+6-3 VOL.5 (OCTOBER)

Page 1

ISSN 27730-2059 ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 ประจำ�เดือนตุลาคม 2563

ลดสื่อราย

ขยายสื่อดี

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์

ชูสื่อนํ้าดี


+ 01 Editor’s Talk

สร้างพื้นที่ให้สื่อดีมีที่ยืน

02 News Update ข่าวสาร กิจกรรม ความคืบหน้าการขับเคลื่อนงาน ของคณะอนุกรรมการฯ

+

03 คุยกับภาคี

+

Stop Bullying หยุดเหยียดไม่เกลียดกัน

04 Interview สร้างนิเวศสื่อสร้างสรรค์ให้สังคม

06 Voice สื่อควรมีเนื้อหา 1. ส่งเสริมให้เกิดระบบวิธีคิดมีสติปัญญา 2. ส่งเสริมความรู้ในเรื่องวิชาการ และศาสตร์สาขาต่าง ๆ 3. ส่งเสริมการพัฒนาด้านคุณธรรม และจริยธรรม 4. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะชีวิต 5. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ยอมรับ เข้าใจ และชื่นชม ความหลากหลายในสังคม 6. ส่งเสริมการพัฒนาความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล สื่อที่ต้องไม่มีเนื้อหา 1. พฤติกรรมและความรุนแรง 2. เรื่องทางเพศ 3. การใช้ภาษาที่หยาบคายและไม่เหมาะสม ตามข้ อ กำ � หนดแนวทางการจั ด ระดั บ ความเหมาะสมของรายการ โทรทัศน์ ประกาศสำ�นักคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ที่สามารถนำ�มาประยุกต์ ใช้ได้กับทุกสื่อ

สื่อน�้ำดี ทุกคนมีส่วนร่วม

Special Report 07 สร้างระบบนิเวศสื่อที่ดี ด้วยสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์

08 Cover Story เฝ้าระวัง มีสว่ นร่วม สร้างนวัตกรรม พลังสร้างสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์

Infographic 12 สื่อดีต้องมีคนเห็น


สร้างพื้นที่ให้สื่อดีมีที่ยืน สถานการณ์สอื่ ทีเ่ ปลีย่ นไปจากในอดีต ท�ำให้คนทุกคนเป็นทัง้ ได้ผรู้ บั สือ่ และกลายเป็น สือ่ เสียเอง ขณะเดียวกันแพลตฟอร์มของสือ่ สังคมออนไลน์กม็ ใี ห้เลือกใช้อย่างหลากหลาย มากขึน้ สือ่ จึงเป็นทัง้ ช่องทางการหาความรู้ ความบันเทิง การสร้างเครือข่าย แต่หลายคนก็ ใช้สื่อไปในทางไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ ขณะที่ผู้รับสื่อโดยเฉพาะเด็กและเยาวชน จ�ำนวนมากก็ยงั ขาดการรูเ้ ท่าทันสือ่ การเชิดชูสอื่ น�ำ้ ดีทผี่ ลิตสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ จึงไม่เพียงเป็นการให้กำ� ลังใจแก่ ผู้ผลิตสื่อ แต่ยังช่วยสร้างบรรทัดฐานให้สังคมรู้ว่าสื่อดีเป็นอย่างไร และสื่อดียังมีที่ยืน ทุกคนในสังคมสามารถช่วยกันมอบพืน้ ทีใ่ ห้สอื่ น�ำ้ ดี ด้วยการช่วยกันสนับสนุนส่งต่อ สือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ให้ขยายตัวเพิม่ มากขึน้ สือ่ ไหนทีไ่ ม่ปลอดภัย ไม่สร้างสรรค์ น�ำเสนอ เรือ่ งเพศ ภาษา ความรุนแรง ไม่เหมาะสม ก็เลิกติดตาม และไม่สง่ ต่อ จึงขอเชิญชวนประชาชน ทุกภาคส่วน ร่วมกันแสดงพลังค้นหาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ เสนอผ่านมหาวิทยาลัย 24 แห่ง ทัว่ ประเทศทีเ่ ป็นภาคีเครือข่ายในการคัดเลือกสือ่ น�ำ้ ดีเพือ่ รับรางวัล เชิดชูเกียรติ ใน “โครงการเวทีเชิดชูเกียรติสอื่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์” เมื่อสื่อดีขยายตัวมากขึ้นก็จะไล่สื่อร้ายให้ลดน้อยลง ในที่สุดก็จะเกิดนิเวศสื่อที่ดีขึ้น ในสังคมไทย

คณะผู้จัดทำ�จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ +6-3 บรรณาธิการบริหาร นางสาวลัดดา ตัง้ สุภาชัย ประธานคณะอนุกรรมการเกีย่ วกับการเฝ้าระวังสือ่ ทีไ่ ม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ ทีป่ รึกษากองบรรณาธิการ นายธนกร ศรีสขุ ใส ผูจ้ ดั การกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์, รศ. นพ.ชาญวิทย์ พรนภดล ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านจิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุน่ ผู้ช่วยบรรณาธิการ นางวรินร�ำไพ ปุณย์ธนารีย์ รองผู้จัดการกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์, นางสุวารี เตียงพิทกั ษ์ รองผูจ้ ดั การกองทุน พัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ กองบรรณาธิการ นายวีระพงษ์ กังวานนวกุล, นางสาวคีตฌาณ์ ลอยเลิศ, นางสาวรติรตั น์ นิมติ รบรรณสาร บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ นายวีรพล เจียมวิสทุ ธิ์ ถ่ายภาพ นายเรืองศักดิ์ บุณยยาตรา, นายณรงค์ฤทธิ์ โก๋กลิน่ , ประสานงาน นางสาวมนัญญา พาลมูล, นางสาวปองรัก เกษมสันต์, นายกันตภณ ตัง้ อุทยั เรือง, นายเชาวน์เมือง เวชกามา, นายธ�ำรงค์ จิตตะปะสาทะ, นางสาวศุทธภา เพชรสุทธิ์ ส�ำนักงาน กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เลขที่ 388 อาคารเอส.พี. (ไอบีเอ็ม) อาคารบี ชั้น 6 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทร. 0 2273 0116-8 โทรสาร 0 2273 0119 อีเมล : contact@thaimediafund.or.th website : www.thaimediafund.or.th


