สารบัญ หน้า บทที่ 1
บทที่ 2
บทนา 1.1 วัตถุประสงค์ 1.2 กรอบการจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 1.3 โครงร่างรายงาน
1-1 1-2 1-2
บทสรุปผลการศึกษา วิเคราะห์ภารกิจหน้าที่ 2.1 บทสรุปสภาพลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาหรับกลุ่มผู้ใช้ (User) 2.2 บทสรุปสภาพการปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2.2.1 การวิเคราะห์งาน (Job Analysis) 2.2.2 ศึกษาความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) 2.2.3 ศึกษาวิเคราะห์ความต้องการในการจัดจ้างบุคลากรภายนอก (Outsourcing) 2.3 ผลวิเคราะห์จุดแข็ง-จุดอ่อน โอกาส-อุปสรรค ของบุคลากรด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร
2-1 2-1
1-4
2-9 2-10 2-20 2-24 2-27
บทที่ 3
ข้อเสนอแนะความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาหรับกลุ่มผู้ใช้
3-1
บทที่ 4
ข้อเสนอแนะสายงานสาหรับบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และความสามารถของบุคลากรสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 4.1 ข้อกาหนดสายงานสาหรับบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Career Path) สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 4.2 คุณสมบัติตามสายงานสาหรับบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.2.1 ข้อกาหนดคุณสมบัติสาหรับผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 4.2.2 ข้อกาหนดคุณสมบัติสาหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 4.2.3 ข้อกาหนดคุณสมบัติสาหรับผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 4.2.4 ข้อกาหนดคุณสมบัติสาหรับตาแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.2.5 ข้อกาหนดคุณสมบัติสาหรับตาแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร
4-1 4-1 4-22 4-22 4-27 4-42 4-47 4-62
สารบัญ (ต่อ) หน้า
บทที่ 5
บทที่ 6
4.2.6 ข้อกาหนดคุณสมบัติสาหรับตาแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
4-79
ข้อเสนอแนะด้านหลักสูตรการฝึกอบรม 5.1 ข้อเสนอแนะด้านหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับกลุ่มผู้ใช้ 5.2 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับบุคลากรด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 5.3 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับบุคลากรของ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
5-1 5-1 5-2
บทสรุปข้อเสนอแนะ 6.1 ข้อเสนอแนะการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 6.2 ข้อเสนอแนะการจัดการทรัพยากรบุคคลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 6.3 ข้อเสนอแนะการบริหารจัดการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
6-1 6-1
ผนวก ก คาอธิบายข้อเสนอแนะความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับกลุ่มผู้ใช้ ผนวก ข มาตรฐานกาหนดตาแหน่งที่สานักงาน ก.พ. กาหนด ผนวก ค สมรรถนะสาหรับตาแหน่ง ผนวก ง รายละเอียดหลักสูตรฝึกอบรม
5-2
6-2 6-2
บทที่ 1 บทนา ด้วยปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้พัฒนาไปอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว จึงส่งผลให้ บุคลากรในองค์กร มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการปฏิบัติงานมี ความแตกต่างกัน จึ งเกิดความไม่เท่าเทีย มกันในเรื่องของความรู้ความสามารถด้านการใช้ งานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ดังนั้น สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม จึงได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการพัฒนาบุคลากร สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมให้มีความรู้ความสามารถด้านการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เท่า เทียมกัน จึงจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับการจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางการพัฒนาบุคลากรสานักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรมให้มีความรู้ความสามารถที่เท่าเทียมและเทียบเท่าสากล ด้วยมาตรฐานที่ทั่วโลกยอมรับ โดยส่งเสริม ให้ บุคลากรได้พัฒนาตนเองด้วยการเข้ารับการฝึกอบรมจากหน่วยงานภายนอกทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนา ความรู้ที่ได้มาพัฒนา และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้เหมาะสมกับองค์กร ดังนั้น ในการจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมในครั้งนี้ ได้ทาการศึ กษา วิเคราะห์ข้อมูลภายใต้กรอบนโยบายรัฐบาล กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2555–2556 ของประเทศไทย (ICT 2020) และกรอบนโยบายการพัฒนาบุคลากรสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม มาจัดทา แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม อันประกอบด้วย วัต ถุ ป ระสงค์ กรอบการจั ด ท าแผนพัฒ นาบุค ลากรด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร ส านั ก งาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม บทสรุปผลการศึกษา วิเคราะห์ภารกิจหน้าที่ ข้อเสนอแนะความสามารถด้านการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรับกลุ่มผู้ใช้ ข้อเสนอแนะสายงานสาหรับบุคลากรด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร และความสามารถของบุคลากรสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ข้อเสนอแนะด้าน หลักสูตรการฝึกอบรม และบทสรุปข้อเสนอแนะ
หน้า 1-1
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
1.1 วัตถุประสงค์ แผนพัฒ นาบุคลากรด้านเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธ รรม มีวัตถุประสงค์ในการดาเนินการ ดังนี้ 1.1.1 เพื่ อ ให้ ส านั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติธ รรมมีข้ อ ก าหนดความสามารถด้า นการใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศส าหรับ กลุ ่ม ผู ้ใ ช้ ที ่ส อดคล้อ งกับ สภาพการใช้ง าน และทิศ ทางการพัฒ นาในอนาคตตาม ยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรบุคคลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของแผนแม่บท เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 1.1.2 เพื่ อ ให้ ส านั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ทิ ศ ทางการก าหนดสายงาน และข้ อ ก าหนด ความสามารถบุ คลากรของศูนย์ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารที่สอดคล้ องกั บสภาพการประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปัจจุบัน และทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน อนาคตตามยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรบุคคลด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559
1.2 กรอบการจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม โดยในการจั ดทากรอบแผนการพั ฒนาบุ คลากรด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารส านักงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม ได้กาหนดกรอบการดาเนินงานออกเป็น 2 ขั้นตอนหลัก คือ ขั้นตอนที่ 1 ทาการศึกษา วิเคราะห์ภารกิจหน้าที่ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อให้ได้ข้อมูลนามาดาเนินงานขั้นตอนที่ 2 คือ การจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นลักษณะของข้อเสนอแนะความสามารถ ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรับกลุ่มผู้ใช้งานและข้อกาหนดความรู้ความสามารถแต่ละสาย งานสาหรับบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งสามารถแสดงความเชื่อมโยงของการดาเนินงาน ดังภาพ 1.1
ภาพ 1.1 กรอบการจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม หน้า 1-2
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ขั้นตอนที่ 1: ศึกษา วิเคราะห์ภารกิจหน้าที่ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในขั้นตอนนี้ได้จะดาเนินการศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม จานวน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 การประยุกต์ใช้งาน: o ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจหน้าที่ของหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม และความเกี่ยวเนื่องของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับภารกิจหน้าที่ ในแต่ละสายงาน ของบุคลากร กลุ่มที่ 2 การปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร: o ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจหน้าที่ของหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร จัด การ การพัฒ นา การปฏิบัติการ การวางแผนและการกาหนดนโยบาย และการสนับสนุนการใช้ง าน เป็นต้น o ศึกษาวิเคราะห์ขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ ตามผังโครงสร้างองค์กร และ ผังโครงสร้างตาแหน่งงานปัจจุบัน การปฏิบัติงานจริง กิจกรรมหลักของแต่ละงาน และความต้องการฝึกอบรม รวมทั้งคุณสมบัติที่จาเป็นของงานในตาแหน่งงานตามกลุ่มต่าง ๆ o ศึกษาวิเคราะห์ เส้ นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพของบุคลากร (Career Path) ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร o ศึกษาวิเคราะห์แผนการจ้างบุคคลภายนอก (Outsourcing) เพื่อให้การดูแลและ สนับสนุนการปฏิบัติงานของสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ทั้งด้านการปฏิบัติงาน (Operation) การซ่อมบารุง และการแก้ปัญหาทางเทคนิค (System Maintenance & Technical Help Desk) ขั้นตอนที่ 2: จัดทาแผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในขั้น ตอนนี้ เ ป็น การจัด ทาแผนพัฒ นาบุค ลากรด้า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสาร ซึ่งได้ทาการวิเคราะห์เปรียบเทียบภารกิจหน้าที่ เพื่อให้ได้ข้อมูลนามากาหนดสมรรถนะ (Competency) และสายงานที่มีค วามเหมาะสมสาหรับ บุค ลากรของศูน ย์เ ทคโนโลยีส ารสนเทศ และการสื่อ สาร (ICT Career Path) ซึ่งได้เป็น 2 ด้านโดยแต่ละด้านมีรายละเอียด ดังนี้ ด้านที่ 1 ผู้ใช้งาน สาหรับด้านนี้ได้กาหนดสมรรถนะ (Competency) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารของบุคลากร โดยประกอบไปด้วย o การกาหนดคุณสมบัติทักษะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร o การกาหนดความรูท้ ี่จาเป็นต่อการปฏิบัติงานของผู้ ใช้งาน ด้านที่ 2 บุคลากรของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาหรับด้านนี้ได้กาหนดสายงานที่มีความเหมาะสมสาหรับบุคลากรด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Career Path) สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม โดยประกอบไปด้วย o การกาหนดสายงาน และกาหนดรูปแบบความก้าวหน้าในการเลื่อนตาแหน่งงาน และกาหนดเกณฑ์หรือมาตรฐานสาหรับแต่ละตาแหน่งงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาเลื่อนระดับตาแหน่งงาน และการโอนย้าย o การกาหนดคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งงาน ความสามารถที่จาเป็นที่สอดคล้องกับ ตาแหน่งงาน หน้า 1-3
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
1.3 โครงร่างรายงาน แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมมีเนื้อหาที่ เป็นส่วนสาคัญหลายส่วน ได้แก่ บทนา บทสรุปผลการศึกษา วิเคราะห์ภารกิจหน้าที่ ข้อเสนอแนะความสามารถ ด้านการใช้เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อสารสาหรับกลุ่ม ผู้ใช้ ข้อเสนอแนะสายงานสาหรับบุคลากร ด้า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร และความสามารถของบุคลากรสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ข้อเสนอแนะด้านหลักสูตรการฝึกอบรม และบทสรุปข้อเสนอแนะ ซึ่งแต่ละบทประกอบไปด้วยเนื้อหาโดยสังเขป ดังนี้ บทที่ 1 บทนา กล่าวถึง วัตถุประสงค์ กรอบการจัดทาแผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม โครงร่างรายงาน รวมถึงคาอธิบายเนื้อหารายบทโดยสังเขปของ แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ฉบับนี้ บทที่ 2 บทสรุปผลการศึกษา วิเคราะห์ภารกิจหน้าที่ กล่าวถึง บทสรุปสภาพลักษณะการใช้งาน ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกลุ่มผู้ใช้งาน (User) โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบภารกิจหน้าที่ ลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปัจจุบัน รวมถึงทิศทางที่จาเป็นต้องใช้ในอนาคตตาม แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 และบทสรุปสภาพการปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ซึ่งประกอบไปด้วยการวิเคราะห์งาน (Job Analysis) ภารกิจหน้าที่ การจัดสายงานตามบุคลากร (Career Path) และความต้องการด้านการจ้างบุคคลภายนอก (Outsourcing) บทที่ 3 ข้อเสนอแนะความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรับกลุ่ม ผู้ใช้ กล่าวถึง ข้อเสนอแนะความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรับกลุ่มผู้ใช้ โดยข้อเสนอแนะดังกล่าวเป็นการกาหนดทักษะด้านการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีอยู่ และที่จ ะเกิดขึ้นตามแผนแม่บ ทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 4) สานักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม พ.ศ. 2556-2559 ในอนาคต เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถตามทันต่อเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร และสามารถใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ บทที่ 4 ข้ อเสนอแนะสายงานส าหรั บบุ คลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร และ ความสามารถของบุคลากรสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม กล่าวถึง ข้อเสนอแนะสายงานสาหรับบุคลากร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งรวมถึง กาหนดสายงาน และกาหนดรูปแบบความก้าวหน้า ใน การเลื่อนตาแหน่งงานและกาหนดเกณฑ์หรือมาตรฐานสาหรับแต่ละตาแหน่งงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพิจารณา เลื่อนระดับตาแหน่งงาน การโอนย้าย และคุณสมบัติตาแหน่งงานตามสายงานสาหรับบุคลากร นักวิชาการ คอมพิวเตอร์สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม บทที่ 5 ข้อเสนอแนะด้านหลักสูตรการฝึกอบรม กล่าวถึง ข้อเสนอแนะด้านหลักสูตรการฝึกอบรม ส าหรั บ กลุ่ มผู้ ใช้ งานด้ านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อสาร และส าหรั บบุ คลากรของศู นย์ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร บทที่ 6 บทสรุปข้อเสนอแนะ กล่าวถึง ข้อเสนอแนะด้านการบริการจัดการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เพื่อให้เกิดการใช้งานทุนมนุษย์ของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อย่างมีประสิทธิภาพ
หน้า 1-4
บทที่ 2 บทสรุปผลการศึกษา วิเคราะห์ภารกิจหน้าที่ ในบทนี้ ก ล่ าวถึ ง บทสรุ ป ผลการศึ ก ษา วิ เ คราะห์ ภ ารกิ จหน้ าที่ ของหน่ ว ยงานในสั ง กั ด ส านั กงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อให้ทราบถึงลักษณะงานของหน่วยงาน เพื่อนาไปวิเคราะห์ลักษณะการใช้งาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรับผู้ใช้งาน และทักษะความสามารถที่จาเป็นของบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน ด้านเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสารต่อไป ซึ่งเนื้อหาในบทนี้ประกอบด้วย บทสรุปสภาพลักษณะการใช้งาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร ส าหรับกลุ่มผู้ใช้ (User) และบทสรุปสภาพการปฏิบัติ งานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2.1 บทสรุปสภาพลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรับ กลุ่มผู้ใช้ (User) ส านั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมมี ภ ารกิ จ หน้ า ที่ใ นการเสนอแนะนโยบายและยุ ท ธศาสตร์ ข อง กระทรวงให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐมนตรี จั ดทา แผนแม่บทกระทรวงยุติธรรม การบริหารงานบุคคล การบริหารการเงิน การประชาสัมพันธ์ และดาเนินการ เกี่ยวกับกฎหมายในความรับ ผิด ชอบของกระทรวงยุติธ รรม ซึ่ง สานัก งานปลัด กระทรวงยุติธ รรมได้นา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาสนับสนุน ในการปฏิบัติภารกิจหน้าที่ดังกล่าว โดยสามารถสรุปสภาพ ลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรับกลุ่มผู้ใช้ (User) ได้ดังตาราง 2.1
หน้า 2-1
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.1 ลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์ โปรแกรม โปรแกรม หน่วยงาน เบื้องต้น สื่อสาร สานักงาน ออกแบบ เคลื่อนที่ กราฟิก 1. กองกลาง
2. กองการเจ้าหน้าที่
3. กองคลัง
โปรแกรม ออกแบบงาน วิศวกรรม
ระบบสารสนเทศที่สนับสนุน การปฏิบัติงานหลัก 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบจองห้องประชุม 6. ระบบบริหารจัดการประชุม อบรม สัมมนา และนัดหมาย ผู้บริหาร 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบ Competency 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบผูร้ ับบริการสานักงาน ยุติธรรมจังหวัด 6. ระบบพิมพ์เช็ค
หน้า 2-2
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.1 ลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (ต่อ) ลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์ โปรแกรม โปรแกรม หน่วยงาน เบื้องต้น สื่อสาร สานักงาน ออกแบบ เคลื่อนที่ กราฟิก 4. กองการต่างประเทศ
5. กองออกแบบและก่อสร้าง
6. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
โปรแกรม ออกแบบงาน วิศวกรรม
ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการ ปฏิบัติงาน 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบฐานข้อมูลการประชุม รัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่อาวุโส อาเซียนด้านกฎหมาย(ASEAN) 6. ระบบรับสมัครข้อราชการเข้ารับ การทดสอบภาษาอังกฤษฯ 7. ระบบประชุมเจรจานานาชาติ ด้านงานยุติธรรม 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบ Helpdesk หน้า 2-3
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.1 ลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (ต่อ) ลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์ โปรแกรม โปรแกรม หน่วยงาน เบื้องต้น สื่อสาร สานักงาน ออกแบบ เคลื่อนที่ กราฟิก 7. สานักกฎหมาย
8. สานักนโยบายและยุทธศาสตร์
โปรแกรม ออกแบบงาน วิศวกรรม
ระบบสารสนเทศที่สนับสนุน การปฏิบัติงาน 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบฐานข้อมูลกฎหมาย/ กฎหมายที่เกีย่ วข้องกับ นักจิตวิทยาฯ 6. ระบบการยื่นคาขอและขึ้น ทะเบียนเป็นผู้ทาหน้าที่ นักจิตวิทยาหรือนักสังคม สงเคราะห์ 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบรายงานผลตามคาสั่งการ 6. ระบบการรายงานผลการติดตาม และประเมินผลการดาเนินการ แก้ไขปัญหายาเสพติด
หน้า 2-4
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.1 ลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (ต่อ) ลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์ โปรแกรม โปรแกรม หน่วยงาน เบื้องต้น สื่อสาร สานักงาน ออกแบบ เคลื่อนที่ กราฟิก 9. สานักพัฒนาบุคลากรกระทรวงยุติธรรม
10. สานักบังคับคดีอาญาและบังคับใช้กฎหมาย
11. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โปรแกรม ออกแบบงาน วิศวกรรม
ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการ ปฏิบัติงาน 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบฐานข้อมูลฝึกอบรม 6. ระบบบริหารจัดการองค์ ความรู้ (KM & e-Learning) 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ
หน้า 2-5
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.1 ลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (ต่อ) ลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์ โปรแกรม โปรแกรม หน่วยงาน เบื้องต้น สื่อสาร สานักงาน ออกแบบ เคลื่อนที่ กราฟิก 12. กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง
13. ส านั ก พั ฒ นาและส่ ง เสริ ม การบริ ห าร ยุ ติ ธ รรมจั ง หวั ด และยุ ติ ธ รรมทางเลื อ ก (สพจ.)
14. สานักกิจการในพระดาริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา
โปรแกรม ออกแบบงาน วิศวกรรม
ระบบสารสนเทศที่สนับสนุน การปฏิบัติงาน 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบตรวจสอบภายใน กระทรวงยุติธรรม 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบผูร้ ับบริการสานักงาน ยุติธรรมจังหวัด 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบติดตามและประเมินผล โครงการแม่และเด็กใน ทัณฑสถานและเรือนจา
หน้า 2-6
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.1 ลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (ต่อ) ลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์ โปรแกรม โปรแกรม หน่วยงาน เบื้องต้น สื่อสาร สานักงาน ออกแบบ เคลื่อนที่ กราฟิก 15. สานักงานยุติธรรมจังหวัด
16. สานักผู้ตรวจราชการกระทรวงยุติธรรม
โปรแกรม ออกแบบงาน วิศวกรรม
ระบบสารสนเทศที่สนับสนุน การปฏิบัติงาน 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบผูร้ ับบริการสานักงาน ยุติธรรมจังหวัด 1. ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับกรม (DPIS) 3. ระบบสลิปเงินเดือน 4. ระบบจองยานพาหนะ 5. ระบบรายงานผลการตรวจ ราชการกระทรวงยุติธรรม
หมายเหตุ: ข้อมูล ณ วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2556
หน้า 2-7
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ในปัจจุบันสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมมีหน่วยงานในสังกัดจานวน 16 หน่วยงาน โดยแต่ละหน่วยงาน มีภารกิจ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบที่แตกต่างกัน ซึง่ สามารถสรุปลักษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้ดังตาราง 2.1 ลั กษณะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหน่วยงานในสั งกัดส านักงานปลั ด กระทรวงยุติธรรม ซึ่งจากการวิเคราะห์สามารถแบ่งลักษณะการใช้งานออกได้เป็น 7 กลุ่ม คือ 1. การใช้งานคอมพิวเตอร์เบื้องต้น เช่น การบารุงรักษาเครื่องเบื้องต้น การป้องกันไวรัส การติดตั้ง ซอฟต์แวร์ 2. การใช้งานอินเทอร์เน็ต เช่น การใช้งานเว็บไซต์ (Website) การใช้งานเสิร์ชเอนจิน (Search Engine) และการใช้งานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) 3. การใช้งานอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ เช่น การบารุงรักษาอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่เบื้องต้น ติดตั้ง ซอฟต์แวร์ การใช้งานโปรแกรมอินเทอร์เน็ตพื้นฐาน และการใช้งานโปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) 4. การใช้งานโปรแกรมสานักงาน เช่น การใช้งานโปรแกรมประมวลผลคา การใช้งานโปรแกรม แผ่นตารางทาการ และการใช้งานโปรแกรมการนาเสนอ 5. การใช้งานโปรแกรมออกแบบกราฟิก เช่น การใช้งานโปรแกรม Photoshop การใช้งานโปรแกรม Publisher การใช้งานโปรแกรม CorelDRAW 6. การใช้งานโปรแกรมออกแบบงานวิศวกรรม เช่น การใช้งานโปรแกรม AutoCAD การใช้งาน โปรแกรม ArchiCAD การใช้งานโปรแกรม 3D MAX การใช้งานโปรแกรม SketchUp 7. การใช้งานระบบสารสนเทศที่ ส นั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง าน เช่น การใช้งานระบบสารบรรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ การใช้งานระบบจองห้องประชุม การใช้งานระบบจองยานพาหนะ จากการศึก ษาภารกิจ ของทุก หน่ว ยงานในสานัก งานปลัด กระทรวงยุติธ รรมสามารถสรุป ได้ว่า มีก ารใช้ง านอิน เทอร์เ น็ต โปรแกรมสานัก งาน คอมพิว เตอร์เ บื้อ งต้น และระบบสารสนเทศที่ส นับ สนุน การปฏิบัติงาน หากแต่มีบางหน่วยงานที่มีการใช้โปรแกรมเฉพาะทาง อาทิ โปรแกรมออกแบบกราฟิก หรือ โปรแกรมออกแบบงานวิศวกรรม ตามภารกิจของแต่ละหน่วยงาน
หน้า 2-8
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
2.2 บทสรุปสภาพการปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โครงสร้างองค์กรเป็นองค์ประกอบหนึ่งทางด้านการบริหารจัดการองค์กรที่มีผลอย่างสาคัญต่อระดับ ความสามารถ ศักยภาพ และผลงานขององค์กร โครงสร้างที่ไม่เหมาะสมอาจไม่ก่อปัญหาแก่องค์กรอย่างเฉียบพลัน ทันที เนื่องจากบุคลากรในองค์กรมักจะปรับตัวและหาวิธีแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้นตามแต่จะกระทาได้ แต่ หากพิจ ารณาโดยละเอีย ดแล้ว โครงสร้างที่ไม่เหมาะสมอาจสร้างความเสียหายแก่องค์กรในด้านต่าง ๆ นับตั้งแต่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนงาน การลดความพึงพอใจในสินค้าหรือบริการเนื่องจากโครงสร้างองค์กรส่งผล กระทบต่อปริมาณหรือคุณภาพของงาน ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในวัฒนธรรมและค่านิยมขององค์กร ตลอดจนสร้างปัญหาต่าง ๆ ทางด้านการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลในองค์กร เช่น การปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน ระบบตาแหน่ง ระบบอัตรากาลัง ความคิดความเชื่อและทัศนคติ ในระดับพื้นฐานต่อเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับงาน และองค์กร ดังนั้นการกาหนดโครงสร้างขององค์กร จึงนับเป็นการจัดสรรทรัพยากรบุคคลในการใช้ประโยชน์จาก จุดเด่นที่องค์กรมีอยู่ อีกทั้งทบทวนปรับปรุงโครงสร้างองค์กรเป็นครั้งคราวเพื่อรักษาประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และผลงานขององค์กรให้สามารถแข่งขันได้ดีอยู่เสมอ อีกทั้งสภาพแวดล้อมภายในหรือภายนอกเป็นปัจจัยหนึ่ง ที่มีส่วนทาให้องค์กรเปลี่ยนแปลงไปจนโครงสร้างแบบเดิมไม่สามารถนาพาองค์กรไปสู่เป้าประสงค์ที่กาหนดไว้ได้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในฐานะหน่วยงานที่มีบทบาทภารกิจหลักด้านการให้บริการ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้สามารถช่วยส่งเสริมสนับสนุนการปฏิบัติงานของสานักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม รวมถึงให้การสนับสนุนแก่หน่วยงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของส่วนราชการในสังกัด กระทรวงยุติธรรม ดังนั้นเพื่อให้องค์กรมีประสิทธิภาพสูงสุด จึงกาหนดโครงสร้างองค์กรออกเป็น 4 หน่วยงานหลัก ได้ แก่ กลุ่ มอ านวยการและบริ หารทั่วไป ส่ วนเทคโนโลยี ระบบคอมพิ วเตอร์ และเครื อข่ าย ส่ วนพั ฒนาระบบ สารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีโครงสร้างการบริหาร ของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดังภาพ 2.1
หน้า 2-9
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
35 (
)
7 -
10
=1 =3 =3
-
=1 =7 =1 =1
10 -
7
=1 =8 =1
-
=1 =4 =1 =1
ภาพ 2.1 โครงสร้างการบริหารของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2.2.1 การวิเคราะห์งาน (Job Analysis) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม มีการแบ่งส่วนราชการ ภายในออกเป็น 3 ส่วน และ 1 กลุ่มงาน ตามคาสั่งศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ 5/2554 ซึ่งมีส่วนงาน ที่มีภารกิจหน้าที่ทางด้านเทคนิค 3 ส่วนดังนี้ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนพัฒนาระบบ สารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร และส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ซึ่งจากการรวบรวม ข้อมูลจากเอกสาร และการประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกันเจ้าหน้าที่ของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมสามารถสรุปภารกิจหน้าที่ตามการแบ่งส่วนราชการ ภาระงานจริงในปัจจุบันที่ แต่ละส่วนงานทางด้านเทคนิค รับผิดชอบ รวมถึงทักษะที่จาเป็นต้องมีเพื่อใช้ในการพัฒนาบุคลากรให้สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 2.2.1.1 ภารกิจหน้าที่ตามการแบ่งส่วนงานภายใน ในหั วข้อนี้ จะกล่ าวถึง การแบ่งภารกิจหน้าที่ความรับผิ ดชอบตามการแบ่งส่ วนงาน ภายในของส่วนงานที่ปฏิบัติงานทางเทคนิค 3 ส่วนงาน ดังนี้ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร และส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ซึ่งสามารถสรุปภารกิจหน้าที่ตามการแบ่งส่วนงานภายใน ดังตาราง 2.2
หน้า 2-10
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.2 ภารกิจหน้าที่ตามการแบ่งส่วนงานภายใน ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ภารกิจหน้าที่ 1) ศึกษา วิเคราะห์ เสนอแนะ และดาเนินการจัดทาแผนแม่บ ทและแผนปฏิบัติการ ด้าน ICT ของกระทรวงยุติธรรม 2) จัดทานโยบายและยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง ยุติธรรม และสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 3) บริหารจัดการ ติดตาม ประเมินผลและประสานแผนปฏิบัติงานด้าน ICT ของหน่วยงาน ในสั งกัดกระทรวงยุ ติธรรม ตลอดจนเสนอแนะและกาหนดนโยบายในการขอตั้งและ จัดสรรงบประมาณ 4) สนับสนุนและเสริมสร้างขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ บุคลากรในสั งกัดสานักงานปลั ดกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ยุติธรรม 5) ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมด้าน ICT 6) ทาหน้าที่เลขานุการของผู้อานวยการศูนย์ในด้านแผนนโยบายและยุทธศาสตร์ด้าน ICT พร้อมสนับสนุนการปฏิบัติงานของ CIO ประจากระทรวงยุติธรรม 7) ศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการกาหนดมาตรฐานด้าน ICT ของสานักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 8) เผยแพร่ ให้บริการทางวิชาการและคาแนะนาปรึกษาทั่วไปทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารแก่ผู้ใช้และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 9) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 2-11
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.2 ภารกิจหน้าที่ตามการแบ่งส่วนงานภายใน (ต่อ) ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ภารกิจหน้าที่ 1) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนาระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ และใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง 2) บริ หารจั ดการการบู รณาการข้ อมูลสารสนเทศของกระทรวงยุติธรรมและหน่วยงาน ภายนอก 3) จัดทาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อการบริหารจัดการ 4) บริหารจัดการศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงยุติธรรม (MOC) และศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) 5) ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาระบบบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (MIS) ระบบสนับสนุน การตัดสินใจ (DSS) และระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (EIS) 6) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทาคลังข้อมูล (Data Warehouse) และเหมืองข้อมูล (Data Mining) ของกระทรวงยุติธรรม เพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการปฏิบัติงาน หรือประกอบ การตัดสินใจของผู้บริหารสูงสุด ในการกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวง 7) ศึกษา วิเคราะห์ และกาหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลของหน่วยงานในสังกัด กระทรวงยุติธรรมและหน่วยงานนอกสังกัดที่เกี่ยวข้อง 8) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาเว็บไซต์ของกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงาน ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 9) ศึกษา วิเคราะห์เทคนิค กระบวนการและพัฒนาระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ที่มีอยู่ ของกระทรวง (Knowledge Management: KM) 10) ศึกษา วิเคราะห์ กระบวนการ และพัฒ นาระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) 11) วิเคราะห์ ประมวลผลสถิติข้อมูล เพื่อรายงานสถานการณ์ในปัจจุบันและการคาดการณ์/ ทานาย ทิศทางการดาเนินงานในอนาคตของกระทรวงยุติธรรม 12) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 2-12
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.2 ภารกิจหน้าที่ตามการแบ่งส่วนงานภายใน (ต่อ) ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ภารกิจหน้าที่ 1) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทา และบริหารจัดการระบบรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่าย 2) ศึกษา วิเคราะห์ บริหารจัดการ และจัดวางระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายให้สามารถ ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้กับหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม รวมทั้งเชื่อมโยงศูนย์ปฏิบัติการกระทรวง (MOC) และศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) 3) ศึกษา วิเคราะห์ และกาหนดมาตรฐานการเชื่อมโยงเครือข่ายและความมั่นคงปลอดภัย ให้สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายกับหน่วยงานภายในและภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ 4) สนับสนุน ประสานงาน หรือปฏิบัติร่วมกับหน่วยงานในสังกัดสานั กงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม และหน่วยงานภายนอกในการเชื่อมโยงและวางระบบเครือข่าย 5) บริ หารจั ดการการติดต่อสื่ อสารข้อมูลให้ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและ ต่อเนื่อง 6) บริหารจัดการระบบช่วยเหลือการปฏิบัติงานผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (User) เพื่อแก้ไขปัญหา เบื้องต้นในเรื่องระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายข้อมูล สารสนเทศ ระบบอินเทอร์เน็ต และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 7) ติดตั้งและบริหารจัดการระบบการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ (Video Conference System) ระหว่างส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 8) ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 2-13
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
2.2.1.2 ภาระงานความรับผิดชอบจริงในปัจจุบัน เพื่อให้ การศึก ษา วิ เคราะห์ มีความครอบคลุ มกั บสภาพการด าเนิน งานจริ ง การ รวบรวมข้อมูลและการสรุปผลภาระงานตามความรับผิดชอบจริงในปัจจุบัน โดยสามารถสรุป ภาระงานความ รับผิดชอบจริงในปัจจุบันของส่วนงานที่ปฏิบัติงานทางเทคนิคทั้ง 3 ส่วนงานดังตาราง 2.3 ตาราง 2.3 ภาระงานความรับผิดชอบจริงในปัจจุบัน ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาระงาน จัดทาแผนนโยบาย 1) ศึกษา วิเคราะห์ เสนอแนะ และดาเนินการจัดทาแผนแม่บท และยุทธศาสตร์ 2) ศึกษา วิเคราะห์และดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของ กระทรวงยุติธรรม 3) ศึกษา วิเคราะห์และพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมด้าน ICT 4) จัดทานโยบายและยุทธศาสตร์ด้า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม และสานักงานปลัด กระทรวง ยุติธรรม 5) ศึกษา และวิเคราะห์เกี่ยวกับการกาหนดมาตรฐานด้าน ICT 1) ติดตาม และประเมินผลแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของหน่วยงาน การติดตาม ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ประเมินผล 2) ประสานงานแผนปฏิบัติงานด้าน ICT ของหน่วยงานในสั งกั ด กระทรวงยุติธรรม การจัดการความรู้ 1) เผยแพร่ให้บริการทางด้านวิชาการและคาแนะนาทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร การวางแผนพัฒนา 1) ศึกษา วิเคราะห์และพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมด้าน ICT 2) สนับสนุนและเสริมสร้างขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากร และการสื่อสารของบุคลากร สนับสนุน การปฏิบัติงาน ของ CIO
1) สนับสนุนการดาเนินงานด้าน ICT ให้แก่ CIO ประจากระทรวง ยุติธรรม
หน้า 2-14
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.3 ภาระงานความรับผิดชอบจริงในปัจจุบัน (ต่อ) ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและจัดการเพื่อการบริหาร ภาระงาน ศึกษา วิเคราะห์ 1) ศึกษาระบบฐานข้อมูล ออกแบบพัฒนา 2) วิเคราะห์ และออกแบบระบบฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูล 3) พัฒนาระบบฐานข้อมูล 4) ศึกษาระบบสารสนเทศ และระบบ 5) วิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ สารสนเทศ 6) พัฒนาระบบสารสนเทศ 1) บริหารจัดการศูนย์ปฏิบัติการยุติธรรม (MOC) และศูนย์ปฏิบัติการ MOC/PMOC นายกรัฐมนตรี (PMOC) 1) จัดทาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อการบริหารจัดการ GIS 1) ศึก ษาเว็บ ไซต์ข องกระทรวงยุติธ รรม และหน่ว ยงานในสัง กั ด Website สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 2) วิ เ คราะห์ และออกแบบเว็ บ ไซต์ ข องกระทรวงยุ ติ ธ รรมและ หน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 3) พัฒ นาเว็บ ไซต์ข องกระทรวงยุติธ รรม และหน่ว ยงานในสังกัด สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม กาหนดมาตรฐาน 1) บูร ณาการข้อ มูล สารสนเทศของกระทรวงยุต ิธ รรมและ หน่วยงานภายนอก การปรับเปลี่ยน และบูรณาการ ข้ อ มู ล กั บ หน่วยงานภายนอก 1) วิเ คราะห์ ประมวลผลสถิต ิข ้อ มูล เพื ่อ รายงานสถานการณ์ สถิติข้อมูล ปัจจุบันและทานายการดาเนินงานในอนาคตของกระทรวงยุติธรรม
หน้า 2-15
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.3 ภาระงานความรับผิดชอบจริงในปัจจุบัน (ต่อ) ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ภาระงาน ดูแลรักษาความ 1) ตรวจสอบความมั่นคงปลอดภัยบนเครือข่าย มั่นคงปลอดภัย 2) ดู แ ลอุ ป กรณ์ เ ครื อ ข่ า ยให้ ส ามารถทางานได้ เ ป็ น ปกติ แ ละ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเครือข่าย 3) แก้ไขปรับเปลี่ยนการตั้งค่าบนอุปกรณ์เครือข่าย 4) กาหนดสิทธิ์ผู้ใช้งานการเข้าถึงเครือข่ายต่าง ๆ ภายในและภายนอก องค์กร 5) ทาการแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดปัญหาบนระบบเครือข่ายให้ สามารถ กลับมาใช้งานได้ตามปกติ 1) ดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายให้สามารถใช้งานได้ตามปกติและ ดู แ ลเครื่ อ ง มีประสิทธิภาพ คอมพิ ว เตอร์ 2) ดูแ ลระบบเครือ ข่า ยที่เ ชื่อ มต่อ กับ เครื่อ งคอมพิว เตอร์แ ม่ข่า ย แม่ ข่ า ยและ ให้สามารถทางานได้ตามปกติและมีประสิทธิภาพ เครื อ ข่ า ย 3) ปรับเปลี่ยนการตั้งค่าบนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 4) ทาการแก้ไขเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเกิดปัญหาให้สามารถ กลับมาใช้งานได้ตามปกติ 1) กาหนดกระบวนและแนวทางในการปฏิ บั ติ งานด้านสารสนเทศ ดูแลนโยบาย ต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับนโยบายความมั่นคงปลอดภัย และการปฏิบัติ ด้านความมั่นคง 2) อบรมผู้ใช้งานรวมถึงผู้ดูแลระบบต่าง ๆ ให้มีความตระหนักในเรื่อง ของความมั่นคงปลอดภัย ปลอดภัย 3) ตรวจสอบและแก้ ไขกระบวนการและขั้ นตอนในการปฏิบั ติงาน สารสนเทศให้ ทันสมัยและให้สอดคล้ องกับการเปลี่ ย นแปลงของ องค์กร 1) ดูแลระบบสนับสนุนห้อง Data Center ให้สามารถทางานได้ ดูแลระบบ เป็นปกติ สนับสนุนห้อง 2) ตรวจสอบแก้ไขเมื่อระบบสนับสนุนห้อง Data Center มีปัญหาให้ Data Center สามารถกลับมาใช้งานได้ตามปกติ ดูแลระบบประชุม 1) ดูแลระบบประชุมทางไกลให้สามารถพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา 2) ดูแลระบบเครือข่ายระบบประชุมทางไกลที่เชื่อมต่อไปยังหน่วยงาน ทางไกล ต่าง ๆ ให้สามารถทางานได้เป็นปกติ 1) ดูแลบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย อุปกรณ์ต่อพ่วงรวมถึง ดูแลและ ระบบเครื อ ข่ า ยที่ เ ชื่ อ มต่ อ มายั ง เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ลู ก ข่ า ย บารุงรักษาเครื่อง ให้สามารถทางานได้เป็นปกติ คอมพิวเตอร์ 2) แก้ไขเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายอุปกรณ์ต่อพ่วงและระบบเครือข่าย และอุปกรณ์ ที่ต่อมายังเครื่องคอมพิวเตอร์ลู กข่ายเมื่อเกิดปัญหาให้ส ามารถ คอมพิวเตอร์ กลับมาใช้งานได้ตามปกติ 3) ให้คาปรึกษาการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายและอุปกรณ์ต่อ พ่วงให้กับผู้ใช้งาน หน้า 2-16
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
2.2.1.3 ทักษะที่จาเป็นต้องมีเพื่อใช้ในการพัฒนาบุคลากร เพื่อพิจารณาจากการแบ่งส่วนราชการภายใน และภาระงานความรับผิดชอบจริงใน ปัจจุบันสามารถสรุปเป็นทักษะที่จาเป็นต้องมีเพื่อใช้ในการพัฒนาบุคลากรของทั้ง 3 ส่วนงานที่ปฏิบัติงานทาง เทคนิค ดังตาราง 2.4 ตาราง 2.4 ทักษะที่จาเป็นต้องมีเพื่อใช้ในการพัฒนาบุคลากร ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ งานจัดทาแผน 1) คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2) การวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล นโยบายและ 3) การจัดทานโยบาย และยุทธศาสตร์ด้าน ICT ยุทธศาสตร์ 4) การจัดทาเอกสารด้านการจัดซื้อจัดจ้าง 5) การประยุกต์ใช้โปรแกรมบริหารจัดการโครงการ งานการติดตาม 1) คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2) การวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล ประเมินผล 3) การบริหารจัดการและงานการติดตามประเมินผลแผนงาน/โครงการ 4) การประยุกต์ใช้โปรแกรมบริหารจัดการโครงการ 5) การตรวจสอบระบบงานคอมพิวเตอร์และการควบคุมภายใน งานการจัดการ 1) คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2) การสังเคราะห์องค์ความรู้ ความรู้ 3) การพัฒนาระบบสารสนเทศการจัดการองค์ความรู้ 4) การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศการจัดการองค์ความรู้ งานการวางแผน 1) คอมพิวเตอร์เบื้องต้น พัฒนาบุคลากร 2) การวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล 3) การกาหนดมาตรฐานการพัฒนาบุคลากรด้าน ICT 4) การวัดผลและประเมินผลบุคลากร 1) คอมพิวเตอร์เบื้องต้น งานสนับสนุน การปฏิบัติงาน 2) ภาษาอังกฤษ 3) การวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล ของ CIO 4) การติดต่อประสานงาน
หน้า 2-17
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.4 ทักษะที่จาเป็นต้องมีเพื่อใช้ในการพัฒนาบุคลากร (ต่อ) ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร งานศึกษาวิเคราะห์ 1) คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ออกแบบพัฒนา 2) การจัดการข้อมูล และประมวลผลแฟ้มข้อมูล ระบบฐานข้อมูล 3) การวิเคราะห์ และออกแบบระบบงาน 4) โครงสร้างโปรแกรม และระบบ 5) ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ 6) ระบบฐานข้อมูล 7) สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ งาน MOC/PMOC 1) คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2) การวิเคราะห์การตัดสินใจ และการจัดการข้อมูล 3) ระบบฐานข้อมูล 4) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางธุรกิจ 1) คอมพิวเตอร์เบื้องต้น งาน GIS 2) การจัดการข้อมูล และประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3) การวิเคราะห์ข้อมูล และออกแบบระบบงาน 4) สถิติทางภูมิศาสตร์ 5) หลักการจัดทาแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์ 6) การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ งาน Website 1) คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2) เทคโนโลยีมัลติมีเดีย 3) ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 4) ระบบฐานข้อมูล 5) การเขียนและออกแบบเว็บไซต์ 1) คอมพิวเตอร์เบื้องต้น งานกาหนด 2) การจัดการข้อมูล มาตรฐาน การปรับเปลี่ยน 3) ระบบฐานข้อมูล และบูรณาการ 4) สถาปัตยกรรมระบบสารสนเทศ 5) มาตรฐานการเชื่อมโยง และแลกเปลี่ยนข้อมูล ข้อมูลกับ 6) การวิเคราะห์การตัดสินใจ หน่วยงาน 7) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางธุรกิจ ภายนอก งานสถิติข้อมูล 1) คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 2) หลักสถิติเบื้องต้น 3) ความน่าจะเป็นและสถิติประยุกต์ 4) ระบบฐานข้อมูลทางสถิติ 5) การประมวลผลข้อมูลสถิติ 6) การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในทางสถิติ อาทิ Worksheet, SPSS ,SAS
หน้า 2-18
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 2.4 ทักษะที่จาเป็นต้องมีเพื่อใช้ในการพัฒนาบุคลากร (ต่อ) ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย งานดูแลรักษา 1) หลักการทางานของอุปกรณ์เครือข่าย 2) การทางานของ Protocol พื้นฐานต่าง ๆ รวมถึงการตั้งค่าอุปกรณ์ต่าง ๆ บนระบบ ความมั่นคง เครือข่าย ปลอดภัยและ 3) ความมั่นคงปลอดภัยบนเครือข่าย เครือข่าย 4) รูปแบบการโจมตีต่าง ๆ บนเครือข่าย 5) การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นบนระบบเครือข่าย งานดูแลเครื่อง 1) การทางานของระบบปฏิบัติการต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันรวมถึงการตั้งค่าต่าง ๆ บนระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ 2) ความรู้พื้นฐานของระบบเครือข่าย แม่ข่ายและ 3) การทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย เครือข่าย 4) การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย งานดูแลนโยบาย 1) ความรู้พื้นฐานด้านระบบปฏิบัติการ และการปฏิบัติ 2) ความรู้พื้นฐานด้านเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย ด้านความมั่นคง 3) ความรู้พื้นฐานด้านเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 4) ความรู้พื้นฐานด้านระบบเครือข่าย ปลอดภัย 5) ความรู้พื้นฐานด้านระบบฐานข้อมูล 6) ความรู้พื้นฐานด้านการเขียนโปรแกรม 7) ความรู้พื้นฐานด้านระบบสนับสนุนห้อง Data Center 8) มาตรฐานด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ 9) กระบวนการทางานหรือการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศและสามารถกาหนดนโยบาย และกระบวนการในการทางาน งานดูแลระบบ 1) มาตรฐานห้อง Data Center 2) การทางานของระบบสนับสนุนห้อง Data Center สนับสนุนห้อง Data Center งานดูแลระบบ 1) ความรู้พื้นฐานด้านเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและระบบปฏิบัติการ ประชุมทางไกล 2) ความรู้พื้นฐานด้านระบบเครือข่าย 3) ความรู้ความเข้าใจการทางานของระบบประชุมทางไกลรวมถึงอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง 1) ความรู้พื้นฐานด้านระบบปฏิบัติการ งานดูแลและ บารุงรักษาเครื่อง 2) ความรู้พื้นฐานด้านระบบเครือข่าย 3) ความรู้ความเข้าใจโปรแกรมพื้นฐานที่ใช้งานในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ 4) ความรู้ความเข้าใจพื้นฐานของระบบสารสนเทศภายในองค์กรที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน และอุปกรณ์ 5) ความรู้พื้นฐานด้านความมั่นคงปลอดภัยระบบสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ 6) ความรู้ ความเข้ าใจการทางานของอุ ปกรณ์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ลู กข่ายและ อุปกรณ์ต่อพ่วง
หน้า 2-19
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
2.2.2 ศึกษาความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) ความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) ของบุคลากรแสดงถึงการเติบโตในสายอาชีพของ บุคลากรเมื่อเข้ามาปฏิบัติงานในองค์กร ความก้าวหน้าของสายงานนั้นมีส่วนช่วยในการสร้างขวัญ กาลังใจ และ รักษาคนเก่งคนดีไว้ในองค์กร รวมทั้งเป็น แนวทางนาไปสู่การสร้างบุคลากรที่มีคุณค่าให้แก่องค์กรในระยะยาว โดยการจัดทาเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพเป็นเครื่องมือในการกาหนดเป้าหมายในการทางานของบุคลากร และการกาหนดแนวทางสู่ความสาเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ เมื่อบุคลากรเป็นทรัพยากรที่มีค่าที่สุดขององค์กร จึงควรได้รับโอกาสให้พัฒนาตนเองได้ตาม ศักยภาพ ดังนั้นการจัดทาเส้นทางก้าวหน้าในสายอาชีพจึงมีจุดมุ่งหมายไปยังบุคลากรให้มีความตระหนักต่อ ความสนใจ คุณค่า จุดอ่อน และจุดแข็งของตนเอง การได้รับสารสนเทศเกี่ยวกับความก้าวหน้าในหน่วยงาน การวิเคราะห์เป้าหมายในอาชีพ และการกาหนดแผนปฏิบัติงานเพื่อบรรลุเป้าหมายในอาชีพ สามารถจัดทาได้ ทั้งเป็นแผนระยะสั้น และแผนระยะยาว จากการศึกษารายละเอีย ดจากพระราชบัญญัติร ะเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ตามมาตรา 35 ว่าด้วยการแบ่งประเภทของข้าราชการพลเรือนออกเป็น 2 ประเภท คือ (1) ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ ได้แก่ ข้าราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยได้รับ บรรจุแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในพระองค์พระมหากษัตริย์ตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา (2) ข้าราชการพลเรือนสามัญ ได้แก่ ข้าราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยได้รับบรรจุ แต่งตั้งตามที่บัญญัติไว้ในลักษณะ 4 ข้าราชการพลเรือนสามัญ โดยได้การกาหนดตาแหน่งข้าราชการพลเรือน สามัญ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังต่อไปนี้ - ตาแหน่งประเภทบริหาร - ตาแหน่งประเภทอานวยการ - ตาแหน่งประเภทวิชาการ - ตาแหน่งประเภททั่วไป มาตรฐานในการจาแนกประเภทกลุ่ม งานด้า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารมี การอ้า งอิง มาจากภารกิจ หน้าที่หลักตามลักษณะของสายงาน โดยคานึงถึงลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบ และคุณภาพของงาน ซึ่งตรงกันกับการกาหนดตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญประเภทวิชาการ 5 ระดับ ดังต่อไปนี้
หน้า 2-20
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ภาพ 2.2 ระดับตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ หน้าที่ความรับผิดชอบหลักในแต่ละระดับ ดังนี้ 1) ระดับ ตาแหน่ งปฏิบัติการ มีหน้าที่ความรับผิ ดชอบหลั ก คือ ปฏิบัติงานในฐานะ ผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทางาน ภายใต้การกากับ แนะนา ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย 2) ระดับชานาญการ มีหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก คือ ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้างาน คอยกากับ แนะนา และตรวจสอบการปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชานาญ ในงานด้านคอมพิว เตอร์ ป ฏิบั ติง านที่ ต้อ งตัด สิ น ใจหรือ แก้ ปัญหาที่ ซับซ้ อนและปฏิ บั ติ งานอื่น ตามที่ไ ด้รั บ มอบหมาย หรือปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชานาญในงานด้านคอมพิวเตอร์ ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ซับซ้อน และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย 3) ระดับชานาญการพิเศษ มีหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก คือ ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้างาน คอยก ากั บ แนะน า และตรวจสอบการปฏิ บั ติ ง านของผู้ ร่ ว มปฏิ บั ติ ง าน โดยใช้ ค วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความช านาญงานสูงในงานด้านคอมพิ วเตอร์ ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ ซับซ้อน และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย หรือปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ โดยใช้ ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชานาญสูงในงานด้านคอมพิวเตอร์ ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจ หรือแก้ปัญหาทีซ่ ับซ้อน และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย 4) ระดับเชี่ยวชาญ มีหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก คือ ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญในงาน โดยใช้ ค วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเชี่ ย วชาญในทาง ด้ า นคอมพิ ว เตอร์ ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในทางวิชาการที่ยาก ซับซ้อน ส่งผลกระทบในวง กว้าง และปฏิ บั ติงานอื่น ตามที่ได้รั บมอบหมาย หรือปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานให้คาปรึกษาของส่ว น ราชการระดับ กระทรวง กรม ซึ่ง ใช้ค วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเชี่ย วชาญในทาง ด้านคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในทางวิชาการที่ยาก ซับซ้อน ส่งผลกระทบในวงกว้าง และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 2-21
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
5) ระดับทรงคุณวุฒิ มีหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก คือ ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ ทรงคุณวุฒิ ซึ่งใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานวิชาการคอมพิวเตอร์ เป็นที่ประจักษ์ใน ความสามารถเป็น ที่ยอมรับ ในระดับ ชาติ ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสิ นใจหรือแก้ปัญหาในทางวิช าการที่ ยุ่งยาก ซับซ้อนเป็นพิเศษ และส่งผลกระทบในวงกว้างระดับนโยบายกระทรวงหรือระดับประเทศ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย หรือปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานให้คาปรึ กษาของส่วนราชการระดับกระทรวง ซึ่งมี ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานวิชาการคอมพิวเตอร์ เป็นที่ประจักษ์ในความสามารถ เป็นที่ ยอมรับในระดับชาติ ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในทางวิชาการที่ยากและซับซ้อนมากเป็นพิเศษ และมีผลกระทบในวงกว้างระดับนโยบายกระทรวงหรือระดับประเทศ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยแต่ละระดับ ตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ จะแบ่ง ลักษณะงานที่ปฏิบัติออกเป็นด้านต่าง ๆ แสดงดังภาพ 2.3 และมีการกาหนดลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ รายละเอียดดังผนวก ข
ภาพ 2.3 ลักษณะงานที่ปฏิบัติในแต่ละระดับตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารน าโครงสร้ า งสมรรถนะมาประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ องค์ ก ร ส าหรั บ ต าแหน่ ง ข้าราชการพลเรือนสามัญเพื่อช่วยในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งสนั บสนุน ให้บุคลากรแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ และส่งเสริมให้ดาเนินงานตามภารกิจหน้าที่ ได้ดียิ่งขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ (1) สมรรถนะหลัก (Core Competencies) หมายถึง สมรรถนะเชิงพฤติกรรมที่กาหนด เป็นคุณลักษณะร่วมของข้าราชการพลเรือนสามัญทั้งระบบเพื่อเป็นการหล่อหลอมค่านิยมและพฤติกรรมที่พึง ประสงค์ร่วมกัน ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ ดังนี้ - การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement motivation) - การบริการที่ดี (Service Mind) - การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) - จริยธรรม (Integrity) - ความร่วมแรงร่วมใจ (Teamwork) (2) สมรรถนะประจากลุ่มงาน (Functional Competencies) หมายถึง สมรรถนะที่ กาหนดเฉพาะสาหรับกลุ่มงานเพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้ข้าราชการปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน้า 2-22
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
(กาหนดให้แต่ละกลุ่มงานมีสมรรถนะประจากลุ่มงานละ 3 สมรรถนะ ยกเว้นกลุ่มงานของนักบริหารระดับสู งมี 5 สมรรถนะ) โดยสมรรถนะประจากลุ่มงานโดยรวม 20 สมรรถนะ ดังนี้ - การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) - การมองภาพองค์รวม (Conceptual Thinking) - การพัฒนาศักยภาพคน (Caring & Developing Others) - การสั่งการตามอานาจหน้าที่ (Holding People Accountable) - การสืบเสาะหาข้อมูล (Information Seeking) - ความเข้าใจข้อแตกต่างทางวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity) - ความเข้าใจผู้อื่น (Interpersonal Understanding) - ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ (Organizational Awareness) - การดาเนินการเชิงรุก (Pro-activeness) - ความถูกต้องของงาน (Concern for Order) - ความมั่นใจในตนเอง (Self Confidence) - ความยืดหยุ่นผ่อนปรน (Flexibility) - ศิลปะการสื่อสารจูงใจ (Communication & Influencing) - สภาวะผู้นา (Leadership) - สุนทรียภาพทางศิลปะ (Aesthetic Quality) - วิสัยทัศน์ (Visioning) - การวางกลยุทธ์ภาครัฐ (Strategic Orientation) - ศักยภาพเพื่อนาการปรับเปลี่ยน (Change Leadership) - การควบคุมตนเอง (Self-Control) - การให้อานาจแก่ผู้อื่น (Empowering Others) (3) สมรรถนะหลักของกระทรวงยุติธรรม (Core Competency: CC) หมายถึง สมรรถนะที่กาหนดเฉพาะสาหรับข้าราชการกระทรวงยุติธรรม เพื่อให้สามารถปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความถูกต้อง และมีความรับผิดชอบงานให้บรรลุผลสาเร็จ โดยสมรรถนะหลักประกอบด้วย 2 สมรรถนะ ดังนี้ - จิตสานึกในความยุติธรรม - ความน่าเชื่อถือศรัทธา (4) สมรรถนะสายงานวิชาการคอมพิวเตอร์ หมายถึง สมรรถนะที่กาหนดเฉพาะสาหรับ สายงานวิชาการคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ คิดในเชิงสังเคราะห์ และมองเห็นปัญหาหรือโอกาส พร้อมทั้งสามารถจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นได้ โดยประกอบด้วยสมรรถนะร่วมของสายงาน 3 สมรรถนะ ดังนี้ - การคิดวิเคราะห์ - การมองภาพองค์รวม - การดาเนินการเชิงรุก โดยระดับสมรรถนะที่เหมาะสมกับระดับตาแหน่งของนักวิชาการคอมพิ วเตอร์รายละเอียด ดังผนวก ค
หน้า 2-23
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
2.2.3 ศึกษาวิเคราะห์ความต้องการในการจัดจ้างบุคคลภายนอก (Outsourcing) การจั ดจ้างบุ คคลภายนอก (Outsourcing) คือการที่องค์กรมอบหมายงานบางส่ว นให้ กับ บุคคลภายนอกที่มีความชานาญในด้านนั้น ๆ มาดาเนินการแทน โดยองค์กรจะเป็นผู้กาหนดนโยบายบริหาร และการกาหนดคุณภาพของการให้บริการ ปัจจุบันในประเทศไทยได้มีการให้บริการด้านระบบสารสนเทศและ การสื่อสาร ซึง่ สามารถแบ่งประเภทการให้บริการหลักได้ ดังภาพ 2.4 Desktop Service Network management/Networking Connectivity Services Web Hosting
Data Center Services Continuity Services
Application Management Services ภาพ 2.4 การให้บริการด้านระบบสารสนเทศและการสื่อสาร การให้บริการของบุคคลภายนอกด้านระบบสารสนเทศและการสื่อสารส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับ การดูแลระบบในเรื่องของซอฟต์แวร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายเพื่อจัดการระบบให้ทางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ การให้บริการด้านระบบสารสนเทศและการสื่อสารของบุคคลภายนอกสามารถแบ่งออกเป็น 6 ประเภท ดังนี้ 1) การบริการเครื่องคอมพิวเตอร์ (Desktop Service) เป็นการดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ลูก ข่าย เครื่อง Server และการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) ซึ่งขอบเขตของการบริการในประเภทนี้ ประกอบไปด้วยประเภทย่อยของการให้บริการ ได้แก่ - การดาเนินการติดตั้งทดสอบระบบงานต่าง ๆ - การดูแลบารุงรักษาซ่อมแซมเมื่ออุปกรณ์ชารุด - การจัดซื้อติดตั้ง และการเปลี่ยนเครื่องให้ทันสมัยพร้อมที่จะใช้งานกับระบบใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา 2) การบริก ารเชื่ อ มต่ อ และจั ด การเครื อ ข่ า ยสื่ อ สาร (Network Management/ Networking & Connectivity Service) เป็นการบริหารจัดการเครือข่ายสื่อสารคอมพิวเตอร์ ขององค์กรให้ สามารถเชื่อมโยงการทางานระหว่างส่วนงานต่าง ๆ ขององค์กรหรือระหว่างองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยที่บุคคลภายนอกจะทาหน้าที่บริหารระบบเครือข่ายการสื่อสารขององค์กร ซึ่งอาจจะรวมถึงการจัดหา ติดตั้งอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา 3) การบริการศูนย์คอมพิวเตอร์ (Data Center Service) เป็นการบริการที่ครอบคลุมการ บริหารจัดการศูนย์คอมพิวเตอร์ให้สามารถดาเนินการได้อย่ างมีประสิทธิภาพ โดยการบริการอาจครอบคลุม ถึงการออกแบบ การจัดหาและติดตั้งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การจัดหาบุคลากรผู้ชานาญการด้านการจัดการ ศูนย์คอมพิวเตอร์ และการบริหารจัดการศูนย์คอมพิวเตอร์
หน้า 2-24
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
