เน
บทนา ๏๏๏๏๏๏๏๏๏ โสตฺถิ พุทฺธมามกาน ขอสวัสดิมงคลจงมีแด่พทุ ธมามกชน ปั จจุบนั วันนี ้มีปรากฏ เพราะมีอดีตเกิดขึ ้นก่อน ขอกล่าวถึงอดีตเล็กน้ อย “จุลสารจากแดงสัมพันธ์ ” เกิดขึ ้นเมื่อหลายปี ที่ผ่านมาโดยกลุ่มสหธรรมิกวัดจากแดง เป็ นผู้จดั ทา บางปกใช้ ชื่อว่า “จุลสารวัดจากแดงสัมพันธ์”พอถึงช่วงหนึง่ มีข้อติดขัดเกิดขึ ้น การจัดทาออกแจกจ่ายได้ หยุดลง แต่ความคิดในการจัดทายังคงดารงอยู่ เริ่มปี ปฏิทินใหม่ ๒๕๕๕ จึงเริ่มต้ นใหม่ในชื่อว่า “จุลสารโพธิยาลัย” พูดถึงปี ปฏิทินที่ใช้ กนั ในปั จจุบนั ถือตามสากลให้ เริ่มนับเดือนมกราคมเป็ นเดือน แรก แต่เดือนอ้ ายของไทยได้ เริ่มแล้ วตังแต่ ้ ปลายเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ซึง่ เป็ นช่วง เดือนที่น ้านองน ้าทรงเริ่มรี่ไหลลงไปตามธรรมชาติ (ส่วนบางที่ยงั ไหลไปไหนไม่ได้ เพราะ ถูกขวาง) เดือนแรกของปี หากนับตามวัฒนธรรมอินเดียหรือชมพูทวีป จะเป็ นเดือนจิตรมาส หรือเดือนห้ าตกประมาณเดือนเมษายน ซึง่ เป็ นช่วงเปลี่ยนปี นักษัตรด้ วย แต่หากนับตาม พุทธศักราชโดยตรงต้ องเริ่มนับหลังวันเพ็ญเดือนหก เพราะพุทธศักราชเริ่มนับจากพุทธ ปรินิพพาน ปั จจุบนั มักเรียกเปลี่ยนรวมกันในเดือนมกราคมทังหมด ้ การนั บ วั น ใหม่ ใ นปั จจุ บัน ก็ นั บ ตามที่ ก าหนดกั น โดยอาศั ย นาฬิ ก า ซึ่ ง ไม่ สอดคล้ องกับธรรมชาติที่แต่ก่อนนับตามการขึ ้นของ “ตาวัน” ในทางพระพุทธศาสนาจึง นับวันใหม่ตามการขึน้ ของแสงเงินแสงทองซึง่ เป็ นเครื่ องหมายให้ ร้ ู ว่า “ตาวัน” กาลังขึน้ มาแล้ ว เพราะช่วงต่อจากเที่ยงคืนนัน้ ยังเป็ นช่วงมัชฌิมยามของกลางคืน (ชื่อก็บอกว่า กลางคืนแต่ยงั ฝื นเรียกกันว่าเป็ นวันใหม่) ๖
วันขึ ้นปี ใหม่ตามรอบปี ปฏิทินใช้ เวลาถึง ๓๖๕ วัน หรือ ๓๖๖ วัน จึงจะครบหนึ่งครัง้ ทัง้ ๆ ที่ความจริ งวันใหม่ปรากฏทุกวัน แต่เพราะนี่คือ “ประสาโลก” จึงถือ โอกาสเฉลิม ฉลองกันอย่างสนุกสนานร่ าเริ ง เพลิดเพลิน ลุ่มหลง โดยที่แท้ เวลาที่เข้ ามาใหม่คือเวลาที่ เดินเข้ าไปสู่ความตาย ช่วงหลังนีม้ ีการจัด ”นับถอยหลัง” กันอย่างกว้ างขวาง ควรคิด คานึงว่านัน่ เป็ นการนับถอยหลังเข้ าไปสู่ความตายเช่นกัน เพื่อให้ สอดคล้ องกับวิถีโลกที่เปลี่ยนไป บุคคลในพระพุทธศาสนาจึงนาเอาวิถีโลก นันมาประยุ ้ กต์ใช้ ให้ สอดคล้ องกับหลักการทางพระพุทธศาสนา คือการบาเพ็ญกุศลธรรม ทังหลายในโอกาสต่ ้ างๆ แต่ต้องไม่ลืมหลักการว่าการบาเพ็ญกุศลธรรมหรื อการปฏิบตั ิ ธรรมที่แท้ นนั ้ มิใช่การมุ่งไปสู่อัครสถานอันโอ่อ่า การบาเพ็ญกุศลธรรมหรื อการปฏิบัติ ธรรมที่แท้ มิใช่การรอคอยเวลาหรือรอ “คิว” เพื่อเข้ าปฏิบตั ิธรรม การปฏิบตั ิธรรมทาได้ ทกุ ที่ ดูกรณีของพระมหาชนกอยู่ในมหาสมุทรก็ปฏิบตั ิธรรม คือ ความเพียรได้ พระเวสสันดรอยู่ในกรุ งสีพีก็ปฏิบตั ิธรรมคือ บริ จาคทานได้ ระหว่าง เส้ นทางไปสู่เขาวงกตก็บริ จาคทานได้ แม้ อยู่ในเขาวงกตก็ยงั บริ จาคทานได้ กระต่ายอยู่ ในป่ าก็ถือศีลปฏิบตั ิธรรมบริจาคทานได้ พญาวานรเผชิญอันตรายอยู่ริมน ้าก็ปฏิบตั ิธรรม ได้ นกน้ อยอยู่ในกรงเล็บของเหยี่ยวใหญ่ก็ปฏิบตั ิธรรมได้ การปฏิบตั ิธรรมจึงทาได้ ทกุ ที่ เวลาปฏิบตั ิธรรมก็ทาได้ ทกุ เวลา โดยเฉพาะเวลาที่มีลมหายใจ เพราะเมื่อหมดลม หายใจก็หมดโอกาสในการปฏิบตั ิธรรม ดังนันอย่ ้ ารอเวลา เพราะไม่ร้ ู ว่าพรุ่ งนีห้ รื อชาติ หน้ า อะไรจะมาก่อน โสตฺถิ โหตุ สุขญฺจ โว
ขอสุขสวัสดิมงคลจงมีแด่ทกุ ท่าน
๗
ประวัตวิ ัดจากแดง วัดจากแดง เป็ นวัดราษฎร์ ตังอยู ้ ่ริมแม่น ้าเจ้ าพระยาฝั่ งขวา เลขที่ ๑๖ หมู่ ๖ ซอยจากแดง ถนนเพชรหึงษ์ ตาบลทรงคนอง อาเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ มีเนื ้อที่ ๑๕ ไร่ ๒ งาน ๕๔ ตารางวา วัดจากแดงสร้ างขึ ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๒๕ ปูชนียวัตถุสมัยโบราณของวัด คือพระพุทธรูป นามว่า “หลวงพ่อหิน” ซึง่ ขุดพบบริเวณโบสถ์หลังเก่า วัดจากแดงได้ รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๓๐ ชื่อจากแดง มีการสันนิษฐานว่ามาจากคาว่า “จากแดน” หมายถึงหมู่บ้านของ ประชาชนที่อพยพมาจากที่อยู่เดิมในอยุธยา แต่ตอ่ มาได้ เพี ้ยนเสียงเป็ น "จากแดง" เมื่อสร้ างวัดขึ ้นแล้ ว ชาวบ้ านจึงได้ ตงชื ั ้ ่อวัดตามชื่อท้ องที่ตงวั ั ้ ดสืบมาจนปั จจุบนั ลาดับเจ้ าอาวาส (เท่าที่สืบค้ นได้ ) รูปที่ ๑ พระอธิการสุด รูปที่ ๒ พระอธิการปั่ น รูปที่ ๓ พระอธิการมอม รูปที่ ๔ พระอธิการเปลื ้อง รูปที่ ๕ พระอธิการทองอยู่ รูปที่ ๖ พระอธิการบู่ รูปที่ ๗ พระอธิการทองคา รูปที่ ๘ พระอธิการยุ้ย รูปที่ ๙ พระอธิการเผือก โสภิโต รูปที่ ๑๐ พระอธิการนิตย์ อภินนฺโท รูปที่ ๑๑ พระครูธรรมธรสุมนต์ นนฺทิโก ๘
พ.ศ. ๒๔๗๕ – ๒๔๘๐ พ.ศ. ๒๔๘๑ – ๒๔๘๙ พ.ศ. ๒๔๙๐ – ๒๔๙๔ พ.ศ. ๒๔๙๕ – ๒๕๐๒ พ.ศ. ๒๕๐๓ – ๒๕๐๘ พ.ศ. ๒๕๐๙ – ๒๕๒๐ พ.ศ. ๒๕๒๑ – ๒๕๒๒ พ.ศ. ๒๕๒๓ – ปั จจุบนั
สถานที่สาคัญภายในวัด
พระอุโบสถ
พระธาตุสมันตมหาปั ฏฐานเจดีย์
ศาลาบาเพ็ญบุญ
วิหารหลวงพ่ อหิน ๙
อาคารโพธิยาลัย
อาคารโพธิยาลัย ๒
ศาลานามอนุสรณ์
เมรุ
ศาลาหอฉัน ๑๐
วัดจากแดงกาลังทาอะไร เขมา