NEWS UPDATE

02.09.63 กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ โดยคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและ ไม่สร้างสรรค์ จัดแถลงข่าวโครงการเวทีรางวัลเชิดชูเกียรติสอื่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ พร้อมทัง้ ลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU) กับมหาวิทยาลัย 24 แห่งจากทุกภูมภิ าคทัว่ ประเทศ ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายคัดเลือกสือ่ ปลอดภัยและ สร้างสรรค์ เพือ่ มอบรางวัลเชิดชูเกียรติ 10 ประเภทสือ่ รวม 37 สาขารางวัล ณ โรงแรมบันยันทรี ถนนสาทรใต้ กรุงเทพมหานคร

21.08.63

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 02

กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์จัดงาน Grants for Change แถลงข่าวเปิดรับข้อเสนอโครงการ เพือ่ ขอรับการสนับสนุนทุน ประจ�ำปี 2563 วงเงิน ไม่เกิน 300 ล้านบาท พร้อมกัน 5 ภูมภิ าค ส่วนกลาง กรุงเทพฯ ส่วนภูมภิ าค เชียงใหม่ ขอนแก่น ชลบุรี และสงขลา โดยการจัดงาน ในครัง้ นีไ้ ด้รับความสนใจจากประชาชน มี ผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมงานเต็มจ�ำนวน ทุกภูมภิ าค

นายธนกร ศรีสขุ ใส ผูจ้ ดั การกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ได้ชแี้ จงสรุปภาพรวม การเปิดรับข้อเสนอโครงการหรือกิจกรรม เพื่อขอรับการสนับสนุนเงินจากกองทุนพัฒนาสื่อ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ประจ�ำปี 2563 วงเงินไม่เกิน 180 ล้านบาท ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม - 3 กันยายน 2563 ในปีนมี้ ผี สู้ นใจเสนอยืน่ โครงการรวม 1,460 โครงการ มูลค่ารวมกว่า 5,700 ล้านบาท แบ่งเป็น - การให้ทนุ ประเภทเปิดรับทัว่ ไป (Open Grant) วงเงินไม่เกิน 90 ล้านบาท มีผส้ ู นใจยืน่ โครงการ เข้ามา 619 โครงการ มูลค่ารวมกว่า 2,006 ล้านบาท - การให้ทนุ ประเภทเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Grant) วงเงินไม่เกิน 180 ล้านบาท มีผสู้ นใจ ยืน่ โครงการเข้ามา 824 โครงการ มูลค่ารวมกว่า 3,650 ล้านบาท - การให้ทนุ ประเภทความร่วมมือ (Collaborative Grant) วงเงินไม่เกิน 30 ล้านบาท มีผสู้ นใจ ยืน่ โครงการเข้ามา 17 โครงการ มูลค่ารวมกว่า 103 ล้านบาท ส�ำหรับผูท้ พ่ี ลาดหวังไม่ได้รบั การพิจารณาทุนในปี 2563 นี้ ทางส�ำนักงานจะเปิดพิจารณา ขอทุนในปีถดั ไป ภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2564


Stop Bullying

คุยกับภาคี

หยุดเหยียดไม่เกลียดกัน

การกลัน่ แกล้งกันในโลกออนไลน์กลายเป็นปัญหาสังคมทีส่ ร้างผลกระทบทางลบทีไ่ ม่อาจ มองข้าม โครงการ “Stop Bullying หยุดเหยียดไม่เกลียดกัน” เป็นหนึง่ ในโครงการทีไ่ ด้รบั การ สนับสนุนจากกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ เพือ่ สร้างภูมคิ มุ้ กันและแก้ไขปัญหา การกลั่นแกล้งในโลกออนไลน์ ไปพูดคุยกับ นางสาวอรพิน เหตระกูล หัวหน้าโครงการฯ เพื่อท�ำความรูจ้ กั กับโครงการนีก้ นั

นางสาวอรพิน เหตระกูล ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายสือ่ ออนไลน์ สถานีโทรทัศน์ NEW 18 หัวหน้าโครงการ Stop Bullying หยุดเหยียดไม่เกลียดกัน

e-learning ในรูปแบบของ online quiz และ คลิปสัน้ ๆ ให้เกร็ดความรู้ และวิธกี ารรับมือ ส�ำหรับคุณครู เพื่อเตรียมพร้อมในการให้ ค�ำปรึกษาแก่น้อง ๆ”

“รูปแบบโครงการประกอบด้วยกิจกรรม 3 ส่วน ส่วนแรก กิจกรรม On ground ลงพื้นที่ตามโรงเรียน 15 แห่งทั่วประเทศ ในรูปแบบของการเสวนาให้ความรูเ้ กีย่ วกับ

การ Cyberbully ค�ำแนะน�ำ วิธกี ารรับมือ ให้กำ� ลังใจ โดยทีมวิทยากรจากกรมสุขภาพจิต พร้ อ มแขกรั บ เชิ ญ คนดั ง ที่ เ คยผ่ า น ประสบการณ์การถูก Cyberbully เช่น นนท์ เดอะวอยซ์ แกรนด์ เดอะสตาร์ ที่จะ มาร่วมพูดคุย เผอิญในช่วงที่ผ่านมาเกิด สถานการณ์โรคโควิด-19 ท�ำให้กิจกรรม ในส่วนนี้ต้องเลื่อนออกไป จะเริ่มอีกครั้ง ในเดือนตุลาคมและสิน้ สุดในเดือนธันวาคม ที่จะถึงนี้ กิจกรรมต่อมาคือ On Air เป็นการ ผลิตรายการโทรทัศน์ ‘Stop Bullying – หยุดเหยียดไม่เกลียดกัน’ ออกอากาศทาง ช่อง NEW 18 เป็นการให้ความรู้และค�ำ แนะน�ำในการแก้ไขปัญหาการกลัน่ แกล้งใน โลกออนไลน์ทง้ั ในมุมมองด้านจิตวิทยาและ ด้านกฎหมาย โดยวิทยากรประจ�ำรายการ ได้แก่ นายแพทย์อภิชาติ จริยาวิลาศ จิตแพทย์ และโฆษกสุขภาพจิต และทนายเกิดผล แก้วเกิด รายการมีทงั้ หมด 30 ตอน ด้วยกัน ด�ำเนินรายการโดยคุณชนัตพล ลังสิทธิเสถียร หรือ แจ็ค ไรเดอร์ ขณะเดียวกันยังมีส่วน ของสื่อออนไลน์ ทั้ง Facebook Fanpage, YouTube, เว็บไซต์, IG, Twitter รวมทัง้

