ อ พั ฒ นาศู น ย ก ลางยุ ติ ธ รรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เพื่ อ การบริ ก ารประชาชน 2) กําหนดมาตรฐานของการพัฒ นาบริก ารอิเ ล็ก ทรอนิก สเ พื่อ การเชื่อมโยงบริก ารของ สวนราชการตาง ๆ ภายในกระทรวงยุติธรรมเขาสูการใหบริการผานศูนยกลางยุติธรรม อิเล็กทรอนิกส 3) พั ฒ นาศู นย ก ลางบริ ก ารอิ เ ล็ กทรอนิ ก ส ก ระทรวงยุ ติ ธรรมโดยการเชื่ อมโยงบริ ก าร อิเล็กทรอนิกสของสวนราชการในสังกัดกระทรวง 4) ทุกสวนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมเตรียมความพรอ มเพื่อ รองรับการใชงาน ศูนยกลางยุติธรรมอิเล็กทรอนิกส แผนงานที่ 2: พัฒนาการบูรณาการขอมูลสารสนเทศกระทรวงยุติธรรม แนวทางการดําเนินงาน 1) ศึกษาวิเคราะหความตองการเชื่อมโยงขอมูล และแลกเปลี่ยนขอมูลของสวนราชการ ภายใน และสวนราชการภายนอกกระทรวงยุติธรรม 2) ศึ ก ษา วิ เ คราะห ค วามพร อ มของข อ มู ล สารสนเทศของส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมเพื่ อ เชื่ อ มโยงนํา เข า สู ร ะบบคลั ง ข อ มู ล 3) กําหนดรายละเอียด และขอตกลงดานการเชื่อมโยงขอมูลระหวางกระทรวงยุติธรรม และสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 4) จัดหาเครื่องมือเพื่อการเชื่อมโยงขอมูล และปรับเปลี่ยนขอมูลใหอยูในรูปแบบทีเ่ หมาะสม 5) พัฒนาการเชื่อมโยงขอมูลและระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธกระทรวงยุติธรรม 6) สนับสนุน ติดตามผลการใชงาน และปรับปรุงการเชื่อมโยงขอมูล และขอมูลสารสนเทศ เชิงกลยุทธระดับกระทรวงยุติธรรมอยางตอเนื่อง แผนงานที่ 3: บริ หารจั ดการฐานข อมู ล กลางลายพิม พนิ้วมือมาตรฐาน (Fingerprint) กระทรวง ยุติธรรม แนวทางการดําเนินงาน 1) ศึ ก ษา วิ เ คราะห ส ถานภาพป จ จุ บั น และความต อ งการใช ง านลายพิ ม พ นิ้ วมื อ ของ สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 2) กําหนดมาตรฐานการจัดเก็บ และแลกเปลี่ยนขอมูล 2.1) กําหนดมาตรฐานเพื่อใหการจัดเก็บขอมูลเปนมาตรฐานเดียวกัน 2.2) กําหนดวิธีการสืบคนขอมูล การจัดเก็บขอมูล และการเชื่อมโยงขอมูล 3) ออกแบบสถาปตยกรรมการเชื่อมโยง และสืบคนขอมูลลายพิมพนิ้วมือ 4) กําหนดแนวทางการทดสอบการเชื่อมโยง และสืบคนขอมูลลายพิมพนิ้วมือ ตัวชี้วัด: 1. ส ว นราชการในสัง กั ดกระทรวงยุ ติธ รรมมี บ ริ ก ารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก สที่ เ ชื่ อ มโยงเข า สูศู นย ก ลางบริก าร อิเล็กทรอนิกสของกระทรวงยุติธรรม 2. กระทรวงยุติธรรมมีศูนยกลางบริการอิเล็กทรอนิกส 3. กระทรวงยุติธรรมมีระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ 4. กระทรวงยุติธรรมมีระบบบริหารจัดการฐานขอมูลกลางลายพิมพนิ้วมือมาตรฐานกระทรวงยุติธรรม 5. กระทรวงยุติธรรมมีการเชื่อมโยงขอมูลกับสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมที่เกี่ยวของ หนา 3-16


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

3.4.4 ยุทธศาสตรที่ 4: บู รณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และ ระบบคอมพิวเตอร เปาหมาย

เพื่ อ ใหส วนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมมีหอ งศูนยคอมพิวเตอร ระบบเครือ ขาย มีมาตรฐานความปลอดภัยและครอบคลุมพื้นที่การปฏิบัติงาน และมีทรัพยากรดานอุปกรณ คอมพิวเตอรเพียงพอตอและมีสภาพเหมาะสมตอการปฏิบัติงาน

กลยุทธที่ 1: ประยุกตใชสื่อบรอดแบนด เพื่อสนับสนุนการสื่อสารและพัฒนาการเชื่อมโยงเครือขายภายใน แผนงานที่ 1: พัฒนาการเชื่อมโยงเครือขายใหเปนมาตรฐานเดียวกันทั้งส วนราชการสวนกลางและ หนวยสวนภูมิภาคในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แนวทางการดําเนินงาน ระยะที่ 1: กําหนดมาตรฐานกลางระบบเครือขาย 1) ศึกษาสภาพการเชื่อมโยงเครือขายทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาค 2) กําหนดมาตรฐานกลางกระทรวงยุติธรรมในการเชื่อมโยงเครือขายระหวางสวนราชการ ภายในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ระยะที่ 2: จัดทําและปรับปรุงระบบเครือขาย จัดทําและปรับปรุงระบบเครือขายใหเปนไปตามมาตรฐานตามที่กระทรวงยุติธรรมกําหนด แผนงานที่ 2: พัฒนาการเชื่ อมโยงเครื อขายความเร็วสูงครอบคลุมส วนราชการในสังกัดกระทรวง ยุติธรรมในสวนภูมิภาค แนวทางการดําเนินงาน 1) ศึกษาและรวบรวมขอมูลในการใชงานระบบเครือขายในสวนราชการสวนภูมิภาค 2) จัดทําปรับปรุงระบบเครือขายสวนราชการสวนภูมิภาคใหเปนเครือขายความเร็วสูง แผนงานที่ 3: พั ฒ นาระบบการสื่ อ สารให ครอบคลุ ม ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมใน สวนภูมิภาค แนวทางการดําเนินงาน ระยะที่ 1: จัดหาและติดตั้งระบบ VDO Conference 1) ศึก ษาและวิเ คราะหความตอ งการระบบ VDO Conference สําหรับ ส วนราชการ 6 สวนราชการ และสวนราชการในสวนภูมิภาคนํารอง 10 จังหวัด 2) จัดหาและติดตั้งระบบ VDO Conference สําหรับ 6 สวนราชการ ไดแก กรมบังคับคดี กรมราชทัณฑ กรมสอบสอนคดีพิเศษ สํ านั กงาน ป.ป.ท. สํานักงาน ป.ป.ง. สํานักงาน ป.ป.ส. สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและสวนราชการในสวนภูมิภาคนํารอง 10 จังหวัด 3) ทดสอบและนําไปใชงาน 4) ประเมินผลการใชงาน

หนา 3-17


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

กลยุทธที่ 1: ประยุกตใชสื่อบรอดแบนด เพื่อสนับสนุนการสื่อสารและพัฒนาการเชื่อมโยงเครือขายภายใน (ตอ) แผนงานที่ 3: ระยะที่ 2: จัดหา VDO Conference (ตอ) 1) จัดหาระบบ VDO Conference ขยายผลสําหรับ 5 สวนราชการ ไดแก สถาบันนิติ วิทยาศาสตร กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กรมพินิจ กรมคุมประพฤติ สํานักกิจการ ยุติธรรม และขยายผลแกสวนราชการในสวนภูมิภาคนํารอง 10 จังหวัด 2) ทดสอบและนําไปใชงาน 3) ประเมินผลการใชงาน 4) ศึก ษาและวิเ คราะหค วามตอ งการระบบ VDO Conference ใหค รอบคลุม ทุก สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ระยะที่ 3: จัดหาและพัฒนาระบบ Unified Communications (UC) 1) ศึก ษาและวิเ คราะหความตอ งการในการใชง านระบบสั่ง การอิเ ล็ก ทรอนิก ส อาทิ ระบบ UC 2) สวนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมพิจ ารณาจัดหาเครื่อ งมือ และอุป กรณเ พื ่อ พัฒนาระบบ UC ตามความเหมาะสมดานการใชงานของตนเอง 3) พัฒ นาระบบ UC เพื่อ ใชง านรวมกับ ระบบสารสนเทศตาง ๆ ในสวนราชการ และ สวนราชการตาง ๆ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 4) ทดสอบและนําไปใชงาน 5) ประเมินผลการใชงาน ตัวชี้วัด: 1. สวนราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมีระบบ VDO Conference และ ระบบ UC ที่เหมาะสมกับ สภาพความตองการ 2. สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีระบบ VDO Conference และระบบ UC ซึ่งสามารถเชื่อมโยง กันระหวางสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 3. กระทรวงยุ ติธ รรมและส วนราชการในสัง กั ดกระทรวงยุ ติธรรมมีม าตรฐานการเชื่อ มโยงเครือ ขา ย ครอบคลุมและรองรับระบบสื่อสาร 4. กระทรวงยุติธรรมมีเครือขายหลักรองรับระบบสื่อสารภายใน

หนา 3-18


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

กลยุทธที่ 2: พัฒนาระบบสนับสนุนหองศูนยคอมพิวเตอรที่มีความมั่นคงปลอดภัย แผนงานที่ 1: จัด ทํ า ศูน ยป ฏิบ ัต ิง านคอมพิว เตอรก ลางสว นราชการสัง กัด กระทรวงยุต ิธ รรม (Colocation Data Center กระทรวงยุติธรรมแหงใหม) แนวทางการดําเนินงาน 1) ศึกษาความตองการของระบบตาง ๆ ของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 2) ศึกษาและจัดทํา Service-Level Agreement (SLA) ของศูนยปฏิบัติงานคอมพิวเตอร กลางซึ่งใหบริการกับระบบของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 3) จัดทําศูนยป ฏิบัติง านคอมพิวเตอรก ลางและติดตั้งระบบตาง ๆ ของสวนราชการใน สังกัดกระทรวงยุติธรรม แผนงานที่ 2: จัดทําศูนยปฏิบัติงานสํารองกลางกระทรวงยุติธรรม (Disaster Recovery Site: DR Site) แนวทางการดําเนินงาน 1) ศึกษาความตองการของระบบตาง ๆ ของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 2) จัดหาสถานที่ตั้งศูนยปฏิบัติงานสํารอง 3) จัดทําศูนยปฏิบัติงานสํารองและจัดเตรียมอุปกรณ แผนงานที่ 3: พัฒนาหอง Data Center ของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมใหเปนมาตรฐาน เดียวกัน แนวทางการดําเนินงาน ระยะที่ 1: กําหนดมาตรฐานกลางห อ ง Data Center สํ าหรั บ ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุติธรรม 1) ศึกษาความตองการพื้นฐานในการใชงานระบบสนับสนุนหอง Data Center 2) กําหนดมาตรฐานระบบสนับสนุนหอง Data Center ระยะที่ 2: ปรับปรุงหอง Data Center ใหเปนไปตามมาตรฐาน 1) ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมจั ด หาเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ เ พื่ อ พั ฒ นา ระบบสนั บ สนุ น ห อ ง Data Center 2) ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมพั ฒ นาระบบสนั บ สนุ น ห อ ง Data Center ให เ ป น ไปตามมาตรฐาน 3) สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมทดสอบและนําไปใชงาน 4) สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมประเมินผลการใชงานระบบ แผนงานที่ 4: เพิ่มประสิทธิภาพและการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบเครือขาย แนวทางการดําเนินงาน 1) สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมศึกษา วิเคราะหอุปกรณเครือขายตาง ๆ 2) ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรมสรุ ป ผลการวิ เ คราะห เพื่ อ จั ด เตรี ยมการ ปรับเปลี่ยนและพัฒนาอุปกรณ 1) ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมจั ด หาเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ เ พื่ อ พั ฒ นา 2) ส วนราชการในสัง กั ดกระทรวงยุ ติ ธรรมทํ าการปรั บ เปลี่ย นอุ ป กรณเ ครือ ขายตาม แผนการปรับปรุงระบบ 3) สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมทดสอบและนําไปใชงาน สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมประเมินผลการใชงานระบบ หนา 3-19


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

กลยุทธที่ 2: พัฒนาระบบสนับสนุนหองศูนยคอมพิวเตอรทมี่ ีความมั่นคงปลอดภัย (ตอ) ตัวชี้วัด: 1. กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ศู น ย ป ฏิ บั ติ ง านคอมพิ ว เตอร ก ลางสํา หรั บ ให บ ริ ก ารส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม 2. กระทรวงยุติธรรมมีศูนยปฏิบัติงานสํารองกลางเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน 3. สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีหอง Data Center ตามมาตรฐาน 4. กระทรวงยุติธรรมมีมาตรฐานหอง Data Center 5. สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีอุปกรณเครือขายที่มีประสิทธิภาพและรองรับเทคโนโลยี IPv6 6. สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีแผนการปรับปรุงระบบเครือขายที่มปี ระสิทธิภาพสามารถรองรับ IPv6 กลยุทธที่ 3: จัดสรรทรัพยากรพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสําหรับผูใชงาน แผนงานที่ 1: จัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรพื้นฐาน เพื่อทดแทนเครื่องคอมพิวเตอรที่ลาสมัย แนวทางการดําเนินงาน 1) ส วนราชการในสั ง กัด กระทรวงยุ ติธรรมสํา รวจจํ านวนเครื่อ งคอมพิวเตอรพื้ นฐาน ใหเพียงพอตอความตองการและเครื่องคอมพิวเตอรที่มีอายุการใชงานมากกวา 5 ป 2) ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมจั ด ทํา แผนการจั ด หาและปรั บ เปลี่ ย น เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร พื้ น ฐาน 3) สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมจัดหาและปรับเปลีย่ นเครือ่ งคอมพิวเตอรพนื้ ฐาน ตัวชี้วัด: 1. สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีอัตราสวนอุปกรณคอมพิวเตอรลูกขาย 1 เครื่องตอ 1 คน 2. มีการจัดหาทรัพยากรพื้นฐานใหเหมาะสมเพียงพอตอผูป ฏิบตั ิงานที่ตองใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

หนา 3-20


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

3.5 ลําดับความสําคัญและเปาหมาย

การนําเอายุทธศาสตร ดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารไปใช ใหเ กิดผลสั มฤทธิ์นั้นจําเปน จะตองกําหนดเปาหมายของการดําเนินงานแตละระยะใหมีความชัดเจน รวมทั้งกําหนดขอบเขตของกิจกรรม และผลลัพธที่ตองดําเนินงานอยางชัดเจน ซึ่งในแผนแมบทฯ ฉบับนี้ไดกําหนดเปาหมายของการดําเนินงาน ในแตละปงบประมาณ ดังนี้

ภาพ 3.4 เปาหมายการดําเนินงานตามยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อ ให แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สารของกระทรวงยุติธ รรมฉบับ นี้ส ามารถ นํา ไปปฏิบ ัติ และประเมิ น ผลได จ ริ ง ในระหวา งวาระการดํา เนิน การ จึง ไดจัด ลํา ดับ ความสํา คัญ และ เปาหมายของแผนเป น 2 ระยะ ซึ่ ง มี ร ายละเอียดดัง นี้ 1) ระยะที่ 1 ป พ.ศ. 2556–2558 มุงเนนการปรับปรุงและการพัฒนาเครือขายบุคลากรและสวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมทั้งหมด เพื่อสรางความเขมแข็งดานการบริหาร จัดการ และความรวมมือสนับสนุนซึ่งกันและกัน รวมทั้งมุงเนนการพัฒนาระบบสารสนเทศและโครงสราง พื้นฐานที่สอดคลองรองรับการขยายตัวของการใชงาน โดยการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ต อ ง คร อบค ลุ ม ด า น กา รปฏิ บ ั ต ิ ง าน ภา ย ใ น ส ว น ร า ชก า ร กา รสื ่ อ สา รทา งเ ลื อ ก เพื ่ อ ทด แท น การเดิ น ทางและลดงบประมาณด า นการสื่ อ สาร การใหบ ริการประชาชนอยางทั่วถึงและครอบคลุ ม รวมทั้งการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสรวมระดับกระทรวง (MOJ Common e-Service) เพื่อการใชงาน รวมกัน หนา 3-21