วัดจากแดง ในปั จจุบนั ถือเป็ นวัดที่มีกิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนาอย่างเข้ มแข็ง ทังในด้ ้ านปริยตั ิและการปฏิบตั ิ ทางด้ านพระปริยตั ินนั ้ วัดจากแดงมีหลักสูตรการเรียน การสอนภาษาบาฬีอย่างเข้ มแข็ง ดังจะเห็นได้ จากสถิติของผลการสอบหลักสูตรบาฬี สนามหลวงในช่วงหลายปี ที่ผ่านมา นักเรียนของวัดจากแดงสามารถสอบไล่ได้ เป็ นอันดับ ๑ ของจังหวัดสมุทรปราการ เป็ นอันดับ ๘ ของภาค สองปี ซ้อน จนทําให้ ได้ รับ การยกย่องให้ เป็ นสํานักศาสนศึกษาดีเด่นของจังหวัดสมุทรปราการ ปั จจุบนั การเรียนการสอนทางด้ านพระปริยตั ิของวัดจากแดงก็ยงั คงเป็ นไปอย่าง เข้ มข้ นและเข้ มแข็ง ปั จจุบนั มีพระภิกษุสามเณรศึกษาเล่าเรียนอยูภ่ ายในวัดจากแดงมาก ถึง ๗๐ กว่ารูป และมีแนวโน้ มมากขึ ้นต่อไป นอกจากหลักสูตรการเรียนการสอนของ พระภิกษุสามเณรแล้ ว วัดจากแดงได้ เปิ ดหลักสูตรการเรียนสําหรับประชาชนขึ ้น ไม่ว่าจะ เป็ นพระอภิธรรม พระบาฬีสําหรับประชาชน และหลักสูตรธรรมศึกษาสําหรับประชาชน ทางด้ านการปฏิบตั ิ วัดจากแดงได้ จดั ให้ มีการสวดมนต์ทําวัตรเย็น เจริญสมาธิภาวนา สําหรับประชาชนขึ ้นในทุกวัน เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๙.๐๐ น. และจัดให้ มีกิจกรรมปฏิบตั ิธรรม ในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาต่างๆมากมาย ไม่ว่าจะเป็ นวันมาฆบูชา วันวิสาขาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันแม่ วันพ่อ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ต่างๆ โดยได้ รับความสนใจจาก พุทธศาสนิกชนเป็ นจํานวนมาก ทางด้ านการเผยแผ่ นอกจากจะมีการเรียนการสอนตามปกติแล้ ว วัดจากแดงได้ จดั ให้ มีวิทยุชมุ ชนเพื่อพระพุทธศาสนา ทางคลื่นวิทยุ FM 95.75 MHz โดยได้ รับความ อุปถัมภ์จากทางญาติโยมผู้ศรัทธาเป็ นจานวนมาก อีกทังยั ้ งมีการเผยแผ่ธรรมะในเว็บไซต์ www.bodhiyalai.org ซึง่ จะมีธรรมะออนไลน์และสามารถดาวน์โหลดไปฟั งได้ อีกด้ วย
๑๑
เกียรติคุณที่ได้ รับ ปี พุทธศักราช ๒๕๕๒ - ได้ รับโล่เกียรติคณ ุ วัดวิถีพทุ ธเฉลิมพระเกียรติ - ได้ รับการประกาศให้ เป็ นสานักเรี ยนปริยตั ิธรรมแผนกบาฬี - ได้ รับโล่เกียรติคณ ุ จากมหาวิทยาลัยพุทธนานาชาติ เมืองสกาย ประเทศพม่า ปี พุทธศักราช ๒๕๕๓ - ได้ รับเลือกให้ เป็ นวัดพัฒนาดีเด่นอันดับ๑ ของจังหวัดสมุทรปราการ (จาก๑๒๓วัด) - ได้ รับรางวัลสานักศาสนศึกษาดีเด่นอันดับ ๑ ของจังหวัดสมุทรปราการ - ได้ รับโล่เกียรติคณ ุ "วัดปลอดเหล้ า งานบุญในวัด" จากผู้ว่าราชการจังหวัด สมุทรปราการ ปี พุทธศักราช ๒๕๕๔ - ได้ รับโล่เกียรติคณ ุ กิจการงานพระพุทธศาสนาอุปถัมภ์จากสานักข่าว พระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรม - ได้ รับรางวัลพุทธคุณปู การ ระดับกาญจนา - ได้ รับรางวัลสานักศาสนศึกษาดีเด่นอันดับ๑ ของจังหวัดสมุทรปราการ - ได้ รับเลือกให้ เป็ นวัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่นระดับจังหวัด (กาลังอยู่ในขันตอนการ ้ ประกวดระดับประเทศ)
๑๒
คุยเฟื่ องเรื่ องพระวินัย บินหลาดง
วินโย นาม พุทฺธสาสนสฺส อายุ. วินเย ฐิเต พุทฺธสาสนํ ฐิตํ โหติ. พระวินยั เป็ นอายุของพระพุทธศาสนา เมื่อพระวินยั ยังดารงอยู่ พระพุทธศาสนาก็ ชื่อว่าดารงอยู่ พระวินยั เป็ นเหมือนกฎหมายของพระศาสนานี ้ บุคคลใดบวชเข้ ามาใน พระศาสนานี ้ก็ต้องอยู่ภายใต้ กฎหมาย ภายใต้ ข้อบัญญัติทางพระวินยั ฉะนันหากพระ ้ วินยั นี ้ยังดารงอยู่ ไม่ถกู เพิกถอนไปตราบใด ก็ถือว่าพระศาสนานี ้ก็ยงั ดารงอยู่ตราบนัน้ พระผู้มีพระภาคเจ้ า เมื่อพระองค์จะทรงบัญญัติพระธรรมวินยั พระองค์ทรงอาศัย ประโยชน์แก่บคุ คลหลายฝ่ าย คือประโยชน์ต่อพระองค์เอง ต่อพุทธบริษัท ๔ และต่อ พระศาสนา ซึง่ อาจจะนับเป็ นข้ อได้ ถงึ ๕ ข้ อ คือ ๑. พระผู้มีพระภาคเจ้ า ในยามที่พระองค์จะทรงบัญญัติพระวินยั พระองค์ไม่ทรง บัญญัติโดยพลการ ทรงสอบถามให้ ภิกษุสงฆ์ยอมรับโดยพร้ อมเพรียงกัน แล้ วจึงทรง บัญญัติ นี่ชี ้ให้ เห็นถึงพระองค์ทรงมองถึงประโยชน์พระองค์ และประโยชน์ของภิกษุสงฆ์ เพื่อมิให้ ใครติเตียน พระองค์จกั ใช้ อานาจในการบัญญัติ จึงถามภิกษุสงฆ์เสียก่อน แล้ ว จึงทรงบัญญัติพระวินยั (ปั จจุบนั เทียบได้ กบั การทาประชามติ) ๒. การที่คนหลาย ๆ คนมาอยู่รวมกันเป็ นหมู่ เป็ นคณะขึ ้นมา ไม่มีกฎกติกาการ เป็ นอยู่ก็จะไม่ผาสุก พระองค์อาศัยประโยชน์ข้อนี ้แล้ วบัญญัติพระวินยั คือ เพื่อการอยู่ ผาสุกของหมู่คณะ ๓. คนเป็ นอันมากมาอยู่รวมกันต่างจิตต่างใจ บางคนแนะนาได้ ง่าย บางคนแนะนา ได้ ยากเมื่อสังคมนันตั ้ งกฎกติ ้ กาขึ ้นมาแล้ วก็สามารถยกมาเป็ นเครื่องมือในการแนะนา คนเหล่านัน้ ฉะนันพระองค์ ้ อาศัยประโยชน์นี ้จึงบัญญัติพระวินยั คือ เพื่อข่มบุคคลผู้ว่า ยากสอนยาก ๑๓
๔. สังคมได้ มีกฎกติกาที่ดี และคนในสังคมนันก็ ้ ต้องอยู่ในกฎกติกานัน้ สังคมนันก็ ้ อยู่กนั อย่างมีความสุข พยายามเพื่อความบริบรู ณ์แห่งประโยชน์ตน และผู้อื่นได้ เต็มที่ พระองค์อาศัยประโยชน์นี ้จึงทรงบัญญัติพระวินยั คือ เพื่อความผาสุกของภิกษุผ้ มู ีศลี เป็ นที่รัก ๕. สังคมใดไม่มีศีลไม่มีธรรมไม่มกี ฎกติกา ผู้อยู่ในสังคมนันก็ ้ จะทาแต่สิ่งที่ไม่ดี เช่น การฆ่า การลักทรัพย์ เป็ นต้ น เมื่อเขาเหล่านันท ้ าอย่างนัน้ โดยเขาจับได้ ก็จะได้ รับโทษ มีการทุบตี ตัดมือ ตัดเท้ า หรือฆ่าอันเป็ นเหตุจะก่อทุกข์ก่อโทษทังนั ้ น้ ฉะนัน้ พระองค์ อาศัยประโยชน์ นี ้จึงทรงบัญญัติพระวินยั คือ เมื่อป้องกันโทษอันจะเกิดในปั จจุบนั ประโยชน์ทงั ้ ๕ ประการที่กล่าวมานี ้จะเห็นได้ ว่าพระผู้มีพระภาคเจ้ าทรงอาศัย ความกรุณาอันใหญ่ จึงทรงบัญญัติพระวินยั ให้ ภิกษุสงฆ์
๑๔