“ในฐานะคนท�ำงานก็อยากให้โครงการนี้ ส�ำเร็จลุลว่ ง ตลอดจนได้รบั ความร่วมมือจาก ผูท้ เี่ กีย่ วข้องทุกฝ่าย ที่ส�ำคัญ อยากเห็นการเปลี่ยนแปลง อย่างน้อย ๆ ในพื้นที่โรงเรียนที่เราไปท�ำ กิจกรรม เห็นน้อง ๆ มีทัศนคติในเรื่อง Cyberbullying ที่เปลี่ยนไป ตระหนักถึง ความส�ำคัญของเรือ่ งนี้ และลดการกลัน่ แกล้ง กันทางโลกออนไลน์ให้น้อยลง”

ติดตามชมรายการ

Stop Bullying – หยุดเหยียดไม่เกลียดกัน ทุกวันเสาร์ เวลา 10.00-10.30 น. ทางช่อง NEW 18 Facebook: Stop Bullying - หยุดเหยียดไม่เกลียดกัน Website: stopbully.club YouTube: หยุดเหยียดไม่เกลียดกัน

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 03

“จากประสบการณ์การท�ำงานด้าน สือ่ สารมวลชนของบริษทั ดีเอ็น บรอดคาสท์ จ�ำกัด สถานีโทรทัศน์ NEW 18 เราได้พบเห็น ปัญหาการกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์หรือ Cyberbully เป็นจ�ำนวนมาก ประกอบกับข้อมูล จากงานวิจยั พบว่าในประเทศไทย เด็กนักเรียน ในโรงเรียนจ�ำนวน 30% เคยถูกกลัน่ แกล้ง ทางโลกออนไลน์ และจ�ำนวน 20% เคยรังแก คนอืน่ ทางไซเบอร์ ซึง่ แนวโน้มของปัญหานี้ รุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ เราจึงคิดโครงการ ‘Stop Bullying หยุดเหยียดไม่เกลียดกัน’ ขึน้ เพือ่ มุง่ หวังให้เป็นกลไกทีส่ ามารถแก้ไขปัญหา การกลั่นแกล้งในโลกออนไลน์และการใช้ ประทุษวาจาในสือ่ ออนไลน์ โดยได้รบั การ สนับสนุนจากกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัย และสร้างสรรค์ เน้นกลุม่ เป้าหมายนักเรียน ชั้ น มั ธ ยมปลาย ซึ่ ง เป็ น กลุ ่ ม ที่ มี ก ารใช้ อินเทอร์เน็ตมากทีส่ ดุ และเป็นกลุม่ ทีเ่ สีย่ งต่อ การถูกกลัน่ แกล้งในโลกออนไลน์มาก”


INTERVIEW

สร้างนิเวศ สือ่ สร้างสรรค์ ให้สังคม นายอิทธิพล คุณปลืม้

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 04

สือ่ มีอทิ ธิพลต่อคนในสังคมและวิถชี วี ติ มากขึน้ การส่งเสริมให้ประชาชน รู้เท่าทัน และมีวิจารณญาณในการบริโภคสื่อ ส่งเสริมให้เกิดสื่อที่ดี จึงมี ความส�ำคัญยิง่ นายอิทธิพล คุณปลืม้ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวัฒนธรรม และรองประธานกรรมการกองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ กล่าว ในการเป็นประธานพิธเี ปิดโครงการเวทีรางวัลเชิดชูเกียรติสอื่ ปลอดภัยและ สร้างสรรค์ และลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU) กับมหาวิทยาลัย 24 แห่ง จากทุกภูมภิ าคทัว่ ประเทศ ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายคัดเลือกสือ่ ปลอดภัยและ สร้างสรรค์ เพือ่ มอบรางวัลเชิดชูเกียรติ 10 ประเภทสือ่ รวม 37 สาขารางวัล เมือ่ เร็ว ๆ นี้ ถึงแนวคิดในการพัฒนาสือ่ ปลอดภัย และสร้างสรรค์ เพื่อรวมพลังขับเคลื่อน ให้เกิดนิเวศสือ่ ทีด่ ี ขับเคลือ่ นประเทศ ก้าวสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ สร้างสรรค์


ปักธงสร้างนิเวศสื่อดี ให้สังคม

“โครงการเวทีรางวัลเชิดชูเกียรติสอื่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ เป็นกลไกส่วนหนึง่ ในการรณรงค์สง่ เสริมและสนับสนุนการพัฒนา สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการสร้างก�ำลังใจ กระตุน้ ให้ผปู้ ระกอบวิชาชีพสือ่ ผูผ้ ลิตสือ่ มีความภาคภูมใิ จ และ มีแนวโน้มในการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เพราะเรา ต้องการท�ำให้สงั คมได้เห็นว่าสือ่ ไหนเป็นสือ่ ทีด่ ี สือ่ ไหนสร้างสรรค์ สามารถน�ำมาเป็นแบบอย่างได้ ซึ่งการคัดเลือกและเชิดชูสื่อ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ เป็นรางวัลทีย่ งั ไม่เคยเกิดขึน้ มาก่อนใน สังคมสื่อ รางวัลนี้จะเป็นแนวทางให้กับคนท�ำสื่อในการผลิตสื่อ ที่ปลอดภัยและสร้างสรรค์ รวมถึงช่วยให้สังคมมีวิจารณญาณ ในการรับสื่อด้วย เราอาจจะสร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้น ในสังคมสื่อไม่ได้ในทันที แต่อย่างน้อยก็อยากให้สังคมได้รู้ว่า สือ่ ดีเป็นอย่างไร และหากท�ำสือ่ ดีกย็ งั มีคนเห็น เป็นการให้กำ� ลังใจ เพือ่ ให้ผลิตสือ่ ดีตอ่ ไปเรือ่ ย ๆ สร้างสือ่ ดีให้มมี ากขึน้ เพือ่ ไปละลาย สือ่ ทีไ่ ม่ดใี ห้นอ้ ยลง เพราะจรรยาบรรณวิชาชีพอาจจะควบคุมได้เฉพาะ สือ่ ทีม่ กี ารจดทะเบียนตามกฎหมาย การสร้างแบบอย่างทางสังคม จึงเป็นสิง่ ส�ำคัญ รางวัลนีอ้ าจจะเปลีย่ นแปลงสังคมได้ไม่มากก็นอ้ ย แต่ต้องเริ่มตั้งแต่วันนี้เพื่อให้เกิดประโยช์ต่อบ้านเมืองเรา”