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

2) ระยะที่ 2 ป พ.ศ. 2559 มุงเนนการประยุกตใชนวัตกรรมเพื่อลดขอจํากัดดานสถานที่ การเขาถึง และใชงานทรัพยากร สารสนเทศโดยพัฒนานวัตกรรมเพื่อประยุกตใชอุปกรณสื่อสารไรสายประเภทตาง ๆ (Mobile Technology) อาทิ การประยุกตใชหลักการ Mobile Web Application หรือ Mobile Application รวมทั้งมุงเนนการเพิ่ม ขี ดความสามารถในกระบวนการบริห ารจัดการทั้ ง ในส วนของการจั ดการการให บ ริ ก าร และการจั ดการ การรั ก ษาความมั่ น คงปลอดภั ย สารสนเทศ เพื่อใหเทคโนโลยีที่ไดรับการพัฒนามีการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยที่เหมาะสมกับระบบสารสนเทศไร ส ายและสามารถใช ง านได อ ย า งต อ เนื่ อ งอย า งยั่ ง ยื น ตาราง 3.2 เปาหมายที่ไดรับตามรายยุทธศาสตรปงบประมาณ พ.ศ. 2556-2559 ปงบประมาณ เปาหมาย ยุทธศาสตรที่ 1: เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1) พ.ศ. 2556 - เครือขายบุคลากรและสวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อ สารที่มี ความเข ม แข็ ง - แนวทางการบริการจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อ สารของกระทรวง ยุ ติธรรมที่ ชัดเจน 2) พ.ศ. 2557 - เครือขายบุคลากรและสวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อ สารที่มี ความเข ม แข็ ง - สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีแนวทางการบริการจัดการดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารของกระทรวงยุ ติ ธ รรมที่ ชั ด เจนและสอดคลอ งกับ แนวทางในระดับกระทรวงยุติธรรม - มีการสถาปตยกรรมองคกรของกระทวงยุติธรรม (Enterprise Architecture) 3) พ.ศ. 2558 - เครือขายบุคลากรและสวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อ สารที่มี ความเข ม แข็ ง - มี ก ารพั ฒ นาตามสถาป ต ยกรรมองค ก รของกระทรวงยุ ติ ธ รรม (Enterprise Architecture) 4) พ.ศ. 2559 - เครือขายบุคลากรและสวนราชการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อ สารที่มี ความเข ม แข็ ง - สวนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมมีก ารจัดทําปรับ ปรุงแนวทางการบริการ จัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อ สารของกระทรวงยุ ติธรรมที่ ชัดเจน และสอดคลองกับแนวทางในระดับกระทรวงยุติธรรม - สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติรรมมีกระบวนการบริหารจัดการดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเปนมาตรฐานสากล - มีก ารระบบบริห ารจัดการความมั่ นคงปลอดภั ยดานสารสนเทศ (Information Security Management System: ISMS) - สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีการสถาปตยกรรมองคกรของสวนราชการ ยุติธรรม (Enterprise Architecture)

หนา 3-22


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 3.2 เปาหมายที่ไดรับตามรายยุทธศาสตรปงบประมาณ พ.ศ. 2556–2559 (ตอ) ปงบประมาณ เปาหมาย ยุทธศาสตรที่ 2: พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1) พ.ศ. 2556 - มี ก ารพั ฒ นาทั ก ษะบุคลากรผูใชง านดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร อย างต อ เนื่ อ ง 2) พ.ศ. 2557 - มีก ารพัฒ นาทัก ษะบุคลากรผูใชง านดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร อยางตอเนื่อง - มี ก ารพั ฒ นาทั ก ษะบุค ลากรดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารอยา ง ต อ เนื่ อ ง มี เ ส น ทางความก า วหน า ในสายอาชี พ (Career Path) บุ ค ลากร ด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อสารของศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศสวน ราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 3) พ.ศ. 2558 - มีก ารพัฒ นาทัก ษะบุ คลากรผู ใช ง านด านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร อย างต อ เนื่ อ ง - มี ก ารพั ฒ นาทั ก ษะบุค ลากรดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารอยา ง ต อ เนื่ อ ง 4) พ.ศ. 2559 - มีก ารพัฒ นาทัก ษะบุคลากรผูใชง านดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร อยางตอเนื่อง - มี ก ารพั ฒ นาทั ก ษะบุค ลากรดา นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารอยา ง ต อ เนื่ อ ง ยุทธศาสตรที่ 3: ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและเชื่อมโยงใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ 1) พ.ศ. 2556 - มีร ะบบสารสนเทศที่ ร องรั บ การปฏิ บั ติง านของสวนราชการในสัง กัดกระทรวง ยุติธรรม - มีระบบสารสนเทศกลางที่ครอบคลุมการปฏิบัติงานของสวนราชการในสวนภูมิภาค - มี ร ะบบสารสนเทศและการสื ่อ สารเพื ่อ บริก ารของสว นราชการในสัง กัด กระทรวงยุ ติธรรมใชง านเพิ่ม ขึ้น - มีร ะบบสารสนเทศและการสื่ อ สารเพื่ อ บริ ห ารจั ดการภายในของส วนราชการ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรมใชงาน 2) พ.ศ. 2557 - มีสื่ อการเรี ยนการสอนอิเล็กทรอนิกสสําหรับสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม เพิ่มขึ้น - มีร ะบบสารสนเทศที่ ร องรั บ การปฏิ บั ติง านของสวนราชการในสัง กัดกระทรวง ยุติธรรม - มีระบบสารสนเทศกลางที่ครอบคลุมการปฏิบัติงานของสวนราชการในสวนภูมิภาค - มี ร ะบบสารสนเทศและการสื ่อ สารเพื ่อ บริก ารของสว นราชการในสัง กัด กระทรวงยุ ติธรรมใชง านเพิ่ม ขึ้น - มี ก ารพั ฒ นาระบบจั ด การองค ค วามรู แ ละสื่ อ การเรี ย นการสอนผ า นระบบ อิเล็กทรอนิกสที่รองรับการใชงานไรสายของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ใชงาน - มีระบบสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อบริหารจัดการภายในและการบริการที่รองรับ การใชงานไรสายของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมใชงาน หนา 3-23


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 3.2 เปาหมายที่ไดรับตามรายยุทธศาสตรปงบประมาณ พ.ศ. 2556–2559 (ตอ) ปงบประมาณ เป า หมาย ยุทธศาสตรที่ 3: ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและเชื่อมโยงใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ (ตอ) 2) พ.ศ. 2557 - มี ก ารพั ฒ นานวั ต กรรมอย า งต อ เนื่ อ ง (ตอ) - มีก ารพัฒ นาระบบบริห ารจัด การฐานขอ มูล กลางลายพิม พนิ้ว มือ มาตรฐาน กระทรวงยุติธรรม 3) พ.ศ. 2558 - มีสื่ อการเรี ยนการสอนอิเล็กทรอนิกสสําหรับสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม เพิ่มขึ้น - มี ก ารพั ฒ นาระบบจั ด การองค ค วามรู แ ละสื่ อ การเรี ย นการสอนผ า นระบบ อิเล็กทรอนิกสที่รองรับการใชงานไรสายของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ใชงาน - มีระบบสารสนเทศทีร่ องรับการปฏิบตั ิงานของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม - มีระบบสารสนเทศกลางที่ครอบคลุมการปฏิบัติงานของสวนราชการในสวนภูมิภาค - มีระบบสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อบริการของสวนราชการในสังกัดกระทรวง ยุติธรรมใชงานเพิ่มขึ้น - มีระบบสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อบริหารจัดการภายในและการบริการที่รองรับ การใชงานไรสายของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมใชงาน - มีแนวทางการประยุกตใชนวัตกรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - มีการเชื่อมโยงขอมูลและบริการอิเล็กทรอนิกสของกระทรวงยุติธรรมจากสวนราชการ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม - มี เ ว็ บ ไซต กระทรวงยุติธรรมและ/หรือสวนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมที่ รองรั บ การใช ง านบนอุป กรณสื่อ สารไรส าย - มีระบบบริหารจัดการฐานขอมูลกลางลายพิมพนิ้วมือมาตรฐานกระทรวงยุติธรรม 4) พ.ศ. 2559 - มีสื่ อการเรี ยนการสอนอิเล็กทรอนิกสสําหรับสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม เพิ่มขึ้น - มีร ะบบจั ดการองคความรูและสื่อ การเรียนการสอนผานระบบอิเ ล็ก ทรอนิก สที่ รองรับการใชงานไรสายของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมใชงาน - มีร ะบบสารสนเทศที่ ร องรั บ การปฏิ บั ติง านของส วนราชการในสั ง กั ดกระทรวง ยุติธรรม - มีระบบสารสนเทศกลางที่ครอบคลุมการปฏิบัติงานของสวนราชการในสวนภูมิภาค - มีระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม - มี ก ารเชื่ อ มโยงขอ มูล และบริก ารอิเ ล็ก ทรอนิก สข องกระทรวงยุติธ รรมจาก สวนราชการในสัง กั ดกระทรวงยุ ติธรรม

หนา 3-24


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 3.2 เปาหมายที่ไดรับตามรายยุทธศาสตรปงบประมาณ พ.ศ. 2556–2559 (ตอ) ปงบประมาณ เปาหมาย ยุทธศาสตรที่ 4: บูรณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร 1) พ.ศ. 2556 2) พ.ศ. 2557 - ส วนราชการในสั ง กัด กระทรวงยุติธ รรมมีอุปกรณคอมพิวเตอรพื้นฐานเพียงพอ และเหมาะสม - กระทรวงยุติธรรมมีมาตรฐานการเชื่อมโยงระบบเครือขาย - มีระบบ VDO Conference ที่ครอบคลุมสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 3) พ.ศ. 2558 - ส วนราชการในสั ง กัด กระทรวงยุติธ รรมมีอุปกรณคอมพิวเตอรพื้นฐานเพียงพอ และเหมาะสม - มีหอง Data Center ที่มีระบบสนับสนุนตามมาตรฐานครบถวนทุกสวนราชการใน สังกัดกระทรวงยุติธรรม - มีระบบเครือขายที่ครอบคลุมและรองรับระบบสื่อสารในกระทรวงยุติธรรม - ทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีแผนการปรับปรุงระบบเครือขายใหรองรับ IPv6 4) พ.ศ. 2559 - ส วนราชการในสั ง กัด กระทรวงยุติธ รรมมีอุปกรณคอมพิวเตอรพื้นฐานเพียงพอ และเหมาะสม - สว นราชการในสัง กัด กระทรวงยุติธ รรมมีร ะบบ Unified Communications ที่เหมาะสมกับสภาพความตองการ - มีศูนยปฏิบัติงานคอมพิวเตอรกลางสําหรับสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม - มีศูนยปฏิบัติงานสํารอง (DR Site) กลางกระทรวงยุติธรรม - ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี แ ผนการปรั บ ปรุ ง ระบบเครื อ ข า ย ที่มีประสิทธิภาพสามารถรองรับ IPv6 - สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีอุปกรณเครือขายที่มีประสิทธิภาพและรองรับ เทคโนโลยี IPv6

หนา 3-25


บทที่ 4 สถาป ตยกรรมระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร กระทรวงยุติธรรม ในบทนี ้ กลา วถึง การกํ า หนดสถาปต ยกรรมระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื ่อ สาร ของกระทรวงยุติธรรม ซึ่ ง สถาป ต ยกรรมระบบฯ มี ค วามจํา เป น อย า งยิ่ ง เพื่ อ ให ก ระทรวงยุ ติ ธ รรม มี ก รอบการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารที่ชัดเจน โดยการกําหนดสถาปตยกรรมตาง ๆ ที่จะ นํามาประยุก ต ใช ในอนาคตนั้ นมุ ง เนนใหก ระทรวงยุ ติธรรมพัฒ นาตอ เนื่อ งจากเทคโนโลยีเ ดิม ที่มีอ ยู และ สามารถพั ฒ นาต อ ยอดให เ กิ ด ประโยชน สู ง สุ ด และเลื อ กใช เ ทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย เหมาะสมกั บ สภาพ การปฏิบัติงานและความตองการของกระทรวงยุติธรรม การกําหนดสถาปตยกรรมระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารของกระทรวงยุติธรรม ประกอบดวยสถาปตยกรรมระบบโครงสรางพื้นฐานและสถาปตยกรรมระบบสารสนเทศ

4.1 สถาปตยกรรมระบบโครงสรางพื้นฐาน

ในหั ว ข อ นี้ ก ล า วถึ ง สถาป ต ยกรรมระบบโครงสร า งพื้ น ฐาน ซึ่ ง เป น พื้ น ฐานสํา คั ญ ที่ ช ว ยให ระบบสารสนเทศตาง ๆ สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและรองรับการขยายตัวของกระทรวงยุติธรรม ในอนาคต โดยสามารถแบง เปน 2 สวนหลัก คือ สถาปตยกรรมระบบคอมพิวเตอร และสถาปตยกรรม ระบบเครือขาย โดยมีรายละเอียดดังนี้ 4.1.1 สถาปตยกรรมระบบคอมพิวเตอร เทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอรในปจจุบันมีการพัฒนาอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถประมวลผลได ร วดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ นและคํา นึง ถึ ง สภาพแวดล อ มมากขึ้ น ใช พ ลั ง งานน อ ยลง รวมไปถึ ง มี ข นาดที่ เ ล็ ก ลง จึงทําใหใชพื้นที่ของหอง Data Center ลดลง นอกจากการพัฒ นาในดานของอุป กรณร ะบบคอมพิวเตอรแ ลว ในดานของซอฟตแ วร ระบบคอมพิวเตอรนั้นก็มีก ารพัฒ นาอยางรวดเร็วเชน กัน โดยสถาปต ยกรรมคอมพิว เตอรเ สมือ นจริง (Virtualized) สามารถจําลองเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนไวบนเครื่องคอมพิวเตอรฮารดแวรเพียงเครื่องเดียว และยังสามารถจัดสรรทรัพยากรใหกับระบบสารสนเทศที่ใชงานอยูภายในไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่ ง ทํา ให เกิ ด ความยื ด หยุ น ในการปรั บ เปลี่ ย นหรื อ บริ ห ารจั ด การระบบคอมพิ ว เตอร ไ ด อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และสามารถตอบสนองความต อ งการของกระทรวงยุ ติ ธ รรมในการพั ฒ นาศู น ย Data Center ศู น ย ค อมพิ ว เตอร ห ลั ก และศู น ย ป ฏิ บั ติ การสํารองใหกับสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อให สามารถใหบริการระบบสารสนเทศตาง ๆ ไดอยางตอเนื่อง ดังภาพ 4.1

หนา 4-1


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ภาพ 4.1 สถาปตยกรรมระบบคอมพิวเตอร จากภาพ 4.1 จะเห็นไดวาการนําเอาสถาปตยกรรมระบบคอมพิวเตอรเ สมือ นมาชวยใน การพัฒ นาระบบคอมพิว เตอรภ ายในศูน ยค อมพิว เตอรก ระทรวงยุติธ รรมและศูน ยป ฏิบ ัติง านสํา รอง โดยมี ก ารจัด สรรเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร แม ขา ย (Server) ที่ เ ป น ฮารด แวรใ ห 1 เครื่ อ งต อ 1 ส ว นราชการ เท า นั ้ น แต ใ ช ส ถาป ตยกรรมระบบคอมพิ วเตอร เ สมื อ นจํ า ลองเครื่ อ งคอมพิว เตอรแ ม ข าย โดยเครื่ อ ง คอมพิวเตอรแมขายของแตละสวนราชการจะจําลองระบบคอมพิวเตอรเสมือนไวสวนราชการละ 3 เครื่องและ สามารถเพิ่มหรือลดจํานวนเครื่องใหเหมาะสมกับการขยายตัวของสวนราชการในอนาคต ทําใหการบริหาร จัดการสามารถทําไดสะดวกและชวยลดการใชพื้นที่ของหอง Data Center ไดอีกทางหนึ่ง 4.1.2 สถาปตยกรรมระบบเครือขาย ในปจจุบันเทคโนโลยีระบบเครือขายและการสื่อสารเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งในการทํางานหรือ การดําเนินธุรกิจ ดังนั้นองคกรตาง ๆ จึงนําระบบเครือขายและระบบสื่อสารในรูปแบบตาง ๆ มาใชเพื่อรองรับ การปฏิบัติง านและเพื่ อ ช วยลดระยะเวลาในการทํา งานรวมทั้ง ลดคา ใชจา ยในการติ ด ตอ สื่อ สาร อาทิ ระบบการประชุ ม ทางไกล (VDO Conference) ระบบ IP Phone ระบบการติดตอสื่อสารแบบรวมศูนย (Unified Communications) โดยการใชม าตรฐาน IP (Internet Protocols) เปนตัวเชื่อ มระบบตาง ๆ ที่ไดกลาวมาเขาดวยกัน ชวยใหสามารถพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการสวนราชการหรือ องคกรไดสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

หนา 4-2


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ดั ง นั้ น เพื่ อ ช ว ยให ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมสามารถทํ า งานได อ ย า ง มีป ระสิท ธิภ าพและรวดเร็ว รวมถึง ชว ยลดคา ใชจ า ยในการติด ตอ สื่อ สารหรือ การเดิน ทาง และเพื ่อ ตอบสนองการเขาถึงระบบสารสนเทศไดจากหลาย ๆ ชองทางหรือจากอุปกรณสื่อสารไรสายตาง ๆ และยัง สามารถเขาถึงระบบสารสนเทศของสวนราชการไดจากทุกสถานที่และทุกเวลา ดังภาพ 4.2

