3
เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ “โฮมภูม” ิ ครั้งที่4 Proceedings of the 4th National Convention on HomePoom
“ภูมิปัญญาสู่การออกแบบอัจฉริยะ” (Wisdom for Smart Design)
พิมพ์ครั้งที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2562 จ�ำนวนพิมพ์ 150 เล่ม สงวนลิขสิทธิ์ ตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2521 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150 โทรศัพท์: Email: Website:
043 754 381, มือถือ 086 455 599 0 (จันทร์-ศุกร์ เวลา 8.30-16.30 น.) Research.arch@msu.ac.th https://arch-info.msu.ac.th/Homepoom2019
สถาบันภาคีร่วมจัดโครงการ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
กองบรรณาธิการ
อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดิฐา แสงวัฒนะชัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชนาถ ทิวะสิงห์ อาจารย์ สุรพงษ์ ลิวไธสง นางสาวนิกานต์ดา ทองน้อย นางสาวจุฑาณัฐ สินธุศิริ
ออกแบบปกและจัดรูปเล่ม
อาจารย์วีรพล เจียมวิสุทธิ์ อาจารย์ฐิติรัตน์ นิมิตบรรณสาร
พิมพ์ท ี่
หจก. อภิชาติการพิมพ์ (เสริมไทยเก่า) 50 ถนนผังเมืองบัญชา ต�ำบลตลาด อ�ำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม 44000
โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ “โฮมภูม” ิ ครั้งที่4
“ภูมิปัญญาเพื่อการออกแบบอัจฉริยะ” (Wisdom for Smart Design) ระหว่างวันที่ 13-14 มิถุนายน 2562 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ความเป็นมา
การประชุมวิชาการ “โฮมภูม”ิ จัดในนามของเครือข่ายภูมปิ ญ ั ญาสถาปัตยกรรมและการออกแบบในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 8 สถาบัน ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย วงษ์ชวลิตกุล คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ และคณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน นครราชสีมา โดยจัดครัง้ แรกเมือ่ ปี พ.ศ. 2556 เมือ่ วันที่ 9-10 พฤศจิกายน 2556 ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภายใต้หัวข้อ “เอกภาพในความหลากหลาย” และครั้งที่สอง จัดขึ้นที่คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2558 ภายใต้หัวข้อ “อยู่ อย่าง ยั่ง ยืน” และในครั้งที่สาม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้จัดประชุมวิชาการฯ ภายใต้หัวข้อ “ภูมิปัญญาสู่อนาคต” เมื่อปี พ.ศ. 2559 และครั้งนี้คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่นได้เสนอตัวเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมวิชาการระดับชาติ “โฮมภูมิ” ครั้งที่ 4 ภายใต้แนวคิด ““ภูมิปัญญา เพื่อการออกแบบอัจฉริยะ (Wisdom for Smart Design)” ถือว่าเป็นการพัฒนาเครือข่ายภูมิปัญญาสถาปัตยกรรม และการออกแบบอย่างต่อเนื่อง ผ่านการน�ำเสนอผลงานวิชาการที่หลากหลาย เพื่อยกระดับการเรียนรู้ ต่อยอด ผลงานของสถาบันเครือข่าย เพื่อเป็นเวทีที่เปิดโอกาสให้คณาจารย์ บุคลากร นักวิจัย นักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานทั้ง ภาครัฐและเอกชน และเครือข่ายสถาบันต่าง ๆ รวมถึงการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการประชุมฯ โดยผลงาน น�ำเสนอ ประกอบด้วย สถาปัตยกรรมศาสตร์ (Architecture) สถาปัตยกรรมไทย (Thai Architecture) สถาปัตยกรรม ผังเมืองและการผังเมือง (Urban Architecture & Urban Planning) สถาปัตยกรรมภายใน (Interior Architecture) ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture) การออกแบบสร้างสรรค์ และนฤมิตศิลป์ (Creative Design &
Creative Arts) การออกแบบนิเทศศิลป์ และการออกแบบอุตสาหกรรม (Communication Design & Industrial design) การจัดการงานก่อสร้าง (Construction Management) และสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น ทั้งนี้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ในฐานะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมวิชาการระดับชาติ “โฮมภูม”ิ 4 หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเวที่ประชุมวิชาการฯ นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อแวดวงวิชาการและสาธารณชนต่อไป ครั้งที่
วัตถุประสงค์
1) เพือ่ เป็นเวทีให้เกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ประสบการณ์ทางด้านการวิจยั ระหว่างคณาจารย์ นิสติ นักศึกษา นักวิจยั และนักวิชาการ ในการแสดงและน�ำเสนอผลงานวิจยั เป็นการเผยแพร่ผลงานอันจะเป็นประโยชน์ตอ่ แวดวงวิชาการ และสาธารณชน 2) เพือ่ ให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและส่งเสริมการสร้างการวิจยั ให้เพิม่ มากขึน้ อันจะน�ำไปสู่ การพัฒนา และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านต่าง ๆ ในเชิงบูรณาการ 3) เพือ่ รวบรวมบทความวิจยั และบทความวิชาการและบทความวิจยั ในรูปแบบของเอกสารเชิงวิชาการตีพมิ พ์เผยแพร่ ผลงานในวารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง
ค�ำนิยม คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
โฮมภูมิ ต้นทุนของชาวอีสานคือความอัจฉริยะทางภูมปิ ญ ั ญา ทีถ่ กู พัฒนาเพือ่ ให้สามารถด�ำรงชีพอยูไ่ ด้ในบริบทของ พืน้ ที่ “โฮมภูม”ิ คือการตระหนักในคุณค่าของต้นทุนดังกล่าว และเป็นการร่วมกันต่อยอดองค์ความรูเ้ พือ่ น�ำไปใช้ใน การพัฒนาชุมชนและสังคมผ่านการออกแบบและสถาปัตยกรรมต่อไป
ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์
คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์
ค�ำนิยม
การประชุมวิชาการนีถ้ อื เป็นเวทีสำ� คัญ ทีเ่ ปิดโอกาสให้มกี ารน�ำเสนอผลงานทางวิชาการใหม่ ๆ ด้านสถาปัตยกรรม และการออกแบบทีเ่ หมาะสมกับยุคสมัย ซึง่ แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของนักวิจยั ในภูมภิ าคตะวันออกเฉียงเหนือได้เป็น อย่างดี ในการประชุมครัง้ นีไ้ ด้จดั ขึน้ ภายใต้หวั ข้อ “ภูมปิ ญ ั ญาสูก ่ ารออกแบบอัจฉริยะ” มีบทความเข้าร่วม จ�ำนวน 32 บทความ โดยบทความทีต่ พี มิ พ์ในเอกสารการประชุมนี้ ได้ผา่ นการตรวจสอบคุณภาพจากคณะกรรมการพิจารณา บทความทีแ่ ต่งตัง้ จากผูท้ รงคุณวุฒิ เพือ่ ให้มคี ณ ุ ภาพ และการประชุมนีย้ งั เป็นเวทีเปิดโอกาสอันดีสำ� หรับนักวิชาการทีจ่ ะ ได้พบปะ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ ความคิดเห็นทางด้านสถาปัตยกรรม และการออกแบบ ของเครือข่ายภูมปิ ญ ั ญา สถาปัตยกรรมและการออกแบบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8 สถาบัน ท้ายนี้ ใคร่ขอขอบคุณ คณะท�ำงานและผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกท่านทีร่ ว่ มกันจัดการการประชุมวิชาการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูท้ รงคุณวุฒพิ จิ ารณาบทความ องค์ปาฐก กรรมการวิจารณ์บทความ ผูน้ ำ� เสนอบทความ ทีใ่ ห้การสนับสนุนในการจัดงาน ประชุมด�ำเนินไปด้วยดี
อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์
ผูช ้ ว ่ ยคณบดีฝา่ ยวิจย ั และบริการวิชาการ
คณะกรรมการจัดงาน คณะกรรมการอ�ำนวยการ
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์ คณบดี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ จารุณยี ์ นิมติ ศิรวิ ฒ ั น์ รองคณบดีฝา่ ยบริหาร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิชนาถ ทิวะสิงห์ รองคณบดีฝา่ ยวิชาการ อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ ผูช้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยวิจยั และบริการวิชาการ อาจารย์สกลชัย บุญปัญจา ผูช้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยพัฒนานิสติ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร หัวหน้าส�ำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์รงั สิทธิ์ ตันสุข ี ผูช้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยหลักสูตรสถาปัตยกรรมภายใน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วกิ รม วงษ์สวุ รรณ์ ผูช้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยหลักสูตรนฤมิตศิลป์ นางมยุรี ผาผง หัวหน้าส�ำนักงานเลขานุการคณะฯ คณะกรรมการฝ่ายต้อนรับ ลงทะเบียนและประเมินผล
นางสาวเมทินี โคตรดี นางสาวรัชนูพรรณ ค�ำสิงห์ศรี นางสาวศมลวรรณ วรกาญจน์ นางสาวกัญจน์ชญา จันทรังษี นางสาวปาริชาติ ศรีสนาม นางสาวดาราลัย ไซมะเริง นางสาวศิรนิ ภา วงษ์ชารี นางสาวปรียาณัฐ มิรตั นไพร นางสาวปิยะนุช อินทร์พรหม นางสาวจุฑาณัฐ สินธุศริ ิ นางสาวเกวลี เฉิดดิลก นางสาวอภิชญา จ�ำรูญศิร ิ นางสาวพัชรินทร์ เชือ้ ภักดี นางสาวลัดดา พลขวา นางสาวนิกานต์ดา ทองน้อย
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการฝ่ายพิธก ี าร
นางนิพทั ธา หรรนภา นางสาววิชาภรณ์ ช�ำนิกำ� จร
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ
นายโกวิทย์ วาปีศลิ ป์ นางสาวเจนจิรา นาเมืองรักษ์ นายทศพล เถาว์ทพิ ย์ นางสาวเพชรลัดดา เพ็ชรภักดี นางสาวจารุณยี ์ นิมติ ศิรวิ ฒ ั น์ นางสาวสุรพี รรณ์ สุพรรณสมบูรณ์ นายมงคล คาร์น นายแสน ศรีสโุ ร นายสักรินทร์ แซ่ภ ู่ นายธเนศ ฉัตรจุฑามณี นางสาวดิฐา แสงวัฒนะชัย นายชัยนันท์ พรหมเพ็ญ นางสาววิชนาถ ทิวะสิงห์ นางสาวอุมาภรณ์ บุพไชย นางสาวอ�ำภา บัวระภา นายจตุรงค์ ประเสริฐสังข์ นายวรวิทย์ จันทเดช นายประสิทธิ์ สว่างศรี นายวีรพล เจียมวิสทุ ธิ ์ นางสาวธัญญรัตน์ อัศวนนท์ นางสาวสุนทรี ถูกจิตต์ นางสาวฐิตริ ตั น์ นิมติ รบรรณสาร นายวีรพล เจียมวิสทุ ธิ ์ นางละเอียด โกหล�ำ นางสาวลัดดา พลขวา
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการฝ่ายอาคารสถานที่ โสตทัศนูปกรณ์และยานพาหนะ
นางสาวดาราลัย ไซมะเริง นายจตุรงค์ ประเสริฐสังข์ นางกิง่ กาญจน์ โสภณพิศตุ ม์ นางสาวศรัทธาชาติ ศรีสงั ข์ นางสาววรวรรณ เนตรพระ นายทศพล เถาว์ทพิ ย์
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
นางสาวฐิตริ ตั น์ นิมติ รบรรณสาร นายวรารินทร์ ปัญญาวงษ์ นางสาวลัดดา พลขวา นางสาวธัญญธร ดลเลีย่ ม นายทวีชยั ฤทธิธรรมกุล นายสายันต์ รัตน์ถา นายพาโชค น้อมสูงเนิน นายวุฒไิ กร ป้อมมะรัง
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการฝ่ายอาหาร และเลีย ้ งรับรอง
นางนิพทั ธา หรรนภา นางสาวศมลวรรณ วรกาญจน์ นางสาวธัญญรัตน์ อัศวนนท์ นางสาวปิยะนุช อินทร์พรหม
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
นางสาวฐิตริ ตั น์ นิมติ รบรรณสาร นายวีรพล เจียมวิสทุ ธิ ์
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ
คณะกรรมการฝ่ายทัศนศึกษา
นายวิโรจน์ ชีวาสุขถาวร นายอมฤต หมวดทอง นายชิโนรส พันทวี
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขานุการ
ผูท ้ รงคุณวุฒพ ิ จ ิ ารณาบทความการประชุมวิชาการระดับชาติ “โฮมภูม” ิ ครั้งที่4 ผูท ้ รงคุณวุฒพ ิ จ ิ ารณาบทความภายในมหาวิทยาลัย
รองศาสตราจารย์ ดร.พรทิพย์ เรืองธรรม รองศาสตราจารย์ ดร.กฤต โง้วธนสุวรรณ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธราวุฒิ บุญเหลือ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สักรินทร์ แซ่ภู่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เพชรลัดดา เพ็ชรภักดี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดิฐา แสงวัฒนะชัย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิชนาถ ทิวะสิงห์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อมฤต หมวดทอง ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ชยั นันท์ พรหมเพ็ญ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์บริรกั ษ์ อินทรกุลไชย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์จารุณยี ์ นิมติ ศิรวิ ฒ ั น์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์สรุ พี รรณ์ สุพรรณสมบูรณ์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์รชั นูพรรณ ค�ำสิงห์ศรี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อนุวฒ ั น์ การถัก ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์เมธี พิรยิ การนนท์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วชิ าภรณ์ ช�ำนิกำ� จร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์รงั สิทธิ์ ตันสุขี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ชญ ั ญา ทองสวัสดี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วกิ รม วงษ์สวุ รรณ์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ดาราลัย ไซมะเริง อาจารย์ ดร.นิพทั ธา หรรนภา อาจารย์ ดร.วรากุล ตันทนะเทวินทร์ อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ อาจารย์ ดร.วรวรรณ เนตรพระ อาจารย์ ดร.นิลปัทม์ ศรีโสภาพ
สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน สาขาวิชาการจัดการงานก่อสร้าง สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง สาขาวิชานฤมิตศิลป์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรม สาขาวิชาภูมสิ ถาปัตยกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน สาขาวิชานฤมิตศิลป์ สาขาวิชานฤมิตศิลป์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน สาขาวิชาการจัดการงานก่อสร้าง สาขาวิชาสถาปัตยกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรม
ผูท ้ รงคุณวุฒพ ิ จ ิ ารณาบทความภายนอกมหาวิทยาลัย
รองศาสตราจารย์ ดร.ชูพงษ์ ทองค�ำสมุทร รองศาสตราจารย์ ดร.วารุณี หวัง รองศาสตราจารย์ กุลศรี ตัง้ สกุล ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ วีระทวีมาศ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นพดล ตัง้ สกุล ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุรกานต์ รวยสูงเนิน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนสิทธิ์ จันทะรี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พีรน์ ธิ ิ อักษร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชนัษฎา จุลลัษเฐียร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สัญชัย สันติเวส ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มนสิชา เพชรานนท์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พรณรงค์ ชาญนุวงศ์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สักการ ราษีสทุ ธิ ์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กฤตภัทร ถาปาลบุตร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ พรสวัสดิ์ พิรยิ ะศรัทธา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ นิธวิ ดี ทองป้อง อาจารย์ ดร.จันทนีย์ จิรณ ั ธนัฐ อาจารย์ ดร.นยทัต ตันมิตร อาจารย์ ดร.วรัฐ ลาชโรจน์ อาจารย์ ดร.ปัทมพร วงศ์วริ ยิ ะ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.การุณย์ ศุภมิตรโยธิน อาจารย์ ดร.นิธิ ลิศนันท์ อาจารย์ ดร.ติก๊ แสนบุญ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ก�ำหนดการการประชุมวิชาการ การประชุมวิชาการระดับชาติ
“โฮมภูม”ิ 4 ครั้งที่
ระหว่างวันที่ 13-14 มิถน ุ ายน 2562 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วันพฤหัสที่ 13 มิถน ุ ายน 2562
เวลา
รายละเอียดกิจกรรม
08.30 – 09.30 น.
ลงทะเบียน
09.30 – 09.45 น.
- กล่าวต้อนรับ และรายงานวัตถุประสงค์การจัดการประชุม โดยผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์ คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ - กล่าวเปิดการประชุม โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวไิ ล ผูร้ กั ษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
09.45 – 10.45 น.
บรรยายพิเศษ โดยองค์ปาฐก (Keynote Speaker) โดยพระเอกชัย อรินทฺ โม (วัดนาคปรก)
10.45 – 11.00 น.
พักรับประทานอาหารว่าง
11.00 – 12.00 น.
บรรยายพิเศษ โดยองค์ปาฐก (Keynote Speaker) โดยคุณสุทธิพงษ์ สุรยิ ะ
12.00 – 13.00 น.
พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.00 น.
การเสวนาแลกเปลีย่ น ในหัวข้อ “Wisdom for Smart Design and City”
14.00 – 14.15 น.
พักรับประทานอาหารว่าง
14.15 – 17.00 น.
น�ำเสนอบทความประชุมวิชาการ “โฮมภูม”ิ และ “URPAS” ประชุมร่วมตามกรอบบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันเครือข่าย 8 สถาบัน “โฮมภูม”ิ
ประชุมเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการด้านการผังเมือง (URPAS)
18.00 – 20.00 น.
- งานเลีย้ งรับรองผูเ้ ข้าร่วมงานประชุมวิชาการฯ - การแสดงต้อนรับผูเ้ ข้าร่วมงานประชุมวิชาการฯ - มอบธงให้ผจู้ ดั การประชุมครัง้ ถัดไป
วันศุกร์ที่ 14 มิถน ุ ายน 2562
เวลา
กิจกรรม
08.30 – 09.00 น.
ลงทะเบียน
09.00 – 10.30 น.
น�ำเสนอบทความประชุมวิชาการ “โฮมภูม”ิ และ “URPAS”
10.30 – 10.45 น.
พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 – 12.00 น.
น�ำเสนอบทความประชุมวิชาการ “โฮมภูม”ิ และ “URPAS”
12.00 – 13.00 น.
พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 16.00 น.
