URPAS 2019 The 7th Urban & Regional Planning Academic Symposium 2019

Page 1



7 th Urban & Regional Planning Academic Symposium 2019


เอกสารประกอบการประชุมวิชาการด้านการวางแผนภาคและเมือง (URPAS 2019) Proceedings of the 7th Urban and Regional Planning Academic Symposium (URPAS 2019)

“ภูมิปัญญาสู่การออกแบบอัจฉริยะ” (Wisdom for Smart Design)

พิมพ์ครั้งที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2562 จ�ำนวนพิมพ์ 150 เล่ม สงวนลิขสิทธิ์ ตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2521 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150 โทรศัพท์: Email: Website:

043 754 381, มือถือ 086 455 599 0 (จันทร์-ศุกร์ เวลา 8.30-16.30 น.) Research.arch@msu.ac.th https://arch-info.msu.ac.th/URPAS2019/

สถาบันภาคีร่วมจัดโครงการ

ภาควิชาการวางแผนและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาการผังเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมืองมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สาขาวิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิชาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และ การออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย

กองบรรณาธิการ

อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดิฐา แสงวัฒนะชัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชนาถ ทิวะสิงห์ อาจารย์ สุรพงษ์ ลิวไธสง นางสาวนิกานต์ดา ทองน้อย นางสาวจุฑาณัฐ สินธุศิริ

ออกแบบปกและจัดรูปเล่ม

อาจารย์วีรพล เจียมวิสุทธิ์ อาจารย์ฐิติรัตน์ นิมิตบรรณสาร

พิมพ์ท ี่

หจก. อภิชาติการพิมพ์ (เสริมไทยเก่า) 50 ถนนผังเมืองบัญชา ต�ำบลตลาด อ�ำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม 44000

4


U RPAS โครงการประชุมวิชาการด้านการวางแผนภาคและเมือง (URPAS 2019) “ภูมิปัญญาเพื่อการออกแบบอัจฉริยะ” (Wisdom for Smart Design) ระหว่างวันที่ 13-14 มิถุนายน 2562 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หลักการและเหตุผล

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นสถาบันอุดมศึกษาทีต่ ระหนัก ถึงความส�ำคัญของการวิจยั ทัง้ ในด้านการวิจยั เพือ่ สร้างองค์ความรูใ้ หม่ การวิจยั และพัฒนาการวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรียน การสอน และการวิจยั สถาบัน โดยมีนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์ผลิตผลงานวิจยั งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ส่งเสริมให้มกี ารแลกเปลีย่ นผลงานวิจยั อันมีคณ ุ ค่า น�ำไปสูก่ ารใช้ประโยชน์และการเผย แพร่อย่างกว้างขวางระหว่างคณาจารย์ นิสติ นักศึกษา นักวิจยั และนักวิชาการ ทัง้ จากหน่วยงานภายในวิทยาลัยและ หน่วยงานภายนอกวิทยาลัย รวมทัง้ เพือ่ ให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการในด้านอืน่ ๆ เพือ่ การเรียนรู้ รวมไปถึง การสร้างความร่วมมือทางวิชาการทีแ่ สดงถึงองค์ความรูใ้ หม่ทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเอง ชุมชน ท้องถิน่ และ สังคมให้ดยี งิ่ ขึน้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ จึงได้การประชุมวิชาการด้านการวางแผนภาคและเมือง ครัง้ ที่ 7 ขึน้ เพือ่ เป็นเวทีทเี่ ปิดโอกาสให้คณาจารย์ บุคลากร นักวิจยั นักวิชาการ ผูป้ ฏิบตั งิ านทัง้ ภาครัฐและเอกชน และเครือข่าย สถาบันต่าง ๆ รวมถึงการแลกเปลีย่ นประสบการณ์ การน�ำเสนอผลงานวิจยั ทีป่ ระกอบด้วย ผลงานทางด้านการผังเมือง และสถาปัตยกรรมผังเมือง เพือ่ เป็นการเผยแพร่ผลงานอันจะเป็นประโยชน์ตอ่ แวดวงวิชาการและสาธารณชนต่อไป

วัตถุประสงค์

1) เพือ่ เป็นเวทีให้เกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ประสบการณ์ทางด้านการวิจยั ระหว่างคณาจารย์ นิสติ นักศึกษา นักวิจยั และนักวิชาการ ในการแสดงและน�ำเสนอผลงานวิจยั เป็นการเผยแพร่ผลงานอันจะเป็นประโยชน์ตอ่ แวดวงวิชาการ และสาธารณชน 2) เพือ่ ให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและส่งเสริมการสร้างการวิจยั ให้เพิม่ มากขึน้ อันจะน�ำไปสู่ การพัฒนา และการประยุกต์ใช้องค์ความรูด้ า้ นต่าง ๆ ในเชิงบูรณาการ 3) เพือ่ รวบรวมบทความวิจยั และบทความวิชาการและบทความวิจยั ในรูปแบบของเอกสารเชิงวิชาการตีพมิ พ์เผยแพร่ ผลงานในวารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง

5


ค�ำนิยม คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

URPAS 2019 คือ งานสังสรรค์ทางปัญญาของชุมชนนักคิดทีส่ นใจในเรือ่ งการผังเมือง มีสมาชิกมากถึง 8 สถาบัน และได้จดั การสังสรรค์ทางวิชาการนีม้ าแล้ว 7 ครัง้ จุดประสงค์สำ� คัญของเวทีนคี้ อื การสร้างองค์ความรูจ้ ากภูมปิ ญ ั ญาที่ หลากหลาย ผ่านกระบวนการน�ำเสนอและการแลกเปลีย่ น เพือ่ ให้เกิดเครือ่ งมือทีจ่ ะน�ำไปใช้ในการพัฒนาเมืองและสังคม อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์

คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์

ค�ำนิยม

การประชุมวิชาการนีถ้ อื เป็นเวทีสำ� คัญ ทีเ่ ปิดโอกาสให้มกี ารน�ำเสนอผลงานทางวิชาการใหม่ๆ ด้านการวางแผนภาค และเมืองที่เหมาะสมกับยุคสมัย ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของนักวิจัยได้เป็นอย่างดี ในการประชุมครั้งนี้ได้จัดขึ้น ภายใต้หัวข้อ “ภูมิปัญญาเพื่อเมืองอัจฉริยะ” มีบทความเข้าร่วม จ�ำนวน 22 บทความ โดยบทความที่ตีพิมพ์ ในเอกสารการประชุมนี้ ได้ผา่ นการตรวจสอบคุณภาพจากคณะกรรมการพิจารณาบทความทีแ่ ต่งตัง้ จากผูท้ รงคุณวุฒิ เพือ่ ให้มคี ณ ุ ภาพ และการประชุมนีย้ งั เป็นเวทีเปิดโอกาสอันดีสำ� หรับนักวิชาการทีจ่ ะได้พบปะ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ และความคิดเห็นทางด้านการวางแผนภาค ท้ายนี้ ใคร่ขอขอบคุณ คณะท�ำงานและผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกท่านทีร่ ว่ มกันจัดการประชุมวิชาการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูท้ รงคุณวุฒพิ จิ ารณาบทความ องค์ปาฐก กรรมการวิจารณ์บทความ ผูน้ ำ� เสนอบทความ ทีใ่ ห้การสนับสนุนในการจัด งานประชุมด�ำเนินไปด้วยดี

อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์

ผูช ้ ว ่ ยคณบดีฝา่ ยวิจย ั และบริการวิชาการ

6


คณะกรรมการจัดงาน คณะกรรมการอ�ำนวยการ

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์ คณบดี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ จารุณยี ์ นิมติ ศิรวิ ฒ ั น์ รองคณบดีฝา่ ยบริหาร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิชนาถ ทิวะสิงห์ รองคณบดีฝา่ ยวิชาการ อาจารย์ ดร.ธนายุทธ ไชยธงรัตน์ ผูช้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยวิจยั และบริการวิชาการ อาจารย์สกลชัย บุญปัญจา ผูช้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยพัฒนานิสติ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร หัวหน้าส�ำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์รงั สิทธิ์ ตันสุข ี ผูช้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยหลักสูตรสถาปัตยกรรมภายใน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วกิ รม วงษ์สวุ รรณ์ ผูช้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยหลักสูตรนฤมิตศิลป์ นางมยุรี ผาผง หัวหน้าส�ำนักงานเลขานุการคณะฯ คณะกรรมการฝ่ายต้อนรับ ลงทะเบียนและประเมินผล

นางสาวเมทินี โคตรดี นางสาวรัชนูพรรณ ค�ำสิงห์ศรี นางสาวศมลวรรณ วรกาญจน์ นางสาวกัญจน์ชญา จันทรังษี นางสาวปาริชาติศรีสนาม นางสาวดาราลัย ไซมะเริง นางสาวศิรนิ ภา วงษ์ชารี นางสาวปรียาณัฐ มิรตั นไพร นางสาวปิยะนุช อินทร์พรหม นางสาวจุฑาณัฐ สินธุศริ ิ นางสาวเกวลี เฉิดดิลก นางสาวอภิชญา จ�ำรูญศิร ิ นางสาวพัชรินทร์ เชือ้ ภักดี นางสาวลัดดา พลขวา นางสาวนิกานต์ดา ทองน้อย

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการฝ่ายพิธก ี าร

นางนิพทั ธา หรรนภา นางสาววิชาภรณ์ ช�ำนิกำ� จร

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ 7


นายโกวิทย์ วาปีศลิ ป์ นางสาวเจนจิรานาเมืองรักษ์ นายทศพล เถาว์ทพิ ย์ นางสาวเพชรลัดดา เพ็ชรภักดี นางสาวจารุณยี น์ มิ ติ ศิรวิ ฒ ั น์ นางสาวสุรพี รรณ์สพุ รรณสมบูรณ์ นายมงคล คาร์น นายแสน ศรีสโุ ร นายสักรินทร์ แซ่ภ ู่ นายธเนศ ฉัตรจุฑามณี นางสาวดิฐา แสงวัฒนะชัย นายชัยนันท์ พรหมเพ็ญ นางสาววิชนาถ ทิวะสิงห์ นางสาวอุมาภรณ์ บุพไชย นางสาวอ�ำภา บัวระภา นายจตุรงค์ ประเสริฐสังข์ นายวรวิทย์ จันทเดช นายประสิทธิ์ สว่างศรี นายวีรพล เจียมวิสทุ ธิ ์ นางสาวธัญญรัตน์ อัศวนนท์ นางสาวสุนทรี ถูกจิตต์ นางสาวฐิตริ ตั น์ นิมติ รบรรณสาร นายวีรพล เจียมวิสทุ ธิ ์ นางละเอียด โกหล�ำ นางสาวลัดดา พลขวา

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการฝ่ายอาคารสถานที่ โสตทัศนูปกรณ์และยานพาหนะ

นางสาวดาราลัย ไซมะเริง นายจตุรงค์ ประเสริฐสังข์ นางกิง่ กาญจน์ โสภณพิศตุ ม์ นางสาวศรัทธาชาติ ศรีสงั ข์ นางสาววรวรรณ เนตรพระ นายทศพล เถาว์ทพิ ย์

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ 8


นางสาวฐิตริ ตั น์ นิมติ รบรรณสาร นายวรารินทร์ ปัญญาวงษ์ นางสาวลัดดา พลขวา นางสาวธัญญธร ดลเลีย่ ม นายทวีชยั ฤทธิธรรมกุล นายสายันต์ รัตน์ถา นายพาโชค น้อมสูงเนิน นายวุฒไิ กร ป้อมมะรัง

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการฝ่ายอาหาร และเลีย ้ งรับรอง

นางนิพทั ธา หรรนภา นางสาวศมลวรรณ วรกาญจน์ นางสาวธัญญรัตน์ อัศวนนท์ นางสาวปิยะนุช อินทร์พรหม

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ

นางสาวฐิตริ ตั น์ นิมติ รบรรณสาร นายวีรพล เจียมวิสทุ ธิ ์

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ

คณะกรรมการฝ่ายทัศนศึกษา

นายวิโรจน์ ชีวาสุขถาวร นายอมฤต หมวดทอง นายชิโนรส พันทวี

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขานุการ

9


ผูท ้ รงคุณวุฒพ ิ จ ิ ารณาบทความการประชุมวิชาการด้านการวางแผนภาคและเมือง (URPAS 2019) ผูท ้ รงคุณวุฒพ ิ จ ิ ารณาบทความภายในมหาวิทยาลัย

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธราวุฒิ บุญเหลือ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สักรินทร์ แซ่ภู่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เพชรลัดดา เพ็ชรภักดี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดิฐา แสงวัฒนะชัย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์เมธี พิรยิ การนนท์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วชิ าภรณ์ ช�ำนิกำ� จร

สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง คณะสถาปัตย์ฯ

ผูท ้ รงคุณวุฒพ ิ จ ิ ารณาบทความภายนอกมหาวิทยาลัย

รองศาสตราจารย์ ดร.ชูพงษ์ ทองค�ำสมุทร รองศาสตราจารย์ ดร.วารุณี หวัง รองศาสตราจารย์ กุลศรี ตัง้ สกุล ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ วีระทวีมาศ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นพดล ตัง้ สกุล ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุรกานต์ รวยสูงเนิน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนสิทธิ์ จันทะรี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พีรน์ ธิ ิ อักษร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชนัษฎา จุลลัษเฐียร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สัญชัย สันติเวส ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มนสิชา เพชรานนท์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พรณรงค์ ชาญนุวงศ์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สักการ ราษีสทุ ธิ ์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กฤตภัทร ถาปาลบุตร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ พรสวัสดิ์ พิรยิ ะศรัทธา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ นิธวิ ดี ทองป้อง อาจารย์ ดร.จันทนีย์ จิรณ ั ธนัฐ อาจารย์ ดร.นยทัต ตันมิตร อาจารย์ ดร.วรัฐ ลาชโรจน์ อาจารย์ ดร.ปัทมพร วงศ์วริ ยิ ะ

มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 10


ผศ.ดร.สิงหนาท แวงสีหนาท ผศ.ดร.กฤตพร ห้าวเจริญ รศ.ดร.อรทัย มิง่ ธิพล ผศ. ดร.แทนวุธธา ไทยสันทัด รศ. ดร.เกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวง อาจารย์ ดร.วิทยา ดวงธิมา รศ. ดร.ณัชวิชญ์ ติกลุ อ. ดร.นิกร มหาวัน อ. ดร.พันธุร์ ะวี กองบุญเทียม ดร.อมร บุญต่อ ดร.อาทิตย์ ทิพย์พชิ ยั ดร.อมร บุญต่อ ผศ.ดร.คณิน หุตานุวตั ร ผศ.ดร.ณัฏฐกิษฐ นบนอบ ผศ.ดร.ปนายุ ไชยรัตนานนท์ รศ.ดร.ประพัทธ์พงษ์ อุปลา

มหาวิทยาลัยศิลปกร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

11


ก�ำหนดการการประชุมวิชาการ

การประชุมวิชาการด้านการวางแผนภาคและเมือง (URPAS 2019) ระหว่างวันที่ 13-14 มิถน ุ ายน 2562 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

วันพฤหัสที่ 13 มิถน ุ ายน 2562

เวลา

รายละเอียดกิจกรรม

08.30 – 09.30 น.

ลงทะเบียน

09.30 – 09.45 น.

- กล่าวต้อนรับ และรายงานวัตถุประสงค์การจัดการประชุม โดยผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์ คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ - กล่าวเปิดการประชุม โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวไิ ล ผูร้ กั ษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

09.45 – 10.45 น.

บรรยายพิเศษ โดยองค์ปาฐก (Keynote Speaker) โดยพระเอกชัย อรินทฺ โม (วัดนาคปรก)

10.45 – 11.00 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

11.00 – 12.00 น.

บรรยายพิเศษ โดยองค์ปาฐก (Keynote Speaker) โดยคุณสุทธิพงษ์ สุรยิ ะ

12.00 – 13.00 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.00 น.

การเสวนาแลกเปลีย่ น ในหัวข้อ “Wisdom for Smart Design and City”

14.00 – 14.15 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

14.15 – 17.00 น.

น�ำเสนอบทความประชุมวิชาการ “โฮมภูม”ิ และ “URPAS” ประชุมร่วมตามกรอบบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันเครือข่าย 8 สถาบัน “โฮมภูม”ิ

ประชุมเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการด้านการผังเมือง (URPAS)

18.00 – 20.00 น.

- งานเลีย้ งรับรองผูเ้ ข้าร่วมงานประชุมวิชาการฯ - การแสดงต้อนรับผูเ้ ข้าร่วมงานประชุมวิชาการฯ - มอบธงให้ผจู้ ดั การประชุมครัง้ ถัดไป

12


วันศุกร์ที่ 14 มิถน ุ ายน 2562

เวลา

กิจกรรม

08.30 – 09.00 น.

ลงทะเบียน

09.00 – 10.30 น.

น�ำเสนอบทความประชุมวิชาการ “โฮมภูม”ิ และ “URPAS”

10.30 – 10.45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

10.45 – 12.00 น.

น�ำเสนอบทความประชุมวิชาการ “โฮมภูม”ิ และ “URPAS”

12.00 – 13.00 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 16.00 น.

เยีย่ มชมเมืองมหาสารคาม

13


ตารางน�ำเสนอบทความ

การประชุมวิชาการด้านการวางแผนภาคและเมือง (URPAS 2019) วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถน ุ ายน 2562

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Technical Session 1:

การวางแผนระบบคมนาคมขนส่ง และการวางแผนโครงสร้างพืน ้ ฐาน (Transportation Planning and Infrastructure Planning)

Room:

AR 207

Moderator:

อาจารย์วรวิทย์ จันทเดช

Chairperson:

อาจารย์มงคล คาร์น และอาจารย์กน ั ตา วิลาชัย

Time

Paper ID

Title

Page No

14.15 -14.40

UP01

แนวคิดด้านการคลังสาธารณะของรถโดยสารประจำ�ทาง ประเภท รถบริการตลอดคืนขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)

20

14.40 -15.05

UP02

หลักระบบการจัดการระบายน้ำ�ของเมืองอย่างยั่งยืน: ศึกษา เฉพาะกฎหมายอังกฤษ

22

15.05 -15.30

UP06

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเชิงสัณฐานเมืองจากแนวถนน เลี่ยงเมืองตัดใหม่ กรณีศึกษาเทศบาลตำ�บลสันผีเสื้อและ เทศบาลตำ�บลเหมืองแก้ว จังหวัดเชียงใหม่

24

15.30 -15.55

UP07

พฤติกรรมการเดินทางของผู้สูงอายุในอเมริกา ยุโรป เอเชีย และแอฟริกา

26

15.55 -16.20

UP09

การศึกษาตัวชี้วัดในการประเมินศักยภาพของระบบขนส่ง สาธารณะในนครหลวงเวียงจันทน์กำ�แพง

28

16.20 -16.45

UP19

การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนแบบราง กรณีศึกษา ต้นแบบที่ดีจากประเทศญี่ปุ่น

30

Full Paper for Technical Session 1 QR Code & Link: https://qrco.de/bb9s3l

14


Technical Session 2:

การพัฒนาเศรษฐกิจของภาคและเมือง

(Regional and Urban Economic Development)

Room:

AR 208

Moderator:

อาจารย์ประสิทธิ์ สว่างศรี

Chairperson:

อาจารย์ ดร.วิทยา ดวงธิมา และผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร.สักรินทร์ แซ่ภู่

Time

Paper ID

Title

14.15 -14.40

UP10

ความแตกต่างของรูปแบบการดำ�เนินงานเพื่อการอนุรักษ์ ย่านเมืองเก่าในประเทศไทย

34

14.40 -15.05

UP12

ผังเมืองรวมปารีสและเบอร์ลนิ ในศตวรรษที่ 19

36

15.05 -15.30

UP15

กระบวนการเปลี่ยนผ่านทางกายภาพจากชุมชนสู่ เมืองมหาวิทยาลัย กรณีศกึ ษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่

38

15.30 -15.55

UP17

การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเมืองชุมชนให้เป็นมิตรต่อ การเดินและการใช้จักรยาน พื้นที่ศึกษา: ชุมชนสุขสบายใจ เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์

40

15.55 -16.20

UP18

ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะในเมือง

42

Full Paper for Technical Session 2 QR Code & Link: https://qrco.de/bb9s57

15

Page No


ตารางน�ำเสนอบทความ

การประชุมวิชาการด้านการวางแผนภาคและเมือง (URPAS 2019) วันศุกร์ที่ 14 มิถน ุ ายน 2562

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Technical Session 3:

การพัฒนาชุมขน (Community Development)

Room:

AR 206

Moderator:

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์วช ิ าภรณ์ ช�ำนิกำ� จร

Chairperson:

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร.สันต์ จันทร์สมศักดิ์

และอาจารย์กตัญญู หอสูตส ิ ม ิ า

Time

Paper ID

Title

09.00 – 09.25

UP08

สถานภาพการคงอยู่และแนวทางรักษาพื้นที่เกษตรกรรม ชานเมืองด้วยการส่งเสริมบทบาทการให้บริการนิเวศ ด้านวัฒนธรรม: กรณีศึกษาอำ�เภอสันกำ�แพง

46

09.25 – 09.50

UP13

กระบวนการจัดการตนเองของชุมชนบ้านมั่นคงวัดเชียงยืน แขวงนครพิงค์ เมืองเชียงใหม่

48

09.50 – 10.15

UP14

การบริหารจัดการชุมชนที่อยู่อาศัยด้วยกลไกเฉพาะ กรณีศึกษา: หมู่บ้านประชานิเวศน์ 1

50

10.15 – 10.40

UP16

การศึกษากระบวนการจัดทำ�ฐานข้อมูลสารสนเทศเมือง กรณี ศึกษาขอบเขตพื้นที่ที่จะเสนอขึ้นทะเบียนมรดกโลก อำ�เภอ ธาตุพนม จังหวัดนครพนม

52

Full Paper for Technical Session 3 QR Code & Link: https://qrco.de/bb9s5c

16

Page No


Technical Session 4:

การวางแผนและการจัดการสิ่งแวดล้อม และการป้องกันภัยพิบัติ

(Environmental Planning and Management and Disaster Risk

Reduction)

Room:

AR 207

Moderator:

อาจารย์ชโิ นรส พันทวี

Chairperson:

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดิฐา แสงวัฒนะชัย และ

ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์กฤษณุ ผโลปกรณ์ Time

Paper ID

09.00 – 09.25

UP03

การศึกษาการบริหารจัดการน�้ำระดับท้องถิ่นกรณีศึกษา ทุ่งรับน�้ำบางบาล อ�ำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

56

09.25 – 09.50

UP04

การศึกษาการบริหารการจัดการขยะที่ระยะต้นทางภายใต้ การมีส่วนร่วมในระดับชุมชน : กรณีศึกษา ชุมชนไผ่กองดิน ต�ำบลไผ่กองดิน อ�ำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี

58

09.50 – 10.15

UP05

สถานการณ์คงอยู่ของ “หมาก” พืชที่ใช้เป็นเครื่องบูชา ในพิธีกรรมความเชื่อของล้านนา

60

10.15 – 10.40

UP11

การศึกษาเปรียบเทียบเกณฑ์การเลือกที่ตั้งพื้นที่อุตสาหกรรม ในมิติภัยธรรมชาติ

62

10.40 – 11.00

Title

รับประทานอาหารว่าง

Full Paper for Technical Session 4 QR Code & Link: https://qrco.de/bb9s66

17

Page No



ABSTRACT Technical Session 1: การวางแผนระบบคมนาคมขนส่ง และการวางแผนโครงสร้างพื้นฐาน

Transportation Planning and Infrastructure Planning


แนวคิดด้านการคลังสาธารณะของรถโดยสารประจ�ำทาง ประเภทรถบริการตลอดคืนขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)

Public Finance Concepts of Bangkok Mass Transit Authority (BMTA) - Regular Overnight Bus Services นคร พลีธัญญวงศ์

อาจารย์ประจ�ำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 เมืองเอก ถ.พหลโยธิน ต.หลักหก อ.เมือง ปทุมธานี 12000

Nakorn Paleethunyawong Lecture, Faculty of Architecture at Rangsit University 52/347 Muang-Ake, Phaholyothin Road, Lak-Hok, Muang, Pathumthani 12000 Thailand Email: nakorn.rsu@gmail.com บทคัดย่อ

การคลังสาธารณะเข้ามามีบทบาทส�ำคัญต่อการด�ำเนินกิจการขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) ในฐานะทีเ่ ป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้การก�ำกับดูแลของรัฐบาล ปัญหาการขาดทุนสะสมของ ขสมก. เป็นปัจจัยหลักทีท่ ำ� ให้ รัฐควรต้องปรับเปลี่ยนแนวทางและวิธีการด�ำเนินนโยบาย การเดินทางด้วยรถโดยสารสาธารณะในเวลากลางคืน ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ได้รับผลกระทบดังกล่าว แนวโน้มของการเกิดเศรษฐกิจภาคกลางคืนที่สวนทางกับจ�ำนวนผู้โดยสาร ในยามค�่ำคืนที่ลดน้อยลงท�ำให้รัฐเสียโอกาสในการจัดเก็บรายได้ที่ควรจะได้ บทความนี้ต้องการน�ำเสนอแนวคิดว่า รัฐสมควรให้เงินอุดหนุนบางส่วนกับ ขสมก. ต่อไปควบคู่กับมาตรการทางการเงินอื่น เช่น รัฐควรมีนโยบายจัดสรร ส่วนแบ่งที่ได้จากสถานประกอบการในยามค�่ำคืนควบคู่ไปกับการส่งเสริมเศรษฐกิจภาคกลางคืนในรูปแบบของการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสร้างเส้นทางเชื่อมระหว่างชุมทางสถานที่ท่องเที่ยวในเวลากลางคืนแล้วจึงเก็บเกี่ยว ผลประโยชน์จากพื้นที่สองข้างทางและย่านพาณิชยกรรมนั้น ค�ำส�ำคัญ: การคลังสาธารณะ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) ขนส่งสาธารณะ กะสว่าง เศรษฐกิจภาคกลางคืน