4) การให้บริการด้านความต่อเนื่อง (Continuity Service) เป็นการบริการเพื่ อ เพิ่ ม ความ มั่ น ใจให้ กั บ องค์ ก รในการใช้ บ ริ ก ารว่ า จะสามารถให้ บ ริ ก ารได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง รวมถึ ง การออกแบบ ติดตั้ง บริหาร ศูน ย์คอมพิว เตอร์สารองขององค์กรนั้นเป็น การสร้างความมั่นใจในการให้บ ริก าร ที่ อ าจ เกิด กรณี ห รื อเหตุการณ์ฉุกเฉิน ที่ส ร้ างความเสี ยหายอย่า งรุน แรง (Disaster) ของศูน ย์ คอมพิว เตอร์ห ลัก การปรับปรุงอุปกรณ์ให้มี ความทันสมัยอยู่เสมอ สามารถรองรับ การปฏิบัติงานได้ 5) การให้บ ริก าร Web Hosting Service เป็น การให้บ ริก ารที่ส ามารถเริ่ม ตั้ง แต่ การออกแบบ ติดตั้ง ดูแล ศูน ย์คอมพิว เตอร์ที่ให้บริ การ Web ซึ่งรวมถึงการนา Web Server มาติดตั้ง และดูแลให้ บ ริ การด้าน Internet ขององค์กร 6) การให้บริการด้านการบริหารระบบงาน (Application Management Service) เป็น การให้บริการด้านการบริหารโปรแกรมระบบงานต่าง ๆ ซึ่งเริ่มตั้งแต่ การออกแบบ พัฒนา ติดตั้ง ดูแล โปรแกรมระบบ นอกจากนี ้จ ะรวมถึง การตอบปัญ หาด้า นโปรแกรมระบบ (Application Helpdesk) การจัดการบริหาร Source Code, Version, Modification ของโปรแกรมระบบต่าง ๆ เนื่องจากปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีความก้าวหน้ามากขึ้น ความต้องการ ในการใช้งานทางด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีความหลากหลาย สามารถนามาประยุกต์ใช้ ในการดาเนินงาน เพื่ออานวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่บุคลากร อย่างไรก็ตามด้วยข้อจากัดในหลาย ๆ ด้านของศูน ย์เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสาร อาทิ จานวนบุคลากรที่มีอยู่อย่า งจากัด หรือ ความรู้ ความเชี่ย วชาญของเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอต่อเทคโนโลยีที่มีความหลากหลาย ทาให้การปฏิบัติงานไม่ต่อเนื่ อง เกิดความขัดข้องในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ จากสาเหตุด ัง กล่า วผู ้บ ริห ารของศูน ย์เ ทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื ่อ สาร ของ หน่ว ยงานต่า ง ๆ เริ ่ม มี การพิจารณาที่จะมอบหมายภารกิ จด้านการบริหารระบบสารสนเทศทั้งหมดหรื อ บางส่วนให้กับบุคคลภายนอกที่มีความรู้ความชานาญและมีเทคโนโลยีที่ดีกว่าเข้ามาบริหารระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารขององค์กร ซึ่งช่วยส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานเฉพาะทาง เพื่อให้บรรลุถึง เป้าหมายที่วางไว้ โดยแบ่งส่วนที่ต้องการจัดจ้ างบุคคลภายนอกออกเป็น 2 ด้าน ดังนี้ 1) ด้ า นการเช่ า คอมพิ ว เตอร์ แ บบตั้ ง โต๊ ะ และคอมพิ ว เตอร์ แ บบพกพา (Notebook) เนื่องจากมีบุคลากรที่ปฏิบัติงานภายในองค์กรจานวนมาก ทาให้มีความต้องการใช้ง านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แบบตั้ ง โต๊ ะ และคอมพิ ว เตอร์ แ บบพกพามากตามไปด้ ว ย แต่จ านวนบุค ลากรที ่ร ับ ผิด ชอบในการดูแ ล บารุงรักษาไม่เพียงพอ ส่งผลให้การดูแลและบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ทาได้ไม่ทั่วถึง ประกอบกับการใช้ งานเป็นเวลานานทาให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ไม่ส ามารถใช้งานได้ห รือไม่ส ามารถสนับสนุนการปฏิบัติงาน ร่ว มกับ เทคโนโลยีรุ ่น ใหม่ได้ ส่ง ผลให้ไม่ส ามารถรองรับ โปรแกรมที่มีก ารพัฒ นาขึ้ น มาใหม่ได้แ ละต้อ งใช้ งบประมาณในการปรับปรุงประสิทธิภาพอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ดังนั้นการเช่าอุป กรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์จึง เป็น หนึ่งทางเลือกในการบริหารจัดการให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีประสิทธิภ าพ ทันสมัย และลดงบประมาณ การบ ารุง รัก ษา เนื ่อ งจากเมื ่อ ครบก าหนดระยะเวลาการเช่า บริษ ัท ผู ้ใ ห้บ ริก ารจะเป็น ผู ้ร ับ ผิด ชอบ ดาเนินการกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ชุดดังกล่าว และศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถเลือกเช่า เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่น ใหม่ที่มีคุณภาพ ทันสมัย และเหมาะกับเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันได้ตามความ ต้องการเพื่อให้การพัฒนามีความต่อเนื่อง 2) ด้านการบารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เนื่องจากระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยอุปกรณ์หลายชิ้น อุปกรณ์เหล่านี้ต้องทางานร่วมกันเป็นระบบหากชิ้นหนึ่งชิ้นใดมี ปัญหาส่งผลถึง การท างานทั ้ง ระบบและกระทบต่อ การปฏิบ ัต ิง านของเจ้า หน้า ที ่เ ป็น อย่า งมาก ซึ ่ง ศูน ย์ เ ทคโนโลยี หน้า 2-25
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
สารสนเทศและการสื่ อสารมีข้ อจ ากัด ด้า นจ านวนและทัก ษะของบุ คลากรซึ่ง ไม่ เพี ยงพอต่ อการดูแ ลและ บารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการจัดจ้างบุคคลภายนอกเพื่อการบารุงรักษาระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์จึงเป็นการลดระยะเวลาในการดาเนินการหาวิธีการดูแลรักษาระบบเครือข่ายคอมพิว เตอร์ เพื่อ พัฒ นา บารุง รัก ษา แก้ไ ขปัญ หา และตรวจสอบการทางานของระบบเครือ ข่า ย คอมพิว เตอร์ ข องศูน ย์ เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารไม่ใ ห้เ กิด ปัญ หา ข้อ ขัด ข้อ ง และความเสีย หาย เพื่อ ทาให้ร ะบบ สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง และเต็ มประสิทธิภาพ จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าการจัดจ้างบุคคลภายนอกเข้ามาปฏิบัติงานนี้มีข้อดี และข้อควร ระวัง 3 ด้าน แสดงดังตาราง 2.5 ตาราง 2.5 สรุปข้อดี-ข้อเสียในการจัดจ้างบุคคลภายนอกเข้ามาปฏิบัติงานในองค์กร ข้อดี ข้อควรระวัง ด้านการเงิน: - ควรควบคุมการจั ดจ้างบุ คคลภายนอกให้ ส ามารถ เป็นการหลีกเลี่ยงการลงทุนที่จาเป็นต้องใช้งบประมาณสูง ดาเนินการได้ตามสัญญา เพื่อลดความซ้าซ้อนใน ทาให้ การบริหารจัดการงบประมาณมีประสิทธิภาพ การใช้งบประมาณ มากขึ้น เนื่องจากสามารถควบคุมงบประมาณได้คงที่ ด้านเทคโนโลยี: - ควรศึกษาเทคโนโลยีที่จะนามาใช้งานเพื่อให้เหมาะสม เป็นการเลือกสรรเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้ก้าวทันตาม กับการดาเนินงานจริง เทคโนโลยี ที่ ใช้ อยู่ ในปั จ จุ บั น ทาให้ การปฏิบั ติงานมี - ควรพิจารณาความคุ้มค่าเมื่อเทียบกับงบประมาณ คุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น ในการจั ด หาเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย เนื่ อ งจาก เทคโนโลยีที่ทันสมัยมักมีราคาสูง ด้านทรัพยากรมนุษย์: - ควรวางแผนการด าเนิ น งานอย่ า งรอบคอบและ - ช่วยแก้ปัญหาด้านการขาดอัตรากาลัง เนื่องจาก พิ จ ารณาถึ ง ปั จ จั ย ต่ า ง ๆ ที่ จ ะมี ผลกระทบกั บ การพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพในการทางาน การดาเนินงานให้ชัดเจน เพื่อให้การบริหารจัดการ เพิ่มมากขึ้นจะทาให้ การทางานสามารถประสบ ทรัพยากรมนุษย์มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ความสาเร็จได้ด้วยอัตรากาลังที่มีอยู่อย่างจากัด - เนื่องจากมีการกาหนดความรู้ และทักษะในการพัฒนา บุ คลากรแต่ล ะด้ านอย่ างชั ดเจนทาให้ ได้ คนที่ มี ความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาปฏิบัติงาน
หน้า 2-26
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
2.3 ผลวิเคราะห์จุดแข็ง-จุดอ่อน โอกาส-อุปสรรค ของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร จากการศึกษา วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม สามารถสรุปจุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Threats) ได้ดังนี้ 2.3.1 จุดแข็งและจุดอ่อนของบุคลากรสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม แสดงดังตาราง 2.6 ตาราง 2.6 สรุปจุดแข็งและจุดอ่อนของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปัจจัยวิเคราะห์ จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) - บุคลากรด้าน ICT มีความสามารถหลาย - จานวนบุคลากรด้าน ICT ไม่เพียงพอ ด้านบุคลากร ด้าน และทางานแทนกันได้ - บุคลากรด้าน ICT มีจิตบริการ (Service mind) ทางานเป็นทีม และสามารถแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า - มีการนิเทศงานการใช้ระบบสารสนเทศ อย่างต่อเนื่องทุกปี - ผู้บังคับบัญชาสนับสนุนให้บุคลากรได้รับ การฝึกอบรม - บุคลากรผู้ใช้งานบางส่วนมีทัศนคติที่ดี ต่อการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อ สารมาช่ ว ยสนั บ สนุ น การปฏิบัติงาน
- บุคลากรไม่สามารถตามทันเทคโนโลยี ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว - ขาดความรู้ด้านมาตรฐาน ICT - ขาดการฝึกอบรมในระดับความเชี่ยวชาญ แก่บุคลากรด้าน ICT - ขาดความสัมพันธ์ด้านการติดตามและ ประสานงานกับหน่วยงานอื่น
2.3.1.1 จุดแข็งของบุคลากรด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมมีจุดแข็งของบุคลากร: สานักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม มีบุคลากรด้าน ICT ที่มีความรู้ ความสามารถหลายด้าน และปฏิบัติงานแทนกันได้ ทาให้เมื่อเกิด เหตุขัดข้องด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารขึ้น บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร สามารถให้บริการผู้ใช้งานระบบสารสนเทศได้อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการสนับสนุนให้มี การนิเทศงาน และฝึกอบรมการใช้ระบบสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง ทาให้ผู้ใช้เกิดความคุ้นเคยและมีทัศนคติที่ ดีต่อการใช้ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร 2.3.1.2 จุดอ่อนของบุคลากรด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมมีจุดอ่อนของบุคลากร: สานักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม มีบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจานวนจากัด ทาให้ไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ขาดความรู้ ความสามารถ และการฝึกอบรมในระดับความเชี่ยวชาญทาให้ ไม่สามารถก้าวทัน เทคโนโลยีที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้บุคลากรด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารไม่สามารถนาเทคโนโลยี ใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งขาดการสร้างความสัมพันธ์ในการติดตาม และประสานงานกับหน่วยงานในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม จึงส่ง ผลให้การดาเนินงานระหว่าง หน่วยงานไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน หน้า 2-27
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
2.3.2 โอกาสและอุปสรรคของบุคลากรสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม แสดงดังตาราง 2.7 ตาราง 2.7 สรุปโอกาสและอุปสรรคของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปัจจัยวิเคราะห์ โอกาส อุปสรรค (Opportunities) (Threats) ด้านบุคลากร - มีการกาหนดเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ - ค่าตอบแทนและสิ่งจูงใจบุคลากรด้าน ICT ของ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Career Path) ภาครัฐ - แนวโน้มการเคลื่อนย้ายแรงงานและอาชีพของ ประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ทา ให้หน่วยงานมีโอกาสได้จ้างบุคลากรผู้เชี่ยวชาญ จากประเทศอื่น ๆ - ประชาชนมีความสามารถและคุ้นเคยกับการใช้งาน ระบบอินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media)
ภาครัฐน้อยกว่าในภาคเอกชนทาให้บุคลากร สนใจเข้าทางานในภาคเอกชนมากกว่า
2.3.2.1 โอกาสของบุคลากรด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมมีโอกาสของบุคลากร: ปัจจุบันภาครัฐอยู่ระหว่าง การพัฒ นาและกาหนดเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Career Path) ทาให้หน่วยงานต้องมีการผลักดันในเรื่องของการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ให้สอดคล้องกับทิศทางของภาครัฐ และแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของอาเซียน ปี 2015 (ASEAN ICT Master Plan 2015) มีการกาหนดยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาทุนมนุษย์ขึ้นเป็นยุทธศาสตร์หลัก จึงเป็ นโอกาสของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธ รรมที่จ ะนาแนวทางการพั ฒ นาทุนมนุษย์ จากแผนแม่บ ท เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของอาเซียนฯ มาเป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารขององค์กรนอกเหนือจากนั้นเมื่อพิจารณาถึงภาคประชาชนซึ่งปัจจุบันมีความสามารถ และคุ้นเคย กับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) และอินเทอร์เน็ต โดยสิ่งเหล่านั้นเป็นโอกาสที่จะทาให้หน่วยงานมีช่องทาง ในการเข้าถึงประชาชนเพื่อการสื่อสาร และสนับสนุนการปฏิบัติงานหน่วยงานต่าง ๆ ภายในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรมได้ดียิ่งขึ้น 2.3.2.2 อุปสรรคของบุคลากรด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมมีอุปสรรคของบุคลากร: เนื่องด้วยค่าตอบแทน และสิ่ ง จู งใจของบุ คลากรด้า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สารในหน่ ว ยงานภาครั ฐ มี น้ อยกว่ า เมื่ อ เปรียบเทียบกับค่าตอบแทนในภาคเอกชน ทาให้บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเลือกที่จะ ปฏิบัติงานในภาคเอกชนมากกว่า ในหน่วยงานภาครัฐ
หน้า 2-28
บทที่ 3 ข้อเสนอแนะความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารสาหรับกลุ่มผู้ใช้ บทนี้จ ะกล่า วถึง ข้อ เสนอแนะความสามารถด้า นการใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร สาหรับกลุ่มผู้ใช้ของสานักงานปลัดกระทรวงยุติธ รรม เพื่อเป็นข้อเสนอแนะให้สาหนักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรมได้ใช้เป็น กรอบและแนวทางในการพัฒ นาทักษะความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยีส ารสนเทศ และการสื่อสารให้กับ กลุ่ม ผู้ใช้มี ค วามรู้ค วามสามารถการใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร เพื่อ สนับ สนุน การปฏิบัติง านได้อ ย่า งมีป ระสิท ธิภ าพ ซึ่ง มิใ ช่ข้อ กาหนดคุณ สมบัติค วามสามารถด้า นการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรับกลุ่มผู้ใช้ที่อ้างอิงในความก้าวหน้าตามสายการเติบโต จากการศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ลั ก ษณะงานของหน่ ว ยงาน ได้ น าไปสู่ ก ารวิ เ คราะห์ ลั ก ษณะการใช้ ง าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่จาเป็นสาหรับหน่วยงานผู้ใช้งาน โดยมีข้อเสนอแนะความสามารถ แบ่งเป็น 7 ด้าน โดยแต่ละด้านจะประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ (คาอธิบายข้อเสนอแนะความสามารถด้านการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรับกลุ่มผู้ใช้ แสดงดังผนวก ก) ด้านที่ 1 : ข้อเสนอแนะความสามารถด้านคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 : คาอธิบายเบื้องต้น – ได้แก่ความรู้ ความเข้าใจและความสามารถในการแก้ไข ปัญหาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นทั้งทางด้านกายภาพ (Physical) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) และ โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) ส่วนที่ 2 : กลุ่มผู้ใช้ (User) - ทุกหน่วยงานในสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ด้านที่ 2 : ข้อเสนอแนะความสามารถด้านอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 : คาอธิบายเบื้องต้น - ความรู้ ความเข้าใจและความสามารถในการใช้งานบริการ ต่าง ๆ ที่มีในอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บไซต์ (Website) เสิร์ชเอนจิน (Search Engine) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ที่จาเป็น ส่วนที่ 2 : กลุ่มผู้ใช้ (User) – ทุกหน่วยงานในสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ด้านที่ 3 : ข้อเสนอแนะความสามารถด้านอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 : คาอธิบายเบื้องต้น - ความรู้ ความเข้าใจและความสามารถในการใช้งานบริการ ต่าง ๆ ของอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่เบื้องต้น ทั้งทางด้านกายภาพ (Physical) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) โปรแกรมอินเทอร์เน็ตพื้นฐาน (เช่น เบราเซอร์ (Browser) เสิร์ชเอนจิน (Search Engine) ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์และสื่อสังคมออนไลน์) และโปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) ส่วนที่ 2 : กลุ่มผู้ใช้ (User) – ทุกหน่วยงานในสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
หน้า 3-1
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ด้านที่ 4 : ข้อเสนอแนะความสามารถด้านโปรแกรมสานักงาน ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 : คาอธิบายเบื้องต้น - ความรู้ ความเข้าใจและความสามารถในการใช้งาน โปรแกรมสานักงาน เช่น โปรแกรมประมวลผลคา โปรแกรมแผ่นตารางทาการ และโปรแกรมการนาเสนอ ส่วนที่ 2 : กลุ่มผู้ใช้ (User) - ทุกหน่วยงานในสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ด้านที่ 5 : ข้อเสนอแนะความสามารถด้านโปรแกรมออกแบบกราฟิก ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 : คาอธิบ ายเบื้องต้น - ความรู้ ความเข้าใจและความสามารถในการใช้งาน โปรแกรมกราฟิก เพื่อออกแบบสร้างสรรค์งาน สาหรับการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ส่วนที่ 2 : กลุ่มผู้ใช้ (User) - กองกลาง สานักกิจการในพระราชดาริพระเจ้ าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา สานักงานยุติธรรมจังหวัด ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านที่ 6 : ข้อเสนอแนะความสามารถด้านโปรแกรมออกแบบงานวิศวกรรม ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 : คาอธิบายเบื้องต้น - ความรู้ ความเข้าใจและความสามารถในการใช้งาน โปรแกรมกราฟิก สาหรับ การออกแบบงานวิศวกรรมขั้นพื้นฐาน การสร้างชิ้นงานและนาเสนอชิ้นงาน ทั้ง แบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ส่วนที่ 2 : กลุ่มผู้ใช้ (User) - กองออกแบบและก่อสร้าง ด้านที่ 7 : ข้อเสนอแนะความสามารถด้านระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 : คาอธิบายเบื้องต้น - ความรู้ ความเข้าใจและความสามารถในการใช้งานระบบ สารสนเทศที่ใ ช้ใ นการปฏิบัติง าน เช่น ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบจองห้องประชุม ระบบจอง ยานพาหนะ ระบบรับบริการสานักงานยุติธรรมจังหวัด ส่วนที่ 2 : กลุ่มผู้ใช้ (User) - ทุกหน่วยงานในสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
หน้า 3-2
บทที่ 4 ข้อเสนอแนะสายงานสาหรับบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร และความสามารถของบุ คลากรส านั กงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม ข้ อ เสนอแนะสายงานส าหรั บ บุ ค ลากรด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารส านั ก งาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นการกาหนดความสามารถของบุคลากรให้มีความเหมาะสมตามสายงาน ซึ่งในบทนี้ กล่ า วถึ ง ข้ อ เสนอแนะสายงานส าหรั บ บุ ค ลากรด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารตามสายงาน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ของตาแหน่ง 6 ระดับ ได้แก่ ระดับปฏิบัติการ ระดับชานาญการ ระดับชานาญการ พิเศษ ระดับอานวยการสูง ระดับเชี่ยวชาญ และระดับผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งการจัดสายงานดังกล่าว เพื่อแสดงให้ เห็นเส้นทางความก้าวหน้า และทิศทางการเติบโตของสายงาน โดยการก้าวไปสู่ตาแหน่งงานต่อไปตามสายการ เติบโตนั้นต้องมีการพัฒนาความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) และสมรรถนะ (Competency) ที่จาเป็น สาหรับตาแหน่งงาน เพื่อให้การเติบโตสู่ตาแหน่งต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1 ข้อกาหนดสายงานสาหรับบุคลากรด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร (ICT Career Path) สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ในหัวข้อนี้กล่าวถึงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์ทางด้านความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) และสมรรถนะ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับตาแหน่งงานตามสายงานของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม โดยแบ่งออกเป็นสายงานของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารทั้ง 3 ส่วนงาน ได้แก่ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศ และการจั ด การเพื่ อการบริ ห าร และส่ ว นเทคโนโลยีร ะบบคอมพิ ว เตอร์ และเครือข่ าย กับ ส่ ว นงานที่ เป็ น นักวิชาการคอมพิวเตอร์ระดับเชี่ยวชาญ ระดับผู้ทรงคุณวุฒิของสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม โดยอ้างอิง ตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่งของสานักงาน ก.พ. ซึ่งสามารถแสดงภาพรวมการเติบโตของสายงาน ดังภาพ 4.1
หน้า 4-1
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
สามารถออกไปเติบโตตามเส้นทาง ความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) ของสํานักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม
ภาพ 4.1 ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์ (Career Chart) สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
หน้า 4-2
ตําแหน่งเป้าหมาย (Critical Position) ชื่อตําแหน่ง ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (K5) หน่วยงาน สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. ให้คําปรึกษาและเสนอแนะความเห็นทางวิชาการเกี่ยวกับ การพัฒนางานคอมพิวเตอร์ เพื่อประกอบการพิจารณากําหนดนโยบาย แผนงาน และแนวทางการปฏิบัติงานทางด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 2. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ทางด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีขอบข่ายกว้างขวางมาก หรือมีระบบที่ซับซ้อนเป็นพิเศษ เพื่อนํามาประยุกต์และพัฒนาให้เข้ากับระบบที่มีอยู่ภายในองค์กร 3. ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนา ระบบงานประยุกต์ ระบบสารสนเทศ ระบบการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูล ระบบฐานข้อมูล และระบบคลังข้อมูลที่มีขอบข่ายกว้าง เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศ 4. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา มาตรการตรวจสอบ การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล และมาตรการในการป้องกันปราบปราม การสร้างความเชื่อมั่นต่อการใช้ระบบ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อกําหนดแนวทาง หรือมาตรการ รูปแบบ วิธีการ ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 5. กํากับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาและการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติของ หน่วยงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อให้การดําเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีประสิทธิภาพ 6. วางแผนหรือร่วมดําเนินการวางแผนหรือให้คําปรึกษาแนะนําในการวางแผน โดยเชื่อมโยง หรือบูรณาการแผนงาน โครงการในระดับกลยุทธ์ของส่วนราชการระดับกระทรวง ติดตามประเมินผลภาพรวม เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 7. ประสานการทํางานภายในกรม กระทรวง หรือองค์กรอื่นทั้งในและ ต่างประเทศ โดยมีบทบาทในการเจรจา โน้มน้าว เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 8. ให้ข้อคิดเห็น และคําแนะนํา แก่หน่วยงานระดับกรม กระทรวง รวมทั้งที่ประชุมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อให้เกิดประโยชน์ และความร่วมมือในการดําเนินงานร่วมกัน 9. ให้คําปรึกษา แนะนํา วินิจฉัยปัญหาที่สําคัญทางด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ให้แก่ ผู้บริหาร ข้าราชการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาชนทั่วไป เพื่อสร้าง ความเข้าใจ และเสริมสร้าง ศักยภาพด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 10. ฝึกอบรม ถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ให้แก่ข้าราชการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาชน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและเสริมสร้างศักยภาพด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) 1. ความสอดคล้องของนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนประเด็นนโยบายที่มีความสอดคล้องกับแผนระดับชาติ และกระบวนการยุติธรรมกับแผนระดับชาติ 2. พัฒนางานวิจัยทางด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ที่มีขอบข่ายกว้างขวางมาก หรือเป็นเรื่องที่มีระบบงานที่ซับซ้อนเป็นพิเศษ จํานวนงานวิจัย 3. การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ระดับความสําเร็จของกํากับติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม 4. ความทันเวลาในการจัดตั้ง และจัดสรรงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประจําปีที่ตอบสนองต่อ จํานวนครั้งที่จัดประชุมล่าช้า นโยบายและแผน จํานวนรอบระยะเวลาที่ใช้การจัดประชุม 5. การวางแผนหรือร่วมดําเนินการวางแผนโครงการในระดับกลยุทธ์ของส่วนราชการระดับกระทรวงยุติธรรม จํานวนโครงการที่มีการวางแผนหรือร่วมดําเนินการวางแผนโครงการ ความรู้ที่จําเป็น สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย
ทักษะที่จําเป็น สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย
สมรรถนะที่คาดหวังสําหรับตําแหน่งเป้าหมายนี้
ชื่อสมรรถนะ ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน มีความรู้ด้านการบริหารจัดการโครงการสําหรับผู้บริหาร ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและโปรแกรมอื่น ๆ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ มีความรู้ด้านการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง ที่เกี่ยวข้อง บริการที่ดี มีความรู้ด้านการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ก า ร สั่ ง ส ม ค ว า ม มีความรู้ด้านการวางแผนเงินทุนและกํากับดูแลการลงทุน ทั ก ษะการคํ า นวณ เชี่ยวชาญในงานอาชีพ มีความรู้ด้านการจัดทํานโยบาย และยุทธศาสตร์ ทักษะการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล การยึ ด มั่ น ในความ มีความรู้ด้านสถาปัตยกรรมองค์กร ถูกต้องชอบธรรม และ ทักษะการจัดการข้อมูล มีความรู้ด้านวิธีวิจัยและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ จริยธรรม ทักษะการวางแผนและการจัดการ มีความรู้ด้านการกําหนดกลยุทธ์ การทํางานเป็นทีม ทักษะการเป็นผู้นํา มีความรู้ด้านการจัดทําแผนงานโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทักษะด้านการเปลี่ยนแปลง และการแก้ปัญหาความ ข. สมรรถนะหลักของกระทรวง มีความรู้ในด้านการบริหารจัดการความเสี่ยง ยุติธรรม ขัดแย้ง มีความรู้ในการบริหารจัดการทรัพยากร งบประมาณ และการจัดอัตรากําลัง จิ ต สํ า นึ ก ใ น ค ว า ม ทักษะความเข้าใจธุรกิจ มีความรู้ในการติดตาม และตรวจสอบการใช้ทรัพยากร และงบประมาณ ยุติธรรม มีความรู้ในการติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตามตัวชี้วัด หรือ ทักษะด้านการบริหาร ความน่าเชื่อถือศรัทธา ทักษะองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านเทคโนโลยีสา เป้าหมายที่วางไว้ ค. สมรรถนะสายงาน รนเทศและการสื่อสาร มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสําหรับผู้บริหารสารสนเทศระดับสูง วิ ช าการคอมพิวเตอร์ ทั ก ษะการจ้ า ง พั ฒ นา และรั ก ษาคุ ณ ภาพความ มี ค วามรู้ ธ รรมาภิ บ าลระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร การคิดวิเคราะห์ ชํานาญทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีความรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 การมองภาพองค์รวม ทักษะเพิ่มเติม มีความรู้ด้าน พรบ. ว่าด้วยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 การดําเนินการเชิงรุก ทักษะด้านการให้บริการ
ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง
ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 5
ระดับ 5
ระดับ 5
ระดับ 5
ระดับ 5
ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 5
ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะการเจรจาต่อรอง
ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงานของผู้มีศกั ยภาพ (Career Chart)
เกณฑ์การคัดเลือกผู้ดํารงตําแหน่งเป้าหมาย 1. มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง 2. ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับเชี่ยวชาญ ตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ใน Ladder ที่ 4 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยมีประสบการณ์ งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี 3. ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับอํานวยการสูง ในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอํานวยการสูง S2 ไม่น้อยกว่า 2 ปี
หน้า 4-3
ตําแหน่งเป้าหมาย (Critical Position) ชื่อตําแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ (K4) หน่วยงาน สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. วางแผนหรือร่วมดําเนินการวางแผน โดยเชื่อมโยงหรือบูรณาการแผนงาน โครงการในระดับกลยุทธ์ของส่วนราชการระดับกรม มอบหมายงานแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานติดตาม ประเมินผล เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่ กําหนด 2. ประสานการทํางานโครงการต่าง ๆ กับบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรอื่น โดยมีบทบาทในการจูงใจ โน้มน้าวเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 3. ให้ข้อคิดเห็น และคําแนะนําแก่หน่วยงานระดับสํานักหรือ กอง รวมทั้งที่ประชุมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อให้เกิดประโยชน์และความร่วมมือในการดําเนินงานร่วมกัน 4. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) 1. ความสอดคล้องของนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนประเด็นนโยบายที่มีความสอดคล้องกับแผนระดับชาติ และกระบวนการยุติธรรมกับแผนระดับชาติ 2. ความทันเวลาของการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกระทรวง ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดทําแผน จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทําแผน ยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. ความทันเวลาในการจัดตั้ง และจัดสรรงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประจําปีที่ตอบสนองต่อ จํานวนครั้งที่จัดประชุมล่าช้า นโยบายและแผน จํานวนรอบระยะเวลาที่ใช้การจัดประชุม 4. การให้ข้อเสนอแนะในการจัดทําแผนงาน โครงการในระดับกลยุทธ์ เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด ระดับความสําเร็จของการให้ข้อเสนอแนะในการจัดทําแผนงาน โครงการ ความรู้ที่จําเป็น สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย
ทักษะที่จําเป็น สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย
ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน มีความรู้ด้านการจัดทํานโยบาย และยุทธศาสตร์ มีความรู้ในด้านการกําหนดกลยุทธ์ ความรู้ ด้ า นการจั ด ทํา ยุ ท ธศาสตร์ แผนงาน โครงการ ด้ า นเทคโนโลยี แ ละสารสนเทศ มีความรู้ด้านการบริหารจัดการโครงการ มีความรู้ด้านการบริหารความเสี่ยง มีความรู้ด้านการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง มี ค วามรู้ ด้ า นมาตรฐานการพั ฒ นาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มี ค ว า ม รู ้ ด ้ า น ม า ต ร ฐ า น ก า ร ค ว บ คุ ม คุ ณ ภ า พ ง า น ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร มีความรู้ในการบริหารจัดการทรัพยากร งบประมาณ และ การจัดอัตรากําลัง มีความรู้ในการติดตาม และตรวจสอบการใช้ทรัพยากร และ งบประมาณ มีความรู้ในการติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ตามตัวชี้วัด หรือเป้าหมายที่วางไว้ มีความรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ว่ า ด้ ว ยการกระทํ า ความผิ ด ทาง คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ทักษะที่จําเป็น ทั ก ษะการใช้ โ ปรแกรมสํ า นั ก งานและโปรแกรมอื่ น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ทักษะการคํานวณ ทักษะการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการวางแผนและการจัดการ ทักษะการเป็นผู้นํา ทั ก ษะการจั ด ทํ า แผนแม่ บ ทไอที ที่ ส อดคล้ อ งกั บ การปฏิ รู ป ระบบราชการ ทักษะการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ทักษะการปรับไอทีให้สอดคล้องกับกลยุทธ์การพัฒนาองค์กร/ จังหวัด ทั ก ษะการใช้ ไ อที ป รั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพขององค์ ก ร/สํ า นั ก งาน จังหวัด ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ทักษะการวางแผนกลยุทธ์/แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ทักษะเพิ่มเติม
สมรรถนะที่คาดหวังสําหรับตําแหน่งเป้าหมายนี้ ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ระดับ 4 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับ 4 บริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน ระดับ 4 อาชีพ การยึ ด มั่น ในความถู ก ต้ อ งชอบ ระดับ 4 ธรรม และจริยธรรม การทํางานเป็นทีม ระดับ 4 ข. สมรรถนะหลักของกระทรวงยุติธรรม จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 4 ระดับ 4 ความน่าเชื่อถือศรัทธา ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ คอมพิวเตอร์ การคิดวิเคราะห์ ระดับ 4 ระดับ 4 การมองภาพองค์รวม การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 4
ทักษะด้านการให้บริการ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะการเจรจาต่อรอง ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงานของผู้มีศกั ยภาพ (Career Chart)
เกณฑ์การคัดเลือกผู้ดํารงตําแหน่งเป้าหมาย 1. มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง 2. ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ พิเศษตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารใน Ladder ที่ 3 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี 3. มีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี
เกณฑ์พิจารณาประสบการณ์และผลงาน เพื่อก้าวไปสู่ตําแหน่งงานลําดับต่อไป (Performance Measures)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร นักบริหารงานกระทรวงยุติธรรมระดับสูง ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด หน้า 4-4
ตําแหน่งเป้าหมาย (Critical Position) ชื่อตําแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร (K4) หน่วยงาน สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. ให้คําปรึกษาและเสนอแนะความเห็นเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบงานประยุกต์ ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมพัฒนางานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัย 2. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานด้านระบบงานประยุกต์ ระบบสารสนเทศ เพื่อให้การพัฒนาด้านวิชาการคอมพิวเตอร์สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงและนโยบายของรัฐบาล 3. พัฒนางานวิชาการด้าน ระบบงานประยุกต์ ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง และจัดทําคู่มือ หลักเกณฑ์และวิธีการ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติให้แก่เจ้าหน้าที่ หรือผู้สนใจทั่วไปนําไปประยุกตใช้ให้เกิดประโยชน์ 4. เสนอแนะแนวทางในการกําหนดนโยบายด้าน ระบบงานประยุกต์ ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมพัฒนานโยบายด้านระบบงานประยุกต์ และระบบสารสนเทศ 5. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา เสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรการตรวจสอบ การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่ เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล การกําหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือมาตรฐานด้านความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ เพื่อกําหนดมาตรการ รูปแบบ วิธีการ ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 6. ให้คําปรึกษาแนะนําแก่หน่วยงานราชการ เอกชน เกี่ยวกับการพัฒนาระบบงานประยุกต์ และระบบสารสนเทศ เพื่อให้การพัฒนางานด้านคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 7. ฝึกอบรม หรือถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ให้แก่ข้าราชการ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และประชาชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และเสริมสร้างศักยภาพด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 8. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) 1. ความทันเวลาในการจัดตั้ง และจัดสรรงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประจําปีที่ตอบสนองต่อนโยบายและแผน จํานวนครั้งที่จัดประชุมล่าช้า จํานวนรอบระยะเวลาที่ใช้การจัดประชุม 2. การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ระดับความสําเร็จของกํากับติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม 3. การให้คําปรึกษา และข้อเสนอแนะในการพัฒนา และปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ทันเวลาตามแผนที่วางไว้ จํานวนระบบที่ให้คําปรึกษา และข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบ 4. การดําเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมได้ จํานวนกิจกรรมที่ดําเนินการ ทันเวลาตามแผนที่วางไว้ ความรู้ที่จําเป็น ทักษะที่จําเป็น สมรรถนะที่คาดหวังสําหรับตําแหน่งเป้าหมายนี้ สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน มีความรู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์อย่างสูง ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและโปรแกรม การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับ 4 มีความรู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายเกี่ยวกับ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ระดับ 4 บริการที่ดี มีความรู้เชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ และออกแบบข้อมูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ การสื่อสารอย่างสูง การสั่ งสมความเชี่ยวชาญ ระดับ 4 ในงานอาชีพ ทักษะการคํานวณ มีความรู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศ ทักษะด้านการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล การยึดมั่นในความถูกต้อง ระดับ 4 มีความรู้เชี่ยวชาญด้านระบบฐานข้อมูล ชอบธรรม และจริยธรรม ทักษะการจัดการข้อมูล มีความรู้เชี่ยวชาญด้านสถาปัตยกรรมระบบสารสนเทศ การทํางานเป็นทีม ระดับ 4 ทักษะการวางแผนและการจัดการ มีความรู้เชี่ยวชาญด้านระบบปฏิบัติการ (Operating system) ข. สมรรถนะหลั ก ของกระทรวง ทักษะการเป็นผู้นํา มีความรู้ด้านการจัดทําแผนงานโครงการด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ ยุติธรรม ทักษะการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน มีความรู้ด้านการบริหารจัดการโครงการ จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 4 ทักษะการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล มีความรู้เชี่ยวชาญด้านมาตรฐานการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ความน่าเชื่อถือศรัทธา ระดับ 4 มีความรู้เชี่ยวชาญด้านมาตรฐานการควบคุมคุณภาพงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ ทักษะการปรับปรุงคุณภาพขององค์กรอย่าง ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ ต่อเนื่อง การสื่อสาร คอมพิวเตอร์ ทั ก ษะการบริ ห ารจั ด การภาพรวมระบบ มีความรู้เชี่ยวชาญด้านการบูรณาการสารสนเทศ การคิดวิเคราะห์ ระดับ 4 สารสนเทศ มีค วามรู้เ ชี่ยวชาญด้ านการประเมินและวิเคราะห์ สถานการณ์ เ พื่ อให้ คํ าปรึ ก ษา และ ระดับ 4 การมองภาพองค์รวม ข้อเสนอแนะในงานด้านวิ ทยาการคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานที่สังกัด และส่ วนงานที่ ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 4 ทักษะเพิ่มเติม เกี่ยวข้อง ทักษะด้านการให้บริการ มีความรู้ด้านการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ มีความรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ทักษะการเจรจาต่อรอง มีความรู้ด้าน พรบ. ว่าด้วยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงานของผู้มีศกั ยภาพ (Career Chart)
เกณฑ์การคัดเลือกผู้ดํารงตําแหน่งเป้าหมาย 1. มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง 2. ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ พิเศษตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารใน Ladder ที่ 3 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี 3. มีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี
เกณฑ์พิจารณาประสบการณ์และผลงาน เพื่อก้าวไปสู่ตําแหน่งงานลําดับต่อไป (Performance Measures)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร นักบริหารงานกระทรวงยุติธรรมระดับสูง ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-5
ตําแหน่งเป้าหมาย (Critical Position) ชื่อตําแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (K4) หน่วยงาน สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. ให้คําปรึกษาและเสนอแนะความเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อร่วมพัฒนางานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัย 2. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ส่งเสริมและ สนับสนุนการดําเนินงานด้านระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้การพัฒนาด้านวิชาการคอมพิวเตอร์สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงและนโยบายของรัฐบาล 3. พัฒนางานวิชาการด้านระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และจัดทําคู่มือ หลักเกณฑ์และวิธีการ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติให้แก่เจ้าหน้าที่ หรือผู้สนใจทั่วไปนําไปประยุกตใช้ให้เกิดประโยชน์ 4. เสนอแนะแนวทางในการกําหนดนโยบายด้านระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อร่วมพัฒนานโยบายระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา เสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรการตรวจสอบ การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่ เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล การกําหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือมาตรฐานด้านความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ เพื่อกําหนดมาตรการ รูปแบบ วิธีการ ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 6. ให้คําปรึกษาแนะนําแก่หน่วยงานราชการ เอกชน เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้การพัฒนางานด้านคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 7. ฝึกอบรม หรือถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ให้แก่ข้าราชการ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และประชาชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และเสริมสร้างศักยภาพด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 8. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) 1. ความสอดคล้องของนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และ กระบวนการยุติธรรมกับแผนระดับชาติ 2. ความทันเวลาของการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. การให้คําปรึกษา และข้อเสนอแนะในการพัฒนา และปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ทันเวลาตาม แผนที่วางไว้ 4. การดําเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และส่วนราชการในสังกัดกระทรวง ยุติธรรมได้ทันเวลาตามแผนที่วางไว้
ความรู้ที่จําเป็น สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย
มีความรู้เชี่ยวชาญด้านระบบเครือข่าย มี ค วามรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการทํ า งานเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย มีความรู้เชี่ยวชาญด้านระบบปฏิบัติการ มีความรู้เชี่ยวชาญด้านความมั่น คงปลอดภัย สารสนเทศการโจมตีและภัยคุกคาม มีความรู้เชี่ยวชาญด้านการทํางานของระบบ สนับสนุนห้อง Data Center มี ค วามรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการบริ ห ารจั ด การ ภาพรวมระบบคอมพิ ว เตอร์ แ ม่ ข่ า ยและ เครือข่าย มีความรู้เชี่ยวชาญด้านการควบคุมคุณภาพการ ให้บริการระบบโครงสร้างพื้นฐานด้าน ICT มี ค วามรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการบริ ห ารจั ด การ ภาพรวมระบบคอมพิ ว เตอร์ แ ม่ ข่ า ย และ เครือข่าย มีความรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มีความรู้ด้าน พรบ. ว่าด้วยการกระทําความผิด ทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
จํานวนประเด็นนโยบายที่มีความสอดคล้องกับแผนระดับชาติ
ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดทําแผน จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทําแผน จํานวนระบบที่ให้คําปรึกษา และข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบ และปรับปรุงได้ทันเวลาตามแผนที่วางไว้
จํานวนกิจกรรมที่ดําเนินการ
ทักษะที่จําเป็น สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย ทักษะที่จําเป็น ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและโปรแกรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ทักษะการคํานวณ ทักษะการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการวางแผนและการจัดการ ทักษะการเป็นผู้นํา ทักษะการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ทักษะการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ทักษะการวิเคราะห์ ออกแบบ บริหารจัดการระบบเครือข่าย ทั ก ษะการวิ เ คราะห์ ออกแบบ บริ ห ารจั ด การเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ แม่ข่าย ทักษะการวิเคราะห์ ออกแบบ บริหารจัดการห้อง Data Center ทักษะการบริหารจัดการภาพรวมระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่าย ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ทักษะเพิ่มเติม
สมรรถนะที่คาดหวังสําหรับตําแหน่งเป้าหมายนี้ ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับ 4 บริการที่ดี ระดับ 4 การสั่งสมความเชี่ยวชาญ ระดับ 4 ในงานอาชีพ การยึดมั่นในความถูกต้อง ระดับ 4 ชอบธรรม และจริยธรรม การทํางานเป็นทีม ระดับ 4 ข. สมรรถนะหลั ก ของกระทรวง ยุติธรรม จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 4 ความน่าเชื่อถือศรัทธา ระดับ 4 ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ คอมพิวเตอร์ การคิดวิเคราะห์ ระดับ 4 การมองภาพองค์รวม ระดับ 4 การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 4
ทักษะด้านการให้บริการ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะการเจรจาต่อรอง ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงานของผู้มีศกั ยภาพ (Career Chart)
เกณฑ์การคัดเลือกผู้ดํารงตําแหน่งเป้าหมาย 1. มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง 2. ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ พิเศษตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารใน Ladder ที่ 3 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี 3. มีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี
เกณฑ์พิจารณาประสบการณ์และผลงาน เพื่อก้าวไปสู่ตําแหน่งงานลําดับต่อไป (Performance Measures)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร นักบริหารงานกระทรวงยุติธรรมระดับสูง ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด หน้า 4-6
ตําแหน่งเป้าหมาย (Critical Position) ชื่อตําแหน่ง ผู้อํานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (S2) หน่วยงาน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) บริหารงานในฐานะผู้อํานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการบริหาร ควบคุม กํากับ ตรวจสอบ และให้คําปรึกษาแนะนําเกี่ยวกับ 1. วางแผนหรือร่วมดําเนินการวางแผนในการจัดทําแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกระทรวงยุติธรรม สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และกระบวนการยุติธรรม โดยเชื่อมโยงหรือบูรณาการแผนงาน โครงการในระดับกลยุทธ์ ของส่วนราชการระดับกรม มอบหมายงานแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานติดตาม ประเมินผล เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 2. ประสานการทํางาน และติดตามประเมินผลการดําเนินงานโครงการต่าง ๆ ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศให้หน่วยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมกับบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรอื่น โดยมีบทบาทในการจูงใจ โน้มน้าวเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ ตามที่กําหนด 3. ให้ข้อคิดเห็น และคําแนะนําแก่หน่วยงานระดับสํานักหรือกอง รวมทั้งที่ประชุมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อให้เกิดประโยชน์และความร่วมมือในการดําเนินงานร่วมกัน 4. ให้คําปรึกษาแนะนําแก่หน่วยงานราชการ เอกชน เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบงานประยุกต์ และระบบงานสารสนเทศ เพื่อให้การพัฒนางานด้านคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 5. เป็นศูนย์กลางบริหารจัดการข้อมูล สารสนเทศเพื่อการบริหารกระบวนการยุติธรรมของกระทรวงยุติธรรม 6. สนับสนุน และดูแลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในภาพรวมของกระทรวงยุติธรรม 7. ฝึกอบรม หรือถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ให้แก่ข้าราชการในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และประชาชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และเสริมสร้างศักยภาพด้าน วิชาการคอมพิวเตอร์ 8. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย 9. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) 1. ความสอดคล้องของนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนประเด็นนโยบายที่มีความสอดคล้องกับแผนระดับชาติ และกระบวนการยุติธรรมกับแผนระดับชาติ 2. ความทันเวลาของการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดทําแผน จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทําแผน และแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. ความทันเวลาในการจัดตั้ง และจัดสรรงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประจําปีที่ตอบสนองต่อนโยบายและ จํานวนครั้งที่จัดประชุมล่าช้า แผน จํานวนรอบระยะเวลาที่ใช้การจัดประชุม 4. การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสังกัดกระทรวงยุติธรรมได้ทันตามกรอบ ระดับความสําเร็จของกํากับติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ด้าน ระยะเวลาที่กําหนด เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม 5. การติดตาม และผลักดันการใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ทันเวลาตามแผนที่วางไว้ จํานวนระบบที่ถูกพัฒนาและมีการนําไปใช้งาน 6. การดําเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนกิจกรรมที่ดําเนินการ ได้ทันเวลาตามแผนที่วางไว้ ความรู้ที่จําเป็น ทักษะที่จําเป็น สมรรถนะที่คาดหวังสําหรับตําแหน่งเป้าหมายนี้ สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน มีความรู้ด้านการจัดทํานโยบาย และยุทธศาสตร์ ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและโปรแกรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับ 4 มีความรู้ในด้านการกําหนดกลยุทธ์ บริการที่ดี ระดับ 4 มีความรู้ด้านการจัดทําแผนงานโครงการด้านเทคโนโลยี ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ และสารสนเทศ การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน ทักษะการคํานวณ ระดับ 4 อาชี พ มีความรู้ด้านการบริหารจัดการโครงการ ทักษะการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล การยึ ด มั่น ในความถู ก ต้ อ งชอบ ระดับ 4 มี ค วามรู้ ด้ า นมาตรฐานการพั ฒ นาระบบเทคโนโลยี ทักษะการจัดการข้อมูล ธรรม และจริ ย ธรรม สารสนเทศและการสื่อสาร ทักษะการวางแผนและการจัดการ การทํางานเป็นทีม ระดับ 4 มีค วามรู้ ด้ า นมาตรฐานการควบคุ มคุ ณ ภาพงานด้ า น ทักษะการเป็นผู้นํา ข. สมรรถนะหลักของกระทรวงยุติธรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทักษะการแปลงนโยบาย/แผน ไปสู่การปฏิบัติ จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 4 มีความรู้ในการบริหารจัดการทรัพยากร งบประมาณ ทักษะการติ ดตาม ประเมินผล เพื่อให้การดํ าเนินงานบรรลุ ตาม และการจัดอัตรากําลัง ความน่าเชื่อถือศรัทธา ระดับ 4 เป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด มีความรู้ในการติดตาม และตรวจสอบการใช้ทรัพยากร ทักษะการชี้แจงข้อเท็จจริง พิจารณาให้ความเห็น ข้อเสนอแนะในที่ ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ คอมพิวเตอร์ และงบประมาณ ประชุมคณะกรรมการและคณะทํางานต่าง ๆ การคิดวิเคราะห์ ระดับ 4 มีความรู้ในการติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงาน ทักษะการมอบหมายงาน และการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ตามตัวชี้วัด หรือเป้าหมายที่วางไว้ การมองภาพองค์รวม ระดับ 4 ทักษะในการบริหารจัดการทรัพยากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความรู้ด้านการบูรณาการสารสนเทศ การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 4 และการสื่อสาร และทรัพยากรบุคลากร มี ค วามรู้ ด้ า นการบริ ห ารจั ด การภาพรวมระบบ ทักษะการบริหารจัดการภาพรวมระบบสารสนเทศ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย และเครือข่าย ทักษะการบริหารจัดการภาพรวมระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่าย มีความรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ 2540 ทักษะเพิ่มเติม มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ว่ า ด้ ว ยการกระทํ า ความผิ ด ทาง ทักษะด้านการให้บริการ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะการเจรจาต่อรอง ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงานของผู้มีศกั ยภาพ (Career Chart) เกณฑ์การคัดเลือกผู้ดํารงตําแหน่ง เป้าหมาย 1. มี คุ ณ สมบั ติ ต ามมาตรฐานกํ า หนด ตําแหน่ง 2. ดํ า รงตํ า แหน่ ง ประเภทวิ ช าการ คอมพิ ว เตอร์ ระดั บ ชํ า นาญการ พิ เ ศษตํ า แหน่ ง ใดตํ า แหน่ ง หนึ่ ง ใน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารใน Ladder ที่ 3 รวมแล้วไม่ น้อยกว่า 4 ปี 3. มี ป ระสบการณ์ ง านที่ เ กี่ ย วข้ อ งไม่ น้อยกว่า 1 ปี
เกณฑ์พิจารณาประสบการณ์และผลงาน เพื่อก้าวไปสู่ตําแหน่งงานลําดับต่อไป (Performance Measures) คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการ ประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงาน ฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายในที่ประชุม ระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร นักบริหารงานกระทรวงยุติธรรมระดับสูง ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อย่างน้อย 1 ด้าน เช่น ด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านพัฒนาระบบ สารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร และด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทาง วินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด หน้า 4-7
ตําแหน่งเป้าหมาย (Critical Position) ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ (K1) หน่วยงาน ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. วางแผนการทํางานที่รับผิดชอบ ร่วมดําเนินการจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้าน ICT หรือโครงการ ของกระทรวงยุติธรรมและสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่ กําหนด 2. ประสานงานทํางานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 3. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้าง ความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดําเนินงานที่ได้รับมอบหมาย 4. ช่วยรวบรวมข้อมูล และเสริมสร้างขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัด กระทรวงยุติธรรม 5. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ และพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมด้าน ICT 6. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เกี่ยวกับการกําหนดมาตรฐานด้าน ICT ของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัด กระทรวงยุติธรรม 7. ช่วยเผยแพร่ ให้บริการทางวิชาการและคําแนะนําปรึกษาทั่วไปทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แก่ผู้ใช้และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 8. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) 1. ความทันเวลาในการจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของกระทรวงยุติธรรมและสํานักงานปลัดกระทรวง ระยะเวลาที่ใช้ในการทําแผน ยุติธรรม จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทําแผน 2. ความทันเวลาของการเร่งรัด ติดตาม และการจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน จํานวนครั้งที่จัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานที่ล่าช้ากว่าระยะเวลาที่กําหนด จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน 3. การดําเนินการช่วยพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม จํานวนหลักสูตรการฝึกอบรม 4. จัดทําเอกสารเพื่อให้บริการทางวิชาการด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และเผยแพร่แก่ผู้ใช้งาน และ จํานวนเอกสารวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนการเผยแพร่งานทางวิชาการ ความรู้ที่จําเป็น ทักษะที่จําเป็น สมรรถนะที่คาดหวังสําหรับตําแหน่งเป้าหมายนี้ สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน มีความรู้ด้านกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับ 1 ความรู้ ด้านการจัดทํายุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและโปรแกรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ด้าน ICT ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ บริการที่ดี ระดับ 1 ความรู้ด้านการวิเคราะห์ความเสี่ยง ทักษะด้านการจัดการข้อมูล การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน ระดับ 1 อาชีพ ความรู้ด้านการติดตาม ประเมินผล ทักษะการแปลงนโยบาย/แผน ไปสู่การปฏิบัติ การยึ ด มั่น ในความถู ก ต้ อ งชอบ ระดับ 1 ความรู้ด้านการบริหารจัดการโครงการ ทักษะการเขียนรายงานและสรุปรายงาน ธรรม และจริยธรรม ความรู้ด้านการจัดทําเอกสารข้อกําหนดทางเทคนิค ทักษะด้านการคิด วิเคราะห์ และการตัดสินใจ ระดับ 1 การทํางานเป็นทีม ความรู้ด้านการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ทักษะในการให้คําแนะนํา และการวางแผน ข. สมรรถนะหลักของกระทรวงยุติธรรม ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ ทักษะในการฟัง และการสื่อสารเพื่อโน้มน้าวใจ จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 1 ความรู้ในการติดต่อสื่อสาร ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ระดับ 1 ความน่าเชื่อถือศรัทธา ทักษะเพิ่มเติม การประยุกต์ใช้เครื่องมือในงานประชาสัมพันธ์ ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ มีค วามรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่ าวสารของราชการ พ.ศ. ทักษะด้านการให้บริการ คอมพิวเตอร์ 2540 ทักษะในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ การคิดวิเคราะห์ ระดับ 1 มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ว่ า ด้ ว ยการกระทํ า ความผิ ด ทาง ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ การมองภาพองค์รวม ระดับ 1 คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 1 ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงานของผู้มีศกั ยภาพ (Career Chart) เกณฑ์พิจารณาประสบการณ์และผลงาน เพื่อก้าวไปสู่ตําแหน่งงานลําดับต่อไป (Performance Measures)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีมากขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่ า นประสบการณ์ ส นั บ สนุ น การนํา เสนอข้ อ มูล ด้ า นยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนเทคโนโลยี ส ารสนเทศในที่ ประชุ ม ระดับหน่วยงานภายในสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ผ่ า นประสบการณ์ ด้ า นการศึ ก ษา วิ เ คราะห์ งานด้ านยุ ท ธศาสตร์ แ ละแผนเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-8
ตําแหน่งเป้าหมาย (Critical Position) ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ (K2) หน่วยงาน ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. วางแผน หรือร่วมดําเนินการวางแผนงานในการจัดทําแผนแม่บท และแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 2. กํากับดูแลการเผยแพร่ ให้บริการทางวิชาการและคําแนะนําปรึกษาทั่วไปทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แก่ผู้ใช้และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 3. ศึกษา วิเคราะห์ และดําเนินการจัดทํา แผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของกระทรวงยุติธรรมช่วยเสนอแนะการจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 4. ศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการกําหนดมาตรฐาน ด้าน ICT ของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 5. ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาหลักสูตร และจัดทําแผนการฝึกอบรมด้าน ICT 6. เสริมสร้างขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 7. ให้ข้อคิดเห็นหรือคําแนะนําเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการ ดําเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย 8. ประสานการทํางานร่วมกันโดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคําแนะนําเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 9. ช่วยจัดทํานโยบายและ ยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 10. ช่วยบริหารจัดการ ติดตาม ประเมินผลและประสานแผนปฏิบัติงานด้าน ICT ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ตลอดจนเสนอแนะและกําหนดนโยบายในการขอตั้งและจัดสรรงบประมาณ 11. ช่วยทําหน้าที่เลขานุการของผู้อํานวยการศูนย์ฯ ในด้านแผนนโยบายและยุทธศาสตร์ด้าน ICT พร้อมสนับสนุนการปฏิบัติงานของ CIO ประจํากระทรวง ยุติธรรม 12. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) 1. ความทันเวลาในการจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของ กระทรวงยุติธรรมและสํานักงาน ระยะเวลาที่ใช้ในการทําแผน ปลัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทําแผน 2. ความทันเวลาของการเร่งรัด ติดตาม และการจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน จํานวนครั้งที่จัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทํารายงานการปฏบัติงาน 3. ความทันเวลาในการจัดทํารายงานประเมินผลแผนงาน/โครงการ จํานวนครั้งที่ล่าช้าในการจัดทํารายงานประเมินผลแผนงาน/โครงการ จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทํารายงานประเมินผลแผนงาน/โครงการ 4. จัดทําเอกสารเพื่อให้บริการทางวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และเผยแพร่แก่ผู้ใช้งาน จํานวนเอกสารวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนการเผยแพร่งานทางวิชาการ 5. การดําเนินการพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม จํานวนหลักสูตรการฝึกอบรม 6. ความสําเร็จของการช่วยพัฒนาระบบ รูปแบบ หลักเกณฑ์ วิธีติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ระดับความสําเร็จของการช่วยพัฒนาระบบ รูปแบบ หลักเกณฑ์ วิธีติดตาม และประเมินผล 7.