วัฏฏกชาดก (ตายเพราะแตกกัน) เขมา อตีเต ครัง้ อดีตกาลนานมาแล้ ว เมื่อพระเจ้ าพรหมทัตทรงเสวยราชสมบัติ ณ เมือง พาราณสี พระโพธิสตั ว์ได้ ถือกาเนิดเป็ นนกกระจาบ มีนกกระจาบหลายพันเป็ นบริวาร พรานนกคนหนึง่ ในเมืองนัน้ มีอาชีพจับนกขายโดยเฉพาะนกกระจาบ เขาจับนกโดยวิธี หว่านข้ าวเปลือกล่อให้ นกลงมากินแล้ วใช้ แหเหวี่ยงคลุม ทาให้ สามารถจับนกกระจาบได้ คราวละจานวนมากๆ สาหรับกินและขายเลี ้ยงชีพ คราวหนึง่ เมื่อนกกระจาบโพธิสตั ว์ผ้ เู ป็ นหัวหน้ าฝูง ถูกจับพร้ อมๆกับบริวาร นก กระจาบโพธิสตั ว์จงึ สัง่ ให้ บริวารนกทังหมดบิ ้ นขึ ้นพร้ อมๆกัน จนแหลอยขึ ้นสามารถนาไป วางบนต้ นไม้ ได้ แล้ วจึงบินรอดแหด้ านล่างเพื่อเอาตัวรอด เป็ นอยู่อย่างนี ้บ่อยครัง้ นายพรานนกนันจึ ้ งไม่สามารถที่จะจับนกได้ เลย จึงถูกภรรยาตาหนิเป็ นอันมาก เพราะไม่ มีนกที่จะนาไปขายและเลี ้ยงชีวิต นายพรานปลอบภรรยาว่านกกระจาบฝูงนี ้ฉลาดมาก มันพร้ อมใจกันบินขึ ้นและยกแหไปไว้ บนยอดไม้ อย่างรวดเร็วทุกครัง้ แต่อย่ากังวลไปเลย เมื่อใดที่พวกมันทะเลาะวิวาทกัน แตกความสามัคคีกนั ต่างตัวต่างถือดีแก่งแย่งกัน เมื่อ นันก็ ้ จะสามารถจับนกได้ ทงหมด ั้ เขาบอกภรรยาอย่างนี ้และรอวันเวลาอยู่ สองสามวันต่อมา นกกระจาบตัวหนึ่งโผบินลงมาที่พื ้นอย่างรวดเร็วโดยไม่ทนั สังเกต จึงเหยียบหัวนกกระจาบตัวหนึง่ เข้ าเต็มแรง นกกระจาบตัวที่ถกู เหยียบจึงร้ องว่า “ใครกันมาเหยียบหัวข้ า” ตัวที่เหยียบจึงกล่าวคาขอโทษอย่างนอบน้ อม แต่ตวั ที่ถกู เหยียบหาได้ ให้ อภัยไม่ แม้ นกกระจาบตัวที่ผิดจะอ้ อนวอนขออภัยอย่างไรก็ไม่ยอม จึงเกิดการทะเลาะถกเถียงขึ ้นอย่างรุนแรง ต่างฝ่ ายต่างอวดเบ่งว่าที่รอดตายมาได้ ก็ เพราะอาศัยกาลังของตนพาแหขึ ้นไปบนต้ นไม้ การทะเลาะกันขยายวงกว้ างออกไป อย่างมาก เพราะบรรดานกที่ถือหางของแต่ละฝ่ ายก็ไม่ยอมลดราวาศอก ต่างก็เข้ ามา สาทับกันถือว่าพวกของตนเป็ นฝ่ ายถูก เป็ นฝ่ ายที่เหนือกว่า จึงแตกความสามัคคีกนั ใน ที่สดุ ๑๕
พระโพธิสตั ว์ผ้ เู ป็ นหัวหน้ าฝูงเห็นเข้ าก็เกิดความวิตกว่า บัดนี ้ฝูงนกทะเลาะวิวาทกัน ไม่สามัคคีกนั เสียแล้ ว ต่อไปจะเกิดความวิบตั ิอย่างแน่นอน เพราะจะไม่มีใครออกแรงบิน ยกแห จะพากันตายทังหมด ้ ดาริ ดงั นี ้แล้ วก็พานกกระจาบตัวที่ไม่เข้ าพวกกับฝ่ ายทะเลาะ กันบินไปหากินในที่อื่น ต่อมาอีกสามสี่วนั นายพรานนกออกจากบ้ านมาโปรยเหยื่อและแอบซุม่ อยู่เหมือน เช่นเคย ฝูงนกกระจาบต่างก็บนิ ลงมากินอาหาร นายพรานจึงเหวี่ยงแหคลุมไว้ ฝูงนกทังหมดจึ ้ งติดอยู่ในแห แต่ต่างพากันนิ่งเฉยไม่ยอมบิน ตัวหนึ่งตะโกนว่า “ใครที่เคย บอกว่ามีกาลังมาก เป็ นคนออกแรงบินพาแหขึ ้นไปบนยอดไม้ ก็ลองบินดูหน่อยเถิด” อีก ฝ่ ายก็กล่าวในทานองเดียวกัน ต่างฝ่ ายต่างโต้ เถียงกันไปมาท้ าให้ อีกฝ่ ายลองกาลังดู นายพรานก็พลันเข้ าไปรวบแห สามารถจับนกได้ ทงฝู ั ้ ง นาไปให้ ภรรยาขายและทาเป็ น อาหารสาหรับเลี ้ยงชีพ สาระจากชาดก “ความสามัคคีสร้ างยาก แตกสามัคคีนัน้ ทาได้ ง่าย” ความสามัคคีนนสร้ ั ้ างได้ ด้วยน ้าใจ น ้าใจเป็ นเครื่องประสานสามัคคีได้ เป็ นอย่างดี ชาดน ้าใจก็เอื ้อเฟื อ้ กันไม่ได้ พูดกันด้ วยดีไม่ได้ ช่วยเหลือซึง่ กันและกันไม่ได้ และที่สาคัญ ที่สดุ คือ จะไม่ให้ อภัยกัน จะมีแต่ทิฏฐิ มานะ ไม่ยอมกัน ไม่มองหน้ ากันพูดจากันไม่ร้ ูเรื่อง หากต่างฝ่ ายต่างไม่ยอมกัน ต่างถือศักดิ์ศรี ถือฝ่ าย ถือสี ถือค่าย ยกตนข่มท่าน ก็จะ ปรองดองกันไม่ได้ เข้ ากันไม่ได้ ก็พาลจะแตกกันเท่านันเอง ้ หากแต่ละฝ่ ายต่างยอมกัน บ้ าง ผ่อนปรนกันบ้ าง ลดตัว ลดทิฏฐิ มานะลงเสียงบ้ าง ความสามัคคีก็จะเกิดขึ ้นได้ ความสามัคคีนามาซึง่ ความสงบสุข การทะเลาะวิวาทนามาซึง่ ความวุ่นวายและ ความวิบตั ิไม่มีที่สิ ้นสุด ไม่มีใครได้ ผลประโยชน์ที่แท้ จริงจากการทะเลาะวิวาทกัน ผู้ชนะก็ได้ เพียงความสะใจ แต่ต้องระวังตัว ผู้แพ้ ก็ได้ แต่แค้ นใจและหาทางแก้ แค้ น ก่อเวร ซึง่ กันและกันไม่มีที่สิ ้นสุด
๑๖
ปหาราทสูตร อ.อิศริ ยา นุตสาระ M.A. นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺ สฺส ฯ ขอนอบน้ อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้ าพระองค์นนั ้ จากพระสุตตันตปิ ฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต พระไตรปิ ฎกและอรรถ กถาแปล เล่มที่ ๓๗ หน้ า ๓๙๙-๔๑๓ พระพุทธเจ้ าได้ แสดงพระธรรมแด่ท้าวปหาราทะจอมอสูร ณ ใต้ ร่มไม้ สะเดา ใกล้ กรุงเวรัญชา เพื่อแสดงถึงความลาด ลุ่ม ลึก ของพระธรรมวินยั หรือความอัศจรรย์ ของพระธรรมวินยั โดยการเปรียบเทียบกับความอัศจรรย์ของมหาสมุทร ๘ ประการ เนื ้อเรื่องย่อ ท้ าวปหาราทะเป็ นหัวหน้ าอสูรผู้หนึง่ หัวหน้ าอสูรมี ๓ ท่าน คือ ๑. ท้ าวเวปจิตติ ๒. ท้ าวราหู และ ๓. ท้ าวปหาราทะ ท้ าวปหาราทะได้ ตงความ ั้ ปรารถนาไว้ นับตังแต่ ้ วนั ที่พระพุทธเจ้ าตรัสรู้แล้ วว่าจะไปเข้ าเฝ้าพระบรมศาสดา แต่ก็ ผลัดวันไปเรื่อยๆ จนเวลาล่วงไปถึง ๑๒ ปี จึงตัดสินใจมาเฝ้าพระพุทธองค์ และปรารถนา จะทูลถามคาถาม ครัน้ ได้ เข้ าเฝ้าจริงก็ไม่กล้ าทูลถาม พระพุทธองค์ทรงทราบ ทรงเปี่ ยม ไปด้ วยพระมหากรุณาต่อท้ าวปหาราทะ ทรงรู้ว่าหากพระองค์ไม่ตรัสก่อน ท้ าวปหาราทะ ก็ไม่กล้ าทูลถามอย่างแน่นอน จึงตรัสถามว่า บรรดาอสูรชื่นชมและอัศจรรย์ในมหาสมุทร ใช่ไหม และมหาสมุทรนันมี ้ อะไรที่น่ารื่นรมย์บ้าง ท้ าวปหาราทะปี ติยินดีที่ได้ ฟังพระพุทธ องค์มีรับสัง่ ถามในสิ่งที่ท่านมีความรู้เป็ นอย่างดี จึงทูลตอบว่า พวกอสูรชื่นชม อภิรมย์ และภูมิใจในมหาสมุทรว่ามีความน่าอัศจรรย์ถงึ ๘ ประการ ดังนี ้คือ ๑. มหาสมุทรมีลกั ษณะ ลาด ลุ่ม ลึก ลงไปตามลาดับ ไม่โกรกชันเหมือนเหว ๒. มหาสมุทรเต็มเปี่ ยมอยูเ่ สมอ แต่ไม่เคยล้ นฝั่ ง ๓. มหาสมุทรไม่เกลื่อนไปด้ วยซากศพ เพราะคลื่นย่อมซัดซากต่างๆเข้ าหาฝั่ ง