ภาพ 4.2 สถาปตยกรรมระบบเครือขาย จากภาพ 4.2 จะเห็นวาเปนระบบเครือ ขายแบบรวมศูนย โดยมีก ารนําเอาระบบสื่อ สาร หลาย ๆ แบบเขามาใชงานรวมกัน และเพื่อชวยใหสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมสามารถเพิ่ม ขีดความสามารถในการทํางาน รวมถึงสามารถเขาถึงระบบสารสนเทศของสวนราชการไดจากทุกที่และ ทุก เวลา ไม ว า จะเป น การประชุ ม ทางไกลกับ สว นราชการในสว นภูม ิภ าค การใชง านระบบ สารสนเทศผานอุป กรณสื่ อ สารไร ส าย การปฏิบัติงานภายนอกสวนราชการ หรือการแลกเปลี่ยนขอมูล ระหวางสวนราชการได อ ย างมี ป ระสิ ท ธิภาพ รวมถึง การรองรับ เทคโนโลยีใหม ๆ และการก าวเข าสู e-Government ในอนาคต

หนา 4-3


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

4.2 สถาปตยกรรมระบบสารสนเทศ

สถาป ต ยกรรมระบบสารสนเทศซึ่ ง เป น กรอบแนวทางการพั ฒ นานวั ต กรรมด า นข อ มู ล และ ระบบสารสนเทศภายในแผนแม บ ทฯ ฉบั บ นี้ ป ระกอบไปด ว ย 3 ประเด็นหลัก ไดแก การบูรณาการ สารสนเทศของกระทรวงยุติธรรม การวิ เคราะหขอมูลสถิติเ ชิง กลยุท ธสําหรับผูบริห าร และการพัฒ นา ระบบสารสนเทศเพื่อ รองรับ อุป กรณสื่อ สารเคลื่อ นที่ (Mobile Application and Mobile Web Application) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

ภาพ 4.3 สถาปตยกรรมระบบสารสนเทศ 4.2.1 การบูรณาการสารสนเทศของกระทรวงยุติธรรม เนื่องจากกระทรวงยุติธรรมมีภารกิจหนาที่หลักในการบริหารงานดานกระบวนการยุติธรรม อยางเปนเอกภาพ โปรงใส คุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ชวยเหลือใหความรูแกประชาชนทางกฎหมาย ปองกัน ปราบปราม แกไข ฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด รวมทั้งปองกัน แกไขปญหาอาชญากรรมในสังคม การบังคับคดี ทางแพง บังคับคดีทางอาญา บําบัดแกไขฟนฟูผูกระทําผิด ซึ่งลวนแลวแตตองการที่จะใชขอมูล สารสนเทศจากสวนราชการในสังกั ดกระทรวงยุติธรรมทุกสวนราชการ และสวนราชการภายนอก รวมทั้ง จําเปนจะตองรวบรวมขอมูลเพื่อการบริหารจัดการในภาพรวมในระดับกระทรวง อาทิ การใชทรัพยากรระดับ กระทรวง (อาทิ ขอมูลทรัพยากรบุคคล งบประมาณ การเงินการบัญชี พัสดุครุภัณฑ ยุทธศาสตรและแผนงาน) ดังนั้นเพื่อใหการพัฒนาระบบสารสนเทศในภาพรวมของกระทรวงยุติธรรม สามารถใชงานระบบสารสนเทศ และขอ มูล รวมกันไดเพื่ อ ลดความซ้ํ าซ อ นในดานงบประมาณในการพัฒ นาและบํารุงรัก ษา และเพื่อสราง มาตรฐานกลางในการใชงานระบบสารสนเทศในอนาคต นอกเหนือจากนั้น เมื่อกระทรวงยุติธรรมมีศูนยกลาง หนา 4-4


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ขอมูลที่ถูก ตอง ครบถวนนาเชื่อถือ ขอมูลดัง กลาวก็จ ะสามารถนําไปเปนขอมูลสารสนเทศในการวิเคราะห ทางสถิติ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหารในการพัฒนาองคกรไดอยางมีประสิทธิภาพ จําเปนตองมีการ กําหนดสถาปตยกรรมการบูร ณาการขอ มู ล สารสนเทศที่ ชั ด เจน โดยสามารถแบง การเชื่อ มโยงขอ มูล ออกเปน 3 สวนหลัก ดังนี้ 4.2.1.1 การพัฒนาระบบสารสนเทศกลางรวม เพื่อการพัฒนาใหกระทรวงยุติธรรมมีระบบสารสนเทศที่เปนมาตรฐานการใชงาน เดียวกัน และสามารถลดความซ้ําซอนของการบริหารจัดการและการลงทุนจําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองพัฒนา ระบบสารสนเทศกลางรวม (Common Service) เพื่อใหสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมสามารถใชงาน รวมกันได นอกเหนือจากนั้ นในระดั บกระทรวงยังสามารถบูร ณาการขอมูลจากระบบสารสนเทศกลางรวม เหลานั้น เพื่อเปนแหลงในการนําไปประมวลผลในภาพรวมของกระทรวงตอไป 4.2.1.2 การพัฒนาการเชื่อมโยงขอมูลสารสนเทศกระทรวงยุติธรรม ในป จ จุ บั นกระทรวงยุติธ รรมมีศู นยก ลางการแลกเปลี่ยนขอ มูล เพื่อ สนับ สนุ น กระบวนการยุติธรรม (DXC) อยางไรก็ตาม กระทรวงยุติธรรมมีความตองการขอมูลเพิ่มเติมเพื่อ สนับ สนุน การตัดสินใจระดับผูบริหารกระทรวงยุติธรรม จึงตองมีการพัฒนาการเชื่อมโยงขอมูลสารสนเทศของกระทรวง ยุติธรรมใหครบถวนทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม แตดวยขอจํากัดของการเชื่อมโยงขอมูลที่มีแบบ หลากหลาย ซึ่ ง อาจจะเกิ ด จากโครงสร า งของหน ว ยงานที่ ยั ง ไม ไ ด มี ก ารบริ ห ารจั ด การในรู ป แบบของ ศู น ย เ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมซึ่งอาจทําใหยากตอ การพัฒ นาการเชื่อ มโยง และส ง ข อมู ล ให แกก ระทรวงยุติธรรม จึง มีการแบง รูป แบบการเชื่อ มโยงขอ มูล ออกเปน 3 รูปแบบ ไดแก (1) รูปแบบของเว็บฟอรม สําหรับบันทึกขอมูลสงใหทางกระทรวงยุติธรรม (2) รูปแบบของพัฒนาฐานขอมูลในการเชื่อมโยงขอมูลสงใหแกกระทรวงยุติธรรม (3) รูปแบบการถายโอนขอมูล (File Transfer) สงใหทางกระทรวงยุติธรรม โดยทั้ง 3 รูปแบบจะทําการสงขอมูลของหนวยงานตนเองผานการเชื่อมโยงของ Information Gateway ให แก ก ระทรวงยุ ติธรรมนําไปประมวลผลขอ มูล เชิง สถิติสําหรับ ผูบ ริห าร ซึ่ ง Information Gateway จะทําหนาที่ในบริหารจัดการการเชื่อมโยงขอมูลทัง้ ในบทบาทของการเปนผูรับบริการ และเปนผูใหบริการขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 4.2.1.3 การพัฒนาการเชื่อมโยงบริการอิเล็กทรอนิกส เพื่อใหกระทรวงยุติธรรมสามารถบูรณาการระบบสารเทศเพื่อใหบริการผูใชงาน ในกลุ ม ตา ง ๆ อาทิ ประชาชนทั่ วไป ผู บ ริห ารกระทรวงยุติธรรม และผู ใชง านจากส วนราชการในสัง กัด กระทรวงยุติธรรม จึงจําเปนตองอาศัยเทคโนโลยีเพื่อการบูรณาการระบบสารสนเทศ Enterprise Portal และเทคโนโลยีเ พื่อ การจัดการการรัก ษาความปลอดภั ย Enterprise Portal กลางของกระทรวงยุติธรรม จะเปนสวนเชื่อมโยงการบริการ (Services Integration Layer) เพื่อใหผูใชงานกลุมตาง ๆ สามารถใชงาน ระบบสารสนเทศของกระทรวงยุติธรรมไดจากจุดเดียว โดยการเชื่อมโยงแสดงผลระบบสารสนเทศภายใน สังกัดกระทรวงยุติธรรมรองรับ ระบบสารสนเทศ 3 กลุม หลัก อาทิ ระบบสารสนเทศ (Core Business) ระบบสารสนเทศเพื ่อ การบริก าร (e-Service) ระบบสารสนเทศเพื่ อ การสนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง าน (Back Office) และระบบสารสนเทศกลางรวม (Common Service)

หนา 4-5


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

4.2.2 การวิเคราะหขอมูลสถิติเชิงกลยุทธสําหรับผูบริหาร ปจจุบันขอมูลการวิเคราะหเชิงสถิติเชิงกลยุท ธสําหรับ ผูบ ริห ารมีความจําเปนอยางยิ่ง ใน การวางกลยุทธเพื่อใชบริหารจัดการกระทรวงยุติธรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยขอมูลที่ ใชก ารวิเ คราะหขอ มูล สถิติเ ชิง สถิติเ พื่อ ประกอบการการจัดทํารายงานเชิง สถิติตาง ๆ ใหแกผูบ ริห ารใน รูปแบบกราฟ และแผนที่นั้น ไดแหลงขอมูลมาจาก 2 สวน ไดแก จากระบบสารสนเทศและขอมูลสารสนเทศ ของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และจากระบบสารสนเทศของหนวยงานภายนอก โดยใชเครื่องมือ Extract, Transform, Load: ETL ซึ่ ง จะทําหนาที่ในการดึง ขอ มูล ปรับ เปลี่ย นขอ มูล ใหอ ยูใ นรูป แบบ ที่ เ หมาะสม และคั ด เลื อ กเฉพาะข อ มู ล ที่ ถู ก ต อ ง เพื่ อ นํา มาจั ด ทํา รายงานเชิ ง สถิ ติ แ ละเชิ ง วิ เ คราะห เพื่ อ สนั บ สนุ น การตั ด สิ น ใจของผู บ ริ ห าร 4.2.3 การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อรองรับอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ (Mobile Application and Mobile Web Application) จากแนวโนมการใชงานอุปกรณสื่อ สารเคลื่อ นที่ทั้ง ในรูป แบบของโทรศัพ ทเ คลื่อ นที่และ ในรูปแบบคอมพิวเตอรแท็บเล็ตซึ่งขยายตัวอยางรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพในการประมวลผลรับ-สงขอมูล อิเล็กทรอนิกส และรองรับการสื่อสารแบบ Multimedia ไดอยางสะดวกสบาย จึงทําใหบุคลากรทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนมีความสนใจประยุกตใชมากขึ้นและเมื่อพิจารณาถึงภารกิจหนาที่ของกระทรวงยุติธรรม ทั้งในสวน การให บ ริ ก ารใหแกสวนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรม และประชาชน จะเห็นไดวาการประยุก ตใช เทคโนโลยีอุป กรณสื่ อ สารเคลื่ อ นที่ ส ามารถสนับ สนุ นให เกิ ดความคลอ งตั วในการปฏิบั ติง านนอกสถานที่ สนับสนุนใหผูบริหาร เจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน สามารถเขาถึงขอมูลที่จําเปนโดยไมจํากัดดานเวลา และสถานที่ สามารถรูเทาทันสถานการณได นอกจากนั้นภาคประชาชนใหสามารถมีชองทางในการเขาถึงบริการตาง ๆ ของกระทรวงยุติธรรมไดเพิ่มมากขึ้นอีกดวย โดยกระทรวงยุ ติ ธ รรมสามารถประยุ ก ต ใ ช เ ทคโนโลยี อุ ป กรณ สื่ อ สารเคลื่ อ นที่ ใ น 2 ลั ก ษณะ ได แ ก 4.2.3.1 การพัฒ นา Mobile Web Application: เปนการพัฒนาระบบสารสนเทศซึ่ง สามารถเรียกดู ผานโปรแกรม Mobile Browser โดยการพั ฒ นาในลั ก ษณะนี้ เ หมาะสมกั บ การให บ ริ ก าร เผยแพรดานขอมูลแกประชาชนหรือการใหบริการรับขอมูลหรือขอวิจารณตาง ๆ จากภาคประชาชนหรื อ หนวยงานภายนอก และเปนกลุมขอมูลที่ออนไหว และไมจําเปนตองรักษาความปลอดภัยในระดับสูงมากนัก 4.2.3.2 การพัฒ นา Mobile Client Application: เป นการพัฒ นาระบบสารสนเทศ ในลัก ษณะการลงโปรแกรมคอมพิวเตอร ณ อุ ป กรณ สื่ อ สารเคลื่ อ นที่ (Mobile Client) โดยการพั ฒ นา โปรแกรมในลั ก ษณะนี้เ หมาะกั บ ลั ก ษณะของขอ มูล หรือ บริก ารที่มีก ารเรียกใชเ ปนประจํา รวมทั้ง ระบบ สารสนเทศสําหรับเฉพาะกลุมเจาหนาที่ เปนตน เนื่องจากสามารถรักษาความปลอดภัยไดในระดับที่สูงกวา

หนา 4-6


บทที่ 5 แผนยุทธศาสตรในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงยุติธรรม จากยุทธศาสตรดานการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม ที่กําหนดไวในบทที่ 3 สามารถนํามากําหนดเปนรายละเอียดแผนงาน ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 ซึ่งจําแนกตามยุทธศาสตรและกลยุทธดานการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยระบุถึงชื่อ แผนงาน แนวทางการดําเนินงาน ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของและกําหนดระยะเวลา ซึ่งรายละเอียดดังแสดงในตารางตอไปนี้ ทั้งนี้ สัญลักษณที่ใชเพื่อแสดงระยะเวลาในตารางมีความหมาย ดังนี้ แสดงระยะเวลาสําหรับดําเนินการจัดทําโครงการที่มีจุดเริ่มตน และสิ้นสุดระหวางป พ.ศ. 2556-2559 แสดงระยะเวลาสําหรับดําเนินการจัดทําโครงการเริ่มตนระหวางป พ.ศ. 2556-2559 และตองมีการดําเนินงานอยางตอเนื่องตอไป

หนา 5-1


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.1 ยุทธศาสตรที่ 1 เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของ

ระยะเวลาดําเนินงาน (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

กลยุทธที่ 1: พัฒนานโยบายและมาตรฐานกลางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีมาตรฐาน แผนงานที่ 1: จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม วัตถุประสงค: 1) เพื่อปรับปรุงแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรมใหสอดคลองกับนโยบาย/แผนงานองคกร นโยบาย/แผนงานภาครัฐ และทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศในระดับสากล 2) เพื่อใหกระทรวงยุติธรรมมีกรอบแนวทางการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะที่ 1: จั ด ทํ า แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 1. ประเมิน ความเหมาะสมและวิเ คราะหปจ จัย เกื ้อหนุน กร ะท รวงยุ ติ ธร รมมี แ ผ น สํานั กงานปลั ด กระทรวง การประยุกตใ ชเ ทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร แม บ ทเทคโนโลยี สารสนเทศ ยุ ติ ธรรม/ส ว นราชการใน ในปจจุบันของกระทรวงยุติธรรม และการสื ่อ สาร (ฉบับ ที ่ 4) สั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรม 2. กํ า หนดสถาป ต ยกรรมเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ พ.ศ. 2556-2559 การสื่ อสารของกระทรวงยุ ติ ธ รรม 3. กํ า หนดแผนการปรั บ ปรุ ง และการพั ฒ นาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารของกระทรวงยุ ติ ธรรม 4. จัดทําแผนแมบ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสาร ของกระทรวงยุติธรรม

หนา 5-2


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.1 ยุทธศาสตรที่ 1 เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของ ระยะเวลาดําเนินงาน (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

แผนงานที่ 1: จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม (ตอ) ระยะที่ 2: จั ด ทํ า แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อสารของกระทรวงยุ ติธรรม (ฉบั บ ที่ 5) พ.ศ. 2560– 2562 1. ประเมิน ความเหมาะสมและวิเ คราะหปจ จัย เกื ้อหนุน กร ะท รวงยุ ติ ธร รมมี แ ผ น สํานั กงานปลั ด กระทรวง การประยุก ตใ ชเ ทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร แม บทเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ยุ ติ ธรรม/ส ว นราชการใน ในปจจุบันของกระทรวงยุติธรรม และการสื่ อ สาร (ฉบั บ ที่ 5) สั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรม 2. กํ า หนดสถาป ต ยกรรมเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ พ.ศ. 2560–2562 การสื่ อสารของกระทรวงยุ ติ ธรรม 3. กํ า หนดแผนการปรับ ปรุง และการพัฒ นาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารของกระทรวงยุ ติ ธรรม 4. จัดทําแผนแมบ ทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของกระทรวงยุติธรรม

หนา 5-3


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.1 ยุทธศาสตรที่ 1 เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