มุมมองต่อ “สื่อดี”

“สื่อดีในมุมมองของผมต้องน�ำเสนอข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง มุง่ สร้างประโยชน์ตอ่ สังคม ไม่ใช่สร้างความขัดแย้ง ผมอยากเห็น การเปลี่ยนแปลงในสังคมในแง่ของความร่วมมือกันผลิตสื่อที่ดี เพือ่ สร้างนิเวศสือ่ ทีด่ ี เพราะสือ่ มีทงั้ ขาวและด�ำ เรามาน�ำเสนอใน ด้านสว่างกันดีกว่า การจุดประกายความคิด การปฏิบตั ิ สร้างสรรค์ ความดีในสังคมน่าจะเกิดมากขึ้น”

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 05

“ภาครั ฐ ได้ เ น้ น เรื่ อ งการสร้ า งระบบนิ เ วศสื่ อ อยากให้สื่อดีไปถึงมือผู้บริโภค คนทุกรุ่นได้มีโอกาส คิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ แบ่งปันองค์ความรู้ รวมถึงสร้างรายได้ และสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศไทยของเรา เราเห็นสื่อดีที่ผลิต จากต่างประเทศมากมาย ทีส่ ามารถสร้างแรงบันดาลใจ และส่งผล กระทบให้กับสังคม กองทุนพัฒนาสื่อฯ นอกจากสนับสนุนทุน เพือ่ ผลิตสือ่ ทีด่ แี ล้ว ยังอยากให้พฒ ั นาไปถึงโครงการทีเ่ ป็นการเขียน แพลตฟอร์มใหม่ ๆ ด้วย ขณะเดียวกันเรื่องสถานการณ์สื่อเดิม จรรยาบรรณสื่อเป็นเรื่องการประกอบวิชาชีพ แต่ปัจจุบันทุกคน เป็นได้ทั้งผู้รับสื่อหรือเป็นสื่อเอง จึงต้องปรับเรื่องจรรยาบรรณ ให้เข้าไปถึงประชาชนทุกคน จากเพียงแค่เป็นสือ่ สมัครเล่น หรือสือ่ ทีเ่ กิดเพราะประสบเหตุการณ์เฉพาะหน้า แล้วยกมือถือ ขึ้นมาถ่าย ก็ต้องร่วมกันตระหนักมากขึน้ เพราะ สถานีขา่ วก็มกั น�ำเอาเนือ้ หาลักษณะนีม้ าน�ำเสนอ ดังนัน้ รูปแบบวิชาการเรียนการสอนหรือการสร้างสือ่ ในคณะวารสารศาสตร์และนิเทศศาสตร์ จะไม่เหมือน ในอดีต จึงเป็นนิมติ หมายทีด่ ที มี่ หาวิทยาลัยทัง้ 24 แห่ง เข้ามาเป็นเครือข่ายทีจ่ ะสร้างประโยชน์รว่ มกัน ทัง้ ในเชิง วิชาการและรูปแบบการปฏิบตั กิ าร (Workshop) เมือ่ เรา ต้องการสร้างระบบนิเวศสือ่ ทีด่ ี เพือ่ สร้างสังคมทีด่ ี ให้เกิดขึน้ ก็ตอ้ งมีการประเมิน เฝ้าระวัง และ เชิ ด ชู สื่ อ ที่ ป ลอดภั ย และสร้ า งสรรค์ เพื่อให้เ ป็นแบบอย่างในการผลิตสื่อ ซึง่ จะท�ำให้เกิดความยัง่ ยืนในการพัฒนาสือ่ ต่อไปในอนาคต”

ชูสอื่ น�ำ้ ดี ลดสือ่ ร้าย ขยายสือ่ ดี


VOICE

สื่อน�้ำดี

ทุกคนมีส่วนร่วม สายสวรรค์ ขยันยิ่ง

ผู้ประกาศข่าวและพิธีกรรายการโทรทัศน์ “ปัจจุบนั มีสอื่ ทีม่ เี นือ้ หาไม่สร้างสรรค์เกิดขึน้ จ�ำนวนมากเพราะทุกคนสามารถเป็นสือ่ ได้เพียงแค่มีมือถือ การตระหนักรูเ้ รือ่ งสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ยงั มีอยูน่ อ้ ย เราจึงต้องช่วยกันสอดส่องเป็นหูเป็นตา สนับสนุน และผลักดันให้เกิดสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ให้มากขึน้ และช่วยกันขจัดสือ่ ทีไ่ ม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ ให้ลดน้อยลง ส�ำหรับสื่อที่มีศักยภาพในการผลิตสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ก็อยากให้ยึดอุดมการณ์ดังกล่าวไว้เพราะ นอกจากเป็นความภาคภูมิใจของคนท�ำสื่อแล้ว ยังช่วยสร้างสรรค์สังคมทางหนึ่งด้วย แต่ขณะเดียวกันการท�ำ สื่อลักษณะนี้ก็อาจต้องมีทุนสนับสนุน ซึ่งปัจจุบันกองทุนพัฒนาสื่อฯ เปิดโอกาสให้ผู้ผลิตสื่อขอรับทุนสนับสนุนได้ เป็นโอกาสที่ดีส�ำหรับคนท�ำสื่อที่ไม่ควรมองข้าม อีกทั้งยังเป็นการสร้างเครือข่ายท�ำงานร่วมกับภาครัฐด้วย ส�ำหรับสือ่ ทุกคนต้องมองให้เห็นประโยชน์ของการสร้างสรรค์สงั คมร่วมกัน เพราะสือ่ ไม่สร้างสรรค์กเ็ หมือนเชือ้ โรค ทีฝ่ งั ตัวเข้าร่างกายไปแล้ว ทุกคนก็ปว่ ย คนในสังคมก็ปว่ ย คนในครอบครัวก็ปว่ ย เราเป็นหนึง่ ในสือ่ เล็ก ๆ แต่เราสร้าง เชื้อโรคและแพร่โรคไปโดยไม่รู้ตัว แต่หารู้ไม่ว่าเชื้อโรคนั้นอาจจะวนกลับมาท�ำให้ตัวเอง ครอบครัว และสังคมเล็ก ๆ ของตัวเองก็ป่วยด้วยเหมือนกัน แต่หากเราช่วยกันสร้างสังคมสะอาด บ้านเราก็สะอาด คนในบ้านเราก็ปลอดภัย” จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 06