เยีย่ มชมเมืองมหาสารคาม
ตารางน�ำเสนอบทความ การประชุมวิชาการระดับชาติ
“โฮมภูม”ิ 4 ครั้งที่
วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถน ุ ายน 2562 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Technical Session 1: Room: Moderator: Chairperson:
สถาปัตยกรรมไทย (Thai Architecture) AR 205 ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์อมฤต หมวดทอง ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ วีระทวีมาศและ ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร.สิรม ิ าส เฮงรัศมี
Time
Paper ID
Title
14.15 -14.40
HP05
เรือนของกลุม่ ชาติพนั ธุล์ าวเวียงในอีสาน: การยึดแบบแผนดัง้ เดิม การปรับตัว และการผสมผสานทางวัฒนธรรม
20
14.40 -15.05
HP14
ความหมายแฝงในฮาวเทียน วัดทาด วัดทาดหลวง และวัดวิชุนหะราช เมืองหลวงพะบาง
22
15.05 -15.30
HP21
ทัศนคติของผู้คนที่มีต่อการปรับปรุงอาคารเก่าเพื่อส่งเสริม เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว ย่านหอนาฬิกา อำ�เภอเมือง จังหวัดนครพนม
24
15.30 -15.55
HP22
หอผี ,หอกว๊าน : สถาปัตยลักษณ์ทางจิตวิญญาณแห่งวิถีชน เผ่าลาวเทิงใน สปป.ลาวตอนใต้
26
15.55 -16.20
HP26
เรือนพื้นถิ่นกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่ลำ�น้ำ�มูล-ลำ�พระเพลิง จังหวัดนครราชสีมา
28
16.20 -16.45
HP27
การศึกษาแนวทางการอนุรักษ์และบูรณะสิม วัดโพธารมณ์
30
Full Paper for Technical Session 1 QR Code & Link: https://qrco.de/bb9rz9
Page No
Technical Session 2: Room: Moderator: Chairperson:
สถาปัตยกรรมผังเมืองและการผังเมือง และภูมส ิ ถาปัตยกรรม (Urban Architecture, Urban Planning and Landscape Architecture) AR 206 อาจารย์ธเนศ ฉัตรจุฑามณี อาจารย์ ดร.จันทนีย์ จิรณ ั ธนัฐและอาจารย์ ดร.นิลปัทม์ ศรีโสภาพ
Time
Paper ID
Title
14.15 -14.40
HP02
การทดสอบอุณหภูมขิ ององค์ประกอบทางภูมทิ ศั น์ สำ�หรับการ พักผ่อนและนันทนาการช่วงเย็น บริเวณพืน้ ทีร่ มิ ตลิง่ กรณีศกึ ษา ริมคลองสมถวิล จังหวัดมหาสารคาม
34
14.40 -15.05
HP07
แนวทางการออกแบบภูมทิ ศั น์ บริเวณพืน้ ทีศ่ าลเจ้าพ่อศรีนครเตา ตำ�บลเมืองเตา อำ�เภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม
36
15.05 -15.30
HP28
รูปแบบหลังคาเรือนพืน้ ถิน่ ในจังหวัดนครราชสีมา
38
15.30 -15.55
HP18
การประเมินผลกระทบทางสายตาของอาคารสูงต่อภูมิทัศน์ ชุมชนเมือง กรณีศึกษา : โครงการ ICONSIAM
40
15.55 -16.20
HP20
แนวคิดการประยุกต์อัตลักษณ์ท้องถิ่นอีสานในสถาปัตยกรรม ร่วมสมัย
42
16.20 -16.45
HP29
การศึกษาเพื่อการจัดการ อนุรักษ์และพัฒนาด้านกายภาพ พื้นที่ โดยรอบ กำ�แพงเมือง – คูเมืองเมืองโบราณสองชั้น จังหวัดบุรีรัมย์
44
Full Paper for Technical Session 2 QR Code & Link: https://qrco.de/bb9s1a
Page No
Technical Session 3: Room: Moderator: Chairperson:
สถาปัตยกรรมและการจัดการก่อสร้าง (Thai Architecture and Construction Management) AR 204 อาจารย์เปรมยุดา ชมภูคำ� ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์จารุณย ี ์ นิมต ิ ศิรว ิ ฒ ั น์ และ ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์สรุ พ ี รรณ์ สุพรรณสมบูรณ์
Time
Paper ID
Title
14.15 -14.40
HP08
ชุดสำ�รวจรอยร้าวผนังก่ออิฐ
48
14.40 -15.05
HP9
การวิเคราะห์ความขัดแย้งและข้อพิพาทในโครงการก่อสร้าง โดยใช้วิธีวิทยาคิว
50
15.05 -15.30
HP11
ผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมของ รองศาสตราจารย์ธิติ เฮงรัศมี
52
15.30 -15.55
HP12
การสำ�รวจการใช้แบบหล่อคอนกรีต สำ�หรับก่อสร้างอาคาร ที่พักอาศัยเขตอำ�เภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
54
15.55 -16.20
HP23
องค์ความรู้ด้านอารยสถาปัตย์สำ�หรับสังคมผู้สูงวัยในชนบท ตามวัฒนธรรมอีสาน
56
16.20 -16.45
HP30
ทัศนคติที่มีต่อบ้านพักอาศัยที่เกิดจากปรากฏการณ์ แต่งงานข้ามวัฒนธรรมในชนบทภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
58
16.45 -17.10
HP13
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้าง ความรู้ด้วยตนเองเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชา การก่อสร้างอาคาร 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
60
Full Paper for Technical Session 3 QR Code & Link: https://qrco.de/bb9s2S
Page No
ตารางน�ำเสนอบทความ การประชุมวิชาการระดับชาติ
“โฮมภูม”ิ 4 ครั้งที่
วันศุกร์ที่ 14 มิถน ุ ายน 2562 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Technical Session 4: Room: Moderator: Chairperson:
การออกแบบสร้างสรรค์ และการศึกษา (Creative Design & Education) AR 204 ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์เมธี พิรย ิ การนนท์ ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิชนาถ ทิวะสิงห์ และอาจารย์แสน ศรีสโุ ร
Time
Paper ID
09.00 – 09.25
HP01
การให้แสงสว่างสำ�หรับสิมอีสานโบราณ
64
09.25 – 09.50
HP03
การพัฒนาเกมแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยด์ เรือ่ ง การคัดแยกขยะ
66
09.50 – 10.15
HP04
การพัฒนาหนังสือผสมเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรือ่ ง การออกแบบกราฟิกขัน้ พืน้ ฐาน
68
10.15 – 10.40
HP32
การประเมินความเสี่ยงของโครงการปรับปรุงห้องสมุด โรงเรียนตำ�รวจตระเวนชายแดนบ้านนาชมภู
70
10.40 – 11.00
Title
Page No
รับประทานอาหารว่าง
11.00 – 11.25
HP17
การออกแบบและพัฒนากระเป๋าจากผ้าไหมทอมือ จากแนวคิดครอบครัวไทยและลูกมะเฟือง
72
11.25 – 11.50
HP24
แรงบันดาลใจในการออกแบบลวดลายเสื้อปักมือชนเผ่าผู้ไท บ้านเหล่าใหญ่ อำ�เภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
74
Full Paper for Technical Session 4 QR Code & Link: https://qrco.de/bb9s2o
Technical Session 5: Room: Moderator: Chairperson:
สถาปัตยกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอาคาร (Architecture and building technology) AR 206 ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์รช ั นูพรรณ ค�ำสิงห์ศรี ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร.นพดล ตัง ้ สกุล และ ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร.การุณย์ ศุภมิตรโยธิน
Time
Paper ID
Title
Page No
09.00 – 09.25
HP06
การประยุกต์ใช้แนวคิดการออกแบบเพือ่ มวลชนร่วมกับ ปรัชญาเศรษกิจพอเพียง ในการปรับปรุงทีอ่ ยูอ่ าศัยสำ�หรับผูส้ งู อายุ
78
09.25 – 09.50
HP10
การนำ�เสนอสภาพแวดล้อมเสมือนจริง 3 มิติ ทีอ่ อกแบบจาก โปรแกรมสเก็ตอัพด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน
80
09.50 – 10.15
HP15
การพัฒนาราวจับพยุงตัวในทีอ่ ยูอ่ าศัยทีม่ ผี สู้ งู อายุ ตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียง
82
10.15 – 10.40
HP19
การพัฒนาสภาพแวดล้อมเสมือนจริง 360 องศา สำ�หรับงาน แอนิเมชัน เพือ่ ประชาสัมพันธ์การท่องเทีย่ ว วัดในเขตเมืองเก่า นครราชสีมา บนสังคมออนไลน์ ในรูปแบบ Facebook Spaces
84
10.40 – 11.00
รับประทานอาหารว่าง
11.00 – 11.25
HP25
กรอบแนวคิดในการออกแบบแพหาปลาอเนกประสงค์ ต้นแบบในจังหวัดกาฬสินธุ์ กรณีศกึ ษา : ชุมชนริมเขือ่ นลำ�ปาว
86
11.25 – 11.50
HP31
โครงการจัดทำ�หุ่นจำ�ลองชุมชนบ้านดอนนา จังหวัด มหาสารคาม เพื่อเป็นสื่อในการพัฒนาพื้นที่เชิงวัฒนธรรม
88
Full Paper for Technical Session 5 QR Code & Link: https://qrco.de/bb9s36
ABSTRACT
Technical Session 1:
สถาปัตยกรรมไทย (Thai Architecture)
เรือนของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียงในอีสาน: การยึดแบบแผนดั้งเดิม การปรับตัว และการผสมผสานทางวัฒนธรรม
House of the Lao Viang Ethnic Group in the Northeast: Traditional Preservation, Adaptation and Cultural Interaction. การุณย์ ศุภมิตรโยธิน
อาจารย์ประจ�ำ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 340 ถนนสุรนารายณ์ จ.นครราชสีมา 30000
Karun Suphamityotin Lecturer, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, 340 Suranarai Rd. Nakhon Ratchasima Province 30000 Email: karun_ink@yahoo.com บทคัดย่อ
บทความนีศ้ กึ ษาเกีย่ วกับการปฏิสมั พันธ์ทางวัฒนธรรมของกลุม่ ชาติพนั ธุล์ าวเวียง ทีอ่ พยพเข้ามาตัง้ ถิน่ ฐาน ในภาคอีสานของไทย ผ่านการแสดงออกทางรูปแบบสถาปัตยกรรมและการใช้พนื้ ที่ โดยศึกษาเปรียบเทียบเรือนกรณี ศึกษาใน จ.นครราชสีมา และ จ.มหาสารคาม เทียบกับเรือนลาวเวียงจันทน์ ท�ำการวิเคราะห์ อภิปราย และสรุปผล โดยอ้างอิงข้อมูลจากการลงพื้นที่และข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า เรือนของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียง ใน จ.นครราชสีมา และ จ.มหาสารคาม มีลักษณะบางประการที่คล้ายคลึงกับแบบแผนเรือนลาวเวียงจันทน์ รวมถึง การใช้พื้นที่ ทั้งนี้ เรือนลาวเวียงมหาสารคาม มีความคล้ายคลึงกับแบบแผนเรือนลาวเวียงจันทน์มากกว่า โดยเฉพาะ โครงสร้าง ระบบการติดตัง้ ฝา ต�ำแหน่งประตู และการใช้พนื้ ที่ นอกจากนัน้ เรือนของกลุม่ ลาวเวียงใน จ. นครราชสีมา ช่วงแรก ที่มีอายุมากกว่า 100 ปี มีหลักฐานที่แสดงถึงการยึดแบบแผนดั้งเดิมไว้หลายประการ และพบโครงสร้าง บางจุดที่เหมือนกับโครงสร้างของเรือนลาวเวียงจันทน์ รวมถึงการยึดขนบธรรมเนียมการใช้วัสดุก่อสร้างชนิดเดิม แต่ในขณะเดียวกันได้มกี ารปรับตัว โดยคลีค่ ลายรูปแบบและผสมผสานแบบแผนวัฒนธรรมไทยโคราชเข้ามาเป็นส่วน ประกอบ และสร้างลักษณะเฉพาะบางประการขึ้น ปรากฏการณ์นี้สะท้อนให้เห็นถึงการปรับตัวทางด้านวัฒนธรรม การอยู่อาศัยให้กลมกลืนกับบริบทพื้นที่ เพื่อการดํารงเผ่าพันธุ์ โดยธํารงรักษาคติความเชื่อ ขนบธรรมเนียม และยึด แบบแผนดั้งเดิม อันเป็นรากเหง้าทางชาติพันธุ์ของตนไว้บางส่วน แล้วนํารูปแบบทางวัฒนธรรมไทยโคราชของชนชั้น ปกครองซึ่งเป็นคนกลุ่มใหญ่ในพื้นที่มาผสมผสานได้อย่างกลมกลืน ค�ำส�ำคัญ: เรือนโคราช, ลาวเวียง, การยึดแบบแผนดั้งเดิม, การปรับตัว, การผสมผสาน
22
Abstract
This article analyzes the cultural intercourse of Lao ethnic groups that settled in the northeast of Thailand through the expression of architecture and space utilization. A comparative case study was conducted in Nakhon Ratchasima and Mahasarakham, then compared with the Lao traditional house in Vientiane. Finally, the data was analyzed, discussed and summarized using historical data. The study indicated that the houses of the Lao Vieng ethnic group in Nakhon Ratchasima and Mahasarakham have some characteristics similar to the Lao traditional housing patterns in Vientiane. Houses of Lao Vieng Mahasarakham are similar to the Lao style in Vientiane, especially in structure, wall system, the position of doors and the use of space. There is evidence of Lao traditional preservation in houses of the Lao Vieng Nakhon Ratchasima for more than 100 years such as the structure and materials. However, they have combined the Korat house pattern and created some characteristics. This phenomenon reflects the cultural adaptation of living in harmony between maintaining the ethnicity, the faith and the tradition and blend it with the Thai Korat culture, which is the dominant group in the area. Keywords: Korat house, Lao Vieng, Conventional Traditions, Adaptation, Blend
Download Full-Text
Scan QR Code
23
ความหมายแฝงในฮาวเทียน วัดทาด วัดทาดหลวง และวัดวิชุนหะราช เมืองหลวงพะบาง
Apocalypse of Candleholder in Wat Tad Wat Tad Luang and Wat Vichunharat Luang Prabang ชัยบพิธ พลศรี
อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรศิลปกรรม คณะศิลปปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
Chaiborpit Ponsri Lecturer, Faculty of Applied Art and Architecture, Ubon Ratchathani University Email: Chaiborpit.ap@gmail.com บทคัดย่อ
ความหมายแฝงในฮาวเทียน วัดทาด วัดทาดหลวง และวัดวิชุนหะราช เมืองหลวงพะบาง มีวัตถุประสงค์ ในการศึกษา คือ 1) เพือ่ ศึกษาประวัตคิ วามเป็นมาของฮาวเทียน วัดทาด วัดทาดหลวง และวัดวิชนุ หะราช เมืองหลวง พะบาง และ 2) เพื่อศึกษาความหมายแฝงในฮาวเทียนของ วัดทาด วัดทาดหลวง และวัดวิชุนหะราช เมืองหลวงพะ บาง เป็นการศึกษาโดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ ฮาวเทียนของวัดทาด วัดทาดหลวง และวัดวิชุนหะราช เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบส�ำรวจ แบบสัมภาษณ์ จากนั้นจึงน�ำข้อมูลที่ได้ มา จัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ด้วยทฤษฏีประวัติศาสตร์และทฤษฏีสัญญะวิทยา ท�ำให้ทราบถึง ประวัติความเป็นมาของ ฮาวเทียน วัดทาด วัดทาดหลวง และวัดวิชุนหะราช เมืองหลวงพะบาง ว่า ฮาวเทียนทั้ง 3 หลัง ถูกสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2460 โดยเจ้าศรัทธาสร้าง คือ เจ้าอุปราชบุนคง และหัวหน้าช่างแกะฮาวเทียน คือ พระพรหมเปตุและเจ้าทองสูน ส่วนความหมายแฝงในฮาวเทียน พบว่า ฮาวเทียนทัง้ สามหลัง มีความหมายแฝงทีเ่ กีย่ วกับเหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตร์ ลาวในช่วงเปลี่ยนผ่านจากเมืองประเทศราชไปสู่เมืองอาณานิคม ค�ำส�ำคัญ : ความหมายแฝง, ฮาวเทียน
24
Abstract
Apocalypse of Candleholder of Wat Tad Wat Tad Luang and Wat Vichunharat in Luang PraBang Province. The objectives of the study are: 1) to study the history of Candleholder of Wat Tad Wat Tad Luang and Wat Vichunharat in Luang PraBang Province And 2) to study the of Wat Tad Wat Tad Luang and Wat Vichunharat in Luang PraBang Province Is a study using a qualitative research process. The target group is the Wat Tad, Wat Tad Luang and Wat Vichunharat. The tools used in the research were the interview form and then the information was obtained. Come to categorize and analyze with the theories, history and theories of theology, to know the history of Candleholder in Wat Tad Wat Tad Luang and Wat Vichunharat in Luang PraBang Province said that the three wares were built in the year 1917, by the faithful created by the Viceroy Bun Kong. And the chief engineer of the Candleholder, Pra Phrom Phe-Tu and Thong Son As for the Apocalypse of Candleholder, it was found that the three candles were There is a Apocalypse that relates to the historical of Laos during the transition from the royal city to the colonial city. Keywords: Apocalypse, Candleholder
Download Full-Text
Scan QR Code
25
ทัศนคติของผู้คนที่มีต่อการปรับปรุงอาคารเก่าเพื่อส่งเสริมเป็นแหล่งท่องเที่ยว ย่านหอนาฬิกา อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม
Public Attitude towards Building Renovation for Becoming Tourist Attractions: Clock Tower Area, Amphur Muang, Nakhon Phanom วินัย แววโคกสูง 1* และ วรัฐ ลาชโรจน์ 2 1*
2
นักศึกษา หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อาจารย์ประจ�ำ หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Chaiborpit PonsriWinai Wawkoksung1* and Warat Lacharoje2 1 Graduate student, Faculty of Architecture, Khon Kaen University, Khon Kaen, 40002 2 Associate Professor, Faculty of Architecture, Khon Kaen University, Khon Kaen, 40002 *Email: winaiwawkoksung@gmail.com บทคัดย่อ
บทความนีน้ ำ� เสนอการศึกษาทัศนคติของผูค้ นทีม่ ตี อ่ ตัวอาคารเก่าทีไ่ ด้ถกู ปรับปรุงเพือ่ ส่งเสริมเป็นแหล่งท่อง เที่ยวภายในย่านหอนาฬิกา อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม ซึ่งอาคารเก่าที่เป็นประเด็นการศึกษานั้น มีรูปแบบที่เป็น เอกลักษณ์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำโขง การปรับปรุงตัวอาคารเก่าเฉพาะส่วนด้านหลังของตัวอาคารซึ่งเป็นด้านที่ติดทาง เลียบแม่น�้ำ เฉพาะในส่วนภายนอกของอาคาร ซึ่งประกอบด้วย ผนัง ประตู หน้าต่าง และหลังคา ซึ่งการปรับปรุงนี้ เป็นส่วนหนึ่งของแผนพัฒนาจังหวัดนครพนม 4 ปีและแผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี ของเทศบาลเมืองนครพนม ภายหลัง การปรับปรุง เปลือกอาคารที่ได้ปรับปรุงมีความโดดเด่นและแปลกตา โดยการใช้วัสดุชนิดใหม่เข้าไปแทนที่วัสดุเดิม ของอาคารเกือบทัง้ หมด และการปรับเปลีย่ นสีสนั ของตัวอาคารโดยเลือกใช้สสี นั ทีส่ ดใสซึง่ แตกต่างจากรูปแบบเดิมที่ มีการใช้สีของเนื้อไม้หรือสีเดิมของวัสดุในส่วนต่างๆ ภายนอกอาคาร จากรูปแบบการปรับปรุงอาคารเก่าที่เกิดขึ้น ท�ำให้ตัวอาคารเก่าชุดนี้ดูแตกต่างจากอาคารในบริเวณใกล้เคียง ค�ำส�ำคัญ : ทัศนคติ, การปรับปรุงอาคาร, แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
26
Abstract
This article presents the study of people’s attitude towards historic buildings that had been renovated in order to promote tourism within the area adjacent to the memorial clock tower, Amphur Muang Nakhon Phanom. The historic buildings that are the subjects of this study are situated along Mekhong waterfront. Their unique architectural style had recently been renovated majority at the rear of the buildings, which face the river; and on the exterior only, these are walls, doors, windows and roofs. The actions are parts of Nakhon Phanom provincial and municipal plans for improving tourist attractions. The renovation are done by replacing building elements with new materials, and by using vibrant colors to replace the existing colors that were usually the natural colors of the materials like woods. The results make these building stand out from the nearby buildings. Keywords: Attitude, Renovate building, Cultural tourism
Download Full-Text
Scan QR Code
27
หอผี ,หอกว๊าน : สถาปัตยลักษณ์ทางจิตวิญญาณแห่งวิถีชนเผ่าลาวเทิงใน สปป.ลาวตอนใต้
Ghost Hall/Kwan Hall : Spiritual Architectonics of the Folkways of the Lao Toeng Tribe in Southern Lao PDR ติ๊ก แสนบุญ อาจารย์ประจ�ำ คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
Tik Saenboon Faculty of Applied Art and Architecture, Ubon Ratchathani University Email: orawan.p@ubu.ac.th บทคัดย่อ
หอผี , หอกว๊าน คือสถาปัตยกรรมสาธารณ์ที่เป็นศูนย์รวมทางจิตวิญญาณความเชื่อในวิถีสังคมชนเผ่า ของกลุม่ ชนทีเ่ รียกตนเองว่า ข่า,ขมุ,ก�ำมุ หรือเรียกกันในปัจจุบนั คือ กลุม่ ลาวเทิง โดยบทความนีม้ งุ่ ค้นหาคุณค่าความหมาย ทางสังคมวัฒนธรรม อัตลักษณ์ในเชิงช่างตลอดจนคติความเชือ่ โดยเน้นศึกษาเฉพาะ ส่วนประณีตศิลป์ใน3ส่วนไตรภาค ที่ปรากฏอยู่ในสถาปัตยกรรม หอผี หรือ หอกว๊าน โดยมีขอบเขตพื้นที่การศึกษาใน 4 แขวงของ สปป.ลาวตอนล่าง ใช้วิธีการส�ำรวจภาคสนาม ผลการศึกษา สามารถจ�ำแนก หอผี , หอกว๊าน ตามฐานานุศักดิแห่งสกุลช่างออกเป็น 1) สกุลช่างพื้นบ้าน 2) สกุลช่างพื้นเมืองแบบประยุกต์ ทั้งนี้สามารถจ�ำแนกรูปแบบได้ 2 ลักษณะคือ 1) รูปทรงแบบ อ่องเต่า 2) รูปทรงหลังคาแบบจั่วกันสาดปีกนก โดยสรุป หอผี ของกลุ่มลาวเทิงมีฉันทลักษณ์องค์ประกอบในเชิงช่าง ไม่แตกต่างกัน เช่นต�ำแหน่งทีต่ งั้ ทีอ่ ยูบ่ ริเวณศูนย์กลางของชุมชน เป็นเรือนมีเสาทีว่ างอยูบ่ นก้อนหินและยกระดับพืน้ โดยมีลักษณะโครงสร้างอาคารแบบเครื่องผูกและเครื่องสับผสมผสานกัน ด้านคติความเชื่อพบว่ารูปรอยของส่วน ประณีตศิลป์ในองค์ประกอบศาสนาคารหอผี แสดงร่องรอยเชื่อมโยงกับพัฒนาการด้านคติความเชื่อตามหลักฐาน ด้านประวัติศาสตร์โบราณคดี เช่น คติลัทธิบูชางู หรือการใช้รูปสัตว์สัญลักษณ์ในวัฒนธรรมความเชื่อในสังคมดั้งเดิม สมัยบุพกาลไม่ว่าจะเป็น งู ควาย กบ ตะกวด นกกระเรียน ที่ปรากฏอยู่ในองค์ประกอบอาคารทุกมิติการสร้างสรรค์ หรือมีการสะท้อนเรือ่ งราวในวิถชี วี ติ เช่น การแสดงในพิธกี รรมรูปคนเป่าแคนคนตีฆอ้ ง รูปคนต�ำข้าว หรือรูปเครือ่ งบิน ประเพณีการดูดอุเหล้าไห ซึ่งสะท้อนปรากฏการณ์ทางสังคมในแต่ละห้วงเวลา ด้านรูปแบบมีการผสมผสานทั้ง วัฒนธรรมหลวงและวัฒนธรรมชาวบ้าน รวมถึงปัจจัยทางการเมืองทั้งภายในและภายนอก ทั้งหมดมีตัวแปรคือการ เคลื่อนไหวของศิลปวิทยาการและการเมืองตลอดจนการค้าขายแลกเปลี่ยนทั้งหมดส่งอิทธิพลต่อ รูปแบบงานช่าง และรสนิยมทางศิลปะงานช่างหอผีในกลุ่มวัฒนธรรมลาวเทิงใน สปป.ลาว บทสรุป หอผี,หอกว๊าน ถือเป็นสถาปัตยลักษณ์ที่ส�ำคัญของกลุ่มลาวเทิงทุกเผ่า คือเป็นที่สิงห์สถิตของ ผีกว๊าน ซึง่ จะคอยดูแลปกป้องมวลสมาชิกในหมูบ่ า้ นดังปรากฏเป็นลักษณะการวางผังของชุมชน รวมถึงการเป็นสถานที่ รองรับกิจกรรมทางโลกย์อย่างสาธารณ์โดยศาสนาคารดังกล่าวนีถ้ อื เป็นนฤมิตกรรมงานช่างทีแ่ สดงให้เห็นร่องรอยคติ ความเชือ่ ในวิถสี งั คมสุวรรณภูมแิ บบมาตาธิปไตรทีน่ บั ถือผี ผ่านรูปรอยสัญญะในองค์ประกอบสถาปัตยกรรมส่วนต่างๆ ข้อเสนอแนะ ปัจจุบันหอผี หอกว๊านในหลายพื้นที่ก�ำลังถูกแทนที่ด้วยรูปแบบศิลปะจากวัฒนธรรมภายนอก และที่ น่าเป็นห่วงคือ การละทิง้ รูปแบบรวมถึงระบบสัญลักษณ์ตา่ งๆอย่างสังคมจารีตทีม่ คี ณ ุ ค่าความหมายต่อระบบความเชือ่ ในสังคม ชนิดถอนรากถอนโคน ไร้ซึ่งพลังต่อรองจากรากเหง้าวัฒนธรรมเดิมที่เคยสัมพันธ์เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตอย่างมี ดุลยภาพ
28 ค�ำส�ำคัญ : หอผี, อัตลักษณ์, คติความเชื่อ, สถาปัตยลักษณ์, ลาวเทิง.