แผนงานที่ 2: จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม วัตถุประสงค: 1) เพื่อปรับปรุงแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหสอดคลองกับนโยบาย/แผนงานกระทรวงยุติธรรม นโยบาย/แผนงานภาครัฐ และทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ในระดับสากล 2) เพื่อใหมกี รอบแนวทางการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ระยะที่ 1: จั ด ทํา แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สารของส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม ให ส อดคล อ งกั บ แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 1. ประเมินความเหมาะสมและวิเคราะหปจจัยเกื้อหนุน 1. ในป พ.ศ. 2557 ส วนราชการ สํานั กงานปลั ด กระทรวง ในสั งกั ดกระทรวงยุ ติ ธรรมมี ยุ ติ ธรรม/ส ว นราชการใน การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การปรั บปรุ งแผนแม บท สั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรม ในป จ จุ บั น ให ส อดคล อ งกั บ แผนแม บ ทเทคโนโลยี เทคโนโลยี ส ารสนเทศและ สารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม การสื่ อสารที่ สอดคล องกั บ พ.ศ. 2556-2559 แ ผ น แ ม บ ท เ ท ค โ น โ ล ยี 2. กําหนดสถาปตยกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร สื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม 3. กําหนดแผนการปรั บ ปรุ ง และการพัฒ นาเทคโนโลยี พ.ศ. 2556–2559 สารสนเทศและการสื่อสาร 4. จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2. แ ผ นแ ม บ ท ฯ จ ะ ต อ ง ครอบคลุ ม การดํ าเนิ นงาน ถึงป พ.ศ. 2559

หนา 5-4


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.1 ยุทธศาสตรที่ 1 เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

แผนงานที่ 2: จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม (ตอ) ระยะที่ 2: จั ด ทํา แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สารของส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม ให ส อดคล อ งกั บ แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสาร (ฉบับที่ 5) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2560-2562 1. ประเมินความเหมาะสมและวิเคราะหปจจัยเกื้อหนุน 1. ในป พ.ศ. 2559 ส วนราชการ สํานั กงานปลั ด กระทรวง ในสั งกั ดกระทรวงยุ ติ ธรรมมี ยุ ติ ธรรม/ส ว นราชการใน การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การปรั บปรุ งแผนแม บท สั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรม ในป จ จุ บั น ให ส อดคล องกั บ แผนแม บ ทเทคโนโลยี เทคโนโลยี สารสนเทศและ สารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 5) กระทรวงยุติธรรม การสื่ อสารที่ ส อดคล องกั บ พ.ศ. 2560-2562 แ ผ น แ ม บ ท เ ท ค โ น โ ล ยี 2. กําหนดสถาปตยกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สารสนเทศและการสื่ อสาร 3. กําหนดแผนการปรับปรุง และการพัฒนาเทคโนโลยี (ฉบั บที่ 5) กระทรวงยุ ติ ธรรม สารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ. 2560–2562 4. จัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2. แผนแมบท ฯ จะตองครอบคลุ ม การดําเนินงานถึงป พ.ศ. 2562

หนา 5-5


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.1 ยุทธศาสตรที่ 1 เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของ ระยะเวลาดําเนินงาน (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

แผนงานที่ 3: จัดทําสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture) วัตถุประสงค: เพื่อจัดทํากรอบและแนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรมและสวนราชการในสังกัด 1. การศึ ก ษา วิ เ คราะห ภ ารกิ จ หลั ก ฟ ง ก ชั น งานหลั ก 1. ในป พ.ศ. 2557 สํานั กงานปลั ด กระทรวง และประเมิ นสถานภาพด านเทคโนโลยีส ารสนเทศและ กระทรวงยุติธรรมมี ยุ ติ ธรรม การสื่ อ สารต อ การสนั บ สนุ น ฟ ง ก ชั่ น งานหลั ก ของ แผนพั ฒ นา กระทรวงยุ ติ ธ รรม และส ว นราชการในสั ง กั ด สถาปตยกรรมองคกร กระทรวงยุ ติ ธรรม (Enterprise 2. การออกแบบสถาป ต ยกรรมองค ก รเพื่ อ การบริ ก าร Architecture) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2. ในป พ.ศ. 2559 ส วน สํานั กงานปลั ด กระทรวง 3. การวิเ คราะหเ ปรีย บเทีย บชองวา งระหวางสถานภาพ ราชการในสั ง กั ด ยุ ติ ธรรม/ส วนราชการใน ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปจจุบันกั บ กระทรวงยุติธรรม มี สั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรม สถาปตยกรรมองคกรที่ออกแบบ สถาป ต ยกรรมองค ก ร 4. จัดทํามาตรฐานการจัดเก็บขอมูลสารสนเทศที่ครอบคลุม (Enterprise ความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ Architecture) 5. กําหนดแผนงานดานการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อสาร เพื่ อสนั บสนุ นการนํ าสถาป ต ยกรรมองค กร ไปสูการใชงานจริง

หนา 5-6


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.1 ยุทธศาสตรที่ 1 เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของ ระยะเวลาดําเนินงาน (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

แผนงานที่ 4: จัดทําระบบบริหารจัดการการใหบริการกระทรวงยุติธรรม (Information Technology Service Management: ITSM) วัตถุประสงค: เพื่อใหสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีมาตรฐานสําหรับการบริหารจัดการดานการใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปนมาตรฐานและเปนที่ยอมรับตามสากล 1. ศึกษา วิเคราะห สภาพการใชง าน และการให บริการ สวนราชการในสังกัด สํานั กงานปลั ด กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการ กระทรวงยุติธรรมมี ยุ ติ ธรรม/ส วนราชการใน ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม กระบวนการบริหารจัดการ สั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรม 2. กํา หนดกระบวนการและขั้ น ตอนมาตรฐานเพื่ อ ดานการใหบริการเทคโนโลยี การควบคุ ม คุ ณ ภาพการบริ ก ารเทคโนโลยี สารสนเทศที่เปนมาตรฐาน สารสนเทศของส ว นราชการด า นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารภายในกระทรวงยุ ติ ธรรม 3. กํา หนดกระบวนการและขั้ น ตอนมาตรฐานเพื่ อ การปรั บ ปรุ ง การบริ ก ารเทคโนโลยี ส ารสนเทศ และการสื่ อ สารอย า งต อ เนื่ อ ง

หนา 5-7


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.1 ยุทธศาสตรที่ 1 เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของ ระยะเวลาดําเนินงาน (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

แผนงานที่ 5: จัดทําระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ (Information Security Management System: ISMS) วัตถุประสงค: 1) เพื่อใหสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีระบบการจัดการความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศที่เปนมาตรฐานและเปนที่ยอมรับตามสากล 2) เพื ่อใหส วนราชการในสัง กัด กระทรวงยุต ิธ รรมมีแ นวนโยบายและแนวปฏิบัต ิใ นการรัก ษาความมั่น คงปลอดภัย ดานสารสนเทศที ่เ ปนไปตามแนวนโยบายและแนวปฏิบัต ิใ น การรักษาความมั่น คงปลอดภัย ดา นสารสนเทศของสวนราชการภาครัฐ พ.ศ. 2553 และพระราชกฤษฎีก าวาดว ยวิธีการแบบปลอดภัย ในการทําธุร กรรมทางอิเ ล็ก ทรอนิก ส พ.ศ. 2553 1. กําหนดขอบเขตเบื้องตนของระบบจัดการความมั่นคง สวนราชการในสั งกัด สํานั กงานปลั ด กระทรวง ปลอดภัยสารสนเทศ (Preliminary ISMS Scope) กระทรวงยุติธรรมมีระบบ ยุ ติ ธรรม/ส วนราชการใน 2. จั ด ทํานโยบายระบบจั ด การความมั่ นคงปลอดภัย บริหารจัดการความมั่นคง สั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรม สารสนเทศ (ISMS Policy) ปลอดภัยดานสารสนเทศที่ 3. จัดทําคูมือการบริหารระบบจัดการความมั่นคงปลอดภัย เปนมาตรฐาน สารสนเทศ (ISMS Manual) 4. จั ด ทําแนวทางการประเมิ นความเสี่ ย งความมั่ นคง ปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security Risk Assessment Methodology) ประเมินความเสี่ยงตอ ความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Risk Assessment) และจัดทําแผนการจัดการความเสี่ยง (Risk Treatment Plan) 5. จั ด ทําคําประกาศของขอบเขตการนําระบบจัด การ ความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศไปใชงาน (Statement of Applicability: SOA)

หนา 5-8


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.1 ยุทธศาสตรที่ 1 เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

แผนงานที่ 5: จัดทําระบบบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยดานสารสนเทศ (Information Security Management System: ISMS) (ตอ) 6. จั ด ทํา หรื อ ปรั บ ปรุ ง แผนบริ ห ารความต อ เนื่ อ งของ การดําเนินงาน (Business Continuity Plan: BCP) 7. จัดทําแนวนโยบายและแนวปฏิบัติ ในการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security Policy) กลยุทธที่ 2: สงเสริมการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหเขมแข็งดวยการเสริมสรางความรวมมือ การประสานงาน และการแลกเปลีย่ นประสบการณ แผนงานที่ 1: เสริมสรางความสัมพันธ การแลกเปลี่ยนประสบการณ และการประสานงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วัตถุประสงค: เพื่อพัฒนาความสัมพันธของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การแลกเปลี่ยนประสบการณ และการประสานงาน 1. จัดทําแผนการประสานความสัมพันธบุคลากร 1. กระทรวงยุ ติธรรมมี สํานั กงานปลั ด กระทรวง 2. จั ด กิ จ กรรมแลกเปลี่ ย นประสบการณ ด า นเทคโนโลยี การดําเนิ นกิ จกรรมที่ ยุ ติ ธรรม/ส วนราชการใน สารสนเทศและการสื่อสารทั้งในและตางประเทศ กําหนดอย างน อย 4 สั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรม 3. พัฒ นาสื ่อ สัง คมออนไลนเ พื ่อ การสรา งความสัม พัน ธ ครั้งตอป การประชาสัมพันธและการประสานงานกระทรวงยุติธรรม 2. สวนราชการในสัง กัด 4. จัดกิจกรรมเชิญผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ กระทรวงยุติธรรมตอง การสื่อสารทั้งในและตางประเทศมาเผยแพรความรู เพื่อ เขารวมกิจกรรมไมนอย นําความรูที ่ไ ดม าประยุกตใ ชกับ ระบบสารสนเทศและ กวา 3 ครั้งตอป การสื่อสาร 5. ติดตามและประเมินผล

หนา 5-9


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.2 ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาสมรรถนะของทรัพยากรบุคคลดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของ

ระยะเวลาดําเนินงาน (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

กลยุทธที่ 1: กระตุนการพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนงานที่ 1: พัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) วัตถุประสงค: เพื่อพัฒนาเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) ของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 1. กําหนดเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) ของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บุ ค ลากรด านเทคโนโลยี ส วนราชการในสั ง กั ด 2. ศึกษา วิเคราะห และกําหนด สารสนเทศและการสื่อสารของ กระทรวงยุ ติธรรม - โครงสรางและภาระงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ สวนราชการในสังกัดกระทรวง ยุติธรรมมีเสนทาง และการสื่อสาร ความกาวหนาในสายอาชีพ - ระดับตําแหนงงาน (Career Level) (Career Path) - เปาหมายของงาน (Target Job) - ขอบเขตของหนาที่ (Functional Area)

หนา 5-10


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.2 ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาสมรรถนะของทรัพยากรบุคคลดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของ ระยะเวลาดําเนินงาน (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

แผนงานที่ 2: แผนงานพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วัตถุประสงค: 1) เพื่อพัฒนาบุคลากรในสังกัดกระทรวงยุติธรรมใหมีสมรรถนะทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่สอดคลองกับมาตรฐานของตําแหนงงาน 2) เพื่อพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตามเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) ของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมใหมีมาตรฐานเดียวกัน 1. กํ า หนดกรอบในการจั ด ทํ า แผนพั ฒ นาและฝ ก อบรม บุ ค ลากรด านเทคโนโลยี สํานักงานปลัดกระทรวง ความรูความสามารถตามสมรรถนะ (Competency) สารสนเทศและการสื่อสาร ยุติธรรม/สวนราชการในสังกัด 2. จัด ทํ ามาตรฐานทั กษะด านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ ได รับ การพั ฒ นาทั กษะ กระทรวงยุติธรรม การสื่อสารของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ ตามเสนทางความกาวหนา ในสายอาชีพ (Career Path) การสื่อสาร 3. ประเมินทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทุกสวนราชการ ของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามในองค กรตามเสนทางความก าวหน าในสายอาชี พ (Career Path) 4. จั ด ทําแผนการฝ กอบรม ตามเส น ทางความก า วหน า ในสายอาชี พ (Career Path) 5. ดําเนินการฝกอบรมบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในองคกร

หนา 5-11


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.2 ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาสมรรถนะของทรัพยากรบุคคลดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของ ระยะเวลาดําเนินงาน (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

กลยุทธที่ 2: กระตุนการปฏิบัติงานและการพัฒนาทักษะบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนงานที่ 1: พัฒนาบุคลากรผูใชงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วัตถุประสงค: เพื่อพัฒนาบุคลากรผูใชงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหมีทักษะการเรียนรู ความเขาใจดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในการสนับสนุนการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 1. ประเมินทักษะการใชง านเทคโนโลยีส ารสนเทศและ บุ ค ลากรผูใ ช ง านได รับ สํานักงานปลัดกระทรวง การสื่อสารของบุคลากรผูใชงานในองคกร การฝ กอบรมหรื อเข าร วม ยุติธรรม/ส วนราชการใน 2. จั ด ทํ า แผนการฝ ก อบรมเพื่ อ พั ฒ นาทั กษะการเรี ย นรู กิจกรรมการพั ฒ นาทั ก ษะ สั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรม ความเขาใจดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ 3. ดําเนินการฝกอบรมบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อ สารอย า งน อ ย 4. จัด ทํ าแผนการดํ าเนิ นกิ จกรรม เพื่ อผลั กดันและสร าง - รอยละ 20 ในป พ.ศ. 2556 ความตระหนั ก ในการประยุ ก ต ใ ช ง านเทคโนโลยี - รอยละ 40 ในป พ.ศ. 2557 สารสนเทศและการสื่อสาร (อาทิ ประชาสัมพันธสราง - รอยละ 60 ในป พ.ศ. 2558 เครือขายการใชงาน การแขงขันตาง ๆ การรางวัลจูงใจ) - รอยละ 80 ในป พ.ศ. 2559

หนา 5-12


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.3 ยุทธศาสตรที่ 3 ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและการเชื่อมโยง เพื่อใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผู ที่เกี่ยวของ

ระยะเวลาดําเนินงาน (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

กลยุทธที่ 1: ประยุกตใชเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อการฝกอบรมและเสริมสรางความรูสําหรับบุคลากร แผนงานที่ 1: พัฒนา ขยายการใชงานระบบจัดการองคความรู (Knowledge Management: KM) และระบบการเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Learning) วัตถุประสงค: เพื่อเพิ่มชองทางในการใชงานและอํานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน รวมถึงเผยแพรระบบสารสนเทศใหสามารถเขาถึงไดงาย ระยะที่ 1: พัฒ นาและขยายผลระบบจัด การองคค วามรูแ ละสื ่อการเรีย น การสอนผานระบบอิเล็กทรอนิกสของทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 1. ศึกษาความตองการ วิเคราะหและออกแบบระบบ 1. บุคคลทั่วไปสามารถเขาใช - สํานักงาน 2. พัฒนาระบบสารสนเทศ งานระบบได ปลัดกระทรวง 2.1 ขยายผลการใช ง านระบบการเรีย นรู ผ านสื่ ออิเ ล็ กทรอนิ กสใ ห ส วน 2. ทุกสวนราชการในสังกัด ยุติธรรม ราชการในกระทรวงยุติธรรมใชงานรวมกัน โดย กระทรวงยุติธรรมมี - สวนราชการใน - พิจารณาบทเรียนและสื่ อสารการเรี ย นรู ที่ ค วรจั ด ทํา การจัดทําสื่ อการสอน สังกัดกระทรวง - ประชาสั ม พั น ธ ก ารใช ง านสื่ อ การสอนอิ เ ล็ กทรอนิ กส อย าง อิเล็กทรอนิกส อยางนอย ยุติธรรม ต อเนื่ อง สวนราชการละ 2 หลักสูตร - ประชาชน - ติ ด ตามและประเมิ นผลการใช ร ะบบ ภายในป พ.ศ. 2559 2.2 ขยายผลการใชงานระบบจัดการองคความรู โดย 3. ทุกสวนราชการในสังกัด - พิจารณาองคความรูที่ควรจัดทํา (อาทิ องคความรูที่ใ ช กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี สนั บ สนุ น ภารกิ จ หลั ก ของแต ล ะส ว นราชการในสั ง กั ด การจั ด ทํา หั ว ข อ องค กระทรวงยุ ติ ธ รรม) ความรู ต ามภารกิ จหลั ก - รวบรวมเอกสาร เนื้อหาขององคความรู ของตนเองป ล ะ 1 หั ว ข อ - จัดทําองคความรูในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส ต อ ส ว นราชการ - ประชาสัมพันธการใชงานองคความรูอยางตอเนื่อง - ติดตามและประเมินผลการใชระบบ - คัดเลือกองคความรูดีเดน