20


Abstract

Public Finance plays an important role in the operation of the Bangkok Mass Transit Authority (BMTA) as a state enterprise under the supervision of the government. The accumulation problem of BMTA is the main factor that should make the government change its approach and policy. Public transport at night is one of those affected. The trend of increasing night-time economy is also different with fewer night-passengers causes the government to lose the opportunity to collect its revenue. This article suggests that the government should continue to subsidize the BMTA along with other financial instruments, such as the government should have a policy to allocate the income tax from the establishment at night, along with the promotion of the economy of the night in the form of infrastructure development by creating a link between the tourist attraction areas at night and capture the values of both sides of the street and the commercial district. Keywords: public finance, Bangkok Mass Transit Authority (BMTA), public transportation, night-shift bus, night-time economy

Download Full-Text

Scan QR Code

21


หลักระบบการจัดการระบายน�้ำของเมืองอย่างยั่งยืน: ศึกษาเฉพาะกฎหมายอังกฤษ

Sustainable Drainage Systems (SuDS) Principles: A Study of English Law ปีดิเทพ อยู่ยืนยง

อาจารย์ คณะนิตศ ิ าสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถนนห้วยแก้ว ต�ำบลสุเทพ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200

1

Pedithep Youyuenyong Lecturer, Faculty of Law, Chiang Mai University 239 Huay Kaew Road, Muang District, Chiang Mai, Thailand, 50200 Email: pedithep.y@cmu.ac.th

1

บทคัดย่อ

บทความฉบับนีม้ งุ่ ท�ำการศึกษาวิเคราะห์พฒ ั นาการของเกณฑ์จากหลักระบบการจัดการระบายน�ำ้ ของเมือง อย่างยั่งยืนภายใต้กฎหมายอังกฤษ (หลัก SuDs) ซึ่งก�ำเนิดขึ้นจากความสัมพันธ์ของหลักการส�ำคัญหลายประการ ที่ถูกน�ำมาช่วยสร้างการระบายน�้ำผิวดินในบริเวณชุมชนเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ หลัก SuDS ก็เฉกเช่นเดียวกับ หลักการอื่นๆ ที่อาจก่อให้เกิดการทับซ้อนกันของปัญหาอื่นๆ ที่ตามมา เช่น ปัญหาทับซ้อนระหว่างการจัดการน�้ำฝน และการจัดการน�้ำเสียระหว่างที่มีภาวะน�้ำท่วม การศึกษาการน�ำเอาหลัก SuDS ได้ท�ำให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียพยายาม หาแนวทางที่ว่าท�ำอย่างไรจึงจะใช้หลัก SuDS ให้บังเกิดประสิทธิภาพสูงสุด การประเมินหลักดังกล่าวเป็นประเด็นที่ น่าท้าทายในทางกฎหมายและอาจน�ำไปสูก่ ารวิเคราะห์มาตรการทางกฎหมายส�ำหรับการจัดการระบายน�ำ้ ของเมือง อย่างยั่งยืนในอนาคต ค�ำส�ำคัญ : การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน, การจัดการระบายน�ำ้ ของเมืองอย่างยัง่ ยืน, การจัดการความเสีย่ งจากภาวะน�ำ้ ท่วม, กฎหมายอังกฤษ, กฎหมายผังเมือง

22


Abstract

This article aims to analyse recent developments in main aspects of sustainable urban drainage systems (SuDS) in English law, a field emerging at the relation between several principles designed to efficiently manage the drainage of surface water in urban areas. Like other forms of systems, SuDS can also cause the overlap of problems, such as overlapping problem of management of rainwater and sewage water during the flood event. Learning about the implementation of SuDS has led many stakeholders to seek more effective use of SuDS. The assessment of SuDS has been made in terms of whether there are identifiable legal challenges, and what the scrutinising legal measures are which reflect on future SuDS agendas. Keywords: Sustainable Development, Sustainable Urban Drainage Systems (SuDS), Flood Risk Management, English Law, Planning Law

Download Full-Text

Scan QR Code

23


การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเชิงสัณฐานเมืองจากแนวถนนเลี่ยงเมืองตัดใหม่ กรณีศึกษา เทศบาลต�ำบลสันผีเสื้อและเทศบาลต�ำบลเหมืองแก้ว จังหวัดเชียงใหม่

Urban Morphological Structure Change from New Bypass Road Case Study San Phi Sua and Muang Kaew Sub-district Municipality, Chiang mai. ประภัศร์ ดุมค�ำ1 ลักษณา สัมมานิธ2ิ และ ศิริชัย หงษ์วิทยากร3

นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม และ

1

อาจารย์ประจ�ำ สาขาวิชาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2,3

Graduate Student, Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University 2,3 Lecturer, Instructor of Environmental and Urban planning program, Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University 1

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเชิงสัณฐานอันเนื่องมาจากแนวถนนเลี่ยง เมืองตัดใหม่ พื้นที่เทศบาลต�ำบลสันผีเสื้อและเทศบาลต�ำบลเหมืองแก้ว โดยชุดทฤษฏีและเทคนิค สแปซ ซินแทกซ์ ร่วมกับระบบภูมสิ ารสนเทศ การส�ำรวจพืน้ ที่ และการวิเคราะห์เอกสาร ผลวิจยั พบว่า ก่อนมีการพัฒนาแนวถนนเลีย่ ง เมืองลักษณะโครงสร้างเชิงสัณฐานของพื้นที่มีรูปแบบถนนหลักแบบเส้นตามแนวแม่น�้ำปิงในแนวเหนือใต้ ถนนรอง แบบกิง่ ไม้ และถนนปลายตัน รูปทรงอิสระ แทรกสลับกับโครงสร้างถนนของชุมชนหมูบ่ า้ นจัดสรร ชุมชนเมืองมีบทบาท เป็นชุมชนพักอาศัยและเกษตรกรรม ค่าศักยภาพการเข้าถึงพืน้ ทีข่ องโครงข่ายการสัญจรระดับเมือง ระดับย่าน และการ เชื่อมต่อ มีค่าเฉลี่ย 0.132183 1.00762 และ 2.16831 ตามล�ำดับ ภายหลังการจ�ำลองสถานการณ์พัฒนาแนวถนน เลี่ยงเมืองในอนาคต พบว่าค่าศักยภาพการเข้าถึงพื้นที่ของโครงข่ายสัญจรระดับเมือง ระดับย่าน และการเชื่อมต่อ มี ค่าเฉลี่ยสูงขึ้นเป็น 0.327376 1.02309 และ 2.18854 ตามล�ำดับ สัณฐานพื้นที่ศูนย์กลางชุมชนขยับออกไปตามแนว ถนนเลี่ยงเมืองตัดใหม่ในแนวเหนือใต้ ที่มีค่าศักยภาพการเข้าถึงที่ดีกว่าบนพื้นที่เกษตรกรรม การเปลี่ยนแปลงเชิง พื้นที่อันเป็นผลมาจากศักยภาพการเข้าถึงโครงข่ายคมนาคมขอส่งดังกล่าวเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ควรค�ำนึงถึงส�ำหรับหา แนวทางก�ำหนดมาตรการควบคุมการใช้ประโยชน์ท่ีดินในอนาคตเพื่อลดผลกระทบต่อพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ชานเมืองต่อไป ค�ำส�ำคัญ : โครงสร้างเชิงสัณฐานเมือง ถนนเลี่ยงเมือง สแปซ ซินแทกซ์

24


Abstract

The purpose of this research was to analyze morphological structure changes due to the new bypass road in San Phi Sua Sub-district Municipality and Mueang Kaew Sub-district Municipality. The study was undertaken by theory and Space Syntax technique, Geo-Informatics System, field surveying and document analysis. The results found that before the development of the new road, the morphological structure of road networks were the main form of linear along Ping River in the north-south direction. The secondary road networks were in freeform of branches and cude-sac that interspersed with the road structure of the housing estate community. The Community has a role as a residential and agricultural community. The average global integration value, local integration value and Connectivity integration value of road networks were 0.132183 1.00762 and 2.168310, respectively. After simulation of the new road development. It found that the average global integration value, local integration value and connectivity integration value of road networks were higher values of 0.327376 1.023090 and 2.188540 respectively. The spatial centrality move to along the new road in the north-south direction that higher potential of accessibility on the agricultural areas which has a tendency to case changes to land use of mention suburban, finally, a main factor of spatial changes was the result of potential of accessibility to the aforementioned transportation network. Therefore, in the future, measures to control the land utilization to reduce the negative impacts on suburban rural and agricultural areas should be considered. Keywords: Urban Morphological Structure, Bypass Road, Space Syntax

Download Full-Text

Scan QR Code

25


พฤติกรรมการเดินทางของผู้สูงอายุในอเมริกา ยุโรป เอเชีย และแอฟริกา

Elderly Travel Behavior in America, Europe, Asia, and Africa รชยา พรมวงศ์1* และปัทมพร วงศ์วิริยะ2 นักศึกษาปริญญาเอก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

1

อาจารย์ประจ�ำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2

Rachaya Promwong 1* and Pattamaporn Wongwiriya2 1 Graduate, Faculty of Architecture, Khon Kaen University 2 Lecturer, Faculty of Architecture, Khon Kaen University *Email: Rachaya.pw@gmail.com บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการน�ำเสนอสถานภาพความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการเดินทางของกลุ่มผู้สูงอายุที่ยังสามารถ ดูแลตัวเองได้ที่มีอายุระหว่าง 60-69 ปี ในอเมริกา ยุโรป เอเชีย และแอฟริกา เน้นศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวกับการ เดินทางของผูส้ งู อายุ โดยเฉพาะการเลือกรูปแบบการเดินทางและวัตถุประสงค์การเดินทางของผูส้ งู อายุกลุม่ ดังกล่าว การศึกษานี้เป็นการศึกษาในรูปแบบ Documentary Research ที่ศึกษาจากการรวบรวมงานวิจัย บทความต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง และน�ำเสนอสรุปด้วยวิธกี ารพรรณนาวิเคราะห์จากการศึกษาพบว่า รูปแบบการเดินทางของกลุม่ ผูส้ งู อายุ ที่ยังสามารถดูแลตัวเองได้มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนเมื่อเปรียบเทียบทั้ง 4 พื้นที่ โดยผู้สูงอายุในกลุ่มประเทศ ที่พัฒนาแล้วในทวีปอเมริกาและยุโรปส่วนใหญ่เดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัวมากที่สุด ในขณะที่การศึกษาของกลุ่ม ประเทศในทวีปเอเชีย พบว่าทั้งประเทศที่อยู่ในกลุ่มที่ก�ำลังพัฒนาและกลุ่มที่พัฒนาแล้ว ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เลือกเดิน ทางโดยระบบขนส่งสาธารณะมากที่สุดเช่นเดียวกัน และส�ำหรับในทวีปแอฟริกา ซึ่งประเทศกรณีศึกษาอยู่ในกลุ่ม ประเทศทีก่ ำ� ลังพัฒนา พบว่าการเดินเป็นรูปแบบการเดินทางทีผ่ สู้ งู อายุสว่ นใหญ่เลือกใช้เพือ่ เดินทางเข้าร่วมกิจกรรม ทางสังคมมากที่สุด ผลที่ได้จากการศึกษานี้สามารถน�ำมาเป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยด้านพฤติกรรมการเดินทาง ของผู้สูงอายุในอนาคต ตลอดจนเพื่อน�ำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาเมืองด้านระบบคมนาคมขนส่งเพื่อรองรับสังคม ผู้สูงอายุในอนาคต ค�ำส�ำคัญ : สังคมผู้สูงอายุ, พฤติกรรมการเดินทางของผู้สูงอายุ, รูปแบบการเดินทาง

26


Abstract

This article presents a review of the studies regarding active lifestyle elderly travel behavior. This study focuses on the travel behavior of active lifestyle elderly with age between 60 and 69 primarily in America, Europe, Asia, and Africa. This study is documentary research collecting the data of active lifestyle elderly travel behavior whose with age between 60 and 69 from the related research papers. The results found that it is completely different among the active lifestyle elderly travel patterns among the studies conducted in America, Europe, Asia, and Africa. The result of the active lifestyle elderly travel pattern in America and Europe shown that most of the active lifestyle elderly chose the private car as their predominant mode while the result in the Asia revealed that most of this elderly group chose the different mode which is the public transport as their primary mode. Considering the travel pattern of the active lifestyle elderly in Africa shown precisely that most of them chose walking as their main mode since there is the lack of public transportation service provided in this region. The results of this paper would be useful to all researchers and planners who interested in study regarding elderly travel behavior to make a better understand about this issue. Moreover, this paper can support the further research and planning regarding the appropriate and sustainable transportation supporting the aging society in the future. Keywords: Aging Society, Elderly Travel Behavior, Travel Pattern