อาชวิชญ์ กฤษณสุวรรณ

หัวหน้าภาควิชาบรอดแคสต์ติ้งและวารสารศาสตร์ดิจิทัล “สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ถือเป็นต้นน�้ำของภาพสะท้อนมุมมองการ ท�ำสื่อที่ดี ที่สามารถสร้างสรรค์งานออกมาได้อย่างมีคุณค่า สามารถเลือกสรร เนื้อหาในการสื่อสารได้โดยหลีกเลี่ยงสิ่งที่อาจเกิดผลกระทบต่อเยาวชน สังคมได้ ปัจจุบันสื่อแต่ละประเภทมีตัวแปรในเรื่องของพื้นที่และเวลาการท�ำงานจึงถูกกรอบไว้แต่แรก ดังนั้นบทบาท การท�ำหน้าทีข่ องสือ่ ทีด่ มี กั ถูกลดทอนลงในยุคดิจทิ ลั เพราะท้ายทีส่ ดุ แล้ว นำ�้ พึง่ เรือเสือพึง่ ป่า สือ่ ยังต้องอาศัยแรงสนับสนุน จากผู้อุปถัมภ์ ผู้บริโภค อะไรที่สามารถน�ำเสนอแล้วเป็นประเด็น สื่อก็เลือกที่จะก�ำหนดวาระของข้อมูลข่าวสารนั้น อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นกระแสพูดคุย แลกเปลี่ยนในทั้งในโลกของความเป็นจริงและในโลกออนไลน์ บ่อยครั้งที่เนื้อหา ของสื่อถูกลดทอนลงจนเกิดการสื่อสารที่ผิดพลาด และเกิดผลกระทบต่อสังคม บทบาทภาคประชาสังคมที่ส�ำคัญ คือ เราต้องถือว่าเป็นผู้มีอ�ำนาจในการต่อรองกับสื่อ เพราะสามารถเลือก เปิดรับสื่อใด หรือเปิดรับช่วงไหนของข้อมูลข่าวสารนั้น ๆ ก็ได้ อีกทั้งจะต้องมีส่วนช่วยในการเฝ้าระวังสื่อที่น�ำเสนอ ข้อมูลข่าวสารที่อาจท�ำให้เกิดผลกระทบในหลาย ๆ ด้าน ด้วยการรายงานกับองค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่าง จริงจัง และหน่วยงานหรือองค์กรนัน้ ๆ ก็ตอ้ งจริงใจทีจ่ ะเร่งด�ำเนินการตรวจสอบเพือ่ ไม่ให้เป็นต้นแบบทีไ่ ม่ดี และควร ส่งเสริมสนับสนุนสื่อที่ดี มีคุณค่า เพื่อเป็นต้นแบบของความส�ำเร็จ”


SPECIAL REPORT

สร้างระบบนิเวศสื่อที่ดี ด้วยสื่อปลอดภัย และสร้างสรรค์

Media ดร.อุไร ไชยเสน

ภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

การจะให้เกิด “ระบนิเวศสื่อที่ดี” คงต้องมี กระบวนการและกลไกทีเ่ อือ้ เช่น กระบวนการและ กลไกการใช้ความเป็นคู่ตรงข้าม “การให้รางวัล” และ “การลงโทษ” ซึ่งกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัย และสร้างสรรค์ เป็นผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญในปัจจุบัน ในการสร้างนิเวศสือ่ ทีด่ ี มอบรางวัลให้ผผู้ ลิตสือ่ ดีเด่น ที่มีความปลอดภัยและสร้างสรรรค์ และแน่นอน คูต่ รงข้ามคือ “การลงโทษ” ทัง้ ในเชิงโครงสร้างและ ลงโทษโดยสังคม การลงโทษที่ท�ำให้เกิดผล คือ

จะท�ำอย่างไรให้เกิดการเพิกเฉยโดยผู้ใช้สื่อไม่เปิดรับสื่อร้าย สื่อเป็นพิษ สื่อไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ กระบวนการและกลไกการให้ความรู้ เพราะหน้าที่ของ ระบบนิเวศหน้าทีห่ นึง่ ก็คอื การถ่ายทอด เช่น ความรูเ้ กีย่ วกับ การรู้เท่าทันสื่อ จริยธรรมสื่อ การก�ำกับดูแล กระบวนการและกลไกการสนับสนุนและส่งเสริม ทั้งใน ภาคส่วนของผู้สร้างสื่อ ผู้ใช้สื่อ และเครือข่ายภาคีที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและเฝ้าระวังสื่อ ค�ำถามคือ แล้วประชาชนคนธรรมดาในฐานะผู้ เสพสือ่ และผูส้ ร้างสือ่ ได้ในขณะเดียวกัน จะช่วยสร้าง ระบบนิเวศสือ่ ทีด่ ไี ด้อย่างไร ค�ำตอบทีส่ ามารถเป็นได้ คือ เลือกเสพ และ รู้จักปฏิเสธสื่อที่ ไม่ปลอดภัยและ ไม่ ส ร้ า งสรรค์ สร้างสื่อที่ไม่เป็นพิษ หรือเป็นขยะในระบบนิเวศสือ่ และ เป็นเครือข่าย เป็นหูเป็นตา บอกต่อ สือ่ ดีให้แพร่หลาย สกัดสือ่ ร้ายให้ยอ่ ยสลายไป ซึง่ ก็คอื การหมุนเวียน ซึง่ เป็นหน้าทีห่ นึง่ ของระบบ นัน่ หมายความว่า เมือ่ เราเป็นส่วนหนึง่ ของระบบ เราทุกคนสามารถร่วมมือกันท�ำให้ระบบเกิด สมดุลได้ ขอแค่ให้ตระหนักไว้วา่ ระบบทีส่ มดุล คือ ระบบนิเวศสือ่ ทีด่ ี ปลอดภัยและสร้างสรรค์