หนา 5-13


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.3 ยุทธศาสตรที่ 3 ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและการเชื่อมโยง เพื่อใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน หมายเหตุ เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559 แผนงานที่ 1: พัฒนา ขยายการใชงานระบบจัดการองคความรู (Knowledge Management: KM) และระบบการเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Learning) 3. ทดสอบ และนําระบบออกใชงาน 4. ทุ กส วนราชการในสั ง กั ด 4. ประเมินผลการใชงานระบบ กระทรวงยุ ติธรรมมี ระบบ ใช ง าน ดั ง ต อไปนี้ - ร ะ บ บ ก า ร เ รี ย น รู ผ า น สื่ อ อิเล็กทรอนิกส - ระบบจัดการองคความรู ระยะที่ 2: พั ฒ นาระบบจัดการองคความรูและสื่อการเรียนการสอนผาน ระบบอิเล็กทรอนิกสของส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมให รองรั บ อุ ป กรณ สื่ อ สารไร ส าย (Mobile Device) 1. ศึกษาความตองการ วิเคราะหและออกแบบระบบ ระบบการเรี ย นรู ผ า นสื่ อ - สํานักงาน 2. พัฒนาระบบสารสนเทศใหรองรับอุปกรณสื่อสารไรสาย (Mobile อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส และระบบจัดการ ปลัดกระทรวง Device) องคความรูสามารถรองรับการใชงาน ยุติธรรม 2.1 พัฒ นาระบบการเรีย นรู ผานสื่ ออิ เล็ กทรอนิกสใ หเ ปน Mobile ผานอุปกรณเครือขายไรสาย - ส วนราชการใน Application เพื่อเพิ่ม ชองทางในการอํานวยความสะดวกใน สัง กั ด กระทรวง การใชงานใหส ามารถใชง านได ทุ กที่ทุ กเวลา ยุติธรรม 2.2 พัฒนาระบบจัดการองค ความรูใ หเ ปน Mobile Application - ประชาชน เพื่ อเพิ่ ม ช องทางในการอํ านวยความสะดวกในการใช ง านให สามารถใชงานไดทุกที่ทุกเวลา 3. ทดสอบ และนําระบบออกใชงาน 4. ประเมินผลการใชงานระบบ

หนา 5-14


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.3 ยุทธศาสตรที่ 3 ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและการเชื่อมโยง เพื่อใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559 กลยุทธที่ 2: สงเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริการและบริหารจัดการภายในองคกร แผนงานที่ 1: แผนงานสงเสริมและพัฒนาการบริการและการบริหารจัดการภายในองคกร วัตถุประสงค: เพื่อขับเคลื่อนระบบสารสนเทศและอํานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานใหครอบคลุมสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ระยะที่ 1: พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการบริหารจัดการองคกร พั ฒ นาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารเพื ่ อ 1. กระทรวงยุติธรรมมีการพัฒนา - สํานักงาน การบริ ห ารจั ด การองค ก ร อาทิ และใชงานระบบสารสนเทศและ ปลัดกระทรวง - ระบบสารสนเทศกลางกระทรวงยุติธรรม การสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการ ยุติธรรม - ระบบสารสนเทศเพื่อการบริการของสวนราชการภายใน ภายในองคกร - ส ว นร าช การใ น กระทรวงยุติธรรม 2. สวนราชการในสังกัดกระทรวง สั ง กั ด กระทรวง ยุติธรรมมีการพัฒนาและใชงาน ยุติธรรม ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร - ประชาชน เพื่อการบริการ 3. ทุกสวนราชการภายในกระทรวง ยุติธรรมมีระบบสารสนเทศเพื่อ การบริห ารจัด การภายในและ การบริการที่รองรับ การใช งาน เทคโนโลยี ไรส ายอย างน อยส ว น ราชการละ 1 ระบบ

หมายเหตุ

กรณีที่มีระบบ อยูแลวใหดูแล บํารุงรักษา ระบบ สารสนเทศให สามารถใชงาน ไดอยาง ตอเนื่อง

หนา 5-15


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.3 ยุทธศาสตรที่ 3 ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและการเชื่อมโยง เพื่อใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559 ระยะที่ 2: พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการบริหารจัดการองคกรดวยเทคโนโลยีไรสาย 1. ศึกษาความตองการ วิเคราะห และออกแบบระบบเว็บไซต 1. เว็บไซตของกระทรวงยุติธรรม และ/หรือสวนราชการในสัง กัด ของกระทรวงยุ ติ ธ รรมและ/หรื อ ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุติธรรมสามารถรองรับ กระทรวงยุติธรรม การใช ง านผ านอุ ป กรณ สื่ อสาร 2. พัฒนาเว็บไซตของกระทรวงยุติธรรม และ/หรือเว็บไซตของ ไรสาย ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรมให เ ป น Mobile Web เพื ่ อ เพิ ่ ม ช อ งทางและอํ า นวยความสะดวกใน 2. ทุกคนสามารถเขาถึงเว็บไซตของ กระทรวงยุ ติธรรมและ/หรื อ การใช ง าน สวนราชการในสังกัดกระทรวง 3. ทดสอบ และนําระบบไรสายออกใชงาน ยุติธรรมได 4. ประเมินผลการใชงาน

หมายเหตุ

- สํานักงาน ปลัดกระทรวง ยุติธรรม - สวนราชการใน สังกัดกระทรวง ยุติธรรม - ประชาชน

หนา 5-16


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.3 ยุทธศาสตรที่ 3 ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและการเชื่อมโยง เพื่อใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการ ระยะเวลาดําเนินงาน ผูที่เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

กลยุทธที่ 3: สงเสริมและพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แผนงานที่ 1: สงเสริมการพัฒนานวัตกรรม เพื่ออํานวยความยุติธรรม วัตถุประสงค: 1) เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยสามารถใชงานไดจริง 2) เพื่อกระตุนใหบุคลากรพัฒนาศักยภาพทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และเสริมสรางใหมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ 1. จั ด กิ จ กรรมประกวดผลงานภายใต แ นวคิ ด เทคโนโลยี 1. สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม สํานักงาน ระบบสารสนเทศสร า งสรรค ที่ นํา มาใช ไ ด จ ริ ง อาทิ มีการจัดกิจกรรมประกวดผล ปลัดกระทรวง ระบบสแกนใบหน า งานนวัตกรรม อยางนอย 1 ยุติธรรม/สวน 2. ศึกษาความตองการ วิเคราะห และออกแบบแนวทางการประยุกตใช กิจกรรมตอป ราชการในสังกัด เทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย เพื่ อ อํ า นวยความสะดวกในการปฏิ บั ติ ง าน 2. สวนราชการในสั งกัด กระทรวง กระทรวง ขององคกร ยุติธรรมสง ผลงานนวัต กรรม ยุติธรรม 3. สวนราชการตาง ๆ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีการพัฒนานวัตกรรม เขาร วมประกวดอย างน อยสวน ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ราชการละ 1 ผลงานตอป 4. ประเมินผลงาน และมอบรางวัลใหแกนวัตกรรมที่ชนะการประกวด

หนา 5-17


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.3 ยุทธศาสตรที่ 3 ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและการเชื่อมโยง เพื่อใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการ ระยะเวลาดําเนินงาน ผูที่เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559 แผนงานที่ 2: พัฒนานวัตกรรมสารสนเทศอํานวยความยุติธรรม วัตถุประสงค: เพื่อศึกษาวิจัยการนําเทคโนโลยีมาประยุกตใชงานกับสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 1. ศึกษา วิเคราะหสถานภาพปจจุบัน และความตองการใชงาน ทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวง 2. กําหนดรูปแบบและแนวทางการทดลองใชงานเทคโนโลยี ยุติธรรมมีแนวทางการประยุกตใช 3. จัดเตรียมอุปกรณสําหรับการทดลอง เพื่อการวิเคราะหความเปนไปได นวัตกรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการประยุกตใชเทคโนโลยีที่เลือก และการสื่อสาร 4. ทําการทดลองใชเทคโนโลยีที่เลือก 5. สรุป ผลความเปนไปได และผลกระทบดานเทคโนโลยีส ารสนเทศ ดา นสัง คม ด า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน ด า นกฎหมาย และผลตอบแทน ทางเศรษฐกิจ

หมายเหตุ

สวนราชการใน สังกัดกระทรวง ยุติธรรม

หนา 5-18


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.3 ยุทธศาสตรที่ 3 ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและการเชื่อมโยง เพื่อใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของ ระยะเวลาดําเนินงาน (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

กลยุทธที่ 4: พัฒนาการบูรณาการขอมูลสารสนเทศกระทรวงยุติธรรม แผนงานที่ 1: พัฒนาศูนยกลางบริการอิเล็กทรอนิกสของกระทรวงยุติธรรม วัตถุประสงค: 1) เพื่อพัฒนาศูนยกลางบริการอิเล็กทรอนิกสของกระทรวงยุติธรรมใหสามารถใชงานระบบสารสนเทศของกระทรวงยุติธรรมไดจากจุดเดียว 2) เพื่อพัฒนาศูนยกลางบริการอิเล็กทรอนิกสของกระทรวงยุติธรรมใหสามารถรองรับการรวมตัวของประชาคมอาเซียน 1. จั ด หาเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ เ พื่ อ พั ฒ นาศู น ย ก ลาง 1. กระทรวงยุติธรรมมี สํานั กงานปลั ด กระทรวง ยุ ติ ธ รรมอิ เ ล็ กทรอนิ กส เ พื่ อ การบริ ก ารประชาชน ศูนยกลางบริการ ยุ ติ ธรรม/ส วนราชการใน 2. กําหนดมาตรฐานของการพัฒ นาบริ การอิ เล็ กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกส สั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรม เพื่อการเชื่อมโยงบริการของสวนราชการตาง ๆ ภายใน 2. สวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรมมี กระทรวงยุ ติ ธ รรมเข า สู ก ารให บ ริ ก ารผ า นศู นย กลาง ระบบบริการ ยุติธรรมอิเล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกสที่ 3. พัฒนาระบบสารสนเทศศูนยกลางกระทรวงยุติ ธรรม เชื่อมโยงเขาสูศูนยกลาง โดยการเชื่อมโยงบริการอิเล็กทรอนิกสของสวนราชการ บริการอิเล็กทรอนิกส ในสังกัดกระทรวง ของกระทรวงยุติธรรม 4. ทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติ ธรรมเตรียมความ พรอมเพื่อรองรับการรวมตัวของประชาคมอาเซียนดวย ศูนยกลางยุติธรรมอิเล็กทรอนิกส

หนา 5-19


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.3 ยุทธศาสตรที่ 3 ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและการเชื่อมโยง เพื่อใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของ ระยะเวลาดําเนินงาน (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

แผนงานที่ 2: พัฒนาการบูรณาการขอมูลสารสนเทศกระทรวงยุติธรรม วัตถุประสงค: 1) เพื่อพัฒนาการบูรณาการขอมูลกระทรวงยุติธรรมของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และสวนราชการภายนอก ใหเกิดการใชขอมูลรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อพัฒนาการบูรณาการขอมูลกระทรวงยุติธรรมของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และสวนราชการภายนอก เพื่อรองรับการแลกเปลี่ยนขอมูลในระดับภูมิภาคอาเซียน 3) เพื่อพัฒนาการบูรณาการขอมูลสารสนเทศสําหรับการวิเคราะหขอมูลเชิงสถิตในระดับผูบริหาร 1. ศึกษาวิเคราะหความตองการเชื่อมโยงขอมูล และแลกเปลี่ยน 1. กระทรวงยุติธรรมมี สํานั กงานปลั ด กระทรวง ขอมูลของสวนราชการภายใน และสวนราชการภายนอก การเชื่อมโยงขอมูลกับ ยุ ติ ธรรม/ส วนราชการใน กระทรวงยุติธรรม สวนราชการในสังกัด สั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรม 2. ศึกษา วิ เคราะหค วามพร อมของขอมูล สารสนเทศของ กระทรวงยุติธรรมที่ ส วนราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรมเพื่ อเชื่ อมโยง เกี่ยวของ 2. กระทรวงยุติธรรมมีระบบ นําเขาสูระบบคลังขอมูล 3. กํ า หนดรายละเอี ย ด และข อ ตกลงด า นการเชื่ อมโยง สารสนเทศเชิงกลยุทธ ข อมู ล ระหว า งกระทรวงยุ ติ ธรรมและส วนราชการใน สังกัดกระทรวงยุติธรรม 4. จัดหาเครื่องมือ เพื่อการเชื่อมโยงขอมูล และปรับเปลี่ยน ขอมูลใหอยูในรูปแบบที่เหมาะสม รองรับการเชื่อมโยง ขอมูลทั้งภายใน ภายนอก และนานาชาติ 5. พั ฒ นาการเชื ่ อ มโยงข อ มู ล และระบบสารสนเทศ เชิ ง กลยุทธกระทรวงยุติธรรม 6. สนั บส นุ น ติ ดต ามผ ล การใ ช งาน แ ล ะป รั บป รุ ง การเชื่ อมโยงข อมู ล และขอมู ล สารสนเทศเชิ ง กลยุ ท ธ ระดั บ กระทรวงยุ ติ ธรรมอย างต อเนื่ อง

หนา 5-20


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.3 ยุทธศาสตรที่ 3 ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและการเชื่อมโยง เพื่อใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่เกี่ยวของ ระยะเวลาดําเนินงาน (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559

หมายเหตุ

แผนงานที่ 3: บริหารจัดการฐานขอมูลกลางลายพิมพนวิ้ มือมาตรฐาน (Fingerprint) กระทรวงยุติธรรม วัตถุประสงค: 1) เพื่อเปนศูนยกลางในการรวบรวม จัดเก็บ คนหา ลายพิมพนิ้วมือ ลายพิมพนิ้วมือแฝง ลายพิมพฝามือ และลายพิมพฝามือแฝงเพื่อสนับสนุนงานในกระบวนการยุติธรรม 2) เพื่อสรางระบบฐานขอมูลกลางลายพิมพนิ้วมือ ที่มีมาตรฐานกลางมาตรฐานเดียว และสามารถรับขอมูลลายพิมพนิ้วมือระหวางประเทศ เพื่อทําการสืบคนลายพิมพนิ้วมือ (AFIS) ได 3) เพื่อจัดหาอุปกรณทางดานลายพิมพนิ้วมือและลายพิมพฝามือ เพื่อสนับสนุนใหกับหนวยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและกระบวนการยุติธรรม 4) เพื่อสนับสนุนหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมในอนาคตตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการยุติธรรม เรื่องการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตามแผนดําเนินการกระบวนการยุติธรรมแหงชาติ แบบบูรณาการ 1. ศึกษา วิเคราะหสถานภาพปจจุบัน และความตองการใช กระทรวงยุติธรรมมีระบบ สํ า นั ก งานป ลัด กร ะ ท ร วง งานลายพิมพนิ้วมือ ของสวนราชการในสังกัดกระทรวง บริหารจัดการฐานขอมูลกลาง ยุ ติ ธ รรม สถาบันนิติวิทยาศาสตร ยุติธรรม ลายพิมพนิ้วมือมาตรฐาน 2. กําหนดมาตรฐานการจัดเก็บ และแลกเปลี่ยนขอมูล กรมราชทัณฑ กระทรวงยุติธรรม กรมพิ นิ จ และคุ ม ครองเด็ ก 2.1 กํ าหนดมาตรฐานการจั ด เก็ บ ข อ มู ล เป นมาตรฐาน และเยาวชน เดียวกัน กรมคุมประพฤติ 2.2 กําหนดวิธีการสืบ ค นข อมู ล การจั ดเก็ บข อมู ล และ สํ า นัก งานคณะ กรร มการ การเชื่อมโยงขอมูล ป อ ง กั น แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม 3. ออกแบบสถาปตยกรรมการเชื่อมโยง และสืบคน ขอมูล ยาเสพติด ลายพิมพนิ้วมือ กรมสอบสวนคดี พิ เ ศษ 4. กําหนดแนวทางการทดสอบการเชื่อมโยง และสืบคน ขอมูลลายพิมพนิ้วมือ