Abstract
Ghost hall/kwan hall is a common architecture that is the center of spiritual beliefs in the folkways of the tribe calling themselves Ka, Kamu, Kammu, or presently called the Lao Toeng group. This article aims to find out about the sio-cultural significance, identity of craftsmanship, as well as beliefs, with a specific focus on the fine art in the 3 parts that appear in ghost hall/kwan hall architecture. The spatial scope of study covers the 4 precincts of southern Lao PDR. The method employed was field survey. Results: Ghost hall/kwan hall can be categorized by the hierarchy of schools of craftsmanship into 1) school of folk craftsmanship, 2) school of applied native craftsmanship. The forms can be categorized into 2 types: 1) Aung Tao and 2) roof with a bird-winged gable. To summarize, the characteristics of the craftsmanship elements of the ghost hall of the Lao Toeng group are the same everywhere. For example, the location is usually in the middle of the community; the construction is a house with posts set on rocks and an elevated floor; the form of the structure is a mixture of a house with parts tied together with rattan and a hooked house. As for beliefs, it was discovered that the traces of fine art in the elements of ghost hall religious constructions are linked to the development of beliefs apparent in evidence of archeological history. That is, there are the belief of snake worship and the use of animal symbols as in the faith culture of traditional ancient society, namely, snake, buffalo, frog, monitor lizard and crane. These appear in the elements of the construction in every dimension of creation. Otherwise, the art may reflect activities in the way of life, such as ritual performances, as seen in the images of a person piping a reed mouth organ, a person beating a gong, a person pounding rice, or an airplane, as well as the tradition of sucking sato in the jar. These images reflect the social phenomena of each time period. On style, it is a mixture of royal culture and folk culture as well as political factors both inside and outside. The variables among all are the movements of the arts and sciences, politics, and trade, all influencing the style of craftsmanship and artistic taste of the ghost hall craftsmanship of the Lao Toeng cultural group in Lao PDR. Conclusion: Ghost hall/kwan hall is an important kind of architectonics of every Lao Toeng tribe for it is the dwelling place of the kwan ghost who guards all the members of the village as seen in the way the community layout was designed. Also, it is a place used for common scholar activities. This kind of religious construction is considered a craft creation evident of traces of beliefs in the Suwannaphum matriarchal society that worshipped ghost as seen in the signs in the architectural elements of different parts. Recommendations: Currently, ghost halls/kwan halls in many areas are being replaced by art from outside cultures and what is a matter of concern is the desertion of the patterns and symbolic systems in traditional society that are significant to the belief system of society to the point of uprooting with no bargaining power on the part of the roots of the original culture that used to be tied to the way of life in balance. Keywords: ghost hall, identity, belief, architectonics, Lao Toeng
Download Full-Text
Scan QR Code
29
เรือนพื้นถิ่นกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่ล�ำน�้ำมูล-ล�ำพระเพลิง จังหวัดนครราชสีมา
Vernacular Houses in the Mun-Phra Pleng River in Korat Basin, Nakhon Ratchasrima Province นพดล ตั้งสกุล1* ทรงยศ วีระทวีมาศ2 การุณย์ ศุภมิตรโยธิน3 และสุกัญญา พรหมนารถ4 อธิป อุทัยวัฒนานนท์5 นิสรา อารุณี6 และกุลศรี ตั้งสกุล7 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยราชภัฎ นครราชสีมา
Nopadon Thungsakul1*, Songyot Weerataweemat2, Karun Suphamityotin3, Sukanya Prommanart4, Atip Utaiwattananont5, Nisara Aruni6 and Kunlasri Thungsakul7 Khon Kaen University and Nakhon Ratchasima Rajabhat University *Email: nopthu@kku.ac.th
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการจัดการความรู้เรื่องที่เรื่องอัตลักษณ์ และภูมิปัญญาด้านที่อยู่อาศัยของท้องถิ่น : กรณีศึกษาพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรณีศึกษาพื้นที่ลุ่มน�้ำ มูล-ล�ำพระเพลิง ในแอ่งโคราช ภาคอีสานตอนล่าง พื้นที่ดังกล่าวเป็นที่รวมของกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลาย ได้แก่ ไทโคราช ไทยวน มอญและไทลาว ซึง่ มีการเปลีย่ นแปลงรูปแบบทีอ่ ยูอ่ าศัยและเทคนิคในการก่อสร้างในปัจจุบนั ท�ำให้ อัตลักษณ์ของที่อยู่อาศัยเปลี่ยนแปลงและได้ส่งผลกระทบต่อองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาในการก่อสร้างบ้านเรือน ซึง่ นับวันก็จะสูญหายไป บทความนีจ้ งึ ต้องการรวบรวมรูปแบบทีอ่ ยูอ่ าศัยของกลุม่ ชาติพนั ธุใ์ นพืน้ ทีเ่ พือ่ ศึกษาอัตลักษณ์ บางอย่างมีการเปลี่ยนแปลงและที่ยังคงอยู่ โดยเลือกส�ำรวจเรือนทั้งหมดจ�ำนวน 17 หลัง กระจายตัวอยู่ตลอดแนว ที่ราบลุ่มน�้ำในพื้นที่ 4 อ�ำเภอ ได้แก่ อ.ด่านขุนทด อ.ปักธงชัย อ.สีคิ้วและอ.โชคชัย ผลการศึกษาพบลักษณะร่วมทางด้านรูปแบบทางสถาปัตยกรรมอันเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ภาคอีสานตอน ล่างที่แตกต่างจากภาคอีสานตอนบนและตอนกลาง ขณะเดียวกันก็พบว่า มีอัตลักษณ์ย่อยของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ ปรากฎอยู่ในรูปแบบเรือนและวัฒนธรรมในการใช้พื้นที่ภายในเรือนที่แตกต่างกันออกไป ค�ำส�ำคัญ : รูปแบบเรือนพื้นถิ่น, ภาคอีสานตอนใต้, ที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์, จังหวัดนครราชสีมา
30
Abstract
Presently, housing style and construction methods have been changed from time to time, therefore a current condition of the transformation of house style has accelerated the loss of cultural identity and the decline of local wisdom. This research, “Knowledge Management of Thai Identity and Local Wisdom on Housing Development in North East Region: A Case study of the Mun-Phra Pleng River Basin in Korat Basin”, has been conducted aiming to collect local ways in constructing traditional house style and people’s lifestyle in order to dissimilate the knowledge from research findings in a various forms of medias for public to learn in accordance with their interests. Field research conducted in 4 districts along the Mun-Phra Pleng River Basin where traditional houses that have reflected Southern Isan identity can still be found, including Dan Khun Thot district, Pak Thong Chai district, Si-khio district and Chok Chai district through 17 various house styles selected as house samples that reflected the development of housing style in the focused area. Findings from this research indicated that vernacular houses in study area have maintain similarity characteristics in terms of house style those can be defined as Korat house which is different from those in the north and central area of Isan region. Moreover, it has been found that each ethnic group has created sub-identity which express through house style and space-use as interpreted by each ethnic. Moreover, this area has also the melting pot for the settlement of diverse ethnicities including Tai Korat, Tai Yuan, Mon and Tai Lao. Housing styles have indicates a continuous development from various factors in the area. Keywords: Vernacular house style, Southern Isan region, Houses of ethnic groups, Nakhon Ratchasrima province Download Full-Text
Scan QR Code
31
การศึกษาแนวทางการอนุรักษ์และบูรณะสิม วัดโพธารมณ์
The study of the conservation and restoration of Wat Pho Thanrom สันทนา ภิรมย์เกียรติ อาจารย์ประจ�ำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Santana Piromkeat Lecturer, Faculty of Architecture Urban and Creative Arts, Mahasarakham University Email: sanmail@yahoo.com
บทคัดย่อ
สิม เป็นค�ำเรียกเฉพาะถิ่น มีความหมายถึง โบสถ์ หรือสถานที่ประกอบพิธีกรรมเนื่องในศาสนาพุทธในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยสิมในภูมภิ าคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยเกิดขึน้ จากภูมปิ ญ ั ญาของช่างท้องถิน่ ที่ สร้างสรรค์จนมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เป็นที่น่าเสียดายเมื่อ สิมโบราณ หลายแห่งถูกรื้อทิ้ง หรือปล่อยให้พุพังตามกาล เวลาเนื่องจากไม่ได้ใช้งาน เพราะวัดได้สร้างโบสถ์หลังใหม่ที่เป็นแบบประเพณีนิยม หรือแบบที่ได้รับออทธิพลจาก โบสถ์ภาคกลาง สิมโบราณวัดโพธารมณ์มสี ภาพทรุดโทรมเนือ่ งจากไม่ได้ใช้งาน แต่ชุมชนบ้านโกทามีแนวคิดที่จะเก็บ รักษาสิมหลังนี้ไว้ ดังนั้นการศึกษาแนวทางการอนุรักษ์และบูรณะสิม วัดโพธารมณ์ จึงเป็นลักษณะโครงการบริการ วิชาการที่บูรณาการกับการเรียนการสอนและการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยเป็นความร่วมมือระหว่างหลักสูตร สถาปัตยกรรมภายในร่วมกับชุมชนบ้านโกทา เพือ่ ศึกษารวบรวม ส�ำรวจ รังวัด และเขียนแบบสภาพปัจจุบนั สิม ส�ำหรับ เป็นข้อมูลและหลักฐานประกอบการบูรณะ เสนอแนะแนวทางการอนุรักษ์และบูรณะสิม แบบมีส่วนร่วม ค�ำส�ำคัญ : สิมอีสาน, สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น, การอนุรักษ์
32
Abstract
“Sim” the locally specific word in North-East, referring to the Buddhist temple or places to worship Buddhism in the North-East. Sim was built from the local wisdom of the technicians in the North-East and created to be unique, but unfortunately many Sim was removed or was left to decay over time due to inactivity and lack of care because most temples have built a temple according to traditions that were influenced by the central region. At present, Wat Potharome still has Sim, but has deteriorated due to lack of activity, hence people in the Ko-Ta community intend to preserve this Sim. Therefore, the study of conservation and restoration approaches of Wat Potharome’s Sim is an academic service project that links teaching and learning and a cultural preservation which is a collaboration between the interior architecture course together with the Ko-Ta community, to study, collect, survey and survey the current condition of Sim, for information and evidence of rehabilitation, proposed guidelines for conservation and restoration of participation. Keywords: sim Isan, Vernacular Architecture, conservation
Download Full-Text
Scan QR Code
33
34
ABSTRACT
Technical Session 2:
สถาปัตยกรรมผังเมือง การผังเมือง และภูมิสถาปัตยกรรม (Urban Architecture, Urban Planning and Landscape Architecture)
35
การทดสอบอุณหภูมิขององค์ประกอบทางภูมิทัศน์ ส�ำหรับการพักผ่อนและนันทนาการช่วงเย็น บริเวณพื้นที่ริมตลิ่ง กรณีศึกษา ริมคลองสมถวิล จังหวัดมหาสารคาม
Temperature Testing of Canal Landscape for Recreation During the Evening A Case Study of Somthawil Canal, The Inner City of Mahasarakham อัมภานุช บุพไชย1* และ สุพัฒน์ บุญยฤทธิกิจ2
นักศึกษาปริญญาโท สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2 รองศาสตราจารย์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
1
Umpanooch Buppachai1* and Suphat Bunyarittikit2 Graduate Student, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, 1 Soi Chalongkrung 1, Ladkrabang, Bangkok, 10520 2 Associate Professor, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, 1 Soi Chalongkrung 1, Ladkrabang, Bangkok, 10520 *Email: umpanooch.b@gmail.com 1
บทคัดย่อ
บทความนีเ้ ป็นการศึกษาเกีย่ วกับการทดสอบอุณหภูมขิ ององค์ประกอบทางภูมทิ ศั น์สำ� หรับการพักผ่อนและ นันทนาการช่วงเย็น บริเวณพื้นที่ริมตลิ่ง กรณีศึกษา ริมคลองสมถวิล จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งองค์ประกอบทางภูมิ ทัศน์ดังกล่าวมีผลต่อสภาวะน่าสบายในเรื่องอุณหภูมิ เป็นตัวชี้วัดความเป็นเมืองน่าอยู่ที่ส�ำคัญอย่างหนึ่ง ความเข้าใจ ในเรื่องของลักษณะทางกายภาพของภูมิทัศน์ที่แตกต่างกันส่งต่ออุณหภูมิ จะช่วยให้ภูมิสถาปนิกซึ่งเกี่ยวข้องกับการ ออกแบบภูมทิ ศั น์บริเวณพืน้ ทีร่ มิ ตลิง่ ใช้เป็นแนวทางในการพิจารณาออกแบบสภาพแวดล้อมบริเวณพืน้ ทีร่ มิ ตลิง่ โดย ใช้องค์ประกอบทางภูมิทัศน์ต่างๆ ได้แก่ วัสดุพื้นผิวปกคลุม พืชพันธุ์ แหล่งน�้ำ และสภาพภูมิประเทศ เพื่อช่วยให้ บริเวณพืน้ ทีก่ รณีศกึ ษาทีม่ ลี กั ษณะเป็นพืน้ ทีร่ มิ ตลิง่ ซึง่ มีการใช้งาน อยูใ่ นสภาวะน่าสบายด้านอุณหภูมิ นอกเหนือจาก การพิจารณาในเรื่องความสวยงาม วิธีการศึกษาเป็นการเปรียบเทียบอุณหภูมิการแผ่รังสีเฉลี่ย จากจุดสังเกต 6 จุด ที่มีลักษณะแตกต่างกันตามแนวตัดขวางของพื้นที่ริมตลิ่งและสภาพแวดล้อมโดยรอบ ในแต่ละจุดสังเกตจะมีองค์ ประกอบทางภูมิทัศน์แตกต่างกันบริเวณพื้นที่กรณีศึกษา ประกอบด้วย ถนนพื้นผิวคอนกรีต ทางเท้าพื้นผิวบล็อก คอนกรีตริมถนน ทางลาดเอียงพืน้ ผิวคอนกรีต ทางเท้าริมคลองพืน้ ผิวคอนกรีต และคลอง โดยด�ำเนินการบันทึกข้อมูล อุณหภูมิการแผ่รังสี อุณหภูมิอากาศ และอุณหภูมิพื้นผิว ตั้งแต่เวลา 16.00-19.00 น. ทุก 15 นาที เป็นเวลา 5 วัน เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างอุณหภูมิในแต่ละจุดสังเกต 6 จุด ผลการศึกษาพบวา อุณหภูมิขององค์ประกอบทาง ภูมิทัศน์ส�ำหรับการพักผ่อนและนันทนาการช่วงเย็น บริเวณพื้นที่ริมตลิ่งมีความแตกต่างกัน โดย จุดที่มีอุณหภูมิ การแผ่รงั สีสงู ทีส่ ดุ ได้แ ก บริเวณทางเดินริมคลอง พืน้ ผิวคอนกรีต และจุดทีม่ อี ณ ุ หภูมกิ ารแผ่รงั สีตำ�่ ทีส่ ดุ ได้แก่ บริเวณ คลองสมถวิล ส�ำหรับขอเสนอแนะในการออกแบบภูมิทัศนบริเวณพื้นที่ริมตลิ่ง ควรมีการใชตนไม้ในการสกัดกั้น การแผ่รังสีดวงอาทิตย เพื่อลดปริมาณความร้อนที่แผ่ลงมายังพื้นผิว และเรื่องการใชวัสดุพื้นผิวที่ปกคลุมด้วย พืชพันธุและการเลือกใชพื้นผิวที่มีค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนที่เหมาะสม
36 ค�ำส�ำคัญ: อุณหภูมิ, ภูมิทัศน์, พื้นที่ริมตลิ่ง
Abstract
This research is a study of temperature testing of canal landscape for recreation during the evening, a case study of Somthawil canal, the inner city of Mahasarakham. Temperature is an important factor of thermal comfort. Changes in temperature affect thermal comfort which is one of healthy city indicators. The understanding of the characteristics of canal landscape element and their effects temperature will guide landscape architect to a proper design of a landscape around street concerning not only aesthetic but also thermal comfort. The method of this research is comparing temperature data of six different observation points along a cross section of canal landscape and surrounding landscape. Each observation point consists of different canal landscape element characteristics and environmental conditions. The data are recorded in 15 minutes interval from 16.00 p.m.to 19.00 p.m. to compare differences throughout the period of recording. The study shows that different canal landscape element characteristics result in different radiant temperature in each location. The average highest temperature point is at the sidewalk along the canal. The average lowest temperature point is at the canal. Pertaining to thermal comfort, a design of landscape need to have tree cover to reduce radiation from the sun and a proper selection of a landscape materials in term of proper albedo value, and vegetative surface cover. Keywords: Temperature, Landscape, Canal Landscape Download Full-Text
Scan QR Code
37
แนวทางการออกแบบภูมิทัศน์ จากนิเวศวัฒนธรรม บริเวณพื้นที่ศาลเจ้าพ่อศรีนครเตา ต�ำบลเมืองเตา อ�ำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม
SRI-NAKORN-TAO Shrine Landscape Design Model from Cultural Ecology Case Study of Tumbon Mueang Tao, Amphoe Phayakkhaphum Phisai, Mahasarakham Province ธเนศ ฉัตรจุฑามณี1* ศุภธิดา สว่างแจ้ง2 เมธี พิริยการนนท์3 วิวัฒน์ วอทอง4 ณัฐวัฒน์ จิตศีล5 สกลชัย บุญปัญจา6 และพลเดช เชาวรัตน์7 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Thanet Chatjutamanee1* Suphathida Sawangchaeng2 Methee Piriyakarnnon3 Wiwat Wothong4 Nattawat Jitsin5 Sakolchai Boonpunja6 and Pondej Chaowarat7 1-7 Lecture,Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts, Mahasarakham University, Tambon Khamleng, Amphoe Kantharawichai, Mahasarakham Province *Thanet.c@msu.ac.th บทคัดย่อ
แนวทางการออกแบบภูมิทัศน์ จากวิถีชุมชนเมืองเตา บริเวณพื้นที่ศาลเจ้าพ่อศรีนครเตา ต�ำบลเมืองเตา อ�ำเภอพยัคฆภูมพิ สิ ยั จังหวัดมหาสารคาม มีวตั ถุประสงค์ของการศึกษาเพือ่ ออกแบบภูมทิ ศั น์จากแนวทางการศึกษา องค์ประกอบภูมทิ ศั น์ จากนิเวศวัฒนธรรม การศึกษาน�ำไปสูก่ ารเลือกบริเวณพืน้ ทีศ่ าลเจ้าพ่อศรีนครเตา ให้สนับสนุน วิถีชุมชนและสามารถพึ่งพาประโยชน์จากระบบนิเวศรวมถึงเสริมสร้างกิจกรรมของชุมชนบริเวณพื้นที่ดังกล่าว วิธกี ารศึกษา ใช้กระบวนการมีสว่ นร่วมแบบบูรณาการและกระบวนการ PDCA และ PAR คือ ลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจ สัมภาษณ์ชมุ ชน น�ำเสนอแนวทางการออกแบบและตรวจสอบความถูกต้องโดยชุมชน ผูน้ ำ� ชุมชน หน่วยงานปกครอง ส่วนท้องถิ่นสถาบันการศึกษา รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน ผลจากการศึกษาพบว่านิเวศบริการจากโครงสร้างภูมิทัศน์ ในพื้นที่ภูมิทัศน์วัฒนธรรมบริเวณโดยรอบ บ้านเมืองเตา ประกอบด้วยผืนภูมิทัศน์ 2 กลุ่มคือ 1) ลักษณะผืนภูมิทัศน์ที่ดอนและหย่อมป่า เป็นพื้นที่ส�ำคัญทาง ความเชือ่ เกีย่ วข้องกับการรวมตัวเพือ่ จัดงานประเพณี และอยูอ่ าศัย อีกทัง้ ใช้ประโยชน์จากป่าชุมชนดอนปูต่ า ในการ เป็นแหล่งอาหาร วัตถุดบิ รวมถึงควบคุมคุณภาพของอากาศ และการระบายน�ำ้ และพัดพาตะกอนลงสูท่ ลี่ มุ่ 2) ผืนภูมทิ ศั น์ ที่ลุ่มและแหล่งน�้ำ เกี่ยวข้องกับประเพณีด้านการเกษตร ชุมชนได้ประโยชน์ในการเป็นพื้นที่รับน�้ำ แหล่งน�้ำอุปโภค บริโภครวมถึงเป็นแหล่งอาหารจากพืชน�้ำและสัตว์น�้ำ บริเวณโดยรอบศาลเจ้าพ่อศรีนครเตา เป็นแหล่งความเชื่อ เกี่ยวข้องกับต�ำนานเจ้าพ่อศรีนครเตา ที่ชุมชนให้ความเคารพนับถือ รวมถึงใช้ในการประกอบพิธีกรรม สามารถ ออกแบบภูมิทัศน์และวางผังกลุ่มอาคารได้ 5 ส่วนคือ 1) ส่วนพื้นที่ทางเข้า แนวต้นสะเดาและลานจอดรถ 2) เส้นทาง เดินศึกษาธรรมชาติ สวนป่าและสมุนไพร 3) ส่วนลานปฏิบัติธรรม 4) แหล่งเรียนรู้พืชน�้ำ และ 5) กลุ่มอาคาร อเนกประสงค์ ประกอบด้วยพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน ห้องสมุดชุมชน ศาลาริมน�้ำ อาคารต้อนรับและอาคารอเนกประสงค์ ค�ำส�ำคัญ : นิเวศวัฒนธรรม, นิเวศบริการ, เมืองเตา, ศาลเจ้าพ่อศรีนครเตา
38
Abstract