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 07

ระบบนิเวศสื่อ (Media Ecosystem) เป็นหน่วยที่ส�ำคัญ ในความสัมพันธ์ระหว่างผูใ้ ช้สอื่ ผูส้ ร้างสือ่ เทคโนโลยี และปัจจัยแวดล้อม นิเวศสื่อในปัจจุบันได้รับผลจาก Technology Disruption ค่อนข้างมาก และจากการที่ภูมิทัศน์สื่อ (Media Landscape) เปลีย่ นไป ลักษณะทางกายภาพของพืน้ ที่ เส้นเวลา ผูส้ ง่ สาร ผูร้ บั สาร ช่ อ งทางสื่ อ ลั ก ษณะเนื้ อ หาสื่ อ และที่ ส� ำ คั ญ ผู ้ มี อ� ำ นาจหลั ก ในสนามการสือ่ สารเปลีย่ นไป หากจะมองนิเวศสือ่ ในปัจจุบนั โดย เนื้อหา (Content) เป็นตัวน�ำ เราจะเห็นภาพของสื่อที่ถูกมองว่า มีการเกิดสือ่ ทีเ่ ป็นมลพิษต่อสังคมจ�ำนวนมาก เช่น สือ่ ทีเ่ อาเปรียบ ผูบ้ ริโภค โฆษณาเกินจริง ข่าวทีไ่ ม่เป็นจริง มีสอื่ สร้างสรรค์นอ้ ย เนื้อหาไม่มีคุณภาพ เป็นเพียงแตะผิว ๆ ขาดการสืบสวน สอบสวนเชิงลึก และมีสื่อแยกย่อย เกิดการแบ่งชนชั้น ในการเสพสื่อ สื่อมีการคัดเลือกว่าสื่อแบบไหนจะให้ กลุม่ ไหนเสพ แน่นอนว่า นิเวศสือ่ ลักษณะนีด้ เู หมือน จะเป็นอุปสรรคต่อความเป็น “ระบนิเวศสื่อที่ดี”


COVER STORY

เฝ้าระวัง มีสว่ นร่วม สร้างนวัตกรรม พลังสร้างสื่อปลอดภัย และสร้างสรรค์ จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 08

การเกิ ด ขึ้ น ของเครื อ ข่ า ยสั ง คมออนไลน์ (Social Media) ท�ำให้การใช้สื่อของคนในสังคม เปลีย่ นแปลงไปจากเดิม ทุกคนต่างเป็นได้ทงั้ ผูร้ บั สือ่ และเป็นสื่อได้ด้วยตนเอง เป็นเหตุให้ข้อมูลข่าวสาร ต่าง ๆ ไหลบ่าเข้าสู่เครือข่ายสังคมออนไลน์อย่าง ห้ามไม่อยู่ ทัง้ ข้อมูลทีไ่ ม่ถกู ต้อง ล่อแหลม หมิ่นเหม่ ขณะเดียวกันเด็กและเยาวชนต่างก็ใช้เวลาอยู่กับ หน้าจอคอมพิวเตอร์มากขึน้ นัน่ ท�ำให้ “สือ่ ปลอดภัย และสร้างสรรค์” เป็นเรือ่ งส�ำคัญทีท่ กุ ภาคส่วนเร่งสร้าง ความตระหนักและให้ความส�ำคัญมากยิ่งขึ้น

คณะอนุ ก รรมการ 3 ชุ ด ของกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและ สร้ า งสรรค์ ประกอบด้ ว ย คณะ อนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง สื่ อ ไม่ ป ลอดภั ย และไม่ ส ร้ า งสรรค์ อนุ ก รรมการเกี่ ย วกั บ การส่ ง เสริ ม การมี ส ่ ว นร่ ว มของประชาชน และ อนุ ก รรมการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น

การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา สือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ คือหนึง่ ใน กลไกการท�ำงานทีส่ ำ� คัญทีจ่ ะช่วยส่งเสริม และพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ ให้เกิดขึ้นได้ มาดูกันว่า สื่อปลอดภัย และสร้างสรรค์คืออะไร และทุกคน จะสามารถมาร่วมสร้างสื่อปลอดภัย และสร้างสรรค์ได้อย่างไร


นางสาวลัดดา ตัง้ สุภาชัย ประธานอนุกรรมการ เกีย่ วกับการเฝ้าระวังสือ่ ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ “สือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ทเี่ ราพูดถึงนัน้ กลุม่ เป้าหมายส�ำคัญของ เราอยู่ที่เด็กและเยาวชน สื่อปลอดภัย จึงต้องไม่มีเรื่อง เพศ ภาษา และ ความรุนแรงทีไ่ ม่เหมาะสม ส่วนสือ่ สร้างสรรค์ คือ สือ่ ทีต่ อ้ งมีนวัตกรรมเชิง ความรู้ การสื่อสารเชิงบวก สร้างเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมกับช่วงวัย ของเด็กและเยาวชน และรับผิดชอบต่อสังคม