๑๗
๔. มหาสมุทรเป็ นที่รวมของแม่น ้าใหญ่ที่มีชื่อต่างๆ เช่น คงคา ยมุนา อจิรวดี สรภู และเมื่อไหลลงสู่มหาสมุทรก็ย่อมละชื่อเดิมทังหมด ้ ๕. แม่น ้าในโลกย่อมไหลลงมหาสมุทร สายฝนในอากาศก็ตกลงสู่มหาสมุทร แต่ มหาสมุทรก็ไม่ปรากฏว่าพร่องหรื อเต็ม ๖. น ้าในมหาสมุทรมีรสเดียวคือรสเค็ม ๗. มหาสมุทรเต็มไปด้ วยรัตนะอันมีค่ามากมาย ๘. มหาสมุทรเป็ นที่อาศัยของสัตว์ขนาดใหญ่จานวนมาก นี ้เป็ นความน่าอัศจรรย์ ๘ ประการในมหาสมุทร ที่พวกอสูรเห็นแล้ วจึงชื่นชม อภิรมย์และภูมิใจ จากนันท้ ้ าวปหาราทะ ก็ทลู ถามพระพุทธองค์ว่า “ข้ าแต่พระองค์ผ้ เู จริญ ภิกษุ ทังหลายชื ้ ่นชมในพระธรรมวินยั นี ้บ้ างหรือไม่พระเจ้ าข้ า ในธรรมวินยั นี ้มีความน่าอัศจรรย์ ใจที่ภิกษุเห็นแล้ วอภิรมย์อยู่บ้างหรือไม่พระเจ้ าข้ า” พระพุทธเจ้ าตรัสตอบว่า มีอยู่ปหาราทะ ความอัศจรรย์ของพระธรรมมีอยู่ถงึ ๘ ประการ เช่นกันคือ ๑. ในธรรมวินยั ที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ ดีแล้ วนัน้ มีความละเอียดลึกซึ ้งต้ องมีการ ศึกษาไปตามลาดับ มีการกระทาไปตามลาดับ มีการปฏิบตั ไิ ปตามลาดับ เช่นเดียว กับมหาสมุทรที่มีความลาด ลุ่มลึกลงไปตามลาดับ ไม่มีทางลัดไปสู่พระนิพพาน (เพราะ เมื่อพระองค์ตรัสรู้ใหม่ๆ ยังทรงมีพทุ ธดาริว่าพระธรรมที่ตรัสรู้นี ้เป็ นธรรมที่ลกึ ซึ ้ง สุขมุ ลุ่มลึก ที่ไม่อาจรู้ได้ ด้วยการตรึก คือไม่อาจรู้ได้ ด้วยการคิดเอาเอง แต่เป็ นธรรมที่บณ ั ฑิต ควรรู้ คือต้ องศึกษาไปตามลาดับขันตอน ้ ตามที่พระพุทธองค์แสดงไว้ ในพระไตรปิ ฎก) พระพุทธเจ้ าตรัสว่า ดูก่อนปหาราทะข้ อที่ในธรรมวินยั นี ้มีการศึกษาไปตามลาดับ กระทา ไปตามลาดับ มีการปฏิบตั ิไปตามลาดับนี ้ มิใช่ว่าจะมีการบรรลุอรหัตผลอย่างกบกระโดด ข้ อนี ้เป็ นธรรมที่น่าอัศจรรย์อนั ไม่เคยมีมาประการที่ ๑ ในธรรมวินยั นี ้ที่ภิกษุทงหลายเห็ ั้ น แล้ วๆ จึงอภิรมย์อยู่
๑๘
๒. มหาสมุทรเต็มเปี่ ยมอยูเ่ สมอ ไม่ล้นฝั่ งฉันใด สาวกของพระพุทธเจ้ าที่แท้ จริ งก็จะ ไม่ล่วงละเมิดสิกขาบทหรือพระวินยั ที่ทรงบัญญัติไว้ แม้ เพราะเหตุแห่งชีวิต (คือพระภิกษุที่ แท้ จะเต็มเปี่ ยมไปด้ วยความบริสทุ ธิ์แห่งศีล แม้ จะตายก็ไม่ยอมที่จะทาให้ ศีลขาดเลย เช่นกัน) ๓. มหาสมุทรไม่เกลื่อนด้ วยซากศพ เพราะในมหาสมุทรคลื่นย่อมซัดเอาซากศพเข้ า หาฝั่ งฉันใด ภิกษุทศุ ีลที่ปกปิ ดกรรมชัว่ ชุ่มด้ วยราคะ มิใช่สมณะก็ปฏิญญาว่าเป็ นสมณะ มิใช่ผ้ ปู ระพฤติพรหมจรรย์ ก็ปฏิญญาว่าประพฤติพรหมจรรย์ หมู่สงฆ์ก็ย่อมประชุมกันขับ ไล่ออกจากหมู่คณะ คนเช่นนี ้แม้ จะนัง่ อยู่ท่ามกลางหมู่สงฆ์ ก็ชื่อว่าห่างไกลจากสงฆ์ นี ้ เป็ นความน่าอัศจรรย์ประการหนึง่ ของพระธรรมวินยั ๔. แม่น ้าสายใหญ่ๆคือ แม่น ้าคงคา ยมุนา อจิรวดี สรภู มหิ แม่น ้าเหล่านันไหลไป ้ ถึงมหาสมุทรแล้ ว ย่อมละนามและโคตรเดิมหมด คงเรียกว่า มหาสมุทรเท่านัน้ เช่นเดียวกับกุลบุตรไม่ว่าจะมาจากวรรณะใด เช่น กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร เมือ่ ออกบวชย่อมละนามและโคตรเดิม มาเป็ นสมณศากยบุตรเท่านันเช่ ้ นกัน ๕. แม่น ้าทุกสายในโลกย่อมไหลไปรวมยังมหาสมุทร และสายฝนจากอากาศก็ตก ลงสู่มหาสมุทร แต่มหาสมุทรก็มิได้ ปรากฏว่าจะพร่องหรือเต็มเพราะน ้านันฉั ้ นใด ภิกษุที่ บรรลุอรหัตผลจานวนมาก เมื่อนิพพานแล้ วก็ไม่ปรากฏว่านิพพานธาตุจะพร่องหรือเต็ม แต่ประการใดเช่นกัน ๖. มหาสมุทรมีรสเดียว คือ รสเค็มฉันใด ธรรมวินยั นี ้ก็มีรสเดียวเช่นกัน คือ วิมุตติ รส หมายถึงรสแห่งความสุขและความสงบจากกิเลส ในพระนิพพานอันเป็ นบรมสุข ๗. มหาสมุทรเต็มไปด้ วยรัตนะอันมีค่าฉันใด ในพระธรรมวินยั ก็เต็มไปด้ วยรัตนะ อันมีค่าฉันนัน้ รัตนะในธรรมวินยั นันมี ้ ดงั นี ้ คือ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิ บาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมี องค์ ๘
๑๙
๘. มหาสมุทรเป็ นที่พานักอาศัยของสิ่งที่มีชีวิตใหญ่ๆ พระธรรมวินยั ก็เป็ นที่พานัก อาศัยของสิ่งมีชีวิตใหญ่ๆ สิ่งมีชีวิตในพระธรรมวินยั นี ้ มีดงั นี ้ คือ -พระโสดาบัน -พระสกทาคามี -พระอนาคามี -พระอรหันต์ ข้ อสังเกตจากปหาราทสูตร ๑. จากพระสูตรนี ้ จะเห็นถึงน ้าพระทัยที่เปี่ ยมไปด้ วยพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระ พุทธองค์ต่อท่านปหาราทะ ด้ วยพระสัพพัญญุตญาณของพระองค์ทรงล่วงรู้ว่า ปหาราทะ ปรารถนาที่จะทูลถาม แต่ถ้าพระองค์ไม่ตรัสขึ ้นก่อน ปหาราทะจะไม่กล้ าพูด จึงตรัสถาม ถึงความอัศจรรย์ของมหาสมุทร ปหาราทะมีความรู้ดีในเรื่องนี ้ และชื่นชมว่าพระพุทธองค์ ประทานความคุ้นเคยให้ กบั ตนจึงตรัสถามตน อันเป็ นที่มาของพระสูตรนี ้ ๒. ด้ วยพระปรีชาสามารถ พระปั ญญากว้ างไกล ไหวพริบปฏิภาณอันยอดเยี่ยมพระ พุทธองค์ทรงสามารถเปรียบเทียบความอัศจรรย์ของพระธรรมวินยั กับความอัศจรรย์ของ มหาสมุทรได้ อย่างสมจริง ๓. พระพุทธองค์ทรงมีจิตวิทยาอย่างยอดเยี่ยม ทรงคล้ อยตามความคิดเห็นของ ท้ าวปหาราทะจอมอสูร โดยไม่ทรงขัดแย้ งใดๆที่จะก่อให้ เกิดความรู้สึกที่ไม่ดีต่อคู่สนทนา เลย จัดว่าเป็ นแบบอย่างที่ดีงาม ๔. พระพุทธองค์เปี่ ยมด้ วยพระมหากรุณา เมือ่ ท้ าวปหาราทะกราบทูลถึงความน่า อัศจรรย์ของมหาสมุทรว่ามี ๘ ประการ ทังๆที ้ ่พระองค์สามารถแสดงธรรม ๘ ประการได้ จนถึง ๑,๐๐๐ ประการก็ได้ แต่มิได้ ทรงข่มปหาราทะ จึงทรงแสดงความน่าอัศจรรย์ของ พระธรรมวินยั เพียง ๘ ประการเท่ากัน โดยมิได้ ทรงแสดงเกินไปกว่านี ้เลย ก็เป็ นคุณธรรมที่ ประเสริฐที่ควรคานึงถึง