SRI-NAKORN-TAO Shrine Landscape Design Model a Case Study of Tumbon Mueang Tao, Amphoe Phayakkhaphum Phisai, Mahasarakham Province aims to investigate the Cultural Ecology landscape design theory from the panoramic level for the community ecological benefit comprehension. The study was divided into Landscape Structure and Ecosystem Service studies. The result would be drawn to indicate the navigated landscape and building design areas. This study led the researcher to investigate the SRI-NAKORN-TAO Shrine area for having the ecological benefit as well as supporting the community activities. The research methodology was conducted through participatory Integrative and PCDA and PAR processes; area surveying, community residents interviewing, design model presentation, and correctness checking by the community leaders, local administrative sectors as well as interested parties. The result found that the ecosystem service from the landscape structure in the cultural landscape area around the Mueang Tao Sub-District including 1) high terrace is the way of life tradition area, and small forest landscapes which are the Don Pu Ta villagers resident and food and raw material source as well as being the weather control are and water way to sweep any sediments through the lowland and 2) lowland and water source landscapes related agricultural tradition which are the drainage and consumed water areas including being the food source from water plants and animals.The surrounded area of SRI-NAKORN-TAO Shrine was believed and related to the SRI-NAKORN-TAO city god, the village guardian, as well as being the worship area. The researcher was able to design the landscape and plan the building into 5 areas; 1) entrance area, Siamese neem trees colonnade, and parking lot, 2) nature trail to study the forestry plantations and herbs, 3) dharma practicing ground, 4) water plant learning center, and 5) buildings include folk museum, local library, riverside pavilion, reception, and multipurpose buildings. Keywords: Cultural Ecology, Ecosystem Service, Mueang Tao, SRI-NAKORN-TAO Shrine Download Full-Text
Scan QR Code
39
รูปทรงหลังคาเรือนพื้นถิ่นในจังหวัดนครราชสีมา
Identity on Roof Style of Vernacular House in Nakornrachsima อธิป อุทัยวัฒนานนท์1* นพดล ตั้งสกุล2 ทรงยศ วีระทวีมาศ3 การุณย์ ศุภมิตรโยธิน4 สุกัญญา พรหมนารท5 นิสรา อารุณ6ี และกุลศรี ตั้งสกุล7 อาจารย์ประจ�ำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002
Atip Utaiwattanont1* and Nopadon Thungsakul2, Songyot Weeratawemat3, Karun Suphamityotin4, Sukanya Prommanart5, Nisara Aruni6 and Kunlasri Thungsakul7 Lecturer, Faculty of Architecture, Khon Kaen University, Khon Kaen, 40002 *Email: uatip@kku.ac.th บทคัดย่อ
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบที่อยู่อาศัยและเทคนิคในการก่อสร้างในปัจจุบัน ท�ำให้อัตลักษณ์ของที่อยู่อาศัย เปลี่ยนแปลงและได้ส่งผลกระทบต่อองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาในการก่อสร้างบ้านเรือนซึ่งนับวันก็จะสูญหายไป ดังนัน้ โครงการศึกษาวิจยั เพือ่ การจัดการความรูเ้ รือ่ งทีเ่ รือ่ งอัตลักษณ์และภูมปิ ญ ั ญาด้านทีอ่ ยูอ่ าศัยของท้องถิน่ : กรณี ศึกษาพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรณีศึกษาพื้นที่ลุ่มน�้ำมูล-ล�ำพระเพลิง ในแอ่งโคราช จึงจัดท�ำขึ้นโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ด้านรูปทรงหลังคาที่อยู่อาศัยอันเกิดจากวิวัฒนาการวิถีการอยู่อาศัยของผู้คน ในอีสานตอนล่าง เพือ่ ให้พร้อมในการน�ำไปใช้สำ� หรับเผยแพร่ให้สาธารณชนได้เรียนรูร้ วมทัง้ พัฒนาต่อยอดเพือ่ สืบสาน ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ เกีย่ วกับทีอ่ ยูอ่ าศัย โครงการจึงท�ำการเก็บตัวอย่างเรือนพืน้ ถิน่ ทีถ่ อื ได้วา่ เป็นเอกลักษณ์และสะท้อน ถึงภูมิปัญญาของท้องถิ่นในอีสานตอนล่าง รวมทั้งแสดงถึงพัฒนาการในการอยู่อาศัยในพื้นที่ลุ่มน�้ำมูล-ล�ำพระเพลิง โดยเลือกส�ำรวจเรือนทัง้ หมดจ�ำนวน 17 หลัง กระจายตัวอยูต่ ลอดแนวทีร่ าบลุม่ น�ำ้ ในพืน้ ที่ 4 อ�ำเภอ ได้แก่ อ.ด่านขุนทด อ.ปักธงชัย อ.สีคิ้วและอ.โชคชัย ผลการศึกษาพบลักษณะร่วมทางด้านรูปแบบหลังคาอันเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ภาคอีสานตอนล่างรูปแบบ เก่า ได้แก่ เรือนจั่วเดี่ยวแบบเรือนชาน เรือนจั่วคู่มีชานเชื่อม และเรือนจั่วเดี่ยวมีระเบียง ตลอดจนเรือนที่พัฒนา ภายหลังการมีสงั กะสี ได้แก่ เรือนจัว่ แฝด และเรือนสามจัว่ ซึง่ แตกต่างจากภาคอีสานทัว่ ไป ได้แก่ เรือนเกย เรือนแฝด และเรือนโข่ง ขณะเดียวกันก็พบว่ามีอัตลักษณ์ย่อยของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ปรากฎอยู่ในรูปแบบเรือนและวัฒนธรรม ในการใช้พื้นที่ภายในเรือนที่แตกต่างกันออกไป พื้นที่ดังกล่าวยังเป็นที่รวมของกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลาย ได้แก่ ไทโคราช ไทยวน มอญและไทลาว ซึ่งมีพัฒนาการด้านที่อยู่อาศัยอย่างต่อเนื่อง ค�ำส�ำคัญ : อัตลักษณ์, ภูมิปัญญา, เรือนพื้นถิ่น, ภาคอีสานตอนใต้, ที่อยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์, จังหวัดนครราชสีมา
40
Abstract
Presently, housing style and construction methods have been changed from time to time, therefore a current condition of the transformation of house style has accelerated the loss of cultural identity and the decline of local wisdom. This research, “Knowledge Management of Thai Identity and Local Wisdom onHousing Development in North East Region: A Case study of the Mun-Phra Pleng River Basin in Korat Basin”, has been conducted aiming to collect local ways in constructing traditional Roof style from people’s lifestyle in order to dissimilate the knowledge from research findings for public to learn in accordance with their interests. Field research conducted in 4 districts along the Mun-Phra Pleng River Basin where traditional houses that have reflected Southern Isan identity can still be found, including Dan Khun Thot district, Pak Thong Chai district, Si-khio district and Chok Chai district through 17 various house styles selected as house samples that reflected the development of housing style in the focused area. Findings from this research indicated that vernacular houses in study area have maintain similarity characteristics in terms of Roof style those can be defined as Southern Isan house including Gable with Terrace, Double Gable connected by Terrace and Single Gable with Balcony as well as the house developed after the new roof material zinc coated metal sheet wihich are Double Gable and Triple Gable. They are different from those in the north and central area of Isan region such as Kaey House and Kong House. Moreover, it has been found that each ethnic group has created sub-identity which express through house style and space-use as interpreted by each ethnic. Moreover, this area has also the melting pot for the settlement of diverse ethnicities including Tai Korat, Tai Yuan, Mon and Tai Lao. Housing styles have indicates a continuous development from various factors in the area. Keywords: Identity, Local Wisdom, Vernacular house, Southern Isan region, Houses of ethnic groups, Nakhon Ratchasrima province Download Full-Text
Scan QR Code
41
การประเมินผลกระทบทางสายตาของอาคารสูงต่อภูมิทัศน์ชุมชนเมือง กรณีศึกษา : โครงการ ICONSIAM
Visual Impact Assessment of High-rise Building in Urban Landscape: A Case Study of the Iconsiam Project ทรงภพ เมฆพรรณโอภาส อาจารย์ประจ�ำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Songbhop Mekkapan-opas Lecturer, Faculty of Architect, Urban Design and Creative Art, Mahasarakham University, Kantarawichai District, Maha Sarakham 44150 Email: atomz_raw@hotmail.com บทคัดย่อ
ไอคอนสยาม (Iconsiam) โครงการการพัฒนาเชิงพาณิชยกรรมโดยมีศนู ย์การค้าแห่งใหม่และคอนโดมิเนียม ริมฝัง่ แม่นำ�้ เจ้าพระยาซึง่ คอนโดมิเนียมในโครงการไอคอนสยามนี้ กล่าวได้วา่ เป็นอาคารทีส่ งู ทีส่ ดุ ในประเทศไทยทีต่ งั้ อยู่ใกล้กับศูนย์กลางเมือง จึงท�ำให้โครงการดังกล่าวส่งผลกระทบต่อพื้นที่โดยรอบ โดยเฉพาะผลกระทบทางสายตา ต่อภูมทิ ศั น์ชมุ ชนเมืองทีม่ คี ณ ุ ค่าและความส�ำคัญจากอดีตจนถึงปัจจุบนั ดังนัน้ การประเมินผลกระทบทางสุนทรียภาพ ทางสายตาจึงเป็นอีกวิธหี นึง่ ทีจ่ ะศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบดังกล่าวเพือ่ น�ำไปสูม่ าตรการลดผลกระทบทางสายตา อย่างเหมาะสม ขั้นตอนการศึกษาและประเมินผลกระทบทางสายตามีทั้งหมด 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นที่ฐาน 2) ศึกษาข้อมูลภาคสนามเบื้องต้น 3) ก�ำหนดภาพตัวแทน 4) สร้างแบบจ�ำลองเพื่อท�ำการวิเคราะห์และประเมินผล กระทบที่มีต่อภูมิทัศน์โดยรอบ 5) เสนอแนะแนวทางการลดผลกระทบทางสายตาที่มีต่อภูมิทัศน์ชุมชนเมือง ผลการประเมินผลกระทบทางสายตาสรุปได้ว่าโครงการไอคอนสยามสามารถมองเห็นได้จากหลากหลาย พื้นที่รัศมีประมาณ 2 กิโลเมตร ซึ่งภูมิทัศน์เมืองโดยรอบรัศมีดังกล่าวนี้ประกอบด้วย ถนนสายส�ำคัญ,พื้นที่ที่มีความ ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ของชุมชนเมือง โดยในแต่ละผลกระทบทางสายตาที่เกิดขึ้นจะมีค่าระดับของผลกระทบ ที่แตกต่างกันออกไป
ค�ำส�ำคัญ : ไอคอนสยาม, การประเมินผลกระทบทางสายตา, ภูมิทัศน์ชุมชนเมือง, อาคารสูง
42
Abstract
Iconsiam is a large commercial development project in Thailand. It comprises a new shopping complex and condominium located by the Chao Phraya River. The condominium of this project is the tallest in Thailand. It is located near the heart of the urban community, economy, society, and culture. Therefore, this project may pose certain impacts on the surrounding areas, especially on the landscape aesthetics characterized by valuable urban communities from the past to the present. The landscape aesthetic impact assessment is a way to launch appropriate impact mitigation measures. The process of investigating and assessing landscape aesthetic impacts consists of 5 steps: 1) a study of baseline data, 2) a preliminary field survey, 3) visual representation, 4) making simulation model for the landscape aesthetic impact analysis and assessment, and 5) recommendations for mitigating the landscape aesthetic impact on the urban communities. According to the assessment, it can be concluded that Iconsiam development project can be seen from the distance of 2 kilometers. The urban area from the radius of 2 kilometers consists of major roads and important historical sites. However, the landscape aesthetic impacts have different levels. Keywords: Iconsiam, Visual Impact Assessment, Urban Landscape, High-rise Building Download Full-Text
Scan QR Code
43
แนวคิดการประยุกต์อัตลักษณ์ท้องถิ่นอีสานในสถาปัตยกรรมร่วมสมัย
Concept of Applying Isan local identity in contemporary architecture ณัฐกรณ์ ธนานันต์1* และ นพดล ตั้งสกุล2 นักศึกษา หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1 2
อาจารย์ประจ�ำ หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Nutthakorn Thananun1* and Nopadon Thungsakul2 1 Graduate Student, Faculty of Architecture, Khon Kaen University, Khon Kaen, 40002 2 Assistant Professor, Faculty of Architecture, Khon Kaen University, Khon Kaen, 40002 *Email: Thananun20@gmail.com บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการศึกษาแนวคิดการประยุกต์อัตลักษณ์ท้องถิ่นอีสานในสถาปัตยกรรมร่วมสมัย โดยการ ค้นหาที่มาและภาพรวมของแนวทางการน�ำอัตลักษณ์ของท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรม ร่วมสมัย โดยศึกษาจากงานวิจยั และบทความทางวิชาการทีเ่ กีย่ วข้อง และท�ำการศึกษาจากกรณีศกึ ษาสถาปัตยกรรม ร่วมสมัยในภาคอีสาน จากข้อมูลจากวารสารและสิ่งพิมพ์ ที่มีการเผยแพร่ต่อสาธารณะ ผลการทบทวนเอกสารและ วิเคราะห์อาคารกรณีศกึ ษาพบว่า มีแนวคิดในการประยุกต์อตั ลักษณ์ทอ้ งถิน่ อีสานสองแนวทางหลัก ได้แก่ 1.) แนวคิด จากการประยุกต์ใช้องค์ประกอบสถาปัตยกรรมในท้องถิ่น และ 2.) แนวคิดจากการใช้องค์ประกอบทางศิลปะจาก วิถีชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่น ซึ่งในบางกรณีสามารถใช้ผสมผสานทั้งสองแนวคิดไปพร้อมกันได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะ โครงการและข้อจ�ำกัดที่มี ค�ำส�ำคัญ : อัตลักษณ์ท้องถิ่นอีสาน, สถาปัตยกรรมร่วมสมัย, แนวทางในการออกแบบสถาปัตยกรรม
44
Abstract
This article aims to study of the concept of applying Isan local identity in contemporary architecture. Research methodology were compose of 2 date sets; (1) searching an overview of guidelines for applying local identity in contemporary architectural design from relevant research and academic articles, and (2) by studying from the case of contemporary architecture in the Northeastern region through document review from journals and publications and physical appearance analysis of selected buildings. The results can be concluded that there were two concepts of applying Isan local identity in contemporary architecture: 1.) Concepts from the application of local architectural elements and 2.) Concepts from the use of artistic elements from local culture and people’ way of living. For some cases both concepts can be applied through design at the same time depending on the projects programming and their limitations Keywords: Isan local identity, Contemporary architecture, Architectural design concepts Download Full-Text
Scan QR Code
45
การศึกษาเพื่อการจัดการ อนุรักษ์และพัฒนาด้านกายภาพพื้นที่ โดยรอบ ก�ำแพงเมือง – คูเมือง เมืองโบราณสองชั้น จังหวัดบุรีรัมย์
The Study for Developing Urban Management Guideline in Consecrating Area: The Case of Songchan Historical Village, Buriram Province คัมภีร์ หลอดหลง1* และ ดิฐา แสงวัฒนะชัย2 นิสิตระดับปริญญาโท สาขาการวางผังชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1
อาจารย์ประจ�ำ สาขาการวางผังชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2
Khamphee Lodlong1*, Dita Sangvatanachai2 1 Graduate Student, Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts, Mahasarakham University 2 Lecturer, Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts, Mahasarakham University *Email: londlong.k@hotmail.com บทคัดย่อ
จังหวัดบุรรี มั ย์เป็นแหล่งอารยะธรรมทางประวัตศิ าสตร์โบราณคดีและ มีโบราณสถานก�ำแพงเมือง – คูเมือง กระจายในพื้นที่จังหวัดโดยประมาณ 147 เมือง ขอบเขตที่ดิน ก�ำแพงเมือง – คูเมือง เมืองโบราณบ้านสองชั้นอาจมี ความต้องการแก้ไขปัญหาทางกายภาพและ เพือ่ พัฒนาให้สอดคล้องกับภูมทิ ศั น์ของเมืองในปัจจุบนั ส�ำรวจพืน้ ที่ เสนอ แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนา ก�ำแพงเมือง – คูเมือง เมืองโบราณบ้านสองชั้น การศึกษา ทางด้านกายภาพ ปัญหา การบุกรุกทีด่ นิ ทับแนวขอบเขต ก�ำแพงเมือง-คูเมือง การใช้กฎหมายของหน่วยงานในภาคภาครัฐและ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ กระบวนการควบคุมดูแลการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ในทีด่ นิ ของชุมชนใกล้เคียงพืน้ ทีก่ ำ� แพงเมือง-คูเมืองเมือง โบราณบ้านสองชั้นสร้างความรู้ความเข้าใจและ ห่วงแหนเห็นความส�ำคัญของโบราณสถาน ผลจากการวิจัยเป็นแนวทางหนึ่งที่เป็นกรณีศึกษาที่แก้ไขปัญหาของชุมชนที่บุกรุกพื้นที่โบราณสถานและ พบว่าการจัดการพื้นที่ต้องมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องคือ ส�ำนักงานธนารักษ์พื้นที่บุรีรัมย์และ กรมศิลปกรที่ 10 ในฐานะ เป็นเจ้าหน้าที่การควบคุมการใช้พื้นที่โบราณสถาน แต่เป็นเพียงการอนุรักษ์ ต้องร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่น จากการใช้กฎหมาย เป็นเพียงส่วนหนึ่งของการพัฒนาซึ่งประชาชนที่อยู่ในบริเวณเดิมที่ยังไม่มีความพร้อมที่จะ สามารถหาทีอ่ ยูใ่ หม่ได้กเ็ ปิดโอกาสให้อยูท่ เี่ ดิมได้โดยการเช่าพืน้ ทีร่ ะยะยาวแต่มเี งือ่ นไขกับชุมชนในพืน้ ทีว่ า่ จะต้องให้ ความร่วมมือในการปรับสภาพแวดล้อมในทีอ่ ยูอ่ าศัยให้ดขี นึ้ โดยไม่ปล่อยให้ทรุดโทรม เทศบาลต�ำบลสองชัน้ ท�ำหน้าที่ ประสานงานและ ของบประมาณในการสนับสนุนเพื่อการพัฒนาเชิงอนุรักษ์ในการจัด บริหารจัดการพื้นที่รวมทั้ง การน�ำไปสูก่ ารเผยแพร่ความรูค้ วามเข้าใจเพือ่ ลดปัญหาการบุกรุกและเกิดความห่วงแหนต่อโบราณสถาน ก�ำกับให้งาน ส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้
46
ค�ำส�ำคัญ : ก�ำแพงเมือง – คูเมือง, เมืองโบราณ, การใช้กฎหมาย, การใช้ประโยชน์ในที่ดิน
Abstract
Buriram Province is a source of civilization in the archaeological history and consists of archaeological sites of city wall-moat distributed in the areas of the province, about 147 towns. This is the main reason for setting the neighboring land boundaries to people who have land adjacent to the land of the public domain. The ancient town of Bansongchan (two-story house), Krasang district, Buriram province, is an ancient town surveyed by the Department of the Treasury (2004 to present) and has determined the boundary of the city wall - the moat. Bansongchan may need to resolve physical problems and to develop in accordance with the current landscape of the city. The results of this research provided a guideline, by a case study, to solve the problems of communities that invaded ancient. The results found that the area management required to have related agencies, namely the Buriram Area Treasury Office and Department of Fine Arts 12 as an officer to control the use of ancient sites. However, it is only the conservation that requires cooperating with a local government organization. In addition, the law enforcement is only part of the development, where people in the same area who are not ready to be able to find a new settlement were given the opportunity to stay in the same places in the form of renting long-term areas. Still, there are conditions with communities in the area that they will have to cooperate in improving their living environment to get better without letting it deteriorate. Songchan municipality plays a role as coordinator and requires requesting a budget for support for conservation development in the area management, as well as to lead to promote the dissemination of knowledge and understanding to reduce intrusion problems and increase a loop of concern to the archaeological site, directing the work to be accomplished according to the stated objectives. Keywords: City wall and moat, Ancient town, Use of law, Land use Download Full-Text
Scan QR Code
47
48
ABSTRACT
Technical Session 3:
สถาปัตยกรรม และการจัดการก่อสร้าง (Thai Architecture and Construction Management)
49
ชุดส�ำรวจรอยร้าวผนังก่ออิฐ
Crack Masonry Survey Kit ดนัย นิลสกุล อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
Danai Nilsakul Lecturer, Program in Architectural Technology, Faculty of Industrial Technology, Buriram Rajabhat University Email: danainil3115@gmail.com บทคัดย่อ
การส�ำรวจรอยร้าวผนังก่ออิฐด้วยวิธีการตรวจเชิงพินิจเป็นกระบวนการหนึ่งที่มีความส�ำคัญในการอนุรักษ์ สถาปัตยกรรม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครื่องมือตรวจสอบอาคารในภาคสนาม โดยใช้หลักการประเมิน ความเสียหายอาคารจากความกว้างของรอยร้าวใน 5 ระดับ และแนวคิดการระบุต�ำแหน่งรูปสามเหลี่ยมเพื่อตรวจ สอบการเคลือ่ นตัวของรอยร้าว อุปกรณ์นจี้ งึ สามารถประเมินระดับความเสียหายและตรวจสอบการทรุดตัวของอาคาร เบื้องต้นได้ในอุปกรณ์เดียว ค�ำส�ำคัญ : อุปกรณ์, รอยร้าว, ผนังก่ออิฐ
50
Abstract
Cracked masonry survey with visual inspection method in a vital process for architectural conservation. This study aims to design a field-sited building checking tool by using the building damage assessment of 5 level crack width and triangulated markers in checking the movement of cracks. This device is able to assess the level of damage and subsidence of the building at the early stage in one. Keywords: Kit, Crack, Masonry Download Full-Text
Scan QR Code
51