หนา 5-21


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.4 ยุทธศาสตรที่ 4 บูรณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน หมายเหตุ เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559 กลยุทธที่ 1: ประยุกตใชสื่อบรอดแบนด เพื่อสนับสนุนการสื่อสารและพัฒนาการเชื่อมโยงเครือขายภายใน แผนงานที่ 1: พัฒนาการเชื่อมโยงเครือขายใหเปนมาตรฐานเดียวกันทั้งสวนราชการสวนกลางและสวนราชการสวนภูมิภาคในสังกัดกระทรวงยุติธรรม วัตถุประสงค: เพื่อใหสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีระบบเครือขายที่รองรับใชงานระบบสารสนเทศกลางไดอยางครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ ระยะที่ 1: กําหนดมาตรฐานกลางระบบเครือขาย 1. ศึ กษาสภาพการเชื่ อมโยงเครื อ ข า ยทั้ ง ในส ว นกลาง กระทรวงยุติธรรมมีมาตรฐานการเชื่อมโยง สํานักงานปลัด และส วนภู มิภ าค เครือขาย กระทรวงยุติธรรม 2. กํ า หนดมาตรฐานกลางในการเชื่ อ มโยงเครื อ ข า ย ระหวางกรมตาง ๆ ภายในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ระยะที่ 2: จัดทําและปรับปรุงระบบเครือขาย จัดทําปรับปรุงระบบเครือขายใหเปนไปตามมาตรฐานตามที่ ทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม สวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรมกําหนด มีระบบเครือขายครอบคลุมและรองรับ กระทรวงยุติธรรม ระบบสื่อสาร แผนงานที่ 2: พัฒนาการเชื่อมโยงเครือขายความเร็วสูงครอบคลุมสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมในสวนภูมิภาค วัตถุประสงค: เพื่อใหสํานักงานยุติธรรมจังหวัดสามารถรองรับระบบสารสนเทศกลางไดอยางครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ 1. ศึกษาและรวบรวมขอมูลในดานการใชง านเครือขาย มี เ ครื อข ายหลั กรองรับ ระบบสื่อสารใน สํานักงานปลัดกระทรวง ในสว นราชการในสัง กัด กระทรวงยุต ิธ รรมในสว น กระทรวงยุติธรรม ยุติธรรม ภูมิภาค 2. จัดทําปรับ ปรุง ระบบเครือขายสวนราชการในสัง กัด กระทรวงยุต ิธรรมในสว นภูมิภ าคใหเ ปน เครือ ขา ย ความเร็วสูง

หนา 5-22


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.4 ยุทธศาสตรที่ 4 บูรณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน หมายเหตุ เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559 แผนงานที่ 3: พัฒนาระบบการสื่อสารใหครอบคลุมสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและสวนราชการสวนภูมิภาค วัตถุประสงค 1) เพื่อใหทุก ๆ สวนราชการสามารถเขาถึงระบบสารสนเทศของตนเองไดจากทุกที่ทุกเวลา 2) เพื่อใหมีความสะดวกรวดเร็วในการประชุมสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและสวนราชการสวนภูมิภาค ระยะที่ 1: จัดหาและติดตั้งระบบ VDO Conference สํานักงานปลัดกระทรวง 1. ศึกษาและวิเคราะหความตองการระบบ VDO Conference กรมบั ง คั บ คดี กรมราชทั ณ ฑ ยุติธรรม สําหรั บสวนราชการ 6 สวนราชการและสํานักงานยุติ ธรรม กรมสอบสวนคดีพิเศษ สํานักงาน ป.ป.ท สํานักงาน ป.ป.ง และ จังหวัดนํารอง 10 จังหวัด 2. จัดหาและติดตั้งระบบ VDO Conference สําหรับ 6 สํานักงาน ป.ป.ส และสํานักงาน ส ว นราชการ ไดแ ก กรมบัง คับ คดี กรมราชทัณ ฑ ยุติธรรมจังหวัดนํารอง 10 จังหวัด กรมสอบสวนคดี พิ เศษ สํานั กงาน ป.ป.ท สํ านักงาน มีระบบ VDO Conference ซึ่ง ป.ป.ง และสํานักงาน ป.ป.ส. และสํานักงานยุติธรรม เชื่อมโยงระหวางกัน จังหวัดนํารอง 10 จังหวัด 3. ทดสอบและนําไปใชงาน 4. ประเมินผลการใชงาน ระยะที่ 2: จัดหา VDO Conference 1. จัดหาระบบ VDO Conference สําหรับสวนราชการ 1. สวนราชการในสังกัดกระทรวง สํานักงานปลัดกระทรวง ที่เหลือ 5 สวนราชการ ไดแก สถาบันนิติวิทยาศาสตร ยุติธรรมมีระบบ VDO ยุติธรรม/สวนราชการใน Conference เชื่อมโยงระหวางกัน สังกัดกระทรวงยุติธรรม กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กรมพินิจและคุมครอง เพิ่มขึ้นดังนี้ เด็ ก แ ล ะเ ย าวช น สํ า นั ก กิ จ การ ยุ ต ิ ธ รร ม แ ล ะ - สถาบันนิติวิทยาศาสตร กรมคุ ม ประพฤติ และสํา นั ก งานยุ ติ ธ รรมนํา ร อ ง - กรมคุมครองสิทธิและ 2. ทดสอบและนําไปใชงาน เสรีภาพ 3. ประเมินผลการใชงาน

หนา 5-23


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.4 ยุทธศาสตรที่ 4 บูรณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน หมายเหตุ เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559 แผนงานที่ 3: พัฒนาระบบการสื่อสารใหครอบคลุมสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและสวนราชการสวนภูมิภาค (ตอ) 4. ศึ กษาและวิ เคราะห ความต องการระบบ VDO - กรมพินิจและคุมครองเด็ก Conference ให ค รอบคลุ ม ทุ กส วนราชการในสั ง กั ด และเยาวชน กระทรวงยุติธรรม - สํานักกิจการยุติธรรม - กรมคุมประพฤติ - มีจํานวนสํานักงานยุติธรรม จังหวัดที่มีระบบ VDO Conference เพิ่มขึ้น ระยะที่ 3: จัดหาและพัฒนาระบบ Unified Communications (UC) 1. ศึ ก ษาและวิ เ คราะห ค วามต อ งการในการใช ง าน 1. ในป พ.ศ. 2559 สวนราชการใน สังกัดกระทรวงยุติธรรมมีระบบ UC ระบบสัง่ การอิเล็กทรอนิกส อาทิ ระบบ UC ทีเ่ หมาะสมกับการใชงานของตนเอง 2. ส วนราชการในสั งกั ดกระทรวงยุ ติ ธรรมพิ จารณาจั ดหา เครื่ อ งมื อและอุ ป กรณ เ พื่ อ พั ฒ นาระบบ UC ตาม 2. สวนราชการในสังกัดกระทรวง ยุติธรรมมีผลการศึกษาความ ความเหมาะสมดานการใชงานของตนเอง ตองการในการใชงานระบบ UC 3. พัฒนาระบบ UC เพื่อใชงานร วมกันกับระบบสารสนเทศ ต า ง ๆ ในส ว นราชการ และส ว นราชการต า ง ๆ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 4. ทดสอบและนําไปใชงาน 5. ประเมินผลการใชงาน

สวนราชการในสั งกัด กระทรวงยุติธรรม

หนา 5-24


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.4 ยุทธศาสตรที่ 4 บูรณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน หมายเหตุ เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559 กลยุทธที่ 2: พัฒนาระบบสนับสนุนหองศูนยคอมพิวเตอรที่มีความมั่นคงปลอดภัย แผนงานที่ 1: จัดทําศูนยปฏิบัติงานคอมพิวเตอรกลางสวนราชการสังกัดกระทรวงยุติธรรม (Colocation Data Center กระทรวงยุติธรรมแหงใหม) วัตถุประสงค: เพื่อใหระบบสารสนเทศที่สําคัญของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมสามารถใหบริการไดอยางตอเนื่อง 1. ศึกษาความตองการของระบบตาง ๆ ของสวนราชการ กระทรวงยุติธรรมมีศูนยปฏิบัติงาน สํานักงานปลัดกระทรวง ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม คอมพิวเตอรกลางสําหรับใหบริการสวน ยุติธรรม 2. ศึกษาและจัดทํา Service-Level Agreement (SLA) ราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ใหกับระบบของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ที่มาใชงานศูนยปฏิบัติงานคอมพิวเตอรกลาง 3. จั ด ทํ า ศู น ย ป ฏิ บ ั ต ิ ง านคอมพิ ว เ ต อร ก ล าง แ ล ะ ติ ด ตั ้ ง ระ บบต า ง ๆ ข อง ส ว นราช การ ในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม แผนงานที่ 2: จัดทําศูนยปฏิบัติงานสํารองกลางกระทรวงยุติธรรม (Disaster Recovery Site: DR Site) วัตถุประสงค: เพื่อใหระบบสารสนเทศของกระทรวงยุติธรรมสามารถใหบริการไดอยางตอเนื่อง 1. ศึกษาความตองการของระบบตาง ๆ ของสวนราชการ กระทรวงยุติธรรมมีศูนยปฏิบัติงานสํารอง สํานักงานปลัดกระทรวง ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ยุติธรรม 2. จัดหาสถานที่ตั้งศูนยปฏิบัติงานสํารอง 3. จัดทําศูนยปฏิบัติงานสํารองและจัดเตรียมอุปกรณ

หนา 5-25


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.4 ยุทธศาสตรที่ 4 บูรณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน หมายเหตุ เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559 แผนงานที่ 3: พัฒนาหอง Data Center ของสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมใหเปนมาตรฐานเดียวกัน วัตถุประสงค : เพื่อใหสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีหอง Data Center ที่เปนมาตรฐานเดียวกัน ระยะที่ 1: กํ าหนดมาตรฐานกลางหอง Data Center สําหรับสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม กระทรวงยุติธรรมมีมาตรฐานหอง Data สํานักงานปลัดกระทรวง 1. ศึ ก ษาความต อ งการพื้ น ฐานในการใช ง านระบบ Center ยุติธรรม สนับสนุนหอง Data Center 2. กําหนดมาตรฐานระบบสนับสนุนหอง Data Center ระยะที่ 2: ปรั บปรุง หอง Data Center ใหเ ปนไปตาม มาตรฐาน 1. ส ว นราช การในสัง กัด กระทรวงยุต ิธ ร รมจัด ห า สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมี สวนราชการในสังกัด เครื่องมือและอุปกรณ เพื่ อพัฒ นาห อง Data Center หอง Data Center ตามมาตรฐาน กระทรวงยุติธรรม 2. ส วนราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมพั ฒ นาห อ ง Data Center ใหเปนไปตามมาตรฐาน 3. สวนราชการในสัง กั ด กระทรวงยุ ติธรรมทดสอบและ นําไปใชงาน 4. สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมประเมินผลการ ใชงานระบบ

หนา 5-26


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.4 ยุทธศาสตรที่ 4 บูรณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน หมายเหตุ เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559 แผนงานที่ 4: เพิ่มประสิทธิภาพและการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบเครือขาย วัตถุประสงค: เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบเครือขาย 1. สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมศึกษา วิเคราะห 1. ส วนราชการในสั ง กั ด กระทรวง อุปกรณเครือขายตาง ๆ ยุติธรรมมีแผนการปรับปรุงระบบ 2. ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมสรุ ป ผล เครือขายที่มีประสิทธิภาพสามารถ การวิ เ คราะห เ พื่ อ จั ด เตรี ย มการปรั บ เปลี่ ย นและ รองรับ IPv6 2. ส วนราชการในสั ง กั ด กระทรวง พั ฒ นาอุ ป กรณ ยุติธรรมมีอุปกรณเครือขายที่มี 3. ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ต ิ ธ รรมจั ด ห า ประสิทธิภาพและรองรับเทคโนโลยี อุ ป กรณ เ ครื อ ข า ยเพื ่ อ ใช ใ นการปรั บ เปลี ่ ย นและ IPv6 พั ฒ นา 4. ส ว น ร า ช ก า ร ใ น สั ง กั ด ก ร ะ ท ร ว ง ยุ ต ิ ธ ร ร ม ทํ า กา ร ป รั บ เ ป ลี ่ ย น อุ ป ก ร ณ เ ค รื อ ข า ย ต า ม แ ผ น การปรั บ ปรุ ง ระบบ 5. ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ต ิ ธ รรมทดสอบ และนําไปใช ง าน 6. ส วนราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธรรมประเมิ น ผล การใช ง านระบบ

สวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม

หนา 5-27


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 - 2559

ตาราง 5.4 ยุทธศาสตรที่ 4 บูรณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร (ตอ) กิจกรรม ตัวชี้วัด สวนราชการผูที่ ระยะเวลาดําเนินงาน หมายเหตุ เกี่ยวของ (ป พ.ศ.) 2556 2557 2558 2559 กลยุทธที่ 3: จัดสรรทรัพยากรพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสําหรับผูใชงาน แผนงานที่ 1: จัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรพื้นฐาน เพื่อทดแทนเครื่องคอมพิวเตอรที่ลาสมัย วัตถุประสงค: เพื่อใหเครื่องคอมพิวเตอรมีประสิทธิภาพในการทํางานและเพียงพอตอความตองการ 1. สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมสํารวจจํานวน 1. ส วนราชการในสั ง กั ด กระทรวง เครื่องคอมพิวเตอรพื้นฐานใหเพียงพอตอความตองการ ยุ ติ ธรรมมี อัตราส วนอุ ป กรณ และเครื่องคอมพิวเตอรที่มีอายุการใชงานมากกวา 5 ป คอมพิวเตอรลูกขาย 1 เครื่องตอ 2. ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ต ิ ธ รรมจั ด ทํ า 1 คน แผนการจั ด หาเครื ่ อ งคอมพิ ว เตอร แ ละอุ ป กรณ 2. มีการจัดหาทรัพยากรพื้นฐาน ให เหมาะสมเพียงพอตอผูปฏิบัติงาน คอมพิวเตอรพื้ นฐาน 3. ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมจั ด หาและ ที่ตองใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ป รั บ เ ป ลี่ ย น เ ค รื่ อง ค อ มพิ วเ ต อร แ ล ะ อุ ป กร ณ คอมพิวเตอรพื้ นฐาน

สวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม

หนา 5-28


บทที่ 6 การติดตามและประเมินผล แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร มี ก ารกํา หนดเป า หมายและยุ ท ธศาสตร การดํ า เ นิ น งาน เพื ่อ ใหก ระทรวงยุต ิธ รรมสามารถนํ า เอาเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื ่อ สาร มาประยุก ตใ ช เ พื่ อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านตามภารกิจ ตา ง ๆ ไดอ ยา งมีป ระสิท ธิภ าพ อยา งไรก็ต าม เพื่อ ใหก ารดํา เนิ น งานตามแผนแม บทฯ ฉบับ นี้ สามารถตรวจสอบความกาวหนา ปญ หาอุป สรรค และ ระดับของความสําเร็จตามความมุงหวัง จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ตามยุทธศาสตรตาง ๆ โดยอาศัยกระบวนการเปรียบเทียบผลลัพธที่เกิดขึ้นจริงกับเปาหมายผลลัพธที่ตองการ โดยผลการประเมินที่ดีจ ะสง ผลใหส ามารถทราบขอ เท็จ จริง ของความสามารถในการแปลงแผน สูการปฏิบัติงานของสวนราชการตาง ๆ ในสังกัด และนอกเหนื อ จากนั้ น การประเมิ น ผลตามเป า หมาย ในระยะต าง ๆ ระหวางการดําเนินการยัง สามารถสนั บ สนุ นใหเกิดการปรับเปลี่ยนแผนในระดับปฏิบัติการ เพื่อใหสอดคลองกับยุทธศาสตรไดดียิ่งขึ้น อันจะสงผลถึงคุณภาพของการดําเนินงานตามยุทธศาสตร และ สนั บ สนุ น ให ก ารดํา เนิน งานตามแผนแมบ ทฯ มี ความใกล เ คี ย งหรื อ สั ม ฤทธิ์ผ ลตามเป าหมายที่ ไ ด วางไว ซึ่ ง ในบทนี ้ จะกล า วถึ ง แนวทางการบริ ห ารจั ด การการติ ด ตามประเมิ น ผล และสรุ ป ตั ว ชี ้ ว ั ด รายยุ ท ธศาสตร ดั ง นี้

6.1 วัตถุประสงคของการติดตามและประเมินผล

วัตถุประสงคหลักของการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามแผนแมบทฯ ประกอบดวย 6.1.1 เพื่อติดตามความกาวหนาของการดําเนินงานตามแผนแมบ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 6.1.2 เพื่อประเมินผลความสําเร็จ ตามประเด็นยุ ทธศาสตร เปาหมาย และตามแผนงานต าง ๆ ตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 6.1.3 เพื่อประเมินรวบรวมปญหา อุปสรรคในการดําเนินงานตามแผนงานตาง ๆ ตามแผนแมบท เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 เพื่อนําไปสูการปรับปรุง และทบทวนแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 5)

6.2 การบริหารจัดการการติดตามประเมินผล

การบริหารจัดการการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารของกระทรวงยุ ติ ธ รรม จํา เป น จะต อ งคํา นึ ง ถึ ง การติ ด ตามประเมิ น ผลใน 2 ระดั บ ได แ ก การดํา เนิ น งานติ ด ตามประเมิ น ผลระดั บ กระทรวง และระดับสวนราชการในสังกัดกระทรวงทั้งหมด โดยจากภาพ 6.1 แสดงให เ ห็ น ถึ ง ความสั ม พั น ธ ข องการติ ด ตามประเมิ น ผลระหว า ง 2 ระดั บ โดยผลการประเมิ น ในระดั บ ส ว นราชการจะเป น ข อ มู ล ที่ จ ะถู ก นํา ไปใช ใ นระดั บ กระทรวงต อ ไป หนา 6-1