๒๐
๕.ผู้แสดงธรรมของพระพุทธองค์ควรมีคณ ุ สมบัติดงั ต่อไปนี ้ (จากอุทายิสตู ร อังคุตตรนิกาย ปั ญจก-ฉักกนิบาต เล่มที่๓๖ หน้ า๓๓๓) ๕.๑ ต้ องแสดงไปตามลาดับ ๕.๒ ธรรมที่แสดงถูกต้ อง ต้ องมีเหตุผล ๕.๓ แสดงธรรมด้ วยความจริงใจประกอบด้ วยความเมตตา ๕.๔ แสดงธรรมโดยไม่หวังลาภสักการะใดๆ ๕.๕ แสดงธรรมโดยไม่กระทบตนและผู้อื่น นอกจากนี ้ก็จะเพิ่มเติมในข้ อ๖ ว่าการแสดงธรรมของพระพุทธเจ้ า มิใช่ธรรมของ ข้ าพเจ้ าอันเป็ นอัตโนมติของตน อันเป็ นอริยปู วาท คือการกล่าวตู่พระธรรมคาสัง่ สอนของ พระพุทธเจ้ าซึง่ มีโทษมาก ๗. ผู้แสดงธรรมต้ องศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ จนมีไหวพริบปฏิภาณ สามารถเปรียบเทียบอุปมาอุปไมยได้ อย่างถูกต้ องชัดเจน ในฐานะที่รับผิดชอบในหน้ าพระสูตร จึงเลือกพระสูตรนี ้มาแสดงด้ วยความมุ่งหมาย ๖ ประการคือ ๑. เพื่อแสดงให้ เห็นถึงความลึกซึ ้งของพระธรรมวินยั ที่จะต้ องศึกษาและปฏิบตั ิไป ตามลาดับ ไม่มีทางลัดไปสู่พระนิพพาน จากอรรถกถายืนยันว่า การบรรลุมิได้ เกิดจาก การศึกษาแบบกบกระโดด ๒. การศึกษาพระธรรมวินยั และการปฏิบตั ิไปสู่ความพ้ นทุกข์ ต้ องเริ่มด้ วยความ บริสทุ ธิ์ของศีล ๓. เพือ่ ให้ เห็นถึงความสาคัญของปริยตั ิ คือ คาสอนจากพระไตรปิ ฎก ๔. ได้ ร้ ูจกั ๕ รัตนะในพระธรรมวินยั ๕. ได้ ร้ ูและเข้ าใจถึงความอัศจรรย์ของพระธรรมวินยั เมื่อเปรียบเทียบกับความ อัศจรรย์ของมหาสมุทรถึง ๘ ประการ ๖. เพื่อได้ ศกึ ษาข้ อสังเกตเกี่ยวกับพระสูตรซึง่ เป็ นการพิจารณาอย่างแยบคาย เพื่อให้ เกิดปั ญญาบารมี ๒๑
รัตนะในพระธรรมวินัย ได้ แก่ สติปัฏฐาน ๔ :- ธรรมอันเป็ นที่ตงแห่ ั ้ งสติ ข้ อปฏิบตั ิที่มีสติเป็ นประธาน ตังสติ ้ กาหนด พิจารณาให้ ร้ ูเท่าทันตามความเป็ นจริง ได้ แก่ ๑. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การตังสติ ้ พิจารณากาย ๒. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การตังสติ ้ พิจารณาเวทนา ๓. จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การตังสติ ้ กาหนดพิจารณาจิตและมีสติ กากับดูร้ ูเท่าทันจิต ทุกสภาพและอาการของจิต ๔. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การตังสติ ้ กาหนดพิจารณาธรรม โดยการมี สติกากับดูร้ ูเท่าทันธรรม มี ๔ ประการได้ แก่ กาย เวทนา จิต ธรรม สัมมัปปธาน :- ความเพียรชอบที่เป็ นสัมมาวายามะ ๑. เพียรระวังบาปอกุศลที่ยงั ไม่เกิด มิให้ เกิดขึ ้น ๒. เพียรละบาปอกุศลที่เกิดขึ ้นแล้ ว ๓. เพียรเจริญกุศลธรรมที่ยงั ไม่เกิด ให้ เกิดขึ ้น ๔. เพียรรักษากุศลธรรมที่เกิดขึ ้นแล้ ว ไม่ให้ เสื่อมและให้ เพิ่มไพบูลย์ยิ่งๆขึ ้น อิทธิบาท ๔ :- คุณเครื่องให้ ถงึ ความสาเร็จ, ทางแห่งความสาเร็จ มี ๔ ข้ อ ได้ แก่ ๑. ฉันทะ ความพอใจรักใคร่สิ่งนัน้ ๒. วิริยะ ความพยายามทาสิ่งนัน้ ๓. จิตตะ ความเอาใจฝั กใฝ่ ในสิ่งนัน้ ๔. วิมังสา ความพิจารณาใคร่ครวญหาเหตุผลในสิ่งนัน้ อินทรีย์ ๕ :- ความเป็ นใหญ่ ๕ ประการ ได้ แก่ ๑. ศรัทธา ความเชื่อที่ประกอบด้ วยปั ญญา ๒. วิริยะ ความเพียร ความบากบัน่ ไม่ท้อถอย ๓. สติ ความระลึกได้ ๔. สมาธิ ความมีใจตังมั ้ น่ สงบ ไม่ฟ้ งซ่ ุ าน ๕. ปั ญญา ความรอบรู้ ๒๒
โพชฌงค์ ๗ :- ธรรมที่เป็ นองค์แห่งการตรัสรู้มี ๗ ข้ อ คือ ๑. สติ ๒. ธัมมวิจยะ (การสอดส่องเลือกเฟ้ นธรรม) ๓. วิริยะ ๔. ปี ติ ๕. ปั สสัทธิ (ความสงบ) ๖. สมาธิ ๗. อุเบกขา อริยมรรคมีองค์ ๘ :- ทางอันประเสริฐมีองค์ ๘ ประการ ได้ แก่ ๑. สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดาริชอบ ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ (วจีสจุ ริต) ๔. สัมมากัมมันตะ ทาการงานชอบ (กายสุจริต) ๕. สัมมาอาชีวะ เลี ้ยงชีพชอบ (เว้ นจากมิจฉาชีพ ๕ ประการ) ๖. สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ตังจิ ้ ตมัน่ ชอบ
๒๓
การฟั นฝ่ าวิกฤติ ตามรอยพระมหาโพธิสตั ว์ เวสสันดร คนเดินทาง เรื่องของภัยพิบตั ิต่างๆนัน้ ล้ วนแล้ วแต่ทําความเสียหายให้ แก่ทรัพย์สิน บ้ านเรือน เรือกสวนไร่นา ธุรกิจมากมายนับไม่ได้ หลายต่อหลายครอบครัวต้ องประสบกับความ สูญเสียแห่งญาติ ความสูญเสียแห่งทรัพย์ มีประการต่างๆ ย่อมต้ องมีความโศกเศร้ า ความเครียด ความเสียใจ เป็ นธรรมดา หากแต่วิกฤติต่างๆ ก็มิใช่แต่จะเกิดเพียงใน ปั จจุบนั นี ้เท่านัน้ หากแต่ว่าเกิดขึ ้นมาแล้ วหลายยุคหลายสมัยมากมายนับไม่ถ้วน เรื่องนี ้ในบุคคลที่มีศรัทธา เชื่อเรื่องกรรม เรื่องผลของกรรม ก็อาจจะรักษาจิตของตน ไว้ ได้ บ้าง แต่กระนัน้ ก็ยงั อดที่จะตกอยู่ในความประหวัน่ พรั่นพรึง ความกลัวที่จะต้ อง เผชิญกับความสูญเสีย เพราะความเสียหาย เกิดความกังวลวิตกทุกข์ร้อน แม้ ในคราวได้ พบเห็นความทุกข์ของผู้คนทังหลายเป็ ้ นอันมาก หรือไม่อาจจะระงับความเสียใจอย่าง เหลือเกิน ในคราวที่จะต้ องเผชิญหน้ ากับความสูญเสียใหญ่หลวงนันด้ ้ วยตนเอง การที่ จะฟั นฝ่ าวิกฤติภยั พิบตั ิต่างๆนัน้ ความสําคัญอยู่ที่การมีสติ มีปัญญาที่จะแก้ ไขปั ญหา ต่างๆที่เกิดขึ ้นรอบตัวเรา โดยเฉพาะความมีสติที่จะสามารถพลิกวิกฤติให้ เป็ นโอกาส ดังเช่นพระมหาโพธิสตั ว์เวสสันดร ความตอนหนึง่ โดยย่อว่า เมื่อเมืองกาลิงครัฐเกิดฝนแล้ ง ข้ าวกล้ าไม่สมบูรณ์ ประชาชนก็เดือดร้ อน เมือ่ เป็ นอยูไ่ ม่ได้ ก็ทําโจรกรรม ชาวเมืองจึงกดดันให้ เจ้ าเมืองไป ขอช้ างปั จจยนาคกับพระเจ้ าสัญชัยแห่งกรุงสีพี ช้ างปั จจยนาคเป็ นช้ างมงคล เกิดด้ วย บารมีของพระโพธิสตั ว์เวสสันดร เป็ นสหชาติกนั คือเกิดพร้ อมกัน เป็ นคู่บารมีของพระ โพธิสตั ว์ ช้ างปั จจยนาคอยู่ที่ไหน ความอุดมสมบูรณ์ก็เกิดที่นนั่ กษัตริย์เมืองกาลิงครัฐ จึงส่งพราหมณ์ไปทูลขอช้ างปั จจยนาคจากพระเวสสันดร พระโพธิสตั ว์ได้ มอบช้ างปั จจยนาคให้ แก่พราหมณ์ทงั ้ ๘ ผู้มาขอนัน้ ยังความโกรธ แค้ นให้ เกิดกับชาวสีพีเป็ นอันมาก ชาวเมืองต่างพากันมาชุมนุมเพื่อขับไล่พระเวสสันดร ให้ ออกจากแว่นแคว้ น ๒๔