การวิเคราะห์ความขัดแย้งและข้อพิพาทในโครงการก่อสร้าง โดยใช้วิธีวิทยาคิว
Analysis of Conflicts and Disputes in Construction Projects Using Q Methodology กฤต โง้วธนสุวรรณ รองศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ประเทศไทย 44150
Grit Ngowtanasuwan Associate Professor, Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts, Maharasakham University, Mahasarakham, 44150, Thailand *Email: grit_n@hotmail.com บทคัดย่อ
รายงานวิจัยนี้ คือ เรื่องการวิเคราะห์ความขัดแย้งและข้อพิพาทในโครงการก่อสร้างโดยใช้วิธีวิทยาคิว ซึง่ เกีย่ วข้องกับบุคคลหลายฝ่าย เช่น ผูว้ า่ จ้าง ผูร้ บั จ้างเหมาก่อสร้าง ผูค้ วบคุมงานก่อสร้าง และวิศวกรทีป่ รึกษาท�ำหน้าที่ ควบคุมงานก่อสร้าง เป็นต้น ทุกคนที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้างไม่มีใครอยากให้มีปัญหาอุปสรรคเกิดขึ้นขณะที่ท�ำงาน ร่วมกัน เพราะอาจจะเป็นที่มาของข้อพิพาทและการโต้แย้งขึ้นได้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ปัญหาอุปสรรคย่อมเกิด ขึ้นได้ จะมากน้อย รุนแรงเพียงใดขึ้นกับเหตุการณ์ สถานการณ์และสภาพของพื้นที่ท�ำงาน ร่วมทั้งวิธีการแก้ไขปัญหา ร่วมกันและอาจส่งผลท�ำให้เกิดเป็นกรณีถกเถียงฟ้องร้องขึ้น วัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัญหาหรือ ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการเกิดความขัดแย้งและข้อพิพาทระหว่างผูร้ บั เหมากับเจ้าของโครงการก่อสร้าง จากนัน้ ก็ทำ� การวิเคราะห์ และจัดกลุ่มปัจจัยที่ได้ ซึ่งจะน�ำไปสู่ค�ำตอบในการลดปัญหาการเกิดข้อพิพาทในโครงการก่อสร้างลงได้ ขั้นตอนการ วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยเทคนิควิธวี ทิ ยาคิว (Q-Methodology) ถูกใช้เพือ่ การวิเคราะห์จดั กลุม่ ตัวแปรในงานวิจยั ผลลัพธ์ ที่ได้จะน�ำไปสู่การสร้างกลยุทธ์ในการลดปัญหาการเกิดข้อพิพาทในโครงการก่อสร้างในประเทศไทย ค�ำส�ำคัญ : ความขัดแย้ง, ข้อพิพาท, โครงการก่อสร้าง, วิธีวิทยาคิว
52
Abstract
This article is a research title “analysis of conflicts and disputes in construction projects using Q methodology� which is related many stakeholders such as project owner, contractor, inspector and consultant engineer. Everyone in the project stakeholders, no one wants to have problems or barriers to work while working together. Because it will lead to conflicts and disputes. But in fact, the barriers will arise. It will be much or less severe, it depends on the situation and the condition of the workspace as well as the solution to the problems together and may result in a lawsuit. The main objective of this research is to investigate the problems or factors that affect the conflicts and disputes between the contractors and the project owners of the construction projects. Then analyze and group the factors. This will lead to the solution to the problem of construction dispute. The process of data analysis by a technique of Q-Methodology is used for analysis, grouping variables in research. The results will lead to a strategy to reduce the problems of construction projects in Thailand. Keywords: Conflict, Dispute, Construction Project, Q-Methodology Download Full-Text
Scan QR Code
53
ผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมของรองศาสตราจารย์ธิติ เฮงรัศมี
Architectural Design by Associate Professor Dithi Hengramsee สันต์ จันทร์สมศักดิ1* ์ และ สิริมาส เฮงรัศมี2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 65000
1
Sant Chansomsak1* and Sirimas Hengrasmee2 1Assistant Professor, Faculty of Architecture, Naresuan University, Phitsanulok, Thailand, 65000 บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นผลจากการศึกษาประวัติและรวบรวมผลงานของรองศาสตราจารย์ธิติ เฮงรัศมี สถาปนิก ผู้บุกเบิกและปฏิบัติวิชาชีพโดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออย่างต่อเนื่อง ถึงปัจจุบันรองศาสตราจารย์ธิติ มีผลงานการออกแบบกว่า 150 รายการ ไม่วา่ จะเป็นอาคารทีพ่ กั อาศัย อาคารเพือ่ การพาณิชย์ อาคารราชการ อาคาร เพื่อการศึกษา รวมไปถึงงานออกแบบวางผัง ผลการศึกษาอันได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลผลงานจากแบบก่อสร้าง ทัศนียภาพ รูปถ่ายและการสัมภาษณ์รองศาสตราจารย์ธติ ิ ผ่านวิธกี ารสัมภาษณ์แบบเชิงลึกแบบมีโครงสร้าง ทีม่ งุ่ เน้น ไปทีก่ ารบอกเล่าถึงประสบการณ์และการอธิบายลักษณะและรายละเอียดของผลงาน พบว่า แนวคิดหลักในการท�ำงาน ของท่าน คือการออกแบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในเขตร้อนชื้น ซึ่งมีหลักการ 4 ประการได้แก่ 1) การออกแบบเพื่อ การป้องกันแสงแดดและความร้อนจากดวงอาทิตย์ 2) การออกแบบเพือ่ การส่งเสริมการระบายอากาศด้วยวิธธี รรมชาติ 3) การออกแบบเพือ่ การป้องกันฝนและความชืน้ และ 4) การออกแบบทีต่ อบสนองกับสภาพท้องถิน่ และสะท้อนศิลป วัฒนธรรมพืน้ ถิน่ นอกเหนือจากแนวคิดหลักดังกล่าวแล้วแนวคิดเรือ่ งการตอบสนองประโยชน์ใช้สอย การใช้งบประมาณ ให้คมุ้ ค่า การค�ำนึงถึงการดูแลรักษา และการเปลีย่ นแปลงในอนาคต ล้วนแต่เป็นแนวคิดทีส่ ำ� คัญทีร่ องศาสตราจารย์ธติ ิ ยึดถือและปฏิบตั ิ ผลงาน การท�ำงานและการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมเพือ่ สังคมของท่านล้วนแต่มปี ระโยชน์ตอ่ การพัฒนา ท้องถิ่น และส่งผลต่อการพัฒนาวงการสถาปัตยกรรมในการผลักดันให้เกิดการยอมรับในอาชีพสถาปนิกจากบุคคล ภายนอกอีกด้วย ค�ำส�ำคัญ : ธิติ เฮงรัศมี สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในเขตร้อนชื้น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
54
Abstract
This paper aims to illustrate the results of the study the works of Associate Professor Dhiti Hengasmee, one of the pioneers in architectural profession, particularly in Northeast region of Thailand. Up to present, he has designed more than 150 projects, including residential buildings, commercial buildings, government buildings, educational buildings and university master plans. The method of study was through archiving his architectural drawing, perspectives, built architectural photos, and in-depth interview using the method of structured interview with Associate Professor Dhiti Hengrasmee, which aimed for the past experiences of the works and details of each work, as well as the main idea and method of the works. The basic idea behind the Dhiti’s works is modern tropical architecture, which can be classified into four principles: 1) Protection of direct sunlight, 2) Enhancement of natural ventilation, 3) Prevention of high-humidity, and 4) Reflection of local conditions. Besides the concept of modern tropical architecture, his practices also involves with the concepts of functional based design, cost efficiency, easy maintenance, and consideration of future change. As a result, his designs, works, and participation in social activities have supported local development and development of architectural professional to be more accepted by the society. Keywords: Dithi Hengrasmee, modern tropical architecture, northeast region of Thailand Download Full-Text
Scan QR Code
55
การส�ำรวจการใช้แบบหล่อคอนกรีต ส�ำหรับก่อสร้างอาคารที่พักอาศัย เขตอ�ำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
A SURVEY OF CONCRETE MOLDING FOR RESIDENTIAL BUILDINGS CONSTRUCTION IN NAKHON RATCHASIMA CITY ปริญญา เชิดเกียรติพล อาจารย์ประจ�ำ สังกัดหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ที่อยู่เลขที่ 340 ถนนสุรณารายณ์ อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000
Parinya Chardkeadpol Lecturer, Bachelor of Architecture (Arcitecture) Faculty of Industrial Technology Nakhon Nakhonratchasima Rajabht University 340 Suranarai Road, Nai Mueang Sub-District, Mueang District, Nakhon Ratchasima Province 30000 *Email: prinyong@hotmail.com บทคัดย่อ
การส�ำรวจการใช้แบบหล่อคอนกรีตทางเลือก จากงานก่อสร้างอาคารทีพ่ กั อาศัยในเขตอ�ำเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา โดยการศึกษาการหล่อคอนกรีตในงานก่อสร้าง เพื่อเป็นการศึกษาหาแนวทางการลดใช้ไม้แบบด้วย แบบหล่อคอนกรีตทางเลือก ในปัจจุบันโครงการหมู่บ้านจัดสรรในเขตอ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมาเพิ่มขึ้นเป็น จ�ำนวนมาก ที่พักอาศัยสร้างด้วยระบบคอนกรีตเสริมเหล็กทั้งหมด ซึ่งมีความแตกต่างด้านรายละเอียดการก่อสร้าง โดยการศึกษาจึงใช้วธิ กี ารลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจงานก่อสร้างการหล่อคอนกรีต และการศึกษาทัศนคติจากผูท้ เี่ กีย่ วข้องในงาน ก่อสร้าง เพื่อรวบรวมข้อมูลและสรุปผลเป็นแนวทางการลดใช้ไม้แบบด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่ส่งเสริมต่อสภาพแวดล้อม และเพิ่มประสิทธิภาพในงานหล่อคอนกรีต ในการศึกษามีกระบวนการดังนี้ 1) ศึกษาวรรณกรรมและข้อมูลต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับวัสดุหล่อคอนกรีต เพือ่ เป็นฐานข้อมูลสร้างแบบส�ำรวจเก็บข้อมูล และแบบสอบถามทัศนคติของผู้ที่เกี่ยวข้องในงานก่อสร้าง 2) การลงพื้นที่ ส�ำรวจจากกลุม่ ตัวอย่างจากงานก่อสร้างบ้านพักอาศัยคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึง่ เป็นกลุม่ ตัวอย่างทีอ่ นุญาตพร้อมให้เข้า ส�ำรวจได้ ทัง้ หมด 10 โครงการ โดยเลือกหนึง่ หลังต่อโครงการ กลุม่ ตัวอย่างก�ำหนดให้อยูใ่ นเขตอ�ำเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา โดยส�ำรวจเก็บข้อมูลการใช้แบบหล่อคอนกรีต ด้วยแบบส�ำรวจข้อมูลพืน้ ที่ เก็บข้อมูลด้านทัศนคติ เพือ่ น�ำ ข้อมูลเปรียบเทียบ วิเคราะห์ และสรุปการแนวโน้มการใช้แบบคอนกรีต จากการส�ำรวจพบว่าแบบหล่อเหล็กนิยมใช้มากที่สุด เนื่องจากทนทานไม่เสียหายจากการก่อสร้าง ข้อเสีย คือมีนำ�้ หนักมาก ราคาแพง ขนย้ายยากกว่า ส่วนแบบหล่อคอนกรีตพลาสติกมีขอ้ ดีคอื เนือ้ วัสดุมคี วามเหนีย่ วสามารถ ใช้ได้หลายครั้งตีตะปูแล้วผิวไม่แตกเสียหายเหมือนไม้แบบ ราคาไม่แพงเมื่อเทียบกับแบบเหล็ก น�้ำหนักเบา ข้อเสีย คือต้องมีโครงเคร่าเหล็กดามติดถาวร ปัจจัยทีเ่ ป็นทางเลือกลดการใช้ไม้แบบคือ หากผูป้ ระกอบอาชีพรับงานก่อสร้าง อาคาร ควรเลือกใช้แบบหล่อเหล็กหรือแบบหล่อพลาสติก เพราะระยะยาวคุม้ ค้ากว่าการใช้ไม้แบบทีเ่ สียหายง่าย และ ช่วยลดการสนับสนุนการตัดไม้เพื่อท�ำแบบหล่อคอนกรีตในงานก่อสร้างได้ ค�ำส�ำคัญ : ไม้แบบก่อสร้าง, การก่อสร้าง, แบบหล่อคอนกรีต, กลุ่มตัวอย่าง
56
Abstract
Exploring the use of alternative concrete formwork from the construction of residential buildings in Mueang District Nakhon Ratchasima by studying concrete casting in construction in order to study how to reduce the use of wood with alternative concrete formwork At present, the village housing project in Mueang District Nakhon Ratchasima Province has increased a lot. The residence is built with all reinforced concrete systems. Which has differences in construction details The study therefore uses the method of surveying concrete casting from construction work. The study of attitudes from those involved in construction To study and summarize as a guideline for reducing the use of wood with various methods that promote the environment And increase efficiency in concrete casting In the study, there are the following processes: 1) study literature and various information Related to concrete casting materials To be a database, create a survey, collect data And attitude questionnaires of those involved in construction work 2) Surveying areas from samples from reinforced concrete housing construction Which is a sample that is allowed to be ready to enter all 10 projects by selecting one post per project The sample group is located in Muang District Nakhon Ratchasima By surveying and collecting data using concrete formwork With a survey of area data Attitude data To use data to compare, analyze and summarize trends in the use of concrete From the survey, found that the most popular formwork is Due to durability, not damage from construction The disadvantage is that the weight is much more expensive, more difficult to move. As for the plastic concrete formwork, there is an advantage that the material has an inductance, can be used many times, hit the nail and the skin is not broken like a wood. The price is not expensive compared to the lightweight steel model. The disadvantage is that it must have a fixed steel frame. An alternative factor to reduce the use of wood is If a professional undertakes construction work Should choose steel casting or plastic formwork Because of the long-term worth of trade than the use of wood that is easily damaged And help reduce the support of wood cutting to make concrete formwork in construction work Keywords: Wood formwork, construction, Concrete formwork, Sample groups Download Full-Text
Scan QR Code
57
องค์ความรู้ด้านอารยสถาปัตย์ส�ำหรับสังคมผู้สูงวัย ในชนบทตามวัฒนธรรมอีสาน
Universal Design Knowledge for rural aging society in E-san culture กรรณิกา ถุนาพรรณ์1* และ อรรถพงษ์ ศิริสุวรรณ2 อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอต ุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 62/1 ต.กาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ 46000
Kannika Tunapan1* an d Atapong Sirisuwan2 1-2 Lecturer, Faculty of Engineering and Industrial Technology Kalasin University 62/1 Muang District, Kalasin Province,46000 *Email: : Kannika@fci.ksu.ac.th
บทคัดย่อ
สภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ ทัง้ พืน้ ทีบ่ า้ นพักอาศัยและพืน้ ทีส่ าธารณะของชุมชนชนบท นัน้ ไม่มกี ารออกแบบ ทีค่ ำ� นึงถึงความปลอดภัยและสะดวกสบายส�ำหรับคนทุกกลุม่ โดยโครงการวิจยั นีไ้ ด้มกี ารน�ำหลักองค์ความรูท้ างอารย สถาปัตย์พื้นฐาน ใช้แนวคิดเรื่องการสร้างและใช้สิ่งอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุให้คนในชนบท การออกแบบการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ ยึดหลักให้คนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ สร้างคุณภาพชีวิตขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ เกื้อกูล การใช้ทรัพยากรในพืน้ ที่ วัตถุประสงค์เพือ่ ถ่ายทอดองค์ความรูด้ า้ นอารยสถาปัตย์ ในบริบทของพืน้ ทีว่ ฒ ั นธรรมอีสาน สู่ผู้น�ำชุมชน ทั้งกลุ่มหน่วยงาน และพื้นที่สาธารณะของชุมชน เพื่อสร้างผู้น�ำชุมชน และกลุ่มหน่วยงาน ให้สามารถ ออกแบบอารยสถาปัตย์ ทัง้ ในพืน้ ทีส่ าธารณะ รวมทัง้ การจัดการสิง่ แวดล้อมให้สอดคล้องกับการใช้ประโยชน์ของสังคม ผู้สูงวัย ผลการศึกษา เกิดกระบวนการเรียนรู้หลักการออกแบบอารยสถาปัตย์เบื้องต้น ตามพื้นที่สภาพแวดล้อมของ ชุมชนชนบทจริง,ได้ผลการทดสอบการใช้วัสดุธรรมชาติ และวัสดุทดแทน สแตนเลสที่มีในท้องถิ่นพื้นที่ และ 3.ได้ผล การวิเคราะห์การเลือกใช้วัสดุที่น�ำมาสร้างอุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวก และติดตั้งให้กับผู้สูงอายุในชนบทอีสาน บทสรุป กรณีศึกษาต้นแบบชุมชนชนบทอีสาน 3 พื้นที่ ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้วยการน�ำเสนอภาพติดตั้ง ตัวอย่าง วัสดุตวั อย่าง และให้วเิ คราะห์เลือกหาวัสดุทดแทนต้นแบบ ชิน้ งานหุน่ จ�ำลอง 3 มิติ ฝึกติดตัง้ อุปกรณ์อำ� นวย ความสะดวก เป็นงานหุ่นจ�ำลอง 3 มิติ การฝึกใช้เครื่องมือจริงในการติดตั้งอุปกรณ์พื้นที่จริง ผลการเรียนรู้ที่ได้ ชุมชน สามารถเข้าใจหลักการออกแบบอารยสถาปัตย์พื้นฐาน เหตุผลการเลือกใช้วัสดุธรรมชาติและวัสดุทดแทนสแตนเลส สามารถแก้ไขและติดตั้งตามบริบทของแต่ละพื้นที่ได้ต่างกัน ค�ำส�ำคัญ : ต้นแบบอารยสถาปัตย์ ,วัสดุทดแทน,หุ่นจ�ำลองวัสดุ
58
Abstract
Thai social balance in Esan local don’t have environment life standard home and public area of local don’t have convenient and safe for all. Many Elderly not for basic Universal design. Concept Universal Design Produces and Used facilities for elderly in local. Knowledge center people. Life elderly basic quality used material sustain Esan local. Objective are Universal Design, basic facilities renovate for elderly in Esan local. Instrument research 1. Propagation strategy Universal Design in Esan culture local to leader and department for Universal Design and public area, environment Manage to user elderly .Fist results is 1.Have propagation strategy Universal in environment of local. 2. Facilities of natural material and circular supplies in environment of local. And 3. Results choose material of facilities and install device for elderly in Esan local. Conclusions of research case study 3 Esan local. Study 1 received presentation by simple picture install device and simple material and analyze choose model material circular supplies. Study 2 received presentation same study 1 and additional 3d model and practices install device facilities. And Study 3 received presentation same study 2 and additional practices install device real facilities on area. Discussions people in community understandings concept basic universal design for renovate environment facilities and safe by choose natural material and circular supplies stand lest can maintenances and install device to area context and activities on pubic area learning and practices to model and real area. Keywords: Universal Design model, circular supplies, material model Download Full-Text
Scan QR Code
59
ทัศนคติที่มีต่อบ้านพักอาศัยที่เกิดจากปรากฏการณ์ แต่งงานข้ามวัฒนธรรมในชนบทภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Attitudes to the houses caused by the phenomenon of the Living of Cross-cultural Couples in Rural Northeast Thailand พีรพัฒน์ มุมอ่อน1* วรัฐ ลาชโรจน์2, และ นพดล ตั้งสกุล3 นักศึกษาปริญญาโท คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1
อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2,3
Peerapat Moom-on1* Warat Lacharoje2, and Nopadol thungsakul3 1 Graduate Student, Architecture, Graduate School, Khon Kaen University 2,3 Lecturer, Faculty of Architecture Khonkaen University *Email: peeer_mn@hotmail.com บทคัดย่อ
การแต่งงานข้ามวัฒนธรรมได้กลายเป็นส่วนหนึง่ ของปรากฏการณ์ทางสังคมร่วมสมัยทีเ่ กิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอีกในอนาคต ในอดีตพบว่ามีทัศนคติในแง่ลบต่อการแต่งงานข้ามวัฒนธรรมซึ่งมีผลกระทบ ต่อทัศคติของคู่สมรสข้ามวัฒนธรรมในปัจจุบัน ส่งผลต่อการอยู่อาศัยและการปรับเปลี่ยนสถาปัตยกรรมในท้องถิ่น การศึกษานีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาบ้านของคูส่ มรสข้ามวัฒนธรรม เพือ่ จะสร้างความเข้าใจในการใช้ชวี ติ ของคูส่ มรส ข้ามวัฒนธรรมและน�ำเสนอแนวคิดเชิงบวกต่อการพัฒนาทางสถาปัตยกรรมเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ อยู่อาศัยร่วมกันภายใต้บริบทที่มีความเป็นโลกาภิวัฒน์ในระดับท้องถิ่น จากการศึกษาพบบ้านทีส่ ร้างโดยคูส่ มรสข้ามวัฒนธรรมซึง่ สามารถแบ่งบ้านได้ตามลักษณะการอยูอ่ าศัยของ สามีชาวต่างชาติ ซึง่ พบว่า “อายุ และหน้าทีก่ ารงานของสามีชาวต่างชาติ” ท�ำให้เกิด “ลักษณะการอยูอ่ าศัยทีแ่ ตกต่าง” โดยแบ่งได้ 3 กลุม่ คือ 1) บ้านทีส่ ร้างโดยสามีชาวต่างชาติทเี่ กษียนตัวเองจากการท�ำงานแล้วย้ายมาอาศัยทีป่ ระเทศไทย โดยจะสร้างบ้านหลังใหม่อยู่นอกชุมชน สามีชาวต่างชาติเป็นคนสูงอายุจะเป็นคนก�ำหนดรูปแบบอาคารและพื้นที่ ใช้สอยบ้านด้วยตัวเองเพื่อจะใช้บ้านเป็นที่อยู่อาศัยในบั้นปลายชีวิต 2) บ้านที่สร้างโดยสามีชาวต่างชาติที่ท�ำงานและ อาศัยในประเทศไทย โดยจะซื้อบ้านในเมืองหรือใกล้ที่ท�ำงานเป็นที่พัก มีการปรับปรุงต่อเติมหรือสร้างบ้านให้พ่อแม่ ของภรรยา เป็นการแสดงความกตัญญูตอ่ พ่อแม่และเป็นการระลึก หวงแหนถิน่ ทีเ่ คยอยูข่ องภรรยาชาวไทย 3) บ้านที่ สร้างแล้วสามีชาวต่างชาติพาภรรยาชาวไทยกลับไปอยู่ที่ต่างประเทศ โดยจะสร้างบ้านหลังใหม่ไว้ในบริเวณบ้านเดิม ของพ่อแม่ฝ่ายภรรยา หลังแต่งงานสามีชาวต่างชาติจะพาภรรยาชาวไทยย้ายไปอยู่ที่ต่างประเทศ บ้านที่สร้างไม่มี คนอาศัยอยู่ จะมีญาติพี่น้องของภรรยาคอยดูแล พบว่าการสร้างบ้านเพื่อเป็นการแสดงความกตัญญูต่อพ่อแม่และ เป็นการแสดงความมั่นคงของในชีวิตในอนาคตของภรรยาชาวไทย ค�ำส�ำคัญ : ทัศนคติเชิงบวก, การอยู่อาศัย, คู่สมรสข้ามวัฒนธรรม