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

ภาพ 6.1 ภาพรวมการบริหารจัดการการติดตามประเมินผล 6.2.1 แนวทางการดําเนินงานติดตามประเมินผลระดับกระทรวง ในการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนแมบทฯ กระทรวงยุติธรรมจําเปนจะตอง มีกิจกรรมการติดตามประเมินผล 3 สวนหลักโดยมีรายละเอียดดังภาพ 6.1 และตาราง 6.1

หนา 6-2


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

ตาราง 6.1 แนวทางการบริหารจัดการการติดตามประเมินผลดําเนินงานระดับกระทรวง ลําดับที่ กิจกรรมการติดตามประเมินผล กรรมวิธี 1 การประเมินผลการจัดทําแผนปฏิบัติการ การประเมินผลความครบถวนของของการวางแผนปฏิบัติการ ของสวนราชการตามรายยุทธศาสตรในแผนแมบทฯ 1) ประเมิ น ความครบถ ว นตามรายยุ ท ธศาสตร ที่ บ รรจุ อยู ใ นแผนแม บ ทฯ ให ไ ด รั บ การสั ง เคราะห จ าก ส ว นราชการผู เ กี่ ย วข อ งในสั ง กั ด กระทรวง และ ถูกกําหนดใหเปนแผนงาน/โครงการถูกตองครบถวน 2) ประเมินความสอดคลอ งดานระยะเวลาการดําเนินงาน ต า ง ๆ ในแผนแม บ ทฯ ให ไ ด รั บ การสั ง เคราะห จ าก สว นราชการผู เ กี่ ย วข อ งในสั ง กั ด ให มีก ารดํ าเนิ น งาน ตามระยะเวลาที่สอดคลองกัน 3) ประเมิ น ความสอดคล อ งด า นเป า หมายยุ ท ธศาสตร ในแผนแมบทฯ ใหไดรับการสังเคราะหจากสวนราชการ ผูเกี่ยวของในสังกัดใหมีการกําหนดเปาหมายที่สอดคลองกัน 2 การประเมินผลระหวางการดําเนินงาน การประเมินผลเปาหมายและตัวชี้วัดตามลําดับตาง ๆ ดังนี้ ตามแผนแมบทฯ 1) ระดับยุทธศาสตร (ตัวชี้วัดรายแผนงาน): ประเมิน ทุก 6 เดือน 2) เปาหมายรายป: ประเมินรายป 3) เปา หมายโดยรวมของแผนแมบ ทฯ: ประเมิ นรายป (เพื่อการปรับปรุงแผนปฏิบัติการ) 3 การประเมิ น ผลเมื ่อ ครบวาระของ การประเมิ น ผลเป า หมา ยและตั ว ชี้ วั ด โดยรวมแล ะ แผนแม บ ทฯ เมื่ อ ครบวาระของแผนแม บ ทฯ เพื่ อ นํา ไปสูก ารปรั บ ปรุ ง แผนแมบทฯ 1) ประเมินและสรุปผลรายแผนงาน 2) ประเมินและสรุปผลรายยุทธศาสตร 3) ประเมินและสรุปผลเปาหมายรายป 4) ประเมินและสรุปผลเปาหมายภาพรวมของแผนแมบทฯ สรุ ป ผลสิ่ ง ที่ ต อ งดํ า เนิ น การเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง แก ไ ข หรื อ พั ฒ นาต อ เนื่ อ ง เพื่ อ นํ า ไปสู ก ารปรั บ ปรุ ง แผนแม บ ทฯ ฉบับตอไป

หนา 6-3


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

6.2.2 แนวทางการดําเนินงานการติดตามประเมินผลของสวนราชการในสังกัด ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมจํา เป น จะต อ งดํา เนิ น งานติ ด ตามประเมิ น ผล การดํา เนิ น งานตามแผนแม บ ทฯ ซึ่ ง ประกอบไปด ว ยการดํา เนิ น งาน 3 ส ว นหลั ก โดยมี ร ายละเอี ย ด ดั ง ภาพ 6.2 และตาราง 6.2

ภาพ 6.2 แนวทางการบริหารจัดการการติดตามประเมินผลดําเนินงานระดับของสวนราชการในสังกัด ตาราง 6.2 แนวทางการบริหารจัดการการติดตามประเมินผลดําเนินงานระดับของสวนราชการในสังกัด ลำดับที่ กิจกรรมการติดตามประเมินผล กรรมวิธี 1 การประเมินผลการจัดทําแผนปฏิบัติการ การประเมิ น ผลความสอดคล อ งของแผนปฏิ บั ติ ก าร โดยประเมิ น แผนงาน/โครงการที่ มี อ ยู เ พื่ อ เปรี ย บเที ย บ ความสอดคลองชัดเจนกับยุทธศาสตรในแผนแมบทฯ - มีแ ผ น ง า น /โ ค ร ง ก า ร ดํ า เ นิน ก า ร ค ร บ ถว น ตามที่ แผนแม บ ทฯ กําหนด - มีการกําหนดระยะเวลาการดําเนินการที่สอดคลอง กับแผนแมบทฯ - มีการกําหนดตัวชี้วัดที่สอดคลองกับแผนแมบทฯ 2 การประเมินผลระหวางการดําเนินงาน 1) การประเมินผลการดําเนินการตามแผนงาน/โครงการ ตามแผนปฏิบัตกิ าร ที่แตละสวนราชการกําหนด - ความกาวหนาในการดําเนินงานโครงการรายไตรมาส - มีการดําเนินกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ 2) การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามแผนงาน/โครงการ - ติด ตามตัว ชี้วัดรายแผนงาน/โครงการเมื่อ สิ ้น สุด การดําเนินงาน

หนา 6-4


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

ตาราง 6.2 แนวทางการบริหารจัดการการติดตามประเมินผลดําเนินงานระดับของสวนราชการในสังกัด (ตอ) ลำดับที่ กิจกรรมการติดตามประเมินผล กรรมวิธี 3 การประเมินผลตามแผนปฏิบัติการ การประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติก ารโดยประเมินผล การปฏิบ ัติต ามแผนงาน/โครงการที่ มีอ ยูเ ปรี ยบเทียบกั บ ตัวชี้วัดในแผนแมบทฯ - ผลการปฏิบัติง านของสว นราชการตาง ๆ เป นไป ตามตัวชี้วัดที่แผนแมบทฯ กําหนด ทั้งในสวนของ เปาหมายรายป/เปาหมายรวมของแผนแมบทฯ - สรุปผลสิ่งที่ตองดําเนินการเพื่อปรับปรุง แกไข หรือ พัฒนาตอเนื่อง

6.3 สรุปตัวชี้วัดรายยุทธศาสตร ตาราง 6.3 สรุปตัวชี้วัดรายยุทธศาสตร ยุทธศาสตร/ป ตัวชี้วัด ยุทธศาสตรที่ 1: เสริมสรางขีดความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ป 2556 - กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี แ ผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556–2559 - กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก ารดํา เนิ น กิ จ กรรมเสริ ม สร า งความสั ม พั น ธ การแ ลก เ ปลี ่ ย น ป ระ สบ กา ร ณ แล ะ กา รป ระ ส าน งา น ที่ กํ า ห น ด อย า งน อ ย 4 ครั้ ง ต อ ป - สวนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมตองเขารวมกิจกรรมไมนอยกวา 3 ครั้งตอป ป 2557 - กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี แ ผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556–2559 - กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก ารดํา เนิ น กิ จ กรรมเสริ ม สร า งความสั ม พั น ธ การแ ลก เ ปลี ่ ย น ป ระ สบ กา ร ณ แล ะ กา รป ระ ส าน งา น ที่ กํ า ห น ด อย า งน อ ย 4 ครั้ ง ต อ ป - ส วนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมตอ งเขารวมกิจ กรรมไม นอยกว า 3 ครั้งตอป - ส ว นราชการในสัง กัด กระทรวงยุติธ รรมมีก ารจัด ทํา สถาปต ยกรรม ระบบสารสนเทศองค ก ร (Enterprise Architecture)

หนา 6-5


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

ตาราง 6.3 สรุปตัวชี้วัดรายยุทธศาสตร (ตอ) ยุทธศาสตร/ป ตัวชี้วัด ป 2558 - กระทรวงยุติธรรมมีแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 5) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2560–2562 - กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก ารดํา เนิ น กิ จ กรรมเสริ ม สร า งความสั ม พั น ธ การแ ลก เ ปลี ่ ย น ป ระ สบ กา ร ณ แล ะ กา รป ระ ส าน งา น ที่ กํ า ห น ด อย า งน อ ย 4 ครั้ ง ต อ ป - ส วนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมตอ งเขารวมกิจ กรรมไมนอยกว า 3 ครั้งตอป - ส ว นราชการในสัง กัด กระทรวงยุติธ รรมมีก ารจัด ทํา สถาปต ยกรรม ระบบสารสนเทศองค ก ร (Enterprise Architecture) ป 2559 - ในป พ.ศ. 2559 ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ป รั บ ปรุ ง แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่สอดคลองกับแผนแมบท เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (ฉบับ ที่ 5) กระทรวงยุ ติ ธ รรม พ.ศ. 2560–2562 - ส ว น ร า ช ก า ร ใ น ส ัง ก ัด ก ร ะ ท ร ว ง ย ุต ิธ ร ร ม ม ีส ถ า ป ต ย ก ร ร ม ระบบสารสนเทศองค ก ร (Enterprise Architecture) - ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก ระบวนการบริ ห ารจั ด การ ด า นการให บ ริ ก ารเทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ เ ป น มาตรฐาน - สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมี ระบบบริห ารจั ดการความมั่ นคง ปลอดภัยดานสารสนเทศที่เปนมาตรฐาน - กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก ารดํา เนิ น กิ จ กรรมเสริ ม สร า งความสั ม พั น ธ การแ ลก เ ปลี ่ ย น ป ระ สบ กา ร ณ แล ะ กา รป ระ ส าน งา น ที่ กํ า ห น ด อย า งน อ ย 4 ครั้ ง ต อ ป - ส วนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมตอ งเขารวมกิจ กรรมไมนอยกว า 3 ครั้งตอป

หนา 6-6


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

ตาราง 6.3 สรุปตัวชี้วัดรายยุทธศาสตร (ตอ) ยุทธศาสตร/ป ตัวชี้วัด ยุทธศาสตรที่ 2: พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ป 2556 - บุคลากรผูใชง านไดรับ การฝกอบรมหรือเขารวมกิจกรรมเพื่อผลักดันและ สรา งความตระหนัก ในการประยุก ตใ ชง านเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสารอยางนอยรอยละ 20 ป 2557 - บุคลากรผูใชงานไดรับ การฝกอบรมหรือเขารวมกิจกรรมเพื่อ ผลักดันและ สร า งความตระหนั ก ในการประยุ ก ต ใ ช ง านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สาร อย า งน อ ยร อ ยละ 40 - บุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสวนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรมมีเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) - บุคลากรดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารไดรั บการพัฒ นาทักษะ ตามเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) ทุกสวนราชการ ป 2558 - บุคลากรผูใชงานไดรับ การฝกอบรมหรือเขารวมกิจกรรมเพื่อ ผลักดันและ สร างความตระหนัก ในการประยุก ตใ ชง านเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่ อ สาร อยางนอ ยรอ ยละ 60 - บุคลากรดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารไดรั บการพัฒ นาทักษะ ตามเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) ทุกสวนราชการ ป 2559 - บุคลากรผูใชง านไดรับ การฝกอบรมหรือเขารวมกิจกรรมเพื่อผลักดันและ สร างความตระหนัก ในการประยุก ตใ ชง านเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่ อ สาร อยางนอ ยรอ ยละ 80 - บุคลากรดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารไดรั บการพัฒ นาทักษะ ตามเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) ทุกสวนราชการ

หนา 6-7


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

ตาราง 6.3 สรุปตัวชี้วัดรายยุทธศาสตร (ตอ) ยุทธศาสตร/ป ตัวชี้วัด ยุทธศาสตรที่ 3: ผลักดันนวัตกรรมสารสนเทศและเชื่อมโยงใหเกิดการใชสารสนเทศแบบบูรณาการ ป 2556 - กระทรวงยุติธรรมมีการพัฒนาและใชงานระบบสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการบริหารจัดการภายในองคกร - ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก ารพั ฒ นาและใช ง าน ระบบสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริการ - บุคคลทั่วไปสามารถเขาใชงานระบบจัดการองคความรู และระบบการเรียนรู ผานสื่ออิเล็กทรอนิกสได - ทุ ก หน ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก ารจั ด ทํ า สื่ อ การสอน อิเล็กทรอนิกส อยางนอยหนวยงานละ 1 หลักสูตรทุกป - ทุ ก หน ว ยงานในสัง กัด กระทรวงยุติธ รรมมีก ารจัด ทํา หัว ขอ องคค วามรู ตามภารกิ จ หลัก ของตนเองปล ะ 1 หัวขอ ตอ หนวยงาน - สํานักงานยุติธรรมจังหวัดมีระบบสารสนเทศกลางใชงาน - หนวยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีการพัฒนาและใชงานระบบสารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการภายในองคกร - หนวยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีการพัฒนาและใชงานระบบสารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อการบริการ - หนวยงานในสั ง กั ดกระทรวงยุ ติธรรมมี ร ะบบสารสนเทศเพื่ อ การบริห าร จัด การภายในและการบริก ารที ่ร องรับ การใชง านไรส ายอยา งนอ ย หนวยงานละ 1 ระบบ ป 2557 - กระทรวงยุติธรรมมีการพัฒนาและใชงานระบบสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการบริหารจัดการภายในองคกร - ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก ารพั ฒ นาและใช ง าน ระบบสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริการ - ทุ ก ส วนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมมีก ารจัดทําหัวขอ องคความรู ตามภารกิจหลักของตนเองปละ 1 หัวขอตอสวนราชการ - ทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีระบบใชงาน ดังตอไปนี้ ° ระบบการเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส ° ระบบจัดการองคความรู - กระทรวงยุ ต ิธ รรมมี ก ารจั ด ทํ า ระบบบริ ห ารจั ด การฐานข อ มู ล กลาง ลายพิมพนิ้วมือมาตรฐานของกระทรวงยุติธรรม - ทุ ก ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี แ นวทางการประยุ ก ต ใ ช นวัตกรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

หนา 6-8


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

ตาราง 6.3 สรุปตัวชี้วัดรายยุทธศาสตร (ตอ) ยุทธศาสตร/ป ตัวชี้วัด ป 2558 - กระทรวงยุติธรรมมีการพัฒนาและใชงานระบบสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการบริหารจัดการภายในองคกร - ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก ารพั ฒ นาและใช ง าน ระบบสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริการ - ทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ภายในและการบริการที่รองรับการใชงานไรสาย อยางนอยสวนราชการละ 1 ระบบ - เว็ บ ไซต ของกระทรวงยุติธรรมและ/หรื อ ส ว นราชการในสั ง กั ดกระทรวง ยุติธรรมสามารถรองรับการใชงานผานอุปกรณสื่อสารไรสาย - ทุ ก ส วนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมมีก ารจัดทําหัวขอ องคความรู ตามภารกิจหลักของตนเองปละ 1 หัวขอตอสวนราชการ - ทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีระบบใชงาน ดังตอไปนี้ ° ระบบการเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส ° ระบบจัดการองคความรู - สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมมีการจัดกิจกรรมประกวดผลงานนวัตกรรม อยางนอย 1 กิจกรรมตอป - หนวยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมสง ผลงานนวัตกรรมเขารวมประกวด อยางนอยหนวยงานละ 1 ผลงานตอป - ทุ ก ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี แ นวทางการประยุ ก ต ใ ช นวัตกรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - กระทรวงยุติธรรมมีศูนยกลางบริการอิเล็กทรอนิกส - สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีบริการอิเล็กทรอนิก สที่เ ชื่อ มโยง เขาสูศูนยกลางบริการอิเล็กทรอนิกสของกระทรวงยุติธรรม - กระทรวงยุติ ธ รรมมีระบบบริหารจัดการฐานขอมูล กลางลายพิมพนิ้วมือ มาตรฐานของกระทรวงยุติธรรม