ในอดีตเรามีปัญหาว่า เราอยากให้ผลิตสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ แต่เราไม่มีทุนสนับสนุน ปัจจุบันเรามีกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์ ทีม่ งี บประมาณสนับสนุนให้ทกุ คนมาร่วมสร้างสือ่ ปลอดภัยและ สร้างสรรค์ และเราฝันว่าสื่อในประเทศไทยจะไปขายในต่างประเทศได้ ให้เด็กต่างประเทศได้เรียนรู้วัฒนธรรมไทย ได้เรียนรู้ในสิ่งที่ดี ดังนั้น สถาบันการศึกษา หน่วยงาน หรือองค์กรเครือข่ายสามารถเข้ามาขอทุน เพื่อท�ำสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้นในสังคมได้ ส่วนการจะท�ำให้สอื่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ยงั่ ยืน ก็ตอ้ งเริม่ ทีต่ วั คน คือ ทั้งผู้ผลิตที่ต้องตระหนักรู้ว่าสิ่งไหนเป็นโทษและสิ่งไหนเป็นประโยชน์ ต่อสังคม ขณะทีผ่ บู้ ริโภคก็ตอ้ งรูเ้ ท่าทันสือ่ เพือ่ ใช้สอื่ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ทัง้ สองส่วนต่างต้องรับผิดชอบร่วมกัน และสิง่ ทีต่ อ้ งท�ำต่อเนือ่ งคือ ยกย่อง เชิดชูเกียรติสื่อน�้ำดีที่ผลิตสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เพื่อให้ก�ำลังใจและ สร้างบรรทัดฐานให้สังคม ส่วนคนที่ท�ำสื่อไม่ดี เราก็ให้สังคมคว�่ำบาตรไป ท้ายที่สุดสื่อน�้ำดีจะเพิ่มและไปขับไล่น�้ำเสียออกไปเพื่อสร้างระบบนิเวศ สื่อที่ดี หากเราผนึกก�ำลังกัน ไม่นานสิ่งที่ไม่เหมาะสมก็จะหมดไป”

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 09

นอกจากนี้เรายังมองไปถึงสื่อส�ำหรับผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส หรือสื่อ ส�ำหรับผู้สูงอายุด้วย เพราะทุกคนต้องเติบโตไปพร้อมกันและไม่มีใคร ถูกทิ้งไว้ข้างหลังด้วย หากพิจารณาแล้ว สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ก็คือ สื่อที่ไม่ขัดกับศีล 5 ในพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นหลักในการด�ำเนินชีวิต โดยทั่วไป ที่เราต้องให้ความส�ำคัญเรื่องนี้เพราะปัจจุบันเด็กเข้าถึงสื่อแบบ ก้าวกระโดด หากผูผ้ ลิตสือ่ ไม่เข้าใจหลักการด�ำเนินชีวติ ก็จะน�ำเสนอสิง่ ที่ ผิดพลาดให้เด็กและเยาวชน


รศ. ดร.พนา ทองมีอาคม ประธานอนุกรรมการ เกีย่ วกับการส่งเสริม การมีสว่ นร่วมของประชาชน

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 010

“ปัจจุบนั เป็นช่วงทีส่ อื่ มีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา ในการสูเ้ รือ่ งสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์มี 3 ช่วง คือ ‘ก่อนการผลิต ระหว่างการผลิต หลังการผลิต’ กระบวนการก่อนผลิต คือการสร้างเครือข่ายทางวิชาการ เป็ น พั น ธมิ ต รกั บ สถาบั น การศึ ก ษาที่ ส อนนั ก ศึ ก ษาวารสารศาสตร์ นิเทศศาสตร์ ปลูกฝังเรื่องการผลิตสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ระหว่าง การผลิต เกี่ยวข้องกับอนุกรรมการส่งเสริมสนับสนุนการสร้างนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ที่จะเข้ามามีบทบาท ส่วนคณะ อนุกรรมการเกี่ยวกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ผมเป็น ประธานนั้น คือ การเข้าไปส่งเสริมการผลิตให้รายการที่มีประโยชน์ แต่ อาจไม่ประสบความส�ำเร็จในเชิงธุรกิจให้ยงั อยูไ่ ด้ เช่น รายการส�ำหรับเด็ก และหลังการผลิต คือ การเฝ้าระวังและคัดเลือกสื่อเพื่อเชิดชูเกียรติ ในยุคปัจจุบนั เด็กใช้การสือ่ สารกันเป็นโครงข่าย เวลาสือ่ สารโครงข่าย จะปะทะโครงข่าย ไม่ใช่แค่ใครคนใดคนหนึ่ง การท�ำงานจึงต้องเป็นการ ร่วมมือกัน เครือข่ายทางวิชาการมีบทบาทส�ำคัญตั้งแต่เริ่มต้นเพราะผลิต บุคลากรออกไปสู่วงการสื่อ และนักวิชาการก็ต้องชี้น�ำสังคม ยืนยันความ ถูกต้อง เผยแพร่สิ่งที่เหมาะสมและทันกับสถานการณ์ของสังคมได้ เรามี สื่อสังคมออนไลน์ที่นักวิชาการหลายท่านใช้สื่อสารกับสังคม หากจะสร้าง เครือข่ายในระดับประชาคมก็เชื่อว่าสามารถขยายออกไปได้เช่นกัน กองทุนพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ มีการให้ทนุ แบบมีสว่ นร่วม (Collaborative) นอกเหนือจากทุนทั่วไป และทุนเชิงยุทธศาสตร์ โดยอาจ จะมีเรื่องที่ท่านขับเคลื่อนอยู่ แต่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ทุนที่มีอยู่ หรือเห็นว่า กองทุนพัฒนาสื่อฯ สามารถเข้าไปร่วมหนุนเสริมได้ ก็มาท�ำงานร่วมกัน ซึ่งหลายเรื่องหากเรามีเครื่องมือ มีเครือข่าย มีความร่วมมือ จะสามารถ สร้างประโยชน์ให้สังคม และเกิดเครือข่ายที่เข้มแข็งขึ้น”