Download Full-Text

Scan QR Code

27


การศึกษาตัวชี้วัดในการประเมินศักยภาพของระบบขนส่งสาธารณะในนครหลวงเวียงจันทน์

Indicators in Evaluating Potential of Public Transport In Vientiane, Lao PDRe โพเงิน แหวนวงทอง1* และ เปี่ยมสุข สนิท2 นิสิตปริญญาโท ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1

อาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2

1

Graduate student, Department of Urban and regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University 2 Lecturer, Department of Urban and regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University *E-mail: Phongeun1993@gmail.com บทคัดย่อ

การก�ำหนดตัวชีว้ ดั ของระบบขนส่งสาธารณะมีความส�ำคัญอย่างมากเพราะเป็นเครือ่ งมือในการจัดการและ ปรับปรุงระบบขนส่งสาธารณะให้มปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ก�ำหนดทิศทางการพัฒนาเมืองและการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ทีเ่ หมาะสม ช่วยส่งเสริมทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชนในเมือง น�ำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ดังนั้น บทความนีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ก�ำหนดตัวชีว้ ดั ในการประเมินศักยภาพของระบบขนส่งสาธารณะในนครหลวงเวียงจันทน์ ด้วยวิธีการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางการพัฒนาการขนส่งสาธารณะในเมืองให้มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า ตัวชี้วัดในการประเมินศักยภาพของระบบขนส่งสาธารณะประกอบ ด้วย 10 ตัวชี้วัด ดังนี้ ความพร้อมในการให้บริการ (Service availability), ความน่าเชื่อถือของการบริการ (Service Reliability), ความสะดวกสบาย (Comfort), ความสะอาด (Cleanliness), ความปลอดภัย (Safety and Security), ค่าโดยสาร (Fare), การให้ข้อมูล (Information), การบริการลูกค้า (Customer care), ความสามารถของผู้ให้บริการ (Competence), การประเมินผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม (Environment impact) และเมือ่ เปรียบเทียบกับการเข้าถึง ข้อมูลด้านระบบขนส่งสาธารณะในนครหลวงเวียงจันทน์ สามารถก�ำหนดตัวชีว้ ัดและตัวแปรแทนทีเ่ หมาะสมส�ำหรับ การประเมินศักยภาพระบบขนส่งสาธารณะของนครหลวงเวียงจันทน์ โดยเพิ่มตัวชี้วัดด้านการเข้าถึงสถานี (Accessibility) เพือ่ เป็นแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของระบบขนส่งสาธารณะให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ น�ำไปสู่การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนในอนาคต ค�ำส�ำคัญ : ระบบขนส่งสาธารณะ, ตัวชี้วัด, การประเมินศักยภาพ, นครหลวงเวียงจันทน์, สปป ลาว

28


Abstract

The Performance indicators of public transport are very important it is a tool to manage and improve the public transportation to be more efficient. To determine the direction of urban development and appropriate land use, to promote economic growth, better social and life quality of people in the city. Therefore, this research has a purpose to determine the indicators to evaluate the potential of the public transport system in Vientiane. With a literature review to find ways to improve public transport more efficient and sustainable in the city. From the literature review; it was found that the indicators to evaluate the potential of public transportation system consisted of 10 indicators as follows: Service availability, service reliability, Comfort, Cleanliness, Safety and Security, Fare, Information, Customer care, Competence, Environment impact and when compared to access information to public transport in Vientiane be able determine appropriate indicators and variables for evaluating the public transportation potential of Vientiane By adding indicators to accessibility the station to be a guideline for improving the quality services of public transport to be more efficient and sustainable urban development in the future Keywords: Public transport, Objective indicators, Evaluating potential, Vientiane Capital, Laos PDR

Download Full-Text

Scan QR Code

29


การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนแบบราง กรณีศึกษาตนแบบที่ดีจากประเทศญี่ปุ่น

Best Practice of Rail-based transit-oriented development in Japan สุรศักดิ์ ปั่นทองหลาง1* และปัทมพร วงศ์วิริยะ2 นักศึกษาปริญญาโท คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

1

อาจารย์ประจ�ำ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2

1

Surasak Puanthonglang 1* and Pattamaporn Wongwiriya 2 Graduate Student, Faculty of Architecture, Khon Kaen University 2 Lecturer, Faculty of Architecture, Khon Kaen University *Email: Surasak.p@kkumail.com

บทคัดย่อ

บทความนีม้ วี ตั ถุประสงค์ในการศึกษาการพัฒนาพืน้ ทีร่ อบสถานีขนส่งมวลชนแบบรางทีป่ ระสบผลส�ำเร็จใน ประเทศญีป่ นุ่ เป็นการศึกษาในประเด็นทีเ่ น้นเกีย่ วกับความหมายและบทบาทการพัฒนาพืน้ ทีร่ อบสถานีขนส่งมวลชน ในประเทศญี่ปุ่น ตลอดจนตัวอย่างและแนวทางการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนในพื้นที่ต่างๆ ของญี่ปุ่น โดยวิธีการศึกษาเป็นวิธีเชิงคุณภาพที่ผู้วิจัยได้ศึกษาจากตัวอย่างการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD) ในประเทศญีป่ นุ่ จากผลรายงานการวิจยั เกีย่ วกับการพัฒนาเมืองของ Japan International Cooperation Agency (2015) และเอกสารงานวิจยั ตลอดจนบทความต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง จากนัน้ น�ำเสนอข้อมูลเกีย่ วกับการพัฒนาพืน้ ทีร่ อบ สถานีขนส่งมวลชนในประเทศญี่ปุ่น ทั้งตัวอย่างพื้นที่ในเขตเมือง และชานเมือง อีกทั้งได้สรุปและน�ำเสนอแนวทาง ในการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนแบบรางในประเทศไทยที่ได้จากการศึกษาตัวอย่างที่ดีของการพัฒนา ในประเทศญี่ปุ่น โดยผลที่ได้จากการน�ำเสนอบทความนี้จะช่วยเสริมสร้างความเข้าใจให้แก่นักวิจัยและผู้สนใจ เกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนมากยิ่งขึ้น เพื่อประโยชน์ของการศึกษาในประเด็นนี้ต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ยังสามารถน�ำมาเป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยและวางแผนการพัฒนาพื้นที่โดยเฉพาะบริเวณรอบสถานี ขนส่งมวลชน ตลอดจนเสนอเป็นแนวทางในการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนแบบรางในประเทศไทยเพื่อการ วางแผนพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนแบบรางอย่างยั่งยืนในอนาคต ค�ำส�ำคัญ : การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนแบบราง, ต้นแบบที่ดี, ประเทศญี่ปุ่น

30


Abstract

This paper presents the best practice of rail-based transit-oriented development in Japan. The definition of transit-oriented development (TOD) in Japan, the role of TOD in Japanese urban development, and the good examples of rail-based transit-oriented development projects were highlighted in this paper. This study is qualitative research exploring best practice of rail-based transit-oriented development in Japan from the Japan international cooperation agency urban development report in 2015 and related academic research and articles. Then the guidelines for rail-based transit-oriented development in Japan which are based on Japan’s best practice will be presented in the last part of this paper. The paper would be useful to all researchers and planners who interested in study regarding rail-based transit-oriented development in Japan to make a better understand about this issue. Moreover, this paper can support the further research and planning regarding the appropriate and sustainable transit-oriented development (TOD) in Japan in the future. Keywords: Rail-based transit-oriented development, Best practice, Japan

Download Full-Text

Scan QR Code

31


32


ABSTRACT Technical Session 2: การพัฒนาเศรษฐกิจของภาค และเมือง

Regional and Urban Economic Development 33


ความแตกต่างของรูปแบบการด�ำเนินงานเพื่อการอนุรักษ์ย่านเมืองเก่าในประเทศไทย

Differences in Types of Urban Conservation Operation in Thailand พชรพร ภุมรินทร์1 และ พรสรร วิเชียรประดิษฐ์2

นิสิตปริญญาโท ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1

2

1

Pocharaporn Pumarin1 and Pornsan Vichienpradit2 Graduate Student, Department of Urban and Regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University 2 Lecturer, Department of Urban and Regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University Email: p.mulberry13@gmail.com บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างของรูปแบบการด�ำเนินงานเพื่อการอนุรักษ์ย่านเมืองเก่า ในประเทศไทย ผ่านกรณีศึกษา ได้แก่ เมืองเก่าภูเก็ต ชุมชนตลาดสามชุก และชุมชนริมน�้ำจันทบูร โดยใช้แนวคิดที่ เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการพื้นที่เมืองเก่าเพื่อการอนุรักษ์เป็นกรอบในการเปรียบเทียบข้อดีและข้อจ�ำกัดของการ ด�ำเนินงานในรูปแบบที่ต่างกัน อันเป็นผลจากการบริหารจัดการพื้นที่ย่านเมืองเก่าด้วยการน�ำขององค์กรที่แตกต่าง กันออกไป ผลการศึกษาพบว่าในกระบวนการวางแผนเพื่อการอนุรักษ์นั้น มีความแตกต่างในขั้นตอนวิธีการรักษา โดยการด�ำเนินงานในรูปแบบหน่วยงานรัฐสามารถออกข้อกฎหมายเพื่อควบคุมการก่อสร้างและดัดแปลงอาคาร เพือ่ ให้องิ กับบริบทของย่านเมืองเก่า ส่วนการด�ำเนินงานในรูปแบบองค์กรชุมชนและรูปแบบบริษทั จะเน้นไปทีก่ ารน�ำ อาคารที่มีความส�ำคัญมาอนุรักษ์ฟื้นฟูเพื่อประโยชน์สาธารณะ และในขั้นตอนการปฏิบัติพบว่าการด�ำเนินงาน ในรูปแบบหน่วยงานรัฐมีข้อดีคือสามารถครอบคลุมงานได้หลายส่วนและมีงบประมาณมาก เมื่อเปรียบเทียบกับการ ด�ำเนินงานในรูปแบบองค์กรชุมชนและรูปแบบบริษทั ทีอ่ าจจะมีงบประมาณจ�ำกัดกว่า แต่กส็ ามารถได้รบั ความร่วมมือ จากชุมชนเป็นอย่างดี ในขณะเดียวกันการด�ำเนินงานในรูปแบบบริษัทก็มีข้อจ�ำกัดในด้านขอบเขตเชิงพื้นที่ในการ ด�ำเนินงาน ส�ำหรับประเด็นกระบวนการมีส่วนร่วม พบว่ามีความต่างกันเพียงเล็กน้อยในส่วนของการมีส่วนร่วมในการ แบ่งปันผลประโยชน์ โดยผลของการอนุรกั ษ์ยา่ นเมืองเก่านอกจากจะท�ำให้มกี ารพัฒนาด้านเศรษฐกิจในภาพรวมแล้ว ยังมีผลประโยชน์โดยตรงเป็นเงินปันผลกลับมาสู่ผู้ร่วมลงทุนในกรณีที่เป็นการด�ำเนินงานในรูปแบบบริษัท ค�ำส�ำคัญ: การบริหารจัดการพื้นที่ย่านเมืองเก่า, องค์กรเพื่อการอนุรักษ์, วิสาหกิจเพื่อสังคม

34


Abstract

The objective of this article is to study the differences between types of operation of urban conservation in Thailand, through case studies, including Phuket Old Town, Samchuk market community and Chanthaboon waterfront community, using frameworks of conservation area management for old towns to compare and indicate advantages and limitations of each type of operation. According to the study, it is found that there are differences in treatment procedure in the planning process of conservation. Government-led operation can issue building control regulations to harmonize new development with the context of the old town. On the other hand, communityorganization-led and also enterprise-led operations focus on restoration or renovation of important buildings for public interest. In the procedure of implementation, it is found the government-led operation has an advantage in budgeting and having power to cover wider issues, comparing with community-organization-led and enterprise-led operations. But beside limited budget, they can receive cooperation from the community as well. At the same time, enterprise-led operation has a limitation in the physical area of operations, as limited as its property right. In public participation issue, it is found that there is a small difference in benefit sharing stage. Actually, Urban conservation often brings good effects to overall economic development. But in case of enterprise-led operation, there are also direct financial benefits divided back to the investors. Keywords: Conservation Area Management, Conservation Organization, Social Enterprise

Download Full-Text

Scan QR Code

35


ผังเมืองรวมปารีสและเบอร์ลินในศตวรรษที่ 19

Urban Comprehensive Plans of Paris and Berlin in the 19th Century พลเดช เชาวรัตน์1* และ จารุณีย์ นิมิตศิริวัฒน์2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150

1

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม 44150

2

Pondej Chaowarat1* and Jarunee Nimitsiriwat2 1-2 Assistant Professor, Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts, Mahasarakham University, Kantarawichai District, Maha Sarakham 44150 *Email: b_pondej@hotmail.com บทคัดย่อ

บทความนีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาปัจจัยส�ำคัญทีท่ ำ� ให้เกิดการจัดท�ำผังเมืองรวมปารีสและเบอร์ลนิ ในปลาย ศตวรรษที่ 19 และปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้ผังเมืองรวมทั้งสองได้ถูกด�ำเนินการจนส�ำเร็จ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวม ข้อมูลเป็นการวิจัยเอกสาร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษา พบว่า 1) ปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้ เกิดการจัดท�ำผังเมืองรวมทั้งสอง คือ ความจ�ำเป็นในการพัฒนาเมืองเพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคม และความต้องการทางนโยบายในการผลักดันความเป็นชาติในยุคลัทธิชาตินิยม และ 2) ปัจจัยที่ท�ำให้ผังเมืองรวมทั้ง สองได้ถูกด�ำเนินการจนส�ำเร็จ คือ การออกแบบผังเมืองรวมที่สอดคล้องกับบริบทด้านอ�ำนาจในการด�ำเนินการ และ นวัตกรรมการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน ค�ำส�ำคัญ : ประวัติศาสตร์, การผังเมือง, โครงสร้างพื้นฐาน, สถาปัตยกรรม

36


Abstract

This article aims to study the factors for the creation of the urban comprehensive plans of Paris and Berlin in the nineteenth century and the factors for the successful implementation of the two plans. The research methodology includes the documentary research and the descriptive analysis. The research reveals that first, the factors for the creation of the two plans were the necessities of urban development for socio-economic growth, and the policy demand for the nationalism promotion. Second, the factors for the successful implementation of the two plans were the plans designed with authority concerns, and the innovations of public-private partnerships. Keywords: History, Urban Planning, Infrastructure, Architecture

Download Full-Text

Scan QR Code

37


กระบวนการเปลี่ยนผ่านทางกายภาพจากชุมชนสู่เมืองมหาวิทยาลัย กรณีศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่

The Physical Process Change From Communities To University town: A Case Study of Maejo University, Chiang Mai ภาณุวัฒน์ สิงหกุล1* นิกร มหาวัน2 วิทยา ดวงธิมา3 และ ลักษณา สัมมานิธ4ิ นักศึกษาปริญญาโท 378 หมู่ 10 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290

1

อาจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290

2-4

Panuwat Singhagul1* Nikorn Mahawan2 Wittaya Daungthima3 and Luxsana Summaniti4 1 Graduate student, 378 moo 10 Nong Han, San Sai, Chiang Mai 50290 2 Lecturer, Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University 63 moo 4 Nong Han, San Sai, Chiang Mai 50290 *Email: singhagul@yahoo.com บทคัดย่อ

บทความเรือ่ งนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของงานวิจยั เรือ่ ง การศึกษาอิทธิพลของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ตอ่ การเปลีย่ นแปลง ทางเศรษฐกิจ กายภาพและสิง่ แวดล้อมของชุมชนโดยรอบ เพือ่ การวางแผนการใช้ทดี่ นิ ทีส่ ง่ เสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม อย่างยั่งยืน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมการใช้พื้นที่ของนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัด เชียงใหม่ อันส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ กายภาพ และสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุมชนโดยรอบ และ เสนอแนะแนวทางในการวางแผนการใช้ทดี่ นิ อย่างยัง่ ยืน โดยจากการศึกษาผ่านการเก็บแบบสอบถาม จ�ำนวน 390 ชุด พบว่าพฤติกรรมการใช้พื้นที่ของประชากรมหาวิทยาลัยซึ่งได้แก่ นักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัด เชียงใหม่ มีการเข้าไปใช้พื้นที่ชุมชนโดยรอบท�ำกิจกรรมต่างๆเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตนเอง ซึ่งจากการ วิเคราะห์พฤติกรรมเชิงพื้นที่ พบว่าจุดที่ประชากรมหาวิทยาลัยเข้าไปใช้ท�ำกิจกรรมนั้น ได้ส่งผลต่อพื้นที่ชุมชน โดยรอบให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง โดยมีสาเหตุส�ำคัญเพื่อตอบสนองต่อความต้องการที่เพิ่มสูงขึ้นตาม จ�ำนวนประชากรทีเ่ ข้ามาในพืน้ ทีท่ มี่ ากขึน้ ส่งผลให้เกิดความเปลีย่ นแปลงไม่วา่ จะเป็นการเพิม่ ขึน้ ของความหนาแน่น ในพืน้ ที่ ความแออัดของอาคาร ทีอ่ ยูอ่ าศัยทีเ่ พิม่ สูงขึน้ พืน้ ทีส่ เี ขียวลดน้อยลง ท�ำให้ชมุ ชนเริม่ เปลีย่ นผ่านสูค่ วามเป็นเมือง มากขึ้น โดยเป็นการเปลี่ยนผ่านในรูปแบบของเมืองมหาวิทยาลัย ซึ่งมีหน้าที่หลักในการคอยให้บริการตอบสนองต่อ ความต้ อ งการของนั ก ศึ ก ษาและบุ ค ลากรของมหาวิ ท ยาลั ย แม่ โจ้ จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ที่ เข้ า มาใช้ บ ริ ก ารในพื้ น ที่ แต่กระบวนการเปลี่ยนผ่านที่เกิดขึ้นขาดการควบคุมที่ดี และยังไม่มีระบบจัดการที่เป็นรูปเป็นร่าง ส่งผลให้เกิดการ เปลีย่ นแปลงอย่างไร้แบบแผน จึงเป็นทีม่ าของการเสนอแนะแนวทางการวางแผนการใช้ทดี่ นิ ทีย่ งั่ ยืน โดยให้ฝา่ ยต่างๆ ที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ต้องร่วมมือกันไม่ว่าจะเป็นฝ่ายเทศบาลเมืองแม่โจ้ ฝ่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ หรือแม้กระทั่งชุมชน โดยรอบเองก็ตาม เพื่อหาแนวทางการใช้พื้นที่ที่ส่งเสริมกันทั้งชุมชนเอง และตัวมหาวิทยาลัย รวมทั้งให้เทศบาล เมืองแม่โจ้เองจัดท�ำผังเฉพาะของพื้นที่ออกมา ค�ำส�ำคัญ : พฤติกรรมเชิงพื้นที่, การใช้ประโยชน์ที่ดิน, อิ38 ทธิพลของมหาวิทยาลัย


Abstract

This article is part of the research subject “The influence of Maejo University on economic, physical and environments of surrounding community for environmental sustainability land use planning�. the aim of this research is to analysis spatial behavior of maejo university population explain the impact on economic, physical, and environment of surrounding community and present sustainability urban planning. The study collected through a survey of 390 sets. Found that spatial behavior of maejo university population include: student and staff into use community area to do some activity to respond to their needs. The spatial behavior analysis found that the point at which the populations do the activity often is effect to surrounding community changes continuously. The main reason is responding to the increasing demand from population that came into the area. Result in changes is increase density in the area, building congestion, residential rising and green area decreases that all for service university population needs. Resulting makes continuous community development include developing public structures, develop utilities and facilities to meet the university population demand that make community change to become more urban but in form university town. University town is main duty to service to respond needs of university population come to use service in university town area. But in case maejo university is failing the process because this process is lack of control, bad management system that effect to urban sprawl. Keywords: Spatial Behavior, Land use, Influence of University

Download Full-Text

Scan QR Code

39


การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเมืองชุมชนให้เป็นมิตรต่อการเดินและการใช้จักรยาน พื้นที่ศึกษา: ชุมชนสุขสบายใจ เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์

Action Research to build up Bike and Walk Friendly City: Suksabaijai Community, Kalasin Municipal ศุภธิดา สว่างแจ้ง1* และ พลเดช เชาวรัตน์2 1 2

อาจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Suphathida Sawangchaeng1*, Pondej Chaowarat2 1 Lecturer, Faculty of Architecture Urban Design and Creative Arts, Mahasarakham University 2 Assistant Professor, Faculty of Architecture Urban Design and Creative Arts, Mahasarakham University *Email: suphathida.s@msu.ac.th บทคัดย่อ

งานวิจยั นีม้ เี ป้าหมายเพือ่ พัฒนาเมืองชุมชนให้เป็นมิตรต่อการเดินและการใช้จกั รยานในชีวติ ประจ�ำวัน โดย มีวตั ถุประสงค์คอื 1) เพือ่ ศึกษาแนวทางการออกแบบพืน้ ทีส่ าธารณะทีส่ อดคล้องกับหลักการสร้างถิน่ ที่ 2) เพือ่ เปรียบ เทียบความเร็วของรถและการเลือกรูปแบบการเดินทาง ก่อนและหลังกิจกรรมการสร้างถิ่นที่ 3) เพื่อเปรียบเทียบ พฤติกรรมการใช้พนื้ ทีส่ าธารณะ ก่อนและหลังกิจกรรมการสร้างถิน่ ที่ โดยมีพนื้ ทีศ่ กึ ษา คือ ชุมชนสุขสบายใจ เทศบาล เมืองกาฬสินธุ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการออกแบบพื้นที่สาธารณะที่สอดคล้องกับหลักการสร้างถิ่นที่ คือ เป็น สถานทีส่ ำ� หรับผูค้ นทุกเพศทุกวัยและปลอดภัยต่อผูค้ น โดยใช้การวาดภาพศิลปะบนก�ำแพง และการตีเส้นจราจรบนผิวถนน ตลอดจนส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 2) ประสิทธิภาพในการการลดความเร็วและ การเลือกรูปแบบการเดินทาง พบว่าช่วงก่อนกิจกรรม มีความเร็วเฉพาะต�ำแหน่งเฉลี่ยสูงถึง 31.8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หลังกิจกรรมมีความเร็วเฉพาะต�ำแหน่งเฉลี่ยลดลง เหลือเพียง 22.6 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เมื่อผ่านไป 1 เดือนพบว่า ความเร็วเฉพาะต�ำแหน่งเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ มาอยูท่ ี่ 30.4 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง การเลือกรูปแบบการเดินทางของผูใ้ ช้พนื้ ทีล่ านสุขภาพ มีการเปลี่ยนแปลงโดยปริมาณการใช้จักยานเพิ่มขึ้นหลังการด�ำเนินกิจกรรมการสร้างถิ่นที่ โดยพบว่าหลังกิจกรรม มีผู้ใช้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 2.9 คัน/วัน สูงสุดในวันเสาร์ จ�ำนวน 10 คัน แต่เมื่อหลังกิจกรรม 1 เดือน พบว่าผู้ใช้จักรยานลด จ�ำนวนลงเหลือเพียง 1.7 คัน/วัน 3) การสร้างถิ่นที่สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ใช้พื้นที่สาธารณะได้ โดยพบว่า หลังการด�ำเนินกิจกรรมมีคนมาใช้พนื้ ทีล่ านสุขภาพเพิม่ ขึน้ 93.03% และหลังการด�ำเนินกิจกรรม 1 เดือน ความถีส่ ะสม ของผู้ใช้พื้นที่ดังกล่าวก็ยังสูงกว่าก่อนเริ่มโครงการ โดยเพิ่มขึ้น 21.78% ค�ำส�ำคัญ : เมืองจักรยาน, การสร้างถิ่นที่ 40


Abstract

This research aims to build up a Bike and Walk Friendly City. There are three purposes of this research 1) to study guidelines for designing public spaces to be effective in accordance with the principles of the place making 2) To compare the speed of the vehicles and the selection of traffic methods before and after the place making activities 3) To monitor changes in public space usage behavior before and after the place making activities. Suksabaijai community located in Kalasin city is selected to be a study area. The result of this research consist of three items namely 1) the public space design is effective in accordance with the principles of the Place making such as design for all, safety place, fit art to the place (street art and Road traffic marking were used), designing in territoriality and community involvement. 2) The efficiency of speed reduction and the selection of traffic methods issue found that before the treatment, an average specific speed is 31.8 kilometers per hour while after the activity an average specific speed is decreased to only 22.6 kilometers per hour. One mount after the treatment, an average specific speed is increased to 30.4 kilometers per hour. The selection of traffic methods issue found that the number of bicycle users increases after the place making activity. It was found that after the activity, the average number of bicycle users increased by 2.9 units/day. On Saturday, there were 10 bikes, but after a month of activity, bicycle users were reduced to only 1.7 units/day. 3) the place making can change the behavior of these public space users. Number of people who visit this place is 93.03% higher than before treatment. However, one mount after treatment the number of people who visit this place is 21.78% higher than before treatment. Keywords: Bicycle City, Place Making

Download Full-Text

Scan QR Code

41


ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะในเมือง

Factors affecting the use of urban parks ธนวุฒ นาชีวะ1* และ เปี่ยมสุข สนิท2 นิสิตปริญญาโท ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1

อาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2

Tanawut Nacheewa1* Peamsook Sanit2 1 Graduate Student, Department of Urban and Regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University 2 Lecturer, Department of Urban and Regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University *Email: khingbond@gmail.com บทคัดย่อ