การปรับปรุงและประเมินตัวชี้วัดความสําเร็จของแผนงาน/โครงการ จํานวนการปรับปรุงและประเมินตัวชี้วัดความสําเร็จของแผนงาน/โครงการ ความรู้ที่จําเป็น ทักษะที่จําเป็น สมรรถนะที่คาดหวังสําหรับตําแหน่งเป้าหมายนี้ สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ความรู้ด้านการจัดทํานโยบาย และยุทธศาสตร์ ทักษะที่จําเป็น ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและโปรแกรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ด้าน ICT ระดับ 2 ความรู้ด้านการวางแผนกลยุทธ์ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ บริการที่ดี ระดับ 2 ความรู้ ด้ า นการจั ด ทํ า ยุ ท ธศาสตร์ แผนงาน ทักษะด้านการจัดการข้อมูล การสั่งสมความเชี่ยวชาญใน ระดับ 2 โครงการด้าน ICT งานอาชีพ ทักษะด้านการคิด วิเคราะห์ และการตัดสินใจ ความรู้ ด้ า นการวางแผนพั ฒ นาบุ ค ลากรด้ า น ทั ก ษะด้ า นการใช้ ง านเครื่ อ งมื อ การบริ ห ารจั ด การโครงการ/การติ ด ตามและประเมิ น การยึ ด มั่ น ในความถู ก ต้ อ ง ระดับ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชอบธรรม และจริยธรรม โครงการ ความรู้ด้านการวิเคราะห์และจัดการความเสี่ยง ทักษะด้านการจัดประชุม สัมมนาทางวิชาการด้านการวิเคราะห์นโยบายและแผนงาน การทํางานเป็นทีม ระดับ 2 ข. สมรรถนะหลั ก ของกระทรวง ความรู้ด้านการติดตาม ประเมินผล ทักษะในการวางแผน และการแก้ไขปัญหา ยุติธรรม ความรู้ด้านการบริหารจัดการโครงการ ทักษะการแปลงนโยบาย/แผน ไปสู่การปฏิบัติ จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 2 ความรู้ ด้ า นการจั ด ทํ า เอกสารข้ อ กํ า หนดทาง ทักษะในการให้คําแนะนํา ความน่าเชื่อถือศรัทธา ระดับ 2 เทคนิค ทักษะในการแก้ไขปัญหา ค. ส ม ร ร ถ น ะ ส า ย ง า น วิ ช า ก า ร ความรู้ ด้ า นมาตรฐานการจั ด การเทคโนโลยี ทักษะในการฟัง และการสื่อสารเพื่อโน้มน้าวใจ คอมพิวเตอร์ สารสนเทศ ทักษะการเขียนรายงานและสรุปรายงาน การคิดวิเคราะห์ ระดับ 2 ความรู้ในการดําเนินงานประชาสัมพันธ์ ทักษะในการประยุกต์ใช้เครื่องมือในงานประชาสัมพันธ์ การมองภาพองค์รวม ระดับ 2 มีความรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 2 พ.ศ. 2540 ทักษะเพิ่มเติม มีความรู้ด้าน พรบ. ว่าด้วยการกระทําความผิด ทักษะด้านการให้บริการ ทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทักษะในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์
ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงานของผู้มีศกั ยภาพ (Career Chart) เกณฑ์การคัดเลือกผู้ดํารงตําแหน่งเป้าหมาย 1. กรณีจบปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์ โดยดํารงตําแหน่ง ประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างน้อย 1 ตําแหน่งใน Ladder ที่ 1 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 6 ปี โดยมีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี 2. กรณีจบปริญญาโท หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์ โดยดํารงตําแหน่ง ประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างน้อย 1 ตําแหน่งใน Ladder ที่ 1 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี โดยมีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี 3. กรณีจบปริญญาเอก หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์ โดยดํารงตําแหน่ง ประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างน้อย 1 ตําแหน่งใน Ladder ที่ 1 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยมีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี เกณฑ์พิจารณาประสบการณ์และผลงาน เพื่อก้าวไปสู่ตําแหน่งงานลําดับต่อไป (Performance Measures)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีมากขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรม ผ่านการอบรมหลักสูตร ผู้บริหารงานยุติธรรมระดับต้น ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ งานด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย
ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด หน้า 4-9
ตําแหน่งเป้าหหมาย (Criticcal Positioon) ชื่อตําแหน่ง นักกวิชาการคอมมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ (K33) หนน่วยงาน ส่วนยุ ว ทธศาสตตร์และแผนเททคโนโลยีสารรสนเทศ หหน้าที่รับผิดชชอบหลัก (Keey Responnsibilities) 1. วางแผน หหรือร่วมดําเนินินการวางแผนนงานในการจัจัดทําแผนแม่บบทและแผนปปฏิบัติการด้าน ICT ของหนน่วยงานกระททรวงยุติธรรมม และสํานักงานปลัดกระททรวงยุติธรรม มอบหมายงาน แก้ปัญหาาในการปฏิบัติติงานและติดตามประเมินผล ธ 3. กํากับดูแลเสริมสร้ ส างขีดความมสามารถด้านเทคโนโลยี น สารสนเทศและ า ะการสื่อสารขของ เพืพื่อให้เป็นไปตตามเป้าหมายยและผลสัมฤททธิ์ที่กําหนด 22. กํากับดูแลลเสนอแนะการรจัดทําแผนแแม่บทและแผนนปฏิบัติการด้ด้าน ICT ของกระทรวงยุติธรรม บุคลากรในสังกกัดสํานักงานปปลัดกระทรวงยุติธรรม แลละหน่วยงานใในสังกัดกระททรวงยุติธรรม 4. กํากับดูแลลการศึกษา วิเคราะห์ และะพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบบรมด้าน ICT 5. กํากับดูแลการศึ ล กษา วิเคราะห์ เ เกี่ยวกกับการกําหนนดมาตรฐานด้้าน ICCT ของสํานักกงานปลัดกระะทรวงยุติธรรมม และหน่วยงงานในสังกัดกกระทรวงยุติธธรรม 6. กํากับบดูแลการเผยยแพร่ ให้บริกาารทางวิชาการและคําแนะนําปรึกษาทั่วไปทางด้ ว านเททคโนโลยีสารรสนเทศและกการสื่อสาร แก่ แ ผู้ใช้และหนน่วยงานในสังกัด กระทรวงยุติธรรรม 7. จัดทําานโยบายและะยุทธศาสตร์ดด้านเทคโนโลลยีสารสนเทศศและการสื่อสสารของกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรรวงยุติธรรม 8. บริหารจัดการ ติดตาม ประเมินผลแและประสานแแผนปฏิบัติงานด้ า าน ICT ของ ข หหน่วยงานในสัสังกัดกระทรวงยุติธรรม ตลลอดจนเสนอแแนะและกําหหนดนโยบายในนการขอตั้งและจัดสรรงบประมาณ 9. ประสานการรทํางานโครงกการต่าง ๆ กับบุ บ คคล หน่วยงาน หรือองงค์กรอื่น โดยยมีบทบาทในกการจูงใจ โน้มน้ ม าวเพื่อให้เกิด คความร่วมมือแและผลสัมฤทธิธิ์ตามที่กําหนด 10. ให้ข้อคิดเห็น และคํคําแนะนําแก่หหน่วยงานระดัดับสํานักหรือกอง รวมทั้งที่ประชุมทั้งในนและต่างประะเทศ เพื่อให้เกิกดประโยชน์และความร่วมมื ม อในการดําเนิ า นงานร่วมกั ม น 11. ทําหน้ ห าที่เลขานุการ ก ิธ 12. อื่น ๆ ที่ได้รับมออบหมาย ของผู้อํานวยการศูนย์ฯ ในด้ด้านแผนนโยบบายและยุทธศศาสตร์ด้าน ICCT พร้อมสนัับสนุนการปฏิฏิบัติงานของ CIO ประจํากกระทรวงยุตธรรม ผผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัตวชี้วัดผลกาารปฏิบัติงานนหลัก (Key Performannce Indicattors: KPIs) 1. ความทันเววลาในการจัดดทําแผนแม่บบทและแผนปปฏิบัติการด้าน ICT ของกกระทรวงยุติธธรรมและสํานักงาน ระยะเวลาที่ใช้ในการทํําแผน ปลัดกระททรวงยุติธรรม จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทําแผน 2. การดําเนินนการพัฒนาหหลักสูตรการฝึฝึกอบรม จํานวนหลัักสูตรการฝึกอบรม ก 3. จัดทําเอกสสารเพื่อให้บริการทางวิชาาการด้านเทคคโนโลยีสารสสนเทศและกาารสื่อสาร และเผยแพร่แกก่ผู้ใช้งาน และะ จํานวนเอกกสารวิชาการรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อ หน่วยงานนในสังกัดกระะทรวงยุติธรรรม จํานวนการรเผยแพร่งานนทางวิชาการร 44. ความทันเววลาของการเเร่งรัด ติดตามม และการจัดดทํารายงานผผลการปฏิบตัติิงาน จํานวนครั้งที ง ่จัดทํารายงานผลการปปฏิบัติงานล่าช้ชากว่าระยะเเวลาที่กําหนดด จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทํารายงาานผลการปฏฏบัติงาน 5. ความทันเววลาในการจัดดทํารายงานปประเมินผลแผผนงาน/โครงงการ จํานวนครั้งที ง ่ล่าช้าในกาารจัดทํารายงงานประเมินผลแผนงาน/โ ผ โครงการ จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทํารายงาานประเมินผลแผนงาน/โคครงการ 6. ความสําเร็ร็จของการพัฒ ฒนาระบบ รูปแบบ หลักเเกณฑ์ วิธีติดตามและประะเมินผลการปปฏิบัติงาน ระดับความมสําเร็จของกการพัฒนาระบบ รูปแบบ หลักเกณฑ์ วิธีติดตาม แลละประเมินผล 7. การปรับปปรุงและประเมมินตัวชี้วัดคววามสําเร็จขอองแผนงาน/โคครงการ จํานวนการรปรับปรุงแลละประเมินตัวชี ว ้วัดความสําเร็ า จของแผนนงาน/โครงกาาร ความรู้ที่จําาเป็น ทักษะที่จําาเป็น สมรรถนะทีที่คาดหวังสําหรั า บตําแหนน่งเป้าหมายนีนี้ สําหหรับตําแหน่งงเป้าหมาย สําหหรับตําแหน่งงเป้าหมาย ชื่อสมรรรถนะ ระดับสมรรถถนะที่คาดหวัวัง ททักษะที่จําเป็ปน ก สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ก. ความรู้ดด้้านการจัดทําานโยบาย แลละยุทธศาสตรร์ ทักษะการใช้โปรแกรมมสํานักงานและโปรแกรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ ว อง กาารมุ่งผลสัมฤททธิ์ ระะดับ 3 ความรู้ดด้้านแนวคิด แและกระบวนกการวางแผนกกลยุทธ์ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ บริริการที่ดี ระะดับ 3 ความรู้ดด้้านการจัดทําายุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการด้าน ICT กาารสั่ ง สมควาามเชี่ ย วชาญ ญในงาน ระะดับ 3 ความรู้ดด้้านการวางแแผนพัฒนาบุคคลากรด้านเททคโนโลยีสารรสนเทศ ทักษะการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้ออมูล อาาชีพ และการรสื่อสาร ทักษะด้านการจัดการรข้อมูล กาารยึดมั่นในคววามถูกต้องชชอบธรรม ระะดับ 3 ความรู้ดด้้านการวิเคราาะห์และจัดกการความเสี่ยง ทักษะด้านการคิด วิเคคราะห์ และกการตัดสินใจ แลละจริยธรรม ความรู้ดด้้านการติดตาาม ประเมินผผล ทักษะในการตรวจรับงานบริษัทผู้พพัฒนา กาารทํางานเป็นที น ม ระะดับ 3 ความรู้ดด้้านการบริหาารจัดการโครงการ ทักษะด้ าานการใช้งานนเครื่องมือกการบริหารจััดการโครงกการ/การ ข. สมรรถนนะหลักของกระทรวงยุติธรรม ธ ติดตามและประเมินโคครงการ ความรู้ดด้้านการจัดทําาเอกสารข้อกําหนดทางเททคนิค จิตสํ ต านึกในควาามยุติธรรม ระะดับ 3 ทักษะด้าานการจัดปรระชุม สัมมนนาทางวิชากาารด้านการวิเคราะห์ ความรู้ดด้้านมาตรฐานนการพัฒนาระบบ ICT คววามน่าเชื่อถือศรั อ ทธา ระะดับ 3 นโยบายแและแผนงาน ความรู้ดด้้านมาตรฐานนการควบคุมคคุณภาพงานดด้าน ICT ค. สมรรถนนะสายงานวิชาการคอมพิ ช วเตอร์ ทักษะในการวางแผน และความเป็ป็นผู้นํา ความรู้ในนการดําเนินงงานประชาสัมั พันธ์ การคิ ก ดวิเคราะะห์ ระะดับ 3 ทักษะในการแก้ไขปัญ ญหา ความรู้ดด้้านการประชชาสัมพันธ์ การมองภาพอ ก องค์รวม ระะดับ 3 ทักษะการแปลงนโยบบาย/แผน ไปสู่การปฏิบัติ การประยุกต์ใช้เครื่องงมือในงานปรระชาสัมพันธ์ การดํ ก าเนินกาารเชิงรุก ระะดับ 3 ทักษะการเขียนรายงาานและสรุปรายงาน มีความรูรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่าวสารรของราชการร พ.ศ. 25400 มีความรูรู้ด้าน พรบ. ว่าด้วยการกกระทําความผิดทางคอมพพิวเตอร์ ทักษะในการให้คําแนะนํา และการรแก้ไขปัญหาา ทักษะในการฟัง และกการสื่อสารเพืพื่อโน้มน้าวใจจ พ.ศ. 2550 ทักษะด้านการค้นคว้าาข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ทักษะเพิ่มเติม ทักษะด้ด้านการให้บริการ ทักษะในนการปรับตัววให้เข้ากับสถถานการณ์ ทักษะด้ด้านการสื่อสาาร มีมนุษยสัมมพันธ์ ผังแสดงเส้นททางสั่งสมประสบการณ์แและผลงานขอองผู้มีศกั ยภาาพ (Careerr Chart) เกณฑ์การคัดเลือกผู้ดดํารงตําแหน่นงเป้าหมาย 1. คุณสสมบัติตามมาตตรฐานกําหนนดตําแหน่ง 2. ดํ า รงงตํ า แหน่ ง ป ระเภทวิ ช ากการคอมพิ ว เตอร์ ระดั บบชํานาญกา รตํา แหน่ ง ใดดตําแหน่ง หนึ่ง ใน ศูน ย์์ เ ทคโนโลยีสสารสนเทศแและการสื่อสารใน ส Laddder ที่ 2 รวมมแล้วไม่น้อยกกว่า 4 ปี 3. มีประะสบการณ์งาานที่เกี่ยวข้องงไม่น้อยกว่า 1 ปี
เกณฑ์พิจารณาประสบ า บการณ์และผผลงาน เพื่อก้าวไปสู่ตําแหหน่งงานลําดับต่อไป (Performaance Measuures)
คะแนนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู ง ่ในระดดับตั้งแต่ดีขึ้นไป น ติดต่อกันอย่ น างน้อย 2 รอบกการประเมิน ภายในระยะะเวลา 3 ปีย้อนหลั อ ง ผ่านกการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสาายงานคอมพิพิวเตอร์ และไได้รับใบรับรออง จากหหน่วยงานฝึกอบรม อ (Certificate) ผ่านปประสบการณ์ ณ์นําเสนอข้อมูลด้านยุทธศศาสตร์และแผผนเทคโนโลยียีสารสนเทศใใน ที่ประะชุมระดับหนน่วยงานในสังกั ง ดกระทรวงงยุติธรรม ผ่านกการอบรมหลัักสูตร นักบริริหารงานกระะทรวงยุติธรรรมระดับกลางง ของกระทรรวง ยุติธรรม ร ผ่านปประสบการณ์ ณ์ด้านการศึกษา ษ วิเคราะห์ห์ วิจัย งานด้านยุ า ทธศาสตร์และแผน เทคโนนโลยีสารสนเทศ ตลอดดระยะเวลาทีที่ครองตําแหนน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษททางวินัยหรืออยู อ ่ระหว่างถูก ดําเนินนการทางวินันยั ผ่านกการประเมินสมรรถนะตาม ส มเกณฑ์ที่กําหนด ห
หน้า 4-110
ตําแหน่งเป้าหมาย (Critical Position) ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ (K1) หน่วยงาน ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคําสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคําสั่งสําเร็จรูป เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน 2. ประมวลผล และ ปรับปรุงแก้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้องแม่นยําและทันสมัย 3. ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการและสภาพการใช้งานของหน่วยงาน 4. เขียนชุดคําสั่งตาม ข้อกําหนดของระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. รวบรวมข้อมูลประกอบการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของระบบ สารสนเทศ และระบบฐานข้อมูล เพื่อให้ได้มาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน 6. ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากลเพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ 7. ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ไม่ซับซ้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของหน่วยงาน 8. ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูล เพื่อให้ได้ ระบบงานประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงาน 9. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เทคนิค กระบวนการ พัฒนาและดูแลรักษาระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ที่มีอยู่ของกระทรวง (Knowledge Management: KM) ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ กระบวนการ พัฒนาและดูแลรักษาระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) 10. ช่วยบริหารจัดการศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงยุติธรรม (MOC) และศูนย์ ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) 11. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ พัฒนา และดูแลรักษาระบบบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (MIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) และระบบสารสนเทศสําหรับผู้บริหาร (EIS) 12. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ จัดทํา และดูแลรักษาคลังข้อมูล (Data Warehouse) และเหมืองข้อมูล (Data Mining) ของกระทรวงยุติธรรม เพื่อนําข้อมูลไปใช้ในการปฏิบัติงาน หรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารสูงสุด ในการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวง 13. ช่วยจัดทํา และดูแลรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อการบริหารจัดการ 14. ช่วยจัดทําคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ระบบสารสนเทศได้ด้วยตนเอง อย่างมีประสิทธิภาพ 15. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดําเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย 16. ประสานงานทํางานร่วมกันทั้ง ภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 17. ดําเนินการฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจใน ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 18. ให้คําปรึกษาแนะนําแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานระบบสารสนเทศ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขและใช้งานระบบสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 19. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) 1. การออกแบบ การพัฒนา และปรับปรุงด้านระบบสารสนเทศ จํานวนระบบที่มีการพัฒนาหรือปรับปรุง 2. ความต่อเนื่องของการให้บริการทางด้านระบบสารสนเทศ ระยะเวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทํางานได้ (Downtime) 3. ความทันสมัยของข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการเผยแพร่ จํานวนครั้งของการอัพเดทข้อมูลสารสนเทศ จํานวนเรื่องข้อมูลสารสนเทศที่ทําการอัพเดท 4. การดําเนินการพัฒนาทักษะการใช้งานด้านระบบสารสนเทศสําหรับผู้ใช้งาน จํานวนการดําเนินกิจกรรม ความรู้ที่จําเป็น ทักษะที่จําเป็น สมรรถนะที่คาดหวังสําหรับตําแหน่งเป้าหมายนี้ สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ความรู้ด้านระบบคอมพิวเตอร์พื้นฐาน การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ระดับ 1 ความรู้ด้านกฎหมายเกี่ยวกับ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ บริการที่ดี ระดับ 1 ความรู้ ด้ า นการวิ เ คราะห์ และออกแบบข้ อ มู ล ด้ า น ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทักษะด้านการวิเคราะห์ข้อมูล การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน ระดับ 1 อาชีพ ความรู้ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศ ทักษะด้านพัฒนาระบบโปรแกรมระบบงานสารสนเทศ การยึ ด มั่น ในความถู ก ต้ อ งชอบ ระดับ 1 ความรู้ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับอุปกรณ์ ทักษะด้านระบบสารสนเทศบนเว็บ ธรรม และจริยธรรม ไร้สาย (Web - based Application) การทํางานเป็นทีม ระดับ 1 ความรู้ด้านระบบฐานข้อมูล ทักษะด้านการจัดการฐานข้อมูล ข. สมรรถนะหลักของกระทรวงยุติธรรม ความรู้ด้านสถาปัตยกรรมระบบสารสนเทศ ทักษะด้านการทดสอบการใช้งานระบบสารสนเทศ จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 1 ความรู้ด้านระบบปฏิบัติการ (Operating System) ทักษะเพิ่มเติม ความน่าเชื่อถือศรัทธา ระดับ 1 มีความรู้ด้าน พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ทักษะด้านการให้บริการ ค. สมรรถนะสายงานวิชาการ 2540 ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ คอมพิวเตอร์ มีความรู้ด้าน พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทําความผิดทาง ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลเทคโนโลยีใหม่ ๆ การคิดวิเคราะห์ ระดับ 1 คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 การมองภาพองค์รวม ระดับ 1 การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 1 ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงานของผู้มีศกั ยภาพ (Career Chart) เกณฑ์พิจารณาประสบการณ์และผลงาน เพื่อก้าวไปสู่ตําแหน่งงานลําดับต่อไป (Performance Measures)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีมากขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์สนับสนุนการนําเสนอข้อมูลด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ในที่ประชุมระดับหน่วยงานภายในสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ งานด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-11
ตําแหน่งเป้าหมาย (Critical Position) ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ (K2) หน่วยงาน ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. วางแผนบริหารจัดการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา และดูแลรักษาระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง 2. วางแผนบริหารจัดการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา และดูแลรักษา เว็บไซต์ของกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 3. วางแผนบริหารจัดการศึกษา วิเคราะห์เทคนิค กระบวนการ พัฒนา และดูแลรักษาระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ที่มีอยู่ของกระทรวงยุติธรรม (Knowledge Management: KM) 4. วางแผนบริหารจัดการศึกษา วิเคราะห์ กระบวนการ พัฒนา และดูแลรักษาระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) 5. บริหารจัดการศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงยุติธรรม (MOC) และศูนย์ ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) 6. ศึกษาวิเคราะห์ กําหนดคุณลักษณะเฉพาะของระบบสารสนเทศ เพื่อให้ได้มาตรฐานเดียวกันทั้งหน่วยงาน และตรงตามความต้องการ ลักษณะการใช้งานของหน่วยงาน 7. ศึกษาวิเคราะห์ และกําหนด ความต้องการของหน่วยงาน เพื่อออกแบบระบบงาน ระบบการประมวลผล และระบบฐานข้อมูล เพื่อสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ในหน่วยงาน 8. ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนา และดูแลรักษาระบบบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (MIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) และระบบสารสนเทศสําหรับผู้บริหาร (EIS) 9. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทํา และดูแลรักษาคลังข้อมูล (Data Warehouse) และเหมืองข้อมูล (Data Mining) ของกระทรวงยุติธรรม เพื่อนําข้อมูลไปใช้ในการ ปฏิบัติงาน หรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารสูงสุด ในการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวง 10. กําหนดแนวทางการทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบสารสนเทศ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความ ต้องการใช้ของหน่วยงาน 11. กําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ระบบสารสนเทศ เพื่อให้ได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งหน่วยงาน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน 12 เขียนชุดคําสั่งตามข้อกําหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบสารสนเทศ ข้อมูลที่ยากและซับซ้อนที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ 13. จัดทํา และดูแลรักษาระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อการบริหารจัดการ 14. จัดทําสื่อในการให้บริการเผยแพร่ข้อมูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่หน่วยงานต่าง ๆ และประชาชนผู้สนใจ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 15. รวบรวมข้ อ มู ล ประกอบการเสนอแนะนโยบายและแผนการพัฒนาระบบระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนานโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัย 16. ตรวจสอบ สืบค้น การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่ เหมาะสม ขัดต่อ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ 17. ช่วยบริหารจัดการการบูรณาการข้อมูลสารสนเทศของกระทรวงยุติธรรมและหน่วยงานภายนอก 18. ให้คําปรึกษา แนะนํา เพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา 19. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ และกําหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและ หน่วยงานนอกสังกัดที่เกี่ยวข้อง 20. ฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ แก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 21. ให้ข้อคิดเห็นหรือคําแนะนํา เบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการดําเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย 22. ประสานการทํางานร่วมกันโดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคําแนะนําเบื้องต้นแก่ สมาชิกในทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 23. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) 1. การออกแบบ การพัฒนา และปรับปรุงระบบสารสนเทศ จํานวนระบบสารสนเทศที่มีการพัฒนาหรือปรับปรุง 2. ความต่อเนื่องของการให้บริการทางด้านระบบสารสนเทศ ระยะเวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทํางานได้ (Downtime) 3. ความทันสมัยของข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการเผยแพร่ จํานวนครั้งของการอัพเดทข้อมูลสารสนเทศ จํานวนเรื่องข้อมูลสารสนเทศที่ทําการอัพเดท 4. การดําเนินการพัฒนาทักษะการใช้งานด้านระบบสารสนเทศสําหรับผู้ใช้งาน จํานวนการดําเนินกิจกรรม ความรู้ที่จําเป็น ทักษะที่จําเป็น สมรรถนะที่คาดหวังสําหรับตําแหน่งเป้าหมายนี้ สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ระดับ 2 ความรู้ด้านกฎหมายเกี่ยวกับ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ บริการที่ดี ระดับ 2 ความรู้ ด้ า นการวิ เ คราะห์ และออกแบบข้ อ มู ล ด้ า นเทคโนโลยี ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ทักษะด้านการวิเคราะห์ข้อมูล การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน ระดับ 2 สารสนเทศและการสื่อสารระดับสูง อาชีพ ทักษะด้านพัฒนาระบบ ความรู้ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศ การยึ ด มั่น ในความถู ก ต้ อ งชอบ ระดับ 2 ความรู้ด้านระบบฐานข้อมูล ทักษะด้านการจัดการฐานข้อมูล ธรรม และจริยธรรม ความรู้ด้านสถาปัตยกรรมระบบสารสนเทศ ทักษะด้านการทดสอบการใช้งานระบบสารสนเทศ การทํางานเป็นทีม ระดับ 2 ทักษะด้านการประเมินผลการใช้งานระบบสารสนเทศ ความรู้ด้านระบบปฏิบัติการ (Operating system) ข. สมรรถนะหลักของกระทรวงยุติธรรม ความรู้ด้านคลังข้อมูล (Data Warehouse) และเหมืองข้อมูล ทักษะด้านบํารุง ดูแล รักษาระบบสารสนเทศ จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 2 (Data Mining) ทักษะด้านคลังข้อมูล (Data Warehouse) และเหมืองข้อมูล ความน่าเชื่อถือศรัทธา ระดับ 2 (Data Mining) ความรู้ ด้ า นวิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และแผนงานด้ า นต่ า ง ๆ ของ ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ หน่วยงานที่สังกัด ทักษะด้านการอบรม คอมพิวเตอร์ ความรู้ ด้ า นให้ คํ า ปรึ ก ษา แนะนํ า และเสนอแนะวิ ธี ก ารแก้ ไ ข ทักษะเพิ่มเติม การคิดวิเคราะห์ ระดับ 2 ปรับปรุงการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ ทักษะด้านการให้บริการ การมองภาพองค์รวม ระดับ 2 ความรู้ด้านการบริหารและจัดระบบงาน ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 2 ความรู้ด้านการริเริ่ม ปรับปรุงนโยบายและแผนงาน ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลเทคโนโลยีใหม่ ๆ มีความรู้ด้าน พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มีความรู้ด้าน พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงานของผู้มีศกั ยภาพ (Career Chart)
เกณฑ์การคัดเลือกผู้ดํารงตําแหน่งเป้าหมาย 1. กรณีจบปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์ โดยดํารง ตําแหน่งประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่าง น้อย 1 ตําแหน่งใน Ladder ที่ 1 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 6 ปี โดยมีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี 2. กรณีจบปริญญาโท หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์ โดยดํารง ตําแหน่งประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่าง น้อย 1 ตําแหน่งใน Ladder ที่ 1 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี โดยมีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี 3. กรณีจบปริญญาเอก หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์ โดยดํารง ตําแหน่งประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่าง น้อย 1 ตําแหน่งใน Ladder ที่ 1 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยมีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี
เกณฑ์พิจารณาประสบการณ์และผลงาน เพื่อก้าวไปสู่ตําแหน่งงานลําดับต่อไป (Performance Measures)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีมากขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหารในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร ผู้บริหารงานยุติธรรมระดับต้น ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ งานด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด หน้า 4-12
ตําแหน่งเป้าหหมาย (Criticcal Positioon) ชื่อตําแหน่ง นักกวิชาการคอมมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ (K33) หนน่วยงาน ส่วนพั ว ฒนาระบบบสารสนเทศและการจัดการเพื ด ่อการรบริหาร หหน้าที่รับผิดชชอบหลัก (Keey Responnsibilities) 1. กํากับ บริหารจัดการ พัฒ ฒนาระบบงานนต่าง ๆ เพื่อใให้เกิดผลสัมฤฤทธิ์ในการปฏฏิบัติงานตามมแผนงาน โครรงการ 2. กํากกับ ดูแล วางแผน และออกแบบภาพรววมด้านระบบสารสนเทศ ฐานข้ ฐ อมูล แลละการบูรณากการสารสนเททศของกระทรรวง ยุติธรรม 3. กําากับ ดูแลและะวางแผนพัฒนนาการศึกษา วิเคราะห์ อออกแบบ พัฒนนา และดูแลรัรักษาระบบสาารสนเทศ แลละระบบฐานขข้อมูลให้มีประสิทธิภาพแลละใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง 4. กํากับ ดูแลและวางแผน แ นพัฒนาการศึศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนนา และดูแลรัรักษาเว็บไซต์์ของกระทรวงงยุติธรรม และหน่วยงานในนสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมม 5. กํากับ ดูแลและวางแผผนพัฒนาการรศึกษา วิเคราาะห์เทคนิค กระบวนการ ก พัพฒนา และดูแลรักษาระบบบริหารจัดการ ก องค์ความรู้ที่มมีีอยู่ของกระททรวง (Knowlledge Manaagement: KKM) 6. กํากับ ดูแลและวาางแผนพัฒนาาการศึกษา วิเคราะห์ กระบวนการ พัฒนา ฒ และดูแลรั ล กษาระบบกการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรรอนิกส์ (e-Leearning) 7. กํากับ ดูแลแและ วางแผนพัฒนาาการจัดทํา แและดูแลรักษาาระบบสารสนนเทศภูมิศาสตตร์ (GIS) เพื่อการบริหารจัดดการ 8. กํากัับ ดูแลและวางแผนพัฒนาาการบริหารจัจัดการศูนย์ปฏิบัติการกระะทรวงยุติธรรม (MOC) แลละศูนย์ปฏิบัติติการนายกรัฐมนตรี ฐ (PMOOC) 9. กํากับ ดูแลและวางแผนพพัฒนาการศึกกษา วิเคราะห์ห์ พัฒนา และะดูแลรักษาระะบบบริหารจัดดการระบบสาารสนเทศ (M MIS) ระบบสนันับสนุนการตัดสิ ด นใจ (DSS)) และระบบสสารสนเทศสําหรั ห บผู้บริหารร (EIS) 10. กํากั า บ ดูแลและะวางแผนพัฒนา การศึกษา วิเคคราะห์ จัดทํา และดูแลรักษษาคลังข้อมูล (Data Wareehouse) และะเหมืองข้อมูล (Data Mining) ของกระททรวงยุติธรรมม เพื่อนําข้อมูลไปใช้ในการรปฏิบัติงาน หรื ห อประกอบกการตัดสินใจขของผู้บริหารสูสูงสุด ในการกกําหนดนโยบบาย แและยุทธศาสตตร์กระทรวง 111. กํากับ ตรวจสอบ สืบค้้น การใช้งานนเทคโนโลยีสาารสนเทศที่เข้้าข่ายไม่เหมาาะสม ขัดต่อกกฎหมาย ระเบีบียบ ข้อบังคัับที่กําหนด หรื ห อไม่เป็นไปตามมาตรฐานนสากล เพื่อความมั ค ่นคงปลอดภัยของข้ข้อมูลหรือระบบบ 12. บริหารจัดการการบูรณ ณาการข้อมูลสสารสนเทศของงกระทรวงยุตติิธรรมและหนน่วยงานภายนนอก 13. ช่วยยกํากับ ติดตามการดําเนินงาน ง หรือเสนนอแนะให้ควาามเห็นเกี่ยวกัับการพัฒนารระบบงานสารรสนเทศ เพื่อให้ อ งานเทคโนนโลยีสารสนเททศ ทันสมัยและมีปประสิทธิภาพพ 14. ช่วยพัฒ ฒนาด้านระบบบสารสนเทศขของหน่วยงานนภายในของกกระทรวงยุติธรรรมและหน่วยงานภายนออก 15. ศึกษาวิิเคราะห์ พัฒนาระบบสา ฒ รสนเทศที่เกี่ยวข้องเพื่อพััฒนางานเทคคโนโลยีสารสนนเทศให้ทันสมมัย 16. ศึกษา วิเคคราะห์ และกําาหนดมาตรฐานการแลกเปปลี่ยนข้อมูลขของหน่วยงานใ นในสังกัดกระททรวงยุติธรรมมและหน่วยงาานนอกสังกัดทีท่เกี่ยวข้อง 17. กําหนดวิธีธีการ หลักเกณ ณฑ์การกําหนนดคุณลักษณ ณะเฉพาะของรระบบสารสนเทศ เพื่อให้เป็น มมาตรฐานเดียววกัน และตรงงตามความต้อองการใช้ของหหน่วยงาน 18. กําหนดหลลักสูตรการฝึกอบรมหรือถถ่ายทอดความมรู้ สนับสนุนการใช้ น ระบบงงานที่พัฒนาแแก่เจ้าหน้าที่ผูผ้ใช้งาน เพื่อสร้างความเข้ข้าใจ และเสริมสร้างศักยภภาพด้านวิชากการ คคอมพิวเตอร์ 119. จัดทําและะพัฒนา ระบบสารสนเทศ ระบบการเชื่อมโยงแลกเปปลี่ยนข้อมูล รระบบฐานข้อมมูล และระบบบคลังข้อมูลทีมี่ ขอบข่ายกว้ว้าง เพื่อสนับสนุ ส นการปฏิบับตั ิงานด้านสาารสนเทศในหหน่วยงาน 20.. จัดทําข้อเสนนอ สรุปรายงาน นําเสนอต่อคณ ณะกรรมการตต่าง ๆ เพื่อกําาหนดแนวทาาง หลักเกณฑ์ฑ์และวิธีการดดําเนินงานด้าานระบบงานสสารสนเทศ 221. ให้คําปรึรึกษาแนะนําแก่หน่วยงานนราชการ เอกกชน ประชาชชน เกี่ยวกับการพัฒนาระบบบระบบคอมมพิวเตอร์ ระบบบ เคครือข่ายคอมพพิวเตอร์ ระบบงานประยุกกต์ และระบบงานสารสนเททศ เพื่อให้การรดําเนินงานด้ด้านคอมพิวเตตอร์เป็นไปอย่ย่างมีประสิทธิภาพ 22. ฝึกอบรม หรือถ่ายทอดควาามรู้ ด้านวิชากการคอมพิวเตตอร์ที่เกี่ยวข้องกั อ บระบบสาารสนเทศ ให้้แก่ ข้้าราชการหน่ววยงานที่เกี่ยววข้อง และปรระชาชน เพื่อสสร้างความเข้้าใจ และเสริมมสร้างศักยภาพด้านวิชากการคอมพิวเตอร์ 23. ชี้แจงง ให้ข้อคิดเห็นในที่ประชุมคณะกรรมก ม ารหรือคณะททํางานต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ ป และะความร่วมมือใน อ การดําเนินงานนร่วมกัน 24. ประสานการททํางานร่วมกันนในทีมงานโดดยมีบทบาทในนการชี้แนะ จูงใจ ทีมงานหหรือหน่วยงานนอื่นในระดับสํานักหรือกออง เพื่อให้เกิดความร่ ด วมมือและผลสั อ มฤททธิ์ตามที่กําหนด 25. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบบหมาย ผผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัตวชี้วัดผลกาารปฏิบัติงานนหลัก (Key Performannce Indicattors: KPIs) 1. ความต่ออเนื่องของกาารให้บริการททางด้านระบบบสารสนเทศ ระยะเวลาที ร ่เครื เ ่องคอมพิวเตอร์ ว ทํางานนได้ (Uptimee) ระยะเวลาที ร ่เครื เ ่องคอมพิวเตอร์ ว ไม่สามมารถทํางานได้ (Downtim me) 2. ความทันนสมัยของข้ออมูลสารสนเททศ เพื่อการเผผยแพร่ จํจานวนครั้งของการอัพเดทข้อมูล จํจานวนเรื่องข้ข้อมูลที่ทํากาารอัพเดท 3. การบูรณ ณาการข้อมูลสารสนเทศ จํจานวนการบูบูรณาการข้อมูมลสารสนเทศศ 44. การดําเนินินการพัฒนาทักษะการใใช้งานด้านระะบบสารสนเททศสําหรับผู้ใชช้งาน จํจานวนการดํําเนินกิจกรรม ความรู้ที่จําาเป็น ทักษะที่จําาเป็น สมรรถนะทีที่คาดหวังสําหรั า บตําแหนน่งเป้าหมายนีนี้ สําหหรับตําแหน่งงเป้าหมาย สําหหรับตําแหน่งงเป้าหมาย ชื่อสมรรรถนะ ระดับสมรรถถนะที่คาดหวัวัง ททักษะที่จําเป็ปน ก สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ก. ความรู้เชี่ยวชาญด้านนคอมพิวเตอร์อย่างสูง ทักษะกการใช้คอมพิววเตอร์ กาารมุ่งผลสัมฤททธิ์ ระะดับ 3 ความรู้เชี่ยวชาญด้านนกฎหมายเกี่ยวกับ พ.ร.บบ.คอมพิวเตอร์ บริริการที่ดี ระะดับ 3 ความรู้ เชี่ ย วชาญด้ านการวิ เ ครราะห์ และอออกแบบข้ อ มู ล ด้ า น ทักษะกการใช้ภาษาอัอังกฤษ เทคโนโลลยีสารสนเทศศและการสื่ออสารอย่างสูง ทักษะกการวิเคราะห์//สังเคราะห์ขข้้อมูล กาารสั่ ง สมควาามเชี่ ย วชาญ ญในงาน ระะดับ 3 อาาชีพ ความรู้เชี่ยวชาญด้านนการพัฒนารระบบสารสนเทศ ทักษะด้ด้านการวิเคราาะห์ข้อมูลอยย่างเชี่ยวชาญ ญ กาารยึดมั่นในคววามถูกต้องชชอบธรรม ระะดับ 3 ความรู้เชี่ยวชาญด้านนระบบฐานข้้อมูล ทักษะด้ด้านพัฒนาระบบอย่างเชี่ยยวชาญ แลละจริยธรรม ความรู้เชี่ยวชาญด้านนสถาปัตยกรรมระบบสารรสนเทศ ทักษะด้ด้านการจัดกาารฐานข้อมูลออย่างเชี่ยวชาาญ กาารทํางานเป็นที น ม ระะดับ 3 ความรู้เชี่ยวชาญด้านนระบบปฏิบัตติิการ (Operating system) ทักษะด้ด้านการทดสออบการใช้งานนระบบสารสนนเทศอย่างเชีชี่ยวชาญ ธ ความรู้ดด้้านการบูรณาการสารสนเทศ ทั ก ษะดด้ า นการประะเมิ น ผลการรใช้ ง านระบบบสารสนเททศอย่ า ง ข. สมรรถนนะหลักของกระทรวงยุติธรรม จิตสํ ต านึกในควาามยุติธรรม ระะดับ 3 เชี่ยวชาาญ ความรู้ ด้ า นวิ สั ย ทั ศศน์ พั น ธกิ จ และแผนงาานด้ า นต่ า ง ๆ ของ คววามน่าเชื่อถือศรั อ ทธา ระะดับ 3 ทักษะด้ด้านบํารุง ดูแล รักษาระบบสารสนเทศศอย่างเชี่ยวชาาญ หน่วยงาานที่สังกัด ค. สมรรถนนะสายงานวิชาการคอมพิ ช วเตอร์ ความรู้ดด้้านการริเริ่ม ปรับปรุงนโยยบายและแผผนงาน ทักษะด้ด้านบูรณาการรเชื่อมโยงข้ออมูลกับหน่วยงานอื ย ่น การคิ ก ดวิเคราะะห์ ระะดับ 3 ความรู้เชี่ยวชาญด้านนการบริหารแและจัดระบบบงาน ทักษะด้ด้านการอบรมมอย่างเชี่ยวชชาญ การมองภาพอ ก องค์รวม ระะดับ 3 ความรู้ ด้ า นการปรระเมิ น และ วิ เ คราะห์ สสถานการณ์ ณ์ เ พื่ อ ให้ ททักษะเพิ่มเติติม การดํ ก าเนินกาารเชิงรุก ระะดับ 3 คําปรึกษษา และข้อเเสนอแนะในนงานด้านวิท ยาการคอมพพิวเตอร์ ทักษะด้ด้านการให้บริการ ของหน่ววยงานที่สังกัดั และส่วนงาานที่เกี่ยวข้อง ทักษะด้ด้านการสื่อสาาร มีมนุษยสัมมพันธ์ มีความรูรู้ด้าน พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชกาาร พ.ศ. 25440 ทักษะด้ด้านการค้นคว้ว้าข้อมูลเทคโโนโลยีใหม่ ๆ มีความรูรู้ด้าน พ.ร.บ.. ว่าด้วยการกระทําความมผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 25550 ผังแสดงเส้นททางสั่งสมประสบการณ์แและผลงานขอองผู้มีศกั ยภาาพ (Careerr Chart) เกณฑ์พิจารณาประสบ า บการณ์และผผลงาน เพื่อก้าวไปสู่ตําแหหน่งงานลําดับต่อไป (Performaance Measuures) เกณฑ์การคัดเลือกผูด้ดํารงตําแหน่นงเป้าหมาย 1. คุณสสมบัติตามมาตตรฐานกําหนนดตําแหน่ง 2. ดํ า รงงตํ า แหน่ ง ป ระเภทวิ ช ากการคอมพิ ว เตอร์ ระดับบชํา นาญกา รตํา แหน่ ง ใดดตําแหน่ง หนึ่ง ใน ศูนย์์ เ ทคโนโลยี สสารสนเทศแและการสื่อสารใน ส Laddder ที่ 2 รวมมแล้วไม่น้อยกกว่า 4 ปี 3. มีประะสบการณ์งาานที่เกี่ยวข้องงไม่น้อยกว่า 1 ปี
คะแนนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู ง ่ในระดดับตั้งแต่ดีขึ้นไป น ติดต่อกันอย่ น างน้อย 2 รอบกการประเมิน ภายในระยะะเวลา 3 ปีย้อนหลั อ ง ผ่านกการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสาายงานคอมพิพิวเตอร์ และไได้รับใบรับรออง จากหหน่วยงานฝึกอบรม อ (Certificate) ผ่านปประสบการณ์ ณ์นําเสนอข้อมูลด้านพัฒนาระบบสารสสนเทศและกาารจัดการเพือ่ การบบริหารในที่ประชุ ร มระดับหน่ ห วยงานในสัสังกัดกระทรววงยุติธรรม ผ่านกการอบรมหลัักสูตร นักบริริหารงานกระะทรวงยุติธรรรมระดับกลางง ของกระทรรวง ยุติธรรม ร ผ่านปประสบการณ์ ณ์ด้านการศึกษา ษ วิเคราะห์ห์ วิจัย งานด้านพั า ฒนาระบบบสารสนเทศศ และกการจัดการเพืพื่อการบริหารร ตลอดดระยะเวลาทีที่ครองตําแหนน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษททางวินัยหรืออยู อ ่ระหว่างถูก ดําเนินนการทางวินันยั ผ่านกการประเมินสมรรถนะตาม ส มเกณฑ์ที่กําหนด ห
หน้า 4-113
ตําแหน่งเป้าหมาย (Critical Position) ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ (K1) หน่วยงาน ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. รวบรวมข้อมูลประกอบการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบการทํางาน การติดตั้งระบบ เพื่อให้ได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการ ใช้ของหน่วยงาน 2. ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้ได้ระบบงานประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงาน 3. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ จัดทําและ บริหารจัดการระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย 4. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ บริหารจัดการ และจัดวางระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้กับ หน่วยงานในสังกัดสํานักปลัดกระทรวงยุติธรรม ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม รวมทั้งเชื่อมโยงศูนย์ปฏิบัติการกระทรวง (MOC) และศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) 5. ช่วยรวบรวมข้อมูล และกําหนดมาตรฐาน การเชื่อมโยงเครือข่ายและความมั่นคงปลอดภัยให้สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายกับหน่วยงานภายในและภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ 6. ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่ เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากลเพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ 7. ช่วยบริหารจัดการ การติดต่อสื่อสารข้อมูลให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและ อย่างต่อเนื่อง 8. ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคําสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคําสั่งสําเร็จรูป ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน 9. ช่วยติดตั้งและบริหารจัดการระบบติดต่อสื่อสารแบบรวมศูนย์ (Unified Communication) ระหว่างส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 10. ช่วยติดตั้งและดูแลบริหารจัดการ ระบบสนับสนุนห้อง Data Center 11. เขียนชุดคําสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคําสั่ง แก้ไขข้อผิดพลาดของคําสั่ง เพื่อให้ระบบปฏิบัติการทํางานได้อย่างถูกต้องแม่นยําและมีประสิทธิภาพ 12. ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของ ระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการและสภาพการใช้งานของหน่วยงาน 13. ดําเนินการฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความ เข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 14. ช่วยจัดทําคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ 15. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดําเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย 16. ให้คําปรึกษาแนะนําแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขและใช้งานเครื่อง คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 17. ประสานงานทํางานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 18. ช่วยประสานงาน หรือปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานใน สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมและหน่วยงานภายนอกในการเชื่องโยงและวางระบบเครือข่าย 19. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) ระยะเวลาที่ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายทํางานได้ (Uptime) 1. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระยะเวลาที่ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายไม่สามารถทํางานได้ (Downtime)
2. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบสนันสนุนห้อง Data Center
3. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบเครือข่าย
ระยะเวลาที่ระบบสนับสนุนห้อง Data Center ทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่ระบบสนับสนุนห้อง Data Center ไม่สามารถทํางานได้ (Downtime)
ระยะเวลาที่ระบบเครือข่ายทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่ระบบเครือข่ายไม่สามารถทํางานได้ (Downtime) จํานวนครั้งในการสนับสนุนและแก้ไขปัญหาทันเวลาและถูกต้อง 4. ความทันเวลาและความถูกต้องของการสนับสนุนและแก้ไขปัญหาแก่ผู้ใช้งาน ระยะเวลาในการแก้ไข ความรู้ที่จําเป็น ทักษะที่จําเป็น สมรรถนะที่คาดหวังสําหรับตําแหน่งเป้าหมายนี้ สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน มีความรู้พื้นฐานด้านระบบเครือข่าย การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับ 1 มีความรู้พื้นฐานด้านการทํางานเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ข่าย ทักษะด้านการใช้ภาษาอังกฤษ บริการที่ดี ระดับ 1 มีความรู้พื้นฐานด้านระบบปฏิบัติการ ทักษะในการบริหารจัดการอุปกรณ์เครือข่ายเบื้องต้น การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน ระดับ 1 อาชีพ มี ค วามรู้ ด้ า นการทํ า งานอุ ป กรณ์ ภ ายในเครื่ อ ง ทักษะในการบริหารจัดการเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเบื้องต้น คอมพิวเตอร์ลูกข่าย ระดับ 1 การยึ ด มั่น ในความถู ก ต้ อ งชอบ ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด โ ป ร แ ก ร ม พื้ น ฐ า น ต่ า ง ๆ แ ล ะ ธรรม และจริยธรรม มีความรู้ด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พื้นฐาน ระบบปฏิบัติการ การทํางานเป็นทีม ระดับ 1 มีความรู้พื้นฐานด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ทั ก ษะติ ด ตั้ ง และซ่ อ มบํ า รุ ง อุ ป กรณ์ ต่ า ง ๆ ภายในเครื่ อ ง ข. สมรรถนะหลักของกระทรวงยุติธรรม คอมพิวเตอร์ลูกข่าย มีความรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 1 2540 ทักษะการติดตั้งโปรแกรมพื้นฐานต่าง ๆ และระบบปฏิบัติการ ความน่าเชื่อถือศรัทธา ระดับ 1 มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ว่ า ด้ ว ยการกระทํ า ความผิ ด ทาง ทักษะการใช้โปรแกรมพื้นฐานต่าง ๆ ที่ใช้งานในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทักษะการให้คําปรึกษาเบื้องต้นในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ลูก ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ คอมพิวเตอร์ ข่ายและโปรแกรมพื้นฐานต่าง ๆ การคิดวิเคราะห์ ระดับ 1 ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ การมองภาพองค์รวม ระดับ 1 ทักษะด้านการวิเคราะห์ปัญหาบนระบบเครือข่ายเบื้องต้น การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 1 ทักษะด้ านการวิเคราะห์ปั ญหาด้า นระบบปฏิ บั ติการและเครื่ อง คอมพิวเตอร์แม่ข่ายเบื้องต้น ทักษะเพิ่มเติม ทักษะด้านการให้บริการ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลเทคโนโลยีใหม่ ๆ ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงานของผู้มีศกั ยภาพ (Career Chart) เกณฑ์พิจารณาประสบการณ์และผลงาน เพื่อก้าวไปสู่ตําแหน่งงานลําดับต่อไป (Performance Measures)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีมากขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์สนับสนุนการเสนอข้อมูลด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายในที่ประชุม ระดับหน่วยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ งานด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-14
ตําแหน่งเป้าหมาย (Critical Position) ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ (K2) หน่วยงาน ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. บริหารจัดการ การติดต่อสื่อสารข้อมูลให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและอย่างต่อเนื่อง 2. บริหารจัดการระบบช่วยเหลือการปฏิบัติงานผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) เพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้นในเรื่องระบบคอมพิวเตอร์และ เครือข่ายข้อมูล สารสนเทศ ระบบอินเตอร์เน็ต และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 3. ศึกษาวิเคราะห์ กําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ระบบเครือข่าย การทํางานเครื่องการติดตั้งระบบ เครื่อง เพื่อให้ได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งหน่วยงาน และตรงตามความต้องการ ลักษณะการใช้งานของหน่วยงาน 4. ศึกษาวิเคราะห์ และกําหนดความต้องการของหน่วยงาน เพื่อออกแบบระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ เพื่อสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ในหน่วยงาน 5. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทําและบริหารจัดการระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย 6. ศึกษา วิเคราะห์ บริหารจัดการ และจัดวางระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้กับหน่วยงานในสังกัดสํานักปลัดกระทรวงยุติธรรม ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม รวมทั้งเชื่องโยงศูนย์ปฏิบัติการกระทรวง (MOC) และศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) 7. ศึกษา วิเคราะห์ และกําหนดมาตรฐานการเชื่อมโยงเครือข่ายและความมั่นคงปลอดภัยให้สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายกับหน่วยงานภายในและภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ 8. กําหนดแนวทางการทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิค ของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน 9. กําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย การจัดการระบบการทํางาน การติดตั้งระบบ เพื่อให้ได้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งหน่วยงาน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน 10. รวบรวมข้อมูลประกอบการเสนอแนะนโยบายและแผนการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนานโยบายด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัย 11. ติดตั้งและบริหารจัดการระบบระบบติดต่อสื่อสารแบบรวมศูนย์ (Unified Communication) ระหว่างส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมติดตั้งและดูแลบริหารจัดการระบบสนับสนุนห้อง Data Center 12. ตรวจสอบ สืบค้น การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ 13. จัดทําสื่อในการ ให้บริการเผยแพร่ข้อมูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่หน่วยงานต่าง ๆ และประชาชนผู้สนใจ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 14. ฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีระบบ คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศแก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 15. ให้คําปรึกษา แนะนํา เพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา 16. ประสานการ ทํางานร่วมกันโดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคําแนะนําเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 17. ให้ข้อคิดเห็นหรือคําแนะนําเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือบุคคล หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการดําเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย 18. ประสานงาน หรือปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมและหน่วยงานภายนอกในการเชื่อมโยง และวางระบบเครือข่าย 19. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) จํานวนครั้งของการให้การสนับสนุน 1. การออกแบบสนับสนุนการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายแก่หน่วยงานภายในกระทรวงยุติธรรม ระยะเวลาที่ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายทํางานได้ (Uptime) 2. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระยะเวลาที่ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายไม่สามารถทํางานได้ (Downtime) ระยะเวลาที่ระบบสนับสนุนห้อง Data Center ทํางานได้ (Uptime) 3. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบสนันสนุนห้อง Data Center ระยะเวลาที่ระบบสนับสนุนห้อง Data Center ไม่สามารถทํางานได้ (Downtime)
4. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบเครือข่าย
ระยะเวลาที่ระบบเครือข่ายทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่ระบบเครือข่ายไม่สามารถทํางานได้ (Downtime) จํานวนครั้งของการดําเนินกิจกรรม 5. การดําเนินการพัฒนาทักษะการใช้งานด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่ายแก่ผู้ใช้งาน จํานวนครั้งในการสนับสนุนและแก้ไขปัญหาทันเวลาและถูกต้อง 6. ความทันเวลาและความถูกต้องของการสนับสนุนและแก้ไขปัญหาแก่ผู้ใช้งาน ระยะเวลาในการแก้ไข ความรู้ที่จําเป็น ทักษะที่จําเป็น สมรรถนะที่คาดหวังสําหรับตําแหน่งเป้าหมายนี้ สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย สําหรับตําแหน่งเป้าหมาย ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน มี ค วามรู้ ด้ า นการทํ า งานของ ทักษะที่จําเป็น การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับ 2 อุปกรณ์บนระบบเครือข่าย ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ มี ค วามรู้ ด้ า นการทํ า งานของ ทักษะด้านการใช้ภาษาอังกฤษ บริการที่ดี ระดับ 2 Protocol ต่ าง ๆ บนระบบ ทักษะการบริหารจัดการระบบเครือข่าย การสั่ งสมความเชี่ยวชาญ ระดับ 2 เครือข่าย ในงานอาชีพ ทักษะด้านการวิเคราะห์ปัญหาและช่องโหว่ต่าง ๆ บนระบบเครือข่าย ความรู้ด้านระบบปฏิบัติการต่าง ๆ ทักษะการออกแบบระบบเครือข่าย การยึดมั่นในความถูกต้อง ระดับ 2 ชอบธรรม และจริยธรรม มี ค วามรู้ ด้ า นการทํ า งานของ ทักษะในการบริหารจัดการเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย อุ ป กรณ์ ต่ า ง ๆ ภายในเครื่ อ ง ทักษะในการบริหารจัดโปรแกรมพื้นฐานต่าง ๆ และระบบปฏิบัติการ การทํางานเป็นทีม ระดับ 2 คอมพิวเตอร์แม่ข่าย ข. สมรรถนะหลั ก ของกระทรวง ทักษะการวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับระบบปฏิบัติการและเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ยุติธรรม มี ค ว า ม รู้ ด้ า น ค ว า ม มั่ น ค ง ทักษะการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายหรือระบบสารสนเทศบนเครื่อง ปลอดภั ย สารสนเทศการโจมตี จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 2 คอมพิวเตอร์ลูกข่าย และภัยคุกคามต่าง ๆ ระดับ 2 ความน่าเชื่อถือศรัทธา ทักษะในปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย มี ค วามรู้ ด้ า นระบบสารสนเทศ ทักษะการให้คําปรึกษาอย่างชัดเจนและถูกต้องในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายและโปรแกรม ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ ต่าง ๆ ที่ใช้งานภายในองค์กร คอมพิวเตอร์ พื้นฐานต่าง ๆ มี ค วามรู้ ด้ า น พ.ร.บ. ข้ อ มู ล ทักษะการออกแบบห้อง Data Center การคิดวิเคราะห์ ระดับ 2 ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ทักษะเพิ่มเติม การมองภาพองค์รวม ระดับ 2 มีความรู้ด้าน พ.ร.บ. ว่าด้วยการ ทักษะการให้บริการ การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 2 กระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์ ทักษะด้านการถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อื่น พ.ศ. 2550 ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลเทคโนโลยีใหม่ ๆ ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์และผลงานของผู้มีศกั ยภาพ (Career Chart) เกณฑ์การคัดเลือกผู้ดํารงตําแหน่งเป้าหมาย 1.
กรณีจบปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์ โดยดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการ คอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างน้อย 1 ตําแหน่งใน Ladder ที่ 1 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 6 ปี โดยมีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี
2.
กรณีจบปริญญาโท หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์ โดยดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการ คอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างน้อย 1 ตําแหน่งใน Ladder ที่ 1 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี โดยมีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี
เกณฑ์พิจารณาประสบการณ์และผลงาน เพื่อก้าวไปสู่ตําแหน่งงานลําดับต่อไป (Performance Measures)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีมากขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุตธิ รรม ผ่านการอบรมหลักสูตร ผู้บริหารงานยุติธรรมระดับต้น ของกระทรวงยุติธรรม
ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ งานด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทาง วินัย
ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด หน้า 4-15
ตําแหน่งเป้าหหมาย (Criticcal Positioon) ชื่อตําแหน่ง นักกวิชาการคอมมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ (K33) หนน่วยงาน ส่วนเทคโนโลยี ว ยีระบบคอมพิพิวเตอร์และเครือข่าย หหน้าที่รับผิดชชอบหลัก (Keey Responnsibilities) 1. กํากับดูแล วางแผนแลละออกแบบภภาพรวมระบบบโครงสร้างพพื้นฐานคอมพพิวเตอร์และเครือข่ายของกระทรวงยุติธรรม 2. กํากับดูแล แลละวางแผน การติ ก ดตั้งและะดูแลบริหารรจัดการระบบบสนับสนุนห้อง อ Data Ceenter 3. กํากักบ า กงานปลัดกระทรวงยุติติธรรม ส่วนราชการในสังกักด ดูแล และวางแผนพัฒนา กการศึกษา วิเเคราะห์ บริหหารจัดการ แและจัดวางระะบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายให้สามมารถใช้งานไดด้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ห้กับหน่วยงานในสังกัดสํานั MOC) และศูนนย์ปฏิบัติการรนายกรัฐมนตรี (PMOC) 4. กํากับดูแล แ และวางแแผนพัฒนา การศึกษา วิเคราะห์ ค จัดทําและบริ า หารจัดการระบบบรักษาความมมั่นคงปลอดภภัย กระทรวงยุติธธรรม รวมทั้งเชื่องโยงศูนยย์ปฏิบัติการกกระทรวง (M ระบบคอมพิวเตอร์และเครืรือข่าย 5. กําากับดูแล และะวางแผนพัฒ ฒนา การศึกษษา วิเคราะห์ และกําหนดมมาตรฐานการเชื่อมโยงเครือื ข่ายและคความมั่นคงปลลอดภัยให้สามารถเชื า ่อมโยยงเครือข่ายกักับหน่วยงานภายในและภภายนอกอย่างมี ปประสิทธิภาพ 6. กํากับดูแแล และวางแผผนพัฒนา กาารประสานงาาน หรือปฏิบบััติงานร่วมกับบหน่วยงานใในสังกัดสํานักกงานปลัดกรระทรวงยุติธรรมและหน่ ร วยงานภายนออกในการเชื่อมโยงและวา อ งระบบเครือข่าย 7. กํากัับดูแล และววาง แแผนพัฒนา การบริหารจัดดการ การติดดต่อสื่อสารข้ออมูลให้สามารถใช้งานได้ออย่างมีประสิสทธิภาพและอย่างต่อเนื่อง 8. กํากับดู บ แล และวาางแผนพัฒนา การติดตั้งและบริหารจัจัดการระบบกการประชุมทางไกลผ่ ท านจจอภาพ (Videeo CConference System) ระะหว่างส่วนราาชการในสังกัดกระทรวงยยุติธรรม 9. กํากับดูแล วาางแผนการดําาเนินการจัดฝึกอบรมด้านเทคโนโลยี น ระบบคอมพิ ะ วเตอร์และระบบบสารสนเททศ 10. กํากับ บริหารจัดการ ก พัฒนาระบบงานต่าง ๆ เพืพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในกาารปฏิบัติงานนตามแผนงานน โครงการกํกํากับ ตรวจสสอบ สืบค้น กการใช้งานเททคโนโลยีสารรสนเทศที่เข้าข่ า ายไม่เหมาาะสมขัดต่อกฎหมาย ก ระเเบียบ ข้อบังคัคบที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตร ไ ฐานสากล เพพื่อ คความมั่นคงปลลอดภัยของขข้อมูลหรือระะบบ 11. ชช่วยกํากับ ติดตามการดําาเนินงาน หรืรือเสนอแนะใให้ความเห็นเกี่ยวกับการรพัฒนาระบบบระบบคอมพิพิวเตอร์ ระบบบเครือข่ายคคอมพิวเตอร์ เพื่อให้งานคคอมพิวเตอร์์และเทคโนโลยี สสารสนเทศทันนสมัยและมีปประสิทธิภาพพ 12. ศึกษาาวิเคราะห์ พัฒนาระบบคคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนางานคอมพิวเตตอร์และเทคโโนโลยีสารสนนเทศให้ทันสมัย 13. กําหนดวิ า ธีการ หลักเกณฑ์การกํ ก าหนดคุณลักษณะเฉฉพาะของเครืรื่อง คคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ณ์ ระบบเครือข่าย ระบบกการทํางาน กาารติดตั้งระบบ เพื่อให้ได้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และะตรงตามควาามต้องการใช้ช้ของหน่วยงาาน 14. กําหนดหลั ห กสูตรการฝึ ร กอบรรมหรือถ่ายทออด ฒนาแก่เจ้าหหน้าที่ผู้ใช้งานน เพื่อสร้างความเข้าใจ แและเสริมสร้างศักยภาพด้าานวิชาการคอมพิวเตอร์ 15. จัดทําข้อเสนอ สรุปรายงาน ป นําเสนอต่ า อคณ ณะกรรมการต่าง ๆ เพื่อกําหนดแนวททาง คความรู้ สนับสสนุนการใช้ระะบบงานที่พัฒ หหลักเกณฑ์แลละวิธีการดําเนนินงานด้านรระบบคอมพิววเตอร์ ระบบบเครือข่ายคออมพิวเตอร์ รระบบงานประยุกต์ และรระบบงานสารรสนเทศ 166. ฝึกอบรม หรือถ่ายทออดความรู้ ด้านวิชาการคออมพิวเตอร์ ให้ ใ แก่ข้าราชกการหน่วยงานนที่ เกีกี่ยวข้อง และะประชาชน เเพื่อสร้างความเข้าใจ และะเสริมสร้างศัักยภาพด้านวิวิชาการคอมมพิวเตอร์ 17.. ชี้แจง ให้ข้ออคิดเห็นในทีประชุ ่ มคณะะกรรมการหรืรือคณะทํางาานต่าง ๆ เพื่อให้ อ เกิดประโโยชน์และควาามร่วมมือในนการดําเนินงาน ร่ววมกัน 18. ใหห้คําปรึกษาแแนะนําแก่หน่วยงานราชการ เอกชน ปประชาชน เกี่ยยวกับการพัฒ ฒนาระบบระะบบคอมพิวเตตอร์ ระบบเคครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ อ การดําเนินินงานด้านคออมพิวเตอร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพพ 19. ประสาน การทํางานร่วมมกันในทีมงาานโดยมีบทบาทในการชี้แแนะ จูงใจ ทีมมงาน หรือหนน่วยงานอื่นในนระดับสํานักกหรือกอง เพื่อให้เกิดความมร่วมมือและะผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 20. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas: KRAs) ตัตวชี้วัดผลกาารปฏิบัติงานนหลัก (Key Performannce Indicattors: KPIs) ระยะเวลาที ร ่ระบบคอมพิ ร ว แม่ข่ายทํ วเตอร์ ย างานได้ (UUptime) 1. ความต่ออเนื่องของกาารให้บริการระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระยะเวลาที ร ่ระบบคอมพิ ร ว แม่ข่ายไม่ วเตอร์ ย สามารถททํางานได้ (Doowntime)
22. ความต่ออเนื่องของกาารให้บริการระบบสนันสนุนุนห้อง Data Center
ระยะเวลาที ร ่ระบบสนั ร บสนนุนห้อง Dataa Center ทํางานได้ า (Upttime) ระยะเวลาที ร ่ระบบสนั ร บสนนุนห้อง Dataa Center ไมม่สามารถทํางานได้ ง (Dow wntime)
33. ความต่ออเนื่องของกาารให้บริการระบบเครือข่าาย
ระยะเวลาที ร ่ระบบเครื ร อข่ายทํ า างานได้ (Uptime) ระยะเวลาที ร ่ระบบเครื ร อข่ายไม่ า สามารถถทํางานได้ (DDowntime)
44. การสนับบสนุนและกาารบริหารจัดกการการเชื่อมมโยงเครือข่ายยแก่หน่วยงานนภายในกระทรวงยุติธรรม 55. การดําเนินินการพัฒนาทักษะการใใช้งานด้านอุปปกรณ์คอมพิววเตอร์และเคครือข่ายแก่ผู้ใใช้งาน
จํจานวนครั้งของการให้การรสนับสนุน จํจานวนครั้งของการดําเนินกิ น จกรรม
ความรู้ที่จําาเป็น สําหหรับตําแหน่งงเป้าหมาย มีความรูรู้ด้านระบบเคครือข่าย
ทักษะที่จําาเป็น สําหหรับตําแหน่งงเป้าหมาย
มีความรูรู้ด้านการทํางงานเครื่องคออมพิวเตอร์แมม่ข่าย
ททักษะที่จําเป็ปน ทักษะกการใช้คอมพิววเตอร์
มีความรูรู้ด้านระบบปฏิบัติการ
ทักษะด้ด้านการใช้ภาษาอังกฤษ
มีความรูรู้ด้านความมั่นนคงปลอดภัยยสารสนเทศกการโจมตีและะภัย
ทักษะกการวิเคราะห์/สังเคราะห์ขข้้อมูล
คุกคาม
ทักษะในนการวิเคราะะห์ ออกแบบ บริหารจัดการระบบเครือข่ อ าย
มีความรูรู้ด้านการทํางงานของระบบบสนับสนุนห้ออง Data Cennter
ทักษะในนการวิเคราะะห์ ออกแบบ บริหารจัดการเครื่อง
มีความรูรู้ด้านการบริหหารจัดการภาาพรวมระบบบคอมพิวเตอร์ร์แม่ข่าย
คอมพิววเตอร์แม่ข่าย
และเครืออข่าย
ทักษะในนการวิเคราะะห์ ออกแบบ บริหารจัดการห้อง Dataa Center
ควบคุมคคุณภาพการใให้บริการระบบบโครงสร้างพื้นฐานด้าน ICT
ทักษะในนการบริการจัดการทรัพยยากรทั้งด้านเเทคโนโลยี
มีความรูรู้ด้าน พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาารของราชกาาร พ.ศ. 25400
สารสนเเทศและทรัพพยากรบุคคลใให้ทํางานได้อย่ อ างมีประสิทธิ ท ภาพ
มีความรูรู้ด้าน พ.ร.บ. ว่าด้วยการกกระทําความผิผิดทางคอมพิพิวเตอร์
และเพียยงพอกับงานนญ
พ.ศ. 25550
ททักษะเพิ่มเติติม
ทักษะกการให้บริการ
ทักษะด้ด้านการสื่อสาาร มีมนุษยสัมมพันธ์
ทักษะด้ด้านการถ่ายททอดความรู้ให้กับผู้อื่น
ทักษะด้ด้านการค้นคว้ว้าข้อมูลเทคโโนโลยีใหม่ ๆ
ผังแสดงเส้นททางสั่งสมประสบการณ์แและผลงานขอองผู้มีศกั ยภาาพ (Careerr Chart)
สมรรถนะทีที่คาดหวังสําหรั า บตําแหนน่งเป้าหมายนีนี้ ชื่อสมรรรถนะ ระดับสมรรถถนะที่คาดหวัวัง ก สมรรถนนะหลัก 5 ด้าน ก. กาารมุ่งผลสัมฤททธิ์ ระะดับ 3 บริริการที่ดี ระะดับ 3 กาารสั่ ง สมควาามเชี่ ย วชาญ ญในงาน ระะดับ 3 อาาชีพ กาารยึดมั่นในคววามถูกต้องชชอบธรรม ระะดับ 3 แลละจริยธรรม กาารทํางานเป็นที น ม ระะดับ 3 ข. สมรรถนนะหลักของกระทรวงยุติธรรม ธ จิตสํ ต านึกในควาามยุติธรรม ระะดับ 3 คววามน่าเชื่อถือศรั อ ทธา ระะดับ 3 ค. สมรรถนนะสายงานวิชาการคอมพิ ช วเตอร์ การคิ ก ดวิเคราะะห์ ระะดับ 3 การมองภาพอ ก องค์รวม ระะดับ 3 การดํ ก าเนินกาารเชิงรุก ระะดับ 3
เกณฑ์พิพจารณาประะสบการณ์และผลงาน เพืพื่อก้าวไปสู่ตํตาแหน่งงานนลําดับต่อไป (Performance Meeasures)
เเกณฑ์การคัดดเลือกผู้ดํารงงตําแหน่งเป้ป้าหมาย 11. คุณสมบััติตามมาตรฐฐานกําหนดตําแหน่ง 22. ดํ า รงตํ าาแหน่ ง ประเเภทวิ ช าการรคอมพิ ว เตออร์ ระดับ ชําานาญการตําาแหน่งใดตําาแหน่งหนึ่งใน ใ ศูนย์เทคคโนโลยีสารสสนเทศและกการสื่อสารใใน Ladder ที่ 2 รวมแล้้วไม่น้อยกว่า 4 ปี 33. มีประสบบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่นน้อยกว่า 1 ปปี
คคะแนนประเมิมินผลการปฏิฏิบัติงานอยู่ในระดั น บตั้งแต่ดีขึ้นไป ติดต่ตอกันอย่างน้อย อ 2 รอบกาาร ป น ภายใในระยะเวลาา 3 ปีย้อนหลัลัง ประเมิ ผ่ผานการฝึกอบบรมหลักสูตรที ร ่เกี่ยวข้องกักับสายงานคออมพิวเตอร์ และได้ แ รับใบรัรับรองจาก ห วยงานฝึกอบรม หน่ อ (Certiificate) ผ่ผานประสบการณ์นําเสนออข้อมูลด้านเททคโนโลยีระบบบคอมพิวเตตอร์และเครือข่ายในที่ ป มระดับหน่ ประชุ ห วยงานในสังกัดกระทรรวงยุติธรรม ผ่ผานการอบรมมหลักสูตร นัักบริหารงานนกระทรวงยุติติธรรมระดับกลาง ก ของกระทรวงยุติธรรม ผ่ผานประสบการณ์ด้านการรศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานด้านเทคโนนโลยีระบบคออมพิวเตอร์และ ล เคครือข่าย ต ตลอดระยะเว วลาที่ครองตําแหน่ า ง ต้องไม่เคยถูกลงโททษทางวินัยหรื ห ออยู่ระหว่างถู า ก ดําเนินการทาางวินัย ผ่ผานการประเเมินสมรรถนะะตามเกณฑ์ทีที่กําหนด หน้า 4-116
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ภาพ 4.2 ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์ (Career Chart) ระดับชํานาญการ
คุณสมบัติของตําแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ: ควรมีคุณสมบัติในการเลื่อนตําแหน่ง ดังนี้ 1. กรณีจบปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ในระดับ เดี ย วกั น ในสาขาวิ ช าใดสาขาวิ ช าหนึ่ ง ทางคอมพิ ว เตอร์ โดยดํ า รงตํ า แหน่ ง ประเภทวิ ช าการคอมพิ ว เตอร์ ระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารตํ า แหน่ ง ใดตํ า แหน่ง หนึ ่ง ในศูน ย์เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารอย่างน้อย 1 ตําแหน่งใน Ladder ที่ 1 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 6 ปี โดยมีประสบการณ์งานที่ เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี 2. กรณีจบปริญญาโท หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ในระดับ เดี ย วกั น ในสาขาวิ ช าใดสาขาวิ ช าหนึ่ ง ทางคอมพิ ว เตอร์ โดยดํ า รงตํ า แหน่ ง ประเภทวิ ช าการคอมพิ ว เตอร์ ระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารตํ า แหน่ ง ใดตํ า แหน่ง หนึ ่ง ในศูน ย์เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารอย่างน้อย 1 ตําแหน่งใน Ladder ที่ 1 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี โดยมีประสบการณ์งานที่ เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี 3. กรณีจบปริญญาเอก หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ในระดับ เดี ย วกั น ในสาขาวิ ช าใดสาขาวิ ช าหนึ่ ง ทางคอมพิ ว เตอร์ โดยดํ า รงตํ า แหน่ ง ประเภทวิ ช าการคอมพิ ว เตอร์ ระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารตํ า แหน่ ง ใดตํ า แหน่ง หนึ ่ง ในศูน ย์เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารอย่างน้อย 1 ตําแหน่งใน Ladder ที่ 1 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยมีประสบการณ์งานที่ เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี หน้า 4-17
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
คุณสมบัติของตําแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ: ควรมีคุณสมบัติในการเลื่อนตําแหน่ง ดังนี้ 1. มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง 2. ดํ า รงตํ า แหน่ ง ประเภทวิ ช าการคอมพิ ว เตอร์ ระดั บ ชํ า นาญการ ตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ใน Ladder ที่ 2 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี 3. มีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี
ภาพ 4.3 ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์ (Career Chart) ระดับชํานาญการพิเศษ
หน้า 4-18
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
คุณสมบัติของตําแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับอํานวยการสูง: ควรมีคุณสมบัติในการเลื่อนตําแหน่ง ดังนี้ 1. มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง 2. ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ พิเศษตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารใน Ladder ที่ 3 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี 3. มีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี
ภาพ 4.4 ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์ (Career Chart) ระดับอํานวยการ
หน้า 4-19
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
คุณสมบัติของตําแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับเชี่ยวชาญ: ควรมีคุณสมบัติในการเลื่อนตําแหน่ง ดังนี้ 1. มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง 2. ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ พิเศษตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารใน Ladder ที่ 3 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี 3. มีประสบการณ์งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี ภาพ 4.5 ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์ (Career Chart) ระดับเชี่ยวชาญ
หน้า 4-20
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ภาพที่ 4 ผังแสดงเส้นทางสั่งสมประสบการณ์ (Career Chart) ระดับผู้ทรงคุณวุฒิ
คุณสมบัติของตําแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้ทรงคุณวุฒ:ิ ควรมีคุณสมบัติในการเลื่อนตําแหน่ง ดังนี้ 1. มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง 2. ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับเชี่ยวชาญ ตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งในสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ใน Ladder ที่ 4 รวมแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี โดยมีประสบการณ์ งานที่เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่า 1 ปี 3. ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับอํานวยการสูง ในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอํานวยการสูง S2 ไม่น้อยกว่า 2 ปี
หน้า 4-21
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
4.2 คุณสมบัติตามสายงานสําหรับบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในหั ว ข้ อ นี้ ก ล่ า วถึ ง ข้ อ กํ า หนดคุ ณ สมบั ติ สํ า หรั บ ตามสายงานของบุ ค ลากรด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร สํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรม ซึ่งประกอบด้วยข้อกําหนดคุณสมบัติตามสายงานนักวิชาการคอมพิวเตอร์ของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยประกอบด้วย 3 ส่วนงาน ดังนี้ ส่วนยุทธศาสตร์ และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร และส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย และข้อกําหนดคุณสมบัติ ตามสายงานนักวิชาการคอมพิวเตอร์ระดับผู้เชี่ยวชาญ และระดับผู้ทรงคุณวุฒิของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ซึ่งการกําหนดหน้าที่ความรับผิดชอบหลักด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมมีความสอดคล้องกับมาตรฐานกําหนดตําแหน่งที่สํานักงาน ก.พ. กําหนดรายละเอียดดังผนวก ข เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการกําหนดรายละเอียดคุณสมบัติแต่ละตําแหน่ง โดยสามารถกําหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามการดํารงตําแหน่งหลัก ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) ความรู้สําหรับตําแหน่ง (Knowledge) ทักษะ (Skills) ที่จําเป็นสําหรับตําแหน่ง และ สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง รายละเอียดดังผนวก ค ดังนี้ 4.2.1 ข้อกําหนดคุณสมบุติสําหรับผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงข้อกําหนดคุณสมบัติสําหรับผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม โดยมีลักษณะ งานทางด้านเทคนิคเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานเชิงวิชาการคอมพิวเตอร์ในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ซึ่งแสดงรายละเอียด ดังตาราง 4.1
หน้า 4-22
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.1 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L5 ชื่อตําแหน่ง ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (K5) หน่วยงาน สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม หน้าที่รับผิดชอบหลัก (key Responsibilities) 1. ให้คําปรึกษาและเสนอแนะความเห็นทางวิชาการเกี่ยวกับ การพัฒนางานคอมพิวเตอร์ เพื่อประกอบการพิจารณากําหนดนโยบาย แผนงาน และแนวทางการ ปฏิบัติงานทางด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 2. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาทางด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีขอบข่ายกว้างขวางมาก หรือมีระบบที่ซับซ้อนเป็นพิเศษ เพื่อนํามา ประยุกต์และพัฒนาให้เข้ากับระบบที่มีอยู่ภายในองค์กร 3. ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ ระบบสารสนเทศ ระบบการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูล ระบบฐานข้อมูล และระบบคลังข้อมูลที่มีขอบข่ายกว้าง เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศ 4. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา มาตรการตรวจสอบ การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล และมาตรการในการป้องกันปราบปราม การสร้างความเชื่อมั่นต่อการใช้ระบบธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อกําหนดแนวทาง หรือ มาตรการ รูปแบบ วิธีการ ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 5. กํากับติดตาม ประเมินผลการพัฒนาและการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติของหน่วยงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การพัฒนา ระบบข้อมูลเพื่อให้การดําเนินงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีประสิทธิภาพ 6. วางแผนหรือร่วมดําเนินการวางแผนหรือให้คําปรึกษาแนะนําในการวางแผน โดยเชื่อมโยงหรือบูรณาการแผนงาน โครงการในระดับกลยุทธ์ของส่วนราชการระดับ กระทรวง ติดตามประเมินผลภาพรวม เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 7. ประสานการทํางานภายในกรม กระทรวง หรือองค์กรอื่นทั้งในและต่างประเทศ โดยมีบทบาทในการเจรจา โน้มน้าว เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่ กําหนด 8. ให้ข้อคิดเห็น และคําแนะนํา แก่หน่วยงานระดับกรม กระทรวง รวมทั้งที่ประชุมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อให้เกิดประโยชน์และความร่วมมือในการดําเนินงานร่วมกัน
หน้า 4-23
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.1 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ต่อ) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (key Responsibilities) 9. ให้คําปรึกษา แนะนํา วินิจฉัยปัญหาที่สําคัญทางด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ให้แก่ ผู้บริหาร ข้าราชการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาชนทั่วไป เพื่อสร้าง ความเข้าใจ และเสริมสร้างศักยภาพด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 10. ฝึกอบรม ถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ให้แก่ข้าราชการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาชน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและเสริมสร้างศักยภาพ ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) 1. ความสอดคล้องของนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง จํานวนประเด็นนโยบายที่มีความสอดคล้องกับแผนระดับชาติ ยุติธรรม สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และกระบวนการยุติธรรมกับแผนระดับชาติ 2. พัฒนางานวิจัยทางด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ที่มีขอบข่ายกว้างขวางมาก หรือเป็นเรื่องที่มี จํานวนงานวิจัย ระบบงานที่ซับซ้อนเป็นพิเศษ 3. การติดตามและประเมินผลการปฏิบัตงิ านด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับความสําเร็จของกํากับติดตามประเมินผลการดําเนินงานตาม นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม 4. ความทันเวลาในการจัดตั้ง และจัดสรรงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ จํานวนครั้งที่จดั ประชุมล่าช้า การสื่อสารประจําปีที่ตอบสนองต่อนโยบายและแผน จํานวนรอบระยะเวลาที่ใช้การจัดประชุม 5. การวางแผนหรือร่วมดําเนินการวางแผนโครงการในระดับกลยยุทธ์ของส่วนราชการ จํานวนโครงการที่มีการวางแผนหรือร่วมดําเนินการวางแผนโครงการ ระดับกระทรวงยุติธรรม
หน้า 4-24
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.2 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้ทรงคุณวุฒิ ทักษะสําหรับตําแหน่ง ความรู้สําหรับตําแหน่ง ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน มี ค วามรู้ ด้ า นการบริ ห ารจั ด การโครงการ สําหรับผู้บริหาร มี ค ว า ม รู้ ด้ า น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ก า ร เปลี่ยนแปลง มีความรู้ด้านการบริหารความต่อเนื่องทาง ธุรกิจ มีความรู้ด้านการวางแผนเงินทุนและกํากับ ดูแลการลงทุน มี ค วามรู้ ด้ า นการจั ด ทํ า นโยบาย และ ยุทธศาสตร์ มีความรู้ด้านสถาปัตยกรรมองค์กร มี ค วามรู้ ด้ า นวิ ธี วิ จั ย และการวิ เ คราะห์ เ ชิ ง ปริมาณ มีความรู้ด้านการกําหนดกลยุทธ์ มีความรู้ด้านการจัดทําแผนงานโครงการด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง
ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ทักษะที่จําเป็น การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและโปรแกรม อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง บริการที่ดี ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ การสัง่ สมความเชี่ยวชาญ ในงานอาชีพ ทักษะการคํานวณ การยึดมั่นในความถูกต้อง ทักษะการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล ชอบธรรม และจริยธรรม ทักษะการจัดการข้อมูล การทํางานเป็นทีม ทักษะการวางแผนและการจัดการ ข. สมรรถนะหลักของกระทรวง ทักษะการเป็นผู้นํา ยุติธรรม ทักษะด้านการเปลี่ยนแปลง และการแก้ปัญหา จิตสํานึกในความยุติธรรม ความขัดแย้ง ความน่าเชื่อถือศรัทธา ทักษะความเข้าใจธุรกิจ ทักษะด้านการบริหาร ทักษะองค์ความรู้และประสบการณ์ ด้านเทคโนโลยีสารนเทศและการสื่อสาร
ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 5
ระดับ 5 ระดับ 5
หน้า 4-25
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.2 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้ทรงคุณวุฒิ (ต่อ) ทักษะสําหรับตําแหน่ง ความรู้สําหรับตําแหน่ง มีความรู้ในด้านการบริหารจัดการความเสี่ยง มี ค วามรู้ ใ นการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร งบประมาณ และการจัดอัตรากําลัง มีความรู้ในการติดตาม และตรวจสอบการใช้ ทรัพยากร และงบประมาณ มีความรู้ในการติดตาม และประเมินผลการ ปฏิ บัติ ง านของเจ้ า หน้ า ที่ ต ามตั ว ชี้ วั ด หรื อ เป้าหมายที่วางไว้ มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารสําหรับผู้บริหารสารสนเทศระดับสูง มี ค วามรู้ ธ รรมาภิ บ าลระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ข้ อ มู ล ข่ า วสารของ ราชการ พ.ศ. 2540 มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ว่ า ด้ ว ยการกระทํ า ความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง
ทัก ษะการจ้า ง พัฒ นา และรัก ษาคุณ ภาพ ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ คอมพิวเตอร์ ความชํานาญทางด้านเทคโนโลยีส ารสนเทศ และการสื่อสาร การคิดวิเคราะห์ ทักษะเพิ่มเติม การมองภาพองค์รวม ทักษะด้านการให้บริการ การดําเนินการเชิงรุก ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะการเจรจาต่อรอง
ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 5
หน้า 4-26
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
4.2.2 ข้อกําหนดคุณสมบัติสําหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงข้อกําหนดคุณสมบัติสําหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม โดยมีลักษณะ งานทางด้านเทคนิคเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานเชิงวิชาการคอมพิวเตอร์ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ซึ่งแสดงรายละเอียด ดังตาราง 4.3-4.8 ตาราง 4.3 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L4 ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญด้านยุทธศาสตร์และแผน หน่วยงาน สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ (K4) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (key Responsibilities) 1. วางแผนหรือร่วมดําเนินการวางแผน โดยเชื่อมโยงหรือบูรณาการแผนงาน โครงการในระดับกลยุท ธ์ข องส่ว นราชการระดับ กรม มอบหมายงานแก้ปัญหาใน การปฏิบัติงานติดตาม ประเมินผล เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 2. ประสานการทํางานโครงการต่าง ๆ กับบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรอื่น โดยมีบทบาทในการจูงใจ โน้มน้าวเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 3. ให้ขอ้ คิดเห็น และคําแนะนําแก่หน่วยงานระดับสํานักหรือกอง รวมทั้งที่ประชุมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อให้เกิดประโยชน์และความร่วมมือในการดําเนินงานร่วมกัน 4. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) 1. ความสอดคล้องของนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง ยุติธรรม สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และกระบวนการยุติธรรมกับแผนระดับชาติ
จํานวนประเด็นนโยบายที่มีความสอดคล้องกับแผนระดับชาติ
หน้า 4-27
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.3 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) 2. ความทันเวลาของการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. ความทันเวลาในการจัดตั้ง และจัดสรรงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารประจําปีที่ตอบสนองต่อนโยบายและแผน 4. การให้ข้อเสนอแนะในการจัดทําแผนงาน โครงการในระดับกลยุทธ์ เพื่อให้บรรลุตาม เป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด
ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดทําแผน จํานวนวันที่ลา่ ช้าในการจัดทําแผน จํานวนครั้งที่จดั ประชุมล่าช้า จํานวนรอบระยะเวลาที่ใช้การจัดประชุม ระดับความสําเร็จของการให้ข้อเสนอแนะในการจัดทําแผนงาน โครงการ
หน้า 4-28
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.4 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ความรู้สําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน มี ค วามรู้ ด้ า นการจั ด ทํ า นโยบาย และ ยุทธศาสตร์ มีความรู้ในด้านการกําหนดกลยุทธ์ ความรู้ด้านการจัดทํายุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ มีความรู้ด้านการบริหารจัดการโครงการ มีความรู้ด้านการบริหารความเสี่ยง มี ค ว า ม รู้ ด้ า น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ก า ร เปลี่ยนแปลง มี ค วามรู้ ด้ า นมาตรฐานการพั ฒ นาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีความรู้ด้านมาตรฐานการควบคุมคุณภาพ งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มี ค วามรู้ ใ นการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร งบประมาณ และการจัดอัตรากําลัง
ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและโปรแกรม การมุ่งผลสัมฤทธิ์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง บริการที่ดี ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ การสัง่ สมความเชี่ยวชาญ ทักษะการคํานวณ ในงานอาชีพ ทักษะการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล การยึดมั่นในความถูกต้อง ชอบธรรม และจริยธรรม ทักษะการจัดการข้อมูล การทํางานเป็นทีม ทักษะการวางแผนและการจัดการ ข. สมรรถนะหลักของกระทรวง ทักษะการเป็นผู้นํา ทักษะการจัดทําแผนแม่บทไอทีที่สอดคล้องกับ ยุติธรรม จิตสํานึกในความยุติธรรม การปฏิรูประบบราชการ ความน่าเชื่อถือศรัทธา ทักษะการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ทักษะการปรับไอทีให้สอดคล้องกับกลยุทธ์การ พัฒนาองค์กร/จังหวัด ทักษะการใช้ไอทีปรับปรุงคุณภาพขององค์กร/ สํานักงานจังหวัด
ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4
ระดับ 4 ระดับ 4
หน้า 4-29
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.4 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ความรู้สําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง มีความรู้ในการติดตาม และตรวจสอบการใช้ ทรัพยากร และงบประมาณ มีค วามรู้ใ นการติด ตาม และประเมิน ผล การปฏิบ ัต ิง านของเจ้ า หน้ า ที่ ต ามตั ว ชี้ วั ด หรือเป้าหมายที่วางไว้ มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ข้ อ มู ล ข่ า วสารของ ราชการ พ.ศ. 2540 มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ว่ า ด้ ว ยการกระทํ า ความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ ทั ก ษะการวางแผนกลยุ ท ธ์ / แผนแม่ บ ท คอมพิวเตอร์ การคิดวิเคราะห์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทักษะเพิ่มเติม การมองภาพองค์รวม ทักษะด้านการให้บริการ การดําเนินการเชิงรุก ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะการเจรจาต่อรอง
ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4
หน้า 4-30
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตัวชี้วัดความสําเร็จในการก้าวไปสู่ตําแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร นักบริหารงานกระทรวงยุติธรรมระดับสูง ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-31
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.5 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ด้านระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L4 ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและ หน่วยงาน สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม การจัดการเพื่อการบริหาร (K4) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (key Responsibilities) 1. ให้คําปรึกษาและเสนอแนะความเห็นเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบงานประยุกต์ ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมพัฒนางาน คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้ทันสมัย 2. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานด้านระบบงานประยุกต์ ระบบสารสนเทศ เพื่อให้การพัฒนาด้านวิชาการคอมพิวเตอร์สอดคล้องกับ นโยบายของกระทรวงและนโยบายของรัฐบาล 3. พัฒนางานวิชาการด้านระบบงานประยุกต์ ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง และจัดทําคู่มือ หลักเกณฑ์และวิธีการ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติให้แก่เจ้าหน้าที่ หรือผู้สนใจ ทั่วไปนําไปประยุกตใช้ให้เกิดประโยชน์ 4. เสนอแนะแนวทางในการกําหนดนโยบายด้านระบบงานประยุกต์ ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมพัฒนานโยบายด้านระบบงานประยุกต์ และระบบสารสนเทศ 5. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา เสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรการตรวจสอบ การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล การกําหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือมาตรฐานด้านความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือ ระบบ เพื่อกําหนดมาตรการ รูปแบบ วิธีการ ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 6. ให้คําปรึกษาแนะนําแก่หน่วยงานราชการ เอกชน เกี่ยวกับการพัฒนาระบบงานประยุกต์ และระบบสารสนเทศ เพื่อให้การพัฒนางานด้านคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ 7. ฝึกอบรม หรือถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ให้แก่ข้าราชการ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และประชาชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และเสริมสร้างศักยภาพด้าน วิชาการคอมพิวเตอร์ 8. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 4-32
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.5 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ด้านระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร (ต่อ) ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) 1. ความทันเวลาในการจัดตั้ง และจัดสรรงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารประจําปีที่ตอบสนองต่อนโยบายและแผน 2. การติดตามและประเมินผลการปฏิบัตงิ านด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม
จํานวนครั้งที่จดั ประชุมล่าช้า จํานวนรอบระยะเวลาที่ใช้การจัดประชุม ระดับความสําเร็จของกํากับติดตามประเมินผลการดําเนินงานตาม นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กระทรวงยุติธรรม จํานวนระบบทีใ่ ห้คําปรึกษา และข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบ
3. การให้คําปรึกษา และข้อเสนอแนะในการพัฒนา และปรับปรุงระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารได้ทันเวลาตามแผนที่วางไว้ 4. การดําเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนกิจกรรมที่ดําเนินการ และส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมได้ทันเวลาตามแผนที่วางไว้
หน้า 4-33
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.6 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ด้านระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ความรู้สําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน มีความรู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์อย่างสูง มี ค วามรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นกฎหมายเกี่ ย วกั บ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มี ค วามรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการวิ เ คราะห์ และ ออกแบบข้ อมู ล ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ และการสื่อสารอย่างสูง มี ค วามรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการพั ฒ นาระบบ สารสนเทศ มีความรู้เชี่ยวชาญด้านระบบฐานข้อมูล มีความรู้เชี่ยวชาญด้านสถาปัตยกรรมระบบ สารสนเทศ มี ค วามรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นระบบปฏิ บั ติ ก าร (Operating system) มีค วามรู้ด้า นการจัด ทํา แผนงานโครงการ ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ มีความรู้ด้านการบริหารจัดการโครงการ
ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและโปรแกรม การมุ่งผลสัมฤทธิ์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง บริการที่ดี ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ การสัง่ สมความเชี่ยวชาญ ทักษะการคํานวณ ในงานอาชีพ ทักษะการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล การยึดมั่นในความถูกต้อง ชอบธรรม และจริยธรรม ทักษะการจัดการข้อมูล การทํางานเป็นทีม ทักษะการวางแผนและการจัดการ ข. สมรรถนะหลักของกระทรวง ทักษะการเป็นผู้นํา ยุติธรรม ทักษะการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน จิตสํานึกในความยุติธรรม ทักษะการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ความน่าเชื่อถือศรัทธา ทักษะการปรับปรุงคุณภาพขององค์กรอย่าง ต่อเนื่อง ทั ก ษะการบริ ห ารจั ด การภาพรวมระบบ สารสนเทศ ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ
ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4
ระดับ 4 ระดับ 4
หน้า 4-34
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.6 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ด้านระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร (ต่อ) ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ความรู้สําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง มีความรู้เชี่ยวชาญด้านมาตรฐานการพัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีความรู้เชี่ยวชาญด้านมาตรฐานการควบคุม คุณภาพงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร มี ค วามรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการบู ร ณาการ สารสนเทศ มี ค วามรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการประเมิ น และ วิเคราะห์สถานการณ์เพื่อให้คําปรึกษา และ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ใ น ง า น ด้ า น วิ ท ย า ก า ร คอมพิวเตอร์ของหน่วยงานที่สังกัด และส่วน งานที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ด้านการบริหารความต่อเนื่องทาง ธุรกิจ มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ข้ อ มู ล ข่ า วสารของ ราชการ พ.ศ. 2540 มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ว่ า ด้ ว ยการกระทํ า ความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ทักษะเพิ่มเติม ทักษะด้านการให้บริการ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะการเจรจาต่อรอง
ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ คอมพิวเตอร์ การคิดวิเคราะห์ การมองภาพองค์รวม การดําเนินการเชิงรุก
ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4
หน้า 4-35
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตัวชี้วัดความสําเร็จในการก้าวไปสู่ตําแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและจัดการเพื่อการบริหารในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร นักบริหารงานกระทรวงยุติธรรมระดับสูง ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-36
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.7 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L4 ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีระบบ หน่วยงาน สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม คอมพิวเตอร์และเครือข่าย (K4) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (key Responsibilities) 1. ให้คําปรึกษาและเสนอแนะความเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อร่วมพัฒนางานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ทันสมัย 2. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานด้านระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้การพัฒนาด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงและนโยบายของรัฐบาล 3. พัฒนางานวิชาการด้านระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และจัดทําคู่มือ หลักเกณฑ์และวิธีการ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติให้แก่เจ้าหน้าที่ หรือผู้สนใจ ทั่วไปนําไปประยุกตใช้ให้เกิดประโยชน์ 4. เสนอแนะแนวทางในการกําหนดนโยบายด้านระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อร่วมพัฒนานโยบายระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา เสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรการตรวจสอบ การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่ กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล การกําหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือมาตรฐานด้านความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ เพื่อกําหนด มาตรการ รูปแบบ วิธีการ ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 6. ให้คําปรึกษาแนะนําแก่หน่วยงานราชการ เอกชน เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้การพัฒนางานด้านคอมพิวเตอร์เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ 7. ฝึกอบรม หรือถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ให้แก่ข้าราชการ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และประชาชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และเสริมสร้างศักยภาพ ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 8. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 4-37
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.7 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ต่อ) ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) 1. ความสอดคล้องของนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง ยุติธรรม สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และกระบวนการยุติธรรมกับแผนระดับชาติ 2. ความทันเวลาของการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. การให้คําปรึกษา และข้อเสนอแนะในการพัฒนา และปรับปรุงระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารได้ทันเวลาตามแผนที่วางไว้ 4. การดําเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมได้ทันเวลาตามแผนที่วางไว้
จํานวนประเด็นนโยบายที่มีความสอดคล้องกับแผนระดับชาติ ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดทําแผน จํานวนวันที่ลา่ ช้าในการจัดทําแผน จํานวนระบบทีใ่ ห้คําปรึกษา และข้อเสนอแนะในการพัฒนาระบบ และ ปรับปรุงได้ทันเวลาตามแผนที่วางไว้ จํานวนกิจกรรมที่ดําเนินการ
หน้า 4-38
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.8 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ความรู้สําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน มีความรู้เชี่ยวชาญด้านระบบเครือข่าย มี ค วามรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการทํ า งานเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย มีความรู้เชี่ยวชาญด้านระบบปฏิบัติการ มีความรู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัย สารสนเทศการโจมตีและภัยคุกคาม มีความรู้เชี่ยวชาญด้านการทํางานของระบบ สนับสนุนห้อง Data Center มี ค วามรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการบริ ห ารจั ด การ ภาพรวมระบบคอมพิ ว เตอร์ แ ม่ ข่ า ยและ เครือข่าย มีความรู้เชี่ยวชาญด้านการควบคุมคุณภาพ การให้บริการระบบโครงสร้า งพื้นฐานด้า น ICT
ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและโปรแกรม การมุ่งผลสัมฤทธิ์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง บริการที่ดี ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ การสั่งสมความเชี่ยวชาญ ทักษะการคํานวณ ในงานอาชีพ ทักษะการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล การยึดมั่นในความถูกต้อง ชอบธรรม และจริยธรรม ทักษะการจัดการข้อมูล การทํางานเป็นทีม ทักษะการวางแผนและการจัดการ ข. สมรรถนะหลักของกระทรวง ทักษะการเป็นผู้นํา ยุติธรรม ทักษะการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน จิตสํานึกในความยุติธรรม ทักษะการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ความน่าเชื่อถือศรัทธา ทักษะการวิเคราะห์ ออกแบบ บริหารจัดการ ระบบเครือข่าย ทักษะการวิเคราะห์ ออกแบบ บริหารจัดการ เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ทักษะการวิเคราะห์ ออกแบบ บริหารจัดการ ห้อง Data Center
ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4
ระดับ 4 ระดับ 4
หน้า 4-39
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.8 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ต่อ) ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ความรู้สําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง มี ค วามรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการบริ ห ารจั ด การ ภาพรวมระบบคอมพิ ว เตอร์ แ ม่ ข่ า ย และ เครือข่าย มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ข้ อ มู ล ข่ า วสารของ ราชการ พ.ศ. 2540 มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ว่ า ด้ ว ยการกระทํ า ความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ทั ก ษะการบริ ห ารจั ด การภาพรวมระบบ ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ และเครือข่าย การคิดวิเคราะห์ ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ทักษะเพิ่มเติม การมองภาพองค์รวม ทักษะด้านการให้บริการ การดําเนินการเชิงรุก ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะการเจรจาต่อรอง
ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4
หน้า 4-40
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตัวชี้วัดความสําเร็จในการก้าวไปสู่ตําแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร นักบริหารงานกระทรวงยุติธรรมระดับสูง ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-41
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
4.2.3 ข้อกําหนดคุณสมบัติสําหรับผู้อํานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงข้อกําหนดคุณสมบัติสําหรับผู้อํานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม โดยมีลักษณะ งานทางด้านเทคนิค และด้านการบริหารจัดการ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานในฐานะผู้อํานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล ซึ่งแสดงรายละเอียด ดังตาราง 4.9 ตาราง 4.9 หน้าที่ความรับผิดชอบของผูอ้ ํานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชื่อตําแหน่ง ผู้อํานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (S2) หน่วยงาน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน้าที่รับผิดชอบหลัก (key Responsibilities) บริหารงานในฐานะผู้อํานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการบริหาร ควบคุม กํากับ ตรวจสอบ และให้คําปรึกษาแนะนํา เกี่ยวกับ 1. วางแผนหรือร่วมดําเนินการวางแผนในการจัดทําแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศกระทรวงยุติธรรม สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และกระบวนการยุติธรรม โดยเชื่อมโยงหรือบูรณาการแผนงาน โครงการในระดับกลยุทธ์ของส่วนราชการระดับกรม มอบหมายงานแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานติดตาม ประเมินผล เพื่อให้ บรรลุตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 2. ประสานการทํางาน และติดตามประเมินผลการดําเนินงานโครงการต่าง ๆ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้หน่วยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม และส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมกับบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรอื่น โดยมีบทบาทในการจูงใจ โน้มน้าวเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ ตามที่กําหนด 3. ให้ข้อคิดเห็น และคําแนะนําแก่หน่วยงานระดับสํานักหรือกอง รวมทั้งที่ประชุมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อให้เกิดประโยชน์และความร่วมมือในการดําเนินงานร่วมกัน 4. ให้คําปรึกษาแนะนําแก่หน่วยงานราชการ เอกชน เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบงานประยุกต์ และระบบงานสารสนเทศ เพื่อให้การพัฒนางานด้านคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 5. เป็นศูนย์กลางบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารกระบวนการยุติธรรมของกระทรวงยุติธรรม 6. สนับสนุน และดูแลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในภาพรวมของกระทรวงยุติธรรม หน้า 4-42
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.9 หน้าที่ความรับผิดชอบของผูอ้ ํานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ต่อ) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (key Responsibilities) 7. ฝึกอบรม หรือถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ให้แก่ข้าราชการในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม และ ประชาชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และเสริมสร้างศักยภาพด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 8. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย 9. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) 1. ความสอดคล้องของนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง จํานวนประเด็นนโยบายที่มีความสอดคล้องกับแผนระดับชาติ ยุติธรรม สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และกระบวนการยุติธรรมกับแผนระดับชาติ 2. ความทันเวลาของการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการกระทรวงยุติธรรม ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดทําแผน จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทําแผน และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. ความทันเวลาในการจัดตั้ง และจัดสรรงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ จํานวนครั้งที่จดั ประชุมล่าช้า การสื่อสารประจําปีที่ตอบสนองต่อนโยบายและแผน จํานวนรอบระยะเวลาที่ใช้การจัดประชุม 4. การติดตามและประเมินผลการปฏิบัตงิ านด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับความสําเร็จของกํากับติดตามประเมินผลการดําเนินงานตาม ในสังกัดกระทรวงยุติธรรมได้ทันตามกรอบระยะเวลาที่กําหนด นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กระทรวงยุติธรรม 5. การติดตาม และผลักดันการใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ จํานวนระบบทีถ่ ูกพัฒนาและมีการนําไปใช้งาน ทันเวลาตามแผนที่วางไว้ 6. การดําเนินกิจกรรมด้านการพัฒนาบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนกิจกรรมที่ดําเนินการ และส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมได้ทันเวลาตามแผนที่วางไว้ หน้า 4-43
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.10 กําหนดคุณสมบัติตามตําแหน่งด้านการบริหารจัดการ ระดับอํานวยการสูง ทักษะสําหรับตําแหน่ง ความรู้สําหรับตําแหน่ง ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน มี ค วามรู้ ด้ า นการจั ด ทํ า นโยบาย และ ยุทธศาสตร์ มีความรู้ในด้านการกําหนดกลยุทธ์ มีค วามรู้ด ้า นการจัด ทํ า แผนงานโครงการ ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ มีความรู้ด้านการบริหารจัดการโครงการ มี ค วามรู้ ด้ า นมาตรฐานการพั ฒ นาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มี ค ว า ม รู ้ ด ้ า น ม า ต ร ฐ า น ก า ร ค ว บ คุ ม คุ ณ ภาพงานด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ และการสื่ อ สาร มี ค วามรู้ ใ นการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร งบประมาณ และการจัดอัตรากําลัง มีความรู้ในการติดตาม และตรวจสอบการใช้ ทรัพยากร และงบประมาณ
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง
ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ทักษะที่จําเป็น การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและโปรแกรม อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง บริการที่ดี ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ การสั่งสมความเชี่ยวชาญ ทักษะการคํานวณ ในงานอาชีพ การยึดมั่นในความถูกต้อง ทักษะการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล ชอบธรรม และจริยธรรม ทักษะการจัดการข้อมูล การทํางานเป็นทีม ทักษะการวางแผนและการจัดการ ข. ส ม ร ร ถ น ะ ห ล ัก ข อ ง ทักษะการเป็นผู้นํา กระทรวงยุติธรรม ทักษะการแปลงนโยบาย/แผน ไปสู่การปฏิบัติ จิตสํานึกในความยุติธรรม ทั ก ษะการติ ด ตาม ประเมิ น ผล เพื่ อ ให้ ก าร ความน่าเชื่อถือศรัทธา ดํ า เนิ นงานบรรลุ ต ามเป้ า หมายผลสั ม ฤทธิ์ ที่ กําหนด ทั ก ษะการชี้ แ จงข้ อ เท็ จ จริ ง พิ จ ารณาให้ ค ว า ม เ ห็ น ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ใ น ที่ ป ร ะ ชุ ม คณะกรรมการและคณะทํางานต่าง ๆ
ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4
ระดับ 4 ระดับ 4
หน้า 4-44
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.10 กําหนดคุณสมบัติตามตําแหน่งด้านการบริหารจัดการ ระดับอํานวยการสูง (ต่อ) ทักษะสําหรับตําแหน่ง ความรู้สําหรับตําแหน่ง มีค วามรู้ใ นการติด ตาม และประเมิน ผล การปฏิบ ัต ิง านของเจ้ า หน้ า ที่ ต ามตั ว ชี้ วั ด หรือเป้าหมายที่วางไว้ มีความรู้ด้านการบูรณาการสารสนเทศ มี ค วามรู้ ด้ า นการบริ ห ารจั ด การภาพรวม ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และเครือข่าย มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ข้ อ มู ล ข่ า วสารของ ราชการ พ.ศ. 2540 มี ค วามรู้ ด้ า น พรบ. ว่ า ด้ ว ยการกระทํ า ความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง
ทักษะการมอบหมายงาน และการแก้ไขปัญหา ค. สมรรถนะสายงานวิ ช าการ คอมพิวเตอร์ ในการปฏิบัติงาน การคิดวิเคราะห์ ทั ก ษะในการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่อสาร การมองภาพองค์รวม และทรัพยากรบุคลากร การดําเนินการเชิงรุก ทั ก ษะการบริ ห ารจั ด การภาพรวมระบบ สารสนเทศ ทั ก ษะการบริ ห ารจั ด การภาพรวมระบบ คอมพิวเตอร์ และเครือข่าย ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ทักษะเพิ่มเติม ทักษะด้านการให้บริการ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะการเจรจาต่อรอง
ระดับ 4 ระดับ 4 ระดับ 4
หน้า 4-45
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตัวชี้วัดความสําเร็จในการก้าวไปสู่ตําแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร นักบริหารงานกระทรวงยุติธรรมระดับสูง ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อย่างน้อย 1 ด้าน อาทิ ด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยี สารสนเทศ ด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร และด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-46
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
4.2.4 ข้อกําหนดคุณสมบัติสําหรับตําแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึง หน้าที่ความรับผิดชอบ และข้อกําหนดคุณสมบัติสําหรับนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการ และระดับชํานาญการพิเศษ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ตาราง 4.11 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L1 ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ (K1) หน่วยงาน ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. วางแผนการทํางานที่รับผิดชอบ ร่วมดําเนินการจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้าน ICT หรือโครงการ ของกระทรวงยุติธรรมและสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 2. ประสานงานทํางานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 3. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดําเนินงานที่ได้รับมอบหมาย 4. ช่วยรวบรวมข้อมูล และเสริมสร้างขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัด กระทรวงยุติธรรม 5. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ และพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมด้าน ICT 6. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เกี่ยวกับการกําหนดมาตรฐานด้าน ICT ของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 7. ช่วยเผยแพร่ ให้บริการทางวิชาการและคําแนะนําปรึกษาทั่วไปทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แก่ผู้ใช้และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 8. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 4-47
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.11 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) 1. ความทันเวลาในการจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของกระทรวง ระยะเวลาที่ใช้ในการทําแผน ยุติธรรมและสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทําแผน 2. ความทันเวลาของการเร่งรัด ติดตาม และการจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน จํานวนครั้งที่จัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานที่ล่าช้ากว่าระยะเวลาที่กําหนด จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน 3. การดําเนินการช่วยพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม จํานวนหลักสูตรการฝึกอบรม 4. จั ด ทํา เอกสารเพื่ อ ให้ บ ริ ก ารทางวิ ช าการด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ จํานวนเอกสารวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การสื ่ อ สาร และเผยแพร่ แ ก่ ผู ้ ใ ช้ ง าน และหน่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวง จํานวนการเผยแพร่งานทางวิชาการ ยุติธรรม
หน้า 4-48
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.12 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้สําหรับตําแหน่ง ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ความรู้ด้านกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ ความรู้ ด้ า นการจั ด ทํ า ยุ ท ธศาสตร์ แผนงาน โครงการด้าน ICT ความรู้ด้านการวิเคราะห์ความเสี่ยง ความรู้ด้านการติดตาม ประเมินผล ความรู้ด้านการบริหารจัดการโครงการ ค ว า ม รู้ ด้ า น ก า ร จั ด ทํ า เ อ ก ส า ร ข้อกําหนดทางเทคนิค ความรู้ ด้ า นการพั ฒ นาหลั ก สู ต ร ฝึกอบรม
ทักษะสําหรับตําแหน่ง
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับ 1 โปรแกรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง บริการที่ดี ระดับ 1 ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน ระดับ 1 ทักษะด้านการจัดการข้อมูล อาชีพ ทักษะการแปลงนโยบาย/แผน ไปสู่ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม ระดับ 1 การปฏิบัติ และจริยธรรม ทั ก ษะการเขี ย นรายงานและสรุ ป การทํางานเป็นทีม ระดับ 1 รายงาน ข. สมรรถนะหลักของกระทรวงยุติธรรม ทั ก ษะด้ า นการคิ ด วิ เ คราะห์ และ จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 1 การตัดสินใจ ความน่าเชื่อถือศรัทธา ระดับ 1 ทัก ษะในการให้คํ า แนะนํ า และ การวางแผน
หน้า 4-49
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.12 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) ความรู้สําหรับตําแหน่ง ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ ความรู้ในการติดต่อสื่อสาร การประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ครื่ อ งมื อ ในงาน ประชาสัมพันธ์ มีความรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่าวสารของ ราชการ พ.ศ. 2540 มีความรู้ด้าน พรบ. ว่าด้วยการกระทํา ความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ทักษะสําหรับตําแหน่ง
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ค. สมรรถนะสายงานวิชาการคอมพิวเตอร์ ทักษะที่จําเป็น ระดับ 1 การคิดวิเคราะห์ ทักษะในการฟัง และการสื่อสารเพื่อ โน้มน้าวใจ การมองภาพองค์รวม ระดับ 1 ทั ก ษะด้ า นการค้ น คว้ า ข้ อ มู ล ใน การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 1 รูปแบบต่าง ๆ ทักษะเพิ่มเติม ทักษะด้านการให้บริการ ทั ก ษะในการปรั บ ตั ว ให้ เ ข้ า กั บ สถานการณ์ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์
หน้า 4-50
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตัวชี้วัดความสําเร็จในการก้าวไปสู่ตําแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีมากขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์สนับสนุนการนําเสนอข้อมูลด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศในที่ประชุมระดับหน่วยงานภายในสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ งานด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-51
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.13 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L2 ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ (K2)
หน่วยงาน ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. วางแผน หรือร่วมดําเนินการวางแผนงานในการจัดทําแผนแม่บท และแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และแก้ปัญหา ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 2. กํากับดูแลการเผยแพร่ ให้บริการทางวิชาการและคําแนะนําปรึกษาทั่วไปทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แก่ผู้ใช้และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 3. ศึกษา วิเคราะห์ และดําเนินการจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของกระทรวงยุติธรรมช่วยเสนอแนะการจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการ ด้าน ICT ของกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 4. ศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการกําหนดมาตรฐานด้าน ICT ของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 5. ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาหลักสูตร และจัดทําแผนการฝึกอบรมด้าน ICT 6. เสริมสร้างขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 7. ให้ข้อคิดเห็นหรือคําแนะนําเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการดําเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย 8. ประสานการทํางานร่วมกันโดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคําแนะนําเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่ กําหนด 9. ช่วยจัดทํานโยบายและยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 10. ช่วยบริหารจัดการ ติดตาม ประเมินผลและประสานแผนปฏิบัติงานด้าน ICT ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ตลอดจนเสนอแนะและกําหนดนโยบายในการขอตั้ง และจัดสรรงบประมาณ 11. ช่วยทําหน้าที่เลขานุการของผู้อํานวยการศูนย์ฯ ในด้านแผนนโยบายและยุทธศาสตร์ด้าน ICT พร้อมสนับสนุนการปฏิบัติงานของ CIO ประจํากระทรวงยุติธรรม 12. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 4-52
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.13 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) 1. ความทันเวลาในการจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของ กระทรวงยุติธรรมและสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 2. ความทันเวลาของการเร่งรัด ติดตาม และการจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน 3. 4. 5. 6.