60
Abstract
Cross cultural marriage in Thailand has become more and more normal. This practice also seems to increase in future Thai society. Negative attitude towards cross cultural marriage in the past is also found to have some impacts on attitude of the cross cultural married couples in Thailand now a day society. It effects especially the way they live and the development of architecture in that society. This study is aimed to estimate the prevalence and determine the correlated of the purposes and decision making in building/ designing of the houses of foreigners who married Thai woman. This will enable architectural development to ensure house designing meet and maximize comfort, practical living lifestyles for both foreigners and thai women including thai people in community level. From the study, age and job of the foreigner husbands have played important roles in the way of living or housing design which have divided into 3 groups 1) The house built by the foreign husband and thai wife but then left it to herbrelatives to look after as they both left to live aboard. The house is usually built in the same area of their thai in laws house. Then the couple will move to live oversea together leaving an empty house for her relatives to look after. This is to show a respect and gratitude to the woman’s parents and to reassure her a good promising future. 2) The house that is built by foreigners who married thai woman but still work and live in Thailand. This house is usually built in city centre, close to his work place or where the couples live. The couple will still built a new house for her parents or help renovating her parent’s house. Again this is to show respect and gratitude to the parents. It is also show a sense of belonging and where the Thai wife came from. 3) The house that is built by a retried foreigner who has now moved to live in Thailand with his thai wife. This house is usually built in rural areas rather than city centre. The husband is mostly involved in house designing as well as the usage of spaces within the house. As he would spend his most time in the house. It is also important for him to ensure the house is comfortable and most practical to live in. Keywords: positive attitude, living lifestyles, cross cultural married couples. Download Full-Text
Scan QR Code
61
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชาการก่อสร้างอาคาร 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
The Development of an Instructional Model Based on Constructivist Theory to Enhancing Learning for Students of Building Construction 1 Course of Nakhon Ratchasima Rajabhut University ศราวุฒิ ใจอดทน สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะเทคโนโลยีอต ุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
Sarawut Chai-odthone Department of Architecture, Faculty of Industrial Technology, Nakhon Ratchasima Rajabhut University Email: sarawut_ex@hotmail.com บทคัดย่อ
การวิจยั นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรูด้ ว้ ยตนเอง ในหัวข้อ เทคโนโลยีการก่อสร้างจากภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ของรายวิชาการก่อสร้างอาคาร 1 และศึกษาผลการใช้รปู แบบการเรียน การสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง โดยการด�ำเนินงานวิจัยได้มีการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนและ น�ำมาใช้ ประชากรศึกษา คือ นักศึกษาสถาปัตยกรรม ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จ�ำนวน 15 คน เครือ่ งมือทีใ่ ช้ ได้แก่ รูปแบบการเรียนการสอนทีผ่ วู้ จิ ยั ได้พัฒนาขึ้นมา ใบงานตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองเพื่อทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบประเมิน ความพึงพอใจของนักศึกษา ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองที่ พัฒนาขึ้นมาประกอบด้วยการเรียนการสอน 4 ขั้นตอน 1) ขั้นเตรียมความพร้อมของผู้เรียน 2) ขั้นพัฒนาทักษะ กระบวนการ 3) ขั้นผู้เรียนสรุปผลการเรียนรู้ และ4) ขั้นวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลการใช้รูปแบบการเรียน การสอนแสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักศึกษาทุกคนมีประสิทธิภาพผ่านตามเกณฑ์อยูท่ รี่ ะดับดีมากถึง ระดับยอดเยี่ยม และนักศึกษามีความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก ค�ำส�ำคัญ : รูปแบบการเรียนการสอน, ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง, วิชาการก่อสร้างอาคาร 1
62
Abstract
The purpose of this research is to develop an instructional model based on constructivist theory of construction technology from local wisdom topics in Building Construction 1 Course and assessing the effectiveness of the model. The research methodology was developing instructional model and using model. The population was the 1st year architecture students at the Faculty of Industrial Technology, Nakhon Ratchasima Rajabhut University which consisted of 15 students. Research instruments include: a constructed instructional model, an achievement test and the students’ satisfaction towards the instructional model. The results of the study were: the constructed instruction model based on constructivist theory which consisted of 4 components: 1) Preparation of students 2) Process skills development 3) Learners summarize learning outcomes and 4) assessing learning achievements. The results of using the instructional model found that all students were Very good level to excellent level and the students’ satisfaction towards the instructional model at high level. Keywords: Instructional Model, Constructivist Theory, Building Construction 1 Course Download Full-Text
Scan QR Code
63
ABSTRACT
Technical Session 4:
การออกแบบสร้างสรรค์ และการศึกษา (Creative Design and Education)
การให้แสงสว่างส�ำหรับสิมอีสานโบราณ
Lighting guidelines for antique Isann Sim ยิ่งสวัสดิ์ ไชยะกุล1* และ ธีรพัฒน์ หนองหารพิทักษ์2 รองศาสตราจารย์1 และนักศึกษาปริญญาโท2 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40002
Yingsawad Chaiyakul1* and Theeraphat Nongharnpitak2 1 Associate Professor, Faculty of Architecture, 2Graduate student, Faculty of Architecture, Khon Kaen University, Khon Kaen, 40002 *Email: cyings@kku.ac.th บทคัดย่อ
สิมอีสานโบราณมีการเปลีย่ นแปลง ถูกรือ้ ถอน ถูกทิง้ ร้างและถูกสร้างทดแทนด้วยสิมใหม่ (โบสถ์)ทีม่ รี ปู แบบ สมัยใหม่ เนือ่ งจาก ชุมชนขาดจิตส�ำนึก ไม่รซู้ งึ้ ถึงคุณค่าทางวัฒนธรรม ความต้องการพืน้ ทีใ่ หญ่ขนึ้ หรือการปรับเปลีย่ น รสนิยมของช่าง คณะกรรมการวัด และเจ้าศรัทธา โดยการสร้างอุโบสถใหม่หรือการบูรณะปรับปรุงด้วยรูปแบบ ประเพณีภาคกลาง และสิมทีไ่ ด้รบั การบูรณะทีค่ งอยูไ่ ม่ได้ถกู ดูแลในสภาพทีเ่ หมาะสมเพือ่ การใช้งานทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป เช่น การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมหรือเพื่อการเรียนรู้ศึกษาสถาปัตยกรรมและภาพเขียน (ฮูปแต้ม) ในสิม งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส�ำรวจสภาพสิมอีสานโบราณ และเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยด้านแสงสว่างส�ำหรับการใช้งานตามบริบท ของสิมทีเ่ ปลีย่ นแปลงและน�ำเสนอปัจจัยด้านแสงสว่างทีส่ ง่ เสริมการใช้งานและสภาพแวดล้อมภายในของสิม การให้ แสงสว่างทีด่ จี ะช่วยเพิม่ ความสวยงามเพือ่ ส่งเสริมคุณค่าของสิมอีสานโบราณในวัด และจะช่วยส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ขอบเขตของบทความนี้รวมการส�ำรวจสิม จ�ำนวน 8 หลัง ใน 3 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น มหาสารคาม และนครพนม เพื่อศึกษากายภาพ รูปแบบการใช้งานที่เปลี่ยนแปลงไป และเก็บข้อมูล ตัวแปรที่เกี่ยวข้องด้านแสงสว่าง ผลการศึกษาพบว่ารูปแบบของสิมมีความแตกต่างกัน พืน้ ทีใ่ ช้งานมีขนาดใกล้เคียงกันตัง้ แต่ 22–54 ตารางเมตร ความสูงภายใน 2.00 - 3.65 เมตร สิมมีสัดส่วนของพื้นที่ช่องเปิดต่อพื้นที่ผนังอยู่ในระหว่าง 2.28 - 11.44% และ ต�ำแหน่งช่องเปิดไม่พบบริเวณด้านหน้าบริเวณแท่นบูชาพระประธานในทุกสิม และสิมจ�ำนวน 4 หลัง ไม่มีการใช้งาน ส�ำหรับประกอบกิจวัตรของสงฆ์ เนื่องจากมีโบสถ์ใหม่ในบริเวณวัดเพื่อใช้ทดแทน และผลการส�ำรวจด้านแสงสว่าง พบว่าการให้แสงสว่างภายในอาคารสิมในเวลากลางวันจะต้องอาศัยแสงสว่างจากดวงโคมแสงประดิษฐ์วธิ แี ละต�ำแหน่ง การติดตัง้ ขึน้ กับรูปแบบภายใน และไม่สมั พันธ์กบั ต�ำแหน่งช่องแสง (หน้าต่างหรือประตู) ปริมาณแสงสว่างไม่เพียงพอ ในการใช้งานและการให้แสงสว่างไม่สัมพันธ์กับลักษณะงานทางสายตา (Visual task) และไม่สร้างหรือส่งเสริม บรรยากาศของสิม แนวทางการปรับปรุงส�ำหรับแต่ละสิม ควรก�ำหนดวัตถุประสงค์ในการให้แสงสว่าง 3 ประเด็นได้แก่ (1) ความปลอดภัย เพื่อความปลอดภัยกับผู้ใช้งานและอาคารด้านอัคคีภัย โดยอุปกรณ์ที่อาจมาทดแทนแสงจากเทียนไข
66
เช่น เทียน LED (2) กิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในสิมพิจารณาตัวแปรทีส่ ง่ ผลต่อการมองเห็น และ (3) ส่งเสริมบรรยากาศของสิม ระบบแสงสว่างที่ปรับเปลี่ยนได้เพื่อให้แสงสว่างตามการใช้งานตามช่วงเวลาส�ำหรับสิมที่ยังมีการใช้งานเป็น เขตพัทธสีมาส�ำหรับพระสงฆ์ และปรับเปลี่ยนแสงสว่างภายในเพื่อสร้างบรรยากาศที่น่าสนใจเพื่อการท่องเที่ยว การ เปลีย่ นแปลงกับสภาพแวดล้อมในการมองเห็นและส่งเสริมการใช้งานอาจจะท�ำให้สมิ กลับมามีความส�ำคัญต่อชุมชน และดึงดูดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพิ่มมากขึ้น ค�ำส�ำคัญ : สิมอีสานโบราณ, การท่องเที่ยวสิม, แนวทางการให้แสงสว่าง Abstract
Antique Isann Sim has been changed and demolished. Some Sims had been replaced with new Buddhism church because community lacked of awareness and conscious of cultural and heritage values. Another change to remaining Sims are that the building configurations are renovated under other region traditional styles. This depends upon the taste of temple committee and donators who sometimes dominate the renovation style of Sim. Many renovate Sims have not been kept in good conditions for maintaining the changes such as cultural and heritage tourism and learning architectural and art visiting. The research goals are to survey existing antique Isaan Sims and to study lighting factors for new contexts of Sims. The lighting factors to promote the visual tasks and create better interior environment. Great lighting installation and design will emphasis exquisiteness of Sim buildings. By using lighting in Sim, it may stimulate more tourists to visit Sim. This article includes eight Sims in three provinces: Khon Kaen, Mahasarakham, and Nakorn Pranom. The information gathered from the field survey include: present usage of the building, lighting factors, and lighting equipment installed. The results of the survey show that area of Sim ranges from 22-54 m2 with the ceiling height from 2.00-3.65 m. The opening to wall ratios are from 2.28% – 11.44%. The opening position is not found at the front part of Sim. Four Sims have not been used for deed performed by Buddhist monks as there is a new replacing church in the temple precinct. Artificial lighting is used during the daytime. The lamp installations are not relate to the opening positions. Illuminance level is not enough to meet visual task illuminance. Moreover, under the exiting lighting setting, Sim environment is not enhanced. Lighting design guidelines for Sim is to set three goals that are: (1) security to prevent cause of fire and air quality in Sim from wax candle and oil lamp; (2) visual tasks to perform under various scenarios; and (3) enhancing Sim environment to create visual and lighting environment that can be adjusted according to occupants and usage times. The changeable lighting scheme is suitable for that Sim is still used by monks and tourists. Better lighting in Sim may make Sim become viable and magnetized for cultural and heritage tourism. Keywords: Antique Isann Sim, Isann Sim tourism, lighting guideline
Download Full-Text
Scan QR Code
67
การพัฒนาเกมแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่อง การคัดแยกขยะ
The development of game application on the Android operating system about waste separation เจษฎา ทิพย์เสนา1 และนายวัลลภ ศรีส�ำราญ2* สาขาวิชาเทคโนโลยีมล ั ติมเี ดีย คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 3000
Jesada Thipsena1 and Wanlop Srisamran2* Multimedia Technology Program, Faculty of Fine Art and Industrial Design, Rajamangala University of Technology Isan, Muang, Nakhon Ratchasima, 30000 *Email: wanlop.sr@rmuti.ac.th บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาเกมแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่อง การ คัดแยกขยะ 2) ศึกษาระดับการรับรูข้ องกลุม่ ตัวอย่างจากการใช้งานเกมแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยด์ เรือ่ ง การคัดแยกขยะ 3) ศึกษาระดับความพึงพอใจของกลุม่ ตัวอย่างจากการใช้เกมแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบตั กิ าร แอนดรอยด์ เรื่อง การคัดแยกขยะ มีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอนุบาลเทพสถิต ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จ�ำนวน 80 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) เกมแอปพลิเคชัน บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่อง การคัดแยกขยะ 2) แบบประเมินการรับรู้ 3) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) เกมแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยด์ เรือ่ ง การคัดแยกขยะ มีการประเมิน การรับรูข้ องกลุม่ ตัวอย่างจากการใช้งานเกมแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยด์ เรือ่ ง การคัดแยกขยะ โดยรวม อยูใ่ นระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 76.13 2)กลุม่ ตัวอย่างมีความพึงพอใจจากการใช้งานเกมแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบตั ิ การแอนดรอยด์ เรื่อง การคัดแยกขยะ โดยรวมอยู่ที่ระดับมากที่สุด คิดเป็นค่าเฉลี่ย 4.76 ค�ำส�ำคัญ : เกมแอปพลิเคชัน, ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์, การคัดแยกขยะ
68
Abstract
This study aimed to (1) to development of game application on the Android operating system about waste separation, (2) to study the perception of the users who used game application on the Android operating system about waste separation and (3) to study the satisfaction of the users who used game application on the Android operating system about waste separation. The sample are 80 Grade 2 students of Anuban Thepsatit school was the tools used to collect data are: (1) game application on the Android operating system about waste separation, (2) Perceptual assessment of game application, (3) Satisfaction Survey of game application. The statistics used in the study were percentage, mean, and standard deviation. The study results found that: 1) The perception of the users who used game application on the Android operating system about waste separation was the high level at 76.13 % 2) Satisfaction of the sample used game application on the Android operating system about waste separation was at the highest level of 4.76. Keywords: game application, Android operating system, waste separation Download Full-Text
Scan QR Code
69
การพัฒนาหนังสือผสมเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่อง การออกแบบกราฟิกขั้นพื้นฐาน
The development of augmented reality book about basic of graphic design ณัฐรุจ บุญล้อม1 และนายวัลลภ ศรีส�ำราญ2* สาขาวิชาเทคโนโลยีมล ั ติมเี ดีย คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 3000
Nattarut Boonlom1 and Wanlop Srisamran2* Multimedia Technology Program, Faculty of Fine Art and Industrial Design, Rajamangala University of Technology Isan, Muang, Nakhon Ratchasima, 30000 *Email: wanlop.sr@rmuti.ac.th บทคัดย่อ
การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ 1. เพือ่ พัฒนาหนังสือผสมเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรือ่ ง การออกแบบ กราฟิกขั้นพื้นฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2. เพื่อศึกษาผลการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างจากการใช้หนังสือ ผสมเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรือ่ ง การออกแบบกราฟิกขัน้ พืน้ ฐาน 3. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของกลุม่ ตัวอย่าง จากการใช้หนังสือผสมเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรือ่ ง การออกแบบกราฟิกขัน้ พืน้ ฐาน มีกลุม่ ตัวอย่าง คือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จ�ำนวน 38 คน โรงเรียนอัสสัมชัญนครราชสีมา อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) หนังสือผสมเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่อง การ ออกแบบกราฟิกขั้นพื้นฐาน 2) แบบประเมินการรับรู้ 3) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) หนังสือผสมเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรือ่ ง การออกแบบกราฟิกขัน้ พืน้ ฐาน มีการ ประเมินการรับรูข้ องกลุม่ ตัวอย่างจากการใช้งานหนังสือผสมเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรือ่ ง การออกแบบกราฟิก ขัน้ พืน้ ฐาน โดยรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 67.70 2) กลุม่ ตัวอย่างมีความพึงพอใจจากการใช้งานหนังสือ ผสมเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรือ่ ง การออกแบบกราฟิกขัน้ พืน้ ฐาน โดยรวมอยูท่ รี่ ะดับมากคิดเป็นค่าเฉลีย่ 4.50 ค�ำส�ำคัญ : หนังสือ, เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม, การออกแบบกราฟิก
70
Abstract
This study aimed to (1) to development augmented reality book about basic of graphic design, (2) to study the perception of the users who used augmented reality book about basic of graphic design and (3) to study the satisfaction of the users who used augmented reality book about basic of graphic design. The sample are 38 Grade 12 students of Assumption College Nakhon Ratchasima was the tools used to collect data are: (1) augmented reality book about basic of graphic design, (2) Perceptual assessment of augmented reality book, (3) Satisfaction Survey of augmented reality book. The statistics used in the study were percentage, mean, and standard deviation. The study results found that: 1) The perception of the users who used augmented reality book about basic of graphic design was the middle level at 67.70 % 2) Satisfaction of the sample used augmented reality book about basic of graphic design was at the high level of 4.50.