ในการออกแบบและพัฒนาสวนสาธารณะอย่างยั่งยืนนั้น ต้องตอบสนองต่อคนทุกคนกลุ่มในสังคม ดังนั้น ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคมจึงต้องน�ำมาพิจารณาในการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะ ในเมืองเพื่อน�ำไปสู่การออกแบบที่ยั่งยืน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์หลักในการทบทวนตัวแปรต้นว่าปัจจัยอะไรที่มี ผลต่อพฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะ ซึ่งประกอบไปด้วยปัจจัยสองกลุ่ม คือ ด้านกายภาพกับด้านเศรษฐกิจสังคม โดยการเปรียบเทียบกับงานวิจัยต่างประเทศและงานวิจัยในประเทศไทยเพื่อมุ่งศึกษาท�ำความเข้าใจถึงปัจจัยที่มีผล ต่อพฤติกรรมการใช้สวนสาธารณะในเมือง ผลการศึกษาพบว่า งานวิจัยในประเทศไทยยังขาดการศึกษาที่เกี่ยวข้อง กับปัจจัยด้านเศรษฐกิจสังคม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ตัวแปรในเรือ่ งของคุณลักษณะของผูใ้ ช้ เช่น กลุม่ รายได้ และลักษณะ ของที่พักอาศัย ซึ่งตัวแปรเหล่านี้ในงานวิจัยต่างประเทศได้มีการศึกษาแล้วพบว่าปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อพฤติกรรมการ ใช้สวนสาธารณะในเมือง การศึกษาปัจจัยด้านเศรษฐกิจสังคมจะท�ำให้เข้าใจกระบวนการตัดสินใจและพฤติกรรมของ มนุษย์ในการเลือกใช้สวนสาธารณะ เพือ่ น�ำไปสูแ่ นวทางการออกแบบและพัฒนาสวนสาธารณะทีเ่ หมาะสมกับบริบท ของประเทศไทยต่อไป ค�ำส�ำคัญ : สวนสาธารณะในเมือง, การใช้สวนสวนสาธารณะ, พฤติกรรม

42


Abstract

Sustainable Design and Development of Public Parks must respond to all people and group in society. Therefore, Economic and Social factors must be considered in the study of factors affecting park use behavior in order to Sustainable Design. This article aims to review independent variables of factors affect the use of urban parks, which consists of two factors: Physical and Economic, Social. By comparing Foreign research and Thailand research to focus on understanding the factors that affect the use of urban parks in the city. The study indicated that Research in Thailand still lacks education related to socio-economic factors. Especially the variable about user characteristics, such as income groups and accommodation characteristics, which these variables in foreign research have been studied and found that these factors affect the use of urban parks in the city. The study of socio-economic factors will make understanding the decision-making process and human behavior in choosing a park, lead to a design guideline and develop parks that are suitable for the city of Thailand. Keywords: Urban Parks, Park use, Behavior

Download Full-Text

Scan QR Code

43


44


ABSTRACT Technical Session 3: การพัฒนาชุมชน

Community Development 45


สถานภาพการคงอยู่และแนวทางรักษาพื้นที่เกษตรกรรมชานเมือง ด้วยการส่งเสริมบทบาทการให้บริการนิเวศด้านวัฒนธรรม : กรณีศึกษาอ�ำเภอสันก�ำแพง

Persistance situation and a guideline for suburb agricultural conservation by promoting cultural service: The case study of Sankamphaeng district จุรีย์รัตน์ ป๋าพนัสสัก1* นิกร มหาวัน2 และ วิทยา ดวงธิมา3 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 1

อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2,3

Jureerat Paphanatsak1, Nikorn Mahawan2 and Wittaya Daungthima3 1 Graduate Student, Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University 2,3 Lecturer, Instructor of Environmental and Urban planning program, Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University *Email: Jureerat.pns25@gmail.com บทคัดย่อ

พื้นที่เกษตรกรรมชานเมืองมีบทบาทส�ำคัญในด้านการให้บริการระบบนิเวศต่อผู้อาศัยในเมืองมาโดยตลอด แต่สถานการณ์โดยทั่วไปของพื้นที่เกษตรกรรมชานเมืองมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่อ�ำเภอสันก�ำแพง เป็นพื้นที่รองรับการขยายตัวจากเมืองเชียงใหม่ และเป็นที่ตั้งของโครงการสนามบินแห่งที่ 2 ของจังหวัดเชียงใหม่ ท�ำให้พื้นที่เกษตรกรรมชานเมืองของอ�ำเภอสันก�ำแพงมีความเสี่ยงสูงต่อการเปลี่ยนไปเป็นกิจกรรมอื่น ผลการศึกษา พบว่าปัจจัยทีส่ ง่ เสริมให้พนื้ ทีเ่ กษตรกรรมกลายเป็นเมืองทีส่ ำ� คัญ คือ ภาวะหนีส้ นิ ของครอบครัว การขาดแคลนแรงงาน ภาคการเกษตรของครัวเรือน และความคุ้มทุนที่น้อยกว่าการขายที่ดินเพื่อการเกษตรไปประกอบอาชีพอื่น ในขณะที่ ปัจจัยทีส่ ง่ เสริมต่อการรักษาพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม คือ ความผูกผันในวิถชี วี ติ และพืน้ ทีข่ องเกษตรกร ดังนัน้ การพัฒนาคุณค่า พืน้ ทีเ่ กษตรกรรมชานเมือง ด้วยการส่งเสริมบทบาทบริการระบบนิเวศด้านวัฒนธรรม เช่น การส่งเสริมการท่องเทีย่ ว เชิงเกษตร หรือการส่งเสริมการด�ำเนินการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียงและเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการเกษตรกรรม จึงเป็นแนวทางสร้างโอกาสของเกษตรกรในการคงพื้นที่เกษตรกรรมชานเมืองไว้ได้อย่างยั่งยืน ค�ำส�ำคัญ : สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงพื้นที่เกษตรกรรม, ปัจจัยที่ส่งเสริมการคงอยู่ของพื้นที่เกษตรกรรม, บริการนิเวศด้านวัฒนธรรม, สถานการณ์การคงอยู่

46


Abstract

Suburb agricultural areas have played an important role in continually providing functions of ecosystem services; but, it’s generally reduced. Meanwhile Sankamphaeng district has continually been the expansion areas of the city of Chiang Mai; combining with being the location of the second airport of Chiang Mai, these have resulted in declining of agricultural areas in Sankamphaeng. This trend implies to high risks of the changing in agricultural areas in the study areas. The result of this study found that the factors driving to changing of agricultural areas were family debt, labors in an agricultural sector, and worthiness of land in the sense of the farmer of which selling is better values of land than keeping while the factor for keeping agricultural land can be explained by a commitment to the lifestyle and space of the farmer. This is an opportunity in developing a value-added of agricultural lands with promoting the role of ecosystem services; in terms of the cultural service, by promoting agricultural tourism or applying self-sufficient philosophy of the King Bhumibol Adulyadej to their lifestyle, and then developing to the agricultural leaning center. This solution will be the opportunity of farmers to sustainably maintained their lifestyle and agricultural land. Keywords: Changing situation in agriculture, Promoting factors for maintaining agricultural areas, Ecosystem service in term of cultural service, Existing situation

Download Full-Text

Scan QR Code

47


กระบวนการจัดการตนเองของชุมชนบ้านมั่นคงวัดเชียงยืน แขวงนครพิงค์ เมืองเชียงใหม่

Self-Management Process of Baan Mann Kong Chiang Yuen Temple Community, Nakorn Ping Subdistrict, Muang Chiang Mai. เตชิต พระภูวงศ์1*, นิกร มหาวัน2 และ วิทยา ดวงธิมา3 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม และ

1

อาจารย์ประจ�ำ สาขาวิชาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2,3

Techit Prapoowong1*, Nikorn Mahawan2 and Wittaya Daungthima,3 1 Graduate Student, , Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University 2,3 Lecturer, Instructor of Environmental and Urban planning program, Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University *Email: Techit_p@cmu.ac.th บทคัดย่อ

ชุมชนวัดเชียงยืนเป็นตัวอย่างหนึง่ ในการแก้ไขปัญหาเรือ่ งทีอ่ ยูอ่ าศัยของชุมชนแออัด ทีจ่ ะพบกับปัญหาความ ทรุดโทรมของที่อยู่อาศัย ความไม่ถูกสุขลักษณะ ความแออัดและความไม่มั่นคงในการครอบครองที่ดินของชุมชน มาโดยตลอด บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพัฒนาการหลังการเข้าร่วมโครงการบ้านมั่นคงเพื่อแก้ไขปัญหา ด้านที่อยู่อาศัยของชุมชนเชียงยืน การพิจารณากระบวนการจัดการตนเองของชุมชน รวมถึงการค้นหาอุปสรรคและ แนวทางการแก้ไขปัญหาในการด�ำเนินการจัดการตนเองของชุมชนบ้านมั่นคงชุมชนวัดเชียงยืน แขวงนครพิงค์ เมือง เชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า การเข้าร่วมโครงการบ้านมั่นคง ที่ด�ำเนินงานร่วมกันระหว่างชุมชนกับ พอช. ด้วยการ ใช้กระบวนการจัดการตนเองของชุมชน 7 ขั้นตอน ส่งผลให้ชุมชนวัดเชียงยืนมีความมั่นคงในการถือครองที่พักอาศัย และมีการจัดตั้งสหกรณ์ขึ้นในชุมชนเพื่อการด�ำเนินกิจกรรมร่วมกันของชุมชน ความร่วมมือของชุมชนเพื่อการสร้าง ความมัน่ คงในทีพ่ กั อาศัยและขยายไปสูค่ วามร่วมมือด้านสังคมและเศรษฐกิจ น�ำไปสูก่ ารปรับปรุงฟืน้ ฟูสภาพแวดล้อม ในชุมชนที่ดีขึ้นตามล�ำดับ ความร่วมมือในชุมชนจึงเป็นปัจจัยความส�ำเร็จที่ส�ำคัญในการแก้ไขปัญหาเรื่องความมั่นคง ในทีพ่ กั อาศัยของชุมชนวัดเชียงยืน อย่างไรก็ตามในระหว่างการด�ำเนินงาน ก็พบอุปสรรคทีเ่ กิดขึน้ ประกอบด้วย ความ ไม่สอดคล้องของรูปแบบทีอ่ ยูอ่ าศัยกับวิถชี วี ติ ชุมชน และการขาดระบบการสือ่ สารทีด่ รี ะหว่างชุมชนกับ พอช. ท�ำเกิด ข้อผิดพลาดในการประสานงานน�ำไปสูก่ ารได้งานทีไ่ ม่ตรงกับความต้องการของชุมชน. ซึง่ การมีเวทีสอื่ สารทีเ่ ป็นระบบ ระหว่างชุมชนกับ พอช. สามารถแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ และน�ำไปสูก่ ระบวนการด�ำเนินงานทีต่ อบสนองต่อความต้องการ ของทั้งชุมชนและ เป็นไปตามเป้าหมายของ พอช. และท้ายที่สุดสร้างความสุขให้เกิดกับชุมชนได้อย่างยั่งยืน ค�ำส�ำคัญ : การจัดการตนเอง, โครงการบ้านมั่นคง, ชุมชนวัดเชียงยืน 48


Abstract

The community of Chiang Yuen Temple is an example for solving the housing problems in slum communities. In general, there are several problems in slum including; degradation of residence, inappropriate sanitary, congestion, and inconsistency of land occupation. This article aims to monitor the progress of community living after joining the stable home project running by CODI. In addition, the process of promoting to self-management in the community is taken into consideration. Moreover, obstacles and solutions in a self-management process of Chiang Yuen Temple Community, Nakorn Ping Subdistrict, Chiang Mai Province are investigated. The results of the study showed that adhesion in the Baan Mann Kong Project, which is a participatory process between community and CODI. with 7 steps of self-management processes, resulted in security in residences of the community. Besides, the foundation of cooperative in community extents their cooperation in social and economic activities, which leads to improvement of their physical environment, respectively. The cooperation in the community becomes the key-success factor in solving the inconsistency of land occupation in Chiang Yuen Temple Community. However, during the running process there were obstacles being composed of inappropriate patterns of housing and the lack of appropriate communication system between community and CODI. These make mistakes in communicating between the community and CODI. Therefore, the good communication channel can solve the communicated problem and enhances levels of participation, which consorts with community’s requirement and the project’s objective and finally make the sustainable living to the community. Keywords: Self-Management, Baan Mann Kong Project, Chiang Yuen Temple Community

Download Full-Text

Scan QR Code

49


การบริหารจัดการชุมชนที่อยู่อาศัยด้วยกลไกเฉพาะ กรณีศึกษา: หมู่บ้านประชานิเวศน์ 1

Residential Area Management with Specific Mechanism: A Case Study of Phachaniwet 1 ปฐมา ภัยผ่องแผ้ว1* และ พรสรร วิเชียรประดิษฐ์2 นิสิตปริญญาโท ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