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) ระยะเวลาที่ใช้ในการทําแผน จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทําแผน จํานวนครั้งที่จดั ทํารายงานผลการปฏิบัติงาน จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทํารายงานการปฏบัติงาน ความทันเวลาในการจัดทํารายงานประเมินผลแผนงาน/โครงการ จํานวนครั้งที่ลา่ ช้าในการจัดทํารายงานประเมินผลแผนงาน/โครงการ จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทํารายงานประเมินผลแผนงาน/โครงการ จั ด ทํา เอกสารเพื่ อ ให้ บ ริ ก ารทางวิ ช าการด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ จํานวนเอกสารวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การสื่ อ สาร และเผยแพร่แก่ผู้ใช้งาน และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนการเผยแพร่งานทางวิชาการ การดําเนินการพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม จํานวนหลักสูตรการฝึกอบรม ความสําเร็จของการช่วยพัฒนาระบบ รูปแบบ หลักเกณฑ์ วิธีติดตามและ ระดับความสําเร็จของการช่วยพัฒนาระบบ รูปแบบ หลักเกณฑ์ วิธีติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงาน และประเมินผล
7. การปรับปรุงและประเมินตัวชี้วัดความสําเร็จของแผนงาน/โครงการ
จํานวนการปรับปรุงและประเมินตัวชี้วัดความสําเร็จของแผนงาน/โครงการ
หน้า 4-53
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.14 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้สําหรับตําแหน่ง ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ความรู้ ด้ า นการจั ด ทํ า นโยบาย และ ยุทธศาสตร์ด้าน ICT ความรู้ด้านการวางแผนกลยุทธ์ ความรู้ ด้ า นการจั ด ทํ า ยุ ท ธศาสตร์ แผนงาน โครงการด้าน ICT ค ว า ม รู้ ด้ า น ก า ร ว า ง แ ผ น พั ฒ น า บุ ค ลากรด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ และการสื่อสาร ความรู้ด้านการวิเคราะห์และจัดการ ความเสี่ยง ความรู้ด้านการติดตาม ประเมินผล ความรู้ด้านการบริหารจัดการโครงการ ค ว า ม รู้ ด้ า น ก า ร จั ด ทํ า เ อ ก ส า ร ข้อกําหนดทางเทคนิค
ทักษะสําหรับตําแหน่ง
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชือ่ สมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ทักษะที่จําเป็น ทักษะการใช้โปรแกรมสํานักงานและ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับ 2 โปรแกรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง บริการที่ดี ระดับ 2 ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน ระดับ 2 ทักษะด้านการจัดการข้อมูล อาชีพ ทั ก ษะด้ า นการคิ ด วิ เ คราะห์ และ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบ ระดับ 2 การตัดสินใจ ธรรม และจริยธรรม ทักษะด้านการใช้งานเครื่องมือการ การทํางานเป็นทีม ระดับ 2 บริหารจัดการโครงการ/การติดตาม ข. สมรรถนะหลักของกระทรวงยุติธรรม และประเมินโครงการ ระดับ 2 จิตสํานึกในความยุติธรรม ทั ก ษะด้ า นการจั ด ประชุ ม สั ม มนา ระดับ 2 ความน่าเชื่อถือศรัทธา ทางวิ ช าการด้ า นการวิ เ คราะห์ นโยบายและแผนงาน ทักษะในการวางแผน และการแก้ไข ปัญหา
หน้า 4-54
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.14 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) ความรู้สําหรับตําแหน่ง
ทักษะสําหรับตําแหน่ง
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ค. สมรรถนะสายงานวิชาการ ทักษะที่จําเป็น ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน คอมพิวเตอร์ ความรู้ ด้ า นมาตรฐานการจั ด การ ทักษะการแปลงนโยบาย/แผน ไปสู่การ ปฏิบัติ ระดับ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศ การคิดวิเคราะห์ ระดับ 2 ความรู้ในการดําเนินงานประชาสัมพันธ์ ทักษะในการให้คําแนะนํา การมองภาพองค์รวม การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 2 มีความรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่าวสารของ ทักษะในการแก้ไขปัญหา ทัก ษะในการฟัง และการสื ่อ สารเพื ่อ ราชการ พ.ศ. 2540 มีความรู้ด้าน พรบ. ว่าด้วยการกระทํา โน้มน้าวใจ ความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทักษะการเขียนรายงานและสรุปรายงาน ทักษะในการประยุกต์ใช้เครื่องมือในงาน ประชาสัมพันธ์ ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลในรูปแบบ ต่าง ๆ ทักษะเพิ่มเติม ทักษะด้านการให้บริการ ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ป รั บ ตั ว ใ ห้ เ ข้ า กั บ สถานการณ์ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ หน้า 4-55
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตัวชี้วัดความสําเร็จในการก้าวไปสู่ตําแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีมากขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร ผู้บริหารงานยุติธรรมระดับต้น ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ งานด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-56
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.15 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L3 ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ (K3)
หน่วยงาน ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. วางแผน หรือร่วมดําเนินการวางแผนงานในการจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของหน่วยงานกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม มอบหมายงาน แก้ปัญหาในการปฏิบัติงานและติดตามประเมินผลเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 2. กํากับดูแลเสนอแนะการจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้าน ICT ของกระทรวงยุติธรรม 3. กํากับดูแลเสริมสร้างขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของบุคลากรในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ยุติธรรม 4. กํากับดูแลการศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมด้าน ICT 5. กํากับดูแลการศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการกําหนดมาตรฐานด้าน ICT ของสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 6. กํากับดูแลการเผยแพร่ ให้บริการทางวิชาการและคําแนะนําปรึกษาทั่วไปทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แก่ผู้ใช้และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 7. จัดทํานโยบายและยุทธศาสตร์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวงยุติธรรม และสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 8. บริหารจัดการ ติดตาม ประเมินผลและประสานแผนปฏิบัติงานด้าน ICT ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ตลอดจนเสนอแนะและกําหนดนโยบายในการขอตั้งและ จัดสรรงบประมาณ 9. ประสานการทํางานโครงการต่าง ๆ กับบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรอื่น โดยมีบทบาทในการจูงใจ โน้มน้าวเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 10. ให้ข้อคิดเห็น และคําแนะนําแก่หน่วยงานระดับสํานักหรือกอง รวมทั้งที่ประชุมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อให้เกิดประโยชน์และความร่วมมือในการดําเนินงานร่วมกัน 11. ทําหน้าที่เลขานุการของผู้อํานวยการศูนย์ฯ ในด้านแผนนโยบายและยุทธศาสตร์ด้าน ICT พร้อมสนับสนุนการปฏิบัติงานของ CIO ประจํากระทรวงยุติธรรม 12. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 4-57
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.15 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) 1. ความทันเวลาในการจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบตั ิการด้าน ICT ของ ระยะเวลาที่ใช้ในการทําแผน กระทรวงยุติธรรมและสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทําแผน 2. การดําเนินการพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม จํานวนหลักสูตรการฝึกอบรม 3. จั ดทํา เอกสารเพื่อให้ บริก ารทางวิ ช าการด้ านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ จํานวนเอกสารวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การสื่ อ สาร และเผยแพร่แก่ผู้ใช้งาน และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม จํานวนการเผยแพร่งานทางวิชาการ 4. ความทันเวลาของการเร่งรัด ติดตาม และการจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน จํานวนครั้งที่จัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานล่าช้ากว่าระยะเวลาที่กําหนด จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทํารายงานผลการปฏบัติงาน 5. ความทันเวลาในการจัดทํารายงานประเมินผลแผนงาน/โครงการ จํานวนครั้งที่ล่าช้าในการจัดทํารายงานประเมินผลแผนงาน/โครงการ จํานวนวันที่ล่าช้าในการจัดทํารายงานประเมินผลแผนงาน/โครงการ 6. ความสําเร็จของการพัฒนาระบบ รูปแบบ หลักเกณฑ์ วิธีติดตามและ ระดับความสําเร็จของการพัฒนาระบบ รูปแบบ หลักเกณฑ์ วิธีติดตาม และ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมินผล 7. การปรับปรุงและประเมินตัวชี้วัดความสําเร็จของแผนงาน/โครงการ จํานวนการปรับปรุงและประเมินตัวชี้วัดความสําเร็จของแผนงาน/โครงการ
หน้า 4-58
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.16 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้สําหรับตําแหน่ง
ทักษะสําหรับตําแหน่ง
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ทักษะที่จําเป็น ทั ก ษะการใช้ โ ปรแกรมสํ า นั ก งานและ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับ 3 โปรแกรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง บริการที่ดี ระดับ 3 ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน ระดับ 3 ทักษะการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล อาชีพ ทักษะด้านการจัดการข้อมูล การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม ระดับ 3 ทั ก ษะด้ า นการคิ ด วิ เ คราะห์ และ และจริยธรรม การทํางานเป็นทีม ระดับ 3 การตั ด สิ น ใจ
ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ความรู้ ด้ า นการจั ด ทํ า นโยบาย และ ยุทธศาสตร์ ความรู้ ด้ า นแนวคิ ด และกระบวนการ วางแผนกลยุทธ์ ความรู้ ด้ า น ก า ร จั ด ทํ า ยุ ท ธ ศ าส ต ร์ แผนงาน โครงการด้าน ICT ความรู้ด้านการวางแผนพัฒนาบุคลากร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทักษะในการตรวจรับงานบริษัทผู้พัฒนา ข. สมรรถนะหลักของกระทรวงยุติธรรม ความรู้ ด้ า นการวิ เ คราะห์ แ ละจั ด การ ทั ก ษะด้ า นการใช้ ง านเครื่ อ งมื อ การ จิตสํานึกในความยุติธรรม ความเสี่ยง บริหารจัดการโครงการ/การติดตามและ ความน่าเชื่อถือศรัทธา ความรู้ด้านการติดตาม ประเมินผล ประเมินโครงการ ค. สมรรถนะสายงานวิชาการคอมพิวเตอร์ ความรู้ด้านการบริหารจัดการโครงการ ทั ก ษะด้ า นการจั ด ประชุ ม สั ม มนาทาง การคิดวิเคราะห์ ความรู้ด้านการจัดทําเอกสารข้อกําหนด วิช าการด้า นการวิเคราะห์นโยบายและ การมองภาพองค์รวม ทางเทคนิค แผนงาน การดําเนินการเชิงรุก ทักษะในการวางแผน และความเป็นผู้นํา ทักษะในการแก้ไขปัญหา
ระดับ 3 ระดับ 3 ระดับ 3 ระดับ 3 ระดับ 3
หน้า 4-59
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.16 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) ความรู้สําหรับตําแหน่ง
ทักษะสําหรับตําแหน่ง
ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ความรู้ด้านมาตรฐานการพัฒนาระบบ ICT ความรู้ ด้ า นมาตรฐานการควบคุ ม คุณภาพงานด้าน ICT ความรู้ในการดําเนินงานประชาสัมพันธ์
ทักษะที่จําเป็น ทัก ษะการแปลงนโยบาย/แผน ไปสู่
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง
การปฏิบัติ
ทั ก ษะการเขี ย นรายงานและสรุ ป รายงาน ทักษะในการให้คําแนะนํา และการแก้ไข ความรู้ด้านการประชาสัมพันธ์ ปัญหา การประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ครื่ อ งมื อ ในงาน ทั ก ษะในการฟั ง และการสื ่ อ สาร ประชาสัมพันธ์ เพื่ อ โน้ ม น้ า วใจ มีความรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่าวสารของ ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลในรูปแบบ ราชการ พ.ศ. 2540 ต่าง ๆ มีความรู้ด้าน พรบ. ว่าด้วยการกระทํา ทักษะเพิ่มเติม ความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทักษะด้านการให้บริการ ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ป รั บ ตั ว ใ ห้ เ ข้ า กั บ สถานการณ์ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์
หน้า 4-60
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตัวชี้วัดความสําเร็จในการก้าวไปสู่ตําแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร นักบริหารงานกระทรวงยุติธรรมระดับกลาง ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานด้านยุทธศาสตร์และแผนเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-61
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
4.2.5 ข้อกําหนดคุณสมบัติสําหรับตําแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ และข้อกําหนดคุณสมบัติสําหรับนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อ การบริหาร ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการ และระดับชํานาญการพิเศษ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ตาราง 4.17 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L1 ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ (K1)
หน่วยงาน ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร
หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคําสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคําสั่งสําเร็จรูป เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและ สอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน 2. ประมวลผล และปรับปรุงแก้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้องแม่นยําและทันสมัย 3. ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการและสภาพการใช้งานของหน่วยงาน 4. เขียนชุดคําสั่งตามข้อกําหนดของระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดําเนินไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5. รวบรวมข้อมูลประกอบการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูล เพื่อให้ได้มาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของ หน่วยงาน 6. ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตาม มาตรฐานสากลเพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ
หน้า 4-62
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.17 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร (ต่อ) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 7. ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลของหน่วยงานที่ไม่ซับซ้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศใน หน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของหน่วยงาน 8. ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูล เพื่อให้ได้ระบบงานประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของ หน่วยงาน 9. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์เทคนิค กระบวนการ พัฒนาและดูแลรักษาระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ที่มีอยู่ของกระทรวง (Knowledge Management: KM) ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ กระบวนการ พัฒนาและดูแลรักษาระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) 10. ช่วยบริหารจัดการศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงยุติธรรม (MOC) และศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) 11. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ พัฒนา และดูแลรักษาระบบบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (MIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) และระบบสารสนเทศสําหรับ ผู้บริหาร (EIS) 12. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ จัดทํา และดูแลรักษาคลังข้อมูล (Data Warehouse) และเหมืองข้อมูล (Data Mining) ของกระทรวงยุติธรรม เพื่อนําข้อมูลไปใช้ใน การปฏิบัติงาน หรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารสูงสุด ในการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวง 13. ช่วยจัดทํา และดูแลรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อการบริหารจัดการ 14. ช่วยจัดทําคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ระบบสารสนเทศได้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ 15. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดําเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย 16. ประสานงานทํางานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 17. ดําเนินการฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 18. ให้คําปรึกษาแนะนําแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานระบบสารสนเทศ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขและใช้งานระบบสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 19. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 4-63
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.17 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร (ต่อ) ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) 1. การออกแบบ การพัฒนา และปรับปรุงด้านระบบสารสนเทศ 2. ความต่อเนื่องของการให้บริการทางด้านระบบสารสนเทศ 3. ความทันสมัยของข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการเผยแพร่ 4. การดําเนินการพัฒนาทักษะการใช้งานด้านระบบสารสนเทศสําหรับผู้ใช้งาน
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) จํานวนระบบที่มีการพัฒนาหรือปรับปรุง ระยะเวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทํางานได้ (Downtime) จํานวนครั้งของการอัพเดทข้อมูลสารสนเทศ จํานวนเรื่องข้อมูลสารสนเทศที่ทําการอัพเดท จํานวนการดําเนินกิจกรรม
หน้า 4-64
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.18 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ความรู้สําหรับตําแหน่ง ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ทักษะที่จําเป็น ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ความรู้ด้านระบบคอมพิวเตอร์พื้นฐาน การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับ 1 ความรู้ ด้ า นกฎหมายเกี่ ย วกั บ พ.ร.บ. ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ บริการที่ดี ระดับ 1 คอมพิวเตอร์ ทักษะด้านการวิเคราะห์ข้อมูล การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน ระดับ 1 ความรู้ด้านการวิเคราะห์ และออกแบบ ทักษะด้านพัฒนาระบบโปรแกรมระบบงาน อาชีพ ข้อ มูล ด้า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและ สารสนเทศ การยึ ด มั่ น ในความถู ก ต้ อ งชอบ ระดับ 1 การสื่อสาร ทักษะด้านระบบสารสนเทศบนเว็บ ธรรม และจริยธรรม ความรู้ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศ (Web - based Application) การทํางานเป็นทีม ระดับ 1 ความรู้ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศ ทักษะด้านการจัดการฐานข้อมูล ข. สมรรถนะหลักของกระทรวงยุติธรรม สําหรับอุปกรณ์ไร้สาย ทั ก ษะด้ า นการทดสอบการใช้ ง านระบบ จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 1 ความรู้ด้านระบบฐานข้อมูล สารสนเทศ ระดับ 1 ความน่าเชื่อถือศรัทธา ค ว า ม รู้ ด้ า น ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ร ะ บ บ ทักษะเพิ่มเติม ค. สมรรถนะสายงานวิชาการ สารสนเทศ ทักษะด้านการให้บริการ คอมพิวเตอร์ ความรู้ด้านระบบปฏิบัติการ (Operating ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ระดับ 1 การคิดวิเคราะห์ System) ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลเทคโนโลยีใหม่ ๆ การมองภาพองค์รวม ระดับ 1 การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 1
หน้า 4-65
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.18 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร (ต่อ) ความรู้สําหรับตําแหน่ง ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน มีความรู้ด้าน พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของ ราชการ พ.ศ. 2540 มีความรู้ด้าน พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทํา ความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ตัวชี้วัดความสําเร็จในการก้าวไปสู่ตําแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM) คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีมากขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์สนับสนุนการนําเสนอข้อมูลด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหารในที่ประชุมระดับหน่วยงานภายในสํานักงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ งานด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-66
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.19 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L2 ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ (K2)
หน่วยงาน ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร
หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. วางแผนบริหารจัดการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา และดูแลรักษาระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง 2. วางแผนบริหารจัดการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา และดูแลรักษาเว็บไซต์ของกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 3. วางแผนบริหารจัดการศึกษา วิเคราะห์เทคนิค กระบวนการ พัฒนา และดูแลรักษาระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ที่มีอยู่ของกระทรวงยุติธรรม (Knowledge Management: KM) 4. วางแผนบริหารจัดการศึกษา วิเคราะห์ กระบวนการ พัฒนา และดูแลรักษาระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) 5. บริหารจัดการศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงยุตธิ รรม (MOC) และศูนย์ปฏิบตั ิการนายกรัฐมนตรี (PMOC) 6. ศึกษาวิเคราะห์ กําหนดคุณลักษณะเฉพาะของระบบสารสนเทศ เพื่อให้ได้มาตรฐานเดียวกันทั้งหน่วยงาน และตรงตามความต้องการ ลักษณะการใช้งานของหน่วยงาน 7. ศึกษาวิเคราะห์ และกําหนดความต้องการของหน่วยงาน เพื่อออกแบบระบบงาน ระบบการประมวลผล และระบบฐานข้อมูล เพื่อสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ใน หน่วยงาน 8. ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนา และดูแลรักษาระบบบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (MIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) และระบบสารสนเทศสําหรับผู้บริหาร (EIS) 9. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทํา และดูแลรักษาคลังข้อมูล (Data Warehouse) และเหมืองข้อมูล (Data Mining) ของกระทรวงยุติธรรม เพื่อนําข้อมูลไปใช้ในการปฏิบัติงาน หรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารสูงสุด ในการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวง 10. กําหนดแนวทางการทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบสารสนเทศ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน 11. กําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ระบบสารสนเทศ เพื่อให้ได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งหน่วยงาน และตรงตาม ความต้องการใช้ของหน่วยงาน หน้า 4-67
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.19 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร (ต่อ) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 12. เขียนชุดคําสั่งตามข้อกําหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบสารสนเทศ ข้อมูลที่ยากและซับซ้อนที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ 13. จัดทํา และดูแลรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อการบริหารจัดการ 14. จัดทําสื่อในการให้บริการเผยแพร่ข้อมูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่หน่วยงานต่าง ๆ และประชาชนผูส้ นใจ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 15. รวบรวมข้อมูลประกอบการเสนอแนะนโยบายและแผนการพัฒนาระบบระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนานโยบายด้านเทคโนโลยี สารสนเทศให้ทันสมัย 16. ตรวจสอบ สืบค้น การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความ มั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ 17. ช่วยบริหารจัดการการบูรณาการข้อมูลสารสนเทศของกระทรวงยุตธิ รรมและหน่วยงานภายนอก 18. ให้คําปรึกษา แนะนํา เพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าทีร่ ะดับรองลงมา 19. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ และกําหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและหน่วยงานนอกสังกัดที่เกี่ยวข้อง 20. ฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ แก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 21. ให้ข้อคิดเห็นหรือคําแนะนําเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการดําเนินงานตามที่ได้รับ มอบหมาย 22. ประสานการทํางานร่วมกันโดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคําแนะนําเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่ กําหนด 23. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 4-68
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.19 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร (ต่อ) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) 1. การออกแบบ การพัฒนา และปรับปรุงระบบสารสนเทศ จํานวนระบบสารสนเทศที่มีการพัฒนาหรือปรับปรุง 2. ความต่อเนื่องของการให้บริการทางด้านระบบสารสนเทศ ระยะเวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทํางานได้ (Downtime) 3. ความทันสมัยของข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการเผยแพร่ จํานวนครั้งของการอัพเดทข้อมูลสารสนเทศ จํานวนเรื่องข้อมูลสารสนเทศที่ทําการอัพเดท 4. การดําเนินการพัฒนาทักษะการใช้งานด้านระบบสารสนเทศสําหรับผู้ใช้งาน จํานวนการดําเนินกิจกรรม
หน้า 4-69
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.20 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ความรู้สําหรับตําแหน่ง ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ ความรู้ ด้ า นกฎหมายเกี่ ย วกั บ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ความรู้ ด้ า นการวิ เ คราะห์ และออกแบบ ข้ อ มู ล ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สารระดั บ สู ง ความรู้ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศ ความรู้ด้านระบบฐานข้อมูล ความรู้ด้านสถาปัตยกรรมระบบสารสนเทศ ความรู้ ด้ า นระบบปฏิ บั ติ ก าร (Operating system) ความรู้ด้านคลังข้อมูล (Data Warehouse) และเหมืองข้อมูล (Data Mining)
ทักษะสําหรับตําแหน่ง
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ระดับ 2 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ระดับ 2 บริการที่ดี ทักษะด้านการวิเคราะห์ข้อมูล ระดับ 2 การสั่งสมความเชี่ยวชาญใน งานอาชีพ ทักษะด้านพัฒนาระบบ ระดับ 2 การยึดมั่นในความถูกต้อง ทักษะด้านการจัดการฐานข้อมูล ชอบธรรม และจริยธรรม ทั ก ษะด้ า นการทดสอบการใช้ ง านระบบ ระดับ 2 การทํางานเป็นทีม สารสนเทศ ทักษะด้านการประเมินผลการใช้งานระบบ ข. สมรรถนะหลักของกระทรวง ยุติธรรม สารสนเทศ ระดับ 2 จิตสํานึกในความยุติธรรม ทั ก ษ ะ ด้ า น บํ า รุ ง ดู แ ล รั ก ษ า ร ะ บ บ ระดับ 2 ความน่าเชื่อศรัทธา สารสนเทศ ทักษะด้านคลังข้อมูล (Data Warehouse) และเหมืองข้อมูล (Data Mining) ทักษะด้านการอบรม
หน้า 4-70
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.20 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร (ต่อ) ความรู้สําหรับตําแหน่ง
ทักษะสําหรับตําแหน่ง
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ค. สมรรถนะสายงานวิชาการ ความรู้ด้านวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนงานด้านต่าง ๆ ทักษะเพิ่มเติม คอมพิวเตอร์ ของหน่วยงานที่สังกัด ทักษะด้านการให้บริการ การคิดวิเคราะห์ ระดับ 2 ความรู้ ด้านให้คํ าปรึกษา แนะนํา และเสนอแนะ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ การมองภาพองค์รวม ระดับ 2 วิธีการแก้ไขปรับปรุงการปฏิบัติงานที่อยู่ในความ ทั ก ษ ะ ด้ า น ก า ร ค้ น ค ว้ า ข้ อ มู ล รับผิดชอบ การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 2 เทคโนโลยีใหม่ ๆ ความรู้ด้านการบริหารและจัดระบบงาน ความรู้ด้านการริเริ่ม ปรับปรุงนโยบายและแผนงาน มีค วามรู้ด้ าน พ.ร.บ. ข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มีความรู้ด้าน พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทําความผิด ทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
หน้า 4-71
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตัวชี้วัดความสําเร็จในการก้าวไปสู่ตําแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีมากขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหารในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร ผู้บริหารงานยุติธรรมระดับต้น ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ งานด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-72
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.21 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L3 ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ (K3)
หน่วยงาน ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร
หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. กํากับ บริหารจัดการ พัฒนาระบบงานต่าง ๆ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนงาน โครงการ 2. กํากับ ดูแล วางแผน และออกแบบภาพรวมด้านระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูล และการบูรณาการสารสนเทศของกระทรวงยุติธรรม 3. กํากับ ดูแลและวางแผนพัฒนาการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา และดูแลรักษาระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและใช้งานได้อย่าง ต่อเนื่อง 4. กํากับ ดูแลและวางแผนพัฒนาการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา และดูแลรักษาเว็บไซต์ของกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม 5. กํากับ ดูแลและวางแผนพัฒนาการศึกษา วิเคราะห์เทคนิค กระบวนการ พัฒนา และดูแลรักษาระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ที่มีอยู่ของกระทรวง (Knowledge Management: KM) 6. กํากับ ดูแลและวางแผนพัฒนาการศึกษา วิเคราะห์ กระบวนการ พัฒนา และดูแลรักษาระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) 7. กํากับ ดูแลและวางแผนพัฒนาการจัดทํา และดูแลรักษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อการบริหารจัดการ 8. กํากับ ดูแลและวางแผนพัฒนาการบริหารจัดการศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงยุติธรรม (MOC) และศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) 9. กํากับ ดูแลและวางแผนพัฒนาการศึกษา วิเคราะห์ พัฒนา และดูแลรักษาระบบบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (MIS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) และระบบ สารสนเทศสําหรับผู้บริหาร (EIS) 10. กํากับ ดูแลและวางแผนพัฒนาการศึกษา วิเคราะห์ จัดทํา และดูแลรักษาคลังข้อมูล (Data Warehouse) และเหมืองข้อมูล (Data Mining) ของกระทรวงยุติธรรม เพื่อนําข้อมูลไปใช้ในการปฏิบัติงาน หรือประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารสูงสุด ในการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวง หน้า 4-73
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.21 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร (ต่อ) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 11. กํากับ ตรวจสอบ สืบค้น การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ 12. บริหารจัดการการบูรณาการข้อมูลสารสนเทศของกระทรวงยุติธรรมและหน่วยงานภายนอก 13. ช่วยกํากับ ติดตามการดําเนินงาน หรือเสนอแนะให้ความเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาระบบงานสารสนเทศ เพื่อให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศทันสมัยและมีประสิทธิภาพ 14. ช่วยพัฒนาด้านระบบสารสนเทศของหน่วยงานภายในของกระทรวงยุตธิ รรมและหน่วยงานภายนอก 15. ศึกษาวิเคราะห์ พัฒนาระบบสารสนเทศทีเ่ กี่ยวข้องเพื่อพัฒนางานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทนั สมัย 16. ศึกษา วิเคราะห์ และกําหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรมและหน่วยงานนอกสังกัดที่เกี่ยวข้อง 17. กําหนดวิธีการ หลักเกณฑ์การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของระบบสารสนเทศ เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน 18. กําหนดหลักสูตรการฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่เจ้าหน้าที่ผใู้ ช้งาน เพื่อสร้างความเข้าใจ และเสริมสร้างศักยภาพด้านวิชาการ คอมพิวเตอร์ 19. จัดทําและพัฒนา ระบบสารสนเทศ ระบบการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูล ระบบฐานข้อมูล และระบบคลังข้อมูลที่มีขอบข่ายกว้าง เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ด้านสารสนเทศในหน่วยงาน 20. จัดทําข้อเสนอ สรุปรายงาน นําเสนอต่อคณะกรรมการต่าง ๆ เพื่อกําหนดแนวทาง หลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินงานด้านระบบงานสารสนเทศ 21. ให้คําปรึกษาแนะนําแก่หน่วยงานราชการ เอกชน ประชาชน เกี่ยวกับการพัฒนาระบบระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบงานประยุกต์ และระบบงานสารสนเทศ เพื่อให้การดําเนินงานด้านคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 22. ฝึกอบรม หรือถ่ายทอดความรู้ ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ ให้แก่ข้าราชการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และเสริมสร้างศักยภาพด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 23. ชี้แจง ให้ข้อคิดเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการหรือคณะทํางานต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์และความร่วมมือในการดําเนินงานร่วมกัน หน้า 4-74
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.21 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร (ต่อ) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 24. ประสานการทํางานร่วมกันในทีมงานโดยมีบทบาทในการชี้แนะ จูงใจ ทีมงานหรือหน่วยงานอื่นในระดับสํานักหรือกอง เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่ กําหนด 25. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KRAs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) 1. ความต่อเนื่องของการให้บริการทางด้านระบบสารสนเทศ ระยะเวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทํางานได้ (Downtime) 2. ความทันสมัยของข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการเผยแพร่ จํานวนครั้งของการอัพเดทข้อมูล จํานวนเรื่องข้อมูลที่ทําการอัพเดท 3. การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศ จํานวนการบูรณาการข้อมูลสารสนเทศ 4. การดําเนินการพัฒนาทักษะการใช้งานด้านระบบสารสนเทศสําหรับผู้ใช้งาน จํานวนการดําเนินกิจกรรม
หน้า 4-75
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.22 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ความรู้สําหรับตําแหน่ง ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ความรู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์อย่างสูง ความรู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายเกี่ยวกับ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ความรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการวิ เ คราะห์ และ ออกแบบข้อมูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารอย่างสูง ความรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการพั ฒ นาระบบ สารสนเทศ ความรู้เชี่ยวชาญด้านระบบฐานข้อมูล ความรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นสถาปั ต ยกรรมระบบ สารสนเทศ ความรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นระบบปฏิ บั ติ ก าร (Operating system)
ทักษะสําหรับตําแหน่ง
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ทักษะที่จําเป็น ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับ 3 ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ บริการที่ดี ระดับ 3 ทักษะการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล การสั่งสมความเชี่ยวชาญใน ระดับ 3 ทั ก ษะด้ า นการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล อย่ า ง งานอาชีพ เชี่ยวชาญ การยึ ด มั่ น ในความถู ก ต้ อ ง ระดับ 3 ทักษะด้านพัฒนาระบบอย่างเชี่ยวชาญ ชอบธรรม และจริยธรรม ทั ก ษะด้ า นการจั ด การฐานข้ อ มู ล อย่ า ง การทํางานเป็นทีม ระดับ 3 เชี่ยวชาญ ข. สมรรถนะหลักของกระทรวง ทั ก ษะด้ า นการทดสอบการใช้ ง านระบบ ยุติธรรม สารสนเทศอย่างเชี่ยวชาญ จิตสํานึกในความยุติธรรม ระดับ 3 ทั ก ษะด้ า นการประเมิ น ผลการใช้ ง าน ความน่าเชื่อถือศรัทธา ระดับ 3 ระบบสารสนเทศอย่างเชี่ยวชาญ ทั ก ษะด้ า นบํ า รุ ง ดู แ ล รั ก ษาระบบ สารสนเทศอย่างเชี่ยวชาญ
หน้า 4-76
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.22 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร (ต่อ) ความรู้สําหรับตําแหน่ง ความรู้ด้านการบูรณาการสารสนเทศ ความรู้ด้านวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนงานด้าน ต่าง ๆ ของหน่วยงานที่สังกัด ความรู้ ด้ า นการริ เ ริ่ ม ปรั บ ปรุ ง นโยบายและ แผนงาน ความรู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการบริ ห ารและจั ด ระบบงาน ค ว า ม รู้ ด้ า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ วิ เ ค ร า ะ ห์ สถานการณ์เพื่อให้คําปรึกษา และข้อเสนอแนะ ในงานด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ของหน่วยงาน ที่สังกัด และส่วนงานที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ด้าน พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มีความรู้ด้าน พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทําความผิด ทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ทักษะสําหรับตําแหน่ง
สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ทักษะด้านบูรณาการเชื่อมโยงข้อมูลกับ ค. สมรรถนะสายงานวิชาการ คอมพิวเตอร์ หน่วยงานอื่น การคิดวิเคราะห์ ระดับ 3 ทักษะด้านการอบรมอย่างเชี่ยวชาญ การมองภาพองค์รวม ระดับ 3 ทักษะเพิ่มเติม การดําเนินการเชิงรุก ระดับ 3 ทักษะด้านการให้บริการ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลเทคโนโลยี ใหม่ ๆ
หน้า 4-77
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตัวชี้วัดความสําเร็จในการก้าวไปสู่ตําแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหารในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร นักบริหารงานกระทรวงยุติธรรมระดับกลาง ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานด้านพัฒนาระบบสารสนเทศและการจัดการเพื่อการบริหาร ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-78
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
4.2.6 ข้อกําหนดคุณสมบัติสําหรับตําแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึง หน้าที่ความรับผิดชอบ และข้อกําหนดคุณสมบัติสําหรับนักวิชาการคอมพิวเตอร์ของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ส่วนเทคโนโลยีระบบ คอมพิวเตอร์และเครือข่าย ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับปฏิบัติการ ระดับผู้ชํานาญการ ระดับผู้ชํานาญการพิเศษ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ตาราง 4.23 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L1 ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ (K1)
หน่วยงาน ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. รวบรวมข้อมูลประกอบการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบการทํางาน การติดตั้งระบบ เพื่อให้ได้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน 2. ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้ได้ระบบงานประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของ หน่วยงาน 3. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ จัดทําและบริหารจัดการระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย 4. ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ บริหารจัดการ และจัดวางระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้กับหน่วยงานใน สังกัดสํานักปลัดกระทรวงยุติธรรม ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม รวมทั้งเชื่อมโยงศูนย์ปฏิบัตกิ ารกระทรวง (MOC) และศูนย์ปฏิบัติการ นายกรัฐมนตรี (PMOC) 5. ช่วยรวบรวมข้อมูล และกําหนดมาตรฐานการเชื่อมโยงเครือข่ายและความมั่นคงปลอดภัยให้สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายกับหน่วยงานภายในและภายนอก อย่างมีประสิทธิภาพ หน้า 4-79
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.23 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ต่อ) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 6. ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไป ตามมาตรฐานสากลเพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ 7. ช่วยบริหารจัดการ การติดต่อสื่อสารข้อมูลให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและอย่างต่อเนื่อง 8. ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคําสั่งระบบปฏิบตั ิการ ชุดคําสั่งสําเร็จรูป ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนให้งาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน 9. ช่วยติดตั้งและบริหารจัดการระบบติดต่อสื่อสารแบบรวมศูนย์ (Unified Communication) ระหว่างส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 10. ช่วยติดตั้งและดูแลบริหารจัดการระบบสนับสนุนห้อง Data Center 11. เขียนชุดคําสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคําสั่ง แก้ไขข้อผิดพลาดของคําสัง่ เพื่อให้ระบบปฏิบัติการทํางานได้อย่างถูกต้องแม่นยําและมีประสิทธิภาพ 12. ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคณ ุ สมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการและสภาพการใช้งานของหน่วยงาน 13. ดําเนินการฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พฒ ั นาแก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 14. ช่วยจัดทําคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ 15. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดําเนินงานตามที่ได้รับ มอบหมาย 16. ให้คําปรึกษาแนะนําแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแก้ไขและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 17. ประสานงานทํางานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 18. ช่วยประสานงาน หรือปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมและหน่วยงานภายนอกในการเชื่องโยงและวางระบบเครือข่าย 19. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 4-80
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.23 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ต่อ) ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KARs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) 1. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย
ระยะเวลาที่ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายไม่สามารถทํางานได้ (Downtime)
2. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบสนันสนุนห้อง Data Center
ระยะเวลาที่ระบบสนับสนุนห้อง Data Center ทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่ระบบสนับสนุนห้อง Data Center ไม่สามารถทํางานได้ (Downtime)
3. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบเครือข่าย
ระยะเวลาที่ระบบเครือข่ายทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่ระบบเครือข่ายไม่สามารถทํางานได้ (Downtime)
4. ความทันเวลาและความถูกต้องของการสนับสนุนและแก้ไขปัญหาแก่
ผู้ใช้งาน
จํานวนครั้งในการสนับสนุนและแก้ไขปัญหาทันเวลาและถูกต้อง ระยะเวลาในการแก้ไข
หน้า 4-81
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.24 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ความรู้สําหรับตําแหน่ง ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
ทักษะที่จําเป็น
มีความรู้พื้นฐานด้านระบบเครือข่าย
ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ มีความรู้พื้นฐานด้านการทํางานเครื่อง ทักษะด้านการใช้ภาษาอังกฤษ ทั ก ษะในการบริ ห ารจั ด การอุ ป กรณ์ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เครือข่ายเบื้องต้น มีความรู้พื้นฐานด้านระบบปฏิบัติการ มี ค วามรู้ ด้ า นการทํ า งานอุ ป กรณ์ ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เ ค รื่ อ ง ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย
คอมพิวเตอร์แม่ข่ายเบื้องต้น
มี ค วามรู้ ด้ า นอุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ ทักษะในการบริหารจัดโปรแกรมพื้นฐาน ต่าง ๆ และระบบปฏิบัติการ พื้นฐาน มี ค วามรู้ พื้ น ฐานด้ า นความมั่ น คง ทักษะติดตั้งและซ่อมบํารุงอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย ปลอดภัยสารสนเทศ
ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน การมุ่งผลสัมฤทธิ์ บริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน อาชีพ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบ ธรรม และจริยธรรม การทํางานเป็นทีม ข. สมรรถนะหลักของกระทรวงยุติธรรม จิตสํานึกในความยุติธรรม ความน่าเชื่อถือศรัทธา
ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1
มีความรู้ด้าน พรบ. ข้อมูลข่าวสารของ ทั กษะการติด ตั้ ง โปรแกรมพื้ น ฐานต่า ง ๆ และระบบปฏิบัติการ ราชการ พ.ศ. 2540 ทักษะการใช้โปรแกรมพื้นฐานต่าง ๆ ที่ใช้ งานในปัจจุบัน หน้า 4-82
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.24 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ต่อ) ความรู้สําหรับตําแหน่ง ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ มีความรู้ด้าน พรบ. ว่าด้วยการกระทํา ทั ก ษะการให้ คํ า ปรึ ก ษาเบื้ อ งต้ น ในการใช้ ค. สมรรถนะสายงานวิชาการ คอมพิวเตอร์ ความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ง า น เ ค รื่ อง คอมพิ ว เ ตอร์ ลู ก ข่ า ย แ ล ะ การคิดวิเคราะห์ โปรแกรมพื้นฐานต่าง ๆ การมองภาพองค์รวม ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ การดําเนินการเชิงรุก ทั ก ษะด้ า นการวิ เ คราะห์ ปั ญ หาบนระบบ
ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง
ระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 1
เครือข่ายเบื้องต้น ทั กษะ ด้ า น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ปั ญหาด้ า น ระบบปฏิบัติก ารและเครื ่อ งคอมพิว เตอร์ แม่ข่ายเบื้องต้น ทักษะเพิ่มเติม ทักษะการให้บริการ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลเทคโนโลยีใหม่ ๆ
หน้า 4-83
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตัวชี้วัดความสําเร็จในการก้าวไปสู่ตําแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีมากขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์สนับสนุนการเสนอข้อมูลด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ งานด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-84
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.25 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L2 ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ (K2)
หน่วยงาน ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. บริหารจัดการ การติดต่อสื่อสารข้อมูลให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและอย่างต่อเนื่อง 2. บริหารจัดการระบบช่วยเหลือการปฏิบัติงานผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) เพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้นในเรื่องระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายข้อมูล สารสนเทศ ระบบอินเตอร์เน็ต และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม 3. ศึกษาวิเคราะห์ กําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ระบบเครือข่าย การทํางานเครื่องการติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อให้ได้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งหน่วยงาน และตรงตามความต้องการ ลักษณะการใช้งานของหน่วยงาน 4. ศึกษาวิเคราะห์ และกําหนดความต้องการของหน่วยงาน เพื่อออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ในหน่วยงาน 5. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทําและบริหารจัดการระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย 6. ศึกษา วิเคราะห์ บริหารจัดการ และจัดวางระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้กับหน่วยงานในสังกัดสํานัก ปลัดกระทรวงยุติธรรม ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม รวมทั้งเชื่อมโยงศูนย์ปฏิบัติการกระทรวง (MOC) และศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) 7. ศึกษา วิเคราะห์ และกําหนดมาตรฐานการเชื่อมโยงเครือข่ายและความมั่นคงปลอดภัยให้สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายกับหน่วยงานภายในและภายนอก อย่างมีประสิทธิภาพ 8. กําหนดแนวทางการทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน 9. กําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย การจัดการระบบการทํางาน การติดตั้งระบบ เพื่อให้ได้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งหน่วยงาน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน หน้า 4-85
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.25 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ต่อ) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 10. รวบรวมข้อมูลประกอบการเสนอแนะนโยบายและแผนการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนานโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ทันสมัย 11. ติดตั้งและบริหารจัดการระบบระบบติดต่อสื่อสารแบบรวมศูนย์ (Unified Communication) ระหว่างส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรมติดตั้งและ ดูแลบริหารจัดการระบบสนับสนุนห้อง Data Center 12. ตรวจสอบ สืบค้น การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ 13. จัดทําสื่อในการให้บริการเผยแพร่ข้อมูลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่หน่วยงานต่าง ๆ และประชาชนผูส้ นใจ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 14. ฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศแก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 15. ให้คําปรึกษา แนะนํา เพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา 16. ประสานการทํางานร่วมกันโดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคําแนะนําเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือหน่วยงานอื่น เพื่อให้เกิดความร่วมมือและ ผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 17. ให้ข้อคิดเห็นหรือคําแนะนําเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการดําเนินงานตามที่ ได้รับมอบหมาย 18. ประสานงาน หรือปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมและหน่วยงานภายนอกในการเชื่อมโยงและวางระบบเครือข่าย 19. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
หน้า 4-86
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.25 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ต่อ) ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KARs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) 1. การออกแบบสนับสนุนการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายแก่หน่วยงานภายใน
จํานวนครั้งของการให้การสนับสนุน
กระทรวงยุติธรรม 2. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย
ระยะเวลาที่ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายไม่สามารถทํางานได้ (Downtime)
3. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบสนันสนุนห้อง Data Center
ระยะเวลาที่ระบบสนับสนุนห้อง Data Center ทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่ระบบสนับสนุนห้อง Data Center ไม่สามารถทํางานได้ (Downtime)
4. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบเครือข่าย
ระยะเวลาที่ระบบเครือข่ายทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่ระบบเครือข่ายไม่สามารถทํางานได้ (Downtime)
5. การดําเนินการพัฒนาทักษะการใช้งานด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และ
จํานวนครั้งของการดําเนินกิจกรรม
เครือข่ายแก่ผู้ใช้งาน 6. ความทันเวลาและความถูกต้องของการสนับสนุนและแก้ไขปัญหาแก่
ผู้ใช้งาน
จํานวนครั้งในการสนับสนุนและแก้ไขปัญหาทันเวลาและถูกต้อง ระยะเวลาในการแก้ไข
หน้า 4-87
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.26 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ความรู้สําหรับตําแหน่ง ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
ทักษะที่จําเป็น
มีความรู้ด้านการทํา งานของอุ ปกรณ์ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์
ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง
ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน การมุ่งผลสัมฤทธิ์
ระดับ 2
บริการที่ดี
ระดับ 2
มี ค ว า ม รู้ ด้ า น ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง ทักษะการบริหารจัดการระบบเครือข่าย Protocol ต่าง ๆ บนระบบเครือข่าย ทั กษะด้า นการวิเคราะห์ปัญ หาและช่อ ง ความรู้ด้านระบบปฏิบัติการต่าง ๆ โหว่ต่าง ๆ บนระบบเครือข่าย
การสั่งสมความเชี่ยวชาญ
ระดับ 2
มีความรู้ด้านการทํา งานของอุ ปกรณ์ ทักษะการออกแบบระบบเครือข่าย ต่าง ๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ ทั ก ษ ะใ นการบริ ห ารจั ด ก าร เค รื่ อ ง ข่าย คอมพิวเตอร์แม่ข่าย
ถูกต้องชอบธรรม และ
บนระบบเครือข่าย
ทักษะด้านการใช้ภาษาอังกฤษ
ในงานอาชีพ การยึ ดมั่ น ในความ จริยธรรม การทํางานเป็นทีม
มี ค วามรู้ ด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ทักษะในการบริหารจัดโปรแกรมพื้นฐาน ข. สมรรถนะหลักของกระทรวง สารสนเทศการโจมตี แ ละภั ย คุ ก คาม ยุติธรรม ต่าง ๆ และระบบปฏิบัติการ ต่าง ๆ จิตสํานึกในความยุติธรรม ทั ก ษะการวิ เ คราะห์ปั ญหาต่ า ง ๆ ที่เ กิ ด มีความรู้ด้านระบบสารสนเทศต่าง ๆ ที่ใช้งานภายในองค์กร
