นโยบายและยุทธศาสตร์สำ�คัญของไทย ในการส่งเสริมเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) เน้นหลักการกระจายอำ�นาจให้กับท้องถิ่นและการมีส่วนร่วม ของประชานชน รวมทั้งการพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (พ.ศ. 2560-2579) กำ�หนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า “ประเทศไทยมีฐานทรัพยากรธรรมชาติที่สมดุลและยั่งยืน และเป็นสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม”
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ให้ความสำ�คัญกับการเติบโตของเมืองและชุมชน ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยระบุไว้ในยุทธศาสตร์การเติบโต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ได้กำ�หนดวิสัยทัศน์มีการจัดการมลพิษ 20 ปี คือ “ประชา-รัฐร่วมจัดการมลพิษ เพื่อปกป้องคุณภาพสิ่งแวดล้อม” มีเป้าหมายคือ “คุณภาพสิ่งแวดล้อมของทุกภาคส่วน เป็นไปตามมาตรฐานที่กำ�หนด”
กระบวนการขับเคลือ่ นเมืองสิง่ แวดล้อมยัง่ ยืน “เมืองที่มีการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมสู่การเติบโต ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ”ี
1 สร้างการมีส่วนร่วมและพลังภาคี
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและเสริมพลัง ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้เกิดกระบวนการจัดการ สิ่งแวดล้อมตามลักษณะเมือง โดยให้แผนปฏิบัติการ ท้องถิ่นเป็นเครื่องมือ
ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพให้ อปท. ด�ำเนินกิจกรรมตามเกณฑ์ชี้วัด เมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
สรุปบทเรียน พัฒนารูปแบบ องค์ความรู้
ขยายเครือข่าย การด�ำเนินงาน
2 พัฒนาเครื่องมือและกลไกลการพัฒนาเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
Sustainable Indicator
พัฒนาเกณฑ์ชี้วัดเพื่อใช้เป็นเครื่องมือและแนวทางในการพัฒนา ประเมิน และวิเคราะห์ สถานการณ์ท้องถิ่นส�ำหรับการพัฒนาและยกระดับสู่มาตรฐาน
สร้างกลไกและส่งเสริมให้เกิด การขับเคลื่อนเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืนในจังหวัด
3 ยกระดับเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืนสู่อาเซียน
พัฒนาและยกระดับการด�ำเนินงาน ต่อยอดกิจกรรม ให้เป็นเมืองต้นแบบที่มีคุณภาพสิ่งแวดล้อมเทียบเท่ามาตรฐานสากล
พัฒนาความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม ระหว่างประเทศ
4 องค์ประกอบ
- ประเมินเมืองสิง่ แวดล้อมยัง่ ยืน เมืองมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเหมาะสม พร้อมโครงสร้างพื้นฐานส�ำหรับคนทุกกลุ่ม มีความมั่นคงด้านที่อยู่อาศัย มีความปลอดภัย และเศรษฐกิจมั่นคง ประกอบด้วย 7 ตัวชี้วัด
คนในเมืองมีสขุ ภาพดี ได้รบั การศึกษา สวัสดิการ และการพิทักษ์สิทธิ์ที่เหมาะสมและเท่าเทียม ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเอื้ออาทร มีกิจกรรม สร้างสรรค์สังคม ด�ำรงประเพณีวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้วย 9 ตัวชี้วัด
เมืองอยู่ดี
คนมีสุข
GREEN CITY เมืองแห่ง การเรียนรู้ และการบริหาร จัดการที่ดี
วิสยั ทัศน์และแผนงานชัดเจน บุคลากรมีความรอบรู้ และเชี่ยวชาญระบบการท�ำงาน โดยรับการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง พร้อมการบริหารจัดการที่ดี และมีนวัตกรรมการพัฒนาเมือง ประกอบด้วย 11 ตัวชี้วัด
สิ่งแวดล้อม ยั่งยืน
ทรัยพากรธรรมชาติในเมืองมีความสมบูรณ์ มีพื้นที่ สีเขียวเพียงพอ ภูมทิ ศั น์สวยงาม ของเสียหรือมลพิษ ถูกจัดการอย่างเหมาะสม และประชาชนมีวถิ ชี วี ติ ทีเ่ ป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 7 ตัวชี้วัด
พัฒนาการการดำ�เนินงานตามกรอบวาระ - การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน จากระดับโลกสูร่ ะดับท้องถิน่ พ.ศ. 2547 พัฒนาศักยภาพ อปท. ที่เข้าร่วมโครงการน�ำร่อง 3 แห่ง พัฒนาตัวชี้วัดและประเมิน เทศบาลน่าอยู่อย่างยั่งยืน
พ.ศ. 2557 ขยายเครือข่าย อปท. ที่เข้าร่วม โครงการน�ำร่อง รวม 145 แห่ง กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมได้รับ มอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักของ ประเทศไทยในการด�ำเนินโครงการ ส่งเสริมเมืองต้นแบบด้านสิ่งแวดล้อม ที่ยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน
พ.ศ. 2560 ขยายเครือข่าย อปท.ทีเ่ ข้าร่วม โครงการน�ำร่อง รวม 207 แห่ง กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้รับมอบหมายให้ร่วมเป็นเจ้าภาพ จัดสัมมนาระดับสูงเอเชียตะวันออก เรือ่ งสิง่ แวดล้อมเมืองทีย่ งั่ ยืน ครัง้ ที่ 8
พ.ศ. 2550 ขยายเครือข่าย อปท. ที่เข้าร่วม โครงการน�ำร่อง รวม 23 แห่ง โครงการ “ประเมินเทศบาลน่าอยู่อย่างยั่งยืน” ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี พระราชทาน ถ้วยรางวัลชนะเลิศเทศบาลน่าอยู่อย่างยั่งยืน ระดับประเทศ
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2552
ขยายเครือข่าย อปท. ที่เข้าร่วม โครงการน�ำร่อง รวม 105 แห่ง โครงการ “ประเมินเทศบาลน่าอยู่อย่าง ยั่งยืน” ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราช กุมารี พระราชทานถ้วยรางวัลชนะเลิศ เทศบาลน่าอยู่อย่างยั่งยืนระดับประเทศ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้เข้าร่วม “โครงการเมืองต้นแบบ สิ่งแวดล้อมยั่งยืนอาเซียน” ร่วมกับ Japan-ASEAN Integration Fund (JAIF), ASEAN Secretariat และ Institute for Global Environmental Strategies
ขยายเครือข่าย อปท. ที่เข้าร่วม โครงการน�ำร่อง รวม 59 แห่ง โครงการ “ประเมินเทศบาลน่าอยู่ อย่างยัง่ ยืน” ได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี พระราชทาน ถ้วยรางวัลชนะเลิศเทศบาลน่าอยู่ อย่างยั่งยืนระดับประเทศ
พ.ศ. 2561 ขยายเครือข่าย อปท. ที่เข้าร่วม โครงการน�ำร่อง รวม 230 แห่ง มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2560 เห็นชอบในหลักการแนวทางการขับเคลื่อนเมือง สิ่งแวดล้อมยั่งยืน โดยตั้งเป้าหมาย “1 จังหวัด 1 เมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน ครอบคลุมพื้นที่ 76 จังหวัด ภายในปี พ.ศ. 2563”