1

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

2

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Phathama Paiphongphaew1* Pornsan Vichienpradit2 1 Graduate Student, Department of Urban and Regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University 2 Lecturer, Department of Urban and Regional Planning, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University *Email: 6073324025@student.chula.ac.th บทคัดย่อ

หมู่บ้านประชานิเวศน์ 1 เป็นโครงการที่เกิดจากการจัดสรรที่ดินโดยภาครัฐที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2507 ในยุคแรกเริม่ ของการพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัยในประเทศไทย ภายหลังจากการเข้าอยูอ่ าศัยไม่นาน กลุม่ ผูอ้ ยูอ่ าศัยในหมูบ่ า้ น ประชานิเวศน์ 1 ได้รวมตัวกันจัดตั้ง “คณะกรรมการหมู่บ้านประชานิเวศน์ 1” ขึ้นเป็นองค์กรบริหารจัดการชุมชน ทีอ่ ยูอ่ าศัยโดยไม่ได้อา้ งอิงระเบียบใด ๆ ของทางราชการ เป็นองค์กรทีม่ กี ารบริหารจัดการโดยกระบวนการการมีสว่ นร่วม ของผู้อยู่อาศัยเอง มีธรรมนูญเป็นของตนเอง และยังมีบทบาทในการบริหารจัดการพื้นที่สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน บทความนีม้ วี ตั ถุประสงค์หลักในการศึกษากลไกการจัดตัง้ อ�ำนาจ หน้าที่ และการด�ำเนินงาน ในการบริหาร จัดการชุมชนที่อยู่อาศัยของคณะกรรมการชุมชนหมู่บ้านประชานิเวศน์ 1 และเปรียบเทียบบทบาทหน้าที่ของคณะ กรรมการหมูบ่ า้ นฯ กับองค์กรบริหารจัดการชุมชนทีอ่ ยูอ่ าศัยในรูปแบบอืน่ ว่าเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร โดยสรุป ผลได้วา่ บทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการหมูบ่ า้ นฯ มีความคล้ายคลึงกับองค์กรบริหารจัดการชุมชนทีอ่ ยูอ่ าศัยในรูป แบบอื่น แต่มีกลไกทางการเงินที่มีลักษณะเฉพาะ ประกอบกับมีการด�ำเนินงานในลักษณะอาสาสมัคร ซึ่งถือได้ว่า เป็นการกระท�ำร่วมกันทางสังคม (collective action) ที่เกิดขึ้นจากกลุ่มผู้อยู่อาศัยเอง ซึ่งสะท้อนให้เห็นจิตส�ำนึก ในการมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ (sense of ownership) ของผู้คนที่อยู่อาศัยร่วมกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน ค�ำส�ำคัญ : การจัดสรรที่ดิน การบริหารจัดการชุมชนที่อยู่อาศัย คณะกรรมการหมู่บ้าน 50


Abstract

Pracha Niwet 1 housing estate is a land subdivision project executed by government in 1964 (B.E. 2507) during the very early stage of residential development in Thailand. Not long after dwelling started, the group of residents in Pracha Niwet 1 formed together to establish “Community Committee of Pracha Niwet 1� to become the residential area management organization for self-governance, without referring to any government rules. The Committee has its own rules and plays big roles in area management continuously until the present. This article aims to study mechanism of establishment, authorities, responsibilities and operations in residential area management of the Community Committee, and to compare roles of it with other types of residential area management organizations whether they are similar or not. In conclusion, the roles of the Community Committee of Pracha Niwet 1 are similar to the other types of residential area management organizations. However, it has a unique financial mechanism and voluntary concept of participation, which can be considered as a collective action by the community itself. This implies the sense of ownership of residents who have lived together for a long time. Keywords: Subdivision, Residential Area Management, Community Committee of Housing Estate

Download Full-Text

Scan QR Code

51


การศึกษากระบวนการจัดท�ำฐานข้อมูลสารสนเทศเมือง กรณีศึกษาขอบเขตพื้นที่ที่จะเสนอขึ้นทะเบียนมรดกโลก อ�ำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

The procedure for the study of generating Urban Information System (UIS) on the case study of Phra That Phanom, That Phanom District, Nakhon Phanom ธราวุฒิ บุญเหลือ1* ยุภาพร ไชยแสน2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

1*

นักวิจย ั ศูนย์วจ ิ ย ั และพัฒนาสร้างสรรค์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2

Tarawut Boonlua1* and Yupaporn Chaiyasan2 1 Assistant Professor, of Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts, Mahasarakham University 2 Researcher of Research and Creative Development Center of Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts, Mahasarakham University *Email: tarawut.b@msu.ac.th บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นกระบวนการจัดท�ำฐานข้อมูลสารสนเทศเมืองในพื้นที่ศึกษา เพื่อเป็นฐานข้อมูลที่ส�ำคัญทาง กายภาพในการจัดท�ำเอกสารฉบับสมบูรณ์ (The Nomination File) ส�ำหรับการขอขึ้นบัญชีพระธาตุพนมเพื่อเป็น มรดกโลก อ�ำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม การศึกษาในครัง้ นีด้ ำ� เนินการโดยจัดท�ำข้อมูล ด้านการใช้ประโยชน์อาคาร และคุณลักษณะของอาคาร โดยสามารถน�ำข้อมูลเชิงกายภาพเหล่านี้มาเพิ่มเติมในฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศ เมือง ในลักษณะแบบจําลองเมือง 3 มิติ การสร้างฐานข้อมูลเพิ่มเติมของแบบจ�ำลองสารสนเทศเมืองครั้งนี้ มีการ เดินส�ำรวจภาคสนาม และใช้แบบสอบถามทุกอาคาร ในพื้นที่ศึกษาของวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร และพื้นที่โดย รอบในรัศมี 2 กิโลเมตร เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดท�ำพื้นที่หลัก และพื้นที่กันชน ส�ำหรับประกอบเอกสารเพื่อขอ ขึ้นทะเบียนมรดกโลก ผลที่ได้จากการศึกษานอกจากข้อมูลฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ รวมถึงฐานข้อมูลระบบ ภูมสิ ารสนเทศเมืองแล้ว สิง่ ทีค่ น้ พบเพิม่ เติมในแบบจ�ำลองเมือง 3 มิติ คือแบบจ�ำลองความสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model: DEM) ซึ่งเป็นแบบจ�ำลองข้อมูลลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ส�ำคัญ ท�ำให้เข้าใจความหมายของความเป็นมาของ พระธาตุพนมว่าประดิษฐาน ณ ริมฝั่งแม่น�้ำโขง องค์พระธาตุตั้งอยู่บนภูก�ำพร้า มีความสูงกว่าพื้นที่โดยรอบ ภายใน พื้นที่ศึกษามีบึงขนาดใหญ่เรียกว่าบึงธาตุ ซึ่งเป็นรองรอยแม่น�้ำโขงเดิม ผลสรุปในเชิงวิทยาศาสตร์ โดยหลักฐาน เชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่า องค์พระธาตุพนมประดิษฐานอยู่บนเนินภูก�ำพร้าอย่างชัดเจน ในแบบจ�ำลอง 3 มิติ ซึ่ง สามารถน�ำมาสนับสนุนหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า หน้าวัดพระธาตุพนมตั้งอยู่ ณ ริมฝั่งแม่น�้ำโขง โดยปัจจุบันนี้ ได้ถกู ทับถมด้วยดินก่อให้เกิดเป็นบึงธาตุในสภาพปัจจุบนั ถือว่าเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ทสี่ ำ� คัญในการก�ำหนดพืน้ ที่ เพื่อขอยื่นบัญชีมรดกโลกต่อไป ค�ำส�ำคัญ : สารสนเทศเมือง, แบบจ�ำลองสามมิติ, พระธาตุพนม, มรดกโลก 52


Abstract

This paper has investigated the process of generating Urban Information System (UIS) for collecting the physical information on Geography Information System (GIS) in the area, which is for applying the nomination file for Phar That Phanom, That Phra Nom District, Nakorn Phanom Province. The study attempted to generate and create digital information emphasis on building uses, and building 3-dimension model on the physical environment in the area. The methodology has included site survey and using the questionnaire for all buildings in the case study at Wat Phra That Phanom Woramaha Vihan and surrounding area about 2 kilometer in radius, for locating core zone and buffer zone. The result is not only the data on geography information and the data for 3-dimension modelling; it is included on digital elevation model (DEM). It can be used to understand the historical urban context on Phra That Phanom, which is located on the bank of Mekong River higher that the surrounding area. In the study area show the big swamp named “Bueng That”, which shows the historic of the area. As the result, the evidence confirms that Phra That Phanom is located on the highest level of the area, which named “Phu Kam Par”. In the 3D Medelling can be supported on the historic of Phra That Phanom, which located on the Mekong River Bank. Recently, the area has been reclaimed land for Mekong River to be a big swamp, and the research can be other evident in science on digital elevation model (DEM). Therefore, This contribute significant on this Urban Information System (UIS) can be proved the history of Phra That Phanom on this issue. This can be an important information for proposing the boundary of this heritage site in the future. Keywords: Urban Information System, 3D Model, Phra That Phanom, World Heritage

Download Full-Text

Scan QR Code

53


54


ABSTRACT Technical Session 4: การวางแผนและการจัดการสิ่งแวดล้อม และ การป้องกันภัยพิบัติ

Environmental Planning and Management and Disaster Risk Reduction 55


การศึกษาการบริหารจัดการน�้ำระดับท้องถิ่น กรณีศึกษา ทุ่งรับน�้ำบางบาล อ�ำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

The Study of Local Water Management: The case study of Bangban district, Phra Nakhon Si Ayutthaya province นภัทรพันธ์ เฟื่องฟู1* และ อมร กฤษณพันธุ2์ 1

นักศึกษาปริญญาโท คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 2

รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Napatpan Fuangfoo1* and Amorn Kritsanaphan2 1 Graduate Student, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang Chalongkrung Rd., Ldkrabang, Bangkok 10520 2 Associate Professor, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang Chalongkrung Rd., Ldkrabang, Bangkok 10520 *Email: napatpan@hotmail.com บทคัดย่อ

ทุ่งรับน�้ำเป็นหนึ่งในรูปแบบการบริหารจัดการน�้ำ เพื่อป้องกันไม่ให้น�้ำเข้าท่วมเสียหายในพื้นที่อื่นๆ ในภาพ รวม ในการบริหารจัดการน�้ำอย่างมีประสิทธิภาพจ�ำเป็นที่ต้องให้ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรน�้ำทั้งหมด เพื่อสะท้อนความต้องการของผู้ที่ได้รับผลกระทบและแก้ไขปัญหา ลดความเสี่ยง ที่จะน�ำไปสู่ความขัดแย้ง หากการบริหารจัดการน�้ำไม่ทั่วถึง จากการเก็บข้อมูลในเชิงคูณภาพด้วยการสัมภาษณ์ ประชาชนในพื้นที่ 160 คน และเจ้าหน้าทีในระดับท้องถิ่นในอ�ำเภอบางบาล จ�ำหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่า แม้จะ มีการศึกษาก่อนด�ำเนินการก�ำหนดให้พื้นที่ส่วนหนึ่งของอ�ำเภอเป็นทุ่งรับน�้ำโดยให้ประชาชนเสนอแนะข้อตกลง ในการด�ำเนินการร่วมกันแล้ว แต่ในทางปฏิบตั ไิ ม่สามารถท�ำตามข้อตกลงได้ทงั้ หมด เนือ่ งจากงบประมาณทีข่ าดแคลน และการมีสว่ นร่วมทีไ่ ม่เพียงพอ ท�ำให้ประชาชนส่วนหนึง่ ยังได้รบั ผลกระทบและความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ จากการบริหาร จัดการน�้ำในพื้นที่ เป็นสาเหตุที่ท�ำให้เกิดความไม่พอใจและน�ำไปสู่ความขัดแย้งได้ ทั้งความขัดแย้งระหว่างประชน ในพื้นที่และความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับหน่วยงานท้องถิ่น ค�ำส�ำคัญ : การบริหารจัดการน�้ำ, การมีส่วนร่วม, ความขัดแย้ง

56


Abstract

Water-retention field is one type of water management designed to protect other nearby areas from flooding. Generally, effective water management should give importance to the participation of local stakeholders in conducting and solving water resources and also the opportunity to express their needs. These will help reduce risk of conflicts. From the qualitative data deriving from interviewing 120 locals and officers in Bang Ban District, Phra Nakorn Sri Ayutthaya Province revealed that even there was public hearing before imposing some areas of the district as the water-retention field and the locals had a chance to propose what they needed the officers to do together but in practice the actions were not taken as agreed due to the lack of budget and insufficient participating of the locals. Some residents still got affected and damage from water management. These are the causes of dissatisfaction and lead to the conflicts both among locals in the area and between people and local authority. Keywords: Water Resources Management, Participation, Conflict