ขึ้ น กั บร ะบบปฏิ บั ติ ก า ร แ ล ะ เ ค รื่ อ ง
ระดับ 2
ความน่าเชื่อถือศรัทธา
ระดับ 2
ระดับ 2 ระดับ 2
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย
หน้า 4-88
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.26 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ต่อ) ความรู้สําหรับตําแหน่ง ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ค. ส ม ร ร ถ น ะ ส า ย ง า น มีค วามรู้ ด้ า น พ.ร.บ. ข้ อมู ล ข่ า วสาร ทักษะที่จําเป็น วิชาการคอมพิวเตอร์ ของราชการ พ.ศ. 2540 ทั ก ษะการวิ เ คราะห์ แ ละแก้ ไ ขปั ญ หาที่ เ กิ ด การคิดวิเคราะห์ มี ค วามรู้ ด้ า น พ.ร.บ. ว่ า ด้ ว ยการ ขึ้ น กั บ เครื่ องคอมพิ วเตอร์ ลู กข่ ายหรื อระบบ กระทํ า ความผิด ทางคอมพิว เตอร์ การมองภาพองค์ สารสนเทศบนเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย พ.ศ. 2550 รวม ทักษะในปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายใน การดําเนินการ เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย เชิงรุก ทั ก ษะการให้ คํ า ปรึ ก ษาอย่ า งชั ด เจนและ
ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง
ระดับ 2 ระดับ 2 ระดับ 2
ถูกต้องในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ลูก ข่ายและโปรแกรมพื้นฐานต่าง ๆ ทักษะการออกแบบห้อง Data Center ทักษะเพิ่มเติม ทักษะการให้บริการ ทักษะด้านการถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อ่นื ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลเทคโนโลยีใหม่ ๆ หน้า 4-89
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตัวชี้วัดความสําเร็จในการก้าวไปสู่ตําแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีมากขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นําเสนอข้อมูลด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร ผู้บริหารงานยุติธรรมระดับต้น ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ งานด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ตลอดระยะเวลาที่ครองตําแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กําหนด
หน้า 4-90
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.27 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ตําแหน่งในเส้นทาง (Ladder Position) L3 ชื่อตําแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ (K3)
หน่วยงาน ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 1. กํากับดูแล วางแผนและออกแบบภาพรวมระบบโครงสร้างพื้นฐานคอมพิวเตอร์และเครือข่ายของกระทรวงยุติธรรม 2. กํากับดูแล และวางแผน การติดตั้งและดูแลบริหารจัดการระบบสนับสนุนห้อง Data Center 3. กํากับดูแล และวางแผนพัฒนา การศึกษา วิเคราะห์ บริหารจัดการ และจัดวางระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ให้กับหน่วยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม รวมทั้งเชื่องโยงศูนย์ปฏิบัติการกระทรวง (MOC) และ ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) 4. กํากับดูแล และวางแผนพัฒนา การศึกษา วิเคราะห์ จัดทําและบริหารจัดการระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย 5. กํากับดูแล และวางแผนพัฒนา การศึกษา วิเคราะห์ และกําหนดมาตรฐานการเชื่อมโยงเครือข่ายและความมั่นคงปลอดภัยให้สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายกับ
หน่วยงานภายในและภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ 6. กํากับดูแล และวางแผนพัฒนา การประสานงาน หรือปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมและหน่วยงานภายนอกใน
การเชื่อมโยงและวางระบบเครือข่าย 7. กํากับดูแล และวางแผนพัฒนา การบริหารจัดการ การติดต่อสื่อสารข้อมูลให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและอย่างต่อเนือ่ ง 8. กํากับดูแล และวางแผนพัฒนา การติดตั้งและบริหารจัดการระบบการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ (Video Conference System) ระหว่างส่วนราชการใน
สังกัดกระทรวงยุติธรรม หน้า 4-91
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.27 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ต่อ) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 9. กํากับดูแล วางแผนการดําเนินการจัดฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ 10. กํากับ บริหารจัดการ พัฒนาระบบงานต่าง ๆ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานตามแผนงาน โครงการกํากับ ตรวจสอบ สืบค้น การใช้งานเทคโนโลยี สารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสมขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กําหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลหรือ ระบบ 11. ช่วยกํากับ ติดตามการดําเนินงาน หรือเสนอแนะให้ความเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาระบบระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้งาน คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศทันสมัยและมีประสิทธิภาพ 12. ศึกษาวิเคราะห์ พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนางานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัย 13. กําหนดวิธีการ หลักเกณฑ์การกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบการทํางาน การติดตั้งระบบ เพื่อให้ได้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน 14. กําหนดหลักสูตรการฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่เจ้าหน้าที่ผใู้ ช้งาน เพื่อสร้างความเข้าใจ และเสริมสร้างศักยภาพ ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 15. จัดทําข้อเสนอ สรุปรายงาน นําเสนอต่อคณะกรรมการต่าง ๆ เพื่อกําหนดแนวทาง หลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินงานด้านระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบงานประยุกต์ และระบบงานสารสนเทศ 16. ฝึกอบรม หรือถ่ายทอดความรู้ ด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ให้แก่ข้าราชการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และเสริมสร้าง ศักยภาพด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ 17. ชี้แจง ให้ข้อคิดเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการหรือคณะทํางานต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์และความร่วมมือในการดําเนินงานร่วมกัน 18. ให้ คาํ ปรึกษาแนะนําแก่ห น่วยงานราชการ เอกชน ประชาชน เกี่ ยวกับ การพัฒ นาระบบระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือ ข่ายคอมพิ วเตอร์ เพื่ อให้ การดําเนินงานด้านคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
หน้า 4-92
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.27 หน้าที่ความรับผิดชอบของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ต่อ) หน้าที่รับผิดชอบหลัก (Key Responsibilities) 19. ประสานการทํางานร่วมกันในทีมงานโดยมีบทบาทในการชี้แนะ จูงใจ ทีมงาน หรือหน่วยงานอื่นในระดับสํานักหรือกอง เพื่อให้เกิดความร่วมมือและ ผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด 20. อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก (Key result: KARs) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก (Key Performance Indicator: KPIs) 1. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ระยะเวลาที่ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายไม่สามารถทํางานได้ (Downtime) 2. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบสนันสนุนห้อง Data Center
ระยะเวลาที่ระบบสนับสนุนห้อง Data Center ทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่ระบบสนับสนุนห้อง Data Center ไม่สามารถทํางานได้ (Downtime)
3. ความต่อเนื่องของการให้บริการระบบเครือข่าย
ระยะเวลาที่ระบบเครือข่ายทํางานได้ (Uptime) ระยะเวลาที่ระบบเครือข่ายไม่สามารถทํางานได้ (Downtime)
4. การสนับสนุนและการบริหารจัดการการเชื่อมโยงเครือข่ายแก่หน่วยงาน
จํานวนครั้งของการให้การสนับสนุน
ภายในกระทรวงยุติธรรม 5. การดําเนินการพัฒนาทักษะการใช้งานด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และ
จํานวนครั้งของการดําเนินกิจกรรม
เครือข่ายแก่ผู้ใช้งาน
หน้า 4-93
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.28 กําหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการพิเศษ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ความรู้สําหรับตําแหน่ง ทักษะสําหรับตําแหน่ง สมรรถนะสําหรับตําแหน่ง ชื่อสมรรถนะ ความรู้ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
ทักษะที่จําเป็น
มีความรู้ด้านระบบเครือข่าย
ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์
มี ค ว า ม รู้ ด้ า น ก า ร ทํ า ง า น เ ค รื่ อ ง ทักษะด้านการใช้ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย มีความรู้ด้านระบบปฏิบัติการ มี ค วามรู้ ด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย สารสนเทศการโจมตีและภัยคุกคาม มี ค วามรู้ ด้ า นการทํ า งานของระบบ สนับสนุนห้อง Data Center มี ค วามรู้ ด้ า นการบริ ห ารจั ด การ
ทักษะด้านการวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล ทั ก ษะในการวิ เ คราะห์ ออกแบบ บริ ห าร จัดการระบบเครือข่าย ทั ก ษะในการวิ เ คราะห์ ออกแบบ บริ ห าร จัดการเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ทั ก ษะในการวิ เ คราะห์ ออกแบบ บริ ห าร จัดการห้อง Data Center
ภาพรวมระบบคอมพิ ว เตอร์ แ ม่ ข่ า ย ทัก ษะในการบริก ารจัด การทรัพ ยากรทั้ง และเครือข่าย ด้า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและทรัพยากร ควบคุ มคุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารระบบ โครงสร้างพื้นฐานด้าน ICT
บุคคลให้ทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง
ก. สมรรถนะหลัก 5 ด้าน การมุ่งผลสัมฤทธิ์
ระดับ 3
บริการที่ดี
ระดับ 3
การสั่งสมความเชี่ยวชาญ
ระดับ 3
ในงานอาชีพ การยึ ด มั่ น ในความ
ระดับ 3
ถูกต้องชอบธรรม และ จริยธรรม การทํางานเป็นทีม
ระดับ 3
ข. สมรรถนะหลักของกระทรวง ยุติธรรม จิตสํานึกในความยุติธรรม
ระดับ 3
ความน่าเชื่อถือศรัทธา
ระดับ 3
เพียงพอกับงาน
หน้า 4-94
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 4.28 กาหนดคุณสมบัติตามของนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชานาญการพิเศษ ส่วนเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ต่อ) ความรู้สาหรับตาแหน่ง ทักษะสาหรับตาแหน่ง สมรรถนะสาหรับตาแหน่ง ขื่อสมรรถนะ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง ค. สมรรถนะสายงานวิชาการ มีความรู้ ด้า น พ.ร.บ. ข้อ มูล ข่ าวสาร ทักษะเพิ่มเติม ของราชการ พ.ศ. 2540 คอมพิวเตอร์ ทักษะการให้บริการ มี ค วามรู้ ด้ า น พ.ร.บ. ว่ า ด้ ว ยการ ทักษะด้านการสื่อสาร มีมนุษยสัมพันธ์ การคิดวิเคราะห์ ระดับ 3 กระท าความผิ ด ทางคอมพิ ว เตอร์ ทักษะด้านการถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อื่น การมองภาพองค์รวม ระดับ 3 พ.ศ. 2550 การดาเนินการเชิงรุก ทักษะด้านการค้นคว้าข้อมูลเทคโนโลยีใหม่ ๆ ระดับ 3 ตัวชี้วัดความสาเร็จในการก้าวไปสู่ตาแหน่งงานต่อไปในเส้นทางก้าวหน้า (Performance Measure: PM)
คะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับตั้งแต่ดีขึ้นไป ติดต่อกันอย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ภายในระยะเวลา 3 ปีย้อนหลัง ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับสายงานคอมพิวเตอร์ และได้รับใบรับรองจากหน่วยงานฝึกอบรม (Certificate) ผ่านประสบการณ์นาเสนอข้อมูลด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายในที่ประชุมระดับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ผ่านการอบรมหลักสูตร นักบริหารงานกระทรวงยุติธรรมระดับกลาง ของกระทรวงยุติธรรม ผ่านประสบการณ์ด้านการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานด้านเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย ตลอดระยะเวลาที่ครองตาแหน่ง ต้องไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยหรืออยู่ระหว่างถูกดาเนินการทางวินัย ผ่านการประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กาหนด
หน้า 4-95
บทที่ 5 ข้อเสนอแนะด้านหลักสูตรการฝึกอบรม ในบทนี้กล่าวถึง ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับกลุ่มผู้ใช้ และสาหรับบุคลากรของ ศูน ย์เ ทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสาร โดยรายละเอี ย ดหลั กสู ตรได้บรรจุไว้ในแผนแม่บทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (ฉบับที่ 4) ปี พ.ศ. 2556-2559 (ผนวก ก รายละเอียด โครงร่างหลักสูตรฝึกอบรม)
5.1 ข้อเสนอแนะด้านหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับกลุ่มผู้ใช้ ข้อเสนอแนะหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับกลุ่มผู้ใช้ แสดงดังตาราง 5.1 ตาราง 5.1 ข้อ เสนอแนะเกี ่ย วกับ หลัก สูต รการฝึก อบรมด้า นเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร สาหรับกลุ่มผู้ใช้ ลาดับที่ หลักสูตรการฝึกอบรม 1 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (Computer Related Crime Act. B.E. 2550) 2 โปรแกรมสานักงานขั้นพื้นฐาน (Basic Use of Office Application) 3 การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงด้วย Spreadsheet (Advanced Statistic analysis with Spreadsheet) 4 การออกแบบสื่อเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ & สื่อนาเสนอขั้นพื้นฐาน (Basic e-Document Design and Presentation) 5 การออกแบบสื่อเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ & สื่อนาเสนอขั้นสูง (Advanced e- Document Design and Presentation) 6 การดูแลซ่อมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงเบื้องต้น (Basic Computer and peripheral maintenance and repair) 7 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น (Basic Use of Internet) 8 ออกแบบเว็บไซต์ขั้นพื้นฐาน (Basic Website Design) 9 การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการองค์ความรู้และระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Use of KM & e-Learning System) 10 การใช้งานอุปกรณ์สื่อสารไร้สายเบื้องต้น (Basic Use of Mobile devices) 11 การใช้งานระบบปฏิบัติการ (Operating System) 12 การใช้โปรแกรมออกแบบงานวิศวกรรม (Use of Engineering Design Program) 13 ระบบบริหารการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศเบื้องต้น (Introduction to Information Security Management System) หน้า 5-1
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
5.2 ข้อ เสนอแนะเกี่ยวกับ หลั กสู ต รการฝึกอบรมส าหรับบุคลากรด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ข้อเสนอแนะหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับ บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานั กงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม แสดงดังตาราง 5.2 ตาราง 5.2 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักสูตรการฝึกอบรมด้า นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรั บ บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ลาดับที่ หลักสูตรการฝึกอบรม 1 การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรับผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับสูง (Chief Information Officer: CIO) 2 การบริหารจัดการโครงการสาหรับผู้บริหาร (IT Project Management) 3 ระบบบริหารการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (IT Security Management) 4 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (Computer Related Crime Act. B.E. 2550.) 5 การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change management) 6 การบริหารจัดการนวัตกรรมสาหรับผู้บริหาร (Innovation Management Course for Executives) 7 การบริหารจัดการกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Management) 8 ระบบบริหารการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ITIL V3 Best Practices for IT Service Management) 9 การใช้งานอุปกรณ์สื่อสารไร้สายเบื้องต้น (Basic Use of Mobile devices)
5.3 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับบุคลากรของศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ข้อเสนอแนะหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับบุคลากรของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแบ่งเป็น ข้อเสนอแนะของผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดังแสดงในตาราง 5.3 และ ข้อเสนอแนะ ด้านหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับบุคลากรของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แสดงดังตาราง 5.4 ตาราง 5.3 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักสูตรการฝึกอบรมด้า นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรั บ ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ลาดับที่ หลักสูตรการฝึกอบรม 1 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (Computer Related Crime Act. B.E. 2550) 2 กฎหมายคอมพิวเตอร์ และแนวนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของภาครัฐ (ICT law. And policy of government) 3 การบริหารจัดการโครงการสาหรับผู้บริหาร (Project Management for Management)
หน้า 5-2
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 5.3 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักสูตรการฝึกอบรมด้า นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสาหรั บ ผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ต่อ) ลาดับที่ หลักสูตรการฝึกอบรม 4 ธรรมาภิบาลทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Governance) 5 การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change management) 6 การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management: BCM) 7 การบริหารจัดการนวัตกรรมสาหรับผู้บริหาร (Innovation Management Course for Executives) 8 การบริหารจัดการกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Management) 9 ระบบบริหารการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Introduction and Interpretation of ISO/IEC 27001:2005 (ISMS)) 10 ระบบบริหารการให้บริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ (ITIL V3 Best Practices for IT Service Management) 11 การใช้งานอุปกรณ์สื่อสารไร้สายเบื้องต้น (Basic Use of Mobile devices) 12 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษ์สิ่งแวดล้อม (Green ICT) ตาราง 5.4 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ หลักสูตรการฝึกอบรมสาหรั บบุค ลากรของศูน ย์เ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ลาดับที่
หลักสูตรการฝึกอบรม
กลุ่มอานวยการ และบริหารทั่วไป
ส่วนเทคโนโลยี ระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่าย
ส่วนพัฒนาระบบ สารสนเทศและ การจัดการเพื่อ การบริหาร
1
พระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ย การกระทาผิ ด เกี่ ย วกั บ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (Computer Related Crime Act. B.E. 2550.) การวิเคราะห์สถิติ ขั้นสูงด้วย Spreadsheet (Advanced Statistic analysis with Spreadsheet) การวิเคราะห์สถิติ ขั้นสูงด้วย SPSS (Advanced Statistic analysis with SPSS) การบริหารจัดการโครงการ ขั้นสูง (Advanced Project Management)
R
R
R
ส่วนยุทธศาสตร์ และแผน เทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร R
-
-
R
R
-
-
R
R
-
R
R
R
2
3 4
หน้า 5-3
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 5.4 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ หลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับ บุค ลากรของศูน ย์ เ ทคโนโลยีส ารสนเทศ และการสื่ อ สาร (ต่ อ ) ลาดับที่
หลักสูตรการฝึกอบรม
กลุ่มอานวยการ และบริหารทั่วไป
ส่วนเทคโนโลยี ระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่าย
ส่วนพัฒนาระบบ สารสนเทศและ การจัดการเพื่อ การบริหาร
5
การจ้างบุคคลภายนอก โครงการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ (IT Project Outsourcing) ระบบบริหารการให้บริการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ITIL V3 Best Practices for IT Service Management) ระบบบริหารการรักษาความ มั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Introduction and Interpretation of ISO/IEC 27001:2005 (ISMS)) เทคนิคการเก็บรวบรวม ข้อมูล (Information Gathering Techniques) กระบวนการทางธุรกิจ สาหรับผู้เชี่ยวชาญ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (Business Process for IT Professionals) ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System) ระบบจัดการฐานข้อมูลขั้นสูง (Advanced Database Management System) การประมวลผลเชิงวิเคราะห์ ออนไลน์ (OLAP) ภาษาสาหรับการเขียน โปรแกรม (Programming Language) การเขียนโปรแกรมเว็บ แอพพลิเคชั่น (Web Programming)
R
R
R
ส่วนยุทธศาสตร์ และแผน เทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร R
-
R
R
R
-
R
R
R
-
-
R
R
-
-
R
R
-
-
R
-
-
-
R
-
-
-
R
-
-
-
R
-
-
-
R
-
6
7
8 9
10 11 12 13 14
หน้า 5-4
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 5.4 ข้ อ เสนอแนะด้ า นหลั ก สู ต รการฝึ ก อบรมสาหรั บ บุ ค ลากรของศู น ย์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ และการสื่ อ สาร (ต่ อ ) ลาดับที่
หลักสูตรการฝึกอบรม
กลุ่มอานวยการ และบริหารทั่วไป
ส่วนเทคโนโลยี ระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่าย
ส่วนพัฒนาระบบ สารสนเทศและ การจัดการเพื่อ การบริหาร
15
การเขียนโปรแกรมเว็บ แอพพลิเคชั่นสาหรับอุปกรณ์ สื่อสารเคลื่อนที่ (Mobile Web Application) การรักษาความปลอดภัยของ เว็บแอพพลิเคชั่น (Web Application Security) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) การรักษาความปลอดภัยของ ระบบเครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless Network Security) ความรู้พื้นฐานสาหรับผู้ดูแล ระบบเครือข่าย (Network Administrator Overall Basic) ความรู้ขั้นสูงสาหรับผู้ดูแล ระบบเครือข่าย (Professional Networking Workshop) เตรียมความพร้อมสาหรับ สอบประกาศนียบัตรของซิส โก้ CCNA (Cisco Certified Network Associate) ความรู้ขั้นสูงสาหรับการ ให้บริการคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Professional computer and IT Service) การบารุงรักษาและแก้ไข ปัญหาระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายสาหรับผู้ดูแล ระบบ (Network Server Maintenance Troubleshooting and System Administration)
-
-
R
ส่วนยุทธศาสตร์ และแผน เทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร -
-
-
R
-
-
R
R
-
-
R
-
-
-
R
-
-
-
R
-
-
-
R
-
-
-
R
-
-
-
R
-
-
16 17 18 19
20
21
22
23
หน้า 5-5
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 5.4 ข้ อ เสนอแนะด้ า นหลั ก สู ต รการฝึ ก อบรมสาหรั บ บุ ค ลากรของศู น ย์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ และการสื่ อ สารและการสื่ อ สาร (ต่ อ ) ลาดับที่
หลักสูตรการฝึกอบรม
กลุ่มอานวยการ และบริหารทั่วไป
ส่วนเทคโนโลยี ระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่าย
ส่วนพัฒนาระบบ สารสนเทศและ การจัดการเพื่อ การบริหาร
24
ระบบปฏิบัติการแบบเสมือน (Operating system-level virtualization)
-
R
-
ส่วนยุทธศาสตร์ และแผน เทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร -
หมายเหตุ: R หมายถึง จาเป็นต้องได้รับการฝึกอบรม
หน้า 5-6
บทที่ 6 บทสรุปข้อเสนอแนะ การบริหารจัดการและพัฒนาบุคลากรของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารควรเป็นไปอย่าง ต่อ เนื่อ งเพื่อ รัก ษาคุณ ภาพและปริม าณงานของบุคลากรไว้ และเพื่อ ให้ ก ารบริห ารทรัพ ยากรบุค คลของ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการลดข้อจากัดด้านอัตรากาลังของบุคลากรใน หน่วยงานภาครัฐ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพิจารณาดาเนินงานตามข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ 6.1
ข้อเสนอแนะการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นกิจกรรมที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ซึ ่ง ในแผนแม่บ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื ่อ สาร (ฉบับ ที ่ 4) ส านัก งานปลัด กระทรวงยุต ิธ รรม ปี พ.ศ. 2556-2559 ได้บ รรจุแผนงานและโครงการพัฒ นาบุคลากรของศูน ย์เทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสื่อสารไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการพัฒนาบุคลากรและการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่าง มีประสิทธิภาพ การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารจึงเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการดาเนินงาน ดังกล่ าวให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ในแผนแม่ บ ทเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื ่อ สารฯ และแผนพัฒนา บุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมจึงมีข้อเสนอแนะดังตาราง 6.1 ตาราง 6.1 ข้อเสนอแนะการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้าน รายละเอียด การใช้งานและจัดเก็บข้อมูล - การบันทึกข้อมูลการฝึกอบรม เข้าสู่ฐานข้อมูลกลาง เพื่อใช้ในการ สารสนเทศด้านบริหารทรัพยากร วางแผน ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาบุคลากรโดยบันทึก บุคคล ข้อมูลอย่างน้อยดังนี้ o แผนการฝึกอบรม o ประวัติการฝึกอบรม o ผลการฝึกอบรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ - ดาเนินการประยุกต์ใช้และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อการบริหาร การสื่อสารเพื่อการฝึกอบรม (e-Learning System) ทรัพยากรบุคคล - ดาเนินการประยุกต์และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อการบริหารจัดการและเผยแพร่องค์ความรู้ (Knowledge Management System)
หน้า 6-1
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
6.2
ข้ อ เสนอแนะการจั ด การทรั พ ยากรบุ ค คลด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่อสาร
สืบ เนื ่อ งจากหน่ว ยงานภาครัฐ ได้รับ ผลกระทบด้า นอัต ราค่า ตอบแทนบุค ลากรด้า นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งภาคเอกชนและธุรกิจมีอัตราค่าตอบแทนบุคลากรในด้านดังกล่าวสูงกว่า ส่ง ผลกระทบให้ หน่วยงานภาครัฐขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความชานาญ ดังนั้นส านักงานปลั ดกระทรวง ยุติธรรมจึงมีความจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่า เพื่อให้สามารถพัฒนาด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารได้อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน ต้องคานึงถึงการดาเนินงานในด้านต่าง ๆ จึงมีข้อเสนอแนะ ดังตาราง 6.2 ตาราง 6.2 ข้อเสนอแนะการจัดการทรัพยากรบุคคลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้าน รายละเอียด ความก้าวหน้าในสายอาชีพ - วางแผนความก้าวหน้าในสายอาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารแก่บุคลากรทุกตาแหน่ง - กาหนดแนวทางการพัฒนาตามสายอาชีพ และดาเนินการอย่างจริงจัง เพื่อให้บุคลากรได้รับการส่งเสริม มีความมั่นคงและความก้าวหน้าใน สายอาชีพ - บุ คลากรได้ รั บการพั ฒนาสมรรถนะและทั กษะวิ ชาชี พให้ สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ - มี ระบบแรงจู งใจเพื่ อรั กษาบุ คลากรที่ มี ศั กยภาพสู ง (Talent Management) ให้อยู่กับองค์กรตลอดไป ระดับความพึงพอใจของบุคลากร - การรักษาความพึงพอใจต่อนโยบายขององค์กร - การรักษาความพึงพอใจต่อมาตรการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล - การรักษาความพึงพอใจต่อวัฒนธรรมและบรรยากาศการทางาน ความภักดีองค์กร - การจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรภายใน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - สนับสนุนให้เกิดความนิยม ความภูมิใจ และความภักดีต่อองค์กร - สร้างค่านิยมองค์กร 6.3
ข้อเสนอแนะการบริหารจัดการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปัจจุบันศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีข้อจากัดด้านบุคลากรที่ไม่สอดคล้องกับปริมาณงาน ที่มีมาก ดังนั้นเพื่อให้ศูนย์เทคโนโลยีสารเทศและการสื่ อสารสามารถดาเนินงานได้ครอบคลุมกับปริมาณงาน จึงควรประยุกต์ใช้แนวทางการบริหารจัดการที่เหมาะสม ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถทาให้เกิดการใช้งาน ทรัพยากรบุคคลได้อย่างคุ้มค่า และมีประสิทธิภาพ ดังนั้นควรคานึงถึง การจ้างบุคคลภายนอกเข้ามาดาเนินการ และในขณะเดียวกันบุคลากรภายในต้องมีความพร้อมในการบริหารจัดการผู้รับจ้าง เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการ งานได้อย่างมีคุณภาพ จึงมีข้อเสนอแนะดังตาราง 6.3
หน้า 6-2
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตาราง 6.3 ข้อเสนอแนะการบริหารจัดการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้าน รายละเอียด การจ้างบุคคลภายนอก - ดาเนินการพิจารณาจ้างบุคคลภายนอกในกรณีต่าง ๆ ได้เป็น 2 กรณี (Outsourcing) ดังนี้ กรณีที่ 1 o ลักษณะงานที่ไม่มีความซับซ้อน ไม่ส่งผลกระทบต่อ การบริหารจัดการด้านอื่น ๆ o ลักษณะงานทีต่ ้องการผู้ปฏิบัติงานในระดับการใช้แรงงาน หรือทักษะไม่สูง และมีปริมาณงานมาก ซึ่ ง ในกรณี ก ารจ้ า งบุ ค คลภายนอกเพื่ อ การบริ ก ารเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ (Desktop Service) เป็นลักษณะงานหนึ่งที่ควรมีการ พิจารณาดาเนินการ เนื่องจากปัจจุบันมีปริมาณงานในลักษณะ ดังกล่าวมาก บุคลากรที่มีอยู่ไม่สามารถสนับสนุนการทางานด้านการ แก้ ไขปั ญหาได้ และมี ความจ าเป็ นต้ องจั ดซื้ อ เครื่ องคอมพิ วเตอร์ บ่อยครั้งเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถแก้ไขซ้อมแซมได้ ดังนั้ นหากมี การจ้างบุ คคลภายนอกด าเนิ นงาน จะส่ งผลให้ สามารถเปลี่ยนทดแทนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ทันที และส่งผลให้การ ปฏิบัติงานมีความต่อเนื่องไม่หยุดชะงัก กรณีที่ 2 o ลักษณะงานที่มีความซับซ้อนมาก และต้องการผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทาง ซึ่ ง ในกรณี ก ารจ้ า งบุคคลภายนอกเพื่ อ การบริ ก ารด้าน การบารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นลักษณะงานหนึ่งที่ ควรมีการพิจารณาดาเนินการ เนื่องจากเป็น งานที่มีค วามซับ ซ้อ น และต้องการควบคุมคุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง การบริห ารจั ดการผู้รับจ้าง - กาหนดบุคลากรผู้ทาหน้าที่ควบคุม และบริหารจัดการผู้รับจ้าง และการควบคุมดูแลคุณภาพงาน - ดาเนินการกาหนดระดับการให้บริการจากผู้รับจ้างอย่างชัดเจน - มีการตรวจสอบขอบเขตการดาเนินงาน - ติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินงาน และติดตามผลการ ดาเนินงาน - กาหนดขั้นตอนการรายงานผลการปฏิบัติงาน - กาหนดขั้นตอนการประสานงานระหว่างผู้รับจ้างและผู้ควบคุมงาน - กาหนดขั้นตอนการดาเนินงานกรณีผู้รับจ้างดาเนินการไม่เป็นไปตาม ข้อกาหนด - กาหนดแนวทางการบันทึกผลการดาเนินงาน และกาหนดแนว ทางการบันทึกผลการประเมินผู้รับจ้าง เพื่อการจัดซื้อจัดจ้างใน อนาคต
หน้า 6-3
ผนวก ก คาอธิบายข้อเสนอแนะความสามารถด้านการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับกลุ่มผู้ใช้
ผนวก ก คาอธิบายข้อ เสนอแนะความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศสาหรับกลุ่มผู้ใช้ ข้อ เสนอแนะความสามารถด้า นการใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศส าหรับ กลุ ่ม ผู ้ใ ช้ ข องส านัก งานปลัด กระทรวงยุติธรรมกระทรวงยุติธรรม มีรายละเอียดข้อเสนอแนะความสามารถดังนี้ - ข้อเสนอแนะความสามารถด้านคอมพิวเตอร์เบื้องต้น - ข้อเสนอแนะความสามารถด้านอินเทอร์เน็ต - ข้อเสนอแนะความสามารถด้านอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ - ข้อเสนอแนะความสามารถด้านโปรแกรมสานักงาน - ข้อเสนอแนะความสามารถด้านโปรแกรมออกแบบกราฟิก - ข้อเสนอแนะความสามารถด้านโปรแกรมออกแบบงานวิศวกรรม - ข้อเสนอแนะความสามารถด้านระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการปฏิบัติงาน
หน้า ก-1
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
1.
ข้อเสนอแนะความสามารถด้านคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คาอธิบาย 1. สามารถรู้จักส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเบื้องต้น ได้ อาทิ จอภาพ เมาส์ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกน 2. สามารถเปิด/ปิด เครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกวิธี 3. สามารถตรวจสอบปัญหาคอมพิวเตอร์เชิงกายภาพได้ อาทิ การต่อสายไฟ เป็นต้น 4. สามารถ Login/Logout เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ 5. สามารถบริหารจัดการไฟล์ข้อมูลได้ อาทิ เรียกดู/Copy/Cut/Paste ไฟล์ข้อมูล 6. สามารถบารุงรักษาเครื่องเบื้องต้นได้ อาทิ การ Scandisk, Defragment, Disk Clean Up 7. สามารถรู้จักการป้องกันไวรัส อาทิ สแกนไวรัส และ Update ได้ 8. สามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับไวรัสคอมพิวเตอร์ได้ อาทิ สแกนไวรัส และ Update ได้ 9. สามารถทาการ End Task โปรแกรมที่มีปัญหาให้หยุดทางานได้ 10.สามารถแก้ไขปัญหาเรื่องของการแบ่งปันข้อมูล (Sharing) และการกาหนดสิทธิ์ (Permission) 11.สามารถติดตั้งซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ได้ 12.สามารถติดตั้งไดรฟเวอร์ (Driver) และอุปกรณ์ต่อพ่วงได้ 13.สามารถตรวจสอบอาการผิดปกติเบื้องต้นได้พร้อมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ 14.การติดตั้ง Patch ให้กับระบบปฎิบัติการ
2.
ข้อเสนอแนะความสามารถด้านอินเทอร์เน็ต
คาอธิบาย 1. สามารถอธิบายความหมายของอินเทอร์เน็ต (Internet) ได้ 2. สามารถอธิบายประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต (Internet) ได้ 3. สามารถอธิบายบริการต่าง ๆ ที่มีในอินเทอร์เน็ต (Internet) ได้ 4. สามารถใช้งานโปรแกรมเบราเซอร์ (Browser) 5. สามารถเปิดเว็บไซต์ (Website) โดยกาหนดที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ต้องการได้ 6. สามารถเปิดหน้าเว็บไซต์ (Website) โดยการลิงค์ (Link) ได้ 7. สามารถปรับเลื่อนหน้าเว็บไซต์ (Website) ย้อนกลับได้ 8. สามารถบันทึกเว็บไซต์ (Website) ที่ชื่นชอบได้ 9. สามารถบันทึกรูปภาพที่ต้องการจากเว็บไซต์ (Site) ได้ 10. สามารถอธิบายประโยชน์ของ เสิร์ชเอนจิน (Search Engine) ได้ 11. สามารถใช้บริการ เสิร์ชเอนจิน (Search Engine) ได้ 12. สามารถเลือกคาค้นที่เหมาะสมในการค้นหาจาก เสิร์ชเอนจิน (Search Engine) ได้ 13. สามารถเข้าใจและอธิบาย พ.ร.บ. เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทีจ่ าเป็นได้ 14. สามารถรับ/ส่ง/แบ่งปัน ข้อมูล ผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ 15. สามารถแนบข้อมูลไปพร้อมกับ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ หน้า ก-2
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
คาอธิบาย 16. สามารถตอบกลับ ส่งต่อและแก้ไขข้อมูลผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ 17. สามารถสร้างโฟล์เดอร์ลบ เพื่อเก็บไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ต้องการได้ 18. สามารถอธิบายความหมายและประโยชน์ของ Social Media ได้ 19. สามารถสมัครและใช้บริการของ Social Media ได้แก่ Facebook, Twitter ได้ 20. สามารถสื่อสารด้วย Social Media ได้
3.
ข้อเสนอแนะความสามารถด้านอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่
คาอธิบาย 1. สามารถรู้จักส่วนประกอบของอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่และอุปกรณ์ต่อพ่วงเบื้องต้น อาทิ ปุ่มเปิด/ปิด ปุ่ม Home สายเชื่อมต่อข้อมูล (Data Link) 2. สามารถเปิด/ปิด อุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ได้อย่างถูกวิธี 3. สามารถใช้งานฟังก์ชั่นโทรศัพท์ อาทิ รับ/ไม่รับสาย โทรออก เปิด/ปิด ปรับระดับเสียง 4. สามารถใช้งานระบบปฏิบัติการของอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ อาทิ Windows Mobile, Android, IOS 5. สามารถซิงค์โครไนซ์ข้อมูลกับเครื่องคอมพิวเตอร์ 6. สามารถการจัดการโปรแกรมของอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ 7. สามารถใช้งานโปรแกรมปฏิทิน (Calendar) อาทิ สร้าง/แก้ไข/ลบตารางนัด 8. สามารถใช้งานโปรแกรมกล้องถ่ายรูป/กล้องวีดีโอ (Camera/VDO) ได้ 9. สามารถใช้งานโปรแกรมเบราเซอร์ (Browser) ได้ 10. สามารถเปิดเว็บไซต์ (Website) โดยกาหนดที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ต้องการได้ 11. สามารถเปิดหน้าเว็บไซต์ (Website) โดยการลิงค์ (Link) ได้ 12. สามารถปรับเลื่อนหน้าเว็บไซต์ (Website) ย้อนกลับได้ 13. สามารถบันทึกเว็บไซต์ (Website) ที่ชื่นชอบได้ 14. สามารถบันทึกรูปภาพที่ต้องการจากเว็บไซต์ (Site) ได้ 15. สามารถอธิบายประโยชน์ของ เสิร์ชเอนจิน (Search Engine) ได้ 16. สามารถใช้บริการ เสิร์ชเอนจิน (Search Engine) ได้ 17. สามารถเลือกคาค้นที่เหมาะสมในการค้นหาจาก เสิร์ชเอนจิน (Search Engine) ได้ 18. สามารถรับ/ส่ง/แบ่งปัน ข้อมูล ผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ 19. สามารถแนบข้อมูลไปพร้อมกับ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ 20. สามารถตอบกลับ ส่งต่อและแก้ไขข้อมูลผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ 21. สามารถสมัครและใช้บริการของ Social Media ได้แก่ Facebook, Twitter ได้ 22. สามารถสื่อสารด้วย Social Media
หน้า ก-3
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
4.
ข้อเสนอแนะความสามารถด้านโปรแกรมสานักงาน คาอธิบาย
โปรแกรมประมวลผลคา 1. สามารถอธิบายส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรมประมวลผลคาได้ 2. สามารถเปลี่ยนมุมมองของโปรแกรมประมวลผลคาได้ 3. สามารถเลือกตัวอักษรและข้อความได้ 4. สามารถย้ายและคัดลอกข้อความได้ 5. สามารถปรับเปลี่ยนฟอนต์ (Font) และตกแต่งข้อความได้ 6. สามารถใส่ลาดับเลขและสัญลักษณ์หน้าข้อความ ทั้งหัวข้อหลักและหัวข้อย่อยได้ 7. สามารถเปิด และบันทึกเอกสารได้ 8. สามารถทาการพิมพ์เอกสารได้ โดยสามารถกาหนดค่าพื้นฐานได้แก่ จานวนสาเนา เครื่องพิมพ์ และจานวน หน้าการพิมพ์ที่จะพิมพ์ 9. สามารถคัดลอกรูปแบบข้อความได้ 10. สามารถจัดย่อหน้า โดยสามารถกาหนดการตั้งกั้นหน้าและกั้นหลังได้ สามารถกาหนดระยะห่างระหว่าง บรรทัดได้ กาหนดระยะห่างระหว่างตัวอักษรได้ 11. สามารถตีกรอบล้อมรอบหน้าเอกสารได้ เปลี่ยนสีพื้นหลังได้ 12. สามารถจัดแท็บหยุด (Tab stop) ได้ กาหนดค่าและบอกถึงประโยชน์ของแท็บ (Tab) แต่ละประเภทได้ 13. สามารถใส่ลาดับเลขและสัญลักษณ์หน้าข้อความ โดยสามารถปรับแต่งรูปแบบ สัญลักษณ์และระยะห่างได้ ตามที่ต้องการ 14. สามารถสร้างตารางได้ กรอกข้อมูลในตารางได้ เลือกตารางและลบข้อมูลในตารางได้ 15. สามารถทาการตั้งค่าหน้ากระดาษ โดยกาหนดขนาดกระดาษ ระยะห่างของขอบกระดาษได้ 16. สามารถใส่เลขหน้าและปรับหัวกระดาษ และท้ายกระดาษได้ 17. สามารถสร้างตารางที่มีความสลับซับซ้อน สามารถทาการสีเส้นตาราง ลบเส้นตาราง และรวมช่องตาราง และแยกช่องตารางได้ 18. สามารถใช้งานเครื่องมือสร้างกล่องข้อความ กราฟิก (Graphic) พร้อมตั้งค่าของวัตถุนั้น ๆ ได้ 19. สามารถทาการปรับแต่งรูปภาพ โดยใส่รูปแบบได้ 20. สามารถสร้างกราฟ (Chart) และไดอะแกรม (Diagram) พร้อมกาหนดรายละเอียดของกราฟ (Chart) ได้ และเปลี่ยนประเภทกราฟ (Chart) ได้ อีกทั้งบอกได้ว่ากราฟ (Chart) แต่ละประเภทเหมาะกับงานใน ลักษณะใด 21. สามารถแบ่งเอกสารเป็นส่วนย่อยโดยใช้เครื่องมือในการแบ่งเอกสาร 22. สามารถค้นหาและแทนที่ข้อความได้ 23. สามารถวางโครงสร้างของเอกสาร กาหนดหัวข้อหลัก หัวข้อย่อย ได้ 24. สามารถทาการบันทึกเอกสารไปเป็นรูปแบบอื่น ๆ ได้
หน้า ก-4
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
คาอธิบาย โปรแกรมแผ่นตารางทาการ 1. สามารถเปิดใช้งานโปรแกรมแผ่นตารางทาการได้ 2. สามารถอธิบายส่วนประกอบหลักของโปรแกรมแผ่นตารางทาการได้ 3. สามารถเปลี่ยนมุมมองของโปรแกรมแผ่นตารางทาการได้ 4. สามารถเลือกเซลล์ (Cell) เลือกแถว (Row) เลือกคอลัมน์ (Column) และเลือกช่วงข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่องได้ 5. สามารถย้ายและคัดลอกเซลล์ (Cell) ได้ 6. สามารถปรับเปลี่ยนฟอนต์ (Font) และตกแต่งเซลล์ (Cell) ได้ เปลี่ยนขนาดตัวอักษร ทาตัวหนา ตัวเอียง ขีดเส้นใต้ อักษรตัวยก อักษรตัวห้อย ทาตัวเน้นคา ตีเส้นตาราง กาหนดสีพื้นหลัง และลวดลายได้ 7. สามารถเปิด และบันทึกเอกสารได้ 8. สามารถปรับความกว้าง ความสูง ของแถว (Row) และคอลัมน์ (Column) ได้ 9. สามารถค้นหาและแทนที่ข้อความได้ 10. สามารถคานวณพื้นฐาน และใช้เครื่องหมายการคานวณเพื่อ บวก ลบ คูณ หาร วงเล็บ ได้อย่างถูกต้อง 11. สามารถทาการตั้งค่าหน้ากระดาษ โดยกาหนดขนาดกระดาษ ระยะห่างของขอบกระดาษได้ 12. สามารถทาการพิมพ์เอกสารได้ โดยสามารถกาหนดค่าพื้นฐานได้แก่ จานวนสาเนา เครื่องพิมพ์ และจานวน หน้าการพิมพ์ที่จะพิมพ์ 13. สามารถคัดลอกรูปแบบได้ 14. สามารถคานวณ โดยใช้สูตรการคานวณ SUM, AVERAGE, MAX, MIN, COUNT, COUNTA ได้ 15. สามารถตั้งค่าการกาหนดรูปแบบอย่างมีเงื่อนไข (Conditional Formatting) 16. สามารถจัดรูปแบบตาราง โดยใช้เครื่องมือ Style ได้ 17. สามารถใส่เนื้อหาต่าง ๆ เข้ามาในเอกสาร พร้อมปรับแต่ง แก้ไขได้ ได้แก่ รูปภาพ กล่องข้อความ กราฟิ ก เป็นต้น 18. สามารถใส่ แก้ไข ลบ ข้อคิดเห็นให้กับเซลล์ (Cell) ได้ สามารถสร้างกราฟ (Chart) และกาหนดรูปแบบของกราฟ (Chart) ได้ พร้อมทั้งสามารถอธิบายข้อดีของ กราฟ (Chart) แต่ละประเภทได้ 19. สามารถใช้สูตรในการจัดการตัวอักษร ได้แก่ Len, Left, Mid, Right, Upper, Lower ได้ 20. สามารถใช้สูตรที่เกี่ยวข้องกับวันที่ ได้แก่ Today, Now, Year, Month 21. สามารถใช้สูตรที่สลับซับซ้อนได้ ได้แก่ IF, SumIF, CountIF, VLookup, IFError, Offset 22. สามารถ นาเข้า ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ได้แก่ ฐานข้อมูล, ข้อมูลจากเว็บไซต์ , ข้อมูลประเภทไฟล์ ข้อความ 23. สามารถทางานกับข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ โดยสามารถทาการจัดเรียงเอกสาร (Sort) และคัดกรอง (Filter) ข้อมูลเอกสารได้ 24. สามารถกาหนดการป้องกันการป้อนข้อมูลที่ไม่ถูกต้องได้ สามารถใช้เครื่องมือเพื่อลบข้อมูลที่มีซ้าซ้อนได้
หน้า ก-5
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
คาอธิบาย โปรแกรมการนาเสนอ 1. สามารถเปิดใช้งานโปรแกรมการนาเสนอได้ 2. สามารถอธิบายส่วนประกอบหลักต่าง ๆ ของโปรแกรมการนาเสนอได้ 3. สามารถเปลี่ยนมุมมองของโปรแกรมการนาเสนอได้ 4. สามารถเพิ่ม/ลบ สไลด์ (Slide) ได้ 5. สามารถปรับเปลี่ยนฟอนต์ (Font) และตกแต่งตัวอักษรได้ เปลี่ยนขนาดตัวอักษร ทาตัวหนา ตัวเอียง ขีดเส้นใต้ อักษรตัวยก อักษรตัวห้อย ทาตัวเน้นคา ตีเส้นตาราง กาหนดสีพื้นหลัง และลวดลายได้ 6. สามารถเปิด และบันทึกงานนาเสนอได้ 7. สามารถกาหนดลาดับการนาเสนองานได้ 8. สามารถทาการนาเสนองานนาเสนอได้ 9. ผู้ใช้สามารถสั่งพิมพ์เอกสารปกติได้ 10. สามารถคัดลอกรูปแบบได้ 11. สามารถใส่เนื้อหาต่าง ๆ เข้ามาในเอกสาร พร้อมปรับแต่ง แก้ไขได้ ได้แก่ รูปภาพ คลิปอาร์ท (Clip Art) กราฟิก (Graphic) แผนผังองค์กร (Organization Chart) ตาราง เป็นต้น 12. สามารถปรับแต่งวัตถุ (Object) ปรับขนาดวัตถุ (Object) ใส่เอฟเฟค (Effect) กาหนดลาดับการแสดงผล ว่ารายการใดอยู่บน หรือ อยู่ล่าง ปรับความสว่าง ความมืด ความชัด และเฉดสีของวัตถุ (Object) ได้ 13. สามารถกาหนดเค้าโครง (Layout) ของสไลด์ (Slide) ได้ 14. สามารถกาหนดธีม (Theme) ให้กับสไลด์ (Slide) ได้ ทั้งสี ฟอนต์ (Font) เอฟเฟค (Effect) ของงานนาเสนอ 15. สามารถค้นหาและแทนที่ข้อความได้ 16. ผู้ใช้สามารถสั่งพิมพ์เอกสาร โดยปรับแต่งค่าการพิมพ์ได้ 17. สามารถสร้างกราฟ (Chart) และกาหนดรูปแบบของกราฟได้ พร้อมทั้งสามารถอธิบายข้อดีของกราฟ แต่ละประเภทได้ 18. สามารถใส่เนื้อหาที่เป็นวีดิทัศน์และเสียง พร้อมกาหนดรูปแบบในขณะนาเสนอได้ 19. สามารถกาหนดค่าแอนนิเมชัน (Animation) ให้กับสไลด์ (Slide) ได้ 20. สามารถกาหนดรูปแบบและลาดับการเปลี่ยนสไลด์ (Slide) ได้ 21. สามารถใช้เครื่องมือขณะนาเสนอได้ อาทิ ปากกา ปากกาไฮไลท์ สีหมึก และค่าของสกรีน เป็นต้น
5. 1. 2. 3. 4. 5.
ข้อเสนอแนะความสามารถด้านโปรแกรมออกแบบกราฟิก คาอธิบาย สามารถอธิบายความหมายและความเป็นมาของงานกราฟิก ประเภทและหน้าที่ การใช้งานเครื่องมืองาน กราฟิกได้ สามารถอธิบายการใช้งาน เครื่องมือต่าง ๆ ของงานกราฟิกได้ สามารถใช้งานเครื่องมือต่าง ๆ ของโปรแกรมกราฟิก ออกแบบสร้างสรรค์งานได้ สามารถใช้โปรแกรมกราฟิก ในการสร้างชิ้นงานตามที่กาหนดและบันทึกงานได้ สามารถใช้งานเครื่องมือต่าง ๆ ของโปรแกรมกราฟิกตกแต่งรูปภาพได้ หน้า ก-6
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
6. 7. 8. 9.
6. 1. 2. 3. 4. 5.
6. 7.
7.
คาอธิบาย สามารถใช้โปรแกรมกราฟิกตกแต่งตัวอักษรตามเงื่อนไขที่กาหนดได้อย่างสวยงาม สามารถนาภาพมาออกแบบงานสร้างสรรค์ ตามเงื่อนไขที่กาหนดได้ สามารถนาภาพมาออกแบบงานสร้างภาพเคลื่อนไหวได้ สามารถนาภาพมาออกแบบทาชิ้นงานโดยใช้โปรแกรมกราฟิกและนาเสนอชิ้นงานได้
ข้อเสนอแนะความสามารถด้านโปรแกรมออกแบบงานวิศวกรรม คาอธิบาย สามารถอธิบายความหมายและความเป็นมาของงานกราฟิก ประเภทและหน้าที่ การใช้งานเครื่องมืองาน กราฟิกได้ สามารถใช้งานเครื่องมือต่าง ๆ ของโปรแกรมออกแบบงานวิศวกรรม เขียนแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ขั้นพื้นฐาน สามารถสร้างแบบร่าง (Sketch) เพื่อออกแบบงานวิศวกรรมโดยใช้โปรแกรมออกแบบงานวิศวกรรมและ นาเสนอชิ้นงานได้ สามารถใช้โปรแกรมออกแบบงานวิศวกรรม ในการสร้างชิ้นงานตามที่กาหนดและบันทึกงานได้ สามารถใช้งานเครื่องมือต่าง ๆ ของโปรแกรมออกแบบงานวิศวกรรม อาทิ จัดแสง ลักษณะของพื้นผิวประเภท ต่าง ๆ การสร้างบรรยากาศ การจัดแสงทั้งภายในและภายนอก และ งานด้าน Architecture, Interior, Landscape, Urban planning, Construction, Exhibition, Stage, Event, Product, Furniture, Mechanical ได้ สามารถนาภาพมาออกแบบงานวิศวกรรม ตามเงื่อนไขที่กาหนดได้ สามารถนาภาพมาออกแบบทาชิ้นงานโดยใช้โปรแกรมออกแบบงานวิศวกรรมและนาเสนอชิ้นงานได้
ข้อเสนอแนะความสามารถด้านระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย 1. สามารถรับรู้สิทธิ์ที่ได้รับในการใช้งานระบบสารสนเทศ 2. สามารถเข้าใช้งานระบบได้ (ตามสิทธิ์) 3. สามารถบันทึกข้อมูลในระบบได้ 4. สามารถเปิดดูรายงาน (ตามสิทธิ์) 5. สามารถทาการสืบค้น แก้ไข และลบ ข้อมูลได้ตามสิทธิ์ 6. สามารถกาหนดเรียกดูและพิมพ์รายงานแบบมีการกาหนดเงื่อนไขได้ 7. สามารถเข้าใจกระบวนการทางานได้ถูกต้องครบถ้วน 8. ข้อมูลในระบบมีความถูกต้องครบถ้วนและทันเวลาต่อการใช้งาน 9. สามารถนารายงาน หรือ เอกสารที่เป็น Output ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง 10. สามารถใช้งานฟังก์ชั่น (Function) ต่าง ๆ ของระบบได้ครบถ้วนตามสิทธิ์ได้รับ
หน้า ก-7
ผนวก ข มาตรฐานกาหนดตาแหน่งที่สานักงาน ก.พ. กาหนด
3-1-013 ฉบับแกไขเพิม่ เติมครั้งที่ 1 : วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2552 มาตรฐานกําหนดตําแหนง ตําแหนงประเภท
วิชาการ
สายงาน
วิชาการคอมพิวเตอร
ลักษณะงานโดยทั่วไป สายงานนี้คลุมถึ งตําแหน งต างๆ ที่ปฏิบัติงานทางวิทยาการคอมพิว เตอร ซึ่งมีลัก ษณะงาน ที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห กําหนดคุณลักษณะของเครื่อง จัดระบบติดตั้ง เชื่อมโยงระบบเครื่อง คอมพิวเตอร ศึกษา วิเคราะห ออกแบบเกี่ยวกับชุดคําสั่งระบบ ชุดคําสั่งประยุกต การจัดทําคูมือการใช คํ า สั่ ง ต า งๆ กํ า หนดคุ ณ ลั ก ษณะ ติ ด ตั้ ง และใช เ ครื่ อ งมื อ ชุ ด คํ า สั่ ง สื่ อ สาร การจั ด และบริ ห ารระบบ สารสนเทศ รวมทั้งการดําเนินการเกี่ยวกับการกระทําผิดทางคอมพิวเตอร และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส การให คํ า ปรึ ก ษาแนะนํ า อบรมเกี่ ย วกั บวิ ท ยาการคอมพิ ว เตอร ด า นตา งๆ แก บุ ค คล หรื อหน ว ยงาน ที่เกี่ยวของ ติดตามความกาวหนาของเทคโนโลยีใหม ๆ และปฏิบัติหนาที่อื่นที่เกี่ยวของ ชื่อตําแหนงในสายงานและระดับตําแหนง ตําแหนงในสายงานนี้มีชื่อและระดับตําแหนง ดังนี้ นักวิชาการคอมพิวเตอร ระดับปฏิบัติการ นักวิชาการคอมพิวเตอร ระดับชํานาญการ นักวิชาการคอมพิวเตอร ระดับชํานาญการพิเศษ นักวิชาการคอมพิวเตอร ระดับเชี่ยวชาญ นักวิชาการคอมพิวเตอร ระดับทรงคุณวุฒิ
ก.พ.กําหนดวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551
3-1-013-1 ฉบับแกไขเพิม่ เติมครั้งที่ 1 : วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2552 ตําแหนงประเภท
วิชาการ
ชื่อสายงาน
วิชาการคอมพิวเตอร
ชื่อตําแหนงในสายงาน
นักวิชาการคอมพิวเตอร
ระดับตําแหนง
ปฏิบัติการ
หนาที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะผูปฏิบัติงานระดับตน ที่ตองใชความรู ความสามารถทางวิชาการ ในการทํ า งาน ปฏิ บัติง านด า นวิช าการคอมพิ ว เตอร ภายใต ก ารกํ ากับ แนะนํ า ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในดานตาง ๆ ดังนี้ 1. ดานการปฏิบตั ิการ (1) ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล ชุดคําสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคําสั่งสําเร็จรูป ระบบเครือขายคอมพิวเตอรและอุปกรณที่เกี่ยวของ เพื่อสนับสนุนใหงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับความตองการของหนวยงาน (2) ประมวลผลและปรับปรุงแกไขแฟมขอมูล เพื่อใหขอมูลที่ไดถูกตองแมนยําและ ทันสมัย (3) ทดสอบคุณสมบัติดานเทคนิคของระบบ เพื่อใหระบบมีคุณสมบัติที่ถูกตอง ตรง ตามความตองการและสภาพการใชงานของหนวยงาน (4) เขี ย นชุ ด คํ า สั่ ง ตามข อ กํ า หนดของระบบงานประยุ ก ต และระบบข อ มู ล ที่ ไ ด วางแผนไว เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศใหดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ (5) เขี ย นชุ ด คํ า สั่ ง ทดสอบความถู ก ต อ งของคํ า สั่ ง แก ไ ขข อ ผิ ด พลาดของคํ า สั่ ง เพื่อใหระบบปฏิบัติการทํางานไดอยางถูกตองแมนยําและมีประสิทธิภาพ (6) ชวยรวบรวมขอมูลและวิเคราะหความตองการของระบบงานประยุกต และระบบ ขอมูลของหนวยงานที่ไมซับซอน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหนวยงานใหมี ประสิทธิภาพ และตรงตามความตองการของหนวยงาน
2 (7) ชวยรวบรวมขอมูลและวิเคราะห ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต เพื่อให ไดระบบงานประยุกตที่ตรงตามคุณลักษณะและความตองการของหนวยงาน (8) รวบรวมขอมูลประกอบการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร และอุปกรณ ระบบเครือขาย ระบบงานประยุกตและระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทํางาน เครื่อง การติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อใหไดอุปกรณคอมพิวเตอรที่เปนมาตรฐานเดียวกัน และตรงตาม ความตองการใชของหนวยงาน (9) ชวยตรวจสอบ สืบคน และรวบรวมขอมูลการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศที่ เขาขายไมเหมาะสม ขัดตอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่กําหนด หรือไมเปนไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของขอมูลหรือระบบ (10) ชวยตรวจสอบและรวบรวมขอมูลเพื่อประกอบการออกใบอนุญาต เพื่อใหการ ออกใบอนุญาตเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนด 2. ดานการวางแผน วางแผนการทํางานที่รับผิดชอบ รวมดําเนินการวางแผนการทํางานของหนวยงานหรือ โครงการ เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 3. ดานการประสานงาน (1) ประสานงานทํางานรวมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหนวยงาน เพื่อให เกิดความรวมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด (2) ชี้แ จงและใหรายละเอี ย ดเกี่ย วกับขอมูล ขอเท็ จจริง แก บุ คคลหรื อ หนว ยงาน ที่เกี่ยวของ เพื่อสรางความเขาใจหรือความรวมมือในการดําเนินงานตามที่ไดรับมอบหมาย 4. ดานการบริการ (1) ชวยจัดทําคูมือระบบและคูมือผูใช เพื่อใหผูใชสามารถใชงานคอมพิวเตอรไดดวย ตนเองอยางมีประสิทธิภาพ (2) ดําเนินการฝกอบรมหรือถายทอดความรู สนับสนุนการใชระบบงานที่พัฒนา แกเจาหนาที่ผูใชงาน เพื่อสรางความรูความเขาใจในดานวิชาการคอมพิวเตอร (3) ให คํ า ปรึ ก ษาแนะนํ า แก ผู ใ ช เ มื่ อ มี ป ญ หาหรื อ ข อ สงสั ย ในการใช ง านเครื่ อ ง คอมพิวเตอร เพื่อใหผูใชสามารถแกไขและใชงานเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางมีประสิทธิภาพ
3 คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง มีคุณวุฒิอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้ 1. ได รั บปริ ญญาตรี หรื อคุ ณวุ ฒิ อย างอื่ นที่ เที ยบได ในระดั บเดี ยวกั น ในสาขาวิ ชาใด สาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร 2. ได รั บปริ ญญาโทหรื อคุ ณวุ ฒิ อย างอื่ นที่ เที ยบได ในระดั บเดี ยวกั น ในสาขาวิ ชาใด สาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร 3. ได รั บปริ ญญาเอกหรื อคุ ณวุ ฒิ อย างอื่ นที่ เที ยบได ในระดั บเดี ยวกั น ในสาขาวิ ชาใด สาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร 4. ไดรับปริญญาหรือคุณวุฒิอยางอื่นที่ ก.พ. กําหนดวาใชเปนคุณสมบัติเฉพาะสําหรับ ตําแหนงนี้ได ความรูความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จําเปนสําหรับตําแหนง 1. มีความรูความสามารถที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติหนาที่ในตําแหนง 2. มีทกั ษะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในตําแหนง 3. มีสมรรถนะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในตําแหนง
ก.พ. กําหนดวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551
3-1-013-2 ฉบับแกไขเพิม่ เติมครั้งที่ 1 : วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2552 ตําแหนงประเภท
วิชาการ
ชื่อสายงาน
วิชาการคอมพิวเตอร
ชื่อตําแหนงในสายงาน
นักวิชาการคอมพิวเตอร
ระดับ
ชํานาญการ
หนาที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิ บั ติงานในฐานะหัวหนางาน ซึ่งตองกํากับ แนะนํ า ตรวจสอบการปฏิ บัติงานของ ผูรวมปฏิบัติ งาน โดยใช ความรู ความสามารถ ประสบการณ และความชํ านาญงานสู งในดาน วิชาการคอมพิวเตอร ปฏิบัติงานที่ตองตัดสินใจหรือแกปญหาที่ยาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับ มอบหมาย หรือ ปฏิ บั ติ ง านในฐานะผู ป ฏิ บั ติ ง านที่ มี ป ระสบการณ โดยใช ค วามรู ความสามารถ ประสบการณ และความชํานาญงานสูงในดานวิชาการคอมพิวเตอร ปฏิบัติงานที่ตองตัดสินใจหรือ แกปญหาที่ยาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในดานตาง ๆ ดังนี้ 1. ดานการปฏิบตั ิการ (1) ศึกษาวิเคราะห กําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณ ระบบเครื อ ข า ย ระบบงานประยุ ก ต แ ละระบบสารสนเทศ การจั ด การระบบการทํ า งานเครื่ อ ง การติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อใหไดอุปกรณคอมพิวเตอรที่เปนมาตรฐานเดียวกันทั้งหนวยงาน และตรง ตามความตองการ ลักษณะการใชงานของหนวยงาน (2) กําหนดแนวทางการทดสอบคุณสมบัติดานเทคนิคของระบบ เพื่อใหระบบมี คุณสมบัติที่ถูกตอง ตรงตามความตองการใชของหนวยงาน (3) เขียนชุดคําสั่งตามขอกําหนดของระบบงานประยุกต และระบบขอมูลที่ยากและ ซับซอนที่ไดวางแผนไว เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศใหดําเนินไปไดอยางมี ประสิทธิภาพ