ผศ. ดร.วรัชญ์ ครุจติ ประธานอนุกรรมการ การส่งเสริมสนับสนุน การสร้างนวัตกรรมเพือ่ การพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ “เราฝ่ า ฟั น กั น มานานกั บ การพยายามผลั ก ดั น สื่ อ ปลอดภั ย และ สร้างสรรค์ เราจะไม่พอใจแค่ปลอดภัยและสร้างสรรค์ แต่เราขอให้มนี วัตกรรม ด้วยนวัตกรรมก็คือ สื่อที่เกิดจากการสร้างสรรค์ขึ้นใหม่หรือต่อยอดจาก สิง่ เดิม ซึง่ มีคณ ุ ค่าเป็นประโยชน์ และกลุม่ เป้าหมายเข้าถึงได้โดยง่าย หรือ อีกนิยามหนึง่ ของนวัตกรรมสือ่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ คือ นวัตกรรมสือ่ ที่ มี เ นื้ อ หามุ ่ ง เน้ น การส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด ผลดี ต ่ อ สั ง คม ทั้ ง ด้ า นศี ล ธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ความมั่นคง ความคิดสร้างสรรค์ การเรียนรู้ ทักษะ ความรูเ้ ท่าทันสือ่ การใช้ประโยชน์จากสือ่ ในการพัฒนาตนเอง ชุมชน และ สังคม และไม่มีลักษณะของสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ คุณลักษณะของนวัตกรรมสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ 4 ข้อ ได้แก่ 1.เกิดจากการสร้างสรรค์ขึ้นใหม่หรือต่อยอดจากสิ่งเดิม เป็นสื่อที่ไม่เคยมี มาก่อน 2.นวัตกรรมที่ดีต้องเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณค่าและน�ำไปใช้ ประโยชน์ได้จริง และเนือ้ หาต้องปลอดภัยต่อสังคม 3.กลุม่ เป้าหมายต้อง เข้าถึงได้โดยง่าย และ 4.ไม่มลี กั ษณะของการเป็นสือ่ ทีไ่ ม่ปลอดภัยและไม่ สร้ า งสรรค์ ซึ่ ง หากโครงการเข้ า กฎเกณฑ์ ต ามที่ ผ มกล่ า วมาทั้งหมด สามารถยื่นขอรับทุนสนับสนุนเข้ามาได้เลย ส�ำหรับเรื่องนวัตกรรมเรามีแนวทางในการส่งเสริมสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์ คือ พัฒนาคนให้คิดสร้างสรรค์ สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่อง สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ การเปิดพื้นที่เพื่อรับฟังกลุ่มเป้าหมาย การ สร้างโอกาสและองค์ความรู้ เช่น การขอทุนวิจัยเรื่องสื่อปลอดภัยและ สร้างสรรค์ การยกย่องและให้รางวัล การส่งเสริมการเข้าถึงต่อยอดการ ใช้ประโยชน์สอื่ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ การสร้างความรูค้ วามเข้าใจในการ สนับสนุนขอทุนแต่ละพื้นที่ และการติดตามประเมินผลสภาพปัญหาของ สือ่ ปลอดภัยสร้างสรรค์และนวัตกรรมสือ่ ซึง่ เราพร้อมทีจ่ ะร่วมท�ำงานเพือ่ สร้างนวัตกรรมสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย”


สือ่ ดีตอ งมีคนเห็น รับรางวัลเชิดชูเกียรติ

เชิดชู

10 ประเภทสื่อ 37 สาขารางวัล

คัด เลือก

TITLE

DIRECTOR CAMERA DATE

SCENE

กระบวนการผลิต

+6

เนือ้ หา สรางสรรค

จดหมายข่าวคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการเฝ้าระวังสื่อที่ไม่ปลอดภัยและไม่สร้างสรรค์ — 012

สงเสริมระบบวิธคี ดิ สงเสริมความรูว ชิ าการ สงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม สงเสริมการเรียนรูท กั ษะชีวติ สงเสริมการยอมรับ เขาใจความหลากหลายในสังคม สงเสริมความสัมพันธในครอบครัว

ปลอดภัยและสรางสรรค เขาถึงประชาชน ผลงานมีคณ ุ ภาพ ขอมูลถูกตอง เคารพสิทธิเสรีภาพ และรับผิดชอบตอสังคม

คนหา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

TAKE

-3

พฤติกรรมรุนแรง :

ใชอาวุธ ยาเสพติด ละเมิดสิทธิ ลดทอนความเปนมนุษย

เพศ :

ลวงละเมิด ลอแหลม สรางทัศนคติเชิงลบ เชน เหยียดเพศ

ภาษา :

หมิน่ เหม สือ่ ความเชิงลบ กาวราว ดูหมิน่

เครือขายมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยหอการคาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

เนือ้ หา ไมสรางสรรค

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

24

แหง

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ที่มา: โครงการเวทีรางวัลเชิดชูเกียรติสื่อปลอดภัยและสรางสรรค เพื่อรณรงคสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสรางสรรค


TITLE

DIRECTOR CAMERA DATE

MY DAD SCENE

TAKE

เช็กใหแน อยาแชร อยาเชื่อ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสรางสรรค รวมกับ เมเจอร ซีนีเพล็กซ กรุป รวมกันสรางเสริมความรู ความเขาใจในการเสพขอมูลสื่อออนไลน เพื่อสรางเกราะปองกันภัยและความเสี่ยงที่มาพรอมโลกออนไลนเพื่อกลุมผูสูงวัย ผานภาพยนตรโฆษณาชุด “My Dad”

“My Dad” นําเสนอเรื่องราวการใชโซเชียลมีเดียของ “พอ-ลูก” บุคคล 2 เจเนอเรชั่น

ที่ใชโซเชียลมีเดียในการติดตอสื่อสาร และรับขอมูลในชีวิตประจําวัน ที่ตองเจอทั้ง ขาวจริง ขาวปลอม จนทําใหพอ-ลูกมีปญหากัน แตเมื่อปรับความคิดเขาหากัน คนรุนใหมก็สามารถรวมสรางภูมิคุมกันในการเสพสื่อใหคนรุนเการูเทาทันสื่อออนไลนไดอยางดี นอกจากจะชมภาพยนตรชุด “My Dad” ผานโรงภาพยนตรในเครือเมเจอร ซีนีเพล็กซ 71 สาขา 394 โรงภาพยนตร ตั้งแตวันนี้ - 11 พฤศจิกายน 2563 ยังสามารถชมผานชองทางออนไลนเพียงสแกน QR CODE

ทราบกันดีวาสื่อมีอิทธิพลตอคนในสังคมอยางมาก มารวมกันสงเสริมและสรางใหเกิดสื่อที่ดีกันดีกวา เพื่อสรางสังคมที่ดี สแกน QR Code เขาไปตอบคําถามสั้น ๆ ภายในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2563 เทานั้น สําหรับผูที่เขาไปตอบคําถาม 10 คนแรก รับไปเลย! หนากากอนามัยเก ๆ ไวใสปองกันโควิดกันคะ


กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เลขที่ 388 อาคารเอส.พี. (ไอบีเอ็ม) อาคารบี ชั้น 6 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทร. 0 2273 0116-8 โทรสาร 0 2273 0119 อีเมล : contact@thaimediafund.or.th website : www.thaimediafund.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.