Download Full-Text

Scan QR Code

57


การศึกษาการบริหารการจัดการขยะมูลฝอยด้วยการมีส่วนร่วมในระดับชุมชน : กรณีศึกษา ชุมชนไผ่กองดิน จังหวัดสุพรรณบุรี

A Study of the Integrated Solid Waste Management with Participation: A Case Study Of Paikongdin Community, Suphanburi Province. ฟิลิปดา เจียมเจริญ1* และ กฤษณพันธุ2์ นักศึกษาปริญญาโท คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

1 2

อาจารย์ทป ี่ รึกษา/รองศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Philipda Jeamcharoen1* and Amon Krisanapan2 1 Graduate Student, Faculty of Architecture, KMITL, Ladkrabang, Bangkok, 10520 2 Associate Professor, Faculty of Architecture, KMITL, Ladkrabang, Bangkok, 10520 *Email: lipda.architect@gmail.com บทคัดย่อ

การแก้ปัญหาการจัดการขยะของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นสิ่งส�ำคัญแต่ยังไม่เป็นผลส�ำเร็จ จากสถิติต่างๆ จึงท�ำการศึกษาแนวทางการบริหารการจัดการขยะที่ประสบผลส�ำเร็จเพื่อพิจารณาปัจจัยและตัวแปรที่ท�ำให้จ�ำนวน ขยะลดลง จากการศึกษาข้อมูลพบว่าชุมชนไผ่กองดิน เป็นชุมชนที่ได้รับรางวัลการจัดการขยะมูลฝอยด้วยการมีส่วน ร่วม จึงท�ำการลงพืน้ ที่ ส�ำรวจ และสัมภาษณ์พร้อมกับการทบทวนวรรณกรรม ศึกษาทฤษฎีทเี่ กีย่ วกับการจัดการขยะ มูลฝอย การมีสว่ นร่วม และทุนทางสังคม โดยงานวิจยั นีเ้ ป็นงานวิจยั เชิงคุณภาพทีจ่ ะพรรณนาความโดยน�ำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์เชือ่ มโยงเข้ากับทฤษฎี และความสัมพันธ์ตา่ งๆเข้าด้วยกันเป็นการรวบรวมข้อมูลด้วยเครือ่ งมือทางการวิจยั เป็นการสัมภาษณ์จากกลุ่มตัวอย่างของประชากรทั้งหมด แล้วน�ำมาวิเคราะห์ร่วมกันโดยใช้วิธีทางสถิติร้อยละในการ สรุปผลเพื่อหาค�ำตอบว่าตัวแปรใดบ้างที่ท�ำให้การจัดการขยะโดยเฉพาะในชุมชนเกิดผลส�ำเร็จ ค�ำส�ำคัญ : การบริหารการจัดการขยะมูลฝอย, การมีส่วนร่วม, ทุนทางสังคม

58


Abstract

The current solution of waste management in Thailand is important but not yet successful. From various statistics Therefore, study the guidelines for successful waste management in order to consider factors and variables that reduce the amount of waste From the study data, it was found that Phai Kong Din community Is a community that has won solid waste management with participation Therefore conducted a survey and interview with the literature review Study the theory of solid waste management participation And social capital This research is a qualitative research that describes Synthesis linked to the theory And various relationships together, gathering information with research tools, questioning and interviews from a sample of the entire population And then analyzed together by using the percentage statistics method to summarize the results to find out which variables that make waste management especially in the community successful. Keywords: Solid Waste Management, Participation, Social capital

Download Full-Text

Scan QR Code

59


สถานการณ์คงอยู่ของ “หมาก” พืชที่ใช้เป็นเครื่องบูชาในพิธีกรรมความเชื่อของล้านนา

The situation of existence of the ripe areca-nut; the plant used as a sacrifice in the Lanna beliefs จิราภา สุนันต๊ะ1* ศิริชัย หงษ์วิทยากร2 นิกร มหาวัน3 และ วิทยา ดวงธิมา4 นักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม

1

รองศาสตราจารย์ และ3,4อาจารย์ สาขาวิชาการวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิง ่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้

2

1

Graduate Student, Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University 2-4 Lecturer, Instructor of Environmental and Urban planning program, Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University *Email: jirapa.sunanta@gmail.com บทคัดย่อ

หมากเป็นพืชทีม่ บี ทบาทส�ำคัญในพิธกี รรมความเชือ่ ล้านนา ในขณะทีก่ ระบวนการพัฒนาของเมืองส่งผลต่อ ความละเลยในพิธกี รรมความเชือ่ ทีเ่ คยมีมาในสังคมล้านนา งานวิจยั นีม้ วี ตั ถุประสงค์ เพือ่ ส�ำรวจสถานการณ์การคงอยู่ และจัดท�ำฐานข้อมูลของหมากในอ�ำเภอเมืองเชียงใหม่และ อ�ำเภอแม่รมิ และอ�ำเภอสันทราย และเพือ่ เสนอแนวทาง การส่งเสริมการอนุรักษ์หมากให้คงอยู่คู่สังคมล้านนา ด้วยวิธีการส�ำรวจภาคสนามและจัดท�ำฐานข้อมูลสารสนเทศ ทางภูมศิ าสตร์ของต�ำแหน่งต้นหมาก ผลวิจยั พบว่าปัจจุบนั ยังคงพบต้นหมากในพืน้ ทีท่ ศี่ กึ ษา เมือ่ เปรียบเทียบจ�ำนวน ต้นหมากที่พบในพื้นที่ทั้ง 3 อ�ำเภอไม่พบความแตกต่างกัน แต่หากพิจารณาลักษณะการใช้ที่ดินที่ยังคงมีต้นหมาก อยู่ในพื้นที่พบว่า การคงอยู่ของต้นหมากในการใช้ที่ดินแบบบ้านพักอาศัยมีแนวโน้มลดลงตามระยะทางที่ห่างจาก พืน้ ทีเ่ มือง สังเกตได้จากจ�ำนวนต้นหมากทีพ่ บในบ้านพักอาศัยในอ�ำเภอเมืองคิดเป็นร้อยละ 54.54 ในขณะทีต่ น้ หมาก ในบ้านอาศัยในอ�ำเภอสันทรายพบร้อยละ 73.44 ซึง่ อ�ำเภอสันทรายมีสดั ส่วนพืน้ ทีท่ ตี่ ดิ กับพืน้ ทีเ่ มืองเชียงใหม่มากกว่า อ�ำเภอแม่รมิ ทีพ่ บต้นหมากในบ้านพักอาศัยร้อยละ 91.28 ในขณะทีต่ น้ หมากเริม่ หายไปจากบ้านพักอาศัยในเขตเมือง แต่กลับพบว่ามีตน้ หมากในพืน้ ทีป่ ระเภทรีสอร์ท โรงแรมในสัดส่วนทีส่ งู ในอ�ำเภอเมืองถึงร้อยละ 28 แต่พบเพียงเล็กน้อย ในอ�ำเภอแม่ริม(2.46%) และไม่พบในอ�ำเภอสันทราย บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนบทบาทความส�ำคัญของหมากจากการใช้ใน พิธกี รรมความเชือ่ ในอดีตไปสูก่ ารเป็นไม้ประดับในเมือง อย่างไรก็ตาม ลักษณะดังกล่าวสอดคล้องกับรูปแบบของการ ปลูกต้นหมากในพื้นที่ใกล้เมืองเช่นอ�ำเภอสันทราย ที่ต้นหมากในบ้านพักลดลงแต่กลับมีสัดส่วนค้อนข้างสูงในพื้นที่ เกษตรกรรมทีพ่ บสัดส่วนต้นหมากในการใช้ทดี่ นิ เกษตรกรรมถึงร้อยละ 23.06 ซึง่ เป็นลักษณะของการปลูกเชิงพาณิชย์ ดังนัน้ การส่งเสริมการปลูกหมากเพือ่ เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวให้กบั เมืองและส่งเสริมการแปรรูปวัสดุจากต้นหมากทีห่ ลากหลาย จึงเป็นแนวทางการอนุรักษ์พืชที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมท้องถิ่นให้คงอยู่คู่สังคมล้านนาต่อไป ค�ำส�ำคัญ : หมาก, เครื่องประกอบในพิธีกรรม, ประเพณีล้านนา, การคงอยู่ 60


Abstract

The Betel palm has played the key role in the rite of Lanna Society. Meanwhile, urbanization of Chiang Mai has resulted in degeneration of Lanna’s rite, this study aims to investigate the existence of Betel palm and also create the database of them being in the area of Muang District, Sansai District, and Mae Rim District. And propose recommendation for promoting conservation Betel palm to be with Lanna society. The geographical data of the Betel palm is going to gather by field survey and then geographical Information System will be used for creating its database. The results demonstrate that the existence of Betel palm in 3 districts are not different. However, if land use presenting the existence of the Betel palm was taken into consideration, it had been found that the quantity of Betel palm reduced by distance from the urban areas. This conclusion was supported by the data of Betel palms, which found in residence only 54.54% in Muang District while there was 73.44% and 91.28% in Sansai District and MaeRim District, respectively. While the Betel palm has decreased from residential areas in the city, it presents high proportions in a land use type of Resort and Hotel with 28% occurring in Muang District but only 2.46% presenting in MeaRim District and null in Sansai District. These indicate the changing of the role form being relevant to Lanna’s rite to be decorated plants. In addition, it was found that the existence of betel palm in Sansai District of which the location is closed to the city has high proportion with 23.06% in agricultural areas with the purpose of selling for decorated planting. That align conclusion that the existence of Betel palms is changing their roles. Therefore, planting promotion of Betel palms for increasing city green areas and apply components of Betel palms for being diverse usability is essential recommendation for conserving the cultural heritage plant to be together with Lanna’s society. Keywords: Betel nuts, Oblation, Tradition, Subsistent Download Full-Text

Scan QR Code

61


การศึกษาเปรียบเทียบเกณฑ์การเลือกที่ตั้งพื้นที่อุตสาหกรรมในมิติภัยธรรมชาติ

Comparing Natural Hazards-Related Criteria for Siting Industrial Areas คณิน หุตานุวัตร ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ กลุม ่ วิชาการวางแผนภาคและเมือง สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ถนน ฉลองกรุง ลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

Khanin Hutanuwatr Assistant Professor, Urban and Regional Planning Program, Department of Architecture and Planning, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Chalong Krung Road, Ladkrabang Bangkok ,10520 Email: khutanuw@gmail.com บทคัดย่อ

มาตรการด้านการเลือกที่ตั้งพื้นที่อุตสาหกรรมเป็นหนึ่งในมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันอุบัติภัย จากสารเคมีที่ถูกระตุ้นโดยธรรมชาติ หากแต่ในสภาพปัจจุบันยังพบพื้นที่อุตสาหกรรมหลายแห่งตั้งอยู่ในพื้นที่เสี่ยง ภัยธรรมชาติ การศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งศึกษาว่ามาตรการด้านเกณฑ์การเลือกที่ตั้งของพื้นที่อุตสหกรรมของภาคการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมกับภาคการก�ำกับดูแลการใช้ประโยชน์ที่ดินมีการพิจารณาถึงภัยธรรมชาติหรือไม่อย่างไร มี ความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร โดยอาศัยการวิเคราะห์สาระของเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นหลักและเสริมด้วยการ สัมภาษณ์เชิงคุณภาพจากผูท้ เี่ กีย่ วข้อง โดยผลการวิจยั จะกล่าวถึงเนือ้ หาของเกณฑ์ทสี่ ามารถเกีย่ วข้องกับภัยธรรมชาติ บางประเภทซึ่งมีทั้งส่วนที่เหมือนและความแตกต่างของเกณฑ์จากทั้งสองภาคส่วน อุปสรรคของการการน�ำเกณฑ์ มาตฐานของภาคการก�ำกับการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ไปสูก่ ารปฎิบตั ิ ซึง่ ข้อค้นพบเหล่านีเ้ ป็นฐานน�ำไปสูข่ อ้ เสนอแนะด้าน เกณฑ์การเลือกที่ตั้งของพื้นที่อุตสาหกรรมในที่สุด ค�ำส�ำคัญ : การเลือกที่ตั้ง พื้นที่อุตสาหกรรม ภัยธรรมชาติ ภัยเนเทค ภัยเชิงระบบ

62


Abstract

Siting or locational measures of industrial areas is among effective measures to reduce chemical accidents triggered by natural hazards. However, in reality, there are quite a few industrial sites in Thailand located on hazard-prone areas. This study therefore aims to investigate how natural hazards are considered in criteria for siting industrial areas from two major sectors, industrial development sector and land use regulator sector. Based on content analysis of related documents supplemented by qualitative interviews with related personnel, the study identifies contents in criteria of both sectors that can be related to natural hazards and discusses the common and contrast between criteria of the two sectors followed by challenges in their implementation. These findings serve as basis for recommendations on site selection criteria of industrial areas. Keywords: location, industrial area, natural hazards, natech, systemic risk

Download Full-Text

Scan QR Code

63



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.