2 (4) ศึกษาวิเคราะห และกําหนดความตองการของหนวยงาน เพื่อออกแบบระบบงาน ระบบการประมวลผลขอมูล ระบบเครือขายคอมพิวเตอร และระบบฐานขอมูล เพื่อสนองตอความ ตองการของผูใชในหนวยงาน (5) รวบรวมข อ มู ล ประกอบการเสนอแนะนโยบายและแผนการพั ฒ นาระบบ คอมพิ ว เตอร ระบบสารสนเทศที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่ อ เป น ข อ มู ล ประกอบการพั ฒ นานโยบาย ดานเทคโนโลยีสารสนเทศใหทันสมัย (6) ให คํ า ปรึ ก ษา แนะนํ า เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง แก ไ ขข อ ขั ด ข อ งในการปฏิ บั ติ ง านของ เจาหนาที่ระดับรองลงมา (7) กําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณ ระบบเครือขาย ระบบงานประยุกตและระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทํางานเครื่อง การติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อใหไดอุปกรณคอมพิวเตอรที่เปนมาตรฐานเดียวกันทั้งหนวยงาน และตรงตามความตองการใช ของหนวยงาน (8) ตรวจสอบ สืบคน การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เขาขายไมเหมาะสม ขัดตอ กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่กําหนด หรือไมเปนไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัย ของขอมูลหรือระบบ (9) ตรวจสอบและดําเนินการออกใบอนุญาต เพื่อใหการออกใบอนุญาตเปนไปตาม หลักเกณฑที่กําหนด 2. ดานการวางแผน วางแผนหรื อ ร ว มดํ า เนิ น การวางแผนการทํ า งานตามแผนงานหรื อ โครงการของ หนวยงานระดับสํานักหรือกอง และแกปญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตาม เปาหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 3. ดานการประสานงาน (1) ประสานการทํางานรว มกันโดยมีบทบาทในการใหความเห็นและคําแนะนํ า เบื้ อ งต น แก ส มาชิ ก ในที ม งานหรื อ หน ว ยงานอื่ น เพื่ อ ให เ กิ ด ความร ว มมื อ และผลสั ม ฤทธิ์ ตามที่กําหนด (2) ให ข อ คิ ด เห็ น หรื อ คํ า แนะนํ า เบื้ อ งต น แก ส มาชิ ก ในที ม งานหรื อ บุ ค คลหรื อ หนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อสรางความเขาใจและความรวมมือในการดําเนินงานตามที่ไดรับมอบหมาย
3 4. ดานการบริการ (1) จั ด ทํ า สื่ อ ในการให บ ริ ก ารเผยแพร ข อ มู ล ด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ แกหนวยงานตางๆ และประชาชนผูสนใจ เพื่อเผยแพรขอมูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (2) ฝกอบรมหรือถายทอดความรูดานวิชาการคอมพิวเตอร แกเจาหนาที่ผูใชงาน เพื่อ สรางความรูความเขาใจในดานวิชาการคอมพิวเตอร คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง 1. มีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนักวิชาการคอมพิวเตอร ระดับปฏิบัติการ และ 2. ดํารงตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งมาแลว ดังตอไปนี้ 2.1 ประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ 2.2 ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ไมนอยกวา 6 ป กําหนดเวลา 6 ป ใหลดเปน 4 ป สําหรับผูมีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนักวิชาการคอมพิวเตอร ระดับปฏิบัติการ ขอ 2 หรือขอ 4 ที่เทียบไดไมต่ํากวาปริญญาโท และใหลดเปน 2 ป สําหรับผูมีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับ ตําแหนงนักวิชาการคอมพิวเตอร ระดับปฏิบัติการ ขอ 3 หรือขอ 4 ที่เทียบไดไมต่ํากวาปริญญาเอก 2.3 ตํ า แหน ง อย า งอื่ น ที่ เ ที ย บเท า 2.1 หรื อ 2.2 แล ว แต ก รณี ตามหลั ก เกณฑ แ ละ เงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด และ 3. ปฏิ บั ติ ง านด า นวิ ช าการคอมพิ ว เตอร ห รื อ งานอื่ น ที่ เ กี่ ย วข อ งตามที่ ส ว นราชการ เจาสังกัดเห็นวาเหมาะสมกับหนาที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติมาแลวไมนอยกวา 1 ป ความรูความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จําเปนสําหรับตําแหนง 1. มีความรูความสามารถที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติหนาที่ในตําแหนง 2. มีทกั ษะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในตําแหนง 3. มีสมรรถนะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในตําแหนง
ก.พ. กําหนดวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551
3-1-013-3 ฉบับแกไขเพิม่ เติมครั้งที่ 1 : วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2552 ตําแหนงประเภท
วิชาการ
ชื่อสายงาน
วิชาการคอมพิวเตอร
ชื่อตําแหนง
นักวิชาการคอมพิวเตอร
ระดับ
ชํานาญการพิเศษ
หนาที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะหัวหนางาน ซึ่งตองกํากับ แนะนํา ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผูรวม ปฏิบัติงาน โดยใชความรู ความสามารถ ประสบการณ และความชํานาญงานสูงมากในดานวิชาการ คอมพิวเตอร ปฏิบัติงานที่ตองตัดสินใจหรือแกปญหาที่ยากมาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับ มอบหมาย หรือ ปฏิ บั ติ ง านในฐานะผู ป ฏิ บั ติ ง านที่ มี ป ระสบการณ โดยใช ค วามรู ความสามารถ ประสบการณ และความชํานาญงานสูงมากในดานวิชาการคอมพิวเตอร ปฏิบัติงานที่ตองตัดสินใจ หรือแกปญหาที่ยากมาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในดานตาง ๆ ดังนี้ 1. ดานการปฏิบตั ิการ (1) ศึ ก ษาวิ เ คราะห พั ฒ นาระบบคอมพิ ว เตอร ระบบสารสนเทศที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่อพัฒนางานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศใหทันสมัย (2) ช ว ยกํ า กั บ ติ ด ตามการดํ า เนิ น งาน หรื อ เสนอแนะให ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ การพัฒนาระบบระบบคอมพิวเตอร ระบบเครือขายคอมพิวเตอร ระบบงานประยุกต และระบบงาน สารสนเทศ เพื่อใหงานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศทันสมัยและมีประสิทธิภาพ (3) จั ด ทํ า ข อ เสนอ สรุ ป รายงาน นํ า เสนอต อ คณะกรรมการต า งๆ เพื่ อ กํ า หนด แนวทาง หลักเกณฑและวิธีการดําเนินงานดานระบบคอมพิวเตอร ระบบเครือขายคอมพิวเตอร ระบบงานประยุกต และระบบงานสารสนเทศ (4) จั ด ทํ า และพั ฒ นาระบบงานประยุ ก ต ระบบสารสนเทศ ระบบการเชื่ อ มโยง แลกเปลี่ ย นข อมู ล ระบบฐานขอมูล และระบบคลังข อมูลที่ มีขอบข ายกวาง เพื่ อสนับสนุน การ ปฏิบัติงานดานสารสนเทศในหนวยงาน
2 (5) กํ า กั บ บริ ห ารจั ด การ พั ฒ นาระบบงานต า งๆ เพื่ อ ให เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ใ นการ ปฏิบัติงานตามแผนงาน โครงการ (6) กําหนดวิธีการ หลักเกณฑการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร และอุปกรณ ระบบเครือขาย ระบบงานประยุกตและระบบสารสนเทศการจัดการระบบการทํางาน เครื่อง การติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อใหไดอุปกรณคอมพิวเตอรที่เปนมาตรฐานเดียวกัน และตรงตาม ความตองการใชของหนวยงาน (7) กําหนดหลักสูตรการฝกอบรมหรือถายทอดความรู สนับสนุนการใชระบบงาน ที่ พั ฒ นาแก เ จ า หน า ที่ ผู ใ ช ง าน เพื่ อ สร า งความเข า ใจ และเสริ ม สร า งศั ก ยภาพด า นวิ ช าการ คอมพิวเตอร (8) กํากับ ตรวจสอบ สืบคน การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เขาขายไมเหมาะสม ขัดตอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่กําหนด หรือไมเปนไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคง ปลอดภัยของขอมูลหรือระบบ (9) กําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขการออกใบอนุญาต รวมทั้งกําหนดแนวทางการ กํา กั บ ดู แ ลให เ ป น ไปตามหลั ก เกณฑ ห รื อเงื่ อ นไขใบอนุ ญ าตการประกอบกิ จ การธุ ร กรรมทาง อิเล็กทรอนิกส เพื่อใหการดําเนินการมีมาตรฐานและเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 2. ดานการวางแผน วางแผนหรือรวมดําเนินการวางแผนงาน โครงการของหนวยงานระดับสํานักหรือกอง มอบหมายงาน แกปญหาในการปฏิบัติงานและติดตามประเมินผลเพื่อใหเปนไปตามเปาหมายและ ผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 3. ดานการประสานงาน (1) ประสานการทํางานรวมกันในทีมงานโดยมีบทบาทในการชี้แนะ จูงใจ ทีมงาน หรือหนวยงานอื่นในระดับสํานักหรือกอง เพื่อใหเกิดความรวมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด (2) ชี้แจง ใหขอคิดเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการหรือคณะทํางานตางๆ เพื่อใหเกิด ประโยชนและความรวมมือในการดําเนินงานรวมกั 4. ดานการบริการ (1) ใหคําปรึกษาแนะนําแกหนวยงานราชการ เอกชน ประชาชน เกี่ยวกับการพัฒนา ระบบระบบคอมพิ ว เตอร ระบบเครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร ระบบงานประยุ ก ต และระบบงาน สารสนเทศ เพื่อใหการดําเนินงานดานคอมพิวเตอรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
3 (2) ฝ ก อบรม หรื อ ถ า ยทอดความรู ด า นวิ ช าการคอมพิ ว เตอร ให แ ก ข า ราชการ หนวยงานที่เกี่ยวของ และประชาชน เพื่อสรางความเขาใจ และเสริมสรางศักยภาพดานวิชาการ คอมพิวเตอร คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง 1. มีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนักวิชาการคอมพิวเตอร ระดับปฏิบัติการ และ 2. ดํารงตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งมาแลว ดังตอไปนี้ 2.1 ประเภทอํานวยการ ระดับตน 2.2 ประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ 2.3 ประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ ไมนอยกวา 4 ป 2.4 ตําแหนงอยางอื่นที่เทียบเทา 2.1 หรือ 2.2 หรือ 2.3 แลวแตกรณี ตามหลักเกณฑ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด และ 3. ปฏิ บั ติ ง านด า นวิ ช าการคอมพิ ว เตอร ห รื อ งานอื่ น ที่ เ กี่ ย วข อ งตามที่ ส ว นราชการ เจาสังกัดเห็นวาเหมาะสมกับหนาที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติมาแลวไมนอยกวา 1 ป ความรูความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จําเปนสําหรับตําแหนง 1. มีความรูความสามารถที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติหนาที่ในตําแหนง 2. มีทกั ษะทีจ่ ําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในตําแหนง 3. มีสมรรถนะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในตําแหนง
ก.พ. กําหนดวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551
3-1-013-4 ฉบับแกไขเพิม่ เติมครั้งที่ 1 : วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2552 ตําแหนงประเภท
วิชาการ
ชื่อสายงาน
วิชาการคอมพิวเตอร
ชื่อตําแหนงในสายงาน
นักวิชาการคอมพิวเตอร
ระดับ
เชี่ยวชาญ
หนาที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิ บั ติ ง านในฐานะผู ป ฏิ บั ติ ง านที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญในงาน โดยใช ค วามรู ความสามารถ ประสบการณ และความเชี่ยวชาญในดานวิชาการคอมพิวเตอร ปฏิบัติงานที่ตองตัดสินใจหรือแกปญหา ในทางวิ ชาการที่ ย ากและซั บซ อ นมากและมีผลกระทบในวงกวาง และปฏิ บัติง านอื่ นตามที่ไ ดรั บ มอบหมาย หรือ ปฏิ บั ติ ง านในฐานะผู ป ฏิ บั ติ ง านให คํ า ปรึ ก ษาของส ว นราชการระดั บ กระทรวง กรม ซึ่งใชความรู ความสามารถ ประสบการณ และความเชี่ยวชาญในดานวิชาการคอมพิวเตอร ปฏิบัติงาน ที่ตองตัดสินใจหรือแกปญหาในทางวิชาการที่ยากและซับซอนมากและมีผลกระทบในวงกวาง และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในดานตาง ๆ ดังนี้ 1. ดานการปฏิบตั ิการ (1) ใหคําปรึกษาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย คอมพิวเตอร ระบบงานประยุกต ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวของ เพื่อรวมพัฒนางานคอมพิวเตอรและ เทคโนโลยีสารสนเทศใหทันสมัย (2) ศึ ก ษา ค น คว า วิ จั ย พั ฒ นา ส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การดํ า เนิ น งานด า นระบบ คอมพิวเตอร ระบบเครือข ายคอมพิวเตอร ระบบงานประยุ กต ระบบสารสนเทศ เพื่อใหก ารพัฒนา ดานวิชาการคอมพิวเตอรสอดคลองกับนโยบายของกระทรวงและนโยบายของรัฐบาล (3) พัฒนางานวิชาการดานระบบคอมพิวเตอร ระบบเครือขายคอมพิวเตอร ระบบงาน ประยุกต ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวของ และจัดทําคูมือ หลักเกณฑและวิธีการ เพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติ ใหแกเจาหนาที่ หรือผูสนใจทั่วไปนําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชน
2 (4) เสนอแนะแนวทางในการกําหนดนโยบายดานระบบคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย คอมพิ ว เตอร ระบบงานประยุ ก ต ระบบสารสนเทศที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่ อ ร ว มพั ฒ นานโยบายด า นระบบ คอมพิวเตอร ระบบเครือขายคอมพิวเตอร ระบบงานประยุกต และระบบสารสนเทศ (5) ศึกษา คนควา วิจัย พัฒนา เสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรการตรวจสอบ การใชงาน เทคโนโลยีสารสนเทศที่เขาขายไมเหมาะสม ขัดตอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่กําหนด หรือไมเปนไป ตามมาตรฐานสากล การกําหนดมาตรฐานการแลกเปลี่ยนขอมูลหรือมาตรฐานดานความมั่นคงปลอดภัย ของขอมูลหรือระบบ เพื่อกําหนดมาตรการ รูปแบบ วิธีการ ใหเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 2. ดานการวางแผน วางแผนหรือรวมดําเนินการวางแผน โดยเชื่อมโยงหรือบูรณาการแผนงาน โครงการใน ระดับกลยุทธของสวนราชการระดับกรม มอบหมายงานแกปญหาในการปฏิบัติงานติดตาม ประเมินผล เพื่อใหบรรลุตามเปาหมายผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 3. ดานการประสานงาน (1) ประสานการทํางานโครงการตางๆกับบุคคล หนวยงาน หรือองคกรอื่น โดยมีบทบาท ในการจูงใจ โนมนาวเพื่อใหเกิดความรวมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด (2) ใหขอคิดเห็น และคําแนะนําแกหนวยงานระดับสํานักหรือกอง รวมทั้งที่ประชุมทั้งใน และตางประเทศ เพื่อใหเกิดประโยชนและความรวมมือในการดําเนินงานรวมกัน 4. ดานการบริการ (1) ให คํ า ปรึ ก ษาแนะนํ า แก ห น ว ยงานราชการ เอกชน เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาระบบ คอมพิวเตอร ระบบเครือขายคอมพิวเตอร ระบบงานประยุกต และระบบงานสารสนเทศ เพื่อใหการ พัฒนางานดานคอมพิวเตอรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ (2) ฝกอบรม หรือถายทอดความรูดานวิชาการคอมพิวเตอร ใหแกขาราชการ หนวยงาน ที่ เกี่ยวของ และประชาชน เพื่อสรางความเขาใจ และเสริมสรางศักยภาพดานวิชาการคอมพิวเตอร คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง 1. มีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนักวิชาการคอมพิวเตอร ระดับปฏิบัติการ และ 2. ดํารงตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งมาแลว ดังตอไปนี้ 2.1 ประเภทอํานวยการ ระดับสูง 2.2 ประเภทอํานวยการ ระดับตน ไมนอยกวา 1 ป 2.3 ประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ 2.4 ประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ไมนอยกวา 3 ป
3 2.5 ตํ า แหน ง อย า งอื่ น ที่ เ ที ย บเท า 2.1 หรื อ 2.2 หรื อ 2.3 หรื อ 2.4 แล ว แต ก รณี ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด และ 3. ปฏิบัติงานดานวิชาการคอมพิวเตอรหรืองานอื่นที่เกี่ยวของตามที่สวนราชการเจาสังกัด เห็นวาเหมาะสมกับหนาที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติมาแลวไมนอยกวา 1 ป ความรูความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จําเปนสําหรับตําแหนง 1. มีความรูความสามารถที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติหนาที่ในตําแหนง 2. มีทักษะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในตําแหนง 3. มีสมรรถนะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในตําแหนง
ก.พ. กําหนดวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551
3-1-013-5 ฉบับแกไขเพิม่ เติมครั้งที่ 1 : วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2552 ตําแหนงประเภท
วิชาการ
ชื่อสายงาน
วิชาการคอมพิวเตอร
ชื่อตําแหนงในสายงาน
นักวิชาการคอมพิวเตอร
ระดับ
ทรงคุณวุฒิ
หนาที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะผูปฏิบัติงานที่ทรงคุณวุฒิ ซึ่งใชความรู ความสามารถ ประสบการณ และผลงานดานวิชาการคอมพิวเตอร เปนที่ประจักษในความสามารถ เปนที่ยอมรับในระดับชาติ ปฏิบัติงานที่ ตองตัดสินใจหรือแกปญหาในทางวิชาการที่ยากและซับซอนมากเปน พิเศษและมี ผลกระทบในวงกวางระดับนโยบายกระทรวงหรือระดับชาติ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับ มอบหมาย หรือ ปฏิบัติงานในฐานะผูปฏิบัติงานใหคําปรึกษาของสวนราชการระดับกระทรวง ซึ่งมีความรู ความสามารถ ประสบการณ และผลงานดานวิชาการคอมพิวเตอร เปนที่ประจักษในความสามารถ เป น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ชาติ ปฏิ บัติ ง านที่ ตอ งตั ด สิ น ใจหรื อแกป ญหาในทางวิ ช าการที่ ย ากและ ซับซอนมากเปนพิเศษและมีผลกระทบในวงกวางระดับนโยบายกระทรวงหรือระดับชาติ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในดานตาง ๆ ดังนี้ 1. ดานการปฏิบตั ิการ (1) ให คํ า ปรึ ก ษาและเสนอความเห็ น ทางวิ ช าการเกี่ ย วกั บ การพั ฒ นางาน คอมพิวเตอร เพื่อประกอบการพิจารณากําหนดนโยบาย แผนงาน และแนวทางการปฏิบัติงาน ทางดานวิชาการคอมพิวเตอร (2) ศึกษา คนควา วิจัย พัฒนาทางดานวิชาการคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีขอบขายกวางขวางมาก หรือมีระบบที่ซับซอนเปนพิเศษ เพื่อนํามาประยุกตและพัฒนาใหเขากับ ระบบที่มีอยูภายในองคกร
2 (3) ศึกษา วิเคราะห และพัฒนาระบบงานประยุกต ระบบสารสนเทศ ระบบการ เชื่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูล ระบบฐานขอมูล และระบบคลังขอมูลที่มีขอบขายกวาง เพื่อสนับสนุน การปฏิบัติงานดานสารสนเทศ (4) ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนา มาตรการตรวจสอบ การใชงานเทคโนโลยี สารสนเทศที่เขาขายไมเหมาะสม ขัดตอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่กําหนด หรือไมเปนไปตาม มาตรฐานสากล และมาตรการในการปองกันปราบปราม การสรางความเชื่อมั่นตอการใชระบบ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส เพื่อกําหนดแนวทาง หรือมาตรการ รูปแบบ วิธีการ ใหเหมาะสมและ มีประสิทธิภาพ (5) กํ า กั บ ติ ด ตาม ประเมิ น ผลการพั ฒ นาและการนํ า เทคโนโลยี ส ารสนเทศไป ประยุกตใชกับการปฏิบัติงานของหนวยงานดวยระบบอิเล็กทรอนิกส การพัฒนาระบบขอมูล เพื่อใหการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศมีประสิทธิภาพ 2. ดานการวางแผน วางแผนหรือรวมดําเนินการวางแผนหรือใหคําปรึกษาแนะนําในการวางแผน โดย เชื่ อ มโยงหรื อบู ร ณาการแผนงาน โครงการในระดั บกลยุ ทธ ข องส ว นราชการระดับ กระทรวง ติดตามประเมินผลภาพรวม เพื่อใหบรรลุตามเปาหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 3. ดานการประสานงาน (1) ประสานการทํางานภายในกรม กระทรวง หรือองคกรอื่นทั้งในและตางประเทศ โดยมีบทบาทในการเจรจา โนมนาว เพื่อใหเกิดความรวมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กําหนด (2) ใหขอคิดเห็น และคําแนะนํา แกหนวยงานระดับกรม กระทรวง รวมทั้งที่ประชุม ทั้งในและตางประเทศ เพื่อใหเกิดประโยชนและความรวมมือในการดําเนินงานรวมกัน 4. ดานการบริการ (1) ใหคําปรึกษา แนะนํา วินิจฉัยปญหาที่สําคัญทางดานวิชาการคอมพิวเตอร ใหแก ผู บ ริ ห าร ข า ราชการ หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ ง และประชาชนทั่ ว ไป เพื่ อ สร า ง ความเข า ใจ และ เสริมสรางศักยภาพดานวิชาการคอมพิวเตอร (2) ฝกอบรม ถายทอดความรูดานวิชาการคอมพิวเตอรใหแกขาราชการ หนวยงานที่ เกี่ ย วข อ ง และประชาชน เพื่ อ สร า งความรู ค วามเข า ใจและเสริ ม สร า งศั ก ยภาพด า นวิ ช าการ คอมพิวเตอร
3 คุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง 1. มีคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงนักวิชาการคอมพิวเตอร ระดับปฏิบัติการ และ 2. ดํารงตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งมาแลว ดังตอไปนี้ 2.1 ประเภทบริหาร ระดับสูง 2.2 ประเภทบริหาร ระดับตน ไมนอยกวา 1 ป 2.3 ประเภทอํานวยการ ระดับสูง ไมนอยกวา 2 ป 2.4 ประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ 2.5 ประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ ไมนอยกวา 2 ป 2.6 ตําแหนงอยางอื่นที่เทียบเทา 2.1 หรือ 2.2 หรือ 2.3 หรือ 2.4 หรือ 2.5 แลวแตกรณี ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่ ก.พ. กําหนด และ 3. ปฏิ บั ติ ง านด า นวิ ช าการคอมพิ ว เตอร ห รื อ งานอื่ น ที่ เ กี่ ย วข อ งตามที่ ส ว นราชการ เจาสังกัดเห็นวาเหมาะสมกับหนาที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติมาแลวไมนอยกวา 1 ป ความรูความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จําเปนสําหรับตําแหนง 1. มีความรูความสามารถที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติหนาที่ในตําแหนง 2. มีทกั ษะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในตําแหนง 3. มีสมรรถนะที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในตําแหนง
ก.พ. กําหนดวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551
ผนวก ค สมรรถนะสาหรับตาแหน่ง
คาอธิบายสมรรถนะหลักและพฤติกรรมบ่งชี้ (ตามหนังสือสานักงาน ก.พ.ที่ นร 1008/ว 27 ลงวันที่ 29 กันยายน 2552)
ระดับสมรรถนะ
1.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) คาจากัดความ : ความมุ่งมั่นจะปฏิบัติหน้าที่ราชการให้ดีหรือให้เกินมาตรฐานที่มีอยู่ โดยมาตรฐานนี้อาจเป็น ผลการ ปฏิบัติงานที่ผ่านมาของตนเองหรือเกณฑ์วัดผลสัมฤทธิ์ที่ส่วนราชการกาหนดขึ้น อีกทั้งยังหมายรวมถึงการสร้างสรรค์ พัฒนาผลงาน หรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่ยากและท้าทายชนิดที่อาจไม่เคยมีผู้ใดสามารถกระทาได้มา ก่อน ตัวอย่าง พฤติกรรมบ่งชี้ รายการสมรรถนะและพฤติกรรมบ่งชี้ ที่ใช้ประเมิน ในแต่ละระดับ 0 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้หรือแสดงอย่างไม่ชัดเจน 0 รายการ ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้หรือแสดงอย่างไม่ชัดเจน 1 แสดงความพยายามในการปฏิบัติหน้าที่ราชการให้ดี 1) พยายามทางานในหน้าที่ให้ถูกต้อง 5 รายการ 2) พยายามปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จตามกาหนดเวลา 3) มานะอดทน ขยันหมั่นเพียรในการทางาน 4) แสดงออกว่าต้องการทางานให้ได้ดีขึ้น 5) แสดงความเห็นในเชิงปรับปรุงพัฒนาเมื่อเห็นความสูญเปล่าหรือหย่อนประสิทธิภาพในงาน 2 แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และสามารถทางานได้ผลงานตามเป้าหมายที่วางไว้ 1) กาหนดมาตรฐานหรือเป้าหมายในการทางานเพื่อให้ได้ผลงานที่ดี 9 รายการ (ตัวอย่าง 2) ติดตามและประเมินผลงานของตน โดยเทียบเคียงกับเกณฑ์มาตรฐาน พฤติกรรม 3) ทางานได้ตามเป้าหมายที่ผู้บังคับบัญชากาหนดหรือเป้าหมายของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ระดับ 1 – 2) 4) มีความละเอียดรอบคอบ เอาใจใส่ ตรวจตราความถูกต้องเพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพ 3 แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และสามารถปรับปรุงวิธีการทางานเพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 1) ปรับปรุงวิธีการที่ทาให้ทางานได้ดีขึ้น เร็วขึ้น มีคุณภาพดีขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้นหรือทาให้ 11 รายการ ผู้รับบริการพึงพอใจมากขึ้น (ตัวอย่าง พฤติกรรม 2) เสนอหรือทดลองวิธีการทางานแบบใหม่ที่คาดว่าจะทาให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ระดับ1 – 3 ) 4 แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และสามารถกาหนดเป้าหมาย รวมทั้งพัฒนางาน เพื่อให้ได้ผลง านที่โดดเด่น หรือ แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ 1) กาหนดเป้าหมายที่ท้าทาย และเป็นไปได้ยากเพื่อให้ได้ผลงานที่ดีกว่าเดิมอย่างเห็นได้ชัด 13 รายการ 2) พัฒนาระบบ ขั้นตอน วิธีการทางาน เพื่อให้ได้ผลงานที่โดดเด่นหรือแตกต่างไม่เคยมีผู้ใดทาได้ (ตัวอย่าง พฤติกรรม มาก่อน ระดับ1– 4 ) 5 แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และกล้าตัดสินใจ แม้ว่าการตัดสินใจนั้นจะมีความเสี่ยงเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของ หน่วยงานหรือส่วนราชการ 1) ตัดสินใจได้ โดยมีการคานวณผลได้ผลเสียอย่างชัดเจนและดาเนินการเพื่อให้ภาครัฐและ 15 รายการ ประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด (ตัวอย่าง พฤติกรรม 2) บริหารจัดการและทุ่มเทเวลา ตลอดจนทรัพยากรเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดต่อภารกิจของ ระดับ1– 5) หน่วยงานตามที่วางแผนไว้ 1
ระดับสมรรถนะ
2. บริการที่ดี (Service Mind ) คาจากัดความ : ความตั้งใจและความพยายามของข้าราชการในการให้บริการต่อประชาชน ข้ารา ชการ หรือหน่วยงาน อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่าง พฤติกรรมบ่งชี้ รายการสมรรถนะและพฤติกรรมบ่งชี้ ที่ใช้ประเมิน ในแต่ละระดับ 0 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้หรือแสดงอย่างไม่ชัดเจน 0 รายการ ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้หรือแสดงอย่างไม่ชัดเจน 1 สามารถให้บริการที่ผู้รับบริการต้องการได้ด้วยความเต็มใจ 1) ให้การบริการที่เป็นมิตร สุภาพ 4 รายการ 2) ให้ข้อมูล ข่าวสาร ที่ถูกต้องชัดเจนแก่ผู้รับบริการ 3) แจ้งให้ผู้รับบริการทราบความคืบหน้าในการดาเนินเรื่องหรือขั้นตอนงานต่างๆ ที่ให้บริการอยู่ 4) ประสานงานภายในหน่วยงาน และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ ผู้รับบริการได้รับบริการ ที่ต่อเนื่องและรวดเร็ว 2 แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และช่วยแก้ปัญหาให้แก่ผู้รับบริการ 1) รับเป็นธุระ ช่วยแก้ปัญหาหรือหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นแก่ผู้รับบริการอย่างรวดเร็ว 6 รายการ ไม่บ่ายเบี่ยง ไม่แก้ตัว หรือปัดภาระ (ตัวอย่าง พฤติกรรม 2) ดูแลให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจ และนาข้อขัดข้องใดๆ ในการให้บริการไปพัฒนาการ ระดับ1 -2 ) ให้บริการให้ดียิ่งขึ้น 3 แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และให้บริการที่เกินความคาดหวัง แม้ต้องใช้เวลาหรือความพยายามอย่างมาก 1) ให้เวลาแก่ผู้บริการเป็นพิเศษ เพื่อช่วยแก้ปัญหาให้แก่ผู้รับบริการ 9 รายการ (ตัวอย่าง 2) ให้ข้อมูล ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับงานที่กาลังให้บริการอยู่ ซึ่งเป็นประโยชน์แก่ผู้รับบริการ แม้ว่า พฤติกรรม ผู้รับบริการจะไม่ได้ถามถึง หรือไม่ทราบมาก่อน ระดับ1 - 3 ) 3) นาเสนอวิธีการในการให้บริการที่ผู้รับบริการจะได้รับประโยชน์สูงสุด 4 แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และเข้าใจและให้บริการที่ตรงตามความต้องการที่แท้จริงของผู้รับบริการได้ 1) เข้าใจ หรือพยายามทาความเข้าใจด้วยวิธีการต่างๆ เพื่ อให้บริการได้ตรงตามความต้องการ 11 รายการ ที่แท้จริงของผู้รับบริการ (ตัวอย่าง พฤติกรรม 2) ให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์แก่ผู้รับบริการ เพื่อตอบสนองความจาเป็นหรือความต้องการ ระดับ1– 4 ) ที่แท้จริงของผู้รับบริการ 5 แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และให้บริการที่เป็นประโยชน์อย่างแท้จริงให้แก่ผู้รับบริการ 1) คิดถึงผลประโยชน์ของผู้รับบริการในระยะยาว และพร้อมที่จะเปลี่ยนวิธีหรือขั้นตอนการ 14 รายการ ให้บริการเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้รับบริการ (ตัวอย่าง พฤติกรรม 2) เป็นที่ปรึกษาที่มีส่วนช่วยในการตัดสินใจที่ผู้รับบริการไว้วางใจ ระดับ1– 5 ) 3) สามารถให้ความเห็นที่แตกต่างจากวิธีการหรือขั้นตอนที่ผู้รับบริการต้องการให้สอดคล้องกับ ความจาเป็น ปัญหา โอกาสเพื่อเป็นประโยชน์อย่างแท้จริงของผู้รับบริการ
2
ระดับสมรรถนะ
3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) คาจากัดความ : ความสนใจใฝ่รู้ สั่งสมความรู้ความสามารถของตนในการปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยการศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องจนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เชิงวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ เข้ากับการปฏิบัติราชการ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ตัวอย่าง พฤติกรรมบ่งชี้ รายการสมรรถนะและพฤติกรรมบ่งชี้ ที่ใช้ประเมิน ในแต่ละระดับ 0 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้หรือแสดงอย่างไม่ชัดเจน 0 รายการ ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้หรือแสดงอย่างไม่ชัดเจน 1 แสดงความสนใจและติดตามความรู้ใหม่ ๆ ในวิชาการ และเทคโนโลยีใหม่ ในสาขาอาชีพของตนหรือ ที่เกี่ยวข้อง 1) ศึกษาหาความรู้ สนใจเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ ๆ ในสาขาอาชีพของตน 3 รายการ 2) พัฒนาความรู้ความสามารถของตนให้ดียิ่งขึ้น 3) ติดตามเทคโนโลยี และความรู้ใ หม่ๆ อยู่เสมอด้วยการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่จะ เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติราชการ 2 แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และมีความรู้ในวิชาการ และเทคโนโลยีใหม่ๆ ในสาขาอาชีพของตน 1) รอบรู้ในเทคโนโลยีหรือองค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาอาชีพของตนหรือที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจมี 5 รายการ ผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ราชการของตน (ตัวอย่าง พฤติกรรม 2) รับรู้ถึงแนวโน้มวิทยาการที่ทันสมัย และเกี่ยวข้องกับงานของตนอย่างต่อเนื่อง ระดับ1– 2) 3 แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และสามารถนาความรู้ วิทยาการหรือเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาปรับใช้กับการปฏิบัติ หน้าที่ราชการ 1) สามารถนาวิชาการ ความรู้ หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการได้ 7 รายการ (ตัวอย่าง 2) สามารถแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดจากการนาเทคโนโลยีใหม่มาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ พฤติกรรมระดับ ได้ 1–3 ) 4 แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และศึกษา พัฒนาตนเองให้มีความรู้และความเชี่ยวชาญในงานมากขึ้นทั้งในเชิง ลึกและเชิงกว้างอย่างต่อเนื่อง 1) มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ และสามารถนาความรู้ไป 9 รายการ ปรับใช้ได้อย่างกว้างขวาง (ตัวอย่าง พฤติกรรม 2) สามารถนาความรู้ เชิงบูรณาการของตนไปใช้ในการสร้างวิสัยทัศน์ เพื่อการปฏิบัติงานใน ระดับ1–4) อนาคต 5 แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และสนับสนุนการทางานของคนในส่วนราชการที่เน้นความเชี่ยวชาญใน วิทยาการด้านต่างๆ 1) สนับสนุนให้เกิดบรรยากาศแห่งการพัฒนาความเชี่ยวชาญในองค์กร ด้วยการจัดสรร 11 รายการ ทรัพยากร เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เอื้อต่อการพัฒนา (ตัวอย่าง พฤติกรรม 2) บริหารจัดการให้ส่วนราชการนาเทคโนโลยี ความรู้ หรือวิทยาการใหม่ๆ มาใช้ในการ ระดับ1–5) ปฏิบัติหน้าที่ราชการในงานอย่างต่อเนื่อง
3
ระดับสมรรถนะ
4. การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม (Integrity) คาจากัดความ การดารงตนและประพฤติปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสม ทั้งตามกฎหมาย คุณธรรม จรรยาบรรณแห่ง วิชาชีพ และจรรยาข้าราชการเพื่อรักษาศักดิ์ศรีแห่งความเป็นข้าราชการ ตัวอย่าง พฤติกรรมบ่งชี้ รายการสมรรถนะและพฤติกรรมบ่งชี้ ที่ใช้ประเมิน ในแต่ละระดับ 0 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้หรือแสดงอย่างไม่ชัดเจน 0 รายการ ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้หรือแสดงอย่างไม่ชัดเจน 1 มีความสุจริต 1) ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสุจริต ไม่เลือกปฏิบัติ ถูกต้องตามกฎหมาย และวินัยข้าราชการ 2 รายการ 2) แสดงความคิดเห็นตามหลักวิชาชีพอย่างสุจริต 2 แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และมีสัจจะเชื่อถือได้ 1) รักษาคาพูด มีสัจจะ และเชื่อถือได้ 4 รายการ (ตัวอย่าง 2) แสดงให้ปรากฏถึงความมีจิตสานึกในความเป็นข้าราชการ พฤติกรรม ระดับ 1 -2) 3 แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และยึดมั่นในหลักการ 1) ยึดมั่นในหลักการ จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพและจรรยาข้าราชการ ไม่เบี่ยงเบนด้วยอคติ 6 รายการ หรือผลประโยชน์กล้ารับผิดและรับผิดชอบ (ตัวอย่าง พฤติกรรม 2) เสียสละความสุขส่วนตน เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ทางราชการ ระดับ1 – 3) 4 แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และยืนหยัดเพื่อความถูกต้อง 1) ยืนหยัดเพื่อความถูกต้องโดยมุ่งพิทักษ์ผลประโยชน์ของทางราชการ แม้ตกอยู่ใน 8 รายการ สถานการณ์ที่อาจยากลาบาก (ตัวอย่าง พฤติกรรม 2) กล้าตัดสินใจ ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความถูกต้องเป็นธรรม แม้อาจก่อความไม่พึงพอใจ ระดับ 1–4) ให้แก่ผู้เสียประโยชน์ 5 แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และอุทิศตนเพื่อความยุติธรรม 1) ยืนหยัดพิทักษ์ผลประโยชน์และชื่อเสียงของประเทศชาติแม้ในสถานการณ์ที่อาจเสี่ยงต่อ 9 รายการ ความมั่นคงในตาแหน่งหน้าที่การงาน หรืออาจเสี่ยงภัยต่อชีวิต (ตัวอย่าง พฤติกรรม ระดับ 1–5 )
4
ระดับสมรรถน ะ
5. การทางานเป็นทีม (Teamwork) คาจากัดความ: ความตั้งใจที่จะทางานร่วมกับผู้อื่น เป็นส่วนหนึ่งของทีม หน่วยงาน หรือส่วนราชการ โดยผู้ปฏิบัตมิ ี ฐานะเป็นสมาชิก ไม่จาเป็นต้องมีฐานะหัวหน้าทีม รวมทั้งความสามารถในการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิก ในทีม ตัวอย่าง พฤติกรรม บ่งชี้ รายการสมรรถนะและพฤติกรรมบ่งชี้ ที่ใช้ประเมิน ในแต่ละ ระดับ 0 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้หรือแสดงอย่างไม่ชัดเจน 0 รายการ ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้หรือแสดงอย่างไม่ชัดเจน 1 ทาหน้าที่ของตนในทีมให้สาเร็จ 1) สนับสนุนการตัดสินใจของทีม และทางานในส่วนที่ตนได้รับมอบหมาย 3 รายการ 2) รายงานให้สมาชิกทราบความคืบหน้าของการดาเนินงานของตนในทีม 3) ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการทางานของทีม 2 แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 และให้ความร่วมมือในการทางานกับเพื่อนร่วมงาน 1) สร้างสัมพันธ์ เข้ากับผู้อื่นในกลุ่มได้ดี 6 รายการ (ตัวอย่าง 2) ให้ความร่วมมือกับผู้อื่นในทีมด้วยดี พฤติกรรม 3) กล่าวถึงเพื่อนร่วมงานในเชิงสร้างสรรค์และแสดงความเชื่อมั่นในศักยภาพของเพื่อนร่วม ระดับ 1- 2) ทีมทั้งต่อหน้าและลับหลัง 3 แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 และประสานความร่วมมือของสมาชิกในทีม 1) รับฟังความเห็นของสมาชิกในทีม และเต็มใจเรียนรู้จากผู้อื่น 9 รายการ (ตัวอย่าง 2) ตัดสินใจหรือวางแผนงานร่วมกันในทีมจากความคิดเห็นของเพื่อนร่วมทีม พฤติกรรม 3) ประสานและส่งเสริมสัมพันธภาพอันดีในทีม เพื่อสนับสนุนการทางานร่วมกันให้มี ระดับ 1 - 3) ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4 แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 และสนับสนุน ช่วยเหลือเพื่อนร่วมทีมเพื่อให้งานประสบความสาเร็จ 1) ยกย่องและให้กาลังใจเพื่อนร่วมทีมอย่างจริงใจ 12 รายการ (ตัวอย่าง 2) ให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลแก่เพื่อนร่วมทีม แม้ไม่มีการร้องขอ พฤติกรรม 3) รักษามิตรภาพอันดีกับเพื่อนร่วมทีมเพื่อช่วยเหลือกันในวาระต่างๆ ให้งานสาเร็จ ระดับ1- 4) 5 แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 และสามารถนาทีมให้ปฏิบัติภารกิจให้ได้ผลสาเร็จ 1) เสริมสร้างความสามัคคีในทีม โดยไม่คานึงความชอบหรือไม่ชอบส่วนตน 15 รายการ (ตัวอย่าง 2) คลี่คลาย หรือแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นในทีม 3) ประสานสัมพันธ์ สร้างขวัญกาลังใจของทีม เพื่อปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการให้บรรลุผล พฤติกรรม ระดับ 1 - 5)
5
ผนวก ง รายละเอียดหลักสูตรฝึกอบรม
ผนวก ง-1 รายละเอียดหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับผู้บริหารระดับสูง
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ผนวก ง-1 หลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับผู้บริหารเทคโนลียีสารสนเทศ ระดับสูง (CIO) รหัส EXC01 EXC02 EXC03 EXC04 ITM01 ITM04 ITM06 ITM07 ITU09
หลักสูตรการฝึกอบรม การบริห ารระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื ่อ สารส าหรับ ผู ้บ ริห ารเทคโนโลยี สารสนเทศระดับสูง (Chief Information Officer: CIO) การบริหารจัดการโครงการสาหรับผู้บริหาร (IT Project Management) ระบบบริหารการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (IT Security Management) ระบบบริหารการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ITIL V3 Best Practices for IT Service Management) พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Related Crime Act. B.E. 2550.) การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) การบริหารจัดการนวัตกรรมสาหรับผู้บริหาร (Innovation Management Course for Executives) การบริหารจัดการกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Management) การใช้งานอุปกรณ์สื่อสารไร้สายเบื้องต้น (Basic Use of Mobile Devices)
หน้า ง-1
ผนวก ง-2 รายละเอียดหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับผู้บริหาร
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ผนวก ง-2 หลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับผู้บริหาร รหัส EXC02 EXC04 ITM01 ITM02 ITM03 ITM04 ITM05 ITM06 ITM07 ITM08 ITM10 ITU09
หลักสูตรการฝึกอบรม การบริหารจัดการโครงการสาหรับผู้บริหาร (Project Management for Management) ระบบบริหารการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ITIL V3 Best Practices for IT Service Management) พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Related Crime Act. B.E. 2550.) กฎหมายคอมพิวเตอร์ และแนวนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของภาครัฐ (ICT Law and Policy of Government) ธรรมาภิบาลทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Governance) การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management: BCM) การบริหารจัดการนวัตกรรมสาหรับผู้บริหาร (Innovation Management Course for Executives) การบริหารจัดการกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Management) ระบบบริหารการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Introduction and Interpretation of ISO/IEC 27001:2005 (ISMS)) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษ์สิ่งแวดล้อม (Green ICT) การใช้งานอุปกรณ์สื่อสารไร้สายเบื้องต้น (Basic Use of Mobile Devices)
หน้า ง-2
ผนวก ง-3 รายละเอียดหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับผู้ใช้งาน
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ผนวก ง-3 หลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับผู้ใช้งาน รหัส ITM01 ITU01 ITU02 ITU03 ITU04 ITU05 ITU06 ITU07 ITU08 ITU09 ITU10 ITU11 ITU12
หลักสูตรการฝึกอบรม พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Related Crime Act. B.E. 2550) โปรแกรมสานักงานขั้นพื้นฐาน (Basic Use of Office Application) การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงด้วย Spreadsheet(Advanced Statistic Analysis with Spreadsheet) ออกแบบเว็บไซต์ขั้นพื้นฐาน (Basic Website Design) การออกแบบสื่อเอกสารอิเล็กทรอนิกส์และสื่อนาเสนอขั้นพื้นฐาน (Basic e-Book Design and Presentation) การออกแบบสื่อเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ และสื่อนาเสนอขั้นสูง (Advanced e-Book Design and Presentation) การดูแลซ่อมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงเบื้องต้น (Basic Computer and Peripheral Maintenance and Repair) อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น (Basic Use of Internet) การใช้ ร ะบบสารสนเทศเพื่ อ การจั ด การองค์ ค วามรู้ และระบบการเรี ย นรู้ ผ่ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ (Use of Knowledge Management and e-Learning System) การใช้งานอุปกรณ์สื่อสารไร้สายเบื้องต้น (Basic Use of Mobile devices) การใช้งานระบบปฏิบัติการ (Operating System) การใช้งานโปรแกรมการออกแบบงานวิศวกรรม (Use of Engineering Design Program) ระบบบริหารการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศเบื้องต้น (Introduction to Information Security Management System)
หน้า ง-3
ผนวก ง-4 รายละเอียดหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับผู้เชี่ยญชาญ
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ผนวก ง-4 หลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม รหัส ITM01 ITU02 EXC04 ITM08 ITM09 ITS01 ITS02 ITS03 ITS04 ITS05 ITS06 ITS07 ITS08 ITS09 ITS10 ITS11 ITS12 ITS13 ITS14 ITS15 ITS16
หลักสูตรการฝึกอบรม พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Related Crime Act. B.E. 2550.) การวิเคราะห์สถิติ ขั้นสูงด้วย Spreadsheet (Advanced Statistic Analysis with Spreadsheet) ระบบบริหารการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ITIL V3 Best Practices for IT Service Management) ระบบบริหารการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Introduction and Interpretation of ISO/IEC 27001:2005 (ISMS)) เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล (Information Gathering Techniques) การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS (Advanced Statistic Analysis with SPSS) การบริหารจัดการโครงการขั้นสูง (Advanced Project Management) การจ้างบุคลากรภายนอกโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Project Outsourcing) กระบวนการทางธุรกิจสาหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Business Process for IT Professionals) ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System) ระบบจัดการฐานข้อมูลขั้นสูง (Advanced Database Management System) การประมวลผลเชิงวิเคราะห์ออนไลน์ (OLAP) ภาษาสาหรับการเขียนโปรแกรม (Programming Language) การเขียนโปรแกรมเว็บแอพพลิเคชั่น (Web Programming) การเขียนโปรแกรมเว็บแอพพลิเคชั่นสาหรับอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ (Mobile Web Application) การรักษาความปลอดภัยของเว็บแอพพลิเคชั่น (Web Application Security) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) การรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless Network Security) ความรู้พื้นฐานสาหรับผู้ดูแลระบบเครือข่าย (Network Administrator Overall Basic) ความรู้ขั้นสูงสาหรับผู้ดูแลระบบเครือข่าย (Professional Networking Workshop) เตรียมความพร้อมสาหรับสอบประกาศนียบัตรของซิสโก้ CCNA(Cisco Certified Network Associate) หน้า ง-4
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
รหัส ITS17 ITS18 ITS19
หลักสูตรการฝึกอบรม ความรู้ขั้นสูงสาหรับการให้บริการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Professional computer and IT Service) การบารุงรักษาและแก้ไขปัญหาระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสาหรับผู้ดูแลระบบ (Network Server Maintenance Troubleshooting and System Administration) ระบบปฏิบัติการแบบเสมือน (Operating System-level virtualization)
หน้า ง-5
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ผนวก ง-4 หลักสูตรการฝึกอบรม EXC01 การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารสาหรับผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับสูง (Chief Information Officer: CIO) วัตถุประสงค์: เป็น หลัก สูต รที่ช่ว ยเพิ่ม ศัก ยภาพแก่ผู้บ ริห ารเทคโนโลยี ส ารสนเทศระดับ สูง ให้ส ามารถ ปฏิบัติภาระหน้าที่ในการบริหารระบบสารสนเทศในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เนื้อหาหลักสูตร: 1. ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าและแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการประยุกต์ใช้สารสนเทศ และข้อมูลข่าวสาร 3. ความรู้เกี่ยวกับการรื้อปรับระบบ (Reengineering) 4. ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัย 5. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ 7. ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบสารสนเทศ 8. ความรู้เกี่ยวกับการประเมินสมรรถนะและผลการปฏิบัติงานของศูนย์คอมพิวเตอร์ 9. ความรู้เกีย่ วกับการบริหารทรัพยากรสารสนเทศความรู้เกี่ยวกับการสื่อสาร 10. Work Shop สาหรับผู้บริหารระบบสารสนเทศ 11. ดูงานทีศ่ ูนย์คอมพิวเตอร์ EXC02 การบริหารจัดการโครงการสาหรับผู้บริหาร (IT Project Management) วัตถุประสงค์: 1. เพื่อให้ ทราบ และเข้าใจหลั กการการบริห ารงานโครงการอย่างมีประสิ ทธิ ภ าพรวมทั้งสามารถ วางแผนงานโครงการได้ (Project Baseline Schedule) 2. เพื่อให้ทราบถึงหลักการในการติดตาม และควบคุมโครงการ (Project Monitoring and Control) รวมทั้งประเด็นสาคัญของการจัดการด้านบุคลากรโครงการ 3. เพื่อให้มีการอภิปรายในกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง และเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดระหว่างผู้เข้าสัมมนา และวิทยากรเพื่อให้สามารถประยุกต์ให้เกิดประโยชน์แก่องค์กรต่อไป เนื้อหาหลักสูตร: 1. Project Management Overview (ภาพรวมของการบริหารโครงการ) 2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ หน้า ง-6
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 3. ความหมายโครงการ/ตัวอย่างโครงการ 4. ลักษณะของโครงการ 5. ประเภทของโครงการ 6. วงจรการพัฒนาโครงการ (Project Life Cycle) 7. โครงสร้างหลักการบริหารจัดการ (Management Structure) 8. การวางแผนโครงการ (P:Planning) 9. โครงสร้างองค์กรในการบริหารโครงการ (O:Organizing) 10. การนาเเละภาวะผู้นา (L:Leading&Leadership) 11. การควบคุมโครงการ (C:Control) 12. กรณีศึกษาการติดตามเฝ้าระวังโครงการ (Project Monitoring) 13. การจัดการความเสี่ยงโครงการ (Project Risk Management) 14. การตรวจรับงานโครงการ (Basic Review) 15. การสิ้นสุดโครงการ การส่งถ่ายโครงการ การปิดโครงการ (Project Closing) 16. การติดตามและประเมินผลโครงการ (Project Evaluation) 17. ปัจจัยความสาเร็จการบริหารโครงการ 18. กรณีศึกษาบริหารโครงการต่างประเทศ EXC03 ระบบบริหารการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (IT Security Management) วัตถุประสงค์: ให้เกิดความเข้าใจ เสริมสร้างทักษะและแนวทางการบริหารงานเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึง การแก้ไขปัญหาในองค์กรที่ต้องการมุ่งเน้นพัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่ง Manager จะ เป็ น ผู้มีบ ทบาทส าคัญในการขับ เคลื่ อนองค์กรโดยผู้ที่เข้ารับการอบรมจะได้รับความรู้ความเข้าใจใน บทบาทหน้าที่ของเทคโนโลยีสารสนเทศ Manager เข้าใจความต้องการขององค์กรทางด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศการบริหารจัดการหรือให้คาแนะนาในเรื่อง IT Project มีค วามเข้ า ใจในเรื่ อ ง Disaster Recovery การออกแบบและความต้องการของ High Availability Data Center การประเมิ น และ การบริหารจัดการความเสี่ยง การติดตั้งและออกแบบการรักษาความปลอดภั ย ของข้ อ มู ล การจั ด ตั้ ง การต่อรอง และการบริหารจัดการงบประมาณทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแนวทางการคัดเลือกพัฒนา บุค ลากรทางด้า นเทคโนโลยีส ารสนเทศรวมถึง การออกแบบหลัก สูต รการฝึก อบรมให้เ หมาะสม เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานและการตรวจสอบทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีคุณภาพ เป็นต้น
หน้า ง-7
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร: 1. IT Organization and the IT Manager 2. Data Centre Facilities 3. Data Centre Operations 4. Equipment Life Cycle Management 5. Cloud Computing 6. Application Management 7. Project Management 8. Business Continuity/Disaster Recovery 9. Security Management 10. Risk Management 11. Vendor Management 12. Financial Management 13. Human Resource Management 14. Audit & Compliance 15. IT Governance Management EXC04 ระบบบริหารการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ITIL V3 Best Practices for IT Service Management) วัตถุประสงค์: มุ่งเน้นแนวคิดในการจัดการบริหาร IT Service ตามหลักการของ ITIL ซึ่งจะอธิบายถึงกระบวนการ การพัฒ นา IT Framework และมีการจาลองเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ระหว่างการทางาน เพื่อเป็นแบบอย่างในการบริหารจัดการ เนื้อหาหลักสูตร: 1. Introduction 2. Service Management as a Practice 3. Service Lifecycle 4. Service Strategy 5. Service Design 6. Service Transition 7. Service Operation 8. Continual Service Improvement 9. Technology and Architecture
หน้า ง-8
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ITM01 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Related Crime Act. B.E. 2550.) วัตถุประสงค์: เพื่ อ ให้ ท ราบถึ ง พระราชบั ญ ญั ติ ว ่ า ด้ ว ยการกระทาผิ ด เกี่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์ ก ฎหมา ย ด้ า นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปัจจุบันกฎหมายและบทลงโทษ และการกระทาผิด พ.ร.บ. เนื้อหาหลักสูตร: 1. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2. กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปัจจุบัน 3. บทลงโทษ การกระทาผิด พ.ร.บ. หมายเหตุ:สานัก งานปลัดกระทรวงยุติธ รรมสามารถดาเนินการอบรมภายในได้ โดยจ้ า งวิทยากรผู้เชี่ย วชาญจากภายนอกดาเนินการ โดยการฝึกอบรม กลุ่มละ 25 คน
ITM02 กฎหมายคอมพิวเตอร์ และแนวนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของภาครัฐ (ICT law. And policy of government) วัตถุประสงค์: เพื่อ ให้ท ราบถึง กฎหมายคอมพิว เตอร์ และแนวนโยบายเทคโนโลยีส ารสนเทศของภาครัฐ ศึก ษาแนวนโยบายของภาครัฐ ที่เ กี่ย วกับ เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร และกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เนื้อหาหลักสูตร: 1. กฎหมายคอมพิวเตอร์ และแนวนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของภาครัฐ 2. ศึกษาแนวนโยบายของภาครัฐที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายเหตุ:สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมสามารถดาเนินการอบรมภายในได้ โดยจ้ างวิทยากรผู้เชี่ย วชาญจากภายนอกดาเนินการ โดยการฝึกอบรม กลุ่มละ 25 คน
ITM03 ธรรมาภิบาลทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Governance) วัตถุประสงค์: เนื้อหาวิชาจะแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก คือส่วนแรกเกี่ยวกับการบริหารจัดการงานสารสนเทศอย่างมี ธรรมาภิบ าลทางด้านเทคโนโลยีส ารสนเทศ (IT Governance) และส่วนที่สองคือการบริหารจัดการ ความมั่นคงปลอดภัย ด้านสารสนเทศในองค์กรโดยจะเรียนรู้ในเรื่องของการกาหนดนโยบายเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ (Modern IT and Information Security Strategy) วิเคราะห์ ความคุ้มค่าในการลงทุนด้านเทคโนโลยี (IT and Information Security Return On Investment หน้า ง-9
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
วัตถุประสงค์ (ต่อ): Analysis) ศึกษาแนวคิดและกาหนดกลยุทธ์ในการบริห ารจัดการตามหลักบรรษัทภิบาล (Corporate Governance) และธรรมาภิบาลทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Governance) ในแนวทาง GRC (Governance, Risk Management and Compliance) ที่ถูกต้อง ศึกษาแนวทางการศึกษาการประเมิน และบริหารความเสี่ยงตามหลักวิช าการสอดคล้องตามมาตรฐานสากล NIST SP800-30, Risk IT Framework และ ISO/IEC 27005:2008 เนื้อหาหลักสูตร: 1. IT Management Track - Top 10 Information Technology Trends - Cloud Computing, Social Computing, Mobile Computing, Ubiquitous Computing - Regulatory Compliance and the Latest Update Thailand ICT Laws - Practical GRC (Governance, Risk Management and Compliance) - Corporate Fraud Detection and Prevention - Corporate Governance of Information Technology using ISO/IEC 38500 - Achieving Business Excellence through Agile & Responsive IT Infrastructure - Internal Control using COSO ERM and the new way of auditing - Strategic Global Sourcing & Supply Chain Management (SCM) - Enterprise Content Management (ECM) - Strategic Project Management/Vendor Selection - Strategic Negotiation - Strategic e-Commerce Management - Strategic Business and IT Planning - Strategic IT Risk Management (Risk Assessment, Risk Analysis and Risk Treatment) and ISACA Risk IT Framework - Customer Relationship Management (CRM) and Customer Experience Management (CEM) - Business Process Modeling (BPM) and Business Process Re-engineering (BPR) - Service Oriented Architecture (SOA) and Enterprise Architecture (EA) - IT Service Management (ITSM) using ITIL V2/V3 and ISO/IEC 20000 - Practical Knowledge Management (KM), Learning Organization (LO) and Community of Practice - Practical IT Governance (ITG), Balanced Scorecard (BSC), IT Balanced Scorecard หน้า ง-10
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): (IT BSC) - CobiT 4.1 Framework, Val IT Framework and IT Evaluation - Practical Business Intelligence (BI) and Business Analytics using Data Warehousing and Data Mining 2. Information Security Track - Top 10 Cyber Security Threat - Top 10 Information Security Trends - The Latest Update about Cyber Crime and Security Incident Case Study in Thailand - Cloud Computing Security, Social Security, Mobile Security, Ubiquitous Security - Information Security Management System (ISMS) using ISO/IEC 27001:2005 - Information Security Risk Management (ISRM) using ISO/IEC 27005:2008 - IT Risk Management using Risk IT Framework from ISACA - Telecommunication, IP and Internet Security Management - VOIP and Mobile/Wireless Technology Security Management - Security Information Management and Security Event Management (SIEM) - Practical Security Management for Ubiquitous Computing - Practical Business Continuity Management (BCM) using BS 25999 - Practical ICT Continuity Management (ICT CM) using BS 25777 - Practical Guide for Preventing Information Leakage - Web 2.0 and Web Application Security Management - Internet Banking and e-Commerce Security Management - Information Security Awareness Training Program Management ITM04 การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change management) วัตถุประสงค์: 1. เพื่อให้สามารถกาหนดนโยบายเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. สามารถวิเคราะห์การลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ศึกษาแนวทางในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้กับองค์กรอย่างสัมฤทธิ์ผล 4. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อองค์กร 5. ศึกษากฎหมาย กฎระเบียบต่าง ๆ และจริยธรรมสาหรับผู้บริหาร หน้า ง-11