พระเจ้ าสัญชัยทรงจําต้ องขับไล่พระราชโอรสที่เป็ นที่รักยิ่งกว่าชีวิตของพระองค์เอง เพื่อต้ องการรักษาราชประเพณีในการปกครอง ไม่ให้ เกิดการจลาจลของหมู่ชนชาวสีพี ก่อนที่พระโพธิสตั ว์จะพาครอบครัวเสด็จไปสู่เขาวงกต ยังได้ บริจาคมหาทานแก่ผ้ มู าขอใน สัตตสัตกมหาทาน จนในที่สดุ ก็ไม่เหลือสมบัติข้าวของอะไรๆ ติดตัวไปเลย เพราะ ชาวเมืองที่เหลือยังดันด้ ้ นมาขอบริ จาคจากพระองค์ไปจนหมด ไม่มีอะไรติดตัวระหว่าง การเดินทางระหกระเหินนันเลย ้ ในคราวที่มาเจอกษัตริย์อีกเมืองหนึง่ ซึง่ ได้ ร้องขอพระองค์ให้ ทรงยอมรับราชสมบัติที่ เมืองของตนด้ วยความเคารพบูชาพระเวสสันดรนัน้ พระโพธิสตั ว์ทรงปฏิเสธและทรงรับสัง่ ว่า “พระองค์ไม่ประสงค์ที่จะรับราชสมบัติใดๆ เพราะหากรับแล้ วชาวสีพีก็จะพลอยมาขัด เคืองกับเมืองๆนี ้ด้ วย สงครามอันร้ ายกาจก็อาจเกิดขึ ้นได้ เพราะอาศัยพระองค์แต่เพียงผู้ เดียว” พระองค์จงึ ยืนยันที่จะเดินทางไปยังเขาวงกต ในความย่อข้ างต้ น ขอให้ ท่านผู้อ่านพิจารณาดูเอาเถิด พระโพธิสตั ว์นนทรงเป็ ั้ นผู้ ปรารภธรรมเป็ นอย่างยิ่ง มิได้ ปรารภตนเองเป็ นใหญ่เลย ทรงเห็นแก่ความผาสุก ความ สงบของชนหมู่มาก จึงยอมเสียสละทุกสิ่งทุกอย่างที่พระองค์ทรงมี ด้ วยต้ องการที่จะ กําจัดความขัดเคือง กําจัดความพยาบาทของชนทังหลาย ้ ไม่ประสงค์ให้ เกิดวิวาทจน กลายเป็ นสงคราม และทรงถือเอาวิกฤตินี ้เป็ นเหตุแห่งบารมีของพระองค์เพื่อทรงกระทํา ทานบารมีให้ ถงึ ที่สดุ แม้ ด้วยเหตุแห่งความสูญเสียมีประมาณเท่านี ้ จิตใจของพระ โพธิสตั ว์ก็มิได้ ทรงหวัน่ ไหวเลยทรงบริจาคความสุขทุกอย่าง ทังทรั ้ พย์สินมากมาย ทังลาภ ้ ยศ สุข สรรเสริญ ความสะดวกสบายในเมืองของพระองค์ จนหมดสิ ้นประดุจบุคคลผู้ สิ ้นเนื ้อประดาตัว!! มาในยุคนี ้ สมัยนี ้ แม้ ไม่ปรากฏพระเวสสันดรโพธิสตั ว์ก็จริงอยู่ แต่ว่าพวกเรายังคง ได้ ยินได้ ฟังเรื่องราวของพระองค์ท่าน ด้ วยความปลาบปลื ้ม ซาบซึ ้งและอนุโมทนากับมหา ทานของพระองค์ ตังแต่ ้ ต้นจนจบ ชื่นชมโสมนัสในพระบารมีของพระองค์กนั อยู่ มาจน บัดนี ้ ๒๕
ก็แต่ว่าหากพวกเราจะได้ ยินได้ ฟัง เพียงแค่เก็บมาเป็ นความชื่นใจเท่านัน้ หา เพียงพอไม่ เพราะประโยชน์ที่พวกเราผู้ได้ ฟัง พึงใคร่ครวญว่า เวสสันดรชาดกนี ้ ได้ ให้ อะไรๆ กับเรา ผ่านเรื่องราวพระบารมีของพระองค์ นี ้ชื่อว่าเป็ นวิสยั ของผู้มีปัญญาที่จะ กลัน่ กรองถือเอาประโยชน์สงู สุดที่ได้ พงึ มี พึงเป็ น จากที่ได้ สดับฟั งพระธรรมเทศนานัน้ ขอพวกเราจงน้ อม ใจกระทําจิตของตนๆ แม้ เพียงส่วนหนึง่ ก็ยงั ดีที่จะอาศัยเหตุการณ์ วิกฤติในครัง้ นี ้เป็ นปั จจัยขึ ้นเพาะบ่มวิสยั แห่งบัณฑิตที่ชื่อว่าเวสสันดรโพธิสตั ว์กนั เถิด บัดนี ้ วิกฤติเรื่องนํ ้าก่อให้ เกิดความทุกข์แสนสาหัสแก่ชาวไทยหมู่มาก ความสูญเสีย ความทุกข์โศกคือโศกะปริเทวะรํ่าไห้ และอุปายาสก็เกิดขึ ้น ผู้ใดได้ สดับพระธรรมเทศนาในเรื่องราวต่างๆที่พระพุทธองค์ได้ ทรงแสดงไว้ มากมาย นัน้ ย่อมเกิดศรัทธาเชื่อเรื่องกรรม เรื่องผลของกรรม จึงรู้ว่า นี ้เป็ นคราวที่จะต้ องสูญเสีย เพราะผลของบาปที่ตนเองได้ กระทําไว้ ในกาลก่อน ดังนัน้ ในยามที่จะต้ องสูญเสีย พึงตังรั้ บด้ วยสติ ด้ วยศรัทธา ด้ วยปั ญญาเถิด เมื่อนัน้ "การสูญเสีย" นันๆ ้ จึงจะเป็ น "การได้ " ของพวกเรา พระเวสสันดรทรงสูญสิ ้นทุก สิ่งทุกอย่างที่พระองค์มี แต่พระองค์ไม่ร้ ูสกึ ว่า "สูญเสีย" เพราะทรงถือเอาเหตุมีประมาณ เท่านี ้ ยกขึ ้นเป็ นปั จจัยแก่ทานบารมีของพระองค์ให้ ยิ่งๆ ขึ ้นไปอีก พระองค์นนทรงเป็ ั้ น บัณฑิตโดยแท้ บัณฑิตผู้มีปัญญา จึงเป็ นผู้ได้ โอกาสที่จะกระทําบารมีทกุ เมื่อ แม้ ในยาม "เสีย" ท่านก็ถือว่าเป็ นการ "ได้ " ได้ โอกาสของพระองค์ โอกาสที่จะทําความดี ทําบารมีที่ ยอดเยี่ยมยิ่งขึ ้นไปอีก ในวิสยั ของพวกเรา พึงฉวยเอาเหตุการณ์ในครัง้ นี ้ขึ ้นพิจารณา เฉก เช่นวิสยั แห่งบัณฑิตเวสสันดรนันก็ ้ จะพึงได้ เห็นโอกาสแห่ง "การได้ " บนความ "สูญเสีย" ของตนเองและพวกพ้ องที่เกิดขึ ้นแล้ ว หรืออาจจะเกิดขึ ้น มีอาทิว่า ๑. วิกฤตินี ้ ได้ เกิด "มหาทาน" ในบุคคลผู้ที่ยงั ไม่เดือดร้ อน ก็ต่างขวนขวายระดม สรรพกําลังของตนๆ ทังกํ ้ าลังกายและกําลังใจ และทังทรั ้ พย์ เพือ่ ช่วยเหลือเกื ้อกูลผู้ที่ กําลังตกทุกข์ได้ ยาก "มหาทาน" จึงเกิดขึ ้นในแผ่นดินของเราในอาการอย่างนี ้ประการหนึง่
๒๖