Keywords: book, augmented reality, graphic design Download Full-Text
Scan QR Code
71
การประเมินความเสี่ยงของโครงการปรับปรุงห้องสมุด โรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านนาชมภู
A Study of Risk Assessment of the Library Renovation Project at the Ban Na Chomphu Border Patrol Police School อนันต์ นิ่มทวัฒน์1 อัตถสิทธิ์ ชื่นใจ2 อิทธิพล สิงห์ค�ำ3 นฤวรรณ มั่งสวัสดิ4์ อาติยาพร สินประเสริฐ5 และ วัชรพงศ์ ดีวงษ์6* ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ สาขาวิชาโยธาสถาปัตยกรรม คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
1,2
อาจารย์ สาขาวิชาโยธาสถาปัตยกรรม คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
3,4,5
Anan Nimtawat1 Itdhipol Singhkhum2 Naruwan Manngsawad3 Attasit Chuenjai4 Artiyaporn Sinprasert5 and Watcharapong Deewong6* 1,2 Assistant Professor, Civil Architecture Program, Faculty of Technology, Udon Thani Rajabhat University, Udonthani, 41000 3,4,5 Lecturer, Civil Architecture Program, Faculty of Technology, Udon Thani Rajabhat University, Udonthani, 41000 *Email: dwatchr@gmail.com บทคัดย่อ
การศึกษานีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ประเมินความเสีย่ งชองโครงการปรับปรุงห้องสมุดโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน บ้านนาชมภู อ�ำเภอนายูง จังหวัดอุดรธานี ซึง่ เป็นโครงการก่อสร้างทีม่ ขี นาดเล็ก เครือ่ งมือทีใ่ ช้เป็นสอบสอบถามส�ำหรับ ประเมินโอกาสการเกิดและความรุนแรงของผลกระทบของเหตุการณ์ความเสีย่ ง เก็บรวบรวมข้อมูลจากผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก ซึง่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในโครงการจ�ำนวน 8 คน แล้วท�ำการค�ำนวณคะแนนความเสีย่ ง ตีความระดับความเสีย่ ง และวิเคราะห์ ข้อมูลระดับความเสีย่ งด้วยสถิตแิ บบความถีแ่ ละร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า กลุม่ เหตุการณ์ความเสีย่ งทีม่ รี อ้ ยละของผลรวม ความเสีย่ งระดับสูงและวิกฤตมากทีส่ ดุ คือ กลุม่ เหตุการณ์ความเสีย่ งด้านเทคนิค (23.61) รองลงมาคือ กลุม่ เหตุการณ์ความเสีย่ ง ด้านการบริหารโครงการ (17.86) ค�ำส�ำคัญ : การประเมินความเสี่ยง, โครงการก่อสร้างขนาดเล็ก
72
Abstract
This research was aimed to perform the risk assessment for the Library Renovation Project of Ban Na Chomphu Border Patrol Police School, a small construction project which is located in Na Yung, Udon Thani. The questionnaire, the research instrument, was designed for evaluating the likelihood of occurrence and impact of the study risk events. The data was collected for 8 key informants which were the key stakeholders of such project. Then the data was calculated the risk scores and interpreted the risk levels from those scores. Descriptive statistics, frequency and percentage were used to analyzed the risk levels through the groups of risks. The findings revealed that the group of risks which had the highest percentage of high and critical risk levels was the Technical, and the second rank was the Project Management. Keywords: risk assessment, small construction project Download Full-Text
Scan QR Code
73
การออกแบบและพัฒนากระเป๋าจากผ้าไหมทอมือ จากแนวคิดครอบครัวไทยและลูกมะเฟือง
Design and Development of Handwoven Silk Bag is an Inspiring from Thai family and Star apple เมธ์วดี พยัฆประโคน1* อาจารย์ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 1
744 ถ.สุระนาราย ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000
Maywadee Phayakprakhon 1* 1Lecturer, Department of Industrial Product Design, Faculty of Arts and Industrial Design, Rajamangala University of Technology Isan 744 Suranarai Rd, Naimang, Nakhonragasima Province, 30000 *Email: maywadee2522@gmail.com บทคัดย่อ
บทความวิชาการในครัง้ นี้ เป็นส่วนหนึง่ ของงานโครงการวิจยั เรือ่ ง การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากไหม และวัสดุในท้องถิน่ : กรณีศกึ ษา อ.ประโคนชัย จ.บุรรี มั ย์ จากการศึกษาพบว่า วัสดุในชุมชนทีส่ ามารถน�ำมาออกแบบ ผลิตภัณฑ์รว่ มกับไหมได้ ได้แก่ ผ้าไหมทอมือพืน้ บ้าน กลุม่ ทอผ้าไหม บ้านโคกเมือง, ผลิตภัณฑ์จากไม้ตาล กลุม่ พัฒนา อาชีพผลิตภัณฑ์จากไม้ บ้านหนองบอน, กะลามะพร้าวขัดมัน และกลุม่ กะลามะพร้าว บ้านพาชี เนือ้ หาบทความนีก้ ล่าว ถึงการออกแบบและพัฒนากระเป๋าจากแนวคิดความสุขของครอบครัวไทยโดยมีชา้ งเป็นสัญลักษณ์ เนือ่ งจากธรรมชาติ ของช้างนัน้ เป็นสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนม และอยูร่ ว่ มกันแบบสังคมครอบครัวคล้ายคลึงกับครอบครัวคนไทยทีม่ กี ารดูแล ซึง่ กันและกันในกลุม่ เครือญาติ อาศัยอยูร่ ว่ มกันแบบพึง่ พาอาศัยซึง่ ส่งผลให้คนไทยมีนสิ ยั เป็นมิตรและยิม้ แย้มแจ่มใส ในการออกแบบและพัฒนากระเป๋าได้นำ� แนวคิดศิลปะร่วมสมัยมาใช้ในการออกแบบ เพือ่ ให้ได้ผลงานทีส่ อื่ สะท้อนอารมณ์เรียบง่าย อบอุน่ แบบครอบครัวไทย และโดยน�ำรูปร่างของช้าง และรูปทรงของผลมะเฟืองมาใช้ออกแบบ และพัฒนาแพทเทิรน์ กระเป๋า ซึง่ ช่วยให้กระเป๋ามีทรง เพิม่ พืน้ ทีก่ ารใช้งานได้อย่างสะดวกสบาย ตอบสนองประโยชน์ ใช้สอยส�ำหรับผูค้ นในยุคปัจจุบนั ง่ายต่อการผลิต และมีรปู แบบแตกต่างจากท้องตลาด โครงสร้างหลักของกระเป๋าตัด เย็บด้วยผ้าไหมทอมือพืน้ บ้านทีม่ กี ระบวนการผลิตแบบโบราณภายในชุมชนทีส่ บื ทอดจากสูร่ นุ่ มาจนถึงปัจจุบนั เทคนิค การเย็บด้วยมืออย่างประณีตท�ำให้กระเป๋ามีความแข็งแรง ทนทานต่อการใช้งาน สอดคล้องกับฝีมอื แรงงานและเครือ่ งมือ ภายในชุมชน ค�ำส�ำคัญ : ออกแบบ, กระเป๋า, ผ้าไหมทอมือ, ครอบครัวไทย, ลูกมะเฟือง
74
Abstract
This academic research is a part of the research project of product development and design from silk and local material: From the case study of Prakhonchai district, Buriram province, found that the local material that can be adapted and used in designing with silk were hand-weaved silk from the weaving silk group in Ban Kokmuang, Palm wooden products from Wooden products career development group in Ban Nongbon, Polished coconut shell and Coconut shell group in Ban Phachi. The content in this article portrays the design and development of bags from the concept of happiness in family and home by using elephant as a symbolism of harmony of family members and relatives that always take care of each other, likely the elephants that socially stay together in a large group as well as the fact that they are mammals, which normally care for their social members. Additionally, because of this harmony and supportive feelings, Thai people are more likely to be friendly and smiley. In the design and development of the bag, the contemporary art methodology was adopted in designing for the work that reflects the simplicity, heartwarming tones like Thai family. There are uses of an elephant shape and the star apple shape in the patterning and designing for the bags which help in shaping and expand the storage of the bags for the better convenience. Moreover, it could be a good utility for the people in the modern world, that is easy to produce, and unique in shape and pattern in the market. The main construction of the bag was sewed by local hand-weaved silk that uses the antiquated production method which was inherited to the modern generation. The very carefully hand-sewing technique beneficial in the strength of the bag, making it endurable and long life using, concordantly with the craftsmanship and tools within the local community. Keywords: Design, Bag, Handwoven Silk, Thai family, Star apple Download Full-Text
Scan QR Code
75
แรงบันดาลใจในการออกแบบลวดลายเสื้อปักมือชนเผ่าผู้ไท บ้านเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
Inspiration in the design of shirt hand embroidery Phu Tai tribal Ban Lauyai Kuchinarai District Kalasin Province มัณฑนา ทองสุพล1* ประพนธ์ เนียมสา2 หัสยา สิงห์ศรี3 และกรรณิกา ถุนาพรรณ์4 อาจารย์สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
Mantana Tongsupon1* Praphon Niamsa2 Hassaya Singsri3 and Kannika Tunapun4 Department of Architecture, Faculty of Engineering and Industrial Technology, Kalasin University *Email: Mantana@fci.ksu.ac.th บทคัดย่อ
แรงบันดาลใจในการออกแบบลวดลายเสือ้ ปักมือชนเผ่าผูไ้ ทบ้านเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาแรงบันดาลใจในการออกแบบลวดลายเสือ้ ปักมือของชนเผ่าผูไ้ ทบ้านเหล่าใหญ่ อ�ำเภอกุฉนิ า รายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ จากแหล่งทีม่ าของแรงบันดาลใจ 3 แหล่ง คือ 1) สิง่ เหนือธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ 2) ความคิดและ ความรูส้ กึ ลึกซืง้ ภายในตัวเอง 3) แหล่งภายนอก โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง และ เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกต ผลการศึกษาพบว่า 1) สิง่ เหนือธรรมชาติที่ เกิดขึน้ คือ มาจากความเชือ่ ประกอบด้วย ลายนาคหรือลายมังกรต่าง ๆ ได้แก่ ลายนาค ลายนาคน้อย ลายนาคประยุกต์ ลายมังกรตัวเดียว ลายนาคคาบแก้ว ลายมังกรยาว ลายมังกรลีลา 2) ความคิดและความรูส้ กึ ลึกซืง้ ภายในตนเอง พบว่า เป็นการผสมผสานจินตนาการกับสิง่ ทีพ่ บเห็นหรือธรรมชาติรอบตัว เช่น ลายดาวประกาย (ดาวกระจาย) เป็นลายดาวที่ ช่างน�ำมาประยุกต์เป็นลายดอกแล้วเพิม่ แสงกระจาย บริเวณรอบ ๆ ดอก และลายดอกไม้ในจินตนาการ 3) แหล่งภายนอก คือ ลวดลายทีน่ ำ� มาจากธรรมชาติ ประกอบด้วย สัตว์ตา่ ง ๆ ซากดึกด�ำบรรพ์ของปลาเมือ่ 150 ล้านปีกอ่ น ดอกไม้ตา่ ง ๆ และรวงข้าว ได้แก่ ลายแมงมุง ลายแมงเงา (แมงป่อง) ลายปลาตะเพียนเล็ก ลายปลาตะเพียนใหญ่ ลายดอกพิกลุ ลายกุหลาบแดง ลายดอกมะลิ ลายทานตะวันแคระ ลายบานไม่รโู้ รย ลายบัวสาย ลายพวงองุน่ ลายช่อผกา ลายพวงมาลา ลายมะลิจนั ทร์ และลายรวงข้าว ค�ำส�ำคัญ : แรงบันดาลใจ, การออกแบบ, ชนเผ่าผู้ไท
76
Abstract
The inspiration in the design of shirt hand embroidery Phu Tai tribal Ban Lauyai Kuchinarai District Kalasin Province. The objectives aim to study inspiration in design of shirt hand embroidery Phu Tai tribal Ban Lauyai. The origin of inspiration come from 3 source as 1) Supernatural situation 2) Self deep Ideas and Imagination 3) Ordinary Nature, by collecting data from related documentary and research includes research instrument as interview and survey. Research result found that 1) Supernatural situation comes from Believe following pattern of Naga, small Naga, contemporary Naga, single Naga, Naka kab-kaew, long Naga, Naka Lee-La 2) ) Self deep Ideas and Imagination found that is integration of imagination and surrounding nature such as Dao-Pra-guy (Starburst) pattern which applying star pattern by adding more light stipe pattern around starburst and Imagination flower pattern 3) Ordinary Nature is a pattern which comes from Nature following animals, early 150 million years fish fossil, flowers and ear of rice includes Spider pattern, Scorpion pattern, small Carp fish pattern, big Carp fish pattern, Pikul flower pattern, Red Rose pattern, Mali flower pattern, Sunflower pattern, Amaranth pattern, Bua Sai pattern, Grapes bunch pattern, Chor-Phaka pattern, Wreath pattern, Mali-jun pattern, ear of rice pattern. Keywords: Inspiration, Design, Phu Tai Tribe Download Full-Text
Scan QR Code
77
ABSTRACT
Technical Session 5:
สถาปัตยกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีอาคาร (Architecture and building technology)
การประยุกต์ใช้แนวคิดการออกแบบเพื่อมวลชนร่วมกับปรัชญาเศรษกิจพอเพียง ในการปรับปรุงที่อยู่อาศัยส�ำหรับผู้สูงอายุ
Application of Universal Design Concept together with the Sufficiency Economy Philosophy to improve housing for the elderly พรทิพย์ เรืองธรรม
รองศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ประเทศไทย 44150
Porntip Ruengtam Associate Professor, Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts, Maharasakham University, Mahasarakham, 44150, Thailand Email: porntip.r@msu.ac.th บทคัดย่อ
บทความนี้เกี่ยวกับการปรับปรุงที่อยู่อาศัยในชุมชนชนบท ให้มีความเหมาะสมกับพฤติกรรมการเคลื่อนที่ ในชีวิตประจ�ำวันของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท ต�ำบลขามเรียง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ปัญหาส่วนใหญ่ ของผู้สูงอายุกลุ่มนี้คือ ปัญหาสุขภาพที่ส่งผลต่อความสามารถในการเคลื่อนที่ และปัญหาด้านสภาพแวดล้อมทาง กายภาพภายในที่อยู่อาศัยที่ไม่เอื้อต่อการใช้ชีวิตประจ�ำวัน การปรับปรุงที่อยู่อาศัยดังกล่าวในงานวิจัยนี้ ประกอบ ด้วย 1) การส�ำรวจลักษณะทางกายภาพภายในและภายนอกของที่อยู่อาศัย สรีรวิทยา สุขภาพ และความสามารถใน การเคลื่อนที่ของผู้สูงอายุ 2) การสังเกตการณ์รูปแบบพฤติกรรมการเคลื่อนที่ในชีวิตประจ�ำวัน 3) การออกแบบและ ปรับปรุงทีอ่ ยูอ่ าศัยให้สอดคล้องกับรูปแบบพฤติกรรมการเคลือ่ นทีใ่ นชีวติ ประจ�ำวันภายในทีอ่ ยูอ่ าศัย และ 4) การทดลอง การเคลือ่ นทีข่ องผูส้ งู อายุหลังการปรับปรุงทีอ่ ยูอ่ าศัยแล้ว งานวิจยั นีน้ ำ� แนวคิดการออกแบบเพือ่ มวลชน และแนวคิด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางการปรับปรุงที่อยู่อาศัย ที่สามารถตอบสนองต่อพฤติกรรมการใช้ชีวิตของ ผูส้ งู อายุ ให้มคี วามสะดวกและปลอดภัยยิง่ ขึน้ และสามารถน�ำไประยุกต์ใช้กบั พืน้ ทีศ่ กึ ษาทีอ่ นื่ ภายใต้บริบททีแ่ ตกต่างได้ ค�ำส�ำคัญ : ที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ, พฤติกรรมการเคลื่อนที่ของผู้สูงอายุ, แนวคิดการออกแบบเพื่อมวลชน, แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง, กระบวนการออกแบบทางสถาปัตยกรรมภายใน
80
Abstract
This paper presents process of residential development in rural area. To be suitable for the movement behaviors in the daily life of the elderly. Study area is a community in Khamrueng sub-district, Kantharawichai district, Mahasarakham province. Most problems of the elderly are health problems that affect their movements and physical environment problems in the residence that are not conducive to daily living. The process of residential development in this study consists of 1) survey of internal and external physical characteristics of the residence, elderly’s health and physiology, and ability of the elderly in movements, 2) Observations of the elderly’s behavioral movement patterns of daily living in their residence, 3) Design and improvement of the residence in accordance with the patterns of daily living in the residence and 4) experimental movements of the elderly after the residential improvement. This research has brined the universal design concepts together with the concept of sufficiency economy philosophy as a guide to the design and improvement of the residence. The process of this research can help improve the residence to respond to the lifestyle of the elderly and can be applied to other areas in different contexts. Keywords: Elderly’s Residence, Elderly’s Movement Behaviors, Universal Design Concept, Sufficiency Economy Philosophy, Interior Architecture Design Process Download Full-Text
Scan QR Code
81
การน�ำเสนอสภาพแวดล้อมเสมือนจริง 3 มิติ ที่ออกแบบจากโปรแกรมสเก็ตอัพด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน
Presentation of 3D Virtual environments with virtual reality technology using SketchUp วัลลภ ศรีส�ำราญ1, พหลยุทธ บุตรจู2* และ ภาณุวัฒน์ ศิริกัน3
อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
1
744 ถ.สุรนารายณ์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000
Wanlop Srisamran1, Phahonyood Boodju2* and Panuwat Sirikan3 1 Multimedia Technology Program, Faculty of Fine Art and Industrial Design, Rajamangala University of Technology Isan 744, Muang Nakhon Ratchasima, Nakhon Ratchasima, 30000 *Email: phahonyood.bo@rmuti.ac.th บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาขั้นตอนการน�ำเสนอสภาพแวดล้อมเสมือนจริง 3 มิติ ที่ออกแบบ จากโปรแกรมสเก็ตอัพด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นจากการใช้งานสภาพแวดล้อม เสมือนจริง 3 มิติ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจจากการใช้งานสภาพแวดล้อมเสมือนจริง 3 มิติ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีมลั ติมเี ดีย ทีล่ งทะเบียนในรายวิชาการออกแบบรูปทรง 3 มิติ และ การผลิตแอนิเมชัน่ ขั้นสูง ปีการศึกษาที่ 2/2561 จ�ำนวน 23 คน ซึ่งได้มาจากใช้กลุ่มตัวอย่างการคัดเลือกแบบอาสาสมัคร เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ 1) สภาพแวดล้อมเสมือนจริง 3 มิติ ที่ออกแบบจากโปรแกรมสเก็ตอัพ 2)โปรแกรมช่วยสร้าง ความจริงเสมือน 3) แบบส�ำรวจความพอใจของกลุม่ ตัวอย่าง 4) แบบสัมภาษณ์กงึ่ โครงสร้างจากการใช้งานสภาพแวดล้อม เสมือนจริง 3 มิติ ทีอ่ อกแบบจากโปรแกรมสเก็ตอัพด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ความพอใจของกลุ่มตัวอย่างจากการใช้งานสภาพแวดล้อมเสมือนจริง 3 มิติ มีผลการ ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างจากการใช้งานสภาพแวดล้อมเสมือนจริง 3 มิติ จากโปรแกรมสเก็ตอัพด้วย เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน อยู่ในระดับมาก ที่ค่าเฉลี่ย 4.06 โดยแบ่งเป็นด้านต่างๆ ดังนี้ 1) ด้านการใช้งาน อุปกรณ์ ที่ค่าเฉลี่ย 4.34 2) ด้านการมีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม 3 มิติ ที่ค่าเฉลี่ย 4.09 3) ด้านเทคนิค ที่ค่าเฉลี่ย 3.82 จากการสัมภาษณ์ พบว่า ส่วนใหญ่จะรูส้ กึ ชอบและให้ความสนใจในการใช้งาน คนสายตาสัน้ และตาเอียง มองเห็น ได้ล�ำบาก บางคนยังไม่เข้าใจวิธีการใช้อุปกรณ์ควบคุมทิศทาง และเมื่อท�ำการโหลดข้อมูลสถาปัตยกรรม 3 มิติ ที่มี ความซับซ้อนจะใช้เวลานานพอสมควร ส่วนการเคลื่อนย้ายสภาพแวดล้อมเสมือนจริงไปตามจุดต่างๆ เพื่อดู สถาปัตยกรรมในมุมมองต่าง ๆ มีความสมจริง ค�ำส�ำคัญ : สภาพแวดล้อมเสมือนจริง 3 มิติ, โปรแกรมสเก็ตอัพ, เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน
82
Abstract
The purpose of this research was 1) To study the process of presentation of 3D Virtual environments from SketchUp program with virtual reality technology 2) study the opinions of the users who used 3D virtual environments from SketchUp program with virtual reality technology 3) study satisfaction of the users who used 3D virtual environments from SketchUp program with virtual reality technology. The samples used in this study were Multimedia Technology 23 students registered in the 3D designs and advance animation production course. Academic year 2/2561. The tools used to collect data were: 1) the three-dimensional environment design from SketchUp program 2) Software of simulate virtual reality 3) Satisfaction evaluation for participants. 4)Semi-structured interviews for participants. Statistics used in data analysis are Percentage, Mean, Standard deviation (S.D.) When finished satisfaction assessment form and semi-structured interview were used. The results showed that the presentation of 3D Virtual environments from SketchUp program with virtual reality technology at a good level with an average of 4.06. 1) The use of the device at an average of 4.34 2) The interaction at an average of 4.09 3) The technique at an average of 3.82 from the interview found that most will feel like and interested but short-sighted and oblique eyes difficult to see. Some people still do not understand how to control joysticks. And when loading data with complex 3D architectures take a long time. As for move the virtual environment to various points to see the architecture in various perspectives with realism. Keywords: 3D Virtual environments, SketchUp, Virtual Reality Download Full-Text
Scan QR Code
83
การพัฒนาราวจับพยุงตัวในที่อยู่อาศัยที่มีผู้สูงอายุ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
Development of a Body Support Bar in Elderly’s Residence According to The Philosophy of Sufficiency Economy วิกรม วงษ์สุวรรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Vikrom Vongsuwana Assistant Professor, Faculty of Architecture ,Urban Design and Creative Arts Mahasarakham University Email: vikrom.v@msu.ac.th บทคัดย่อ
จากสถานการณ์ด้านประชากรในปัจจุบันของประเทศไทย ที่มีจ�ำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นเรื่อย และปัญหา การหกล้มในบ้านพักอาศัย เป็นปัญหาหนึ่งที่เกิดกับผู้สูงอายุแล้วสร้างความบาดเจ็บที่รุนแรงและอาจถึงชีวิตได้ ราว จับพยุงตัวจึงเป็นอุปกรณ์ทชี่ ว่ ยอ�ำนวยความสะดวกให้ผสู้ งู อายุสามารถทีจ่ ะเคลือ่ นทีไ่ ปภายในบ้านได้อย่างปลอดภัย โดยการใช้มอื จับราวเพือ่ พยุงตัวเดิน หรือลุกยืน ซึง่ จะช่วยป้องกันการอุบตั เิ หตุทเี่ กิดจากการหกล้ม แต่พบว่าในปัจจุบนั ราคาราวจับส�ำเร็จรูปทีม่ จี ำ� หน่ายมีราคาทีส่ งู ท�ำให้ผสู้ งู อายุบางส่วนไม่สามารถเข้าถึงอุปกรณ์ชนิดนีไ้ ด้ น�ำมาสูโ่ ครงการ พัฒนาราวจับพยุงตัวที่น�ำเอาหลักเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ โดยโครงการมีวัตถุประสงค์ เพือ่ ศึกษาความเป็นไปได้ในการน�ำวัสดุทหี่ าได้งา่ ยในชุมชนน�ำมาออกแบบราวจับพยุงตัว โดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอ เพียง ได้ก�ำหนดพื้นที่การศึกษาเป็นต�ำบลขามเรียง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ในการศึกษาวัสดุในชุมชม ทีส่ ามารถหาได้งา่ ยจากร้านจ�ำหน่ายวัสดุกอ่ สร้างขนาดเล็กทีม่ กี ระจายในชุมชม ได้ทำ� การคัดเลือกวัสดุทมี่ คี วามเหมาะ สมกับการออกแบบคือ ท่อพีวีซีและไม้โครง ซึ่งมีขนาดหน้าตัดที่สอดคล้องตามข้อก�ำหนดของการออกแบบราวจับ มี ผิวสัมผัสเรียบ และใช้เครื่องมือและกระบวนการแปรรูปที่ไม่ซับซ้อน สามารถที่จะท�ำใช้เองได้เป็นการพึ่งพาตนเอง ผู้ ออกแบบได้เลือกบ้านที่มีผู้สูงอายุอาศัยแบบเจาะจงเป็นพื้นที่ในการศึกษาพฤติกรรมและทดสอบการใช้งานราวจับ พยุงตัว จากการศึกษาพฤติกรรมของผู้สูงอายุ ในการเดินไปยังห้องต่าง ๆ ในบ้าน พบรอยเลอะที่ผนังในบริเวณหน้า ประตู ผนังทางเดิน ซึ่งเกิดจากการใช้มือสัมผัสกับผนังเพื่อพยุงตัวในการเดิน ในส่วนการออกแบบราวจับ ใช้แนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ 1) มีความพอประมาณ คือการเลือกใช้วัสดุที่สามารถหาได้ง่ายในเขตพื้นที่ชุมชน ราคา ประหยัด มีความสอดคล้องกับการท�ำราวจับพยุงตัว ใช้เครื่องมือและกระบวนการผลิตที่ไม่ซับซ้อนยังท�ำให้ผู้สูงอายุ เองหรือญาติพนี่ อ้ งทีเ่ กีย่ วข้องสามารถทีจ่ ะผลิตขึน้ ใช้ได้เอง หรือซ่อมแซมได้ในภายหลัง 2) มีเหตุผล คือ การออกแบบ ราวจับต้องสอดคล้องกับมาตรฐานด้านความปลอดภัยและข้อก�ำหนดเบื้องต้นต่าง ๆ ในด้านลักษณะการจับ ขนาด หน้าตัด ต�ำแหน่งการติดตั้งและ 3) มีภูมิคุ้มกัน คือ การออกแบบราวจับพยุงตัวเลือกใช้กระบวนการผลิตที่ไม่ซับซ้อน ใช้เครื่องมือพื้นฐานทั่วไปได้ คนในชุมชนสามารถที่จะผลิตราวจับพยุงตัวเองได้ในภายหลัง หรือซ่อมแซมราวจับเดิม เพื่อท�ำให้ราวจับพยุงตัวเป็นที่แพร่หลายไปในชุมชน อันจะน�ำมาซึ่งการช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุของผู้สูงอายุที่ต้องใช้ ชีวิตประจ�ำวันในบ้านพักอาศัย