หนา 6-9


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

ตาราง 6.3 สรุปตัวชี้วัดรายยุทธศาสตร (ตอ) ยุทธศาสตร/ป ตัวชี้วัด ป 2559 - ทุ ก ส วนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมมีก ารจัดทําหัวขอ องคความรู ตามภารกิจหลักของตนเองปละ 1 หัวขอตอสวนราชการ - ทุกสวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีระบบใชงาน ดังตอไปนี้ ° ระบบการเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส ° ระบบจัดการองคความรู - ระบบการเรียนรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกสและระบบจัดการองคความรูสามารถ รองรับการใชงานผานอุปกรณสื่อสารไรสาย - ทุ ก ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ก ารจั ด ทํ า สื่ อ การสอน อิเล็กทรอนิกส อยางนอยสวนราชการละ 2 หลักสูตร - สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมมีการจัดกิจกรรมประกวดผลงานนวัตกรรม อยางนอย 1 กิจกรรมตอป - หนวยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมสง ผลงานนวัตกรรมเขารวมประกวด อยางนอยหนวยงานละ 1 ผลงานตอป - กระทรวงยุ ต ิ ธ รรมมี ก ารเชื ่ อ มโยงข อ มู ล กั บ ส ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุติธรรมที่เ กี่ยวขอ ง - กระทรวงยุติธรรมมีระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ

หนา 6-10


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

ตาราง 6.3 สรุปตัวชี้วัดรายยุทธศาสตร (ตอ) ยุทธศาสตร/ป ตัวชี้วัด ยุทธศาสตรที่ 4: บูรณาการและยกระดับโครงสรางพื้นฐาน เครือขายสารสนเทศ และระบบคอมพิวเตอร ป 2556 - สวนราชการ 6 หนวย ไดแก กรมบังคับคดี กรมราชทัณฑ กรมสอบสวนคดี พิเศษ สํานักงาน ป.ป.ท สํานักงาน ป.ป.ง สํานัก งาน ป.ป.ส และยุติธรรม จัง หวัด นํา รอ ง 10 จัง หวัด มีร ะบบ VDO Conference ซึ่ง เชื่อ มโยง ระหวางกัน ป 2557 - กระทรวงยุติธรรมมีมาตรฐานการเชื่อมโยงเครือขาย - ส ว น ราชกา รใน สั ง กั ด ก ระท รวง ยุ ต ิ ธ รร มมี ม าต รฐา นห อ ง Data Center - หนวยงานในสัง กัดกระทรวงยุติธรรมมีแผนการปรับ ปรุง ระบบเครือ ขาย ที่มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับ IPv6 - สวนราชการสวนขยายผลมีระบบ VDO Conference ในการประชุมกับ สวนราชการภายในกระทรวงยุติธรรม - ส ว น ร า ช ก า ร ใ น สั ง กั ด ก ร ะ ท ร วง ยุ ต ิ ธ ร ร ม มี อ ั ต ร า ส ว น อุ ป ก ร ณ คอมพิ ว เตอร ลู ก ข า ย 1 เครื่ อ งต อ 1 คน - มี ก ารจั ด หาทรั พ ยากรพื้ น ฐานที่ เ หมาะสมเพี ย งพอต อ ผู ป ฏิ บั ติ ง าน ที่ ต อ งใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ ป 2558 - สวนราชการสวนขยายผลมีระบบ VDO Conference ในการประชุมกับ สวนราชการภายในกระทรวงยุติธรรม - ทุก สว นราชการในสัง กัด กระทรวงยุต ิธ รรมมีม าตรฐานการเชื่อ มโยง เครือขายครอบคลุมและรองรับระบบสื่อสาร - มีเครือขายหลักรองรับระบบสื่อสารในกระทรวงยุติธรรม - สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีหอง Data Center ตามมาตรฐาน - สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมมีแผนการปรับปรุงระบบเครือขาย ที่มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับ IPv6 - สว น ร า ช ก า ร ใ น ส ัง ก ัด ก ร ะ ท ร วง ย ุต ิธ ร ร ม ม ีอ ุป ก ร ณเ ค ร ือ ข า ย ที่มีประสิทธิภาพและรองรับเทคโนโลยี IPv6 - ส ว น ร า ช ก า ร ใ น สั ง กั ด ก ร ะ ท ร วง ยุ ต ิ ธ ร ร ม มี อ ั ต ร า ส ว น อุ ป ก ร ณ คอมพิ ว เตอร ลู ก ข า ย 1 เครื่ อ งต อ 1 คน - มี ก ารจั ด หาทรั พ ยากรพื้ น ฐานที่ เ หมาะสมเพี ย งพอต อ ผู ป ฏิ บั ติ ง าน ที่ ต อ งใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ ป 2559 - กระทรวงยุ ติธ รรมมีศู นยป ฏิบั ติง านคอมพิว เตอรก ลางสํา หรับ ให บ ริก าร สวนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม - กระทรวงยุติธรรมมีศูนยปฏิบัติงานสํารองเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน - ส ว น ร า ช ก า ร ใ น สั ง กั ด ก ร ะ ท ร วง ยุ ต ิ ธ ร ร ม มี อ ั ต ร า ส ว น อุ ป ก ร ณ คอมพิ ว เตอร ลู ก ข า ย 1 เครื่ อ งต อ 1 คน

หนา 6-11


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

ตาราง 6.3 สรุปตัวชี้วัดรายยุทธศาสตร (ตอ) ยุทธศาสตร/ป ตัวชี้วัด ป 2559 (ตอ) - มี ก ารจั ด หาทรั พ ยากรพื้ น ฐานที่ เ หมาะสมเพี ย งพอต อ ผู ป ฏิ บั ติ ง าน ที่ ต อ งใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ - ส ว นราชการในสัง กัด กระทรวงยุติธ รรมมีร ะบบ VDO Conference และระบบ UC ที่ เ หมาะสมกั บ สภาพความต อ งการ - ส ว นราชการในสัง กัด กระทรวงยุติธ รรมมีร ะบบ VDO Conference และระบบ UC ซึ่ง สามารถเชื่อ มโยงกันระหวา งสวนราชการในสัง กัด กระทรวงยุติธรรม

6.4 การเชื่อมโยงตัวชี้วัดและเปาหมายในการดําเนินงาน

หนา 6-12


บทที่ 7 ขอเสนอแนะการนําแผนสูการปฏิบัติ ในบทนี้กลาวถึงขอเสนอแนะแกหนวยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมเพื่อใหสามารถนําแผนแมบ ท เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 นี้ไปปฏิบัติ และผลักดัน ใหสามารถดําเนินการได ซึ่งการนําแผนแมบทฯ ไปปฏิบัตินั้นอาจมีความซับซอนเนื่องจากตลอดระยะเวลาการ ดําเนินงานตามแผนแมบ ทฯ อาจมีปจ จัยตา ง ๆ ที่เ ปนขอ จํากัดและสง ผลกระทบตอ การดํา เนินการอยู ตลอดเวลา ดัง นั้นการจะนําแผนสูก ารปฏิบัติจําเปนอยางยิ่ง ที่จ ะตองอาศัยการดําเนินงานจากผูม ีสว นได สวนเสียในระดับ ตาง ๆ ภายในกระทรวงยุติธรรม อาทิ ผูบ ริห ารเทคโนโลยีส ารสนเทศระดับ สูง (CIO) ประจํากระทรวงยุติธรรม และผูบ ริห ารเทคโนโลยีส ารสนเทศระดับ สูง (CIO) ประจํา สวนราชการใน สังกัด เจาหนาที่และสวนราชการดานเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร เปนตน ซึ่ง ขอ เสนอแนะใน การนําแผนไปสูการปฏิบัติใหประสบผลสําเร็จมีดังตอไปนี้

7.1 การผลั กดั นแผนแมบ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสารของกระทรวง ยุติธรรมสูการปฏิบัติ

การนําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรมสูการปฏิบัตินั้นจําเปน อยา งยิ ่ง ที ่จ ะตอ งอาศัย การผลัก ดัน จากระดับ นโยบายสู ร ะดับ ปฏิบ ัติ (Top-Down) จากผู บ ริห าร เทคโนโลยีส ารสนเทศระดับ สูง (CIO) ประจํากระทรวงยุติธรรมสูสวนราชการตาง ๆ ภายในกระทรวง ยุติธรรมผานกิจกรรมตาง ๆ อาทิ - การมอบนโยบาย และการสรางพันธกรณีสนับสนุนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - การสนับสนุนดานงบประมาณและจัดหาแหลงงบประมาณ รวมทั้งผลักดันดานงบประมาณ จากการชี้แจงใหแหลงเงินทุนและงบประมาณเขาใจถึงความสําคัญและผลกระทบหากไมเกิด การดําเนินการ - การติดตามผลความกาวหนาการดําเนินงานตามแผนแมบทฯ เพื่อใหการอางอิงแผนแมบทฯ เปนไปตามเปาหมายการดําเนินการที่แทจริง นอกเหนือจากนั้นผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) ประจํากระทรวงยุติธรรม ยังตองมี บทบาทในการประสานความรวมมือทั้งภายในกระทรวง ภายนอกกระทรวง รวมทั้งในระดับนานาชาติ เพื่อ ให เกิดทางเลือกตาง ๆ ในการนําเอาแผนแมบทฯ ไปปฏิบัติงานไดจริง ซึ่งผลลัพธของความรวมมือที่คาดวาจะ ไดรับประกอบไปดวย - แหลงเงินทุน หรือเทคโนโลยีทางเลือกซึ่งหนวยงานอื่น ๆ มีทรัพยากร - ความรวมมือดานแนวทางการประยุกตใชและแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practice) จาก กรณีศึกษาที่มีความใกลเคียง - ความรวมมือและองคความรูจากผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

หนา 7-1


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

7.2 การวิ เ คราะห ผ ลกระทบ เพื่ อ การจั ด ทํ า และปรั บ ปรุ ง แผนการปฏิ บั ติ ง าน ประจําป

การนําแผนแมบทไปใชสูการปฏิบัติไดจริงจําเปนตองแปลงแผนแมบทฯ ระดับกระทรวงสูแผนแมบทฯ ระดับหนวยงาน และแผนปฏิบัติการประจําป ซึ่งมีแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้ - การวิเ คราะหความเชื่อ มโยงของยุ ท ธศาสตรและแผนงาน: เพื่อ ใหเ ขาใจถึงความสําคัญ เปาหมาย และความเชื่อมโยงตอเนื่องในรายละเอียด - จัดทํ าแผนแม บ ทฯ ระดั บ หนวยงานและการปรับ ปรุง แผนการปฏิบัติงานประจําป: ซึ่ง ประกอบไปดวย วัตถุประสงค เปาหมาย วิธีการดําเนินงาน ประมาณการงบประมาณตัวชี้วัด โดยการจัดทําแผนแมบทฯ ระดับหนวยงานและการปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานประจําป จําเป นจะต องวิเ คราะหผลกระทบ และความเชื่อ มโยงระหว างยุท ธศาสตรและแผนงาน/ โครงการตาง ๆ เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายในองครวม - การประเมินผลการดําเนินการตามแผนฯ: ประเมินผลตามตัวชี้วัด และวิเคราะหความสําเร็จ และในกรณีที่ไมเปนไปตามเปาหมายควรปรับปรุงแผนฯ ตามลําดับความสําคัญ และความเชื่อมโยง ระหวางยุทธศาสตรและแผนงาน/โครงการตาง ๆ

7.3 มาตรการดานการสรางแรงจูงใจในการใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร

ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) ประจํากระทรวงยุติธรรม และผูบ ริห ารเทคโนโลยี สารสนเทศระดับ สูง (CIO) ประจำสวนราชการในสัง กัดกระทรวงยุติธรรม ตองมีบทบาทในการกําหนด มาตรการดานการสรางแรงจูงใจในการใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในลักษณะตาง ๆ อาทิ - การสรางแรงจูงใจเชิงอุดมคติ: โดยการดําเนินบทบาทเปนแบบอยาง (Role Model) ในการ เปนผูใชงานอัจฉริยะ (Smart User) และผลั กดั นการใชงานโดยปฏิบั ติงานเปนตัวอยาง เพื่อใหผูเกี่ยวของปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เชน การใชการสื่อสาร สั่งการ และติดตามงานทาง อิเล็กทรอนิกส (เชน e-Mail การนัดหมาย การสื่อสารขอความอิเล็กทรอนิกส) การใชงาน เอกสารอิเล็กทรอนิกส - การสรางแรงจูงใจเชิงควบคุม: โดยดําเนินการบรรจุตัวชี้วัดที่เกี่ยวของกับการประยุกตใชงาน เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อ สารสูห นว ยงานผูใ ช โดยการกํา หนดใหเ ปน ตัว ชี้วัด ด านประสิ ท ธิ ภาพการปฏิบัติงานของหนวยงานตาง ๆ อาทิ การบันทึกขอมูล การเผยแพร ขอมูล การสื่อสารผานระบบอิเล็กทรอนิกส - การสรางแรงจูงใจเชิงบวก: โดยดําเนินการใหมีกระบวนการคัดเลือกกลุมผูใชงานอัจฉริยะ (Smart User) เพื่อใหเปนกลุมบุคลากรที่มีคุณคา และกําหนดใหมีแรงจูงใจในการปรับปรุง พัฒนาตนเองเพื่อใหเกิดแรงจูงใจเชิงบวก อาทิ มาตรการดานรางวัล มาตรการดานยกระดั บ ภาพลั ก ษณ ข องบุ ค ลากร

หนา 7-2


แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2556-2559

7.4 การปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน (Business Process Improvement)

กระบวนการปฏิบัติงานของสวนราชการตาง ๆ ภายในกระทรวงยุติธรรมเปนปจจัยหนึ่งซึ่งสงผลถึง ระดั บ ความสําเร็จ ในการประยุก ตใชร ะบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร ซึ่ ง โครงการด านระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ประสบความสําเร็จลวนแลวแตตองพิจารณาถึงการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน เพื่ อ ใหเ หมาะสม สอดคล อ ง และเพื่ อ การใช ง านเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สารเป น ไปอย า งมี ประสิท ธิภาพควบคู ไปกับ การออกแบบและพั ฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร โดยการปรับปรุ ง กระบวนการปฏิบัติงานจําเปนตองคํานึงถึง ประเด็นตาง ๆ ดังนี้ - การกําหนดเปาหมายการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน: การออกแบบและการปรับปรุง กระบวนการปฏิบัติงานนั้นเปนสิ่งที่มีปจจัยนําเขาสูการออกแบบปรับปรุงจํานวนมาก ดังนั้น การไมมีทิศทางที่ชัดเจนอาจนําไปสูการปรับ ปรุงที่ไมเหมาะสม ไมสามารถแกไขปญหาได และไม ส อดคล องกั บ การประยุกตใชระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร จึง ควร กําหนดเปาหมายของการปรับปรุงที่ชัดเจน เชน การลดระยะเวลาปฏิบัติงาน การลดปริมาณ กระดาษ การลดจํานวนขั้นตอน หรือปรับปรุงกระบวนการทํางานเปนแบบอัตโนมัติ เปนตน - การกําหนดรายละเอียดขอกําหนดกระบวนการปฏิบัติงาน: ตองกําหนดองคประกอบของ กระบวนการปฏิบัติง านที่ชัดเจน เช น ขอบเขตการดําเนิ นการ หน วยงานหรือ ผูเ กี่ยวข อ ง กิจกรรมและแนวทางการทํากิจกรรม ซึ่งในการออกแบบกระบวนการปฏิบัติงานเพื่อรองรับ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมตองกําหนดสิ่งที่เกี่ยวของดังนี้ ผูรับผิดชอบ และแนวทางการบั น ทึ ก ข อ มู ล ขั้ น ตอนการประมวลผลด ว ยระบบสารสนเทศ วิ ธี ก าร การรับ-สงขอมูลดวยเอกสารและอิเล็กทรอนิกส - การทดสอบกระบวนการปฏิบัติงาน: โดยเฉพาะอยางยิ่งในกระบวนการที่เกี่ยวของกับการ ให บ ริ ก ารแก ห น ว ยงานภายนอกหรื อ ประชาชน กระบวนการที่ มี ค วามซั บ ซ อ น หรื อ กระบวนการที่สงผลกระทบตอระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอื่น ๆ จําเปนตอง ผานการทดสอบกระบวนการปฏิบัติงานรวมกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กอนการประกาศใชจริง (Operational Readiness Acceptance Test) เพื่อทดสอบการวัด หรือพิสูจนความพรอมปฏิบัติการ ความถูกตอง และการบรรลุถึงวัตถุประสงคการออกแบบ การปรั บปรุง กระบวนการปฏิบัติงาน โดยผูเกี่ยวของทั้ง หมด ด วยสถานการณ ป ฏิบั ติก าร จําลองตาง ๆ - การกําหนดหรือประกาศระเบียบปฏิบัติงาน: ภายหลังจากที่ผานการทดสอบกระบวนการ ปฏิบัติง านแลว หน วยงานต อ งดํ าเนิ นการประกาศใช อ ย างเป นทางการ เพื่ อ ให เ กิ ดการ เปลี่ยนแปลงในองคกร การใชงานระบบสารสนเทศอยางชัดเจน โดยการกําหนดหรือประกาศ ระเบี ย บปฏิ บั ติ ง านต อ งประกอบด ว ย กํ า หนดเริ่ ม ใช ง าน ผู เ กี่ ย วข อ ง และขอบเขต ความรับผิดชอบ

หนา 7-3




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.