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
วัตถุประสงค์ (ต่อ): 6. ศึกษาแนวคิดและกาหนดกลยุทธ์ในการสร้างธรรมาภิบาลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 7. ศึกษาการประเมินและบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 8. ศึกษาและกาหนดกลยุทธ์ในการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศในองค์กร 9. ศึกษาเทคโนโลยีที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ห ารจั ด การความมั่ น คง ปลอดภัย ด้ า นสารสนเทศ สร้างสัมพันธภาพของผู้ประกอบวิชาชีพและพันธมิตรธุรกิจ 10. ศึกษาจากประสบการณ์จริงจากผู้บริหารเทคโนโลยี ส ารสนเทศจากองค์ ก รชั้นนาต่าง ๆ พร้อม เยี่ยมชมและศึกษาดูงานจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ เนื้อหาหลักสูตร: 1. บทบาทและความสาคัญ ของ Key Person 2. ความสาคัญของการเปลี่ยนแปลง (Change Management) ในยุคปัจจุบัน 3. ตัวอย่างองค์กรที่เปลี่ยนแปลงและไม่เปลี่ยน 4. การมีทัศนคติที่ดีต่อการเปลี่ยนแปลง (Positive Thinking) 5. เคล็ดลับในการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ 6. แนวทางในการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ในภาวะการเปลี่ยนแปลง 7. การแสวงหาโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงเพื่อการพัฒนาตนเองและองค์กร ITM05 การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management: BCM) วัตถุประสงค์: เพื่อให้สามารถบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจได้ เนื้อหาหลักสูตร: 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ BCM (Introduction and Overview of Business Continuity Management) - สถานการณ์ภัยคุกคามต่าง ๆ ในปัจจุบัน - ประโยชน์ของการทา BCM - ปัจจัยสาคัญและบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารในการจัดทาระบบ BCM ให้ประสบความสาเร็จ 2. หลักการสาคัญและข้อกาหนดของ BCM (BCM Program Management) - การวางแผนระบบBCM - การนาไปปฏิบัติ - การติดตามและการทบทวนระบบBCM - การรักษาและการปรับปรุงระบบBCM 3. การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis: BIA) และการประเมินความเสี่ยง หน้า ง-12
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): (Risk Assessment: RA) - การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ - การประเมินความเสี่ยง - การกาหนดทางเลือก (Determining Choices) 4. กลยุทธ์ความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Strategies) - แนวทางที่องค์กรเลือกใช้เพื่อฟื้นคืนสภาพ และสร้างความต่อเนื่องเมื่อเผชิญกับวินาศภัย หรือ อุบัติภัยร้ายแรงหรือการหยุดชะงักของธุรกิจ 5. การจัดทาแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Establishing the Response Plan) - แผนการจัดการอุบัติการณ์ (Incident Management Plan) - แผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Plan) 6. การสร้างวัฒนธรรมองค์กรด้าน BCM (Establishing the Continuity Culture) 7. การฝึกซ้อม การรักษาความต่อเนื่องของระบบและการตรวจประเมิน (Exercise, Maintenance and Audit) ITM06 การบริหารจัดการนวัตกรรมสาหรับผู้บริหาร (Innovation Management Course for Executives) วัตถุประสงค์: เพื่อสามารถจัดการนวัตกรรมในองค์กรได้ เนื้อหาหลักสูตร: 1. มุมมองนวัตกรรมในเชิงภาพรวมของประเทศและของโลกปัจจุบัน 2. ขั้นตอนและการพัฒนานวัตกรรมในองค์กร 3. ปัจจัยความสาเร็จในการพัฒนานวัตกรรม 4. การจัดการนวัตกรรมในองค์กรการผลิตขนาดใหญ่ 5. การจัดการด้านทรัพย์สินทางปัญญา 6. ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ“การค้นหานวัตกรรมในองค์กร” ITM07 การบริหารจัดการกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process Management) วัตถุประสงค์: หลักสูตรนี้จะชี้แนะถึงแนวทางและวิธีการตลอดจนให้ผู้เข้าอบรมได้ฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมที่ ใกล้เคียงความเป็นจริงที่สุด เพื่อให้สามารถนาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในองค์กรและการทางานจริง 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถมองเห็นภาพรวมขององค์กร และประเมินสถานะการแข่งขันทางธุรกิจได้ 2. เพื่อให้ ผู้ เข้าอบรมได้เรี ย นรู้ และฝึ กปฏิบัติในการจัดทากระบวนการทางธุรกิจที่เชื่อมโยงกัน
หน้า ง-13
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
วัตถุประสงค์ (ต่อ): แบบบูรณาการ 3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติในการวิเคราะห์และออกแบบกระบวนการทางธุรกิจ 4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงขึ้น สอดรับกับความผันผวนทางเศรษฐกิจและการแข่งขันทางธุรกิจ 5. เพื่ อ ให้ ผู้ เ ข้ า อบรมสามารถกาหนดแผนงาน และโครงการพั ฒ นากระบวนการทางธุ ร กิ จ อย่ า ง เป็ น ระบบ เนื้อหาหลักสูตร: 1. กระบวนการทางธุร กิจ และการแข่ง ขัน ในยุค โลกาภิวัฒ น์ และการจัด การองค์ก รให้ก้า วทัน กับ การเปลี่ ย นแปลง 2. การจัดการสมรรถนะองค์กร 3 ระดับ 3. 6 ขั้นตอนในการบริหารและปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ 4. ขั้นตอนการวางแผนปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจด้วย Business Mapping Technique 5. ขั้นตอนการวิเคราะห์ และออกแบบกระบวนการทางธุรกิจด้วย Relationship Mapping Technique 6. ขั้นตอนการดาเนินการปรับปรุงกระบวนการ และการบริหารการเปลี่ยนแปลง 7. ขั้นตอนการวางแผนโครงการด้วย Relationship Mapping Technique ITM08 ระบบบริหารการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Introduction and Interpretation of ISO/IEC 27001:2005 (ISMS)) วัตถุประสงค์: เพื่อให้ทราบถึงระบบบริหารการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศตามมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2005 (ISMS) เนื้อหาหลักสูตร: 1. Introduction to Information security 2. ISO/IEC27001:2005 History and related standard 3. OECD Principle for ISMS 4. Process approach and continual improvement 5. ISO/IEC 27001:2005 Clauses requirement 6. Risk Assessment, Risk evaluation 7. Group Presentation on Risk Assessment 8. ISO/IEC 27001:2005 Clauses requirement 9. ISO 17799:2005 interpretations and Implementation Guideline 10. Implementation Step 11. Document Requirement 12. Audit and Certification issue 13. Examination
หน้า ง-14
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ITM09 เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล(Information Gathering Techniques) วัตถุประสงค์: เพื่อให้นักวิเคราะห์ร ะบบทราบถึงเทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล และสามารถเก็บรวบรวม ได้ถูกอย่างต้อง เนื้อหาหลักสูตร: 1.Introduction 2. An overview of information gathering techniques 3. Interviewing 4. Workshops 5. Prototyping 6. Questionnaires ITM10 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษ์สิ่งแวดล้อม (Green ICT) วัตถุประสงค์: เพื่อ ให้เ รีย นรู ้ห ลัก การ เหตุผ ลความจาเป็น ที่ต้อ งปรับ ตัว เองและองค์ก รไปในแนวทาง Green Initiatives รับทราบสถานภาพปัจจุบันของการพัฒนา Green ICT ของไทยและต่างประเทศ รวมทั้งการเป็น Green ICT Change Agent เพื่อนาองค์กรสู่การเป็น Green Enterprise และ Low-Carbon Society ด้วย ICT ต่อไป เนื้อหาหลักสูตร: 1. ผู้นาการเปลี่ยนแปลงและวิสัยทัศน์ใหม่ด้าน Green ICT (Green ICT Proactive Leader) 2. การบริหารการเปลี่ยนแปลงในการนา Green ICT มาใช้ในองค์กร 3. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบจากไอซีที 4. บทบาทและการมีส่วนร่วมของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และไอซีที ต่อสังคมคาร์บอนต่า (Low Carbon Society) 5. กลยุทธ์กรีนไอซีที (Green ICT Strategies) 6. Green ICT Adoption 7. Green ICT Sourcing 8. การประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์และบริการด้านไอซีที (ICT Products/Services Life Cycle Assessment) 9. Carbon & Water Footprints 10. การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 11. Green ICT Operations 12. Green Enterprise Architecture หน้า ง-15
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
13. Data Center Energy Efficiency 14. Cloud Computing Services – Security & Business Continuity 15. Energy Saving – Data Centers and Client Equipment 16. Green ICT Services 17. Green Electronics 18. Green Information Systems with Service Science Approach 19. Smart Grid 20. End of Life Management 21. State-of-the-art of e-Waste Management and practices 22. Green ICT Best Practices 23. Green ICT Policy and Adoption 24. Green ICT practices in Personal & Organization accounts 25. Service Sciences: Green for Business Process Improvement ITS01 การวิเคราะห์สถิติ ขั้นสูงด้วย SPSS (Advanced Statistic Analysis with SPSS) วัตถุประสงค์: เพื่อให้สามารถวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS ได้ เนื้อหาหลักสูตร: 1. การจัดเตรียมข้อมูลสาหรับใช้กับโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ 2. การป้อนข้อมูลเข้าสู่โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ การเรียกข้อมูลที่ป้อนด้วยโปรแกรมอื่น ๆ 3. การปรับเปลี่ยนข้อกาหนดของโปรแกรมเพื่อความสะดวกในการวิเคราะห์ 4. การจัดการกับผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ 5. สถิติกับงานวิจัย Descriptive &Inferential Statistics 6. การใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ทางสถิติช่ว ยในการวิเคราะห์ ข้อมูล ด้วย Descriptive Statistics การแจกแจงความถี่ และคานวณค่าสถิติเบื้องต้น 7. การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติหาค่า Reliability ของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 8. การปรับเปลี่ยนรูปแบบของผลลัพธ์ เช่น เปลี่ยนทศนิยม 9. การจัดการกับข้อมูลก่อนนาไปวิเคราะห์ เช่น เปลี่ยนค่าตัวแปร สร้างตัวแปรใหม่ 10. การเลือกข้อมูลมาทาการวิเคราะห์ ในลักษณะต่าง ๆ 11. สถิติอนุมาน Inferential Statistics กับงานวิจัย 12. การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติช่วยในการประมาณค่าทางสถิติ 13. การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ หน้า ง-16
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 14. การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติช่วยใน การทดสอบเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ย 1 2 และหลายกลุ่มตัวอย่าง 15. การหาความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปร 16. การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ ช่วยในการหาความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปรดังต่อไปนี้ - กรณี 2 ตัวแปร ไม่สามารถคานวณได้ทั้งคู่ - กรณี 2 ตัวแปร สามารถคานวณได้ทั้งคู่ - กรณี 2 ตัวแปร สามารถคานวณได้เพียงตัวเดียว 17. การหาความสัมพันธ์มากกว่า 2 ตัวแปรการวิเคราะห์การถดถอย 18. การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติช่วยในการวิเคราะห์การถดถอย 19. การใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติช่วยในการทดสอบเกี่ยวกับค่าสัดส่วน ITS02 การบริหารจัดการโครงการขั้นสูง (Advanced Project Management) วัตถุประสงค์: เป็นหลักสูตรฝึกอบรมที่ใช้ในการบริหารโครงการงานก่อสร้างขนาดใหญ่ Projects Feasibilities ที่มีความนิ ย มอย่ างแพร่ ห ลาย จะช่ว ยในการบริห ารงานโครงการส าหรับผู้ใช้งานทุกท่านที่ต้องการ บริหารงาน ตลอดจนการจัดการกับโครงการต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื้อหาหลักสูตร: 1. เริ่มแนะนา MSProject 2. การติดตั้ง MS Project การใช้งาน 3. พื้นฐาน ของ Tools ต่าง ๆ 4. คุณสมบัติที่สาคัญของ MSProject 5. เริ่มต้นสร้างโครงการ 6. การบันทึกแฟ้มข้อมูลโครงการ 7. การปิดโครงการและการออกจากโปรแกรม 8. การสร้างและปรับแต่งโครงการ 9. การเปิดแฟ้มข้อมูลโครงการ 10. การกาหนด Task ให้กับโครงการ 11. การลบ ย้าย คัดลอก Task ให้กับโครงการ 12. การสร้างงานย่อยและการจัดการกับงานย่อย 13. การสร้างงานหลัก (Summary Task) และงานย่อย (Subtask) 14. การใส่งานหลักและงานย่อยเข้าไปในโครงการ 15. การแทรกงานย่อย หน้า ง-17
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 16. การจัดการกับทรัพยากร (Resources) 17. กาหนดทรัพยากรให้กับโครงการ 18. การกาหนดชื่อย่อและกลุ่มของทรัพยากร 19. การจัดการงานให้มีประสิทธิภาพที่สุด 20. การตรวจสอบการใช้งานทรัพยากรที่มากเกินขีดจากัด 21. งานวิกฤต (Critical Task) และเส้นทางวิกฤต (Critical Path) 22. รู้จักกับงานวิกฤตและเส้นทางวิกฤตให้มากยิ่งขึ้น 23. การปรับแต่งการใช้งาน MS Project และการพิมพ์งานในรูปแบบต่างๆ 24. การออกแบบรายงานเบื้องตัน 25. การสร้างรายงานใหม่ 26. การดูเอกสารก่อนพิมพ์ 27. การสั่งพิมพ์งาน
ITS03 การจ้างบุคลากรภายนอกโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Project Outsourcing) วัตถุประสงค์: เป็นหลักสูตรฝึกอบรมที่ เรียนรู้ถึงรากฐานเบื้องต้นของการทา outsourcingการนารูปแบบของ “outsourcing” มาใช้ในองค์กร และทาอย่างไรจึงจะสามารถวัดผลได้ เนื้อหาหลักสูตร: 1. Outsourcing Fundamental & Concept Overview 2. IT Outsourcing 3. Criteria for outsourcing and how to measure the success 4. Case Study
หน้า ง-18
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ITS04 กระบวนการทางธุรกิจสาหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Business Process for IT Professionals) วัตถุประสงค์: เป็ น หลั ก สู ต รภาคปฏิ บั ติ ที่ อ อกแบบมาเพื่ อ ให้ นั ก วิ เ คราะห์ ร ะบบได้ ท ราบถึ ง การวิ เ คราะห์ กระบวนการทางธุรกิจ เนื้อหาหลักสูตร: 1. Business Processes Concepts - Business Processes Analysis - Common Analytical Methods - Identify Business Processes (Process Discovery) - Business Processes Design - Model and Document Business Processes, Standards and Notations - Writing Requirements from Business Processes - Patterns in Business Processes - Business Process Management - Business Process Improvement - Business process implementation/deployment 2. Advanced Concepts - Re-use of Business Processes - Business Processes and Service Oriented Architecture, SOA - Orchestration - Lean Processes - Quality Processes (including TQM, CMMI and other standards) - More on Processes and Requirements 3. Business Process Tools - Modeling Tools - Business Process Engines - Metrics - Simulation - Workshops 4. Case studies (including analyzing your processes) and exercises
หน้า ง-19
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ITS05 ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System) วัตถุประสงค์: เพื่ อ ให้ ผู้ เ ข้ า อบรมมี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การบริ ห ารจั ด การระบบฐานข้ อ มู ล และ การทางานของระบบการจั ด การฐานข้ อ มู ล (Database Management System) รวมทั้ ง การดู แ ลรั ก ษาให้ มี ก ารใช้ ง านระบบฐานข้ อ มู ล ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด เนื้ อ หา เนื้อหาหลักสูตร: 1. ศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับคานิยามทั่วไปของระบบฐานข้อมูล โครงสร้างรูปแบบต่าง ๆ ของข้อมูลและ ระบบการจัดการฐานข้อมูล รวมถึงโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล 2. ศึกษาเรื่องและทรัพยากรต่าง ๆ ขององค์ประกอบข้อมูล แบบจาลอง ข้อมูล การบริหารและจัดการ ฐานข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ 3. การประเมินประสิทธิภาพของฐานข้อมูลทั้งชนิดรวมศูนย์และชนิดกระจาย 4. เทคโนโลยีการทา Replication เทคโนโลยีการสารองข้อมูลหลักการทางานของระบบคลังข้อมูล ITS06 ระบบจัดการฐานข้อมูลขั้นสูง (Advanced Database Management System) วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูลหรือผู้พัฒ นาโปรแกรมสามารถใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล ขั้นสูง (Advanced Database Management System) เนื้อหาหลักสูตร: 1. Introduction 2. Installing the Database Software 3. Creating an Database 4. Managing the Instance 5. Managing Database Storage Structures 6. Administering User Security 7. Managing Schema Objects 8. Managing Data and Concurrency 9. Managing Undo Data 10. Implementing Database Security 11. Configuring the Network Environment 12. Proactive Maintenance 13. Performance Management 14. Backup and Recovery Concepts หน้า ง-20
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 15. Performing Database Backups 16. Performing Database Recovery 17. Performing Flashback 18. Moving Data ITS07 การประมวลผลเชิงวิเคราะห์ออนไลน์ (OLAP) วัตถุประสงค์: เพื่ อ ให้ ผู้ ดู แ ลระบบฐานข้ อ มู ล หรื อ ผู้ พั ฒ นาโปรแกรมสามารถพั ฒ นาระบบ OLAP ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง เนื้อหาหลักสูตร: 1. Introduction 2. Jasper Tool for data migration from multiple sources: ETL 3. ETL Components (1) 4. ETL Components (2) 5. ETL Components (3) 6. Installation & configuring iReport, and JasperServer 7. Understanding Data sources and Connections in iReport 8. Compiling and Running a Report in iReport 9. Hosting and maintaining reports in JasperServer 10. Scheduling and Securities Basics on JasperServer 11. From Legacy data to Final Report Delivery 12. OLAP Introduction 13. Creating data cube with JasperAnalysis 14. Hosting data cube in JasperServer ITS08 ภาษาสาหรับการเขียนโปรแกรม (Programming Language) วัตถุประสงค์: เพื่อให้สามารถเขียนโปรแกรมได้ในระดับมาตรฐาน และยังได้เรียนรู้วิธีการใช้งานฐานข้อมูล และฝึกการใช้คาสั่ง SQL สาหรับฐานข้อมูล ให้เข้าใจได้ง่ายเพื่อต่อยอดไปถึงฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เนื้อหาหลักสูตร: 1. การสร้าง Web Form การเขียนโค้ดของ Web Form หน้า ง-21
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 2. Debugging และ Tracing Web Application 3. การใช้งานคาสั่ง SQL 4. การเขียนโปรแกรมติดต่อกับฐานข้อมูล 5. การเขียนโปรแกรมเพื่อเพิ่ม ลบ แก้ไข ข้อมูล 6. การใช้งาน Grid แบบต่าง ๆ 7. การสร้างรายงาน 8. การสร้างเมนูแบบต่าง ๆ 9. การคอนฟิก ปรับแต่ง และการ Deploy Web Application 10. แนวทางระบบความปลอดภัยของ Web Application 11. การอ่านและเขียนข้อมูลประเภท XML เบื้องต้น 12. การสร้างและใช้งาน XML Web Services เบื้องต้น 13. การสร้างชุด Setup โปรแกรม ITS09 การเขียนโปรแกรมเว็บแอพพลิเคชั่น (Web Programming) วัตถุประสงค์: เพื่อให้รู้เทคนิคและวิธีการเขียน Web Programming สาหรับการพัฒนา Web Application เนื้อหาหลักสูตร: 1. เรียนรู้โครงสร้างและคาสั่ง HTML การติดตั้งใช้งาน Web Server Utility - แนะนาประเภทของ Web Dynamic ว่าสามารถสร้างขึ้นมาเพื่อทาอะไรได้บ้าง - เรียนรู้วิธีการติดตั้ง Web Server Utility - ศึกษาภาษา HTML ในเรื่องของการจัดตัวอักษรรูปภาพตาราง Link และ Form - เรียนรู้โครงสร้างภาษา รูปแบบคาสั่งต่าง ๆ 2. เรียนรู้โครงสร้างภาษารูปแบบคาสั่งต่าง ๆ - การกาหนดตัวแปร - ตัวดาเนินการ (Operator) - การเขียนเงื่อนไขการทางานแบบวนรอบ (Control Structure) - Function ต่าง ๆ ที่ควรรู้ - ลองทดสอบเขียนระบบ Login อย่างง่าย เพื่อศึกษาการรับค่าจาก Formไปใช้งานในคาสั่งต่าง ๆ 3. การจัดเตรียมฐานข้อมูล - ทาความเข้าใจการทางานของระบบฐานข้อมูล (Database) - ศึกษาการทางานของระบบฐานข้อมูล (Database) และการจัดการฐานข้อมูล - ศึกษาภาษา SQL ให้สามารถ Select Insert, Update, Delete ในตารางต่าง ๆ ได้ หน้า ง-22
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 4. การติดต่อและจัดการฐานข้อมูลด้วยคาสั่งต่าง ๆ ของภาษา Web Programming - เรียนรู้วิธีการติดต่อระบบฐานข้อมูล (Database) ด้วย Function ของภาษา Web Programming - นาข้อมูลที่อยู่ใน Database มาทาการแสดงผลทางหน้า Web Page ได้ - สร้างไฟล์ที่รับข้อมูลจากผู้ใช้นาเข้าเก็บไว้ใน Database ได้ - สร้างไฟล์ที่สามารถแก้ไขและลบข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลได้ ITS10 การเขียนโปรแกรมเว็บแอพพลิเคชั่นสาหรับอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ (Mobile Web Application) วัตถุประสงค์: เพื่อให้สามารถพัฒนา Mobile Web Application เพื่อให้สามารถใช้งานได้บน Mobile เนื้อหาหลักสูตร: 1. Responsive Web - Introduction - Media Queries 2. Viewport - Using Viewport metadata - Define Viewport size - Setting the Viewport in JavaScript 3. CSS Special Effect - Transition - Transformation - Animation 4. Mobile Form - Optimize forms for mobile - Submission forms 5. Mobile Events and Transitions - Touch - Oriented - Scroll 6. Phonegap API - Device - Accelerometer - Camera หน้า ง-23
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): - Geolocation - Notification - Storage 7. Phonegap Build - PhoneGap Build - Packaging a PhoneGap Apponners - Uploading an App to PhoneGap Build - Signing Apps - Configuration - Debugging - PhoneGap Build API 8. Workshop - Workshop - Wrap-up ITS11 การรักษาความปลอดภัยของเว็บแอพพลิเคชั่น (Web Application Security) วัตถุประสงค์: เพื่อทราบถึงเทคโนโลยีด้านความปลอดภัยของเว็บแอพพลิเคชั่นเทคนิควิธีการตรวจสอบช่องโหว่ ของเว็บแอพพลิเคชั่นเทคนิคการป้องกันการโจมตีจากช่องโหว่ของเว็บแอพพลิเคชั่น และสามารถนาไป ตรวจสอบ (Audit) ระบบเว็บ แอพพลิเ คชั่นในองค์กรของท่านเองได้ หรือพัฒ นาความสามารถใน การเขียนเว็บโปรแกรมมิ่งให้มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น เนื้อหาหลักสูตร: 1. Introduction to Web Application Security - The Evolution of Web Applications - Defense Mechanisms - Web Application Technologies - Web Proxy with Tor - Open Web Application Security Project 2. Discovery and Identifying the Web Application - Mapping the Application - Web Spidering and Crawling - Discovering Paths and Files - Discovering Hidden content and parameter - Bypass Client-Side Controls 3. Web Application Vulnerabilities - Cross Site Scripting (XSS) หน้า ง-24
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): - SQL Injection Flaws - Malicious File Execution - Insecure Direct Object Reference - Information Leakage and Improper Error Handling - Broken Access Control - Broken Authentication and Session Management - Insecure Cryptographic Storage - Ajax and Web Service Vulnerabilities 4. Exploit Web Application - Fuzzing Web Application - Using Web Exploit from Milworm - LFI to RCE Exploit - Writing LFI <> RCE Exploit with Perl Script - How to Protect File Inclusion 5. Web Server Vulnerabilities - Vulnerable Web Server Configuration - Directory Listings - Dangerous HTTP Methods - Buffer Overflow Vulnerabilities - Path Traversal Vulnerabilities 6. Google Hacking - Introduction to Google Hacking - Google Hacking Database (GHDB) - Google Hacking Basic / Advance Operator - Locating Exploits and Finding Targets - Tracking Down Web Servers, Login Portals, etc - Dirty Attack using Googlebot - Google Hacking Tools - How to Protect Google Hacking 7. Finding Bugs in Source Code - Introduction to CMS - Exploits and Vulnerabilities Disclosure - Case Study For Find Bugs - How to Protect CMS Hacking - Tool for Automate Source Code Review 8. Web Application Hacker's Toolkit - Web Browser and OS for Hacker - Integrated Testing Suites - Vulnerabilities Scanners หน้า ง-25
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ITS12 ระบบปฏิบัติการ (Operating System) วัตถุประสงค์: หลัก สูต รอบรม Windows Server นี้เหมาะสาหรับผู้ดูแลระบบเน็ต เวิร์คขนาดกลางและ ขนาดใหญ่ที่ใช้งาน Windows Server เป็นระบบหลัก ซึ่งจะสอนการติดตั้งและกาหนดค่าพื้นฐาน ต่าง ๆ ในระบบเน็ตเวิร์ค รวมถึงการใช้งาน Servicesพื้นฐานต่าง ๆ ของ Windows Server เช่น การใช้งาน Active Directory Service, Group Policy, File and Print Service และการใช้งาน Visualization ผ่าน Hyper-V บน Windows Server เนื้อหาหลักสูตร: 1. Deploying and Managing Windows Server 2. Introduction to Active Directory Domain Services 3. Managing Active Directory Domain Services Objects 4. Automating Active Directory Domain Services Administration 5. Implementing IPv4 6. Implementing DHCP 7. Implementing DNS 8. Implementing IPv6 9. Implementing Local Storage 10. Implementing File and Print Services 11. Implementing a Group Policy Infrastructure 12. Securing Windows Servers by Using Group Policy Objects 13. Implementing Server Virtualization with Hyper-V 14. การใช้งานคาสั่งพื้นฐานที่จาเป็นในระบบ Unix 15. การใช้งาน Desktop ของ Solaris Operating System 16. การสั่งงานผ่านทาง Command Line ใน Solaris Operating System (Solaris OS) 17. การ Access File และ Directory 18. การใช้งาน vi Editor 19. การใช้งาน Shell 20. การใช้งาน network เบื้องต้น
หน้า ง-26
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ITS13 การรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless Network Security) วัตถุประสงค์: เพื่อทราบถึงเทคโนโลยีด้านความปลอดภัย เทคนิควิธีการตรวจสอบและการป้องกันช่องโหว่ของ ระบบ Wireless Network สามารถนาไปตรวจสอบ (Audit) ระบบ Wireless Network ในองค์กร เพื่อปรับแต่ให้มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น เนื้อหาหลักสูตร: 1. Wireless network fundamental - OSI Model - Significant protocols - IEEE802.11 frame structure 2. Wireless network discovery - Active scanning - Passive scanning 3. Simple wireless protections and how to bypass - MAC filtering - Hidden SSID 4. Dealing with WEP network - Understand WEP mechanism & why it has been hacked - Analyze WEP packet - Understand and customize packet - Packet injection - WEP key recovery 5. Dealing with WPA network - Understand WPA/WPA2 - Understand WPA/WPA2 mechanism - WPA/WPA2 security problems - Key recovery - Countermeasure 6. Dealing with Hotspot network (Or any unencrypted networks) - Understand hotspot architecture - Identify vulnerable point - Various threats against hotspot users - Attacking methods against hotspot users - Consideration of using hotspot network หน้า ง-27
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 7. Rouge AP - What’s rouge AP - How to set up rouge AP - Credential information gathering - Exploit client vulnerability 8. Analyze wireless network - How to use analyzing tools - How to use tools to understand captured packets 9. Tools for wireless penetration testers ITS14 ความรู้พื้นฐานสาหรับผู้ดูแลระบบเครือข่าย (Network Administrator Overall Basic) วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทราบถึงเทคโนโลยีด้านการดูแลรักษาระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ได้อย่างถูกต้อง เนื้อหาหลักสูตร: 1. รู้จักอาชีพผู้ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ค่าตอบแทน และความก้าวหน้าของอาชีพนี้ 2. รู้จักหน้าที่และสเป็คของเครื่อง Server 3. การติดตั้ง Raid แบบ Hardware และแบบ Software ให้กับเครื่อง Server 4. พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5. อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 6. รู้จัก Protocol ของ TCP/IP และ OSI Model 7. การติดตั้งเครือข่าย LAN แบบมีสาย 8. การติดตั้งเครือข่าย LAN แบบไร้สาย 9. การทา File Sharing Server ด้วย Windows 7 10. การทา File Sharing Server ด้วย Linux Ubuntu 11. การทา VLAN ด้วย Managed Switch 12. การทา Routing เชื่อมต่อและค้นหาเส้นทางเครือข่าย 13. การสมัครชื่อ DDNS เพื่อติดต่อเครือข่ายระยะไกลด้วยชื่อเครื่องแทนหมายเลข IP 14. ควบคุมเครื่องระยะไกลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 15. VPN การสร้างเครือข่ายเสมือนส่วนบุคคล
หน้า ง-28
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ITS15 ความรู้ขั้นสูงสาหรับผู้ดูแลระบบเครือข่าย (Professional Networking Workshop) วัตถุประสงค์: เป็นหลักสูตรที่นาเอาพื้นฐานความรู้ด้าน Network มาประยุกต์ใช้ในการติดตั้งงานระบบเครือข่ายต่าง ๆ ที่กาลังเป็นที่นิยมและใช้งานได้จริง เช่น การติดตั้งระบบกล้องวงจรปิดด้วย IP Camera ดูภาพได้ทั่วโลก ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการติดตั้งเครือข่าย Wireless (ไร้สาย) และการติดตั้ง Server แบบ Wireless Hotspot การควบคุมเครือข่ายและการจัดการระบบอินเทอร์เน็ตหลายสายด้วย Server อัจฉริยะ และ การควบคุมดูแลเครือข่ายแบบไร้ฮาร์ดดิสก์ (Diskless System) ซึ่งระบบที่กล่าวมากาลังเป็นที่นิยมใช้ งานกันในปัจจุบัน เพราะนอกจากจะช่วยให้การดูแลและจัดการเครือข่ายที่มีเครื่อง Client เป็นจานวน มาให้ ง่ า ยต่ อ การท างานแล้ ว ยั ง กล่ า วถึ ง เทคนิ ค และการเลื อ กอุ ป กรณ์ ที่ น ามาติ ด ตั้ ง ให้ คุ้ ม ค่ า ต่ อ งบประมาณ เนื้อหาหลักสูตร: 1. การสมัครชื่อ DDNS เพื่อติดต่อเครือข่ายระยะไกลด้วยชื่อเครื่องแทนหมายเลข IP 2. ติดตั้งกล้อง IP Camera ดูภาพวงจรปิดผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3. การกาหนดค่า DDNS และการทา Port Forward 4. การเปลี่ยนพอร์ตเพื่อติดตั้งกล้องมากกว่า 7 ตัว 5. การคานวณหา Bandwidth และเนื้อที่ของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้ในการบันทึกภาพ 6. การติดตั้งโปรแกรมบันทึกภาพจากล้อง IP Camera ภายในเครือข่าย LAN 7. การติดตั้งเสา Wireless และ Access Point ทั้งแบบ Indoor และ Outdoor 8. การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายด้วยเสา Wireless และ Access Point แบบ Outdoor 9. การทาระบบพิสูจน์สิทธิทั้งแบบ PPPoE เสมือนกับเป็นผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือแบบ Log in ผ่าน หน้า Web Browser 10. การสร้าง User เพื่อใช้ Log in เข้าระบบ Wireless Hotspot 11. การกาหนดราคาและออกคูปองเพื่อใช้ในระบบ Wireless Hotspot 12. การกาหนด Package ราคาและความเร็วในการใช้งานอินเทอร์เน็ต 13. การบันทึกข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ต่าง ๆ ของลูกค้าให้ถูกต้องตามกฎหมาย 14. การกาหนดวันหมดอายุและเงื่อนไขในการเข้าใช้งานอินเทอร์เน็ตของลูกค้า 15. รู้จักระบบ Multi-WAN และการติดตั้ง ClarkConnect 16. กาหนดค่าและติดตั้งโปรแกรมที่เครื่อง Client เพื่อรีโมทเข้าไปที่เครื่อง Server 17. กาหนดค่าเบื้องต้นของเครื่อง Server 18. การทาระบบ Multi-WAN และเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแต่ละเส้น 19. การติดตั้ง Squid และ Frox เพื่อวางระบบ Proxy Server สาหรับเพิ่มความเร็วอินเทอร์เน็ต หน้า ง-29
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 20. การติดตั้ง Netstat-nat ตรวจสอบการเชื่อมต่อของพอร์ตต่าง ๆ 21. ติดตั้งระบบเก็บ Log Files และแสดงออกเป็นรายงานด้วย LightSquid 22. การควบคุม Server ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วยระบบ DDNS 23. การทา Bandwidth Management 24. การกาหนดค่าความปลอดภัยในเครือข่ายด้วย Firewall 25. การควบคุมเครื่อง Client ให้วิ่งไปที่เน็ตแต่ละเส้นตามที่ต้องการ 26. การติดตั้งและปรับแต่งสคริปต์ Firewall เพื่อแยกเน็ต เกมส์ และทาโหลดบาลานซ์ 27. การทา Firewall ให้กับเครื่อง Client ที่ใช้ Windows 28. การพิสูจน์สิทธิผู้เข้าใช้งานอินเทอร์เน็ตและบล็อกไม่ให้ออกเว็บไซต์ที่ต้องการ 29. รู้จักระบบ Diskless และข้อดีข้อเสียของระบบ Diskless 30. องค์ประกอบสาคัญของระบบ Diskless และการบู๊ตเครื่องผ่านเครือข่าย LAN 31. การเพิ่มประสิทธิภาพให้กับระบบ Diskless 32. โปรแกรม Diskless บนระบบปฎิบัติการ Windows 33. สร้างระบบจาลอง Diskless บน VMWare Server เพื่อใช้ศึกษา 34. การติดตั้ง Windows Server 2003 ที่เครื่อง Server 35. การทา Raid 0 เพิม่ ประสิทธิภาพฮาร์ดดิสก์และการทา Swap File 36. กาหนดชื่อเครื่องและหมายเลข IP ให้กับเครื่อง Server 37. การติดตั้งโปรแกรม Richtech Diskless บนเครื่อง Server 38. การสร้างไฟล์ Image ของ Windows XP และ Data สาหรับเก็บไฟล์ข้อมูลจากเครื่อง Client 39. กาหนดหมายเลข IP ที่ต้องการแจกให้กับเครื่อง Client และกาหนดค่าเพื่อสร้างเครื่อง WorkStation 40. ติดตั้งโปรแกรมและกาหนดค่าที่เครื่อง Client 41. สร้างพาร์ทิชั่นจากไฟล์ Image 42. ก๊อบปี้ Windows XP จากเครื่อง Client ไปเก็บไว้ที่ไฟล์ Image บนเครื่อง Server 43. ถอดฮาร์ดดิสก์เพื่อทดสอบการทางานของเครื่อง Client 44. การทา Backup Server เพื่อป้องกันระบบล่ม 45. การทา 1 Image รองรับได้หลายสเป็ค 46. การสร้างฮาร์ดดิสก์เสมือนเพื่อให้เครื่อง Client เซฟข้อมูลได้
หน้า ง-30
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ITS16 เตรียมความพร้อมสาหรับสอบประกาศนียบัตรของซิสโก้ CCNA (Cisco Certified Network Associate) วัตถุประสงค์: หลักสูตร Cisco Certified Network Associate (CCNA) เป็นหลักสูตรเริ่มต้นสาหรับผู้สนใจ ติดตั้งและเตรียมสอบการคอนฟิกอุปกรณ์เครือข่ายของ Cisco โดยเรียนรู้ตั้งแต่พื้นฐานการทางานของ ระบบเครือข่ายอย่างลึกซึ้ง ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนเห็นภาพการทางานเบื้องหลังของส่วนประกอบต่าง ๆ ใน ระบบเครือข่ายบนอุปกรณ์ Cisco เช่น Switch และ Router ได้อย่างเข้าใจ เช่น เรียนรู้การทางานของ โปรโตคอล TCP/IPแบบอ้างอิงมาตรฐาน OSI Model IP Address IP Routing รวมถึงการตั้งค่าVLAN การ Routing Wireless LAN NAT และ Frame Relay เนื้อหาหลักสูตร: 1. Internet working 2. ISP & Media Provider In Thailand 3. Switch& Router working 4. Basic command for verify network 5. ARP& Host communication 6. Cabling & Connector 7. Simulator (Packet Tracer) 8. Switch 9. IPv4 & Wild card Mask 10. Route on the Stick Or Inter routing Vlan 11. Overview of Routing & Selection Path 12. Static Route Protocol & Default route 13. EIGRP Protocol 14. OSPF Protocol 15. RIP Protocol 16. Default Network 17. Summary of Routing & Selection Path 18. Access-list & Control Access router 19. NAT (Network Address Translation) 20. DHCP (Dynamic Host Configuration Protocol) 21. Security 22. Wireless หน้า ง-31
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 23. VPN (GRE Tunnel) (is not on CCNA) 25. IPv6 Addressing (Internet Protocol version 6) 25. Basic configuration & Maintenance 26. IDC Cloud Computing (If time is enough) 27. Exam CCNA ITS17 ความรู้ขั้นสูงสาหรับการให้บริการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Professional computer and IT Service) วัตถุประสงค์ : หลัก สูต รมุ ่ง เน้น เพื่อ ผลิต บุค ลากรที ่มีค วามรู้ค วามสามารถและทัก ษะทางด้า นการดูแ ล บารุงรักษา และตรวจซ่อม แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ เครื่องคอมพิว เตอร์และเครื่องคอมพิว เตอร์แม่ข่าย ในองค์กรทุก ขนาด รวมทั้งสามารถนาไปประกอบอาชีพ บริการรับซ่อม และดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื้อหาหลักสูตร: 1. การวิเคราะห์อาการเสีย และตรวจซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นปัญหาทางฮาร์ดแวร์ได้ 2. การวิ เ คราะห์ อ าการเสี ย และตรวจซ่ อ มเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ เ ป็ น ปั ญ หาทางซอฟแวร์ แ ละ ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ได้ 3. การวิเคราะห์อาการเสีย และตรวจซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์จากผู้ผลิตค่ายต่าง ๆ 4. การบารุงรักษา และดูแลแก้ไขที่เป็นงานประจาวันของ IT Support ได้ดี 5. การกู้ข้อมูลที่สูญหาย อันเนื่องมาจากปัญหาต่างๆ เช่น อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ล้มเหลว ปัญหาข้อมูล ถูกลบทิ้งในรูปแบบต่าง ๆ ปัญหาข้อมูลถูกทาลายโดยไวรัสคอมพิวเตอร์ 6. การตรวจซ่อม อาการเสียของเครื่องคอมพิวเตอร์และเซิร์ฟเวอร์ในระดับชิป 7. การแก้ ไขปั ญหา อาการเสี ยต่ าง ๆ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อการท างานของเครื่ องคอมพิ วเตอร์ ภ ายใต้ ระบบปฏิบัติการต่าง ๆ 8. การตรวจซ่อมจอคอมพิวเตอร์ ในรูปแบบ LCD ทุกขนาด 9. การตรวจซ่อม อาการเสียของฮาร์ดดิสก์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น IDE/SATA/SCSI 10. การตรวจซ่อมปัญหาอาการเสียของอุปกรณ์ต่าง ๆ บนเมนบอรด์ของเครื่องและเซิร์ฟเวอร์ 11. การใช้เครื่องมือทางซอฟแวร์ที่หลากหลาย เพื่อตรวจสอบ/แก้ไขอาการเสียของเครื่องคอมพิวเตอร์ 12. การตรวจสอบรายละเอียดคุณลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์และเซิร์ฟเวอร์ได้ด้วยตนเอง และใช้ เวลาอันสั้น 13. มีความรู้ ความเข้ าใจเกี่ ยวกั บรายละเอี ยดการท างานของระบบต่ าง ๆ ในเครื่ องคอมพิ วเตอร์ และ เซิร์ฟเวอร์ทางด้านฮาร์ดแวร์อย่างลึกซึ้ง 14. มีทักษะและสามารถใช้เครื่องมือ ตรวจสอบ/ซ่อมแซม ชนิดต่าง ๆ จนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้ หน้า ง-32
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ITS18 การบารุงรักษาและแก้ไขปัญหาระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสาหรับผู้ดูแลระบบ (Network Server Maintenance Troubleshooting and System Administration) วัตถุประสงค์: เป็นหลักสูตรภาคปฏิบัติที่ออกแบบมาเพื่อให้ผู้ที่ดูแล Server สามารถดูแล และบารุงรักษารวมทั้ง สามารถวิเคราะห์ และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นบน Server ทั้งในด้านระบบปฏิบัติการ และ Hardware ท่านที่ ผ่านหลักสูตรนี้ จะสามารถเฝ้าดูการทางานของ Server ก่อนจะเกิดปัญหา รวมทั้งสามารถรับมือกับ ปัญหาที่เกิดจาก Server แบบต่าง ๆ จากผู้ผลิตที่หลากหลาย เนื้อหาหลักสูตร: 1. การดูแล และบารุงรักษา Server ที่มาจากค่ายต่าง ๆ 2. การวิเคราะห์ ปัญหาการทางานของ Server จากผู้ผลิตค่ายต่าง ๆ ในกรณีที่เกิดขัดข้อง 3. การอัพเกรด ประสิทธิภาพการทางานของ Server 4. การดาเนินการจัดตั้งแผนงาน บารุงรักษาแบบป้องกัน (Preventive Maintenance) เพื่อลดโอกาส การเกิดขัดข้อง หรือประสิทธิภาพการทางานลดลง 5. การจัดทาแผนและวิธีการกู้คืนระบบในกรณีที่เกิดความเสียหายแก่ข้อมูล หรืออุปกรณ์ Server 6. การทาสารองข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น RAID และวิธีการสารองข้อมูลผ่าน Server หนึ่งไปสู่ Server หนึ่ง 7. การใช้เครื่องมือเฝ้าดูประสิทธิภาพการทางาน และปริมาณการใช้งานทรัพยากรภายใน Server 8. การใช้ Tool ในรูปแบบ Software ตรวจสอบ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นบน Server 9. มีความเข้าใจ วิธีการทางานของระบบปฏิบัติการแบบต่ าง ๆ เช่น Windows Server SUN Solaris และ HP-UX ในระดับสาหรับผู้ดูแลทั่วไป รวมทั้งสามารถใช้คาสั่งต่าง ๆ ภายใต้ระบบปฏิบัติการ เหล่านี้ เพื่อดูแล/เฝ้าดู และวิเคราะห์หาจุดขัดข้องของ Server 10. การวิเคราะห์ดูอันตรายหรือภัยคุกคามต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับ Server เช่น ความพยายามเจาะ ระบบและการเข้ามาใช้ Server โดยไม่ได้รับอนุญาต รวมทั้งภัยคุกคามจาก Virus/Trojan ด้วย วิธีการต่าง ๆ และด้วยเครื่องมือทาง Software 11. การติดตั้ง อัพเดต Software ที่จาเป็น เพื่อป้องกัน และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของ Server 12. การใช้เครื่องมือ ตรวจสอบหาช่องโหว่ในระบบรักษาความปลอดภัยของ Server รวมทั้งวิธีการ ป้องกัน ปัญหาที่จะเกิดตามมา 13. ส่วนประกอบของและหน้าที่การทางานภายใน Server 14. วิธีการวิเคราะห์และตรวจสอบหาจุดเสียของ Server 15. งานบารุงรักษา Server
หน้า ง-33
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ITS19 ระบบปฏิบัติการแบบเสมือน (Operating system-level virtualization) วัตถุประสงค์: เป็นหลักสูตรภาคปฏิบัติที่ออกแบบมาเพื่อให้ผู้ที่ดูแล Server สามารถดูแล และบารุงรักษา ระบบปฏิบัติการเสมือนได้ เนื้อหาหลักสูตร: 1. Introducing Operating system-level virtualization 2. Planning and Installing 3. Installing and Configuring Server 4. Installing and Configuring Update Manager 5. Creating and Configuring Virtual Networks 6. Creating and Configuring Storage Devices 7. Ensuring High Availability and Business Continuity 8. Securing 9. Creating and Managing Virtual Machines 10. Using Templates 11. Managing Resource Allocation 12. Balancing Resource Utilization 13. Monitoring Performance ITU01 โปรแกรมสานักงานขั้นพื้นฐาน (Basic Use of Office Application) วัตถุประสงค์: ผู้ที่เข้าอบรมสามารถนาความรู้ ความสามารถที่ได้นาไปใช้งานชุดโปรแกรมได้อย่างชานาญ และ คล่องแคล่ว ทั้งงานด้านการศึกษา หรือการทางานด้านต่าง ๆ โปรแกรมประมวลผลคา เนื้อหาหลักสูตร: 1. แนะนาคุณลักษณะใหม่ของโปรแกรมประมวลผลคา 2. ส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม 3. การทางานกับเอกสาร 4. จัดรูปแบบเอกสาร 5. จัดรูปแบบย่อหน้า และข้อความ 6. สร้างตารางเก็บข้อมูล 7. แทรกรูปภาพ
หน้า ง-34
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 8. การตกแต่งด้วยกราฟิก 9. การใช้งาน SmartArt 10. การทางานกับกราฟ 11. การจัดพิมพ์เอกสาร โปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูล เนื้อหาหลักสูตร: 1. ส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม 2. การซ่อนและแสดงแถบเครื่องมือ 3. การกรอกข้อมูลใน Work Sheet 4. การแก้ไขข้อมูล 5. การลบข้อมูล 6. การย้ายและคัดลอกข้อมูล 7. กรอกข้อมูลวันที่ 8. กรอกข้อมูลตัวเลขโดยบังคับให้เป็นข้อความ 9. ปรับความกว้างของคอลัมน์ 10. กรอกข้อมูลอัตโนมัติ 11. เรียกใช้ชุดลาดับข้อมูลขึ้นมาเอง 12. แทรกคอลัมน์ว่าง 13. แทรกแถวว่าง 14. กาหนดรูปแบบให้กับข้อมูลวันที่ตัวเลข 15. ตีเส้นขอบตาราง 16. ระบายสีช่อง Cell 17. สร้างสูตรสาหรับใช้คานวณ 18. การใช้สูตร Sum กับการหาค่าต่าง ๆ 19. จัดรูปแบบแถวและคอลัมน์ 20. แบ่งหน้ากระดาษ 21. กาหนดให้แถว คอลัมน์ ที่ต้องการพิมพ์ซ้ากันทุกหน้า 22. การสั่งพิมพ์ โปรแกรมนาเสนอผลงาน เนื้อหาหลักสูตร: 1. ป้อนข้อความลงในสไลด์ 2. แทรกสไลด์ 3. เลือกสไลด์ที่สร้างไว้ หน้า ง-35
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 4. เปิดหรือปิดแถบไม้บรรทัด 5. เปลี่ยนมุมมองสไลด์ 6. ลบสไลด์ 7. เลือกวัตถุที่อยู่ในสไลด์ 8. เคลื่อนย้ายวัตถุ 9. เปลี่ยนแบบตัวอักษร 10. เปลี่ยนขนาดตัวอักษร 11. ใส่ลักษณะพิเศษให้ตัวอักษร 12. เปลี่ยนสีพื้นหลัง 13. กาหนดรูปภาพให้เป็นพื้นหลัง 14. ปรับแต่งรูปที่อยู่ในสไลด์ 15. วาดรูปเองลงสไลด์ 16. การใส่เงาให้รูปภาพ 17. การจัดกลุ่มรูปวาดเป็นรูปเดียว 18. สร้างแผนภูมิ 19. จัดเรียงลาดับสไลด์ 20. การซ่อนบางสไลด์ 21. กาหนดลูกเล่นให้กับรูปภาพหรือข้อความ 22. การสั่งพิมพ์ ITU02 การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงด้วย Spreadsheet (Advanced Statistic analysis with Spreadsheet) วัตถุประสงค์: หลั กสู ตรนี้ ต้องการให้ ผู้ เข้าอบรมที่ใช้งาน Spreadsheet ได้พอสมควรแล้ ว ได้เรียนรู้วิธีการ คานวณด้วยสูตรสาเร็จในระดับ สูงใช้คาสั่งในการจัดการกับข้อมูลและสร้างรายงานเพื่อการวิเคราะห์ และตัดสินใจการนาเข้าข้อมูลจากภายนอก รวมถึงการกาหนดรหัสผ่านเพื่อป้องกันข้อมูลในระดับต่าง ๆ เนื้อหาหลักสูตร: 1. การใช้ Spreadsheet Function 2. การสร้างและใช้ Range Name 3. การคานวณด้วย Database Function 4. การคานวณด้วย Lookup and Reference Function 5. การคานวณด้วย IF ร่วมกับการ AND/OR
หน้า ง-36
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 6. การปฏิบัติงานกับข้อมูลด้วยคาสั่ง 7. คัดกรองข้อมูลด้วย Advanced Filter 8. วิเคราะห์ข้อมูลด้วย Goal Seek และ Solver 9. สร้างตารางการคานวณด้วย Tables 10. จัดเก็บชุดตัวแปร และนามาใช้ด้วย Scenarios 11. นาข้อมูลมารวมกันด้วย Consolidate 12. รวม Files ไว้ด้วย Workspace 13. สร้างรายงานสรุปด้วย PivotTable 14. ป้องกันการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลใน File 15. กาหนดรหัสผ่านในระดับ File 16. กาหนดรหัสผ่านในระดับ Workbook 17. กาหนดรหัสผ่านในระดับ Sheet 18. กาหนดรหัสผ่านในระดับ Cells/Range 19. การสร้าง Hyperlink 20. การนาข้อมูลเข้า 21. การใช้เครื่องมือบน Form Controls 22. การทางานกับ Macro ITU03 ออกแบบเว็บไซต์ขั้นพื้นฐาน (Basic Website Design) วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถปรับแต่งภาพถ่ายให้มีคุณภาพดีขึ้น การสร้างเอฟเฟ็ กต์พิเศษให้กับภาพ การสร้างภาพกราฟิกที่มีองค์ประกอบซับซ้อนสาหรับนาไปทาภาพกราฟิกของเว็บไซด์ เนื้อหาหลักสูตร: 1. การใช้งานพื้นฐานโปรแกรมตกแต่งภาพกราฟิก 2. การใช้เลเยอร์ 3. การใช้ Mask 4. การปรับรูปทรงออบเจ็คด้วยคาสั่ง Transform 5. การโหมดสี การแปลงโหมดสี การกาหนดความลึกของสี 6. การวาดภาพ การตกแต่งและแก้ไขภาพ 7. การสร้าง Path 8. การสร้างตัวอักษรและข้อความ หน้า ง-37
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 9. การปรับแต่งสีและแสงเงาของรูปภาพ 10. การใช้ Channel เพื่อสร้างเอฟเฟ็กต์พิเศษ 11. การใช้ฟิลเตอร์ (Filter) 12. การนาภาพไปใช้กับเว็บ 13. Workshop ITU04 การออกแบบสื่อเอกสารอิเล็กทรอนิกส์และสื่อนาเสนอขั้นพื้นฐาน (Basic e-Book Design and Presentation) วัตถุประสงค์: หลักสูตรนี้จะช่วยให้บุคลากรมีความเข้าใจกระบวนการ และขั้นตอนการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สามารถออกแบบเนื้อ หา จัด โครงสร้า งเนื้อ หา ออกแบบภาพ ที่เ หมาะสาหรับ การนาไปผลิต สื ่อ อิเล็กทรอนิกส์ได้ เนื้อหาหลักสูตร: 1. การเตรียมความพร้อมก่อนการผลิตสื่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ 2. ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์กราฟิก 3. การออกแบบโครงสร้างสื่อการเรียน 4. เทคนิคการออกแบบภาพประกอบบทเรียน ITU05 การออกแบบสื่อเอกสารอิเล็กทรอนิกส์และสื่อนาเสนอขั้นสูง (Advanced e-Book Design and Presentation) วัตถุประสงค์: เพื่อให้สามารถผลิตสื่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้โปรแกรมการผลิตบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบต่าง ๆ เช่น บทเรียนสื่อวีดีทัศน์ บทเรียนที่มีปฏิสัมพันธ์สูง บทเรียนแบบแฟลช และบทเรียนใน รูปแบบสื่อเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หลักสูตรนี้ เนื้อหาหลักสูตร: 1. การสร้างสื่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์แบบ Interactive Learning 2. การสร้างสื่อการสอนแบบ Streaming Media 3. การสร้างสื่อเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ 4. การสร้างเว็บเทคโนโลยี 5. การสร้าง e-Book จากเว็บไซต์
หน้า ง-38
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ITU06 การดูแลซ่อมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงเบื้องต้น (Basic Computer and Peripheral Maintenance and Repair) วัตถุประสงค์: เพื่อให้สามารถดูแล ซ่อมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงเบื้องต้น เนื้อหาหลักสูตร: 1. การวิเคราะห์และตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาคอมพิวเตอร์ 2. การใช้และข้อควรระวังในการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 3. อาการเสียและการแก้ไขปัญหาของคอมพิวเตอร์ที่เกิดขึ้นอยู่เป็นประจา 4. เครื่องมือ และ Software ที่ใช้ในการซ่อมบารุงรักษาคอมพิวเตอร์ 5. การจัดการไวรัส 6. การเลือกใช้ Windows ที่เหมาะสมในการทางาน 7. การซ่อมแซม Windows แบบไม่ต้องลง Windows ใหม่ 8. การสารองข้อมูลไดร์เวอร์ Backup driver ก่อนลง Windows ใหม่ - ติดตัง้ Windows - แก้ปัญหาเกี่ยวกับการติดตั้ง Windows - ลาดับและการติดตั้ง Driver ให้กับอุปกรณ์ต่าง ๆ - การแก้ปัญหาเกี่ยวกับไดรเวอร์ - โปรแกรมพื้นฐานที่ควรมีไว้ในคอมพิวเตอร์ - ปัญหา Power Supply จ่ายไฟไม่เพียงพอ - วิธีแก้ปัญหา Virus - วิธี Ghost และเรียกไฟล์กลับคืน (Back up Windows) - ติดตัง้ Windows ใหม่แบบพอเพียง 9. ลาดับและการติดตั้ง Driver ให้กับอุปกรณ์ต่าง ๆ 10. โปรแกรมพื้นฐานที่ควรมีไว้ในคอมพิวเตอร์ 11. วิธี Ghost และเรียกไฟล์กลับคืน (BACKUP WINDOWS) หมายเหตุ:สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมสามารถดาเนินการอบรมภายในได้ โดยจ้างวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก
ITU07 อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น (Basic Use of Internet) วัตถุประสงค์: การใช้งานระบบคอมพิว เตอร์ และอิน เทอร์เน็ ตอย่างไรไม่ให้ ผิ ด กฎหมายตามพระราชบัญญั ติ ว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 เนื้อหาหลักสูตร: 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ 2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ TCP/IP หน้า ง-39
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 3. การตรวจสอบระบบ LAN และ Wireless LAN เบื้องต้นด้วยตนเอง 4. การป้องกันไวรัสบนระบบอินเทอร์เน็ต 5. ทาความรู้จักภัยอันตรายประเภทต่าง ๆ บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 6. การใช้งานโปรแกรม PGP เข้ารหัสไฟล์ 7. การตั้งกาแพงไฟ (Firewall) ป้องกันเครื่องพีซี 8. การใช้งานระบบเครือข่ายอย่างไรให้ปลอดภัย 9. การป้องกันไฟล์และข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย 10. การแชร์ข้อมูลและการรักษาความปลอดภัย 11. การตรวจสอบและป้องกันไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์ หมายเหตุ:สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมสามารถดาเนินการอบรมภายในได้ โดยจ้ างวิทยากรผู้เชี่ย วชาญจากภายนอกดาเนินการ โดยการฝึกอบรม กลุ่มละ 25 คน
ITU08 การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการองค์ความรู้และระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Use of Knowledge Management & e-Learning System) วัตถุประสงค์: การอบรมการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการองค์ความรู้ และระบบการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Knowledge Management & e-Learning System) หมายเหตุ:การอบรมรายวิชานี้ สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมสามารถดาเนินการฝึกอบรมภายในได้
ITU09 การใช้งานอุปกรณ์สื่อสารไร้สายเบื้องต้น (Basic Use of Mobile Devices) วัตถุประสงค์: เป็นหลักสูตรที่รวบรวมจากความต้องการพื้นฐานของผู้ใช้งานอุปกรณ์สื่อสารไร้สายตั้งแต่ระดับ เบื้ อ งต้ น จนกระทั่ ง สามารถใช้ ง านฟั ง ค์ ชั่ น พื้ น ฐานต่ า ง ๆ ของอุ ป กรณ์ สื่ อ สารไร้ ส ายได้ อ ย่ า งเต็ ม ประสิทธิภาพ เนื้อหาหลักสูตร: 1. แนะนาทั่วไป 2. รู้จักกับระบบปฏิบัติการ Windows Mobile/Android Phone/IOS 3. เริ่มต้นการใช้งาน 4. การใช้โทรศัพท์ 5. การซิงค์โครไนซ์ข้อมูลกับเครื่องคอมพิวเตอร์ 6. การจัดการโปรแกรมในเครื่องของคุณ 7. การใช้งานโปรแกรมมาตรฐานการรับส่งข้อความ ภาพ และอีเมล์ หน้า ง-40
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 8. การใช้งานมัลติมีเดีย 9. การเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น 10. การใช้งานภาษาไทย หมายเหตุ:สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมสามารถดาเนินการอบรมภายในได้ โดยจ้ างวิทยากรผู้เชี่ย วชาญจากภายนอกดาเนินการ โดยการฝึกอบรม กลุ่มละ 25 คน
ITU10 การใช้งานระบบปฏิบัติการ (Operating System) วัตถุประสงค์: เพื่อให้สามารถใช้งานระบบปฏิบัติการได้ เนื้อหาหลักสูตร: 1. แนะนาระบบปฏิบัติการ Windows 2. โครงสร้างระบบปฏิบัติการ Windows 3. วิธีการใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 4. การประยุกต์ใช้งานระบบปฏิบัติการ Windows 5. โปรแกรมสนับสนุนการทางาน 6. โปรแกรมสารวจข้อมูล 7. การสารวจข้อมูล 8. แนะนาโปรแกรมพิมพ์เอกสาร 9. โครงสร้างของโปรแกรมพิมพ์เอกสาร 10. วิธีใช้โปรแกรมพิมพ์เอกสาร 11. การพิมพ์เอกสาร หมายเหตุ:สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมสามารถดาเนินการอบรมภายในได้ โดยจ้ างวิทยากรผู้เชี่ย วชาญจากภายนอกดาเนินการ โดยการฝึกอบรม กลุ่มละ 25 คน
ITU11 การใช้งานโปรแกรมการออกแบบงานวิศวกรรม (Use of Engineering Design Program) วัตถุประสงค์: เพื่อให้สามารถใช้โปรแกรมออกแบบงานวิศวกรรมได้ เนื้อหาหลักสูตร: 1. การสร้างโมเดล3D ส่วนโครงสร้างหลักของอาคาร - การสร้าง เสา คาน 3D - การสร้าง กาแพง พื้น 3D - การสร้าง หลังคา กันสาด 3D หน้า ง-41
แผนพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
เนื้อหาหลักสูตร (ต่อ): 2. การโมเดล 3D ชิ้น ส่วนประกอบย่อยของอาคาร - การสร้าง ประตู หน้าต่าง 3D - การสร้าง บันได 3D - การสร้าง ส่วนประกอบภายนอกอาคาร พื้นดิน ถนน พื้นทางลาด 3. การส่งแบบจากมาฉายแบบ 2D และ ทางานต่อ 3D - การฉายแบบรูปด้านต่าง ๆ รวมทั้งรูป Isometric และใส่เส้นประโดยอัตโนมัติ - การสร้างภาพนาเสนออาคาร 3D Rendering - การกลับไปแก้ไขโมเดลและให้ทาการ Update รูปด้านที่ฉายไปแล้วโดยอัตโนมัติ ITU12 ระบบบริหารการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศเบื้องต้น (Introduction to Information Security Management System) วัตถุประสงค์: เพื่ อ ให้ ท ราบถึ ง การรั ก ษาความมั่ น คงปลอดภั ย ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาด้า นความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ และความปลอดภัย ด้านเครือข่าย เนื้อหาหลักสูตร: 1. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2. แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ 3. ความปลอดภัยด้านเครือข่าย หมายเหตุ:สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมสามารถดาเนินการอบรมภายในได้ โดยจ้ างวิทยากรผู้เชี่ย วชาญจากภายนอกดาเนินการ โดยการฝึกอบรม กลุ่มละ 25 คน
หน้า ง-42