84
ค�ำส�ำคัญ : ราวจับพยุงตัว, ผู้สูงอายุ, การออกแบบ, เศรษฐกิจพอเพียง
Abstract
At present, the aging population in Thailand is rising and falls in the elderly have become serious problems that could lead to severe and life-threatening injuries. Handrails are tools that enable the elderly to move around safely in their homes. The elderly can prevent falls when using handrails to walk or stand up; however, prefabricated handrails are expensive, limiting the elderly people’s access to them. As such, the main purpose of this project is to design handrails by applying the sufficiency economy principles by using materials available locally. The research site is located in Khamreang sub-district, Kantharawichai district, Mahasarakham province. Materials commonly found in hardware stores located in the community were selected. They were PVC pipes and joint wood. Together with smooth surface, the materials have appropriate cross-sectional area to the handrail design principle. Moreover, simple tools are used and assembling steps are not complicated. The designed handrails can be assembled by the elderly themselves or by their family members. A purposive sampling selection was used to draw participants. The elderly participant’s walking behavior was observed. The participants moved around from room to room in the house. Stains on walls next to the doors and along the walking way were found as evidence of need for support when walking. The design of handrails follows three principles of sufficiency economy. Such as 1) the first principle is moderation conducted by selecting cheap materials commonly found in local areas. Tools should be easy to use and the assembling steps should not be too complicated. Handrails should be assembled or repaired by the elderly or by their family members. 2) The second principle is rational. The design must conform to the safety measures and standard in regards to grasping, cross-sectional area, and installing area and 3) the last principle is security. The design of the handrail adopts simple assembling procedures by using simple tools. People in the community can produce and fix the handrail by themselves so that it will be popular in the community. The handrail will be able to help reduce falls in the elderly during daily activities in their houses. Keywords: handrails, the elderly, design, sufficiency economy Download Full-Text
Scan QR Code
85
การพัฒนาสภาพแวดล้อมเสมือนจริง 360 องศาแบบกราฟิก เพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวบนสังคมออนไลน์เฟสบุ๊คสเปส
Development of virtual environment 360 Degrees in graphic format for Public Relations Tourism on Social Media using Facebook Spaces ภาณุวัฒน์ ศิริกัน1*, วัลลภ ศรีส�ำราญ2 และ พหลยุทธ บุตรจู3
อาจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 1
ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000
Panuwat Sirikan1*, Wanlop Srisamran2 and Phahonyood Boodju3 1 Lecturer, Department of Multimedia Technology, Faculty of Art and Industrial Design, Rajamangala University of Technology Isan, Sub-district Nai Muang, District Muang Nakhon Ratchasima, Nakhon Ratchasima Province 30000, Thailand *Email: jibjawg@hotmail.com บทคัดย่อ
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมเสมือนจริง 360 องศาแบบกราฟิกเพื่อ ประชาสัมพันธ์การท่องเทีย่ วบนสังคมออนไลน์เฟสบุค๊ สเปส 2) เพือ่ ศึกษาความคิดเห็นจากผูท้ รงคุฒวุฒิ 3) เพือ่ ศึกษา ผลการประเมินคุณภาพ เครือ่ งมือทีใ่ ช้วจิ ยั ดังนี้ 1) สภาพแวดล้อมเสมือนจริงแบบกราฟิก 2 มิติ 360 องศา ในรูปแบบ เฟสบุ๊คสเปส 2) อุปกรณ์วีอาร์ (VR) 2) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง 3) แบบประเมินคุณภาพ ซึ่งมีกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 3 ท่าน ผลการศึกษาพบว่า 1) ด้านการใช้งาน วิธกี ารใช้อปุ กรณ์สามารถเข้าใจได้งา่ ย ทัง้ การควบคุมในโลกเสมือนจริง และโลกจริง มีความน่าสนใจ มีความสนุก และมีความเหมาะสมต่อการใช้งาน มีระดับคุณภาพดีมาก (X = 4.56) 2) ด้านการออกแบบและเทคนิค มีความสวยงาม น่าสนใจ มีเอกลักษณ์ ปรับเปลี่ยนมุมมองได้รอบ ความชัดเจน มี ระดับคุณภาพดี (X = 4.28) 3) ด้านการน�ำไปใช้ การใช้งานง่ายสามารถเข้าถึงทุกที่ ต่อยอดในงานได้ การใช้งาน มีประโยชน์ในการประชาสัมพันธ์การท่องเทีย่ ว การน�ำศิลปะและวัฒนธรรมมาประยุกต์มคี วามเหมาะสม มีมติ ใิ นการ เข้าถึงมากกว่าหน้าจอ ในอนาคตมีการพัฒนาการเคลือ่ นไหว หรือเพิม่ เติมในส่วนลวดลายทีด่ สู มจริง มีระดับคุณภาพ ดีมาก (X= 4.80) สรุปผลในการพัฒนาครั้งนี้ พบว่า มีระดับคุณภาพดีมาก (X = 4.55) ค�ำส�ำคัญ : ท่องเที่ยว, โลกเสมือนจริง, วัด, สภาพแวดล้อม 360 องศา
86
Abstract
The purpose of this study is 1) to develop virtual environment 360 Degrees in graphic format for Public Relations Tourism on Social Media using Facebook Spaces 2) to study the opinions of the experts’ 3) to study the quality assessment. Research tools used to collect data are 1) Virtual 2D graphics with 360 degrees in the form of Facebook Spaces 2) VR equipment 2) Semi-structured interview 3) Quality assessment form Which has a sample group 3 qualified persons. The study results found that: 1) The device can be easily understood Both control in the virtual world and the real world are interesting, fun and suitable for use. Has a very good quality level (X = 4.56) 2) design and techniques are beautiful, interested, unique, can change the view around the clarity with good quality level (X = 4.28) 3) Easy to use, accessible anywhere. Can extend the work Usage is useful in public relations for tourism. Apply art and culture is appropriate. There is a dimension to access more than the screen. In the future, there is development of movement. Or add in the pattern that looks realistic Has a very good quality level (X = 4.80). The results of this development were found to have very good quality levels (X = 4.55). Keywords: Tourism, Virtual Reality, Temple, Virtual Environment Download Full-Text
Scan QR Code
87
กรอบแนวคิดในการออกแบบแพหาปลาอเนกประสงค์ต้นแบบในจังหวัดกาฬสินธุ์ กรณีศึกษา : ชุมชนริมเขื่อนล�ำปาว
Conceptual Framework for Multipurpose Raft House in Kalasin Province: A Case Study of The Local by The Lampao Dam หัสยา สิงห์ศรี1* มัณฑนา ทองสุพล2 และ ประพนธ์ เนียมสา3
อาจารย์สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
1-3
62/1 ถ.เกษตรสมบูรณ์ ต.กาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000
Hassaya Singsri1* Mantana Thongsuphon2 and Praphon Niamsa3 1-3 Lecturer, Department of ArchitectureFaculty of Engineering and Industrial Technology, Kalasin University 62/1 Kasetsomboon Road, Tambon Kalasin, Mueang District, Kalasin, 46000, Thailand *Email: pinkuberrylomo@gmail.com บทคัดย่อ
จังหวัดกาฬสินธุเ์ ป็นสถานทีต่ งั้ ของเขือ่ นล�ำปาวซึง่ เป็นเขือ่ นดินเพือ่ การส่งน�ำ้ ในภาคเกษตรกรรมโดยเฉพาะ พืน้ ทีช่ ลประทาน ครอบคลุมพืน้ ทีจ่ งั หวัดกาฬสินธุแ์ ละจังหวัดใกล้เคียง เกิดชุมชนและหมูบ่ า้ น สร้างทีพ่ กั อาศัยทัง้ แบบ ชั่วคราวและกึ่งถาวรในพื้นที่บริเวณรอบๆ อ่างเก็บน�้ำล�ำปาว ซึ่งส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพประมงน�้ำจืด โดยจะใช้ เวลาส่วนใหญ่อยู่บนแพ ที่ติดตั้งอุปกรณ์ทุ่นแรงเพื่อจับสัตว์น�้ำ เรียกว่า “แพสะดุ้งใหญ่” ปัญหาที่พบเกี่ยวกับการใช้ แพสะดุง้ ใหญ่ในระยะเวลานานจะเริม่ เกิดการช�ำรุดเสียหาย ซึง่ มีคา่ ใช้จา่ ยสูงเทียบกับต้นทุนในการสร้างแพสะดุง้ ใหญ่ ส่วนที่ต้องซ่อมแซมและเปลี่ยนวัสดุบ่อยครั้งที่สุด คือ แพไม้ไผ่ที่แช่อยู่ในน�้ำตลอดเวลา ล�ำดับต่อมา คือ ส่วนไม้ไผ่ที่ ใช้เป็นสะดุง้ ยกสัตว์นำ�้ ล�ำดับสุดท้าย คือ ส่วนโรงเรือนชัว่ คราว ซึง่ ประกอบจากสังกะสี ทีม่ คี ณ ุ สมบัตใิ นการการถ่ายเท ความร้อนดี อีกทั้งเกิดการผุกร่อน จึงไม่เกิดสภาวะน่าสบายและไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของชาวประมงใน การใช้งาน ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ 1) ศึกษาลักษณะและรูปแบบของแพสะดุ้งใหญ่รวมถึงภูมิปัญญา เครือ่ งมือจับสัตว์นำ�้ และสถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ในจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) ศึกษาแนวคิดเกีย่ วกับการออกแบบแพสะดุง้ ใหญ่ รูปแบบใหม่ที่มีความอเนกประสงค์ ซึ่งยืดหยุ่นในการใช้งาน เหมาะสมกับสภาพอากาศ บริบท และตอบสนองความ ต้องการของชาวประมงน�้ำจืดเขื่อนล�ำปาวในปัจจุบัน 3) ศึกษาปัญหาและปัจจัยส�ำคัญ เพื่อเป็นแนวทางในการ ออกแบบแพหาปลาอเนกประสงค์ต้นแบบในจังหวัดกาฬสินธุ์ วิธีการวิจัย คือ ศึกษาทฤษฎีและเอกสารงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง โดยอาศัยพื้นฐานภูมิปัญญาเครื่องมือจับสัตว์น�้ำและสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและการก่อสร้างแพลอยน�้ำ จาก กรณีศึกษาในประเทศและต่างประเทศ พิจารณาเปรียบเทียบในด้านต่างๆ ได้แก่ การลงพื้นที่ส�ำรวจเก็บข้อมูลสภาพ แพสะดุ้งใหญ่และความต้องการพื้นที่ใช้สอยในปัจจุบันจากชาวประมงน�้ำจืดเขื่อนล�ำปาว การก่อสร้างและการเลือก ใช้วสั ดุในแง่ของความแข็งแรงและงบประมาณ การยืดหยุน่ สามารถปรับเปลีย่ นพืน้ ทีใ่ ช้งานได้ รวมถึงแนวทางรองรับ พลังงานหมุนเวียนจากธรรมชาติ น�ำข้อมูลต่างๆ มาวิเคราะห์ปัญหาและและสรุปผลสิ่งที่ควรปรับปรุง พัฒนาและ ความต้องการเพิม่ เติม พบว่า ด้านโครงสร้าง ต้องการความแข็งแรงทนทานต่อลมมรสุม การออกแบบโครงสร้างสะดุง้ ใหญ่ที่ช่วยทุ่นแรงในการยกสัตว์น�้ำได้ดีขึ้น งบประมาณไม่สูงมากและคุ้มค่าในระยะยาว มีตาข่ายรองรับป้องกันการ ตกแพ ด้านพื้นที่ใช้สอย ต้องการห้องน�้ำ ประกอบอาหาร และรองรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ด้านการใช้พลังงาน ต้องการใช้ไฟฟ้าโดยพลังงานทางเลือกที่ได้จากธรรมชาติ บทสรุปของการศึกษานี้ ได้น�ำเสนอกรอบแนวคิดในการ ออกแบบเพื่อใช้ในการออกแบบแพสะดุ้งใหญ่อเนกประสงค์ต้นแบบต่อไปได้
88 ค�ำส�ำคัญ : ยอขันช่อ, สะดุ้งใหญ่, แพหาปลา, แพอเนกประสงค์, แพสมัยใหม่
Abstract
Kalasin province is the location of Lampao Dam, the earth-fill dam is responsible for supplying cultivation water to the agriculture area. Irrigation area covered Kalasin province and neighboring province made community and village that generated temporary and permanent residential shelters around the dam area. Most of the population was engaged in Inland fisheries and spend most of the time on the raft that installed labor-saving equipment for catch aquatic animals called “Pae Sa Dung Yai� or Large lift nets raft house. Problems encountered from using the raft house for a long time was the damage which has a high cost in repairing compared to the cost of building. The most frequently repaired part were the bamboo raft that immersed in the water all the time, and next, the bamboo fist trap help lifting the aquatic animals, and the last one is the temporary house that made from galvanized iron which has good heat transfer property and eroded ,therefore no comfort zone and not safe for life and property. So the objective of the study was 1) Study the characteristics and the pattern of the raft house, fish catcher knowledge wisdom and vernacular architecture knowledge wisdom in Kalasin province. 2) Study the new conceptual framework for multipurpose raft house which flexible to use and suitable for the weather, context and provide the Lampao Dam inland fisherman demand. 3) Study the problem and the key factor for the raft house designing guideline and create the raft house prototype in Kalasin province. The method of the study was investigated the principals, theory, reviewed of literature and related researches based on fish catcher knowledge wisdom and vernacular architecture knowledge wisdom, raft house construction from case study both domestic and international. Consider comparison in various fields include taking the survey area and collecting data about the raft house in the real condition and the Lampao Dam fisherman usage area requirement. Construction and material selection in strength and budget, flexible to use and can be modified according to the usage, including, supporting to natural renewable energy use. Form using collecting data to analyzed the problems and summarized of improvement things and addition requirement found that the structure should be strength and durability to monsoon, raft house structure design that progress energy saving , low budget and worth in the long term and safety net to prevent fall was needed. In usage area, the raft house needed restroom, cooking area and support eco-tourism. In energy consumption, the raft house needed alternative natural energy supply. The conclusion of the study was presented the conceptual framework in multipurpose raft house and this is the ideal for use as prototype in raft house designing in Kalasin province in the future. Keywords: Small lift nets, Lage lift nets, raft house, multi-purpose raft house, temporary raft house Download Full-Text
Scan QR Code
89
โครงการจัดท�ำหุ่นจ�ำลองชุมชนบ้านดอนนา จังหวัดมหาสารคาม เพื่อเป็นสื่อในการพัฒนาพื้นที่เชิงวัฒนธรรม
Project Modeling Prepare Bandonna Community, Maha Sarakham Province So as to Develop Cultural Area จตุรงค์ ประเสริฐสังข์
อาจารย์ประจ�ำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150
Jaturong Prasertsang Lecturer, Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts Kham Riang, Kantharawichai District, Maha Sarakham Province 44150 *Email : coach_ia@hotmail.com บทคัดย่อ
จากทีโ่ ครงการแนวทางการสร้างสภาพแวดล้อมศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านดอนนา จ.มหาสารคาม ปี 2558 ได้ มีการลงพื้นที่สอบถามปัญหาและความต้องการของทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดอนนากับทางชุมชน และได้จัดท�ำ คูม่ อื ส�ำหรับเป็นต้นแบบในการพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก ส่งมอบให้เป็นทีเ่ รียบร้อยแล้วนัน้ ทางชุมเห็นได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ ของการท�ำหุ่นจ�ำลอง (โมเดล) ที่โครงการจัดท�ำไว้ให้ ซึ่งมีความสวยงาม มองแล้วเห็นภาพ ทุกคนสามารถเข้าใจและ รับรูร้ ว่ มกันได้งา่ ย จึงมีแนวคิดทีจ่ ะต่อยอดในการจัดท�ำหุน่ จ�ำลองของชุมชน เพือ่ จะใช้เป็นสือ่ กลางในการพัฒนาแหล่ง เรียนรู้เชิงวัฒนธรรมของชุมชนกับทางหน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องต่อไป จากการลงส�ำรวจพื้นที่จริงโดยหมู่บ้าน ดอนนา ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 7 ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม เป็นหมู่บ้านขนาดกลาง ประมาณ 300 หลังคาเรือน ติดกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม ในหมู่บ้านประกอบด้วยสถานที่ส�ำคัญคือ โรงเรียนบ้านดอน นา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดอนนา ดอนปู่ตา ปู่ขุนสอน วัดโพทาราม วัดป่าดอนหนาด เป็นต้น รวมไปถึงกลุ่มอาชีพ เสริมที่น่าสนใจในหมู่บ้าน เช่น กลุ่มท�ำเสื่อกก กลุ่มกลองยาว กลุ่มเลี้ยงปลา กลุ่มเลี้ยงไก่ชน กลุ่มท�ำขนมจีน กลุ่มท�ำ ปลาร้า กลุ่มท�ำเครื่องจักรสาน และปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น จากการส�ำรวจลงพื้นที่เบื้องต้น และ สัมภาษณ์จาก ตัวแทนของหมู่บ้าน พบลักษณะปัญหาและความต้องการเช่น ทางชุมชนมีความต้องการที่จะพัฒนาแนวคันดิน และ บริเวณโดยรอบแหล่งน�้ำกุดค�ำฮิง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม และการท่องเที่ยวทางน�้ำ ซึ่งประกอบไปด้วย สวนเกษตรพอเพียง สวนป่าสมุนไพร ศูนย์การเรียนรูท้ างอาชีพของชุมชน ตลาดนัดชาวบ้าน สวนอาหารลอยน�ำ้ ฯลฯ มีความต้องการจะที่สร้างรางระบายน�้ำรอบหมู่บ้าน เนื่องจากประสบปัญหาน�้ำท่วมขังทุกปี แต่ยังก�ำหนดต�ำแหน่งที่ จะน�ำน�ำ้ ไปปล่อยไม่ได้ และการสร้างผังชุมชน ซึง่ จะสามารถพัฒนาไปสูแ่ ผนทีท่ อ่ งเทีย่ วสามารถระบุตำ� แหน่งแหล่งเรียนรู้ เชิงวัฒนธรรมของชุมชนที่สื่อสารให้เข้าใจง่ายต่อไป ทางหลักสูตรสถาปัตยกรรมภายใน ซึง่ เป็นหลักสูตรทีเ่ น้นการเรียนในด้านการจัดสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ประเภทต่าง ๆ การจัดการองค์ประกอบของพืน้ ทีต่ า่ ง ๆ ให้เหมาะสมจึงเห็นสมควรในการเสนอโครงการจัดท�ำหุน่ จ�ำลอง ชุมชนบ้านดอนนา จ.มหาสารคาม เพื่อให้ชุมชนใช้เป็นสื่อกลางในการประชุมปรึกษาหารือทั้งกับชุมชนเอง หรือกับ หน่วยงานองค์กรทีเ่ กีย่ วข้องในเรือ่ งการพัฒนาพืน้ ทีเ่ ชิงวัฒนธรรมของชุมชน ทุกคนรับรูแ้ ละเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน สามารถเรียนรู้และเข้าใจในต�ำแหน่งที่ตั้งสถานที่ต่าง ๆ ของหมู่บ้านตนเอง สามารถสื่อสารกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่จะ
90
เข้ามาสนับสนุนในการพัฒนาชุมชน หรือแม้กระทั่งการท�ำความเข้าใจกับคนในชุมชนเอง ในการก�ำหนดพื้นที่ท�ำ กิจกรรมต่าง ๆ และการพัฒนาชุมชนในรูปแบบต่างๆได้ ส่วนอาจารย์และนิสิตที่เข้าร่วมโครงการก็ได้เรียนรู้รูปแบบ การท�ำงานจริง การสื่อสารกับคนในชุมชน รู้จักเลือกรูปแบบในการน�ำเสนอผลงานที่ท�ำให้ทุกคนเข้าใจร่วมกันได้ง่าย ที่สุด และได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ได้ประโยชน์ร่วมกันทุกฝ่าย ถือได้ว่าเป็นการเรียนรู้ร่วมกันอย่างแท้จริง ทั้งนี้ทางหลักสูตรได้มีการด�ำเนินการจัดท�ำหุ่นจ�ำลองผังชุมชนบ้านดอนนา และท�ำการส่งมอบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว พร้อมอธิบายวิธกี ารใช้งาน และการประยุกต์ใช้เป็นสือ่ กลางดังกล่าวกับลักษณะของงานหรือการประชุมปรึกษาหารือ ในหลายรูปแบบ ให้ชาวบ้านสามารถใช้งานเครื่องมือได้ด้วยตัวเอง เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนสืบไป ค�ำส�ำคัญ : หุ่นจ�ำลอง, สื่อกลาง, สื่อในการพัฒนา, พื้นที่เชิงวัฒนธรรม Abstract
According to the project to create environment for the child development center, Ban Don Na Maha Sarakham Province, 2015. The area has been questioned about the problems and needs of the Donna Child Development Center and the community and produced a manual for the development of a child center. Since the community has seen the benefits of modeling (Model) that the project provided which has stylish looking and everyone can easily understand the model. Therefore, there is a concept to build the model of community models in order to use as a center for the development of community cultural learning resources with relevant agencies or organizations. On the report of the actual survey conducted by the village of Donna, located at Moo 7, Kham Riang Subdistrict, Kantharawichai District, Maha Sarakham Province. medium-sized village of about 300 houses next to Maha Sarakham University.the village has low plain area which consists of important places. Ban Donna School Child Development Center, Don Phu Ta, Phu Khunsorn, Potaram Temple, Pa Don Nad Temple, etc., including additional occupational groups that are interesting in the village such as reed mats, long drum groups, fish raising groups, Fighting Cocks Group, Thai rice noodles, Fermented fish, Basketry group and expert villagers, etc. According to the survey into preliminary areas and interviews from village representatives Found problems and needs such as the community needs to develop the soil line.The surrounding area of Nam Kut Kham Hing pond to be a cultural learning resource and water travel which includes Sufficient Agricultural, Herb garden, Community Career Learning Center, Folk market, Floating restaurant, etc. The village need to build gutters around the village to solve the flooding problems every year. However, the village cannot set a channel direction to drain the water. Moreover, creating a community plan which will be able to develop into a tourist map and able to identify the location of the cultural learning resources of the community that is easy to understand. Interior architecture course which is a course that focuses on learning in various types of indoor environment proper management of various space elements. Therefore, it’s appropriate to propose a project to create a model of Ban Don Na community, Maha Sarakham province, to allow the community to use as a medium for consultation meetings both with the community itself. In the other hand, with
91
relevant organizations in the area of community cultural development everyone knows and understands in the same direction. Furthermore, able to learn and understand the location of the village itself, able to communicate with various agencies that will support the community development or even understanding the people in the community itself in the formulation of various activities. Besides, the community development in various forms for the teachers and students who participated in the project, learning the actual working style. In addition, communicating with people in the community knowing how to choose the presentation style that makes everyone understand together easily. After most, exchange learning with each other can benefit all parties can be considered as true mutual learning In conclusion, the course has been conducted to create a model of Ban Donna community plan and explain how to use the application of such medium to the nature of the work or the consultation meeting in many forms allowing villagers to use the tool by themselves for sustainable development. Keywords: Model, Media, Development media, Cultural area Download Full-Text
Scan QR Code
92