๒. "มหาทาน" พึงเกิดขึ ้น แม้ ในกลุ่มบุคคลผู้กําลังสูญเสียหรือใกล้ จะสูญเสีย ผู้มา ขอรับบริจาคทานในครัง้ นี ้ได้ แก่ "นํ ้า" นัน่ เอง เขามาขอทรัพย์สินของพวกเราไปดุจชาว เมืองสีพีได้ ขอรับบริจาคสัตตสัตกมหาทานจากพระองค์ และยังมีพราหมณ์ทงหลาย ั้ ติดตามพระองค์มาเพื่อทูลขอทรัพย์อะไรๆที่เหลือจากพระองค์อีก แม้ ในคราวที่พระองค์เสด็จเดินทางเข้ าสู่เขาวงกต พราหมณ์เหล่านันมาขอทุ ้ กสิ่งทุก อย่างไปจนหมดสิ ้น พระองค์ทรงไม่มีอะไรเหลือเลย หากพวกเรากระทําจิตใจแม้ เพียงส่วน หนึง่ เช่นกับพระเวสสันดร เราสมควรจะปรารภเหตุแห่ง "การได้ ” บนความสูญเสียที่กําลัง เกิดขึ ้นนี ้ ดุจพระเวสสันดรผู้กําลังบริจาคทานจนหมดจนสิ ้นทุกอย่าง โดยมิได้ ทรงหวัน่ ไหว เลย แม้ เราจะไม่ใช่พระโพธิสตั ว์ก็จริงอยู่ แต่เราก็พงึ พิจารณาได้ อย่างนี ้ว่า "เมื่อถึงคราว จะสูญเสีย แม้ ใครๆ ในโลกจะเพียรพยายามรักษาเอาไว้ อย่างไร ธรรมชาตินนๆ ั ้ ก็ยงั ย่อม ต้ องสูญสิ ้นไปเป็ นธรรมดา เราจึงควรถือเอาความสูญเสียนี ้แหละยกขึ ้นมาเป็ นบารมีใหญ่ แห่งตน" ๓. การตังสติ ้ การยอมรับความสูญเสีย ในคราวที่ต้องเกิดขึ ้น ก็สามารถยกเป็ นบารมี อย่างหนึง่ อันยิ่งใหญ่ของพวกเราได้ เช่นกัน พระเวสสันดรทรงสละมหาทานแก่ชาวสีพีจน สิ ้น ด้ วยความยินดีได้ ฉนั ใด พวกเราก็พงึ ยอมรับความสูญเสียอันหลีกเลี่ยงไม่ได้ ครัง้ นี ้ใน คราวที่ถงึ ที่สดุ ที่จําต้ องสละแล้ ว สละมหาทานให้ แก่ "นํ ้า" ผู้หาเจตนามิได้ นํ ้าที่เกิดด้ วย อํานาจกรรม โดยปราศจากความรู้สกึ เศร้ าหมองได้ ฉนั นัน้ เราก็ได้ ชื่อว่า เป็ นผู้เยี่ยมยอด คนหนึง่ ด้ วย "ขันติบารมี" เป็ นผู้เยีย่ มยอดด้ วย "สติ” และด้ วย "ศรัทธาเชื่อเรื่องกรรม เรื่อง ผลของกรรม" และเป็ นผู้เยี่ยมยอดด้ วย "ปั ญญาบารมี" ที่จะยอมรับผลของกรรมครัง้ นี ้ อย่างไม่สะทกสะเทือนจนเกินรับ เรื่องพระเวสสันดรจึงได้ สอนธรรมะแก่ประชาชนคนไทย ด้ วยอาการอย่างนี ้
๒๗
ปฐมบทในปฐมกาลแห่ งพระพุทธศาสนา สงฺคีตวรภิกฺขุ ในเรื่องราวความเป็ นมาของการเผยแผ่พระ ธรรมคาสอน ทุก ๆ คนจาเป็ นต้ องรู้จกั กับพระ สูตรที่ชื่อว่าธัมมจักกัปปวัตตนสูตรในวินยั ปิ ฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ข้ อที่ ๑๓ ซึง่ เนื ้อหาสาระสาคัญของพระสูตรนี ้ก็คือการ อธิบายเกี่ยวกับหนทางของการพ้ นจากทุกข์ในวัฏฏสงสาร ซึง่ มีการกล่าวถึงสุคติภพ ในช่วงท้ ายของคาสอน ทังสวรรค์ ้ ๖ ชัน้ และพรหมโลกอีกด้ วย การรู้จกั กับภพภูมิต่าง ๆ เพื่อทาความเข้ าใจว่ามันไม่ใช่เรื่องง่ายในการที่จะหลุดพ้ นจากทุกข์ ความทุกข์ที่พระสัมมาพุทธเจ้ าตรัสบอกมันเหมือนกับศรที่ปักอกอยู่ รู้อยู่ว่าถ้ าดึง ออกก็ต้องเจ็บและอาจถึงตายได้ แต่นนั่ ก็เป็ นหนทางเดียวที่จะหายจากโรค ตรัสด้ วย ความสุขอย่างล้ นพ้ นด้ วยความหวังว่าจะต้ องมีใครสักคนที่กล้ าดึงออก ที่เรารู้ ๆ แต่คน ทัว่ ไปส่วนใหญ่ไม่กล้ า แล้ วจึงตายไปตรงนัน้ ทุกข์เพราะการเกิด แก่ เจ็บ ตาย เจอสิ่งที่ ไม่ชอบ พลัดพรากจากของรัก ไม่ได้ ดงั หวัง คือ ทุกข์เพราะการใช้ ชีวิตซึง่ ในชีวิตของเรา มีของที่พ่อและแม่ให้ มาอยู่ ๕ อย่างคือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ๕ อย่างนี ้คือสิ่งที่เราทังหลายยึ ้ ดไว้ ด้วยความอยาก ที่มาที่ไปของความทุกข์นนั ้ พระพุทธเจ้ าตรัสถึงตัณหาที่เป็ นส่วนกากับของชีวิตที่ทกุ คนจะต้ องรู้ว่าที่เราทังหลายยั ้ งมีความทุกข์อยู่ เป็ นเพราะเราทังหลายยั ้ งมีส่วนกากับของ ชีวิต เป็ นทังความเพลิ ้ ดเพลิน ความมัวเมา มีความโง่เป็ นเหตุ ทาให้ เกิดเรื่องราวที่ไม่ได้ ตังใจมากมาย ้ ซึง่ สรุปไว้ ในชื่อ ๓ ชื่อ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา
๒๘
การถึงที่สดุ แห่งกองทุกข์ พระพุทธเจ้ าตรัสถึงความดับทุกข์ว่าเป็ นสิ่งที่ยอดเยี่ยมที่สดุ ในชีวิตที่สิ่งต่าง ๆ ต้ องเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน เราจึงต้ องจับมันเพื่อบังคับทิศทางของการ เปลี่ยนแปลงให้ เป็ นไปในทางที่ดี ที่ถกู ต้ อง จนเชื่อมัน่ ในหนทาง และดาเนินชีวิตไปได้ อย่างสบาย พูดถึงทางสายกลางที่มาในพระสูตรนี ้มี สัมมาทิฏฐิ ความเห็นถูก, สัมมาสังกัปปะ ความคิดถูก, สัมมาวาจา การพูดถูก, สัมมากัมมันตะ การทาถูก, สัมมาอาชีวะ การเลี ้ยงชีพถูก, สัมมาวายามะ การพยายามถูก, สัมมาสติ สติที่ถกู , สัมมาสมาธิ ความมัน่ คงที่ถกู ในพระสูตรนี ้ตรัสไปจนกระทัง่ ได้ คาตอบที่ว่าไม่มีใครเลยหรือที่ร้ ู จนกระทัง่ ความรู้ เกิดขึ ้นในบุคคลคนหนึ่งที่ชื่อว่า โกญฑัญญะ “ย กิญฺจิ สมุทยธมฺม สพฺพ ต นิโรธธมฺม” “สิ่งใดสิ่งหนึง่ มีความเกิดขึ ้นเป็ นธรรมดาสิ่งนันทั ้ งปวงล้ ้ วนมีความดับไปเป็ นธรรมดา” การรู้ รู้แล้ ว การละ ละแล้ ว การทาให้ แจ้ ง ทาให้ แจ้ งแล้ ว การทาตาม ทาตาม แล้ ว มันจะมีความเข้ าใจอยู่ไม่กี่อย่างในชีวิตที่ต้องอาศัยเวลา การค้ นพบนี ้เป็ นสิ่งที่ยิ่งใหญ่มาก เป็ นที่มาของการเกิดพระรัตนตรัยครัง้ แรกในโลก ทาให้ ความดีเป็ นสิ่งที่ยิ่งใหญ่และคนทัว่ ไปควรทาและทาได้ ตราบนานเท่านาน นี ้เป็ นพระธรรมสูตรแรกในพระพุทธศาสนา
๒๙
ห้ วงนา้ ใหญ่ ๔ สาย พระมหาธีรศักดิ์ แม่นํ ้าทังหลายบรรดามี ้ ในโลกนี ้มีอยู่มากมายหลายสาย ใหญ่บ้าง น้ อยบ้ าง แตกต่างกันออกไป มีนํ ้ามากบ้ าง น้ อยบ้ าง มนุษย์ได้ อาศัยสายนํ ้าหล่อเลี ้ยงชีวิต และยัง เป็ นประโยชน์ต่อพืชพันธุ์การเกษตร มีการเพาะปลูกข้ าวกล้ า เป็ นต้ น ถ้ านํ ้าแล้ งพืชผล ต่างๆ ก็จะเหี่ยวแห้ งตายไป และถ้ าแล้ งติดต่อกันหลายๆ ปี สัตว์ทงหลายรวมถึ ั้ งมนุษย์ ด้ วยก็จะอยู่ไม่ได้ เหมือนกัน นํ ้าจึงนับว่ามีประโยชน์มาก แต่ในฤดูฝนถ้ านํ ้ามีมากเกินไป ท่วมทับข้ าวกล้ าพืชผลต่างๆ เสียหาย หรือถ้ ายิ่งกว่านัน้ นํ ้าหลากพัดพาเอาสิ่งต่างๆ ทัง้ ชีวิตให้ เสียหายไปกับสายนํ ้า ที่ปรากฏให้ เห็นก็นบั ว่ามาก แสดงให้ เห็นว่านํ ้า ถ้ ามาก เกินไปก็มีโทษอย่างมากเหมือนกัน โดยการพัดพาเอาสิ่งต่างๆ ให้ เสียหายไป ก็แต่ว่า แม่นํ ้าต่างๆ ที่ว่ามานี ้จงยกไว้ ก่อนเถิด เพราะว่าแม่นํ ้าเหล่านี ้ถึงจะพัดพาทุกสิ่งได้ และที่ หนักสุดก็เสียชีวิตในอัตภาพเดียวเท่านัน้ พระพุทธเจ้ าของเราทังหลายได้ ้ แสดงห้ วงนํ ้า ใหญ่ ๔ สายที่น่ากลัวยิ่งนักซึง่ ได้ แก่ ๑. กาโมฆะ ห้ วงนํ ้าแห่งกาม มีรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสที่ดี ๆ น่าปรารถนา พาให้ สัตว์ที่ประสบเข้ าเพลิดเพลิน ยินดี ติดใจ ไม่สามารถถอนตัวได้ ได้ แต่แหวกว่ายและจมอยู่ ในกระแส ๒. ภโวฆะ ห้ วงนํ ้าแห่งภพ พาสัตว์ให้ จมอยู่ในความยินดีในอัตภาพของตน ตลอดจนเกิดความชอบใจอยากได้ รูปภพ ๓. ทิฏโฐฆะ ห้ วงนํ ้าแห่งความเห็นผิด พาสัตว์ให้ จมอยู่ในความเห็นผิดจากความ เป็ นจริง ๔. อวิชโชฆะ ห้ วงนํ ้าแห่งความหลง พาสัตว์ให้ ล่มุ หลงจมอยู่ในความไม่ร้ ูเหตุผล ตามความเป็ นจริง ห้ วงนํ ้าเหล่านี ้น่ากลัวยิ่งนัก ถ้ าสัตว์ทงหลายถู ั้ กห้ วงนํ ้าเหล่านี ้พัดพาจะต้ องประสบ กับการเวียนว่ายตายเกิดภพแล้ วภพเล่า พระพุทธองค์ตรัสว่า การเกิดบ่อยๆเป็ นทุกข์รํ่าไป และทรงบอกทางออกด้ วยการเจริญวิปัสสนา ๓๐
วันเด็กนีช้ วนกันไปฟั งธรรม พระมหาธีรศักดิ์ ชาวพุทธในสมัยนี ้เริ่มที่จะห่างหายกันไป มันเพราะอะไรทัง้ ๆ ที่คนสมัยก่อนนันมี ้ ความผูกพันกับวัดมาก เด็ก ๆ เริ่มที่จะไม่เข้ าใจคําว่าบุญ คิดไม่ได้ ว่าอะไรดีอะไรชัว่ จริง ๆ ไม่ต้องยกตัวอย่างไกลที่ไหน ตอนอาตมายังเด็กนัน้ เพื่อน ๆ มักจะบอกว่า “ทํา ดีได้ ดีมีที่ไหน ทําชัว่ ได้ ดีมีถมไป” มันเป็ นความโง่อย่างหนึง่ เรื่ องนี ้มันไม่ใช่เรื่องตลก เราว่านรกมันตลกไหมล่ะ คือมันปลูกฝั งในทางที่ผิด ถามว่าเพราะอะไร ถ้ าวิเคราะห์เจาะลึกเราก็จะพบว่า อ้ อตัณหานี่เองที่เป็ นตัวบง การความคิดนี ้อยู่ เรามันไม่ดีจริง เราทําดีเพราะหวังผลตอบแทน ทําไมทําดีจะต้ องได้ ดี ด้ วย พูดออกมาด้ วยความโง่ไง ทําดีมนั ก็ต้องได้ ดีอยู่แล้ ว ทําดีไม่ต้องกลัวใคร ทําดีเป็ น อะไรที่สดุ ยอด ทําแล้ วสบายตัว ต้ องให้ ใครมาชมด้ วยหรือว่า เธอทําดีแล้ ว เธอเก่งมาก จริง ๆ คําชมก็สําคัญแต่ถ้าเราดีจริง... นัน่ ไม่ใช่สาระ นัน่ เป็ นเพียงผลพลอยได้ คนเดี๋ยวนี ้มักสงสัยว่านรกสวรรค์มีจริงหรือเปล่า เรามุ่งหวังเพราะยึดติดกับอดีตและ คิดถึงอนาคตมากเกินไป ลืมไปว่า ตอนนี ้มีความสุข ตอนนี ้สบายใจ ไม่กลัว ถึงอย่างนันถ้ ้ าเข้ าใจความสุขจริง ๆ มันก็ไม่ใช่สาระอีกเพราะสิ่งที่ได้ มาก็เหมือนฝั น เดี๋ยวมันก็ผ่านไป ความสุขในวัยเด็กเป็ นสิ่งที่ลํ ้าค่า ไม่ได้ พดู เพือ่ ให้ รักษา แต่เขียน ข้ อความนี ้เพื่อความไม่ประมาท ถ้ าเข้ าใจมันจะอยู่กบั เราตราบเท่าวันชรา ไม่ต้องฉลอง วันเกิดเพราะเรารู้ว่าอะไรที่สําคัญกับเราจริง ๆ ไม่ต้องเล่นเกมส์ เพราะว่ามีที่พงึ่ ที่แท้ จริง “เพราะเราใส่ใจ” วันเด็กปี นี ้อยากจะชวนกันมาวัดจากแดง มาฟั งธรรมกันมากๆ ทุกวันวัดจากแดงมี ธรรมะให้ กบั ญาติโยมมีธรรมให้ กบั ทุกคนที่มาเข้ าวัด ประโยชน์ย่อมเกิดขึ ้นแก่คนที่เข้ าใจ ความดี...
๓๑
แด่ คุณครู ผ้ ูมีคุณยิ่ง พระมหาธีรศักดิ์ วันที่ ๑๖ มกราคม วันครู ปาเจราจริยา โหนฺติ คุณุตฺตรานุสาสกา ปญฺญาวุฑฺฒิกเร เต เต ทินฺโนวาเท นมามิหํ ครู หมายถึง ผู้อบรมสัง่ สอน ผู้ถ่ายทอดความรู้ ผู้สร้ างสรรค์ภมู ิปัญญา และพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์เพื่อนําไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองของสังคมและประเทศชาติ ครูนบั เป็ นปูชนียบุคคลที่สําคัญอย่างมาก ในการให้ การศึกษาเรียนรู้ ทังในด้ ้ าน วิชาการ และประสบการณ์ ตลอดจนเป็ นผู้มีความเสียสละ ดูแลเอาใจใส่อบรมให้ เด็กได้ พบกับแสงสว่างแห่งปั ญญา อันจะเป็ นหนทางในการประกอบอาชีพเลี ้ยงดูตนเองรวมทัง้ การนําพาสังคมและประเทศชาติก้าวไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง ด้ วยเห็นความสําคัญของครูดงั กล่าวมาแล้ วนัน้ จึงได้ กําหนดให้ มีวนั ครูขึ ้นมา ใน วันที่ ๑๖ มกราคม ของทุกปี เพือ่ แสดงความกตัญญูกตเวที และให้ ครูเป็ นผู้ได้ รับการยก ย่องเชิดชูในสังคม โดยมีการจัดงานวันครูทวั่ ประเทศ คาปฏิญาณ ข้ อ ๑ ข้ าพเจ้ าจะบําเพ็ญประโยชน์ตนให้ สมกับที่ได้ ชื่อว่าครู ข้ อ ๒ ข้ าพเจ้ าจะตังใจฝึ ้ กสอนศิษย์ให้ เป็ นพลเมืองที่ดีของชาติ ข้ อ ๓ ข้ าพเจ้ าจะรักษาชือ่ เสียงของคณะครูและบําเพ็ญตนให้ เป็ นประโยชน์ต่อสังคม กิจกรรมต่ าง ๆ ที่ควรปฏิบตั ิในวันครู ๑. ร่วมกิจกรรมทางศาสนา ทําบุญตักบาตรพระสงฆ์ กรวดนํ ้าอุทิศส่วนกุศลให้ แก่ บรรดาบูรพาจารย์ผ้ ลู ่วงลับไปแล้ ว ๒. ส่งบัตรอวยพร หรือไปเยี่ยมเยียนครูอาจารย์ที่เคยให้ ความรู้อบรมสัง่ สอน เพือ่ เป็ นการรําลึกถึงคุณงามความดี และแสดงความกตัญญูกตเวที ๓. ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่จดั ขึ ้น เช่นนิทรรศการเกี่ยวกับครู การเรียนการสอน ๓๒
คุณสมบัติของครูอาจารย์ ท่ดี ี ๑. ประพฤติตวั ให้ เป็ นที่รัก (ปิ โย) ๒. มีใจหนักแน่นทําตนให้ น่ายําเกรง (ครุ) ๓. อบรมตนเองสมํ่าเสมอ(ภาวนีโย) ๔. ฉลาดสอน ฉลาดพูด (วตฺตา) ๕. อดทนต่อถ้ อยคําล่วงเกิน (วจนกฺขโม) ๖. พูดเรื่องลึกซึ ้งให้ เข้ าใจลึกซึ ้งได้ (คมฺภีรํ กถํ กตฺตา) ๗. ไม่ชกั นําศิษย์ไปในทางเสียหาย (โน จฏฺฐาเน นิโยชเย) หน้ าที่ของครูอาจารย์ พงึ มีต่อศิษย์ ๑. แนะนําดี ๒. ให้ เรียนดี ๓. บอกศิลปะให้ สิ ้นเชิง ไม่ปิดบังอําพราง ๔. ยกย่องให้ ปรากฏในเพื่อนฝูง ๕. ทําความป้องกันในทิศทังหลาย ้ หน้ าที่ของศิษย์ พงึ มีต่อครูอาจารย์ ๑. ให้ การต้ อนรับ ๒. เสนอตัวรับใช้ ๓. เชือ่ ฟั ง ๔. คอยปรนนิบตั ิ ๕. เรียนศิลปะวิทยาโดยเคารพ
๓๓
๓๔
๓๕